คู่มือครูฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 1 โมดูล 3

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คูมือครูฝก 0920162070801 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 3 09207203 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คํา นํา

คูมือครูฝกสาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 3 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม ฉบับ นี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลัก สูตรฝก อบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหมีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไป ตามมาตรฐานที่กาํ หนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรม ที่ ส ามารถรองรั บ การพั ฒ นารายบุ ค คลได เ ป น อย า งดี นอกจากนี้ เนื้ อ หาวิ ช าในหลั ก สู ต รการฝก ตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผ านสือ่ สิง่ พิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒ นาฝมือ แรงงานใหแกกําลัง แรงงานในระยะยาว จึง ถือ เปนรูปแบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 3 09207203 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0920720301 เครื่องเชื่อม และวงจรไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0920720302 เทคนิคการเชื่อม

22 51

คณะผูจัดทําโครงการ

75

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบียนแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบียนแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกทีล่ งทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6. ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรบั จากผูทสี่ นใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7. ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูส มัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8. ครูฝกคัดเลือกผูส มัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรบั 9. เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ขอเขารับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือ เขารับ การฝก ในโมดูล ถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบตั ิ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070801

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกใน สาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมฟลเล็ท ตําแหนงทาเชื่อม PB PF PD และ D150PH 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกทีข่ ึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหาร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขา ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

รหัสหลักสูตร 0920162070801 การใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม รหัสโมดูลการฝก 09207203 รวม 3 ชั่วโมง ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกชนิดของเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. บอกขั้นตอนการติดตั้งเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกขั้นตอนการทํางานของระบบเครื่องเชื่อมและอุปกรณไดอยางถูกตอง 4. บอกการปรับคาพารามิเตอรในการใชเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. บอกความสัมพันธระหวางแรงดันและกระแสไฟฟา (Volt-Amperage Characteristic) ไดอยางถูกตอง 6. บอกวัฏจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง 7. บอกความตานทานของไฟฟาของสายเชื่อมและขอตอไดอยางถูกตอง 8. บอกการตอขั้วสายไฟเชื่อมกับชิ้นงานไดอยางถูกตอง 9. บอกการเลือกใช การบํารุงรักษา และการตรวจสอบอุปกรณ เชน หัวเชื่อม สายเชื่อม อุปกรณปรับกระแส (Remote Control) ขั้วเชื่อม ขอตอสายเชื่อม ไดอยางถูกตอง 10. บอกชนิดของกระแสไฟฟาเชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) ไดอยางถูกตอง 11. บอกขนาดและสัญลักษณสีของทอแกส อุปกรณปรับความดันและมาตรวัดอัตราการไหล ของแกสไดอยางถูกตอง 12. บอกประเภทของการอารกแบบลัดวงจร (Short-Arc Transfer) การอารกแบบหยด (Globular-Arc Transfer) การอารกแบบสเปรย (Spray-Arc Transfer) ไดอยางถูกตอง 13. บอกหลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 14. บอกคากระแสและแรงดันไฟฟา อัตราและความเร็วปอนลวดสําหรับการเชื่อมแม็ก ไดอยางถูกตอง 15. บอกประเภท ขนาด สมบัติของหัวฉีด (Nozzle) ทอนํากระแส (Contact Tube) และการบํารุงรักษาไดอยางถูกตอง 16. บอกการปองกันและการแกไขการบิดตัวของความเคนตกคางไดอยางถูกตอง 17. บอกความสัมพันธระหวางทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อมไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

18. บอกผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 19. บอกหลักการของระบบพัลส (Pulse System) ไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกชนิดของเครื่องเชื่อม หัวขอที่ 1 : เครื่องเชื่อม และวงจรไฟฟา 2:00 2:00 ไดอยางถูกตอง 2. บอกขั้นตอนการติดตั้ง เครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกขั้นตอนการทํางานของ ระบบเครือ่ งเชื่อมและอุปกรณ ไดอยางถูกตอง 4. บอกการปรับคาพารามิเตอร ในการใชเครื่องเชื่อม ไดอยางถูกตอง 5. บอกความสัมพันธระหวาง แรงดันและกระแสไฟฟา (VoltAmperage Characteristic) ไดอยางถูกตอง 6. บอกวัฏจักรการทํางาน (DutyCycle) ของเครือ่ งเชื่อม ไดอยางถูกตอง 7. บอกความตานทานของไฟฟา ของสายเชื่อมและขอตอ ไดอยางถูกตอง 8. บอกการตอขั้วสายไฟเชื่อมกับ ชิ้นงานไดอยางถูกตอง 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

9. บอกการเลือกใช การบํารุงรักษา และ การตรวจสอบอุปกรณ เชน หัวเชื่อม สายเชื่อม อุปกรณ ปรับกระแส (Remote Control) ขั้วเชื่อม ขอตอ สายเชื่อม ไดอยางถูกตอง 10. บอกชนิดของกระแสไฟฟา เชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) ไดอยางถูกตอง 11. บอกขนาดและสัญลักษณสีของ ทอแกส อุปกรณปรับความดัน และมาตรวัดอัตราการไหลของ แกสไดอยางถูกตอง 12. บอกประเภทของ หัวขอที่ 2 : เทคนิคการเชื่อม การอารกแบบลัดวงจร (Short-Arc Transfer) การอารกแบบหยด (Globular-Arc Transfer) การอารกแบบสเปรย (SprayArc Transfer) ไดอยางถูกตอง 13. บอกหลักการพื้นฐานของ การเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 14. บอกคากระแสและ แรงดันไฟฟา อัตราและ ความเร็วปอนลวดสําหรับ การเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 15. บอกประเภท ขนาด สมบัติของ หัวฉีด (Nozzle) ทอนํากระแส (Contact Tube) และ การบํารุงรักษาไดอยางถูกตอง 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

-

1:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

16. บอกการปองกันและการแกไข การบิดตัวของความเคนตกคาง ไดอยางถูกตอง 17. บอกความสัมพันธระหวาง ทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อม ไดอยางถูกตอง 18. บอกผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อม ไดอยางถูกตอง 19. บอกหลักการของระบบพัลส (Pulse System) ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

3:00

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

-

3:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0920720301 เครื่องเชื่อม และวงจรไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

บอกชนิดของเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกขั้นตอนการติดตั้งเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกขั้นตอนการทํางานของระบบเครื่องเชื่อม และอุปกรณไดอยางถูกตอง บอกการปรับคาพารามิเตอรในการใชเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกความสัมพันธระหวางแรงดัน และกระแสไฟฟา (Volt-Amperage Characteristic) ไดอยางถูกตอง บอกวัฏจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อมไดอยางถูกตอง บอกความตานทานของไฟฟาของสายเชื่อม และขอตอไดอยางถูกตอง บอกการตอขั้วสายไฟเชื่อมกับชิ้นงานไดอยางถูกตอง บอกการเลือกใช การบํารุงรักษา และการตรวจสอบอุปกรณ เชน หัวเชื่อม สายเชื่อม อุปกรณปรับกระแส (Remote Control) ขั้วเชื่อม ขอตอสายเชื่อมไดอยางถูกตอง 10. บอกชนิดของกระแสไฟฟาเชื่อม และชนิดของพัลส (Pulse) ไดอยางถูกตอง 11. บอกขนาดและสัญลักษณสีของทอแกส อุปกรณปรับความดัน และมาตรวัดอัตราการไหลของแกสไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของเครื่องเชื่อม 2. การติดตั้งเครื่องเชื่อม 3. การทํางานของเครื่องเชื่อมและอุปกรณ 4. การปรับคาพารามิเตอร 5. ความสัมพันธระหวางแรงดัน และกระแสไฟฟา (Volt-Amperage Characteristic) 6. วัฏจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อม 7. ความตานทานไฟฟาของสายเชื่อมและขอตอ 8. การตอขั้วสายไฟเชื่อมกับชิ้นงาน 9. การเลือกใช การบํารุงรักษา และการตรวจสอบอุปกรณ 10. ชนิดของกระแสไฟฟาเชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) 11. ทอแกส อุปกรณปรับความดัน และมาตรวัดอัตราการไหลของแกส

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม มนูญ วินทะไชย. ม.ป.ป. งานเชื่อมไฟฟา. : ม.ป.ท. มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. ยุคล จุลอุภัย. ม.ป.ป. เทคโนโลยีการเชื่อมมิก/แมกและฟลักซคอร เลม 1. : ม.ป.ท.

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับเครื่องเชื่อม และ ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน วงจรไฟฟา ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ยนรู ในเรื่อ ง เครื่องเชื่อม 2. ฟง และซักถามขอสงสัย และวงจรไฟฟา ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่อ งเชื่อม และ 1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง เครื่ อ งเชื่ อ ม และ วงจรไฟฟา หนาที่ 16 - 42 วงจรไฟฟา หนาที่ 16 - 42 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่อง เครื่องเชื่อม และวงจรไฟฟา 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม โดยใชวิธีถาม - ตอบกับ ผูรับการฝก และใช เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ความรู เ ดิ ม ของผู รั บ การฝก มาต อ ยอดเปน ความรูใหมพรอมใชสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 23.34 และตัวอยางของจริงประกอบการสอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 ชนิดของเครื่องเชื่อม 2.2 การติดตั้งเครื่องเชื่อม 2.3 ข อ ควรระวั ง ในการติ ด ตั้ ง เครื่ อ ง เชื่อม 2.4 การทํางานของระบบเครื่อ งเชื่อม และอุปกรณ 2.5 การปรับคาพารามิเตอร 2.6 ความสัมพันธระหวางแรงดัน และ กระแสไฟฟ า (Volt-Amperage Characteristic) 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.7 วัฏจัก รการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อม 2.8 ความตานทานไฟฟาของสายเชื่อม และขอตอ 2.9 การตอขั้วสายไฟเชื่อมกับชิ้นงาน 2.10 การเลือ กใช การบํารุงรัก ษา และ การตรวจสอบอุปกรณ 2.11 ชนิ ด ของกระแสไฟฟ า เชื่ อ มและ ชนิดของพัลส (Pulse) 2.12 ทอแกส อุปกรณปรับความดัน และ มาตรวัดอัตราการไหลของแกส 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 40 - 42 โดยครูฝกคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 40 - 42 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 50 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง เครือ่ งเชื่อม และ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน วงจรไฟฟา ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง เครือ่ งเชื่อม และ รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย วงจรไฟฟา เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 เครื่องเชื่อม และวงจรไฟฟา 1. ชนิดของเครื่องเชื่อม เครื่องเชื่อมที่นิยมใชในอุตสาหกรรมงานเชื่อม แบงออกเปน 2 ประเภท ดังตอไปนี้ 1.1 แบงตามลักษณะการจายพลังงานเชื่อม ไดแก 1) เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่ (Constant Current : CC) จะมีแรงเคลื่อนไฟฟาสูงสุดเมื่อไมมีกระแสไฟฟา และเมื่อ กระแสเชื่อ มเพิ่ม ขึ้นสูง แรงเคลื่อ นที่ไฟฟาจะลดต่ําลง นํามาใชง านในการเชื่อ มทิก (TIG) การเชื่อมไฟฟาโลหะดวยมือ (MMAW) เปนตน 2) เครื่องเชื่อมชนิดแรงดันไฟฟาคงที่ (Constant Voltage : CV) เครื่องเชื่อมชนิดนี้จะใหแรงเคลื่อนไฟฟาคงที่ ไมเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดของกระแสเชื่อม สามารถใชกับการเชื่อมแบบกึง่ อัตโนมัติที่ใชระบบการปอนลวด แบบอัตโนมัติ เชน การเชื่อมมิก/แม็ก (MIG/MAG) การเชื่อมฟลักซคอร (FCAW) เปนตน 1.2 แบงตามลักษณะตนกําเนิดกําลังการผลิตของเครื่องเชื่อม ไดแก 1) เครื่องเชื่อมมอเตอรเจนเนอเรเตอร (Generator Welding Machine) เครื่องเชื่อมจะไดรับกระแสตรง จากการปนของมอเตอรไฟฟา หากเปนงานสนามอาจใชเครื่องยนตเบนซินหรือดีเซลขับแทนมอเตอร และเครื่องเชื่อมนี้ควรเชื่อมไดทั้งแบบเชื่อมธรรมดาและเชื่อมแม็กในเครื่องเดียวกัน กรณีของมอเตอรขับ ไมเปนที่นิยมเนื่องจากเสียงดัง ราคาแพง คาบํารุงรักษาสูง ใชกําลังไฟมาก ดังนั้นจึงนิยมใชแบบหมอแปลงแทน 2) เครื่องเชื่อมหมอแปลงไฟฟา (Alternating Current Welding) เครื่องเชื่อมกระแสสลับจะมีหมอแปลงไฟฟา เปนสวนประกอบที่สําคัญ โดยจะแปลงแรงเคลื่อนไฟฟาจากภายนอกใหเปนแรงเคลื่อนสําหรับใชเชื่อม (Welding Voltage) 3) เครื่องเชื่อมแบบเครื่องเรียงกระแส (Rectifier Type DC Welding) ประกอบดวยหมอแปลงและตัวเรียงกระแส (Rectifier) เป นอุ ป กรณ ที่ใช เ ปลี่ยนกระแสสลับใหเปนกระแสตรง โดยใชส ารกึ่งตัวนํา เชน ซิลิคอน (Silicon) และซีลีเนียม (Selenium) สําหรับเปลี่ยนกระแสสลับใหเปนกระแสตรง ซึ่งโลหะกึ่งตัวนําจะยอม ใหก ระแสไหลผา นไดส ะดวกเพีย งทางเดีย วเทา นั้น โดยชุด หมอ แปลงไฟฟา จะทํา หนา ที่เ ปลี่ย น แรงเคลื่อ นไฟฟาที่ตอ เขาเครื่อ ง ใหมีแรงเคลื่อ นไฟฟาต่ํากระแสสูง สวนตัวเรียงกระแส (Rectifier) จะทําหนาที่เรียงกระแสใหไหลเพียงทิศทางเดียว โดยกระแสไฟที่ไหลออกจากเครื่องไปใชในการเชื่อม จะเปนกระแสตรงกลับขั้ว ซึ่งสามารถใหอิเล็กโทรด (Electrode) เปนลบ (-) หรือเปนบวก (+) ก็ได 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

4) เครื่องเชื่อมแบบผสมหมอแปลง - เครื่องเรียงกระแส (Transformer Rectifier Welding Machine) เครื่องเชื่อมแบบหมอแปลงจะผลิตเฉพาะกระแสไฟฟาสลับ ซึ่งใหผลดีกับการเชื่อมดวยลวดเชื่อมบางชนิด เทานั้น แตยัง มีล วดเชื่อมอีก บางชนิดที่ตองเชื่อ มดวยกระแสไฟตรง ผลิตโดยการหมุนเจเนอเรเตอร หรือ ใชเ รคติไฟเออรเ ปลี่ยนกระแสไฟสลับ ใหเ ปนกระแสไฟตรง เครื่อ งเชื่อ มแบบผสมหมอ แปลงเครื่องเรียงกระแสนี้ใชหลักการของเรคติไฟเออรมาตอเขากับหมอแปลง โดยมีสวิตชในการเปลี่ยนขั้วไฟ ซึ่งจะใหกระแสไฟฟาสลับ (AC) เมื่อผานออกมาจากหมอแปลง และจะใหกระแสไฟฟาตรง (DC) เมื่อผาน ออกมาจากเรคติไฟเออร ซึ่งสามารถใชไดกับไฟ 3 เฟส เพื่อเปนการลดปญหาของความไมสมดุลในสายไฟได 5) เครื่องเชื่อมแบบอินเวอรเตอร (Inverter Welding Machine) เปนเครื่องเชื่อมที่ใชวงจรอิเล็กทรอนิกส ในการควบคุมกระแสไฟที่ใชในการเชื่อม โดยกระแสไฟที่ใชเปนแบบกระแสตรง (DC) สามารถทําการเชื่อม ไดทั้ง การเชื่อ มไฟฟาโลหะดว ยมือ (MMAW) การเชื่อ มทิก (TIG) เปนเครื่อ งเชื่อ มที่มีน้ําหนัก เบา และสามารถใชกับไฟฟาที่ใชในบานเรือนได 220 โวลต

ภาพที่ 1.1 เครื่องเชื่อมมอเตอรเจนเนอเรเตอร

ภาพที่ 1.2 เครื่องเชื่อมหมอแปลงไฟฟา

ภาพที่ 1.3 เครื่องเชื่อมแบบเครื่องเรียงกระแส ภาพที่ 1.4 เครื่องเชื่อมแบบผสมหมอแปลง - เครื่องเรียงกระแส

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.5 เครื่องเชื่อมแบบอินเวอรเตอร 2. การติดตั้งเครื่องเชื่อม การติดตั้งเครื่องเชื่อมมีขั้นตอน ดังนี้

ภาพที่ 1.6 อุปกรณประกอบเครื่องเชื่อม 2.1 จัดเตรียมอุปกรณ 1) เตรียมอุปกรณ ไดแก เครื่องเชื่อม ชุดควบคุมการเชื่อม อุปกรณปอนลวด หัวเชื่อม แหลงจายแกสปกปอง สายดิน และลวดเชื่อม 2) ทําความสะอาดอุปกรณตาง ๆ 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3) ตรวจสอบใหส วิตชเ ครื่องเชื่อ มอยูในตําแหนงปด สวิตชเ ลือ กการเชื่อมอยูตําแหนง “Continuous” ปุมปรับความเร็วลวดเชื่อมอยูที่ 0 2.2 ประกอบสายดิน 1) เสียบขอตอสายดินเขากับขอตอสายดินที่เครื่องเชื่อมใหแนน 2) นําคีมคีบสายดินยึดกับโตะเชื่อม 2.3 ประกอบชุดสายเชื่อมแม็ก 1) ตรวจสอบดูทอนําลวดที่ปลายหัวเชื่อมใหมีขนาดตรงตามที่เราจะใช ซึ่งขนาดจะตองเทากับขนาดลวดเชื่อม 2) ยึดหัวฉีดแกส (Gas Nozzle) เขากับหัวเชื่อม ตรวจสอบขนาดทอนํากระแส (Contact Tube) ใหตรงกับ ขนาดของลวดเชื่อมและใหทอนําลวดอยูลึกเขาไป 1.5 - 2 มิลลิเมตร 3) ตรวจสอบขนาดรองบนลูกกลิ้งขับลวดใหมีขนาดเทากับลวดเชื่อม

ก. รองบนลูกกลิง้ ขับลวดมีขนาดเล็กเกินไป ข. รองบนลูกกลิง้ ขับลวดมีขนาดเทากับลวดเชื่อม ภาพที่ 1.7 แสดงการตรวจสอบรองบนลูกกลิง้ ขับลวด 4) คลายสกรูยึดปลายสายเชื่อมแม็กที่ชุดลูกกลิ้งออก 5) เสียบปลายสายเชื่อมแม็กเขากับที่ยึด ขันสกรูยึดใหแนน 6) เสียบเตาเสียบของปลายสายเชื่อมแม็กเขากับเตารับและทริกเกอร

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

2.4 ประกอบชุดอุปกรณปอนลวด

ภาพที่ 1.8 สวนประกอบชุดอุปกรณปอนลวด 1) ถอดอุปกรณยึดขดลวดเชื่อมออก 2) ใสขดลวดเชื่อมแลวใสอุปกรณยึดขดลวด 3) เสียบปลายลวดเชื่อมเขาที่ปลายทอสงลวดของชุดอุปกรณปอนลวด และเสียบเขาในปลายทอสงลวดเชื่อม 4) กดลูกกลิ้งบนยึดลวดเชื่อมไว แลวขันสกรูกดลูกกลิ้งใหพอแนน 5) เปดสวิตชเครื่องเชื่อม หมุนปุมปรับความเร็วลวดเชื่อมไปประมาณครึ่งรอบ 6) กดสวิตชที่หัวเชื่อม ลูกกลิ้งขับลวดจะหมุนขับลวดไปตามสายเชื่อมจนโผลออกมาพนทอนําลวด โดยตอง จัดสายเชื่อมใหตรงจะทําใหลวดเชื่อมเดินไดสะดวกและไมติด 7) ปดสวิตชเครื่องเชื่อมและหมุนปุมปรับความเร็วลวดไปที่ 0 2.5 ประกอบระบบแกสปกปอง 1) ทําความสะอาดวาลวแกสโดยเปดวาลวที่ทอแกสแลวปดทันที 2) ทําความสะอาดเครื่องควบคุมแกส (Regulator) และตรวจวาลวของโฟลวมิเตอรใหอยูในตําแหนงปด 3) ประกอบเครื่องควบคุมแกส (Regulator) เขากับขอตอที่วาลวทอ 4) ขันขอตอปลายสายแกสเขากับขอตอโฟลวมิเตอร 5) ขันขอตอปลายสายแกสอีกขางเขากับขอตอแกสเขา ทางดานหลังของเครื่องเชื่อม 2.6 ตรวจสอบความเรียบรอย 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3. การทํางานของเครื่องเชื่อมและอุปกรณ กระบวนการเชื่อมแม็กมีการทํางานดังนี้ ลวดเชื่อมจากมวนลวดจะถูกปอนดวยลูกกลิ้งของกลไกปอนลวด โดยผานทอนําลวด และทอนํากระแสออกมาพนปากหัวฉีด เมื่อปลายลวดเชื่อมแตะกับผิวชิ้นงานจะเกิดการอารกขึ้น ความรอนจากการอารก จะหลอมผิวชิ้นงานและปลายลวดเชื่อมเปนหยดโลหะ แลวถายโอนผานการอารกเขาสูบอหลอมเหลวเพื่อเติมประสานรอยเชื่อม ขณะเดียวกันแกสปกปองจะไหลผานหัวฉีดพุงออกมาปกปองรอบบริเวณอารก เพื่อ ปอ งกันความเสียหายของรอยเชื่อม จากบรรยากาศรอบนอกที่จะเขาไปทําปฏิกิริยากับโลหะเชื่อมที่กําลังหลอมเหลว การอารกจะเกิดขึ้นตอเนื่องตลอดเวลา ปฏิบัติการเชื่อมเพราะใชลวดเชื่อมแบบสิ้นเปลืองและการปอนลวดเชื่อมเปนไปอยางอัตโนมัติ สวนการเคลื่อนที่หัวเชื่อมใชมอื หรือกลไกขึ้นอยูกับวิธีการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติหรืออัตโนมัติ

ภาพที่ 1.9 การอารกชิ้นงาน 4. การปรับคาพารามิเตอร การควบคุมเครื่องเชื่อมขึ้นอยูกับปุมตาง ๆ ที่อ ยูดานหนาเครื่อง บนหัวเชื่อม และบนชุดปอนลวดหรือกลองควบคุม การควบคุมเครื่องเชื่อมแรงดันคงที่จะใชสวิตชปด - เปดควบคุมแรงดัน และบางครั้งตัวสวิตชอาจใชเลือกขั้วเชื่อมได การควบคุม แรงดันจะใชเพียงปุมเดียวโดยใชสวิตชปรับตั้งชวงแรงดันกอน แลวหมุนปรับแรงดันละเอียดอีกครั้งเพื่อใหไดแรงดันตามที่กําหนด นอกจากนี้ยัง มีสวนควบคุมอื่น ๆ เชน สวิตชเ ลือกกระแสคงที่ห รือแรงดันคงที่ กรณีเปนเครื่อ งเชื่อ มรวมสองแบบอยูใน เครื่อ งเดียวกัน หรือ สวิตชอ าจควบคุม ดวยการควบคุม จากระยะไกล บนเครื่อ งเชื่อ มกระแสคงที่จ ะมีส วิตชปด - เปด และปุมปรับระดับกระแส ซึ่งบางเครื่องอาจใชสวิตชปุมปรับเลือกขั้วไฟกระแสตรง สําหรับสวิตชบนหัวเชื่อม เปนการควบคุมระยะไกลดวยชางเชื่อมในลักษณะการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติเพือ่ หยุดหรือเริม่ ตนเชือ่ ม การปอนลวด และการไหลของแกสปกปอ ง สวนเครื่องเชื่อมกึ่งอัตโนมัติการควบคุมอัตราเร็วปอ นลวดเชื่อ มเปนหน าที่ ของชุดปอนลวดที่ประกอบติดกับเครือ่ งเชื่อมหรือแยกตางหาก อัตราเร็วปอนลวดเชื่อมจะเปนตัวกําหนดระดับกระแสเชื่อมของ เครื่องเชื่อมแรงดันคงที่ ถาเปนเครื่องเชื่อมอัตโนมัติจะมีกลองควบคุมเพื่อคุมอัตราเร็วปอนลวดเชื่อมแยก สังเกตตัวกลอง ควบคุม การปอนลวดเชื่อมนี้จะมีสวิตชควบคุมหมุนปด - เปด และปรับอัตราเร็วปอนลวดเชื่อมใหคอย ๆ เพิ่มหรือลดลง 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หากมีอุปกรณอื่นที่ใชกับกระบวนการเชื่อมนี้จะใชงานเปนกรณีพิเศษเพื่อสั่งการไปยังเครื่องเชื่อม เชน การตั้งเวลาในการเชื่อมจุด หรือปรับแรงดันเชื่อมใหเปนแบบพัลส

ภาพที่ 1.10 กลองควบคุม ความชัน เครื่องเชื่อมแรงดันคงที่ เสนโคงแรงดันกับกระแสจะคอย ๆ ลดลงโดยแรงดันจะตกตอการไหลกระแส 100 แอมแปร ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงความชันของเสนโคงจะสามารถปรับปรุงสภาพการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร โดยบอหลอมเหลวจะเปนของไหลมากขึ้นเปนผลใหรอยเชื่อมและการอารกดีขึ้น เครื่องเชื่อมแรงดันคงที่จะใหความยืดหยุน สูง เพราะปรับความชัน แรงดัน และความเหนี่ยวนําได ซึ่งแตละสวนก็สามารถปรับใหอยูในชวงกระแสและแรงดัน เพื่อให การอารกตรงกับลักษณะเฉพาะของงานเชื่อมนั้น โดยเครื่องเชื่อมหนึ่งเครื่องสามารถใชกับการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร แบบละอองทังสเตนอารกใตผงฟลักซ ธูปเชื่อม และกระบวนการเชื่อมอื่น เครื่องเชื่อมตัวเดียวอาจรวมเอาแหลงจาย พลังงานพื้นฐาน 2 ชนิดไวเครื่องเดียวกัน โดยการหมุนสวิตชเลือกกระแสคงที่หรือแรงดันคงที่ การควบคุมแรงดัน สามารถหมุนปรับเปนขั้น ๆ หรือตอเนื่องได โดยดูที่แผงควบคุมดานหนาของเครื่องเชื่อม การควบคุม กระแส เครื่อ งเชื่อ มแรงดันคงที่ไมส ามารถปรับ กระแสไดโ ดยตรง แตจ ะไดจ ากการตั้ง อัตราเร็ว ปอนลวดเชื่อมของชุดปอนลวด การควบคุมความชัน (Slope Controls) ใชเพื่อควบคุมความชันของเสนโคงแรงดันกระแส โดยทําเปนปุมปรับ อยูดานหนาเครื่องเชื่อม เครื่องเชื่อมที่มีการควบคุมความชันแบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1) เครื่องเชื่อมความชันคงที่ (Fixed Slope Machines) ปกติจะนํามาใชกับการเชื่อมแม็กโลหะแกสปกปอง ที่มีการถายโอนแบบละออง และเชื่อมเหล็กกลาละมุนโดยแกสปกปองเปนคารบอนไดออกไซด ซึ่งปริมาณ ความชันจะถูกออกแบบไวแนนอนแลว 2) เครื่อ งเชื่อ มความชันแปรผัน (Variable Slope Machines) เปนเครื่อ งเชื่อ มที่ส ามารถใชง านไดก วาง ทั้ง ชนิดและขนาดลวดเชื่อม โดยการปรับความชันของเสนโคงแรงดันกระแสจากระดับแนวราบลงมาเปนขั้น ๆ ทําใหเกิดการถายโอนโลหะแบบลัดวงจรที่ดีขึ้น การปรับความชันจากระดับแนวราบลงมาใหมีความชันมากขึ้น อยางตอเนื่อง ทําใหการควบคุมกระแสลัดวงจรเปนไปอยางแมนยําและลดการกระเด็นของสะเก็ดโลหะ 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.11 ลักษณะของเครื่องเชื่อมกระแสตรงชนิดหมอแปลงขนาด 600 แอมแปร มีปุมปรับความชันและควบคุมความเหนี่ยวนําเมื่อเปลี่ยนการควบคุมความชันใหลดลงหรือเพิ่มขึ้น จากภาพที่ 1.2 กราฟเสนที่ 1 จะไมมีการควบคุมความชัน เมื่อเชื่อมดวยลวดขนาดเล็กจะหลอมไดเร็ว เครื่องเชื่อมจะเพิ่มกระแสสูงขึ้นไดเอง ทําใหเกิดการระเบิดของหยดโลหะที่ปลายลวดเชื่อม เปนผลใหมีสะเก็ดโลหะกระเด็นรอบรอยเชื่อมจํานวนมาก เสนที่ 2 ปรับ ระดับ ความชันลงมาทําใหคาความชันมากขึ้น ซึ่ง จะชวยจํากัดปริม าณกระแสที่เ พิ่ม ขึ้นสูงสุดจากการลัดวงจร ของลวดเชื่อม สวนเสนที่ 4 เปนการปรับใหมีความชันมากสุด ถาความชันมากกระแสที่ไดรับจะไมพอใหเกิดการหลอม ลวดเชื่อมเปนหยดโลหะ สําหรับการถายโอนโลหะแบบลัดวงจรมีผลใหลวดเชื่อมแข็งติดกับโลหะชิ้นงาน ลวดเชื่อม โคงงอขณะปอนออกมากระทบกับผิวโลหะชิ้นงาน กอนจะหลอมแลวขาดออกโดยยังมีสวนที่ไมหลอมเหลวติดอยูกับ บอหลอม

ภาพที่ 1.12 ผลการปรับความชันเสนโคงแรงดันกระแส

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.13 การใชความชันมากเกินไป หมายเหตุ เครื่องเชื่อมที่ควบคุมความชันเสนโคงแรงดันกระแส จะไมนํามาใชกับการถายโอนโลหะแบบละออง เพราะหยดโลหะจะถายโอนผานชองวางการอารกไดตองตั้งแรงดันและกระแสเชื่อมสูง ซึ่งจะไมปรากฏขึ้นกับกระแสลัดวงจร การควบคุมความชันมี 2 วิธี คือ 1) ควบคุม เปนขั้น (Tapped Slope Control) โดยจะมีปุม ปรับตั้งเปนขั้น ๆ สวนมากมี 7 ขั้นหรือมากกวา แตจะมีความแมนยํานอยกวาการควบคุมอยางตอเนื่อง 2) ควบคุมตอเนื่อง (Stepless Slope Control) จะมีปุมที่สามารถหมุนปรับไดอยางตอเนื่องไมเปนขั้น ทําให มีความละเอียดมากกวาแบบแรก

ภาพที่ 1.14 แสดงการควบคุมความชันเปนขั้น

ภาพที่ 1.15 การควบคุมความชันแบบตอเนื่อง

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

การควบคุมการเหนี่ยวนํา (Inductance) จะใชเพื่อควบคุมอัตราของกระแสที่เพิ่มขึ้น ซึ่งการเหนี่ยวนํานี้จะมี ความสําคัญมากในการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร เพราะสามารถเพิ่มเวลาอารกเพื่อ ใหก ารลัดวงจรตอวินาทีลดลง และชวยเกิดการหลอมเหลวไดดีขึ้น การซึมลึกดี รอยเชื่อมแบนราบ เกล็ดเชื่อมเรียบ ลดสะเก็ดโลหะกระเด็น และให การอารก นุม นวล ความเหนี่ยวนําอาจสรางไวแลวในเครื่อ งเชื่อ ม หรือ แยกไวเ พื่อ ใหป รับ แตง ตามความเหมาะสม โดยทําเปนปุมปรับที่ดานหนาเครื่องเชื่อม

ภาพที่ 1.16 กราฟแสดงผลของความเหนี่ยวนํา จากภาพ แสดงการตอบสนองตอการลัดวงจรโดยใชความเหนี่ยวนําต่ําและเพิ่มความเหนี่ยวนํา ในภาพ B กระแส จะเพิ่ม ขึ้นอยางชา ๆ กวาภาพ A ทําใหส ะเก็ดโลหะกระเด็นนอ ยลง ความเหนี่ยวนําจะใชควบคุม ดานกระแสตรง ของเครื่องเชื่อม จึงไมมีผลตอการตั้งแรงดันหรือควบคุมความชัน 5. ความสัมพันธระหวางแรงดัน และกระแสไฟฟา (Volt-Amperage Characteristic) เครื่องเชื่อมที่ใชในกระบวนการเชื่อมนี้ สามารถใชกระแสไฟตรงแบบมอเตอรขับชุดเยนเนอเรเตอร หรือเครื่องยนตขับ ชุดเยนเนอเรเตอร ที่นิยมใชกันในสนามที่กระแสไฟฟาไหลผานไปไมถึง เชน การตอทอระหวางเมือง ในระบบนี้จะมีชุดขับปอนลวด ทําหนาที่ขับปอนลวดอิเล็กโทรดผานชุดหัวเชื่อม ทําใหเกิดการอารกกับชิ้นงาน สําหรับความเร็วในการขับปอนลวดตองรักษา ความเร็วใหสม่ําเสมอ และเหมาะสมกับเครื่องแรงดันคงที่ ชุดขับปอนลวดจะทํางานรวมกับเครื่องเชื่อมและใหความเร็วคงที่เสมอ ในขณะทําการเชื่อม สวนการปรับกระแสไฟเชื่อมจะปรับที่ชุดควบคุมอัตราความเร็วของการปอนลวด ในขณะทําการเชื่อมแม็ก เครื่องเชื่อมจะตองปอนกระแสไฟเชื่อมอยางเพียงพอ เพื่อชวยทําใหลวดหลอมเหลวและเกิดระยะอารกอยางคงที่และสม่ําเสมอ ตลอดเวลา ทั้ง นี้ขึ้นอยูกับอัตราการปอนลวด สําหรับกระแสไฟเชื่อมจะอานคาไดที่แอมปมิเตอรที่ติดอยูกับเครือ่ งเชื่อม สวนแกสปกปองจะทําหนาที่ปองกันบอหลอมเหลวของรอยเชื่อม ไมใหออกซิเจนหรือไนโตรเจนในอากาศเขามาผสมกับน้ําโลหะ 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ที่กําลังหลอม สําหรับการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนจะใชแกสปกปองประเภทคารบอนไดออกไซด หรือแกสผสมแกสอารกอน ซึ่งแกสดังกลาวจะถูกใชในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนดวยการสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร

a) เปนเสนกราฟของเครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่ (Constant Current - CC) b) เปนเสนกราฟของเครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ (Constant Voltage - CV) ภาพที่ 1.17 แสดงเสนกราฟของกระแสและแรงดัน 6. วัฏจักรการทํางาน (Duty-Cycle) ของเครื่องเชื่อม วัฏจักรการทํางานของเครื่องเชื่อม คือ อัตราสวนระหวางชวงอารกกับเวลาทั้งหมด เชน เครื่องเชื่อมมีวัฏจักรการทํางาน 60% ที่กระแส 300 แอมแปร กลาวคือ เครื่องเชื่อม 300 แอมแปรสามารถอารกอยางตอเนื่องได 6 นาทีเทานั้นในเวลา 10 นาที ดังภาพ

ภาพที่ 1.18 วัฏจักรทํางานของเครื่องเชื่อมที่ 300 แอมแปร 60% ซึ่งสามารถเชื่อมไดตอเนื่อง 6 นาทีใน 10 นาที

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

โดยทั่วไปเครื่องเชื่อมแบบกระแสคงที่จะมีวัฏจักรทํางานต่ํา เปนเครื่องเชื่อมไฟฟาดวยลวดหุมฟลักซและทังสเตนอารก สวนเครื่องเชื่อมแม็กจะเปนแบบแรงดันคงที่และมีวัฏจักรทํางานที่ 100% ซึ่งแสดงวาเครื่องเชื่อมสามารถเชื่อมไดตอเนื่อง เครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ใชไดกับทุกกระบวนการถายโอนโลหะ เพราะมีความชันและกระแสนอย นอกจากนี้ยังสามารถ ทําใหเกิดกระแสลัดวงจรสูง และการลัดวงจรเปนไปไดดีเมื่อลวดเชื่อมสัมผัสกับโลหะชิ้นงาน และเครื่องเชื่อมแบบแรงดันคงที่ ยังขจัดการหลอมยอนของลวดเชื่อมได 7. ความตานทานไฟฟาของสายเชื่อมและขอตอ สายไฟเชื่อม สายไฟเชื่อมและขั้วตอมีหนาที่ตอหัวเชื่อมเขากับเครื่องเชื่อมและงานเชื่อม ทําจากทองแดงหรืออะลูมิเนียม แตนิยมใชท องแดง สายไฟเชื่อมหนึ่งเสนประกอบดวยเสนลวดทองแดงขนาดเล็กรวมกันประมาณ 100 เสน หุม ฉนวน ดวยยางธรรมชาติห รือสัง เคราะห สายเชื่อ มที่ตอ กับ เครื่องเชื่อ มและหัวเชื่อมจะเรียกวา Electrode Lead ในการเชื่อม กึ่งอัตโนมัติสายไฟเชื่อมจะเปนสวนหนึ่งของสายเชื่อมและสายน้ํา เก็บอยูรวมกับสายแกสและทอนําลวด สําหรับการเชื่อม ดวยเครื่องกลหรือเชื่อมอัตโนมัติสายเชื่อมจะตอแยก สวนสายเชื่อมทีอ่ ยูกับงานเชื่อมเรียกวา Work Lead สายเชื่อมนี้ตออยูก บั แคลมปบีบหรือโบลต ขนาดของสายเชื่อมจะขึ้นอยูกับขนาดกําลังดานออกของเครื่องเชื่อม วัฏจักรการทํางานของเครื่องเชื่อมและระยะหาง ระหวางเครื่องเชื่อมกับงานเชื่อม ขนาดสายเชื่อมเล็กสุดจะมีตั้งแต AWG No.8 ถึง AWG No.4/0 ซึ่ง รับ พิกัดกระแสได เกิน 75 แอมแปรขึ้นไป ดังตารางแสดงการเลือกขนาดสายไฟเชื่อมและความยาว ถาขนาดเล็กเกินไปสายไฟจะรอนขณะเชื่อม ตารางที่ 1.1 การเลือกขนาดสายเชื่อมตามกระแสเชื่อมและความยาวสายเชื่อม ชนิดการเชื่อม กระแส เชื่อม เชื่อมดวยมือ 100 (วัฏจักร 150 ทํางานต่ํา) 200 250 300 350 400 450 500

ความยาววงจรสายเชื่อม (เมตร) ขนาดสาย A.W.G. 18 30 46 61 91 122 4 4 4 2 1 1/0 2 2 2 1 2/0 4/0 2 2 1 1/0 3/0 4/0 2 2 1/0 2/0 1 1 2/0 3/0 1/0 1/0 3/0 1/0 1/0 3/0 2/0 2/0 4/0 2/0 2/0 4/0 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ชนิดการเชื่อม กระแส เชื่อม เชื่อมอัตโนมัติ 400 (วัฏจักร 800 ทํางานสูง) 1200 1600

ความยาววงจรสายเชื่อม (เมตร) ขนาดสาย A.W.G. 18 30 46 61 91 122 4/0 4/0 4/0 (2) 4/0 (2) 4/0 (3) 4/0 (3) 4/0 (4) 4/0 (4)

หมายเหตุ ความยาววงจรสายเชื่อมเทากับผลรวมของลวดเชื่อมและสายงานเชื่อม อุปกรณสําหรับแกสปกปอง ระบบแกสปกปองที่ใชในกระบวนการเชื่อมแม็ก ประกอบดวย ทอบรรจุแกส อุปกรณควบคุม ความดันแกส มาตรวัดอัตราการไหล วาลวควบคุม และสายสงแกสไปยังหัวเชื่อ ม แกส ปกปองจะมีสภาวะเปนของเหลว เมื่อบรรจุในทอบรรจุแกส อาจเปนไอหรือแกสที่มีความดันสูง เชน คารบอนไดออกไซดเมื่ออยูในทอบรรจุความดันสูงจะเปน ของเหลวและแกส ระบบถังเก็บขนาดใหญจะใชเมื่อเปนศูนยเชื่อมขนาดใหญที่ใชแกสชนิดเดียวกันในปริมาณมาก ๆ การนําแกส มาใชกรณีศูนยเชื่อมที่มีเครื่องเชื่อมจํานวนมากแตมีปริมาณใชแกสนอย ใหใชระบบจายแบบจัดทอบรรจุแกสตอรวมกันหลายทอ แลวเดินทอจายแกสเขาสูศูนยเชื่อมดวยแนวทอเพียงเสนเดียว แตถาเปนเครื่องเชื่อมเดี่ยวก็ใชเพียงทอเดียว 8. การตอขั้วสายไฟเชื่อมกับชิ้นงาน การเชื่อ มแม็ก ประกอบดวยระบบปอ นลวดเชื่อ ม จะเปนตัวควบคุม การปอ นลวดเชื่อ ม เครื่อ งเชื่อ มที่ใชเ ปนชนิด แรงดันคงที่ (CV) สวนหัวเชื่อมจะทําหนาที่ใหลวดเชื่อมและแกสปกปองไหลผานออกมาสูพื้นที่อารก กระบวนการเชื่อมนี้ จะใชไฟกระแสตรง ซึ่งกระแสตรงที่ใหประสิทธิภาพในการเชื่อมสูงที่สุดคือ กระแสตรงกลับขั้ว (Direct Current Reverse Polarity) โดยลวดเชื่อมจะเปนขั้วบวก (Direct Current Electrode Positive, DCEP) ความรอ นที่ไดรับจากการอารก จะหนาแนนที่บอ หลอมเหลวจึ ง เกิ ดการซึ มลึ ก มาก ผิวงานสะอาดเหมาะกับ งานเชื่อ มที่มีอ อกไซดบ นผิวงานหนา เชน อะลูมิเนียมและแมกนีเซียม กระแสตรงกลับขั้วจะใหการถายโอนโลหะแบบละอองขนาดเล็ก สวนกระแสสลับจะไมนํามาใช เพราะมีอัตราสิ้นเปลืองไมเทากันในแตละครึ่งวัฏจักร การเชื่ อ มด ว ยกระแสตรงขั้ ว ตรง (Direct Current Straight Polarity) ลวดเชื่ อ มจะเป น ขั้ ว ลบ (Direct Current Electrode Negative, DCEN) ไมนิยมใชกับการเชื่อมแม็ก เพราะระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมกวาง และมีสะเก็ดโลหะกระเด็น มากเกินไป ผิวงานไมสะอาด ตองใชลวดเชื่อมชนิดพิเศษคือ ผิวลวดตองเคลือบดวยสารที่มีกําลังเปลง เพื่อใหการปลดปลอย อิเล็กตรอนไดดี การเชื่อมโดยลวดเปนขั้วลบจึงไมคอยนิยมนักเพราะสารเคลือบลวดมีราคาแพง และรูปแบบการถายโอนโลหะ จากปลายลวดสูบอหลอมเหลวเปนการถายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ แตมีขนาดหยดไมสม่ําเสมอ 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.19 ผลของขั้วเชื่อมทีม่ ีตอการเชื่อมแม็ก 9. การเลือกใช การบํารุงรักษา และการตรวจสอบอุปกรณ 9.1 หัวเชื่อม มีหนาที่สงแกสปกปอง กระแสเชื่อม และลวดเชื่อมเขาสูทอนําลวดไปยังพื้นที่เชื่อม ลวดเชื่อมจะเคลื่อนที่ อยางตอเนื่อง กระแสเชื่อมจะเขาสูลวดโดยทอนํากระแสที่ทําจากทองแดงเจือ ขณะเดียวกันหัวเชื่อมจะจายแกส พุงออกจากหัวฉีดสูพื้นที่การอารกและบอหลอมเหลว เพื่อปองกันความรอนเกินของหัวเชื่อมตองมีระบบหลอเย็น นําความรอนออกจากหัวเชื่อม การหลอเย็นอาจใชแกสปกปองหรือน้ําไหลเวียนผานหัวเชื่อม หรือทั้งสองอยางรวมกัน ดังนั้นหัวเชื่อมจึงแบงตามชนิดการระบายความรอนได 2 แบบ คือ 1) หัวเชื่อมระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooling) นํามาใชกับการเชื่อมโลหะบางที่ตองการกระแสต่ํากวา 200 แอมแปร เมื่อใชอารกอนเปนแกสปกปอง และอาจใชกับกระแสไดถึง 300 แอมแปร ถาแกสปกปอง เปนคารบอนไดออกไซด เพราะแกสนี้มีผลในการหลอเย็นดวย แตหัวเชื่อมหลอเย็นดวยอากาศก็ใชไดดี กับกระแสไมเกิน 200 แอมแปร 2) หัวเชื่อมระบายความรอนดวยน้ํา (Water Cooling) นํามาใชกับการเชื่อมโลหะหนาที่ตองการกระแส 300 - 700 แอมแปร หรือเปนงานที่ตองเชื่อมตอเนื่อง

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.20 โครงสรางภายในหัวเชื่อมระบายความรอนดวยอากาศ ลักษณะหัวเชื่อม หัวเชื่อมที่ใชกับการเชื่อมแม็กที่เปนการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ แบงออกได 4 ลักษณะ ดังตอไปนี้

ภาพที่ 1.21 ลักษณะหัวเชื่อมสําหรับงานเชื่อมแม็ก 1) หัวเชื่อมแบบคอหาน (Goose Neck Type) คือ หัวเชื่อมที่นิยมใชกันมาก เพราะสามารถเชื่อมไดกับ ทุกลักษณะรอยตอ ทั้งรอยตอที่เปนสวนโคงหรือมุมแคบ ๆ หัวเชื่อมที่ใชกับระบบปอนลวดดวยวิธีดันลวด โดยมีค วามยาวสายเชื่อ มประมาณ 3 หรื อ 3.6 เมตร ขนาดลวดเชื่อ มที่ใ ช 0.6 ถึง 1.2 มิล ลิเ มตร ถาระบายความรอนดวยอากาศ แตถาระบายความรอนดวยน้ําใชกับลวดเชื่อมถึงขนาด 1.6 มิลลิเมตร 2) หัวเชื่อมแบบปน (Pistol Type) การใชงานเหมือนกับหัวเชื่อมแบบคอหาน แตจะเชื่อมรอยตอที่ยาก ๆ ไมคอยได ระบบปอนลวดผานหัวเชื่อมใชวิธีดันลวดเพราะเหมาะกับการเชื่อมแม็ก 3) หัวเชื่อมแบบระบบปอนลวดในตัว (Self Contained) ที่ดามจับหัวเชื่อมจะมีมอเตอรขับลวดและลอปอนลวด ประกอบอยู พรอมกับมวนลวดขนาด 1 หรือ 2 ปอนด ติดกับหัวเชื่อม ระบบขับลวดใชวิธีดึงลวด เหมาะกับ งานที่มีสายเชื่อมยาว อัตราเร็วปอนลวดอาจควบคุมโดยตรงที่หัวเชื่อม นิยมใชกับลวดเชื่อมอะลูมิเนียม ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.1 มิลลิเมตร แตก็สามารถใชกับการปอนลวดเหล็กหรือลวดโลหะแข็งอื่น ๆ 4) หัวเชื่อมแบบดึงลวด (Pull Type) ที่หัวเชื่อมอาจมีมอเตอรไฟฟาหรือมอเตอรลมประกอบอยูในดามจับหัวเชื่อม ซึ่งตอพวงกับกลไกระบบปอนลวด มวนลวดเชื่อมจะอยูในกลองควบคุมอีกตางหาก ทําใหเชื่อมไดไกลถึง 15 เมตร 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

สวนประกอบของหัวเชื่อม มีดังนี้ สวิตชควบคุม การเชื่อม ทําหนาที่เ ปนตัวปด - เปดกระแสเชื่อ ม พรอ มกับ เริ่มหรือหยุดปอนลวดเชื่อม สวิตชจะติดอยูกับหัวเชื่อม ถายังไมกดสวิตชการอารกก็จะไมเกิด ทอนํ ากระแส (Contact Tube) ทําจากทองแดงเจือ เปนสวนประกอบที่อยูปลายสุดของหัวเชื่อม ทําหนาที่ นํากระแสเชื่อมสวิตชใหไหลผานเขาสูลวดเชื่อม ขณะที่ลวดเชื่อมเคลื่อนที่ออกไปยังบอหลอมเหลวในลักษณะของ แรงเสียดทาน ดังนั้นระยะชองหางของทอนํากระแสกับลวดเชื่อมตองไมมากหรือนอยไป ตารางที่ 1.2 การเลือกขนาดลวดเชื่อมและทอนํากระแส ขนาดลวดเชื่อม (mm)

0.6

0.8

1.0

1.2

1.4

ขนาดรูของทอนํากระแส (mm)

0.65

0.90

1.10

1.35

1.75

เมื่อ ใชง านไปนาน ๆ รูทอ นํากระแสจะสึกหรอมากจนรูก ลมกลายเปนวงรี ทําใหก ารนํากระแสระหวาง ทอนํากระแสและลวดเชื่อมไหลไมเต็มที่ การอารกไมสม่ําเสมอควรเปลี่ยนทอนํากระแสใหม ถาทออุดตัน สกปรก ใหทําความสะอาด และถามีเม็ดสะเก็ดโลหะเกาะติดใหใชเหล็กเคาะออก แลวฉีดสเปรยกันการเกาะติดของสะเก็ดโลหะ หากใชลวดคุณภาพต่ําทอนํากระแสจะอุดตันงาย เนื่องจากผิวลวดสกปรก เปนสนิม หรือมีสารหลอลื่นเกาะติดผิว ลวดเชื่อม

ภาพที่ 1.22 รูทอนํากระแสขนาดใหญกวาขนาดลวด การนํากระแสสูล วดเชื่อมไมเต็มทีจ่ ะลดประสิทธิภาพการเชื่อม 9.2 หัวฉีดแกส (Gas Nozzle) ทําหนาที่บังคับแกสใหไหลพุงออกมาปกปองบอหลอมเหลว หัวฉีดขนาดใหญใชกับ กระแสสูงและบอหลอมเหลวกวาง สวนหัวฉีดเล็กใชกระแสต่ํา หัวฉีดแกสสวนใหญทําจากทองแดง กระแสเชื่อม ไหลผานสูหัวฉีดไมไดเพราะมีฉนวนกั้นไว แตบ างครั้งเมื่อทํางานเชื่อมนาน ๆ จะมีสะเก็ดโลหะกระเด็นเขาไป 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เกาะติดทอนํากระแสและหัวฉีดดานใน แลวสะสมมากขึ้นจนสะเก็ดเหลานั้นเชื่อมตอถึงกัน ทําใหกระแสไหลจาก ทอ นํากระแสไปยังหัวฉีดได เมื่อ ทําการเชื่อมแลวหัวฉีดไปแตะกับชิ้นงานจะเกิดการอารกขึ้น ถาเปนหัวฉีดทีม่ ี น้ําหลอเย็นภายในเมื่อเกิดการอารกกับชิ้นงานอาจทําใหเกิดรูรั่วของน้ําหลอเย็นจนใชงานตอไมได ดังนั้น ชางเชื่อมควรหมั่นตรวจสอบหัวฉีดแกสบอย ๆ เพื่อปองกันการเกาะติดมากจนกระทั่งเปนสะพานไฟ มาถึงหัวฉีดแกส นอกจากนี้การเกาะของสะเก็ดโลหะภายในหัวฉีดแกสจํานวนมาก ทําใหแกสฉีดพุงออกมาปกปอง รอยเชื่อมไมเต็มที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเชื่อมในแนวตั้งจะมีสะเก็ดโลหะเขาไปติดเปนจํานวนมาก ควรทําความสะอาด และฉีดสเปรยจะชวยปองกันการเกาะติดไดพอสมควร

ภาพที่ 1.23 สวนประกอบของหัวฉีดแกส 9.3 สายเชื่อมและสายน้ํา สายเชื่อ มตอ งมีความแข็ง แรงและออนตัว เพราะจะทําใหการปอนลวดเชื่อมไมติดขัด และเกิดความตานทานเพิ่มขึ้นภายในสาย ถาสายหักงอการปอนลวดเชื่อมอาจมีปญหา โดยเฉพาะกับวิธีการปอน แบบดันลวด สงผลใหอัตราเร็วปอนลวดเชื่อมไมสม่ําเสมอ และอัตราการเติมเนื้อโลหะไมคงที่ สายเชื่อมและสายน้ํา จะประกอบดวย 1) ทอนําลวด (Liner) ทําจากลวดสปริงขดเปนทอที่ใชเปนทางเดินของลวดเชื่อมยาวตลอดภายในสายเชื่อม สามารถออนไปมาโดยไมหดรัดลวดเชื่อมซึ่งเคลื่อนที่อยูภายใน แมสายเชื่อมจะโคงงอไดมากแตขณะใชงาน จะทําใหลวดเชื่อมเคลื่อนที่ผานลําบาก บางครั้งการเชื่อมอาจสะดุดเพราะลวดผานไมสะดวก ดัง นั้น ขณะปฏิบัติการเชื่อมควรปลอยสายเชื่อมใหมีสวนโคงงอนอยที่สุด ทอนําลวดจะตอโดยตรงระหวางหัวเชื่อม และลอขับลวดในชุดปอนลวด ลวดเชื่อมจะถูกปอนผานทอนี้โดยตรงไปยังหัวเชื่อมและทอนํากระแส กรณีมีการเคลือบผิวตองพิจารณาถึงขนาดเสนผานศูนยกลางในทอที่เคลือบ เมื่อใชลวดเชื่อมที่เปนเหล็ก ควรเลือกใชทอนําลวดที่ทําจากสปริง ถาเปนทอเคลือบพลาสติกไนลอนหรือเทฟลอนใหใชกับลวดวัสดุออน เชน อะลูมิเนียมหรือทองแดง เพราะถาใชทอเหล็กสปริงจะขูดผิวลวดเชื่อม 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.24 สวนประกอบของสายเชื่อมและสายน้ําทั้งชนิดระบายความรอนดวยอากาศและน้ํา

ภาพที่ 1.25 ขนาดเลือกใชสําหรับเสนผานศูนยกลางในทอนําลวดที่เคลือบผิวทอดานในตามขนาดลวดเชื่อม

ภาพที่ 1.26 ลักษณะของทอนําลวด 2) สายสงแกส เปนทอ สงสายยางทําหนาที่สงแกสไปยังหัวฉีด ในหัวเชื่อมแบบคอหานขนาดเล็กอาจใช การสงแกสไปตามทอนําลวด ถาเปนหัวเชื่อมขนาดใหญใชกระแสสูงถึง 500 แอมแปร จะตอสายสงแกส จากชุดปอนลวดไปยังหัวเชื่อมโดยตรง และสายสงแกสจะถูกหุมดวยปลอกอีกชั้น เพื่อปองกันสะเก็ดโลหะ และการเสียดสีกับพื้นโรงงาน 3) สายน้ําหลอเย็ น มี อ ยู ดวยกั นสองสาย คือ สายน้ําเขาและสายน้ําออก มีลัก ษณะเปนทอ สายยางที่มี น้ําหนักเบา และมีอายุการใชงานยาวนาน ปกติแลวสายน้ําหลอเย็นจะถูกหุมสวมอยูกับสายอื่น ๆ ภายใน ปลอกหนัง เพื่อปองกันสะเก็ดโลหะที่จะทําใหสายยางเสียหาย สายน้ําหลอเย็นจะใชเฉพาะหัวเชื่อมขนาดใหญ 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ที่มีกระแสเชื่อมสูง 80 - 500 แอมแปร สวนหัวเชื่อมขนาดเล็ก 80 - 350 แอมแปรไมนิยมใชหัวเชื่อม แบบหลอเย็นดวยน้ํา 10. ชนิดของกระแสไฟฟาเชื่อมและชนิดของพัลส (Pulse) การถายโอนโลหะแบบพัลส เปนกระบวนการที่พัฒนามาแทนการถายโอนแบบละอองเพราะมีขอ จํากัดการใชงาน การเกิดกระแสพัลสไดจากการปด - เปดวงจรระหวางกระแสต่ําสุดกับสูงสุด ระดับกระแสต่ําสุดจะตั้งในชวงการถายโอนแบบละออง ซึ่งการถายโอนหยดโลหะจะเกิดขึ้นเมื่อการพัลสกระแสถึงระดับสูงสุด เพื่อใหไดกระแสพัลสสูงสุดตองตั้งใหสูงกวาระดับ กระแสชวงเปลี่ยนของการถายโอนโลหะแบบละออง และกระแสต่ําสุดตั้งในชวงการถายโอนแบบหยดขนาดใหญ ปลายลวดเชื่อม จะหลอมที่วัฏจักรต่ําสุดเมื่อกระแสเพิ่มขึ้นสูงกวาจุดชวงเปลี่ยน หยดโลหะจะแยกตัวออกจากปลายลวดเชื่อ มผานอารก สูบอ หลอมเหลว ซึ่ง วั ฏจั ก รนี้ จ ะเกิ ดขึ้ นซ้ํา ๆ กั นอยางตอ เนื่อ ง โดยความรอนเฉลี่ยจะต่ํากวาการถายโอนแบบละออง แตบอหลอมจะแข็งตัวเร็วกวา การอารกรุนแรงกวา และความถี่ของการถายโอนลดลง การถายโอนโลหะแบบพัลสตองใชเครื่องเชื่อมพิเศษ เพื่อทําการพัลสกระแสจากระดับต่ําไปสูระดับสูงที่ความถี่เทากัน หรือเปนสองเทาของเสนความถี่ ปกติจะเทากับ 50 หรือ 60 เฮิรตซ และ 100 หรือ 120 เฮิรตซ กระแสเชื่อมจะแปรผันจาก คาต่ําสุด 20 แอมแปรที่แรงดันอารก 17 โวลตถึงสูงสุด 750 แอมแปรที่แรงดันอารก 50 โวลต ซึ่งพิสัยของกระแสและแรงดัน จะเกิดขึ้นทุกจังหวะที่มีการถายโอนโลหะ กระแสพัลสสามารถใชเ ชื่อ มเหล็กกลาคารบอน เหล็กกลาผสมนิกเกิล เหล็ก กลาผสมต่ํา เหล็กกลาไรสนิม ทองแดง ทองแดงผสมอะลูมิเนียม และโลหะผสมชนิดอื่น ๆ ได ใชเชื่อมงานหนาตัดบาง ปานกลาง และหนาที่มีรอยตอทุกชนิดไดดี 11. ทอแกส อุปกรณปรับความดันและมาตรวัดอัตราการไหลของแกส แกส จะถูก บรรจุไวในทอ แกสที่ท นตอ แรงดัน ซึ่ง ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 88 - 2517 กําหนดสี และสัญลักษณสําหรับภาชนะบรรจุแกสที่ใชในทางอุตสาหกรรม โดยมีบทนิยามที่เกี่ยวของดังนี้ 1) ภาชนะบรรจุแกส หมายถึง ภาชนะโลหะรูปทรงกระบอก มีลิ้นปด - เปดได 2) แถบ หมายถึง แถบของสีรอบ ๆ สวนไหลของภาชนะบรรจุ โดยความกวางของแตละแถบตองไมเล็กกวา 1 ใน 8 ของเสนผานศูนยกลางภายนอกของภาชนะบรรจุนั้น ภาชนะที่ใชบรรจุแกสตองมีขอความสีขาวแสดงชื่อของแกสที่บรรจุเปนภาษาไทยและสูตรเคมีของแกสนั้น อยูที่สวนบนสุด ของภาชนะ ขนาดของขอ ความที่ใชตอ งมีสวนสูง ไมต่ํากวา 1 ใน 8 ของเสนผานศูนยก ลางภายนอกของภาชนะบรรจุ พรอมทาสีเพื่อแสดงชนิดของแกส ดังภาพ 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.27 สัญลักษณสีของทอแกส ทอแกสที่ใชในงานเชื่อมเปนทอแกสความดันสูง ผลิตดวยการขึ้นรูปทอเหล็กในขณะที่ยังรอนอยู ลักษณะเหมือนทอปลายปด ดานหนึ่ง ระดับความดันที่ขายอยูทวั่ ไปคือ 100 บาร ซึ่งการระบุปริมาตรแกสจะใชเปนคิว ยอมาจากคิวบิกเมตรหรือลูกบาศกเมตร โดยที่มีขายอยูทั่วไปจะมีปริมาตรอยูที่ 5 - 6 คิว

ภาพที่ 1.28 ขนาดของทอแกส 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

สําหรับแกสปกปอง เมื่อเปดวาลวแกสจะไหลออกมาจากขวดผานชุดควบคุม และปรับลดความดันซึ่งติดตั้งอยูระหวางขวดแกส และมาตรวัดอัตราไหล ทําหนาที่ควบคุมแรงดันแลวสงผานไปยังชุดควบคุมแกสเปนลิตรตอนาที โดยชุดควบคุมแกสจะมีมาตรวัด อัตราไหลใชวัดและควบคุมอัตราไหลของแรงดันแกสดานต่ํา มีหนวยเปน ลิตร/นาที หรือ ลูกบาศกฟุต/ชั่วโมง สามารถปรับคา โดยใชวาลวปรับคา ซึ่งจะมีบอลลูกลอยคอยชี้สเกลการปรับใชงานวิ่งขึ้นลงในแนวตั้ง ผูปฏิบัติงานสามารถอานคาที่ขอบบน ของลูกบอลเพื่อตรวจสอบความถูกตอง ชุดควบคุมปรับลดความดันแกสจะทําหนาที่เปนตัวสงแกสและคอยควบคุมความดันแกส ใหคงที่และสม่ําเสมอตลอดการใชงาน สงตอไปตามสายทอยางไปที่หัวเชื่อม โดยหัวเชื่อมจะมีไกปนสําหรับกดใหแกสไหลลง ปกคลุมเปลวอารกตามขนาดของอัตราไหลของแกสที่ตั้งไว

ภาพที่ 1.29 มาตรวัดอัตราการไหลกับชุดควบคุมปรับลดความดันแกส

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดเปนลักษณะการควบคุมกระแสของเครื่องเชื่อม mig/mag ก. แรงดันคงที่ ข. กระแสคงที่ ค. คาพลังงานคงที่ ง. คาความตานทานคงที่ 2. ขณะปฏิบัติการเชื่อมตองดูแลรักษาทอนําลวดอยางไร เพื่อใหลวดเชื่อมผานไดสะดวก ก. ปลอยสายเชื่อมใหมสี วนโคงงอนอยทีส่ ุด ข. ลดอัตราความเร็วในการปอนลวดเชื่อม ค. วางทอนําลวดใหราบตามพื้นที่ปฏิบัติงาน ง. ดัดทอนําลวดใหตรงอยูเสมอกอนการใชงาน 3. ในการเชื่อมโลหะหากตองการกระแส 500 แอมแปร และตองการเชื่อมอยางตอเนื่องควรเลือกใชหัวเชื่อมแบบใด ก. หัวเชื่อมไฟฟา ข. หัวเชื่อมทองแดง ค. หัวเชื่อมระบายความรอนดวยน้ํา ง. หัวเชื่อมระบายความรอนดวยอากาศ

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 4. เครื่องเชื่อมที่นิยมใชในอุตสาหกรรม แบงตามลักษณะการจายพลังงานเชื่อมได 2 ชนิด คือ เครื่องเชื่อมชนิดกระแสคงที่ และเครื่องเชื่อมหมอแปลงไฟฟา 5. การปรับกระแสไฟเชื่อมจะปรับที่ชุดควบคุมอัตราความเร็วของการปอนลวด ในขณะเชื่อมแม็ก เครื่องเชื่อมจะตองปอนกระแสไฟเชื่อมอยางเพียงพอ ทําใหลวด หลอมเหลวและเกิดระยะอารกคงที่และสม่ําเสมอ 6. เครื่องเชื่อมมีวัฏจักรการทํางาน 60% ที่กระแส 300 แอมแปร นั่นหมายถึงที่ กระแส 300 แอมแปร เครื่องเชื่อมสามารถอารกไดอยางตอเนื่องตั้งแต 6 นาทีขึ้นไป ในเวลา 10 นาที 7. ทอแกสที่ใชในงานเชื่อมเปนทอแกสความดันสูง ผลิตดวยการขึ้นรูปทอเหล็กใน ขณะที่ยังรอนอยู ลักษณะเหมือนทอปลายปดดานหนึ่ง ระดับความดันที่ขายอยู ทั่วไปคือ 100 บาร 8. กระแสพัลสเกิดจากการปด - เปดวงจรระหวางกระแสต่ําสุดกับสูงสุด กระแสต่ําสุด จะตั้งในชวงการถายโอนแบบละออง ซึ่งการถายโอนหยดโลหะจะเกิดขึ้นเมื่อการพัลส กระแสถึงระดับสูงสุด 9. ในการเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ สายเชื่อมที่ตอกับเครื่องเชื่อ มและหัวเชื่อม เรียกวา Work Lead 10. ความรอนจากการอารกจะหลอมผิวชิ้นงานและปลายลวดเชื่อมเปนหยดโลหะ แลวถายโอนผานอารกเขาสูบอหลอมเหลวเพื่อเติมประสานรอยเชื่อม 11. การติ ดตั้ ง เครื่อ งเชื่อ มประกอบดวย 6 ขั้นตอน ไดแก จัดเตรียมอุป กรณ ประกอบสายดิ น ประกอบชุ ด สายเชื่ อ มแม็ ก ประกอบชุ ด อุ ป กรณ ปอ นลวด ประกอบระบบแกสปกปอง และตรวจสอบความเรียบรอย 12. กระแสตรงที่ใหป ระสิท ธิภาพในการเชื่อ มสูง ที่สุด คือ กระแสตรงขั้วตรง (Direct Current Straight Polarity, DCSP)

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

4 5 6 7 8 9 10 11 12

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0920720302 เทคนิคการเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกประเภทของการอารกแบบลัดวงจร (Short-Arc Transfer) การอารกแบบหยด (Globular-Arc Transfer) การอารกแบบสเปรย (Spray-Arc Transfer) ไดอยางถูกตอง 2. บอกหลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 3. บอกคากระแสและแรงดันไฟฟา อัตราและความเร็วปอนลวดสําหรับการเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 4. บอกประเภท ขนาด สมบัติของหัวฉีด (Nozzle) ทอนํากระแส (Contact Tube) และการบํารุงรักษาไดอยางถูกตอง 5. บอกการปองกันและการแกไขการบิดตัวของความเคนตกคางไดอยางถูกตอง 6. บอกความสัมพันธระหวางทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อมไดอยางถูกตอง 7. บอกผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 8. บอกหลักการของระบบพัลส (Pulse System) ไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ประเภทของการอารก หลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็ก คากระแสและแรงดันไฟฟา อัตราและความเร็วปอนลวดสําหรับการเชื่อมแม็ก ประเภท ขนาด สมบัติของหัวฉีด (Nozzle) ทอนํากระแส (Contact Tube) และการบํารุงรักษา การบิดตัวของความเคนตกคาง ความสัมพันธระหวางทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อม ผลกระทบของระยะยืน่ (Stick Out) ของลวดเชื่อม หลักการของระบบพัลส (Pulse System)

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

7. บรรณานุกรม มนูญ วินทะไชย. ม.ป.ป. งานเชื่อมไฟฟา. : ม.ป.ท. มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท.

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับเทคนิคการเชื่อม ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง เทคนิคการเชื่อม 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือ ผูรับการฝก เรื่อ ง เทคนิคการเชื่อม 1. รับคูมือผูรับการฝกเรื่อง เทคนิคการเชื่อม หนาที่ หนาที่ 43 - 64 43 - 64 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่อง เทคนิคการเชื่อม โดยใชวิธี 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม ถาม - ตอบกับผูรับการฝก และใชความรูเดิม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ของผู รั บ การฝก มาต อ ยอดเป นความรูใหม พรอ มใช สื่ อ วี ดิทั ศน นาทีที่ 00.00 - 21.47 และตัวอยางของจริงประกอบการสอน โดยมี สาระสําคัญดังนี้ 2.1 ประเภทของการอารก 2.2 หลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็ก 2.3 คากระแสและแรงดันไฟฟา อัตรา และความเร็วปอนลวดสําหรับการ เชื่อมแม็ก 2.4 หัวฉีด (Nozzle) และทอนํากระแส (Contact Tube) 2.5 การบิดตัวของความเคนตกคาง 2.6 ความสัมพันธระหวางทาเชื่อมและ เทคนิคการเชื่อม 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.7 ผลกระทบของระยะยื่ น (Stick Out) ของลวดเชื่อม 2.8 หลั ก การของระบบพั ล ส (Pulse System) 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 62 - 64 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 62 - 64 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 74 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง เทคนิคการเชื่อม ขั้นประเมินผลหลังการฝก รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง เทคนิคการเชื่อม เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 เทคนิคการเชื่อม 1. ประเภทของการอารก ในกระบวนการเชื่อมแม็ก ในขณะที่ล วดอิเล็กโทรดทําการอารก กับโลหะชิ้นงานก็จ ะเกิดความรอนขึ้นที่เปลวอารก ประมาณ 6,000 องศาเซลเซียส ทําใหปลายลวดอิเ ล็กโทรด เกิดการหลอมเหลวลงสูบอ หลอมบนผิวของโลหะชิ้นงาน เกิดการสงถายจากลวดอิเล็กโทรดได 3 ลักษณะ คือ การสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร การสงถายน้ําโลหะแบบเปนหยด และการสงถายน้ําโลหะแบบละออง 1.1 การสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร (Characteristic of Short Circuit Transfer) - การสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร สามารถทําไดดวยการใชกระแสไฟเชื่อ มต่ํา และใชลวดอิเ ล็ก โทรด ขนาดเล็ก - การสรางบอหลอมเชื่อมใหเย็นเร็ว และขนาดเล็กของการสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร สามารถทําไดดี กับรอยตอที่เปนชิ้นงานบาง ไมตองคํานึงถึงตําแหนงทาเชื่อม และเหมาะสําหรับประสานรอยตอที่หา งกันไดดี - ในการสงจะไมมีโลหะกระโดดขาม สามารถประสานรองหางไดทันที และขณะที่เครื่องเชื่อมอยูในตําแหนง วงจรปด โลหะหลอมจะรวมตัวเปนกอนเล็ก ๆ อยูปลายของลวดอิเล็กโทรด จะไมสามารถสงถายน้ําโลหะ ลงสูบอหลอมไดถาปลายลวดไมสัมผัสกับโลหะชิ้นงาน

ภาพที่ 2.1 แสดงการถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร (Short Circuit Transfer)

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

จากภาพตําแหนง A, B, C และ D ที่ปลายลวดเชื่อมสัมผัสกับเนื้อโลหะเชื่อมกระแสไฟจะเพิ่มสูงขึ้น และตําแหนง D และ E มีโลหะหลอมเปนติ่งที่ปลายลวด จะเริ่มปลอยโลหะใหปกปองจากปลายลวดและเริ่มตนเกิดเปลวอารกขึ้นใหม แสดงตามตําแหนง F และ G เมื่อเปลวอารกนิ่งสม่ําเสมอ โลหะหลอมเกิดขึ้นที่ปลายลวด ดูตําแหนง H ลวดจะถูกปอน ใหเกิดการสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจรและสามารถใหหยดโลหะไดประมาณ 70 หยดตอวินาที ในกระบวนการนี้จะใชแกสคารบอนไดออกไซดเปนแกสปกปอง สามารถสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร ซึ่งจะชวย ใหเกิดการหลอมลึกไดดี แตถาใชแกสคารบอนไดออกไซดผสมอารกอน จะชวยควบคุมสะเก็ดเชื่อมใหนอยลง 1.2 การสงถายน้ําโลหะแบบเปนหยด (Characteristic of Globular Transfer) - การถายโอนแบบเปนหยด มีลักษณะเปนหยดที่มีเสนผานศูนยกลางใหญกวาขนาดแกนลวดเชื่อม - สามารถทําใหสําเร็จโดยการปรับกระแสไฟที่ใชแบบลัดวงจรเพียงเล็กนอย - การสงถายน้าํ โลหะแบบเปนหยดน้ํามี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 เมื่อปลายอารกกับโลหะชิ้นงาน เกิดความรอนจนปลายลวดหลอมเปนหยดมีขนาด ใหญขึ้น จนหลุดลงมาเปนหยดแลวตกลงสูบอหลอม ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะคลายกับการสงถายน้ําโลหะ แบบลัดวงจร แตแบบนี้ห ยดน้ําจะคอ ย ๆ ยืดลงมาและหลุดเปนหยดลงสูบอ หลอม โดยปลายลวด ไมไดเคลื่อนลง จะเกิดหยดโลหะประมาณ 100 หยดตอวินาที

ภาพที่ 2.2 การสงถายน้ําโลหะแบบเปนหยด (Globular Transfer) รู ป แบบที่ 2 การส ง ถ า ยน้ํ า โลหะจะเกิ ด ขึ้ น จากแรงดึ ง ดู ด ของโลก และใช แ ก ส ปกป อ ง คารบอนไดออกไซด เปนเหตุใหหยดน้ําโลหะหลุดตกลงสูบอหลอมไดเอง

ภาพที่ 2.3 การสงถายน้ําโลหะแบบหยดน้ําโลหะหลุดเอง และตกลงสูบอหลอมดวยแรงดึงดูด และใชแกส CO 2 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- นิยมใชแกสคารบอนไดออกไซดสําหรับการสงถายน้ําโลหะแบบเปนหยด และใชเฉพาะเหล็กกลาละมุน 1.3 การสงถายน้ําโลหะแบบละออง (Characteristic of Spray Transfer) - ใชกระแสไฟตรงตอกับขั้ว หรืออิเล็กโทรดตอขั้วบวก - ตองปรับใชกระแสไฟเชื่อมใหอยูระดับสูง เพื่อที่จะชวยใหหยดน้ําโลหะแตละหยดแตกกระจายเปนฝอย ไดอยางรวดเร็ว โดยมีแรงอารกและอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้น มีระดับที่เหนือกวาแรงดึงดูดของโลก - การหยดน้ําโลหะแตละหยด จะตองมีขนาดเทากันหรือเล็กกวาขนาดของแกนลวด (Ø1.2 ถึง Ø3.0 มม.) จึงจะสามารถทําใหเกิดการสเปรยอยางสม่ําเสมอ สามารถใหหยดน้ําโลหะสูง ถึง 300 หยดตอวินาที สงผานเปลวพลาสมาอารก และชวยกําจัดสะเก็ดเชื่อมใหนอยลง - ถาใชแกสอารกอนเปนแกสปกปอง จะชวยใหการสงถายน้ําโลหะแบบละอองเปนไปอยางสม่ําเสมอ

ภาพที่ 2.4 การสงถายน้ําโลหะแบบละออง (Spray Transfer) 2. หลักการพื้นฐานของการเชื่อมแม็ก การเชื่อมแม็กเปนการเชื่อมที่ตองใชแกสปกปอง เปนการชวยใหเกิดการอารกอยางตอเนื่องระหวางลวดอิเล็กโทรด และชิ้นงาน การอารกจะใชพลังงานความรอนสูง สามารถทําใหลวดอิเล็กโทรดหลอมเหลวรวมกับโลหะชิ้นงาน สงผลใหเกิด รอยเชื่อมขึ้น แกสปกปองทําหนาที่ปกปองบอหลอมโลหะเชื่อม ไมใหสารปนเปอนจากอากาศเขาไปผสมในบอหลอมโลหะ โดยทั่วไปนิยมใชแกสคารบอนไดออกไซดหรือใชแกสผสมระหวางแกสคารบอนไดออกไซดกับอารกอน

ภาพที่ 2.5 หลักการเบือ้ งตนของกระบวนการเชื่อม 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

หลักการเบื้องตนของกระบวนการเชื่อม มีดังนี้ 1) กระบวนการเชื่อมจะใชกระแสตรงตอขั้วบวกเทานั้น 2) จะถูกคุมดวยแรงดัน กลาวคือ ขณะเชื่อมแรงดันตองคงที่เสมอและถูกควบคุมโดยกระแสอารก 3) กระแสอารกในการเชื่อมจะถูกควบคุมโดยอัตราการปอนลวดอิเล็กโทรด ผานชุดปอนลวดและสายไฟเชื่อม โดยมีหนวยวัดเปนเมตรตอวินาที ถาอัตราปอนลวดสูงกระแสอารกจะสูงตามโดยอัตโนมัติ 4) แรงดันจะถูกควบคุมโดยระบบไดแอล ภายในเครื่องเชื่อมลวดอิเล็กโทรด 5) ขณะที่ลวดอิเล็กโทรดอารกกับชิ้นงาน แกสปกปองจะไหลออกมาปกปองลวดอิเล็กโทรดบริเวณการอารก และทําหนาที่ปองกันบอหลอมโลหะจากสารปนเปอนเขาไปรวมผสม

ภาพที่ 2.6 แสดงอุปกรณตาง ๆ ของปนเชื่อม การอารกบอหลอมและเนื้อโลหะเชื่อม 3. คากระแสและแรงดันไฟฟา อัตราและความเร็วปอนลวดสําหรับการเชื่อมแม็ก การควบคุมกระแสไฟฟาและหนาที่ตาง ๆ ภายในกระบวนการเชื่อม - สวิตชปด - เปด ใชในการเริ่มและหยุดกระแสไฟฟามายังเครื่องเชื่อม - ปุมปรับเลือกขนาดแรงดัน ใชในการควบคุมปรับเลือก ขนาดแรงดันหยาบ เชน ปรับใชแรงดันชวงต่ํา 12 - 20 โวลต และปรับแรงดันสูง 20 - 25 โวลต - ปุมปรับควบคุมแรงดันละเอียด ใชในการปรับแรงดันละเอียด และสามารถปรับไดทุกสวน ชุดควบคุมการปอนลวดและภาระหนาที่ - สวิตชปด - เปด ทําหนาที่ควบคุมพลังงานกระแสไฟฟาที่จะเขาสูชุดแมคคานิกการปอนลวด 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

- ชุด ควบคุม การปอ นลวด มีห นา ที่ใ นการควบคุม สองฝา ย ฝา ยหนึ่ง ควบคุม ใหอัต ราการปอ นลวด เปนไปอยางสม่ําเสมอเปนเมตรตอวินาที หรือนิ้วตอนาที และมีหนาที่ควบคุมโยงไปถึงกระแสไฟเชื่อม ถาอัตราการปอนลวดสูงกระแสไฟเชื่อมจะสูงตาม - ท อ กระแสถู ก หลอมติ ด กล า วคือ เกิด จากการหลอมยอ นกลับ อาจมากหรือ นอ ย ตามสว นยื่นของ ลวดอิเล็กโทรด - ภาระของการเชื่อมจุด เมื่อเปด - ปดปุมปรับชุดนี้ กระแสไฟฟาผานชุดควบคุมเวลา ซึ่งสามารถจัดแบง เวลาเฉพาะไวตามจังหวะของการกดไกปน แตทั้งนี้จะไมคํานึงถึงความยาวของเวลาที่กดไกปนแชไว - การปลอยแกสทําความสะอาดเปนกลไกที่จะทําใหแกส ปกปองไหลออกมาทําความสะอาดปนเชื่อม กอนที่ลวดอิเล็กโทรดจะไหลออกมาในเวลาเดียวกัน - สวิตชการควบคุมการล้ําหนาของลวด ใชสําหรับปรับใชการล้ําหนาของลวดตามที่ตองการ จะไมสามารถ ปรับใชกับสวนประกอบอื่น ๆ - ชุดรีโ มท ทําหนาที่ควบคุม การปรับ ใชแรงดันไดอ ยางสะดวกทุก สถานการณ ในขณะที่ทําการเชื่อม ในที่หางไกลจากเครือ่ งเชื่อม และสามารถทําใหหยุดการเชื่อมหรือสามารถสงใหปรับขนาดของพารามิเตอร ที่เครื่องเชื่อม ขอสังเกต ชุดรีโมทจะถูกจัดแยกไว โดยปกติจะมีสายไฟตอยาวออกมาจากเครื่อง และมีปนเชื่อม บางชนิดที่ไดสรางชุดรีโมทบรรจุไวดวยกันภายในปนเชื่อม

ภาพที่ 2.7 ชุดควบคุมการปอนลวด ดานหนาและดานหลัง - ชุดควบคุม การหมุนยอ นกลับ เปนกลไกที่ส ามารถบัง คับ ดวยมือ เพื่อ ยอมใหลอ มวนลวดหยุดหมุน ในขณะปฏิบัติงาน และสามารถหมุนลวดที่เหลือถอยกลับเขาเก็บในมวนลวด

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ขอกําหนดการปรับลอขับปอนลวด - เมื่อลอขับปอนลวดแนนเกินไป ลอจะบีบใหลวดแบนหรือเปลี่ยนรูปทรงได - ลวดที่ถูกทําใหแบน จะทําใหลอปอนลวดเปนรอยขีดขวน และจะไมสามารถปอนลวดได - ลวดทีบ่ ิดเบี้ยวจะเกิดเกล็ดลวดเล็ก ๆ หลุดอยูรอบลอขับปอนลวด จะทําใหระบบการสงถายกระแสไฟฟา ชํารุดหรือผิวเกิดลาย - ลวดจะตองไมถูกบีบจนแนนหรือหลวมเกินไป - ลอขับลวดจะมีขนาดรองที่แตกตางกัน ตองเลือกใชและตรวจสอบใหเหมาะสมกับขนาดลวด การปองกันและระวังรักษาระบบลอขับปอนลวดตามที่กําหนด - จะตองตรวจสอบและทําความสะอาดลอขับปอนลวดเปนประจํา - ขอตอของกระแสไฟฟาทุกจุด จะตองขันใหแนนและตรวจสอบเปนประจํา - ตองตรวจสอบชุดหามลอทุก ๆ ครั้งกอนใชงาน เพื่อใหแนใจในการขับปอนลวดไดอยางสม่ําเสมอไมเกิด หมุนฟรี - ตองตรวจสอบการรั่วซึมของขอตอทุกจุดของสายทอแกสกอนใชงานแตละครั้ง

ขนาดลวดที่ โ ตไม เ กิ น ขนาดลวดที่โต 1.6 มม. ขนาดลวดที่โต 1.6 มม. สํ า หรับ ลวดขนาดเล็ก 1.2 มม. สํ า หรั บ ลวดที่ ถึง 3.2 มม. สําหรับลวด ถึง 3.2 มม. สําหรับลวด ใชสําหรับลวดที่เปนเหล็ก เปนเหล็กและไมใชเหล็ก เหล็ก

ที่ไมใชเหล็ก

ภาพที่ 2.8 แสดงชุดขับปอนลวดแบบตาง ๆ

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตารางที่ 2.1 แสดงความเร็วการปอนลวด โดยจะขึ้นกับอัตราสวนของเกียรที่แตกตางกัน อัตราทดเกียร

อัตราความเร็วปอนลวด นิ้ว / นาที

มม. / วินาที

15 : 1 37.5 : 1 46 : 1

500 - 2000 60 - 100 50 - 825

212 - 846 25 - 423 21 - 349

75 : 1 90 : 1

30 - 500 25 - 400

13 - 212 11 - 169

150 : 1 300 : 1

15 - 250 8 - 125

6 - 106 3 - 53

600 : 1 1200 : 1

4 - 63 2 - 30

2 - 27 1 - 13

4. หัวฉีด (Nozzle) และทอนํากระแส (Contact Tube) หัวเชื่อมของเครื่องเชื่อมแม็กจะแตกตางจากหัวเชื่อมดวยลวดเชื่อมหุมฟลักซ เนื่องจากหัวเชื่อมของเครื่องเชื่อมแม็ก ตองจายแกสเพื่อปกคลุมบริเวณอารก และเปนทางผานของกระแสไฟพรอมกับลวดเชื่อมสูบริเวณอารก โดยภายในของสายเชื่อม ที่ลวดผานจะทําดวยเหล็กสปริงที่มวนขดเปนทอ สวนภายนอกจะหุมไวดวยทอพลาสติก ซึ่งลักษณะของหัวเชื่อมมีทั้งชนิดหัวตรง และหัวโคง

ภาพที่ 2.9 หัวเชื่อม

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

บริเวณหัวเชื่อมมีสวนประกอบสําคัญ ดังนี้ - Torch Body เปนสวนลําตัวของหัวเชื่อม และเปนทางเดินของแกสปกปอง น้ํา กระแสเชื่อม หรือใช ระบายความรอน ประกอบดวย ดามจับหรือดามมือถือหัวเชื่อม (Torch Handle) สวนคอของดามหัวเชื่อม (Torch Neck) และสวิตชหัวเชื่อม (Torch Switch) - Hose Assembly หรือทอหุมสายตอ - Gas Nozzle หรือหัวฉีดแกส ทําดวยทองแดงหรือทองแดงเบริลเลียม มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน ระหวาง 3/8 - 7/8 นิ้ว โดยขึ้นอยูกับขนาดของหัวเชื่อม ทําหนาที่ควบคุมใหแกสปกปองไหลออกมา ปกคลุมบริเวณอารก และภายในมีฉนวนกันความรอน (Insulator) กั้นระหวางหัวครอบกับชุดทอสัมผัส กระแส - Contact Tube เปนทอนํากระแส ทําดวยทองแดงผสม เปนทางผานของลวดเชื่อมออกไปยัง Nozzle เปนตัวจายกระแสไฟเชื่อมใหกับลวดเชื่อม - Contact Tube Holder (Nozzle Assembly) เปนชุดยึดทอ นํากระแส ยึดติดกับ ลําตัวหัวเชื่อมโดย ผานทอนําลวดแบบเกลียว (Spirally Wound Wire Electrode Guide) ทําดวยทองแดงผสมและทําหนาที่ บีบจับทอนําลวดอิเล็กโทรดใหแนน - Guide Hose หรือชุดนําทอสายยาง - Wire Hlectrode หรือลวดอิเล็กโทรด ทําหนาที่สําหรับการอารกและนําความรอนไปยังชิ้นงาน - Shielding Gas Supply เปนทอสงแกสปกปองจากแหลงจายไปยังหัวเชื่อม - Welding Current Supply ทําหนาที่จายกระแสไฟเชื่อม ดังแสดงในภาพที่ 2.10

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.10 สวนประกอบของหัวเชื่อม 5. การบิดตัวของความเคนตกคาง การบิดตัวของโลหะชิ้นงานในการเชื่อมเกิดการขยายตัวและการหดตัวของชิ้นงานจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รวมถึงสมบัติของโลหะก็มีสวนดวย ซึ่งวิธีปองกันการบิดตัวของความเคนคงคางมีดังนี้ 1) ปรับรอยตอใหเหมาะสม เนื่องจากโลหะในบริเวณรอยตอจะมีการหดตัวเปนพิเศษ การปรับรอยตอจึงชวยลด การบิดตัวได และทําใหไมกินขอบและประหยัดระยะเวลาในการเชื่อมดวย 2) แบงการเชื่อมเปนระยะ เนื่องจากการเชื่อมแบบตอเนื่องทําใหสญ ู เสียโลหะชิ้นงานไปมาก การเชื่อมเปนระยะ จะสามารถลดการสูญเสียโลหะชิ้นงานได 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

3) ปรับกระแสใหการใชลวดเชื่อมนอยลง เพราะหยดโลหะที่มากเกินไปทําใหสะสมตรงบริเวณรอยตอและทําให เกิดการบิดตัวได 4) ใหแนวเชื่อมอยูใกลกับแกนกลางของชิ้นงาน เพื่อที่แรงดึงจะไดนอยลง ลดการหดตัวของโลหะชิ้นงาน 5) ใชการเชื่อมถอยหลัง เพราะการขยายตัวของความรอนจากวิธีการนี้ทําใหการบิดตัวลดนอยลงได 6. ความสัมพันธระหวางทาเชื่อมและเทคนิคการเชื่อม ตําแหนงเชื่อมแนวราบ การเชื่อมแนวราบจะเลือกใชการสายลวดเชื่อม ตําแหนงมุมหัวเชื่อมและลําดับรอยเชื่อ มจะมี รูปแบบการสายลวดเชื่อมเหมือนกัน การเชื่อมรอยตอชนทอเดียวจะใชวิธีการสายลวดเชื่อมกาวถอย สวนรอยเชื่อมฐานรอยตอ ที่เวนชองหางจะใชรูปแบบการสายลวดแบบถอยหลัง สําหรับรอยเชื่อมเติมและรอยเชื่อมปดจะสายลวดเชื่อมเหมือนกัน เมื่อ ตอ งการใหรอยเชื่อมมีรอยกวางขึ้นควรหยุดขางรอยตอชั่วขณะ 0.5 วินาที เพื่อ ใหขอบตอหลอมรวมเขาดวยกันกับ โลหะชิ้นงานไดเพียงพอ

ภาพที่ 2.11 รูปแบบการสายลวดเชื่อมตําแหนงการเชื่อมแนวราบ ตําแหนงเชื่อมแนวระดับ การเชื่อมรอยตอแนวระดับจะเลือกรูปแบบการสายลวดเชื่อมตําแหนงมุมหัวเชื่อม และลําดับ รอยเชื่อม ถาเปนรอยตอฉากใชการสายลวดแบบวงกลม สวนการเชื่อมรอยตอชนของเที่ยวเชื่อมฐานและเที่ยวเชื่อมเติม ใหใชก ารสายลวดแบบเคลื่อ นที่ก ลับ ไปมาหรือ ไมสายลวด เพื่อ เพิ่ม ความกวางรอยเชื่อ มและหยุดขางรอยตอ ชั่ว ขณะ เพื่อใหขอบรอยตอหลอมรวมเขากับโลหะชิ้นงานไดเพียงพอ 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.12 รูปแบบการสายลวดเชื่อมตําแหนงการเชื่อมแนวระดับ ตําแหนงเชื่อมแนวตั้งและเหนือศีรษะ การเชื่อมรอยตอแนวตั้งขึ้นและตั้งลงจะเลือกใชรูปแบบการสายลวดเชื่อมตามลําดับ รอยเชื่อม การเชื่อมรอยตอชนหนาฉากแบบเชื่อมขึ้นจะใชการสายลวดแบบกลับไปกลับมา สวนรอยตอบากรองเชื่อมหลายเที่ยว ในการสายลวดแบบยูในรอยเชื่อมฐานรอยตอ รอยเชื่อมเดิมและรอยเชื่อมปด ใหใชการสายลวดแบบสลับฟนปลาจากขาง ถึงขางขอบรอยตอ ความยาวของจังหวะถอยจะเทากับขนาดของเสนผานศูนยกลางลวดเชื่อม สวนการเชื่อมรอยตอฉาก แบบเชื่อมหรือตอฉากแนวเหนือศีรษะ ใหใชการสายลวดแบบตนคริสตมาสและหยุดดานขางชั่วขณะ

ภาพที่ 2.13 รูปแบบการสายลวดเชื่อมแนวตั้งเชื่อมและแนวตั้งเชื่อมลง 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.14 รูปแบบการสายลวดเชื่อมแนวตั้งขึ้นหรือการเชือ่ มแนวเหนือศีรษะ 7. ผลกระทบของระยะยื่น (Stick Out) ของลวดเชื่อม ระยะยื่นของลวดเชื่อม คือ ระยะหางระหวางขอบลางของทอนํากระแสถึงปลายสุดของลวดเชื่อม ถาสวนยื่นยาวขึ้นก็จะมีผล ทําใหเกิดความตานทานทีล่ วดเชื่อมสูงตาม นั่นคือ การเพิ่มความรอนใหลวดเชื่อมกอนที่จะเกิดการอารก จากผลดังกลาวจะทําให กระแสเชื่อมที่มาชวยหลอมลวดเชื่อมและอัตราการปอนลวดเหลือนอยลง สวนการวัดหาคาสวนยื่นจะวัดไดยากกวาการวัด ระยะยื่น หรือระยะจากปลายหัวครอบถึงผิวหนาชิ้นงานจะวัดไดงาย แตสวนที่เพิ่มขึ้นจะทําใหการหลอมเล็กลง แสดงใหเห็นสวน ยื่นลวดเชื่อมที่ยาวขึ้น จะทําใหเนื้อโลหะเชื่อมและบอหลอมไดรับความรอนนอย จึงทําใหรูปทรงแนวเชื่อมและการหลอมลึก ไมสมบูรณ และยังทําใหเกิดเปลวอารกที่ไมคงที่ สวนผลที่ตามมาคือ เกิดอัตราการหลอมลวดสูงขึ้น เพื่อใหคาสมรรถนะของแนวเชื่อมไดชดเชยในการเปลี่ยนระยะอารกของการเชื่อมใหสั้นลง เชน บนพื้นที่ที่เปดรองหาง ของรอยตอใหใหญขึ้นหรือแคบลงไดสมบูรณขึ้น เชน ถาตองการเพิ่มการหลอมลึกใหไดมากขึ้น ก็อาจเพิ่มรองหางใหใหญขึ้น นั่นคือ ชางเชื่อมสามารถเพิ่มสวนยื่นลวดเชื่อมใหมากขึ้นก็จะมีผลทําใหการลดกระแสไฟเชื่อมและการหลอมลึกในบริเวณนั้น ไดนอยลง

ภาพที่ 2.15 แสดงระยะยื่นของลวดเชื่อม ก.สั้น ข.ปานกลาง และ ค.ยาว

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.16 แสดงผลกระทบของระยะยื่นที่เปลี่ยนแปลง จะทําใหกระแสไฟเชื่อมเกิดการเปลี่ยนเปนปฏิภาคกลับกัน ดวยระยะอารกคงที่

ภาพที่ 2.17 แสดงผลกระทบของระยะยื่นที่เปลี่ยนแปลง จะทําใหการหลอมลึกเปลี่ยนแปลงปฏิภาคกลับกัน ดวยระยะอารกคงที่

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.18 แสดงผลกระทบของระยะยื่นที่เปลี่ยนแปลง ถาเพิ่มมากขึ้นอัตราการหลอมลวดก็จะเพิม่ ขึ้นตาม ถานําขอมูลการปรับระยะยื่น หรือระยะหางจากปลายทอสัมผัสกระแสถึงผิวหนาของโลหะชิ้นงาน เปน 3 ระดับ คือ รูป ทางดานซายปรับ ระยะยื่ นให สั้ นกว าภาพกลาง สวนภาพขวามือ ใหมีร ะยะยาวสุด โดยคาอื่น ๆ คงที่ ก็จ ะไดขอ มูล เปรียบเทียบรวม

ระยะหางสวนยื่น อิเล็กโทรด

สั้นกวา

ปานกลางประมาณ 10 มม.

ยาวกวา

ตานทานความรอน

นอย

ปานกลาง

มาก

พลังงานการอารก

มาก

ปานกลาง

นอย

การหลอมลึก

ลึกกวา

ปานกลาง

ตื้นมาก

สะเก็ดเชื่อม

เล็กนอย

ปานกลาง

จํานวนมาก

ภาพที่ 2.19 การเปรียบเทียบระยะยื่นหรือระยะทางจากทอสัมผัสนํากระแสถึงผิวหนาชิ้นงาน ที่มีขนาดความสั้นยาวตางกัน จะใหผลตอสมบัติของการเชื่อมที่แตกตางกัน 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

8. หลักการของระบบพัลส (Pulse System) กระแสตรงพัลส จะใชเชื่อมเมื่อตองการใหการซึมลึกดีและลดความรอนเขาสูงาน กระแสพัลสจะเกิดขึ้นขณะทําการเชื่อม ดวยกระแสที่ตั้งไวระดับหนึ่งตามคาบเวลาที่ตั้งไว แลวสวิตชิ่งสูระดับกระแสที่สูงขึ้นครบหนึ่งวัฏจักรเวลา การพัลสกระแส และวัฏจักรนี้จะเกิดซ้ํา ๆ กันไป

ภาพที่ 2.20 กระแสพัลส กระแสพัลสจะไดจากเครื่องเชื่อมเพียงเครื่องเดียว แตมีวงจรสรางกระแสดังกลาวรวมอยูในเครื่องเดียวกัน โดยมีระดับ กระแสสองระดับคือ กระแส 20 แอมแปรที่ 18 โวลต แตไมเกิน 750 แอมแปรที่ 50 โวลต และความถี่ในการพัลสสามารถ ปรับเปลี่ยนได กระแสเชื่อมพัลสนิยมนํามาเชื่อมงานที่มีหนาตัดบาง เพราะใหกระแสตรงที่สม่ําเสมอในการถายโอนโลหะ แบบละออง ความรอนเขาสูงานต่ํา ทําใหงานเชื่อมบิดตัวนอย สมบัติเฉพาะสําหรับเครื่องเชื่อมแรงดันคงที่ มี 3 ประการ คือ - การไหลของกระแสเชื่อมไปสูงานจะถูกปรับอัตโนมัติใหเหมาะกับอัตราปอนลวดเชื่อม - อัตราเร็วปอนลวดเชื่อมคงที่ - การเริ่มอารกอยางทันทีจะขจัดจุดเบี่ยงเบนที่จุดเริ่มตนของรอยเชื่อม เนื่องจากลวดเชื่อมหลอมเหลวทันที โดยกระแสจํานวนมากจะปองกันไมใหลวดเชื่อมติดกับชิ้นงาน ขณะเดียวกันกระแสก็จะกลับคืนสูสภาพเดิมไดเร็ว ชวยปกปองการหลอมยอนของลวดเชื่อม การถายโอนแบบพัลส เปนกระแสที่พัฒนาการมาแทนการถายโอนแบบละอองเพราะมีขอจํากัดการใชงาน แตยังคงเปน การถายโอนแบบละอองอยู การพัลสของกระแสเชื่อมจากระดับต่ําสุดถึงระดับสูงสุดที่ 60 ไซเคิลตอวินาที จังหวะการพัลส แตล ะครั้ง จะทําใหปลายลวดเชื่อ มหลอมเปนหยดโลหะไดหนึ่งหยด แลวถายโอนผานอารกสูบอ หลอมเหลวดวยความถี่ สม่ําเสมอ ระดับกระแสต่ําสุดจะตั้งในชวงการถายโอนแบบละออง การถายโอนหยดโลหะจะเกิดขึ้นเมื่อการพัลสกระแสถึงระดับ สูงสุด หลังจากถายโอนหยดโลหะกระแสจะลดลงต่ําสุดเทาที่ตั้งไว กระแสต่ําจะชวยใหการอารกเกิดอยูตลอดเวลาและการพัลส เพิ่มขึ้นถึงระดับสูงสุด ชวงจังหวะนี้การถายโอนหยดโลหะไมเกิดขึ้น การพัลสของกระแสสูงแลวต่ําลงจะมีผลตอการควบคุม 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ปริมาณความรอนสูงานเชื่อม โดยความรอนเฉลี่ยจะต่ํากวาการถายโอนแบบละออง จึงเหมาะกับการเชื่อมงานบางที่มีปญหา การหลอมทะลุเนื่องจากความรอนสูง จึงเชื่อมงานที่อยูในตําแหนงแนวเชื่อมนอกเหนือมาตรฐานไดงายกวา งานบิดตัวนอย ใชลวดเชื่อมขนาดใหญไดแตการถายโอนหยดโลหะผานอารกยังคงเปนหยดขนาดเล็กอยู จึงจะประหยัดกวาการใชลวดขนาดเล็ก ซึ่งมีปญหาการปอนลวดเชื่อม การเกิดกระแสพัลสไดจากการปด - เปดวงจรระหวางกระแสต่ําสุดกับสูงสุด ดังนั้นในเครื่องเชื่อมตัวเดียวจึงมีตนกําลัง ที่แยกออกเปน 2 สวน คือ สวนที่ทําใหกระแสต่ําสุดและสวนที่ใหกระแสพัลสสูงสุด ซึ่งราคาเครื่องเชื่อมจะมีราคาที่แพงกวา แบบธรรมดาสองเทา เพื่อใหกระแสพัลสสูงสุด ตองใหสูงกวาระดับกระแสชวงเปลี่ยนของการถายโอนแบบละออง และกระแสต่ําสุดตั้งอยู ในชวงการถายโอนแบบหยดขนาดใหญ ปลายลวดเชื่อมจะหลอมที่วัฏจักรต่ําสุดเมื่อกระแสเพิ่มขึ้นกวาจุดชวงที่เปลี่ยนหยดโลหะ จะแยกตัวออกจากปลายลวดเชื่อ มผานอารก สูบอหลอม วัฏจัก รนี้จะเกิดขึ้นซ้ํา ๆ อยางตอ เนื่อง ขณะที่ป ฏิบัติการเชื่อม บอหลอมจะแข็งตัวเร็วกวาการถายโอนแบบละออง การอารกรุนแรงกวาแตความถี่ของการถายโอนจะลดลง กระแสพัลสสามารถเชื่อมไดทั้งโลหะที่เปนเหล็กและโลหะที่ไมใชเหล็ก เพราะมีปริมาณความรอนเขาสูงานต่ําทํา ให สามารถเชื่อมงานที่มีตําแหนงแนวเชื่อมนอกเหนือมาตรฐาน เพราะกระแสพัลสและบอหลอมเหลวแข็งตัวเร็ว เชื่อมเหล็ก คารบอน เหล็กกลาเจือนิกเกิลสูง เหล็กกลาเจือต่ํา เหล็กกลาไรสนิม ทองแดง ทองแดงเจืออะลูมิเนียม และโลหะเจือชนิดอื่น ๆ เชื่อมงานหนาตัดบางกับหนาปานกลางไดดี และเชื่อมรอยตอไดทุกชนิด แกสปกปองไดเฉพาะแกสเฉื่อยหรือแกสผสมอารกอนกับฮีเลียม อารกอน 95% กับออกซิเจน 2% อารกอนกับฮีเลียม และคารบอนไดออกไซดหรือเปนไปตามขอกําหนดของบริษัทผูผลิต ถาแกสผสมที่มีปริมาณคารบอนไดออกไซดสูงจะทําให แรงกัดหลุดของหยดโลหะจากปลายลวดนอย แรงตึงผิวสูงและมีสะเก็ดโลหะกระเด็นมาก ขนาดลวดเชื่อม 1.2 - 2.4 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.21 แสดงคลื่นกระแสดานออกของเครื่องเชื่อม กระแสพัลส และขั้นตอนการถายโอนโลหะ 71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. การสงถายน้ําโลหะแบบใดจะไมสามารถเกิดไดในกระบวนการเชื่อม CO 2 ก. Short Arc ข. Globular Arc ค. Spray Arc ง. Long Arc 2. ถาระยะยื่นลวดยาวขึ้นจะมีผลกระทบอยางไร ก. กระแสเชื่อมและอัตราการปอนลวดสูงขึ้น ข. กระแสเชื่อมและอัตราการปอนลวดนอยลง ค. แรงดันเชื่อมและอัตราการปอนลวดสูงขึ้น ง. แรงดันเชื่อมและอัตราการปอนลวดนอยลง 3. ชุดควบคุมการปอนลวด นอกจากจะควบคุมใหอัตราการปอนลวดเปนไปอยางสม่ําเสมอแลวยังมีอีกหนึง่ หนาที่คืออะไร ก. ควบคุมแรงดันไฟเชื่อม ข. ควบคุมกระแสไฟเชื่อม ค. ควบคุมความรอนลวดเชื่อม ง. ควบคุมอัตราความเร็วลวดเชื่อม 4. การเชื่อมรอยตอฉากใชตําแหนงเชื่อมแบบใด ก. ตําแหนงเชื่อมแนวราบ ข. ตําแหนงเชื่อมแนวตั้ง ค. ตําแหนงเชื่อมเหนือศีรษะ ง. ตําแหนงเชื่อมแนวระดับ

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

5

อุปกรณที่กลไกสามารถบังคับดวยมือ เพื่อใหลอมวนลวดหยุดหมุนในขณะปฏิบัติงาน และหมุนลวดที่เหลือถอย กลับเขาเก็บในมวนลวด

6

การแกไขปญหาในการเชื่อมโดยแบงการเชื่อมเปนระยะ เนื่องจากการเชื่อมแบบตอเนื่องทําใหสูญเสียโลหะชิ้นงานมาก

7

ระยะหางระหวางขอบลางของทอสัมผัสนํากระแสถึงปลายสุดของลวดเชื่อม

8

กระแสที่พัฒนาการมาแทนการถายโอนแบบละออง เชื่อมไดทั้งโลหะและอโลหะ ใหการซึมลึกดีและลดความ รอนเขาสูงาน สามารถเชื่อมงานที่มีตําแหนงแนวเชื่อมนอกเหนือมาตรฐาน เชื่อมงานหนาตัดบาง และเชื่อม รอยตอไดทุกชนิด

9

กระบวนการอารกที่ทําใหบอหลอมเชื่อมเย็นตัวเร็วและมีขนาดเล็ก เหมาะสําหรับรอยตอที่เปนชิ้นงานบาง ไมตอ งคํานึงถึงตําแหนงทาเชื่อม ถาใชแกสคารบอนไดออกไซดเปนแกสปกปอง จะชวยใหเกิดการหลอมลึกไดดี แตถาใชแกสคารบอนไดออกไซดผสมอารกอน จะชวยควบคุมสะเก็ดเชื่อมใหนอยลง

10 อุปกรณที่ทําหนาที่จายแกสเพื่อปกคลุมบริเวณอารก และเปนทางผานของกระแสไฟ พรอมกับลวดเชื่อมสูบริเวณอารก 11 องคประกอบสําคัญในงานเชื่อม ใชเพื่อปกปองบอหลอมโลหะเชื่อม ไมใหสารปนเปอนจากอากาศเขาไปผสม นิยมใชแกสคารบอนไดออกไซดหรือใชแกสผสมระหวางแกสคารบอนไดออกไซดกับอารกอน ขอ

คําตอบ

หัวเชื่อมแม็ก

แกสปกปอง

การสงถายน้ําโลหะแบบลัดวงจร

การปองกันการบิดตัวของความเคนคงคาง

ชุดควบคุมการหมุนยอนกลับ

การถายโอนแบบพัลส

การถายโอนโลหะแบบหยด

ระยะยื่นของลวดเชื่อม 73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 ตอนที่ 2 จับคู ขอ

5 6 7 8 9 10 11

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 3

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.