กฟผ. รายงานประจำปี 2556 | "ผู้นำเทคโนโลยี พลังงานสะอาด"

Page 1



ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด ด้วยพันธกิจการสร้างความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ ภายใต้วิสัยทัศน์ที่มุ่งสู่การเป็น องค์การชั้นนําในกิจการไฟฟ้าในระดับสากล กฟผ. มุ่งพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน กระบวนการผลิตไฟฟ้า เป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยลดภาระและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการ อนุรกั ษ์พลังงาน และวิจยั พัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนต้นแบบ รวมถึงการสร้างองค์ความรูส้ สู่ งั คม ให้คนไทยมีส่วนร่วมตัดสินใจและร่วมสร้างความมั่นคงทางพลังงานในอนาคต

สารบัญ วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์การ กรอบยุทธศาสตร์หลักขององค์การ ภาพรวมทางการเงิน สารประธานกรรมการ รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ สถานการณ์ไฟฟ้ากับสภาวะเศรษฐกิจไทย ผลการด�ำเนินงาน ลักษณะการประกอบธุรกิจ และบริษัทในเครือ วิเคราะห์ผลการด�ำเนินงาน และฐานะการเงิน การบริหารความเสี่ยง โครงสร้างองค์การ กฟผ. โครงสร้างการจัดการองค์การ คณะกรรมการ กฟผ.

2 3 6 8 10 12 20 26 36 38 39 54

คณะผู้บริหาร กฟผ. 69 การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี 80 การด�ำเนินงานตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของ 90 ราชการ พ.ศ. 2540 แผนงานในอนาคต และการพัฒนาระบบไฟฟ้า 94 การพัฒนาองค์การ และทรัพยากรบุคคล 110 ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน 116 และสิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ส�ำคัญในรอบปี 128 ข้อมูล และสถิติ 134 รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชี 140 งบการเงิน 142 ค่าตอบแทนผู้ตรวจสอบบัญชี 208

1


วิสัยทัศน์

“เป็นองค์การชั้นน�ำในกิจการไฟฟ้าในระดับสากล”

โดยมีเป้าหมายของการเป็นองค์การชั้นน�ำรวม 5 ด้าน ประกอบด้วย

1. Good Coporate Governance • เป็นองค์การที่มีธรรมาภิบาล 2. High Performance Organization • เป็นองค์การที่มีการบริหารงานที่ดี มีประสิทธิภาพสูง 3. Operational Excellence • เป็นองค์การที่มีประสิทธิภาพการด�ำเนินงานเป็นเลิศ 4. National Pride • เป็นองค์การที่สังคมไว้วางใจและเป็นความภูมิใจของชาติ 5. Financial Viability • เป็นองค์การที่มีฐานะการเงินมั่นคงเพียงพอต่อการขยายงาน

พันธกิจ

ผลิต จัดหาให้ได้มา จัดส่ง จ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้า และประกอบธุรกิจเกี่ยวเนื่อง รวมถึงการผลิตและขายลิกไนต์

วัฒนธรรมองค์การ

รักองค์การ มุ่งงานเลิศ เทิดคุณธรรม

กรอบยุทธศาสตร์หลักขององค์การ

1. เสริมสร้างขีดความสามารถการแข่งขันของธุรกิจหลัก 2. สร้างการเจริญเติบโตของบริษัทในเครือและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง 3. เป็นองค์การที่ห่วงใยสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม 4. เป็นองค์การที่มีสมรรถนะสูง

2

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ภาพรวมทางการเงิน (งบการเงินรวม) หน่วย : ล้านบาท

ผลประกอบการ

ปี 2556

ปี 2555

รายได้จากการขายสินค้าและบริการ ก�ำไรจากการขายและบริการ ก�ำไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ต้นทุนทางการเงิน ก�ำไรสุทธิ - ส่วนที่เป็นของ กฟผ. และบริษัทย่อย ก�ำไรสุทธิ - ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม ฐานะการเงิน

536,913.34 42,104.18 22.97 4,416.81 40,341.84 3,390.16

512,991.89 39,788.46 634.43 5,343.21 38,857.93 4,480.15

สินทรัพย์รวม ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ หนี้สินรวม เงินกู้ยืมระยะยาว ส่วนของเจ้าของและส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำนาจควบคุม อัตราส่วนทางการเงิน

578,380.63 261,012.92 231,299.21 84,511.96 347,081.42

533,270.08 268,284.91 208,296.15 92,764.34 324,973.93

10.85 8.15 7.87 0.67 11.19

11.21 8.45 8.41 0.64 9.28

อัตราก�ำไรขั้นต้น (ร้อยละ) อัตราก�ำไรสุทธิ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ร้อยละ) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ย (เท่า)

3


เทคโนโลยีที่ดีที่สุด คือเทคโนโลยีที่รับใช้มวลมนุษย์ โรงไฟฟ้าแม่เมาะได้รับรางวัล Thailand Coal Awards 2013 และ ASEAN Energy Awards 2013 เป็นเครื่องพิสูจน์ความมุ่งมั่นของ กฟผ. สู่การเป็นผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาดที่เป็นมิตรต่อ ชุมชนและสิ่งแวดล้อม



สารประธานกรรมการ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 เป็นปัจจัยส�ำคัญหนึง่ ที่ส่งผลกระทบด้านพลังงานไฟฟ้า เนื่องจากจะมีการเคลื่อนย้ายทรัพยากร ทุนและแรงงาน ตลอดจนมีการแข่งขันและการขยายตัวทางการค้าเพิ่มขึ้น จากรายงานของ International Energy Agency (IEA) ยังชีว้ า่ ความต้องการ พลังงานไฟฟ้าในรอบสองทศวรรษทีผ่ า่ นมาของภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้นี้ เพิ่มสูงขึ้นกว่าภูมิภาคอื่นของโลก อันเป็นผลมาจากความเปลี่ยนแปลง เชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มขึ้นของ ประชากร การยกระดับคุณภาพชีวิต และการขยายตัวของชุมชนเมือง เป็น ตัวเร่งให้ความต้องการพลังงานไฟฟ้าเติบโตอย่างก้าวกระโดด และมีแนวโน้ม ขยายตัวในระดับสูงต่อไปในอนาคต โครงการเชือ่ มโยงโครงข่ายระบบไฟฟ้าอาเซียน (ASEAN Power Grid) เป็นหนึง่ ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และสังคมระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรพลังงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการพึ่งพา แหล่งพลังงาน และลดการลงทุนของภูมภิ าค ซึง่ จะช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรพลังงานและระบบส่ง ซึง่ เป็น ปัญหาร่วมกันของหลายประเทศ ทั้งนี้ ตามแผนแม่บทการเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าอาเซียนระหว่างประเทศสมาชิกครั้งที่ 2 (ASEAN Interconnection Master Plan Study - AIMS-II) ระหว่างปี 2552 - 2568 จะมีการเชื่อมโยงซื้อขายและแลก เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าระหว่างประเทศรวม 16 โครงการ ก�ำลังผลิตรวมกว่า 22,000 เมกะวัตต์ โดยในปัจจุบันประเทศไทย ได้เชื่อมโยงระบบไฟฟ้ากับประเทศเพื่อนบ้านแล้วจ�ำนวน 2,083 เมกะวัตต์ ส�ำหรับประเทศไทย แม้โครงสร้างระบบไฟฟ้าจะมีความมั่นคง แต่ก็จะต้องเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ รองรับ การเป็นประชาคมอาเซียนเช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกระจายการใช้เชื้อเพลิงและรักษาระดับราคาพลังงาน เนื่องจาก พลังงานไฟฟ้าเป็นปัจจัยการผลิตที่ส�ำคัญที่ต้องบริหารจัดการมิให้เป็นปัญหา อุปสรรค และช่วยสร้างโอกาสในการแข่งขัน ของประเทศ ขณะเดียวกันในการวางแผนยังต้องสร้างความสมดุลในทุกมิติ ทั้งการดูแลสังคม สิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ พลังงาน ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาด เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ส�ำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดทีเ่ ป็นมิตรต่อชุมชนและสิง่ แวดล้อม เป็นภารกิจที่ กฟผ. ให้ความส�ำคัญ และด�ำเนินการอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีโรงไฟฟ้าพลังความร้อนซึง่ เป็นโรงไฟฟ้าหลัก และการ พัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนต้นแบบ มุ่งให้ กฟผ. ก้าวสู่การเป็นผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาดในระดับภูมิภาค และ มีความพร้อมในการน�ำพลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติมาใช้ในเชิงพาณิชย์เมื่อสถานการณ์เหมาะสม จากเหตุการณ์ฟ้าผ่าเสาสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ท�ำให้เกิดไฟฟ้าดับ 14 จังหวัดในภาคใต้ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ซึ่งสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้ากลับคืนได้เป็นส่วนใหญ่ในเวลา 2 ชั่วโมง และนานที่สุดเป็นเวลา 4 ชั่วโมง 45 นาที นับเป็นวิกฤตการณ์ครั้งใหญ่ในระบบไฟฟ้า ซึ่ง กฟผ. ได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันปัญหาในอนาคต ทั้งการเฝ้าระวังระบบ ไฟฟ้าบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้าง โดยจัดท�ำโครงการพัฒนาก�ำลังผลิต การพัฒนาระบบส่งในภาคใต้ และเพิ่มขีดความสามารถในการส่งไฟฟ้าจากภาคกลางมากขึ้น จากเหตุการณ์ครั้งนี้ กฟผ. ต้องขออภัยประชาชนในความ เดือดร้อนและวิตกกังวลที่เกิดขึ้น โดยจะน�ำปัญหาและอุปสรรคต่างๆ มาเป็นบทเรียนในการด�ำเนินงานอย่างดีที่สุด การหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติเพื่อซ่อมบ�ำรุงท่อก๊าซและแหล่งผลิต ทั้งการหยุดตามแผนและกรณีฉุกเฉินจากแหล่ง ก๊าซภายในและนอกประเทศหลายครั้งในปีที่ผ่านมา เป็นอีกเหตุการณ์ที่มีความส�ำคัญและมีผลกระทบต่อความมั่นคงใน ระบบไฟฟ้า สะท้อนถึงปัญหาและข้อจ�ำกัดด้านพลังงานของประเทศ ที่จะต้องวางแผนเพื่อลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ

6

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ในระยะยาว อย่างไรก็ตาม มาตรการต่างๆ รวมทั้งการได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การลดการใช้พลังงานทัง้ จากภาคธุรกิจและประชาชนในช่วงทีเ่ กิดวิกฤตการณ์ ท�ำให้ประเทศไทยสามารถผ่านพ้นเหตุการณ์ โดยไม่มีปัญหาไฟฟ้าดับ นับเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงความร่วมมือร่วมใจของคนไทย ที่ท�ำให้ประเทศสามารถผ่านพ้น วิกฤตการณ์ต่างๆ ไปได้ ส�ำหรับการด�ำเนินงานในรอบปี 2556 ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นเพียงร้อยละ 1.83 เนื่องมาจากภาพรวม เศรษฐกิจไทยขยายตัวตำ�่ กว่าเป้าหมาย และการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ความต้องการพลังงานไฟฟ้าอยูใ่ นระดับที่ ใกล้เคียงกับปีกอ่ น โดยระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศมีก�ำลังผลิตติดตัง้ ทัง้ สิน้ 33,681.02 เมกะวัตต์ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.31 เป็น ก�ำลังผลิตจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. 15,010.13 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 44.57 ของระบบ ก�ำลังผลิตจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน ภายในประเทศและประเทศเพือ่ นบ้านรวม 18,670.89 เมกะวัตต์ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.14 หรือคิดเป็นร้อยละ 55.43 ของระบบ ในด้านการผลิตพลังงานไฟฟ้า มีการผลิตจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. รวม 72,113.94 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็น ร้อยละ 41.56 ซื้อจากเอกชนและต่างประเทศ จ�ำนวน 101,421.51 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 58.44 รวมผลิต และซื้อพลังงานไฟฟ้า 173,535.45 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 330.32 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.19 โดยเป็นการผลิตจากเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติร้อยละ 67.43 ถ่านหินร้อยละ 19.24 พลังน�้ำร้อยละ 3.12 ซื้อ จากต่างประเทศร้อยละ 7.24 ชีวมวลและพลังงานทดแทนร้อยละ 1.94 น�้ำมันเตาและน�้ำมันดีเซลร้อยละ 1.04 จ�ำหน่าย พลังงานไฟฟ้ารวมทั้งสิ้น 169,530.32 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.09 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา นอกจากภารกิจหลักแล้ว กฟผ. ยังด�ำเนินงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง พร้อมเชิญชวนผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ท�ำงานภายใต้จิตส�ำนึก “ผลิตไฟฟ้าเพื่อความสุขของคนไทย” ด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส มีคุณธรรม รับผิดชอบต่อหน้าที่ และเอื้ออาทร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจ มุ่งให้ กฟผ. ก้าวสู่การเป็นองค์การแห่ง ความภาคภูมใิ จของคนไทยทัง้ ประเทศ มีผลงานความส�ำเร็จเป็นทีน่ า่ พอใจ ท�ำให้ในปี 2556 กฟผ. ได้รบั รางวัลด้านต่างๆ ทัง้ ในระดับภูมภิ าคและประเทศ เป็นเครือ่ งยืนยันความมุง่ มัน่ และความตัง้ ใจจริง ได้แก่ รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นประจ�ำปี 2556 ด้านการด�ำเนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรือ ที่ยังท�ำให้ กฟผ. ได้ รับรางวัล ASEAN Energy Awards 2013 รองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Community-Based Off-Grid Catagory หรือ โครงการพลังงานหมุนเวียนทีไ่ ม่เชือ่ มโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) นอกจากนัน้ ยังมีรางวัลนวัตกรรมดีเด่นประเภท ชมเชยระดับองค์กร จากผลงานเรื่องเครื่องควบคุมการสื่อสารทางเสียง ส�ำหรับศูนย์ควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า (Voice Communication Control System : VCCS) นับเป็นความภาคภูมิใจของ กฟผ. ที่โรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะที่ได้รับรางวัลความส�ำเร็จหลายรางวัลในปีที่ผ่าน มา ที่ส�ำคัญได้แก่รางวัลจากการประกวดผลงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนระดับภูมิภาคอาเซียน หรือ ASEAN Energy Awards 2013 รองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices - Clean Coal Use and Technology in Power Generation Category และเหมืองแม่เมาะได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices in Surface Coal Mining Category นอกจากนี้ ยังได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ หรือ Thailand Quality Class (TQC) ประจ�ำปี 2556 จากสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เป็นหน่วยงานแรกของ กฟผ. ในโอกาสนี้ ในนามของคณะกรรมการ กฟผ. และผูบ้ ริหาร ขอขอบคุณผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกภาคส่วน ทีไ่ ด้ให้ความร่วม มือสนับสนุนการด�ำเนินงานด้วยดีเสมอมา ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่น�ำมาซึ่งความส�ำเร็จของ กฟผ. และหวังเป็นอย่างยิ่งจะได้ รับความสนับสนุนเพื่อสร้างความเจริญมั่นคงให้แก่กิจการไฟฟ้าของประเทศตลอดไป

นางอัญชลี ชวนิชย์ ประธานกรรมการ กฟผ.

7


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ กฟผ. ประกอบด้วย กรรมการ กฟผ. จ�ำนวน 3 คน ในรอบปี 2556 มีผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้ • เดือนมกราคม 2556 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นายสุรชัย ธารสิทธิพ์ งษ์ เป็น ประธานกรรมการตรวจสอบ นายประวิช สารกิจปรีชา และนายปรเมธี วิมลศิริ เป็น กรรมการตรวจสอบ • เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ - กั น ยายน 2556 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ ว ย  นายประวิช สารกิจปรีชา เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายปรเมธี วิมลศิริ และ นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ • เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2556 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย นายปรเมธี วิมลศิริ ท�ำหน้าที่ประธานกรรมการตรวจสอบ เนื่องจากนายประวิช สารกิจปรีชา ประธานกรรมการตรวจสอบ ลาออก และนายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ เป็นกรรมการ ตรวจสอบ โดยมี ผู้ช่วยผู้ว่าการส�ำนักตรวจสอบภายใน ท�ำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามแนวทางที่ก�ำหนดในข้อบังคับว่าด้วยคณะ กรรมการตรวจสอบ เพื่อมุ่งเน้นการสร้างกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2556 คณะกรรมการ ตรวจสอบ มีการประชุมร่วมกับฝ่ายบริหาร และผูส้ อบบัญชี (ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน) ตามวาระ ที่เกี่ยวข้อง รวม 11 ครั้ง สรุปสาระส�ำคัญ ดังนี้ • สอบทานงบการเงิน กฟผ. และบริษัทย่อย ประจ�ำปี 2555 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และงบการเงิน กฟผ. งวดสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 วันที่ 30 มิถุนายน 2556 และวันที่ 30 กันยายน 2556 และงบเปรียบเทียบ เกี่ยวกับความถูกต้องและ น่าเชือ่ ถือของงบการเงิน ตามมาตรฐานการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป รวมทัง้ ระบบการ ควบคุมภายใน โดยมีผวู้ า่ การ รองผูว้ า่ การบัญชีและการเงิน และผูส้ อบบัญชีส�ำนักงาน การตรวจเงินแผ่นดิน เข้าร่วมประชุมหารือเพื่อรับฟังและให้ข้อคิดเห็นก่อนน�ำเสนอ คณะกรรมการ กฟผ. • สอบทานกระบวนการบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายในของ กฟผ. เพื่อ พิจารณาความเพียงพอ และความเหมาะสม รวมทั้งความครอบคลุมประเด็นที่มี นัยส�ำคัญ • สอบทานรายงานผลการตรวจสอบภายใน กฟผ. เป็นประจ�ำทุกไตรมาส รวมทัง้ บริษทั ในเครือ และติดตามการด�ำเนินการแก้ไข ปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง • สอบทานรายงานการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าการ • หารือร่วมกับผู้ว่าการ และผู้สอบบัญชี ในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน

8

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


• หารือร่วมกับผูบ้ ริหารระดับสูงและฝ่ายบริหารสายงาน เพือ่ พิจารณาการบริหารความ เสี่ยง การควบคุมภายใน และการก�ำกับดูแลกิจกรรมส�ำคัญที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของสายงาน เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดต่อการด�ำเนินงานของ กฟผ. • หารือกับผูส้ อบบัญชีเกีย่ วกับขอบเขตและแนวทางการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ ผลการปฏิบตั ิ งานของผูส้ อบบัญชี เพือ่ ให้เกิดการประสานงานทีด่ ี และลดความซำ�้ ซ้อนในการปฏิบตั ิ งาน • สอบทานแผนการตรวจสอบประจ�ำปี 2557 และแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์ 5 ปี (ปี 2557 - 2561) ความเพียงพอของทรัพยากร และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของส�ำนักตรวจสอบภายใน • ทบทวนความเหมาะสมของข้อบังคับว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ ข้อบังคับว่าด้วย การตรวจสอบภายใน และคู่มือการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน • จัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เสนอคณะกรรมการ กฟผ. กระทรวงพลังงาน และกระทรวงการคลัง • ก�ำหนดวันประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และวาระการประชุมประจ�ำปี 2557 เป็นการล่วงหน้าตลอดปี โดยครอบคลุมทุกเรื่องที่อยู่ในความรับผิดชอบของคณะ กรรมการตรวจสอบ เพื่อให้การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ • คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ประเมินผลการปฏิบัติงาน แบบประเมินตนเองทั้งคณะ และรายบุคคล ตามแนวทางปฏิบัติส�ำหรับคณะกรรมการตรวจสอบในรัฐวิสาหกิจ ที่ ก�ำหนดโดยกระทรวงการคลัง และรายงานผลการประเมินต่อคณะกรรมการ กฟผ. เพื่อให้การปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบ มีประสิทธิผล โปร่งใส และเป็น ที่น่าเชื่อถือ คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นว่า ในปี 2556 กฟผ. มีการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุม ภายใน และการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ แี ละมีประสิทธิผล ท�ำให้การด�ำเนินงานบรรลุเป้าหมายทีก่ �ำหนดไว้ รายงานทางการเงินเป็นไปตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป มีการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ พียงพอ มีการปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และนโยบายที่ส�ำคัญ ไม่พบข้อบกพร่องที่มีสาระส�ำคัญในการปฏิบัติ หน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระและให้ค�ำแนะน�ำแก่ฝา่ ยบริหาร และ ผู้เข้าร่วมประชุมอย่างตรงไปตรงมา เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

(นายปรเมธี วิมลศิร)ิ กรรมการตรวจสอบ ท�ำการแทน ประธานกรรมการตรวจสอบ วันที่ 17 มกราคม 2557

9


สถานการณ์ไฟฟ้ากับสภาวะเศรษฐกิจไทย ในปี 2556 ภาพรวมความต้องการไฟฟ้าของระบบ กฟผ. มีความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 14.00 น. ที่ระดับ 26,598.14 เมกะวัตต์ เพิ่ม ขึน้ จากความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. ในปี 2555 เป็นจ�ำนวน 477 เมกะวัตต์ หรือ เพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 1.83 ส�ำหรับความต้องการพลังงานไฟฟ้าของระบบ กฟผ. ในปี 2556 มีคา่ เท่ากับ 173,535.45 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นจากความต้องการพลังงานไฟฟ้าของระบบ กฟผ. ในปี 2555 เป็นจ�ำนวน 330.32 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.19 การที่ความต้องการพลังงานไฟฟ้า ของปี 2556 เพิ่มขึ้นไม่มากนั้น ส่วนหนึ่งเกิดจากมาตรการรณรงค์ร่วมใจลดใช้ไฟฟ้าระหว่างวันที่ 4 ถึง 14 เมษายน 2556 ในช่วงทีแ่ หล่งก๊าซธรรมชาติจากประเทศเมียนมาร์หยุดจ่ายเพือ่ ซ่อมบ�ำรุงแท่นผลิต ก๊าซธรรมชาติ เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดในช่วงที่ขาดแคลนเชื้อเพลิงจากก๊าซธรรมชาติ ประกอบกับภาพรวมเศรษฐกิจไทยขยายตัวต�่ำกว่าเป้าหมาย สืบเนื่องจากปัญหาความไม่แน่นอนทาง การเมืองภายในประเทศและการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ความต้องการพลังงานไฟฟ้าอยูใ่ น ระดับที่ใกล้เคียงกับปีก่อน ในสามไตรมาสแรกของปี 2556 เศรษฐกิจไทยขยายตัวช้ากว่าทีค่ าดการณ์ เนือ่ งจากถูกกดดัน จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก สาขาหลักที่ผลักดันระบบเศรษฐกิจไทยคือ สาขาการโรงแรมและ ภัตตาคาร การเงิน และคมนาคมยังคงขยายตัวได้ ในขณะที่สาขาอุตสาหกรรมและการส่งออกหดตัว ตามการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาแม้จะมีทิศทางฟื้นตัวแต่ถูกกดดันจาก ปัญหาทางการคลัง และความกังวลต่อหนี้สาธารณะ ขณะที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นถูกกดดันจากปัญหาการ ว่างงานและการบริโภคในเกณฑ์ทตี่ ำ�่ รวมถึงปัญหาหนีส้ าธารณะของประเทศในกลุม่ ยุโรป โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจของประเทศไทยปี 2556 จะขยายตัวร้อยละ 3.0 ต�่ำกว่าที่คาดการณ์จากเดิมที่คาดการณ์ไว้ประมาณร้อยละ 3.8 ถึง 4.3 โดยการบริโภคของครัวเรือนและการลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 0.8 และร้อยละ 0.9 ตามล�ำดับ อย่างไร ก็ตาม เศรษฐกิจไทยในช่วงปลายปี 2556 ยังถูกกดดันจากปัญหาความไม่แน่นอนทางการเมืองซึ่งอาจ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมท่องเทีย่ วซึง่ เป็นรายได้หลักของไทย ประกอบกับการเบิกจ่ายในโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐบาลมีความล่าช้าหรือหยุดชะงัก

10

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ส�ำหรับในปี 2557 คาดว่า ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. จะมีคา่ ประมาณ 27,915 เมกะวัตต์ เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 ประมาณร้อยละ 4.95 และความต้องการพลังงานไฟฟ้าสุทธิของ ระบบ กฟผ. จะมีคา่ ประมาณ 184,486 ล้านกิโลวัตต์-ชัว่ โมง เพิม่ ขึน้ จากปี 2556 ประมาณร้อยละ 6.35 โดย สศช. คาดว่า เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวร้อยละ 4.0-5.0 โดยมีปจั จัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขึ้น ของเศรษฐกิจโลก การด�ำเนินการตามแผนการลงทุนของภาครัฐ ทั้งในด้านการลงทุนภายใต้แผนการ บริหารจัดการทรัพยากรนำ�้ และแผนการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน รวมทัง้ ราคานำ�้ มันและเงินเฟ้อ ซึง่ อยูใ่ นระดับต�ำ่ เอือ้ อ�ำนวยต่อการฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจ คาดว่า มูลค่าการส่งออกสินค้าจะขยายตัวร้อยละ 7.0 การบริโภคของครัวเรือนและการลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 2.7 และ 7.1 ตามล�ำดับ

11


ผลการด�ำเนินงาน ก�ำลังผลิตติดตั้ง ใ​นปี 2556 โรงไฟฟ้าของ กฟผ. มีก�ำลังผลิตติดตั้ง 15,010.13 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 44.57 ของก�ำลังผลิตรวมทั้งประเทศ มีการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ก�ำลังผลิตรวม 12,741.69 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 37.83 ของก�ำลังผลิตรวมทัง้ ประเทศ รับซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ก (SPP) 3,524.60 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 10.46 และรับซื้อไฟฟ้าจากต่างประเทศอีก 2,404.60 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 7.14 ​ในปี 2556 กฟผ. ไม่มีการน�ำโรงไฟฟ้าใหม่เข้าระบบ มีเพียงการรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็กประเภทจ่ายไฟแน่นอนเพิ่มขึ้น 1,080 เมกะวัตต์

การผลิตและซื้อพลังงานไฟฟ้า ​ความต้องการใช้ไฟฟ้าในปี 2556 เกิดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 มีค่าถึง 26,598.14 เมกะวัตต์ สูงกว่าปี 2555 ถึง 477.04 เมกะวัตต์ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.83 ส�ำหรับพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและซื้อสุทธิ (Net Energy) ปี 2556 มีค่ารวมทั้งสิ้น 173,535.45 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง สูงกว่าปี 2555 จ�ำนวน 330.32 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือร้อยละ 0.19 แบ่ง เป็นการผลิตไฟฟ้าจาก กฟผ. จ�ำนวน 72,113.94 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือร้อยละ 41.56 ของความ ต้องการพลังงานไฟฟ้าของประเทศ ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 58.44 เป็นการซื้อพลังงานไฟฟ้าสุทธิจาก เอกชนและต่างประเทศจ�ำนวน 101,421.51 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

การใช้เชื้อเพลิง ​ในปี 2556 โรงไฟฟ้า กฟผ. ใช้ก๊าซธรรมชาติที่ผลิตจากแหล่งอ่าวไทย แหล่งบนบก (แหล่ง น�้ำพอง แหล่งสินภูฮ่อม และแหล่งสิริกิติ์) และน�ำเข้าจากต่างประเทศ (สหภาพเมียนมาร์ และ LNG ) จ�ำนวน 385,831 พันล้านบีทียู ปริมาณการใช้ก๊าซฯ ในโรงไฟฟ้า IPP จ�ำนวน 386,321 พันล้านบีทียู รวมปริมาณการใช้ก๊าซฯ เพื่อผลิตไฟฟ้าทั้งสิ้น 772,152 พันล้านบีทียู โดยมีสัดส่วนการใช้ก๊าซฯ ของ กฟผ. ต่อ IPP ใกล้เคียงกัน การใช้ก๊าซฯ เพื่อผลิตไฟฟ้าในปี 2556 ลดลงจากปี 2555 ประมาณ 57 ล้านล้านบีทียู หรือ ลดลงร้อยละ 6.90 ราคาก๊าซฯ เฉลี่ยในปี 2554 - 2556 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเกิด จากการน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) จากต่างประเทศซึ่งมีราคาสูง โดยเริ่มน�ำเข้ามาตั้งแต่กลางปี 2554 ส่งผลให้ราคาเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2554 เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับเชื้อเพลิงอื่นๆ มีการผลิตและใช้ลิกไนต์ในโรงไฟฟ้าแม่เมาะจ�ำนวนรวม 16.88 ล้านตัน ใช้น�้ำมันเตาเดินเครื่องตามแผนและในกรณีฉุกเฉินจ�ำนวน 316.82 ล้านลิตร ต�่ำกว่าปี 2555 ร้อยละ 1.15 ส่วนการใช้น�้ำมันดีเซลมีจ�ำนวนรวม 60.35 ล้านลิตร

12

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


การจ�ำหน่ายไฟฟ้า ก​ ฟผ. จ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้ารวมทัง้ สิน้ 169,530.32 ล้านกิโลวัตต์-ชัว่ โมง โดยจ�ำหน่ายให้ลกู ค้า หลัก คือ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.)​จ�ำนวน 49,623.63 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) จ�ำนวน 116,793.35 ล้านกิโลวัตต์-ชัว่ โมง ลูกค้าตรงและขายไฟฟ้าให้ประเทศเพือ่ นบ้าน (สปป. ลาว มาเลเซีย และกัมพูชา) จ�ำนวน 3,015.30 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ลูกค้าประเภทไฟส�ำรองและไฟฟ้า ชั่วคราว จ�ำนวน 98.04 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

การปรับโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ค​ ่าไฟฟ้า ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ค่าไฟฟ้าฐาน และค่าไฟฟ้าผันแปร ส�ำหรับการก�ำหนดค่าไฟฟ้านั้น คณะรัฐมนตรีจะมีการทบทวนหลักเกณฑ์ทุกๆ 3-5 ปี และ มอบหมายให้คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ไปด�ำเนินการ ล่าสุดได้ประกาศใช้ค่าไฟฟ้า ฐานตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2554 และมีการปรับปรุงบางส่วนในเดือนมิถุนายน 2555 ​ค่าไฟฟ้าฐาน สะท้อนถึงเงินลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบส่ง ระบบจ�ำหน่าย ค่าใช้จ่ายในการ ด�ำเนินการและบ�ำรุงรักษา ค่าเชื้อเพลิง ค่าซื้อไฟฟ้า และผลตอบแทนการลงทุนของการไฟฟ้า โดยมี กลไกให้การไฟฟ้าปรับปรุงประสิทธิภาพ และมีการควบคุมต้นทุนการด�ำเนินงานของการไฟฟ้า ​ค่าไฟฟ้าผันแปร (ค่าเอฟที) สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิงและค่า ซื้อไฟฟ้า ตลอดจนค่าใช้จ่ายตามนโยบายของรัฐ เช่น เงินกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าที่ อยูน่ อกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้า ทัง้ นี้ กกพ. จะก�ำกับดูแลค่าเอฟที เพือ่ ให้การส่งผ่านต้นทุนการ ผลิตไฟฟ้าเกิดความเป็นธรรมต่อผู้ใช้ไฟฟ้าและผู้ผลิตไฟฟ้า และค�ำนึงต่อผลกระทบกับผู้ใช้ไฟฟ้าด้วย

13


​ส�ำหรับในปี 2556 สถานการณ์ต้นทุนการผลิตไฟฟ้ามีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2555 โดย เฉพาะราคาก๊าซธรรมชาติที่เป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้า ปรับเพิ่มขึ้น 11 บาท/ล้านบีทียู (เพิ่ม ขึ้นจากเฉลี่ย 300 บาท/ล้านบีทียู เป็นเฉลี่ย 311 บาท/ล้านบีทียู) หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ส่งผลให้ต้นทุน การผลิตไฟฟ้าเพิม่ สูงขึน้ ซึง่ กฟผ. ได้มกี ารบริหารจัดการผลิตไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพือ่ ควบคุม ต้นทุนการผลิตไฟฟ้า ทัง้ นี้ เพือ่ มิให้เกิดผลกระทบต่อผูใ้ ช้ไฟฟ้ามากนัก กกพ. จึงอนุมตั ใิ ห้คา่ เอฟทีทเี่ รียก เก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้าปรับเพิ่มในระดับที่ต�่ำกว่าต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่เกิดขึ้น โดยให้ กฟผ. เป็นผู้รับภาระ ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นแต่ยังไม่เรียกเก็บไว้ก่อนเป็นการชั่วคราว ​ค่าเอฟทีในปี 2556 มีการปรับเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 3 ครั้ง ดังนี้คือ ในงวดแรกปี 2556 (มกราคมเมษายน 2556) ค่าเอฟทีอยู่ที่ 52.04 สตางค์ต่อหน่วย ส�ำหรับงวดที่สอง (พฤษภาคม - สิงหาคม 2556) ค่าเอฟทีปรับลดลงเป็น 46.92 สตางค์ต่อหน่วย และงวดที่สาม (กันยายน - ธันวาคม 2556) ปรับขึ้น เป็น 54.00 สตางค์ต่อหน่วย สรุปค่าไฟฟ้าในปี 2556 เป็นดังนี้ งวดที่ เดือน

ค่าเอฟที (บาทต่อหน่วย)

1 2 3

มกราคม - เมษายน 2556 พฤษภาคม - สิงหาคม 2556 กันยายน - ธันวาคม 2556

0.52 0.47 0.54

ค่าไฟฟ้าขายปลีก เฉลี่ยรวมค่าเอฟที (บาทต่อหน่วย) 3.80 3.75 3.82

​ทั้งนี้ ตามมติ กกพ. ค่าเอฟทีค้างรับยังไม่เรียกเก็บจากผู้ใช้ไฟฟ้า ที่ กกพ. ให้ กฟผ. รับภาระ ไปก่อนค�ำนวณ ณ ปลายปี 2556 มีจ�ำนวนประมาณ 1,566 ล้านบาท

โรงไฟฟ้าของ กฟผ. ก�ำลังผลิตแยกตามประเภทโรงไฟฟ้า ​ ประเภทโรงไฟฟ้า ก�ำลังผลิต(เมกะวัตต์) โรงไฟฟ้าพลังความร้อน​

​คิดเป็นร้อยละ

4,699.00​ 13.95 ​ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม​ 6,866.00​ 20.39 ​ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ ​3,435.74​ 10.20 ​โรงไฟฟ้าดีเซล ​4.40 ​0.01 ​โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน​ 4.99​ 0.02 ​ก�ำลังผลิตรวมของ กฟผ.​ 15,010.13​ 44.57

14

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


คุณภาพการผลิตไฟฟ้า ล�ำดับที่ รายละเอียด 1 Heat Rate (kJ/kWh)

2 3 4

GWEAF (%) POF (%) UOF (%)

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

ปี 2556

8,835.93 90.72 5.48 2.46

8,694.21 92.75 3.39 2.58

8,662.41 90.54 5.00 2.84

8,620.00 92.10 4.10 2.30

​ในปี 2556 โรงไฟฟ้า กฟผ. มีค่าประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ค่า ความร้อนจากเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยต�่ำกว่าปี 2554 และ 2555 ที่ผ่านมา ส�ำหรับค่า ความพร้อมจ่ายไฟฟ้า (GWEAF) ของ กฟผ. มีค่าสูงกว่าปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 1.6 จากมาตรการ ควบคุมการหยุดเดินเครือ่ งนอกแผนและการลดภาระก�ำลังการผลิต รวมทัง้ ปรับกระบวนการซ่อมบ�ำรุง ในโรงไฟฟ้าทีห่ ยุดเดินเครือ่ งเพือ่ บ�ำรุงรักษาตามวาระให้สามารถด�ำเนินการแล้วเสร็จเร็วกว่าแผนงาน และ ควบคุมไม่ให้เกิดการขยายระยะเวลาการบ�ำรุงรักษาออกไป เมื่อพิจารณาการหยุดเดินเครื่องเพื่อบ�ำรุง รักษาตามแผน (POF) เปรียบเทียบปี 2555 กับปี 2556 พบว่า ค่าลดลงประมาณร้อยละ 1 ส�ำหรับการ หยุดเดินเครื่องนอกแผน (UOF) เปรียบเทียบปี 2555 กับปี 2556 พบว่า ค่าลดลงประมาณร้อยละ 0.5 ทั้งนี้ กฟผ. สามารถควบคุมอัตราส่วนจ�ำนวนชั่วโมงหยุดเดินเครื่องนอกแผนให้มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 3 มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553

15


ระบบส่งไฟฟ้า ​ ในปี 2556 กฟผ. ด�ำเนินการตามแผนปรับปรุง ขยายระบบส่งไฟฟ้า รวมถึงการปรับปรุง โยกย้ายอุปกรณ์ระบบส่งต่างๆ เพือ่ เพิม่ ความสามารถและความมัน่ คงในการจ่ายไฟฟ้า โดยมีงานก่อสร้าง ระบบส่งทีส่ �ำคัญแล้วเสร็จน�ำเข้าใช้งานได้ เช่น สายส่ง 500 kV พาชี2-ท่าตะโก จ�ำนวน 2 วงจร นอกจาก นี้ ยังน�ำหม้อแปลง KT4A KT5A ขนาด 300 MVA เข้าใช้งานที่สถานีไฟฟ้าแรงสูงเชียงราย และมีสถานี ไฟฟ้าแรงสูงเข้าใหม่ในปีนี้ ได้แก่ สถานีไฟฟ้าแรงสูงหัวหวายระบบแรงดัน 115 kV ปั จจุบันเครือข่ายระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. มีสายส่งไฟฟ้ารวมความยาวทั้งสิ้น 32,384.24 วงจร-กิโลเมตร สถานีไฟฟ้าแรงสูงรวม 213 สถานี จุดจ่ายไฟขนาดแรงดันต่างๆ รวม 553 จุดจ่ายไฟ และพิกัดหม้อแปลงไฟฟ้ารวม 87,148.94 MVA ในปี 2556 เกิดข้อขัดข้องในระบบส่งไฟฟ้า ทำ�ให้เกิดไฟฟ้าดับด้วยสาเหตุตา่ งๆ ทีเ่ ป็น Forced Outage รวม 69 ครั้ง แบ่งออกเป็นเหตุขัดข้องจากสายส่ง 16 ครั้ง และเหตุขัดข้องจากอุปกรณ์ สถานีไฟฟ้าแรงสูง 53 ครั้ง สาเหตุเบื้องต้นของการเกิดข้อขัดข้องส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากความเสียหาย ของอุปกรณ์ไฟฟ้าในสถานีไฟฟ้าแรงสูง และอุปกรณ์ควบคุมและป้องกันรวม 25 ครั้ง เกิดจากสัตว์ 21 ครั้ง เกิดจากการกระทำ�ของคน (เกิดจากคน กฟผ. และบุคคลภายนอก กฟผ.) รวม 8 ครั้ง เกิดจาก สิ่งแวดล้อม 5 ครั้ง สภาพอากาศ 2 ครั้ง ขัดข้องในระบบ 1 ครั้ง และไม่สามารถระบุสาเหตุได้ 7 ครั้ง เหตุการณ์ที่สำ�คัญ ได้แก่ ​วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 เวลา 17.26 น. สายส่ง 500 กิโลโวลต์ บางสะพาน 2 - จอมบึง วงจร 1 เกิดการลัดวงจรเนื่องจากฟ้าผ่าลงสายส่ง ทำ�ให้ระบบป้องกันสายส่งทำ�งาน สั่งปลดสายส่ง ออกจากระบบไฟฟ้า เวลา 18.41 น. จ่ายไฟสายส่ง 500 กิโลโวลต์ บางสะพาน 2 - จอมบึง วงจร 1 จากสถานีไฟฟ้าแรงสูงจอมบึงไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูงบางสะพาน 2 แต่ไม่สามารถเชื่อมกลับเข้าระบบ ที่สถานีไฟฟ้าแรงสูงบางสะพาน 2 ได้ เพิ่มการรับไฟฟ้าจากประเทศมาเลเซีย แต่ระบบป้องกันสายส่ง เชื่อมโยง HVDC ทางฝั่งประเทศมาเลเซียทำ�งานผิดพลาดสั่งปลดสายส่งดังกล่าวออก จึงส่งผลให้ระบบ ไฟฟ้าสูญเสียเสถียรภาพ จนนำ�ไปสู่การแยกระบบระหว่างภาคกลางและภาคใต้ เวลา 18.52 น. สถานี ไฟฟ้าแรงสูง BSP2 หม้อแปลง KT4A (SVC Trip), สายส่ง 230kV BSP-BSP2 วงจร 1, สายส่ง 230kV HH-PKK วงจร 1, 2 Trip ทำ�ให้สถานีไฟฟ้าแรงสูงภาคใต้ HVDC, รฟ. CHN-C, BLG-H, GYG, KN-C, KN-T, SRT-G หลุดออกจากระบบหลัก เกิดสภาพ Under Frequency ทำ�ให้ระบบไฟฟ้าภาคใต้ถูก แยกจากระบบหลักของประเทศ

16

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ส�ำหรับปี 2556 ดัชนีสมรรถนะและความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้าที่ส�ำคัญมีดังต่อไปนี้ • ดัชนีชี้วัดความรุนแรงของพลังงานไฟฟ้าหยุดจ่ายที่ไม่สามารถตอบสนองลูกค้าได้ ต่อความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (SISI) มีค่า 8.54925 System Minutes ​ • ​ดัชนีชี้วัดจ�ำนวนครั้งที่ไฟฟ้าดับต่อจุดจ่ายไฟ (SAIFI) มีค่า 0.35626 ครั้ง/จุดจ่ายไฟ ​ • ​ดัชนีชี้วัดระยะเวลาไฟฟ้าดับต่อจุดจ่ายไฟ (SAIDI) มีค่า 13.96649 นาที/จุดจ่ายไฟ ท​ �ำให้ในปี 2556 มี ​ • ​ความพร้อมในการจ่ายไฟของระบบโดยรวม (SA) มีค่าร้อยละ 99.9973 ​ • ​ความพร้อมใช้งานของสายส่งไฟฟ้ามีค่าร้อยละ 99.98316 ​ • ​ความพร้อมใช้งานของหม้อแปลงมีค่าร้อยละ 99.67192 ​ทางด้านคุณภาพไฟฟ้า สามารถควบคุมความถี่ไฟฟ้าให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ 49.50 Hz. 50.50 Hz. และแรงดันเบี่ยงเบนให้อยู่ที่ร้อยละ 95-105 ของแรงดันปกติ กลุ่มระบบส่งยังให้ความสำ�คัญในด้านการปรับปรุง บำ�รุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบส่ง อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีความพร้อมใช้งานตลอดเวลา เช่น งานล้างลูกถ้วย 500 kV ของสายส่งที่พาด ผ่านบริเวณพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามเสีย่ งสูงต่อการเกิดไฟฟ้าลัดวงจรจากสิง่ สกปรก มลภาวะ ควันไฟ และมูลนก มีการซ้อมแผนการนำ�ระบบกลับคืนสู่สภาวะปกติพร้อมรับมือเมื่อเกิดไฟฟ้าดับ ตลอดจนงานศึกษา วิเคราะห์ระบบไฟฟ้าเพือ่ จัดเตรียมแผนงานก่อสร้างงานปรับปรุงต่างๆ ให้ทนั ต่อความต้องการของระบบ รวมทัง้ จัดแผนการผลิตให้สอดคล้องกับสภาพระบบส่งและความต้องการของระบบ ดูแลป้องกันการเกิด Human Error ข้อขัดข้องของอุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้าจากสัตว์ต่างๆ และการประชาสัมพันธ์เพื่อลดการ เกิดข้อขัดข้องและความเสียหายของสายส่งที่เกิดจากชุมชน รับข้อร้องเรียนและตอบสนองอย่างเป็น รูปธรรมต่อผู้มีส่วนได้เสียในการจ่ายไฟฟ้า เป็นต้น เป็นผลให้ระบบไฟฟ้าสามารถส่งจ่ายไฟฟ้าได้อย่าง ต่อเนื่องมีความมั่นคงและเชื่อถือได้ รวมทั้งคุณภาพไฟฟ้าที่ดีทั้งด้านแรงดันและความถี่ไฟฟ้า นอกจากนั้น กลุ่มระบบส่งยังเข้าร่วมการ Benchmark ดัชนีชี้วัดสมรรถนะระบบไฟฟ้ากับ ITOMS (International Transmission Operation and Maintenance Study) เพื่อใช้เป็นข้อมูล อ้างอิงในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน และเพิ่มดัชนีชี้วัดสมรรถนะระบบไฟฟ้าของ ITOMS ที่เหมาะสม กับลักษณะองค์กรธุรกิจระบบส่ง

17


รางวัลแห่งความภูมิใจ โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรือ ได้รับรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ด้านการด�ำเนิน งานเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมประจ�ำปี 2556 และรางวัลดีเด่นระดับประเทศประเภทโครงการพลังงาน หมุนเวียนทีไ่ ม่เชือ่ มโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับอาเซียน จากการประกวด ASEAN Energy Awards 2013 ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยง กับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid)

18

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


19


ลักษณะการประกอบธุรกิจ และบริษัทในเครือ การประกอบธุรกิจของ กฟผ. กฟผ. เป็นรัฐวิสาหกิจด้านกิจการพลังงานภายใต้การก�ำกับดูแลของกระทรวงพลังงาน กระทรวงการคลัง ด�ำเนินธุรกิจหลักในการผลิต จัดให้ได้มาและจ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้า นครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ผู้ใช้ไฟฟ้าตามกฎหมายก�ำหนดและประเทศใกล้เคียง พร้อมทั้งธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการไฟฟ้าภายใต้กรอบพระราชบัญญัติ กฟผ. 1. ธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าในธุรกิจใหญ่ 1.1 การผลิตไฟฟ้า กฟผ. ผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ซึ่งตั้งอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศรวมจ�ำนวนทั้งสิ้น 40 แห่ง มีก�ำลังผลิตรวมทั้งสิ้น 15,010.13 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าหลายประเภท ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 3 แห่ง โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 6 แห่ง โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ 22 แห่ง โรงไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน 8 แห่ง และโรงไฟฟ้าดีเซล 1 แห่ง 1.2 การรับซื้อไฟฟ้า นอกจากการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. แล้ว กฟผ. ยังรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ 11 ราย รวมก�ำลังผลิต 12,741.69 เมกะวัตต์ และผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก รวมก�ำลังผลิต 3,524.60 เมกะวัตต์ รวมทั้งรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และประเทศมาเลเซีย รวมก�ำลังผลิต 2,404.60 เมกะวัตต์ 1.3 การส่งไฟฟ้า กฟผ. ด�ำเนินการจัดส่งไฟฟ้าที่ผลิตจากโรงไฟฟ้าของ กฟผ. และที่รับซื้อจากผู้ผลิตไฟฟ้า รายอืน่ ผ่านระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. ซึง่ มีโครงข่ายครอบคลุมทัว่ ประเทศ ทีร่ ะดับแรงดัน 500 กิโลโวลต์ 230 กิโลโวลต์ 132 กิโลโวลต์ 115 กิโลโวลต์ และ 69 กิโลโวลต์ เพื่อจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ รับซื้อโดยตรงจาก กฟผ. การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งน�ำไปจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ ผู้ใช้ไฟฟ้าในประเทศต่อไป นอกจากนี้ กฟผ. ยังจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าของประเทศเพื่อนบ้านด้วย ได้แก่ สปป.ลาว ด้วยระบบส่งไฟฟ้าแรงดัน 115 กิโลโวลต์ และ 22 กิโลโวลต์ และประเทศมาเลเซีย ด้วยระบบไฟฟ้าแรงสูงกระแสตรง (HVDC) 300 กิโลโวลต์

20

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


2. ธุรกิจอื่นๆ 2.1 ธุรกิจเกี่ยวเนื่องของ กฟผ. ในปี 2556 กฟผ. ได้มีการด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ กฟผ. อีกทั้ง ได้ขยายขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจเข้าสู่ประเทศในกลุ่มภูมิภาคอาเซียน โดยได้มีการมุ่งเน้นไปยัง ประเทศในกลุม่ “CLMV” (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม) เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อม จากการเกิดขึ้นของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี 2558 การด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องของ กฟผ. ไปยังกลุ่มประเทศภูมิภาคอาเซียนนั้น นอกจากจะ เป็นการเสริมสร้างรายได้ให้แก่ กฟผ. แล้ว ยังถือเป็นการเสริมสร้างความมั่นคงให้แก่ระบบไฟฟ้าของ ประเทศไทย เนื่องจากโรงไฟฟ้าดังกล่าวได้ส่งกระแสไฟฟ้ากลับมายังประเทศไทย และยังเป็นการ เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศด้วยเช่นกัน โดยในปี 2556 กฟผ. ได้มีการด�ำเนินธุรกิจ ในต่างประเทศที่โดดเด่นดังต่อไปนี้ • บริการงานวิศวกรรมและก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนลิกไนต์หงสา สปป.ลาว • บริการงานเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนลิกไนต์หงสา สปป.ลาว (เริ่มต้นช่วง Mobilization Phase เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2556) • โครงการฝึกอบรมด้านการเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าให้แก่บคุ ลากรของการ ไฟฟ้าแห่งประเทศเมียนมาร์ • ร่วมมือกับ Original Equipment Manufacturer (OEM) ในการให้บริการงานตรวจ สอบ Gas Turbine Rotor หรือ “Comprehensive Rotor Inspection” (CRI) ให้ แก่โรงไฟฟ้า TUAS (สิงคโปร์) EVN (เวียดนาม) และ Cilegon (อินโดนีเซีย)

21


ในส่วนของการด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่องภายในประเทศ กฟผ. ได้มีการขยายขอบเขตการให้ บริการงานเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาไปยังลูกค้าในกลุ่มโรงไฟฟ้า SPP ซึ่งมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นเป็น จ�ำนวนมากตามที่ระบุไว้ในแผนพัฒนาก�ำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2555-2573 (PDP 2013) นอกจากนัน้ กฟผ. ยังได้มกี ารร่วมมือกับสถาบันการศึกษาชัน้ น�ำในประเทศ เพือ่ วิจยั และพัฒนา วัตถุดบิ ผลพลอยได้จากกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงถ่านหินลิกไนต์ ณ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง เพื่อสร้างเป็นผลิตภัณฑ์เถ้าลอยและยิปซั่มสังเคราะห์ ซึ่งน�ำไปใช้ในกระบวนการพัฒนา คุณภาพของปูนซีเมนต์ และการพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์ปรับปรุงดิน นอกเหนือจากธุรกิจดังทีก่ ล่าวมานัน้ กฟผ. ยังได้มกี ารให้บริการทีป่ รึกษาด้านงานวิศวกรรมและ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าบางปะอินโคเจนเนอเรชั่น และงานบริการที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมเพื่อจัดท�ำเอกสาร ประกวดราคา วิเคราะห์ และประเมินเอกสารของโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า บริษัท ผลิตไฟฟ้าและ นำ�้ เย็น จ�ำกัด (DCAP) ในระยะที่ 2 ซึง่ รองรับการขยายพืน้ ทีก่ ารให้บริการของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 2.2 การด�ำเนินงานของบริษัทในเครือ กฟผ. ได้ลงทุนเพื่อประกอบธุรกิจด้านการผลิตไฟฟ้าและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง โดยได้มีบริษัท ในเครือจ�ำนวน 5 บริษัท มีรายละเอียด ดังนี้

บริษัทย่อย • บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ลักษณะการประกอบธุรกิจ: กฟผ. ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543 และด�ำเนินธุรกิจในรูปของบริษทั โฮลดิง้ รายได้หลักมาจากเงินปันผลรับในบริษัทที่ลงทุน บริษทั มุง่ ลงทุน พัฒนา และด�ำเนินงานด้านผลิตไฟฟ้าเป็นหลัก โดยจัดให้มคี วามหลากหลายใน การใช้เชือ้ เพลิงทัง้ ก๊าซธรรมชาติ นำ�้ มัน ถ่านหิน พลังน�ำ้ และพลังงานทดแทน อาทิ พลังงานลม เป็นต้น นอกจากนี้ ยังให้ความส�ำคัญกับการขยายธุรกิจไปยังธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เช่น การให้บริการงานเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า การท�ำเหมืองถ่านหิน เป็นต้น รวมทั้ง การเข้าร่วมลงทุนกับพันธมิตรทาง ธุรกิจในโครงการต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปัจจุบันบริษัทมีกำ�ลังผลิตรวม 5,168.95 เมกะวัตต์ แบ่งเป็นกำ�ลังผลิตภายในประเทศ 4,570.38 เมกะวัตต์ และกำ�ลังผลิตจากต่างประเทศ 598.57 เมกะวัตต์ สัดส่วนการถือหุ้น: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนทัง้ สิน้ 1,450 ล้านหุน้ หรือเท่ากับ 14,500 ล้านบาท ถือหุ้นโดย กฟผ. ในสัดส่วนร้อยละ 45 และผู้ลงทุนทั่วไปถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 55

22

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


• บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ลักษณะการประกอบธุรกิจ: กฟผ. ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 นโยบายในการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั จะเป็นการลงทุนโดยตรง หรือจัดตัง้ บริษทั ในเครือเพือ่ ร่วมลงทุน โครงการต่างๆ ในต่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งพลังงานไฟฟ้าส่งเข้ามาใช้ในประเทศ ปัจจุบนั บริษทั ได้รบั อนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรีให้ลงทุนในโครงการไฟฟ้าพลังนำ�้ นำ�้ เงีย้ บ 1 ใน สปป.ลาว ขนาดก�ำลังผลิต 289 เมกะวัตต์ โดยบริษทั มีสดั ส่วนการลงทุนในโครงการร้อยละ 30 โครงการ อยู่ระหว่างเตรียมการก่อสร้างและคาดว่าจะสามารถเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2562 สัดส่วนการถือหุ้น: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษทั มีทนุ จดทะเบียนทัง้ สิน้ 310.8 ล้านหุน้ หรือเท่ากับ 3,108 ล้านบาท ถือหุ้นโดย กฟผ. ร้อยละ 99.99 • บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด ลักษณะการประกอบธุรกิจ: บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด จัดตั้งขึ้นโดยการร่วมทุนระหว่าง กฟผ. บริษัท Mitsubishi Heavy Industries, Ltd. (MHI) บริษัท Mitsubishi Corporation (MC) และบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (RATCH) ซึ่งได้จดทะเบียนเป็นบริษัทจ�ำกัด เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2552 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อด�ำเนินธุรกิจให้บริการซ่อมชิ้นส่วน Hot Gas Path Parts ของ เครื่องกังหันแก๊ส ครอบคลุมพื้นที่ให้บริการใน 18 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สปป.ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม กัมพูชา บรูไน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล อัฟกานิสถาน และมัลดีฟส์ โรงงานซ่ อ มชิ้ น ส่ ว นของบริ ษั ท ตั้ ง อยู ่ ที่ นิ ค ม อุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี ซึ่งได้เปิดด�ำเนิน การแล้วเมื่อเดือนเมษายน 2554 สัดส่วนการถือหุ้น: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีทุนจดทะเบียน ทั้งสิ้น 6.23 ล้านหุ้น หรือเท่ากับ 623 ล้านบาท ถือหุ้นโดย กฟผ. MHI MC และ RATCH ในสัดส่วนร้อยละ 45 30 15 และ 10 ตามล�ำดับ

23


บริษัทร่วม • บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) ลักษณะการประกอบธุรกิจ: กฟผ. ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2535 และด�ำเนินธุรกิจในรูปของบริษทั โฮลดิง้ รายได้หลักมาจากเงินปันผลรับในบริษทั ย่อย และบริษัทร่วม บริษัทมุ่งเน้นประกอบธุรกิจหลักในการผลิตและจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าให้ กฟผ. และลูกค้า ทั้งในประเทศและในภูมิภาคอาเซียนภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว รวมทั้งยังครอบคลุมธุรกิจ การให้บริการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้านพลังงาน โดยบริษทั ได้แบ่งประเภทการลงทุนออกเป็น 4 กลุม่ ธุรกิจ ได้แก่ 1) ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) 2) ธุรกิจผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) 3) ธุรกิจผู้ผลิต ไฟฟ้าต่างประเทศ และ 4) ธุรกิจอื่นๆ ได้แก่ ธุรกิจเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษา และธุรกิจน�้ำ ปัจจุบันบริษัทมีก�ำลังผลิตรวม 4,692 เมกะวัตต์ แบ่งเป็นก�ำลังผลิตภายในประเทศ 3,819 เมกะวัตต์ และก�ำลังผลิตจากต่างประเทศ 873 เมกะวัตต์ สัดส่วนการถือหุ้น: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 530 ล้านหุ้น หรือเท่ากับ 5,300 ล้านบาท ซึ่งเป็นทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 526.47 ล้านหุ้น หรือเท่ากับ 5,264.65 ล้านบาท ถือหุ้นโดย กฟผ. ร้อยละ 25.41 บริษัท TEPDIA Generating B.V. ร้อยละ 23.94 และผู้ลงทุนทั่วไป ร้อยละ 50.65

กิจการร่วมค้า • บริษัท ผลิตไฟฟ้าและน�้ำเย็น จ�ำกัด ลักษณะการประกอบธุรกิจ: บริษทั ผลิตไฟฟ้าและนำ�้ เย็น จ�ำกัด จัดตัง้ ขึน้ โดยการร่วมทุนระหว่าง กฟผ. บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (ปตท.) และการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ซึง่ ได้จดทะเบียนเป็นบริษทั จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าและน�้ำเย็นส�ำหรับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปัจจุบันบริษัทอยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการลงทุนก่อสร้าง Cogeneration Plant แห่งใหม่ ส�ำหรับพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 ซึ่งคาดว่าจะสามารถ เดินเครื่องเชิงพาณิชย์ได้ในช่วงกลางปี 2559 สัดส่วนการถือหุ้น: ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น 167 ล้านหุ้น หรือเท่ากับ 1,670 ล้านบาท ถือหุ้นโดย กฟผ. ปตท. และ กฟน. ในสัดส่วนร้อยละ 35 35 และ 30 ตามล�ำดับ

24

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทในเครือ

ชื่อบริษัท

ชื่อย่อ ทุนจดทะเบียน สัดส่วนการถือหุ้น สถานะ (ล้านบาท) (ร้อยละ)

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) RATCH ​8/8 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางเขน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ​โทรศัพท์ : 0 2794 9999 โทรสาร : 0 2794 9998 ​Website : www.ratch.co.th

14,500

45

บริษัทย่อย

บ​ ริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด EGATi ​53 หมู่ที่ 2 ถนนจรัญสนิทวงศ์ ต�ำบลบางกรวย อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 11130 ​โทรศัพท์ : 0 2436 4000 โทรสาร : 0 2436 4017 ​Website : www.egati.co.th

3,108

99.99

บริษัทย่อย

บริษัท อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด EDS ​56/25 หมู่ 20 ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ : 0 2529 0800 โทรสาร : 0 2529 0900 ​Website : www.egatdiamond.co.th

623

45

บริษัทย่อย

บ​ ริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) EGCO ​อาคารเอ็กโก 222 หมู่ที่ 5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 ​โทรศัพท์ : 0 2998 5000 โทรสาร : 0 2998 0956-9 ​Website : www.egco.com

5,300

25.41

บริษัทร่วม

บ​ ริษัท ผลิตไฟฟ้าและน�้ำเย็น จ�ำกัด DCAP เลขที่ 222 หมู่ 1 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0 2327 4242 โทรสาร : 0 2327 4244 Website : www.dcap.co.th

1,670

35

กิจการร่วมค้า

25


วิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน 1. รายงานวิเคราะห์ผลการด�ำเนินงานตามงบการเงินรวม

สรุปภาพรวมผลการด�ำเนินงานของ กฟผ. บริษัทย่อย บริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 มีดังนี้

31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55 ล้านบาท ล้านบาท

เพิ่มขึ้น (ลดลง) ล้านบาท ร้อยละ

536,913.34 512,991.89

23,921.45

4.66

512,820.46

486,243.70

26,576.76

5.47

24,092.88

26,748.19

(2,655.31)

(9.93)

ต้นทุนจากการขายสินค้าและบริการ

478,658.84 455,503.10

23,155.74

5.08

ต้นทุนขายไฟฟ้า

456,479.01

430,191.42

26,287.59

6.11

ต้นทุนขายสินค้าและบริการอื่น

22,179.83

25,311.68

กำ�ไรขั้นต้น

58,254.50

57,488.79

รายได้อื่น

4,774.20

6,114.57

(1,340.37) (21.92)

กำ�ไรก่อนค่าใช้จ่าย

63,028.70

63,603.36

(574.66) (0.90)

ค่าใช้จ่ายในการขาย

143.55

131.85

11.70

8.87

16,006.77

17,568.48

(1,561.71)

(8.89)

240.18

96.23

46,638.20

45,806.80

2,804.34

3,761.73

(957.39) (25.45)

49,442.54

49,568.53

(125.99) (0.25)

ต้นทุนทางการเงิน

4,416.81

5,343.21

(926.40) (17.34)

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (ส่วนของบริษัทย่อย)

1,293.73

887.24

406.49

45.82

43,732.00

43,338.08

393.92

0.91

3,390.16

4,480.15

กำ�ไรสุทธิ – ส่วนที่เป็นของ กฟผ. และบริษัทย่อย 40,341.84

38,857.93

ผลการดำ�เนินงาน

รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้จากการขายไฟฟ้า รายได้จากการขายสินค้าและบริการอื่น

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน

(3,131.85) (12.37) 765.71

1.33

143.95 149.59 831.40

1.82

ส่วนแบ่งกำ�ไรในบริษัทร่วมและในกิจการที่ควบคุม ร่วมกันของบริษัทย่อยตามวิธีส่วนได้เสีย กำ�ไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้

กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี กำ�ไรสุทธิ - ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ ไม่มีอำ�นาจควบคุม

26

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

(1,089.99) (24.33) 1,483.91

3.82


ผลการด�ำเนินงานส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 กฟผ. และบริษัทย่อย มีก�ำไรสุทธิ จ�ำนวน 40,341.84 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 1,483.91 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 3.82 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.1 วิเคราะห์รายได้จากการขายไฟฟ้า รายได้จากการขายไฟฟ้าซึ่งถือเป็นรายได้หลักของ กฟผ. และบริษัทย่อย ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจ�ำนวน 512,820.46 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากงวดเดียวกันของปี 2555 (486,243.70 ล้านบาท) จ�ำนวน 26,576.76 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.47 เนื่องจากราคาขายพลังงานไฟฟ้าในปี 2556 จ�ำนวน 3.021 บาทต่อหน่วย เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 0.152 บาทต่อหน่วย (ปี 2555 : 2.869 บาทต่อหน่วย) ในขณะเดียวกันปริมาณการใช้ไฟฟ้าก็เพิม่ ขึน้ จากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 282.30 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง หรือร้อยละ 0.17 ซึ่งส่งผลให้ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่จ�ำหน่ายส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ของ กฟผ. และบริษัทย่อยรวมมีจ�ำนวน 169,778.52 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง (2555 : 169,496.23 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเพียงเล็กน้อย ทั้งนี้ เนื่องจากปริมาณการใช้ไฟฟ้าของปี 2555 อยูใ่ นเกณฑ์สงู จากนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล และการฟืน้ ฟูหลังมหาอุทกภัย ขณะทีป่ ี 2556 นโยบายของภาครัฐโดยเฉพาะนโยบายรถยนต์คันแรกที่สิ้นสุดลง ส่งผลให้ภาคการผลิตชะลอตัว โดย เฉพาะกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ เช่นเดียวกับการบริโภคและการลงทุนในประเทศทีช่ ะลอตัวลง ขณะ ที่การส่งออกชะลอตัวจากเศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวดี ท�ำให้การเพิ่มขึ้นของความต้องการใช้ไฟในปี 2556 มาจากสภาพอากาศร้อนจัดของฤดูร้อนเป็นหลัก 1.2 วิเคราะห์ต้นทุนขายไฟฟ้า ต้นทุนขายไฟฟ้าของ กฟผ. และบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพิ่มขึ้น จากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 26,287.59 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2556 ล้านบาท

2555 ล้านบาท

ค่าซื้อไฟฟ้า

240,967.69

209,206.82

31,760.87

15.18

ค่าเชื้อเพลิง

170,829.26

176,240.28

(5,411.02)

(3.07)

ค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้า

34,067.86

34,962.81

(894.95)

(2.56)

ค่าใช้จ่ายในการส่งไฟฟ้า

10,614.20

9,781.51

832.69

8.51

456,479.01 430,191.42

26,287.59

6.11

ต้นทุนขายไฟฟ้า

รวมต้นทุนขายไฟฟ้า

เพิ่ม (ลด) ล้านบาท ร้อยละ

27


1.2.1 ค่าซื้อไฟฟ้า ในปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ค่าซื้อไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 31,760.87 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 15.18 โดย กฟผ. และบริษัทย่อยซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายอื่นจ�ำนวน 87,371.86 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 7,006.54 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือ ร้อยละ 8.72 และราคาค่าซื้อไฟฟ้าในปี 2556 จ�ำนวน 2.758 บาทต่อหน่วย เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 0.155 บาทต่อหน่วย (ปี 2555 : 2.603 บาทต่อหน่วย) มีรายละเอียดที่ส�ำคัญดังนี้ • ค่าซื้อไฟฟ้าจาก บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) ลดลงจ�ำนวน 1,310.89 ล้านกิโลวัตต์ชัว่ โมงหรือ 3,008.49 ล้านบาท เนือ่ งจากในปี 2556 มีความต้องการใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าปีกอ่ น กฟผ. จึงบริหารการใช้เชื้อเพลิง โดยลดการซื้อไฟฟ้าจากบริษัทฯ ซึ่งเป็น Intermediate Plant ที่สามารถปลดและขนานโรงไฟฟ้าเข้าระบบได้รวดเร็ว • ค่าซื้อไฟฟ้าจาก บริษัท เก็คโค่-วัน จ�ำกัด เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,182.47 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือ 3,999.69 ล้านบาท เนือ่ งจากในปีนบี้ ริษทั ฯ มีความพร้อมในการเดินเครือ่ งมากกว่าปี ที่ผ่านมา โดยบริษัทฯ ได้เริ่มซื้อขายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2555 และ ได้ขนานเครื่องเข้าระบบครั้งแรกในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 • ค่าซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตรายย่อยเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 7,506.35 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง หรือ 27,735.37 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจากการซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตเอกชนรายเล็กประเภทจ่าย พลังงานไฟฟ้าไม่แน่นอน (Non-firm) เนื่องจากมีความพร้อมในการผลิต และมีผู้ผลิตเริ่ม จ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้น 12 ราย • ค่าซื้อไฟฟ้าจากบริษัทรัฐวิสาหกิจลาว เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 2,051.68 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมงหรือ 3,340.58 ล้านบาท เนื่องจากในปีนี้มีฝนตกชุก จึงมีปริมาณน�้ำเข้าเขื่อนมาก บริษัทฯ จึง แจ้งความพร้อมขายในปริมาณมาก 1.2.2 ค่าเชื้อเพลิง ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตจาก กฟผ. และบริษัทย่อย 86,414.88 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ลดลงจาก งวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 6,590.43 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง (ปี 2555 : 93,005.31 ล้านกิโลวัตต์ชั่วโมง) โดยปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ในระหว่างปี 2556 มีรายละเอียดดังนี้

28

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ประเภทเชื้อเพลิง

2556 ล้านหน่วย

ก๊าซธรรมชาติ (MBTU)

495.39

525.86

น�้ำมันเตา (ลิตร)

355.39

500.43

(145.04) (28.98)

น�้ำมันดีเซล (ลิตร)

80.84

28.57

52.27 182.95

7.34

-

7.34 100.00

16.88

16.78

น�้ำมันปาล์ม (กิโลกรัม) ลิกไนต์ (ตัน)

2555 เพิ่ม (ลด) ล้านหน่วย ล้านหน่วย ร้อยละ (30.47)

(0.10)

(5.79)

(0.60)

ค่าเชื้อเพลิงส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวน 170,829.26 ล้านบาท ลดลงจาก ปีก่อนจ�ำนวน 5,411.02 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.07 โดยมีรายละเอียดค่าเชื้อเพลิงดังนี้ ประเภทเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ

2556 ล้านหน่วย

2555 เพิ่ม (ลด) ล้านหน่วย ล้านหน่วย ร้อยละ

150,649.29

154,417.50

(3,768.21) (2.44)

น�้ำมันเตา

7,895.24

11,905.41

(4,010.17) (33.68)

น�้ำมันดีเซล

2,081.57

685.29

1,396.28 203.75

น�้ำมันปาล์ม

214.11

-

214.11 100.00

9,989.05

9,232.08

170,829.26

176,240.28

ลิกไนต์ รวม

756.97

8.20

(5,411.02) (3.07)

1.2.3 ค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้าส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 894.95 ล้านบาท สาเหตุส่วนใหญ่เนื่องจากการลดลงของค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ประเภทโรงไฟฟ้าและอุปกรณ์โรงไฟฟ้าของบริษทั ย่อย จ�ำนวน 522.97 ล้านบาท และมีงานบ�ำรุงรักษา และตรวจสอบระบบ (Major Overhaul, Minor Inspection) ซึ่งถือเป็นงานบ�ำรุงรักษาครั้งใหญ่ของ โรงไฟฟ้าของ กฟผ. ที่ไม่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี โดย กฟผ. ได้บันทึกเป็นสินทรัพย์เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อนจ�ำนวน 329.81 ล้านบาท

29


1.3 รายได้และต้นทุนขายสินค้าและบริการอื่น รายได้และต้นทุนจากการขายสินค้าและบริการอืน่ ประกอบด้วย การให้บริการงานเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า งานรับจ้างทีป่ รึกษาด้านวิศวกรรมและก่อสร้าง และการให้บริการโทรคมนาคม ในปี 2556 กฟผ. และบริษทั ย่อยมีรายได้จากการขายสินค้าและบริการอืน่ จ�ำนวน 24,092.88 ล้านบาท ลดลงจากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 2,655.31 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.93 และต้นทุน จากการขายสินค้าและบริการอื่นส�ำหรับปี 2556 จ�ำนวน 22,179.83 ล้านบาท ลดลงจากงวดเดียวกัน ของปี 2555 จ�ำนวน 3,131.85 ล้านบาท หรือร้อยละ 12.37 1.4 รายได้อื่น รายได้อื่นส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวน 4,774.20 ล้านบาท ลดลงจากงวด เดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 1,340.37 ล้านบาท หรือร้อยละ 21.92 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจาก • การลดลงของก�ำไรจากการยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า Collinsville ของ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 1,069.44 ล้านบาท • การลดลงของก�ำไรจากการจ�ำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวจากการขายหุ้นร้อยละ 14 ใน โรงไฟฟ้า Loy Yang A ของบริษัทย่อยฯ ทางอ้อมของบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 783.68 ล้านบาท • การเพิ่มขึ้นของก�ำไรจากการขายลูกหนี้ระยะยาวของบริษัทย่อยทางอ้อมของบริษัท ผลิต ไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 645.83 ล้านบาท 1.5 ส่วนแบ่งก�ำไรในบริษัทร่วมของ กฟผ. และส่วนแบ่งก�ำไรในกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัท ย่อยตามวิธีส่วนได้เสีย ส่วนแบ่งก�ำไรตามวิธีส่วนได้เสียส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวน 2,804.34 ล้านบาท ลดลงจากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 957.39 ล้านบาท หรือร้อยละ 25.45 ประกอบ ด้วย ส่วนแบ่งก�ำไรในบริษัทร่วมลดลง 935.15 ล้านบาท ส่วนแบ่งก�ำไรในกิจการที่ควบคุมร่วมกันของ บริษัทย่อยลดลง 22.24 ล้านบาท 1.6 ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้เป็นของบริษัทย่อย ได้แก่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับ ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวน 1,293.73 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี 2555 จ�ำนวน 406.49 ล้านบาท หรือร้อยละ 45.82 ซึ่งภาษีเงินได้ที่บริษัทฯ จ่ายเพิ่มมาจากรายได้จาก เงินปันผลของบริษัทฯ

30

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


2. วิเคราะห์ฐานะทางการเงินของ กฟผ. และบริษัทย่อย

31 ธ.ค. 56 ล้านบาท

31 ธ.ค. 55 เพิ่ม (ลด) ล้านบาท ล้านบาท ร้อยละ

สินทรัพย์รวม

578,380.63

533,270.08

45,110.55

หนี้สินรวม

231,299.21

208,296.15

23,003.06 11.04

ส่วนของเจ้าของของ กฟผ. และบริษัทย่อย

315,928.06

294,868.74

21,059.32

7.14

31,153.36

30,105.19

1,048.17

3.48

สถานะทางการเงิน

ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม

8.46

สินทรัพย์รวมของ กฟผ. และบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 45,110.55 ล้านบาท โดยมีปัจจัยหลัก ดังนี้ • เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 26,766.45 ล้านบาท เป็นการเพิ่มขึ้น ในเงินฝากธนาคารไม่เกิน 3 เดือนของ กฟผ. และบริษัทย่อยจ�ำนวน 23,319.61 ล้านบาท และเพิ่มขึ้นในพันธบัตรรัฐบาลไม่เกิน 3 เดือนของ กฟผ. จ�ำนวน 3,998.23 ล้านบาท • เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 23,299.41 ล้านบาท เป็นการเพิ่มขึ้นในเงินฝากประจ�ำ ไม่เกิน 12 เดือนของ กฟผ. และบริษัทย่อยจ�ำนวน 27,034.38 ล้านบาท และการลดลง ของใบรับฝากประจ�ำของบริษัทย่อยจ�ำนวน 3,909.00 ล้านบาท • ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 8,963.28 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิ่มขึ้นของ ลูกหนี้การค้าค่าไฟฟ้าการไฟฟ้านครหลวงจ�ำนวน 10,047.61 ล้านบาท ในขณะที่ลูกหนี้ การค้าค่าไฟฟ้าการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคลดลงจ�ำนวน 3,459.29 ล้านบาท • เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อยเพิ่ม ขึ้น 2,178.66 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้

31


หน่วย : ล้านบาท เพิ่มขึ้น (ลดลง)

บริษัทร่วม บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) 1,393.23 บริษัท เฟิร์ส โคราช วินด์ จ�ำกัด 139.66 บริษัท เค อาร์ ทู จ�ำกัด 136.93 บริษัท น�้ำเงี้ยบ 1 เพาเวอร์ จ�ำกัด 314.48 1,984.30 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน บริษัท ไตร เอนเนอจี้ จ�ำกัด (291.27) บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด 185.56 บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอร์วิส จ�ำกัด (32.69) บริษัท เซาท์อีสท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด 154.86 บริษัท ไฟฟ้า หงสา จ�ำกัด (435.43) บริษัท พูไฟ มายนิ่ง จ�ำกัด (0.04) บริษัท ไฟฟ้าน�้ำงึม 3 จ�ำกัด (0.34) บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด 52.50 บริษัท ราชบุรีเวอลด์ โคเจนเนอเรชั่น จ�ำกัด 31.89 บริษัท โซลาร์ต้า จ�ำกัด 138.94 บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 3) จ�ำกัด 18.46 บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 4) จ�ำกัด 15.32 บริษัท โซล่า เพาเวอร์ (โคราช 7) จ�ำกัด 17.50 บริษัท สงขลา ไบโอแมส จ�ำกัด 31.81 Perth Power Partnership (Kwinana) (56.60) บริษัท เคเค เพาเวอร์ จ�ำกัด (15.16) บริษัท สงขลา ไบโอฟูเอล จ�ำกัด (0.01) บริษัท สุโขทัย เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (22.58) บริษัท ไฟฟ้าเซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด 383.71 บริษัท อยุธยา เพาเวอร์ จ�ำกัด 17.93 194.36 รวม 2,178.66

32

• เงินลงทุนระยะยาวลดลงจ�ำนวน 9,751.69 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักมาจากการลดลง ของเงินลงทุนของ กฟผ. ในเงินฝากประจ�ำมากกว่า 12 เดือนจ�ำนวน 10,005.34 ล้านบาท • ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์สุทธิลดลงจ�ำนวน 7,271.99 ล้านบาท สาเหตุส่วนใหญ่เนื่อง มาจาก กฟผ. และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์เพิ่มขึ้นระหว่างปีเพียง 14,429.48 ล้านบาท ในขณะที่มีค่าเสื่อมราคาประจ�ำปีจ�ำนวน 21,701.46 ล้านบาท

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


• งานระหว่างก่อสร้างเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 8,282.98 ล้านบาท เป็นการเพิ่มขึ้นจากโครงการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะนะชุดที่ 2 และโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความ ร้อนร่วมวังน้อยชุดที่ 4 • สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นลดลงจ�ำนวน 3,693.42 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการขาย เงินลงทุนของบริษัทย่อยจ�ำนวน 3,137.92 ล้านบาท หนี้สินรวมของ กฟผ. และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 23,003.06 ล้านบาท ส่วนใหญ่ประกอบด้วย • เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 23,683.48 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้ ค่าซื้อไฟฟ้าและค่าเชื้อเพลิงจ�ำนวน 14,450 ล้านบาท และ 8,192.37 ล้านบาทตามล�ำดับ • เงินกูย้ มื ระยะสัน้ เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 7,074.22 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากการเพิม่ ขึน้ ของ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริษัทย่อย • เงินกูย้ มื ระยะยาวและเงินกูย้ มื ระยะยาวทีค่ รบก�ำหนดช�ำระในหนึง่ ปีลดลงจ�ำนวน 8,252.38 ล้านบาท เนื่องจากการช�ำระคืนเงินกู้จ�ำนวน 22,568.45 ล้านบาท ในขณะที่มีการกู้ยืม ระยะยาวเพิ่มขึ้นเพียง 16,065.70 ล้านบาท ส่วนของเจ้าของของ กฟผ. และบริษัทย่อยจ�ำนวน 315,928.06 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 21,059.32 ล้านบาท โดยมีปัจจัยที่ส�ำคัญ ดังนี้ • ผลการด�ำเนินงานของ กฟผ. และบริษัทย่อยส�ำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 มีก�ำไร สุทธิจ�ำนวน 40,341.84 ล้านบาท • ตั ด จ�ำหน่ า ยเงิ น อุ ด หนุ น จากรั ฐ บาลของเขื่ อ นเอนกประสงค์ เ ฉพาะในส่ ว นเพื่ อ การ ชลประทานท�ำให้ส่วนของเจ้าของลดลงจ�ำนวน 62.33 ล้านบาท • การลดลงของก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจ�ำนวน 160.01 ล้านบาท • ประมาณการเงินรายได้แผ่นดินน�ำส่งคลังจ�ำนวน 19,060.18 ล้านบาท

33


3. วิเคราะห์กระแสเงินสด กฟผ. และบริษทั ย่อยมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จ�ำนวน 67,078.80 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 จ�ำนวน 26,766.45 ล้านบาท เนื่องจาก สาเหตุที่ส�ำคัญ ดังนี้ ล้านบาท

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ 31 ธ.ค. 55 (ปรับปรุงใหม่) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลกระทบอื่นในเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ 31 ธ.ค. 56

40,312.35 88,510.75 (34,332.36) (27,348.51) (63.43) 67,078.80

เงินสดสุทธิที่ได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงานจ�ำนวน 88,510.75 ล้านบาท ประกอบด้วยก�ำไร สุทธิของปี 2556 จ�ำนวน 40,341.84 ล้านบาท ปรับปรุงด้วยรายการต่างๆ ที่ไม่ใช่เป็นตัวเงินในงบ ก�ำไรขาดทุนได้แก่ ค่าเสื่อมราคา ก�ำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยนฯ เป็นต้น รวมเป็นเงินเพิ่มขึ้น จ�ำนวน 35,993.78 ล้านบาท รายการเปลี่ยนแปลงในเงินทุนหมุนเวียนท�ำให้เงินสดเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 12,498.19 ล้านบาท เงินสดรับจากดอกเบี้ย 1,070.92 ล้านบาท และเงินสดจ่ายภาษีเงินได้จ�ำนวน 1,393.98 ล้านบาท เงินสดสุทธิที่ใช้ไปในกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน 34,332.36 ล้านบาท ประกอบด้วยการลงทุนใน โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า สิ่งปลูกสร้างและครุภัณฑ์อื่นๆ และดอกเบี้ยจ่ายเพื่องาน ก่อสร้างรวมทั้งสิ้น 24,296.64 ล้านบาท การลงทุนเพิ่มในเงินลงทุนชั่วคราวจ�ำนวน 23,248.28 ล้าน บาท การลงทุนเพิ่มในบริษัทร่วมและกิจการที่ควบคุมร่วมกันของบริษัทย่อยจ�ำนวน 500.60 ล้านบาท เงินสดรับจากเงินลงทุนระยะยาวจ�ำนวน 10,044.49 ล้านบาท เงินสดรับจากเงินปันผลจ�ำนวน 2,001.17 ล้านบาท และเงินสดรับจากดอกเบี้ยจ�ำนวน 795.13 ล้านบาท เงินสดสุทธิที่ใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จ�ำนวน 27,348.51 ล้านบาท ส่วนใหญ่ประกอบ ด้วยเงินสดรับจากเงินกู้ระยะยาวและระยะสั้นจ�ำนวน 32,226.67 ล้านบาท เงินสดจ่ายช�ำระคืน เงินกู้ จ�ำนวน 32,242.67 ล้านบาท เงินรายได้แผ่นดินน�ำส่งคลังจ�ำนวน 17,671.88 ล้านบาท และจ่าย เงินปันผลจ�ำนวน 5,101.06 ล้านบาท

34

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


4. อัตราส่วนทางการเงิน จากผลประกอบการและฐานะทางการเงินของปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 กฟผ. และบริษัทย่อยมีอัตราส่วนทางการเงิน ดังนี้

อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)

2556

2555

อัตราส่วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว (เท่า) อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า)

1.51 1.40 0.82

1.42 1.28 0.70

10.85 8.15 73,935.01

11.21 8.45 70,321.12

อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำไร (Profitability Ratio)

อัตราก�ำไรขั้นต้น (ร้อยละ) อัตราก�ำไรสุทธิ (ร้อยละ) EBITDA (ล้านบาท)

อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (ร้อยละ) อัตราการหมุนของสินทรัพย์ (เท่า)

7.87 26.12 0.98

8.41 25.13 1.02

0.67 11.19 1.57

0.64 9.28 1.03

อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของทุน (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระดอกเบี้ย (เท่า) อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระภาระผูกพัน (เท่า) (Cash Basis) หมายเหตุ:

EBITDA ค�ำนวณจากก�ำไรขั้นต้นหักค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหารโดยที่ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและ ค่าตัดจ�ำหน่ายต่างๆ

35


การบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ส�ำคัญในการบริหารจัดการองค์การให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายทีก่ �ำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ เพิม่ มูลค่าให้แก่องค์การ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย กฟผ. มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ขององค์การตามแผนวิสาหกิจ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่า การด�ำเนินการของ กฟผ. จะสามารถบรรลุ วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ได้ก�ำหนดไว้ ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่ยอมรับได้ กฟผ. จึงได้ด�ำเนินการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบตามหลักการบริหารความเสี่ยง มาตรฐานสากลของ COSO - ERM และแนวทางการประเมินผลรัฐวิสาหกิจของกระทรวงการคลัง เป็นแนวทางเดียวกันทั่วทั้งองค์การ กฟผ. ให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินการบริหารความเสี่ยง โดยมี การก�ำกับดูแลในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับคณะกรรมการลงมา กล่าวคือคณะกรรมการ กฟผ. ได้แต่งตั้ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อท�ำหน้าที่ร่วมกับรองผู้ว่าการทุกสายงาน มีหน้าที่ก�ำกับดูแลให้ มีการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีคณะกรรมการ ตรวจสอบท�ำหน้าที่ก�ำกับดูแลความถูกต้อง และรายงานต่อคณะกรรมการ กฟผ. ซึ่งการจัดท�ำแผน บริหารความเสีย่ งองค์การ ตลอดจนติดตามและรายงานผลการบริหารจัดการความเสีย่ ง จะน�ำเสนอต่อ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งทุกไตรมาส เพือ่ ติดตามทบทวนความเพียงพอของแผนงาน/มาตรการ การบริหารความเสี่ยง และควบคุมให้ระดับความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

36

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


การบริหารความเสี่ยง ปี 2556 กฟผ. บริหารความเสี่ยงโดยด�ำเนินการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน/ภายนอกทุกด้านที่อาจส่งผล กระทบต่อการด�ำเนินงานของ กฟผ. ตามสถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นแปลงไป และได้ด�ำเนินการบริหารความ เสี่ยงครอบคลุมความเสี่ยงที่ส�ำคัญทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกลยุทธ์และการแข่งขัน ด้านการเงิน ด้านการ ด�ำเนินงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ในปี 2556 กฟผ. สามารถบริหารจัดการกับเหตุการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เหตุการณ์ไฟฟ้าดับในพืน้ ที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ทีเ่ กิดเหตุสดุ วิสยั เนือ่ งจากสภาพอากาศ และมีเหตุการณ์ ฟ้าผ่าสายส่ง เมื่อเดือนพฤษภาคม 2556 กฟผ. ได้ใช้มาตรการบริหารความเสี่ยงด้านความมั่นคงของ ระบบไฟฟ้า ท�ำให้ กฟผ. สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้โดยเร็ว ตามแผน Blackout Restoration เพื่อ กู้ระบบไฟฟ้าให้กลับมาอยู่ในสภาวะปกติให้เร็วที่สุด และสามารถจ�ำกัดวงพื้นที่ไฟฟ้าดับให้อยู่ภายใน ภาคใต้ได้ โดยภายหลังเหตุการณ์ กฟผ. ได้มีการประชุมเพื่อทบทวนพิจารณาแนวทางในการป้องกัน เหตุการณ์ดังกล่าวที่อาจเกิดขึ้นอีกในอนาคต โดยแบ่งเป็นมาตรการระยะสั้นและมาตรการระยะยาว ครอบคลุมถึงการประสานงานระหว่าง 3 การไฟฟ้า และการพัฒนาเสริมความมั่นคงระบบส่งไฟฟ้า ภาคใต้ โดยมีการก่อสร้างสายส่ง 500 kV เพิ่มขึ้นอีก 3 โครงการ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของระบบ ไฟฟ้าของประเทศให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในช่วงที่มีเหตุการณ์แหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติในสหภาพพม่าหยุดส่งก๊าซเพื่อซ่อม บ�ำรุง เช่น เหตุการณ์หยุดส่งก๊าซที่แหล่งยาดานาในเดือนเมษายน 2556 ท�ำให้ต้องหยุดการจ่ายก๊าซ ธรรมชาติจากสหภาพพม่าทั้งหมดเป็นเวลา 8 วัน และเหตุการณ์แหล่งเยตากุนหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติ ในช่วงสิ้นเดือนธันวาคม 2556 เป็นเวลา 14 วัน กฟผ. ได้ใช้มาตรการบริหารจัดการความเสี่ยงในการ เปลีย่ นการใช้เชือ้ เพลิงเป็นนำ�้ มันเตาและดีเซลทดแทน จากแหล่งทีไ่ ด้ท�ำการส�ำรองไว้ลว่ งหน้าแล้วตาม แผนรองรับเหตุฉุกเฉินกรณีการใช้เชื้อเพลิงไม่เป็นไปตามแผน ท�ำให้ กฟผ. ยังคงสามารถรักษาความ มั่นคงของระบบไฟฟ้าไว้ได้และไม่ส่งผลต่อความต้องการใช้ไฟฟ้าของประชาชน ในส่วนของการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Compliance Risk) กฟผ. ให้ความส�ำคัญ ต่อการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานอย่างครบถ้วน โดยจากการด�ำเนินงาน บริหารความเสี่ยง กฟผ. ได้มีแผนงาน/มาตรการป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดจากการไม่ปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ได้แก่ การจัดท�ำระบบข้อมูลและระบบการแจ้งเตือนการปฏิบัติตามด้านกฎระเบียบและ กฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Assessment: EIA) ผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment: HIA) และผลกระทบทางสังคม (Social Impact Assessment: SIA) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังค�ำนึงถึงกฎหมายใหม่ท่ีคาดว่าจะประกาศใช้ในอนาคตซึ่งอาจส่งผลกระทบ ต่อ กฟผ. เช่น กฎหมายย่อยในพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 และเผยแพร่ กฎหมายใหม่ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทราบและเตรียมความพร้อมในการปฏิบตั เิ มือ่ กฎหมายประกาศใช้ จากการด�ำเนินการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องตลอดปี 2556 ท�ำให้ กฟผ. สามารถบรรลุพันธกิจที่ได้รับมอบหมายและวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนดไว้ในแผนวิสาหกิจ กฟผ.

37


โครงสร้างองค์การ กฟผ.

38

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


โครงสร้างการจัดการองค์การ โครงสร้างการจัดการองค์การของ กฟผ. ประกอบด้วย คณะกรรมการ กฟผ. และฝ่ายบริหาร กฟผ. โดยคณะกรรมการ กฟผ. เป็นผู้วางนโยบายและก�ำกับดูแลกิจการของ กฟผ. รวมถึง การแต่งตั้ง ฝ่ายบริหารของ กฟผ. ขณะที่ฝ่ายบริหาร กฟผ. ท�ำหน้าที่บริหารงาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนด คณะกรรมการ กฟผ. ในปี 2556 แต่งตั้งจากบุคคล ทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีความเชี่ยวชาญ ตามสาขาวิชาชีพในบัญชีรายชื่อกรรมการรัฐวิสาหกิจตามประกาศของกระทรวงการคลัง มีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้านที่เป็นประโยชน์ต่อ กฟผ. ทั้งนี้ การตรวจสอบคุณสมบัติของกรรมการ กฟผ. ได้ตรวจสอบให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตคิ ณ ุ สมบัตมิ าตรฐานส�ำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ส�ำหรับกรรมการชุดย่อย ก�ำหนดให้คุณสมบัติเป็นไปตามข้อบังคับ กฟผ. ว่าด้วยกรรมการชุดย่อยต่างๆ

1. คณะกรรมการ กฟผ. 1.1 องค์ประกอบ คุณสมบัติ และการแต่งตั้ง • คณะกรรมการ กฟผ. ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และกรรมการอื่นอีกไม่เกินสิบคน รวมทั้งผู้ว่าการ ซึ่งเป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง • ประธานกรรมการ และกรรมการต้องเป็นผูม้ สี ญ ั ชาติไทย และมีความรูค้ วามจัดเจนเพียงพอ เกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การคลัง หรือกฎหมาย และ ต้องไม่มีส่วนได้เสียในสัญญากับ กฟผ. หรือในกิจการที่กระท�ำให้แก่ กฟผ. ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทาง อ้อม เว้นแต่เป็นเพียงผู้ถือหุ้นเพื่อประโยชน์ในการลงทุนโดยสุจริตในบริษัทจ�ำกัด หรือบริษัท มหาชน จ�ำกัด ไม่เป็นผู้มีต�ำแหน่งทางการเมือง รวมทั้งไม่มีคุณสมบัติและมีลักษณะต้องห้ามตามที่ก�ำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานส�ำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไข เพิ่มเติม • คณะรัฐมนตรีเป็นผูแ้ ต่งตัง้ ประธานกรรมการและกรรมการอืน่ ซึง่ มิใช่กรรมการ โดยต�ำแหน่ง 1.2 อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ กฟผ. คณะกรรมการ กฟผ. มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ • ออกระเบียบ/ข้อบังคับต่างๆ • ก�ำหนดวิสยั ทัศน์และนโยบายของ กฟผ. และรับผิดชอบต่อผลการด�ำเนินงานของฝ่ายบริหาร • ทบทวนและให้ความเห็นชอบนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญ โดยรวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน ความรับผิดชอบต่อสังคมและการดูแลสิง่ แวดล้อม และแผนงานต่างๆ ของ กฟผ. พร้อมทั้งดูแลติดตามให้ฝ่ายบริหารปฏิบัติตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้อย่างสม�่ำเสมอ • ให้ความมั่นใจว่า ระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี มีความเชื่อถือได้ รวมทัง้ ดูแลให้มกี ระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายใน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงิน และ การติดตามให้มีการปฏิบัติตามที่มีประสิทธิผล

39


• สอดส่องดูแลและจัดการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่าง ฝ่ายบริหาร กรรมการ และผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งตรวจสอบการใช้สินทรัพย์ของ กฟผ. ในทางมิชอบ และ การกระท�ำที่ไม่ถูกต้องของฝ่ายบริหาร กรรมการ และผู้ปฏิบัติงาน • ให้ความมัน่ ใจว่าโครงสร้างและวิธปี ฏิบตั ติ า่ งๆ ของคณะกรรมการ กฟผ. ทีเ่ ป็นอยูส่ อดคล้อง กับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และเป็นการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม • ดูแลด้านการบริหารงานบุคคล ในเรื่องต�ำแหน่งหน้าที่ และจ�ำนวนของผู้ปฏิบัติงานให้มี ความเหมาะสมกับสภาวการณ์ • ประเมินผลงานของผู้ว่าการ และทบทวนการวางแผนงานของ กฟผ. อย่างสม�่ำเสมอ 1.3 รายนามคณะกรรมการ กฟผ. ล�ำดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 หมายเหตุ :

รายนาม

นายพรชัย ​รุจิประภา ประธานกรรมการ นางอัญชลี​ ชวนิชย์ ประธานกรรมการ นายคุรุจิต ​นาครทรรพ กรรมการ นายตระกูล วินิจนัยภาค กรรมการ นายสุกิจ​ เจริญรัตนกุล กรรมการ นายปรเมธี​ วิมลศิริ กรรมการ นายประวิช สารกิจปรีชา กรรมการ นายกุลิศ สมบัติศิริ กรรมการ (ผู้แทนกระทรวงการคลัง) นางอัมพร นิติสิริ กรรมการ นายชวน ศิรินันท์พร กรรมการ นายสุรชัย ​ธารสิทธิ์พงษ์ กรรมการ นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ กรรมการ นายประจวบ ​อุชชิน กรรมการ ผู้ว่าการ กฟผ. กรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) (นายสุทัศน์​ ปัทมสิริวัฒน์) และเลขานุการ ผู้ว่าการ กฟผ. กรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) (นายสุนชัย​ ค�ำนูณเศรษฐ์) และเลขานุการ ล�ำดับที่ 7 ล�ำดับที่ 14 ล�ำดับที่ 15

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 12 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 11 ก.พ. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 30 ก.ย. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 12 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 12 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 30 ก.ค. 56 31 ก.ค. - 31 ธ.ค. 56

ลาออกจากการเป็นกรรมการ มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 ครบวาระการเป็นผู้ว่าการ กฟผ. เนื่องจากอายุครบ 60 ปี (สัญญาจ้างผู้ว่าการ กฟผ.) เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2556 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2556 แต่งตั้งเป็นผู้ว่าการ กฟผ. แทนนายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ซึ่งครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่ง และมีผลตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม 2556 โดยเป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง

40

ต�ำแหน่ง

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


1.4 กรรมการ กฟผ. ที่ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทในเครือของ กฟผ.

ชื่อ - สกุล

ต�ำแหน่งในบริษัทในเครือ

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) (EGCO) 1. นายพรชัย​ รุจิประภา 2. นายกุลิศ​ สมบัติศิริ

ประธานกรรมการ กรรมการ

1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) (RATCH) 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายคุรุจิต ​นาครทรรพ นายตระกูล​ วินิจนัยภาค นายสุรชัย​ ธารสิทธิ์พงษ์ นายสุทัศน์​ ปัทมสิริวัฒน์ นายสุนชัย ​ค�ำนูณเศรษฐ์ นายประจวบ ​อุชชิน

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 1 เม.ย. 56 1 ม.ค. - 1 ต.ค. 56 1 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 24 เม.ย. - 31 ธ.ค. 56

บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (EGATi) 1. นายสุทัศน์ ​ปัทมสิริวัฒน์ 2. นายสุนชัย​ ค�ำนูณเศรษฐ์​

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ

1 ม.ค. - 30 ก.ย. 56 24 ต.ค. - 31 ธ.ค. 56

2. คณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2556 คณะกรรมการ กฟผ. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อกลั่นกรองงานที่มีความ ส�ำคัญในด้านต่างๆ จ�ำนวน 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการ กฟผ. คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการธรรมาภิบาล กฟผ. และคณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล กฟผ. นอกจากนี้ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อสรรหาผู้บริหารระดับสูงของ กฟผ. ขึ้นอีก 5 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการสรรหารองผู้ว่าการ คณะกรรมการสรรหาผู้ช่วยผู้ว่าการและ ผูอ้ �ำนวยการฝ่าย และคณะกรรมการสรรหาทีป่ รึกษาและผูเ้ ชีย่ วชาญ และโดยทีป่ ี 2556 ผูว้ า่ การ กฟผ. (นายสุทศั น์ ปัทมศิรวิ ฒ ั น์) ครบวาระการเป็นผูว้ า่ การ กฟผ. ตามสัญญาจ้าง ผูว้ า่ การ กฟผ. เนือ่ งจากอายุ ครบ 60 ปี จึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการ และคณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทน ผู้ว่าการ เพื่อท�ำหน้าที่สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เหมาะสมที่จะเป็น ผู้ว่าการ รวมทั้งจัดท�ำร่างสัญญา และก�ำหนดค่าจ้างและผลตอบแทนอื่นๆ ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธี การประเมินผลการปฏิบัติงาน

41


2.1 คณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการ กฟผ. มีอ�ำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการพิจารณาให้ความเห็นชอบร่างขอบเขตของงาน และอนุมัติการจัดหาพัสดุ ภายในวงเงินครั้งละไม่เกิน 500 ล้านบาท พิจารณากลั่นกรองเรื่องเกี่ยว กับการเงิน นโยบายและแผนการลงทุน และงบประมาณประจ�ำปีของ กฟผ. รวมทั้งก�ำหนดแนวทาง การด�ำเนินงานด้านการเงินและการลงทุนที่เป็นประโยชน์ต่อ กฟผ. ให้ความเห็นชอบแผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศ และเรื่องอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ กฟผ. รายนามคณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการ กฟผ. ล�ำดับที่

รายนาม

1 นายพรชัย​ รุจิประภา 2 นางอัญชลี​ ชวนิชย์ 3 นายคุรุจิต​ นาครทรรพ 4 นายตระกูล ​วินิจนัยภาค 5 นายกุลิศ​ สมบัติศิริ 6 นายประจวบ​ อุชชิน 7 นายสุทัศน์​ ปัทมสิริวัฒน์ 8 นายสุนชัย ​ค�ำนูณเศรษฐ์

ต�ำแหน่ง

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) และเลขานุการ กรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) และเลขานุการ

1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค.56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 30 ก.ค. 56 31 ก.ค. - 31 ธ.ค. 56

หมายเหตุ : ในปี 2556 มีการเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการบริหารของคณะกรรมการ กฟผ. 2 ครั้ง ดังนี้ - มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ กฟผ. ชุดใหม่ และแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเมื่อวันที่ 12 และ 15 กุมภาพันธ์ 2556 ตามล�ำดับ โดยนางอัญชลี ชวนิชย์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการ แทนนายพรชัย รุจิประภา - มีการแต่งตั้งนายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ เป็นผู้ว่าการ กฟผ. และกรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) มีผลวันที่ 31 กรกฎาคม 2556 แทนนายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ซึ่งครบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2556

2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการก�ำกับดูแลความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายใน และการบริหารความเสีย่ งทุกด้านของ กฟผ. ตรวจสอบความเชือ่ ถือได้ของรายงาน ทางการเงิน ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อก�ำหนดและนโยบายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รวม ทั้งการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ กฟผ. ตรวจสอบการใช้ระบบสารสนเทศที่คุ้มค่า ตรงตามวัตถุประสงค์ เพือ่ เพิม่ มูลค่าให้องค์การ ตรวจสอบการปรับปรุงแก้ไขการปฏิบตั งิ านของฝ่ายบริหารเกีย่ วกับการควบคุม ภายในและการบริหารความเสี่ยงตามที่ผู้สอบบัญชีและส�ำนักตรวจสอบภายในเสนอแนะ ตรวจสอบ

42

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


การปฏิบัติงานของส�ำนักตรวจสอบภายใน การแต่งตัง้ โยกย้ายและพิจารณาความดีความชอบของผูช้ ว่ ย ผูว้ า่ การส�ำนักตรวจสอบภายในร่วมกับผูว้ า่ การ รวมทั้งประสานงานกับผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับผลการตรวจ สอบประจ�ำปี และทบทวนข้อบังคับว่าด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ และการตรวจสอบภายในให้เหมาะ สมอย่างน้อยปีละครั้ง รายนามคณะกรรมการตรวจสอบ ล�ำดับที่

รายนาม

ต�ำแหน่ง

1 นายสุรชัย ​ธารสิทธิ์พงษ์ 2 นายประวิช ​สารกิจปรีชา 3 นายยงยุทธ​ ชัยพรหมประสิทธิ์ 4 นายปรเมธี ​วิมลศิริ 5 ผู้ช่วยผู้ว่าการส�ำนักตรวจสอบภายใน

ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ (โดยต�ำแหน่ง)

หมายเหตุ :

ล�ำดับที่ 2 ล�ำดับที่ 3

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 15 ก.พ. - 30 ก.ย. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56

- ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการตรวจสอบตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2554 ถึง 31 มกราคม 2556 และ ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 แทน นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ ที่พ้นจากต�ำแหน่ง - ลาออกจากการเป็นกรรมการ กฟผ. มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556 - คณะกรรมการ กฟผ. ในคราวประชุมฯ ครั้งที่ 2/2556 มีมติแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ตรวจสอบแทน นายประวิช สารกิจปรีชา ซึ่งได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ

2.3 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการด�ำเนินการเพื่อให้มั่นใจว่า กฟผ. มีกรอบการบริหาร ความเสี่ยงที่เพียงพอและมีประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงนโยบายและการด�ำเนินการเพื่อให้ครอบคลุม ความเสีย่ งทัง้ หมดทีอ่ าจเกิดขึน้ กับ กฟผ. การสอบทานนโยบายและระบบควบคุมซึง่ จัดตัง้ เพือ่ ประเมิน การบริหาร และการควบคุมความเสีย่ งรวมถึงกระบวนการตรวจสอบและรายงานผล รวมทัง้ การก�ำกับ ดูแลให้มีการปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยง และสอบทานการเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงต่อ หน่วยงานก�ำกับดูแลและสาธารณะ ตลอดจนปฏิบัติหน้าที่อื่นใดเกี่ยวกับการควบคุมและบริหารความ เสี่ยงของ กฟผ. ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ กฟผ.

43


รายนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ล�ำดับที่

รายนาม

1 นายคุรุจิต นาครทรรพ 2 นายสุกิจ เจริญรัตนกุล 3 นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ 4 นายประจวบ อุชชิน 5 นายชวน ศิรินันท์พร 6 รองผู้ว่าการนโยบายและแผน

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ (โดยต�ำแหน่ง)

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56

2.4 คณะกรรมการธรรมาภิบาล กฟผ. มีหน้าที่รับผิดชอบในการก�ำหนดนโยบาย กลยุทธ์ และแผนงานด้านการก�ำกับดูแลที่ดี และ ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งก�ำกับดูแลให้มีการปฏิบัติตาม ตลอดจนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน กฟผ. ในกิจกรรมการก�ำกับดูแลทีด่ ี และความรับผิดชอบต่อสังคม รายนามคณะกรรมการธรรมาภิบาล กฟผ. ล�ำดับที่

รายนาม

1 นายตระกูล วินิจนัยภาค 2 นายกุลิศ สมบัติศิริ 3 รองผู้ว่าการบริหาร 4 รองผู้ว่าการกิจการสังคม 5 ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล 6 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักผู้ว่าการ

44

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

ต�ำแหน่ง

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ (โดยต�ำแหน่ง)

1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56


2.5 คณะกรรมการทรัพยากรบุคคล กฟผ. คณะกรรมการ กฟผ. ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญด้านทรัพยากรบุคคล และเล็งเห็นความจ�ำเป็น ของการมีคณะกรรมการเพื่อรับผิดชอบงานด้านนี้โดยตรง จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล กฟผ. โดยให้มอี �ำนาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการให้ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายด้านทรัพยากรบุคคล ของ กฟผ. พิจารณาแผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคลก่อนเสนอคณะกรรมการ กฟผ. และปฏิบัติหน้าที่ อื่นใดเกี่ยวกับการก�ำกับดูแลด้านทรัพยากรบุคคลตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ กฟผ. รายนามคณะกรรมการทรัพยากรบุคคล กฟผ. ล�ำดับที่ 1

รายนาม

นายสุกิจ เจริญรัตนกุล 2 นางอัมพร นิติสิริ 3 นายชวน ศิรินันท์พร 4 ผู้ว่าการ กฟผ. 5 รองผู้ว่าการบริหาร 6 ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล

ต�ำแหน่ง

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ (โดยต�ำแหน่ง)

1 ม.ค. - 11 ก.พ. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56

45


2.6 คณะกรรมการสรรหารองผู้ว่าการ มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพือ่ เสนอแต่งตัง้ สับเปลีย่ น หมุนเวียน ผูด้ �ำรงต�ำแหน่งรองผูว้ า่ การ รายนามคณะกรรมการสรรหารองผู้ว่าการ ล�ำดับที่

รายนาม

1

ประธานกรรมการ กฟผ. (นายพรชัย รุจิประภา) 2 ประธานกรรมการ กฟผ. (นางอัญชลี ชวนิชย์) 3 นายคุรุจิต นาครทรรพ 4 นายตระกูล วินิจนัยภาค 5 นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ 6 นายสันทัด จิรายุวัฒน์ 7 นายอภิชาต ดิลกโสภณ 8 นายวิรัช กาญจนพิบูลย์ 9 ผู้ว่าการ กฟผ.

ต�ำแหน่ง

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) ประธานกรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ (โดยต�ำแหน่ง)

1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ม.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 15 ก.พ. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56

2.7 คณะกรรมการสรรหาผู้ช่วยผู้ว่าการและผู้อ�ำนวยการฝ่าย มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอแต่งตั้ง สับเปลี่ยน หมุนเวียนผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการและผู้อ�ำนวยการฝ่าย รายนามคณะกรรมการสรรหาผู้ช่วยผู้ว่าการและผู้อ�ำนวยการฝ่าย ล�ำดับที่

รายนาม

1

ผู้ว่าการ กฟผ. 2 นายคุรุจิต นาครทรรพ 3 รองผู้ว่าการ 4 รองผู้ว่าการบริหาร

46

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

ต�ำแหน่ง

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง

ประธานกรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ (โดยต�ำแหน่ง)

1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56 1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 56


2.8 คณะกรรมการสรรหาที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพื่อเสนอแต่งตั้งผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รายนามคณะกรรมการสรรหาที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ล�ำดับที่

รายนาม

1

ผู้ว่าการ กฟผ. 2 นางอัมพร นิติสิริ 3 นายวิรัช กาญจนพิบูลย์ 4 รองผู้ว่าการบริหาร 5 ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

ช่วงการด�ำรงต�ำแหน่ง 28 พ.ค. - 31 ธ.ค. 56 28 พ.ค. - 31 ธ.ค. 56 28 พ.ค. - 31 ธ.ค. 56 28 พ.ค. - 31 ธ.ค. 56 28 พ.ค. - 31 ธ.ค. 56

2.9 คณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มีหน้าที่สรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์เหมาะสมที่จะเป็นผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ซึ่งจะต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมาย ก�ำหนด เสนอคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รายนามคณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ล�ำดับที่

1 2 3 4 5 6

รายนาม นายคุรุจิต นาครทรรพ นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ นายปรเมธี วิมลศิริ นางศิริพร เหลืองนวล ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล

ต�ำแหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

47


2.10 คณะอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทนผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย มีหน้าที่ก�ำหนดค่าจ้างและผลตอบแทนอื่นๆ ก�ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน จัดท�ำร่างสัญญาของผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เจรจาต่อรองค่าจ้าง ผลตอบแทนอื่นๆ กับผู้สมัครที่คณะกรรมการสรรหาผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย คัดเลือก รวมถึงเสนอผลการด�ำเนินงานของคณะอนุกรรมการต่อคณะกรรมการการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย และมอบหมายหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้หน่วยงานและหรือผู้ปฏิบัติงานการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยช่วยด�ำเนินการได้ตามความเหมาะสม รายนามคณะกรรมอนุกรรมการพิจารณาผลตอบแทนผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ล�ำดับที่ 1

2 3 4 5

รายนาม

ต�ำแหน่ง

นายกุลิศ สมบัติศิริ นางอัมพร นิติสิริ นายประจวบ อุชชิน นางพรรขนิตตา บุญครอง ผู้ช่วยผู้ว่าการทรัพยากรบุคคล

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการ

3. การประชุมคณะกรรมการ กฟผ. และคณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการ กฟผ. มีการประชุมอย่างสม�่ำเสมอ อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง และอาจเพิ่ม เติมตามความจ�ำเป็น โดยคณะกรรมการฯ สามารถขอเอกสาร ข้อมูลเกีย่ วกับการด�ำเนินงานของ กฟผ. จากฝ่ายบริหาร เพื่อประกอบการประชุมคณะกรรมการ กฟผ. ในแต่ละครั้ง ส�ำหรับคณะกรรมการ ชุดย่อยบางคณะมีการประชุมทุกเดือน บางคณะมีการประชุมตามความจ�ำเป็นของงาน โดยมีราย ละเอียดการเข้าประชุมของคณะกรรมการ กฟผ. และคณะกรรมการชุดย่อยในปี 2556 ตามตารางดังนี้

48

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


49

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ล�ำดับที่

คณะกรรมการ กฟผ.

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริหารของ ตรวจสอบ การธรรมาภิบาล คณะกรรมการ กฟผ. กฟผ.

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ทรัพยากรบุคคล การสรรหา การสรรหา บริหารความเสี่ยง กฟผ. รองผู้ว่าการ ผู้ช่วยผู้ว่าการ และผู้อ�ำนวยการฝ่าย

หมายเหตุ : จ�ำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุม / จ�ำนวนครั้งที่มีการจัดประชุมในช่วงเวลาที่กรรมการแต่ละท่านด�ำรงต�ำแหน่ง

2/2

2/2

0/2

2/2

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ การสรรหา การสรรหาผู้ว่าการ พิจารณา ที่ปรึกษาและ ผลตอบแทน ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ว่าการ

นายพรชัย รุจิประภา 1/1 1/1 นางอัญชลี ชวนิชย์ 11/11 13/13 1/1 นายคุรุจิต นาครทรรพ 12/12 14/14 1/1 4/4 3/3 6/6 นายตระกูล วินิจนัยภาค 9/12 10/14 4/4 0/1 นายสุกิจ เจริญรัตนกุล 1/1 1/4 นายปรเมธี วิมลศิริ 10/12 14/14 9/10 4/6 นายประวิช สารกิจปรีชา 4/9 8/10 นายกุลิศ สมบัติศิริ 9/12 12/14 4/4 นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ 1/1 1/1 นางอัมพร นิติสิริ 11/12 3/3 1/1 นายชวน ศิรินันท์พร 9/12 0/3 นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ 11/12 10/10 6/6 นายประจวบ อุชชิน 11/11 12/13 3/3 นายอภิชาต ดิลกโสภณ 1/1 นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ 5/6 นางศิริพร เหลืองนวล 6/6 นายวิรัช กาญจนพิบูลย์ 1/1 นางพรรณขนิตตา บุญครอง นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ 7/7 8/8 1/1 นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ 5/5 6/6

รายนาม

รายละเอียดการเข้าประชุมของคณะกรรมการ กฟผ. และคณะกรรมการชุดย่อยในปี 2556


4. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ กฟผ. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ จะช่วยให้คณะกรรมการ กฟผ. สามารถระบุจุดอ่อนที่ ควรปรับปรุง และเป็นโอกาสที่คณะกรรมการได้ร่วมกันพิจารณาอย่างเปิดเผยถึงปัญหาและผลงานที่ ผ่านมา และใช้ดุลยพินิจว่าการท�ำงานของตนเองเป็นประโยชน์ต่อ กฟผ. เพียงใด เพื่อปรับปรุงความ สามารถในการท�ำหน้าที่ก�ำหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ของ กฟผ. ควบคู่ไปกับการก�ำกับดูแลการบริหาร งานของฝ่ายบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการ กฟผ. จึงมีการประเมินตนเองทุกปี โดยใช้ แบบประเมิน 2 แบบ ได้แก่ แบบทั้งคณะและแบบรายบุคคล และมีการน�ำผลการประเมินแจ้งให้คณะ กรรมการ กฟผ. รับทราบร่วมกันอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ ยังมีการจัดประชุมคณะกรรมการ กฟผ. โดยไม่มีฝ่ายบริหารและกรรมการโดยต�ำแหน่งเข้าร่วมประชุมด้วย เพื่อน�ำผลการประเมินตนเองของ คณะกรรมการ ผลการปฏิบัติงานและปัญหาในการด�ำเนินงานแจ้งในที่ประชุมคณะกรรมการ กฟผ. พิจารณาและอภิปรายร่วมกันอย่างเป็นทางการ รวมทัง้ ก�ำหนดแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และแนวทาง ทีท่ �ำให้การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการมีประสิทธิผลอย่างเป็นรูปธรรม ทัง้ นี้ เป็นไปตามแนวทางปฏิบตั ทิ ี่ ดีดา้ นความเป็นอิสระของคณะกรรมการ ตามหลักการและแนวทางการก�ำกับดูแลทีด่ ใี นรัฐวิสาหกิจของ สคร. ทีก่ �ำหนดให้กรรมการอิสระจากภายนอก การมีการประชุมกันเองเป็นครัง้ คราวโดยไม่มกี รรมการ ที่เป็นกรรมการโดยต�ำแหน่งเข้าร่วมประชุมด้วย ส�ำหรับกรรมการใหม่ กฟผ. ได้จัด Orientation โดยมีการบรรยายชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายรวม ทั้งข้อมูลระบบต่างๆ ที่ใช้งานภายใน กฟผ. กฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้รู้จักธุรกิจ ขององค์การ ตลอดจนการส่งมอบคู่มือกรรมการและข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำหน้าที่กรรมการ นอกจากนี้ กฟผ. ได้จดั ให้มกี ารพัฒนาความรูใ้ ห้แก่กรรมการทัง้ หมด โดยได้สรรหาหลักสูตรการ อบรม/สัมมนาจากสถาบันต่างๆ และน�ำเสนอคณะกรรมการ กฟผ. พิจารณาจัดสรรเวลาเข้ารับการอบรม

50

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


5. ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ กฟผ. ค่าตอบแทนของกรรมการ กฟผ. อยูใ่ นอัตราทีค่ ณะรัฐมนตรีอนุมตั ิ กรรมการทีไ่ ด้รบั มอบหมาย หน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น เช่น เป็นกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริหารของคณะกรรมการ กฟผ. กรรมการธรรมาภิบาล กฟผ. กรรมการบริหารความเสี่ยง จะได้รับค่าตอบแทนเพิ่มเติมตาม อัตราที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติเช่นเดียวกัน ค่าตอบแทนส�ำหรับกรรมการ กฟผ. ปี 2556 รวมเป็นเงิน 7,622,851.56 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ ล�ำดับที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

รายนาม

ค่าตอบแทน

นายพรชัย รุจิประภา นางอัญชลี ชวนิชย์ นายครุจิต นาครทรรพ นายตระกูล วินิจนัยภาค นายสุกิจ เจริญรัตนกุล นายปรเมธี วิมลศิริ นายประวิช สารกิจปรีชา นายกุลิศ สมบัติศิริ นางอัมพร นิติสิริ นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ นายชวน ศิรินันท์พร นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ นายประจวบ อุชชิน นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ รวม

ค่าเบี้ยประชุม

- 50,000.00 100,000.00 262,500.00 50,000.00 280,000.00 50,000.00 222,500.00 - 12,500.00 50,000.00 240,000.00 20,000.00 160,000.00 50,000.00 225,000.00 50,000.00 232,500.00 - 32,500.00 50,000.00 70,000.00 50,000.00 270,000.00 50,000.00 210,000.00 - 100,000.00 50,000.00 50,000.00 570,000.00 2,417,500.00

โบนัส

รวมเป็นเงิน (บาท)

49,218.75 99,218.75 522,070.31 884,570.31 457,031.25 787,031.25 435,937.50 708,437.50 13,710.95 26,210.95 457,031.25 747,031.25 189,140.62 369,140.62 354,375.00 629,375.00 457,031.25 739,531.25 39,375.00 71,875.00 313,242.19 433,242.19 457,031.25 777,031.25 417,656.25 677,656.25 274,354.84 374,354.84 198,145.15 298,145.15 4,635,351.56 7,622,851.56

51


52

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


2 ทศวรรษ DSM ... ที่มากกว่าการประหยัดพลังงาน ตลอดระยะเวลา 20 ปีของการด�ำเนินงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า หรือ Demand Side Management (DSM) ไม่เพียงได้บ่มเพาะจิตส�ำนึกด้าน การอนุรักษ์พลังงานของคนไทย จนสามารถลดความต้องการไฟฟ้าในระบบ ลงประมาณ 3,000 เมกะวัตต์ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 17,840 ล้าน กิโลวัตต์-ชั่วโมง แต่ยังช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อันเป็นสาเหตุ ของภาวะโลกร้อนลงได้กว่า 10.7 ล้านตัน

53


คณะกรรมการ กฟผ. นางอัญชลี ชวนิชย์ อายุ 63 ปี

ประธานกรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • M.S. (Engineering Management), University of Missouri-Rolla, U.S.A. ปริญญาตรี • วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (อุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Audit Committee - หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) - หลักสูตร Finance for Nonfinance Director (FND) - หลักสูตร The Role of The Chairman Program (RCP) • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) • หลักสูตรการบริหารระดับสูง (ปปร.) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) สถาบันวิทยาการพลังงาน ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2554 - ปัจจุบัน • นายกสมาคมนิคมอุตสาหกรรมไทยและพันธมิตร ปี 2543 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ มูลนิธิเพื่อการอนุรักษ์-ฟื้นฟูปะการังและชายหาด ปี 2543 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการ มูลนิธินิคมอุตสาหกรรมไทย ปี 2547 - ปี 2553 • ที่ปรึกษาการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ปี 2543 - ปี 2547 • ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • นายกสมาคมนิคมอุตสาหกรรมไทยและพันธมิตร • ประธานกรรมการมูลนิธิเพื่อการอนุรักษ์-ฟื้นฟูปะการังและชายหาด • ประธานกรรมการมูลนิธินิคมอุตสาหกรรมไทย จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

54

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายคุรุจิต นาครทรรพ อายุ 58 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาเอก • Ph.D. in Petroleum Engineering, University of Oklahoma, U.S.A. ปริญญาโท • M.Sc. in Petroleum Engineering, University of Oklahoma, U.S.A. ปริญญาตรี • Bachelor of Science (with Special Distinction) in Petroleum Engineering, University of Oklahoma, U.S.A. ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.) รุ่นที่ 46 (ผู้น�ำที่มีวิสัยทัศน์), ส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) • Senior Executive Program, London Business School, U.K. • สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 64/2007) - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP 32/2010) - หลักสูตร Role of Compensation Committee Program (RCC 12/2011) • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 51 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) รุ่นที่ 3/53 • หลักสูตรผู้น�ำ - น�ำการเปลี่ยนแปลง รุ่นที่ 2/54 มูลนิธิสัมมาชีพ/เครือมติชน • หลักสูตรนักบริหารการยุตธิ รรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุน่ ที่ 2/54 วิทยาลัยการ ยุติธรรมทางการปกครอง • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 12/54 • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุน่ ที่ 1/55 สถาบันวิทยาการ พลังงาน ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2553 - ปัจจุบัน • รองปลัดกระทรวงพลังงาน ปี 2551 - ปี 2553 • อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ปี 2549 - ปี 2551 • รองปลัดกระทรวงพลังงาน ปี 2549 • รองอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด มหาชน • กรรมการบริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี

55

*จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด


นายตระกูล วินิจนัยภาค อายุ 63 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ

ปริญญาโท

• Master of Law (LLM.), School of Law, Tulane University, U.S.A. • เนติบัณฑิตไทย ส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ปริญญาตรี • นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร ภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับผูบ้ ริหารระดับสูง รุน่ ที่ 11 (ปปร. 11) สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Crime Prevention and Treatment of Offender ในหัวข้อเรื่อง United Nations Standard Minimum Rules for the Treatment of Juvenile Offender ณ สถาบัน UNAFEI ขององค์การสหประชาชาติ ประเทศญี่ปุ่น • หลักสูตร Training in Child Abuse Prosecutors and Investigators, American Prosecutor Research Institute สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Children’s Rights, British Council International Seminar มหาวิทยาลัย Oxford สหราชอาณาจักร • หลักสูตร The 2000 Executive Leadership มหาวิทยาลัย Georgetown สหรัฐอเมริกา • หลักสูตร Senior Criminal Justice Executive Program, International Law Enforcement Academy (ILEA) ประเทศไทย • หลักสูตร Senior Crisis Management ของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัย Maryland สหรัฐอเมริกา ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2554 - ปัจจุบัน • รองอัยการสูงสุด ส�ำนักงานอัยการสูงสุด ปี 2548 - ปี 2554 • ผู้ตรวจการอัยการ ส�ำนักงานอัยการสูงสุด ปี 2548 - ปี 2549 • อธิบดีอัยการฝ่ายปรึกษา ส�ำนักงานอัยการสูงสุด ปี 2546 - ปี 2548 • อธิบดีอัยการฝ่ายต่างประเทศ ส�ำนักงานอัยการสูงสุด ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • กรรมการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการการประปาส่วนภูมิภาค จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

56

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายปรเมธี วิมลศิริ อายุ 53 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาเอก • Ph.D. (Economics), Carleton University, Canada ปริญญาโท • M.A. (International Affairs), Columbia University, U.S.A. ปริญญาตรี • เศรษฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรผูบ้ ริหารด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส�ำนักงานและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ มหาชน) ร่วมกับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย (DCP 86/2007) • หลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ส�ำนักงาน ก.พ. และสถาบัน วิทยาการ สวทช. • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้า การพาณิชย์ และอุตสาหกรรมการคลัง รุ่นที่ 5 (TEPCoT) • หลักสูตร Successful Formulation & Execution the Strategy (SFE) สมาคมส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2554 - ปัจจุบัน • รองเลขาธิการ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • กรรมการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย • กรรมการบริหาร ส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน • กรรมการบริหาร ส�ำนักงานเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ • กรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ • กรรมการบริหารส�ำนักงานศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ • กรรมการศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

57


นายกุลิศ สมบัติศิริ อายุ 50 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • M.B.A. University of Southern California, U.S.A. • M.P.A. San Diego State University, U.S.A. ปริญญาตรี • รัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 10 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 3 สถาบัน พัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุน่ ที่ 124 สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงระดับรองอธิบดี หลักสูตรที่ 2 รุ่นที่ 1 ส�ำนักงาน ก.พ. • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง หลักสูตรที่ 1 รุ่นที่ 40 ส�ำนักงาน ก.พ. • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุ่นที่ 24 ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2554 - ปัจจุบัน • ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง ปี 2553 - ปี 2554 • ที่ปรึกษาด้านพัฒนารัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง ปี 2551 - ปี 2553 • รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวง การคลัง ปี 2550 - ปี 2551 • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารเงินตรา กระทรวงการคลัง ปี 2549 - ปี 2551 • รองเลขาธิการส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • กรรมการบริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

58

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นางอัมพร นิติสิริ อายุ 62 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี • ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 6 ด้านภาวะผู้น�ำทางเศรษฐกิจและตลาดทุน สถาบัน วิทยาการตลาดทุน • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 10 ด้านการเมืองการปกครอง • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 45 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) (FSD 16/ 2012) สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2551 - ปี 2554 • อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ปี 2550 • ผู้ตรวจราชการกระทรวงแรงงาน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ปี 2549 • ที่ปรึกษาวิชาการแรงงาน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

59


นายชวน ศิรินันท์พร อายุ 60 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • พัฒนบริหารศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาตรี • รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตร Thai Senior Executive Development Program, National Graduate Policy Studies (GRIP) Japan • หลักสูตรผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงระดับสูง สถาบันด�ำรงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรนักปกครองระดับสูง วิทยาลัยการปกครอง • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) สถาบันวิทยาการพลังงาน ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2555 - ปี 2556 • อธิบดี กรมการปกครอง ปี 2554 - ปี 2555 • ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ปี 2553 - ปี 2554 • ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ ปี 2550 - ปี 2553 • ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

60

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ อายุ 48 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท

• M.B.A. (Business Administration), Southern New Hampshire University, U.S.A. ปริญญาตรี • เศรษฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุน่ ที่ 24 วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร • หลักสูตรปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่ายอ�ำนวยการ (สจว.) รุ่นที่ 90 สถาบันจิตวิทยา ความ มั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2555 - ปัจจุบัน • กรรมการและกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) • อนุกรรมการบริหารยุทธศาสตร์ชาติ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ปี 2548 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั กฤษดามหานคร จ�ำกัด ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท กฤษดามหานคร จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) • กรรมการและกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

61


นายประจวบ อุชชิน อายุ 63 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • MS.EE (Electrical Engineering), University of Missouri-Columbia, U.S.A. ปริญญาตรี • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ไฟฟ้าก�ำลัง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตร Advanced Executive Program, Harvard Business School, U.S.A • หลักสูตร Senior Executive Program, สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Risk Management Committee Program (RMP) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2553 • รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ปี 2545 • กรรมการผู้จัดการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ปี 2542 • ผู้จัดการโรงไฟฟ้าราชบุรี การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปี 2540 • ผู้อ�ำนวยการฝ่ายควบคุมประสิทธิภาพ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • กรรมการ บริษัท ราชโอแอนด์เอ็ม จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ชูบุราชบุรีอิเลคตริกเซอร์วิส จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ไตรเอเนอร์ยี่ จ�ำกัด จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

62

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ อายุ 57 ปี

ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรม ปริญญาตรี • วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • EGAT Successor Development Program • Excellence in Situation Management • หลักสูตรการปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาฝ่ายอ�ำนวยการ (สจว.) รุน่ 101 สถาบันจิตวิทยาความ มั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • หลักสูตร Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. • หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) • หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่น 2 สถาบันวิทยาการ พลังงาน ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2556 - ปัจจุบัน • ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ปี 2554 - 2556 • รองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า กฟผ. ปี 2553 - 2554 • ผู้ช่วยผู้ว่าการบริหารเชื้อเพลิง กฟผ. ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • ประธานกรรมการบริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี *จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด

63


คณะกรรมการ กฟผ.

ระหว่างวันที่ 1 มกราคม - 30 กันยายน 2556

นายพรชัย รุจิประภา อายุ 61 ปี

ประธานกรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาเอก • PH.D. (Regional Economics), University of Pennsylvania, U.S.A. ปริญญาโท • M.Sc. (Regional Economics), University of Pennsylvania, U.S.A. • พัฒนบริหารศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ (บริหารโครงการ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาตรี • อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • วิทยาลัยป้องกันอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 41 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2555 - ปัจจุบัน • อดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี 2553 - ปี 2555 • ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี 2549 - ปี 2553 • ปลัดกระทรวงพลังงาน ปี 2546 - ปี 2549 • รองปลัดกระทรวงพลังงาน ปี 2542 - ปี 2546 • รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • ประธานกรรมการบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) • ประธานกรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) * ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี * จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด - พ้นจากต�ำแหน่งประธานกรรมการ กฟผ. เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556

64

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายสุกิจ เจริญรัตนกุล อายุ 61 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ เทียบเท่าปริญญาเอก • Cert. of Advanced Study (Pol.Sc. & Pub. Ad. - Equivalent to Doctor de 3 Cycle in France) Northern Illinois University, U.S.A. ปริญญาโท • M.A. (Political Science), Eastern New Mexico University, U.S.A. ปริญญาตรี • ศิลปศาสตรบัญฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • Personnel Management, University of Essex, U.K. • นักปกครองระดับสูง (รุ่นที่ 13) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 43 ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2555 - ปัจจุบัน • อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น • อาจารย์พิเศษ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปี 2554 - ปี 2555 • อธิบดีกรมการปกครอง ปี 2552 - ปี 2554 • ผูต้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย รักษาราชการแทนอธิบดีกรมการปกครอง ปี 2551 - ปี 2552 • อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ปี 2551 - ปี 2551 • รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • กรรมการการประปาส่วนภูมิภาค จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) * ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี * จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด - พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ กฟผ. เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556

65


นายประวิช สารกิจปรีชา อายุ 60 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • M.A. (Development Economics), Boston University, U.S.A. ปริญญาตรี • B.A. (Business Administration), Boston University, U.S.A. ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 49 • หลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง รุ่นที่ 19 • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) รุ่นที่ 75 สมาคม ส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง หลักสูตรที่ 1 (นบส. 1) รุ่นที่ 39 ส�ำนักงาน ก.พ. ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2551 - ปี 2554 • ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ปี 2549 - ปี 2551 • รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ปี 2546 - ปี 2549 • ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้และสารสนเทศ กระทรวงการคลัง ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • กรรมการองค์การสวนสัตว์ • กรรมการกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) * ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี * จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด - ลาออกจากการเป็นกรรมการ กฟผ. มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2556

66

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายสุรชัย ธารสิทธิ์พงษ์ อายุ 64 ปี

กรรมการ คุณวุฒิการศึกษา / ประวัติการอบรมที่ส�ำคัญ ปริญญาโท • รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปริญญาตรี • บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • หลักสูตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) • หลักสูตรนักปกครองชั้นสูง กรมการปกครอง • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นบส.) ส�ำนักงาน ก.พ. • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP 73/2008) ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2552 - ปัจจุบัน • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท สยามจีโอเทคนิค จ�ำกัด ปี 2551 - ปี 2552 • ปลัดกระทรวงคมนาคม ปี 2549 - ปี 2550 • รองปลัดกระทรวงคมนาคม ปี 2545 - ปี 2548 • อธิบดีกรมทางหลวงชนบท ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • ประธานกรรมการบริหาร บริษัท สยามจีโอเทคนิค จ�ำกัด • กรรมการ บริษัท ธนสิทธิ จ�ำกัด จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) * ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี * จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด - พ้นจากต�ำแหน่งกรรมการ กฟผ. เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2556

67


นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ อายุ 60 ปี

ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรรมการ (โดยต�ำแหน่ง) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม ปริญญาตรี • วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาบัตร / ประกาศนียบัตร • Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. • Senior Executive Development Program มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่าง ประเทศ • Creating Value through Product Management and Customer Profitability สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ • สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) - หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) ประสบการณ์การท�ำงาน ปี 2552 - 2556 • ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ปี 2551 - 2552 • รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า กฟผ. ปี 2550 - 2551 • ผู้ช่วยผู้ว่าการบริหารสายงานผลิตไฟฟ้า กฟผ. ต�ำแหน่งกรรมการ / ผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ / บริษัทอื่น • ประธานกรรมการบริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด • กรรมการบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน / มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น)* ไม่มี รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) ไม่มี * จ�ำนวน/มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และที่กรรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุ้น) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของจ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด - ครบวาระการเป็นผู้ว่าการ กฟผ. เนื่องจากอายุครบ 60 ปี (สัญญาจ้างผู้ว่าการ กฟผ.) เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2556

68

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


คณะผู้บริหาร กฟผ. นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ อายุ 57 ปี

ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • EGAT Successor Development​Program • ​Excellence in Situation Management • ​การปฏิบตั กิ ารจิตวิทยาฝ่ายอ�ำนวยการ (สจว.) รุน่ 101 สถาบันจิตวิทยาความ มั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ •​ Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. • ​การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า • ​Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย • ผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่น 2 สถาบันวิทยาการ พลังงาน

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 3 1 ก.ค. 2556 • ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 1 ต.ค. 2554 • รองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า 6 ม.ค. 2553 • ผู้ช่วยผูว้ ่าการบริหารเชื้อเพลิง

69


นายนพพล มิลินทางกูร อายุ 59 ปี

รองผู้ว่าการอาวุโส สังกัดผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

• ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (นิวเคลียร์เทคโนโลยี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) เกียรตินิยมอันดับ 2 ​จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ​ผู้บริหารระดับสูงอาเซียน รุ่นที่ 2 (ASEAN Executive Management Program) • ​ผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 1 สถาบันวิทยาการพลังงาน • ​การบริหารจัดการด้านความมั่นคงชั้นสูง รุ่นที่ 2 สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • ​ผู้บริหารระดับสูง (วตท.) รุ่นที่ 9 สถาบันวิทยาการตลาดทุน • การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า • ​การบริหารงานภาครัฐ และกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า • ​ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับนักบริหารระดับสูง ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • Director Certification Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​ Senior Executive Development Program-1 บริษัท GE สหรัฐอเมริกา • ​Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ASEAN Executive Development Programme, Thammasat Business School • ​การบริหารงานต�ำรวจชั้นสูง สถาบันพัฒนาข้าราชการต�ำรวจ

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ

1 ก.ค. 2556 • รองผู้ว่าการอาวุโส สังกัดผู้ว่าการ 1 ต.ค. 2553 • วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ในต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ 1 ต.ค. 2551 • วิศวกรระดับ 13 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ในต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ 21 ธ.ค. 2550 • ผู้ช่วยผู้ว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 1 ต.ค. 2548 • ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่วิศวกรรมโรงไฟฟ้า

70

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายมงคล สกุลแก้ว

นายพิบูลย์ บัวแช่ม

อายุ 60 ปี

อายุ 59 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

รองผู้ว่าการนโยบายและแผน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ​ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (Water Resources Engineering) ​สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​ไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สถาบัน พระปกเกล้า • Senior Executive Program สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ • ​Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ​Masterful Coaching Workshop, Hay Group • ​ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ASEAN Executive Development Programme, Thammasat Business School

รองผู้ว่าการบริหาร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ​ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์ (สถิติประยุกต์) เกียรตินิยมดี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบัน พระปกเกล้า

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2555 1 ต.ค. 2551

• รองผู้ว่าการบริหาร • ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2554 1 ต.ค. 2551

• รองผู้ว่าการนโยบายและแผน • ผู้ช่วยผูว้ ่าการแผนงาน

71


นายพูนสุข โตชนาการ

นายประภาส วิชากูล

อายุ 59 ปี

อายุ 58 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

รองผู้ว่าการบัญชีและการเงิน ท�ำหน้าที่ผู้บริหารใหญ่ ด้านการเงิน (Chief Financial Officer : CFO) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • นักบริหารการคลัง สถาบันวิทยาการเศรษฐกิจและ การคลัง

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ

1 ต.ค. 2555 • รองผู้ว่าการบัญชีและการเงิน ท�ำหน้าที่ผู้บริหารใหญ่ด้านการเงิน (Chief Financial Officer : CFO) 1 ต.ค. 2554 • ผู้ช่วยผู้ว่าการบัญชี 6 ม.ค. 2553 • ผู้ช่วยผู้ว่าการส�ำนักตรวจสอบภายใน

รองผู ้ ว ่ า การกิ จ การสั ง คม ท� ำ หน้ า ที่ โ ฆษกการไฟฟ้ า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ​ปริญญาโท วิทยาศาสตร์ (ธรณีวิทยา) ​New Mexico Institute of Mining and Technology, U.S.A. • ป ริญญาตรี วิทยาศาสตร์ (ธรณีวิทยา) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย • ป ระกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานพัฒนาท้องถิ่นที่ ยั่งยืน สถาบันพระปกเกล้า • ​หลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ สถาบันวิชาการ ทหารเรือ ชั้นสูง • ​Masterful Coaching Workshop, Hay Group • ​ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง ​ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ​Senior Executive Development Program - 2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ​Executive Program for Growing Companies, Stanford Graduate School of ​Business, U.S.A.

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556

1 ต.ค. 2554 6 ม.ค. 2553

72

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

• รองผู้ว่าการกิจการสังคม ท�ำหน้าที่โฆษก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย • ผู้ช่วยผู้ว่าการบริหารเชื้อเพลิง • ผู้ช่วยผู้ว่าการเหมืองแม่เมาะ


นายสุธน บุญประสงค์

นายสมยศ ธีระวงศ์สกุล

อายุ 56 ปี

อายุ 60 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

รองผู้ว่าการระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ​ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ​ปริ ญ ญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โขทั ย ธรรมาธิราช • ​ปริญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. • ​การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหาร ระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า • ​การบริหารงานต�ำรวจชัน้ สูง สถาบันพัฒนาข้าราชการ ต�ำรวจ • ​ Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ​Masterful Coaching Workshop, Hay Group • ​ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ​ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร์ (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ป ริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • การปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่ายอ�ำนวยการ สถาบัน จิตวิทยาความมั่นคง

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556 6 ม.ค. 2553

• รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า • ผู้ช่วยผูว้ ่าการผลิตไฟฟ้า 2

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556 • 1 ต.ค. 2553 • 6 ม.ค. 2553 •

รองผู้ว่าการระบบส่ง ผู้ช่วยผู้ว่าการปฏิบัติการระบบส่ง ผู้ช่วยผู้ว่าการกิจการสังคมและ สิ่งแวดล้อม

73


นายรัตนชัย นามวงศ์​

นายรัมย์ เหราบัตย์

อายุ 57 ปี

อายุ 57 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

รองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (นิวเคลียร์เทคโนโลยี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโลหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรชั้นสูงการเสริมสร้างสังคมสันติสุข สถาบันพระปกเกล้า • ​Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ​Masterful Coaching Workshop, Hay Group

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556 1 ต.ค. 2553

74

• รองผู้ว่าการพัฒนาโรงไฟฟ้า • ผู้ช่วยผูว้ ่าการวิศวกรรมโรงไฟฟ้า

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

รองผู้ว่าการเชื้อเพลิง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ​Advanced Management Program, Harvard Business School, U.S.A. • ​หลักสูตรหลักประจ�ำวิทยาลัยการทัพบก สถาบัน วิชาการทหารบกชั้นสูง

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556 1 ต.ค. 2554

• รองผู้ว่าการเชื้อเพลิง • ผู้ช่วยผูว้ ่าการธุรกิจบ�ำรุงรักษา


นายกรศิษฏ์ ภัคโชตานนท์

นายบุญมาก สมิทธิลีลา

อายุ 55 ปี

อายุ 58 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

รองผู้ว่าการพัฒนาธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ​Senior Executive Program สถาบั น บั ณ ฑิ ต บริหารธุรกิจศศินทร์ • ​การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหาร ระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า • ​ประกาศนียบัตรชั้นสูงการเสริมสร้างสังคมสันติสุข สถาบันพระปกเกล้า

รองผู้ว่าการพัฒนาระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) • ปริ ญ ญาตรี วิ ศ วกรรมศาสตร์ (วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ​ประกาศนียบัตรชั้นสูงการเสริมสร้างสังคมสันติสุข สถาบันพระปกเกล้า​

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556 1 ต.ค. 2554

• รองผู้ว่าการพัฒนาระบบส่ง • ผู้ช่วยผูว้ ่าการบ�ำรุงรักษาระบบส่ง

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556 1 ต.ค. 2554

• รองผู้ว่าการพัฒนาธุรกิจ • ผู้ช่วยผูว้ ่าการผลิตไฟฟ้า 3

75


ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานที่บริษัทในเครือ กฟผ.

นายสหัส ประทักษ์นุกูล

นายธนา พุฒรังษี

อายุ 58 ปี

อายุ 58 ปี

วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) ในต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

• ​ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ​การป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • ​ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ​ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการพลังงาน กระทรวงพลังงาน • ​Senior Executive Development Program-1 บริษัท GE สหรัฐอเมริกา • ​Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2554

• วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติ งานทีบ่ ริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) ในต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ 1 ต.ค. 2551 • รองผู้ว่าการนโยบายและแผน 1 ต.ค. 2549 • ผู้ช่วยผู้ว่าการนโยบาย 1 ต.ค. 2548 • ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ แผนงาน

76

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

รองผู้ว่าการอาวุโส สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส รักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

• ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ​ผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบัน วิทยาการพลังงาน • การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง ​สถาบันพระปกเกล้า • นักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรมและการลงทุน สถาบันวิทยาการธุรกิจ และอุตสาหกรรม • ​Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​Financial Statements for Directors สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​Senior Executive Development Program-2 มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ​Masterful Coaching Workshop, Hay Group • ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง ​ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556

• รองผู้ว่าการอาวุโส สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่บริษัท กฟผ. อินเตอร์ เนชั่นแนล จ�ำกัด ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส รักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ 1 ต.ค. 2553 • รองผู้ว่าการระบบส่ง 1 ต.ค. 2551 • ผู้ช่วยผู้ว่าการปฏิบัติการระบบส่ง


นายพงษ์ดิษฐ พจนา

นายไพศาล คัจฉสุวรรณมณี

อายุ 58 ปี

อายุ 58 ปี

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด / ประวัติการอบรม

วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ในต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ • ​ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) ​ Georgia Institute of Technology, U.S.A. • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • ​ผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 3 สถาบันวิทยาการพลังงาน • Director Accreditation Program สมาคมส่ง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 10 สถาบันพระปกเกล้า • ​EGAT Senior Executive Program (ESEP) • ​EGAT Director Development Program (EDDP) • ​EGAT Newly-Promoted Executive Orientation Program (ENOP) • ​EGAT Preparation of Professional Leader Program (EPLP) ประเทศออสเตรเลีย

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ก.ค. 2556

• วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติ งานที่บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกั ด (มหาชน) ในต�ำแหน่งกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 1 ต.ค. 2555 • รองผู้ว่าการกิจการสังคม ท�ำหน้าที่ โฆษกการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย 1 ก.ค. 2555 • ผู้ช่วยผู้ว่าการกิจการสังคม 1 ต.ค. 2553 • ผู้ช่วยผู้ว่าการกิจการสังคมและ สิ่งแวดล้อม

วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงานที่ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนา • ​ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ​Leadership Succession Program, Institute of Research and Development for Public Enterprises (IRDP) • ​Financial Statements for Directors สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​Director Certification Program สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย • ​การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะส�ำหรับนักบริหารระดับ สูง สถาบันพระปกเกล้า • ​Senior Executive Program สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ • ​การปฏิบัติการจิตวิทยาฝ่ายอ�ำนวยการ สถาบันจิตวิทยา ความมั่นคง • ​Senior Executive Development Program-2 ม​ ูลนิธิ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ • ​Masterful Coaching Workshop, Hay Group • ​ความรู้ด้านตลาดการเงินเพื่อการตัดสินใจส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง ​ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องแห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการท�ำงานใน กฟผ. ที่ส�ำคัญ 1 ต.ค. 2556

1 ก.ย. 2555

1 ต.ค. 2554 6 ม.ค. 2553

• วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ ปฏิบัติงาน ที่บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ พัฒนา • วิศวกรระดับ 13 สังกัดรองผู้ว่าการ พัฒนาธุรกิจ ปฏิบัติงานที่บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ในต�ำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่พัฒนา • ผู้ช่วยผู้ว่าการบริหารธุรกิจ • ผู้ช่วยผู้ว่าการบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า

77


ผู้บริหารที่เกษียณอายุในปี 2556

นายสุรศักดิ์ ศุภวิฑิตพัฒนา

นายวิวัฒน์ เสนีย์มโนมัย

ด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า

ด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าการพัฒนาระบบส่ง

ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2556

ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2556

ครบเกษียณอายุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556

ครบเกษียณอายุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556

นายธนากร พูลทวี

นายสมบูรณ์ อารยะสกุล

ด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าการเชื้อเพลิง

ด�ำรงต�ำแหน่ง วิศวกรระดับ 14 สังกัดผู้ว่าการ

ตั้งแต่วันที่ 6 มกราคม 2553 - 30 กันยายน 2556

ปฏิบัติงานที่ บริษัท กฟผ. อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด

ครบเกษียณอายุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556

ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2556 ครบเกษียณอายุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556

นายพิษณุ ทองวีระกุล ด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าการพัฒนาธุรกิจ ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2556 ครบเกษียณอายุเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556

78

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


79


การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฟผ. มีความมุง่ มัน่ ในการบริหารองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ เต็มความสามารถ โปร่งใส และ ตรวจสอบได้ เพื่อสร้างมูลค่าให้แก่องค์การในระยะยาวอย่างยั่งยืน สร้างภาพลักษณ์และความน่าเชื่อ ถือขององค์การจากผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ตลอดจนยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีให้ทัดเทียมกับ สากล โดยยึดหลักธรรมาภิบาล 6 หลัก คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมี ส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า จากการที่ กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี าอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ในปี 2556 กฟผ. ได้รับรางวัลซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี อาทิ • รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจ�ำปี 2556 ด้านการด�ำเนินงานเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมดีเด่น จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ ชุมชนบ้านคลองเรือ และรางวัลชมเชยด้านนวัตกรรม จากผล งานเรื่องเครื่องควบคุมการสื่อสารทางเสียง ส�ำหรับศูนย์ควบคุมระบบก�ำลังไฟฟ้า • เขือ่ นอุบลรัตน์ รับรางวัลคุณธรรมแห่งชาติ ปี 2556 มุง่ เน้นการท�ำงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Corporate Social Responsibility - CSR) ตามหลักธรรมาภิบาลของ กฟผ. ใน งานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 จัดโดย ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) และหน่วย งานเครือข่ายภาคี ระหว่างวันที่ 25-26 กรกฎาคม 2556 • 4 รางวัล ในเวทีประกวด ASEAN Energy Awards 2013 ประกอบด้วย รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Community-Based Off-Grid Category หรือโครงการ พลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบส่งไฟฟ้า ได้แก่ ผลงานโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชน บ้านคลองเรือ ของฝ่ายสื่อสารองค์การ ร่วมกับคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices-Clean Coal Use and Technology in Power Generation Category เป็นผลงานของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices in Surface Coal Mining Category เป็นผลงานของเหมืองแม่เมาะ และรางวัล Excellence in Energy Management ได้แก่ นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ อดีตผู้ว่าการ กฟผ. ในการท�ำหน้าที่ Power Hapua Chairman and Governor EGAT of Thailand เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2556

80

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


• รางวัลดีเด่นด้านพลังงานทดแทน จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำชุมชนบ้านคลองเรือ และ รางวัลด้านส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานประเภทสื่อเว็บไซต์ www.egat.co.th ในงาน Thailand Energy Awards 2013 • 20 หน่ ว ยงานของ กฟผ. รั บ รางวั ล โครงการพั ฒ นาโรงงานอุ ต สาหกรรมให้ มี ค วาม รับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีส่วนร่วม หรือโครงการ CSR - DIW Continuous Award 2013 จากกระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2556 • โล่ประกาศเกียรติคุณ จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ยกย่องเป็น องค์การที่ท�ำคุณประโยชน์ต่อสังคม สร้างเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้ตระหนักถึงคุณค่าของ พลังงานและความยั่งยืนของสภาพแวดล้อม เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2556 • 29 หน่วยงานของ กฟผ. รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัยในงาน “สัปดาห์ความปลอดภัยในการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ 27” ภายใต้แนวคิด “เศรษฐกิจก้าว ไกลแรงงานต้องปลอดภัยและสุขภาพดี” ตั้งเป้าลดอันตรายจากการท�ำงานในทุกกิจการ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2556 • สายงานรองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า รับรางวัล Zero Accident Campaign ระดับเงิน จาก กระทรวงแรงงาน เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2556

81


• กฟผ. และวิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ กฟผ. แม่เมาะ ร่วมรับรางวัลเชิดชูเกียรติฯ อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสคู่ วามเป็นเลิศ ระดับ 5 ดาว ในฐานะองค์การแบบอย่างสนับสนุน การเรียนรู้เชิงทฤษฎีควบคู่การฝึกปฏิบัติจริงได้ตามมาตรฐาน สร้างโอกาสทางการศึกษาที่ ดีให้แก่ชุมชน เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2556 • โรงไฟฟ้าบางปะกง ได้รบั รางวัลสถานประกอบการอุตสาหกรรมทีด่ �ำเนินงานตามหลักเกณฑ์ ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม จากกระทรวงอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2556 กฟผ. ก�ำหนดนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีตามแนวทางการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ปี 2552 เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานยึดถือ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏผลการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดีในด้านต่างๆ ดังนี้

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการ กฟผ. เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการก�ำกับควบคุมดูแลการบริหารกิจการ การ ตัดสินใจ การก�ำหนดนโยบายและกลยุทธ์ของ กฟผ. โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อ กลัน่ กรองและติดตามทบทวนการด�ำเนินงานในแต่ละระบบงานทีส่ �ำคัญทัง้ 5 ระบบ ได้แก่ ระบบบริหาร ความเสีย่ ง ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน ระบบการจัดการสารสนเทศ และระบบบริหาร ทรัพยากรบุคคล อย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งให้ความเห็นชอบแผนงานทุกระบบ นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการรายงานผลการด�ำเนินงานทั้งในด้านการเงินและที่มิใช่การเงินอย่าง สม�่ำเสมอเป็นรายเดือนหรือรายไตรมาสตามความจ�ำเป็นของงาน การติดตามผลการด�ำเนินงานตามระบบงานต่างๆ ของ กฟผ. นี้ ส่วนใหญ่คณะกรรมการ กฟผ. ด�ำเนินการผ่านการประชุมคณะกรรมการ กฟผ. อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ ล่วงหน้า โดยคณะกรรมการ กฟผ. ได้มอบข้อสังเกตและข้อเสนอแนะอย่างสม�่ำเสมอและหลากหลาย นอกจากการประชุมประจ�ำทุกเดือนแล้ว คณะกรรมการ กฟผ. ยังมีวิธีการติดตามการด�ำเนินงานโดย ใช้ช่องทางอื่นๆ เช่น ตรวจเยี่ยมการด�ำเนินงานของ กฟผ. เข้าร่วมกิจกรรมส�ำคัญที่ กฟผ. จัด และเรียก ดูข้อมูลหรือเชิญผู้เกี่ยวข้องประชุมเพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม เป็นต้น ระบบบริหารความเสีย่ ง มีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ท�ำหน้าทีท่ บทวนปัจจัยความเสีย่ ง ทีส่ �ำคัญและเพิม่ ปัจจัยความเสีย่ งเรือ่ งความเสียหายของระบบส่งไฟฟ้าจากอุบตั เิ หตุ เนือ่ งจากอุปกรณ์ เสื่อมสภาพ และปัจจัยความเสี่ยงเรื่องการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินและนิวเคลียร์ เนื่องจาก ประชาชนยังขาดความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโรงไฟฟ้าถ่านหินและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ในด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ นอกจาก กฟผ. ได้ด�ำเนินการสนองตอบต่อ การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและนโยบายของรัฐบาลแล้ว ยังให้ความส�ำคัญกับการน�ำระบบ บริหารความเสี่ยง COSO ERM (Committee of Sponsoring Organizations Enterprise Risk Management) มาใช้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การโดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ ของ กฟผ. การบูรณาการการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ความเสี่ยง และการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันเพื่อน�ำไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่องค์การ และปลูกฝังความเสี่ยงให้เป็นส่วนหนึ่ง ของวัฒนธรรมองค์การ

82

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ระบบการควบคุมภายใน กฟผ. มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทั้งด้านการเงิน การปฏิบัติ การด�ำเนินการให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทั้งติดตามประเมินผล เพื่อให้การด�ำเนินงาน เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ระบบการตรวจสอบภายใน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อท�ำหน้าที่รับผิดชอบใน การก�ำกับดูแลระบบการตรวจสอบภายใน กฟผ. รวมทั้งบริษัทในเครือ ติดตามการด�ำเนินการแก้ไข ปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะอย่างต่อเนื่อง เป็นประจ�ำทุกไตรมาส ระบบการบริหารจัดการสารสนเทศ คณะกรรมการ กฟผ. มอบหมายให้คณะกรรมการบริหาร ของคณะกรรมการ กฟผ. เป็นผูร้ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการบริหารจัดการระบบสารสนเทศในการพิจารณา กลั่นกรองแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ กฟผ. ก่อนน�ำเสนอต่อที่ประชุมคณะ กรรมการ กฟผ. ซึ่งคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ (กฟผ.- คทส. หรือ EGAT INFORMATION TECHNOLOGY COMMITTEE - EITC) เป็นผู้รวบรวมและจัดท�ำรายงานการประเมินผลการด�ำเนิน งานการบริหารจัดการสารสนเทศในภาพรวมขององค์การ รวมถึงจัดท�ำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารองค์การ เสนอคณะกรรมการบริหาร กฟผ. และคณะกรรมการ กฟผ. เพื่อพิจารณาให้ ความเห็นชอบตามล�ำดับ และน�ำส่งให้กระทรวงพลังงาน และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารรับทราบ ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคล กฟผ. รับ ผิดชอบในการก�ำกับดูแล ควบคุม และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านทรัพยากรบุคคลของ กฟผ. พิจารณาแผนแม่บทด้านทรัพยากรบุคคลก่อนเสนอคณะกรรมการ กฟผ. รวมทั้งปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ที่ เกีย่ วข้องกับการก�ำกับดูแลด้านทรัพยากรบุคคลตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ กฟผ. โดยมี คณะกรรมการพิจารณานโยบายและแนวทางการพัฒนาองค์กร กฟผ. (คนพ.) ซึ่งมีรองผู้ว่าการบริหาร เป็นประธาน รับผิดชอบการจัดท�ำแผนแม่บทบริหารทรัพยากรบุคคล กฟผ. งานธรรมาภิบาล งานความรับผิดชอบต่อสังคม และงานจริยธรรม มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการ ธรรมาภิบาล กฟผ. รับผิดชอบการก�ำกับดูแล ควบคุม และให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย พิจารณาให้ ความเห็นชอบแผน ตลอดจนส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการ ผูบ้ ริหารและพนักงาน กฟผ. ใน กิจกรรมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และกิจกรรมด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ติดตาม และรายงานผลการด�ำเนินงานต่อคณะกรรมการ กฟผ. ทุก 6 เดือน

83


การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย กฟผ. ให้ความส�ำคัญในการดูแลและค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ รวมถึงความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 5 กลุ่ม โดยก�ำหนดคุณค่าที่ส่งมอบ และช่องทางการสื่อสารไปยังผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละกลุ่มไว้ ดังนี้

กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย

ความต้องการและความคาดหวัง

คุณค่าที่ส่งมอบ

ช่องทางการสื่อสาร

ก) กลุ่มผู้ก�ำกับดูแล ประกอบด้วย - กระทรวงพลังงาน

รับซื้อไฟจากประเทศเพื่อนบ้าน ขยายระบบส่งไฟฟ้า ปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าให้สามารถลดค่า Heat Rate ส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัยพัฒนาด้านพลังงาน ทดแทนและพลังงานสะอาด สนับสนุนให้ไทยเป็นศูนย์กลางในการซื้อขายไฟฟ้า ในภูมิภาค

จัดหาพลังงานไฟฟ้าที่เพียงพอต่อความต้องการ ความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ราคาไฟฟ้าเป็นธรรม มีเทคโนโลยีสาธิตด้านพลังงานทดแทนและ พลังงานสะอาด

ประชุม สัมมนา กิจกรรรมตามนโยบายของรัฐบาล และหน่วยงานราชการ พบปะอย่างเป็นทางการและไม่ เป็นทางการ รายงานประจ�ำปี Website

- กระทรวงการคลัง

ขยายการด�ำเนินงานในธุรกิจเกี่ยวเนื่อง มุ่งสู่การเป็นองค์การชั้นน�ำในกิจการไฟฟ้าใน ระดับสากล

การส่งรายได้ให้รัฐ เพิ่มคุณภาพการบริหาร

การประชุม การสัมมนา บันทึก รายงาน รายงานประจ�ำปี Website

- คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน

พัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าของประเทศ แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า (PDP 2013) ด�ำเนินการแล้วเสร็จ

จัดหาพลังงานไฟฟ้าที่เพียงพอต่อความ ต้องการ มีแผนที่น�ำทางระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ

ประชุม สัมมนาร่วมระหว่าง กฟผ. กฟภ. และ กฟน.

ข) สังคมในภาพรวมของประเทศ

ความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดจากการ ด�ำเนินงาน สนับสนุนการด�ำเนินการเพื่อลดก๊าซเรือน กระจก การมีส่วนช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ

ทุกกระบวนการปฏิบัติงานเน้นการด�ำเนินงาน CSR in process ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การอนุรักษ์พลังงาน โครงการจิตอาสา

www.egat.co.th Call Center กฟผ. 1416 ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร กฟผ. ณ ส�ำนักงานใหญ่ หน่วยงานประชาสัมพันธ์ของเขต ปฏิบัติการ และโรงไฟฟ้าต่างๆ

ค) ชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าและ ชุมชนตามแนวสายส่งไฟฟ้า

ควบคุมปริมาณมลพิษที่เกิดจากการด�ำเนินงาน เช่น เสียง ฝุ่น สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า ฯลฯ ให้อยู่ในระดับต�่ำ ตามที่กฎหมายก�ำหนดและ เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย มีมาตรการรองรับในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ มีช่องทางสื่อสารสองทางเพื่อรับรู้การด�ำเนิน งานของ กฟผ. และสามารถแสดงความคิดเห็น และร้องเรียนปัญหาได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น การจ้างงาน สนับสนุนด้านต่างๆ เช่น ท�ำนุบ�ำรุงวัด

ความปลอดภัย การมีส่วนร่วมของชุมชนและ กฟผ. ในการร่วม กันพัฒนาการด�ำเนินงานด้านชุมชนสัมพันธ์ ให้เป็นระบบและเกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน สามารถสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจของ ชุมชนที่ดี การจ้างแรงงานท้องถิ่น

บอร์ดแสดงคุณภาพอากาศ (ค่า SOx, NOx ) ของโรงไฟฟ้า การร่วมซ้อมเหตุฉุกเฉินประจ�ำปี ประชุมคณะกรรมการประสานงาน สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม หน่วยงานมวลชนสัมพันธ์ กฟผ. ผู้บริหารจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน รอบโรงไฟฟ้า การเชิญผู้แทนชุมชนเข้าชม โรงไฟฟ้า และโครงการของ กฟผ. Web Site ของ กฟผ. จัดกิจกรรมโครงการทางด้าน สังคมและสิ่งแวดล้อม เช่น ชีววิถี แว่นแก้ว แพทย์เคลื่อนที่ เป็นต้น

84

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย

ความต้องการและความคาดหวัง

คุณค่าที่ส่งมอบ

ช่องทางการสื่อสาร

ง) พนักงาน

การได้รับการยอมรับและมีส่วนร่วม ความก้าวหน้าในอาชีพ มีความมั่นคงในชีวิต ความภูมิใจที่ได้ท�ำงาน กฟผ.

กฟผ. ได้ก�ำหนดแนวทางสร้างความผูกพันของ บุคลากร ให้สอดคล้องกับความต้องการ/คาดหวัง ของผู้ปฏิบัติงาน และแนวทางในการดูแลผู้ปฏิบัติ งาน

การประชุม Teleconference ข่าวประชาสัมพันธ์รายสัปดาห์ ข่าวประชาสัมพันธ์รายปักษ์ โปสเตอร์ เสียงตามสาย EGAT TV ทาง intranet email ผู้บริหารพบพนักงาน สัมมนา งานคุณภาพประจ�ำปี

จ) ประชาชน

พลังงานไฟฟ้าเพียงพอ มั่นคง ปลอดภัย ราคาเหมาะสม ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย โปร่งใส เปิดเผย

เป็นองค์การที่ดีของสังคม ส่งเสริมการด�ำเนินงานด้าน Demand Side Management (DSM) ช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก

ข่าวสาร กฟผ. หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ การส�ำรวจฯ Call Center สัมมนา ประชุม จดหมาย website email การเยี่ยมเยียน

นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้ส่งเสริมสนับสนุนการก�ำกับดูแลองค์การให้ด�ำเนินงานเพื่อประโยชน์ สูงสุดของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม เช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารข้อมูลข่าวสารของ กฟผ. เพื่อให้ บริการข้อมูลข่าวสารที่ครอบคลุมการด�ำเนินงานทุกสายงาน การจัดให้มีช่องทางการสื่อสารร้องเรียน หรือร้องทุกข์ส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสียหลายช่องทาง และข้อมูลจากทุกช่องจะถูกส่งต่อมาที่ศูนย์จัดการ ข้อคิดเห็น กฟผ. เพื่อบริหารจัดการข้อคิดเห็นในภาพรวมของ กฟผ. ต่อไป ในปี 2556 กฟผ. ยังคงน�ำแผนแม่บทการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ปี 2555 - 2559 ไปปฏิบัติ เพื่อ พัฒนา กฟผ. ให้เป็นองค์การทีม่ กี ารก�ำกับดูแลทีด่ สี ร้างความพึงพอใจและการยอมรับในการด�ำเนินงาน ของ กฟผ. ต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง โดยน�ำไปเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ของ กฟผ. และเพื่อให้การด�ำเนินงานครอบคลุมทุกสายงานภายใน กฟผ. จึงได้ก�ำหนดให้สายงานต่างๆ เป็นผู้รับ ผิดชอบกิจกรรมในแผนปฏิบัติการรองรับแผนแม่บทฯ พร้อมก�ำหนดตัวชี้วัด และมีคณะกรรมการ เสริมสร้างธรรมาภิบาล การปฏิบัติตามจริยธรรม ค่านิยม และวัฒนธรรม กฟผ. (คธจค.) ท�ำหน้าที่ ศึกษา วิเคราะห์ ทบทวนแนวปฏิบัติ การเสริมสร้างธรรมาภิบาลตามแผนแม่บทการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี การปฏิบตั ติ ามจริยธรรมจรรยาบรรณ และการเสริมสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมองค์การของ กฟผ. ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ นโยบาย และกรอบยุทธศาสตร์ และสนับสนุน ส่งเสริมการด�ำเนินกิจกรรม ตลอดจนประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ขอ้ มูลด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การปฏิบตั ติ ามจริยธรรมจรรยาบรรณ ค่านิยม และวัฒนธรรม กฟผ. รวมถึงการประเมินผลและการรายงานผลการด�ำเนินงานให้คณะกรรมการ บริหาร กฟผ. และคณะกรรมการธรรมาภิบาล กฟผ. ทราบทุกไตรมาส

85


ในส่วนของการด�ำเนินงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม กฟผ. ให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงาน ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง และถือเป็นกระบวนการงานหลักของ กฟผ. ตลอดมา โดย ก�ำหนดเป็นเป้าประสงค์ไว้ในแผนทีย่ ทุ ธศาสตร์ (Strategy map) ระดับองค์การ “เป็นองค์การทีห่ ว่ งใย สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม” ทีม่ กี รอบแนวทางในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ดงั กล่าว คือ “รับผิดชอบ ต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยแสดงออกด้วยความสุจริต เที่ยงธรรม และจริงใจ” ซึ่งสะท้อนให้ เห็นถึงการบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคมกับการด�ำเนินงานของ กฟผ. ไว้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ยังได้จัดกิจกรรมปลูกจิตส�ำนึกแก่ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ในเรื่อง “จิตอาสา” อันเป็น พื้นฐานที่ส�ำคัญของความรับผิดชอบต่อสังคม ท�ำให้พบว่า ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. จ�ำนวนไม่น้อยที่ทุ่มเท ตนเองเป็นกลุ่มจิตอาสาด้านต่างๆ อุทิศตนเพื่อท�ำประโยชน์ต่อสังคมโดยมิได้หวังผลตอบแทนมาเป็น เวลานาน โดย กฟผ. มีการจัดท�ำฐานข้อมูลกลุ่มจิตอาสาไว้ด้วยแล้ว

การเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศและความโปร่งใส การเปิดเผยข้อมูลเป็นดัชนีชี้วัดความโปร่งใสในการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ และเป็นปัจจัยในการ สร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม กฟผ. จึงให้ความส�ำคัญกับการเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นย�ำ และสร้างช่องทางการเปิดเผยข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้าถึงข้อมูล ได้โดยง่าย รวมทั้งรณรงค์ให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปิดเผย ข้อมูลและความโปร่งใสในการด�ำเนินงาน ตลอดจนสร้างกลไกในการรับเรื่องร้องเรียนที่เหมาะสมและ เป็นธรรม ทัง้ ผูร้ อ้ งเรียนและผูถ้ กู ร้องเรียน จัดท�ำรายงานเปิดเผยข้อมูลทางการเงินและข้อมูลทีม่ ใิ ช่การ เงินไว้ในรายงานประจ�ำปี รวมถึงการให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียได้รบั ทราบข้อมูลข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน ตาม พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ให้ความส�ำคัญ กับการจัดท�ำรายงานทางการเงินและการบริหาร ซึง่ เป็นเครือ่ งมือในการก�ำกับดูแลการด�ำเนินงาน เพือ่ ให้รายงานมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และเป็นปัจจุบัน โดยผู้เกี่ยวข้องสามารถตรวจสอบได้ และช่วยลด ความเสี่ยงที่จะเกิดผลกระทบต่อการด�ำเนินงาน มุ่งเน้นให้ กฟผ. มีการด�ำเนินงานด้วยความโปร่งใส โดยอยู่บนหลักการให้พนักงานทุกระดับปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์สูงสุดของ กฟผ. โดยปราศจากผล ประโยชน์ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง

86

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ค่านิยม จริยธรรม และจรรยาบรรณ คณะกรรมการ กฟผ. ได้ออกข้อบังคับ กฟผ. ที่ 346 ว่าด้วยการก�ำกับดูแลกิจการ โดยได้ระบุ เรื่องจริยธรรมและจรรยาบรรณไว้ในข้อบังคับดังกล่าวด้วย เพื่อให้การปฏิบัติงานของ กฟผ. มีความ โปร่งใส มีคณ ุ ธรรม และค�ำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และก�ำหนดให้คณะกรรมการ กฟผ. ผูบ้ ริหาร และผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคน ต้องปฏิบตั ติ ามจริยธรรมจรรยาบรรณตามทีค่ ณะกรรมการ กฟผ. ได้ก�ำหนดแนวทางปฏิบตั ไิ ว้ในข้อบังคับ ฉบับที่ 347 ว่าด้วย ประมวลจริยธรรมของคณะกรรมการ กฟผ. ฝ่ายบริหาร และผู้ปฏิบัติงาน โดยมีการก�ำหนด “มาตรฐานทางจริยธรรมของ กฟผ.” ไว้ในข้อบังคับ ดังกล่าว เพือ่ ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของบทบัญญัตติ ามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 นอกจากนี้ ข้อก�ำหนดการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ที่ 1/2552 ว่าด้วยการบังคับใช้จรรยาบรรณ กฟผ. ในส่วนที่เกี่ยวกับจริยธรรมในการด�ำเนินงานของ กฟผ. ข้อพึงปฏิบัติของผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. และ ข้อแนะน�ำเมื่อมีปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของ กฟผ. ยังมีผลบังคับใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ในส่วนของค่านิยมองค์การซึง่ เป็นรากฐานทีจ่ ะน�ำไปสูว่ ฒ ั นธรรมองค์การทีเ่ ข้มแข็ง ผูน้ �ำระดับ สูงของ กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญและด�ำเนินการตามที่ข้อบังคับก�ำหนด เพื่อส่งเสริมการปลูกฝังค่านิยม และวัฒนธรรม ในปี 2556 ได้มีการทบทวนและได้ข้อสรุปว่า ค่านิยมองค์การยังคงสอดคล้อง รองรับ และเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์ และวัฒนธรรมองค์การ กฟผ. ซึ่งค่านิยมองค์การของ กฟผ. คือ ค่านิยม FIRM-C ประกอบด้วย การตั้งมั่นในความเป็นธรรม (Fairness) ยึดมั่นในคุณธรรม (Integrity) ส�ำนึกในความรับผิดชอบและหน้าที่ (Responsibility & Accountability) เคารพในคุณค่า ของคน (Mutual Respect) มุง่ มัน่ ในการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งและการท�ำงานเป็นทีม (Commitment) ซึ่งก่อให้เกิดความเชื่อมั่นร่วมกันว่า จะช่วยสนับสนุนให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเกิดวิถีการท�ำงาน ร่วมกัน มีทิศทางที่สอดคล้องกัน ช่วยสร้างความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน สร้างความไว้วางใจ ซึ่งกันและกัน สร้างความรู้สึกในการเป็นกลุ่มเดียวกัน เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญต่อการเกิดวัฒนธรรม องค์การที่เข้มแข็ง “FIRM-C” จึงเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญต่อวิธีการคิดและการปฏิบัติให้เกิดคนเก่งและคนดี

87


ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ กฟผ. ให้ความส�ำคัญต่อการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีมาตรการป้องกันกรณีที่ กรรมการและผูบ้ ริหารใช้ขอ้ มูลภายในเพือ่ หาผลประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผูอ้ นื่ ในทางมิชอบ (Abusive Self - Dealing) ให้กรรมการ กฟผ. ทุกคนจะต้องรายงานให้ทราบถึงต�ำแหน่งอืน่ ๆ ได้แก่ เป็นกรรมการ/ ผู้บริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจ/บริษัทอื่น รายการที่เกี่ยวโยงกัน (ระหว่างปีบัญชี 2556) จ�ำนวน/ มูลค่าหลักทรัพย์ (หุ้น) และรายชื่อบริษัทที่ถือครองหลักทรัพย์เฉพาะที่อยู่ในอุตสาหกรรมหลัก หรือ ธุรกิจหลักที่ กฟผ. ด�ำเนินการ และทีก่ รรมการถือครองหลักทรัพย์ (หุน้ ) ในสัดส่วนที่ ≥ ร้อยละ 10 ของ จ�ำนวนผู้ที่บริษัทมีสิทธิออกเสียงทั้งหมด นอกจากนี้ การตรวจสอบคุณสมบัติของกรรมการ กฟผ. ได้ ตรวจสอบให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ร.บ. คุณสมบัตมิ าตรฐานส�ำหรับกรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม และกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ส่วนกรรมการ ชุดย่อย ก�ำหนดให้คณ ุ สมบัตเิ ป็นไปตามข้อบังคับ กฟผ. ว่าด้วยกรรมการชุดย่อยต่างๆ ซึง่ เป็นมาตรการ กลั่นกรองคุณสมบัติของกรรมการชุดย่อย นอกจากการรายงานของกรรมการดังกล่าวแล้ว กฟผ. ได้จัดท�ำแบบเปิดเผยรายการขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมบรรจุไว้ในคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กฟผ. เพือ่ ให้ผบู้ ริหาร กฟผ. ระดับรองผูว้ า่ การหรือเทียบเท่าขึน้ ไปถือปฏิบตั ิ โดยจะต้องเปิดเผยเมือ่ รับ ต�ำแหน่งใหม่ รวมทัง้ เมือ่ เกิดรายการทีเ่ ป็นการขัดกันระหว่างปี รวมทัง้ ผูเ้ กีย่ วข้องในฐานะเป็นกรรมการ จัดซือ้ จัดจ้างก็จะต้องรายงานเมือ่ พบรายการทีข่ ดั กันในระหว่างปฏิบตั หิ น้าที่ นอกจากนี้ คูม่ อื การก�ำกับ ดูแลกิจการที่ดีของ กฟผ. ได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวมไว้ เช่น เมื่อต้องตัดสินใจ หรืออนุมัติรายการที่มีหรืออาจมีความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ ให้รายงานผูบ้ งั คับบัญชาหรือผูม้ อี �ำนาจอนุมตั ิ และถอนตัวจากการมีสว่ นร่วมในรายการนัน้

การส่งเสริมและเผยแพร่กิจกรรมที่เกี่ยวกับการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กฟผ. ได้จัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเป็น ส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์การ ทั้งในส่วนที่ด�ำเนินการภายใน กฟผ. และให้ความร่วมมือกับองค์กร ภายนอก อาทิ

88

• กฟผ. เป็นรัฐวิสาหกิจเดียวที่ได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในภาคีสมาชิกในกลุ่มเครือข่ายองค์กร ภาครัฐ กับศูนย์คุณธรรมแห่งชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินงานกิจกรรมต่างๆ เพื่อ กระตุ้นให้สังคมไทยเกิดจิตส�ำนึกด้านคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น โดยทุกๆ ปี กฟผ. ได้เข้า ร่วมกิจกรรมกับศูนย์คณ ุ ธรรม อาทิ งานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติครัง้ ที่ 6 ซึง่ ผูว้ า่ การ กฟผ. ได้ร่วมลงนาม “ปฏิญญาเพื่อการขับเคลื่อนคุณธรรมความซื่อตรงฉบับที่ 2 ปี 2556” ของ ภาคีสมาชิกทั้ง 32 องค์กร เพื่อเป็นการประกาศว่าภาคีสมาชิกทั้งหมดจะยึดมั่นถือมั่นใน ปฏิญญาคุณธรรม เพื่อขับเคลื่อนประเทศไปสู่สังคมแห่งความซื่อตรง • การสื่อสาร การรณรงค์ให้เกิดความตระหนัก เช่น การจัดท�ำ website ด้านการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี การเผยแพร่ข่าวสารด้านธรรมาภิบาล จัดท�ำบทความด้านธรรมาภิบาล บน intranet

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


• การเผยแพร่ข้อมูลการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีของ กฟผ. ในรูปแบบเดียวกับการเผยแพร่บน Internet ไว้ที่หน้าแรกของ website กฟผ. (www.egat.co.th) เพื่อเพิ่มช่องทางในการ สื่อสารให้คนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ง่าย • การจัดท�ำคู่มือการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีเพื่อเผยแพร่ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. เพื่อเป็น แนวทางปฏิบัติที่มีมาตรฐานส�ำหรับองค์การ • การเชิญวิทยากรที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านธรรมาภิบาลมาบรรยายให้แก่ผู้บริหาร ระดับสูง และคณะกรรมการ กฟผ. รวมทั้งจัดบรรยายให้สายงานต่างๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาล และการน�ำแผนแม่บทการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีปี 2555-2559 สู่การ ปฏิบัติ • การจัดกิจกรรม กฟผ. องค์การใสสะอาด ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในเดือนกรกฎาคม ปี 2556

89


การด�ำเนินงานตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ของ ราชการ พ.ศ. 2540 ในปี 2556 การรับรู้หรือรับทราบข้อมูลข่าวสารของราชการเป็นสิทธิตามบทบัญญัติมาตรา 56 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 “บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับข้อมูล หรือข่าวสารสาธารณะ ในครอบครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น เว้นแต่การ เปิดเผยนั้นจะกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยของประชาชน หรือส่วนได้เสียอันพึงได้รับ ความคุ้มครองของบุคคลอื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” พระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ได้ตราขึน้ ภายใต้หลักการว่า ในระบอบ ประชาธิปไตย ภายใต้เจตนารมย์ที่ต้องการให้ประชาชนมีโอกาสกว้างขวางในการได้รับข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับการด�ำเนินงานต่างๆ ของรัฐ การคุ้มครองสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ เป็นการรองรับการคุ้มครองสิทธิการรับรู้ข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่อยู่ในความครอบ ครองของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจและราชการส่วนท้องถิ่น ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย มาตรา 58 ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้ ถูกต้อง ตรงกับความเป็นจริง เป็นการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยให้มั่นคง และส่งเสริมให้การบริหาร งานของรัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ภายใต้บทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กฟผ. ได้แต่งตั้งคณะ กรรมการบริหารข้อมูลข่าวสารของ กฟผ. โดยมีหน้าทีก่ �ำหนดนโยบาย มาตรการ หรือหลักเกณฑ์เกีย่ วกับ การจัดการระบบ การอนุญาต และการบริการข้อมูลข่าวสาร โดยความเห็นชอบของรองผู้ว่าการ กิจการสังคม โดยมีศูนย์ข้อมูลข่าวสาร กฟผ. ท�ำหน้าที่ให้บริการข้อมูลของ กฟผ. ตามนโยบายการ บริหารข้อมูลข่าวสารของ กฟผ. ที่ได้ประกาศไว้ว่า กฟผ. มุ่งมั่นในการให้บริการข่าวสารของ กฟผ. แก่ ผู้ขอรับบริการด้วยความเสมอภาคโปร่งใส และเป็นไปตามบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการ พ.ศ. 2540 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง การเปิดเผยและให้บริการข้อมูลข่าวสารของ กฟผ. ได้ก�ำหนดขอบเขตและวิธีด�ำเนินงานไว้เป็นแนวทางปฏิบัติภายใต้การสั่งการที่ชัดเจน และสอดคล้อง ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 โดยมีการให้บริการข้อมูลในหลายลักษณะ อาทิ เอกสารข้อมูล ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ระบบบริการข้อมูลทางโทรศัพท์ โทรสาร เจ้าหน้าที่ศูนย์ข้อมูล ข่าวสาร กฟผ. นอกจากนี้ ประชาชนยังสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ดว้ ยตนเอง ณ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสาร กฟผ. อาคารฝ่ายสื่อสารองค์การ ส�ำนักงานใหญ่ กฟผ. อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ส�ำหรับข้อมูลและเอกสารส�ำคัญทีม่ เี นือ้ หารายละเอียดมาก จะจัดเก็บไว้ทหี่ น่วยงานระดับฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้องในแต่ละเรือ่ งโดยตรง โดยก�ำหนดเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ระสานงานประจ�ำฝ่ายไว้อ�ำนวยความสะดวก ซึ่งสามารถติดต่อขอรับบริการได้ทางโทรศัพท์ หรือติดต่อได้ด้วยตนเอง

การให้บริการข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต กฟผ. ได้น�ำข้อมูลการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ของ กฟผ. จัดแสดงไว้บนเว็บไซต์ กฟผ. ซึ่ง ประชาชนสามารถเข้าท�ำการสืบค้นได้ตลอด 24 ชั่วโมง อาทิ ข้อมูลการด�ำเนินภารกิจของ กฟผ. ข้อมูล โรงไฟฟ้าต่างๆ และระบบส่งไฟฟ้า ข้อมูลการผลิต การจ�ำหน่ายไฟฟ้า แผนพัฒนาและโครงการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าแห่งใหม่ เป็นต้น

90

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นอกจากนี้ บนหน้าเว็บไซต์ กฟผ. ได้ตดิ ตัง้ ตัง้ เมนูส�ำหรับการติดต่อสอบถามและรับข้อร้องเรียน เพื่อให้บริการแก่พนักงานและประชาชนทั่วไปในการติดต่อสอบถามและแจ้งข้อร้องเรียนต่อ กฟผ.

ระบบบริการข้อมูลทางโทรศัพท์ EGAT Call Center ระบบ EGAT Call Center ของ กฟผ. ได้จัดไว้เพื่อให้บริการและอ�ำนวยความสะดวกแก่ ประชาชน ในการติดต่อสอบถาม ขอรับบริการข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนประโยชน์สาธารณะที่เกี่ยวข้อง และการให้ค�ำแนะน�ำทางโทรศัพท์ รวมทั้งเพื่อเป็นช่องทางส�ำหรับการรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย เหตุ ขัดข้องที่เกิดขึ้นกับระบบส่งไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. ซึ่งท�ำให้ประชาชนทั่วประเทศได้รับความสะดวก รวดเร็วในการติดต่อกับ กฟผ. หรือเพื่อแจ้งเหตุด่วนเหตุร้ายเพียงจุดเดียวได้ตลอด 24 ชั่วโมง ด้วย หมายเลขโทรคมนาคมพิเศษ 4 หลัก EGAT Call Center 1416 ซึ่งได้น�ำมาใช้งานอย่างเต็มรูปแบบ ตั้งแต่ปี 2555

การด�ำเนินงานของศูนย์ข้อมูลข่าวสารในรอบปี 2556 ในปี 2556 (ระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2556) มีจ�ำนวนสายเรียกเข้าศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ผ่านหมายเลข EGAT Call Center 1416 จ�ำนวน 8,653 สาย โดยมีประเด็นการติดต่อในเรือ่ งต่างๆ ดังนี้ • การด�ำเนินงานขององค์การ • กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับงานด้าน CSR ของ กฟผ • การรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน การรับสมัครงาน และการขอเข้าชมกิจการ • ติดต่อพนักงานและหน่วยงานใน กฟผ. • สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับระบบส่งไฟฟ้า • แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย และข้อร้องเรียน

91


นอกจากนี้ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสาร กฟผ. ได้ให้บริการข้อมูล และตอบค�ำถามผ่านทางเว็บไซต์ กฟผ. และให้บริการแก่ผู้ขอเข้าสืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง ณ ที่ท�ำการศูนย์ข้อมูลข่าวสาร กฟผ.

คณะกรรมการบริหารข้อมูลข่าวสารของ กฟผ. คณะกรรมการบริหารข้อมูลข่าวสารของ กฟผ. มีอ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการ ก�ำหนดนโยบาย มาตรการ หรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการระบบ และการให้บริการข้อมูล ข่าวสาร ตลอดจนพิจารณาข้อร้องเรียนหรือค�ำคัดค้านตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ ฯลฯ ซึ่งในรอบปี 2556 คณะกรรมการได้รับเรื่องพิจารณา และด�ำเนินการในเรื่องต่างๆ ดังนี้ • พิจารณาอนุมัติให้จัดส่งส�ำเนาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับบริษัท กัลฟ์ เจพี ยูที จ�ำกัด แก่ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) โดย กฟผ. ได้ท�ำ หนังสือ ที่ กฟผ. 981400/23017 ลงวันที่ 2 เมษายน 2556 เรียน กกพ. ว่า การเปิดเผย สัญญาซื้อขายไฟฟ้าดังกล่าวต่อ กกพ. นั้น กฟผ. จะต้องปฏิบัติตามภาระผูกพันที่มีตาม เงื่อนไขที่ระบุในสัญญาฯ กฟผ. จึงขอแจ้ง กกพ. ไม่ให้เปิดเผยข้อมูลในสัญญาฯ ที่ได้รับ แก่บุคคลอื่น เพื่อป้องกันความเสียหายใดๆ ที่จะเกิดขึ้นต่อคู่สัญญาได้ แต่หาก กกพ. มี ความจ�ำเป็นต้องเปิดเผยให้แก่บคุ คลอืน่ ขอให้ กกพ. ท�ำสัญญารักษาความลับกับบุคคล นัน้ โดยให้มขี อ้ จ�ำกัดในการใช้ขอ้ มูลเพือ่ วัตถุประสงค์ตามหนังสือ ที่ สกพ. 5502/1651 ลงวันที่ 18 มีนาคม 2556 เท่านั้น • พิจารณาอนุมตั ใิ ห้จดั ส่งส�ำเนาเอกสารเพือ่ ประกอบการสอบสวน ตามหนังสือของสถานี ต�ำรวจภูธรบางกรวย ที่ ตช 0016.48(ส)/4961 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2555 โดย กฟผ. ได้ท�ำหนังสือ ที่ กฟผ. 981400/3272 ลงวันที่ 14 มกราคม 2556 เรียนผู้ก�ำกับการ สถานีต�ำรวจภูธรบางกรวย น�ำส่งส�ำเนาเอกสารพร้อมลงนามรับรองในเอกสารจ�ำนวน 3 รายการ เพื่อใช้ประกอบการสอบสวน ประกอบด้วย - หนังสือน�ำส่งเอกสารของบริษทั พลังงานบริสทุ ธิ์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ 5507/08 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2555 - หนังสือยินยอมให้เช่าและใช้พื้นที่ (เพิ่มเติม) - หนังสือยินยอมให้เช่าและใช้พื้นที่ • พิจารณาอนุมัติให้จัดส่งต้นฉบับเอกสารเพื่อประกอบส�ำนวนการสอบสวน ตามหนังสือ ของสถานีต�ำรวจภูธรบางกรวย ที่ ตช 0016.48(ส)/2178 ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2556 โดย กฟผ. ได้ท�ำหนังสือ ที่ กฟผ. 981400/42691 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2556 น�ำส่ง ต้นฉบับและส�ำเนาเอกสารพร้อมลงนามรับรองในเอกสาร จ�ำนวน 2 รายการ เพื่อใช้ ประกอบการสอบสวนประกอบด้วย - ต้นฉบับหนังสือน�ำส่งของบริษทั พลังงานบริสทุ ธิ์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่ 5507/08 ลงวันที่ 9 กรกฎาคม 2555 - ส�ำเนาหนังสือยินยอมให้เช่าและใช้พนื้ ทีแ่ ละฉบับเพิม่ เติมทีบ่ ริษทั ฯ เคยยืน่ ไว้ ต่อ กฟผ.

92

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ระบบการด�ำเนินการเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน เพื่อให้การบริหารจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนของ กฟผ. มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ปี 2556 กฟผ. ได้น�ำระบบจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนทีไ่ ด้พฒ ั นาขึน้ ใช้งานบนระบบอินทราเน็ต กฟผ. ขึน้ ติดตัง้ บนระบบอินเทอร์เน็ต (หน้าเว็บไซต์ กฟผ.) เพือ่ อ�ำนวยความสะดวก และเปิดโอกาสให้ผมู้ สี ว่ นได้เสีย ทั้ง 8 กลุ่ม ซึ่งประกอบด้วย ภาครัฐและผู้ก�ำกับดูแลสถาบันการเงิน พนักงาน คู่ค้าและพันธมิตรทาง ธุรกิจ ลูกค้าหลักและผูใ้ ช้ไฟฟ้าทัว่ ไป นักวิชาการ เอ็นจีโอ ชุมชนรอบโรงไฟฟ้า/ระบบส่ง และสือ่ มวลชน สามารถท�ำการบันทึกข้อคิดเห็น และข้อร้องเรียนต่อ กฟผ. ได้ด้วยตนเอง โดยข้อเสนอแนะตลอดจนข้อร้องเรียนต่อ กฟผ. จะผ่านเข้าในช่องทางต่างๆ ได้แก่ ระบบ จัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนบนเว็บไซต์ กฟผ. ระบบรับฟังเสียงจากลูกค้า (EGAT-VOC) ระบบ EGAT Call Center 1416 ระบบจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล (1111) รวมถึงหนังสือร้องเรียน กฟผ. ได้ก�ำหนดวิธีปฏิบัติในการยุติเรื่องของข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียนให้มีการตรวจสอบ ข้อเท็จจริง และบริหารจัดการความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม รวมทั้งมี การทบทวนข้อร้องเรียนและก�ำหนดแนวทางป้องกันเพือ่ มิให้เรือ่ งลักษณะเดียวกันเกิดขึน้ อีก นอกจากนี้ กฟผ. ยังให้ความส�ำคัญสูงสุดในการเก็บรักษาความลับข้อมูลบุคคลของผู้ร้องเรียน ในรอบปี 2556 ศูนย์จัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน กฟผ. ได้ท�ำหน้าที่รวบรวมข้อคิดเห็น และข้อร้องเรียนของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ซึ่งมีผ่านช่องทางต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 760 เรื่อง ดังนี้ - ระบบจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล (1111) จ�ำนวน 4 เรื่อง กฟผ. ได้ด�ำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง และรายงานผลการพิจารณาด�ำเนินการให้ส�ำนักงาน ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีรับทราบภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด - ระบบรับฟังเสียงจากลูกค้า (EGAT VOC) จ�ำนวน 8 เรื่อง จากกลุ่มลูกค้าตรง ได้แก่ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จ�ำกัด (มหาชน) (ตาคลี) บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) (ทุ่งสง) บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทเหล็กสยาม (2001) จ�ำกัด กิจการไฟฟ้าสวัสดิการทหารเรือสัตหีบ (ทหารเรือ) และสถานีวิทยุเอเชียเสรี ซึ่งได้ ร้องเรียนผ่านระบบรับฟังเสียงจากลูกค้า ท�ำให้ กฟผ. สามารถรับทราบถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในระบบไฟฟ้า ของ กฟผ. ซึง่ ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานของลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงรับทราบข้อขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับจุดจ่ายไฟ และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทันที - ระบบจัดการข้อคิดเห็นและข้อร้องเรียน จ�ำนวน 748 เรื่อง การด�ำเนินงานตามภารกิจของ กฟผ. ในปี 2556 ที่ได้รับการร้องเรียนอย่างต่อเนื่อง และมี จ�ำนวนมาก คือ ผลกระทบที่เกิดจากการก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าแรงสูง เช่น การอุทธรณ์เรื่องที่ดินที่อยู่ นอกเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้า มีจ�ำนวนถึง 629 เรื่อง โดย กฟผ. ได้ท�ำการตรวจสอบหลักฐานและสรุป ข้อเท็จจริง น�ำเสนอขออนุมัติความช่วยเหลือต่อที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาช่วยเหลือผู้ได้รับผล กระทบจากการก่อสร้างระบบโครงข่ายไฟฟ้า (คชส.) พิจารณาจ่ายค่าทดแทนเพื่อน�ำไปสู่การยุติเรื่อง และรายงานผลให้ผู้ร้องเรียนรับทราบในที่สุด

93


แผนงานในอนาคต และการพัฒนาระบบไฟฟ้า แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP) ฉบับทางการที่ใช้ในปัจจุบันคือ แผน PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2555 ต่อมาเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 ครม. ได้มีมติเห็นชอบตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติ (กพช.) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2556 ที่ได้เห็นชอบแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี พ.ศ. 2554-2573 (Action Plan) และ เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2556 ครม. ได้มีมติเห็นชอบตามมติ กพช. เมื่อ วันที่ 16 กรกฎาคม 2556 ที่ได้เห็นชอบแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกใหม่ พ.ศ. 2555-2564 (Alternative Energy Development Plan: AEDP 2012-2021) ซึ่งแผนปฏิบัติการ อนุรักษ์พลังงานฯ และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนฯ จะน�ำมาใช้ประกอบการจัดท�ำแผน PDP ฉบับ ใหม่ ที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ โดยส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน

โครงการโรงไฟฟ้าใหม่ของ กฟผ. โครงการโรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างโดย กฟผ. ระหว่างปี 2557-2562 รวมทั้งสิ้น 4,457.9 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย

โรงไฟฟ้า

สถานที่ตั้ง (จังหวัด)

1. โรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4 พระนครศรีอยุธยา 2. โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 สงขลา 3. โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2 นนทบุรี 4. โรงไฟฟ้าทดแทนแม่เมาะ ล�ำปาง เครื่องที่ 4-7 5. โรงไฟฟ้าถ่านหิน กระบี่ (เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด) 6. โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน - รวม

94

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

เชื้อเพลิง ก�ำลังผลิตตามสัญญา ก�ำหนดแล้วเสร็จ (เมกะวัตต์) ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์

768.7 782.2 848.3 540.0

เม.ย. 2557 เม.ย. 2557 ม.ค. 2559 ม.ค. 2561

ถ่านหิน

800.0

มิ.ย. 2562

ลม แสงอาทิตย์ น�้ำ

718.7

2557-2562

4,457.9


โครงการรับซื้อไฟฟ้า การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ระหว่างปี 2557-2567 มีโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง และโครงการรับซื้อไฟฟ้า IPP รอบประกาศรับซื้อปี พ.ศ. 2555 ซึ่ง กพช. รับทราบเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 และรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงานได้ลงนามเห็นชอบข้อเสนอของคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) เมื่อ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2556 จ�ำนวน 6 โครงการ ก�ำลังผลิตรวมทั้งสิ้น 9,670 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย

โรงไฟฟ้า

สถานที่ตั้ง (จังหวัด)

เชื้อเพลิง ก�ำลังผลิตตามสัญญา ก�ำหนดแล้วเสร็จ (เมกะวัตต์)

1. บริษัท กัลฟ์ เจพี เอ็นเอส จ�ำกัด สระบุรี ก๊าซธรรมชาติ 1,600 มิ.ย./ธ.ค. 2557 ชุดที่ 1-2 2. บริษัท กัลฟ์ เจพี ยูที จ�ำกัด พระนครศรีอยุธยา ก๊าซธรรมชาติ 1,600 มิ.ย./ธ.ค. 2558 ชุดที่ 1-2 3. บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด นครศรีธรรมราช ก๊าซธรรมชาติ 930 ก.ค. 2559 4. บริษัท เนชั่นแนลเพาเวอร์ ฉะเชิงเทรา ถ่านหิน 540 พ.ย. 2559 ซัพพลาย จ�ำกัด เครื่องที่ 1-4 มี.ค. 2560 5. บริษัท Chonburi Power ชลบุรี ก๊าซธรรมชาติ 2,500 มี.ค./ต.ค. 2564 Generation จ�ำกัด มี.ค./ต.ค. 2565 6. บริษัท Siam Eastern ระยอง ก๊าซธรรมชาติ 2,500 มี.ค./ต.ค. 2566 Power จ�ำกัด มี.ค./ต.ค. 2567 รวม 9,670

การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP) ตามแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ระหว่างปี 2557-2562 จะมีการรับซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก รวมทั้งสิ้น 5,258.1 เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็นปริมาณรับซื้อไฟฟ้าแบบ สัญญา Firm ระบบ Cogeneration 3,600 เมกะวัตต์ และปริมาณรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 1,658.1 เมกะวัตต์

95


การรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ปัจจุบนั กฟผ. มีการรับซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้านแล้วจ�ำนวน 6 โครงการ รวมก�ำลังผลิต ตามสัญญา 2,404.6 เมกะวัตต์ ตามแผน PDP ระหว่างปี 2557-2562 จะมีการรับซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศ เพื่อนบ้านเพิ่มขึ้นอีก 3,316 เมกะวัตต์

โรงไฟฟ้า

เชื้อเพลิง

ก�ำลังผลิตตามสัญญา (เมกะวัตต์)

1. โครงการหงสาลิกไนต์ ลิกไนต์ 1,473 เครื่องที่ 1-3 2. โครงการเซเปียน-เซน�้ำน้อย พลังน�้ำ 354 3. โครงการน�้ำเงี้ยบ 1 พลังน�้ำ 269 4. โครงการไซยะบุรี พลังน�้ำ 1,220 รวม 3,316

ก�ำหนดแล้วเสร็จ มิ.ย./พ.ย. 2558 มี.ค. 2559 ก.พ. 2562 ก.ค. 2562 ต.ค. 2562

การพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ กฟผ. พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าแห่งใหม่เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศที่จะเพิ่ม ขึ้นในอนาคต ตามการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม และเพื่อเสริมความมั่นคงและ เสถียรภาพของระบบไฟฟ้า ตามแผนพัฒนาก�ำลังผลิตของประเทศไทย พ.ศ. 2555-2573 ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3 (PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 : เดือนมิถุนายน 2555) 1. โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ 1.1 โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะนะ ชุดที่ 2 โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะนะ ชุดที่ 2 ตั้งอยู่ในบริเวณโรงไฟฟ้าจะนะเดิม อ�ำเภอ จะนะ จังหวัดสงขลา ขนาดก�ำลังผลิตสุทธิประมาณ 800 เมกะวัตต์ ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง เพื่อ เสริมความมั่นคงและเสถียรภาพของระบบไฟฟ้าในเขตพื้นที่ภาคใต้ เริ่มงานก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม 2554 ก�ำหนดแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2557 ผลการด�ำเนินงานในปี 2556 มีความก้าวหน้าร้อยละ 96.20 โดยเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ได้ทดสอบการขนานเครื่อง (First Synchronization GT21) เข้ากับเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า

96

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

โครงการโรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2


1.2 โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมวังน้อย ชุดที่ 4 โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมวังน้อย ชุดที่ 4 ตัง้ อยูใ่ นบริเวณโรงไฟฟ้าวังน้อยเดิม อ�ำเภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาดก�ำลังผลิตสุทธิประมาณ 800 เมกะวัตต์ ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิง เพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าในอนาคตและเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้าในเขตพื้นที่ ภาคกลาง เริ่มงานก่อสร้างเมื่อเดือนธันวาคม 2554 คาดว่า จะสามารถผลิตไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ใน เดือนมิถุนายน 2557 ผลการด�ำเนินงานในปี 2556 มีความก้าวหน้าร้อยละ 97.46 โดยด�ำเนินการขนานเครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้ากังหันไอน�้ำเป็นครั้งแรก (Steam Turbine Generator First Synchronization) เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2556

โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมวังน้อย ชุดที่ 4

1.3 โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมพระนครเหนือ ชุดที่ 2 โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2 ตั้งอยู่ภายในบริเวณโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ต�ำบล บางกรวย อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี มีขนาดก�ำลังผลิตสุทธิประมาณ 848.3 เมกะวัตต์ โดยใช้ ก๊าซธรรมชาติผสมระหว่างก๊าซธรรมชาติจากแหล่งสหภาพเมียนมาร์ (ฝั่งตะวันตก) และแหล่งอ่าวไทย (ฝั่งตะวันออก) เป็นเชื้อเพลิง เพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มสูงขึ้นในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ช่วยเสริมให้ระบบไฟฟ้าในภาคกลางและประเทศมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น เริ่มงานก่อสร้าง เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2556 และเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2556 กฟผ. ได้จัดพิธียกเสาเอกโรงไฟฟ้า พระนครเหนือ ชุดที่ 2 โดยมีก�ำหนดจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ได้ในเดือนมกราคม 2559 ผลการด�ำเนินงานในปี 2556 มีความก้าวหน้าร้อยละ 49.20

97


โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2

2. โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน กฟผ. ได้ด�ำเนินการโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน เพือ่ ตอบสนองยุทธศาสตร์การ พัฒนาพลังงานทดแทน พ.ศ. 2551-2556 ของกระทรวงพลังงาน และเงื่อนไขที่ก�ำหนดให้การก่อสร้าง โรงไฟฟ้าใหม่ จะต้องมีการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน (Renewable Portfolio Standard : RPS) ร้อยละ 5 ปี 2556 มีโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่ส�ำคัญ คือ โครงการ สถานที่ตั้ง

เขื่อนขุนด่านปราการชล เขื่อนแม่กลอง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนแควน้อยบ�ำรุงแดน โครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ทับสะแก

อ.เมือง จ.นครนายก อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์

ก�ำลังผลิต (เมกะวัตต์)

ประมาณการแล้วเสร็จ

1 x 10 = 10 2 x 6 = 12 1 x 6.7 = 6.7 2 x 15 = 30 1 x 5 = 5

มิถุนายน 2556 กรกฎาคม 2556 มีนาคม 2557 มิถุนายน 2558 ธันวาคม 2557

โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าท้ายเขื่อนขุนด่านปราการชล

98

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


3. โครงการที่อยู่ในขั้นตอนเริ่มต้นของการพัฒนา 3.1 โรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาด ปัจจุบันเป้าหมายการพัฒนาโรงฟ้าถ่านหินสะอาดแห่งแรก ได้แก่ โครงการขยายก�ำลังผลิต โรงไฟฟ้ากระบี่ ซึ่งตั้งอยู่ภายในบริเวณโรงไฟฟ้ากระบี่ ต�ำบลคลองขนาน อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัด กระบี่ ขนาดก�ำลังผลิตสุทธิประมาณ 800 เมกะวัตต์ โดยใช้ถ่านหินน�ำเข้าจากต่างประเทศเพื่อเป็น เชื้อเพลิง คาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จและจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ในปี 2562 ผลการด�ำเนินการในปี 2556 อยู่ระหว่างการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment : EHIA) ที่แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของรายงาน EHIA/โครงการขยายก�ำลังผลิตโรงไฟฟ้ากระบี่ และส่วนของ EIA โครงการท่าเทียบเรือ ซึ่งตามแผน งานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม และการขออนุมตั โิ ครงการ มีเป้าหมายทีจ่ ะด�ำเนินการให้แล้วเสร็จ ในปี 2557 เพื่อให้สอดคล้องกับก�ำหนดการจ่ายไฟเข้าระบบเชิงพาณิชย์ในปี 2562 3.2 โครงการโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครื่องที่ 4-7 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครื่องที่ 4-7 ขนาดก�ำลังผลิตติดตั้งรวม 600 เมกะวัตต์ มีอายุการใช้งาน ครบ 25 ปี ในช่วงปี 2552-2553 กฟผ. จึงมีนโยบายปรับปรุงโรงไฟฟ้าเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการเดิน เครือ่ งผลิตไฟฟ้าให้สงู ขึน้ และมีตน้ ทุนการผลิตต�ำ่ ลง จากการศึกษาความเหมาะสมพบว่า การก่อสร้าง โรงไฟฟ้าใหม่ภายในบริเวณโรงไฟฟ้าแม่เมาะเพื่อทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครื่องที่ 4-7 ขนาดก�ำลัง ผลิตติดตั้ง 600 เมกะวัตต์ ใช้ถ่านลิกไนต์เป็นเชื้อเพลิง มีความเหมาะสมที่สุด โดยก�ำหนดจ่ายไฟฟ้าเข้า ระบบเชิงพาณิชย์ในเดือนมกราคม 2561 ในปี 2556 กฟผ. ด�ำเนินการจัดท�ำรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment : EHIA) แล้วเสร็จ ได้จัดส่งรายงานให้ส�ำนักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ด�ำเนินการในขั้นตอนการพิจารณาจาก คณะกรรมการผู้ช�ำนาญการ (คชก.) และขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (กก.วล.) 3.3 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ตามแผนพัฒนาก�ำลังผลิตของประเทศไทย พ.ศ. 2555-2573 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 (PDP 2010 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 : เดือนมิถุนายน 2555) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามมติคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ให้ปรับเลื่อนก�ำหนดการเข้าระบบของโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์เป็นปี 2566 อย่างไรก็ตาม ในปี 2556 กฟผ. ยังคงเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่าง ต่อเนื่อง ได้แก่ ด้านบุคลากร มีการจัดฝึกอบรมบุคลากรทั้งในและต่างประเทศ ด้านกฎหมาย (Legislative Framework) ด้านการก�ำกับดูแล (Regulatory Framework) และด้านการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Involvement) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความรู้ความเข้าใจด้าน พลังงาน ที่นอกจากให้ความรู้กับนักเรียน นิสิต และนักศึกษาอย่างต่อเนื่องแล้ว ยังจัดท�ำร่างหลักสูตร ร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เรือ่ ง “การใช้พลังงาน ไฟฟ้าในชีวติ ประจ�ำวัน” ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย และร่วม กับสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ในการจัดท�ำหลักสูตรพลังงานทดแทน กับการใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมของระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

99


โครงการก่อสร้างและปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้า กฟผ. ยังคงด�ำเนินการวางแผนและพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าของประเทศอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ ระบบไฟฟ้ามีความมัน่ คงและเชือ่ ถือได้ อยูใ่ นเกณฑ์สามารถรองรับความต้องการไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ในส่วน ต่างๆ ของประเทศ รวมทัง้ เพือ่ ให้การเชือ่ มต่อโรงไฟฟ้าต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศเข้าสูร่ ะบบ ไฟฟ้าของ กฟผ. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในจุดที่มีความเสี่ยงและมีความส�ำคัญ ต่อประเทศ กฟผ. จะพิจารณาเพิม่ ระดับความมัน่ คงของระบบไฟฟ้าขึน้ เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งทีอ่ าจจะ ท�ำให้เกิดไฟฟ้าดับเป็นบริเวณกว้างขึ้นอีกในอนาคต นอกจากนั้น แผนการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าต่างๆ ของ กฟผ. ได้มีการเตรียมพร้อมส�ำหรับรองรับการเชื่อมโยงระบบส่งไฟฟ้าระหว่างประเทศในภูมิภาค อาเซียน และระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) อีกด้วย โครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าของ กฟผ. ที่อยู่ระหว่างด�ำเนินการและขออนุมัติด�ำเนินการ มีดังนี้ โครงการที่อยู่ในระหว่างด�ำเนินการ 1. โครงการขยายระบบไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 2 เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการฯ ระยะที่ 1 วงเงินลงทุนโครงการจ�ำนวน 9,170 ล้านบาท ประกอบด้วยงานก่อสร้างและปรับปรุงสายส่ง รวมความยาวสายส่ง 89.025 วงจร-กิโลเมตร ติดตั้ง หม้อแปลง 9,600 เอ็มวีเอ (MVA) และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มแรงดัน 384.0 เอ็มวีเออาร์ (MVAr) ความ ก้าวหน้าของงานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 84.89 คาดว่า โครงการจะแล้ว เสร็จในเดือนมิถุนายน 2559 2. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าระยะที่ 11 เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการฯ ระยะที่ 10 โดยการขยายและปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าใน ส่วนภูมิภาคของประเทศ เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และรองรับการขยายจุดจ่ายไฟฟ้า ใหม่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ให้สามารถจ่ายไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย งานก่อสร้างสายส่งรวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 1,922.7 วงจร-กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง แห่งใหม่ 12 สถานี ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่มเติม 14,575 เอ็มวีเอ และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มแรงดัน 1,741.2 เอ็มวีเออาร์ วงเงินลงทุนโครงการจ�ำนวน 23,000 ล้านบาท ความก้าวหน้าของงานก่อสร้างระบบส่ง ไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 83.82 คาดว่า โครงการจะแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม 2558 3. โครงการระบบส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ เป็นโครงการก่อสร้างระบบส่ง จ�ำนวน 4 โครงการย่อย เพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าผู้ผลิต ไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ รวมก�ำลังผลิตประมาณ 4,400 เมกะวัตต์ วงเงินลงทุนโครงการทั้งสิ้น 7,985 ล้านบาท ความก้าวหน้าของงานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าของแต่ละโครงการย่อยเป็นดังนี้ 3.1 งานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนของบริษัท Gheco - one จ�ำกัด แล้วเสร็จและน�ำเข้าใช้งานเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2556 3.2 งานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนของบริษัท National Power Supply จ�ำกัด ยังไม่เริ่มด�ำเนินการ

100

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


3.3 งานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนของบริษัท กัลฟ์ เจพี ยูที จ�ำกัด มีความก้าวหน้าของงานก่อสร้าง (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 29.67 คาดว่า จะแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2557 3.4 งานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนของบริษัท กัลฟ์ เจพี เอ็นเอส จ�ำกัด มีความก้าวหน้าของงานก่อสร้าง (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 79.56 คาดว่า จะแล้วเสร็จในเดือนกันยายน 2557 4. โครงการระบบส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนเทินหินบุนส่วนขยาย เป็นโครงการก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง 230 กิโลโวลต์ นครพนม 2 และสายส่งทีเ่ กีย่ วข้องรวม ความยาวสายส่ง 108 วงจร-กิโลเมตร เพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนเทินหินบุนส่วนขยาย อีก 220 เมกะวัตต์ (จากก�ำลังผลิตติดตั้งเดิม 220 เมกะวัตต์) รวมเป็น 440 เมกะวัตต์ วงเงินลงทุน โครงการประมาณ 665 ล้านบาท โรงไฟฟ้าได้เริ่มจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์เข้าสู่ระบบไฟฟ้าแล้วเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2555 ความก้าวหน้าของงานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้าส่วนที่เหลือซึ่งไม่กระทบต่อการรับซื้อ ไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 98.61 คาดว่า จะแล้วเสร็จทั้งโครงการในเดือนกรกฎาคม 2557 5. โครงการระบบส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสาลิกไนต์ เป็นโครงการเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหงสาลิกไนต์ ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้า พลังความร้อนทีใ่ ช้ลกิ ไนต์เป็นเชือ้ เพลิงแห่งแรกใน สปป.ลาว ขนาดก�ำลังผลิตติดตัง้ 3 x 626 เมกะวัตต์ จ่ายไฟฟ้าให้ประเทศไทยประมาณ 1,473 เมกะวัตต์ ผ่านสายส่ง 500 กิโลโวลต์ จากโรงไฟฟ้าหงสา ลิกไนต์ ผ่านชายแดนไทย/สปป.ลาว (จังหวัดน่าน) มายังสถานีไฟฟ้าแรงสูง 500/230/115 กิโลโวลต์ น่าน แล้วเชือ่ มต่อสายส่ง 500 กิโลโวลต์ เข้าระบบหลักไปยังสถานีไฟฟ้าแรงสูง 500 กิโลโวลต์ แม่เมาะ 3 พร้อมปรับปรุงสายส่งที่เกี่ยวข้อง รวมความยาวสายส่ง 1,192 วงจร-กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้า แรงสูงแห่งใหม่ 1 สถานี ติดตัง้ หม้อแปลงเพิม่ เติม 1,150 เอ็มวีเอ วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 21,160 ล้านบาท ความก้าวหน้างานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 27.27 คาดว่า โครงการ จะแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม 2557 6. โครงการระบบส่งไฟฟ้าส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนน�้ำงึม 3 และน�้ำเทิน 1 เป็นโครงการเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้าจากจากโครงการนำ�้ งึม 3 และนำ�้ เทิน 1 และ/หรือโครงการโรงไฟฟ้า อืน่ ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพใน สปป.ลาว เช่น โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เขือ่ นน�ำ้ เงีย้ บ 1 และโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เขือ่ น ไซยะบุรี เป็นต้น โครงการฯ ประกอบด้วยงานก่อสร้างสายส่ง 500 กิโลโวลต์ น�ำ้ พอง 2 - ชัยภูมิ 2 - ท่าตะโก และเชื่อมต่อกับสายส่ง 500 กิโลโวลต์ บ้านนาบง (สปป.ลาว) - อุดรธานี 3 - น�้ำพอง 2 (ซึ่งปัจจุบัน จ่ายไฟฟ้าด้วยระบบ 230 กิโลโวลต์) เป็นสายส่ง 500 กิโลโวลต์ บ้านนาบง - อุดรธานี 3 - ชัยภูมิ 2 - ท่าตะโก รวมทั้งก่อสร้างสายส่ง 230 กิโลโวลต์ ชัยภูมิ 2 - ชัยภูมิ รวมความยาวสายส่ง 728 วงจรกิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูงแห่งใหม่ 1 สถานี ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่มเติม 4,000 เอ็มวีเอ วงเงิน ลงทุนโครงการประมาณ 17,550 ล้านบาท ความก้าวหน้างานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 0.06 ก�ำหนดแล้วเสร็จประมาณเดือนมีนาคม 2559 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2560

101


7. โครงการพัฒนาระบบส่งไฟฟ้าบริเวณจังหวัดเลย หนองบัวล�ำภู และขอนแก่น เพื่อรับ ซื้อไฟฟ้าจากโครงการใน สปป.ลาว เป็นโครงการเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้าจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ เขือ่ นไซยะบุรี ทีม่ กี �ำหนดจ่ายไฟฟ้า เชิงพาณิชย์ของโรงไฟฟ้าครบทุกหน่วยในเดือนตุลาคม 2562 มีปริมาณการรับซือ้ ไฟฟ้าทีช่ ายแดนไทย/ สปป.ลาว ประมาณ 1,220 เมกะวัตต์ โดยก่อสร้างสายส่ง 500 กิโลโวลต์ จ�ำนวน 2 วงจร จากชายแดน ไทย/สปป.ลาว (บริเวณจังหวัดเลย) มาที่ สฟ. ท่าลี่ (สฟ. แห่งใหม่) ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร แล้ว ก่อสร้างสายส่ง 500 กิโลโวลต์ วงจรคู่ จาก สฟ.ท่าลี่ ไปยัง สฟ. ขอนแก่น 4 (สฟ. แห่งใหม่) ระยะทาง ประมาณ 225 กิโลเมตร รวมการก่อสร้างสายส่งทั้งหมด (เฉพาะในฝั่งไทย) ความยาวประมาณ 460 วงจร-กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูงแห่งใหม่ 2 สถานี ติดตัง้ หม้อแปลงเพิม่ 1,000 เอ็มวีเอ วงเงิน ลงทุนโครงการประมาณ 12,060 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดแล้วเสร็จเบื้องต้นในปี 2561 8. ระบบส่งไฟฟ้าส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 เป็นโครงการเพื่อรับไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าจะนะ ขนาดก�ำลังผลิตสุทธิประมาณ 800 เมกะวัตต์ ประกอบด้วยงานก่อสร้างสายส่ง 230 กิโลโวลต์ โรงไฟฟ้าจะนะ – จุดเชื่อมจะนะ – คลองแงะ รวม ความยาวสายส่ง 90 วงจร-กิโลเมตร และงานก่อสร้างและขยายสถานีไฟฟ้าแรงสูงจ�ำนวน 2 สถานี วงเงินลงทุนส�ำหรับระบบส่งไฟฟ้าประมาณ 1,290.50 ล้านบาท ความก้าวหน้างานก่อสร้างระบบส่ง ไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 39.87 คาดว่า โครงการจะแล้วเสร็จประมาณเดือนมีนาคม 2557 9. โครงการปรับปรุงและขยายระบบไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 1: ส่วนสถานีไฟฟ้าแรงสูง เป็นโครงการปรับปรุง/เปลี่ยนทดแทน หรือเพิ่มเติมอุปกรณ์ระบบส่งไฟฟ้าและอาคาร ควบคุมต่างๆ ในสถานีไฟฟ้าแรงสูงที่มีอายุการใช้งานมานาน เพื่อให้อุปกรณ์ระบบส่งไฟฟ้าดังกล่าวมี ความพร้อมจ่าย ความเชื่อถือได้และความมั่นคงระบบไฟฟ้า ประกอบด้วยงานปรับปรุงสถานีไฟฟ้า แรงสูงต่างๆ จ�ำนวน 15 สถานี และงานปรับปรุงระบบส่งเบ็ดเตล็ด วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 3,815 ล้านบาท ความก้าวหน้างานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 1.34 คาดว่า โครงการจะแล้วเสร็จเดือนกุมภาพันธ์ 2560 10. โครงการระบบส่งไฟฟ้าเชื่อมต่อจุดใหม่ระหว่างสถานีไฟฟ้าแรงสูงสุไหงโก-ลก ของ กฟผ. กับสถานีไฟฟ้าแรงสูง Rantau Panjang ของบริษัท Tenaga Nasional Berhad จ�ำกัด (TNB) เป็นโครงการเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้าให้แก่จังหวัดนราธิวาส โดยเพิ่มการรับไฟฟ้าจาก ประเทศมาเลเซีย และส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย วงเงินลงทุน โครงการประมาณ 535 ล้านบาท ทั้งนี้ จะเริ่มด�ำเนินการก่อสร้างโครงการฯ เมื่อบรรลุข้อตกลง Interconnection Agreement ระหว่าง กฟผ. และบริษัท Tenaga Nasional Berhad จ�ำกัด (TNB) แล้ว

102

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


11. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าหลักเพื่อรองรับโรงไฟฟ้าผู้ผลิตเอกชนรายเล็ก (SPP) ระบบ Cogeneration ตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าปี พ.ศ. 2553 เป็นโครงการขยายระบบส่งไฟฟ้าหลักเพื่อรองรับโรงไฟฟ้าผู้ผลิตเอกชนรายเล็กระบบ Cogeneration ปริมาณ 3,500 เมกะวัตต์ ตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 เพื่อเสริมความมั่นคงของระบบผลิตไฟฟ้า ลดความสูญเสียพลังไฟฟ้า ในระบบส่งและระบบจ�ำหน่าย ประกอบด้วยงานก่อสร้างสายส่ง 230 กิโลโวลต์ อยุธยา 4 – สีคิ้ว 2 พร้อมปรับปรุงสายส่งทีเ่ กีย่ วข้อง รวมความยาวสายส่ง 482 วงจร-กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง แห่งใหม่ 1 สถานี ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่มเติม 2,650 เอ็มวีเอ และงานปรับปรุงระบบส่งเบ็ดเตล็ด วงเงิน ลงทุนโครงการประมาณ 10,610 ล้านบาท ความก้าวหน้างานก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 1.07 คาดว่า โครงการจะแล้วเสร็จประมาณเดือนมกราคม 2560 12. โครงการปรับปรุงและขยายระบบไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 1: ส่วนสายส่งไฟฟ้าแรงสูง เป็นโครงการปรับปรุงและขยายสายส่งทีเ่ สือ่ มสภาพและมีอายุการใช้งานมานาน เพือ่ ลดปัญหา ความสูญเสียที่เกิดจากไฟฟ้าดับเนื่องจากสายส่งเกิดช�ำรุดหรือเสียหายจากสภาพอายุการใช้งานมา นาน เพิ่มความสามารถของสายส่งที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งานให้จ่ายไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่องและ มีประสิทธิภาพ และเพิ่มระดับค่าความมั่นคงเชื่อถือได้ระบบไฟฟ้าและดัชนีสมรรถนะระบบส่งไฟฟ้า โครงการฯ ประกอบด้วยงานก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูงต่างๆ จ�ำนวน 15 แนวสาย และงานปรับปรุง และขยายระบบส่งไฟฟ้าเบ็ดเตล็ด วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 9,850 ล้านบาท ความก้าวหน้างาน ก่อสร้างระบบส่งไฟฟ้า (พฤศจิกายน 2556) ร้อยละ 0.12 คาดว่า โครงการจะแล้วเสร็จประมาณเดือน กุมภาพันธ์ 2560 13. โครงการพัฒนาระบบส่งบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร และอ�ำนาจเจริญ เพื่อรับ ซื้อไฟฟ้าจากโครงการใน สปป.ลาว เป็นโครงการเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้าจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ เขือ่ นเซเปียน-เซนำ�้ น้อย ก�ำลังผลิต ติดตั้ง 3x130 เมกะวัตต์ และเพื่อรองรับก�ำลังผลิตเพิ่มเติมจากโครงการโรงไฟฟ้าอื่นๆ ที่มีศักยภาพ บริเวณภาคใต้ของ สปป.ลาว ด้วย โครงการฯ ประกอบด้วยงานก่อสร้างสายส่ง 500 กิโลโวลต์ จาก ชายแดนไทย/สปป.ลาว (บริเวณจังหวัดอุบลราชธานี) มาที่ สฟ.อุบลราชธานี 3 (สฟ. แห่งใหม่) ระยะ ทางประมาณ 90 กิโลเมตร ระยะแรกจ่ายไฟฟ้าด้วยระบบ 230 กิโลโวลต์ และงานปรับปรุงระบบส่ง ไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง รวมการก่อสร้างสายส่งทั้งหมด (เฉพาะในฝั่งไทย) ความยาวประมาณ 440 วงจรกิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูงแห่งใหม่ 1 สถานี ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่ม 400 เอ็มวีเอ วงเงินลงทุน โครงการประมาณ 7,300 ล้านบาท โครงการฯ ได้รับอนุมัติจาก ครม. เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 มีก�ำหนดแล้วเสร็จเบื้องต้นในปี 2561

103


14. โครงการปรับปรุงและขยายระบบไฟฟ้าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน ระยะที่ 2 เป็นโครงการที่ด�ำเนินการต่อเนื่องมาจากโครงการฯ ระยะที่ 1 ซึ่งในระยะที่ 2 นี้ จะปรับปรุง และขยายทั้งในส่วนสถานีไฟฟ้าแรงสูง และสายส่งไปในคราวเดียวกัน ประกอบด้วยงานปรับปรุงและ ขยายสถานีไฟฟ้าแรงสูงจ�ำนวน 19 สถานี งานปรับปรุงและขยายสายส่งจ�ำนวน 11 แนวสาย และ งานปรับปรุงและขยายระบบส่งไฟฟ้าเบ็ดเตล็ด วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 21,900 ล้านบาท โครงการฯ ได้รบั อนุมตั จิ าก ครม. เมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2556 และมีก�ำหนดแล้วเสร็จเบือ้ งต้นประมาณ ปี 2558 - 2560 15. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันออกเพือ่ เสริมความมัน่ คงระบบไฟฟ้า เป็นโครงการเพือ่ เสริมความมัน่ คงระบบไฟฟ้าให้การส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ามีความต่อเนือ่ งและ เพียงพอต่อความต้องการไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ อีกทัง้ ยังสามารถรองรับโรงไฟฟ้าได้เพิม่ ขึน้ ประกอบด้วยงาน ก่อสร้างสายส่งความยาวประมาณ 358 วงจร-กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูงแห่งใหม่จ�ำนวน 2 สถานี ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่มเติม 4,000 เอ็มวีเอ วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 12,000 ล้านบาท โครงการฯ ได้รับอนุมัติจาก ครม. เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2556 มีก�ำหนดแล้วเสร็จเบื้องต้นประมาณ ปี 2560 และ 2562 16. โครงการขยายระบบไฟฟ้าในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระยะที่ 3 เป็นโครงการต่อเนื่องจากโครงการฯ ระยะที่ 2 (BSB2) เพื่อสนองความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่ม ขึ้นในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รักษาระดับความมั่นคงของระบบส่งไฟฟ้าให้สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ อย่างต่อเนือ่ งตามมาตรฐาน รองรับปัญหาข้อขัดข้องของท่อก๊าซธรรมชาติ และเสริมความมัน่ คงระบบ ไฟฟ้าของประเทศไทยโดยรวม ประกอบด้วยงานก่อสร้างและปรับปรุงสายส่ง รวมความยาวสายส่ง 27 วงจร-กิโลเมตร สถานีไฟฟ้าแรงสูงแห่งใหม่จ�ำนวน 2 สถานี ติดตั้งหม้อแปลง 4,200 เอ็มวีเอ และติดตั้ง อุปกรณ์เพิม่ แรงดัน 288 เอ็มวีเออาร์ วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 12,100 ล้านบาท โครงการฯ ได้รบั อนุมัติจาก ครม. เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2556 มีก�ำหนดแล้วเสร็จทั้งโครงการเบื้องต้นประมาณปี 2561 โครงการที่อยู่ในระหว่างขออนุมัติด�ำเนินการ 1. โครงการขยายระบบส่งไฟฟ้า ระยะที่ 12 เป็นโครงการต่อเนือ่ งจากโครงการฯ ระยะที่ 11 โดยจะมีการขยายและปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้า ในส่วนภูมภิ าคของประเทศ เพือ่ สนองความต้องการใช้ไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ และรองรับการขยายจุดจ่ายไฟฟ้า ใหม่ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) เพื่อให้สามารถจ่ายไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย งานก่อสร้างสายส่ง รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 2,791.7 วงจร-กิโลเมตร ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรง สูงแห่งใหม่ 7 สถานี ติดตั้งหม้อแปลงเพิ่มเติม 9,300 เอ็มวีเอ และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มแรงดัน 2,322 เอ็มวีเออาร์ วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 60,000 ล้านบาท คาดว่า โครงการจะได้รบั อนุมตั จิ าก ครม. ภายในปี 2557 และมีก�ำหนดแล้วเสร็จทั้งโครงการเบื้องต้นในปี 2563

104

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


2. โครงการปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันตกและภาคใต้เพื่อเสริมความมั่นคง ระบบไฟฟ้า เป็นโครงการก่อสร้างสายส่ง 500 กิโลโวลต์ พร้อมทั้งปรับปรุงระบบส่ง 230 กิโลโวลต์ เพิ่ม เติม ครอบคลุมการจ่ายไฟฟ้าให้พนื้ ทีภ่ าคใต้ในระยะยาว เพือ่ ปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าให้มคี วามสามารถ ส่งก�ำลังไฟฟ้าจากภาคตะวันตก/ภาคกลาง ไปยังภาคใต้ได้เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมการขยาย ตัวของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวของภาคใต้ของไทย รวมทั้งแก้ไขปัญหาไฟฟ้าดับใน พื้นที่ภาคใต้ได้ วงเงินลงทุนโครงการประมาณ 63,200 ล้านบาท คาดว่า โครงการจะได้รับอนุมัติจาก ครม. ภายในปี 2557 และมีก�ำหนดแล้วเสร็จของโครงการเบื้องต้นเป็น 2 ระยะ คือ ประมาณปี 2562 และปี 2565

งานวิจัยและพัฒนา ในปี 2556 นี้ กฟผ. ได้จัดท�ำแผนที่น�ำทางด้านวิจัยและพั ฒ นาทางเทคโนโลยี (R&D Roadmap) แล้วเสร็จ เพื่อตอบสนองต่อภารกิจของ กฟผ. โดยการจัดแบ่งเป็นกลุ่มงานที่ส�ำคัญรวม 5 กลุ่มงาน เพื่อรองรับหน้าที่และความรับผิดชอบของสายงานที่เกี่ยวข้องมาท�ำงานร่วมกัน ตลอดจน ก�ำหนดระยะเวลาที่จะด�ำเนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และการใช้งบประมาณสนับสนุนงานวิจัยและพัฒนาอย่างเหมาะสม รวมทั้งการสนับสนุนงานวิจัย เชิงสังคมเพื่อพัฒนาชุมชนรอบพื้นที่โรงไฟฟ้า การจัดท�ำ R&D Roadmap กฟผ. เพื่อใช้เป็นแผนแม่บทงานวิจัยและพัฒนา กฟผ. สามารถ น�ำมาใช้ก�ำหนดทิศทางงานวิจัยและพัฒนาในอนาคต ให้สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน ต่างๆ และสอดรับกับเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงไปในอนาคต ย่อมส่งผลให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน ต่อ กฟผ.

ตัวอย่าง R&D Roadmap กฟผ. เรื่อง Nuclear Power Plant

105


ในส่วนของการสนับสนุนทุนวิจัยให้แก่สถาบันการศึกษาและหน่วยงานวิจัยภายนอก และ หน่วยงานวิจยั ภายใน กฟผ. ได้อนุมตั ทิ นุ ให้ทนุ วิจยั แก่หน่วยงานต่างๆ อีก 25 โครงการ ท�ำให้มโี ครงการ วิจัยที่ได้รับการสนับสนุนไปแล้วจ�ำนวน 183 โครงการ รวมเป็นเงิน 1,199.02 ล้านบาท (นับรวมจาก ปี พ.ศ. 2549) นอกจากนี้ กฟผ. ยังได้ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือทางวิชาการกับส�ำนักงาน พัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) เพิ่มขึ้นอีก 1 แห่ง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนาทั้งในด้าน การน�ำวัสดุพลอยได้จากการผลิตไฟฟ้าไปสร้างมูลค่าด้านการเกษตร และเทคโนโลยีพืชพลังงาน รวม ถึงพัฒนาเพิ่มพูนความสามารถให้นักวิจัยควบคู่กับการพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศ ชาติให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โครงการวิจัยที่ กฟผ. ให้ทุนสนับสนุนโดยตรงได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จในปี 2556 มีจ�ำนวน 18 โครงการ อาทิ โครงการการศึกษาการน�ำกลับน�้ำทิ้งจากระบบหล่อเย็นมาใช้ใหม่แบบบูรณาการ (Study on Integrated Reclamation of Cooling Blowdown) ผลจากการวิจัย ท�ำให้ กฟผ. มีรูปแบบของระบบน�ำกลับน�้ำทิ้งจากระบบหล่อเย็นมาใช้ใหม่ แบบบูรณาการที่มีความเหมาะสม ทั้งทางด้านเทคนิคและเศรษฐศาสตร์ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าพลังความ ร้อนและพลังความร้อนร่วม สามารถลดการใช้น�้ำจากแหล่งน�้ำธรรมชาติและลดการระบายน�้ำทิ้งออก สู่สิ่งแวดล้อมที่ได้รับการบ�ำบัดอย่างเหมาะสม และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของแหล่ง รับน�้ำสาธารณะ

ผังหน่วยปฏิกรณ์ของระบบน�ำกลับน�้ำทิ้งจากระบบหล่อเย็น

106

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


โครงการการออกแบบและพัฒนาระบบผลิตไฟฟ้าต้นแบบขนาดเล็กพลังงานน�้ำวนอิสระ (Design and Development of Water Free Vortex Micro Hydro Power Plant) ผลการวิจยั พบว่า ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานน�ำ้ วนอิสระนี้ เป็นระบบผลิตไฟฟ้าทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม และไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสัตว์น�้ำเนื่องจากเป็นกังหันรอบต�่ำที่หมุนอยู่ภายในอ่าง ท�ำให้ สัตว์นำ�้ ต่างๆ ทีอ่ าจไหลมากับนำ�้ สามารถว่ายลอดกังหันนำ�้ ไปได้ และในขณะทีน่ ำ�้ เกิดการหมุนก็จะช่วย เพิ่มออกซิเจนให้แก่แหล่งน�้ำได้อีกทางหนึ่ง

รูปแสดงการไหลของระบบน�้ำวนอิสระ

รูปแบบใบกังหันและการทดสอบการหมุนของกังหันในห้องปฏิบัติการ

ระบบผลิตไฟฟ้าต้นแบบขนาดเล็กพลังงานน�้ำวนอิสระระดับความสูงของน�้ำประมาณ 0.7 – 0.9 เมตร ก�ำลังการผลิตประมาณ 1 kW

107


โครงการการพัฒนาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติส�ำหรับกระบวนการเชื่อม (Development of Robotic System for Welding) ผลจากการวิจัยพบว่า การเชื่อมชิ้นส่วน Critical Part ของโรงไฟฟ้า โดยใช้ระบบหุ่นยนต์ เชือ่ มอัตโนมัติ ท�ำได้อย่างแม่นย�ำและมีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมระบบการเชือ่ มให้มคี วามแม่นย�ำ ได้คงที่ตลอดการเชื่อมทั้งชิ้นงาน มีความรวดเร็ว และมีคุณภาพสม�่ำเสมอ ลดปัญหา Rework ชิ้นงาน

ระบบหุ่นยนต์เชื่อมอัตโนมัติ

โครงการความสัมพันธ์ของระยะช่องว่างอากาศในรูระเบิดต่อแรงสั่นสะเทือนของผิวดิน ที่เหมือง แม่เมาะ (Relationships of Air Deck Length to Ground Vibration at Mae Moh Mine) ผลจากการวิจัยพบว่า สามารถลดแรงสั่ น สะเทื อ นจากการระเบิดที่เหมืองแม่เมาะ และ สามารถผลิ ต ถ่านหินได้เร็วขึ้น ลดการใช้พลังงาน ลดการซ่อมแซมเครื่องจักรที่ใช้ในการท�ำเหมือง เนื่องจากการระเบิดจะช่วยท�ำลายโครงสร้างชัน้ ดินทีม่ คี วามแข็งและแน่นของเปลือกดิน ท�ำให้เครือ่ งจักร ลดการสึกหรอและการใช้พลังงาน รวมทั้งลดค่าใช้จ่ายของวัตถุระเบิด

108

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


โครงการการจัดท�ำแผนที่น�ำทางระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะส�ำหรับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (Development of Smart Grid Roadmap for Electricity Generating Authority of Thailand) ผลจากการวิจัย ท�ำให้ กฟผ. มีแผนที่น�ำทางส�ำหรับการพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ของ กฟผ. ที่มีการก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายของการพัฒนาไว้อย่างชัดเจน เพื่อใช้ในการก�ำหนดทิศทางของการพัฒนา ใช้ในการเตรียมความพร้อมของบุคลากร องค์ความรู้ และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ใช้จัดท�ำแผนปฏิบัติการในด้านต่างๆ ตามกรอบระยะเวลาที่เหมาะสม และใช้ ส�ำหรับติดตามความก้าวหน้าผลส�ำเร็จของการด�ำเนินงานในแต่ละกิจกรรมและแต่ละโครงการ

การบูรณาการระบบโครงข่ายไฟฟ้าเข้ากับระบบสื่อสาร

109


การพัฒนาองค์การ และทรัพยากรบุคคล การบริหารทรัพยากรบุคคล กฟผ. ให้ความส�ำคัญกับบุคลากร โดยถือเป็นทรัพยากรส�ำคัญทีม่ คี ณ ุ ค่าต่อการเจริญเติบโตของ องค์การ การบริหารทรัพยากรบุคคลจึงมุง่ เน้นการบริหารจัดการคนให้เป็นคนดี คนเก่ง มีความสุขและ ผูกพันกับองค์การ ซึ่งในปี 2556 กฟผ. ได้ด�ำเนินการปลูกฝังให้บุคลากรมีการท�ำงานที่โปร่งใส ซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบในหน้าที่ เข้าใจผูอ้ นื่ และพัฒนาตนเอง เพือ่ ธ�ำรงรักษาไว้เป็นวัฒนธรรมองค์การ กฟผ. “รักองค์การ มุง่ งานเลิศ เทิดคุณธรรม” อันจะน�ำไปสู่การเป็นองค์การที่เป็นความภาคภูมิใจของคนทั้ง ชาติ นอกจากนี้ เพื่อสนับสนุนการสรรหาบุคลากรและส่งเสริมการศึกษา กฟผ. ได้ให้ทนุ การศึกษาบุคคล ภายนอกในระดับปริญญาตรี และเมื่อกลับมาท�ำงานจะให้ทุนการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นต่อไปอีกด้วย

การพัฒนาบุคลากร กฟผ. ถือว่าบุคลากรเป็นสินทรัพย์ที่มีคุณค่า เป็นปัจจัยพื้นฐานส�ำคัญในการขับเคลื่อนให้ องค์การบรรลุเป้าหมายตามวิสยั ทัศน์ทกี่ �ำหนดไว้ รวมทัง้ การพัฒนาและเติบโตอย่างยัง่ ยืน ดังนัน้ กฟผ. จึงให้ความส�ำคัญในการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรทุกระดับและ ทุกต�ำแหน่งงาน ทั้งทางด้านเทคนิคซึ่งเป็นความรู้หลักและความสามารถเฉพาะขององค์การ ความรู้ ความสามารถตามลักษณะงานต่างๆ การบริหารจัดการ การพัฒนาคุณภาพชีวติ จริยธรรม และคุณธรรม เพื่อเสริมสร้างและปลูกฝังให้บุคลากรเป็นทั้งคนเก่ง คนดี มีความรับผิดชอบต่อตนเอง องค์การ สังคม และชุมชน มีความสุขในการท�ำงาน และมีความผูกพันกับองค์การ ในปี 2556 กฟผ. มีนโยบายในการส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นวิธีการพัฒนาที่ให้ประสิทธิผลที่สูงขึ้นและลดระยะเวลาในการพัฒนาและเรียนรู้ให้สั้นลง (Shorten Learning Curve) นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน (Classroom Training) อาทิ การ สอนงาน (Coaching) ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) การมอบหมายงาน (Special Assignment) และ การสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรรับผิดชอบการพัฒนาตนเองด้วยวิธีการท�ำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP) ในขณะเดียวกันก็ยังมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้ความสามารถ

110

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ที่เป็นภารกิจหลักขององค์การในการผลิตและส่งก�ำลังไฟฟ้า รวมทั้งสนับสนุนในเรื่องการจัดการ องค์ความรู้ต่างๆ เพื่อต่อยอดและสืบทอดองค์ความรู้ที่เป็นความรู้เฉพาะขององค์การ การส่งเสริมและ ปลูกฝังจริยธรรม ค่านิยม วัฒนธรรมองค์การ ดูแลรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ส�ำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม การเตรียมความพร้อมให้แก่บคุ ลากรทีจ่ ะเกษียณอายุเพือ่ ให้สามารถอยูใ่ นสังคม ได้อย่างมีความสุขหลังเกษียณ นอกจากนี้ กฟผ. ยังส่งบุคลากรไปอบรมกับสถาบันทีม่ ชี อื่ เสียงภายนอก ทัง้ ในและต่างประเทศ รวมทัง้ การให้ทนุ การศึกษาเพือ่ ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต

การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ กฟผ. ได้ด�ำเนินการเชือ่ มโยงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีส่ �ำคัญรองรับระบบงาน กฟผ. (EGAT Work System) โดยใช้แนวทางในการบริหารจัดการสารสนเทศตามมาตรฐานการก�ำกับดูแลสารสนเทศ ที่ดี (IT Governance) ครอบคลุมการบริหารความเสี่ยงและกฎระเบียบ มีกระบวนการในการบริหาร จั ด การข้ อ มู ล และสารสนเทศให้ มี ค วามเชื่ อ ถื อ ได้ มั่ น คงปลอดภั ย มี ค วามถู ก ต้ อ งพร้ อ มใช้ ง าน อย่างต่อเนื่อง ทันกับความต้องการและสอดคล้องกับกฎหมาย เพื่อมุ่งสู่องค์การสมรรถนะสูง ตามแนวยุทธศาสตร์ของแผนวิสาหกิจ กฟผ. ฉบับปี 2556-2560 ทั้งนี้ คณะกรรมการเทคโนโลยี สารสนเทศ กฟผ. (คทส.) ท�ำหน้าที่ก�ำหนดนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ พิจารณา กลั่นกรอง ติดตามผล การด�ำเนินงานและโครงการต่างๆ ให้สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันกับการด�ำเนินธุรกิจของ กฟผ. (Business Alignment) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตอบสนองความต้องการของผู้มี ส่วนได้เสียอย่างครบถ้วน

111


กฟผ. ได้ด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ กฟผ. ปี 2556-2560 และปรับปรุงแผนงานให้มีความทันสมัย สามารถน�ำไปปฏิบัติได้จริง สนับสนุนการด�ำเนินงานได้อย่าง เป็นรูปธรรม โดยยังคงให้มียุทธศาสตร์ 5 ด้าน ประกอบด้วย

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาก�ำลังคนด้านไอซีทีและพนักงานให้มีความสามารถในการ สร้างสรรค์ ผลิต และใช้สารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการด้านไอซีทีขององค์การอย่างมีธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไอซีที ยุทธศาสตร์ที่ 4 การใช้ไอซีทเี พือ่ สนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ ขององค์การ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การใช้ไอซีทีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันอย่าง ยั่งยืน กฟผ. มีการน�ำระบบงานองค์การ (Enterprise Resource Planning) เข้าใช้งานตัง้ แต่ปี 2550 ซึง่ เป็นระบบสารสนเทศหลักทีใ่ ช้ในการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับกระบวนการทางธุรกิจ โดยมีการ บ�ำรุงรักษา ปรับปรุงและขยายขอบเขตการใช้งานให้ครอบคลุมกระบวนงาน ตลอดจนการบูรณาการ ข้อมูลสารสนเทศ ตั้งแต่ระดับปฏิบัติการไปสู่ระบบสารสนเทศส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System) ในปี 2556 ได้มีการทดแทนระบบคอมพิวเตอร์ส�ำหรับระบบงานองค์การ หลัง จากที่มีการใช้งาน 6 ปี เพื่อให้ระบบมีความพร้อมใช้และสามารถรองรับงานในอนาคตได้ กฟผ. ใช้อีเมลเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการด�ำเนินงานขององค์การ ตั้งแต่การติดต่อประสาน งาน การนัดหมายประชุม และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสาร โดยมีการดูแลและปรับปรุงระบบ ให้มีประสิทธิภาพ และมีความพร้อมใช้งานตลอดเวลา ในปี 2556 มีการติดตั้งระบบอีเมลส�ำรองนอก ส�ำนักงานใหญ่ เพื่อรองรับกรณีเกิดภัยพิบัติที่ส�ำนักงานใหญ่

112

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


การรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ นโยบายความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ และคู่มือการปฏิบัติงานตามมาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ กฟผ. (ISO/IEC 27001) ได้รับการรับรองความเห็นชอบจากคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554 กฟผ. ได้รบั การรับรองมาตรฐานความมัน่ คงปลอดภัยด้านสารสนเทศ ISO/IEC 27001 : 2005 (Information Security) ครอบคลุมงานให้บริการอินเทอร์เน็ต และอีเมล ตัง้ แต่ปี 2553 จนถึงปัจจุบนั

113


114

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


พลังงานสะอาด ... พลังแห่งอนาคต กฟผ. สนั บ สนุ น การวิ จั ย พั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและการพั ฒ นาโรงไฟฟ้ า ต้ น แบบที่ มี ประสิทธิภาพสูง และต้นทุนการผลิตต�่ำลง เพื่อเป็นพลังงานแห่งอนาคต

115


ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม นอกเหนือจากภารกิจหลักในการจัดหา ผลิต และส่งพลังงานไฟฟ้าในราคาที่สมเหตุสมผล แล้ว กฟผ. ยังมีภารกิจที่ส�ำคัญ คือ การดูแลรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยค�ำนึง ถึงประชาชนทั้งในขั้นตอนการผลิตไฟฟ้า (CSR in Process) และนอกกระบวนการผลิต (CSR after Process) รวมทั้งด�ำเนินงานเพื่อสร้างการยอมรับจากทุกภาคส่วน ภายใต้การมีส่วนร่วมควบคู่กับการ ร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ดังนี้

การด�ำเนินงานชุมชนสัมพันธ์ ในพื้นที่พัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้า ก​ ฟผ. น�ำกระบวนการการมีส่วนร่วมมาใช้เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมกับทุกภาคส่วน ดังนี้ 1. การสร้างความเข้าใจในการพัฒนาพลังงานไฟฟ้า มุ่งสร้างความเข้าใจให้ประชาชน ตระหนักถึงความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ อันมีสาเหตุมาจากการเจริญเติบโตและขยายตัวของ สังคม ส่งผลให้ตอ้ งมีการพัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ภายใต้การมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ประกอบ ด้วย โครงการโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2 โครงการโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครือ่ งที่ 4-7 โครงการโรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 4 โครงการโรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 โครงการปรับปรุงโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ ้ ายเขื่อนชลประทาน และโครงการปรับปรุงโรงไฟฟ้า ขนาดเล็ก 5 โรงเล็ก โครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�ท้ ้ ่อนบางลาง เครื่องที่ 1-3 พื้นที่พัฒนาแหล่งผลิตโครงการโรงไฟฟ้า ประกอบด้วยพื้นที่พัฒนา พลังนำ�เขื แหล่งผลิตโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินจังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราช ตรัง กระบี่ และจังหวัดสงขลา พื้นที่พัฒนาแหล่งผลิตพลังงานทดแทน อำ�เภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา และอำ�เภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่สร้างความรู้ ความเข้าใจ พัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ด้วยการสื่อสาร สาธารณชนทุกภาคส่วน ​2. พัฒนาคุณภาพชีวติ ชุมชน ด�ำเนินกิจกรรมกับทุกภาคส่วน มุง่ ร่วมพัฒนา ส่งเสริมและสร้าง คุณภาพชีวิตให้ชุมชนรอบพื้นที่เพิ่มและพัฒนาแหล่งผลิตใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบ มีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่องสู่ความยั่งยืนด้วยกิจกรรมต่างๆ อาทิ ส่งเสริมกิจกรรมด้วยการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี สุขภาพอนามัย และการอนุรกั ษ์รกั ษาสิง่ แวดล้อมชุมชน ส่งเสริมอาชีพ สร้างความ ต ระหนักความเข้าใจการพัฒนาอาชีพพื้นฐาน และอาชีพเสริมชุมชน รวมทั้งเรียนรู้การน�ำจุลินทรีย์มี ประสิทธิภาพมาพัฒนาด้วยการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 3. การอนุรกั ษ์และรักษาสิง่ แวดล้อม กฟผ. ส่งเสริมและมีสว่ นร่วมกับทุกภาคส่วนในการสร้าง ความตระหนัก รับรู้ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านกิจกรรมรณรงค์โดยน้อมน�ำ แนวพระราชด�ำริด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาเป็นแนวทาง อาทิ

116

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


​โครงการ กฟผ. เฉลิมพระเกียรติสร้างป่าเพิ่มแหล่งน�้ำเขื่อนสิริกิติ์ 78 พรรษามหาราชินี ดำ�เนินกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ด้วยการปลูกเสริมบำ�รุงรักษาต้นไม้ ภายใต้คณะกรรมการอำ�นวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติแห่งการบรมราชาภิเษกปีที่ 60 และการ เฉลิมพระชนมพรรษาโดยกระทรวงพลังงานภายใต้แนวคิด “ปลูกต้นไม้สร้างฝายถวายแม่” โดยจัด ทำ�โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคล พระชนมพรรษา 78 พรรษา 12 สิงหาคม เพื่อฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมด้วยการปลูกและบำ�รุงรักษา ป่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติลำ�นำ�น่้ านฝั่งขวา อำ�เภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จำ�นวน 780 ไร่ มุ่งเพิ่ม ้ ้ ่อน พื้นที่ป่าและเพิ่มแหล่งนำ�ด้​้ วยการจัดสร้างฝายชะลอนำ�จำ�นวน 780 ฝาย บริเวณรอบอ่างเก็บนำ�เขื สิริกิติ์ ร่วมกับชุมชนและทุกภาคส่วน

117


โครงการฟื้นฟูและอนุรักษ์หญ้าทะเลพื้นที่จังหวัดกระบี่ เป็นการด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชนในพื้นที่ต�ำบลศรีบอยา อ�ำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ สร้างการมีสว่ นร่วม สร้างความตระหนักการฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์หญ้าทะเล ด้วยการเรียนรูก้ ารขยายพันธุ์ หญ้าทะเลและน�ำไปปลูกเพิ่มพื้นที่หญ้าทะเล บริเวณรอบพื้นที่เกาะศรีบอยา เกาะปู โดยร่วมกับชุมชน พัฒนาเป็นศูนย์เรียนรูก้ ารฟืน้ ฟูอนุรกั ษ์หญ้าทะเลของชุมชนและผูส้ นใจทีเ่ กาะปู และจัดกิจกรรมรณรงค์ ร่วมกับชุมชน น�ำชุมชนในพื้นที่และทุกภาคส่วนร่วมกิจกรรมปลูกหญ้าทะเล

การส่งเสริมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม ด�ำเนินการร่วมกับชุมชนและหน่วยงานภาครัฐ ส่งเสริมและสร้างความตระหนักให้ชมุ ชนมีสว่ น ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ร่วมกับชุมชนด�ำเนินการปลูกและบ�ำรุงรักษาป่าใน พื้นที่เสื่อมโทรม อาทิ การปลูกบ�ำรุงรักษาป่าบกในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี บ�ำรุงรักษาป่าชายเลนใน พืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติหมูเ่ กาะชุมพร อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ปลูกและบ�ำรุงรักษาป่าชายเลน บริเวณ 2 ฝัง่ คลองนาทับ ปลูกบ�ำรุงรักษาป่าชายเลนบนเกาะกลางน�ำ้ บางปะกง ส่งเสริมการปลูกต้นไม้เพิม่ พืน้ ที่ สีเขียวในพื้นที่อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี และโรงไฟฟ้าบางปะกง โดยร่วมกับชุมชนรอบพื้นที่

118

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


การส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อมชุมชน ด�ำเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชนน�ำจุลินทรีย์มีประสิทธิภาพมาเป็นเครื่องมือรักษาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การให้ความรู้โดยจัดบรรยายเกี่ยวกับการน�ำจุลินทรีย์มีประสิทธิภาพมารักษาสิ่งแวดล้อมชุมชน ในพื้นที่พัฒนาแหล่งผลิตไฟฟ้า ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี กาฬสินธุ์ นครราชสีมา นครสวรรค์ พระนครศรีอยุธยา นนทบุรี และจังหวัดนครศรีธรรมราช รวมทั้งร่วมกับชุมชนจังหวัดนนทบุรี ภายใต้ โครงการคลองสวยน�้ำใส อบรมให้ความรู้และจัดตั้งธนาคารจุลินทรีย์ในพื้นที่ชุมชน รวม 5 แห่ง

การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม ในการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าของ กฟผ. ได้ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อม โดยด�ำเนินงานด้านสิง่ แวดล้อมตามกรอบนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและนโยบายสิง่ แวดล้อมของ องค์การ ควบคู่ไปพร้อมกับการด�ำเนินการโครงการลดก๊าซเรือนกระจก การพัฒนาไฟฟ้าจากพลังงาน สะอาดและพลังงานหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับการด�ำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญในรอบปี 2556 มีดังนี้ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ ​การศึกษาและจัดการท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมส�ำหรับโครงการพัฒนา พลังงานไฟฟ้าแห่งใหม่ของ กฟผ. นัน้ ในปี 2556 มีโครงการทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ จากส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) จ�ำนวน 5 โครงการ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมบางปะกง ชุดที่ 5 จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้าล�ำตะคอง ระยะที่ 2 จังหวัดนครราชสีมา โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อน คลองตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ โครงการระบบโครงข่ายไฟฟ้า 500 กิโลโวลต์ ชายแดน (จังหวัดน่าน) น่าน 2 - แม่เมาะ 3 (ส่วนทีพ่ าดผ่านพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์เพิม่ เติม) และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 5 เมกะวัตต์ อ�ำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่อยู่ระหว่างการ จัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อมของโครงการจ�ำนวน 3 โครงการ ได้แก่ โครงการขยาย ก�ำลังการผลิตโรงไฟฟ้ากระบี่ จังหวัดกระบี่ โครงการโรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ เครื่องที่ 4-7 และโครงการเหมืองลิกไนต์แม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง

119


การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ​กฟผ. ตระหนักถึงความส�ำคัญในการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อม เพือ่ เป็นการป้องกัน และการควบคุมผลกระทบสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ที่เกิดจากการด�ำเนินงาน เช่น การควบคุม มลสารทางอากาศ ได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) และก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นต้น การจัดการและควบคุมคุณภาพน�้ำ เสียง ขยะ และวัสดุที่ใช้แล้ว ใ ห้เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายก�ำหนด รวมถึงการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยรวมให้ ดียิ่งขึ้น อีกทั้ง สนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยชุมชนท้องถิ่นที่อยู่รอบ แหล่งผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. กิจกรรมเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อม จัดให้มีกิจกรรมเครือข่ายด้านสิ่งแวดล้อมชุมชนในรัศมี 5 กิโลเมตร จากโรงไฟฟ้าต่างๆ ได้แก่ โรงไฟฟ้าวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลา โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ จังหวัดนนทบุรี และโรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา จังหวัดนครราชสีมา เพื่อให้ชุมชนและเยาวชน รอบโรงไฟฟ้าได้รับความรู้และสามารถตรวจสอบคุณภาพน�้ำเบื้องต้นได้เอง ก่อให้เกิดองค์ความรู้ และ กระบวนการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ โดย กฟผ. มุ่งหวังที่จะเสริมสร้างความเข้าใจ ตลอดจนความ เชื่อมโยงกันระหว่างระบบนิเวศน์ในท้องถิ่นและโรงไฟฟ้าให้มากยิ่งขึ้น การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย ​กฟผ. ตระหนักถึงความส�ำคัญต่อกระบวนการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วน ได้เสียอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2556 ได้จัดให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นของชุมชนโดยรอบพื้นที่ ส�ำหรับการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าโครงการใหม่ จ�ำนวน 5 โครงการ ได้แก่ โครงการโรงไฟฟ้าพลังความ ร้อนร่วมบางปะกง ชุดที่ 5 จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ อ�ำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนกิ่วคอหมา จังหวัดล�ำปาง โครงการระบบ โครงข่ายไฟฟ้า 230 กิโลโวลต์ อยุธยา 4 - สีควิ้ 2 (ส่วนทีพ่ าดผ่านพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์เพิม่ เติม) และโครงการ เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (CDM) กฟผ. ได้ด�ำเนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยมีโครงการที่อยู่ระหว่างการพัฒนาทั้งหมด 6 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 10-11 (Energy Efficiency Improvement of Mae Moh Power Plant Through Retrofitting Turbines) เป็นโครงการปรับปรุง ประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้า โดย Retrofitting Low Pressure Turbines ถือเป็นโครงการ CDM ขนาด ใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทยในปัจจุบนั โครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ ล�ำรางชลประทาน เขือ่ นแม่งดั สมบูรณ์ชล จังหวัดเชียงใหม่ และเขือ่ นแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ เขือ่ นแม่กลอง จังหวัด กาญจนบุรี โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อน เจ้าพระยา จังหวัดชัยนาท และโครงการโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

120

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ซึ่งโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำล�ำรางชลประทาน เขื่อนแม่งัดสมบรูณ์ชล และเขื่อนแก่งกระจาน (EGAT Irrigation Valve Based Micro Hydro Project) เป็นโครงการที่ผ่านการพิจารณาเป็นโครงการตาม มาตรฐานมงกุฎไทย (Crown Standard) จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) โครงการ CDM ทั้ง 6 โครงการได้รับการขึ้นทะเบียนโครงการจากคณะกรรมการบริหาร กลไกการพัฒนาที่สะอาด แห่งองค์การสหประชาชาติ (CDM-EB for UNFCCC) นอกจากจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าและลดต้นทุนค่าเชื้อเพลิง ยังช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ของ กฟผ. ใน การเป็นผู้ผลิตไฟฟ้าที่ค�ำนึงถึงสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมอีกด้วย ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001 กฟผ. ได้น�ำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO 14001 มาใช้กับหน่วยงาน ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลิตกระแสไฟฟ้า เพือ่ เสริมสร้างความเชือ่ มัน่ ให้แก่ชมุ ชนและสังคมในเรือ่ งการ จัดการและรักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2556 มีโรงไฟฟ้า เขื่อน และเหมืองถ่านหินของ กฟผ. รวม 27 แห่ง ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 จากหน่วยงานให้การรับรอง (Certification Body : CB) นอกจากนี้ สถานีไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. ได้มีการน�ำมาตรฐาน ISO 14001 มาประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน เพือ่ ให้มกี ารจัดการสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากลครอบคลุมตัง้ แต่การผลิตจนถึงระบบส่งไฟฟ้าอีกด้วย

121


การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมของโรงไฟฟ้า ​กฟผ. ได้ให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย การปฏิบัติตามกฎหมายของภาครัฐและกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยได้เน้น การประเมินผลกระทบทางสังคม (Social Impact Assessment - SIA) และการประเมินผลกระทบ ทางสุขภาพ (Health Impact Assessment - HIA) รวมถึงการนำ�ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมตาม มาตรฐานสากล (ISO 14001) และระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน อุตสาหกรรม (มอก. 18001) มาใช้ตั้งแต่เริ่มระยะก่อสร้างจนถึงระยะดำ�เนินการผลิตพลังงานไฟฟ้า ควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง อันนำ�ไปสู่การสร้างการยอมรับของผู้ที่มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มที่มี ต่อการดำ�เนินงานของโครงการ

​กิจกรรมทางสังคม ​กฟผ. มุ่งสร้างสัมพันธภาพที่ดี พร้อมกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน โดยเฉพาะชุมชนที่อยู่รอบๆ โรงไฟฟ้าหรืออยู่ตามแนวสายส่งไฟฟ้า ผ่านโครงการต่างๆ อาทิ ้ อ่ นสิรกิ ติ ์ิ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ์ิ ​โครงการ “ปลูกป่าต้นนำ�เขื พระบรมราชินีนาถ” ดำ�เนินโครงการฯ ตั้งแต่ปี 2555 จนกระทั่งถึงปี 2556 โดยในแต่ละปีจะมีงาน ้ ่อนสิริกิติ์ จำ�นวน 1,000,000 กล้า และมีการรณรงค์ให้ปลูกหญ้าแฝก พร้อมทั้งสร้าง ปลูกป่าต้นนำ�เขื ความเข้าใจการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกในการบำ�รุงรักษาผิวดินและผิวนำ�้ สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับ

122

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


้ ชุมชนรอบๆ บริเวณพืน้ ทีต่ น้ นำ�ของเขื อ่ นสิรกิ ติ ิ์ พืน้ ทีใ่ กล้เคียงและพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย รวมทัง้ งานสร้างฝาย ้ ่มเติม และจะดูแลบำ�รุงรักษาต่อเนื่องอีก 2 ปี ก่อนส่งมอบพื้นที่ให้แก่กรมป่าไม้และกรม ชะลอนำ�เพิ อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืชต่อไป โครงการ กฟผ. เพาะเมล็ดพันธุ์จิตอาสาพัฒนาสังคม เป็นการจุดประกายให้เยาวชนระดับ อุดมศึกษาสานต่อการทำ�ความดีผ่านโครงการค่ายอาสา ภายใต้แนวคิดที่ว่า “คิดดี ทำ�ดี” โดยเชิญชวน นิสิต นักศึกษาที่มีจิตอาสาส่งโครงการค่ายอาสาเข้าร่วมประกวด เพื่อขอรับทุนสนับสนุนการออกค่าย อาสา นิสิต นักศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกให้รับทุนจะได้เข้าร่วมกิจกรรม EGAT DIY Camp ซึ่ง กฟผ. ได้จัดหลักสูตร โดยบูรณาการองค์ความรู้ด้านพลังงาน ประสบการณ์งาน CSR ตลอดจนความรู้ในการ บริหารจัดการค่ายอาสาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้นิสิต นักศึกษา นำ�ความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ ใช้ในการออกค่ายอาสาพัฒนาในพื้นที่จริง นับเป็นความภาคภูมิใจของ กฟผ. ที่ได้มีส่วนร่วมในการ เพาะบ่มและสร้างเครือข่าย “ต้นกล้า กฟผ.” เป็นคนดีของสังคม โครงการสนับสนุนนักกีฬายกน�้ำหนักไทยสู่ระดับสากล กฟผ. ได้ให้การสนับสนุนแก่สมาคม ยกนำ�้ หนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ตัง้ แต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบนั โดยให้การสนับสนุนเงินในการพัฒนา ศักยภาพกีฬาไทยตามโครงการ “1 รัฐวิสาหกิจ 1 สมาคมกีฬา” และประสบความส�ำเร็จในการส่งเสริม ศักยภาพของนักกีฬายกนำ�้ หนักไทย สามารถคว้ารางวัลเหรียญทอง เหรียญเงินและเหรียญทองแดง ได้ จากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกถึง 3 ครัง้ ต่อเนือ่ งกัน คือ “เอเธนส์เกมส์ปี 2004” ณ ประเทศกรีซ “ปักกิง่ เกมส์ปี 2008” ณ ประเทศจีน และล่าสุด “ลอนดอนเกมส์ปี 2012” ณ ประเทศอังกฤษ และพร้อม ที่จะให้การสนับสนุนแก่สมาคมฯ ต่ออีก 4 ปี คือ ตั้งแต่ปี 2556-2559 เพื่อพัฒนานักกีฬาและค้นหา ช้างเผือกยกนำ�้ หนักเตรียมสูศ้ กึ ในการแข่งขันโอลิมปิก “ริโอเดอจาเนโรเกมส์ ปี 2016” ทีป่ ระเทศบราซิล ​นอกจากนี้ ยังให้การสนับสนุนจัดการแข่งขัน EGAT ยกน�้ำหนักชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โ ครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นโครงการที่ กฟผ. ด�ำเนินการต่อเนื่องมา ตั้งแต่ปี 2542 โดยน้อมน�ำพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และแนว พระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มารณรงค์ส่งเสริมและถ่ายทอดองค์ ความรูม้ าด�ำเนินโครงการ โดยให้พนักงาน กฟผ. ขยายผลสูช่ มุ ชนรอบหน่วยงานของ กฟผ. ทัว่ ประเทศ ส่งเสริมสนับสนุนชุมชน เกษตรกร โรงเรียน หน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ให้ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี โดยใช้จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพทดแทน นอกจากนั้น กฟผ. ยังลงนามความร่วมมือกับส�ำนักงานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ในการน�ำโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เข้าด�ำเนินการใน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี วิทยาลัยการอาชีพ วิทยาลัยประมง วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการ ทั่วประเทศ จ�ำนวน 92 แห่ง เพื่อร่วมกันขยายผลสู่ชุมชน โดย กฟผ. เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณและ วัสดุอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นต่อการด�ำเนินโครงการ

123


การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า (DSM) การผลิตและจัดหาพลังงานไฟฟ้าให้เพียงพอแก่ความต้องการของประเทศ เป็นภารกิจ หลั กของ กฟผ. นับวันปริมาณการใช้ไฟฟ้าของประชาชนมีแต่จะเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่แหล่งพลังงาน และเชือ้ เพลิงก�ำลังลดน้อยลงไปทุกที ด้วยเหตุนี้ กฟผ. จึงได้ด�ำเนินการงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า มาตั้งแต่ปี 2536 โดยด�ำเนินการอย่างจริงจังและต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยการรณรงค์ส่งเสริมให้ เกิดการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพในทุกภาคส่วน ไม่วา่ จะเป็นภาคทีอ่ ยูอ่ าศัย ภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม รวมทัง้ ปลุกจิตส�ำนึกของเยาวชนให้ใช้ไฟฟ้าอย่างรูค้ ณ ุ ค่า เพือ่ ให้ประเทศไทยมีไฟฟ้า ใช้ต่อไปให้นานที่สุด ที่ผ่านมา กฟผ. ได้จัดทำ�โครงการรณรงค์ส่งเสริมให้เกิดการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและมี ประสิทธิภาพถึง 35 โครงการ ในบรรดาโครงการเหล่านั้น โครงการฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 เป็น โครงการที่ประชาชนรู้จักกันดี ด้วยฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 เป็นสัญลักษณ์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มี ประสิทธิภาพสูง กินไฟน้อย ช่วยลดรายจ่ายค่าไฟฟ้าของผู้บริโภคให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม การด�ำเนินงานที่ส�ำคัญในปี 2556 ประกอบด้วย การติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 แก่เครื่องใช้ ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงเพิ่มขึ้นอีก 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เครื่องซักผ้า และหลอดไฟ LED (Light Emitting Diode) รวมทัง้ การจัดพิธลี งนามความร่วมมือกับผูป้ ระกอบการในการปรับปรุงประสิทธิภาพเครือ่ งใช้ ไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพสูง เพือ่ ให้ได้รบั การติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ในปี 2557 จ�ำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ เตาไมโครเวฟ และเตาไฟฟ้าแบบเหนี่ยวน�ำ จนถึ ง ปี 2556 มีเครื่องใช้ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงที่ได้รับการติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 แล้ว รวม 21 ผลิตภัณฑ์ โดยจ�ำแนกเป็นกลุ่มอุปกรณ์ไฟฟ้าให้แสงสว่าง อุปกรณ์ท�ำความเย็น เครื่องใช้ไฟฟ้า ในครัวเรือน และอื่นๆ จนถึงสิ้นปี 2556 กฟผ. จ่ายฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ไปแล้วรวม 247 ล้านดวง

124

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


โครงการหลอดผอมเบอร์ 5 เป็นโครงการที่ กฟผ. รณรงค์ส่งเสริมให้หน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นหน่วยงานราชการ อาคารควบคุมภาครัฐ ศาสนสถาน และภาคเอกชน เปลีย่ นมาใช้หลอดผอมเบอร์ 5 โดยด�ำเนินงานภายใต้การสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน ตัง้ แต่ปี 2551 จนถึง ปี 2556 มีหน่วยงานต่างๆ เปลี่ยนมาใช้หลอดผอมเบอร์ 5 แล้ว เป็นจ�ำนวนมากกว่า 13 ล้านหลอด โครงการส่งเสริมการใช้อุปกรณ์แสงสว่าง LED จากการศึกษาพบว่า หลอดไฟ LED สามารถ ลดการใช้ไฟฟ้าได้ประมาณร้อยละ 60-70 กฟผ. จึงได้ด�ำเนินการโครงการน�ำร่องเปลี่ยนโคมไฟถนน ภายใน เขต เขื่อน โรงไฟฟ้าของ กฟผ. จ�ำนวน 8 แห่ง ให้เป็นหลอดไฟ LED เพื่อเป็นกรณีศึกษา เก็บ ข้อมูลการใช้งานและผลการประหยัดพลังงาน รวมทัง้ เป็นโครงการตัวอย่างแก่สาธารณชน ในการเปลีย่ น มาใช้หลอดไฟ LED เพื่อระบบแสงสว่าง เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2556 กฟผ. เป็นเจ้าภาพจัดงานแสดงสินค้านานาชาติดา้ นหลอดไฟฟ้าและ ผลิตภัณฑ์ LED “LED Expo Thailand 2013” ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทอง ธานี น�ำเสนอเทคโนโลยีและนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ LED ของผูป้ ระกอบการชัน้ น�ำจากประเทศต่างๆ เพือ่ ให้ความรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ระบบส่องสว่างที่มีประสิทธิภาพสูง และกระตุ้นให้มีการใช้ กันอย่างแพร่หลาย อันจะส่งผลต่อการประหยัดพลังงานโดยรวมของประเทศ ด้านการจัดการภาระไฟฟ้า (Load Management) กฟผ. ได้ด�ำเนินการศึกษาศักยภาพการลด ความต้องการไฟฟ้าด้วยมาตรการ Demand Response (DR) เพือ่ ลดการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรม ก่อนที่จะเกิดวิกฤติการณ์การขาดแคลนไฟฟ้าในประเทศ โดย กฟผ. ได้ท�ำการส�ำรวจและประเมิน ศักยภาพในการลดพลังไฟฟ้าด้วยมาตรการ DR ในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำนวน 120 แห่ง ก่อนที่จะขยายผลการด�ำเนินงานในระดับประเทศต่อไป

125


เยาวชนเป็นกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่ กฟผ. ให้ความส�ำคัญมาตลอด ด้วยการจัดท�ำโครงการห้องเรียน สีเขียว เพือ่ ให้นกั เรียนได้เรียนรูเ้ รือ่ งพลังงานและวิธกี ารใช้พลังงานอย่างรูค้ ณ ุ ค่า ปัจจุบนั กฟผ. ได้ด�ำเนิน การยกระดับมาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน จากโครงการห้องเรียนสีเขียวที่ มีอยู่ในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ 414 โรงเรียน ให้เป็นโรงเรียนสีเขียวแล้ว 92 โรงเรียน รวมถึงขยาย ผลสู่โรงเรียนเครือข่าย ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เคียงอีกกว่า 800 โรงเรียน นอกจากนี้ ยังมุ่งส่งเสริมและพัฒนา โรงเรียนสูส่ งั คมคาร์บอนตำ�่ เพือ่ สร้างการมีสว่ นร่วมในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อกี ด้วย ตลอดระยะเวลา 20 ปี ที่ กฟผ. ได้ด�ำเนินงานการจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า นับว่าประสบผล ส�ำเร็จเป็นที่น่าพอใจ ดังจะเห็นได้จากการตอบรับและความร่วมมือของประชาชนในทุกภาคส่วน รวม ทั้งผลการประหยัดที่เห็นได้เป็นรูปธรรม จนถึงปี 2556 สามารถลดความต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศ ลงได้ 3,150 เมกะวัตต์ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าสูงสุดได้ 19,000 ล้านหน่วย และลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สู่บรรยากาศได้ 11 ล้านตัน ​ผลงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ้ มชนบ้านคลองเรือ อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ได้รบั 3 รางวัล แห่งเกียรติยศ โรงไฟฟ้าพลังนำ�ชุ โดยเป็นผลการดำ�เนินโครงการการจัดการความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ ซึ่ง กฟผ. ร่วมกับ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับการคัดเลือกจากกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) และ กฟผ. ให้เข้าร่วมในการประกวด 3 รายการในรอบปี 2556 และสามารถคว้ารางวัลได้สำ�เร็จทุกรายการ ทัง้ ในระดับประเทศและระดับอาเซียน โดยได้รบั รางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 1 ระดับอาเซียน จากการประกวด ASEAN Energy Awards 2013 ประเภทโครงการ พลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) ณ ศูนย์การจัดแสดงนิทรรศการ นูซาดัวคอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย รางวัลดีเด่นระดับประเทศ จากการประกวด Thailand Energy Awards 2013 ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่ไม่เชื่อมโยงกับระบบสายส่ง ไฟฟ้า (Off-Grid) ณ ตึกสันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล และรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม หรือ CSR ประจำ�ปี 2556 ณ ตึกสันติไมตรี ทำ�เนียบรัฐบาล

126

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


โรงงานวิสาหกิจชุมชนถ่านอัดแท่งอำ�เภอเหนือคลอง ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 6 บ้านคลองหวายเล็ก ตำ�บล คลองขนาน อำ�เภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ เป็นผลการดำ�เนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ความมั่นคงด้านพลังงานในพื้นที่ชุมชน จังหวัดกระบี่ โดย กฟผ. ร่วมกับ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดำ�เนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนโดยการวางแผนแบบมีส่วนร่วมกับ ภาคประชาชน เริ่มจากการวิเคราะห์ปัญหาในครัวเรือน ทำ�การรวบรวมความต้องการและปัญหาที่แท้ จริงเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหา ซึ่งพบว่าค่าเชื้อเพลิงหุงต้ม ได้แก่ แก๊สถังและถ่านไม้มีปริมาณสูง และ ได้ร่วมกันค้นหาแนวทางแก้ปัญหาจนได้คำ�ตอบว่า ชุมชนผลิตเชื้อเพลิงจำ�หน่ายและใช้เอง โดยนำ�เศษ ้ วัสดุเหลือใช้ภายในชุมชน ได้แก่ กะลามะพร้าว และไม้ลอยนำ�มาผลิ ตเชื้อเพลิงถ่านอัดแท่ง ภายหลัง จากการศึกษาทดลองและเดินทางไปดูงานการทำ�ถ่านอัดแท่ง การบริหารจัดการชุมชน และนำ�วิธีเผา ถ่านตามภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมใช้ ทำ�ให้สามารถผลิตถ่านอัดแท่งได้สำ�เร็จและจัดตั้งเป็นเป็นโรงงาน วิสาหกิจชุมชนถ่านอัดแท่งอำ�เภอเหนือคลอง ชาวบ้านหันมาทำ�อาชีพเผาถ่านกะลามะพร้าว เพือ่ ใช้เป็น วัตถุดิบป้อนโรงงาน เปิดโอกาสให้ชาวบ้านลงหุ้นและรับเงินปันผล เป็นแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง​ ​นอกจากนี้ โรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ กฟผ. ยังได้รับรางวัลด้านการอนุรักษ์พลังงานและ พลังงานทดแทนระดับภูมิภาคอาเซียน ASEAN Energy Awards 2013 โดยโรงไฟฟ้าแม่เมาะได้รับ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Prsctices-Clean Coal Use and Technology in Power Generation Category และเหมืองแม่เมาะได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Best Practices in Surface Coal Mining Category

127


เหตุการณ์ส�ำคัญในรอบปี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์ ทรงเปิดโรงไฟฟ้าลำ�ตะคองชลภาวัฒนา ทรงทอดพระเนตรโรงไฟฟ้ากังหันลมลำ�ตะคองและโครงการ แว่นแก้ว เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2556

128

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดอาคาร พิพิธภัณฑ์โรงไฟฟ้าพลังน�้ำบ้านยาง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โครงการพระราชด�ำริโรงไฟฟ้า พลังน�้ำขนาดเล็กแห่งแรกของไทย พร้อมเปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวิชาการให้ประชาชนได้ศึกษา หาความรู้เรื่องการผลิตไฟฟ้าจากพลังน�้ำตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อ วันที่ 13 สิงหาคม 2556

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดการประชุม วิชาการและนิทรรศการ “ทรัพยากรไทย : น�ำสิ่งดีงามสู่ตาโลก” และทรงเปิด “อาคารราชานุรักษ์” ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. เขื่อนศรีนครินทร์ จัดสร้างขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานอนุรกั ษ์และพัฒนาทรัพยากรประเทศ ณ เขือ่ นศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2556

129


น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานพิธีเปิดกิจกรรมรณรงค์ “รวมใจคนไทย สู้วิกฤตไฟฟ้า” ปฏิบัติการ 3 ป. ปิดไฟ ปรับแอร์ ปลดปลั๊ก เชิญชวนคนไทยร่วมประหยัดพลังงาน ในวันที่ 5-14 เมษายน 2556 ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2556

นางอัญชลี ชวนิตย์ ประธานกรรมการ กฟผ. รับรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นประจำ�ปี 2556 จาก น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี จำ�นวน 2 รางวัล ด้านการดำ�เนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ดีเด่น จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�ชุ้ มชนบ้านคลองเรือ ตำ�บลปากทรง อำ�เภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร และรางวัลนวัตกรรมดีเด่นประเภทชมเชยระดับองค์กร จากผลงานเรื่องเครื่องควบคุมการสือ่ สารทาง เสียงสำ�หรับศูนย์ควบคุมระบบกำ�ลังไฟฟ้า (Voice Communication Control System : VCCS) เมื่อ วันที่ 16 ตุลาคม 2556

130

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ กฟผ. น�ำคณะผู้บริหารร่วมสักการะพระศพสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก และร่วมเป็นเจ้าภาพในนาม กฟผ. ในการ พิธีบ�ำเพ็ญพระกุศลและสวดพระอภิธรรมพระศพฯ ณ พระต�ำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2556 และเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556

กฟผ. จัดงาน “LED Expo Thailand 2013” งานแสดงสินค้านานาชาติด้านเทคโนโลยีระบบ ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์ LED ครั้งแรกของประเทศไทย ณ อาคาร 3-4 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็คเมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 23-25 พฤษภาคม 2556

131


กฟผ. ได้รับ 2 รางวัลดีเด่น Thailand Energy Awards 2013 ด้านพลังงานทดแทน ประเภท โครงการพลังงานหมุนเวียนทีไ่ ม่เชือ่ มโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ชุมชนบ้านคลองเรือ และด้านผู้ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน ประเภทสื่อเว็บไซต์ จากเว็บไซต์ www.egat.co.th เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2556

โครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ�้ ชุมชนบ้านคลองเรือ กฟผ. ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 โครงการ พลังงานหมุนเวียนระดับชุมชน (Community Based RE Projects) ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียน ทีไ่ ม่เชือ่ มโยงกับระบบสายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) จากเวทีระดับภูมภิ าคอาเซียน ASEAN Energy Awards 2013 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2556

132

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


กฟผ. ประกาศความส�ำเร็จ “20 ปี DSM การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า” ขอบคุณความร่วมมือ จากทุกภาคส่วน สามารถสร้างผลส�ำเร็จลดปริมาณก�ำลังไฟฟ้าในระบบกว่า 3,000 เมกะวัตต์ ลด CO2 ได้ 10.7 ล้านตัน พร้อมจัดพิธีลงนามความร่วมมือและมอบโล่โครงการฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 แก่ ผู้ประกอบการและเปิดตัว Application เบอร์ 5 เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2556

กฟผ. ยกเสาเอกโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 2 เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2556 คาดก่อสร้าง แล้วเสร็จสามารถจ่ายไฟเข้าระบบได้ในเดือนมกราคม 2559 รองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มสูงขึ้น ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

133


ข้อมูล และสถิติ ก�ำลังผลิตในระบบ ประเภทโรงไฟฟ้า

ประจ�ำปี 2556 เมกะวัตต์ ร้อยละ

ประจ�ำปี 2555 เมกะวัตต์ ร้อยละ

เพิ่มขึ้น ร้อยละ

ก�ำลังผลิตของ กฟผ. พลังความร้อน พลังความร้อนร่วม พลังน�้ำ ดีเซล พลังงานทดแทน รวมก�ำลังผลิตติดตั้งของ กฟผ.

4,699.00 6,866.00 3,435.74 4.40 4.99 15,010.13

13.95 20.39 10.20 0.01 0.02 44.57

4,699.00 6,866.00 3,435.74 4.40 4.99 15,010.13

14.41 21.06 10.54 0.01 0.02 46.04

-

ก�ำลังผลิตจากแหล่งอื่น ภายในประเทศ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ภายนอกประเทศ สปป.ลาว สายส่งเชื่อมโยงไทย-มาเลเซีย รวมก�ำลังผลิตจากแหล่งอื่น

12,741.69 3,524.60

37.83 10.46

12,741.69 2,444.60

39.08 7.50

44.18

2,104.60 300.00 18,670.89

6.25 0.89 55.43

2,104.60 300.00 17,590.89

6.46 0.92 53.96

6.14

รวมก�ำลังผลิตในระบบ

33,681.02 100.00

32,601.02 100.00

3.31

134

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดรายเดือน

เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.* มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ความต้องการพลังไฟฟ้า สูงสุดในรอบปี

พลังไฟฟ้าสูงสุด (เมกะวัตต์) ปี 2556 ปี 2555

เพิ่มขึ้น/(ลดลง) เมกะวัตต์ ร้อยละ

23,390.78 24,589.40 26,422.97 26,324.61 26,598.14 25,038.04 24,568.41 23,941.68 24,363.69 23,741.50 24,251.18 22,905.22

22,251.10 23,554.40 24,571.51 26,121.10 25,207.27 23,927.30 23,932.60 24,155.70 24,009.30 24,131.33 24,657.91 20,395.42

1,139.68 1,035.00 1,851.46 203.51 1,390.87 1,110.74 635.81 (214.02) 354.39 (389.83) (406.73) 2,509.80

5.12 4.39 7.53 0.78 5.52 4.64 2.66 (0.89) 1.48 (1.62) (1.65) 12.31

26,598.14

26,121.10

477.04

1.83

หมายเหตุ * ปี 2556 เกิดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 14:00 น. ปี 2555 เกิดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 26 เมษายน 2555 เวลา 14:30 น.

ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสุทธิรายเดือน

เดือน

พลังงานไฟฟ้าสุทธิ (ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง) เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ปี 2556 ปี 2555 (ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง) ร้อยละ

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

13,644.32 13,476.66 15,730.69 14,674.50 16,058.70 14,793.29 14,748.06 14,857.03 14,403.65 14,572.38 14,176.28 12,399.89

13,036.23 13,579.14 15,252.02 14,380.65 15,411.17 14,597.00 14,847.93 14,652.29 14,209.28 14,792.85 14,486.75 13,959.81

606.16 (102.48) 479.43 292.72 645.90 196.29 (99.87) 199.36 193.61 (202.47) (310.47) (1,559.92)

4.65 (0.75) 3.14 2.04 4.19 1.34 (0.67) 1.36 1.36 (1.49) (2.14) (11.17)

รวม

173,535.45

173,205.13

330.32

0.19

135


การผลิตและซื้อพลังงานไฟฟ้าสุทธิ

ผลิตจาก

ประจ�ำปี 2556

ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

ร้อยละ

ประจ�ำปี 2555

ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ร้อยละ

เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ร้อยละ

ระบบผลิตของ กฟผ. ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ พลังน�้ำ น�้ำมันเตา น�้ำมันดีเซล พลังงานทดแทน รวม กฟผ.ผลิต

48,234.06 17,109.59 5,390.33 1,201.19 173.25 5.52 72,113.94

27.80 9.86 3.11 0.69 0.10 - 41.56

51,040.61 16,817.40 8,408.36 1,177.45 55.46 3.57 77,502.85

29.47 9.71 4.85 0.68 0.03 0.01 44.75

(5.50) 1.74 (35.89) 2.02 212.39 54.62 (6.95)

ซื้อ ภายในประเทศ - ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น�้ำมันเตา น�้ำมันดีเซล รวม

51,518.52 14,277.85 195.23 189.71 66,181.31

29.69 8.23 0.11 0.11 38.14

55,588.57 13,707.39 727.24 77.58 70,100.78

32.09 7.91 0.42 0.04 40.47

(7.32) 4.16 (73.15) 144.53 (5.59)

17,252.64 1,999.15 29.20 28.08 2,850.55 508.37 22,667.99

9.94 1.15 0.02 0.03 1.64 0.29 13.06

10,434.28 2,009.34 29.81 29.97 2,527.99 135.72 15,167.11

6.02 1.16 0.02 0.02 1.46 0.08 8.76

65.35 (0.51) (2.05) (6.31) 12.76 274.57 49.45

12,427.54 144.67 12,572.21

7.16 0.09 7.24

10,293.60 140.79 10,434.39

5.94 0.08 6.02

20.73 2.76 20.49

101,421.51 173,535.45

58.44 100.00

95,702.28 55.25 173,205.13 100.00

5.98 0.19

- ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน พลังน�้ำ น�้ำมันเตา พลังงานชีวมวล พลังงานทดแทน รวม ต่างประเทศ - สปป.ลาว - มาเลเซีย รวม รวมซื้อ รวมผลิตและซื้อสุทธิ

136

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


การจ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้า

ลูกค้า

ประจ�ำปี 2556

ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง

การไฟฟ้านครหลวง 49,623.63 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 116,793.35 ลูกค้าตรง 1,635.94 ไฟฟ้าส�ำรองและไฟฟ้าชั่วคราว 98.04 การไฟฟ้าลาว 953.56 การไฟฟ้ามาเลเซีย 4.22 การไฟฟ้ากัมพูชา 416.97 อื่น ๆ 4.61 รวมทั้งสิ้น

169,530.32

ร้อยละ

ประจ�ำปี 2555

ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง ร้อยละ

29.27 68.89 0.97 0.06 0.56 - 0.25 - 100.00

49,991.69 116,025.45 1,693.21 119.81 1,141.02 1.06 393.06 4.67

เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ร้อยละ

29.52 68.50 1.00 0.07 0.67 - 0.23 -

(0.74) 0.66 (3.38) (18.17) (16.43) 298.11 6.08 (1.28)

169,369.97 100.00

0.09

ราคาขายไฟฟ้าเฉลี่ย

ลูกค้า

ประจ�ำปี 2556 บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง

ประจ�ำปี 2555 เพิ่มขึ้น/(ลดลง) บาท/กิโลวัตต์-ชั่วโมง ร้อยละ

การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ลูกค้าตรง ไฟฟ้าส�ำรองและไฟฟ้าชั่วคราว การไฟฟ้าลาว การไฟฟ้ามาเลเซีย การไฟฟ้ากัมพูชา อื่น ๆ

3.04 3.02 3.18 6.51 1.65 7.28 3.65 2.11

2.79 2.81 3.01 5.76 1.83 7.69 3.41 2.05

8.85 7.63 5.78 12.94 (9.80) (5.32) 7.14 3.03

ราคาขายเฉลี่ย

3.02

2.80

7.97

137


ระบบส่งไฟฟ้า ระดับแรงดัน

ประจ�ำปี 2556 ความยาวสายส่ง วงจร-กิโลเมตร

ประจ�ำปี 2555

(กิโลโวลต์)

จ�ำนวนสถานี พิกัดหม้อแปลง ไฟฟ้าแรงสูง เมกะโวลต์แอมแปร์

ความยาวสายส่ง จ�ำนวนสถานี พิกัดหม้อแปลง วงจร-กิโลเมตร ไฟฟ้าแรงสูง เมกะโวลต์แอมแปร์

500

4,167.17

11

20,849.99

3,884.23

11

20,849.99

230

14,505.65

71

51,160.04

14,060.13

71

50,760.04

132

8.70

-

133.40

8.70

-

133.40

115

13,660.65

131

14,617.49

13,561.53

130

14,598.74

69

19.00

-

-

19.00

-

-

300 (HVDC)

23.07

-

388.02

23.07

-

388.02

รวมทั้งระบบ

32,384.24

213

87,148.94

31,556.66

212

86,730.19

การใช้เชื้อเพลิง ชนิดเชื้อเพลิง

ก๊าซธรรมชาติ (ล้านลูกบาศก์ฟุต)* น�้ำมันเตา (ล้านลิตร)* ลิกไนต์ (ล้านตัน) น�้ำมันดีเซล (ล้านลิตร)* หมายเหตุ * ไม่รวม REGCO, KEGCO และ RGCO

138

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

ปริมาณการใช้ ปี 2556 ปี 2555 412,701.72 316.82 16.88 60.35

436,096.03 320.52 16.78 17.84

เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ร้อยละ (5.36) (1.15) 0.60 238.28


การด�ำเนินงานอ่างเก็บน�้ำ การด�ำเนินงาน

ความจุอ่างเก็บน�้ำ (ล้าน ลบ.เมตร) * ปริมาณน�้ำในอ่าง ณ สิ้นเดือน ธ.ค.(ล้าน ลบ.เมตร) * ปริมาณน�้ำเข้าอ่าง (ล้าน ลบ.เมตร) * ปริมาณน�้ำที่ปล่อย (ล้าน ลบ.เมตร) * - ปล่อยผ่านเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า - ปล่อยโดยไม่ผ่านเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า - ปล่อยเพื่อการชลประทานโดยเฉพาะ ** - ปล่อยใช้ประโยชน์อื่น - ระเหยและสูญหาย - รวม ปริมาณน�้ำที่สูบขึ้นจากอ่างเก็บน�้ำ (ล้าน ลบ.เมตร) ** พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตสุทธิ (ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง) *** อัตราการใช้น�้ำผลิตไฟฟ้า (ลูกบาศก์เมตร/กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

ปี 2556

ปี 2555

เพิ่มขึ้น/(ลดลง) ร้อยละ

62,427 22,776 37,240

62,290 21,255 33,009

7.16 12.82

32,064 507 348 - 3,112 36,031 196 5,390 6.68

39,502 - 292 - 3,176 42,971 68 8,407 5.10

(18.83) 100.00 19.18 (2.02) (16.15) 188.24 (35.88) 30.98

* ไม่รวมเขื่อนปากมูล,ล�ำตะคองและโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ** ปริมาณน�้ำที่สูบจากเขื่อนภูมิพล,ศรีนครินทร์และล�ำตะคอง *** พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตสุทธิ จากโรงไฟฟ้าพลังน�้ำของกฟผ.

ข้อมูลผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ระดับการศึกษา

31 ธันวาคม 2556 คน ร้อยละ

31 ธันวาคม 2555 เพิ่มขึ้น/(ลดลง) คน ร้อยละ ร้อยละ

ปริญญาตรีขึ้นไป อนุปริญญา/ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ต�่ำกว่า ปวช.

7,869 8,217 3,055 3,813

7,543 7,978 3,201 4,103

รวม

34.28 35.80 13.31 16.61

33.05 34.95 14.02 17.98

4.32 3.00 (4.56) (7.07)

22,954 100.00 22,825 100.00

0.57

139


รายงานของผู้สอบบัญชี รายงานของผูสอบบัญชี เสนอ คณะกรรมการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดตรวจสอบงบการเงินรวมของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และบริษัทยอยและงบการเงินเฉพาะกิจการของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ซึ่งประกอบดวยงบแสดง ฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และงบกําไรขาดทุนรวม และงบกําไรขาดทุน เฉพาะกิจ การ งบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ รวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบาย การบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ ความรับผิดชอบของผูบริหารตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ เหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ ผูบริหารพิจารณาวาจําเปนเพื่อใหสามารถจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการ แสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็น ตองบการเงิน รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการดังกลาวจากผลการตรวจสอบของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงานการตรวจเงิน แผนดินไดป ฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนดใหสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ปฏิบัติตามขอกําหนดดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยาง สมเหตุสมผลวางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปน สาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับจํานวนเงิน และการเปดเผยขอมูลในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจ การ วิธีการตรวจสอบที่เ ลือกใชขึ้น อยูกับ ดุล ยพินิจ ของผูส อบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมิน ความเสี่ย งจากการแสดงขอมูล ที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปน สาระสําคัญของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการ ประเมินความเสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการจัดทําและการนําเสนอ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยถูกตองตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่ เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอประสิทธิผลของการควบคุมภายใน ของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผูบริหารใชและความ สําหรับซอน สํา นั ก งานการตรวจเงิ น แผ น ดิ น

140

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


-2-

สมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท่ีจัดทําขึ้นโดยผูบริหาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนองบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม สํานักงานการตรวจเงินแผนดินเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน ความเห็น สํานักงานการตรวจเงิน แผน ดิน เห็น วา งบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะกิจ การขางตน นี้ แสดงฐานะทางการเงินรวมของการไฟฟาฝายผลิตแห งประเทศไทยและบริษัทยอย และฐานะการเงิ นเฉพาะ กิจการของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และผลการดําเนินงานรวม และผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงิน สดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจ การ สําหรับ ปสิ้นสุด วันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

(นางสาวประพีร อังกินันทน) รองผูวาการตรวจเงินแผนดิน รักษาราชการแทน ผูวาการตรวจเงินแผนดิน

(นายอดิศร พัววรานุเคราะห) ผูอํานวยการสํานักตรวจสอบการเงินที่ 8

สํา นั ก งานการตรวจเงิ น แผ น ดิ น วั น ที่ 24 มี น าคม 2557

141


งบการเงิน

-3การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หมายเหตุ

งบการเงินรวม 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55 (ปรับปรุงใหม)

หนวย : บาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด

6.1

67,078,800,366

40,312,353,629

59,171,134,233

31,843,250,055

เงินลงทุนชั่วคราว

6.2

37,068,694,151

13,769,278,699

33,020,558,654

8,047,257,530

ลูกหนี้การคา - กิจการอื่น

6.3

55,891,616,198

47,819,131,996

55,294,331,530

47,353,258,355

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

6.4.1

3,087,652,761

2,196,855,857

3,643,517,639

2,509,755,872

รายไดคาไฟฟาตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟา โดยอัตโนมัติ (Ft) คางรับ

6.5

529,599,717

6,529,895,779

529,599,717

6,529,895,779

ลูกหนี้อื่น

6.6

8,481,754,537

7,205,349,921

7,982,861,760

6,536,839,712

เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

6.4.2

วัสดุสํารองคลัง

6.7

13,103,841,970

6.8.1

121,136

-

62,500,000 12,631,918,829

10,533,246,348

10,414,636,705

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยตราสารอนุพันธ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น ๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียน

-

121,136 -

-

132,196,442

93,362,218

-

185,374,277,278

130,620,646,928

170,175,371,017

113,234,894,008

17,721,976,599

15,737,683,178

1,587,550,233

1,587,550,233

9,913,350,000

7,122,952,585

584,500,000

584,500,000

สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทรวม

6.9.3, 6.9.4

เงินลงทุนในบริษัทยอย

6.9.4

เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน

6.9.3, 6.9.4

เงินลงทุนระยะยาวอื่น

-

-

14,104,003,823

13,909,641,259

3,183,523,921

12,935,218,422

-

10,005,340,984

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ

6.10

261,012,924,599

268,284,912,744

220,057,322,644

223,244,394,993

งานระหวางกอสราง

6.11

62,297,874,119

54,014,892,441

62,269,449,284

53,905,163,695

คาความนิยม

6.12

763,742,443

752,913,124

สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น

6.13

28,362,587,910

27,700,083,434

23,388,044,807

22,027,229,518

ที่ดินที่รอการพัฒนา

6.14

2,125,289,755

2,121,472,035

1,816,082,185

1,816,082,185

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

6.15.1

141,025,159

129,882,869

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

6.16

3,293,403,202

7,062,730,872

1,581,218,270

1,896,520,378

393,006,351,530

402,649,430,378

321,197,517,423

322,189,734,571

578,380,628,808

533,270,077,306

491,372,888,440

435,424,628,579

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

142

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

-

-

-

-


-4การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หมายเหตุ

หนวย : บาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55

งบการเงินรวม 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55 (ปรับปรุงใหม)

หนี้สินและสวนของเจาของ หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคา - กิจการอื่น เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินชดเชยคาไฟฟารอการรับรู เจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้น ดอกเบี้ยเงินกูคางจาย เงินรายไดแผนดินคางนําสงคลัง คาใชจายคางจาย เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินตราสารอนุพันธ หนี้สินหมุนเวียนอื่น ๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ประมาณการหนี้สินเพื่อการฟนฟูสภาพบริเวณเหมือง หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของเจาของ เงินงบประมาณ สวนเกินทุนจากสิทธิการใชประโยชนในที่ราชพัสดุ กําไรสะสม จัดสรรแลว เงินจัดสรรในการขยายกิจการ ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของเจาของ รวมสวนของ กฟผ. สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของเจาของ รวมหนี้สินและสวนของเจาของ

6.17 6.4.3 6.5

66,230,641,939 7,622,278,324 2,231,343,911 9,657,778,368 9,774,215,414 1,227,648,844 9,466,293,684 5,210,277,256 11,590,864,773 3,106,946

42,012,277,857 8,157,161,024 2,768,975,278 12,210,547,595 2,700,000,000 1,166,100,704 8,077,994,513 5,450,498,674 9,333,668,342 1,394,273

59,240,043,399 15,947,732,882 2,231,343,911 8,849,880,043 989,752,178 9,466,293,684 5,200,132,196 6,480,099,844 1,510,500

34,983,438,682 11,974,052,504 2,768,975,278 11,323,952,243 927,933,843 8,077,994,513 5,368,338,728 4,980,015,965 -

6.8.2

88,349,789 123,102,799,248

4,591,500 39,951,445 91,923,161,205

108,406,788,637

4,591,500 80,409,293,256

6.4.4 6.19 6.15.1

1,186,296,943 71,734,801,073 1,942,951,121 4,951,813 14,051,248,017 2,080,313,567 17,195,843,540 108,196,406,074 231,299,205,322

1,358,280,353 82,072,391,755 2,185,544,715 1,037,602 13,562,464,135 2,047,399,372 15,145,872,091 116,372,990,023 208,296,151,228

64,416,272,901 1,384,625 13,955,724,214 2,080,313,567 16,602,058,760 97,055,754,067 205,462,542,704

57,742,506,324 13,475,643,183 2,047,399,372 14,503,747,639 87,769,296,518 168,178,589,774

9,001,977,817 474,767,280

9,064,310,580 474,767,280

9,001,977,817 474,767,280

9,064,310,580 474,767,280

80,186,366,913 224,710,045,449 1,554,899,904 315,928,057,363 31,153,366,123 347,081,423,486 578,380,628,808

80,186,366,913 203,428,380,429 1,714,915,271 294,868,740,473 30,105,185,605 324,973,926,078 533,270,077,306

80,186,366,913 197,685,039,974 (1,437,806,248) 285,910,345,736 285,910,345,736 491,372,888,440

80,186,366,913 178,958,400,280 (1,437,806,248) 267,246,038,805 267,246,038,805 435,424,628,579

6.18 6.19

6.20 6.21 6.22

6.23

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(นายสุนชัย คํานูณเศรษฐ) กรรมการและผูวาการ

(นายพูนสุข โตชนาการ) รองผูวาการบัญชีและการเงิน

143


-5การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนวย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

(ปรับปรุงใหม) รายได รายไดจากการขายไฟฟา รายไดจากการขายสินคาและบริการอื่น

6.24

รวมรายไดจากการขายสินคาและบริการ

512,820,461,091

486,243,700,769

510,178,670,654

482,675,345,412

24,092,877,109

26,748,195,076

26,046,692,421

30,376,199,254

536,913,338,200

512,991,895,845

536,225,363,075

513,051,544,666

ตนทุนขาย ตนทุนขายไฟฟา

6.25

456,479,007,849

430,191,419,362

461,444,789,115

434,921,195,187

ตนทุนขายสินคาและบริการอื่น

6.26

22,179,830,145

25,311,681,698

24,317,549,826

29,235,554,618

478,658,837,994

455,503,101,060

485,762,338,941

464,156,749,805

58,254,500,206

57,488,794,785

50,463,024,134

48,894,794,861

4,774,197,184

6,114,568,329

5,135,814,857

4,666,323,301

63,028,697,390

63,603,363,114

55,598,838,991

53,561,118,162

143,546,015

131,852,220

141,543,687

130,072,296

16,006,773,493

17,568,480,611

14,036,488,965

15,907,624,928

รวมตนทุนขายสินคาและบริการ กําไรขั้นตน รายไดอื่น

6.27

กําไรกอนคาใชจาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายอื่น

6.28

รวมคาใชจาย ตนทุนทางการเงิน

6.30

กําไรกอนสวนแบงกําไรจากเงินลงทุน สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม

6.29

สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน กําไรกอนคาใชจายภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได

6.15.2

กําไรสําหรับงวด

240,180,973

96,226,083

894,553,145

198,695,224

16,390,500,481

17,796,558,914

15,072,585,797

16,236,392,448

4,416,805,820

5,343,212,630

2,739,436,078

2,899,370,245

42,221,391,089

40,463,591,570

37,786,817,116

34,425,355,469

2,057,685,427

2,992,828,855

-

-

746,653,720

768,896,690

-

-

45,025,730,236

44,225,317,115

1,293,733,237

887,235,560

43,731,996,999

43,338,081,555

37,786,817,116

34,425,355,469

40,341,842,442

38,857,934,775

37,786,817,116

34,425,355,469

3,390,154,557

4,480,146,780

43,731,996,999

43,338,081,555

37,786,817,116 -

34,425,355,469 -

การแบงปนกําไร สวนที่เปนของ กฟผ. สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

37,786,817,116

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(นายสุนชัย คํานูณเศรษฐ) กรรมการและผูวาการ

144

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

(นายพูนสุข โตชนาการ) รองผูวาการบัญชีและการเงิน

34,425,355,469


-6การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนวย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

(ปรับปรุงใหม) กําไรสําหรับงวด

43,731,996,999

43,338,081,555

37,786,817,116

34,425,355,469

(1,356,016,962)

(45,997,970)

-

-

176,695,607

698,667,109

-

-

5,813,383

(1,437,806,248)

-

93,635,107

(99,762,538)

-

-

344,037,593

193,774,396

-

-

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน ผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย กําไร(ขาดทุน)จากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สวนแบงกําไรเบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทรวม ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับงวด - สุทธิจากภาษี กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด

6.20

-

(1,437,806,248)

(735,835,272)

(691,125,251)

42,996,161,727

42,646,956,304

37,786,817,116

32,987,549,221

(1,437,806,248)

40,181,827,075

37,872,828,590

37,786,817,116

32,987,549,221

2,814,334,652

4,774,127,714

42,996,161,727

42,646,956,304

การแบงปนกําไรเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของ กฟผ. สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

37,786,817,116

32,987,549,221

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

(นายสุนชัย คํานูณเศรษฐ) กรรมการและผูวาการ

(นายพูนสุข โตชนาการ) รองผูวาการบัญชีและการเงิน

145


146

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

การเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของสําหรับงวด จายปนผล กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 (กอนปรับปรุง) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 ที่ปรับปรุงแลว คาเสื่อมราคาสินทรัพยสวนที่ใชเพื่อการชลประทาน คาหุนรับชําระเพิ่มเติม เงินลงทุนเพิ่มสวนของผูถือหุนที่ไมมีอํานาจควบคุม เงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2555 เพิ่มเติม ป 2556 (1 ม.ค.-30 มิ.ย.56) สํารองเงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2556 (1 ก.ค.-31 ธ.ค. 56)

การเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของสําหรับงวด เงินลงทุนเพิ่มของบริษัทยอย จายปนผล กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

6.18

6.23

5

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 (กอนปรับปรุง) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี 5 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555ตามที่รายงานงวดกอน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี และรายการปรับปรุง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 ที่ปรับปรุงแลว 6.9.5.1 คาเสื่อมราคาสินทรัพยสวนที่ใชเพื่อการชลประทาน 6.23 คาหุนรับลวงหนาของบริษัทยอย เงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2554 เพิ่มเติม ป 2555 (1 ม.ค.-30 มิ.ย.55) สํารองเงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2555 (1 ก.ค.-31 ธ.ค. 55) 6.18

หมายเหตุ

474,767,280

-

-

9,001,977,817

-

474,767,280 474,767,280 -

-

9,064,310,580 9,064,310,580 (62,332,763) -

474,767,280

-

-

9,064,310,580

-

474,767,280 -

9,126,643,343 (62,332,763) -

-

474,767,280 474,767,280

สวนเกินทุน จากสิทธิการใช ประโยชนในที่ ราชพัสดุ

9,126,643,343 9,126,643,343

เงินงบประมาณ

80,186,366,913

-

-

80,186,366,913 80,186,366,913 -

80,186,366,913

-

-

80,186,366,913 -

80,186,366,913 80,186,366,913

จัดสรรแลว

กําไรสะสม

40,341,842,442 224,710,045,449

(9,466,293,684) (19,060,177,422)

(4,005,487) (9,589,878,251)

203,803,127,409 (374,746,980) 203,428,380,429 -

38,857,934,775 203,428,380,429

(8,077,994,513) (17,331,310,039)

(315,526) (9,253,000,000)

(441,010,061) 181,901,755,693 -

182,338,845,049 3,920,705 182,342,765,754

ยังไมไดจัดสรร

(628,305,751) (703,709,471)

-

-

(75,403,720) (75,403,720) -

(10,581,391) (75,403,720)

-

-

(64,822,329) -

ผลตางของ อัตราแลกเปลี่ยน จากการแปลงคา งบการเงิน (65,168,738) 346,409 (64,822,329)

สวนของ กฟผ.

79,500,971 354,603,105

-

-

275,102,134 275,102,134 -

314,400,199 275,102,134

-

-

(39,298,065) -

(39,298,065) (39,298,065)

ผลกําไร(ขาดทุน) จากการวัดมูลคา เงินลงทุนเผื่อขาย

2,616,022 (1,435,190,226)

-

-

(1,437,806,248) (1,437,806,248) -

(1,437,806,248) (1,437,806,248)

-

-

-

-

กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไร(ขาดทุน)จากการ ประมาณการตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัย

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินรวม

-7-

2,886,909,938

-

-

2,886,909,938 2,886,909,938 -

2,886,909,938

-

-

2,886,909,938 -

สวนเกินทุนใน บริษัทยอยและ บริษัทรวมที่บันทึก โดยวิธีสวนไดเสีย 2,886,909,938 2,886,909,938

42,135,798 -

-

-

(42,135,798) (42,135,798) -

(44,893,141) (42,135,798)

-

-

2,757,343 -

2,757,343 2,757,343

ภาษีเงินไดของ กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

344,037,593 452,286,558

-

-

565,187,751 (456,938,786) 108,248,965 -

193,774,396 108,248,965

-

-

(302,228,895) (85,525,431) -

สวนแบง กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น ของบริษัทรวม 216,703,464 216,703,464

(160,015,367) 1,554,899,904

-

-

2,171,854,057 (456,938,786) 1,714,915,271 -

(985,106,185) 1,714,915,271

-

-

(302,228,895) 2,700,021,456 -

3,001,903,942 346,409 3,002,250,351

รวมองคประกอบอื่น ของสวนของเจาของ

40,181,827,075 315,928,057,363

(9,466,293,684) (19,060,177,422)

(4,005,487) (9,589,878,251)

295,700,426,239 (831,685,766) 294,868,740,473 (62,332,763) -

37,872,828,590 294,868,740,473

(8,077,994,513) (17,331,310,039)

(315,526) (9,253,000,000)

(743,238,956) 274,389,554,685 (62,332,763) -

275,128,526,527 4,267,114 275,132,793,641

รวมสวนของเจาของ ที่เปนของ กฟผ.

(1,810,325,000) 2,814,334,652 31,153,366,123

-

-

30,105,185,605 30,105,185,605 29,109,675 15,061,191

20,182,430 (1,794,375,000) 4,774,127,714 30,105,185,605

-

-

27,070,318,851 34,931,610

27,201,246,649 (130,927,798) 27,070,318,851

สวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุม

(1,810,325,000) 42,996,161,727 347,081,423,486

(9,466,293,684) (19,060,177,422)

325,805,611,844 (831,685,766) 324,973,926,078 (62,332,763) 29,109,675 15,061,191 (4,005,487) (9,589,878,251)

20,182,430 (1,794,375,000) 42,646,956,304 324,973,926,078

(8,077,994,513) (17,331,310,039)

(315,526) (9,253,000,000)

(743,238,956) 301,459,873,536 (62,332,763) 34,931,610

302,329,773,176 (126,660,684) 302,203,112,492

หนวย : บาท รวมสวนของเจาของ


147

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

การเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของสําหรับงวด กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 คาเสื่อมราคาสินทรัพยสวนที่ใชเพื่อการชลประทาน เงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2555 เพิ่ม ป 2556 (1 ม.ค.-30 มิ.ย.56) สํารองเงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2556 (1 ก.ค.-31 ธ.ค.56)

การเปลี่ยนแปลงในสวนของเจาของสําหรับงวด กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับงวด ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 คาเสื่อมราคาสินทรัพยสวนที่ใชเพื่อการชลประทาน เงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2554 เพิ่ม ป 2555 (1 ม.ค.-30 มิ.ย.55) สํารองเงินรายไดแผนดินนําสงคลัง ป 2555 (1 ก.ค.-31 ธ.ค.55)

6.23 6.18

6.18

6.23

หมายเหตุ

474,767,280

-

9,001,977,817

-

474,767,280 -

474,767,280

-

-

474,767,280 -

สวนเกินทุน จากสิทธิการใช ประโยชนในที่ ราชพัสดุ

-

9,064,310,580 (62,332,763)

9,064,310,580

-

-

9,126,643,343 (62,332,763)

เงินงบประมาณ

กําไรสะสม

80,186,366,913

-

-

80,186,366,913 -

80,186,366,913

-

-

80,186,366,913 -

จัดสรรแลว

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

-8-

37,786,817,116 197,685,039,974

(9,466,293,684) (19,060,177,422)

(4,005,487) (9,589,878,251)

178,958,400,280 -

34,425,355,469 178,958,400,280

(8,077,994,513) (17,331,310,039)

(315,526) (9,253,000,000)

161,864,354,850 -

ยังไมไดจัดสรร

(1,437,806,248)

-

-

(1,437,806,248) -

(1,437,806,248) (1,437,806,248)

-

-

องคประกอบอื่นของ สวนของเจาของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขาดทุนจากการ ประมาณการตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัย -

37,786,817,116 285,910,345,736

(9,466,293,684) (19,060,177,422)

(4,005,487) (9,589,878,251)

267,246,038,805 (62,332,763)

32,987,549,221 267,246,038,805

(8,077,994,513) (17,331,310,039)

(315,526) (9,253,000,000)

251,652,132,386 (62,332,763)

หนวย : บาท รวมสวนของเจาของ


-9การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับงวดสวนที่เปนของ กฟผ. รายการปรับปรุงกระทบยอดกําไรสําหรับงวดเปนเงินสดรับ(จาย)จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคา สินทรัพยรับบริจาค สินทรัพยบริจาคให คาตัดจําหนายสิทธิการใชที่ดินและสิทธิในการพัฒนาโครงการ คาตัดจําหนายโปรแกรมคอมพิวเตอร คาตัดจําหนายสิทธิการใชประโยชนในที่ราชพัสดุ คาตัดจําหนายสิทธิการใชระบบทอยอยสงกาซ คาตัดจําหนายสิทธิในการเชื่อมโยงระบบจําหนายไฟฟา คาตัดจําหนายคาธรรมเนียมในการจัดหาเงินกู คาเผื่อการดอยคาเงินลงทุน รายจายตัดบัญชีจากรายจายรอการตัดบัญชีดานเหมืองลิกไนต หนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ คาเสื่อมสภาพวัสดุสํารองคลัง กําไรจากการยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟา กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนระยะยาวในหลักทรัพย ขาดทุนจากการปรับมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา ขาดทุน(กําไร)จากการจําหนายสินทรัพย รับรูรายไดจากรายไดรอการรับรู ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน (กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ กําไรจากการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของตราสารอนุพันธ เงินปนผลรับในบริษัทรวม เงินปนผลรับจากบริษัทยอย เงินปนผลรับจากกิจการอื่น สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในกําไรสุทธิ ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินได กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยดําเนินงาน(เพิ่มขึ้น)ลดลง ลูกหนี้การคา ลูกหนี้อื่น วัสดุสํารองคลัง สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี รายจายรอการตัดบัญชีดานเหมืองลิกไนต การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น(ลดลง) เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น คาใชจายคางจาย หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ประมาณการหนี้สินเพื่อการฟนฟูสภาพบริเวณเหมือง เงินสดรับจากการดําเนินงาน เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดจายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

148

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

6.13 6.13 6.13

6.16

6.22

6.9.4 6.9.4

6.15.2

6.16

งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56 1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

หนวย : บาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56 1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

40,341,842,442

38,857,934,775

37,786,817,116

34,425,355,469

25,393,555,332 (108,550) 672,215 298,258,525 219,650,249 6,337,356 312,449 3,712,103 (122,317,517) 15,155,956 6,031,320,583 2,198,763 5,593 283,140,776 (1,133,061) 187,161,915 (431,685,334) 383,252,090 (22,966,233) (104,291,021) (220,902,845) (2,057,685,427) (746,653,719) 3,390,154,557 (2,017,920,503) 4,210,822,459 1,293,733,237 76,335,622,390

24,653,281,931 (42,500) 5,460,443 328,817,591 220,446,078 6,337,356 312,449 3,558,250 (88,394,022) 5,408,304,116 (2,046,918) 111,270 287,043,620 (1,069,442,446) (783,678,571) 61,472,685 (526,711,566) (143,414,710) (634,426,835) (150,902,003) (188,314,482) (2,992,828,855) (768,896,690) 4,480,146,780 (1,990,035,673) 5,425,184,044 887,235,560 71,286,511,677

22,105,153,294 (108,550) 672,215 874,894 213,081,693 6,337,356 6,031,320,583 2,198,763 5,593 236,327,885 159,310,563 (431,685,334) 371,933,217 682,223,523 (104,291,021) (802,641,972) (1,481,175,000) (1,544,696,836) 2,737,707,515 65,969,365,497

21,269,620,278 (42,500) 5,460,443 896,061 214,829,489 6,337,356 5,408,304,116 (2,046,918) 111,270 345,499,315 (13,367,290) (526,711,566) (149,555,419) 163,941,825 (150,902,003) (735,755,141) (1,468,125,000) (1,378,098,739) 2,893,013,089 60,308,764,135

(3,123,569,171) (914,462,857) (703,261,756) (38,834,223) 3,694,638,205 (11,142,290) (5,955,412,355)

(16,855,424,157) (764,576,621) (823,019,076) 43,002,448 (743,434,469) 59,745,241 (5,331,127,445)

(3,235,123,007) (634,526,922) (303,135,366) 240,612,643 (5,955,412,355)

(16,857,815,613) (933,566,526) (763,747,489) (143,473,329) (5,331,127,445)

23,200,355,269 (2,247,655,746) 161,138,358 249,253,946 (1,608,127,404) (242,593,594) 37,865,259 12,498,191,641 88,833,814,031 1,070,923,689 (1,393,986,295) 88,510,751,425

14,573,733,346 (407,754,672) (18,277,658) 1,567,431,000 (368,285,755) (760,473,056) 70,101,832 (9,758,359,042) 61,528,152,635 912,699,761 (1,642,366,367) 60,798,486,029

27,747,158,983 (6,136,063,372) (168,332,407) (33,053,999) 37,865,259 11,559,989,457 77,529,354,954 1,042,112,353 78,571,467,307

13,622,333,229 (3,285,089,478) 842,574,569 (276,642,152) 70,101,832 (13,056,452,402) 47,252,311,733 909,251,442 48,161,563,175


-10การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 หนวย : บาท หมายเหตุ

งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับ(จาย)สุทธิในเงินลงทุนชั่วคราว

(23,248,282,391)

(687,859,670)

(24,973,301,124)

2,033,473,118

เงินสดรับ(จาย)สุทธิในเงินลงทุนระยะยาว

10,044,490,984

(9,798,928,380)

10,005,340,984

(10,005,340,984)

172,891,244

83,494,670

166,714,464

59,858,568

(23,724,844,591)

(30,759,146,477)

(24,259,720,669)

(29,799,865,901)

(571,798,570)

(283,944,559)

(571,798,570)

(281,844,538)

690,328,545

1,492,402,112

690,328,545

1,492,402,112

(2,790,397,415)

(70,000,000)

เงินสดรับจากการจําหนายสินทรัพย เงินสดจายสําหรับที่ดิน อาคาร อุปกรณ งานระหวางกอสราง และสินทรัพยไมมีตัวตน

เงินสดจายดอกเบี้ยสําหรับงานระหวางกอสราง เงินสดรับจากรายไดรอการรับรู เงินสดจายเพื่อการลงทุนในบริษัทยอย

6.9.5.2

-

-

เงินสดจายเพื่อการลงทุนในบริษัทรวม

(367,082,771)

(342,770,299)

-

-

เงินสดจายเพื่อการลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน

(133,520,000)

(507,020,830)

-

-

เงินสดจายเพื่อการลงทุนในกิจการอื่น

(11,643,851)

-

-

-

เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน

20,800,000

-

-

-

-

-

เงินสดรับจากคาชดเชยการยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟา

-

เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินปนผลรับในบริษัทรวม

6.9.3, 6.9.4

เงินปนผลรับจากบริษัทยอย

6.9.4

3,167,366,428

795,130,139

743,609,820

508,009,323

802,641,972

735,755,141

802,641,972

735,755,141

1,481,175,000

1,468,125,000

-

-

375,313,301

เงินปนผลรับจากกิจการควบคุมรวมกัน

977,625,453

774,462,805

-

เงินปนผลรับจากกิจการอื่น

220,902,844

188,314,481

-

(34,332,360,993)

(35,194,264,758)

(38,941,007,490)

(33,992,124,183)

(17,671,878,251)

(16,297,000,000)

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน

-

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินรายไดแผนดินนําสงคลัง

(17,671,878,251)

(16,297,000,000)

เงินสดรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

13,160,718,504

14,540,000,000

-

-

เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

(6,424,227,960)

(13,640,000,000)

-

-

เงินสดรับจากเจาหนี้ตั๋วเงิน

3,000,000,000

2,300,000,000

-

-

เงินสดจายเจาหนี้ตั๋วเงิน

(3,250,000,000)

(500,000,000)

-

-

เงินสดรับจากการเบิกเงินกูยืมระยะยาว

16,065,950,000

11,147,350,000

เงินสดรับคาหุนรับลวงหนาของบริษัทยอย

29,109,675

34,931,610

เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะยาวกิจการที่เกี่ยวของ

(58,170,400)

เงินสดจายชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว

-

13,000,000,000

11,000,000,000

-

-

-

-

(22,510,275,718)

(23,751,963,072)

(4,964,753,468)

(14,640,572,134)

(4,589,464,918)

(5,379,010,951)

(2,677,809,423)

(2,923,285,965)

793,929

(1,795,698)

3,021,000

เงินปนผลจายใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย

(1,810,325,000)

(1,794,375,000)

-

เงินปนผลจายใหผูถือหุน

(3,290,737,147)

(3,262,002,373)

-

(27,348,507,286)

(36,603,865,484)

เงินสดจายดอกเบี้ย เงินสดรับ(จาย)ชําระหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนในเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนงวด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นงวด

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

6.1

(12,311,420,142)

(22,860,858,099)

(63,436,409)

(26,830,065)

8,844,503

(2,538,362)

26,766,446,737

(11,026,474,278)

27,327,884,178

(8,693,957,469)

40,312,353,629

51,338,827,907

31,843,250,055

40,537,207,524

67,078,800,366

40,312,353,629

59,171,134,233

31,843,250,055

.

149


- 12 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยและบริษัทยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 1. ขอมูลทั่วไป การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย พ.ศ. 2511 และที่แกไขเพิ่มเติม วัตถุประสงคในการจัดตั้งมีดังนี้ 1.1 ผลิต จัดใหไดมา จัดสงหรือจําหนายซึ่งพลังงานไฟฟาใหแก - การไฟฟานครหลวง (กฟน.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) หรือการไฟฟาอื่นตามกฎหมายวาดวยการนั้น - ผูใชพลังงานไฟฟาตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา - ประเทศใกลเคียง 1.2 ดําเนินงานตาง ๆ ที่เกี่ยวกับพลังงานไฟฟา แหลงพลังงานอันไดมาจากธรรมชาติ ดําเนินงานเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา และ ธุรกิจอื่น ที่เกี่ยวกับหรือตอเนื่องกับกิจการของ กฟผ. หรือรวมทุนกับบุคคลอื่น เพื่อดําเนินการดังกลาว 1.3 ผลิตและขายลิกไนตหรือวัตถุเคมีจากลิกไนต โดย กฟผ. ไดรับโอนทรัพยสิน หนี้สิน สิทธิ ความรับผิดตลอดจนธุรกิจของการไฟฟายันฮี การลิกไนต และการไฟฟา ตะวันออกเฉียงเหนือ ทรัพยสินดังกลาวเมื่อไดหักหนี้สินออกแลวถือเปนทุนของ กฟผ. 2. เกณฑการเสนองบการเงิน 2.1 หลักเกณฑในการจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ไดจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ภายใต พระราชบัญ ญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่ง หมายความถึงมาตรฐานการบัญชีที่อ อกภายใตพ ระราชบัญญั ติวิชาชีพบัญ ชี พ.ศ. 2547 รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีท่ีประกาศใชโดยสภาวิชาชีพบัญชี ซึ่งสอดคลองกับการจัดรายการใน งบการเงิน เปน ไปตามประกาศกรมพัฒ นาธุ ร กิจ การค า เรื่ อ ง กํ า หนดรายการยอ ที่ ตอ งมีใ นงบการเงิ น พ.ศ. 2554 ลงวั น ที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในมาตรา 11 วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 หลักการบัญชีที่ใชอาจแตกตางไปจากหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งใชในอาณาเขตประเทศอื่น ดังนั้น งบการเงินที่ ไดจัดทําขึ้นนี้มิไดมีจุดประสงคท่ีจะแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดใหสอดคลองกับหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไปที่กําหนดไวในอาณาเขตประเทศอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นดวยขอสมมติฐานที่วาผูใชงบการเงินมีความเขาใจ หลักการและวิธีปฏิบัติทางการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยแลว งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กฟผ. ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดคาองคประกอบของงบการเงิน ยกเวนรายการบัญชีบางประเภทที่เปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ

150

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 13 งบการเงินเฉพาะ กฟผ. แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของ กฟผ. ซึ่งไดรวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของ ของกองทุนสงเคราะหพนักงาน กองทุนเงินกูกรณีจําเปน กองทุนเงินกูเพื่อจัดหาที่ดินและบานพักอาศัย งบการเงินรวมไดรวมงบการเงินของ กฟผ. และงบการเงินของบริษัท ยอ ย 3 บริษัท รวมทั้ง งบการเงิน ของกิจ การที่ ควบคุมรวมกัน 1 บริษัท โดยบริษัทยอยใชวิธีรวมเปนรายบรรทัด สําหรับกิจการที่ควบคุมรวมกันใชวิธีรวมตามสัดสวนการ รว มทุน ของ กฟผ. ในกิจ การที่ค วบคุม รว มกัน โดยใชเ กณฑร วมแตล ะบรรทัด ซึ่ง ไดตัด รายการการคา และยอดคงเหลือ ระหวา งกัน ที ่ม ีส าระสํ า คัญ ออกแลว สํ า หรับ เงิน ลงทุน ในบริษ ัท ยอ ย บริษ ัท รว ม และกิจ การที ่ค วบคุม รว มกัน ใน งบการเงิน เฉพาะ กฟผ. บัน ทึก บัญ ชีต ามวิธีร าคาทุน สํา หรับ สว นไดเ สีย ที่ไ มมีอํา นาจควบคุม ไดเ ปด เผยแยกตา งหากไว ในสว นของเจา ของ ในกรณีที ่ม ีน ัย สํ า คัญ จะมีก ารเปลี ่ย นแปลงนโยบายการบัญ ชีข องบริษ ัท ยอ ย บริษ ัท รว มและ กิจการที่ควบคุมรวมกัน ใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของ กฟผ. งบการเงิ นฉบั บ ภาษาอัง กฤษจั ด ทํ าขึ้ น โดยแปลจากงบการเงิ นฉบั บ ภาษาไทย ในกรณีที่ มี เ นื้อ ความขั ด แย ง กั นหรื อ มี การตีความในสองภาษาแตกตางกัน ใหใชงบการเงินฉบับภาษาไทยเปนหลัก 2.2 การใชประมาณการ ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กฟผ. ใหสอดคลองกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย กําหนดใหฝายบริหารตองประมาณการและใหขอสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบตอมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินที่รายงานไว ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กฟผ. ดังนั้น ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากที่ประมาณการและตั้งขอสมมติฐานไว 3. สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 3.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายความรวมถึง เงินสด เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน ออมทรัพย และ ประจําไมเกิน 3 เดือน รวมทั้งตั๋วสัญญาใชเงินหรือตั๋วแลกเงินที่มีอายุไมเกิน 3 เดือน โดยไมมีภาระผูกพัน 3.2 ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูก หนี้แ สดงดว ยมูล คา สุท ธิที่ค าดวา จะไดรับ คา เผื่อ หนี้ส งสัย จะสูญ ประมาณจากอัต รารอ ยละของยอดลูก หนี้ ณ วันสิ้นงวด นอกจากนี้ยังพิจารณาลูกหนี้ที่คาดวาจะเรียกเก็บเงินไมได โดยประมาณขึ้นจากประสบการณในการเก็บเงินในอดีต และตามสถานะปจจุบันของลูกหนี้ท่ีไมใชสวนราชการและรัฐวิสาหกิจคงคาง ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน และเปนไปตาม ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการบัญชีและการเงินของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2548 ซึ่งแกไขระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย การบัญชีและการเงินของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2520 โดยกําหนดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ดังนี้ 3.2.1 ลูกหนี้การคาที่ไมใชสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ระยะเวลาที่คางชําระ

คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอัตรารอยละ

เกินกวา 6 เดือน - 1 ป

50

เกินกวา 1 ป

100

3.2.2 ลูก หนี้อื่น (ไมร วมรายไดคา งรับ และคา ใชจา ยจา ยลว งหนา ) ซึ่ง มีร ะยะเวลาที่คา งชํา ระเกิน กวา 1 ป คิดคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอัตรารอยละ 100

151


- 14 3.3 วัสดุสํารองคลัง 3.3.1 น้ํ า มัน เชื ้อ เพลิง โรงไฟฟา ราคาใดจะต่ํากวา

แสดงในราคาทุ นตามวิ ธี ถั วเฉลี่ ยเคลื่ อนที่ หรื อมู ลค าสุ ทธิ ที่ จะได รั บแล วแต

3.3.2 ถานลิกไนต แสดงในราคาทุนตามวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา 3.3.3 อะไหลโรงไฟฟา และอะไหลเครื่องจักรกลเหมือง แสดงในราคาทุนตามวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่หักคาเผื่อการเสื่อมสภาพ ซึ่งคํานวณโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพยหลัก อะไหลโรงไฟฟา ที่แสดงภายใตหัวขอ วัสดุสํารองคลัง-สุทธิ หมายถึงชิ้นสวนอะไหลและอุปกรณที่ใชในการ ซอมบํารุงโรงไฟฟา สําหรับชิ้นสวนอะไหลที่สําคัญและอุปกรณโรงไฟฟาที่สํารองไวใชงาน ซึ่งคาดวาจะใชประโยชนไดมากกวาหนึ่งป จัดเปนอุปกรณโรงไฟฟาแสดงภายใตหัวขอ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อะไหลเ ครื ่อ งจัก รกลเหมือ ง หมายถึง ชิ ้น สว นอะไหลแ ละวัส ดุอ ุป กรณที ่ใ ชใ นการซอ มบํ า รุง รัก ษา เครื่อ งจัก รกลเหมือ ง เชน อะไหลร ถบรรทุก ทา ย 85 ตัน อะไหลรถขุด และอะไหลร ะบบสายพาน เปน ตน สําหรับอะไหล ชิ้นใหญเ ครื่อ งจัก รกลเหมืองที่สํา คัญ และสํารองไวใชงาน ซึ่งคาดวา จะใชป ระโยชนไ ดม ากกวา หนึ่ง ป จัดเปนอะไหลชิ้น ใหญ เครื่องจักรกลเหมือง แสดงไวภายใตหัวขอ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ 3.3.4 วัส ดุใ ชง านทั ่ว ไปทุก ประเภท แสดงในราคาทุน ตามวิธ ีถ ัว เฉลี ่ย เคลื ่อ นที ่ หัก คา เผื ่อ การเสื ่อ มสภาพ ซึ่งคํานวณจากวัสดุที่ไมเคลื่อนไหวตั้งแต 6 เดือนขึ้นไป ตามอัตรา ดังนี้ รายการที่ไมเคลื่อนไหว

คาเผื่อการเสื่อมสภาพ รอยละ

6 เดือน - 18 เดือน

10

เกินกวา 18 เดือน - 30 เดือน

30

เกินกวา 30 เดือน - 48 เดือน

50

เกินกวา 48 เดือน - 60 เดือน

75

เกินกวา 60 เดือนขึ้นไป

100

วั ส ดุ ใ ช ง านทั่ ว ไป ประกอบด ว ย น้ํ า มั น ยานพาหนะและเครื่ อ งจั ก รกล อะไหล ทั่ ว ไป วั ส ดุ สํ า นั ก งาน ของใชสิ้นเปลืองตาง ๆ ที่ใชในการดําเนินงาน 3.4 สินทรัพยและหนี้สินตราสารอนุพันธ ตราสารอนุพันธรับรูเริ่มแรกในราคามูลคายุติธรรม ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน และกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมรับรูในงบกําไรขาดทุนในงวดบัญชีนั้น มูลคายุติธรรม ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงินของสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและ อัตราดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยคํานวณโดยธนาคารซึ่งเปนคูสัญญากับ กฟผ.

152

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 15 3.5 เงินลงทุนในบริษัทรวม บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน 3.5.1 เงินลงทุนในบริษัทรวม เงิ นลงทุ นในบริ ษั ทร วมของ กฟผ. แสดงในงบการเงิ นเฉพาะ กฟผ. โดยใช วิ ธี ราคาทุ น เงิ นลงทุ นในบริ ษั ทร วม ของ กฟผ. และบริษัทยอย แสดงในงบการเงินรวมโดยใชวิธีสวนไดเสีย ตามลําดับ

รายชื่อบริษัทรวมของ กฟผ. และบริษัทยอย ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 6.9.1 และ 6.9.2

3.5.2 เงินลงทุนในบริษัทยอย เงิน ลงทุน ในบริษ ัท ยอ ยของ กฟผ. แสดงในงบการเงิน เฉพาะ กฟผ. โดยใชว ิธ ีร าคาทุน เงิน ลงทุน ใน บริษัทยอยของ กฟผ. และบริษัทยอย ไดถูกตัดรายการพรอมกับสวนไดเสียในสวนของเจาของ ในการจัดทํางบการเงินรวม ตามลําดับ

รายชื่อบริษัทยอยของ กฟผ. และบริษัทยอย ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 6.9.1 และ 6.9.2

แมวา กฟผ. ลงทุนในบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และบริษัท อีแกท ไดมอนด เซอรวิส จํากัด เพีย งรอ ยละ 45 แต กฟผ. มีอํา นาจควบคุม นโยบาย จึง เปน บริษัท ยอ ยตามมาตรฐานการบัญ ชีที่รับ รองทั่ว ไป ซึ่ง ตอ ง จัด ทํา งบการเงินรวม แตตามกฎหมาย (พ.ร.บ.วิธีการงบประมาณ) กฟผ. ตองลงทุนในบริษัทเกินกวารอยละ 50 บริษัทนั้นจึงจะ ถือเปนรัฐวิสาหกิจ 3.5.3 เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน เงิน ลงทุน ในกิจ การที่ค วบคุม รว มกัน ของ กฟผ. ไดถูก ตัด รายการพรอ มกับ สว นไดเ สีย ในสว นของเจา ของ ในการจัดทํางบการเงินรวม ในขณะที่เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกันของบริษัทยอย ใชวิธีสวนไดเสียในงบการเงินรวม รายชื่อกิจการที่ควบคุมรวมกันของ กฟผ. และบริษัทยอย ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 6.9.1 และ 6.9.2 ตามลําดับ 3.6 เงินลงทุนในตราสารทางการเงิน เงิน ลงทุน ในตราสารทางการเงิน ของ กฟผ. ประกอบดว ย เงิน ลงทุน ในตราสารหนี้ที่จ ะถือ จนครบกํา หนดและ เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย 3.6.1 เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนดคือ เงินลงทุน ที่มีกํา หนดเวลา และ กฟผ. มีค วามตั้งใจและ สามารถถือ ไวจ นครบกํ า หนด ไดแ สดงไวใ นสิน ทรัพ ยห มุน เวีย น ในหัว ขอ เงิน สดและรายการเทีย บเทา เงิน สด และ เงินลงทุนชั่วคราวกรณีวันครบกําหนดของเงินลงทุนเกิน 3 เดือน แตไ มเกิน 1 ป เงินลงทุนในตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบกํา หนดแสดงในราคาทุน ตัดจํา หนายหั กดวยขาดทุนจากการดอยค า ของเงินลงทุน ผลตางระหวางราคาที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของเงินลงทุนจะถูกตัดจาย โดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุ ของเงินลงทุนที่เหลือ 3.6.2 เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย คือเงินลงทุนที่จะถือไวโดยไมระบุชวงเวลาและอาจขายเผื่อเสริมสภาพคลองหรือ เมื่อ อัต ราดอกเบี้ย เปลี่ย นแปลง ไดแ สดงไวใ นสิน ทรัพ ยห มุน เวีย นในหัว ขอ เงิน สดและรายการเทีย บเทา เงิน สด และ เงินลงทุนชั่วคราวกรณีวันครบกําหนดของเงินลงทุนเกิน 3 เดือน แตไมเกิน 1 ป

153


- 16 เงิ น ลงทุ น ในหลั ก ทรั พ ย เ ผื่ อ ขายแสดงในมู ล ค า ยุ ติ ธ รรม และรั บ รู ผ ลต า งที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปเป น รายการ กํ า ไร(ขาดทุ น ) ที่ ยั งไม เกิ ดขึ้ นจากการเปลี่ ยนแปลงมู ลค าเงิ นลงทุ น ซึ่ งแสดงแยกต างหากภายใต ส วนของทุ น เมื่ อมี การขาย เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย ผลสะสมของมูลคายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจะถูกนําไปรับรูในงบกําไรขาดทุน โดยแสดงเปน กําไร(ขาดทุน) จากการจําหนายเงินลงทุน การลงทุนในตราสารทางการเงิน กฟผ. เป นไปตามระเบียบกระทรวงการคลั งวาด วยการบัญชี และการเงิ นของ รัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2548 หมวด 2 ที่กําหนดใหรัฐวิสาหกิจที่ประสงคจะบริหารสภาพคลอง อาจเลือกลงทุนในตราสารทางการเงิน ระยะสั้นที่ออกโดยกระทรวงการคลังหรือสถาบันการเงินของรัฐได 3.7 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ แสดงตามราคาทุน ณ วันที่ซื้อหรือไดมา หรือกอสรางแลวเสร็จ หักคาเสื่อมราคาสะสม คา เสื่ อ มราคา คํ า นวณโดยวิธี เ ส น ตรง เพื่ อลดราคาตามบัญ ชี ข องสิ น ทรั พ ยแ ต ล ะชนิ ด ตลอดอายุ การให ประโยชน ที่ประมาณการไว โดยมีการประมาณมูลคาซากที่ราคาหนึ่งบาท ยกเวนที่ดินที่มีอายุการใหประโยชนไมจํากัด ประมาณการอายุการใหประโยชนของสินทรัพยของ กฟผ. มีดังนี้

สิ่งกอสราง เขื่อนและอางเก็บน้ํา โรงไฟฟา อุปกรณโรงไฟฟา ระบบควบคุมไฟฟา ระบบสงพลังงานไฟฟา ระบบสื่อสาร ระบบสายพานลําเลียงถานลิกไนต เครื่องจักรกล อะไหลชิ้นใหญเครื่องจักรกลเหมือง ยานพาหนะ ครุภัณฑอื่น

3 6 5 6 3 3 5 10 5 8 5 3

ป ป ป ป ป ป ป ป ป ป ป ป

จํานวนป 8 เดือน 3 เดือน -

40 75 30 25 25 40 25 25 10

ป ป ป ป ป ป ป ป ป

12 ป 10 ป

ประมาณการอายุการใหประโยชนของโรงไฟฟาของบริษัทยอยกําหนดโดยใชสัญญาซื้อขายไฟฟาเปนเกณฑ คาเสื่อมราคาของเขื่อ นศรีน คริน ทร เขื่อ นบางลาง เขื่อ นวชิร าลงกรณ เขื่อ นรัช ชประภา และเขื่อ นปากมูล สวนที่ ใช ป ระโยชน ใ นการผลิ ต กระแสไฟฟ า รั บ รู เ ป น ค า ใช จ า ย สํ า หรั บ ส ว นที่ ใ ช ป ระโยชน ด า นการชลประทานจะนํ า ไปหั ก จาก เงินงบประมาณสมทบกอสรางเขื่อน

154

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 17 เมื ่อ จํ า หนา ยสิน ทรัพ ยอ อกจากบัญ ชี กฟผ. จะบัน ทึก ตัด สิน ทรัพ ยแ ละคา เสื ่อ มราคาสะสมของสิน ทรัพ ยนั ้น ออกจากบัญชี พรอมกับบันทึกกําไร(ขาดทุน)จากการจําหนายในงบกําไรขาดทุน ตนทุนที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบสภาพครั้งใหญรับรูเปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและ อุป กรณ และตัด จา ยตามอายุก ารใหป ระโยชน โดยประมาณการอายุก ารใหป ระโยชนข องคา ตรวจสอบสภาพครั้ง ใหญ ตามประเภทของคาตรวจสอบสภาพครั้งใหญและประเภทของโรงไฟฟา ดังนี้ ประเภทของโรงไฟฟา

ประเภทของคาตรวจสอบสภาพครั้งใหญ งานบํารุงรักษาครั้งใหญ งานบํารุงรักษายอย Major Overhaul : MO Minor Inspection : MI อายุการใหประโยชน (ป) อายุการใหประโยชน (ป)

- โรงไฟฟาพลังน้ํา

6 – 12

2–4

- โรงไฟฟาพลังความรอน

4–6

2

- โรงไฟฟาพลังความรอนรวม

2–6

2–3

- โรงไฟฟาแกสเทอรไบน

4–8

1–4

8

2

- โรงไฟฟาลิกไนต

นอกจากนี้ตนทุนในการทดสอบการเดินเครื่องของโรงไฟฟาหลังหักรายไดจากการขายไฟฟาในชวงการเตรียมความพรอม กอนการเดินเครื่องเชิงพาณิชยของโรงไฟฟาบันทึกเปนสวนประกอบของราคาทุนของรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ซึ่ง กฟผ. จัดประเภทเปนงานระหวางกอสราง 3.8 สินทรัพยและหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน แสดงดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา ณ วันเริ่มตนของสัญญา หรือมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ํา ที่ตองจาย ตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวาหักคาเสื่อมราคาสะสม คาเชาสวนหนึ่งรับรูเปนคาใชจายทางการเงิน และอีกสวนไปลด เงินตนตลอดอายุสัญญาเชา คาเสื่อมราคาของสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน คํานวณโดยใชวิธีเสนตรง ตามอายุการใหประโยชน โดยประมาณของสินทรัพยแตละประเภท กรณีไมไดเปนเจาของสินทรัพย เมื่อครบกําหนด ตามสัญญาเชาตองคิดคาเสื่อมราคา ของสินทรัพยใหหมดภายในระยะเวลาของสัญญาเชา หรือภายในอายุการใหประโยชนของสินทรัพย แลวแตระยะเวลาใดจะสั้นกวา 3.9 สินทรัพยไมมีตัวตน 3.9.1 สิทธิการใชที่ดิน สิทธิการใชที่ดินใตแนวสายสงไฟฟามีอายุการใหประโยชนไมทราบแนนอน เนื่องจากคาดวาจะไดรับประโยชน เชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยไมมีระยะเวลาจํากัด สวนสิทธิการใชที่ดินอื่น ๆ หากทราบอายุการใหประโยชนแนนอน จะตัดจําหนาย ตามอายุการใหประโยชนที่ทราบแนนอน 3.9.2 โปรแกรมคอมพิวเตอร และคาลิขสิทธิ์ซอฟแวร โปรแกรมคอมพิวเตอรของ กฟผ. ตัดจําหนายเปนคาใชจายตามอายุการใหประโยชนไ มเกิน 5 ป โดยมีการ ทบทวนวิธีการตัดจําหนายและระยะเวลาการตัดจําหนายทุกงวดปบัญชี คาลิขสิทธิ์ซอฟแวร ตัดจําหนายตามอายุการใหประโยชน 5 - 10 ป

155


- 18 3.9.3 สิทธิการใชประโยชนในที่ราชพัสดุ เมื่อ งวดบัญ ชีป 2533 กฟผ. ไดรับ สิท ธิก ารใชป ระโยชนใ นที่ดิน และอาคารบริเ วณเขื่อ นสิริกิติ์ซึ่ง เปน ที่ ราชพัสดุ โดยไมเสียคาใชจาย โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง และ กฟผ. ไดรับรูมูลคาราคาทุนของเขื่อนสิริกิติ์เปน สิท ธิก ารใชป ระโยชนใ นที่ร าชพัส ดุ เฉพาะสว นที่ใ ชป ระโยชนใ นการผลิต กระแสไฟฟา คู กับ สว นเกิน ทุน จากสิท ธิก ารใช ประโยชนใ นที่ร าชพัส ดุ โดยจะรับ รูเ ปน คา ใชจา ยตัด จา ยจากสิท ธิก ารใชป ระโยชนใ นที่ร าชพัส ดุภ ายใน 59 ป ตามอายุ การใชงานคงเหลือของเขื่อนสิริกิต์ิ 3.9.4 สิทธิการใชระบบทอยอยสงกาซ สิทธิการใชระบบทอยอยสงกาซตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชน 20 ป 3.9.5 สิทธิในการเชื่อมโยงระบบจําหนายไฟฟา สิทธิในการเชื่อมโยงระบบจําหนายไฟฟา ตัดจําหนายโดยใชวิธีเสนตรง ตามอายุการใหประโยชน 8 ป 3.9.6 สิทธิในการพัฒนาโครงการ ตนทุนที่เกิดขึ้นของการพัฒนาโครงการรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตน เมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนวา โครงการนั้น จะประสบความสํ าเร็ จ การทยอยตั ดจําหนายต นทุ นการพัฒนาโครงการที่ บั นทึ กเป นสิ นทรั พย จะเริ่มต นเมื่ อเริ่ มดําเนินการ ในเชิงพาณิชย และจะตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตลอดระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนของการพัฒนา 3.10 คาความนิยม คา ความนิย มเกิด จากสว นของตน ทุน การซื้อ ธุร กิจ ของกลุม บริษัท ยอ ยที่สูง กวา มูล คา ยุติธ รรมที่ก ลุม บริษัท ยอ ย มีสวนไดเสียในสินทรัพยและหนี้สินที่ระบุไดของบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน หรือบริษัทรวม ณ วันที่ซื้อธุรกิจ คาความนิยมวัดมูลคาดวยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคาสะสม คาความนิยมไดถูกทดสอบการดอยคา โดยยอดสินทรัพย ตามบัญชีของกลุมบริษัทยอยไดรับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ในกรณีที่มีขอบงชี้จะทําการ ประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของคาความนิยมจะถูกประมาณ ณ ทุกวันที่รายงาน ก็ตอเมื่อมีขอบงชี้เรื่องการดอยคา 3.11 รายจายรอการตัดบัญชีดานเหมืองลิกไนต 3.11.1 คาใชจายในการเปดหนาดิน คาใชจายในการเปดหนาดินตัดจายเปนคาใชจาย โดยคํานวณจากปริมาณถานลิกไนตที่ขุดไดในงวดนั้นๆ คูณ ดวย 6.09 (อัตราสวนระหวางปริมาณดินตอปริมาณถานลิกไนตที่สามารถนํามาใชประโยชนไดทั้งหมด (Stripping Ratio) ซึ่งเทากับ 6.09 : 1) คูณดวยราคาถัวเฉลี่ยของคาใชจายในการเปดหนาดินที่เกิดขึ้นตอลูกบาศกเมตรของปริมาณดินที่เปดหนาดินแลว หาก Stripping Ratio ที่เกิดขึ้นจริงในแตละงวดสูงกวา 6.09 สวนเกินจะบันทึกบัญชีเปนรายจายรอการตัดบัญชีงานเปดหนาดิน อยางไรก็ตามคาตัดจายงานเปดหนาดินสะสมจะตองไมมากกวารายจายรอการตัดบัญชีที่มีอยู

156

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 19 3.11.2 คาใชจายในการสํารวจแหลงแร และคาใชจายในการสํารวจเพื่อการพัฒนาขั้นตน คาใชจายในการสํารวจแหลงแร และคาใชจายในการสํารวจเพื่อการพัฒนาขั้นตน จะรับรูเปนคาใชจายที่เกิดขึ้น ในปนั้นๆ เวนแตแหลงสํารวจแรนั้นมีแผนจะสรางโรงไฟฟาตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาหรือเปนบริเวณที่ทําการขยายเหมือง จะรับรูเปนรายจายรอการตัดบัญชี และตัดจายเปนคาใชจายโดยคํานวณจากอัตราสวนของปริมาณถานลิกไนตที่ขุดไดในงวดนั้น ๆ ตอปริมาณถานลิกไนตที่สามารถนํามาใชประโยชนไดทั้งหมด 3.11.3 คาใชจายงานหมูบานอพยพ ค า ใช จ า ยงานหมู บ า นอพยพตั ด จ า ยเป น ค า ใช จ า ย โดยคํ า นวณจากค า ใช จ า ยจริ ง ของงานหมู บ า นอพยพ ทั้งโครงการหารดวยปริมาณถานลิกไนตที่คาดวาจะสามารถขุดขึ้นมาใชตลอดอายุของโรงไฟฟา คูณดวยปริมาณถานลิกไนตที่ขุดได ในแตละงวด เวนแตคาใชจายงานหมูบานอพยพสําหรับพื้นที่ที่ไมไดใชขุดถาน จะรับรูเปนคาใชจายในงวดบัญชีที่เกิดคาใชจายจริง 3.11.4 คาประทานบัตรแร คาประทานบัตรแร เปนผลประโยชนพิเศษที่ตองจายใหแกรัฐในอัตรารอยละ 0.1 ของมูลคาแหลงแรทั้งหมด ในแปลงประทานบัตรเฉพาะสวนที่ทําเหมืองแรเกินกวา 50 ลานบาท (ยกเวนแหลงแรที่มีมูลคาต่ํากวาหรือเทากับ 50 ลานบาท ไมตองจายผลประโยชนพิเศษ) ประทานบั ต รแต ล ะฉบั บ มี อ ายุ 25 ป จะรั บ รู เ ป น รายจ า ยรอการตั ด บั ญ ชี และตั ด จ า ยเป น ค า ใช จ า ยตาม อายุประทานบัตร 3.12 เงินตราตางประเทศ รายการที่เ ปน เงิน ตราตา งประเทศ แปลงคา เปน เงิน บาทโดยใชอัต ราแลกเปลี่ย น ณ วัน ที่เ กิด รายการ รายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศคงเหลือ ณ วันสิ้นงวดบัญชี จะปรับมูลคาเปนเงินบาท โดยใชอัตราแลกเปลี่ยนที่ ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศใชเปนอัตราอางอิง ณ วันนั้น กําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นรับรูเปนรายได หรือคาใชจายทั้งจํานวนในงวดบัญชีนั้น 3.13 ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานของ กฟผ. บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน รับรูและวัดมูลคาผลประโยชน ของพนักงานแตละประเภท ดังนี้ 1. ผลประโยชนของพนักงานระยะสั้น รับรูคาใชจายในงบกําไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ สําหรับผลประโยชนระยะสั้น ของพนักงานในรูปแบบของการลางานที่ไดรับคาตอบแทนที่สะสมได รับรูตนทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นเมื่อพนักงานใหบริการ 2. ผลประโยชนหลังออกจากงาน โครงการสมทบเงิน กฟผ. บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน มีการจัดตั้ง กองทุ นสํ ารองเลี้ ยงชีพ ซึ่ง ประกอบดว ย เงิ นที่ พ นัก งานจ ายสะสมและเงิ นที่ กฟผ. บริ ษัท ยอ ย และกิจ การที่ ควบคุ มร วมกั น จายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกจากสินทรัพยของ กฟผ. บริษัทยอย และกิจการที่ ควบคุมรวมกัน เงินจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนในงวดที่เกิดรายการ 3. ผลประโยชนหลังออกจากงาน โครงการผลประโยชน ใชเทคนิคการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย และคิดลดผลประโยชน โดยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว (Projected unit credit method) เพื่อกําหนดมูลคาปจจุบัน

157


- 20 ของภาระผูกพัน ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนบริการในอดีต โดยรับรูเปนหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน และรับรูเปนคาใชจาย ในงบกําไรขาดทุน กรณีที่เกิดผลตางจากการจายเงินผลประโยชนพนักงานกับยอดประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย กฟผ. ยังไมรับรูรายการดังกลาวจนกวาจะมีการทบทวนขอสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยซึ่งจะทบทวนทุก 3 ป หรือมีขอบงชี้ โดยจะรับรูผลกําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 4. ผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน ใชเทคนิคการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย คิดลดโดยวิธี คิดลดผลประโยชนแตละหนวยที่ประมาณการไว (Projected unit credit method) เพื่อกําหนดมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันและ ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนบริการในอดีต โดยรับรูเปนหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน และรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน กรณีที่เกิดผลตางจากการจายเงินผลประโยชนพนักงานกับยอดประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย กฟผ. ยังไมรับรูรายการดังกลาวจนกวาจะมีการทบทวนขอสมมติในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยซึ่งจะทบทวนทุก 3 ป หรือมีขอบงชี้ โดยจะรับรูผลกําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยในงบกําไรขาดทุนทันที ในป 2555 กฟผ. ไดจางที่ปรึกษานักคณิตศาสตรประกันภัยเพื่อทบทวนขอสมมติและประมาณการภาระหนี้สิน ตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยใหม 3.14 ประมาณการหนี้สินเพื่อการฟนฟูสภาพบริเวณเหมือง กฟผ. ไดตั้งประมาณการหนี้สินไวสําหรับดําเนินการดานฟนฟูสภาพบริเวณเหมืองลิกไนตที่อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดย กฟผ. จัดสรรเงินสําหรับประมาณการหนี้สินจากหนี้สินที่มีความแนนอนวาจะเกิดขึ้น โดย กฟผ. จะตอง ดําเนินการฟนฟูสภาพบริเวณเหมืองตามกฎหมายภายหลังที่ กฟผ. ไดเลิกดําเนินการทําเหมืองแลวยอดประมาณการหนี้สินรับรูเปน คาใชจายในงบกําไรขาดทุนของ กฟผ. โดยคํานวณจากยอดคาใชจายในการฟนฟูสภาพบริเวณเหมืองที่ประมาณไวทั้งโครงการ หารดวยปริมาณถานลิกไนตที่คาดวาจะสามารถขุดขึ้นมาใชตลอดอายุโรงไฟฟา คูณดวยปริมาณถานลิกไนตที่ขุดไดในแตละงวด สวนคาใชจายที่เกิดขึ้นจริงจะนําไปหักจากประมาณการหนี้สิน 3.15 กองทุนสงเคราะหและกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กฟผ. มีกองทุนสงเคราะหเพื่อใหการสงเคราะหแกพนักงานในกรณีที่พนจากตําแหนง โดยจายเงินสมทบเขากองทุน เปนรายเดือน ในอัตรารอยละ 10 ของเงินเดือนพนักงานที่เปนสมาชิกและรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนของ กฟผ. ทั้งจํานวน และไดรวมรายการบัญชีตาง ๆ ของกองทุนไวในงบการเงินของ กฟผ. โดยรายไดจากดอกผลของสินทรัพยกองทุน รับรูเปนรายได ในงบกําไรขาดทุนของ กฟผ. เมื่อวัน ที่ 1 มกราคม 2538 กฟผ. ไดจ ดทะเบียนจั ดตั้งกองทุนสํ ารองเลี้ยงชีพตาม พ.ร.บ. กองทุนสํา รองเลี้ยงชี พ พ.ศ. 2530 โดยกระทรวงการคลังกําหนดเปนนโยบายใหรัฐวิสาหกิจจายเงินสมทบเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งอัตราเงินสมทบ ที่ กฟผ. จะจายเขากองทุน ตองไดรับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลังกอน สวนพนักงานมีสิทธิเลือกจายเงินสะสมเขากองทุน ในอัตราขั้นต่ํารอยละ 3 ของเงินเดือน แตไมเกินกวาอัตราเงินสมทบที่ กฟผ. จายเขากองทุนนั้น

158

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 21 3.16 รายไดรอการรับรู 3.16.1 เงินชวยเหลือเพื่อการกอสราง กรณีไ ดรับเงินชวยเหลือเพื่อการกอ สรางจากผูใชไ ฟฟาซื้อตรงจาก กฟผ. เมื่อกอสรางแลวเสร็จ สินทรัพ ย เปนกรรมสิทธิ์ของ กฟผ. จะโอนเงินชวยเหลือรอการรับรูเปนรายไดตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพยนั้น กรณีไดรับเงินชวยเหลือเพื่อการกอสรางจากผูผลิตไฟฟาเอกชน เมื่อกอสรางแลวเสร็จ สินทรัพยเปนกรรมสิทธิ์ ของ กฟผ. จะโอนเงินชวยเหลือรอการรับรูเปนรายไดตามอายุสัญญาซื้อขายไฟฟา กรณีผูผลิตไฟฟาเอกชนกอสรางสินทรัพยเองแลวยกใหเปนกรรมสิทธิ์ของ กฟผ. จะบันทึกบัญชีสินทรัพยคูกับ เงินชวยเหลือรอการรับรู และจะโอนเงินชวยเหลือรอการรับรูเปนรายไดตามอายุสัญญาซื้อขายไฟฟา 3.16.2 รายไดจากการรับบริจาค การรับบริจาคเปนสินทรัพยและเงินบริจาคของรัฐบาลและสถาบันการเงินตางประเทศ ซึ่งใหอยูในรูปของ สวนลดดอกเบี้ยหรือเงินใหเปลา เพื่อนําไปใชจายในการพัฒนาโครงการตางๆ ของ กฟผ. ตามวัตถุประสงคของผูบริจาคไดบันทึก เป น รายได รอการรั บ รู แ สดงภายใต หนี้ สิ น และจะรั บ รู เป น รายได ตามอายุก ารให ป ระโยชนข องสิ นทรั พ ย และสํ า หรับ เงิ น ที่ ไดรับบริจาคจะรับรูเปนรายไดตามจํานวนคาใชจายที่เกิดขึ้น 3.17 รายไดจากการขายไฟฟา รับรูเมื่อสงมอบไฟฟาใหกับลูกคาตามจํานวนหนวยขายจากเครื่องวัดหนวยไฟฟา ณ จุดสงมอบตามสัญญาซื้อขายไฟฟา สําหรับรายไดตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) รับรูเปนรายไดต ามเกณฑที่เ กิด ขึ้น ในงวด ซึ่ง ประกอบดว ย รายไดคา Ft ที่เรียกเก็บไดจริงในแตละงวดตามมติของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) และรับรูรายไดคา Ft คางรับ หรือรายไดคา Ft รับลวงหนาจากสวนตางของคา Ft ที่คํานวณไดตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติกับ คา Ft ที่ เรียกเก็บ ไดในงวดนั้น เงินชดเชยคาไฟฟารอการรับรู เกิดขึ้นจากการที่ กฟผ. ไดรับเงินชดเชยคาเชื้อเพลิงหรือเงินชดเชยคากระแสไฟฟา จากผูขาย เชื้อเพลิงหรือผูผลิตไฟฟารายอื่น แตเงินชดเชยดังกลาวยังไมไดรับการอนุมัติจาก กกพ. ใหนําไปรวมในโครงสรางคาไฟฟา เมื่อ กกพ. มีมติใหนําเงินชดเชยดังกลาวไปรวมในโครงสรางคาไฟฟา จึงจะมีการรับรูเ งินชดเชยดังกลาวเปนรายไดคาขายไฟฟา 3.18 รายไดจากการขายสินคาและบริการอื่น 3.18.1 รายไดจากการขายสินคาอื่น ๆ นอกเหนือจากรายไดจากการขายไฟฟาแลว ประกอบดวยรายไดจ ากการ จัด หาเชื้อ เพลิง ใหบ ริษัท ในเครือ กฟผ. และรายไดจ ากการขายสิน คา อื่น ๆ เชน กา ซไฮโดรเจน น้ํา กลั่น เคมีภัณ ฑ และ ผลผลิตพลอยไดจากการผลิตไฟฟา รับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบสินคาและโอนกรรมสิทธิ์ใหลูกคา 3.18.2 รายได จ ากการให บ ริ ก าร ประกอบด ว ย รายได จ ากการให บ ริ ก ารเดิ น เครื่ อ งและบํ า รุ ง รั ก ษาโรงไฟฟ า การให บ ริ ก ารระบบสื่ อ สารและโทรคมนาคม เป น ต น รั บ รู เ ป น รายได ต ามขั้ น ความสํ า เร็ จ ของรายการ ณ วั น สิ้ น รอบ ระยะเวลารายงานโดยวิธีอัตราสวนของงานที่ทําสําเร็จ 3.19 รายไดดอกเบี้ย รับรูตามเกณฑสัดสวนของเวลา โดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริงของสินทรัพย

159


- 22 3.20 ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินไดรวมดอกเบี้ยจาย คาธรรมเนียมผูกพัน และคาใชจายอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับเงินกูระยะยาว สําหรับ ดอกเบี้ยจายที่เกิดจากเงินกูระยะยาวที่กูมาเพื่อวัตถุประสงคใหไดมาซึ่งสินทรัพยถาวร และสินทรัพยถาวรนั้นอยูระหวางกอสราง รับรูเปนตนทุนงานระหวางกอสราง และดอกเบี้ยจายที่เกิดขึ้นหลังจากงานกอสรางแลวเสร็จรับรูเปนคาใชจาย สวนดอกเบี้ยจายที่ เกิดจากเงินกูที่กูมาเพื่อวัตถุประสงคใชหมุนเวียนในกิจการ รับรูเปนคาใชจายในงวดบัญชีที่คาใชจายนั้นเกิดขึ้นทั้งจํานวน 3.21 บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุค คลหรือ กิจ การที่เ กี่ย วขอ งกัน กับ กฟผ. หมายถึง บุคคลหรือกิจ การที่มีอํานาจบริห ารหรือ ควบคุม กฟผ. หรือ ถูกควบคุมโดย กฟผ. ไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับ กฟผ.รวมถึงบริษัท ยอ ย และกิจการที่เปนบริษัทยอยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวม และบุคคล ซึ่งถือหุนที่มีสิทธิออกเสียงไมวาทางตรงหรือทางออมและมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับ กฟผ. กรรมการ ผูบริหาร หรือ พนักงานของ กฟผ. คาตอบแทนกรรมการประกอบดวย คาเบี้ยประชุมและโบนัส คาตอบแทนผูบริหารที่มีอํานาจตัดสินใจ ประกอบดวย ผลประโยชนระยะสั้น ไดแก เงินเดือน โบนัส ผลประโยชนระยะสั้นอื่น ๆ และผลประโยชนหลังออกจากงานและระยะยาวอื่น ๆ ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. แตละรายการ กฟผ. คํานึงถึงเนื้อหาของ ความสัมพันธมากกวารูปแบบทางกฎหมาย 3.22 เครื่องมือทางการเงิน สิน ทรัพ ยท างการเงิน ที่แ สดงในงบการเงิน ประกอบดว ยเงิน สดและรายการเทีย บเทา เงิน สด เงิน ลงทุน ชั่ว คราว ลูก หนี ้ก ารคา -กิจ การอื ่น สุท ธิ และลูก หนี ้ก ารคา -กิจ การที ่เ กี ่ย วขอ งกัน หนี ้ส ิน ทางการเงิน ที ่แ สดงอยู ใ นงบการเงิน ประกอบดวย เจาหนี้การคา-กิจการอื่น เจาหนี้การคา-กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น เงินกูยืม นโยบายการบัญชีเฉพาะ สําหรับรายการแตละรายการไดเปดเผยไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ กฟผ. ได ใชเ ครื่อ งมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ ยงจากการผัน ผวนของอัตราแลกเปลี่ ยนเงินตราตา งประเทศและ อัตราดอกเบี้ย เครื่อ งมือที่ใชส วนใหญประกอบดวย สัญญาซื้อ เงินตราต างประเทศลวงหนา สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและ อัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนาเปนเครื่องมือทางการเงินที่ใชในการปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของ อัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเปนการซื้อเงินตราตางประเทศตามอัตราแลกเปลี่ยนที่ตกลงกัน ณ วันที่ในอนาคตที่ระบุไ วโดยสัญญา ซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา จะไมรับรูในงบการเงิน ณ วันทําสัญญา แตจะรับรูผลตางที่เกิดขึ้นในงบกําไรขาดทุนเมื่อครบ กําหนดการชําระตามสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยเปนเครื่องมือทางการเงินที่ใชปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวน ของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย ซึ่งเกิดจากภาระหนี้เงินกูที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ สัญญาแลกเปลี่ยนนี้จะไมรับรูใน งบการเงิน ณ วันทําสัญญา แตจะรับรูผลตางที่เกิดขึ้นในงบกําไรขาดทุนเมื่อถึงกําหนดชําระตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญา

160

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 23 3.23 การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของบริษัทยอยในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่อง ของบริษัทยอย เพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุน ที่เหมาะสมเพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน 4. มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2557 - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555)

เรื่อง การนําเสนองบการเงิน

- มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555)

เรื่อง งบกระแสเงินสด

- มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ภาษีเงินได - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง สัญญาเชา - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง รายได - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง สวนไดเสียในการรวมคา - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง งบการเงินระหวางกาล - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย - มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555)

เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ

- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555)

เรื่อง การรวมธุรกิจ

- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555)

เรื่อง สวนงานดําเนินงาน

- การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 15

เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา

- การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27

เรื่อง การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของกฎหมาย ตามสัญญาเชา

เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงาน ที่ยกเลิก

161


- 24 - การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29

เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ

- การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32

เรื่อง สินทรัพยไมมตี ัวตน – ตนทุนเว็บไซต

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1

เรื่อง การเปลีย่ นแปลงในหนี้สินทีเ่ กิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนีส้ ินที่มลี ักษณะคลายคลึงกัน

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4

เรื่อง การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5

เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและ การปรับปรุงสภาพแวดลอม

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7

เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใต

- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29

เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มภี าวะ เงินเฟอรุนแรง

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10

เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12

เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13

เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17

เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ

- การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18

เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา

มีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 - มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 เรื่อง สัญญาประกันภัย ผูบริหารของ กฟผ. ไดประเมินและเห็นวาหากมีการนํามาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความ มาตรฐานการบัญชี และการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาวขางตนมาใชปฏิบัติ จะไมมีผลกระทบอยางเปน สาระสําคัญตองบการเงินที่นําเสนอ ยกเวนผลกระทบจากการนําการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 และ การตีความมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 มาถือปฏิบัติ ในขณะนี้อยูระหวางการจางที่ปรึกษาและการประเมินผลกระทบตอ งบการเงิน

162

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 25 5. ผลกระทบตองบการเงินจากการปรับปรุงงบการเงินของกฟผ. บริษัทยอย และบริษัทรวม การปรับปรุงงบการเงินและการจัดประเภทรายการใหม กฟผ. ไดจัดประเภทบัญชีบางรายการใหมในงบการเงินเฉพาะและงบการเงินรวม และกฟผ. ไดปรับปรุงงบการเงินรวม และจัดประเภทบัญชีบางรายการใหมจากการที่บริษัทรวมไดมีการปรับปรุงสวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวมจากการปฏิบัติ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได และมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ นอกจากนี้บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกันมีการจัดประเภทใหม เพื่อใหสอดคลองกับรายการในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2556 ผลกระทบตองบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และงบกําไรขาดทุน และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และยอดยกมาตนงวดของงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สรุปไดดังนี้

กอนจัด ประเภทใหม และรายการ ปรับปรุงใหม งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 40,644.20 เงินลงทุนชั่วคราว 13,819.28 ลูกหนี้การคา-กิจการอื่น 47,769.37 ลูกหนี้การคา-กิจการที่เกี่ยวของกัน 2,164.25 ลูกหนี้อื่น 7,287.72 เงินลงทุนในบริษัทรวม 16,569.37 สินทรัพยหมุนเวียนอื่นๆ 43.36 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 6,750.88 เจาหนี้การคา-กิจการอื่น 42,006.77 เจาหนี้อื่น 12,216.06 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 15,165.87 กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร 203,803.13 องคประกอบอื่นของสวนของเจาของ 2,171.85 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร 203,803.13 องคประกอบอื่นของสวนของเจาของ 2,171.85 รวมสวนของเจาของ 295,700.43

หนวย : ลานบาท

งบการเงินรวม รายการจัด ประเภทใหม

รายการ ปรับปรุงใหม

หลังจัด ประเภทใหม และรายการ ปรับปรุงใหม

(331.85) (50.00) 49.76 32.61 (82.37) 50.00 331.85 5.51 (5.51) -

(831.69) (20.00) (20.00) (374.75) (456.94)

40,312.35 13,769.28 47,819.13 2,196.86 7,205.35 15,737.68 93.36 7,062.73 42,012.28 12,210.55 15,145.87 203,428.38 1,714.91

-

(374.75) (456.94) (831.69)

203,428.38 1,714.91 294,868.74

163


- 26 -

งบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายได สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรสําหรับงวด กําไรสําหรับงวด งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 สวนแบงกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในบริษัทรวม กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่นสําหรับงวด – สุทธิจากภาษี งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555 กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุม รวมสวนของเจาของ

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา-กิจการอื่น ลูกหนี้การคา-กิจการที่เกี่ยวของ ลูกหนี้อื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

164

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

กอนจัด ประเภทใหม และรายการ ปรับปรุงใหม

งบการเงินรวม รายการ ปรับปรุงใหม

หนวย : ลานบาท หลังจัด ประเภทใหม และรายการ ปรับปรุงใหม

2,926.57

66.26

2,992.83

43,271.82

66.26

43,338.08

348.48 (536.42)

(154.71) (154.71)

193.77 (691.13)

182,338.85 (65.17) 27,201.25 302,329.77

3.92 0.35 (130.93) (126.66)

182,342.77 (64.82) 27,070.32 302,203.11

กอนจัด ประเภทใหม และรายการ ปรับปรุงใหม 32,175.10 47,303.49 2,396.08 6,700.27 1,564.67

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. รายการจัด ประเภทใหม (331.85) 49.76 113.67 (163.43) 331.85

หนวย : ลานบาท หลังจัด ประเภทใหม และรายการ ปรับปรุงใหม 31,843.25 47,353.25 2,509.75 6,536.84 1,896.52


- 27 6. ขอมูลเพิ่มเติม 6.1 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

9.38

8.40

8.39

7.82

เงินฝากธนาคารกระแสรายวันและออมทรัพย

35,893.08

37,344.86

33,154.27

31,835.43

เงินฝากธนาคารไมเกิน 3 เดือน

23,358.11

38.50

22,010.24

-

พันธบัตรรัฐบาลไมเกิน 3 เดือน

3,998.23

-

3,998.23

-

ใบรับฝากประจํา

3,820.00

2,790.59

-

-

ตั๋วแลกเงิน

-

130.00

-

-

รวม

67,078.80

40,312.35

59,171.13

31,843.25

เงินสดในมือ

6.2 เงินลงทุนชั่วคราว ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

35,132.06

8,097.68

33,020.56

8,047.26

1,400.00

5,309.00

-

-

หุนกู

50.00

50.00

-

-

พันธบัตรรัฐบาลเกิน 3 เดือน

41.00

-

-

-

เงินลงทุนในหลักทรัพยเพื่อคา

445.63

312.60

-

-

37,068.69

13,769.28

33,020.56

8,047.26

เงินฝากธนาคารเกิน 3 เดือนแตไมเกิน 12 เดือน ใบรับฝากประจํา

รวม

เงินลงทุนชั่วคราวของ กฟผ. ไดแก เงินฝากธนาคารเกิน 3 เดือน แตไมเกิน 12 เดือน โดย กฟผ. ไดดําเนินการตาม ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการบัญชีและการเงินของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2548 หมวด 2 การเงิน ซึ่งกําหนดใหรัฐวิสาหกิจ ฝากเงินกับธนาคารที่เปนรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ หากมีสภาพคลองคงเหลือ และประสงคจะบริหาร สภาพคลอ งคงเหลือ ใหไ ดร ับ ผลตอบแทนสูง กวา การฝากเงิน กับ ธนาคารที ่เ ปน รัฐ วิส าหกิจ ตามกฎหมายวา ดว ย วิธีการงบประมาณ รัฐวิส าหกิจอาจเลือกลงทุนในตราสารทางการเงินระยะสั้นที่อ อกโดยกระทรวงการคลัง หรือ สถาบัน การเงินของรัฐได

165


- 28 6.3 ลูกหนี้การคา – กิจการอื่น ประกอบดวย

ลูกหนี้คาขายไฟฟา การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค อื่น ๆ ลูกหนี้คาขายบริการและอื่น ๆ รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คงเหลือ

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56

หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55

24,273.44 27,050.93 3,789.23 55,113.60 826.30 55,939.90 (48.28) 55,891.62

24,273.44 27,050.93 3,756.39 55,080.76 261.85 55,342.61 (48.28) 55,294.33

14,225.83 30,510.22 2,475.14 47,211.19 655.76 47,866.95 (47.82) 47,819.13

14,225.83 30,510.22 2,441.01 47,177.06 224.01 47,401.07 (47.82) 47,353.25

ลูกหนี้การคา - กิจการอื่น จําแนกตามประเภทและอายุหนี้ที่คางชําระ ดังนี้

หนวย : ลานบาท

ระยะเวลาทีค่ างชําระ หนี้ทยี่ ังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระไมเกิน 6 เดือน คางชําระเกินกวา 6 เดือน - 1 ป คางชําระเกินกวา 1 ป รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คงเหลือ

166

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

คาขายไฟฟา 54,840.00 273.60 55,113.60 55,113.60

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค. 55 คาขายบริการ รวม และอืน่ ๆ 756.69 55,596.69 47,811.13 18.49 292.09 5.00 0.07 0.07 0.11 51.05 51.05 50.71 826.30 55,939.90 47,866.95 (48.28) (48.28) (47.82) 778.02 55,891.62 47,819.13


- 29 -

ลูกหนี้การคา - กิจการอื่น จําแนกตามประเภทและอายุหนี้ทคี่ า งชําระ ดังนี้

ระยะเวลาทีค่ างชําระ หนี้ทยี่ ังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระไมเกิน 6 เดือน คางชําระเกินกวา 6 เดือน - 1 ป คางชําระเกินกวา 1 ป รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คงเหลือ

หนวย : ลานบาท

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 คาขายไฟฟา คาขายบริการ รวม และอืน่ ๆ 54,807.16 192.24 54,999.40 273.60 18.49 292.09 0.07 0.07 51.05 51.05 55,080.76 55,080.76

261.85 (48.28) 213.57

55,342.61 (48.28) 55,294.33

31 ธ.ค. 55

47,345.25 5.00 0.11 50.71 47,401.07 (47.82) 47,353.25

167


- 30 6.4 รายการระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน กิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้ ชือ่ กิจการ บริษัท กฟผ. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท อีแกท ไดมอนด เซอรวิส จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด บริษัท ราชบุรีแกส จํากัด บริษัท ราชบุรีพลังงาน จํากัด บริษัท อารเอช อินเตอรเนชั่นแนล คอรปอเรชั่น จํากัด บริษัท ราช-ลาว เซอรวิส จํากัด บริษัท ราช โอแอนดเอ็ม จํากัด บริษัท ผลิตไฟฟาขนอม จํากัด บริษัท เอ็กโกเอ็นจิเนียริ่ง แอนด เซอรวิส จํากัด บริษัท ไซยะบุรี พาวเวอร จํากัด บริษัท กัลฟอิเล็คตริก จํากัด (มหาชน) บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร จํากัด บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ํา ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) บริษัท ยันฮี เอ็กโก โฮลดิง้ จํากัด บริษัท โซลารโก จํากัด บริษัท ราชบุรีเพาเวอร จํากัด บริษัท เซาทอีสท เอเชีย เอนเนอรจี จํากัด บริษัท ไฟฟา หงสา จํากัด บริษัท พูไฟ มายนิ่ง จํากัด บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอรปอเรชั่น จํากัด

168

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

ประเทศทีจ่ ดั ตั้ง/ สัญชาติ

ลักษณะความสัมพันธ

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

เปนบริษทั ยอย กฟผ. ถือหุนรอยละ 100 เปนบริษทั ยอย กฟผ. ถือหุนรอยละ 45 เปนบริษทั ยอย กฟผ. ถือหุนรอยละ 45 เปนกิจการที่ควบคุมรวมกันของ กฟผ. กฟผ. ถือหุนรอยละ 35 เปนบริษทั รวม กฟผ. ถือหุนรอยละ 25.41 เปนบริษทั ยอยของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนบริษทั ยอยของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนบริษทั ยอยของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน)

ไทย สปป. ลาว ไทย ไทย ไทย สปป. ลาว ไทย ไทย

เปนบริษทั ยอยของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนบริษทั ยอยของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนบริษทั ยอยของบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ.

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย สปป. ลาว สปป. ลาว ออสเตรเลีย

เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ. เปนกิจการที่เกี่ยวของกันกับ กฟผ.


- 31 รายการระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน มีรายละเอียดสรุปไดดังนี้ 6.4.1 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกีย่ วของกัน ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

-

553.01

332.73

บริษัทยอย

-

บริษัทรวม

691.97

711.14

691.97

711.14

กิจการที่ควบคุมรวมกัน

5.29

9.36

8.15

14.41

บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกัน

2,390.39

1,476.36

2,390.39

1,451.48

รวมลูกหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน

3,087.65

2,196.86

3,643.52

2,509.76

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน จําแนกตามประเภทและอายุหนี้ที่คางชําระ ดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

งบการเงินรวม หนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระไมเกิน 6 เดือน รวมลูกหนี้การคา – กิจการที่เกี่ยวของกัน

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

3,087.65

2,196.43

3,643.52

2,479.94

-

0.43

-

29.82

3,087.65

2,196.86

3,643.52

2,509.76

6.4.2 เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกันในงบการเงินรวม เปนรายการของกลุมบริษัทของบริษัทยอยของ กฟผ. ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56 เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกีย่ วของกันที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป รวม

-

62.50

-

62.50

169


- 32 6.4.3 เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56 1,064.11 78.01 6,480.16 7,622.28

บริษัทยอย บริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกัน รวมเจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน

31 ธ.ค.55 820.42 67.56 7,269.18 8,157.16

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 8,283.45 1,064.11 120.01 6,480.16 15,947.73

31 ธ.ค.55 3,780.51 820.42 103.94 7,269.18 11,974.05

6.4.4 เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวของกันในงบการเงินรวมเปนรายการของกลุมบริษัทของบริษัทยอยของ กฟผ. ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกีย่ วของกัน รวม

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

1,186.30

1,358.28

1,186.30

1,358.28

6.4.5 รายไดและคาใชจาย-กิจการที่เกี่ยวของกัน ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

รายได รายไดจากการขายไฟฟา บริษัทยอย

-

-

190.28

155.67

บริษัทรวม

20.71

14.00

20.71

14.00

บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกัน

87.26

89.01

87.26

89.01

-

-

2,702.82

4,299.10

รายไดจากการขายสินคาและบริการอื่น บริษัทยอย

7,239.61

10,316.73

7,239.61

10,316.73

กิจการที่ควบคุมรวมกัน

56.31

57.17

86.63

87.96

บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกัน

14,062.00

14,489.98

14,062.00

14,489.98

บริษัทรวม

170

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 33 หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

47,963.67

51,838.47

คาใชจาย คาซื้อไฟฟา -

บริษัทยอย

-

9,318.89

12,340.49

9,318.89

12,340.49

กิจการที่ควบคุมรวมกัน

655.55

555.07

1,008.54

853.96

บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกัน

52,576.17

66,992.19

52,576.17

66,992.19

2,232.04

3,939.62

บริษัทรวม

ตนทุนขายสินคาและบริการอืน่ -

บริษัทยอย

-

7,223.80

10,326.23

7,223.80

10,326.23

กิจการที่ควบคุมรวมกัน

59.12

61.27

90.95

94.26

บริษัทอื่นที่เกี่ยวของกัน

13,840.96

14,345.04

13,840.96

14,345.04

บริษัทรวม

6.4.6 คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

43.64

47.38

3.18

3.81

43.64

47.38

3.18

3.81

200.66

230.99

48.82

56.75

10.97

29.50

0.94

1.33

211.63

260.49

49.76

58.08

255.27

307.87

52.94

61.89

คาตอบแทนกรรมการ คาเบี้ยประชุม คาตอบแทน และโบนัส คาตอบแทนผูบริหาร เงินเดือน โบนัส และ ผลประโยชนระยะสั้นอื่น ๆ ผลประโยชนหลังออกจากงาน และระยะยาวอื่น ๆ รวม

171


- 34 6.5 รายไดคาไฟฟาตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) คางรับ และเงินชดเชยคาไฟฟารอการรับรู กฟผ. มีรายไดคา Ft คางรับยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 จํานวน 6,529.90 ลานบาท ในระหวางป 2556 ไดรับชําระ คา Ft สวนที่คางรับของปกอนครบถวนแลว เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2556 คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เห็นชอบการ ประมาณการคา Ft ประจําเดือน กันยายน – ธันวาคม 2556 เทากับ 61.10 สตางคตอหนวย แตมีมติให กฟผ. เรียกเก็บคา Ft ใน งวดดังกลาว เทากับ 54.00 สตางคตอหนวย โดยให กฟผ. รับภาระคา Ft จํานวน 1,566 ลานบาท ไปกอนเปนการชั่วคราว อยางไรก็ตามตนทุนคาเชื้อเพลิงและคาซื้อไฟฟาที่เกิดขึ้นจริงในชวงดังกลาวต่ํากวาที่ประมาณการไวในสูตรการคํานวณคา Ft ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กฟผ. มีรายไดคา Ft คางรับจํานวน 529.60 ลานบาท กฟผ. ไดมีการบันทึกบัญชีเงินชดเชยคาไฟฟารอการรับรู ซึ่งแสดงในสวนของหนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 จํานวน 2,768.98 ลานบาท และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จํานวน 2,231.34 ลานบาท ลดลงจํานวน 537.64 ลานบาท เนื่องจากการ นําเงินชดเชยมาปรับลดบัญชีเงินชดเชยคาไฟฟารอการรับรู จํานวน 2,247.32 ลานบาท ในขณะที่ กฟผ. ไดรับเงินชดเชยคาเชื้อเพลิง หรือเงินชดเชยคากระแสไฟฟา จากผูขายเชื้อเพลิงหรือผูผลิตไฟฟารายอื่นเพิ่มขึ้น 6.6 ลูกหนี้อนื่ ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

78.69

161.68

76.33

158.20

ลูกหนี้อื่น ๆ

348.00

768.31

219.44

418.54

หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

(19.68)

(17.93)

(19.68)

(17.93)

2,965.77

1,937.16

2,643.20

1,811.52

316.03

417.02

285.94

289.89

4,792.94

3,939.11

4,777.63

3,876.62

8,481.75

7,205.35

7,982.86

6,536.84

ลูกหนี้ผูปฏิบัติงาน

เงินยืมทดรองและเงินจายลวงหนา รายไดคางรับ ภาษีซื้อ คงเหลือ 6.7 วัสดุสํารองคลัง ประกอบดวย

หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

น้ํามันเชื้อเพลิงโรงไฟฟา

5,826.34

5,657.40

4,785.72

4,861.56

ถานลิกไนต

1,559.32

1,521.72

1,559.32

1,521.72

อะไหล วัสดุ และบริภณ ั ฑอนื่ ๆ

11,613.04

11,077.07

9,335.19

8,942.01

หัก คาเผื่อการเสื่อมสภาพ

(5,894.86)

(5,624.27)

(5,146.98)

(4,910.65)

13,103.84

12,631.92

10,533.25

10,414.64

คงเหลือ

172

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 35 6.8 สินทรัพยและหนี้สนิ ตราสารอนุพันธ ประกอบดวย 6.8.1 สินทรัพยตราสารอนุพันธ มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56 สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา รวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

0.12

-

0.12

-

0.12

-

0.12

-

6.8.2 หนี้สินตราสารอนุพันธ มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56 สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย รวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

-

4.59

-

4.59

-

4.59

-

4.59

6.9 เงินลงทุนในบริษัทยอย บริษทั รวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน 6.9.1 ขอมูลบริษัทยอย บริษัทรวมและกิจการที่ควบคุมรวมกัน ของ กฟผ. ชื่อกิจการ

บริษัทยอย บริษัท กฟผ. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท อีแกท ไดมอนด เซอรวิส จํากัด

ประเทศที่จัดตั้ง/ ประเภทธุรกิจ สัญชาติ

ไทย ไทย

สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55

บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา บริการซอมแซมสําหรับ เครื่องกังหันกาซ รวมถึง สวนประกอบอุปกรณ ชิ้นสวน และอะไหล ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา

100

100

45 45

45 45

บริษัทรวม บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)

ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา

25.41

25.41

กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา และน้ําเย็น

35

35

173


- 36 6.9.2 ขอมูลบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ของบริษัทยอย : บริษัทผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ชือ่ กิจการ

บริษทั ยอยทางตรง บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด บริษทั ราชบุรีแกส จํากัด

ประเทศที่จดั ตั้ง/ สัญชาติ

ประเภทธุรกิจ

ไทย ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

บริษทั ราชอุดม เพาเวอร จํากัด (อยูระหวางการชําระบัญชี)

ไทย

บริษทั ราชบุรีพลังงาน จํากัด

ไทย

สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 100

100

100

100

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

100

100

พัฒนาและดําเนินการโรงไฟฟา และลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

100

100

ไทย

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

100

100

บริษทั ราช-ลาว เซอรวิส จํากัด

สปป. ลาว

บริการเดินเครื่องและ บํารุงรักษาโรงไฟฟา

100

100

บริษทั ราช โอแอนดเอ็ม จํากัด

ไทย

บริการเดินเครื่องและ บํารุงรักษาโรงไฟฟา

100

100

บริษทั ยอยทางออม บริษทั ราชบุรี อัลลายแอนซ จํากัด

ไทย

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

100

100

บริษทั อารเอช อินเตอรเนชั่นแนล คอรปอเรชั่น จํากัด

บริษทั อารเอช อินเตอรเนชั่นแนล (มอริเชียส) คอรปอเรชั่น จํากัด

มอริเชียส

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟาในตางประเทศ

100

100

บริษทั อารเอช อินเตอรเนชั่นแนล (สิงคโปร) คอรปอเรชั่น จํากัด

สิงคโปร

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟาในตางประเทศ

100

100

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

55.18

55.18

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา พัฒนาและดําเนินการโรงไฟฟา และลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

55.18

55.18

80

80

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา

100 100 100

-

บริษทั ซัสเทนเอเบิล เอนเนอยี คอรปอเรชั่น จํากัด บริษทั เขาคอ วินด พาวเวอร จํากัด บริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอรปอเรชั่น จํากัด และกลุมบริษัท บริษทั บานบึง เพาเวอร จํากัด บริษทั อีสเทิรน ไอพีพี จํากัด บริษทั อีสเทิรน เพาเวอร เจนเนอเรชั่น จํากัด

174

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

ไทย ไทย ออสเตรเลีย

ไทย ไทย ไทย


- 37 ชือ่ กิจการ

ประเทศทีจ่ ัดตั้ง/ สัญชาติ

ประเภทธุรกิจ

สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ) 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55

บริษทั รวม บริษทั เฟรส โคราช วินด จํากัด บริษทั เค อาร ทู จํากัด

ไทย ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา

20 20

20 20

กิจการทีค่ วบคุมรวมกัน บริษทั ไตร เอนเนอจี้ จํากัด บริษทั ราชบุรีเพาเวอร จํากัด บริษทั ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอรวิส จํากัด

ไทย ไทย ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา บริการเดินเครื่องและ บํารุงรักษาโรงไฟฟา

50 25

50 25

50

50

ไทย

ลงทุนในธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานไฟฟา

33.33

33.33

40 37.50 25

40 37.50 25

40

40

40

40

บริษทั เซาทอีสท เอเชีย เอนเนอรจี จํากัด และบริษทั ยอย บริษทั ไฟฟา หงสา จํากัด บริษทั พูไฟมายนิ่ง จํากัด บริษทั ไฟฟาน้ํางึม 3 จํากัด บริษทั ผลิตไฟฟา นวนคร จํากัด

สปป. ลาว สปป. ลาว สปป. ลาว ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายถานหิน ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา และไอน้ํา

ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา และไอน้ํา

บริษทั โซลารตา จํากัด บริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช 3) จํากัด บริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช 4) จํากัด บริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช 7) จํากัด บริษทั สงขลา ไบโอแมส จํากัด บริษทั เคเคเพาเวอร จํากัด บริษทั สงขลา ไบโอฟูเอล จํากัด บริษทั สุโขทัย เอ็นเนอรยี่ จํากัด

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย กัมพูชา ไทย ไทย

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา จัดหาเชื้อเพลิงชีวมวล พัฒนาและดําเนินการในธุรกิจ เกี่ยวกับพลังงานไฟฟา

49 40 40 40 40 50 40

49 40 40 40 40 50 40

25

51

บริษทั อยุธยา เพาเวอร จํากัด บริษทั ไฟฟาเซเปยน-เซน้ํานอย จํากัด

ไทย สปป. ลาว

ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา ผลิตและจําหนายพลังงานไฟฟา

45 25

25

บริษทั ราชบุรีเวอลด โคเจนเนอเรชั่น จํากัด

175


- 38 6.9.3 เงินลงทุนในบริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ตามงบการเงินรวม หนวย : ลานบาท ชือ่ กิจการ

สัดสวนเงินลงทุน (รอยละ)

31 ธ.ค. 56

31 ธ.ค. 55

เงินปนผล

31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55 วิธีราคาทุน วิธีสว นไดเสีย วิธีราคาทุน วิธีสว นไดเสีย 31 ธ.ค. 56 31 ธ.ค. 55 บริษัทรวม 1. บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)

25.41

25.41

1,587.55

16,449.87

1,587.55

15,056.64

2. บริษัท เฟรส โคราช วินด จํากัด

20.00

20.00

399.20

514.92

381.93

3. บริษัท เค อาร ทู จํากัด

20.00

20.00

365.40

442.71

317.90

4. บริษัท น้ําเงี้ยบ 1 เพาเวอร จํากัด

30.00

-

รวม

-

802.64

735.75

375.26

-

-

305.78

-

-

302.31

314.48

-

-

2,654.46

17,721.98

2,287.38

15,737.68

-

802.64

735.75

กิจการทีค่ วบคุมรวมกัน 1. บริษัท ไตร เอนเนอจี้ จํากัด

50.00

50.00

1,809.21

4,445.68

1,809.21

4,736.95

341.86

161.77

2. บริษัท ราชบุรีเพาเวอร จํากัด

25.00

25.00

1,831.25

3,920.66

1,831.25

3,735.10

475.00

450.00

3. บริษัท ชูบุราชบุรี อีเลคทริคเซอรวิส จํากัด

50.00

50.00

10.00

79.39

10.00

112.08

20.00

16.00

4. บริษัท เซาทอีสท เอเชีย เอนเนอรจี จํากัด

33.33

33.33

2,202.25

2,804.75

2,202.25

2,649.89

57.26

-

5. บริษัท ไฟฟา หงสา จํากัด

40.00

40.00

983.12

983.12

435.43

-

-

6. บริษัท พูไฟ มายนิ่ง จํากัด

37.50

37.50

0.63

0.35

0.63

0.39

-

-

7. บริษัท ไฟฟาน้ํางึม 3 จํากัด

25.00

25.00

0.45

-

0.45

0.34

-

-

-

8. บริษัท ผลิตไฟฟา นวนคร จํากัด

40.00

40.00

160.80

139.54

96.80

87.04

-

-

9. บริษัท ราชบุรีเวอลด โคเจนเนอเรชั่น จํากัด

40.00

40.00

500.00

522.77

500.00

490.88

-

-

10. บริษัท โซลารตา จํากัด

49.00

49.00

545.96

745.49

545.96

606.55

-

-

11. บริษัท โซลา เพาเวอร (โคราช 3) จํากัด

40.00

40.00

71.30

89.26

65.00

70.80

7.34

-

12. บริษัท โซลา เพาเวอร (โคราช 4) จํากัด

40.00

40.00

74.07

91.90

68.25

76.58

7.84

-

13. บริษัท โซลา เพาเวอร (โคราช 7) จํากัด

40.00

40.00

70.00

89.70

63.70

72.20

8.06

-

14. บริษัท สงขลา ไบโอแมส จํากัด

40.00

40.00

67.50

64.17

34.50

32.36

-

-

15. Perth Power Partnership (Kwinana)

30.00

30.00

618.53

707.61

618.53

764.21

60.26

115.88

16. บริษัท เคเค เพาเวอร จํากัด

50.00

50.00

15.44

-

15.44

15.16

-

-

17. บริษัท สงขลา ไบโอฟูเอล จํากัด

40.00

40.00

0.40

0.38

0.40

0.39

-

-

18. บริษัท สุโขทัย เอ็นเนอรยี่ จํากัด

25.00

51.00

20.00

1.69

40.80

24.27

-

-

19. บริษัท ไฟฟาเซเปยน-เซน้ํานอย จํากัด

25.00

25.00

532.18

382.73

0.78

(0.98)

-

-

20. บริษัท อยุธยา เพาเวอร จํากัด

45.00

-

18.10

17.93

-

-

-

-

รวม

9,531.19

14,104.00

8,887.07

13,909.64

977.62

743.65

รวมทั้งสิ้น

12,185.65

31,825.98

11,174.45

29,647.32

1,780.26

1,479.40

176

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 39 6.9.4 เงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ตามงบการเงินเฉพาะ กฟผ. ชื่อกิจการ

สัดสวนเงินลงทุน(รอยละ)

วิธีราคาทุน

31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56

หนวย : ลานบาท เงินปนผล

31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55

บริษัทยอย 1. บริษัท กฟผ. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

100.00

100.00

3,108.00

370.00

-

-

2. บริษัท อีแกท ไดมอนด เซอรวิส จํากัด

45.00

45.00

280.35

227.95

-

-

45.00

45.00

6,525.00

6,525.00

1,481.18

1,468.13

9,913.35

7,122.95

1,481.18

1,468.13

1,587.55

1,587.55

802.64

735.75

1,587.55

1,587.55

802.64

735.75

584.50

584.50

-

-

584.50

584.50

-

-

12,085.40

9,295.00

3. บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) รวม บริษัทรวม 1. บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)

25.41

25.41

รวม กิจการที่ควบคุมรวมกัน 1. บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด รวม รวมทั้งสิ้น

35.00

35.00

2,283.82

2,203.88

6.9.5 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กฟผ. 6.9.5.1 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริษัทรวม กิจการที่ควบคุมรวมกัน ซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสียในงบการเงินรวม หนวย : ลานบาท 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 ณ วันตนงวด 29,647.32 27,074.83 ปรับปรุงนโยบายบัญชี (743.24) ณ วันตนงวด ที่ปรับปรุงแลว 29,647.32 26,331.59 สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย 2,804.34 3,695.46 ชําระคาหุนเพิม่ ในกิจการที่ควบคุมรวมกัน 133.52 507.02 ชําระคาหุนเพิม่ ในบริษัทรวม 367.08 342.77 ขายเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน (20.80) โอนคาพัฒนาเปนเงินลงทุน 392.53 รายไดเงินปนผล (977.62) (743.65) คาเผื่อการดอยคา (15.16) เงินลงทุนเผื่อขาย (42.28) 532.64 ผลตางแปลงคางบการเงินของบริษัทที่อยูในตางประเทศ 404.45 (184.15) เงินปนผลรับ (802.64) (735.75) ปรับปรุงอัตราแลกเปลี่ยน (64.76) (10.16) ณ วันปลายงวด (กอนปรับปรุง) 31,825.98 29,735.77 ปรับปรุงคายุติธรรม (88.45) ณ วันปลายงวด ที่ปรับปรุงแลว 31,825.98 29,647.32

177


- 40 6.9.5.2 การเปลี่ยนแปลงของเงินลงทุนในบริษัทยอย บริษัทรวม และกิจการที่ควบคุมรวมกัน ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ในงบการเงินเฉพาะ กฟผ. หนวย : ลานบาท 31 ธ.ค.56

178

31 ธ.ค.55

ณ วันตนงวด

9,295.00

9,225.00

เงินลงทุนเพิ่ม

2,790.40

70.00

ณ วันปลายงวด

12,085.40

9,295.00

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


179

3.33 (0.07) 99.45

(18,120.94)

-

-

-

8,321.26 8,574.05

คาเผื่อการดอยคาสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 (เพิ่ม) ลด ระหวางงวด ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 55 ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

10,639.15 10,658.77

(49.58) 48.40 (1.18)

(17,202.76) (1,020.89)

(10.00) (0.31) (123.29) 28,780.89

(25.37) (28.07) 8,574.05

-

27,891.49 6.12 1,016.88

8,321.26 306.23 -

สิ่งกอสราง

คาเสื่อมราคาสะสม คาตัดจายสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 คาเสื่อมราคา คาตัดจาย สําหรับงวด ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการ แปลงคางบการเงิน โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย คาเสื่อมราคาสะสม คาตัดจายสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 เพิ่มระหวางงวด รับโอนจากงานระหวางกอสราง ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการ แปลงคางบการเงิน โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ที่ดิน

6.10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ประกอบดวย

19,193.18 18,754.23

-

(10,110.02)

-

(9,662.61) (447.41)

28,864.25

28,855.79 0.29 8.17

เขื่อนและ อางเก็บน้ํา

134,446.63 122,352.59

(899.84) (899.84)

(211,523.06)

816.30 (0.28) 70.99

(200,077.83) (12,332.24)

(2,079.49) 4.95 (76.75) 334,775.49

335,424.30 938.52 563.96

โรงไฟฟา

15,503.31 14,249.73

-

(18,039.60)

1.11 -

(14,895.06) (3,145.65)

(6.03) 32,289.33

30,398.37 1,896.99 -

อุปกรณ โรงไฟฟา 144,659.68 0.70 12,838.13

ระบบสง พลังงาน ไฟฟา

100.97 169.62

-

(717.91)

19.15

(703.79) (33.27)

0.15 (142.57) 6,915.47

6,669.70 388.19

72,708.95 79,698.46

-

(76,718.98)

16.68 759.24

1,108.62 1,180.13

-

(5,735.34)

(0.15) 141.83

1,517.08 1,515.32

-

(4,545.14)

-

(4,414.16) (130.98)

6,060.46

5,931.24 129.22

1,101.40 1,285.77

(53.62) 53.62 -

(5,101.01)

(0.15) 28.52

(4,895.24) (234.14)

(1.43) (55.35) 6,386.78

6,050.26 229.68 163.62

-

-

(42.85)

-

(42.85) -

42.85

42.85 -

517.37 568.81

-

(2,466.43)

(0.06) 113.97

(2,408.38) (171.96)

2.27 (113.99) 3,035.24

2,925.75 221.21 -

งบการเงินรวม ระบบสื่อสาร ระบบสายพาน เครื่องจักรกล อะไหลชิ้นใหญ ยานพาหนะ ลําเลียง เครื่องจักรกล ถานลิกไนต เหมือง

(71,950.73) (5,561.08) (5,544.17) (315.94)

(24.20) (20.92) (1,056.87) 887.53 156,417.44

804.76 103.69

ระบบ ควบคุม ไฟฟา

- 41 -

(1,462.83) 4,238.35

2,585.86 2,698.09

(0.84) 0.84 -

(7,441.28)

0.06 (16.61) 360.01

3,229.92 1,799.45

-

(2,438.90)

1,462.83

(7,121.59) (2,167.20) (663.15) (1,734.53)

(0.07) 23.26 (368.81) 10,139.37

(2,688.79) (2,492.10)

-

2,347.23

-

2,150.54 196.69

(4,839.33)

ครุภณั ฑอื่น คาตรวจสอบ รายการปรับปรุง สภาพโรงไฟฟา ในการรวมงบ รอการตัดบัญชี จากกําไรในการ ขายโรงไฟฟา 9,708.29 5,397.12 (4,839.33) 744.56 32.14 304.06 -

268,284.91 261,012.92

(1,003.88) 102.86 (901.02)

(360,654.23)

819.69 0.47 3,055.99

(338,952.74) (25,577.64)

(2,114.93) (1.34) (3,449.45) 622,568.17

608,241.53 4,344.30 15,548.06

รวม

หนวย : ลานบาท


180

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

(17,698.27)

-

-

6,929.54 7,213.69

คาเผือ่ การดอยคาสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 55 ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

9,856.31 9,861.74

-

(16,831.21) (966.08) (0.07) 99.09

26,687.52 0.41 994.26 (0.31) (121.87) 27,560.01

-

6,929.54 284.78 (0.63) 7,213.69

สิ่งกอสราง

คาเสือ่ มราคาสะสม คาตัดจายสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 คาเสื่อมราคา คาตัดจาย สําหรับงวด โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย คาเสือ่ มราคาสะสม คาตัดจายสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 เพิม่ ระหวางงวด รับโอนจากงานระหวางกอสราง โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ทีด่ ิน

19,193.18 18,754.23

-

(10,110.02)

(9,662.61) (447.41) -

28,855.79 0.29 8.17 28,864.25

เขือ่ นและ อางเก็บน้ํา

89,263.54 81,566.35

(15.33) (15.33)

(170,977.11)

(162,119.38) (8,927.64) (0.28) 70.19

251,398.25 661.82 563.96 4.95 (70.19) 252,558.79

โรงไฟฟา

15,482.57 14,233.91

-

(18,039.59)

(14,893.94) (3,145.65) -

30,376.51 1,896.99 32,273.50

อุปกรณ โรงไฟฟา

100.97 169.62

-

(717.91)

(703.79) (33.27) 19.15

72,708.95 79,698.46

-

1,108.62 1,180.13

-

(76,718.98) (5,735.34)

(71,950.73) (5,561.08) (5,544.17) (315.94) 16.68 (0.15) 759.24 141.83

1,517.08 1,515.32

-

(4,545.14)

(4,414.16) (130.98) -

1,095.73 1,111.37

-

(5,088.01)

(4,884.36) (220.36) (0.15) 16.86

-

-

(42.85)

(42.85) -

502.52 560.12

-

(2,431.03)

(2,379.30) (165.64) (0.06) 113.97

2,255.47 2,392.93

-

3,229.92 1,799.45

-

223,244.40 220,057.32

(15.33) (15.33)

(7,198.37) (2,438.90) (321,741.52)

(6,953.43) (2,167.20) (302,564.04) (582.87) (1,734.53) (22,214.54) (15.50) 0.47 353.43 1,462.83 3,036.59

หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. ระบบ ระบบสง ระบบสือ่ สาร ระบบสายพาน เครื่องจักรกล อะไหลชนิ้ ใหญ ยานพาหนะ ครุภัณฑอื่น คาตรวจสอบ รวม ควบคุม พลังงาน ลําเลียง เครื่องจักรกล สภาพโรงไฟฟา ไฟฟา ไฟฟา ถานลิกไนต เหมือง รอการตัดบัญชี 804.76 144,659.68 6,669.70 5,931.24 5,980.09 42.85 2,881.82 9,208.90 5,397.12 525,823.77 0.70 229.11 221.16 721.61 4,016.87 103.69 12,838.13 388.19 129.22 8.47 2.75 304.06 15,340.90 (24.20) 0.15 (1.43) 2.16 17.34 (1.34) (20.92) (1,056.87) (142.57) (16.86) (113.99) (359.30) (1,462.83) (3,366.03) 887.53 156,417.44 6,915.47 6,060.46 6,199.38 42.85 2,991.15 9,591.30 4,238.35 541,814.17

- 42 -


- 43 ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 และ 2555 กฟผ. มีอ าคารและอุป กรณที่หัก คา เสื่อ มราคาสะสมเต็ม มูล คา แลว แตยัง คงใชง านอยู โดยมีร าคาทุน กอ นหัก คา เสื่อ มราคาสะสม จํา นวน 97,256.68 ลา นบาท และ 94,494.46 ลา นบาท ตามลําดับ ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 สิ่งกอสราง

31 ธ.ค.55

8,998.16

8,556.07

8.40

8.40

48,185.47

47,813.40

อุปกรณโรงไฟฟา

8,123.79

7,462.35

ระบบควบคุมไฟฟา

449.97

456.14

13,579.83

13,308.55

ระบบสื่อสาร

4,080.70

3,928.79

ระบบสายพานลําเลียงถานลิกไนต

3,224.80

2,774.24

เครื่องจักรกล

4,030.90

4,014.99

42.85

42.85

ยานพาหนะ

1,868.45

1,867.06

ครุภณ ั ฑอื่น

4,663.36

4,261.62

97,256.68

94,494.46

เขื่อนและอางเก็บน้ํา โรงไฟฟา

ระบบสงพลังงานไฟฟา

อะไหลชิ้นใหญเครื่องจักรกลเหมือง

รวม

ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 โรงไฟฟาหนองจอกหนวยที่ 2 และ 3 พรอมอุปกรณบางสวนของโรงไฟฟาลานกระบือ หนวยที่ 11 ซึ่งสงไปชวยเหลือประเทศญี่ปุนที่ขาดแคลนไฟฟาในชวงหนารอนป 2554 เนื่องจากภัยธรรมชาติ Tsunami คิด คา เสื่อ ม ราคาสะสมเต็มมูลคาแลว คงเหลือมูลคาตามบัญชีสุทธิจํานวน 47 บาท และ 2 บาท ตามลําดับ

181


182

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

โอนไปที่ดิน อาคาร อุปกรณ และอื่นๆ โอนไปงานระหวางกอสรางโรงไฟฟา และระบบสงฯ โอนไปวัสดุใชสําหรับงานระหวาง กอสรางระบบสงฯ ยอดยกไป ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 เพิ่มระหวางงวด

โอนไปที่ดนิ อาคาร อุปกรณ และอื่นๆ โอนไปงานระหวางกอสรางโรงไฟฟา และระบบสงฯ โอนไปวัสดุใชสําหรับงานระหวาง กอสรางระบบสงฯ ยอดยกไป ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 เพิม่ ระหวางงวด

643.62

-

-

1,613.53

499.02 152.77 651.79 (8.17)

เขื่อนและ อางเก็บน้ํา

1,268.46 1,321.79 2,590.25 (976.72)

สิ่งกอสราง

643.62

-

-

1,622.45

499.02 152.77 651.79 (8.17)

เขื่อนและ อางเก็บน้ํา

1,270.22 1,351.30 2,621.52 (999.07)

สิ่งกอสราง

6.11 งานระหวางกอสราง ประกอบดวย

35,189.72

-

12,651.01 23,103.46 35,754.47 (564.75)

18,223.01

-

22,146.90 8,907.01 31,053.91 (12,830.90)

321.03

-

518.92 190.30 709.22 (388.19)

624.42

-

305.17 463.37 768.54 (144.12)

ถานลิกไนต

-

-

101.48 53.67 155.15 (155.15)

133.44

-

9.75 164.58 174.33 (40.89)

2,337.12

-

305.09 2,336.09 2,641.18 (304.06)

42.72

-

44.01 44.01 (1.29)

2,562.25

24.04

-

122.16 7.42 129.58 (105.54)

18,223.01

-

22,146.90 8,907.01 31,053.91 (12,830.90)

และงานสํารวจ

321.03

-

518.92 190.30 709.22 (388.19)

624.42

-

305.17 463.37 768.54 (144.12)

ถานลิกไนต

117.11

-

3.36 124.97 128.33 (11.22)

2,337.12

-

305.09 2,336.09 2,641.18 (304.06)

42.72

-

42.72 42.72 -

2,562.25

(936.78)

2,200.09 1,306.17 3,506.26 (7.23)

กอสรางระบบสงฯ

(114.15) 62,297.87

(17,836.28)

54,014.89 41,782.77 95,797.66 (15,549.36)

(114.15) 570.88

(16,899.50)

13,884.98 3,699.55 17,584.53 -

(114.15) 62,269.45

(17,836.28)

53,905.16 41,655.62 95,560.78 (15,340.90)

รวม

หนวย : ลานบาท

(114.15) 570.88

(16,899.50)

13,884.98 3,699.55 17,584.53 -

รวม

หนวย : ลานบาท วัสดุ ระหวางทาง

วัสดุ ระหวางทาง

(936.78)

2,200.09 1,306.17 3,506.26 (7.23)

วัสดุใชสําหรับ งานระหวาง กอสรางระบบสงฯ

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. ระบบควบคุม ระบบสง ระบบสื่อสาร ระบบสายพาน ครุภัณฑอื่น คาตรวจสอบ โปรแกรม วัสดุใชสําหรับ พลังงานไฟฟา ลําเลียง ไฟฟา สภาพโรงไฟฟา คอมพิวเตอร งานระหวาง

24.04

-

122.16 7.42 129.58 (105.54)

และงานสํารวจ

งบการเงินรวม ระบบควบคุม ระบบสง ระบบสือ่ สาร ระบบสายพาน เครื่องจักรกล ครุภัณฑอนื่ คาตรวจสอบ โปรแกรม พลังงานไฟฟา ลําเลียง สภาพโรงไฟฟา คอมพิวเตอร ไฟฟา

โรงไฟฟา

35,192.89

-

12,651.11 23,106.53 35,757.64 (564.75)

โรงไฟฟา

- 44 -


- 45 กฟผ. มีงานระหวางกอสรางที่เปนโครงการตาง ๆ ดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม โครงการ

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

โครงการขยายระบบสงไฟฟา

20,358.00

23,920.58

20,358.00

23,920.58

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมจะนะ ชุดที่ 2

15,467.08

11,390.07

15,467.08

11,390.07

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหนือ ชุดที่ 1

-

0.08

-

0.08

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหนือ ชุดที่ 2

911.24

-

911.24

-

โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมวังนอย ชุดที่ 4

14,950.71

10,967.68

14,950.71

10,967.68

โครงการอื่น ๆ

10,610.84

7,736.48

10,582.42

7,626.75

62,297.87

54,014.89

62,269.45

53,905.16

รวม

ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมจะนะ (สงขลา) ชุดที่ 2, โครงการโรงไฟฟา พลัง ความรอนรวมพระนครเหนือ ชุดที่ 2 และโครงการโรงไฟฟาพลังความรอ นรว มวัง นอ ย ชุด ที่ 4 มีสัดสวนของงานที่แลวเสร็จ จํานวนรอยละ 96.20, 49.20 และ 97.46 ตามลําดับ โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหนือ ชุดที่ 1 ในสวนของโรงไฟฟาไดกอสรางแลวเสร็จโดยไดโอนขึ้นบัญชี ทรัพยสิน และประกาศเดินเครื่องเชิงพาณิชย ตั้งแตวันที่ 19 พฤศจิกายน 2553 แตยังมีงานระหวางกอสรางคงเหลือในสวนของ งานปรับปรุงเพิ่มเติมบริเวณรอบโรงไฟฟา (Facilities) ซึ่งจะดําเนินการขึ้นบัญชีทรัพยสินเมื่อดําเนินการแลวเสร็จในภายหลัง

6.12 คาความนิยม ประกอบดวย

ราคาทุน ณ วันตนงวด การตัดจําหนายคาความนิยมจากการขายเงินลงทุนระยะยาว การตัดจําหนายคาความนิยมจากการยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟา ผลตางจากการปรับปรุงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ราคาตามบัญชี – สุทธิ ณ วันปลายงวด

หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 752.91 1,913.62 (660.15) (546.45) 10.83 45.89 763.74 752.91

183


184

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

สิทธิการใช ที่ดนิ 24,746.34 1,551.35 26,297.69 (3,838.09) (0.87) (3,838.96) 20,908.25 22,458.73

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 เพิ่มระหวางงวด รับโอนงานระหวางกอสราง ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 คาตัดจําหนายสําหรับงวด ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 55 ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

6.13 สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น ประกอบดวย

906.28 739.49

(743.76) (219.97) (1.81) (0.47) 23.35 (942.66)

โปรแกรม คอมพิวเตอร และคาลิขสิทธิ์ ซอฟตแวร 1,650.04 57.73 1.30 (4.79) 1.34 (23.47) 1,682.15

- 46 -

226.56 220.22

(248.21) (6.34) (254.55)

สิทธิการใช ประโยชน ในที่ราชพัสดุ 474.77 474.77

4.22 3.91

(2.03) (0.31) (2.34)

สิทธิการใช ระบบทอยอย สงกาซ 6.25 6.25

งบการเงินรวม

19.91 16.20

(9.78) (3.71) (13.49)

สิทธิในการ เชื่อมโยงระบบ จําหนายไฟฟา 29.69 29.69

5,634.86 4,924.04

(1,633.11) (297.38) 139.50 (1,790.99)

สิทธิในสัญญา ซือ้ ขายไฟฟา และพัฒนา โครงการ 7,267.97 (552.94) 6,715.03

27,700.08 28,362.59

(6,474.98) (528.58) 137.69 (0.47) 23.35 (6,842.99)

รวม 34,175.06 1,609.08 1.30 (557.73) 1.34 (23.47) 35,205.58

หนวย : ลานบาท


- 47 หนวย : ลานบาท

ราคาทุน ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 เพิม่ ระหวางงวด โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

สิทธิการใช ที่ดิน 24,746.34 1,551.35 26,297.69

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. โปรแกรม คอมพิวเตอร สิทธิการใช และคาลิขสิทธิ์ ประโยชน ซอฟตแวร ในที่ราชพัสดุ 1,612.46 474.77 29.32 1.34 (23.47) 1,619.65 474.77

รวม 26,833.57 1,580.67 1.34 (23.47) 28,392.11

คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค. 56 คาตัดจําหนายสําหรับงวด โอนเปลี่ยนประเภท ขายและจําหนาย คาตัดจําหนายสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

(3,838.09) (0.87) (3,838.96)

(720.04) (213.40) (0.47) 23.35 (910.56)

(248.21) (6.34) (254.55)

(4,806.34) (220.61) (0.47) 23.35 (5,004.07)

ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 55 ณ วันที่ 31 ธ.ค. 56

20,908.25 22,458.73

892.42 709.09

226.56 220.22

22,027.23 23,388.04

6.14 ที่ดินที่รอการพัฒนา ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม ยอดยกมาตนงวด บวก เพิ่มระหวางงวด หัก

คาเผื่อการดอยคาสะสม

ยอดยกไปปลายงวด

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

2,544.90

2,544.90

2,239.51

2,239.51

3.82

-

-

-

2,548.72

2,544.90

2,239.51

2,239.51

(423.43)

(423.43)

(423.43)

(423.43)

2,125.29

2,121.47

1,816.08

1,816.08

185


- 48 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กฟผ. มีที่ดินที่รอการพัฒนา รวมทั้งสิ้นจํานวน 1,816.08 ลานบาท ประกอบดวยที่ดินที่จัดหา มาเพื่อใชเปนสถานที่กอสรางโรงไฟฟาเพื่อรองรับความตองการพลังงานไฟฟาที่เพิ่มขึ้น แตเนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนแผนพัฒนา กําลังการผลิตไฟฟาของ กฟผ. จึงตองชะลอการกอสรางโรงไฟฟาใหม ที่ดินที่รอการพัฒนาดังกลาว ประกอบดวย - ที่ดินที่อาวไผ จังหวัด ชลบุรี เนื้อที่ 122 ไร ราคาทุน 9.05 ลานบาท - ที่ดินที่ทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ เนื้อที่ 4,029 ไร ราคาทุน 2,223.43 ลานบาท มีคาเผื่อการดอยคาสะสม 423.43 ลานบาท คงเหลือราคาตามบัญชี - สุทธิ 1,800 ลานบาท - ที่ดินบริเวณสถานีขนถายน้ํามัน ถนนเพชรเกษม จังหวัดราชบุรี เนื้อที่ 37 ไร ราคาทุน 3.75 ลานบาท - ที่ดินบริเวณสถานีไฟฟาแรงสูงบานนาสาร ตําบลน้ําพุ (ทาชี) อําเภอบานนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี ราคาทุน 3.28 ลานบาท 6.15 ภาษีเงินไดและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี 6.15.1 สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวม

หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 141.02 129.88 (1,942.95) (2,185.54) (1,801.93) (2,055.66)

6.15.2 ภาษีเงินได

ภาษีเงินได : ภาษีเงินไดงวดปจจุบัน ภาษีงวดกอน ๆ ที่บันทึกสูงไป รวม ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี : การเปลี่ยนแปลงของผลตางชั่วคราว รวม รวมทั้งสิ้น

186

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 1 ม.ค.-31 ธ.ค.55 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56 1,291.01 (4.65) 1,286.36

1,783.61 (95.54) 1,688.07

7.37 7.37 1,293.73

(800.83) (800.83) 887.24


- 49 6.15.3 การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนวย : ลานบาท ณ วันที่ 1 ม.ค.56 สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี : คาเผื่อวัสดุสํารองคลังลาสมัย ผลประโยชนพนักงาน หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี : ภาษีเงินไดของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายรอการตัดบัญชี ขาดทุนสะสม อื่น ๆ

หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี : ภาษีเงินไดของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาใชจายรอการตัดบัญชี ขาดทุนสะสม อื่น ๆ

ผลตางจาก อัตรา แลกเปลี่ยน

ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

112.74 17.22 (0.08) 129.88

9.33 1.70 0.11 11.14

-

-

122.07 18.92 0.03 141.02

(93.63) (3,214.95) 151.60 1,042.32 (70.88) (2,185.54)

142.28 (142.51) 93.86 (112.14) (18.51)

93.63 93.63

257.74 (9.09) (96.69) 15.51 167.47

(2,814.93) 1,039.49 (167.51) (1,942.95)

ผลตางจาก อัตรา แลกเปลี่ยน

ณ วันที่ 31 ธ.ค.55

ณ วันที่ 1 ม.ค.55 สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี : คาเผื่อวัสดุสํารองคลังลาสมัย ผลประโยชนพนักงาน หลักทรัพยเผื่อขาย ขาดทุนยกไป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน

งบการเงินรวม บันทึกเปนรายจาย/รายไดใน กําไรหรือ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

งบการเงินรวม บันทึกเปนรายจาย/รายไดใน กําไรหรือ กําไรขาดทุน ขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่น

101.00 16.63 6.13 65.90 (0.03) 189.63

11.74 0.59 (65.90) (0.05) (53.62)

(6.13) (6.13)

(3,058.17) 234.70 (122.55) (2,946.02)

(199.07) (81.07) 1,055.87 78.72 854.45

(93.63) (28.00) (121.63)

42.29 (2.03) (13.55) 0.95 27.66

112.74 17.22 (0.08) 129.88 (93.63) (3,214.95) 151.60 1,042.32 (70.88) (2,185.54)

187


- 50 6.16 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม คาใชจา ยในการ คาใชจา ยในการ คาทดแทนที่ดิน เปดหนาดิน สํารวจแหลงแร และงานหมูบ า น และสํารวจเพื่อ อพยพ การพัฒนาขัน้ ตน

คาประทาน บัตรแร

รวม

- รายจายรอการตัดบัญชีดา นเหมืองลิกไนต รายจายรอการตัดบัญชีฯ ณ วันที่ 1 ม.ค.56

88,747.97

645.67

5,955.41

-

รายจายรอการตัดบัญชีฯ ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

94,703.38

645.67

รายจายตัดบัญชีสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค.56

(88,747.97)

เพิม่ ระหวางงวด

เพิม่ ระหวางงวด รายจายตัดบัญชีสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

1,988.44

281.14

91,663.22

-

5,955.41

1,988.44

281.14

97,618.63

(303.73)

(1,631.73)

(46.48)

(90,729.91)

(5,955.41)

(10.60)

(54.06)

(11.25)

(6,031.32)

(94,703.38)

(314.33)

(1,685.79)

(57.73)

(96,761.23)

-

ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธ.ค.55

-

341.94

356.71

234.66

933.31

ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

-

331.34

302.65

223.41

857.40

- อืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 ปรับปรุงบัญชี

(20.00) 5,797.57

จัดประเภทรายการใหม ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 (ปรับปรุงบัญชีและจัดประเภทรายการใหม) ณ วันที่ 31 ธ.ค.56 รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 (ปรับปรุงบัญชีและจัดประเภทรายการใหม) ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

188

5,817.57

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

331.85 6,129.42 2,436.00 7,062.73 3,293.40


- 51 งบการเงินเฉพาะ กฟผ. คาใชจายในการ คาใชจายในการ คาทดแทนที่ดนิ คาประทาน เปดหนาดิน สํารวจแหลงแร และงานหมูบ า น บัตรแร และสํารวจเพื่อ อพยพ การพัฒนาขัน้ ตน - รายจายรอการตัดบัญชีดา นเหมืองลิกไนต รายจายรอการตัดบัญชีฯ ณ วันที่ 1 ม.ค.56 เพิม่ ระหวางงวด รายจายรอการตัดบัญชีฯ ณ วันที่ 31 ธ.ค.56 รายจายตัดบัญชีสะสม ณ วันที่ 1 ม.ค.56 เพิม่ ระหวางงวด รายจายตัดบัญชีสะสม ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

88,747.97 5,955.41 94,703.38 (88,747.97) (5,955.41) (94,703.38)

ราคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 ณ วันที่ 31 ธ.ค.56 - อืน่ ๆ ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 จัดประเภทรายการใหม ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 (จัดประเภทรายการใหม) ณ วันที่ 31 ธ.ค.56 รวมสินทรัพยไมหมุนเวียนอืน่ ณ วันที่ 31 ธ.ค.55 (จัดประเภทรายการใหม) ณ วันที่ 31 ธ.ค.56

-

หนวย : ลานบาท รวม

645.67 645.67 (303.73) (10.60) (314.33)

1,988.44 1,988.44 (1,631.73) (54.06) (1,685.79)

281.14 281.14 (46.48) (11.25) (57.73)

91,663.22 5,955.41 97,618.63 (90,729.91) (6,031.32) (96,761.23)

341.94 331.34

356.71 302.65

234.66 223.41

933.31 857.40 631.36 331.85 963.21 723.82 1,896.52 1,581.22

6.17 เจาหนี้การคา - กิจการอื่น มีรายละเอียดดังนี้

เจาหนี้คาไฟฟา เจาหนี้คาเชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟา เจาหนี้จากการจัดหาเชื้อเพลิง อื่น ๆ รวม

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 33,840.82 18,855.94 19,732.48 11,540.11 2,962.82 2,096.59 9,694.52 9,519.64 66,230.64 42,012.28

หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 33,840.82 18,855.94 19,732.48 11,540.11 2,962.82 2,096.59 2,703.92 2,490.80 59,240.04 34,983.44

189


- 52 6.18 เงินรายไดแผนดินคางนําสงคลัง ในป 2556 กระทรวงการคลังไดกําหนดให กฟผ. นําสงเงินรายไดแ ผน ดิน ในอัต รารอ ยละ 45 ของกํา ไรสุท ธิกอน คาใชจายสํารองโบนัส ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงไดขึ้นอยูกับความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง ณ วันที่ 1 มกราคม 2556 กฟผ. มีเงินรายไดแผนดินคางนําสงยกมา จํานวน 8,077.99 ลานบาท สํารองเพิ่มจํานวน 4.01 ลานบาท และนําสงคลังตาม หนังสือการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ที่ กฟผ. 921101/23761 ในวันที่ 9 เมษายน 2556 จํานวน 8,082.00 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ไดตั้งสํารองเงินรายไดแผนดินจากผลการดําเนินงานสําหรับป 2556 จํานวน 19,056.17 ลานบาท แตเนื่องจาก กฟผ. ไดนําสงเงินรายไดแผนดินจากผลการดําเนินงานสําหรับงวดหกเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2556 ไปแลว เมื ่อ เดือ นตุล าคม 2556 จํ า นวน 9,589.88 ลา นบาท ดัง นั ้น กฟผ. จึง มีเ งิน รายไดแ ผน ดิน คา งนํ า สง คลัง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จํานวน 9,466.29 ลานบาท 6.19 เงินกูยมื ระยะยาว ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

เงินกูยืมระยะยาว ณ วันตนงวด

91,406.06

102,468.27

62,722.52

66,495.49

เพิ่มระหวางงวด

16,065.70

11,147.35

13,000.00

11,000.00

(22,561.45)

(20,976.02)

(4,964.75)

(14,640.57)

กําไรจากการชําระคืน

(9.56)

(26.70)

(9.56)

(26.70)

กําไรจากตราสารอนุพันธ

(5.70)

(62.89)

(5.70)

(62.89)

(1,569.39)

(1,143.95)

153.86

(42.81)

83,325.66

91,406.06

70,896.37

62,722.52

(11,590.86)

(9,333.67)

(6,480.10)

(4,980.01)

71,734.80

82,072.39

64,416.27

57,742.51

ชําระคืน

ปรับปรุง(กําไร)ขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น/ผลตาง ของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน เงินกูยืมระยะยาว ณ วันปลายงวด หัก เงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป คงเหลือ

190

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 53 เงินกูยืมระยะยาว ประกอบดวย งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 สกุลเงิน ลานบาท สกุลเงิน ลานบาท ตางประเทศ ตางประเทศ หนวย : ลาน หนวย : ลาน เงินกูใ นประเทศค้ําประกันโดยกระทรวงการคลัง พันธบัตร กฟผ. อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2563 เงินกูใ นประเทศกระทรวงการคลังไมค้ําประกัน เงินกูก ระทรวงการคลัง อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2570 พันธบัตร กฟผ. อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2576 หุน กู อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2558 สถาบันการเงินอืน่ ๆ อัตราดอกเบีย้ ลอยตัวครบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2563 อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนในป 2559 เงินกูย ืมจากตางประเทศค้ําประกันโดยกระทรวงการคลัง เงินกู เยนญี่ปุน : อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนป 2556 ยูโร : อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2557 อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2580 เงินกูย ืมจากตางประเทศกระทรวงการคลังไมค้ําประกัน เงินกู ดอลลารออสเตรเลีย : อัตราดอกเบีย้ ลอยตัวครบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2558 หุน กู เยนญี่ปุน : อัตราดอกเบีย้ คงทีค่ รบกําหนดชําระคืนในป 2569 รวม หัก เงินกูยืมระยะยาวทีถ่ ึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ป คงเหลือ

-

8,000.00 8,000.00

-

9,000.00 9,000.00

-

83.49

-

88.34

-

61,250.00

-

51,781.90

-

5,681.34

-

9,618.20

-

930.14 1,200.00 69,144.97

-

941.19 1,200.00 63,629.63

-

-

419.51

150.17

0.09 34.40

3.93 1,558.95 1,562.88

0.17 41.48

7.09 1,695.02 1,852.28

1.57

(45.62)

367.61

11,632.58

15,000.00

4,663.43 4,617.81 83,325.66 (11,590.86) 71,734.80

15,000.00

5,291.57 16,924.15 91,406.06 (9,333.67) 82,072.39

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทยอยมีคาธรรมเนียมในการจัดหาเงินกูลวงหนาจํานวน 45.62 ลานบาทจากวงเงินกูยืม จํานวน 100 ลานดอลลารออสเตรเลีย โดยมีระยะเวลาตั้งแตป 2556 ถึง 2561 ซึ่งกิจการยังมีความตั้งใจที่จะใชสิทธิในการกูยืม ดังกลาวอยู จึงยังคงแสดงรายการดังกลาวหักกลบกับเจาหนี้เงินกูยืมระยะยาวในภาพรวม

191


- 54 งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 สกุลเงิน ลานบาท สกุลเงิน ลานบาท ตางประเทศ ตางประเทศ หนวย : ลาน หนวย : ลาน เงินกูในประเทศค้ําประกันโดยกระทรวงการคลัง พันธบัตร กฟผ. อัตราดอกเบี้ยคงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2563

-

8,000.00

-

8,000.00

9,000.00 9,000.00

เงินกูในประเทศกระทรวงการคลังไมค้ําประกัน เงินกูกระทรวงการคลัง อัตราดอกเบี้ยคงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2570

-

83.49

-

88.34

-

61,250.00

-

51,781.90

พันธบัตร กฟผ. อัตราดอกเบี้ยคงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2576

61,333.49

51,870.24

เงินกูยืมจากตางประเทศค้ําประกันโดยกระทรวงการคลัง เงินกู เยนญีป่ นุ : อัตราดอกเบี้ยคงทีค่ รบกําหนดชําระคืนป 2556

-

-

419.51

150.17

อัตราดอกเบี้ยคงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2557

0.09

3.93

0.17

7.09

อัตราดอกเบี้ยคงทีค่ รบกําหนดชําระคืนระหวางป 2556-2580

34.40

1,558.95

41.48

1,695.02

ยูโร :

รวม หัก เงินกูยืมระยะยาวทีถ่ ึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป คงเหลือ

192

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

1,562.88

1,852.28

70,896.37

62,722.52

(6,480.10)

(4,980.01)

64,416.27

57,742.51


- 55 จํานวนเงินกูยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 จําแนกตามประเภทของอัตราดอกเบี้ยไดดังนี้

อัตราดอกเบีย้ ลอยตัว อัตราดอกเบีย้ คงที่ รวม

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 884.52 12,573.77 82,441.14 78,832.29 83,325.66 91,406.06

หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 70,896.37 62,722.52 70,896.37 62,722.52

อัตราดอกเบีย้ ของเงินกูยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายละเอียด ดังนี้ งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

พันธบัตร กฟผ. ในประเทศ -ค้ําประกันโดยกระทรวงการคลัง

รอยละ 6.927 ถึง รอยละ 8.554

รอยละ 6.927 ถึง รอยละ 8.554

-กระทรวงการคลังไมค้ําประกัน

รอยละ 3.240 ถึง รอยละ 6.235

รอยละ 3.240 ถึง รอยละ 6.235

รอยละ 3.000 ถึง รอยละ 4.350

รอยละ 3.000 ถึง รอยละ 3.000

รอยละ 0.000 ถึง รอยละ 8.000

รอยละ 0.000 ถึง รอยละ 8.000

เงินกูในประเทศ -กระทรวงการคลังไมค้ําประกัน เงินกูตางประเทศ -ค้ําประกันโดยกระทรวงการคลัง หุนกู -กระทรวงการคลังไมค้ําประกัน

รอยละ 2.720 ถึง รอยละ 3.940

6.20 ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน พนักงาน กฟผ. จะไดรับเงินตอบแทนเมื่อเกษียณอายุภายใตกฎหมายแรงงานในประเทศไทย เมื่อมีการดําเนินงาน หรือเมื่ออยูครบวาระการทํางานตามขอตกลงระหวาง กฟผ. และพนักงาน หนี้สินผลประโยชนของพนักงานเปนหนี้สินประเภท Defined benefit obligation ซึ่งคํานวณโดยใชวิธี Projected unit credit ตามเกณฑคณิตศาสตรประกันภัย (Actuarial basis) อันเป นประมาณการจากมูลค าปจจุ บันของกระแสเงิ นสดที่ คาดว าจะต องจา ยในอนาคต คํานวณคิด ลดโดยใชอั ตราดอกเบี้ ย ของหลักทรัพยรัฐบาลที่มีกําหนดเวลาใกลเคียงกับระยะเวลาของหนี้สินดังกลาว คาใชจายที่เกี่ยวของกับผลประโยชนจะถูกบันทึก ในงบกําไรขาดทุนเพื่อกระจายตนทุนตลอดระยะเวลาของการจางงาน

193


- 56 รายการกระทบยอดมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน มีรายละเอียดดังนี้

ยอดคงเหลือตนงวด ตนทุนบริการปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย (กําไร)ขาดทุนจากการประมาณการ ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย รายจายทีเ่ กิดขึ้นจริง ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ยอดคงเหลือปลายงวด

งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 13,562.46 12,155.17 572.03 529.94 512.77 495.02

หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 13,475.64 12,074.49 555.81 517.12 509.41 492.12

(5.81) (589.76) (0.44) 14,051.25

(585.14) 13,955.72

1,439.35 (1,056.95) (0.07) 13,562.46

1,439.35 (1,047.44) 13,475.64

คาใชจายที่รับรูในงบกําไรขาดทุนและเปนสวนหนึ่งของตนทุนสินทรัพย/หนี้สินในงบแสดงฐานะการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะ กฟผ. 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 คาใชจายที่รับรูในงบกําไรขาดทุน ตนทุนขาย 600.91 564.07 600.91 564.07 คาใชจายในการขาย 6.90 5.85 6.90 5.85 คาใชจายในการบริหาร 368.84 343.69 349.26 327.97 รวม 976.65 913.61 957.07 897.89 ตนทุนสินทรัพย/หนี้สินทีร่ ับรูในงบแสดงฐานะการเงิน วัสดุสํารองคลัง 39.98 44.19 39.98 44.19 งานระหวางกอสราง 66.83 67.32 66.83 67.32 ประมาณการหนีส้ ินเพื่อการฟนฟู สภาพบริเวณเหมือง 1.34 1.39 1.34 1.39 รวม 108.15 112.90 108.15 112.90 รวมทั้งสิ้น 1,084.80 1,026.51 1,065.22 1,010.79 กฟผ. มีกําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เปนจํานวน 5.81 ลานบาท และ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยรับรูใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เปนจํานวน 1,437.80 ลานบาท

194

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 57 ขอสมมติฐานหลักในการประมาณตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยของ กฟผ.

อัตราคิดลด อัตราเงินเฟอ - ดัชนีราคาผูบริโภค - คารักษาพยาบาลหลังออกจากงาน อัตราการลาออกของพนักงาน อัตราการขึ้นเงินเดือนของพนักงาน อัตรามรณะ ใชตาราง

รอยละตอป 3.9 3.5 10 0.0 – 0.8 6 – 11 TMO08 (ตารางมรณะไทยป 2551)

6.21 ประมาณการหนี้สินเพื่อการฟนฟูสภาพบริเวณเหมือง มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

2,047.40

1,982.70

2,047.40

1,982.70

128.14

130.65

128.14

130.65

2,175.54

2,113.35

2,175.54

2,113.35

(91.62)

(62.23)

(91.62)

(62.23)

คาเสือ่ มราคา

(3.61)

(3.72)

(3.61)

(3.72)

ยอดยกไปปลายงวด

2,080.31

2,047.40

2,080.31

2,047.40

ยอดยกมาตนงวด บวก เพิ่มระหวางงวด หัก คาใชจายในการฟนฟูสภาพบริเวณเหมือง

195


- 58 6.22 หนี้สนิ ไมหมุนเวียนอืน่ ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

6,100.59

5,156.23

6,120.59

5,156.23

691.55

1,472.41

691.55

1,492.41

6,792.14

6,628.64

6,812.14

6,648.64

(431.69)

(526.71)

(431.69)

(526.71)

(1.34)

(1.34)

(1.34)

(1.34)

ยอดยกไปปลายงวด

6,359.11

6,100.59

6,379.11

6,120.59

เงินประกันผลงาน

8,475.46

6,623.86

8,475.46

6,623.86

848.47

841.16

848.47

841.16

1,512.80

1,580.26

899.02

918.14

17,195.84

15,145.87

16,602.06

14,503.75

รายไดรอการรับรู ยอดยกมาตนงวด บวก รับเงินชวยเหลือ หัก รับรูเปนรายได ลดคาเสื่อมราคา

เงินรับจากการผิดสัญญากรณีพิพาท อื่น ๆ รวม 6.23 สวนของเจาของ เงินงบประมาณ ประกอบดวย

หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม เงินงบประมาณสมทบเปนทุน

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

6,507.64

6,507.64

6,507.64

6,507.64

4,364.75

4,364.75

4,364.75

4,364.75

(1,808.08)

(1,745.74)

(1,808.08)

(1,745.74)

(62.34)

(62.34)

(62.34)

(62.34)

2,494.33

2,556.67

2,494.33

2,556.67

9,001.97

9,064.31

9,001.97

9,064.31

เงินงบประมาณสมทบกอสราง เชือ่ นศรีนครินทร เขื่อนบางลาง เชื่อนวชิราลงกรณ เขื่อนรัชชประภา และเขื่อนปากมูล หัก คาเสื่อมราคาสะสมยกมา คาเสื่อมราคางวดนี้ คงเหลือ

196

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 59 6.24 รายไดจากการขายสินคาและบริการอื่น ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

รายไดคาบริการโทรคมนาคม

575.20

416.62

575.20

416.62

รายไดจากการจัดหาเชื้อเพลิง

20,753.37

24,266.13

21,742.48

27,360.26

1,353.67

881.75

3,081.08

2,079.98

1,410.64

1,183.69

647.93

519.34

24,092.88

26,748.19

26,046.69

30,376.20

รายไดจากการใหบริการ เดินครื่องและบํารุงรักษา อื่น ๆ รวม

กฟผ. มีรายไดจากการประกอบกิจการโทรคมนาคม ซึ่ง กฟผ. ไดรับอนุมัติใหใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจาก สํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2550 6.25 ตนทุนขายไฟฟา ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

คาซื้อไฟฟา

240,967.69

209,206.82

289,284.49

261,334.91

คาเชื้อเพลิง

170,829.26

176,240.28

134,416.99

136,189.64

คาใชจายในการผลิตไฟฟา

34,067.86

34,962.81

27,129.11

27,615.13

คาใชจายในการสงไฟฟา

10,614.20

9,781.51

10,614.20

9,781.51

456,479.01

430,191.42

461,444.79

434,921.19

รวม

197


- 60 6.26 ตนทุนขายสินคาและบริการอื่น ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

ตนทุนคาบริการโทรคมนาคม

31.30

28.10

31.30

28.10

ตนทุนจากการจัดหาเชื้อเพลิง

20,753.37

24,266.13

21,742.47

27,360.26

933.67

701.42

2,196.72

1,551.85

461.49

316.03

347.06

295.34

22,179.83

25,311.68

24,317.55

29,235.55

ตนทุนจากการใหบริการ เดินเครื่องและบํารุงรักษา อื่น ๆ รวม

กฟผ. บันทึกตนทุนคาบริการโทรคมนาคม ควบคูกับรายไดคาบริการโทรคมนาคม ตั้งแตวันที่ 15 มีนาคม 2550 ซึ่งเปน วันที่ กฟผ. ไดรับอนุมัติใหใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจากสํานักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติทั้ ง นี้ ต น ทุ น ค า บริ ก ารโทรคมนาคมข า งต น ไม ร วมค า ใช จ า ยในการขาย ค า ใช จ า ยในการบริ ห าร และต น ทุ น ทางการเงิ น ซึ่งคาใชจายดังกลาวแตละรายการไดแสดงไวในแตละประเภทคาใชจายในงบกําไรขาดทุนแลว 6.27 รายไดอื่น ประกอบดวย

งบการเงินรวม

ดอกเบี้ยรับ เงินปนผลรับ กําไรจากการจําหนายสินทรัพย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ กําไรจากการเปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรมของตราสารอนุพันธ กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนระยะยาว กําไรจากการยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟา รายไดเงินชวยเหลือ รายไดคาปรับ รายไดจากการขายเถาลอย และเศษซากวัสดุ รายไดอื่นเบ็ดเตล็ด อื่น ๆ รวม

198

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด

หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

22.97

634.43

-

-

104.29 257.17 136.37

150.90 783.68 1,069.44 287.82 124.24

104.29 257.17 136.37

150.90 287.82 124.24

379.75 55.87 1,576.43 4,774.20

340.89 26.47 515.88 6,114.56

379.75 55.87 371.32 5,135.81

340.89 26.47 138.18 4,666.32

2,020.45 220.90 -

1,992.50 188.31 -

1,547.22 2,283.82 -

1,380.57 2,203.88 13.37


- 61 6.28 คาใชจายอื่น ประกอบดวย หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

-

-

682.22

163.94

187.16

61.47

159.31

-

53.02

34.75

53.02

34.75

240.18

96.22

894.55

198.69

ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ ขาดทุนจากการจําหนาย สินทรัพย อื่น ๆ รวม

6.29 สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม 31 ธ.ค.55 31 ธ.ค.56 1,851.83 3,011.13 122.39 (6.26) 89.43 (12.04) (5.96) 2,057.69 2,992.83

บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) บริษัท เฟรส โคราช วินด จํากัด บริษัท เค อาร ทู จํากัด บริษัทน้ําเงี้ยบ 1 เพาเวอร จํากัด รวม 6.30 ตนทุนทางการเงิน

หนวย : ลานบาท

งบการเงินรวม

ตนทุนงานระหวางกอสราง ตนทุนทางการเงิน ในงบกําไรขาดทุน รวม

ดอกเบี้ยจาย 571.80

คาใชจาย เกี่ยวกับเงินกู 0.76

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56 572.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55 287.90

4,168.13 4,739.93

248.68 249.44

4,416.81 4,989.37

5,343.21 5,631.11

199


- 62 -

ตนทุนงานระหวางกอสราง ตนทุนทางการเงิน ในงบกําไรขาดทุน รวม

งบการเงินเฉพาะ กฟผ. คาใชจาย เกี่ยวกับเงินกู 1 ม.ค.-31 ธ.ค.56 0.76 572.56

ดอกเบี้ยจาย 571.80 2,737.71 3,309.51

1.73 2.49

หนวย : ลานบาท 1 ม.ค.-31 ธ.ค.55 285.72

2,739.44 3,312.00

2,899.37 3,185.09

6.31 ผลการดําเนินงานของ กฟผ. ผลการดําเนินงานของ กฟผ. ประจําป 2556 มีกําไรสุทธิจํานวน 37,786.82 ลานบาท กฟผ. ไดบันทึกประมาณการคาใชจาย และหนี้สินโบนัสพนักงานและกรรมการ ในงบการเงินประจําป 2556 จํานวน 4,560.23 ลานบาท ในเดือน เมษายน และพฤษภาคม 2556 กระทรวงการคลังไดอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิของ กฟผ. ประจําป 2555 เพื่อ จา ยเปน โบนัสพนักงานและกรรมการ จํานวน 4,139.80 ลานบาท ซึ่งกฟผ. ไดบันทึก ประมาณการโบนัส ในงบการเงิน ป 2555 จํานวน 4,087.97 ลานบาท ดังนั้น กฟผ. จึงไดบันทึกผลตางจากการประมาณการ จํา นวน 51.83 ลา นบาท ไปเพิ่ม คาใชจายของป 2556 6.32 คาใชจายตามลักษณะ หนวย : ลานบาท งบการเงินรวม คาซื้อไฟฟา

งบการเงินเฉพาะ กฟผ.

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

1 ม.ค.-31 ธ.ค.56

1 ม.ค.-31 ธ.ค.55

240,967.69

209,206.82

289,284.49

261,334.91

(36,754.40)

(24,888.54)

(36,754.40)

(24,888.54)

173,561.05

178,959.54

137,574.11

141,818.76

350.59

391.89

147.20

145.47

28,164.06

29,465.42

27,729.33

29,001.72

25,473.99

24,713.86

22,135.57

21,297.41

528.37

559.80

220.40

222.39

6,402.63

7,342.37

5,505.99

5,290.77

57,037.67

47,725.82

54,992.23

46,170.25

495,731.65

473,476.98

500,834.92

480,393.14

งานที่กิจการทําและถือเปน รายจายฝายทุน วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไป คาตอบแทนผูบริหาร คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ คาตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน คาจางเหมาและคาซอม คาใชจายอื่น รวม

200

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 63 7. กองทุนพัฒนาไฟฟา พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ไดมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550 กําหนดใหมีการ จัด ตั้ง กองทุน พัฒ นาไฟฟา โดยมีวัต ถุป ระสงคเ พื่อ เปน ทุน สนับ สนุน ใหมีก ารใหบ ริก ารไฟฟา ไปยัง ทอ งที่ตา ง ๆ อยา งทั่ว ถึง เพื่อกระจายความเจริญไปสูทองถิ่น พัฒนาชุมชนในทองถิ่นที่ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานของโรงไฟฟา เปนตน ทั้งนี้ให คณะกรรมการกํ า กับ กิจ การพลัง งาน (กกพ.) มีอํ า นาจหนา ที ่บ ริห ารและกํ า กับ ดูแ ลกองทุน ซึ ่ง กกพ. ไดม ีป ระกาศ คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน เรื่อง การนําสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟาสําหรับผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ประเภทใบอนุญาตผลิตไฟฟา พ.ศ. 2553 กําหนดใหผูรับใบอนุญาตผลิตไฟฟานําสงเงินเขากองทุนแบงเปน 2 ชวง ดังนี้ 1. ระหวา งการกอ สรา งโรงไฟฟา นับ จากวัน ที ่เ ริ ่ม ดํ า เนิน การกอ สรา งโรงไฟฟา ตามสัญ ญาวา จา งผู ร ับ เหมา เพื ่อ ดํ า เนิน การกอ สรา งและตามที ่กํ า หนดไวใ นใบอนุญ าตผลิต ไฟฟา จนถึง วัน ที ่เ ริ ่ม จา ยไฟฟา เขา ระบบเชิง พาณิช ย (Commercial Operation Date “COD”) ใหนําสงเปนรายป โดยคํานวณจํานวนเงินที่นําสงตามประมาณการกําลังผลิต ติด ตั้ง ของโรงไฟฟา ในอัต ราหา หมื่น บาทตอ เมกะวัต ตตอ ป หากปใ ดมีก ารกอ สรา งไมค รบป ใหนํา สง ตามสัด สว นของเดือ น ที่ทาํ การกอสรางในปนั้น ทั้งนี้ตองไมนอยกวาปละหาหมื่นบาท 2. ระหวา งการผลิต ไฟฟา นับ จากวัน ที่เ ริ่ม จา ยไฟฟา เขาระบบเชิง พาณิช ยเ ปน ตน ไป ใหนํา สง เปน รายเดือ น โดย คํา นวณจํา นวนเงิน ที่นํา สง ตามปริม าณพลัง งานไฟฟา ที่ผ ลิต เพื่อ จํา หนา ยและใชเ อง โดยไมร วมถึง พลัง งานไฟฟา ที ่ใ ชใ น กระบวนการผลิต ภายในโรงไฟฟา (Station Service) โดยจํา แนกตามชนิด ของเชื้อ เพลิง ที่ใ ชใ นการผลิต ไฟฟา เชน กาซธรรมชาติ น้ํามันเตา ดีเซล ถานหิน ลิกไนต เปนตน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 และ 2555 กฟผ. ไดประมาณการคาใชจายสําหรับเงินสมทบกองทุนพัฒนา ไฟฟาในสวนของโรงไฟฟาของ กฟผ. โดยบันทึกไวในคาใชจายในการผลิตไฟฟาจํานวน 954.46 และ 1,039.01 ลานบาท ตามลําดับ 8. สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น สัญญาซื้อขายไฟฟาโครงการโรงไฟฟาน้าํ เทิน 2 และโครงการโรงไฟฟาน้ํางึม 2 ตั้ ง แต ป 2553 กฟผ. ได ทํ า สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ า โครงการโรงไฟฟ า น้ํ า เทิ น 2 และโครงการโรงไฟฟ า น้ํ า งึ ม 2 ในสาธารณรัฐประชาชนลาว (สปป. ลาว) โดยมีการระบุในสัญญาเรื่อง การรับประกันการซื้อไฟฟาตามจํานวนหนวยเปาหมายรายป เฉลี่ยตลอดอายุสัญญา (Annual Supply Target) ที่ตกลงกัน หากโรงไฟฟาสงพลังงานไฟฟาสูงกวาเปาหมาย (Supply Excess) ทางโรงไฟฟาจะไมทํา Invoice เรียกเก็บเงินจาก กฟผ. ในสวนของพลังงานไฟฟาที่เกินกวาเปาหมาย แตจะเก็บจํานวนหนวยสะสม ไวรอการ Set off ในปตอ ๆ ไป เมื่อโรงไฟฟาสงพลังงานไฟฟาต่ํากวา Annual Supply Target (เมื่อเกิด Supply Shortfall) ในทางตรงกันขาม หาก กฟผ. สั่งเดินเครื่องต่ํากวาปริมาณที่ กฟผ. รับประกันการซื้อ (Dispatch Shortfall) ทางโรงไฟฟาจะมี Invoice เรียกเก็บเงินเปนจํานวนเงินเทากับที่ กฟผ. รับประกันซื้อ โดย กฟผ. จะชําระเงินกอนและมีสิทธิที่จะนําหนวยไฟฟาไป Make Up ไดในเดือนตอไป กรณีที่ กฟผ. รับพลังงานไฟฟาที่สูงกวาเปาหมาย (Supply Excess) กฟผ. จะไดประโยชนจากหนวยที่เก็บสะสมไว รอการ Set off กลาวคือ ระหวาง Period ของสัญญา หากไมเกิด Supply Shortfall กฟผ. จะชําระคาไฟฟาคงคางสําหรับ พลังงานไฟฟาที่สูงกวาเปาหมายดวยอัตราคาไฟฟาสวนเกินซึ่งต่ํากวาอัตราคาไฟฟาปกติ (โครงการโรงไฟฟาน้ําเทิน 2 ราคา 0.57 บาท โครงการโรงไฟฟาน้ํางึม 2 ราคา 1.145 บาท) เมื่อสิ้น Period ซึ่งตามสัญญาของโรงไฟฟาน้ําเทิน 2 คือ วันครบปที่ 13 นับจากวันที่ 8 มีนาคม 2553 และโรงไฟฟาน้ํางึม 2 คือ ปที่ 10 นับจากเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย ทั้งนี้ทั้ง 2 โครงการตองรวมถึง ระยะเวลาที่ขยายไปเนื่องจากเหตุสุดวิสัยที่เกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาวดวย

201


- 64 นอกจากนี้จํานวนเงินคาซื้อไฟฟาคงคางที่จะจายชําระเมื่อสิ้น Period ดังกลาวขางตน กฟผ. จะไดรับเงินคืนอีกรอยละ 25 ของจํานวนดังกลาว ซึ่งคํานวณจากยอด Accumulated Supply Excess บวกคา Excess Energy หรือ Excess Revenue หักดวย Accumulated Dispatch Shortfall ซึ่งขณะนี้ กฟผ. ยังไมอาจประมาณมูลคาไดเนื่องจาก กฟผ. ยังไมมีความแนนอนในเรื่อง จํานวนเงินของสินทรัพยที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 9. หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ไมไดรวมอยูในงบการเงินเฉพาะ กฟผ. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ไดแก คดีที่ กฟผ. ถูกฟองเปน จําเลย โดยคดีดังกลาวอยูระหวางการอุทธรณของ กฟผ. ดังนี้ 1. คดีที่ราษฎรและผูเสียหายเรียกรองคาทดแทนสิทธิการใชที่ดินและการละเมิด ซึ่งศาลชั้นตนไดตัดสินให กฟผ. ชดใช จํานวน 32 คดี เปนจํานวนเงิน 109.02 ลานบาท 2. คดีที่ ราษฎรไดรั บผลกระทบจากการที่ กฟผ. ปล อยฝุ นละอองและก าซซั ลเฟอรไดออกไซด เมื่อวั นที่ 4 มีนาคม 2552 ศาลปกครองเชียงใหมไ ดพิพ ากษาให กฟผ. ชดใชคา สิน ไหมทดแทนเปน คา เสื่อ มสุข ภาพอนามัย และจิต ใจแกร าษฎรที่อ ยูใ น พื้นที่จริง จํานวน 131 ราย สวนใหญรายละ 246,900 บาท กฟผ. ไดประมาณเงินที่ตองชดใชเปนเงินตน จํานวน 24.72 ลานบาท (ไมรวมดอกเบีย้ ) 3. คดีที่ ร าษฎรฟ อ งการทํ า เหมื องถ านหิ นของ กฟผ. เมื่ อวั นที่ 4 มี นาคม 2552 ศาลปกครองเชี ยงใหม ไ ดพิ พ ากษา คดีราษฎรฟองการทําเหมืองถานหินของ กฟผ. ไมเปนไปตามเงื่อนไขในประทานบัตร และมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบ สิ่งแวดลอมซึ่งศาลไดพิพากษาให กฟผ. ดําเนินการตามมาตรการตาง ๆ ไดแก การอพยพหมูบาน การปลูกปาทดแทนในพื้นที่ทํา สนามกอลฟ การลดปญหาฝุนละออง และการรายงานการตรวจสอบสภาพสิ่งแวดลอม (E.A.) ทุก 2 ป ซึ่งกรณีความเสียหาย ไมปรากฏวา การฝาฝนของ กฟผ.ทําใหรัฐและผูฟองคดีเสียหายอยางไร จึงไมกําหนดคาเสียหายให 10. ภาระผูกพัน 10.1 ภาระผูกพันสัญญาซื้อไฟฟาระยะยาว เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายลดภาระการลงทุน ภาครัฐ และจะสงเสริ มใหเอกชนเขามาลงทุ นดําเนินธุรกิจผลิตไฟฟ า จึงกําหนดใหมีการลงทุนโดยเอกชนในการผลิตไฟฟาในรูปแบบของผูผลิตไฟฟาอิสระ (Independent Power Producer หรือ เรียกยอวา IPP) ในโครงการใหม โดยจะขายไฟฟาใหแก กฟผ. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กฟผ. มีสัญญาซื้อขายไฟฟาจากเอกชน จํานวน 96 ราย กําลังผลิตรวม 27,526 เมกะวัตต และมีภาระผูกพันจนสิ้นสุดทุกสัญญาเปนเงินรวมประมาณ 9,650,895 ลานบาท มีรายละเอียดดังนี้

202

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 65 จํานวนเงิน กําลังผลิต ผูผลิตไฟฟา

จํานวนราย

(เมกะวัตต)

อายุสญ ั ญาคงเหลือ

(ลานบาท)

คาความพรอม

คาพลังงาน

จายพลังงาน(AP)

ไฟฟา(EP)

(ลานบาท)

(ลานบาท)

ผูผลิตไฟฟาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว บริษัท เทิน-หินบุน เพาเวอร จํากัด

1

434

26 ป (ป 2557 - 2582)

123,067

-

123,067

บริษัท หวยเฮาะ เพาเวอร จํากัด

1

126

16 ป (ป 2557 - 2572)

16,119

-

16,119

โครงการน้ําเทิน 2

1

920

22 ป (ป 2557 - 2578)

190,235

-

190,235

โครงการน้ํางึม 2

1

454

24 ป (ป 2557 - 2580)

103,588

-

103,588

โครงการหงสาลิกไนต

1

1,473

27 ป (ป 2558 - 2584)

525,083

โครงการไซยะบุรี

1

871

29 ป (ป 2562 - 2590)

414,185

-

414,185

โครงการน้ําเงีย้ บ 1

1

249

28 ป (ป 2562 - 2589)

94,115

-

94,115

โครงการเซเปยน-เซน้ํานอย

1

349

28 ป (ป 2562 - 2589)

102,983

-

102,983

1

1,161

1 ป (ป 2557 - 2557)

12,019

1,917

10,102

บริษัท ผลิตไฟฟาขนอม จํากัด (KEGCO)

1

748

3 ป (ป 2557 - 2559)

38,974

3,721

35,253

บริษัท ไตร เอนเนอจี้ จํากัด (TECO)

1

700

7 ป (ป 2557 - 2563)

73,176

5,216

67,960

บริษัท อิสเทิรนเพาเวอร จํากัด (EPEC)

1

350

10 ป (ป 2557 - 2566)

59,780

9,302

50,478

บริษัท โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (GPSC)

1

700

12 ป (ป 2557 - 2568)

139,910

17,636

122,274

บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรี จํากัด (RGCO)

1

3,481

14 ป (ป 2557 - 2570)

823,318

116,124

707,194

บริษัท โกลวไอพีพี จํากัด (GIPP)

1

713

14 ป (ป 2557 - 2570)

176,188

22,150

154,038

บริษัท กัลฟเพาเวอรเจเนอรเรชั่น จํากัด (GULF)

1

1,468

20 ป (ป 2557 - 2576)

528,132

77,922

450,210

บริษัท ราชบุรเี พาเวอร จํากัด (RPCL)

1

1,400

20 ป (ป 2557 - 2576)

529,286

63,202

466,084

บริษัท บีแอลซีพี เพาเวอร จํากัด (BLCP)

1

1,347

19 ป (ป 2557 - 2575)

251,726

86,397

165,329

บริษัท เก็คโค-วัน จํากัด (GHECO ONE)

1

660

24 ป (ป 2557 - 2580)

319,555

107,386

212,169

บริษัท กัลฟ เจพี ยูที จํากัด (GUT)

1

1,600

25 ป (ป 2558 - 2582)

765,954

119,149

646,805

1

1,600

26 ป (ป 2557 - 2582)

764,771

107,007

657,764

ผูผลิตไฟฟารายยอย (Small Power Producer : SPP)

75

6,722

3,598,731

660,901

2,937,830

รวม

96

27,526

9,650,895

1,717,080

7,933,815

319,050

206,033

ผูผลิตไฟฟาอิสระ (Independent Power Producer : IPP) บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) (EGCO) เดิม บริษัท ผลิตไฟฟาระยอง จํากัด (REGCO)

เดิม บริษัท ผลิตไฟฟาอิสระ (ประเทศไทย) จํากัด ( IPT)

เดิม บริษัท สยาม เอ็นเนอรจี จํากัด (SEC) บริษัท กัลฟ เจพี เอ็นเอส จํากัด (GNS) เดิม บริษัท เพาเวอร เจเนอเรชั่น ซัพพลาย จํากัด (PGS) 6 - 26 ป

203


- 66 -

10.2 สัญญาซื้อขายเชื้อเพลิง กฟผ. มี ภ าระผู ก พั น ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายเชื้ อ เพลิ ง จํา นวนรวม 7 สั ญ ญา ดังนี้ 10.2.1 สัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติสําหรับโรงไฟฟา 4 สัญญา วงเงินตามสัญญาประมาณ 1,803,702 ลานบาท โดย มีอายุสัญญาคงเหลือตั้งแต 1 ป 11.5 เดือน จนถึง 18 ป 8 เดือน จํานวนเงินคงเหลือตามสัญญาตั้งแตวันสิ้นงวดจนสิ้นสุดสัญญา ประมาณ 464,425 ลานบาท 10.2.2 สัญญาซื้อขายน้ํามันจํานวน 3 สัญญา ประกอบดวย - สัญญาซื้อขายน้ํามันเตาในปจจุบันไดสิ้นสุดลงแลว อยางไรก็ตาม กฟผ. ไดตออายุสัญญาออกไปจนกวาสัญญา ฉบับใหมจะมีผลบังคับใช จํานวนเงินตามสัญญาประมาณ 14,837 ลานบาท - สัญญาซื้อขายน้ํามันดีเซลที่ใชในการผลิต จะมีการตออายุสัญญาออกไปจนกวา กฟผ. จะแจงยกเลิก จํานวน เงินตามสัญญาประมาณ 2,102 ลานบาท - สัญญาซื้อขายน้ํามันเชื้อเพลิงยานพาหนะ จะมีการตออายุสัญญาออกไปจนกวา กฟผ. จะแจงยกเลิก จํานวน เงินตามสัญญาประมาณ 235 ลานบาท 10.3 สัญญาซื้อจาง กฟผ. มีภาระผูกพันตามสัญญาซื้อจางในประเทศ และสัญญาซื้อจางตางประเทศ โดยมีจํานวนสัญญา วงเงินตามสัญญา อายุสัญญาคงเหลือ และจํานวนเงินคงเหลือตามสัญญา โดยสรุปดังนี้ 10.3.1 สัญญาซื้อจางในประเทศจํานวน 265 สัญญา วงเงินตามสัญญาประมาณ 51,762.62 ลานบาท อายุสัญญา คงเหลือ 0.5 เดือน ถึง 8 ป 5.5 เดือน จํานวนเงินคงเหลือตามสัญญาประมาณ 28,868.80 ลานบาท 10.3.2 สัญญาซื้อจางตางประเทศจํานวน 161 สัญญา วงเงินตามสัญญาประมาณ 84,472.19 ลานบาท โดยบางสัญญา อายุสัญญาคงเหลือ 0.5 เดือน ถึง 3 ป 6.5 เดือน แตบางสัญญาไมไดกําหนดอายุของสัญญาไว จํานวนเงินคงเหลือตามสัญญาประมาณ 36,849.47 ลานบาท จากการแปลงคาสกุลเงินตราตางประเทศโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชยซื้อขายกับลูกคา ประจําวันที่ 27 ธันวาคม 2556 ตามประกาศของธนาคารแหงประเทศไทย 10.4 Letter of Credit จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2556 กฟผ. มียอดเงินคงเหลือของ Letter of Credit ที่ยังไมหมดอายุทั้งหมดประมาณ 15,512.58 ลานบาท 11. การเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน กฟผ. ไดใชเครื่องมือทางการเงิน เพื่อลดความไมแนนอนจากปจจัยภายนอกที่ไ มสามารถควบคุมได เครื่องมือหลักที่ใช ในการลดความเสี่ยง คือ สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย และสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา

204

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 67 11.1 สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย กฟผ. ใชสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ยในการลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและ ความไมแนนอนของอัตราดอกเบี้ย ซึ่งเกิดจากภาระหนี้ที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ สัญญาแลกเปลี่ยนนี้จะไมรับรูในงบการเงิน ณ วันทําสัญญา กฟผ. ไดทําสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย โดยสัญญามีอายุระหวาง 4 - 10 ป ตามเงื่อนไขที่มีอยู และเงินตนของสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้ หนวย : ลานบาท 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 เงื่อนไขของสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและอัตราดอกเบี้ย 6,712 ลานเยน ตอ 2,456 ลานบาท 153.54 153.54 อายุของสัญญาจําแนกไดดังนี้

เกิน 5 ป

หนวย : ลานบาท 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 153.54 153.54

11.2 สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา กฟผ. ใชสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อการลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนในการ ชําระคืนเงินกูตางประเทศ คาซื้อกระแสไฟฟาจากตางประเทศ คาสินคาและบริการ สัญญาดังกลาวเปนขอตกลงในการซื้อเงินตรา ต า งประเทศตามอั ต ราแลกเปลี่ ย นที่ ต กลงกั น ณ วั น ที่ ใ นอนาคตที่ ร ะบุ ไ ว สั ญ ญาซื้ อ เงิ น ตราต า งประเทศล ว งหน า จะ ไมรับรูในงบการเงิน ณ วันทําสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 กฟผ. มีสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งมีราคาตามบัญชีและอัตราแลกเปลี่ยน ตามสัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา ดังนี้ หนวย : ลานบาท 31 ธ.ค.56 31 ธ.ค.55 65.54 อัตราแลกเปลี่ยน 32.772 บาทตอ 1 ดอลลารสหรัฐ 65.54 -

205


- 68 11.3 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลคาตามสัญญาและมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาว และอนุพันธทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มีดังนี้ หนวย : ลานบาท 31 ธ.ค.56

31 ธ.ค.55

ราคา

มูลคา

ราคา

มูลคา

ตามสัญญา

ยุติธรรม

ตามสัญญา

ยุติธรรม

เงินกูยืมระยาวในประประทศ

69,333.49

71,093.64

60,870.24

64,210.01

เงินกูยืมระยะยาวตางประเทศ

1,562.88

1,584.27

1,852.28

1,897.67

สัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและ อัตราดอกเบี้ย สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา

-

-

-

4.59

-

(0.12)

-

-

กฟผ. คํานวณมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาว และตราสารอนุพันธ รวมทั้งพันธบัตรที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่โดยใช มูลคาปจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดที่ใชอัตราคิดลดที่มีเงื่อนไขที่ใกลเคียงกัน สําหรับสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงินและ อัตราดอกเบี้ย และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย คํานวณโดยธนาคารซึ่งเปนคูสัญญากับ กฟผ. 12. เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 กฟผ. ไดแตงตั้งธนาคารไทยพาณิชยเปนที่ปรึกษาทางการเงินเพื่อทําการศึกษา กําหนดโครงสราง และแนวทางในการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานสําหรับโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหนือชุดที่ 1 เพื่อเปนทางเลือกในการ ระดมทุนโดยไมกอใหเกิดหนี้สาธารณะ ซึ่ง กฟผ. ยังคงเปนเจาของและมีอํานาจในการบริหารจัดการแผนการเดินเครื่อง และการ บํารุงรักษาโรงไฟฟาพลังความรอนรวมพระนครเหนือชุดที่ 1 เหมือนเดิม ทั้งนี้ รูปแบบโครงสรางและแนวทางในการจัดตั้งกองทุนรวม ถูกกําหนดใหเปนเครื่องมือในการระดมเงินทุนเทานั้น ไมนําไปสูการแปรรูป กฟผ. โดยในเบื้องตนคาดวาจะสามารถศึกษารูปแบบการ จัดตั้งกองทุนรวมแลวเสร็จภายใน 120 วัน เพื่อนําเสนอตอคณะรัฐมนตรีพิจารณา และสามารถเสนอขายไดภายใน 180 วัน หลังจากที่ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบใหดําเนินการจัดตั้งกองทุนรวมดังกลาว ในขณะนี้อยูระหวางการศึกษารูปแบบการสงผานรายไดใหกองทุนรวม เพื่อนําเสนอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ เพื่อใหความเห็นชอบในสวนของงบโรงไฟฟาพลังความรอนรวม พระนครเหนือชุดที่ 1 ไดจางที่ปรึกษา บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส (PWC) เปนผูดําเนินการ และขณะนี้อยูระหวางการรวบรวม ขอมูลเพื่อการจัดทํางบการเงินเบื้องตน

206

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด


- 69 13. การจัดประเภทรายการใหม กฟผ. ได จั ดประเภทบั ญชี บางรายการในงบการเงิ น สํ าหรั บป สิ้ นสุ ดวั นที่ 31 ธั นวาคม 2555 ใหม เพื ่อ ใหส อดคลอ งกับ การแสดงรายการในงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 14. วันที่ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงิน ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย อนุมัติใหออกงบการเงินในวันที่ 24 มีนาคม 2557

207


ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี กฟผ. ได้ให้ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีส�ำหรับปีบัญชี 2556 โดยมี ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายดังนี้ ค่าธรรมเนียมสอบทานงบการเงินรายไตรมาส ไตรมาสละ 500,000 บาท รวม 3 ไตรมาส เป็นเงิน 1,500,000 บาท ค่าธรรมเนียมตรวจสอบงบการเงินส�ำหรับรอบระยะเวลา บัญชีประจ�ำปี 2556 เป็นเงิน 2,200,000 บาท และค่าธรรมเนียมตรวจสอบงบการเงินในแต่ละธุรกิจ (Account Unbundling) ประจ�ำปี 2556 เป็นเงิน 320,000 บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 4,020,000 บาท

208

ผู้น�ำเทคโนโลยีพลังงานสะอาด




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.