Journal of Social Research

Page 99

Journal of Social Research Vol.34 No.2 2011

83

“แขกจองที่ ทํ านา ทํา สวน ต อ เรื อ ” แขก เปน คํ า ที่ช าวบ า นเรี ย ก กันเองในชุมชน หมายถึง ชาวมุสลิมหรือชาวไทยมุสลิม ในอดีต คือ กลุมชาว สยาม-มลายู ที่อพยพหลบภัยมาจากบริเวณดินแดนสยามทางภาคใต ตั้งแตเขต จังหวัดสตูลไปจนถึงรัฐ กลัน ตัน ปะลิส และรัฐ เกดะห (ไทรบุรี) หลายกลุม ใน ชวงเวลาตางกัน เดิมพูดภาษาไทยบาง (กลุมมลายู-สยาม) ภาษามลายู ตระกูล ออสโตรนีเชียน เชนเดียวกับภาษาอูรักลาโวยบาง นิยมทําสวนปลูกผัก ทํานา ทําไร เมื่อเริ่มเขามาตั้งถิ่นฐาน จึงตั้งบานเรือนหางๆ เพื่อจับจองพื้นที่ และปลูก ตนไผ ตนหวาย เปนเขตแดน ตนไผจะออกหนอกระจายกวางออกไปเรื่อยๆ มี ความเชี่ยวชาญในการตอเรือขาย และใชเรือแจวเปนพาหนะ มีมัสยิดศรีรายา เป น ศู น ย ก ลางในการประกอบพิ ธี ท างศาสนา วิ ถี ชี วิ ต ของชาวมุ สลิ ม ขึ้ นกั บ หลักการทางศาสนาอิสลาม 2 ประการ คือ หลักศรัทธา (รุกนอีมาน) และหลักปฏิบัติ (รุ กนิ สลาม) ประเพณี ที่ สํ า คั ญ เช น ประเพณี ถื อ ศี ล อด เข า สุ ห นั ต และการ ทํานมาซ (ละหมาด) ฯลฯ ป จ จุ บั น ชาวไทยมุ ส ลิ ม ใช ภ าษาไทยในการสื่ อ สาร กลุ ม ที่ อ ยู ด า น หนาเกาะ ยังคงทําสวนยางพารา ปลูกพืชผัก สวนดานหลังเกาะทําธุรกิจทองเที่ยว หรือขายที่ดินใหนายทุน แตอัตลักษณและพรมแดนทางชาติพันธุ ดานความเชื่อ และประเพณีพิธีกรรมทางศาสนาเขมขนกวาในอดีต เชน การแตงกายของสตรี การปฏิบัติตนตามหลักการของมุสลิมอยางเครงครัด และหลีกเลี่ยงกิจกรรมทาง สั ง คมที่ เคยร ว มกั บ กลุ ม ชาติ พั น ธุ อื่น แต ขั ด กั บ หลั ก ศาสนา บางชุ ม ชนมี ก าร กําหนดหลักการปฏิบัติสําหรับนักทองเที่ยวที่เขาไปในชุมชนดวย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.