EGAT Magazine | ม.ค. - ก.พ. 2558

Page 35

๓๔

ในปี ๒๕๔๐ ฝ่ า ยระบบควบคุ ม และป้ อ งกั น ได้ มี แนวคิ ด ในการพั ฒ นา EGAT RTU เพื่ อ ทดแทน การนำ�เข้าจากต่างประเทศ ซึ่ง EGAT RTU นี้ได้ผ่าน การพัฒนามาจากผู้ปฏิบัติงานในฝ่ายระบบควบคุม และป้องกันมาถึง ๓ รุ่นด้วยกัน โดยรุ่นล่าสุดคือ รุน่ ที่ ๔ นี้ ทัง้ ๓ ท่านได้เข้ามาทำ�การออกแบบปรับปรุง ซอฟต์ แวร์ แ ละฮาร์ ด แวร์ ใ หม่ โดยใช้ เ ทคโนโลยี ที่ทันสมัยกับปัจจุบัน โดยเพิ่มระบบ Redundant หรือระบบสำ�รองภายในตัวเอง ใช้กับสถานีไฟฟ้า แรงสูงใหม่ กฟผ. ที่ถูกออกแบบให้ไม่มีแผงควบคุม Control Board ซึ่งมีข้อดีคือ หาก RTU เกิดเหตุ ขัดข้อง ระบบ Redundant นี้จะสามารถทำ�งาน ทดแทนกันได้แบบทันทีทนั ใด ส่งผลให้ระบบส่งไฟฟ้า ของ กฟผ. มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ ลดปัญหา การเกิดไฟตกหรือดับได้เป็นอย่างดี EGAT RTU นี้ ได้มีการนำ�ไปใช้งานจริงในสถานี ไฟฟ้าแรงสูง ตั้งแต่ปี ๒๕๔๖ จนถึงปัจจุบัน รวมกว่า ๑๕๔ สถานี ส่ ง ผลให้ กฟผ. สามารถประหยั ด

มกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

งบประมาณการนำ�เข้า RTU จากต่างประเทศได้ถึง ๘๔๓,๕๙๘,๘๓๕ บาท และยังสามารถสร้างรายได้ ให้ กั บ กฟผ. โดยจำ � หน่ า ยแก่ ภ าคเอกชน เช่ น โรงไฟฟ้าเอกชน และอุตสาหกรรมทั่วไปได้อีกด้วย อีกทั้งเป็นการพัฒนาความรู้ของบุคลากรและเพิ่ม เทคโนโลยีให้แก่ กฟผ. ให้สามารถดำ�เนินการภารกิจ ผลิ ต และส่ ง ไฟฟ้ า ได้ อ ย่ า งมั่ น คง มี เ สถี ย รภาพ ภายใต้การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.