DONT Magazine December/January 2019

Page 1




Editor’s Letter

CONTENTS

THE REALISATION ISSUE 04 ET CETERA 16 FASHION LIVING GREEN

26 BEAUTÉ

GENEROSITY IN RESPONSE

34 COVER STORY

แม้จะเริ่มต้นใหม่ได้ทุกๆ เช้า แต่ปีใหม่ก็ถือเป็นโอกาสดีที่สุดสำ�หรับการตั้งปณิธาน ใหม่ๆ คนส่วนใหญ่จึงใช้โอกาสนี้สร้างเป้าหมายให้แก่ตัวเอง ทีมงานของ DONT ก็เห็น ไม่ต่างกัน ในฐานะสื่อเราอยากใช้ช่วงเวลานี้ชวนให้ทุกคนตระหนักถึงความสำ�คัญของ ‘ปัญหาสิ่งแวดล้อม’ ซึ่งเป็นวาระยิ่งใหญ่ระดับโลก ดิฉันไม่ต้องแจกแจงว่าเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมอะไรบ้าง เพราะถึงจะเป็นคนที่ไม่ใส่ใจ เรือ ่ งนีท ้ ส ี่ ด ุ แต่ดว้ ยอิทธิพลของโซเชียลมีเดีย เรือ ่ งราวเหล่านีก ้ ต ็ อ ้ งเลือ ่ นไหลผ่านตาและ ลอยเข้าหูอยู่ดี การที่ทีมของเราได้พูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญหลายคน ทำ�ให้เรายิ่งตระหนัก ว่าวิกฤตสิ่งแวดล้อมมันใกล้ตัวเรามากจริงๆ ไม่ว่าจะเป็นมลพิษในอากาศ การบริโภค พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย สารปนเปื้อนในพื้นที่เพาะปลูก ขยะล้นจนเกลื่อนทะเล น้ำ�แข็ง ขั้วโลกละลาย และอื่นๆ อีกมากมาย และถ้าเราไม่เริ่มขยับตัวทำ�อะไรบ้างเพื่อที่อย่างน้อย จะไม่ทำ�ให้มันแย่ไปกว่าเดิม พวกเราคงเดือดร้อนกันอย่างมากในเร็ววัน ไม่วา่ จะเป็นปัญหาอะไรก็ตาม ก่อนทีจ่ ะเริม ่ ต้นแก้ไขได้ เราต้องยอมรับการมีอยูข ่ องมัน เสียก่อน บางเรื่องอาจสามารถแก้ไข้ได้ง่ายดายด้วยตัวคนเดียว แต่บางเรื่องก็ยิ่งใหญ่ ต้องใช้เวลาและงบประมาณมากมายเสียจนจำ�เป็นต้องได้รับการร่วมมือกันทุกภาคส่วน เพราะมันไม่ใช่ความรับผิดชอบของคนใดคนหนึง่ แต่เป็นของทุกคน DONT หยิบประเด็นนี้ มาคุยกัน ไม่ใช่เพื่อให้เครียด แต่เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น และรับรู้ว่าอย่างน้อยมันก็ยัง มีทางชะลอปัญหา รวมไปถึงการแก้ไข ถ้าเรามีทิศทางเดินที่สอดคล้องเป็นหนึ่งเดียว นอกจากการตระหนักรูเ้ รือ ่ งปัญหาและความเป็นไปรอบตัว เรือ ่ งทีเ่ กีย ่ วข้องกับตัวเอง โดยตรงก็สำ�คัญยิ่งเช่นกัน นางแบบปกหน้าหวานร่างบางของเราในฉบับนี้ บอกว่า เมือ ่ ถึงจุดหนึง่ ในชีวต ิ เธอก็เรียนรูว้ า่ สิง่ ทีจ่ ะวัดคุณค่าในฐานะนักแสดงของเธอคือผลงาน ไม่ใช่จ�ำ นวนแฟนคลับ เธอไม่ตอ ้ งทำ�ทุกงาน ไม่ตอ ้ งมีแฟนคลับเยอะทีส ่ ด ุ แต่ออมมัน ่ ใจมาก ว่าทุกงานที่เธอสรรจะสร้างความสุขให้กับแฟนคลับของเธอได้แน่นอน แล้วคุณผู้อ่าน ล่ะคะ คิดว่าอะไรคือจุดหมายที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับช่วงเวลาเริ่มต้นปี 2019

NATURALLY SUSHAR

42 TALK

CONSEQUENCES & COUNTERMEASURES

46 FEATURE

FIGHT AGAINST PLASTIC

Stockists BASIC TEEORY INSTAGRAM: BASIC_TEEORY, BLACKDOG GATEWAY AKAMAI 2F, CHRISTIAN LOUBOUTIN 1F CENTRAL EMBASSY TEL. 0 2160 5814-5, COS SIAM PARAGON 1 F T E L . 0 2 0 6 0 1 0 8 0 , E M Q U A RT I E R 1 F , D RYC L E A N O N LY S I A M C E N T E R THE WONDER ROOM 3F TEL. 0 2658 1000, EVERYDAY KARMAKAMET EVERYDAY LIFESTYLE SHOP BTS SALADAENG EXIT 3 GF, EVERYTHING EST OK ISETAN 2F, SEENSPACE HUAHIN, K.A.O FACEBOOK: KAO SANGFUANG, KEEPSAKE M CURATED EMPORIUM GF, LANDMEE SIAM SQUARE ONE 2F TEL. 0 2115 1499, SIAM SQUARE SOI 3 TEL. 0 2658 3272, LOEWE SIAM PARAGON MF TEL. 0 2610 9825, THE EMPORIUM MF TEL. 0 2664 9902, MIULITARY FACEBOOK: TEERAWAT JANSENG, MOREFIEND INSTAGRAM: MOREFIEND_OFFICIAL, NARA THE RACQUET CLUB SUKHUMVIT 49/9, OAKLEY SIAM PARAGON 1F, PLEASANT SIMPLE THE SELECTED SIAM CENTER 1F, ICONSIAM 2F, PRADA SIAM PARAGON MF TEL. 0 2610 9800, CENTRAL EMBASSY MF TEL. 0 2160 5744, EMQUARTIER MF TEL. 0 2003 6044, RENIM PROJECT CAZH SIAM DISCOVERY, ABSOLUTE SIAM SIAM CENTER 1F, REPLEAT THE SELECTED SIAM CENTER 1F, CENTRAL EMBASSY 4F, THE EMPORIUM GF, RUBBER KILLER FLAGSHIP STORE NIMMANHAEMIN CHIANGMAI, SEEKER X RETRIEVER INSTAGRAM: SEEKERXRETRIEVER, SODA SIAM CENTER 1F, STYLENANDA SIAM PARAGON 1F, THE EMQUARTIER 2F, TEL. 0 2269 1000

สวัสดีปีใหม่ค่ะ แล้วพบกันฉบับหน้า

Contributors Kro ng k

Nip o

n

ห่างหายจากการร่วมงานด้วยกันไปนาน ‘อาร์ตโตะ’ กลั บ มาทำ � งานกั บ ที ม งานของ DONT อี ก ครั้ ง ในฐานะผู้ช่วยช่างภาพของแฟชั่นเซตปก นับว่าเป็น จั ง หวะอั น ดี เ พราะผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ฝ่ า ยสร้ า งสรรค์ กลั บ มาถ่ า ยเซตปกอี ก ครั้ ง หลั ง จากร้ า งราไปนาน การทำ � งานครั้ ง นี้ ข องทั้ ง สองคนจึ ง เปรี ย บเสมื อ น การคัมแบ็กและรียูเนียนกลายๆ

DONT

เพิ่งร่วมงานกับทีมแฟชั่นไปเมื่อไม่นานมานี้ ‘เบส’ ที่ ต อนนี้ เ ป็ น ฟรี แ ลนซ์ เ ต็ ม ตั ว แล้ ว กลั บ มาช่ ว ยงาน ช่างภาพของกองบรรณาธิการอีกครั้งในเซตภาพถ่าย ประกอบคอลัมน์ Feature งานภาพแนวคอนเซปต์ชวล ที่ นำ � พลาสติ ก มาพั น รอบตั ว นางแบบต้ อ งอาศั ย ความเป๊ ะ และฉั บ ไว ดั ง นั้ น ผู้ ช่ ว ยช่ า งภาพคนนี้ จึ ง เป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ ที่ ทำ � ให้ ง านครั้ ง นี้ อ อกมาสมบู ร ณ์ ตามที่หวังไว้

2

JANUARY 2019

Dulyad ej S

a ng fua ng

i

hamsai

ha dec ng ho

pla Su

nK wa อดีตน้องฝึกงานที่ยังมาร่วมงานกับเราอยู่เสมอ แม้ จ ะแกรดจาก DONT จนกลายเป็ น บั ณ ฑิ ต จาก รัว้ ศิลปากรแล้วก็ตาม ฉบับนี้ ‘ไอซ์’ มาช่วยทีมสไตลิสต์ สร้างสรรค์แฟชั่นเซตปก การทำ�งานนั้นไม่ต้องห่วง เลยเพราะเข้าขากันได้ดีอยู่แล้วตั้งแต่สมัยฝึกงานที่นี่ เห็ น หน่ ว ยก้ า นแล้ ว เชื่ อ ได้ เ ลยว่ า อนาคตบนเส้ น ทาง สไตลิสต์ของสาวน้อยคนนี้ไปได้ไกลแน่นอน

Wiroon​Wu tti p

‘เกล้า’ น้องฝึกงานคนล่าสุดของทีมแฟชั่นที่แม้ มาแบบเงียบๆ แต่กลับโดดเด่นด้วยสไตล์การแต่งตัว สุดปัง เขาเริม ่ เรียนรูง้ านด้วยการช่วยงานบรรณาธิการ แฟชั่นในโปรดักชั่นภาพถ่ายประกอบคอลัมน์ Feature ที่ พู ด ถึ ง การจั ด การขยะพลาสติ ก ในไทย ต่ อ ด้ ว ย เซตแฟชั่นที่ตั้งคำ�ถามว่า ‘Can fashion go green?’ แค่เดือนแรกก็อด ั แน่นขนาดนีแ้ ล้ว เราเชือ ่ ว่าอีก 3 เดือน ต่อจากนี้ เขาจะได้เรียนรู้อะไรอีกเยอะแน่นอน



ET CETERA WORDS: R ATCHAKRIT CHALERMSAN

Enchanted Crystal Tales PHOTOS: SWAROVSKI

เ ส น่ ห์ ที่ ส ร้ า ง ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ สำ � ห รั บ Swarovski เชื่ อ ว่ า ปั จ จุ บั น นี้ ค งไม่ ต้ อ งการ คำ � อธิ บ ายมากมาย ความใส่ ใ จในรายละเอี ย ด ดี ไ ซน์ ทั น สมั ย และวั ส ดุ อ ย่ า งคริ ส ตั ล ที่ ดี ที่ สุ ด รั ง สรรค์ เ ป็ น คอลเลกชั่ น เครื่ อ งประดั บ ทีห ่ ลากหลาย แตกต่าง และแต่ละชิ้นล้วนมีเสน่ห์ ในตั ว เอง แล้ ว อะไรคื อ เคล็ ด ลั บ จริ ง ๆ ของ สู ต รสำ � เร็ จ ที่ ทำ � ให้ Swarovski เป็ น แบรนด์ เครื่ อ งประดั บ อั น เป็ น ที่ รั ก ของคนไปทั้ ง โลก DONT มี โ อกาสพู ด คุ ย กั บ นาตาลี คอลลิ น (Nathalie Collin) ผูอ ้ �ำ นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ หญิ ง แกร่ ง ผู้ อ ยู่ เ บื้ อ งหลั ง งานดี ไ ซน์ ช วนฝั น คอลเลกชัน ่ Fall/Winter 2018 ในธีม Crystal Tales รวมถึ ง พู ด คุ ย ถึ ง เทรนด์ แ ละแนวโน้ ม ของเครื่องประดับในปี 2019 นี้

Strong Point of View In Design อีกหนึง่ เรือ ่ งทีเ่ ราได้พด ู คุยกับนาตาลีคอ ื ทิศทางของเทรนด์เครือ ่ งประดับ ในอุ ต สาหกรรมของแฟชั่ น ที่ ทั้ ง นาตาลี แ ละเราเห็ น พ้ อ งถึ ง คนยุ ค ใหม่ ที่ จ ะก้ า วเข้ า มาเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นวงการให้ คึ ก คั ก และน่ า สนใจมากขึ้ น “เด็ ก ยุ ค ใหม่ มี มุ ม มองที่ ต่ า งจากที่ เ ราเคยมี ม าก่ อ น พวกเขามองหา เครื่ อ งประดั บ ที่ บ่ ง บอกความเป็ น ตั ว เอง คนเอเชี ย มั ก มองหาอะไรที่ Young & Trendy เครื่องประดับที่มีดีไซน์ ผสมผสานทั้งความคลาสสิก และเทรนดี้ในแบบที่ลงตัว พวกเขาชอบที่จะมิกซ์แอนด์แมตช์ สร้างลุค ให้ตวั เองดูโดดเด่น ในขณะทีฝ ่ งั่ ยุโรปกลับชอบความคลาสสิก ความหรูหรา ที่ดูโต เข้าใจง่าย และใช้ไปได้นาน” การบ้านชิ้นใหญ่ที่นาตาลีและทีมใช้เวลา ศึกษากันทุกวัน เพือ ่ เข้าใจถึงความต้องการ ความหลากหลายของกลุม ่ คน ทีต ่ า่ งกัน “เรากำ�ลังทำ�งานกับระบบทีแ่ ตกต่างกัน เราเคยดีไซน์เมนคอลเลกชัน ่ ต่อหนึง่ ซีซน ั่ ตอนนีเ้ ราทำ�แบบนัน ้ ไม่ได้ เพราะตลาดเรากว้างมากขึน ้ แคปซูล คอลเลกชั่นเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่เราเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับกับคนกลุ่มใหม่”

Brilliance For All

“ในคอลเลกชั่น Fall/Winter นี้ ฉันอยาก พาทุกคนหลบหนีจากโลกแห่งความจริง แล้ว พาไปยังโลกของเทพนิยายอย่างโลกเวทมนตร” แรงบั น ดาลใจเทพนิ ย าย ถู ก ถ่ า ยทอดเป็ น คอลเลกชั่ น เครื่ อ งประดั บ ชวนฝั น ในเฉดของ สีทอง ม่วงเข้ม น้ำ�เงินแซฟไฟร์ แดงเบอร์กันดี และเขียวมรกต ในรูปแบบที่แตกต่างตามวาระ และความชอบของแต่ ล ะบุ ค คล นอกจากนั้ น ค ว า ม พิ เ ศ ษ ข อ ง ค อ ล เ ล ก ชั่ น นี้ จ ริ ง ๆ คื อ Swarovski Remix Collection “เครื่องประดับ เป็นสิง่ สะท้อนบุคลิกเฉพาะตัว สไตล์ และรสนิยม ของคนเรา มันเป็นเรือ ่ งเฉพาะตัวมากๆ” จุดเด่นที่ ให้ผห ู้ ญิงทุกคนสามารถปรับเปลีย ่ นเครือ ่ งประดับ ตามอารมณ์ในแต่ละวันได้ และสะท้อนตัวตนของ ตัวเองได้ดีที่สุด “ฉันอยากมอบความเจิดจรัสให้ กับทุกคน (Brilliance for all)” นาตาลีกล่าว ทิ้งท้าย

Bon Voyage 2019 “Sunshine ชื่อคอลเลกชั่นสปริง 2019 ฉันได้ไอเดียมาจากพลังงานแง่บวกจากการเดินทาง ท่องเทีย ่ วไปทีต ่ า่ งๆ โมร็อกโก อิตาลี อิบซ ิ า คาปรี และกรีซ คุณจะได้เห็นสีสน ั แน่ๆ รวมถึงงานคราฟต์ ของประเทศต่างๆ เข้ามามีบทบาทในงานดีไซน์ของฉัน รวมถึงต่อยอดไอเดียของการมิกซ์เครือ ่ งประดับ ในแบบของตัวเอง ที่ฉันตั้งใจอยากให้ผู้หญิงสนุกกับการเลือกมากขึ้น” แค่นั้นยังไม่พอ นาตาลี ยังแอบกระซิบบอกเราถึงคอลเลกชัน ่ สุดพิเศษทีก ่ �ำ ลังจะเกิดขึน ้ เร็วๆ นี้ “เราทำ�งานหนักมาก เพือ ่ ทีจ่ ะหา ใครก็ตามมาร่วมออกแบบคอลเลกชัน ่ เครือ ่ งประดับกับเรา เราอยากบอกว่าปีหน้าเราได้เพเนโลเป ครูซ (Penelope Cruz) มาเป็นดีไซเนอร์พิเศษสำ�หรับโปรเจกต์พิเศษของเรา ฉันอยากให้ทุกคนติดตาม”

DONT

4

JANUARY 2019



ET CETERA WORDS: KRIT PROMJAIRUX

Soulful Craf tsmanship PHOTO: LE LABO WORDS: BEN WIBOONSIN

สำ�หรับ Le Labo แบรนด์น้ำ�หอมชื่อดังจากนิวยอร์ก น้ำ�หอมก็ไม่ต่างจากงานศิลปะที่ต้องอาศัยความพิถีพิถัน และให้ ค วามสำ � คั ญ ทุ ก รายละเอี ย ดของขั้ น ตอนการผลิ ต ตั้ ง แต่ ก ารเฟ้ น หาส่ ว นผสมของแต่ ล ะกลิ่ น ซึ่ ง น้ำ � หอม ของ Le Labo จะมีตัวเลขตามหลังเสมอ นั่นคือจำ�นวนของ ส่วนผสมของน้ำ�หอมกลิ่นนั้นๆ เรื่อยไปจนถึงการออกแบบ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ม อบความรู้ สึ ก เป็ น ส่ ว นตั ว ขั้ น สุ ด แก่ ลู ก ค้ า ของแบรนด์ดว้ ยการใส่ชอ ื่ เฉพาะของแต่ละบุคคล ความพิเศษ และแตกต่างทำ�ให้ Le Labo ประสบความสำ�ร็จในตลาด น้ำ�หอมเป็นอย่างมาก การสร้างสรรค์น้ำ�หอมแต่ละกลิ่นคือเรื่องใหญ่สำ�หรับ Eddie Roschi และ Fabrice Penot ผู้ ก่ อ ตั้ ง ทั้ ง สอง ของแบรนด์ ทุ ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ภ ายใต้ ชื่ อ Le Labo จะต้ อ ง ก่ อ เกิ ด จากแรงบั น ดาลใจและความประทั บ ใจส่ ว นตั ว ของ ผู้ก่อตั้ง ไม่ว่าจะเป็นส่วนผสมที่เฉพาะเจาะจง การเดินทาง หรือเรื่องราวในชีวิตประจำ�วัน ทั้งสองเชื่อว่ากลิ่นหอมที่มี เรื่ อ งราวและที่ ม า จะส่ ง ต่ อ แรงบั น ดาลใจให้ แ ก่ แ ฟนๆ ของแบรนด์ได้เช่นกัน ดังนัน ้ น้�ำ หอมกลิน ่ ใหม่ของ Le Labo จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อมีองค์ประกอบที่เหมาะสมเท่านั้น หลังจากปล่อยให้คนรักน้ำ�หอมรอถึงสามปี Le Labo ก็เปิดตัว Tonka 25 น้ำ�หอมกลิ่นใหม่ล่าสุดของแบรนด์ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการสร้ า งสรรค์ ก ลิ่ น นี้ คื อ ความประทั บ ใจ ในกลิ่นหอมอันเป็นเอกลักษณ์ของ Cedar Atlas พืชตระกูล ซีดาร์ที่พบในเทือกเขาแอตลาส และ Tonka Bean ซึ่งเป็น เมล็ ด พั น ธุ์ จ ากต้ น Cumaru พื ช พื้ น เมื อ งของภู มิ ภ าค อเมริกากลาง จึงเป็นส่วนผสมที่ได้รับการคัดสรรให้เข้ามา ผสมผสาน ร่ ว มด้ ว ยส่ ว นผสมอื่ น ๆ เช่ น ยางไม้ มั ส ก์ วานิลลา และส่วนผสมอื่นๆ ก่อเกิดเป็นกลิ่นหอมเข้มข้น ยิ่งได้กลิ่นก็ยิ่งรู้สึกหลงใหลในความอบอุ่นและเปี่ยมเสน่ห์ ของกลิ่นหอมที่มีส่วนผสมมาจากแดนไกล ทดลองกลิ่นหอมอันเป็นเอกลักษณ์ของ Tonka 25 จาก Le Labo ได้ ตั้ ง แต่ วั น นี้ เ ป็ น ต้ น ไป ที่ คิ ง เพาเวอร์ สาขาซอยรางน้ำ�

The Parisian Cafe

Onboard Painting PHOTOS: SANSIRI

แสนสิริ ร่วมกับ มิเกล บาร์เซโลว ศิลปิน สาย Neo-expressionist แนวหน้าจากประเทศ สเปน จัดแสดงการวาดภาพแบบสดๆ ครั้งแรก ในประเทศไทย บนเรือทีล ่ อ่ งไปตามแม่น�ำ้ เจ้าพระยา ในงาน ‘Sansiri presents Miquel Barceló: DESPINTURA FÒNICA’ ด้ ว ยคอนเซปต์ ‘Live Painting Experiment with Music’ ที่ ผูร้ ว่ มงานล้วนได้ดม ื่ ด่�ำ ไปกับการเพนต์ภาพแบบ สดๆ บนผื น ผ้ า แคนวาสผลิ ต พิ เ ศษขนาด ยาวกว่า 20 เมตร ร่วมกับการแสดงไวโอลิน ของ อายูมิ พอล นักไวโอลินระดับโลก ตอกย้ำ� ภาพลั ก ษณ์ ข องแสนสิ ริ ที่ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ ศิ ล ปะและมุ่ ง หวั ง ให้ ค นไทยทุ ก กลุ่ ม เข้ า ถึ ง งานศิ ล ปะ ผ่ า นการนำ � ผลงานของศิ ล ปิ น ระดับโลกมาจัดแสดงอย่างต่อเนื่อง

PHOTOS: NESPRESSO

เนสเพรสโซ ต้ อ นรั บ เทศกาลหยุ ด ยาวด้ ว ยกาแฟลิ มิ เ ต็ ด อิ ดิ ชั่ น ‘A Taste Of Paris’ ทีไ่ ด้รบ ั แรงบันดาลใจมาจาก Parisian Gourmandise รสสัมผัสแบบชาวปารีสที่ให้คุณได้ดื่มด่ำ�กับรสชาติกาแฟสไตล์ฝรั่งเศส ทัง้ กาแฟดำ�แบบปารีสขนานแท้ และอีก 2 รสชาติทป ี่ รุงแต่งกลิน ่ ให้อบอวล ไปด้ ว ยความหวานของขนมอย่ า งมาการอง (Macaron) และพราลี น (Praline) ที่มาพร้อมกับแพ็กเกจที่เป็นผลงานการออกแบบโดย อินเดีย มาดาวี (India Mahdavi) นักออกแบบระดับโลกที่ได้มาร่วมรังสรรค์ ประสบการณ์รสชาติสุดพิเศษครั้งนี้ สัมผัสทั้ง 3 รสชาติแห่งปารีสและ สัง่ ซือ้ ผลิตภัณฑ์อน ่ื ๆ ของ Nespresso ได้ที่ Nespresso boutique ศูนย์การค้า สยามพารากอน ชั้น 1, Nespresso Pop-Up Boutique เอ็มควอเทียร์ เฮลิ ก ซ์ ควอเที ย ร์ ชั้ น G, Nespresso เซ็ น ทรั ล เอ็ ม บาสซี ชั้ น 2 และ Nespresso เมกาบางนา ชั้น 1 หรือทาง www.nespresso.com

DONT

6

JANUARY 2019



ET CETERA WORDS: KRIT PROMJAIRUX

Luxurious TravelWatch PHOTO: HAMILTON WATCHES

Hamilton เอาใจหนุ่ ม นั ก เดิ น ทางด้ ว ยโมเดลลิ มิ เ ต็ ด อิ ดิ ชั่ น รุ่น ‘Hamilton Broadway GMT’ ที่ผลิตออกมาเพียง 2018 เรือน ทั่วโลก โดดเด่นด้วยดีไซน์ที่มาพร้อมหน้าปัดสเตนเลสสตีลขนาด 46 มม. ที่ ม าพร้ อ มกั บ ฟั ง ก์ ชั่ น สำ � หรั บ หนุ่ ม นั ก เดิ น ทางที่ ส ามารถบอกเวลา ได้ถึง 2 ไทม์โซน ตามเอกลักษณ์ในนาฬิกาแบบ GMT ไม่ว่าคุณจะเดิน ทางไปอยู่ ที่ ใ ดบนโลก คุ ณ ก็ ส ามารถดู เ วลาของบ้ า นเกิ ด ของคุ ณ และ เวลาที่ 2 ซึ่งเป็นเวลาท้องถิ่นที่คุณไปเยือน ส่วนขอบวงแหวน (Bezel) ทำ�จากเซรามิกสีดำ�สนิทพร้อมสลักชื่อ 24 เมืองในฝันสำ�หรับนักเดินทาง ด้ ว ยตั ว อั ก ษรสี ข าว สั ม ผั ส ที่ สุ ด นาฬิ ก าแห่ ง การเดิ น ทางได้ แ ล้ ว วั น นี้ ที่ เซ็นทรัลเวิลด์, เซ็นทรัล ชิดลม, เซ็นทรัล ลาดพร้าว, เซ็นทรัล ปิ่นเกล้า, ซิ ตี้ ม อลล์ , เซ็ น ทรั ล พั ท ยา, เซ็ น ทรั ล สมุ ย , โรบิ น สั น ภู เ ก็ ต , เดอะมอลล์ บางแค

Drive Safe With Mercedes

Delight 3.0

PHOTO: BENZ TTC

PHOTOS: SKECHERS (THAILAND)

เมอร์เซเดส-เบนซ์ประเทศไทย ร่วมกับ บริษัท ทีทีซี มอเตอร์ จำ�กัด (Benz TTC) จัดทริปสุดเอ็กซ์คลูซีฟแทนคำ�ขอบคุณ ให้กับลูกค้าเพื่อฝึกอบรมเทคนิคการขับขี่รถยนต์เพื่อความปลอดภัย ‘Mercedes-AMG Driving Experience’ ระหว่าง วันที่ 13-14 ตุลาคม 2561 ที่ผา่ นมา ณ สนามช้าง อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต จ.บุรีรม ั ย์ พร้อมกับนำ�รถยนต์สมรรถนะสูง ‘เมอร์เซเดส-เอเอ็มจี’ (Mercedes-AMG) หลายรุ่นมาให้ลูกค้าวีไอพีได้ทดสอบสมรรถนะการขับขี่กับสุดยอดนวัตกรรม ระดับซูเปอร์คาร์ พร้อมทัง้ กิจกรรม ‘Follow the leader’ ให้ผเู้ ข้าร่วมทัง้ หมดขับรถตามผูส ้ อนบนสนาม Full Track เพือ ่ เรียนรู้ เทคนิคการขับขี่อย่างปลอดภัยจากกิจกรรมดังกล่าว สัมผัสประสบการณ์สด ุ พิเศษของนวัตกรรมยานยนต์ล�้ำ สมัย ได้ทโี่ ชว์รม ู “ทีทซ ี ”ี สาขาพัฒนาการ 45 โทร. 0 2722 7518 และสาขาอุ บ ลราชธานี โทร. 0 4547 5222 หรื อ ติ ด ตามกิ จ กรรมครั้ ง ต่ อ ไป รวมทั้ ง อั พ เดตข่ า วสารต่ า งๆ ได้ ท าง www.ttc.mercedes-benz.co.th

DONT

8

สเก็ตเชอร์ส ประเทศไทย เปิดตัว ดีไลท์ 3.0 รองเท้าสไตล์พื้นหนา (Chunky Shoes) ในงาน ‘สเก็ตเชอร์ส ดีไลทส์ 3.0 แกงค์สตา ปาร์ตี้’ พร้อมเปิดตัวพรีเซนเตอร์คนแรกประจำ�ประเทศไทย ก็อต-อิทธิพัทธ์ ฐานิตย์ ผู้ที่จะมาถ่ายทอดภาพลักษณ์อันล้ำ�สมัยและสไตล์ของคนรุ่นใหม่ของ สเก็ ต เชอร์ ส สำ � หรั บ ดี ไ ลทส์ 3.0 นี้ ม าพร้ อ มกั บ พื้ น เมมโมรี โ ฟม (Memory Foam) ด้ า นบน ของรองเท้าออกแบบเป็นแบบถักเพื่อเพิ่มความสบายในการสวมใส่ ลวดลายเป็นคลื่นที่พื้นหนา ด้านนอกของรองเท้าเพิ่มความทะมัดทะแมง สามารถหาซื้อ ดีไลทส์ 3.0 และผลิตภัณท์อื่นๆ ของ สเก็ตเชอร์ส ได้ที่แฟลกชิปสโตร์แห่งแรกในประเทศไทยบริเวณชั้น 3 โซนบีคอน ห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์

JANUARY 2019



ET CETERA WORDS: KRIT PROMJAIRUX

Cruise With The Primest English Chef PHOTO: SHERATON

โรงแรม รอยั ล ออคิ ด เชอราตั น เปิ ด ประสบการณ์ ล่ อ งเรื อ ดิ น เนอร์ สุ ด พิ เ ศษภายใต้ ชื่ อ ‘Catch Tim If You Can’ ท่ามกลางบรรยากาศของแม่น้ำ�เจ้าพระยา พร้อมเปิดตัว ทิม สเปดิง เชฟรับเชิญจากประเทศอังกฤษ เพื่อมารังสรรค์มื้ออาหารสุดพิเศษ ณ ร้านอาหารในห้าโรงแรมดัง ได้แก่ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน, เดอะ ดิสทริคท์ กริลล์ รูม แอนด์ บาร์ โรงแรมแมริออท กรุงเทพฯ สุขม ุ วิท, ห้องอาหารลา ทาโวลา แอนด์ ไวน์ บาร์ โรงแรมเรเนซองส์ กรุงเทพฯ ราชประสงค์, ห้องอาหารไดน์ อิน เดอะ ดาร์คและห้องอาหารรอสซินีส์ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท และ ห้องอาหารฟาโวลา โรงแรมเลอ เมอริเดียน สุวรรณภูมิ กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา ระหว่างวันที่ 2-17 พฤศจิกายนที่ผ่านมา

ImpressiveFanMeeting inBangkok PHOTOS: TEENAGE DREAM CORPORATION

ได้ใจแฟนเพลงชาวไทยไปอย่างล้นหลามสำ�หรับนักร้องสาวอินดี้ดูโอ้ชื่อดังจากประเทศเกาหลีใต้ ‘BOLBBALGAN4 (บลปัลกันโฟร์)’ ที่มาพบปะแฟนๆ ชาวไทยเป็นครั้งแรกในงาน ‘BOLBBALGAN4 1st Fan Meeting in Bangkok 2018’ เมื่อวันเสาร์ท่ี 10 พฤศจิกายน 2561 ที่ผ่านมา ณ DND Club เอกมัย ซึ่งแฟนคลับชาวไทยต่างได้ฟินไปกับบรรยากาศ แสนเป็ น กั น เอง นอกจากได้ ฟั ง ผลงานฮิ ต ของพวกเธอกั น สดๆ ทั้ ง ‘Tell Me You Love Me’ ‘Some’ ‘Galaxy’ ‘You&I’ และ ‘Travel’ 2 สาว ‘อัน จียอง’ และ ‘ยู จียุน’ ยังชวนแฟนๆ มาทำ�คัพเค้กด้วยกันแบบแนบชิดพร้อมจับมือ ถ่ า ยรู ป อย่ า งสนุ ก สนาน ซึ่ ง สร้ า งประทั บ ใจให้ กั บ ทั้ ง ศิ ล ปิ น และแฟนคลั บ ที่ ม าร่ ว มงาน จนทั้ ง สองถึ ง กั บ เอ่ ย ปากว่ า จะกลับมาหาแฟนคลับชาวไทยอีกอย่างแน่นอน

Miss Universe 2018 PHOTOS: PTN 2018 CO., LTD.

บริษัท พีทีเอ็น 2018 จำ�กัด ผู้ถือลิขสิทธิ์ ในการจัดการประกวด Miss Universe ประจำ�ปี 2018 แถลงความคื บ หน้ า ในฐานะเจ้ า ภาพ จัดประกวด ‘Miss Universe 2018’ ทีจ่ ะเกิดขึน ้ ที่ ก รุ ง เทพฯ ประเทศไทย โดย คุ ณ ณรงค์ เลิ ศ กิ ต ศิ ริ กรรมการบริ ห าร บริ ษั ท ที พี เ อ็ น 2018 จำ � กั ด กล่ า วว่ า “ผู้ ช มทั่ ว โลกจะไม่ ไ ด้ เพียงเห็นความงดงามของสาวงามผูเ้ ข้าประกวด จากหลากหลายประเทศทีเ่ ดินทางมาประเทศไทย เท่ า นั้ น แต่ ยั ง จะได้ ชื่ น ชมความตระการตา ของศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทยที่ เ ป็ น มรดกของชาติ ซึ่ ง จะถ่ า ยทอดตลอดระยะเวลาการจั ด งาน และในโอกาสที่ ป ระเทศไทยเป็ น เจ้ า ภาพจึ ง ได้ เสริ ม สร้ า งคุ ณ ค่ า ทางสั ง คมและเพิ่ ม มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิจและศิลปวัฒนธรรมเพื่อนำ�ความ เป็นไทยสู่ระดับสากล” การประกวดรอบตัดสิน จะมีขน ึ้ ในวันที่ 17 ธันวาคม 2561 เวลา 7.00 น. ณ อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี ติดตามข่าวสารการประกวด Miss Universe 2018 ได้ทาง www.missuniverse.in.th

DONT

10

JANUARY 2019



SPECIAL REPORT

Where Existence is not Foundation Let’s get lost to find brand new experiences through the empires of exquisite digital art. Photos teamLab EXHIBITION VIEW OF MORI BUILDING DIGITAL ART MUSEUM: teamLab BORDERLESS, 2018, ODAIBA, TOKYO © teamLab Words BEN WIBOONSIN

เมื่อได้ข่าวการร่วมมือกันจัดนิทรรศการศิลปะดิจิทัลถาวร teamLab Borderless ระหว่ า ง teamLab และ Mori Building ที่ โ ตเกี ย ว ที่ เ ปิ ด ให้ เ ข้ า ชมเป็ น ครั้ ง แรกเมื่ อ วั น ที่ 21 มิ ถุ น ายน 2018 ผู้ เ ขี ย นก็ รู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัวอยากจะไปชมทันใด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อได้เห็น ความตระการของนิ ท รรศการจากรู ป และอ่ า นรี วิ ว ต่ า งๆ มากมายจาก โซเชียลมีเดีย ด้วยการสนับสนุนของสายการบิน NokScoot ที่เปิดให้ บริการเทีย ่ วบินกรุงเทพ-โตเกียวเมือ ่ เร็วๆ นี้ ทำ�ให้ทริปเกิดขึน ้ ทันใจ และยัง ได้โบนัสอีกต่อเมื่อ teamLab Planets TOKYO นิทรรศการศิลปะดิจิทัล ชัว่ คราว ที่ teamLab ร่วมมือกับ DMM.com ก็เปิดให้ชมในช่วงเวลาไล่เลีย ่ กัน ผู้เขียนจึงสามารถจัดนิทรรศการทั้งสองได้ภายในทริปเดียว ระหว่างทีอ ่ ยูโ่ ตเกียว ผูเ้ ขียนยังได้มโี อกาสไปเยือนออฟฟิศของ teamLab และพูดคุยกับทาคาชิ คุโดะ (Takashi Kudo) ผูอ ้ �ำ นวยการฝ่ายสือ ่ สารของ teamLab Inc. ถึงแรงบันดาลใจและที่มาของการสร้างสรรค์นิทรรศการ ศิลปะดิจท ิ ล ั ทัง้ สองงาน แม้จะมีจด ุ มุง่ หมายและวิธก ี ารนำ�เสนอทีแ่ ตกต่างกัน แต่ทั้ง teamLab Borderless และ teamLab Planets TOKYO มีจุดร่วม อยูท ่ ก ี่ ารมอบประสบการณ์รป ู แบบใหม่แก่ผเู้ ข้าชมโดยเชือ ่ มโยงศิลปะเข้ากับ การเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์

Get To Know teamLab สร้ า งชื่ อ เสี ย งทั้ ง ในด้ า นศิ ล ปะและเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล มาเกื อ บจะ สองทศวรรษ teamLab จึงเป็นชื่อที่คุ้นหูไปทั่วโลก แม้จะไม่ใช่สายอาร์ต ตัวแม่ก็เชื่อว่าชื่อนี้เคยผ่านหูกันมาบ้าง เพราะบ้านเราก็เคยจัดแสดงงาน ของ teamLab เช่นกัน teamLab ก่อตัง้ ขึน ้ ในปี 2001 โดยการรวมตัวของกลุม ่ คนหลากหลาย สาขาอาชีพทีเ่ ชือ ่ ในการใช้เทคโนโลยีดจิ ท ิ ล ั ไม่วา่ จะเป็นศิลปิน โปรแกรมเมอร์ สถาปนิก กราฟิกดีไซเนอร์ วิศวกร และอีกมากมาย เพื่อสร้างสรรค์และ ถ่ายทอดผลงานศิลปะผ่านสื่อดิจิทัล พวกเขาเชื่ออย่างยิ่งว่าศิลปะดิจิทัล สามารถช่วยสร้างความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่ๆ แก่มนุษย์ได้ การนำ�เสนอชิ้นงานศิลปะที่โดดเด่นและแตกต่าง ทำ�ให้ผลงานของ teamLab ได้ รั บ ความสนใจและตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี นอกเหนื อ จาก เมืองต่างๆ ในประเทศญีป ่ น ุ่ แล้ว นิทรรศการของพวกเขาได้รบ ั การจัดแสดง ในหลากหลายเมืองทัว่ โลก ไม่วา่ จะเป็นสิงคโปร์ ดูไบ เมลเบิรน ์ มิลาน ปารีส แคลิฟอร์เนีย ฯลฯ รวมทั้งยังมีการร่วมมือกับแบรนด์และองค์กรต่างๆ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานเฉพาะกิจ

“เราสนใจเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก รวมไปถึงกับมนุษย์ คนอืน ่ ๆ ผ่านแง่มม ุ ของศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ เพือ ่ ส่งเสริมทัศนคติ และความรู้สึกในแง่บวก เพราะชีวิตทุกวันนี้มันมีเรื่องเศร้าๆ เต็มไปหมด แต่ทุกอย่างมันก็มีสองด้านทั้งนั้น อย่างเหล็ก เราจะใช้เพื่อทำ�อาวุธก็ได้ หรื อ จะใช้ เ พื่ อ สร้ า งรู ป ปั้ น ก็ ไ ด้ บางคนอาจจะใช้ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เพื่ อ ความสะดวกสบาย แต่ที่ teamLab เราเชื่อว่าเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถ เป็นเครื่องมือในการสื่อสารศิลปะและความงามได้ และเราอยากจะใช้มันเพื่อ สร้างสรรค์อนาคตที่ดี สำ�หรับผมเองในฐานะที่เป็นพ่อ ผมก็อยากให้ลูก ได้เติบโตในโลกทีด ่ แี ละมีอนาคตทีด ่ ”ี ทาคาชิบอกเล่าถึงจุดประสงค์หลักของ teamLab ซึ่งตรงกับแนวคิดส่วนตัวของเขาเองที่อยากสร้างสิ่งแวดล้อม ที่ดีอย่างยั่งยืน ไม่ใช่แค่เพื่อคนรุ่นนี้ แต่เพื่อคนรุ่นต่อไปด้วย “เราทำ�งานกันเป็นกลุม ่ เพราะเราไม่ใช่อจั ฉริยะ เราไม่สามารถทำ�ทุกอย่าง คนเดียวได้ เราต้องทำ�งานด้วยกัน แล้วเราก็ต้องทำ�งานร่วมกับคนอื่นและ องค์กรอืน ่ เพือ ่ ทดลองและสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ นีค ่ อ ื ทีม ่ าของชือ ่ teamLab เราเชือ ่ ว่าการร่วมกันสร้างสรรค์ เป็นหนทางเดียวทีเ่ ราจะสร้างสรรค์งานได้” เขาอธิบายถึงความหมายและที่มาของชื่อองค์กร


SPECIAL REPORT

The Border -less Universe

teamLab Borderless มีชื่อเต็มว่า MORI Building DIGITAL ART MUSEUM: teamLab Borderless เกิดจากการร่วมมือระหว่าง teamLab และ Mori Building บริษัทจัดการและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ชื่อดังของญี่ปุ่นที่เน้นเรื่องการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน และเป็นหนึ่งใน ผู้สนับสนุนวงการศิลปะของญี่ปุ่นเสมอมา องค์กรทั้งสองแห่งตกลงใจ สร้าง teamLab Borderless เพื่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวและนิทรรศการ ศิลปะดิจิทัลที่ช่วยกระตุ้นและจุดประกายความคิดสร้างสรรค์แก่ผู้ชม นอกเหนือจากความตระการละลานตาของชิ้นงานศิลปะกว่า 500 ชิ้น ในพื้ น ที่ ข นาด 10,000 ตารางเมตร ที่ มี ค อมพิ ว เตอร์ ค วบคุ ม กว่ า 500 เครื่อง โปรเจกเตอร์เกือบ 500 ชุด และเซ็นเซอร์ตรวจจับอุณหภูมิ และการเคลื่อนไหวจำ�นวนมากมาย นิทรรศการ teamLab Borderless คือความแปลกใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนโลกศิลปะ เพราะมันไม่ใช่แค่ การเดินเข้าไปชมชิน ้ งานศิลปะ แต่ผเู้ ข้าชมจะต้องใช้รา่ งกายและการเคลือ่ นไหว ไม่วา่ จะเป็นการสัมผัส การกระโดด การปีนป่าย รวมไปถึงการสร้างงานศิลปะ ของตัวเอง เพือ ่ แต่งเติมและสร้างสรรค์ประสบการณ์เฉพาะตัวในหลากหลาย รูปแบบตลอดเวลาที่เข้าชมนิทรรศการ “เอาจริงๆ งานของเรามันไม่ได้มีอยู่ด้วยซ้ำ� เพราะทุกอย่างเป็นดิจิทัล แต่การดำ�รงอยู่หรือไม่ ไม่ใช่สาระสำ�คัญของศิลปะดิจิทัล เพราะสิ่งที่สำ�คัญ ซึ่งเป็นรากฐานเลยของศิลปะแขนงนี้คือความคิดสร้างสรรค์” ทาคาชิ พูดถึงงานศิลปะที่ทีมของเขาร่วมกันสร้างสรรค์ “คอนเซปต์ตงั้ ต้นของเราคือการหามิตใิ หม่ๆ ของความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์และโลก หรือแม้แต่กับมนุษย์ด้วยกันเองก็ตาม นอกจากงานทุกชิ้น ใน Borderless จะมีการเคลื่อนไหวเชื่อมโยงและมีความสัมพันธ์กันแล้ว เรายั ง หมายความรวมถึ ง ความไร้ พ รมแดนระหว่ า งชิ้ น งานศิ ล ปะและ ผู้ชมด้วย สำ�หรับพวกเราขอบเขตใดๆ ก็ตามมันคือสิ่งสมมติที่มนุษย์ สร้างขึ้นทั้งนั้น” ความตั้ ง ใจที่ จ ะทลายทุ ก ขอบเขตและสร้ า งความเป็ น ไปได้ แ บบไม่ มี ขีดจำ�กัด ทำ�ให้ teamLab Borderless ได้รับการออกแบบโดยไม่มีการ กำ�หนดเส้นทางหรือป้ายบอกทางใดๆ ผูช ้ มจะเลือกชมส่วนใดของนิทรรศการ ก่อนแล้วแต่ความพอใจ “อย่างแรกที่ต้องเกิดขึ้นเมื่อไปชมงาน teamLab Borderless ก็คือ การหลงทาง มันไม่ได้มีป้ายบอกทาง หรือจุดกำ�หนดทางเดินอะไรทั้งนั้น อยากจะเดินไปตรงกลาง ทางซ้าย หรือทางขวา ก็เลือกได้ตามความพอใจ ผูช ้ มจะต้องค่อยๆ คลำ�หาเส้นทางการชมผลงานศิลปะไปเรือ ่ ยๆ ด้วยตัวเอง” ความตัง้ ใจทีจ่ ะทลายทุกกำ�แพงของการสือ ่ สารและการเข้าถึงงานศิลปะ เพื่อสร้างประสบการณ์ที่หาจากที่อื่นไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างชิ้นงานศิลปะ ระหว่างชิ้นงานศิลปะกับผู้ชม และระหว่างผู้ชมด้วยกัน ทำ�ให้ทั้งนิทรรศการ ทัง้ ห้าส่วน ได้แก่ Borderless World, teamLab Athletics Forest, Future Park, Forest of Lamps และ EN Tea House มีความเชือ ่ มโยงสัมพันธ์กน ั

ขณะเดี ย วกั น การเคลื่ อ นไหวและการตอบสนองของผู้ ช ม ยั ง เป็ น ส่ ว นสำ � คั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ ทำ � ให้ ชิ้ น งานเปลี่ ย นแปลงไปเรื่ อ ยๆ เช่ น Multi Jumping Universe ถ่ายทอดวงจรชีวิตของดวงดาวในจักรวาล ด้วยพื้นผิวยืดหยุ่นและกว้างขวาง จึงทำ�ให้คนหลายๆ คน สนุกกับการ ใช้พื้นที่ในเวลาเดียวกันได้ จะกระโดดให้สูงขึ้นๆ หรือจะปล่อยตัวทิ้งดิ่ง ให้จมลงไปบนพื้นก็ได้ ยิ่งมีการเคลื่อนไหวมากเท่าไร ก็จะยิ่งทำ�ให้เกิด กลุม ่ ดาวมากขึน ้ ดาวดวงเล็กๆ จะขยายใหญ่ขน ึ้ จนถึงทีส ่ ด ุ แล้วจึงสลายตัว เป็นละอองดาวและกลุม ่ ก๊าซล่องลอยไปในอวกาศ ก่อนจะเกาะตัวกันเกิดเป็น ดาวดวงใหม่อีกครั้ง เรื่อยไปจนถึงการที่ดาวดวงยักษ์กลายเป็นหลุมดำ� ที่ดูดกลืนทุกอย่าง หรือ Weightless Forest of Resonating Life ป่าไร้น้ำ�หนักที่เต็มไปด้วยบอลลูนหลากสีหลายขนาด ทั้งลอยติดเพดาน และกลิง้ ไปมาบนพืน ้ เมือ ่ มีคนสัมผัสหรือผลักบอลลูน สีเฉพาะของบอลลูน ลูกนั้นๆ ก็จะเปล่งออกมา และทำ�ให้บอลลูนลูกอื่นๆ ค่อยๆ เปลี่ยนเป็น สีเดียวกันจนหมดทัง้ ห้อง การเปลีย ่ นสีทเี่ ริม ่ มาจากอีกฟากของห้อง จะทำ�ให้ เรารู้ว่าเกิดจากคนที่อยู่อีกฝั่งที่เข้าชมงานพร้อมกัน “มันเป็นเรื่องปกติที่เราจะรำ�คาญความมีอยู่ของคนอื่นๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเวลาชมงานศิลปะ เราต้องการที่จะชื่นชมชิ้นงานในความสงบเงียบ เสียงคนเดิน หรือเสียงพูดคุย มันก็ทำ�ให้เราหงุดหงิด ในสถานการณ์ แบบนั้ น เราย่ อ มไม่ อ ยากให้ ค นอื่ น มาอยู่ ใ กล้ ๆ แต่ ถ้ า เป็ น teamLab Borderless ยิ่งมีคนเข้าชมเยอะ ยิ่งทำ�ให้งานศิลปะสวยขึ้น หรืออย่างน้อย ก็เป็นความคิดเห็นจากทีมเรา ซึ่งมันก็จะทำ�ให้การอยู่ร่วมกับคนอื่นเป็น เรื่องที่ไม่ได้แย่ขนาดนั้น” นอกจากความสนุกสนานตืน ่ ตาตืน ่ ใจ ทาคาชิและทีมหวังว่า teamLab Borderless จะสร้างแรงผลักดันด้านบวกแก่สังคมได้บ้าง “พวกเราหวังว่า ประสบการณ์ทค ี่ นได้จากการดูงานศิลปะที่ teamLam Borderless จะมีประโยชน์ในชีวิตประจำ�วันของพวกเขาด้วย โลกมันก็จะ น่าอยู่ขึ้นนะถ้าเรามีมุมมองแง่บวกมากขึ้นและมีพรมแดนน้อยลง” ครั้ ง เดี ย วคงไม่ พ อ นี่ คื อ ความรู้ สึ ก ของผู้ เ ขี ย นเมื่ อ เดิ น ออกมา จากนิ ท รรศการ ซึ่ ง นั่ น ก็ คื อ ความรู้ สึ ก ที่ ผู้ ส ร้ า งสรรค์ ตั้ ง ใจให้ เ กิ ด ขึ้ น ในหัวใจของผู้เข้าชม “คุ ณ จะกลั บ ไป teamLab Borderless กี่ ร อบก็ ไ ด้ จะเข้ า ไปดู งานชิน ้ เดียวกันซ้�ำ ๆ เท่าไรก็ได้ เพราะไม่วา่ จะดูกค ี่ รัง้ มันจะไม่มวี น ั เหมือนเดิม เลยสักครั้ง” นี่คือความพิเศษขั้นสุดของนิทรรศการศิลปะถาวรแห่งนี้ เพราะไม่วา่ ผูช ้ มจะกลับไปเยือนกีค ่ รัง้ ศิลปะดิจท ิ ล ั ทีเ่ ลือ ่ นไหลและปรับเปลีย ่ น ไปเรื่อยๆ จากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างชิ้นงานและผู้คน ก็ยังคงสามารถ สร้างประสบการณ์ใหม่ได้ทุกครั้งไป MORI Building DIGITAL ART MUSEUM teamLab Borderless borderless.teamlab.art Address: Odaiba Palette Town, 1-3-8 Aomi, Koto-ku, Tokyo Opening Hours: 9.00 a.m. – เที่ยงคืน ทุกวัน (ลงทะเบียนเข้างานก่อน 11.00 p.m.) Entrance Fee: ผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 3,200 เยน เด็กและเยาวชนอายุ 4-14 ปี 1,000 เยน ผู้ที่มีร่างกายทุพพลภาพพร้อมผู้ดูแล 1,600 เยน เด็กอายุต่ำ�กกว่า 3 ปี เข้าชมฟรี


SPECIAL REPORT

PHOTO: teamLab,​DRAWING ON THE WATER SURFACE CREATED BY THE DANCE OF KOI AND PEOPLE-INFINITY, 2016-2018, INTERACTIVE DIGITAL INSTALLATION, ENDLESS, SOUND: HIDEAKI TAKAHASHI © teamLab

Into The Immer -sive Planets นิทรรศการดิจท ิ ล ั ชัว่ คราว teamLab Planets TOKYO เป็นการร่วมมือ ระหว่าง teamLab และ DMM.com บริษัทให้บริการด้าน e-commerce และอินเทอร์เน็ตชื่อดังของญี่ปุ่น “teamLab Planets TOKYO แตกต่างจาก teamLab Borderless อย่ า งสิ้ น เชิ ง ที่ นี่ มี ท างเข้ า แค่ ท างเดี ย ว ผู้ ช มต้ อ งเข้ า ออกและเดิ น ไป ตามทางที่เรากำ�หนดให้เดิน มันเป็นการเดินจากโลกหนึ่งไปยังอีกโลกหนึ่ง คุ ณ จะได้ ป ระสบการณ์ แ บบจมดิ่ ง จากการเดิ น ทางไปใน immersive world (ประสบการณ์ที่ได้รับจากการสร้างความกลมกลืนระหว่างโลกจริง และโลกจำ�ลองแบบดิจิทัล) มันเป็นความงดงามที่อธิบายออกมาเป็นคำ�พูด ได้ยากมาก ส่วน teamLab Borderless สำ�หรับพวกเรามันเหมือนเป็น พิพธิ ภัณฑ์ไร้พรมแดน” ทาคาชิอธิบายความแตกต่างของทัง้ สองนิทรรศการ ขณะที่ชิ้นงานของ teamLab Borderless สอดประสานเป็นหนึง่ เดียว เพื่อปลดปล่อยผู้ชมจากการจำ�กัดของทิศทางและขอบเขต ความสนุก คือการค้นหาและสร้างสรรค์ความเป็นไปได้ใหม่ ตระหนักถึงการมีอยู่ของ สิ่ ง แวดล้ อ มรอบตั ว และยอมรั บ การอยู่ ร่ ว มกั บ คนอื่ น ๆ อาณาจั ก ร งานศิ ล ปะทั้ ง เจ็ ด ของ teamLab Planets กลั บ ได้ รั บ การสร้ า งสรรค์ โดยแยกเป็นสัดส่วน มีการกำ�หนดทิศทางและลำ�ดับการชมงานแต่ละส่วน อย่างชัดเจน คอนเซปต์หลักของ teamLab Planets คือการเคลื่อนไหว อย่างต่อเนือ ่ ง สีสน ั อันโดดเด่น และความเปลีย ่ นแปลงทีไ่ ม่สน ิ้ สุด ทุกชิน ้ งาน ของที่นี่จะดึงเราให้จมดิ่งลงไปในโลกเสมือนที่รายล้อมรอบตัว ยิ่งร่างกาย ของเราเคลื่อนไหวเป็นหนึ่งเดียวกับชิ้นงานมากเท่าไร ขอบเขตที่ขวางกั้น ระหว่างศิลปะและผู้ชมก็จะเลือนลางลงเรื่อยๆ

PHOTO: teamLab, ​E XPANDING THREE-DIMENSIONAL EXISTENCE IN INTENTIONALLY TRANSFORMING SPACE-FREE FLOATING, 12 COLORS​, 2018, INTERACTIVE INSTALLATION, ENDLESS, SOUND: HIDEAKI TAKAHASHI © teamLab

PHOTOS: teamLab,​WATERFALL OF LIGHT PARTICLES AT THE TOP OF AN INCLINE​, 2018, DIGITAL INSTALLATION © teamLab

PHOTO: teamLab,​DRAWING ON THE WATER SURFACE CREATED BY THE DANCE OF KOI AND PEOPLE-INFINITY, 2016-2018, INTERACTIVE DIGITAL INSTALLATION, ENDLESS, SOUND: HIDEAKI TAKAHASHI © teamLab


SPECIAL REPORT

PHOTO: teamLab,​SOFT BLACK HOLE-YOUR BODY BECOMES A SPACE THAT INFLUENCES ANOTHER BODY​, 2016 © teamLab

PHOTO: teamLab, COLD LIFE, 2014, DIGITAL WORK, 7 MIN 15 SEC. (LOOP), CALLIGRAPHY: SISYU © teamLab

ผูเ้ เขียนคิดว่า teamLab Planets ไม่ตอ้ งการคำ�อธิบายใดๆ มากไปกว่านี้ เพราะจะดีกว่ามากถ้าเรารู้เกี่ยวกับที่นี่ให้น้อยที่สุด เพื่อสร้างประสบการณ์ ประทับใจขั้นสุดเมื่อได้ไปเยือนด้วยตนเอง อย่างไรก็ตาม ผู้ที่วางแผน จะไปชม ควรทราบว่าเราสามารถจมดิง่ ไปในอาณาจักรแห่งนีไ้ ด้ดว้ ยเท้าเปล่า เท่ า นั้ น และบางส่ ว นของนิ ท รรศการผู้ ช มต้ อ งชมงานศิ ล ปะในพื้ น ที่ ที่ มีระดับน้�ำ ถึงหัวเข่า และหากจะสวมกระโปรงเข้าชม ก็ตอ ้ งระวังมากเป็นพิเศษ เพราะบางส่วนของนิทรรศการเป็นกระจก แม้จะมีจด ุ หมายเพือ ่ เน้นการสร้างความตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวเราและโลกผ่านงานศิลปะดิจิทัล แต่นิทรรศการทั้งสองให้ประสบการณ์ และความรู้สึกที่ต่างกันอย่างสิ้นเชิง ซึ่งผู้เขียนคิดว่าเป็นประสบการณ์ ที่ ไ ม่ ค วรจะพลาดทั้ ง คู่ ประสบการณ์ จ ากโลกเสมื อ นของ teamLab Planets จะมอบความรู้ สึ ก ที่ ดื่ ม ด่ำ � ล้ำ � ลึ ก และจั บ ใจ ส่ ว น teamLab Borderless จะให้ความรูส ้ ก ึ เพลิดเพลินจากการเสาะหา ค้นพบ และทดลอง โดยไม่มีขอบเขตใดๆ มาจำ�กัด หากมีเวลาจำ�กัดและต้องเลือกชมเพียงนิทรรศการเดียว แนะนำ�ให้ไปชม teamLab Planets เสียก่อน เพราะเป็นนิทรรศการชั่วคราวที่จะเปิดให้ ชมจนถึงฤดูใบไม้ร่วงปี 2020 เท่านั้น และอย่าไปโดยไม่ได้ซื้อตั๋วล่วงหน้า ผ่ า นเว็ บ ไซต์ เ ป็ น อั น ขาด เพราะนี่ คื อ สองแห่ ง ที่ เ ป็ น จุ ด เช็ ก อิ น สุ ด ฮอต ของโตเกียวในชั่วโมงนี้ TeamLab Planets TOKYO planets.teamlab.art/tokyo Address: Toyosu 6-1-16, Koto-ku, Tokyo Term: เปิดให้บริการจนถึงฤดูใบไม้ร่วง 2020 Hours: 9.00 a.m. – 10.00 p.m. (ลงทะเบียนเข้างานก่อน 9.00 p.m.) Entrance fee: ผู้ใหญ่ 3,200 เยน เยาวชน 13-17 ปี และผู้ที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป 2,400 เยน เด็กอายุ 4-12 ปี 800 เยน ผู้ที่มีร่างกายทุพพลภาพ 1,600 เยน

teamLabisrepresentedbyPaceGallery

PHOTO: teamLab,​FLOATING IN THE FALLING UNIVERSE OF FLOWERS​, 2016-2018, INTERACTIVE DIGITAL INSTALLATION, ENDLESS, SOUND: HIDEAKI TAKAHASHI © teamLab

PHOTO: teamLab, ​THE INFINITE CRYSTAL UNIVERSE​, 2015-2018, INTERACTIVE INSTALLATION OF LIGHT SCULPTURE, LED, ENDLESS, SOUND: teamLab © teamLab


Can fashion truly go green? Can fashion be more responsible? Or can fashion be more sustainable? An unconventional truth reveals that in the battle against waste, fashion is putting itself on the front line. Therefore, the proper question would be ‘Is fashion ready to go green?’ Though sustainable fashion still remains a niche market, one thing is certain; the future is looking greener. Photographer TOP.PONPISUT Fashion Editor RATCHAKRIT CHALERMSAN


Arm Accessories MIULITARY Necklaces BASIC TEEORY Shirt & Jeans RENIM PROJECT Pumps PRADA Balaclava & Mask STYLIST’S OWN


Hoodie & Dress EVERYDAY KARMAKAMET Necklace BASIC TEEORY Glasses STYLIST’S OWN


‘แฟชั่น’ อุตสาหกรรมหลักเบอร์แรกๆ ของตลาดโลกที่สร้างรายได้ จำ�นวนมหาศาล ‘หมื่นล้าน’ ตัวเลขผลประกอบการคร่าวๆ และภาพรวม ของสิ น ค้ า แฟชั่ น ทุ ก ชนิ ด ที่ ถู ก ตี ค่ า ออกมาในแต่ ล ะปี ไม่ ว่ า จะเป็ น fast fashion หรือ luxury fashion ก็ตามที จำ�นวนเลขมีทท ี า่ จะทะยานสูงขึน ้ เรือ่ ยๆ ทุกปี ถ้าเป็นในแง่ธรุ กิจตัวเลขนีก ้ �ำ ลังชีน ้ �ำ ไปในทางทีด ่ ี หมายถึงการเติบโต และเม็ดเงินที่หล่อเลี้ยงคนจำ�นวนนับล้านในอุตสาหกรรม สร้างรายได้ และสร้างอาชีพ แต่เหรียญมีสองด้าน เราคุ้นเคยกับธุรกิจแฟชั่นและสิ่งทอ ที่ ภ ายนอกสวยงาม เชิ ง บวก เชิ ง สร้ า งสรรค์ ก็ มี อี ก ด้ า นที่ ไ ม่ สู้ ดี นั ก ภาพยนตร์ ส ารคดี เ รื่ อ ง ‘True Cost’ ตี แ ผ่ เ รื่ อ งราวหลั ง บ้ า นของ อุตสาหกรรมสิง่ ทอทีค ่ นวงในไม่กล่าวถึง ด้านมืดทีถ ่ ก ู ฉาบด้วยภาพโฆษณา ชวนเชือ ่ การค้าแรงงานผิดกฎหมาย ค่าแรงทีไ่ ม่สมเหตุสมผล ทีภ ่ าพยนตร์ พยายามตีแผ่ให้เป็นทีพ ่ ด ู ถึง อี ก หนึ่ ง ประเด็ น ที่ อุ ต สาหกรรมนี้ ถู ก มองเป็ น วายร้ า ยเบอร์ ต้ น ๆ คือ ‘สิง่ แวดล้อม’ อุตสาหกรรมทีข ่ น ้ึ ชือ ่ เรือ ่ งความสวยงาม อาภรณ์ต่างๆ กลับกลายเป็นตัวการสำ�คัญสร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งทางตรง และทางอ้อม เช่น สารเคมีตกค้าง ปริมาณขยะ รวมถึงการฆ่าเพียงเพื่อ จุดประสงค์เดียว ‘ความสวยงาม’ นามธรรมลอยๆ ที่ต้องเสียสละอะไร หลายๆ อย่าง จริงๆ มันคุ้มกันแล้วหรือ แต่การตั้งแง่หรือแอนตี้ไม่ได้ช่วย ให้ทุกอย่างดีขึ้น คำ�ตอบที่เรากำ�ลังมองหาจริงๆ แล้วตั้งต้นมาจากคำ�ถาม ที่ว่า ‘แฟชั่นรักษ์โลกได้หรือไม่’

Beautiful Criminal

ในยุคทีแ่ ฟชัน ่ แทรกตัวอยูท ่ ก ุ ที่ ทัง้ บนผืนกระดาษแมกกาซีนและจักรวาล โซเชียลมีเดีย ในรูปแบบจอขนาดใหญ่จนไปถึงขนาดพกพาก็ตามที ‘แฟชัน ่ ’ เป็นมากกว่าแค่เรื่องของเดรส เสื้อยืด หรือกางเกงหนึ่งตัว แต่กลับเป็น เครื่องมือชั้นดีเพื่อสร้างและแสดงอัตลักษณ์ของตัวบุคคล ทั้งเซเลบริตี้ที่ แต่งตัวเพือ ่ ทีจ่ ะถูกพบเห็น รวมไปถึงเหล่าอินฟลูเอนเซอร์ทใี่ ช้สอ ื่ ออนไลน์เป็น ตัวกลางในการถูกชื่นชม ‘เสื้อผ้า’ จึงถูกใช้สอยไปไกลกว่าแค่เครื่องนุ่งห่ม ปัจจัยสีท ่ ไี่ ม่ได้มไี ว้เพือ ่ ป้องกันจากสภาพอากาศ แต่เพือ ่ แสดงจุดยืนและตัวตน ต่างจากสมัยก่อนที่แฟชั่นยังเป็นสังคมที่ปิด คนเฉพาะกลุ่มสามารถ ชืน ่ ชมและมีสว่ นร่วมได้จะต้องเป็นผูท ้ เี่ ข้าใจ เพราะแฟชัน ่ เป็นเรือ ่ งทีฟ ่ ม ุ่ เฟือย ‘Haute Couture’ มีบทบาทอย่างมากในสังคมชั้นสูง แบรนด์ดังอย่าง Chanel, Christian Dior และ Balenciaga ตัวอย่างกูตูริเยร์ที่พาคำ�ว่า แฟชั่ น ชั้ น สู ง ให้ ก ลายเป็ น เครื่ อ งหมายสากล จนกระทั่ ง การริ เ ริ่ ม ของ ‘Ready-to-Wear’ ตั ว แปรสำ � คั ญ ที่ พ าวงการเข้ า สู่ ก ระบวนการ อุตสาหกรรม ‘ปริมาณ’ และ ‘การกระจายสินค้า’ เป้าหมายใหม่ของแบรนด์ที่ ไม่ได้หวังพึ่งแค่กูตูริเยร์ไว้ทำ�ชุด 4-5 ตัวอีกต่อไป โรงงานขนาดใหญ่ ก้ า วเข้ า มาทำ � หน้ า ที่ ใ นการผลิ ต เพื่ อ รองรั บ กั บ ตลาดและกลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ขยายตัวมากขึ้น โลโก้แบรนด์ยุคปัจจุบัน หลายๆ แบรนด์มีกลุ่มบริษัท มหาทุนเครือใหญ่หนุนหลัง ต้นทุนและกำ�ไรเข้ามามีบทบาท ความต้องการ สิ่งใหม่ตลอดเวลา เพื่อเร่งสร้างเม็ดเงิน สร้างกำ�ไร กลายเป็นวงจรอุบาทว์ ทำ�ลายโครงสร้างอุตสาหกรรม และเป็นต้นตอแรกๆ ของการนำ�ไปสู่ภาวะ มลพิษที่ยากจะแก้ “การที่แบรนด์ผลิตสินค้ามากขึ้น เพื่อที่จะตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภคที่มีความต้องการมากขึ้นเรื่อยๆ กลายเป็นวงจรที่ถูกทำ�ให้ เร็วขึ้นมากๆ ไปแล้ว เมื่อก่อนอุตสาหกรรมผลิต 2 ซีซั่นต่อปี ตอนนี้คือ 8 หรือ 16 ส่งให้ทั้งอุตสาหรรมยิ่งหมุนไปไว แต่ส่วนที่เป็นปัญหามากที่สุด จะเป็นเรื่องของ landfill หลังจากที่ผู้บริโภคใส่แล้ว กลายเป็นขยะที่อยู่

ในตู้เสื้อผ้า หรือขยะที่ถูกบริจาคออกไป ขยะที่สุดท้ายถูกนำ�ไปทิ้งกองรวมกันเนี่ย มันไม่มีการจัดการ และมันก็ไม่สามารถนำ�มา regenerate กลับมาเป็นไฟเบอร์ใหม่ได้ แล้วการที่เรา produce มากขึ้น มากเกินความจำ�เป็นในทุกๆ ซีซั่น อย่างนี้ค่ะ มันก็ยิ่งทับถม แล้วก็ไม่มีใครไปแก้ปัญหาค่ะ” อุ้ง-กมลนาถ องค์วรรณดี สมาชิกองค์กร Fashion Revolution องค์กรเอกชน ที่เคลื่อนไหวเพื่อสร้างความตระหนักให้คนเข้าใจถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสังคมของอุตสาหกรรมแฟชั่น เรือ ่ งน่าช็อกคือนอกจากวงจรทีเ่ ปลีย ่ นก่อเกิดเป็นปริมาณขยะทีล ่ น ้ ประเทศ จริงๆ แล้วแฟชัน ่ ยังเป็นวายร้ายเบอร์สองในฐานะ บ่อนทำ�ลายสิ่งแวดล้อม อุ้งกล่าวเพิ่ม “อุตสาหกรรมแฟชั่นและสิ่งทอเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างมลพิษอันดับสองให้กับโลก รองจากน้ำ�มันนะคะ การผลิตเสื้อผ้ากว่าจะมาเป็นเสื้อ 1 ตัวเนี่ย ต้องผ่านหลายขั้นตอนมาก เริ่มตั้งแต่การปลูกฝ้าย การปลูก เส้นใยทีจ่ ะนำ�มาทอเป็นเส้นใย เสร็จจากเส้นใย นำ�มาทอเป็นผ้า ผ้าเสร็จเกิดขัน ้ ตอนการฟอก ย้อม ใส่สี ใส่ chemical finishing ทุ ก อย่ า งเข้ า ไป มาจนถึ ง การตั ด เย็ บ ที่ ต้ อ งสู ญ เสี ย ผ้ า ไประหว่ า งทางเยอะมาก ไหนต้ อ งใช้ แ รงงานอี ก พอมาถึ ง มื อ ของ ผู้บริโภคแล้ว ไม่ได้แปลว่าสิ่งเหล่านั้นจะจบ เพราะว่าปัจจุบันมีขยะที่เกิดจากการสวมใส่เพียงไม่กี่ครั้งแล้วก็โยนทิ้ง เป็นเหมือน disposable product เนี่ย จำ�นวนเยอะมากๆ ในอเมริกาเนี่ย เคยอ่านสถิติว่าใน 1 วินาที มีคนทิ้งเสื้อผ้าเท่ากับรถบรรทุก 1 คั น เสื้ อ ผ้ า ตอนนี้ ก ลายเป็ น fast product เหมื อ นแมคโดนั ล ด์ ที่ แ ทบไม่ มี ป ระโยชน์ กิ น แป๊ บ เดี ย วก็ ทิ้ ง ไป ซึ่ ง จริ ง ๆ เรามองว่าอุตสาหกรรมนี้มันมีคุณค่ามากกว่านั้นค่ะ”

A Matter Movement อย่างไรก็ตาม ถ้าย้อนไปในอดีตเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมกับอุตสาหกรรมแฟชั่น ดูจะเป็นปัญหาที่ไม่มีใครสนใจหรือให้ ความสำ � คั ญ พอที่ ย กประเด็ น นี้ ม านั่ ง คุ ย อย่ า งจริ ง จั ง แต่ ใ นยุ ค ของ ‘ดิ จิ ทั ล ’ ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ล้ ว นมี ค่ า เพราะแค่ ห นึ่ ง คลิ ก บางครัง้ มันมากพอทีจ่ ะเป็นกระบอกเสียงในการตัดสินอะไรบางอย่างได้ เช่นเดียวกับในกรณีของดีไซเนอร์ สเตลลา แม็กคาร์ตนีย์ (Stella McCartney) ที่เปิดตัวด้วยการประกาศกร้าวว่าเธอคือดีไซเนอร์วีแกน เธอปฏิเสธการใช้หนังสัตว์ทก ุ ชนิดในคอลเลกชัน ่ รวมถึงแผนกแอ็กเซสซอรี เธอเลือกที่จะใช้หนังเทียมหรือผ้าเท่านั้น ย้อนกลับไป 5-6 ปี การบอกว่าตัวเองเป็นดีไซเนอร์วีแกน หรือปฏิเสธการใช้เฟอร์ อาจจะสร้างไม่ได้สร้างกระแสมากนัก แต่วันนี้การยึดมั่นในสิ่งที่ตัวเองเชื่อและสิ่งที่ตัวเองยึดถือกลายเป็นจุดแข็งของแบรนด์ พร้อมสร้างเรื่องเล่าให้กลุ่มคนที่แสวงหา ‘ความเฉพาะ’ ยุคสมัยทีต ่ วั ตนนัน ้ สำ�คัญ แน่นอนว่ามันมาพร้อมการเสาะหาและการผูกตนเองเข้ากับอะไรบางอย่างทีส ่ ร้างคุณค่า ทางความรู้สึก ลูกแก้ว-ภัสสร์วี โคะดากะ อีกหนึ่งสมาชิกองค์กร Fashion Revolution เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ “คนจะเริ่มอินกับ brand story เหมือนกับว่าผ้าเรามาจากไหน คุณค่าของเราคืออะไร แบรนด์เขาพยายามจะสื่อสารอะไร ตัวตนของแบรนด์คืออะไร แล้วถ้าเราเป็นส่วนหนึ่งของแบรนด์นั้น เราสวมใส่แล้วเรารู้สึกแบบไหน เรารู้สึกภูมิใจรึเปล่า ตรงนั้นอะสำ�คัญ เด็กรุ่นใหม่ไม่ว่าจะ เป็นนักศึกษาแฟชั่น ก็เริ่มตั้งคำ�ถามและเริ่มสนใจ เพราะว่าเขาไม่ได้อินแค่ว่าอะไรสวยและสไตล์ลิสต์เท่านั้นแล้ว มันเหมือนกับว่า มันมีคุณค่ายังไงกับตัวเขาเองด้วย เขาซื้อเพราะว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของ part of something รึเปล่า” Shade PRADA Dress DRY CLEAN ONLY Hoodie MOREFIEND Boots CHRISTIAN LOUBOUTIN


Shade PRADA Necklaces BASIC TEEORY Shirt & Trousers SEEKER X RETRIEVER Blazer EVERYTHING EST OK Bag LOEWE Gloves COS Hat STYLIST’S OWN


การเคลื่อนไหวมักนำ�พาไปสู่ความเปลี่ยนแปลงไม่มากก็น้อย ในอุ ต สาหกรรมแฟชั่ น ที่ กำ � ลั ง ถู ก ตั้ ง คำ � ถาม สเตลลาสร้ า ง ‘ความเป็นไปได้’ ทำ�ให้เราเชือ ่ ว่าจริงๆ แล้วแฟชัน ่ สามารถก้าวไปต่อ ในอนาคตทีด ่ ส ู ะอาดและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมากขึน ้ เช่นเดียวกับ กลุ่มก้อนดีไซเนอร์ที่ได้แรงบันดาลใจจากเธอและพยายามจะเปลี่ยน มิ ติ ข องอุ ต สาหกรรมด้ ว ยการลงมื อ ทำ � และปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด วิธีการทำ�งานแบบเดิมๆ “จริ ง ๆ แล้ ว เริ่ ม มี slow movement เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ ค่ ะ อย่างในแบรนด์ในฝั่งเอเชียคือ เริ่มจะเห็นว่ามีทั้ง 2 ลักษณะของ แบรนด์ คือฝัง่ หนึง่ ก็จะเป็น slow fashion เป็น craft movement การกลั บ ไปหาวั ส ดุ จ ากธรรมชาติ เพื่ อ ผลิ ต ของที่ เ ป็ น มิ ต ร กับสิง่ แวดล้อมตัง้ แต่ตน ้ จนจบกระบวนการ ส่วนอีก spectrum นึง

Necklace BASIC TEEORY Bags EVERYTHING EST OK Gloves COS Dress NARA Hat & Boots STYLIST’S OWN

ก็ จ ะ เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก า ร ที่ ค น นำ � วั ส ดุ re c y c l e ห รื อ เ ป็ น regenerated fibers มาใช้ เพื่อยืดอายุของไฟเบอร์เหล่านั้น น่ ะ ค่ ะ อย่ า งแบรนด์ ที่ เ อาเสื้ อ เก่ า หรื อ เสื้ อ ผ้ า มื อ สองมาทำ � เป็ น แบรนด์ใหม่” อุ้งกล่าว ส่วนลูกแก้วเสริมว่า “กระแส Ethical Fashion หรือว่า Ethical Consumption การบริโภคอย่างมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และมีความ ตระหนักรู้เนี่ยมันใหญ่ขึ้นมากๆ ในยุโรป ในญี่ปุ่น และในประเทศ พัฒนาแล้ว เพราะฉะนั้นเนี่ย กระแสมันก็จะเริ่มกลับมาที่เราบ้าง เหมือนกับว่า มันเป็นความกดดันจากภายนอก จากเมืองนอก เนี่ยเข้ามาด้วย แล้วก็จากคนไทยเองที่ตั้งคำ�ถามด้วยค่ะ” ทั้งคู่เล่า ให้ฟังถึงความเคลื่อนไหวของกระแส Ethical Fashion ที่กำ�ลัง ก่อตัวในบ้านเรา แม้จะเป็นแค่การเคลื่อนไหวเล็กๆ น้อยๆ แต่การ เริ่ ม และลงมื อ ทำ � อย่ า งที่ เ รากล่ า วมั น นำ � มาซึ่ ง ความเป็ น ไปได้ ความเป็นไปได้ในอนาคตทีแ่ ฟชัน ่ จะตระหนักในสิง่ ทีต ่ นทำ�มากกว่านี้


Bodysuit BLACKDOG Fur ZARA


Alternative is Necessary

เราตั้งคำ�ถามว่าจริงๆ แล้ว แฟชั่นรักษ์โลกได้ไหม ‘น่าจะ’ คือคำ�แรก ทีพ ่ งุ่ เข้ามาในหัว ฟังแล้วอาจคลุมเครือ เพราะเราเชือ ่ ว่าการไปสุดตัว 100% อาจไม่ใช่วิธีการแก้ปัญหาที่ถูกจุดเสมอไป สินค้าทางเลือกหรือแบรนด์ ทางเลือก เป็นทางเลือกสำ�คัญที่จะเข้ามามีบทบาทไม่มากก็น้อย ในวันนี้ ทีเ่ ราถกเถียงกันว่าเรือ ่ งไหนควรทำ�และไม่ควรทำ� พวกเขาเหล่านีเ้ ป็นตัวแทน ของคำ�ตอบที่ลุกขึ้นมาทำ� เพราะอยากเปลี่ยนอะไรบางอย่าง “เราเคยทำ � งานแมกกาซี น มาหลายเล่ ม รู้ สึ ก ว่ า เทรนด์ มั น มาเร็ ว ไปเร็ ว มาก อิ่ ม ตั ว กั บ ความตื่ น เต้ น อยากที่ จ ะทำ � ของคลาสสิ ก ถ้ า เรา สามารถทำ�ได้แล้วทำ�ไมเราไม่ใช้ของที่ดีๆ ไปเลย ทั้งช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ไปด้ ว ยในตั ว เพราะเราก็ ช อบดี ไ ซเนอร์ ที่ เ ขามี ป ระเด็ น เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง สิง่ แวดล้อมอย่าง Stella McCartney และ Eileen Fisher มาก เขาก็เป็น แรงบันดาลใจให้เรา ซึ่งถ้าเราได้เหมือนเขาสัก 2 เปอร์เซ็นต์ก็จะดีมาก” แนน-ณัฏฐธิดา โต๊ะชูดี เจ้าของแบรนด์ Seeker x Retriever แนน ผันตัวเองมาเป็นดีไซเนอร์สาย Ethical Fashion ด้วยความพยายามที่ จะรับผิดชอบต่อสิ่งที่ตัวเองทำ� แม้จะยากและไม่ได้สร้างเพียงแค่วันสองวัน แต่การสร้างความเชื่อเป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้เธอประสบความสำ�เร็จ “การเป็นดีไซเนอร์มันยากอยู่แล้ว เราต้องเดาใจคนที่มาซื้อของเรา แต่ว่าพอมาใช้วัตถุดิบธรรมชาติ มันกลายเป็นอีกหนึ่งขั้น เพราะเราไม่ สามารถที่จะตอบโจทย์ในทุกมิติได้ อย่างงานผ้าทอมือ เดือนหนึ่งชาวบ้าน ทอผ้าได้ 30 เมตร ทำ�ได้ประมาณ 7 ตัว เราไม่สามารถไปเร่งเขาได้ เพราะ มันก็จะขัดกับความเป็น label friendly และ sustainable ของเรา เพราะ ฉะนั้นมันมีปัญหาเรื่องสต็อกไม่ตามดีมานด์ของลูกค้า ถ้าเป็นลูกค้าประจำ� เขาก็จะเข้าใจ แต่มันก็หมายความว่าแบรนด์ของเราจะไม่สามารถโตได้เร็ว ขนาดนั้น ซึ่งเราก็โอเคในจุดนั้น เพราะเราคิดว่าถ้ามันช้าแล้วชัวร์ มันดีกว่า การดังข้ามคืน” แนนอธิบายเพิ่มเติม อย่างทีก ่ ล่าวไปข้างต้น แนวคิดสุดโต่ง ไม่ใช่สงิ่ ทีถ ่ ก ู ต้องเสมอไป การที่ เราพยายามทำ�ความเข้าใจ ปรับสภาพและจัดการด้วยวิธท ี ถ ี่ ก ู ต้อง มันดีกว่า ที่ จ ะแอนตี้ ไ ปเลย แนนเห็ น ด้ ว ยว่ า “ความจริ ง ผ้ า ทอโรงงานมั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ผิดหรอก ถ้าเกิดว่ามันมีกรรมวิธก ี ารจัดการของเสียได้ดแี ละถูกต้อง ไม่ใช่วา่ ทอเสร็จ ย้อมเสร็จแล้วก็ปล่อยของเสียลงน้ำ�ไปเลย มันถือเป็นความยั่งยืน อย่างหนึง่ เหมือนกัน ไม่จ�ำ เป็นว่าจะต้องมานัง่ ทอมือแล้วย้อมแต่สธี รรมชาติ อย่างเดียว จุดประสงค์การเป็นแบรนด์ sustainable ทีด ่ ค ี อ ื บาลานซ์ระหว่าง ของที่ เ ป็ น เทคโนโลยี กั บ ของที่ ม าจากธรรมชาติ มั น ถึ ง จะประสบ ความสำ�เร็จ เราคิดว่าสารเคมีมน ั ไม่ได้เลวร้ายขนาดนัน ้ ถ้าเราใช้ในปริมาณ ทีพ ่ อดี เดีย ๋ วนีม ้ น ั มีเทคโนโลยีทจี่ ะช่วยให้สารเคมีหลายๆ แบบ sustainable ไม่อย่างนั้นการที่เราทำ�งานเป็นดีไซเนอร์มันก็จะลิมิตมากๆ ไปด้วย เราก็ มองว่ามันไม่ได้แย่ถ้ามีระบบจัดการที่ถูกต้อง หรือคุณใช้เคมีแล้วคุณมีวิธี รีไซเคิล หรือมีระบบจัดการน้ำ�ที่ถูกต้อง มีบ่อบำ�บัดน้ำ�เสีย กรองสารเคมี ทำ�ให้น้ำ�ที่ไหลออกมาจากโรงงานสู่แม่น้ำ�เป็นน้ำ�ธรรมดา มันก็ถือว่าเป็น eco friendly อีกทางเลือกหนึง่ หรือว่าจะเป็น sustainability by design ซึ่งอันนี้เป็นเบอร์หนึ่งที่เราอยากจะเป็น” อีกด้าน โย-ทรงวุฒิ ทองทั่ว ดีไซเนอร์และเจ้าของแบรนด์ Renim อีกหนึ่งแบรนด์ที่ขานรับกับกระแส Ethical Fashion แต่แทนที่จะเริ่มต้น ทุกอย่างจากธรรมชาติ โยใช้วธิ ก ี ารรีไซเคิลภายใต้แนวคิด Reduce Reuse Redesign “โซเชียลทำ�ทุกอย่างเปลี่ยนไปรวดเร็วมาก ฉาบฉวยมาก คนที่ดีไซน์ เสื้อผ้าไม่เป็นก็ทำ�เสื้อผ้าขายได้ เกิดเป็นขยะไปทั่วโลกจากการทำ�สต็อก ที่เยอะมากๆ และคนก็ซื้อไม่หมด เราอยากเอาของที่คนมองข้ามไปแล้ว อย่างเสื้อผ้าเก่าๆ รองเท้ามือสอง เอามาทำ�ใหม่ เพิ่มคุณค่าให้มัน ไอเดีย แรกๆ ได้ ม าจากการที่ ห ยิ บ ยี น ส์ ม าทำ � รองเท้ า เราเอายี น ส์ เ ก่ า ที่ ฟ อก เป็นสีเทามาลองทำ�เป็นรองเท้าหนัง แล้วก็โพสต์ลงโซเชียล มันกลายเป็น ของ one of a kind ที่สามารถตั้งราคาได้แพงกว่าเดิม เพราะว่ามันมี แค่ชิ้นเดียว เราก็เลยคิดว่าตรงนี้แหละมันสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับของ รียูสได้ เพราะมีแต่คนขอซื้อในราคาที่แพงกว่า เพราะมันหาไม่ได้แล้ว “คนที่ทำ� eco ก็จะทำ�โปรดักต์แบบ eco ไปเลย ในขณะคนทำ�แฟชั่นก็ จะแฟชั่นไปเลย เราอยากให้มันมีตรงกลาง คือเวลาที่เราทำ�โปรดักต์ eco มันก็จะดูไม่แฟชั่น มันดีนะแต่ไม่สวยถูกใจ เราเลยอยากเอาสองอย่างนี้ มาผสมผสานกั น ให้ ค นเห็ น ว่ า เราเป็ น แบรนด์ แ ฟชั่ น นะ แต่ เ น้ น เรื่ อ ง sustainable ด้วย พยายามทำ�ให้เด็กรุ่นใหม่เห็นว่า มันเท่ได้ สตรีตแฟชั่น ด้วย ไม่ได้เป็น eco เชยๆ นะ ซึ่งผลตอบรับดีมากนะ” โยเสริมเรื่องวิธีการ คิดงานในฐานะของแบรนด์ที่ใช้ของรีไซเคิลแทน เช่นเดียวกับการเคลือ ่ นไหวระดับโลก ทีก ่ ารผันตนเองให้รก ั ษ์โลกเต็มตัว ดูจะเป็นเรือ ่ งยาก ทางเลือกทีแ่ ต่ละแบรนด์เริม ่ นำ�มาปรับใช้ เป็นการบอกถึง ความรับผิดชอบร่วมกันในฐานะของมนุษย์ “ตอนนี้เราก็เริ่มเห็นอย่าง H&M ที่เขาบอกว่ากรีนขึ้น จัดแคมเปญ ประกวดรอบโลก ให้คนทีเ่ ป็นนักวิทยาศาสตร์ นักออกแบบ ศิลปินมาจอยกัน เพื่อหาวิธีที่จะทำ�ให้การผลิตเสื้อผ้ามัน sustainable ขึ้น คือเราก็มองเห็น ความพยายามของเขาในเรื่องของการทำ�ตรงนี้ให้เป็นจริงค่ะ” อุ้งกล่าว

เราเห็นด้วยในกรณีนี้ เร็วๆ นี้ แบรนด์ใหญ่ระดับโลกทั้ง Coach, Micheal Kors, Versace, Furla, Burberry, DVF ประกาศงด ใช้เฟอร์ในการผลิตเสือ ้ ผ้า รวมไปถึงลอนดอนแฟชัน ่ วีกครัง้ ล่าสุดทีป ่ ระกาศ ยุตก ิ ารใช้เฟอร์เป็นครัง้ แรกในทุกๆ แบรนด์ทเี่ ดินครัง้ นี้ แต่วา่ การใช้สงิ่ ของ ทดแทนไม่ได้หมายความว่าเป็นเรื่องของการรักษ์โลกเสมอไป “เรื่องวัสดุ ที่เลือกมาใช้ หรือเส้นใยที่เลือกมาใช้ มันเป็นแค่ส่วนเล็กๆ ของปัญหา ที่มันเป็นภาพใหญ่ การปรับ แน่นอนว่ามันดีขึ้น แต่ถามว่ามันทดแทนกัน ขนาดนัน ้ ได้ไหม มันแล้วแต่มม ุ มอง หรือว่าการให้น�้ำ หนักของคน หนังสัตว์ ก็เป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้มาตั้งแต่ยุคหิน แล้วก็เป็นวัสดุธรรมชาติที่สามารถ ย่อยสลายได้ เป็นวัสดุที่สามารถใช้เป็นระยะเวลานานได้ รองเท้าคู่นึงเก็บไว้ สามสิบปี ก็ยงั อยู่ สามารถนำ�มาใช้ได้ แต่วา่ ด้วย process ของอุตสาหกรรม สมัยใหม่ ที่ทำ�ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ข้ึนมาเพื่อฆ่าสัตว์ แล้วก็เอาหนังสัตว์นั้น มาฟอกสารเคมี ย้อมทุกอย่าง เพื่อให้มันเป็นหนังที่แบบกลอสซี่มากๆ พวกสารเคมีที่ใส่เข้าไปเหล่านั้น คือสิ่งที่ทำ�ให้มันแย่ลง อันนี้คือทารุณสัตว์ แต่ว่าการผลิตหนังเทียม หรือการผลิตเฟอร์เทียมก็ตาม มันก็คือสารเคมี เหมือนกัน ดังนั้นอุ้งไม่คิดว่าอันไหนมาแทนอันไหนได้อย่างร้อยเปอร์เซ็นต์ เราต้ อ งถามตั ว เองก่ อ นที่ จ ะออกแบบทุ ก ครั้ ง ว่ า การที่ เ ราจะเลื อ กใช้ แมตที เ รี ย ลพวกนี้ เ นี่ ย มี ท างเลื อ กอื่ น ที่ ดี ก ว่ า ไหม หรื อ ว่ า จำ � เป็ น ไหมที่ มันต้องเป็นรูปแบบนี้ค่ะ” อุ้งช่วยเราไขข้อข้องใจ

Shade OAKLEY Top PRADA Shirt (inside) PLEASANT SIMPLE Belt Bag REPLEAT Backpack RUBBER KILLER Dress & Boots COS


Bodysuit BLACKDOG Fur ZARA Boots K.A.O


Bodysuit BLACKDOG Fur, Belt & Boots ZARA

MODEL NARRISAR A HEBBARD MAKEUP ARTIST WALL AYA TIPVA N NAPORN HAIR ST YLIST THA NUPOL PHOOTHEPA MORNKUL FASHION COORDINATOR WA N NISA SOMBOON

Future is Greener? “แฟชัน ่ ในตัวของมันเองไม่ใช่ผรู้ า้ ย สิง่ ทีเ่ ป็นผูร้ า้ ย จริงๆ คือความไม่รขู้ องคน เหตุผลทีแ่ บรนด์ไทยส่วนมาก ยังเพิกเฉยกับเรือ ่ งของความยัง่ ยืน อันนีเ้ ราพูดตรงๆ เลยได้ไหม เราว่ามันทำ�งานยาก ด้วยธรรมชาติของ อุตสาหกรรมไทย อย่างร้านเสือ้ ทีข่ ายตามแพลตตินม ั่ ทัว่ ไป เขาก็จะต้องมีจำ�นวน ถ้าจำ�นวนมันไม่ถึง ต้นทุนมันก็ จะสูง แล้วช่างเย็บเขาก็จะรูส ้ ก ึ ไม่อยากทำ� ช่างบางคน เขาก็แค่อยากจะเหยียบจักรไปแล้วก็ได้เงินมา เขาไม่ได้ คิดว่า ฉันทำ�เสื้อตัวนี้เพราะมีวัตถุประสงค์ว่ามัน eco friendly” แนนตอบคำ � ถามเราถึ ง ประเด็ น ของ อุตสาหกรรมแฟชั่นในอนาคตว่าเราไปไกลกว่าที่เป็น อยู่ได้ไหม ทำ�ในสิ่งชอบ สร้างผลกำ�ไรตอบแทนและ ยังสามารถรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมด้วย จริงๆ แล้ว มันเป็นจริงได้หรือเป็นแค่ความฟุ้งฝัน “การสร้ า งสมดุ ล ระหว่ า งความคิ ด สร้ า งสรรค์ กับความยั่งยืน อย่างแรกที่คิด เราจะทำ�แบบช้าๆ เพราะทุกอย่างมันรวดเร็วไปหมด เราเลยมองว่ามันต้อง ช้าลงบ้าง ดังนั้นเราก็เลยคิดว่าเราไม่จำ�เป็นต้องเร่ง การผลิต ค่อยๆ ทำ�ไป คือแฟชัน ่ มันก็เป็นธุรกิจอย่าง หนึ่ง ต้องค่อยๆ ทำ�แล้วก็ให้ความรู้คนไปด้วย บาง คนมองว่าการรีไซเคิลคือการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ซึง่ จริงๆ มันก็คอ ื ปลายเหตุนน ั่ แหละ เพราะมันคือของ ทีถ ่ ก ู ใช้มาแล้ว แต่เรายังมองว่าเป็นสิง่ ทีด ่ น ี ะ บางแบรนด์ อาจจะเป็นการทำ� CSR ให้กับแบรนด์ แต่ว่าถ้าเขาทำ� ต่อไปเรื่อยๆ อย่างน้อยมันทำ�ให้อุตสาหกรรมแฟชั่น มันดีขึ้น” โยเสริม จากที่เราสันนิษฐานว่ากลุ่มลูกค้าแฟชั่นยุคใหม่ เริ่ ม อยากเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของแบรนด์ ที่ ทำ � มากกว่ า แค่เสือ้ ผ้าสวย กลุม ่ millennial และ gen-z เริม ่ ตระหนัก ถึงผลเสียจากภัยรอบๆ ตัว ภัยธรรมชาติอย่างวาตภัย หรืออัคคีภย ั ก็เป็นส่วนหนึง่ ของสภาวะของสิง่ แวดล้อม ทีเ่ ปลีย ่ นไปมาก สอดคล้องกับสิง่ ทีท ่ งั้ โยและแนนกล่าว ถ้าเราให้ความรูก ้ บ ั ผูบ ้ ริโภค ซือ ่ สัตย์ตอ ่ สิง่ ทีต ่ นเองทำ� อาจสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภคได้ “ตอนนีผ ้ บ ู้ ริโภคยุคใหม่เริม ่ หันมาสนใจผลกระทบ ของสิง่ ทีต ่ วั เองบริโภคแล้ว แล้วก็สนใจในเรือ ่ งของทีม ่ า ของผลิตภัณฑ์ ไม่วา่ จะเป็นเส้นใยหรือกระบวนการผลิต แฟชัน ่ เนีย่ เหมือนตามมูฟเมนต์ของอาหารอีกที มูฟเมนต์ ของอาหารออร์แกนิก ทีค ่ นอยากรูว้ า่ ทีม ่ าของอาหาร ตัวเองคืออะไร มีประโยชน์กบ ั เราไหม ดังนัน ้ ก็มผ ี บ ู้ ริโภค เริ่มเข้ามาค่ะ เราก็จะแนะนำ�ว่าผู้บริโภคทำ�อะไรได้บ้าง เพื่อที่จะบริโภคให้เกิดประโยชน์มากขึ้น” อุ้งเสริม

Words RATCHAKRIT CHALERMSAN

FASHION ASSISTA NT K ASIDIT SRIRIT TIPR ADIT PHOTOGRAPHER ASSISTA NT KOMTHAT NINPA N ST YLIST ASSISTA NTS THUMMAR AT CHUE A JAROEN NUENGNADDA NOPAKU N FASHION ASSISTA NT DULYADEJ SA NGFUA NG

แต่การพูดมักง่ายกว่าลงมือทำ� การปรับเปลี่ยน วงโคจรที่คุ้นชินเป็นระยะเวลานาน ไม่ได้ใช้เวลาเพียง ครู่ เ ดี ย วในการพลิ ก เรื่ อ งทั้ ง หมด แบรนด์ Stella McCartney ใช้เวลามากกว่า 10 ปีเพื่อให้คนเข้าใจ จุดยืน เช่นเดียวกับการเลิกใช้เฟอร์ ที่ถกเถียงกันมา เป็ น เวลานานเหลื อ เกิ น กว่ า จะเกิ ด การเคลื่ อ นไหว ในปัจจุบัน อีกหนึ่งข่าวที่สร้างกำ�ลังใจให้กับบุคคล ในโลกแฟชั่ น เป็ น อย่ า งมาก แบรนด์ ท รงอิ ท ธิ พ ล อย่ า ง Chanel ประกาศเลิ ก ใช้ ห นั ง สั ต ว์ ป ระเภท เอ็กโซติก ทั้งหนังงู หนังจระเข้ หนังลิซาร์ด และหนัง ปลากระเบน เพื่อขานรับ Ethical Fashion ในฐานะ แบรนด์แฟชั่นมหาอำ�นาจ การเลิกใช้หนังประเภทนี้ ทีส ่ ามารถทำ�เงินเป็นกอบเป็นกำ� ถือเป็นการก้าวกระโดด ที่สร้างความตกใจเป็นวงกว้างในอุตสาหกรรม แต่ใน ฐานะคนตัวเล็กๆ อย่างเราอาจทำ�อะไรทีง่ า่ ยกว่านัน ้ ได้ “อย่ า งง่ า ยที่ สุ ด เลยก็ คื อ ดู แ ลรั ก ษาเสื้ อ ผ้ า ที่ ตัวเองมีอยูใ่ ห้ใช้ไปได้นานๆ ให้มน ั ไม่กลายเป็นขยะ เช่น ทำ�ความเข้าใจ hand label ทำ�ความเข้าใจเรื่องของ เนือ้ ผ้า เส้นใย ว่าเราควรจะดูแลเสือ้ ผ้าพวกนีย ้ งั ไง ให้ซก ั แล้วไม่พงั หรือว่าถนอมมันไปเรือ ่ ยๆ การซือ ้ ของทีเ่ ป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมมากขึน ้ ไม่วา่ จะเป็นการสนับสนุน เสื้อผ้ามือสอง หรือว่าการแลกกับเพื่อน ลดปริมาณ การซื้อใหม่เพื่อยืดระยะเวลาของวงจรตรงนี้” เช่นเดียวกับธุรกิจหมุนเวียน ที่อุ้งแนะนำ�ว่าควร นำ�มาใช้ในอนาคต “Circular Economy หรือ เศรษฐกิจหมุนเวียนค่ะ หลั ก การก็ คื อ ว่ า ทำ � อย่ า งไรให้ ท รั พ ยากรที่ เ รานำ � มาใช้ เ พื่ อ ผลิ ต ของสิ่ ง หนึ่ ง สามารถนำ � กลั บ มา หมุนเวียนใช้ซ้ำ�ได้ ไม่ใช่กลายเป็นขยะ ไม่ได้เป็นแบบ เส้นตรง คือแบบผลิต ใช้ ทิ้ง แต่เป็นผลิต ใช้แล้ว นำ�กลับมาผลิตใหม่ได้ ซึ่งในเศรษฐกิจหมุนเวียนนี้ มั น ก็ จ ะมี ทั้ ง ลู บ ที่ เ ป็ น ของ biological ก็ คื อ เอา ทรัพยากรธรรมชาติกลับมาใช้ พอเราทิ้งไป มันก็ ไม่ เ ป็ น อั น ตราย มั น ก็ ส ามารถใช้ ว นไปเรื่ อ ยๆ ได้ อีกด้านนึงมันก็คือ technical มันก็คือวัสดุหรือผ้า ทีม ่ น ั ไม่สามารถย่อยสลายได้ อย่างเช่น ผ้าทีเ่ กิดจาก อุตสาหรรม หรือว่าพลาสติก หรือผ้าโพลีเอสเตอร์ที่ ทำ�จาก PET เหมือนกันเนี่ย ก็สามารถนำ�กลับมาเข้า กระบวนการ ให้กลับไปเป็นเส้นใยใหม่โดยที่ไม่ต้อง กลายเป็นขยะได้ ตอนนี้ก็มีหลายๆ สตาร์ตอัพกำ�ลัง ทำ � เรื่ อ งนี้ อ ยู่ คื อ เอาเสื้ อ เก่ า มาย่ อ ยให้ เ ป็ น เส้ น ใย ใหม่เลย ซึง่ ต้องใช้เทคโนโลยี เป็นเรือ ่ งทีค ่ นศึกษากัน อยู่ตอนนี้” Future is Greener อาจยังไม่ใกล้ความจริง แต่ไม่ไกลเกินเอือ ้ ม แล้วแฟชัน ่ รักษ์โลกได้ไหม บทสรุป เราขอใช้คำ�ว่า ‘พยายาม’ ก็แล้วกัน


BEAUTÉ recommend

Flawless As Always

Only one step to keep your eyes young and fresh.

Photographer TOP.PONPISUT

นวั ต กรรมชี ว เวชสํ า อาง Total GFs Solutions แก้ ไ ขปั ญ หาผิ ว เสื่ อ มสภาพ บริ เ วณรอบดวงตาอย่ า งตรงจุ ด Youth Recall Reactivating Eye Serum จาก ardermis นวั ต กรรมชี ว เวชสำ � อางหรื อ Bio-Cosmeceutical แห่ ง แรกของ ประเทศไทย ร่วมไขความลับแห่งความอ่อนเยาว์ระดับเซลล์ต้นกำ�เนิดด้วย Human-EGF (EPIDERMAL GROWTH FACTOR) เวชศาสตร์ชะลอวัยเพื่อการดูแลผิวพรรณตามกลไก ธรรมชาติร่างกายมนุษย์ ทุกหยดของ ardermis สกัดจากโปรตีนแบบ High Purity ชนิดเข้มข้นที่ได้มาตรฐานห้องปฎิบัติการประเทศเยอรมนี ardermis ‘Youth Recall’ ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการวิจัยและพัฒนาขึ้นจากข้อเท็จจริงที่ว่า EGF ในธรรมชาติร่างกาย จะมีปริมาณลดลงอย่างรวดเร็วกว่า 50 เปอร์เซ็นต์เมื่อก้าวเข้าสู่วัย 29 ปี นับเป็นหนึ่งใน

ต้ น เหตุ สำ � คั ญ ของปั ญ หาผิ ว เสื่ อ มสภาพ เกิ ด ริ้ ว รอย และหย่ อ นคล้ อ ย ที ม วิ จั ย ของ ardermis จึงใช้เทคโนโลยีชีวภาพสร้าง sH-Oligopeptide-1 ในห้องปฏิบัติการ จนได้ Human-EGF ทีม ่ ข ี นาดเล็กกว่ารูขม ุ ขนถึง 20,000 เท่าเพือ ่ ทดแทนสาร EGF ในเซลล์ผวิ ให้มีปริมาณเพียงพอสำ�หรับการสร้างเซลล์ผิวใหม่จากภายในสู่ภายนอก รวมถึงเป็น ต้นกำ�เนิดในการสร้างคอลลาเจน อิลาสติน และกรดไฮยาลูรอนิก แตกต่างจากผลิตภัณฑ์ ที่เติมสารเหล่านี้จากภายนอกเท่านั้น ผลิตภัณฑ์ชวี เวชสำ�อาง ardermis วางจำ�หน่ายแล้ววันนี้ ที่ King Power, Lab Pharmacy, Save Drug และ Beautrium สั่งซื้อออน์ไลน์ ได้ที่ Call Center 0 2613 8308 หรือ www.ardermis.com


Generosity inResponse

a Be uté Earring NARA Dress SODA

MODEL: ULI @A1 MODELS PHOTOGRAPHER: PAT PHETTHONG STYLIST: THUMMARAT CHUEAJAROEN MAKEUP ARTIST: WALLAYA TIPVANNAPORN HAIR STYLIST: NIKHOM NOIKHAM FASHION COORDINATOR: WANNISA SOMBOON FASHION ASSISTANT: KASIDIT SRIRITTIPRADIT PHOTOGRAPHER ASSISTANT: KOMTHAT NINPAN FASHION INTERN: DULYADEJ SANGFUANG


Earrings STYLENANDA Shirt LOEWE

Ugly truth

การเตือนให้ตระหนักถึงผลกระทบต่างๆ ของปัญหา สิ่งแวดล้อมและขยะนั้นมีมาหลายสิบปีแล้ว แต่ผู้คน จำ�นวนมากก็ยงั ไม่ตระหนักว่าสิง่ นีเ้ ป็นเรือ ่ งใกล้ตวั หรือ ไม่รจู้ ะเริม ่ แก้จากตรงไหนดี ดูเหมือนเป็นปัญหาโลกแตก และดูเหมือนจะไม่มีทางแก้ได้ ที่จริงแล้วการแก้ปัญหา ระดับโลกต้องเริ่มแก้จากส่วนที่เล็กที่สุดก็คือตัวเราเอง มักง่ายให้น้อยลง ยอมลำ�บากเล็กน้อยเพื่อส่วนรวม ลดการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติก หากเลี่ยงไม่ได้ก็ควรใช้ พลาสติกนัน ้ อย่างคุม ้ ค่าทีส ่ ด ุ เป็นเรือ ่ งทีต ่ อ ้ งยอมรับว่า อุตสาหกรรมความงามนัน ้ ถือว่าเป็นธุรกิจทีท ่ �ำ ลายโลก และทรัพยากรอันดับต้นๆ ของโลกรองจากอุตสาหกรรม อาหารเลยก็ว่าได้ แข่งขันกันสร้างยอดขายโดยลงทุน พั ฒ นาที ม วิ จั ย สู ต รผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง โดยมองข้ามการพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ให้ยอ ่ ยสลายได้ตาม ธรรมชาติและไม่เป็นพิษ ยอดขายที่เพิ่มสูงขึ้นเท่ากับ ว่ามีการสร้างขยะให้โลกอย่างมหาศาล บริษัทยิ่งต้องมี ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นเป็นพิเศษ จะมี กี่แบรนด์ที่มีนโยบายสิ่งแวดล้อมที่ใช้ได้จริง ไม่ใช่แผน CSR ทีผ ่ วิ เผินเพือ่ การถ่ายภาพ แบรนด์ทด ี่ ใี นโลกปัจจุบน ั คือแบรนด์ทไี่ ม่ได้เพียงแต่มส ี ต ู รทีม ่ ป ี ระสิทธิภาพล้�ำ หน้า หรือใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เท่านั้นแต่ต้องให้ความสำ�คัญ กับปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับต้นๆ ด้วย


Sim -ple solu- tions

การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเริ่มจากตัวเราเอง ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาในระดั บ มหภาคได้ ถ้ า เราช่ ว ยกั น ในด้านความสวยความงามที่มาพร้อมความโหดร้าย ต่อธรรมชาตินั้นเราควรรู้เท่าทันเทรนด์และการตลาด ทีจ่ งู ใจในการซือ ้ บางครัง้ โปรโมชัน ่ และแพ็กเกจจิง้ สวยๆ หรือคอลเลกชั่นใหม่ๆ สีสันก็ไม่ได้ต่างจากเดิมมากนัก เช่น พาเลตต์อายแชโดว์ทไี่ ม่เคยใช้หมดตลับ แต่กย ็ งั คง ซือ้ สีเฉดเดิมๆ หรือบางครัง้ ซือ้ เฉดสีใหม่ๆ แปลกตา แต่ก็ ยังใช้แต่เฉดเดิมๆ ด้วยความเคยชิน ฉะนั้นควรตั้งสติ ในการซือ ้ หรือพยายามใช้สท ี ไี่ ม่คอ ่ ยได้ใช้ในพาแลตต์บา้ ง ใช้เครือ ่ งสำ�อางอย่างคุม ้ ค่า ใช้ให้หมดเป็นตลับๆ ไปจะดี ทีส ่ ด ุ เนือ ่ งจากเครือ ่ งสำ�อางเมือ ่ เปิดใช้แล้วจะมีอายุการ ใช้ ง าน มิ ฉ ะนั้ น จะใช้ ไ ม่ ทั น และหมดอายุ ไ ปเสี ย ก่ อ น ที่สำ�คัญคือการสนับสนุนแบรนด์ที่มีนโยบายเกี่ยวกับ สิ่ ง แวดล้ อ ม มี บ รรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น bio-based หรื อ biodegradable plastic พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ที่ผลิตจากพืชหรือน้ำ�มันพืช สามารถย่อยสลายได้เร็ว หรื อ เลื อ กบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ทำ � จากกระดาษหรื อ วั ส ดุ ที่ สามารถรี ไ ซเคิ ล ได้ รวมทั้ ง ไม่ รั บ ถุ ง ช้ อ ปปิ้ ง ต่ า งๆ โดยไม่ จำ � เป็ น เพราะการลดการใช้ ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ช่ ว ย แก้ปัญหาขยะได้มากที่สุด Earrings LOEWE Hat STYLIST’S OWN


BEAUTÉ shopping

6 5

2

7 4

8 1

3

GoodtoGO Don’t forget to grab a cool eco bag when you go shopping some goodies. Photographer TOP.PONPISUT


BEAUTÉ shopping 1. VILLAGE 11 FACTORY Collagen Eye Cream 2. AESTURA Atobarrier Cream for sensitive & dry skin

9

3. FRESH Sugar Lip Wonder Drops 4. BENEFIT Foolproof Brow Powder 5. AVEENO Active Naturals daily moisturising body wash 6. No7 White & Bright Concentrated Essence Lotion

14

7. PHYTO PARIS Phytopolléine Botanical Scalp Treatment 8. FRESH Sugar Spice Lip Treatment

16

9. MAMONDE Sheet Mask Flower Power 5 Day Set 10. PHYTO PARIS Phytophanere 120 capsules 11. No7 White & Bright Day Cream SPF25 PA++

10

12. BENEFIT BADgal BANG! Bigger Badder Volumizing Mascara 13. YSL BEAUTY Rouge Pur Couture The Slim 14. BVLGARI Rose Goldea eau de toilette 15. BENEFIT Brow-volumizing Fiber Gel 16. No7 White & Bright Cleansing Foam

11 12

13

15


BEAUTÉ journal & gifts

Ideal sunscreen Livelylife Dolce & Gabbana Beauty แนะนำ � ลิ ป สติ ก เนื้ อ แมตต์ ใหม่ Dolcissimo Matte Liquid Lipcolour จำ�นวน 12 เฉดสี สุดเย้ายวนและทรงเสน่ห์จากความงามของกุหลาบ ที่สำ�คัญคือ เป็นการถ่ายทอดเนื้อแท้แห่งแบรนด์อย่างลึกซึ้งผ่านลูกเล่นการ ตั้งชื่อจากคำ�ว่า Dolce เพื่อสื่อถึงการขยายขอบเขตจินตนาการ ทางงานสร้ า งสรรค์ คำ � ว่ า Dolce ในภาษาอิ ต าลี แ ปลว่ า หวาน Dolcissimo นั้ น หมายถึ ง ที่ สุ ด แห่ ง ความหวาน ซึ่ ง เป็ น ความ อ่ อ นหวานที่ จุ ด ประกายความงามและรู้ สึ ก เบิ ก บานให้ แ ก่ ทุ ก ประสาทสั ม ผั ส ลิ ป สติ ก คอลเลกชั่ น ล่ า สุ ด ที่ ไ ด้ รั บ การออกแบบ และสรรค์สร้างสัมผัสที่สื่อถึงความหรูหราดูเย้ายวนทุกครั้งที่ใช้ ด้วยสูตรทีเ่ ปีย ่ มไปด้วยน้�ำ มันล้�ำ ค่าจากธรรมชาติในปริมาณเข้มข้น เนื้อสีกลมกลืนกับผิวริมฝีปากอย่างแนบเนียน พร้อมเนื้อสัมผัส บางเบาแต่ สี ส ดชั ด ติ ด ทนนานตลอดวั น โดยไม่ แ ห้ ง แตกและ ลอกเป็ น ขุ ย โดดเด่ น ด้ ว ยปลอกบรรจุ อั น ทรงเอกลั ก ษณ์ ข อง Dolcissimo ด้วยพื้นขาวพิมพ์ลายกุหลาบโรแมนติก ดอกกุหลาบ สัญลักษณ์แทนความรักอันเป็นนิรน ั ดร์ อารมณ์เสน่หา และความเป็น ผูห ้ ญิง มีจ�ำ หน่ายแล้ววันนีท ้ เี่ คาน์เตอร์น�้ำ หอม Velvet Collection ห้างสรรพสินค้าสยามพารากอนเท่านั้น

Closer tonature

Shiseido x Sirivannavari พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์ แบรนด์ Sirivannavari ทรงออกแบบเครื่ อ งสำ � อางคอลเลกชั่ น พิ เ ศษ “Princess Hanayaka Collection” เมกอั พ คอลเลกชั่ น ที่ เ ป็ น ความร่ ว มมื อ กั น ครั้ ง แรกระหว่ า ง Shiseido แบรนด์เครือ่ งสำ�อางชัน ้ นำ�จากประเทศญีป ่ น ุ่ คอลเลกชัน ่ นีอ้ อกแบบมาให้งา่ ยต่อการ แต่งเติม และสะดวกต่อการพกพา โดยสีสันที่อยู่ในตลับนั้นสามารถนำ�มามิกซ์แอนด์แมตช์ ได้ ห ลากหลาย ใช้ แ ต่ ง หน้ า ได้ ทั้ ง ลุ ค ธรรมชาติ สำ � หรั บ กลางวั น ไปจนถึ ง ลุ ค หรู ห รา สำ�หรับกลางคืน ในหนึ่งพาเลตต์สามารถแต่งได้ทั้งตา แก้ม และปาก มาพร้อมเนื้อสัมผัส ของเมกอัพที่สามารถผสมผสานกันได้อย่างอิสระ Princess Hanayaka นั้นหมายถึง ‘สตรีผู้มีความสดใสและความงดงามประดุจเจ้าหญิง’ ประกอบด้วย 4 ผลิตภัณฑ์ดังนี้ Eye Color Palette พาเลตต์ 8 เฉดสีสด ุ ล้�ำ ค่า ปรากฏลวดลายการจับช่อของรวงข้าวสีทอง ประดับไข่มก ุ ท่ามกลางท้องฟ้ายามค่�ำ คืน Face Illuminator & Blush Palette (Natural) Face Illuminator & Blush Palette (Glam) และ Lip Collection

คื น คุ ณ ค่ า จากธรรมชาติ สู่ ผิ ว ของคุ ณ อย่ า งอ่ อ นโยนกั บ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มาจากสารสกัด ธรรมชาติ Naturals by Watsons Rice bran & Soy bean โดยเริม ่ จากแนวคิ ด ที่ ว่ า ในการใช้ ชี วิ ต ของสาวๆ ในเมื อ งนั้ น ต้ อ งเจอ ทั้งมลภาวะ ฝุ่น ควัน สิ่งสกปรก รวมถึงการใช้เครื่องสำ�อางต่างๆ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจอย่าง หลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ จึ ง ต้ อ งพึ่ ง พา ธรรมชาติ ที่ อ่ อ นโยนช่ ว ยดู แ ล ผิวหน้า และลดการสะสมเพิ่มเติม ของสารเคมีต่างๆ ซึ่งรำ�ข้าว คือ ส่วนที่ได้จากการขัดข้าวกล้องให้ เป็นข้าวสาร ประกอบด้วยเยื่อหุ้ม เ ม ล็ ด ข้ า ว แ ล ะ จ มู ก ข้ า ว อุ ด ม ไปด้ ว ยวิ ต ามิ น อี แ ละกรดไขมั น ซึ่งมีประโยชน์ต่อผิวพรรณ ช่วย ทำ�ให้ผวิ เปล่งปลัง่ สดใส มีชวี ต ิ ชีวา ส่วนประโยชน์ของถั่วเหลืองเป็น ตั ว ช่ ว ยในการเพิ่ ม ความชุ่ ม ชื้ น ให้ ผิ ว ดู มี น้ำ � มี น วล ชะลอความ ห ย่ อ น ค ล้ อ ย ข อ ง ผิ ว ห นั ง ไ ด้ เป็นอย่างดี แถมยังช่วยลดเลือน ริ้ ว รอยและจุ ด ด่ า งดำ � ผลิ ต และ นำ�เข้าจากประเทศเกาหลี กลุ่ม ผลิตภัณฑ์ Naturals by Watsons Rice bran & Soy bean ประกอบไปด้วยผลิตภัณฑ์เพือ ่ การ บำ�รุงผิวหน้า 4 ขั้นตอน ได้แก่ Illuminating Cleansing Scrub, Illuminating Essence Lotion, Illuminating Daily Cream และ Illuminating Serum มีจำ�หน่าย ที่ร้าน Watsons ทุกสาขา

DONT

32

Super serum Village 11 Factory Collagen Ampoule เซรั่มสูตรเข้มข้น ด้วยส่วนผสม ของไฮโดรไลซ์คอลลาเจน และสารสกัดจาก ใบเลมอน เวอร์บีนา ซึ่งจะช่วยมอบความ ชุ่มชื้นให้ผิวและคงความชุ่มชื้นไว้กับผิวได้ ยาวนาน ขณะที่น้ำ�มันเมล็ดเชียซึ่งประกอบ ไปด้วยโอเมกา 3 ช่วยต้านอนุมลู อิสระ วิตามิน เอ บี อี ซี และสังกะสีนั้นมีฤทธิ์ต้านการ อักเสบของผิว ช่วยป้องกันการระคายเคือง ผิว นอกจากนี้ยังช่วยลดริ้วรอยจากความ แห้งกร้าน และช่วยเลือนริ้วรอยแห่งวัยให้ แลดูจางลง พร้อมช่วยให้ผวิ แข็งแรงและแลดู กระจ่างใส เนือ ้ เซรัม ่ บางเบา สามารถซึมซาบ เข้ า สู่ ผิ ว ได้ อ ย่ า งล้ำ � ลึ ก สามารถใช้ ไ ด้ กั บ ทุกสภาพผิว ขนาด 50 ml ราคา 1,095 บาท ดูขอ ้ มูลเพิม ่ เติมและสินค้าชิน ้ อืน ่ ๆ ได้ที่ village11th.com

JANUARY 2019

อ่ อ นเยาว์ ด้ ว ยสุ ด ยอดคุ ณ ค่ า ของผลไม้ JUV Superfruit Skincare: Water-Gel UV Protection SPF50 PA+++ มีคุณประโยชน์จากผลไม้ทรงคุณค่า นานาชนิ ด ที่ เ ปี่ ย มไปด้ ว ยสารแอนติ เ อจจิ้ ง เป็ น ส่วนผสมหลักในผลิตภัณฑ์ JUV มีส่วนผสมหลักจาก ‘Superfruits’ คือ สารสกัดโกจิเบอร์รีออร์แกนิก กีวี และแครอต สารสกัดธรรมชาติซึ่งอุดมไปด้วยสารต่างๆ ที่มีคุณประโยชน์ต่อผิวพรรณมากมาย สารสกัดที่มี คุ ณ สมบั ติ ด้ า นแอนติ อ อกซิ แ ดนต์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ในด้านการต่อต้านริ้วรอย มีความปลอดภัยต่อร่างกาย และสิ่ ง แวดล้ อ ม เนื้ อ สั ม ผั ส ที่ เ บาสบายทำ � ให้ รู้ สึ ก สบายผิว ช่วยคุมความมัน ไม่อุดตัน เหมาะสำ�หรับ เป็นผลิตภัณฑ์กันแดด everyday use ป้องกันแสง ที่ ทำ � ร้ า ยผิ ว UVA I / UVA II ต้ น เหตุ ก ารเกิ ด ริ้วรอยก่อนวัย UVB ที่ทำ�ให้หมองคล้ำ� Visible light แสงสีฟ้าหน้าจอ IR คลื่นความร้อนสูงและปกป้องผิว จากมลภาวะ คุมมัน ไม่อด ุ ตัน สามารถกันน้�ำ และเหงือ ่ ได้ ขนาด 30 ml ราคา 890 บาท วางจำ�หน่ายที่ร้าน All About You ทุกสาขา และ www.allaboutyou.co.th

Floral temptation ความโดดเด่นและหลากหลายของหญิงสาวในยุคปัจจุบันนั้น เป็ น แรงบั น ดาลใจของการรั ง สรรค์ น้ำ � หอมให้ กั บ Alessandro Michele นักปรุงน้ำ�หอมชื่อดังที่ถ่ายทอดเรื่องราวผ่านกลิ่นหอม ในรูปแบบใหม่ดว้ ยการนำ�กลิน ่ ออริจน ิ ล ั จาก Gucci Bloom มาเพิม ่ ความเข้มข้นโดยเติมความลึกลับ จนกลายเป็น ‘Gucci Bloom Nettare Di Fiori’ น้ำ�หอมที่ให้กลิ่นเย้ายวนชวนค้นหา เผยเสน่ห์ ความเป็นตัวตนที่แท้จริงของผู้หญิงที่สะท้อนให้เห็นถึงพลังความ สดใส ความสุขสนุกสนานของหญิงสาวและความลึกลับน่าค้นหา Gucci Bloom Nettare Di Fiori ถูกปรุงขึ้นมาจากดอกไม้ที่ อยูใ่ นระยะผลิบานและส่งกลิน ่ หอมแสนเย้ายวน เป็นการนำ�กลิน ่ หอม แสนคลาสสิกของ Gucci Bloom Eau de Parfum มาเพิ่มความ เข้มข้นด้วยกลิ่นไชเพอร์ ฟลอรัล ดึงความเป็นตัวตนของหญิงสาว ด้ ว ยกลิ่ น กุ ห ลาบผสานด้ ว ยกลิ่ น ดอกมะลิ แ ละดอกเล็ บ มื อ นาง เติมความหวานจากดอกซ่อนกลิน ่ และปิดท้ายด้วยความลึกลับจาก ดอกหอมหมื่นลี้ พบกับความหอมอันแสนเย้ายวนชวนค้นหาของ Gucci Bloom Nettare Di Fiori ได้ที่เคาน์เตอร์น้ำ�หอม Gucci ตามห้างสรรพสินค้าชั้นนำ�ทั่วไป


BEAUTÉ journal & gifts Bvlgari Omnia Pink Sapphire Kit 3,300 THB

Issey Miyake L’Eau Majeure D’Issey EDT 50 ml Shower Gel 100 ml 2,800 THB

Clé de Peau Beauté La Crème The Cream 30 ml 22,000 THB

Laura Mercier Holiday 2018 Collection Stardust Radiant Glow Palette Limited Edition 1,990 THB

Dolce & Gabbana X’Mas set 2018 ในเซตประกอบด ว้ ย Dolce & Gabbana Light Blue EDT 100 ml, ขนาดพกพา 10 ml และ Body Cream 100 ml 4,700 THB

Nars Powermatte Lip Clash Coffret 1,800 THB

Superdry Men’s Sport SuperCollective 1,990 THB Shiseido Holidays 2018 “Ribbonesia Limited Edition” Ultimune Power Infusing 75 ml 5,300 THB

Neal’s Yard Remedies Frankincense Collection 3,500 THB


Naturally For this beautiful soul, happiness is always within her reach. Photographer RIKSH UPAMAYA Stylist THUMMARAT CHUEAJAROEN


Dress LOEWE Hat STYLIST’S OWN

S u s h a r


“เรื่องรักพลิกล็อกเป็นงานที่ท้าทายออมมาก โปรเจกต์นี้ต้องขี่ม้า เป็นนักขี่ม้าเลย ตอนแรกออมก็แบบเฮ้ย...จ็อกกี้ตัวแค่นี้ได้เหรอ พี่ผู้จัด เขาก็บอกว่าจริงๆ จ็อกกี้ตัวเล็ก แต่ด้วยความที่เราเป็นคนขี้กลัว ไม่ชอบ อยู่ในความเสี่ยง พอไปลองขี่ม้าครั้งสองครั้งก็กลัว แล้วไปบอกผู้จัดว่า ไม่ เ อาแล้ ว หนู ไ ม่ ไ หวจริ ง ๆ หนู ข อถอนตั ว แล้ ว กั น แต่ ท างพี่ ติ๊ ก (กัญญารัตน์ จิรรัชชกิจ) ก็น่ารักมาก เขาบอกเราว่าพี่ว่าออมทำ�ได้นะ ลองพยายามดู ออมก็สักตั้ง ออมเรียนรู้ด้านสกิลช้ากว่าคนอื่น ถ้าคนอื่น 5 ครั้งแล้ว เขาสามารถขี่ได้ ออมจะต้อง 10 ครั้งหรือ 15 ครั้ง แต่ สุดท้ายแล้วมันทำ�ได้” กำ�ลังใจจากผู้จัดและคนรอบข้าง ทำ�ให้แฟนๆ มีโอกาสได้เห็นออม ในบทบาทแปลกใหม่ หลังห่างหายจากจอโทรทัศน์ไปพักใหญ่ “ด้ ว ยความที่ อ อมลุ ค หวานๆ ก็ จ ะไม่ ค่ อ ยได้ บ ทแบบนี้ คื อ ต้ อ งเท่ ต้องมีความลุย แอดเวนเจอร์ทก ุ อย่าง อะไรแบบนีค ้ ะ่ ก็เลยเป็นคาแรกเตอร์ ที่แปลกใหม่ และเป็นครั้งแรกที่ได้ร่วมโปรเจกต์กับช่อง 3 ด้วย ซึ่งเป็น โอกาสที่ดีสำ�หรับออมมากค่ะ”

1.

“เพิ่งถ่ายหนังจบไปเรื่องหนึ่งค่ะ ชื่อเรื่อง The Lake เพิ่งปิดกล้อง ที่ ก าญจนบุ รี เป็ น หนั ง เกี่ ย วกั บ สั ต ว์ ป ระหลาด ออมก็ ไ ม่ คิ ด ว่ า ชี วิ ต นี้ ออมจะได้เล่นหนังไทยที่ดูเหมือน...เหมือนจูราสสิกพาร์คที่เราดูตอนเด็ก ไม่ได้มีซีจีแต่เน้นเป็นสัตว์ประหลาดจริงๆ” ออมเล่าให้ฟังถึงผลงานภาพยนตร์ไทยเรื่องล่าสุดด้วยน้ำ�เสียงตื่นเต้น “ตอนที่ผู้กำ�กับมาขายโปรเจกต์ เขาก็เปิดโลกใหม่ให้เรา เรื่องนี้เป็น เรือ ่ งแรกของผูก ้ �ำ กับคนนีเ้ ลย ชือ ่ ลี ทองคำ� เขาอยากได้เราเล่น ก็มาพร้อม พอร์ตโฟลิโอ เล่าว่าทำ�ไมเขาถึงอยากทำ�หนังเรื่องนี้ เขาพูดไทยไม่ค่อยได้ เพราะโตที่ LA ก็ พ ยายามสื่ อ สารด้ ว ยสตอรี บ อร์ ด เขาอยากทำ � หนั ง มอนสเตอร์ มันเป็น symbolic ที่มาจากความหมักหมม ความเป็นขยะ ที่ทุกคนไม่ให้คุณค่า ไม่ใส่ใจ แล้ววันหนึ่งมันก็กลายมาเป็นสัตว์ประหลาด ทำ�ร้ายคนในชุมชน เขาพรีเซนต์ภาพฟุตเทจที่เขาไปถ่ายที่จังหวัดบึงกาฬ บ้ า นเกิ ด ของเขา เราไม่ เ คยเห็ น ภาพแบบนี้ มั น เป็ น ภาพกองขยะที่ สู ง แบบภูเขาไม่รก ู้ ล ี่ ก ู ต่อกีล ่ ก ู และมีเครนยกไปยกมา ชาวบ้านก็มวี ถ ิ ช ี วี ต ิ ของเขา เด็กก็วิ่งเล่นแถวๆ นั้น ปีนบนกองขยะบ้าง เราเห็นแล้วเรารู้สึกว่า มันเยอะ ขนาดนีเ้ ลยเหรอ แล้วทำ�ไมมันไม่หมดไป เขาบอกว่าบางอย่างมันย่อยสลาย ไม่ได้ ก็อยู่แบบนั้น มันแค่ไม่ได้อยู่ในสายตาของเรา เราไม่เห็นแต่มันมีอยู่ วันนั้นออมซื้อไอเดียเขามาก” เธอตอบรับเพราะเชือ ่ ในตัวผูก ้ �ำ กับ แม้วา่ นีจ่ ะเป็นผลงานกำ�กับภาพยนตร์ เรื่องแรกของเขาก็ตาม “ออมเล่นหนังลีเพราะเขาเลย ซึ่งคนรอบตัวไม่มีใครไว้ใจเลย เพราะลี กำ�กับเรื่องแรก ทุกคนก็แบบว่าจะไหวหรอออม เขาอายุเท่าๆ ออม แต่ออม มองเห็นอะไรในตัวเขา แล้วช่วงนัน ้ เป็นช่วงทีเ่ ราอินด้วย เรือ ่ งของสิง่ แวดล้อม เพราะช่ ว งนั้ น มั น มี ข่ า วปลาวาฬที่ ต ายและเกยตื้ น ผ่ า แล้ ว มี แ ต่ ข ยะอยู่ ในท้ อ ง คื อ ปลาไม่ รู้ ว่ า มั น คื อ อาหารหรื อ ไม่ ใ ช่ อ าหาร ออมก็ เ ลยรู้ สึ ก ว่ามันมากไปแล้ว แต่ถ้าเราสามารถเป็นกระบอกเสียงที่สามารถสื่อสาร ไปถึงคนกลุ่มใหญ่ได้ มันก็ดี” เธออยากมีส่วนร่วมให้ทุกคนตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบนิเวศ “ออมมองสิ่งแวดล้อมเป็นวงกลม เวลาที่เราทำ�อะไรมันมีผลกระทบ ต่ออย่างหนึง่ มันก็ยอ ้ นมาเป็นผลกระทบต่ออย่างหนึง่ มันเป็นวงจรไปหมด ถ้ามีสารเคมีเยอะในดิน แล้วใช้ดินนั้นปลูกผัก ผักนั้นมันจะมีคุณค่าได้ยังไง ออมก็คิดเรื่องนี้มาตลอดนะ เพราะพ่อชอบกินผัก เราชอบกินผัก ก็เออ มันเป็นวงจรจริงๆ นะ ถ้าคนรุ่นใหม่ตระหนักเรื่องนี้ บางทีการแก้ปัญหา อาจจะยั่ ง ยื น ออมยอมรั บ ว่ า เด็ ก ๆ ออมก็ ไ ม่ มี ค วามตระหนั ก นี้ เ ท่ า ไหร่ ยังไม่คิดอะไร ใช้ชีวิตสนุกๆ ไป แต่ถ้าเด็กรุ่นใหม่ที่เขาโตมาแล้วตระหนัก ได้เลย หรือเขาได้รับการป้อนข้อมูลอย่างถูกต้อง มันก็ต้องดีขึ้น”

2.

ออมเป็นนักแสดงไทยรุ่นแรกๆ ที่ไปโด่งดังในประเทศจีน และปัจจุบัน เธอก็ ยั ง ได้ รั บ การตอบรั บ จากตลาดจี น เป็ น อย่ า งดี เธอเพิ่ ง ปิ ด กล้ อ ง ละครจีนเรื่องล่าสุดไปไม่นาน “ออมไปจีนมานานมากตั้งแต่สมัยหนัง Yes or No ซึ่งไม่ต่ำ�กว่า 8 ปี ความรู้สึกมันต่างกันนะคะ ตั้งแต่ตอนที่เราเป็นเด็กจนถึงตอนที่เรา โตขึน ้ สมัยก่อนตอนทีเ่ ราเป็นเด็กนีเ่ ราฝันไปหรอ ลงจากเครือ่ งแล้วทำ�ไมมีคน มารอรับเรา 500 คน ทำ�ไมต้องมีการ์ด เฮ้ย นีอ ่ อม สุชาร์ ไม่ใช่ดาราเกาหลี ก็มีความเห่อนะคะ มันก็มีความ...โหเจ๋งว่ะอะไรอย่างนี้ แต่พอเราโตขึ้น ความคิ ด ออมเปลี่ ย นไป ที่ จี น คนก็ จ ะถามคำ � ถามว่ า เราโด่ ง ดั ง แค่ ไ หน แฟนคลับเราเยอะขนาดไหน แต่ ณ อายุออมตอนนี้ สิ่งเหล่านี้ค่อนข้าง จะมี ผ ลกั บ เราน้ อ ย ออมไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การจั ด แฟนมี ต ติ้ ง ออมพ้ น สภาพไอดอลแล้ ว ออมยอมรั บ ออมก็ คิ ด ว่ า ตอนนี้ สิ่ ง ที่ ทำ � คื อ ออมอยากมีผลงานคุณภาพจริงๆ ของทั้งไทยและต่างประเทศ มันเป็น สิง่ ทีเ่ ราภูมใิ จในตัวเองถ้าเราจะได้ท�ำ แล้วก็ท�ำ ต่อไปเรือ ่ ยๆ และก็ยงั มีคนชอบ ในงานของเรา มากกว่ามีคนกรี๊ดว่าเราสวยจังเลยหรือเครซี่เรา ออมให้ ความสำ�คัญกับงานที่อยากจะทำ�และมีคุณภาพมากกว่าเรื่องจำ�นวนของ แฟนคลับ” ออมไม่ได้หมายความว่าเธอไม่แคร์แฟนคลับ เพียงแต่เธอไม่เน้นปริมาณ และเธอขอมุ่งสร้างงานปังๆ เพื่อตอบแทนการสนับสนุนจากกลุ่มแฟนคลับ คุณภาพของเธอ “ไม่ใช่แฟนคลับไม่สำ�คัญ เขามีความสำ�คัญจนทำ�ให้เรามีวันนี้ แต่ออม ไม่ได้เน้นว่าออมจะต้องทำ�ทุกอย่างเพื่อให้ออมมีแฟนคลับมากขึ้น แต่ออม จะทำ�ในสิ่งที่เขาอยากจะเห็น สิ่งที่เขามีความสุขนั่นคือการที่เขาได้ดูงาน ของเราที่มีคุณภาพ บางทีที่ออมหายไปนานๆ เขาคิดถึงเรา เขาอยากดู งานเราจริงๆ มันเลยทำ�ให้ออมตั้งใจกับทุกงาน ไม่ว่าจะเป็นละครหรือหนัง เพราะมันคือความทรงจำ� มันคือประวัติศาสตร์ มันลบไม่ได้ ออมก็จะตั้งใจ กับมันมาก”

Top KEEPSAKE @M CURATED

Trousers LANDMEE


Dress LANDMEE



3.

เธอพิถีพิถันตั้งแต่ขั้นตอนการเลือกงาน “เราดูเป็นคนเรือ ่ งมากไปเลยละค่ะ บางทีนน ู่ ก็ไม่อยากเล่น อันนีก ้ ย ็ งั ไม่อยากเล่น มันยังไม่ใช่ มันไม่ได้ชาเลนจ์อะไร ออมก็จะรอจนกว่ามันมีอะไรที่มีเป้าหมายตรงกัน เราซัพพอร์ตเขาได้และเขาซัพพอร์ตเราได้” เธอไม่กังวลเรื่องไม่มีผลงาน เพราะเธอกังวลเรื่องผลงานไม่มีคุณภาพมากกว่า “สิ่งที่ออมกลัวมากกว่าการไม่มีงาน คือการที่ออมไม่ฟิตอินแล้วงานมันออกไป แล้วเราไม่โอเค อันนัน ้ เป็นสิง่ ทีอ ่ อมแคร์มากกว่า ออมเป็นคนไม่คอ ่ ยซับซ้อน รูส ้ ก ึ ยังไง ก็จะตอบไปตามนั้น เช่นอันนี้คือบทที่ออมเคยเล่นแล้ว แล้วมันไม่ได้เปลี่ยนอะไรเลย ออมก็ยังไม่อยากเล่นในช่วงนี้นะคะ ออมคิดว่าโปรเจกต์หนึ่งที่มันจะเกิดขึ้น มันเป็น magical มันคือหลายๆ อย่างที่เวลาก็ต้องตรงกัน บทก็ต้อง เฮ้ย มันเป็นของเรา มันเป็นของเราจริงๆ ถ้ามันไม่ใช่ของเรามันก็ไม่ใช่ของเรา เราก็ไม่เสียดายถ้าเวลา มันไม่ตรงกัน” เพราะมีความตั้งใจเป็นที่ตั้ง ใครที่ได้ทำ�งานกับออมจึงอยากจะทำ�งานกับเธอ อีกเรื่อยๆ แต่หากความตั้งใจไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของความพอดี ก็เป็นที่มาของ ผลเสียได้เช่นกัน “ถ้าเราได้ท�ำ งานกับใคร เขาก็จะอยากทำ�งานกับเราอีก น่าจะเป็นเพราะความตัง้ ใจ ของเรา ชมตัวเองมากไปไหม แต่ตั้งใจมากไปก็ไม่ดี นี่จะเป็นเพอร์เฟกต์ชันนิสต์ ไปแล้ว จนล่าสุดป่วยก็เพราะเรื่องนี้ คือคนที่เป็นเพอร์เฟกต์ชันนิสต์มากๆ มันก็ไม่มี ความพอดี อ ะไรบางอย่ า ง หลั ง จากถ่ า ยละครที่ จี น กลั บ มาเป็ น ลมวั น เว้ น วั น เลย ไปหาหมอ สรุปว่าเป็น panic disorder สารเคมีในสมองผิดปกติ ออมก็ what! ไม่เคยเป็น ซักไปซักมา เป็นเพราะเราไปทำ�งานต่างประเทศและเราก็เต็มที่มากๆ จนเกินลิมต ิ โดยทีเ่ ราไม่รต ู้ วั เขาไม่ได้อยากจะให้ออมพูดจีนทัง้ เรือ ่ ง แต่เราเป็นคนแบบ ลองก่อน ไม่รู้ทำ�ได้ไม่ได้ ลองพูดจีนให้หมดทั้งเรื่อง เพราะเราอยากให้ปากมันตรง กับคำ�จริงๆ เวลาพูดภาษาไทยพอซิงก์แล้วมันไม่ตรง เลิกกองกลับมา 5 ทุม ่ เทีย ่ งคืน ออมก็ ต้ อ งมาติ ว บทคาราโอเกะอี ก ชั่ ว โมง 2 ชั่ ว โมง ตื่ น ตี สี่ ค รึ่ ง ทำ � ให้ แ ต่ ล ะวั น นอนแค่ 3 ชั่วโมง พักผ่อนน้อย ใช้สมองเยอะ ความจำ�เยอะ กลับมาเลยน็อก หมอก็เลยบอกว่าพักก่อนนะ ช่วงนี้ออมก็เลยยังไม่ไปต่างประเทศ ทำ�งานที่ไทยก่อน” การล้มป่วยทำ�ให้ออมหันมาใส่ใจดูแลจิตใจตัวเองมากขึ้น “ต่อจากนี้การทำ�งานทุกอย่างของออมจะไม่มีปัจจัยเรื่องความเครียดเพราะมัน เป็นผลให้ออมป่วย ตอนนี้ mindset ออมเปลี่ยนไป ออมจะอยู่ในที่ที่ออมไม่เครียด ออมจะทำ�อะไรก็ได้ที่ออมสบายใจ เราจะใช้ชีวิตแบบที่เราเซตใหม่ เราจะไม่ฝืนอะไรที่ เราไม่อยากจะทำ� ตัดสินใจเอง เราแฮปปี้อย่างนี้ เราไม่เห็นว่าจะต้องมีปัจจัยอย่างอื่น ก็แค่นี้ที่เราอยากจะทำ� เราสนุกที่จะทำ�” แผนระยะสั้นของเธอคือการพัฒนาฝีมือการแสดงควบคู่ไปกับการฟื้นฟูสุขภาพ “ปีสองปีนี้ออมอยากโฟกัสกับการเป็นนักแสดงที่ดี ควบคู่ไปกับการพัฒนา สุ ข ภาพของตั ว เองที่ ท รุ ด โทรมมานาน ออมเป็ น คนไม่ ไ ด้ ใ ช้ เ งิ น เยอะอะไรมาก คือทุกวันนี้ออมก็โอเคกับสิ่งที่ออมมีอยู่ แล้วก็ขอเอาเวลาตรงนั้นมาดูแลสุขภาพ ของออมก่อน แล้วในอนาคตในปีถัดๆ ไป ถ้าออมมีจุดมุ่งหมายอะไร อยากทำ�อะไร เดี๋ยวค่อยทำ�ต่อไป แต่ตอนนี้ออมขอคิดสั้นๆ แค่ในปีสองปีนี้ก่อน”

เรื่องบางเรื่องที่เราทำ�แต่คนอื่น ไม่รู้ ออมว่ามันได้กับตัวเราเองแล้ว ความสุขมันอยู่ข้างในแล้ว ไม่จำ�เป็นจะต้องทำ�ให้ทุกคนรู้ แล้วเราจะมีความสุข อันนั้นแปลว่า เราแขวนความสุขของตัวเอง หรือตัวบ่งชี้ความสุขเราไว้ที่คนอื่น แต่จริงๆ แล้วตัวที่บ่งชี้ความสุข มันอยู่ที่ตัวเราเอง อยู่ที่สิ่งที่เราคิด ออมได้ในสิ่งที่ออมทำ�แล้ว แต่ถ้าเป็นเรื่องผลงานที่คนชมคนชอบ เราก็ดีใจ หายเหนื่อย เราตั้งใจ และมีคนชอบ อย่างน้อยเราก็ได้สร้าง ความสุขให้กับคนอื่น

4.

สิ่ ง หนึ่ ง ที่ อ อมทำ � ควบคู่ กั บ การทำ � งานมาหลายปี คื อ การเป็ น กระบอกเสี ย ง ให้มูลนิธิสร้างรอยยิ้ม (operationsmile.or.th) กลุ่มแพทย์อาสามัครช่วยเหลือ ผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ “ออมทำ � โครงการนี้ ม านานมาก ออมรู้ จั ก กั บ คุ ณ หมอท่ า นหนึ่ ง เขาเล่ า ประสบการณ์ว่าเขาไปออกค่ายผ่าตัดให้เด็กๆ ที่อยู่ในโครงการ ซึ่งเขาบอกว่ารู้ไหม ว่าเด็กๆ ที่อยู่ทางภาคเหนือหรือว่าชาวเขา เขาเป็นปากแหว่งเพดานโหว่เยอะมาก คนที่อยู่ในเมือง พอลูกเป็น ก็ผ่าได้เลย หายปกติ แต่ยังมีอีกหลายคนที่ทำ�แบบนั้น ไม่ได้ เพราะว่าคุณหมอที่ผ่าไม่ได้มีเยอะ ต้องจบหลายใบมากๆ หมอที่จะมีศักยภาพ ในการที่จะผ่าให้ก็คืออยู่แค่ที่นี่ องค์กรนี้เอาคนที่มีศักยภาพมากๆ ไปอยู่ในจุดที่ มีคนเป็นเยอะแต่ไม่มีเงิน เขาก็จะไปออกค่าย ปีหนึ่งถ้าเขาหาเงินได้เยอะ ก็จะออกได้ สามค่าย ก็ถือว่าเก่ง เพราะว่าโครงการหนึ่งใช้เงินเยอะ” ประสบการณ์ตรงที่ได้รับจากการไปออกค่าย ทำ�ให้ออมได้เห็นว่าความตั้งใจ ของกลุ่มคนกลุ่มนึง ช่วยสร้างสรรค์คุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่คนอื่นๆ ได้จริงๆ เธอจึง รู้สึกประทับใจและอิ่มเอมใจเป็นอย่างมาก “ออมไปเป็นสิบครั้งเลย ได้เห็นเด็กที่เข้าไปปุ๊บออกมาหาย เฮ้ย...มันได้เลย คือถ้าเขาไม่หายมันลำ�บากมาก ทั้งชีวิตต้องระวังกับการกินข้าวทุกคำ� เพราะมันจะ สำ�ลักเนื่องจากมีรูอยู่ข้างใน ถ้าไม่รักษาเร็วๆ ก็ทำ�ให้พูดไม่ชัด เราพยายามรณรงค์ ให้ใครที่เป็นรีบแก้ไขผ่าตัด ซึ่งค่าใช้จ่ายสูงมาก ออมทึ่งความทุ่มเทของคุณหมอ ที่ไป เพราะทุกคนไปฟรี วันนึงต้องผ่าเป็นสิบ ยี่สิบเคส แล้วก็เหนื่อยมาก สิ่งที่ ออมทำ � ได้ ก็ คื อ การพู ด ออกไปว่ า มั น มี โ ครงการนี้ อ ยู่ มี ค นกลุ่ ม หนึ่ ง ที่ ต้ อ งการ ความช่วยเหลือเรื่องนี้ ทำ�ให้คนรู้จักองค์กร ให้องค์กรเข้มแข็ง น่าเชื่อถือเพื่อให้คน เอาเงินมาบริจาค เพราะว่าเงินมันเป็นปัจจัยสำ�คัญทีส ่ ด ุ ทีเ่ ราจะซือ ้ ยา ซือ ้ ของทุกอย่าง

หรือบางคนอาจจะอยากมาเป็นจิตอาสาช่วยในโครงการ ซึ่งเด็กรุ่นใหม่หลายๆ คน ไปเยอะมาก เขาไปดูแล ไปช่วยเล่นกับน้อง ไปช่วยผ่อนคลายน้อง เป็นกลุ่มคนที่ น่ารักมากๆ” ออมเชือ ่ ว่าการส่งต่อโอกาสทีด ่ ใี ห้แก่ผอ ู้ น ื่ คือหน้าทีข ่ องมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้าอยูใ่ นจุดทีก ่ ระทำ�ได้โดยไม่ล�ำ บาก ขณะเดียวกันเธอก็ได้รบ ั ความสุขเป็นสิง่ ตอบแทน “ออมมีที่ยืนในสังคมได้ก็เพราะสังคมให้ออมมีที่ยืน แล้วทำ�ไมเราจะไม่ตอบแทน อะไรให้สังคมบ้าง มันเป็นหน้าที่หลักหน้าที่หนึ่งของมนุษย์ทุกคนเลยนะ การให้เพื่อ ส่วนรวมมันคือความสุขในการให้ มองว่าเราเห็นแก่ตวั ก็ได้นะ เพราะเราก็ได้ความสุขที่ เราให้คนอืน ่ หรือเราได้ท�ำ อะไรทีเ่ ราพอใจทีจ่ ะทำ� แล้วเราก็ไม่ได้ตอ ้ งการอะไรตอบแทน”

5.

“เรื่ อ งบางเรื่ อ งที่ เ ราทำ � แต่ ค นอื่ น ไม่ รู้ ออมว่ า มั น ได้ กั บ ตั ว เราเองแล้ ว ความสุขมันอยู่ข้างในแล้ว ไม่จำ�เป็นจะต้องทำ�ให้ทุกคนรู้แล้วเราจะมีความสุข อันนั้น มั น แปลว่ า เราแขวนความสุ ข ของตั ว เองหรื อ ตั ว บ่ ง ชี้ ค วามสุ ข เราไว้ ที่ ค นอื่ น แต่จริงๆ แล้วตัวที่บ่งชี้ความสุขมันอยู่ที่ตัวเราเอง มันอยู่ที่สิ่งที่เราคิดเอง ออมได้ ในสิ่งที่ออมทำ�แล้ว แต่ถ้าเป็นเรื่องผลงานที่คนชมคนชอบ เราก็ดีใจ หายเหนื่อย เราตั้งใจ และมีคนชอบอย่างน้อยเราก็ได้สร้างความสุขให้กับคนอื่น” ออมไม่ได้คาดหวังการเชิดชูจากสังคมจากสิ่งที่เธอทำ� และเธอไม่ต้องการให้ใคร ด่วนตัดสินเธอจากรูปลักษณ์ “ไม่ได้คาดหวังให้คนมองออมว่าเป็นอะไรเลย เพราะว่าออมรู้สึกว่ามันไม่ได้มี ความสำ�คัญอะไร แต่ไม่ชอบให้ใครมาตัดสินว่าออมเป็นอะไร หูย...แบ๊ว ยังไม่รู้จัก กันเลย พู ดได้ ไง อันนี้มากกว่า ที่ออมคิดว่าอย่าตัดสินกันสิ เรายังไม่ไ ด้รู้จักกัน จริงๆ ไม่อยากให้มองว่า โห...เป็นคนหวาน ก็เป็นตัวเองอะ บางวันก็อยากหวานบ้าง บางวันก็อยากเท่ มันก็อยูก ่ บ ั กาลเทศะ หรือบางวันก็อาจจะเซ็กซีข ่ น ึ้ มาหน่อย ก็โตแล้ว ก็อยากมีภาพแบบนีบ ้ า้ ง ชีวต ิ เราอยากดีไซน์ให้มน ั เป็นแบบนี้ แต่คนอืน ่ ชอบมาตัดสิน ว่าเดี๋ยวนี้จะเป็นอย่างนี้แล้วใช่ไหม อยู่ดีๆ ก็จะมาเซ็กซี่ “จริ ง ๆ ไม่ ใ ช่ แ ค่ อ อมหรอก คนหลายคนที่ ยื น อยู่ ต รงนี้ ถู ก ตั ด สิ น อยู่ แ ล้ ว ว่ า เขาเป็นคนประเภทไหน ออมคิดว่าเราไม่มีสิทธิ์ไปตัดสินใครเลย ออมก็ไม่มีสิทธิ์ ไปตัดสินใคร ทุกคนมันก็ไม่ขาวไม่ดำ�ไปหมด ทุกคนมันก็มีสีเทาๆ ได้ และความเทา มันก็ไม่ผิด ออมไม่ได้เรียกร้องให้ใครมามองออมว่าเป็นแบบไหน แค่อย่าตัดสินว่าเรา เป็นแบบไหนก็พอ”

Words BEN WIBOONSIN

Dress TAWN C.

Scarf (as headpiece) STYLIST’S OWN


Blazer VANILLIN STUDIO

Coat EVERYTHING EST OK Hat STYLIST’S OWN


Dress LANDMEE

MODEL SUSHAR MA NAY ING

MAKEUP ARTIST JIR AY U DESAR A

FASHION COORDINATOR WA N NISA SOMBOON

HAIR ST YLIST THA NUPOL PHOOTHEPA MORNKUL

PHOTOGRAPHER ASSISTA NT A NUR AK DUA NGTA

FASHION ASSISTA NT K ASIDIT SRIRIT TIPR ADIT

ST YLE ASSISTA NT K RONGK WA N K HA MSAI


TALK

Consequences & Countermeasures Soil, Water, Air and Electricity are ones of the most important elements to humans’ life in everyway. However, It’s undeniable that nowadays they are contaminated, polluted or over consumed by our activities and the backlash affects us and other beings. This issue is what we need to concern. Talk with these four specialists what are the problems and how to prepare ourselves.

Impacting Disregard Soil is important. Every plant we eat needs it to grow. However, people seem not to regard its problem equally to water’s, air’s and electricity’s ones. From the past to the upcoming future, what are the soil’s issues we have to concern?

Photographer TOP.PONPISUT Words SUPANUT CHOKVIRIYAGRON

What Are The Problems ณ ปัจจุบน ั ปัญหาทีส ่ ง่ ผลกระทบต่อดินโดยส่วนใหญ่จะเกิดมา จากการทำ�เหมืองแร่ เนื่องจากขั้นตอนในการทำ�นั้นจะต้องทำ�การ เปิดหน้าดินทั้งหมดในบริเวณนั้นออก ถึงจะทำ�การขุดเหมืองแร่ได้ ซึ่งเป็นผลกระทบที่เกิดได้ทุกภูมิภาคของไทย ต่างจากการเผา พื้นที่ทางการเกษตรหรือปัญหาการฝังขยะลงดินที่สร้างผลกระทบ ต่อดินน้อยมาก นอกจากนีย ้ งั มีปญ ั หาดินเค็มทีเ่ ป็นปัญหามาตัง้ แต่ ปี 2513 จนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่สามารถหาวิธีแก้ไขได้ ถือได้ว่า เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อชาวนาชาวไร่ทางภาคอีสานโดยตรง “ภาคอีสานในอดีตน่าจะเคยเป็นทะเลมาก่อนตามอายุธรณีวท ิ ยา เพราะมันมีการเข้าออกของทะเลมาหลายครัง้ จึงทำ�ให้ชน ั้ ใต้ดน ิ ของ อีสานมีเกลือทับถมอยู่หลายชั้น ตามธรรมชาติเมื่อเข้าสู่ฤดูแล้ง หรือเมื่อได้รับความร้อนจากแสงอาทิตย์ เกลือที่อยู่ในชั้นใต้ดิน

เมื่ อ ต้ อ งมองไปถึ ง อนาคตของเกษตรกรในภายภาคหน้ า คำ�ถามที่ว่า ‘เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการในการขุดเหมืองเรียบร้อย แล้ ว หรื อ ถ้ า ไม่ ต้ อ งการที่ จ ะสู บ หรื อ ตากน้ำ � เกลื อ แล้ ว สภาพ พืน ้ ดิน ณ จุดนัน ้ จะกลับมาใช้งานในด้านของการเพาะปลูกได้หรือไม่’ ก็ผุดขึ้นมาทันที “บางแร่ธาตุไม่มีสารก่อให้เกิดพิษ จึงสามารถนำ�ดินที่ขุดลอก กลับมาถมคืน และปรับสภาพให้เกิดระบบนิเวศตามธรรมชาติเดิม ก่อนที่จะมีเหมืองแร่ให้ได้มากที่สุด ก็สามารถทำ�ให้ชาวบ้านกลับมา ทำ�เกษตรได้เหมือนเดิม แต่แร่หลายชนิดมีสภาพเป็นพิษ การนำ�ดิน มาถมและปรับปรุงระบบนิเวศให้คน ื มาเหมือนเดิมในแง่สร้างภูมท ิ ศ ั น์ ให้สวยงามนั้นอาจทำ�ได้ แต่หากใช้เป็นพื้นที่ในการปลูกพืชหรือ ผลผลิตต่างๆ จะต้องใช้เวลาอีกร้อยปี กว่าที่สารพิษที่สะสมอยู่ ในดินจะหายไป

เป็นสิ่งที่ยั่วยวนใจเพราะใคร ก็อยากมีเงินก้อน และบางครั้ง นโยบายของรัฐก็เป็นสิ่งสำ�คัญ ที่มีส่วนในการส่งเสริมสนับสนุน เพราะบางครั้งชาวบ้านไม่อยาก ขายที่ดิน แต่มีการบังคับ ข่มขู่ ถูกนโยบายรัฐบีบคั้น ซึ่งแนวทางแก้ไขที่ดีคือรัฐ ต้องคำ�นึงถึงผลกระทบที่ตามมา สู่เกษตรกรด้วย หรือทางที่ดี คือในแต่ละนโยบายที่ออกมา ต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการถกเถียง แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันมากขึ้น

เลิศศักดิ์ คำ�คงศักดิ์

‘ดิน’ สิง่ ทีค ี่ นให้ความสำ�คัญกับมันน้อยทีส ่ ด ุ จนทำ�ให้มน ี อ ้ ยคน นักทีจ่ ะทราบถึงปัญหาของดินว่าในอดีตจนถึงปัจจุบน ั ดินประเทศไทย ต้องเผชิญกับผลกระทบทีเ่ กิดจากทัง้ การทำ�เหมือง มลพิษจากขยะ ที่ถูกนำ�ไปฝังดิน และปัญหาที่สำ�คัญที่สุดที่อยู่คู่กับชาวอีสานกว่า 40 ปีแล้วอย่างปัญหาดินเค็มก็ไม่มีทีท่าว่าจะหมดไปได้เลย ซึ่งจาก การพูดคุยกับ ‘เลิศศักดิ์ คำ�คงศักดิ์’ ผู้ที่คลุกคลีอยู่ในแวดวง NGO กว่า 20 ปี และขณะนี้ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าพรรคสามัญชน จะทำ�ให้คุณหันมาให้ความสำ�คัญกับ ‘ดิน’ มากขึ้น

Forecast The Future

“ ปัญหาเรื่องราคาที่ดิน

Lertsak Kumkongsak

แม้จะมีการชะล้างตามธรรมชาติแล้ว แต่ก็ยังไม่สามารถชะล้าง การทำ�ลายจากฝีมือมนุษย์ได้ “ในพื้นที่ที่เป็นป่าบุ่งป่าทามที่อยู่ริมน้ำ�ริมห้วยต่างๆ ของทาง ภาคอี ส านมี ค วามพิ เ ศษอย่ า งหนึ่ ง คื อ เป็ น ที่ ร าบต่ำ � ที่ มี พื ช พั น ธุ์ ลักษณะเฉพาะ ทำ�ให้สภาพดินในบริเวณนัน ้ อุดมสมบูรณ์ และเมือ ่ ถึง ฤดูน�้ำ หลากจะเกิดปรากฏการณ์น�้ำ ท่วมล้นตลิง่ จึงทำ�ให้มรี ะบบนิเวศ เฉพาะที่เหมาะสมกับพืชบางสายพันธุ์ เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ของ ลำ�น้ำ� พัดพาเศษซากทางชีวภาพต่างๆ เข้าไปทับถม ชาวบ้านจะใช้ พืน ้ ทีส ่ ว่ นนัน ้ ในการทำ�มาหากิน แต่ถา้ พืน ้ ทีต ่ รงนัน ้ ถูกนำ�ไปใช้ส�ำ หรับ ตากเกลือ ก็จะทำ�ให้เกิดผลกระทบจากการไหลหลากของน้�ำ ไปชะล้าง เกลือทีส ่ ะสมอยูใ่ นทีด ่ น ิ นัน ้ และกระจายออกไปยังพืน ้ ทีต ่ า่ งๆ จนกลาย เป็นผลกระทบที่ต่อเนื่อง” นอกจากดินเค็มทีเ่ ป็นปัญหาเรือ ้ รังแล้ว ยังมีปญ ั หาของสารพิษ ทีเ่ กิดจากการทำ�เหมืองแร่ซงึ่ ดูเหมือนว่าทางภาครัฐจะให้ความสำ�คัญ กั บ GDP ของประเทศมากกว่ า ความเป็ น อยู่ ห รื อ ปากท้ อ งของ เกษตรกรในพื้นที่ “เขาสนใจ แต่หย่อนยาน มองแต่ตวั เลขทางเศรษฐกิจเป็นหลัก โดยละเลยการให้ความสำ�คัญกับคุณภาพชีวิตชาวบ้าน มองแต่ว่า แร่ธาตุเหล่านั้นจะมาส่งเสริมเศรษฐกิจให้แก่ส่วนรวม หลงลืมคน ที่ใช้ชีวิตอยู่ที่น่ันซึ่งเป็นผู้เสียสละแบกรับภาระของคนทั้งประเทศ พอรั ฐ บาลมี ร ายได้ ก็ นำ � เงิ น ไปพั ฒ นาส่ ว นอื่ น ๆ แทนที่ จ ะนำ � เงิ น มาเพื่ อ ป้ อ งกั น เฝ้ า ระวั ง หรื อ แก้ ไ ขปั ญ หาในพื้ น ที่ ชุ ม ชน เป็นความขัดแย้งในการพัฒนาที่ไม่ได้คำ�นึงต่อสภาพแวดล้อม”

ของภาคอี ส านที่ มี ทั้ ง ที่ เ ป็ น ของแข็ ง (Rock Salt) และรู ป แบบของเหลวที่ เ กิ ด จาก การละลายของเกลื อ และผสมเข้ า กั บ น้ำ � บาดาล จะระเหิ ด หรื อ ระเหยกลายเป็ น ไอขึ้ น มา เกาะอยู่ตามหน้าดิน ซึ่งถ้าอยู่ในปริมาณที่เหมาะสม ก็จะส่งผลให้พืชพันธุ์ที่ปลูกอยู่นั้น มีรสชาติพิเศษขึ้นมา มีความเค็มปะแล่มๆ น้อยๆ ทำ�ให้ลักษณะรสชาติเฉพาะถิ่นโดดเด่น ขึ้นมา แต่บางพื้นที่ที่มีความเค็มมาก ก็จะไม่สามารถปลูกพืชผลทางการเกษตรให้ขึ้นมาได้ “ส่วนเรื่องเหมืองกับที่ดินเป็นเรื่องที่มีส่วนเกี่ยวข้องกันโดยตรง เพราะแร่ธาตุอยู่ในดิน ดังนัน ้ ขัน ้ ตอนในการนำ�แร่ออกมาใช้จะต้องสูญเสียหน้าดิน สูญเสียพืน ้ ทีท ่ �ำ กินของพวกเขาไป นอกจากนีย ้ งั มีปญ ั หามลพิษจากการทำ�เหมืองทีป ่ นเปือ ้ นลงสูแ่ หล่งน้�ำ ธรรมชาติ และเมือ ่ ถึง ฤดูน้ำ�หลาก น้ำ�เหล่านี้ก็จะถูดพัดไปยังพื้นที่ทำ�กินของเกษตรกรรอบข้าง จึงทำ�ให้ชาวบ้าน เจอปั ญ หาซ้ำ � สองเพราะพื ช ผลที่ ป ลู ก นั้ น ได้ รั บ สารปนเปื้ อ นอย่ า งโลหะหนั ก สารหนู สารก่อมะเร็ง สารไซยาไนด์ และสร้างผลกระทบต่อมาคือเมื่อกินเข้าไปมากๆ ก็จะสะสม ทำ � ให้ เ กิ ด อาการเจ็ บ ป่ ว ยได้ และนี่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งผลกระทบต่ อ ชาวบ้ า นในเขตพื้ น ที่ เท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบมาสู่คนในเมืองหลวงที่รับประทานพืชผลทางเกษตรกรรม ในเขตพื้นที่ที่มีการทำ�เหมืองอีกด้วย”

Why Do We Have To Concern ณ ปั จ จุ บั น นี้ ปั ญ หาดิ น เค็ ม ได้ ก้ า วเข้ า มาสู่ ปี ที่ 48 แล้ ว แต่ ก็ ยั ง ไม่ มี วี่ แ ววว่ า ดินทางภาคอีสานจะกลับมาอุดมสมบูรณ์เหมือนเดิมได้ “ทุกวันนีป ้ ญ ั หานีย ้ งั เหลืออยูใ่ นบางจังหวัดเท่านัน ้ เช่น นครราชสีมา อุดรธานี สกลนคร เพราะยังมีการลักลอบสูบน้ำ�เกลือขึ้นมาตาก แม้จะมีการทำ�แบบถูกต้องตามกฎหมายด้วย แต่กย ็ งั ไม่มม ี าตรการในการป้องกันและแก้ไขทีด ่ น ี ก ั จึงทำ�ให้ชาวบ้านในพืน ้ ทีล ่ ะแวกนัน ้ พบเจอ กับปัญหานี้อยู่ สูญเสียที่ดินทำ�กินไปกับการสูบน้ำ�บาดาลขึ้นมาต้มและตากเพื่อทำ�เกลือ”

DONT

42

JANUARY 2019

“หากเกลือปนเปื้อนลงไปในดิน กว่าที่จะละลายหมด ต้องรอให้ น้ำ�ท่วมถึง 10 ครั้ง ถึงจะเจือจางความเค็มลงได้บ้าง อย่างในพื้นที่ น้ำ�เสียว อ.บอระบือ จ.มหาสารคาม ตั้งแต่ปี 2513 มีการลักลอบ สูบน้ำ�เกลือขึ้นมาและด้วยวิกฤตน้ำ�หลาก จึงทำ�ให้พื้นที่บางส่วน ในขณะนี้ไม่สามารถปลูกข้าวได้ แต่ที่ดินในหลายพื้นที่ก็เริ่มที่จะ กลั บ มาฟื้ น ฟู บ้ า งแล้ ว แต่ ยั ง คงต้ อ งใช้ เ วลาอี ก นานมากด้ ว ย ความเค็มที่สถิตลึกลงไปในเม็ดดิน” ดังนั้นในอนาคตเกษตรกรก็ควรจะต้องคำ�นึงถึงผลที่ตามมา ในรุ่ น ลู ก รุ่ น หลาน ก่ อ นที่ จ ะตั ด สิ น ใจขายที่ เ พื่ อ การขุ ด เหมื อ ง หรือสูบน้ำ�เกลือขึ้นมาจากบ่อบาดาล “ปัญหาเรื่องราคาที่ดินเป็นสิ่งที่ยั่วยวนใจเพราะใครก็อยาก มี เ งิ น ก้ อ น และบางครั้ ง นโยบายของรั ฐ ก็ เ ป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ มี ส่ ว น ในการส่งเสริมสนับสนุน เพราะบางครั้งชาวบ้านไม่อยากขายที่ดิน แต่มีการบังคับ ข่มขู่ ถูกนโยบายรัฐบีบคั้น ซึ่งแนวทางแก้ไขที่ดีคือ รัฐต้องคำ�นึงถึงผลกระทบทีต ่ ามมาสูเ่ กษตรกรด้วย หรือทางทีด ่ ค ี อ ื ในแต่ละนโยบายทีอ ่ อกมาต้องให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการถกเถียง แลกเปลีย ่ นความคิดเห็นกันมากขึน ้ และไม่น�ำ ทีด ่ น ิ ทีอ ่ ด ุ มสมบูรณ์ไป ส่งเสริมให้เกิดการทำ�อุตสาหกรรมมากนัก เพราะมันเป็นการทำ�ลาย พืน ้ ทีค ่ วามสมบูรณ์ของอาหารในทางตรงและทางอ้อม ซึง่ เป็นเรือ ่ งที่ น่ากังวลมากทีท ่ ศ ิ ทางการพัฒนาประเทศ เป็นไปในแนวทางทีไ่ ม่คอ ่ ย ให้ความสำ�คัญกับการรักษามากนัก แต่จะไปให้ความสำ�คัญกับการ พัฒนาอุตสาหกรรมที่มากจนเกินไป”


TALK

Constant Aware ness The Ocean is full of plastic, the coral reefs are in critical damage and now the consequences are getting back to all of us. It’s time for us to realise and decide which solution we want to make.

Associate Professor Thon Thamrongnawasawat, PhD

400-500 ปี มันวนรอบโลกได้สามสี่รอบ” ในขณะทีป ่ ญ ั หาน้�ำ เสียและสิง่ ปฏิกล ู ก่อให้เกิดมลภาวะในน้�ำ ทะเล จนทำ�ให้ปลาทะเลไม่สามารถดำ�รงชีวต ิ ในบริเวณทีม ่ ก ี ารปนเปือ ้ นได้ ซึ่งจะมีผลกระทบในด้านการทำ�ประมงของคนท้องถิ่น “ถ้ามันไปสะสมในทะเลเยอะๆ จะเกิดปรากฏการณ์น้ำ�เปลี่ยนสี หรือทีเ่ รียกกันว่า ‘ขีป ้ ลาวาฬ’ ซึง่ จะทำ�ให้ปลาตาย น้�ำ ทะเลเปลีย ่ นเป็น สีเขียว มีแต่แพลงก์ตอน น้ำ�เสียที่ถูกทิ้งลงทะเลส่วนใหญ่เป็นพวก ธาตุอาหาร ปุย ๋ เคมี ผงซักฟอก พอลงไปทะเลเยอะๆ มันก็ลงอ่าวไทย ท้ายทีส ่ ด ุ การประมงก็จะทำ�ไม่ได้ มันก็จะเกิดภาพปลานอนตายริมหาด น้ำ�สีเขียว อย่างที่เป็นข่าว แล้วมันก็จะเกิดถี่ขึ้นเรื่อยๆ” แนวปะการังของประเทศไทยเป็นอีกแหล่งรายได้ส�ำ คัญทีน ่ �ำ รายได้ เข้าประเทศกว่า 86,000 ล้านบาทต่อปี ซึง่ หากประเทศไทยสูญเสียแหล่ง รายได้ตรงนีไ้ ป นอกจากจะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงในเชิงเศรษฐกิจ ปัญหาดังกล่าวอาจนำ�มาสูก ่ ารทำ�ลายสิง่ แวดล้อมทางทะเลมากขึน ้ ไปอีก “ถ้าเกิดไม่มน ี ก ั ท่องเทีย ่ วมาเทีย ่ ว สุดท้ายเขาก็อาจจะแอบไปจับ ปลาขาย ไปทำ�ลายปะการัง สถานการณ์มันก็ยิ่งแย่ไปกว่าเดิม”

The Thing We Need To Figure Out “ถ้ า ถามว่ า ต่ อ ไปสถานการณ์ จ ะดี ขึ้ น ไหม เราว่ า มี แ นวโน้ ม มั น อาจจะยั ง ไม่ ชั ด เจนตอนนี้ ก็ เ หมื อ นมี บ ริ ษั ท ใหม่ แล้ ว ก็ เ ริ่ ม เห็นแววว่ามันขายของได้ อีกสัก 5 ปี มันก็นา่ จะรุง่ จะเป็นในลักษณะนี้ แต่ในช่วง 10 ปีทผ ี่ า่ นมา มันไม่มแี ม้กระทัง่ การลงทุน เอาตรงๆ คือ ไม่มีความหวัง แต่ตอนนี้พวกเราเริ่มมีการทำ�นู่นทำ�นี่ และตอนนี้ การฟืน ้ ฟูกเ็ ริม ่ มีภาพความสำ�เร็จให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม มันมีภาพ ฉลามกลับมาอาศัยอยู่ในบริเวณอ่าวมาหยาที่ไม่มีนักท่องเที่ยว มีภาพปะการังฟื้นที่เกาะยูง เกาะสิมิลันที่มีนักท่องเที่ยวลดลง “ขยะพลาสติกก็เหมือนกันเปี๊ยบเลย ตอนนี้คนไทยตื่นตัวเรื่อง สิ่งแวดล้อมกันเยอะมาก จากที่รณรงค์เรื่องขยะพลาสติกมาตั้ง สิบกว่าปีแต่ไม่ขยับเลย กระแสตรงนี้มันมุ่งหน้าไปเรียบร้อยแล้ว ยกตัวอย่างเรือ ่ งทีผ ่ มพยายามผลักดันมาตลอด เช่น นโยบายเรือ ่ ง การขายถุงพลาสติกของห้างร้านต่างๆ ตอนนีก ้ เ็ ห็นขายกันหลายที่ แล้ว มีการออกประกาศห้ามนำ�พลาสติกใช้แล้วทิ้งเข้ามาในอุทยาน แห่งชาติกว่า 150 แห่งทัว่ ประเทศ ห้างสรรพสินค้าไอคอนสยามก็มี ศูนย์รไี ซเคิลพลาสติก มีการออกผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ทีท ่ �ำ จากพลาสติก รีไซเคิล คอนโดหลายๆ แห่งก็มีเครื่องคืนถุง คืนขวดพลาสติกเพื่อ รองรับกับกระแสตรงนี้ แม้กระทัง่ ร้านกาแฟอเมซอนทีเ่ ขาให้เอาแก้ว ไปแลกได้ ซึง่ ตรงนัน ้ ก็ลดแก้วพลาสติกได้เป็น 10 ล้านใบ สังคมไทย กำ�ลังอยู่ในช่วงเวลาของการเปลี่ยนผ่าน จากยุคที่ทะเลเป็นยังไง ก็ช่างมัน ไม่ใช่เรื่องของเรา มาเป็นทะเลมันสำ�คัญต่อลูกต่อหลาน เรานะ ขยะที่เราทิ้งมันเกิดผลกระทบกับเรานะ เรากำ�ลังเข้าสู่ยุคที่ ประเทศไทยเริ่มหันมาสนใจประเด็นนี้อย่างจริงจัง ดังนั้นขั้นตอน ต่อจากนีจ้ ะเป็นเรือ ่ งของการประคับประคองเทรนด์เหล่านีใ้ ห้มน ั ขยาย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรณ์ ธํารงนาวาสวัสดิ์ Photographer TOP.PONPISUT Words KRIT PROMJAIRUX

หากจะมี เ หตุ ก ารณ์ ไ หนที่ ส ามารถทำ � ให้ ค นไทยหั น มาสนใจปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มได้ มากทีส ่ ด ุ ในรอบปีทผ ี่ า่ นมา คงจะหนีไม่พน ้ เรือ่ งการตายของวาฬนำ�ร่องครีบสัน ้ ทีบ ่ ริเวณอ่าวไทย จังหวัดสงขลา จากการกินขยะพลาสติกเข้าไปกว่า 80 ชิน ้ น้�ำ หนักรวม 8 กิโลกรัม ในช่วง ก่อนวันสิง่ แวดล้อมโลกเพียงไม่กวี่ น ั เหตุการณ์ดงั กล่าวทำ�ให้เกิดกระแสครัง้ ใหญ่ทส ี่ ง่ ผลให้ คนไทยเริม ่ ตระหนักถึงผลกระทบทีต ่ นสร้างต่อระบบนิเวศและหันมาสนใจว่าจริงๆ แล้วมันเกิด อะไรขึน ้ กับทะเลไทยกันแน่ เราจึงมาพูดคุยกับ ‘ผศ.ดร.ธรณ์ ธำ�รงนาวาสวัสดิ’์ นักวิทยาศาสตร์ ทางทะเล เพื่อทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ทางทะเลของประเทศไทยในปัจจุบัน และการตื่นตัวทางสังคมครั้งนี้ของคนไทยเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว

What Are The Problems “คงทราบกันดีอยูแ่ ล้วว่าคนไทยทิง้ ขยะพลาสติกลงทะเลเป็นอันดับ 5-6 ของโลก แล้วแต่วา่ หน่วยงานไหนเป็นคนจัดอันดับ และปริมาณของขยะพลาสติกหลังจากตรวจสอบตอนนีจ้ ะพบว่า แม่น�้ำ เจ้าพระยาเยอะทีส ่ ด ุ ในอ่าวไทยตอนใน แต่กไ็ ม่แปลก เพราะแม่น�้ำ เจ้าพระยารับน้�ำ มาจาก แม่น�้ำ ปิง วัง ยม น่าน เพราะฉะนัน ้ ขยะทีถ ่ ก ู ทิง้ ลงคลองทีเ่ ชียงใหม่ สุดท้ายมันก็จะไหลลงมาที่ เจ้าพระยาและลงไปสู่ทะเลอยู่ดี” นอกจากขยะพลาสติ ก ปั ญ หาการปล่ อ ยน้ำ � เสี ย และสิ่ ง ปฏิ กู ล ลงแม่ น้ำ � โดยตรง ยังเป็นเรื่องที่น่าห่วงไม่แพ้กัน เพราะเมื่อน้ำ�เสียเหล่านั้นไหลจากแม่น้ำ�ลงสู่ทะเล ก็จะเกิด การสะสมจนทำ�ให้ปริมาณออกซิเจนในน้ำ�ต่ำ�ลง ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับปลาในทะเล “ปัญหาหลักๆ คือเรายังบริหารน้�ำ เสียไม่ได้ เราสามารถบำ�บัดน้�ำ เสียได้เพียง 30-40% จากปริมาณที่ควรบำ�บัด ยังไม่ถึงครึ่งเลย ที่เหลือก็ต้องปล่อยโดยตรง โดยเฉพาะน้ำ�เสีย จากชุมชน เพราะสุดท้ายทุกอย่างมันก็ไหลลงทะเลหมด ไม่วา่ จะเป็นกรุงเทพฯ หรือเมืองอืน ่ ๆ รวมถึงชุมชนชายฝั่ง เพราะฉะนั้นนี่คือปัญหาที่น่าเป็นห่วงที่สุดในตอนนี้ ด้วยประสิทธิภาพ การบำ�บัดที่ต่ำ�กว่าปริมาณมลภาวะที่พวกเราเป็นผู้ก่อ” และหากเรามองทะเลด้วยมิตท ิ างเศรษฐกิจ การทรุดโทรมของแหล่งท่องเทีย ่ วทางทะเล ยังเป็นอีกหนึ่งปัญหาที่ทุกคนควรจับตามอง “แนวปะการังของประเทศไทยปัจจุบันมีความเสียหายกว่า 70% จากแนวปากการัง ทั้งหมด 140,000 ไร่ ความเสียหายส่วนใหญ่เกิดจากการท่องเที่ยว ซึ่งปัญหาหลักๆ ณ ตรงจุดนี้คือเรามีนักท่องเที่ยวเยอะเกินไป และกว่าร้อยละ 90 เป็นชาวต่างชาติ โดย ในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวทะเลไทยประมาณ 32 ล้านคน ซึ่งเป็นจำ�นวนเยอะมาก เมื่อเทียบขนาดของอุทยานแห่งชาติอย่างเช่นเกาะพีพี ที่มีแนวปะการังแค่ 2 กิโลเมตร แต่มีนักท่องเที่ยวมาเยือนราว 2-3 ล้านคนต่อปี”

Why Do We Have To Concern “ขยะทีเ่ ราทิง้ ลงแม่น�้ำ มันมีอะไรแอบซ่อนอยูห ่ ลายอย่างอย่างเช่น ถุงพลาสติกส่วนใหญ่ ที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ สำ�หรับขยะพลาสติกที่ไม่สามารถย่อยสลาย ได้มน ั ก็แตกตัวเป็นไมโครพลาสติกและเข้าไปอยูใ่ นวงจรอาหารของสัตว์ทะเลทีเ่ ราบริโภค ไปอยู่ ในตัวปลา ไปอยู่ในหอย และถึงแม้คุณอาจจะบอกว่าคุณไม่กินปลาไม่กินหอยเลย ท้ายที่สุด พอพลาสติกเหล่านีแ้ ตกตัวไปถึงขัน ้ ทีเ่ ป็นนาโนพลาสติก สุดท้ายพลาสติกมันก็จะเข้าไปอยู่ ในสิง่ ทีค ่ ณ ุ เลีย ่ งไม่ได้ซงึ่ ก็คอื เกลือ คนเราไม่มท ี างเลีย ่ งการบริโภคเกลือ เกลือมันอยูใ่ นทุกอย่าง ทีม ่ ค ี วามเค็ม ประเทศไทยบริโภคเกลือทะเลเกือบทัง้ หมด สุดท้ายพลาสติกเหล่านีก ้ ย ็ อ้ นกลับมา ยังพวกเราอยูด ่ ี และมันก็จะกระจายไปทัว่ โลก เพราะทะเลมันต่อกันทัว่ โลก ทะเลมันไม่เหมือน บนบก ไฟป่าที่อเมริกาก็มาไม่ถึงประเทศไทย แต่ถุงพลาสติกจากประเทศไทยมันไปถึง อเมริกาได้ เพราะถุงพลาสติกมันสามารถอยูไ่ ด้ถงึ 100-200 ปี ถ้าถุงหนาหน่อย ก็อาจจะถึง

“ สังคมไทยกำ�ลังอยู่ในช่วงเวลาของ การเปลีย ่ นผ่าน จากยุคทีท ่ ะเลเป็น ยังไงก็ช่างมันไม่ใช่เรื่องของเรา มาเป็นทะเลมันสำ�คัญต่อลูก ต่อหลานเรานะ ขยะที่เราทิ้งมัน เกิดผลกระทบกับเรานะ เรากำ�ลัง เข้าสู่ยุคที่ประเทศไทยเริ่มหันมา สนใจประเด็นนี้อย่างจริงจัง... การรักทะเลคือการช่วยสนับสนุน กระแสดังกล่าวให้มันยั่งยืนต่อไป

ออกไป เพราะในขณะทีภ ่ าครัฐและภาคเอกชนหันมาเห็นความสำ�คัญ ของท้องทะเล เราต้องประคับประคองให้คนไทยได้มีส่วนร่วมในการ ผลักดันนโยบายทีเ่ กีย ่ วกับท้องทะเลให้มน ั ออกมาอย่างเป็นรูปธรรม เพราะฉะนั้นทุกคนทำ�ได้ การรักทะเลคือการช่วยสนับสนุนกระแส ดังกล่าวให้มันยั่งยืนต่อไป” จากการคาดการณ์ ข อง ดร.ธรณ์ การฟื้ น ฟู สิ่ ง แวดล้ อ ม และทรัพยากรทางทะเลมีแนวโน้มทีจ่ ะดีขน ึ้ เรือ ่ ยๆ จากการปรับเปลีย ่ น ทัศนคติครั้งใหญ่ของสังคม อย่างไรก็ตาม ปัญหาด้านการจัดการ อย่างการควบคุมมลพิษยังคงเป็นอีกปัญหาใหญ่ทต ี่ อ ้ งรีบหาวิธแี ก้ไข ที่มากกว่าการตื่นตัวทางสังคม “เรื่องน้ำ�เสียเป็นเรื่องที่แม้คนจะสนใจแต่ก็ยังแก้ปัญหาไม่ได้ เรือ ่ งนีโ้ คตรยาก ยากกว่าปัญหาขยะ และต้องใช้เงินจำ�นวนมหาศาล ในการฟืน ้ ฟู ปัญหาทีส ่ �ำ คัญทีส ่ ด ุ ตอนนีค ้ อ ื เรายังไม่สามารถหาโมเดล ที่จะเป็นแบบอย่างในการแก้ปัญหาตรงนี้ได้ ผมยังไม่เห็นที่ไหนหรือ เกาะไหนที่สามารถจัดการน้ำ�เสียได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ หรือปล่อยน้ำ�ดี ลงทะเลทั้งหมด เราพูดไม่ได้เลย คือพยายามทำ�หลายทีแล้วแต่ก็ ยังไม่เคยทำ�สำ�เร็จ”


TALK

Understanding Issues “ปัญหาเรื่องการยอมรับและการรับรู้ของประชาชน ซึ่งส่วนนึง ก็มาจากการที่ทางภาครัฐมีการให้ความรู้หรือประชาสัมพันธ์เชิงรุก มากน้อยแค่ไหน แต่เราไม่คอ ่ ยทำ� เราทำ�น้อยมาก ถึงเวลาพอจะสร้าง ก็คอ ่ ยไปบอกประชาชนอีกที ไม่คย ุ กันตัง้ แต่แรก ถึงแม้วา่ จะมีความ ตัง้ ใจทีด ่ ี แต่มวลชนเขาไม่ได้รบ ั รูเ้ รือ ่ งนีแ้ ต่แรก มันก็เลยคุยกันยาก” “เรื่องการยอมรับหรือไม่ยอมรับเนี่ย มันมีหลายปัจจัยมาก อย่างแรกเลยคือ สมัยก่อนข่าวสารมันไปไม่ไว คนอาจจะสนใจเรื่อง ปากท้องกันมากกว่าสิ่งแวดล้อม ตอนนี้มันเจริญขึ้นเยอะ คนก็เริ่ม ใส่ใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้น อย่างที่สองข่าวสารมันไปไวมากขึ้นกว่า หนังสือพิมพ์ เฟซบุ๊ก ไลน์ เดี๋ยวนี้มันส่งข่าวไว อย่างที่สาม จริงๆ แล้วมันอาจจะไม่มอ ี ะไรมาก มวลชนอาจจะยอมรับ แต่อาจจะมีปญ ั หา เรื่องผลประโยชน์ “จริงๆ ปัญหามันแก้ง่ายที่สุดคือให้ทุกคนมีส่วนร่วม รับรู้เลย ว่าพื้นที่ไหนมีประสิทธิภาพในการผลิตบ้าง แล้วก็ให้ประชาชนเลือก ถ้ า มั น ชั ด เจนตั้ ง แต่ ต้ น ทุ ก อย่ า งดู โ ปร่ ง ใส่ ผมว่ า ใครจะไปยุ ย ง มันคงทำ�ได้ยากขึ้น” คนทั่ ว ไปที่ ไ ม่ ไ ด้ ค ลุ ก คลี เ รื่ อ งของพลั ง งานไฟฟ้ า อย่ า งเราๆ คงสงสัยเรือ ่ งของมลพิษในการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินตามทีบ ่ างคน ได้เถียงเอาไว้ อาจารย์ก็มีคำ�ตอบในส่วนนี้ให้เช่นกัน “ถ่านหินหรือก๊าซธรรมชาติ พอเอามาผลิตไฟฟ้าแล้ว มลพิษ ที่ออกมาไม่ได้แตกต่างกัน เรามีวิศวกรรมที่สามารถกำ�จัดมลพิษ ได้เกือบหมด พวกตะกั่ว กำ�มะถัน เรากำ�จัดได้หมด ไม่ได้น่ากลัว เท่าไหร่ด้วยเทคโนโลยีวันนี้ ถ้าซัก 30 ปีที่แล้วอาจจะยาก แต่ใน 10-20 ปีที่ผ่านมาเทคโนโลยีมันก้าวไปเยอะ”

เราจะอยู่รอดปลอดภัย ไม่ถึง 10 ปี หลังจากนั้น ไฟฟ้าจะเริ่มไม่พอแล้ว

Think More When You Plug Generate every watt of electricity, generate the movement of world.

Associate Professor Kulyos Audomvongseree, PhD

รองศาสตราจารย์ ดร.กุลยศ อุดมวงศ์เสรี Photographer PAT PETTHONG Words NITIPON SUWANSATHIEN

Do It Ourselves

From Past To Present “ถ้ามองย้อนกลับไปในอดีตซัก 50-60 ปีที่แล้วเนี่ย การ ผลิตไฟฟ้าในอดีตและปัจจุบน ั แทบไม่ตา่ งกันเลย” รองศาสตราจารย์ ดร.กุลยศ อุดมวงศ์เสรี ผูอ้ �ำ นวยการสถาบันวิจย ั พลังงาน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวถึงการผลิตไฟฟ้าในยุค 4.0 หลายคนอาจจะติ ด ภาพจากหนั ง สื อ เรี ย นสมั ย มั ธ ยมฯ กันมาว่า การจะสร้างไฟฟ้าได้ต้องอาศัยเขื่อนเป็นหลัก แต่นั่นก็ เป็นเพียงแค่เสี้ยวเล็กๆ ของวงจรไฟฟ้าในประเทศไทยเท่านั้น “60% ของพลังงานไฟฟ้ามาจากก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเรานำ�เข้า ก๊าซอยู่ 3 แหล่งคือ อ่าวไทยซึ่งผลิตได้เอง จากพม่า แล้วก็ภาคใต้ มีแหล่งก๊าซที่เราลงทุนร่วมกับมาเลเซีย” อาจารย์กล่าวต่ออีกว่า “จริงๆ แล้วเขื่อนเนี่ยเราไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อผลิตไฟฟ้า เราสร้างขึ้น เพื่อการชลประทาน คือใช้น้ำ�ก่อน ปล่อยน้ำ�ให้เกษตรกร แล้วค่อย ใช้น้ำ�ที่ไหลมาผลิตไฟฟ้าอีกที เป็นผลพลอยได้จากการเกษตรอีกที ดั้งนั้นการไฟฟ้าจึงไม่มีสิทธิ์สั่งปล่อยน้ำ�จากเขื่อนได้”

Is Post Apocalypse Real? ในปี 2018 เราน่าจะได้ยินข่าวเกี่ยวกับเรื่องทรัพยากรในโลก กำ � ลั ง จะหมดไปกั น บ้ า งใช่ ไ หม ทางอาจารย์ เ องก็ บ อกกั บ เรามา เหมือนกันว่าอนาคตของทรัพยากรไฟฟ้าจะเป็นอย่างไรต่อไป “ทรัพยากรไฟฟ้าระยะสัน ้ ของผม ภายใน 3-5 ปีเนีย ่ เรือ ่ งจะมี ไฟฟ้ า ใช้ ห รื อ ไม่ มี ผมให้ คำ � ตอบว่ า ไม่ น่ า ห่ ว ง ไฟฟ้ า เหลื อ แน่นอน เพราะเรามีไฟฟ้าสำ�รองอยู่ประมาณ 40% แล้วในอนาคต เพราะฉะนั้นความน่ากังวลในเรื่องพลังงานระยะสั้นๆ ไม่น่าห่วงเลย มีไฟใช้แน่ แต่สะอาดหรือไม่สะอาดก็เป็นอีกเรื่องนึงนะ” เดี๋ ย วก่ อ น! ถึ ง แม้ ว่ า 3-5 ปี เราจะนั่ ง ชิ ล ๆ กั น ได้ แต่ ก็ อย่าเพิง่ ชะล่าใจไป อาจารย์ได้เสริมต่ออีกว่า “แต่หลังจาก 5 ปีไปแล้ว น่าเป็นห่วงนะ เพราะทางพม่าจะไม่ขายก๊าซให้เราแล้ว เนื่องจากเขา เปิดประเทศ ก๊าซในอ่าวไทยทีส ่ ำ�รวจปริมาณไว้แล้วมันก็จะหมดแล้ว ถ้าเกิดมันหมดขึ้นมาจะทำ�ยังไง เพราะตอนนี้เราก็ใช้ก๊าซมาผลิต พลังงานไฟฟ้าในประเทศถึง 60% ถ้าไม่มม ี าตรการอื่นนี่ลำ�บากแน่ “เราจะอยู่รอดปลอดภัยไม่ถึง 10 ปี หลังจากนั้นไฟฟ้าจะเริ่ม ไม่พอแล้ว นอกจากก๊าซหมด โรงไฟฟ้าก็หมดอายุเช่นกัน” พอมาถึงจุดที่ทรัพยากรที่จะนำ�มาผลิตไฟฟ้าก็หมด โรงไฟฟ้า ที่มีอยู่ก็เริ่มเก่าเกินไป ทางเลือกอีกทางที่คิดได้อาจจะเป็นการสร้าง โรงไฟฟ้าเพิ่มใช่ไหม แต่ความจริงมันไม่ได้สร้างง่ายแบบนั้นเลย ตามที่ เ ราได้ เ ห็ น ๆ กั น ในข่ า วเรื่ อ งการต่ อ ต้ า นสร้ า งโรงไฟฟ้ า หลายๆ แห่ง ซึง่ อาจารย์บอกกับเราว่าปัญหาหลักๆ มันอยูท ่ ค ี่ วามเข้าใจ

แต่ ถ้ า เรื่ อ งโรงไฟฟ้ า มั น ดู น่ า ปวดหั ว ไปนิ ด ลองมาดู เ รื่ อ ง ใกล้ตัวอย่างการประหยัดไฟกันดีไหม “เรื่องลดการใช้พลังงาน มันก็มีอยู่สองมุมนะ หนึ่งก็คือการปรับพฤติกรรมซึ่งโดยส่วนตัว ผมคิดว่ามันยาก ถ้าให้ลงวิชาการอีกนิด มันก็จะแบ่งเป็นสองกลุ่ม ใหญ่ๆ ก็คือผู้ใช้พลังงานในอุตสาหกรรมซึ่งใช้พลังงานเยอะมาก แต่มีจำ�นวนโรงงานไม่เยอะเท่าไหร่ อีกกลุ่มคือคนธรรมดาในบ้าน อยู่ อ าศั ย เราใช้ พ ลั ง งานต่ อ บ้ า นน้ อ ยนะ แต่ มั น มี ป ริ ม าณบ้ า น เยอะมาก ยี่สิบกว่าล้านครัวเรือน รวมๆ ปริมาณพลังงานที่ใช้มันก็ เยอะมาก ไม่แพ้กลุ่มโรงงานเลย” ฟังแล้วอาจจะคิดว่ากลุ่มโรงงานน่าจะปรับเปลี่ยนระบบของเขา ได้ยากใช่ไหม แต่เปล่าเลย “กลุม ่ โรงงานถ้ามีมาตรการลดการใช้พลังงาน กลุม ่ นีเ้ ขาทำ�เลย ทันที เพราะมันช่วยลดต้นทุนให้เขา แต่ในกลุม ่ บ้านอยูอ ่ าศัย เขากลับ ไม่มีแรงจูงใจที่จะลดการใช้พลังงานเลย สมมติเขาใช้ไฟเดือนละพัน สองพั น บอกให้ ป ระหยั ด ไฟสั ก 10% มั น ก็ เ ป็ น เงิ น แค่ ร้ อ ย สองร้อยบาท อีกอย่างคือเวลาบอกให้ปิดแอร์ประหยัดไฟ ก็บอกว่า ยินดีจ่าย” แล้วถ้าเราอาจจะเริม ่ ช่วยสิง่ แวดล้อมด้วยการประหยัดพลังงานล่ะ จะสามารถเริ่มจากไหนได้บ้าง “ในฐานะคนธรรมดาทัว่ ไปเลยเนีย ่ จริงๆ ทุกคนก็ตอ ้ งทำ�หน้าที่ ของตัวเองให้ดีที่สุด แต่มันก็ยากมากเลยนะ จริงๆ ผมเอง ถึงแม้ จะรู้ว่าต้องทำ�ไง แต่กลับบ้านไปผมยังใช้ไฟเปลืองเลย ถ้าเกิดอยาก จะใช้ไฟฟ้าแบบสบายๆ กันอยูอ ่ าจจะต้องช่วยกันเปลีย ่ นเป็นอุปกรณ์ ที่มันมีประสิทธิภาพ กินไฟน้อยลง “ผมบอกเลยว่า แอร์ที่บ้านถ้ามันเก่าแล้ว แก่แล้ว เปลี่ยนแอร์ ใหม่เป็นแบบ Inverter เถอะ ถึงแม้ว่ามันจะแพงกว่า 10-20% ของราคา แต่ เ ชื่ อ เถอะค่ า ไฟมั น คุ้ ม แน่ ขนาดชั่ ว โมงใช้ เ ท่ า เดิ ม แอร์ Inverter ประหยัดกว่า 20-30% แน่ๆ จริงๆ เปลี่ยนแอร์ ช่วยได้มากๆ อย่างอื่นเช่นพวกหลอดไฟ มันเป็นแค่น้ำ�จิ้มแล้วล่ะ”

Another One To Concern เราอดไม่ได้ที่จะถามอาจารย์ว่าทำ�ไมต้องเอาสายไฟลงใต้ดิน นอกจากเรื่องความสวยงามแล้ว ยังมีประโยชน์ด้านใดอีกบ้าง “เรื่ อ งสายไฟใต้ ดิ น ทำ � ไมเมื่ อ ก่ อ นไม่ เ อาลงใต้ ดิ น เพราะ เมื่ อ ก่ อ นต้ น ทุ น เอาสายไฟลงดิ น แพงว่ า ตั้ ง เสาไฟฟ้ า หลายเท่ า แต่ ณ ตอนนีส ้ ายไฟทีใ่ ช้มาเป็นเวลานานมันก็เริม ่ คืนทุนไปหมดแล้ว เราก็เริ่มคำ�นึงเรื่องเอาสายไฟลงดิน แต่ในอนาคตอย่างน้อยๆ ใน เขตกรุงเทพฯ นนทบุรี สมุทรปราการ เอาสายไฟฟ้าลงดินหมดแน่ๆ จ่ า ยแพงแล้ ว ไม่ ไ ด้ ค วามสวยงามอย่ า งเดี ย วนะ มั น จะลดเรื่ อ ง ไฟฟ้าดับด้วย “ทุกวันนี้ไฟฟ้าดับไม่ใช่เพราะโรงผลิต มันมาจากการขับรถ ชนเสาไฟฟ้า อีกอย่างกระรอกเนี่ยทำ�ไฟดับบ่อยมาก กระโดดไป กระโดดมา กระโดดไม่พ้น เอาขาจับสายไฟสองสาย ครบวงจรไฟ พอดี”


TALK

The Silent Threat When the weather changes or people get sick easily, we might only think that the air surrounding us is polluted but there’s something more hazardous than we think, especially PM 2.5 and that’s the thing we have to be aware.

Thunyapat Thongyen ธัญภัสสร์ ทองเย็น

Photographer TOP.PONPISUT Words SUPANUT CHOKVIRIYAGRON

หากย้ อ นกลั บ ไปในอดี ต สภาพอากาศ ของประเทศไทยดู เ ป็ น ฤดู ก าลจริ ง ๆ มากกว่ า ในปัจจุบันที่มีแต่ฤดูร้อน สาเหตุหลักคงปฏิเสธ ไม่ได้เลยว่ามันเกิดมาจากมลภาวะทางอากาศ ‘ธัญภัสสร์ ทองเย็น’ อาจารย์ประจำ�ภาควิชา เทคโนโลยี แ ละการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม คณะ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล่า ให้ ฟั ง ว่ า สภาพอากาศในประเทศไทยมี ปั ญ หา เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศที่มาจากฝุ่นละออง ค่อนข้างมาก ซึ่งแต่ละภาคก็จะพบกับปัญหาที่ ไม่ เ หมื อ นกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น ปั ญ หาฝุ่ น ละอองที่ เกิ ด จากไฟป่ า หรื อ การเผาไหม้ ใ นที่ โ ล่ ง แจ้ ง ปัญหาหมอกควันหรือมลพิษข้ามแดน ปัญหา ก๊ า ซโอโซน หรื อ ปั ญ หาที่ เ คยเป็ น ประเด็ น เมื่อกลางปีที่ผ่านมาอย่างฝุ่นละอองที่มีอนุภาค เล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ PM 2.5

What Are The Problems “ปัญหาส่วนใหญ่ที่ได้ยินจะเป็นเรื่องของฝุ่น เป็นหลัก ซึ่งจริงๆ แล้วมีปัญหาอื่นเข้ามาเป็น ส่ ว นประกอบด้ ว ยเช่ น ปั ญ หาของก๊ า ซโอโซน ซึ่งเป็นเรื่องที่มีการเข้าใจผิดกันเยอะว่าเวลาเรา ไปสูดโอโซนแล้วจะทำ�ให้สุขภาพดี แต่แท้จริงแล้ว การได้รบ ั ก๊าซโอโซนเข้าไปเป็นจำ�นวนมากจะทำ�ให้ เกิดอาการระคายเคืองทางระบบทางเดินหายใจ อีกทั้งยังเป็นปัญหามาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี ซึ่ ง มี แ นวโน้ ม ที่ จ ะเพิ่ ม มากขึ้ น ในช่ ว งฤดู ห นาว และยั ง คงเป็ น ปั ญ หาอยู่ เ รื่ อ ยๆ เช่ น เดี ย วกั บ PM 2.5 แต่ ที่ PM 2.5 มี ก ระแสแรงกว่ า เพราะมันสามารถมองเห็นได้จากการที่มีหมอก มากจนทำ�ให้มองไม่เห็นทัศนวิสัยด้านหน้า” แม้ PM 2.5 ดูจะเป็นเรื่องใหม่เพราะเพิ่ง เป็นกระแสในช่วงกลางปีที่ผ่านมา แต่แท้ที่จริง แล้ ว ปั ญ หานี้ อ ยู่ คู่ กั บ ประเทศไทยมานานกว่ า 7 ปีแล้ว “PM 2.5 เป็ น มลพิ ษ ทางอากาศที่ มี การประกาศค่ามาตรฐานของไทยเมื่อปี 2554 โดยมี ก รมควบคุ ม มลพิ ษ เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ที่มีหน้าที่ติดตามตรวจสอบ และพบว่า PM 2.5 มี แ นวโน้ ม ว่ า จะสู ง ขึ้ น ในช่ ว งเดื อ นธั น วาคมถึ ง มี น าคมของทุ ก ปี นั่ น ก็ แ ปลว่ า เรามี ปั ญ หานี้ มานานแล้ว”

ทั้งนี้ปัญหา PM 2.5 ที่เกิดในแต่ละภาค ของประเทศไทยนั้นมีที่มาที่แตกต่างกัน “ภาคเหนื อ จะพบเจอกั บ ปั ญ หาฝุ่ น ละออง ที่เกิดจากไฟป่าและการเผาไหม้ของคนในพื้นที่ ซึ่ ง ทางภาครั ฐ เองก็ มี ก ารออกนโยบายต่ า งๆ ออกมาเพื่ อ ให้ ล ดการเผาไหม้ ใ นที่ โ ล่ ง แจ้ ง หรื อ การเผาพื้ น ที่ ท างการเกษตร เพราะเป็ น สาเหตุหนึ่งที่ทำ�ให้เกิด PM 2.5 ในพื้นที่ตรงนั้น “นอกจากภาคเหนื อ แล้ ว ในภาคกลางก็ มี ปั ญ หาของ PM 2.5 อยู่ เ หมื อ นกั น ซึ่ ง แหล่ ง กำ � เนิ ด จะต่ า งจากทางภาคเหนื อ เพราะ แหล่ ง กำ � เนิ ด นั้ น มาจากท่ อ ไอเสี ย รถยนต์ เ ป็ น หลัก ดังนั้นจึงมีการกวดขันเรื่องของท่อไอเสีย รถกระบะค่ อ นข้ า งเยอะกว่ า รถเก๋ ง เพราะว่ า มั น เกิ ด ฝุ่ น ขนาดเล็ ก ได้ ม ากกว่ า และอั น ตราย มากกว่า “ภาคใต้ จ ะเป็ น เรื่ อ งของมลพิ ษ ข้ า มแดน ซึ่ ง ตอนนี้ ก็ เ ป็ น อี ก ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ ห ลายประเทศ ทั่ ว โลกให้ ค วามตระหนั ก มากขึ้ น โดยปั จ จั ย ที่ ทำ�ให้เกิดมลพิษข้ามแดนก็มาจากฝุ่นที่มีขนาด เล็กมาก ดังนั้นเมื่อมีขนาดเล็ก น้ำ�หนักก็จะน้อย ทำ�ให้มันลอยในอากาศได้นาน เมื่อมีลมพัดมา มันจึงสามารถข้ามแดนได้ ดังนั้นไม่ว่าเราจะเป็น ผู้ทำ�หรือไม่ได้ทำ�ให้เกิดมลพิษ เราก็ต้องได้รับ ผลเช่นกัน”

Why Do We Have To Concern PM 2.5 ฝุ่ น ละอองที่ ทุ ก คนแตกตื่ น กั น เมื่อกลางปีที่ผ่านมา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่า ความตระหนักในเรื่องนี้ได้จางหายไปแล้ว “คือตอนนั้นที่มีกระแสขึ้นมาก็เพราะว่าเรา สามารถมองเห็นสภาพอากาศได้ชัดเจนมากขึ้น ถ้าวันไหนที่มีแดดน้อย เราจะเห็นหมอกควันใน กรุงเทพฯ ชัดเจน ดังนั้นคนเลยเริ่มระแวงว่ามัน เกิดการเปลีย ่ นแปลงอะไรขึน ้ มาหรือเปล่า แต่จริงๆ ปัญหาของ PM 2.5 ในทุกวันนีม ้ น ั ก็ยงั มีอยู่ ถึง แม้วา่ เราจะมองเห็นไม่ชด ั เท่าเมือ ่ กลางปีทผ ่ี า่ นมา แต่มันยังไม่ได้มีแนวโน้มว่าจะไปถึงขั้นที่รุนแรง” หลายคนคงสงสัยว่าความร้ายแรงที่อยู่ใน ระดับขั้นรุนแรงคืออะไร “ความร้ า ยแรงมั น ขึ้ น อยู่ กั บ หลายปั จ จั ย หนึ่งคือขึ้นอยู่กับชนิดของสาร ถ้าเป็น PM 2.5 ก็จะมีความอันตรายมากกว่า PM 10 เพราะมี ขนาดทีเ่ ล็กกว่า สองคือระดับปริมาณทีไ่ ด้สม ั ผัส ฝุ่ น นั้ น ถ้ า เราไปอยู่ ใ นพื้ น ที่ ที่ มี ป ริ ม าณของ PM 2.5 มากๆ ก็จะร้ายแรงกว่า สามก็คอ ื ขึน ้ อยู่ กับระยะเวลา คนที่ไปอยู่ในพื้นที่ที่มีปริมาณของ

สารเป็นระยะเวลานานก็มีโอกาสเสี่ยงกว่า ดังนั้น มันก็ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย แต่ด้วยตัว PM 2.5 มีความอันตรายด้วยตนเองอยู่แล้ว ถามว่ามัน อั น ตรายยั ง ไง อั น ดั บ แรกเลยคื อ ถ้ า เป็ น ฝุ่ น ที่ มีขนาดใหญ่ เวลาทีเ่ ราหายใจเข้าไป ก็จะเกิดการ ไอ การจาม ดังนั้นร่างกายก็จะสามารถขับออก ได้ เ องโดยอั ต โนมั ติ แต่ ถ้ า เป็ น ฝุ่ น ที่ เ ล็ ก ลงมา อย่าง PM 10 หรือ PM 2.5 ก็จะเข้าไปถึงระบบ หายใจส่วนล่าง เข้าไปถึงถุงลมปอดได้มากกว่า และทำ � ให้ เ กิ ด การสะสม และถ้ า ยิ่ ง เป็ น สารที่ เกิดจากการทำ�อุตสาหกรรม ควันจากท่อไอเสีย รถยนต์ หรือมีสารอื่นๆ เข้ามาประกอบอยู่ด้วย อย่างโลหะหนักหรือสารก่อมะเร็ง ก็ยิ่งมีโอกาส ที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด โรคมะเร็ ง หรื อ โรคที่ เ กี่ ย วกั บ ทางเดินหายใจได้ง่ายขึ้น “บุ ค คลที่ เ ป็ น กลุ่ ม เสี่ ย งต่ อ การได้ รั บ ผลกระทบของ PM 2.5 มีตั้งแต่เด็ก คนชรา และคนทีเ่ ป็นโรคเกีย ่ วกับทางเดินหายใจ หอบหืด รองลงมาก็จะเป็นกลุ่มคนที่ทำ�งานอยู่ในพื้นที่ สุ่มเสี่ยงเป็นประจำ�อย่างตำ�รวจจราจรที่จะต้อง ยื น อยู่ ใ นที่ ที่ มี ไ อเสี ย หรื อ ควั น ดำ � ตลอดเวลา ดั ง นั้ น จะต้ อ งมี ก ารป้ อ งกั น ตั ว เองด้ ว ยการใส่ หน้ากากอนามัยที่ช่วยป้องกันฝุ่นได้ตลอดเวลา แต่ถ้าถามว่าใครเสี่ยงมากที่สุด อาจารย์คิดว่า ทุกคนมีความเสี่ยงเท่ากันหมด แต่มันก็ขึ้นอยู่ กับว่าแต่ละคนจะมีภูมต ิ า้ นทานมากน้อยแค่ไหน”

วิธีที่ง่ายที่สุดที่จะ ลดปัญหา PM 2.5 คือใช้รถยนต์ส่วนตัว ให้น้อยที่สุด หันมาใช้ ขนส่งสาธารณะมากขึ้น และลดการเผาขยะ หรือเศษวัสดุต่างๆ ก็อาจจะช่วยลดการเกิด PM 2.5 ลงได้

Forecast The Future นั่ น คื อ ปั ญ หาทางอากาศที่ ค นไทยเผชิ ญ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน แล้วในอนาคตข้าง หน้าเราจะต้องเจอกับปัญหาทางอากาศแบบไหน อีกบ้าง และควรจะต้องเตรียมพร้อมรับมือกัน มากน้อยแค่ไหน “มันขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่เราทำ� พื้นที่ และ อากาศที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป แต่ ถ้ า เป็ น เรื่ อ งของ การเฝ้าระวังแล้ว ก็คงจะหนีไม่พ้น PM 2.5 ซึ่ง ก็ยังเป็นตัวหลักที่หลายๆ หน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน หรือหน่วยงานด้านการศึกษายังให้ ความสำ�คัญอยู่ ทั้งในพื้นที่ของภาคเหนือและ พื้นที่ในส่วนของกรุงเทพฯ รวมไปถึงในภาคใต้ ด้ ว ย เพราะเห็ น จากหลายปี แ ล้ ว ว่ า เป็ น มลพิ ษ ที่ มี ค วามต่ อ เนื่ อ งมาเป็ น เวลานานแต่ ก็ ยั ง ไม่ ส ามารถแก้ ไ ขได้ นอกจากนั้ น ก็ ยั ง จะต้ อ ง เฝ้าระวังเรื่องของก๊าซโอโซนที่เริ่มเห็นแนวโน้ม ว่ามันจะเพิม ่ สูงขึน ้ ด้วย แต่กย ็ งั ไม่ถงึ ขัน ้ อันตราย และสุดท้ายแม้ว่าจะยังไม่มีฝุ่นอนุภาคเล็กกว่า PM 2.5 เกิดขึ้นมา แต่ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ควร ต้องระวัง เพราะในอนาคตข้างหน้าอาจจะเกิด อนุ ภ าคฝุ่ น ที่ เ ล็ ก กว่ า นั้ น เกิ ด ขึ้ น มาได้ อย่ า ง PM 1 หรือ PM 0.1 “ถ้ า พู ด ถึ ง แนวทางการป้ อ งกั น สาเหตุ ที่ จะทำ�ให้เกิด PM 2.5 ในกรุงเทพฯ หนึ่งคือต้อง มี ก ารเข้ ม งวดกวดขั น เรื่ อ งการระบายไอเสี ย ของรถยนต์ อ อกมามากขึ้ น และประชาชนจะ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามด้ ว ยการตรวจเช็ ก สภาพรถ ให้มีการพร้อมใช้อยู่ตลอดเวลาและไม่นำ�รถเก่า ออกมาวิ่งตามท้องถนนเพราะอาจจะส่งผลทำ�ให้ เกิ ด ฝุ่ น ควั น และวิ ธี ที่ ง่ า ยที่ สุ ด ที่ จ ะลดปั ญ หา PM 2.5 คื อ ใช้ ร ถยนต์ ส่ ว นตั ว ให้ น้ อ ยที่ สุ ด หั น มาใช้ ข นส่ ง สาธารณะมากขึ้ น และลดการ เผาขยะหรือเศษวัสดุตา่ งๆ ก็อาจจะช่วยลดการเกิด PM 2.5 ลงได้”


FEATURE

เพี ย งประเทศไทยประเทศเดี ย วมี ป ริ ม าณขยะพลาสติ ก คำ � นวณได้ ประมาณ 2 ล้านตันต่อปี และถูกจัดลำ�ดับให้เป็นประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติก ลงทะเลและมหาสมุทรมากทีส ่ ด ุ ในโลกเป็นอันดับที่ 6 ส่งผลกระทบต่อระบบ นิเวศและสิ่งมีชีวิตในทะเลเป็นอย่างมาก หนึ่งตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือวาฬ นำ�ร่องครีบสัน ้ ทีเ่ กยตืน ้ บริเวณปากคลองแห่งหนึง่ ในจังหวัดสงขลา ซึง่ เมือ ่ ชันสูตรแล้ว พบขยะพลาสติกในกระเพาะอาหารสูงถึง 80 ชิน ้ และก่อนตาย ได้ขย้อนถุงพลาสติกออกมาจำ�นวนหนึ่งด้วย ประเด็นดังกล่าวคือวิกฤตสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงและอยู่ในระดับวาระ แห่งชาติทป ี่ ระเทศของเราต้องตืน ่ ตัวและหาทางแก้ไขก่อนทีป ่ ญ ั หาจะลุกลาม มากไปกว่านี้ แต่แน่นอนว่านี่ไม่ใช่สิ่งที่ไทยต้องเผชิญอยู่เพียงประเทศเดียว หลายประเทศประสบปัญหาขยะพลาสติกและมองหาวิธีแก้ไขอย่างจริงจัง บางประเทศนำ�ร่องนโยบายและกฎหมายการใช้พลาสติกและการจัดการขยะ พลาสติกจนเห็นผลลัพธ์ทเี่ ป็นรูปธรรมในเชิงบวกไปบ้างแล้ว เช่น เดนมาร์ก สวีเดน และออสเตรเลีย บางประเทศกำ�ลังดำ�เนินรอยตามโดยตัง้ เป้าหมาย เป็นลำ�ดับอย่างชัดเจน เช่น ไต้หวัน ที่ประกาศชัดเจนเลยว่าในที่สุดแล้ว ต้องจัดการปัญหาขยะพลาสติกทัง้ หมดให้ได้ภายในปี 2030 (พ.ศ.2573) หรือบางประเทศอย่างเคนยาก็ใช้มาตรการขัน ้ รุนแรงคือห้ามผลิต จำ�หน่าย และใช้ถุงพลาสติก ผู้ฝ่าฝืนจะได้รับโทษตามกฎหมาย ย้ อ นกลั บ มาที่ ป ระเทศไทย หลายภาคส่ ว นเริ่ ม ตื่ น ตั ว และรณรงค์ เรือ ่ งนีก ้ น ั บ้างแล้ว เช่น ตึกสำ�นักงานทีค ่ นรูจ้ ก ั ของผูเ้ ขียนทำ�งานอยูอ ่ อกกฎ บังคับไม่ให้นำ�โฟมและบรรจุภัณฑ์พลาสติกเข้าอาคาร ซึ่งเป็นมาตรการที่มี เจตนาดีและตระหนักถึงปัญหาขยะพลาสติก อย่างไรก็ตามบริเวณโดยรอบ ตึกสำ�นักงานนั้นกลับยังมีการใช้บรรจุภัณฑ์ประเภทดังกล่าวอยู่ แม้กระทั่ง คนทำ�งานในตึกนัน ้ ทีม ่ ค ี วามจำ�เป็นต้องใช้บรรจุภณ ั ฑ์กร็ ส ู้ ก ึ ว่าเป็นมาตรการ ที่บังคับมากจนเกินไป เพราะหลายคนรู้สึกว่าเป็นการสร้างความลำ�บาก ให้พวกเขาทีไ่ ม่สะดวกเตรียมบรรจุภณ ั ฑ์แบบใช้ซ�้ำ มาใช้ได้และยังต้องซือ้ อาหาร หรือเครื่องดื่มที่ใส่ในบรรจุภัณฑ์ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งแบบนั้นอยูู่ อีกกรณีคอ ื การรณรงค์ให้รา้ นสะดวกซือ ้ ร้านอาหารและเครือ ่ งดืม ่ ต่างๆ งดการให้บริการถุงพลาสติก แต่ก็ยังมีลูกค้าบางส่วนที่ไม่เข้าใจว่าทำ�ไมถึง ไม่ได้รบ ั ถุงพลาสติกอย่างทีเ่ คยเป็นมา หรือในทางกลับกันลูกค้าตระหนักถึง ปั ญ หาขยะพลาสติ ก แต่ ร้ า นค้ า ต่ า งๆ ยั ง คงให้ ถุ ง พลาสติ ก ตามปกติ หรื อ ทิ้ ง บรรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก เปล่ า ที่ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ไ ป แม้ ลู ก ค้ า จะนำ � ภาชนะ หรือบรรจุภณ ั ฑ์มารับบริการเองก็ตาม เพือ ่ ความสะดวกในการนับยอดขาย นั่ น คื อ ตั ว อย่ า งความขั ด แย้ ง อั น เกิ ด จากความเข้ า ใจที่ ไ ม่ ต รงกั น ของคนในชุมชน ซึ่งนำ�ไปสู่ปัญหาการจัดการขยะพลาสติกที่ไม่จบไม่สิ้น แล้วจะต้องทำ�อย่างไรเพือ ่ ให้ทก ุ คนในสังคมสามารถปฏิบต ั ต ิ ามแนวนโยบาย การจัดการขยะได้อย่างสะดวกใจและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

Social Contract Is A Key “แคมเปญลด ละ เลิ ก ใช้ โ ฟม ใช้ พ ลาสติ ก จริ ง ๆ ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งใหม่ แต่บางทีการอยู่เฉพาะตามอาคารสำ�นักงานหรือองค์กรก็สะท้อนให้เห็นว่า วิธีการมองหรือจัดการปัญหาขยะพลาสติกหรือโฟมอาจจะยังไม่รอบด้าน มากนัก ถ้าพูดตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน มันยังไม่ ‘inclusive’ และ การปฏิบัติด้วยความสมัครใจไม่ว่าจะเป็นร้านสะดวกซื้อหรือผู้บริโภคเอง

มันพิสูจน์ในหลายๆ สังคมแล้วว่า ‘ไม่ได้ผล’ เพราะเป็นการสร้างเงื่อนไข ว่ า จะทำ � หรื อ ไม่ ทำ � มั น ขึ้ น อยู่ กั บ ฉั น มั น ต้ อ งคิ ด ถึ ง มาตรการที่ ใ หญ่ ข้ึ น และทำ�ให้คนรู้สึกว่าเรากำ�ลังเจอวิกฤตร่วมกัน เป็นวิกฤตทางสังคมที่เรา ต้องช่วยกัน” นั่ น คื อ ข้ อ สั ง เกตถึ ง ความไม่ สั ม ฤทธิ์ ผ ลของการจั ด การขยะใน ประเทศไทยของธารา บัวคำ�ศรี ผู้อำ�นวยการประจำ�ประเทศไทย กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิ่งที่จะช่วยให้การจัดการขยะพลาสติกเกิดผล ในเชิงบวกมากขึน ้ ในมุมมองของเขาคือการทำ� ‘สัญญาประชาคม’ ในชุมชน “เราจะต้องสร้าง ‘สัญญาประชาคม’ หรือ ‘social contract’ ที่ทำ�ให้ ทุ ก คนรู้ สึ ก ว่ า มี วิ ก ฤตร่ ว มกั น อยู่ และจะต้ อ งคำ � นึ ง ถึ ง สภาพแวดล้ อ ม หรื อ เงื่ อ นไขที่ เ หมาะสมและเอื้ อ อำ � นวยต่ อ คนที่ อ ยู่ ต รงนั้ น ให้ พ วกเขา รู้ สึ ก แฮปปี้ แ ละเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงพฤติ ก รรมอย่ า งจริ ง จั ง ไม่ ใ ช่ อ อก มาตรการมาแล้วคิดว่าคนจะทำ�ตามทั้งหมด การห้ามนำ�โฟมเข้ามาในตึก คนก็จะรู้สึกว่ามันไม่ง่าย ฉันซื้อข้าวเข้ามากินในออฟฟิศไม่ได้ และฉันก็ ไม่มีภาชนะที่จะเอามาใส่ข้าวได้ แทนที่คนจะเออออห่อหมกกับมาตรการนี้ กลายเป็นรู้สึกว่ามาตรการนี้แย่จัง” สัญญาประชาคมที่ดีต้องทำ�ให้ประชาชนทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วม หรือมีการตกลงร่วมกันเพื่อไปสู่เป้าหมายเดียวกัน

DONT

46

JANUARY 2019

“สัญญาประชาคมต้องผ่านกระบวนการปรึกษาหารือ ผ่านกระบวนการ สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ เพื่อตั้งกฎกติกาที่สร้างข้อผูกมัด หรื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ร่ ว มกั น และมี ม าตรวั ด หรื อ อะไรสั ก อย่ า งหนึ่ ง ที่ ทำ � ให้ ค น รู้สึกว่ามันเป็นเรื่องจริงจังและสนุกไปกับมัน ผมยกตัวอย่างออฟฟิศผม กว่าจะติดป้าย ‘No Styrofoam’ หน้าออฟฟิศได้ ก็ต้องคุยกันเยอะมาก ถึงขั้นทะเลาะตบตีกันในเชิงความคิด” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคือตัวอย่างหนึ่งที่ใช้แนวทางของสัญญา ประชาคมในการจัดการขยะพลาสติกในมหาวิทยาลัยและพื้นที่โดยรอบ ภายใต้โครงการ ‘Chula Zero Waste’ วรุณ วารัญญานนท์ ผู้ช่วย ผู้จัดการโครงการกล่าวถึงที่มาของโครงการว่าทางมหาวิทยาลัยเล็งเห็น ถึงปัญหาขยะในไทยและในกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะพลาสติกใช้ครัง้ เดียว แล้ ว ทิ้ ง กอปรกั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในเครื อ ข่ า ยมหาวิ ท ยาลั ย ยั่ ง ยื น (Sustainable University Network of Thailand) ซึ่งการจัดการขยะ เป็นหนึ่งในเรื่องความยั่งยืน จุฬาฯ จึงนำ�แนวทางของเครือข่ายนี้มาปฏิบัติ ใช้จริงโดยมีสองหน่วยงานหลักเป็นแกนนำ�คือสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม และสำ�นักบริหารระบบกายภาพ “เราจั ด ตั้ ง โครงการ Chula Zero Waste ขึ้ น มาเพื่ อ จั ด การขยะ อย่างยั่งยืน เป็นโครงการ 5 ปีโดยมีเป้าหมายลดขยะให้ได้ 30% จุฬาฯ


FEATURE

เป็นสังคมเมืองที่คนเยอะ พื้นที่น้อย มีคนนอกเข้ามาในพื้นที่ ขยะเยอะ ดังนัน ้ จึงมีวธิ จี ด ั การขยะทีต ่ า่ งจากสังคมนอกเมือง เราพยายามเป็นต้นแบบ ในการจัดการขยะโดยใช้หลัก 3R คือ Reduce ลดการใช้ Reuse ใช้ซ้ำ� และ Recycle นำ�กลับมาใช้ใหม่ เป้าหมายหลักคือการผลักดัน Reduce กับ Reuse ให้มากที่สุด เพราะมันยังไม่เกิดขยะ ซึ่งที่ผ่านมาสังคมไทย มักโฟกัสไปที่ Recycle แต่นั่นไม่ได้เปลี่ยนทัศนคติ การใช้ชีวิต หรือนิสัย การใช้ทรัพยากร มันยังเกิดขยะเท่าเดิมแล้วค่อยเอาขยะไปใช้ เราพยายาม ลดให้ได้มากทีส ่ ด ุ ก่อน พร้อมกับพยายามสร้างค่านิยมนีใ้ ห้เกิดในวัฒนธรรม องค์กรของจุฬาฯ เพราะมีนส ิ ต ิ ผ่านเข้ามาปีละ 8,000 คน เราก็หวังว่าอย่าง น้อยภายใน 4 ปี ระบบที่เราสร้างจะเพาะเมล็ดพันธุ์ดีๆ ให้คนกลุ่มนี้ และ หวังว่ามันจะเติบโตและกระจายออกไปเมื่อคนกลุ่มนี้ออกไปสู่สังคม” วรุณกล่าวต่อในประเด็นกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของคนใน ชุมชนจุฬาฯ ว่า “เราใช้ค�ำ ว่า ‘Total Engagement’ นัน ่ คือต้องครอบคลุม

ภายใน 4-6 เดือน ซึง่ เราจะไปฝังเป็นปุย ๋ เพิง่ ใช้เมือ ่ ช่วงสิงหาคม-กันยายน ทีผ ่ า่ นมา ขณะเดียวกันก็รณรงค์ผา่ นสือ ่ ต่างๆ ไปพร้อมๆ กันด้วย เพราะเรา เชือ ่ ว่าคนก็อยากทำ�ด้วยตัวเองอยูด ่ ี ไม่อยากบังคับแล้วทำ�ให้เขาไม่อยากทำ� ยกตัวอย่างเวลาซื้อน้ำ�หรือกาแฟในโรงอาหาร ลูกค้าต้องจ่าย 2 บาท เพราะแก้วมันมีต้นทุน แต่ถ้าเอาแก้วไปเอง ก็ไม่ต้องจ่าย ซึ่งเราอยากให้เขา เอามาเองด้ ว ยซ้ำ � เพราะถึ ง แก้ ว มั น จะย่ อ ยสลายได้ แต่ มั น ยั ง ต้ อ งมี กระบวนการในการจัดการ มันก็เป็นการบังคับที่ควบคู่ไปกับการรณรงค์ ถ้าไม่อยากเสียตังค์ ก็พกแก้วมา แต่ถ้าไม่ได้พก ก็เสียเงิน 2 บาท” แม้กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมที่ณิชากล่าวจะมีการบังคับผสม อยู่ ด้ ว ย แต่ ว รุ ณ อธิ บ ายว่ า เป็ น การบั ง คั บ แบบมี เ ทคนิ ค ซึ่ ง ผลลั พ ธ์ ที่ ออกมานั้นเป็นไปในเชิงบวก “นโยบายเก็บค่าถุงพลาสติกย่อยสลายได้ 2 บาทเนี่ยเรายังไม่ได้ใช้ เลยทันที แต่เรารณรงค์ก่อนใน 3 เดือนแรกโดยแจกถุง 130,000 ใบ ต่ อ เดื อ นให้ ร้ า นสะดวกซื้ อ และสหกรณ์ ซึ่ ง ร้ า นค้ า ไม่ ต้ อ งออกเงิ น เอง เขาก็สามารถประหยัดเงินไปได้ เรามองว่าถ้าไปบังคับอย่างเดียวแต่ไม่มี สิ่งที่ทำ�ให้พวกเขาแฮปปี้ มันก็ไม่มีใครร่วมด้วย แล้วเราก็เก็บข้อมูลโดยให้ ร้านค้ารณรงค์วา่ ซือ ้ ของน้อยชิน ้ ไม่รบ ั ถุง หรือให้ถามลูกค้าว่าต้องการถุงไหม กลายเป็นว่าลดการใช้ถุงไปได้ 30% พอผ่านไป 3 เดือนเราก็ลดปริมาณ การแจกถุงเป็น 90,000 ใบ และเราก็เริ่มแจ้งว่าไม่มีการแจกถุงฟรีแล้วนะ จะเก็บเงิน 2 บาท แต่ก็เสนอทางเลือกอื่นให้ เช่น มีถุงผ้าให้เช่า หรือใคร มีถุงไม่ใช้แล้วให้เอามาบริจาคเพื่อให้คนอื่นนำ�กลับมาใช้ใหม่ ขณะเดียวกัน เราก็ ต้ อ งประกาศให้ ชั ด เจนเลยว่ า นี่ คื อ นโยบายของมหาวิ ท ยาลั ย และ แจ้งเลยว่าเงิน 2 บาทมันเอาไปทำ�อะไร เพื่อลดแรงกระแทกจากผู้บริโภค ที่มีต่อร้านค้า ร้านค้าสามารถบอกได้เลยว่านี่คือนโยบายมหาวิทยาลัย เราต้องเห็นใจและรับฟีดแบ็กจากร้านค้าซึ่งเป็นผู้ดำ�เนินการตัวจริงให้มาก ที่สุด พวกเขาถึงจะช่วยเรา “แล้วโปรเจกต์มันก็ประสบความสำ�เร็จ จาก 130,000 ใบลดลงเหลือ 90,000 ใบในช่วงรณรงค์ พอเก็บเงินปุ๊บ เหลือ 10,000 ใบ ลดลงมา เกือบ 90% ซึ่งเราก็มีโปสเตอร์รายงานผลในช่วงปีที่ 2-3 ว่าที่ผ่านมา เราลดขยะอะไรไปได้บ้าง จากมาตรการที่ชัดเจนนี้ เราลดถุงพลาสติกไปได้ ประมาณ 2.5 ล้านใบแล้ว มันก็เป็นเรื่องของการแจ้งผลงาน เพราะเวลา เราทำ�อะไรไปแล้ว เราต้องวัดผลให้ได้” จั ง หวั ด ลำ � พู น เป็ น อี ก หนึ่ ง พื้ น ที่ ที่ ใ ช้ แ นวทางของสั ญ ญาประชาคม ในการจั ด การปั ญ หาขยะ อรรษิ ษ ฐ์ สั ม พั น ธรั ต น์ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด

กล่าวว่าจังหวัดเคยประสบความสำ�เร็จในการเป็นจังหวัดปลอดขยะเปียก มาแล้ว เพราะทุกบ้านสามารถกำ�จัดขยะเปียกได้ด้วยตัวเองโดยฝังบ่อ ขยะเปียกไว้ใต้ดินเพื่อทิ้งเศษอาหารในบ้านตัวเอง ซึ่งในที่สุดก็จะกลายเป็น ปุ๋ยอินทรีย์ ดังนั้นทางจังหวัดจึงขยับมาแก้ไขปัญหาขยะประเภทอื่นบ้าง โดยเริ่มที่โฟม “เราเริ่มดำ�เนินการตามแนวทาง ‘ลำ�พูนเมืองสะอาด ปราศจากโฟม’ ด้วยการเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมถึงอำ�เภอและภาคท้องถิ่น มาหารื อ ร่ ว มกั น เมื่ อ ตกลงกั น ได้ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ก็ เ ซ็ น MOU (บั น ทึ ก ความร่วมมือ) ว่าทุกอำ�เภอและท้องถิ่นจะรับไปทำ� โดยไปประสานต่อกับ 3 ส่วนสำ�คัญของพื้นที่คือ บ้านผ่านทางกำ�นันผู้ใหญ่บ้าน วัดผ่านทาง เจ้ า อาวาส และโรงเรี ย นผ่ า นทางอาจารย์ เพื่ อ ปลู ก ฝั ง และร่ ว มมื อ กั น ปฏิบัติตาม MOU นี้ “จุ ด แข็ ง ที่ ทำ � ให้ ลำ � พู น ได้ แ ชมป์ จั ง หวั ด สะอาด 2 ปี ซ้ อ นคื อ การมี ส่ ว นร่ ว มของพี่ น้ อ งประชาชน เราเลยโปรโมตด้ ว ยการบอกว่ า เราจะ รักษาแชมป์เพราะมันยากกว่าการเป็นแชมป์ บวกกับประชาสัมพันธ์ว่า ตอนนี้โลกของเรามีวิกฤตขยะ แต่จังหวัดเราสามารถช่วยโลกได้ เราใช้เวลา ประมาณ 4-5 เดือนเพราะเราเคยสำ�เร็จจากตอนทำ�โครงการปลอดขยะ เปียกมาแล้ว ประชาชนก็เข้าใจ และพอเราทำ�ความเข้าใจกับพวกเขาให้รู้ว่า โฟมเป็นสิ่งไม่ดี พวกเขาก็พยายามเลิกใช้กันไป” ลำ�พูนไม่ได้ใช้มาตรการบังคับ แต่ใช้จิตสำ�นึกและพลังของประชาชน ในการพาตัวเองไปสู่การเป็นจังหวัดปราศจากโฟม “มั น มี คำ � กล่ า วว่ า ทุ ก อย่ า งจะพั ฒ นาได้ ด้ ว ยการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมาย อย่างเข้มงวด ถ้ากฎหมายกำ�หนดแล้วว่าคุณใช้โฟม คุณผิด โดนจับเลยนะ คนก็จะกลัว แต่เหนือกว่าความกลัวคือจิตสำ�นึก ไม่ตอ ้ งสร้างความกลัวเลย ซึ่งเราก็พยายามจะเดินตามเส้นทางนี้ คือมันไม่มีการบังคับด้วยกฎหมาย มันบังคับด้วยจิตสำ�นึก เปลีย ่ นโดยการชีน ้ �ำ ของคนกันเอง โฟมมีเยอะทีส ่ ด ุ ในงานวัด เจ้าอาวาสทุกวัดในลำ�พูนก็บอกว่าไม่ได้แล้ว เราต้องเดินตาม แนวทางของจังหวัด กลับไปใช้จานสังกะสีหรือจานกระเบื้องแล้วล้างแทน หรือใครที่ขายของแล้วใส่โฟม คนซื้อก็จะถามว่าขอใส่ในภาชนะอื่นได้ไหม พอคนซื้อไม่อยากซื้อของที่ใส่โฟม คนขายก็เปลี่ยนเอง หรือแม้กระทั่ง ห้ า งท้ อ งถิ่ น ของลำ � พู น ก็ ป ระกาศเลยว่ า ศู น ย์ อ าหารและชั้ น วางสิ น ค้ า ของตัวเองปราศจากโฟม มันเป็นการเห็นพ้องต้องกันของทุกคน เป็นพลัง ของพีน ่ อ ้ งประชาชน ถ้าคนในพืน ้ ทีไ่ หนยังใช้โฟมอยู่ ก็เหมือนกลายเป็นแกะดำ� เกิดการตั้งคำ�ถามว่าทำ�ไมยังใช้อยู่ล่ะ คนอื่นเลิกใช้ไปแล้วนะ “ในตลาดถนนคนเดิ น อาจจะยั ง มี ค นขายของโดยใช้ โ ฟมอยู่ บ้ า ง ส่วนใหญ่เป็นคนต่างถิน ่ ทีเ่ ข้ามาเช่าพืน ้ ที่ ซึง่ ก็ตอ ้ งมีการไปคุยกันว่าขายไม่ได้ และเราจะขอความร่วมมือจากห้างต่างๆ ที่มาจากส่วนกลางหรือพื้นที่อื่นที่ มาตั้ ง ในจั ง หวั ด ให้ เ ลิ ก ขายโฟมในจั ง หวั ด ลำ � พู น เพื่ อ ให้ มั น เกิ ด ความ ยั่งยืนต่อไป”

We campaign for plastic wastes management with good intentions but sometimes we fail. Asking for voluntary participation might not be sufficient anymore. Which methods can urge people to view this issue as the mutual problem that everyone must be a part to solve?

ตั้งแต่บนสุดคืออธิการบดีจนถึงกลุ่มบุคลากร รวมถึงนิสิตและนักเรียนใน โรงเรียนสาธิตจุฬาฯ และต้องมี ‘Management Engagement’ คือไม่ใช่ หัวหน้าสั่งอย่างเดียวแต่ตัวเองไม่ขยับ ทีมงานทั้งหมดต้องแอ็กทีฟและ ทำ�ด้วย หลังจากนัน ้ ต้องมีการสือ ่ สาร แน่นอนมันมีชอ ่ งว่างระหว่างกลุม ่ นิสต ิ นั่ น จึ ง เป็ น ที่ ม าของการมี น้ อ งแก้ ว เข้ า มาเป็ น ตั ว เชื่ อ มกั บ กลุ่ ม นิ สิ ต การสื่ อ สารคื อ หั ว ใจสำ � คั ญ ของเรื่ อ งนี้ ซึ่ ง มี ห ลายช่ อ งทางทั้ ง ออนไลน์ ออฟไลน์ กิจกรรมอินเทอร์แอ็กทีฟ เราอยากให้เรื่องขยะเป็นเรื่องของ ทุกคน เพราะฉะนั้นทุกคนต้องร่วมมือกัน” ณิชา เวชพานิช นิสิตคณะอักษรศาสตร์ผู้เป็นประธานชมรม Chula Zero Waste หรือน้องแก้วที่วรุณกล่าวถึงเสริมต่อว่ากระบวนการสร้าง การมีส่วนร่วมจะต้องมีทั้งการรณรงค์และนโยบายบังคับควบคู่กันไป “มันมีทฤษฏี ‘Carrot & Stick’ ที่หมายถึงการให้รางวัลหรือทำ�โทษ เราเลื อ กที่ จ ะทำ � ควบคู่ กั น ไปทั้ ง สองอย่ า งเลย ซึ่ ง มี ก ารทดลองทำ � ที่ เมืองนอกแล้วด้วย เราเริ่มด้วยการตกลงกับร้านสะดวกซื้อและสหกรณ์ ในจุ ฬ าฯ ว่ า จะต้ อ งไม่ แ จกถุ ง พลาสติ ก แล้ ว เป็ น นโยบายบั ง คั บ ในขณะเดียวกันเราก็สื่อสารกับลูกค้าว่าถ้าเขาจ่ายเพิ่ม 2 บาท เงินมันจะ เข้ากองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อนำ�ถุงย่อยสลายได้มาให้ใช้แทน หลังจากนั้น เราก็ คุ ย กั บ ร้ า นค้ า ในโรงอาหารต่ า งๆ ว่ า เราจะใช้ แ ก้ ว ที่ ย่ อ ยสลายได้

Words WITTHAWAT PUKKHABUT Photographer TOP.PONPISUT Fashion Editor RATCHAKRIT CHALERMSAN

DONT

47

JANUARY 2019


FEATURE

“เราจะต้องสร้าง ‘สัญญาประชาคม’ หรือ ‘social contract’ ที่ทำ�ให้ทุกคนรู้สึกว่า มีวิกฤตร่วมกันอยู่ และจะต้องคำ�นึงถึงสภาพแวดล้อม หรือเงื่อนไขที่เหมาะสมและเอื้ออำ�นวยต่อคนที่อยู่ตรงนั้น ให้พวกเขารู้สึกแฮปปี้และเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างจริงจัง” ธารา บัวคำ�ศรี ผู้อำ�นวยการประจำ�ประเทศไทย กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ DONT

48

JANUARY 2019


FEATURE

Legislation Is Still Necessary ความสำ�เร็จและสัมฤทธิผ ์ ลในการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะของชุมชน ที่ นำ � แนวทางสั ญ ญาประชาคมหรื อ การสร้ า งกระบวนการมี ส่ ว นร่ ว ม ของทุกคนในพื้นที่จะกลายเป็นแบบอย่างที่มีอิทธิพลต่อชุมชนข้างเคียง ให้นำ�ไปปรับใช้ตามได้ตามความเหมาะสม เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจังหวัดลำ�พูนที่มีหลายๆ ชุมชนทั้งเล็กและใหญ่เริ่มเข้ามาศึกษาดูงาน และนำ�แนวคิดบางอย่างไปปฏิบัติตามแล้ว และนั่นจะนำ�ไปสู่แรงกระเพื่อม ที่ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในวงกว้างทั้งในระดับภูมิภาคและประเทศได้ นอกจากนี้ยังเป็นตัวอย่างที่ดีที่ให้หน่วยงานภาครัฐได้ศึกษาและวิเคราะห์ ข้อดีและข้อเสียของมาตรการต่างๆ ที่แต่ละชุมชนใช้เพื่อนำ�ไปบัญญัติเป็น บทกฎหมายเพื่อมาบังคับใช้ทั้งประเทศ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร ป ร ะ วิ ง เ ว ล าเ พื่ อ ร อ พ ลั ง จ า ก ชุ ม ช น ต่ า ง ๆ เพี ย งอย่ า งเดี ย วอาจไม่ เ พี ย งพอและไม่ ทันการ ภาครัฐเองต้องเริ่มออกมาตรการ บังคับในเรื่องการจัดการขยะด้วยได้แล้ว “นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม enforcement หรื อ การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายเป็ น เรื่องสำ�คัญมาก อันนี้พิสูจน์มาแล้วทั่วโลก ถ้าอยากจะทำ�ให้สงิ่ แวดล้อมดีในระดับประเทศ ต้องออกกฎหมาย” วรุณกล่าว “มั น ควรจะทำ � ได้ เ ลย ไม่ ต้ อ งรอแล้ ว ” ธาราแสดงความคิดเห็น “จุดอ่อนของสังคม ไทยคื อ การรณรงค์ ส ร้ า งจิ ต สำ � นึ ก ให้ ค น ทำ � นู่ น ทำ � นี่ แต่ มั น ถึ ง เวลาที่ จ ะต้ อ งลงมื อ ทำ � แล้ ว ทำ � ไมเรามี ภ าษี บุ ห รี่ ภาษี เ หล้ า ได้ มาตรการทางกฎหมายก็ เ อามาใช้ กั บ พลาสติ ก ได้ ทำ � ให้ มั น เกิ ด การขั บ เคลื่ อ น และเปลี่ ย นแปลง หากไม่ มี ม าตรการทาง กฎหมาย มันก็สร้างผลสะเทือนได้จำ�กัด “ตอนนี้ มั น มี MOU เรื่ อ งการเลิ ก ใช้ พ ลาสติ ก หุ้ ม ฝาขวดน้ำ � ดื่ ม (แคปซี ล ) ที่ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ทำ � ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ผลิ ต น้�ำ ดืม ่ 5 บริษท ั ใหญ่ซงึ่ มันดำ�เนินการไปแล้ว ผมคิดว่าถ้าหน่วยงานของรัฐใช้แนวทางนี้ ประกาศออกไปเลยว่ า ให้ ย กเลิ ก แคปซี ล ทุกบริษัททั่วประเทศ ผมว่าก็สามารถทำ�ได้ ในเมื่ อ 5 บริ ษั ท ใหญ่ ส ามารถทำ � ได้ ไ ม่ รู้ กี่พันล้านขวดและเขาก็ยังสามารถขายน้ำ� ได้อยู่ ทำ�ไมที่เหลือจะทำ�ไม่ได้ ออกมาเป็น มาตรการบังคับเลย” ด้านสุภช ั ญา เตชะชูเชิด หนึง่ ในผูก ้ อ ่ ตัง้ Refill Station ร้านขายผลิตภัณฑ์แบบเติม เพือ ่ ลดการใช้บรรจุภณ ั ฑ์ มองว่าประเทศไทย น่าจะพร้อมแล้วที่จะออกกฎหมายเกี่ยวกับ การเก็บเงินค่าถุงพลาสติก “มั น พร้ อ มกั น หมดแล้ ว ทั้ ง หน่ ว ยงาน รัฐเอง หรือภาคเอกชนก็ผลักดันหน่วยงาน รั ฐ ขึ้ น ไปว่ า เขาพร้ อ มแล้ ว นะที่ จ ะเก็ บ ค่ า ถุงพลาสติก 2 บาท เรามองว่ามันเวิรก ์ มาก ถ้ า รั ฐ ออกกฎหมายมาเก็ บ เงิ น เพราะพอ เก็บเงิน คนจะรูส ้ ก ึ เซนซิทฟ ี มากกว่าการบอก ให้ลดการใช้หรือการให้แต้มสะสม เรื่องนี้ มันต่อสู้กับความสะดวกสบาย แต่ถ้าความ สะดวกสบายต้องแลกมากับอะไรสักอย่าง ทีส ่ ง่ ผลกระทบกับชีวต ิ ของเขา มันจะง่ายมาก ขึ้นและเขาจะยอมเปลี่ยน แน่นอนว่าแรกๆ มันต้องมีกระแสต้าน แต่หลังๆ มันจะดีขน ึ้ เอง” แต่ใช่ว่าภาครัฐจะไม่เคลื่อนไหวอะไรเลย เกี่ยวกับเรื่องนี้ ตัวอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้ว คื อ มี ก ารประกาศใช้ ป ระกาศกรมอุ ท ยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เรื่องห้ามนำ� บรรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ชนิ ด ใช้ ค รั้ ง เดี ย วทิ้ ง เข้าไปในเขตอุทยานแห่งชาติแล้วเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ปี 2561 ใครที่ฝ่าฝืนจะได้ รับโทษจำ�คุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำ�ทั้งปรับ แ ม้ ยั ง ไ ม่ มี ก ฎ ห ม า ย เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด การขยะพลาสติ ก ที่ ห ลากหลาย แต่ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมก็ได้จด ั ทำ� ‘แผนจัดการขยะพลาสติกอย่างบูรณาการ’ โดยตั้งเป้าหมายไว้ 3 ข้อคือ 1.ปริมาณขยะพลาสติกทีต ่ อ ้ งนำ�ไปกำ�จัดต้องลดลง 2.การออกแบบและผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกต้องเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมเพิม ่ มากขึน ้ และ 3.มีการนำ� ขยะพลาสติกกลับมาใช้ประโยชน์หลังการบริโภคร้อยละ 60 ภายในปี 2564 อย่างไรก็ตามธารามองว่ามันอาจจะยังเข้าไม่ถงึ ต้นตอของปัญหาทีแ่ ท้จริง “เวลาพู ด ถึ ง การลด เรามั ก นึ ก ถึ ง การลดจากการใช้ แต่ ก ารผลิ ต ยังคงมีอยู่ การผลิตพลาสติกมันทวีคูณมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้คนได้ซื้อ เมื่ อ เข้ า มาสู่ ก ารบริ โ ภค มั น ก็ ก ลายเป็ น ขยะได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ภายในไม่ กี่ วินาที แผนแม่บทพวกนี้ไม่ได้เข้าไปจี้ที่ต้นตอของการผลิตที่มากจนเรา ใช้อย่างไรก็ไม่หมด มันต้องระบุด้วยว่าเราจะลดการผลิต แต่ไม่ได้หมายถึง การหยุดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แต่ลดการผลิตพลาสติกใช้ครัง้ เดียวแล้วทิง้ เช่ น ถุ ง พลาสติ ก หู หิ้ ว บางๆ หรื อ แคปซี ล ถ้ า เราจะแก้ วิ ก ฤตพลาสติ ก เราแก้ที่การปฏิเสธการใช้ถุงของผู้บริโภคอย่างเดียวโดยไม่จี้ที่ต้นตอไม่ได้”

ธาราได้เสนอมาตรการบังคับฝั่งผู้ผลิตพลาสติกหากในอนาคตมีการ ออกกฎหมายที่เป็นรูปธรรมจากทางฝั่งภาครัฐ “ประเภทของถุงพลาสติกทีผ ่ ลิตออกมาถ้ายิง่ บาง มันไม่ควรจะมี ถ้าเรา มี ม าตรการที่ เ ข้ ม แข็ ง ที่ ย กเลิ ก หรื อ แบนถุ ง พลาสติ ก หู หิ้ ว ที่ ใ ช้ ค รั้ ง เดี ย ว แล้วทิ้ง คนอาจจะบอกว่าชีวิตฉันลำ�บากขึ้นนะ แต่ถ้าเราค่อยๆ ทำ�ให้คน คุ้ น ชิ น ในชี วิ ต ประจำ � วั น ของเขา มั น ก็ ไ ม่ น่ า จะยากอะไร และเราไม่ ต้ อ ง ออกกฎหมายเก็บค่าธรรมเนียมถุงด้วย แต่ถ้าผลิตถุงพลาสติกที่หนาขึ้น คุณภาพดีขึ้น คนก็จะรู้สึกว่านำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อได้อีก ส่วนบรรจุภัณฑ์ แพ็ ก เกจจิ้ ง ต่ า งๆ ก็ เ ป็ น ปั ญ หามากเพราะการผลิ ต พลาสติ ก ในไทย กว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง นำ � มาใช้ ทำ � แพ็ ก เกจจิ้ ง ซึ่ ง ถ้ า มั น เป็ น ลั ก ษณะฟรุ้ ง ฟริ้ ง เกิ น ไป มั น ก็ จ บลงด้ ว ยการเป็ น ขยะ ควรออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ พ อใช้

ซึ่งอาจจะใช้เวลาอย่างน้อย 5-10 ปีกว่าจะออกมาเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน “เมื่อถึงเวลานั้นที่เราไปร่วมใน Plastic Convention ในเวทีประชาคม โลก เราอาจจะไม่ตอ ้ งมานัง่ ทะเลาะกับคนในสังคมเรือ ่ งการออกกฎหมายใหม่ เกี่ยวกับพลาสติก เพราะเราไปสัญญากับชาวโลกไว้แล้ว ดังนั้นทุกคนต้อง ปฏิบัติตาม แต่ในช่วงนี้เรายังมีเวลาที่จะสื่อสารและทำ�ความเข้าใจกับคน ในสั ง คมอยู่ เพราะสุ ด ท้ า ยแล้ ว มั น เป็ น เรื่ อ งของการสื่ อ สารเพื่ อ ทำ � ให้ คนเข้าใจว่าทำ�ไมต้องทำ�” ประเด็นหนึง่ ทีธ่ ารามองว่าท้าทายในการตกลงร่วมกันใน Convention นี้ คือสินค้าแบบ ‘fast moving consumer goods’ “สำ�หรับผมคิดว่าใน Convention นี้น่าจะมีการพูดถึงการผลิตสินค้า แบบ fast moving consumer goods ซึ่งหมายถึงสินค้าที่ไม่คงทน เน้ น จำ � หน่ า ยเร็ ว หมดอายุ ก ารใช้ ง านเร็ ว และบรรจุในแพ็กเกจจิ้งใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช่ น แชมพู ซ อง มั น เป็ น สิ น ค้ า อุ ป โภค บริโภคที่ขยายตัวเร็วทั่วโลก ภาคการผลิต เขาจะคิดแค่ว่าทำ�ยังไงให้ขายได้มาก คนซื้อ ได้ เ ร็ ว แต่ สุ ด ท้ า ยมั น คื อ ขยะก้ อ นใหญ่ มาก มันเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งที่แก้ไข ด้วยประเทศใดประเทศหนึ่งโดยลำ�พังไม่ได้ เพราะสิ น ค้ า เหล่ า นี้ บ ริ ษั ท แม่ อ ยู่ ที่ ป ระเทศ พัฒนาแล้ว แต่ระบายสินค้ามายังประเทศ กำ�ลังพัฒนา”

Waste Sorting Is Very Important But Forgotten

ผลิตภัณฑ์หมดแล้วสามารถเอามาใช้ซ�้ำ หรือรีไซเคิลได้ ทำ�ให้รส ู้ ก ึ ว่าอยากเก็บ ไว้ใช้หลายๆ ครั้ง ผมมองว่าต้องออกเป็นมาตรการทางกฎหมายมาเลย” ข้อเสนอแนะดังกล่าวของธาราสอดคล้องกับแนวคิด ‘New Plastics Economy’ ที่เกิดจากการหาข้อตกลงร่วมกันในเวทีระดับโลกในการแก้ไข ปัญหาขยะพลาสติกจำ�นวนมหาศาลทีเ่ กิดจากระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ของมนุษย์ “New Plastics Economy คือการสร้างระบบเศรษฐกิจที่ใช้พลาสติก แบบหมุนเวียนเพือ ่ ให้เกิดขยะน้อยทีส ่ ด ุ หรือไม่เกิดเลย เพราะฉะนัน ้ ถ้าประเทศ ไทยจะมุง่ หน้าสูก ่ ารเป็นประเทศปลอดพลาสติก (plastic free) ก็ตอ ้ งลดการ ใช้พลาสติกทีไ่ ม่จ�ำ เป็นหรือสร้างปัญหาอย่างพลาสติกใช้ครัง้ เดียวแล้วทิง้ หรือ แพ็กเกจจิง้ บางชนิด ซึง่ มันต้องมีวธิ ก ี ารคิดทีย ่ กแผงระบบตัง้ แต่ตน ้ จนจบ” ธารากล่าวต่อว่าในระดับประชาคมโลกอาจจะมี ‘Plastic Convention’ เพือ ่ เจรจาตกลงกันและหาแนวทางในการต่อกรกับวิกฤตพลาสติกทีเ่ กิดขึน ้

MODEL DAPHNEE @A1 MODELS

DONT

49

JANUARY 2019

การทำ�สัญญาประชาคมภายในชุมชน และการออกกฎหมายบั ง คั บ โดยภาครั ฐ ดูเหมือนจะเป็นวิธีการจัดการขยะพลาสติก ได้ ดี ที่ สุ ด ในเวลานี้ แต่ พื้ น ฐานที่ สำ � คั ญ ที่ คนไทยหลายคนกลั บ หลงลื ม หรื อ ไม่ ใ ห้ ความสนใจคือ ‘การแยกขยะ’ ซึ่งต่อให้คิด วิธีการจัดการลดหรือรีไซเคิลขยะพลาสติก หรือแม้กระทั่งขยะประเภทอื่นๆ มาดีอย่างไร แต่หากไม่มก ี ารแยกขยะทีถ ่ ก ู ต้อง สิง่ ทีค ่ ด ิ มา อย่างหนักก็สูญเปล่า ณิชายอมรับว่าปัญหาหนึ่งที่ยังคงอยู่ ในโครงการ Chula Zero Waste คือการ แยกขยะ “เรามีถังขยะ 3 แบบ 3 สี แยกว่าขยะ แต่ละถังจะเอาไปทำ�อะไร แต่ปรากฏว่าคน ยังแยกไม่เป็น ทีมงานในโครงการไปสำ�รวจ พบว่า 3 ถังที่ควรมีขยะแตกต่างกันมีขยะ เหมือนกันหมดเลย อาจจะเป็นเพราะว่าเรื่อง การแยกขยะเราไม่สามารถบังคับเขาได้ เพราะ มันอยู่ที่การตัดสินใจของเขา ณ ตอนนั้น แต่ น โยบายเรื่ อ งถุ ง กั บ แก้ ว พลาสติ ก เราแก้ปัญหาได้ เพราะเราใช้นโยบายบังคับ” สุภช ั ญาได้ให้ความเห็นเกีย ่ วกับประเด็นนี้ ไว้ว่า “พลาสติกเป็นสิง่ ประดิษฐ์ที่มหัศจรรย์ มาก แต่ มั น ไม่ ไ ด้ เ กิ ด มาเพื่ อ ใช้ ค รั้ ง เดี ย ว แล้วทิ้ง มันสามารถนำ�กลับมารีไซเคิลหรือ ใช้ซ้ำ�ได้อีก ถ้าเราจัดการมันได้ดีพอ แต่ที่ ตอนนีม ้ น ั กลายเป็นขยะเยอะเกินไป เพราะเรา ไม่มีการจัดการที่ดีพอ เราแยะขยะกันไม่เป็น อาหารบ้ า นเรามั น ผสมกั บ น้ำ � จิ้ ม หรื อ อะไร ต่างๆ จนมันทำ�ให้เลอะเทอะได้ง่าย บวกกับ คนไทยไม่ ไ ด้ รั บ การสร้ า งนิ สั ย ให้ ล้ า งขวด ล้ า งกล่ อ ง ล้ า งแก้ ว ก่ อ นทิ้ ง มาตั้ ง แต่ แ รก แต่ในต่างประเทศเวลาเขากินเสร็จ เขาจะ ล้างน้ำ�นิดหนึ่งและทิ้งถังรีไซเคิล” “หัวใจสำ�คัญของการลดขยะพลาสติก เริ่มต้นจากการแยกขยะ” ธารากล่าว “เรา ต้ อ งเอาพลาสติ ก ที่ ส ะอาดหรื อ กระดาษ แยกออกจากเศษอาหาร เพราะถ้าเศษอาหาร มันมาเปือ้ น มูลค่ามันก็ลดลง รีไซเคิลก็ยากละ ต่อให้มันจะเป็นไบโอพลาสติกที่ย่อยสลาย ได้เร็ว ถ้าเรายังทิ้งแบบไม่แยกขยะ มันก็ยัง สร้างภาระอยู่ เพราะฉะนั้นมันต้องเริ่มจาก ตรงนี้เพื่อทำ�ให้อัตราการนำ�ไปใช้ประโยชน์หรือการรีไซเคิลของไทยสูงขึ้น” ส่วนหนึ่งที่คนไทยหลายคนไม่แยกขยะอาจเป็นเพราะเข้าใจว่าถึงแยกไป รถเก็บขยะก็จะเอาขยะทัง้ หมดมากองรวมกันอยูด ่ ี แต่สภ ุ ช ั ญากล่าวว่านัน ่ คือ ความเข้าใจที่ผิด “มันเป็นความเข้าใจทีผ ่ ด ิ มาก รถขยะเขาไม่ได้เทขยะมารวมกัน แต่ทเี่ ขา ต้องเทออกมาเพราะเขาไม่รู้ว่าข้างในถุงต่างๆ มันคืออะไร เพราะคนไทย ส่วนใหญ่ทิ้งทุกอย่างรวมกัน ถ้าเขาเทออกมาแล้วเห็นว่าเป็นกองกระดาษ ทั้งหมด เขาก็จะเก็บไปใส่ถุงที่เป็นกระดาษรีไซเคิลได้หมด แต่ถ้าทิ้งกระดาษ รวมกับของเหลวปุบ ๊ มันก็รไี ซเคิลไม่ได้แล้ว เพราะฉะนัน ้ เริม ่ ทีบ ่ า้ นซึง่ เป็นพืน ้ ที่ ของเราก่อน สำ�รวจว่าขยะของตัวเองมีประเภทไหนบ้างแล้วแยก ก่อนทิ้ง ก็เขียนแปะไว้หน่อยว่าถุงนีค ้ อ ื ขยะอะไรเพือ ่ ให้รถเก็บขยะจัดการได้งา่ ยทีส ่ ด ุ ” “ระบบการเก็บขยะต้องปฏิวัติ อาจจะกำ�หนดว่าถ้าบ้านไหนแยกถูก ก็จะได้ส่วนลดค่าเก็บขยะ” ธาราเสนอปิดท้าย


DONT team


Back (Left to Right) FASHION COORDINATOR WANNISA SOMBOON HEAD OF MARKETING COORDINATOR KANYARAT RATTANAPITAK ACCOUNTANT WICHITTRA THABTHIM SENIOR DIGITAL SUPERVISOR THITIPORN ARUNOTHAIVIWAT GRAPHIC DESIGNER DONT JOURNAL SASITHORN SOPHAP DIGITAL GRAPHIC DESIGNER PRAPHASSORN BUTPHROM CIRCULATION SUPERVISOR ITSARA WONGSATITSATHEIN ART DIRECTOR DONT JOURNAL PRAJAREE NARUPAI MARKETING EXECUTIVE / TRAFFIC KAMOLCHANOK KAEWKAN MARKETING SUPERVISOR TIPTIDA PHOTHI-ASA FASHION EDITOR RATCHAKRIT CHALERMSAN ART DIRECTOR TID UNAKORNSAWAT EDITOR-IN-CHIEF BEN WIBOONSIN DIGITAL CONTENT CREATOR MONTRE SUPHAWATYUENYONG DIGITAL GRAPHIC DESIGNER CHOMPUNOOT SARAKAM WRITER KRIT PROMJAIRUX MOTION CONTENT CREATOR JARIYAWAN RADARIT SENIOR DIGITAL SUPERVISOR CHATCHAI THONGSAK DIGITAL CREATIVE MANAGER RUNGTHONG KASIKUL HEAD OF EDITORIAL DEPARTMENT PAT PHETTHONG WRITER NUENGNADDA NOPAKUN FASHION ASSISTANT KASIDIT SRIRITTIPRADIT MARKETING MANAGER PRAVEENSUDA MOOKKAEW ACCOUNT SUPERVISOR JARUPHAN PHAN-IN BEAUTY EDITOR WALLAYA TIPVANNAPORN ACCOUNT SUPERVISOR TANYAPAT RERKPCHAIKRAIKUL EVENT DESIGNER JUREE SINSAWATMONGKON SENIOR ACCOUNT MANAGER NAPASORN VORRANUTTARANG SALES MANAGER KANTALADA CHUENSAWAT PHOTOGRAPHIC OFFICER PONPISUT PEJAROEN PR EXECUTIVE PIYANUCH AROONRUNGWICHIAN Front (Left to Right) GRAPHIC DESIGNER DONT JOURNAL SAJEEKARN MEEJUN FEATURE EDITOR WITTHAWAT PUKKHABUT TRAFFIC COORDINATOR SUPANSA SUKKHO CHIEF CREATIVE OFFICER RIKSH UPAMAYA WRITER SUPANUT CHOKVIRIYAGRON STYLIST THUMMARAT CHUEAJAROEN WRITER NITIPON SUWANSATHIEN VIDEOGRAPHER KORAWIK SAIBUAKAEW PUBLISHER SARUN TANGTEVANON MANAGING DIRECTOR TAYCHANUN TANGTEVANON BEAUTY EDITOR DONT JOURNAL SASISIRI SIRIWAT CREATIVE MANAGER SUPANIN SANGRUJI ACCOUNT SUPERVISOR TANAPORN YUIAM


PUBLISHER SARUN TANGTEVANON

บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ศรัณย์ ตั้งเทวนนท์

MANAGING DIRECTOR TAYCHANUN TANGTEVANON

CHIEF CREATIVE OFFICER RIKSH UPAMAYA

กรรมการผู้จัดการ เตชนันท์ ตั้งเทวนนท์

ผู้บริหารสูงสุดฝ่ายสร้างสรรค์ ฤกษ์ อุปมัย

Editorial EDITOR-IN-CHIEF BEN WIBOONSIN บรรณาธิการบริหาร เบญญ์ วิบุลศิลป์ HEAD OF EDITORIAL DEPARTMENT PAT PHETTHONG หัวหน้ากองบรรณาธิการ พัทธ์ เพชรทอง FASHION EDITOR RATCHAKRIT CHALERMSAN บรรณาธิการแฟชั่น รัชกฤต เฉลิมแสน BEAUTY EDITOR WALLAYA TIPVANNAPORN บรรณาธิการความงาม วัลยา ทิพย์วรรณาภรณ์ FEATURE EDITOR WITTHAWAT PUKKHABUT บรรณาธิการบทความ วิทวัส พุคคะบุตร ART DIRECTOR TID UNAKORNSAWAT บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ ธิษณ์ อุนากรสวัสดิ์ EDITORIAL STAFFS NITIPON SUWANSATHIEN, NUENGNADDA NOPAKUN, SUPANUT CHOKVIRIYAGRON, KRIT PROMJAIRUX

กองบรรณาธิการ นิธิพล สุวรรณเสถียร, เนื่องนัดดา นพคุณ, ศุภณัฐ โชควิริยากร, กฤษฎ์ พรหมใจรักษ์

DIGITAL CREATIVE MANAGER RUNGTHONG KASIKUL ผู้จัดการฝ่ายสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รุ้งทอง กสิกุล DIGITAL CONTENT CREATOR MONTRE SUPHAWATYUENYONG ฝ่ายสร้างสรรค์เนื้อหาออนไลน์ มนตรี ศุภวัฒน์ยืนยง SENIOR DIGITAL SUPERVISORS CHATCHAI THONGSAK, THITIPORN ARUNOTHAIVIWAT นักเขียนฝ่ายสื่อดิจิทัลอาวุโส ฉัตรชัย ทองศักดิ์, ฐิติพร อรุโณทัยวิวัฒน์ MOTION CONTENT CREATOR JARIYAWAN RADARIT ฝ่ายสร้างสรรค์ภาพวิดีโอ จริยาวรรณ ระดาฤทธิ์ DIGITAL GRAPHIC DESIGNERS PRAPHASSORN BUTPHROM, CHOMPUNOOT SARAKAM กราฟิกดีไซเนอร์ฝ่ายดิจิทัล ประภัสสร บุตรพรหม, ชมพูนุท สะราคำ� VIDEOGRAPHER KORAWIK SAIBUAKAEW ช่างภาพวิดีโอ กรวิก สายบัวแก้ว PROOFREADER CHONNANET LOIKROOT พิสูจน์อักษร ชนเนตร ลอยครุฑ FASHION COORDINATOR WANNISA SOMBOON ประสานงานแฟชั่น วรรณนิศา สมบูรณ์ FASHION ASSISTANT KASIDIT SRIRITTIPRADIT ผู้ช่วยฝ่ายแฟชั่น กษิดิศ ศรีฤทธิประดิษฐ์ PHOTOGRAPHIC OFFICER PONPISUT PEJAROEN ฝ่ายภาพ พณพิสุทธิ์ ปีเจริญ COMPUTER RETOUCH MASHLAB.CO.,LTD คอมพิวเตอร์ รีทัช บริษัท เอ็มเอเอสเอชแล็บ จำ�กัด

Marketing & Advertising GENERAL MANAGER PURIM SAHASAKUL ผูจ ้ ด ั การทัว่ ไป ปุรม ิ สหัสกุล SENIOR ACCOUNT MANAGER NAPASORN VORRANUTTARANG ผู้จัดการฝ่ายโฆษณาอาวุโส นภษร วรนุตตรังค์ SALES MANAGER KANTALADA CHUENSAWAT ผูจ ้ ด ั การฝ่ายโฆษณา กัณฐลดา ชืน ่ สวัสดิ์ ACCOUNT SUPERVISORS TANYAPAT RERKPCHAIKRAIKUL, JARUPHAN PHAN-IN หัวหน้างานฝ่ายโฆษณา ธัญญาภัสร์ ฤกษ์พิชัยไกรกุล, จารุพรรณ HEAD OF MARKETING COORDINATOR KANYARAT RATTANAPITAK หัวหน้าฝ่ายประสานงานโฆษณา กันยารัตน์ รัตนพิทักษ์ ACCOUNTANT WICHITTRA THABTHIM บัญชี วิจิตรา ทับทิม MARKETING MANAGER PRAVEENSUDA MOOKKAEW ผู้จัดการฝ่ายการตลาด ประวีณสุดา มุขแก้ว MARKETING SUPERVISOR TIPTIDA PHOTHI-ASA หัวหน้าฝ่ายการตลาด ทิพย์ธิดา โพธิอาษา MARKETING EXECUTIVE / TRAFFIC KAMOLCHANOK KAEWKAN ผู้ช่วยฝ่ายการตลาด กมลชนก แก้วกัน TRAFFIC COORDINATOR SUPANSA SUKKHO เจ้าหน้าที่ประสานงานฝ่ายการตลาด สุพรรษา สุขโข CIRCULATION SUPERVISOR ITSARA WONGSATITSATHEIN เจ้าหน้าที่กิจกรรมการตลาด อิศรา วงศ์สถิตเสถียร

PUBLISHER AMBITIOUS CO., LTD. UNIT B18 THAI SAMUDRA INSURANCE BUILDING, SURAWONG ROAD, SURIYAWONG, BANGRAK, BANGKOK 10500 THAILAND TEL. 0 2634 3301 FAX. 0 2634 4577 / E-MAIL : FIRSTNAME@DONTFREEMAG.COM / WWW.DONTFREEMAG.COM COLOUR SEPARATION / PRINTING : S.PIJIT PRINTING CO.,LTD 3/7-9 BANGSUE RAILWAYSTATION ROAD, BANGSUE, BANGSUE, BANGKOK 10800 FOR ADVERTISING PLEASE CONTACT ADS@DONTFREEMAG.COM ONLINE VERSION AVAILABLE AT DONTFREEMAG.COM / UPDATES & ACTVITIES : FACEBOOK.COM/DONTFREEMAG TWITTER.COM/DONTFREEMAG SUBSCRIPTION / WWW.DONTFREEMAG.COM/SUBSCRIPTION.HTML NOTHING IN THIS MAGAZINE CAN BE REPRODUCED IN WHOLE OR IN PART WITHOUT THE WRITTEN PERMISSION OF THE PUBLISHER.

ผู้พิมพ์ : บริษัท แอมบิเชียส จำ�กัด / ห้อง B18 อาคารไทยสมุทรประกันภัย ถนนสุรวงศ์ แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 โทรศัพท์ 0 2634 3301 โทรสาร 0 2634 4577 / อีเมลทีมงาน Firstname@DONTfreemag.com www.DONTEdition.com แยกสี / พิมพ์ : บริษัท ส.พิจิตรการพิมพ์ จำ�กัด เลขที่ 3/7-9 ถนนหน้าสถานีรถไฟบางซื่อ แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กทม. 10800 ติดต่อโฆษณา ads@DONTfreemag.com ติดตามชมนิตยสารฉบับออนไลน์ได้ที่เว็บไซต์ DONTEdition.com และสามารถอัพเดตข่าวเกี่ยวกับวงการแฟชั่นและกิจกรรมต่างๆ ได้ที่ facebook.com/DONTmagazine และ Twitter.com/DONTfreemag ติดต่อสมัครสมาชิกได้ที่ itsara@DONTfreemag.com ห้ามนำ�ส่วนหนึ่งส่วนใดของนิตยสารนี้ไปคัดลอก ทำ�ซ้ำ� ดัดแปลง แก้ไข เผยแพร่ โดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากบรรณาธิการบริหารและบรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา

DONT

52

JANUARY 2019

พันธุ์อินทร์




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.