9
8
สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของประเทศ
[G4-EN1]
กฟผ. มีการบริหารจัดการการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้มีความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้า และราคาค่าไฟที่เหมาะสม โดยมีการกระจายเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ดังนี้
- ก๊าซธรรมชาติ -
- ถ่านหิน -
- พลังน�้ำ -
ยุทธศาสตร์ความรับผิดชอบต่อสังคม ตามที่สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) มอบนโยบายให้หน่วยงานรัฐวิสาหกิจนำ�มาตรฐาน ISO 26000 มากำ�หนดเป็นยุทธศาสตร์ในการดำ�เนินงานที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม กฟผ. จึงได้ทบทวนและจัดทำ�แผนแม่บทความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน ISO 26000 โดยมีกรอบยุทธศาสตร์หลัก (Strategic Theme) 4 ด้าน คือ
เสริมสร้างความยั่งยืนของพลังงานไฟฟ้า 66.76%
118,559.38 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
20.11%
35,711.92 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
2.91%
5,164.03 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
- นํ้ามันเตา -
- ซื้อจากต่างประเทศ -
มุ่งเน้นการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ การพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน และการพัฒนาโรงไฟฟ้าชุมชน
สร้างการมีส่วนร่วมและความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มุ่งเน้นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับสังคมและกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ
6.91%
12,267.94 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
- นํ้ามันดีเซล -
1.00%
เชื่อมโยงบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ระดับบุคคลในเชิงรุก
1,768.73 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
- พลังงานทดแทน -
มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีจิตอาสาผ่านกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ
- นํ้ามันปาล์ม -
พัฒนาสมรรถภาพในกระบวนงานให้มีความรับผิดชอบ ต่อสังคมสู่มาตรฐานสากล 0.07%
121.48 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
2.24%
3,981.30 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
0.00%
มุ่งเน้นการส่งเสริมการดำ�เนินงานของกระบวนการหลักให้มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม (CSR in Process) ตามมาตรฐาน ISO 26000 การดำ�เนินงานโครงการ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
5.69 ล้านกิโลวัตต์-ชั่วโมง
เพื่อให้กรอบยุทธศาสตร์ดังกล่าวถูกถ่ายทอดจากระดับองค์การลงสู่ระดับสายงาน จึงมีการเชื่อมโยงเข้ากับยุทธศาสตร์หลัก และเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ขององค์การในแผนวิสาหกิจ กฟผ. ยกตัวอย่างในปี 2557 เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ “เป็นองค์การที่ ห่วงใยสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม” โดยมีแผนปฏิบัติการความรับผิดชอบต่อสังคมรองรับ และมีการรายงานผลต่อคณะกรรมการ ธรรมาภิบาลรายไตรมาสและคณะกรรมการ กฟผ. ทุก 6 เดือน