Journal of Social Research

Page 104

88

วารสารวิจัยสังคม ปที่ 34 ฉบับที่ 2 2554

และกัน เปนเหตุจูงใจใหผูคนตองการผูกสัมพันธทางเครือญาติและเปนมิตรไมตรี ที่ดีตอกัน เพื่อรวมเปนกลุมชุมชนชาติพันธุที่เขมแข็ง ขณะเดียวกันแตละกลุม ชาติพันธุชาวเกาะลันตายังตองการธํารงอัตลักษณและพรมแดนชาติพันธุของตน ไว ดังทัศนะของโคเฮน และชวารซ (Cohen 1974: xi, Schwartz 1975: 107-108) ที่มองวาความแตกตางทางสังคมวัฒนธรรมในระหวางกลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน ในระบบสังคมเดียวกัน ทําใหแตละกลุมชาติพันธุแตกตางไปจากกลุมอื่น เปน ตัวกระตุนใหเกิดสํานึกในการธํารงชาติพันธุดั้งเดิมที่เปนมรดกสืบทอดมาจาก อดีตของกลุม ผูวิจัยใหความสําคัญกับการสืบคนเรื่องราวของชาวเกาะลันตาในอดีตที่ ผ า นมาซึ่ ง ทํ า ให ส ามารถบั น ทึ ก ประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น เกาะลั น ตาขึ้ น เป น องค ค วามรู ใ หม เพื่ อ จั ด ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ชุ ม ชนชาวเกาะลั น ตา ผลการศึ ก ษา ประวัติศาสตรท อ งถิ่ น นี้ ยั ง สอดคล อ งกั บ แนวคิ ด ของ ธิ ด า สาระยา (2539: 114-178) ที่วา ทําใหรูถึงสภาพแวดลอมทางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือ ง วัฒนธรรม ทัศนคติ ความคิดของคน และสืบยอนเรื่องราวและวิถีชีวิต ตลอดจน พัฒนาการทางความคิดของกลุมคนที่เกิดขึ้นสืบเนื่องกันมาตั้งแตอดีต ดังขอมูล ที่ไดจากคําบอกเลาของชาวเกาะลันตา หลักฐานจากเอกสารเกา รองรอยจาก วั ต ถุ และสถานที่ ในลั ก ษณะที่ เ ป น ประวั ติ ศ าสตร ที่ มี ชี วิ ต เคลื่ อ นไหวผ า น กลุ ม คนภายในชุม ชนที่ มี สํา นึ ก รว มในเหตุ ก ารณ ท างประวั ติ ศ าสตร ที่ เกิ ด ขึ้ น จนกระทั่ งมีก ารผสมผสานความคิด ที่เป นพื้นฐานในการสรางอัตลั กษณ ของ สังคมชาวเกาะลันตาในปจจุบัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.