The Light of Siam - แสงแห่งสยาม

Page 79

แสงแห่งอนาคต ทางเลื อ กสู ่ ค วามมั่ น คงของไฟฟ้ า ไทย

กังหันลมที่โรงไฟฟ้าลำตะคอง  ชลภาวัฒนา  จังหวัดนครราชสีมา Wind  Turbines  at  Lamtakong Jolabha  Vadhana  Hydro  Power Plant  in  Nakhon  Ratchasima Province

หากความสุขของชีวติ คล้ายดัง่ แสงสว่าง  หลายทศวรรษที่ผ่านมาของแผ่นดินไทยก็  คล้ายจะเปี่ยมด้วยความอบอุ่นเป็นสุขเมื่อมี  กระแสไฟฟ้าใช้ในประเทศ ไฟฟ้ามิเพียงให้ความอบอุ่นปลอดภัย  ในชี ว ิ ต และความสะดวกสบายนานั ป การ  หากแต่ยังสร้างสรรค์วิถีที่นําพาสังคมไทยให้ เจริญรุ่งเรืองก้าวสู่ความเป็นสากลในทุกด้าน  จวบจนปัจจุบนั   จึงนับเป็นความท้าทายอย่างยิง่   สําหรับก้าวต่อไปว่า “แสงแห่งอนาคต” จะ  พัฒนาไปสูท่ ศิ ทางใด  จึงจะนําความผาสุกมาสู ่ คนไทยอย่างยั่งยืน ในยุคปัจจุบัน  เชื้อเพลิงหลักที่มนุษย์นำ  มาผลิตพลังงานเพื่อผลักดันให้โลกวัฒนาการ  ไปข้างหน้าคือ  เชือ้ เพลิงจากฟอสซิล  อันได้แก่  น้ำมันดิบ  ก๊าซธรรมชาติ  และถ่านหิน  ซึง่ มีแต่  จะหมดไป  สำหรับประเทศไทย  ความต้องการ  ใช้พลังงานทีเ่ ติบโตขึน้ อย่างรวดเร็ว  ท่ามกลาง ข้อจำกัดของแหล่งทรัพยากรในประเทศ  ทำให้  จำเป็ น ต้ อ งพึ ่ ง พาการนำเข้ า เชื ้ อ เพลิ ง จาก  ต่างประเทศ  ซึง่ มีตน้ ทุนทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างยาก  ที่จะควบคุม การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย  (กฟผ.)  ซึง่ เป็นหน่วยงานหลักในการสรรค์สร้าง  และจัดหาพลังงานให้เพียงพอกับความต้องการ  ของสั ง คม  จึ ง ต้ อ งจั ด ทำแผนพั ฒ นากำลั ง  ผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย  ให้สอดคล้องกับ  ความต้องการใช้ไฟฟ้า  เพือ่ มิให้เกิดปัญหาการ  ขาดแคลนพลังงาน

นอกจากนี้  กฟผ. ยังมีภารกิจสำคัญที่จะ  ต้องจัดหาพลังงานไฟฟ้าสำรอง  ให้เพียงพอต่อ  ความต้องการใช้ไฟฟ้าในอนาคต การจัดหาพลังงานไฟฟ้าสำรอง  จึงเป็น  ความจำเป็ น เพื่อ เสริ ม สร้ า งความมั ่ น คงใน  ระบบไฟฟ้าของชาติ  อีกทั้งยังเป็นหลักประกัน  ให้ ก ั บ สั ง คมไทยได้ ว ่ า   แสงสว่ า งแห่ ง สยาม  ประเทศจะไม่มีวันดับมืดลงอย่างเด็ดขาด สิ่งเหล่านี้เป็นสัญญาณเตือนว่า  ประเทศ  ไทยต้องการแนวทางความคิดแบบใหม่  เพือ่ ก้าว  ให้พ้นจากวิกฤตด้านพลังงาน  กฟผ.จึงสร้าง  วิสยั ทัศน์ในการกำหนดทางเลือกใหม่เพือ่ อนาคต  นั่นคือการผลิตกระแสไฟฟ้าที่นอกจากจะเป็น  พลังงานสะอาดแล้ว  ยังต้องมีความยั่งยืนด้วย นับเป็นจุดเริ่มต้นในการศึกษาถึงไฟฟ้า  จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์   ซึ ่ ง เป็ น พลั ง งาน  สะอาดที่ได้วัตถุดิบมาอย่างง่ายดายและมีให้  ใช้อย่างไม่สิ้นสุด กฟผ. ได้ศึกษาทดลองเรื่อง  นี้มาตั้งแต่ปี  พ.ศ. 2521  ก่อนจะมีการผลิต  ไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เข้าระบบเป็นครัง้ แรก  ที่ส ถานี พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ค ลองช่ อ งกลํ่า  จังหวัดสระแก้ว แต่ทถ่ี อื ว่าเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์  แห่งแรกนั้นอยู่ที่โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์  ผาบ่อง  จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน  ซึง่ มีกำลังการผลิต 504 กิโลวัตต์  และสามารถจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ  ได้ตั้งแต่ป ี พ.ศ. 2547 และล่าสุดของนวัตกรรมใหม่นี้  เกิดขึ้น  ที่เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่ง กฟผ.

ได้สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขึ้นที่นี่  เพือ่ ผลิตไฟฟ้านำเข้าระบบจำหน่ายของการไฟฟ้า  ส่ ว นภู ม ิ ภ าค  โดยมี ก ำลั ง ผลิ ต  1 เมกะวั ต ต์  แม้จะเป็นปริมาณเพียงน้อยนิด  หากเทียบ  กับการผลิตไฟฟ้าจากเขื่อน  ถ่านหิน  หรือ  ก๊าซธรรมชาติก็ตาม  แต่นี่คือก้าวแรกของการ  ริเริ่มสร้างโรงไฟฟ้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  อย่างแท้จริง และที่สำคัญยิ่งกว่านั้นก็คือ  ที่นี่นับเป็น  โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์   ที่ม ี เ ซลล์  แสงอาทิตย์ชนิดหมุนแผ่นเซลล์รบั แสงได้  ซึง่ ใช้  ระบบติดตามดวงอาทิตย์แบบถ่วงน้ำหนักทีใ่ ช้นำ้   เป็นตัวถ่วงน้ำหนัก  อันเป็นผลงานการวิจยั และ  พัฒนาของ กฟผ.เอง ในขณะที่พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ จ ั ด เป็ น  พลังงานสะอาด  ปราศจากมลภาวะ  และหาได้  ง่ายในประเทศไทย  พลังงานลมก็นับได้ว่าเป็น  พลังงานบริสุทธิ์ที่บรรพชนไทยคุ้นเคยในการ  ใช้งานมานาน  ดังเช่นการสร้างกังหันลมเพื่อ  วิดน้ำเข้าท้องไร่ท้องนา กฟผ. ได้ศกึ ษาพลังงานชนิดนีม้ ากว่า 20 ปี  แล้ว  นับเป็นส่วนหนึง่ ในแผนการพัฒนาพลังงาน  ทดแทนของ กฟผ.  เพื่อนำพลังงานลมมาใช้  ผลิตกระแสไฟฟ้าเท่าที่สามารถจะทำได้  โดย  เริ่มทำจากเล็กไปหาใหญ่  มีจุดเริ่มต้นที่แหลม  พรหมเทพ  จังหวัดภูเก็ต  ซึ่งแม้จะได้พลังงาน  ไม่มาก  แต่ก็ยังเพียงพอที่จะส่งไฟฟ้าเชื่อมโยง  เข้ า กั บ ระบบจำหน่ า ยได้ เ ป็ น ครั ้ ง แรก  ในปี  พ.ศ. 2533  นับเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการ  การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

155


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.