English

Page 8

8 เรื่องหนึ่ง และมุงการพัฒนาครูโดยใชรูปแบบการพัฒนาครูดวยตนเอง ใหครูเปนผูกระทํา (Active) และสรางสรรคองค ความรูใหมๆ ใหเกิดขึ้นมาดวยครูเอง ไมเนนรูปแบบการพัฒนาแบบดั้งเดิม ซึ่งเนนการพัฒนาครูแบบเปนผูรับหรือ เปนผูถูกกระทํา (Passive) แบบที่ตองอาศัยผูเชี่ยวชาญจากภายนอก แบบที่เกิดการเรียนรูโดยผูอื่นเปนหลัก ดังนั้น สภาพของสังคมครูตามกรอบแนวคิดดังกลาว จะตองเปนสังคมแหงการเรียนรู เปนสังคมที่ทุกคนตางตื่นตัวในการ พัฒนาองคความรู ตื่นตัวในการริเริ่มสรางสรรคสิ่งใหมๆ ใหเกิดขึ้น ตื่นตัวในการรวมกลุมเพื่อเรียนรูถึงวิธีการเรียนรู ซึ่งกันและกัน ตื่นตัวที่จะเปนทรัพยากรความรูซึ่งกันและกัน ตื่นตัวที่จะสรางบรรยากาศแหงความเปนมิตร ความ ไววางใจ และยอมรับซึ่งกันและกัน และตื่นตัวที่จะรวมแรงรวมใจกันเพื่อบรรลุเปาหมายสุดทายของโรงเรียนคือตัว ผูเรียน โดยในสวนของผูบริหารนั้น จะตองแสดงบทบาทเปนทั้งนักสงเสริม นักทาทาย นักประสาน นักออกแบบ นักสถาปนิก และนักศิลปนที่มีจิตนาการสรางสรรคและรับผิดชอบตอการเสริมสรางบรรยากาศแหงการเรียนรูดังกลาว ใหเกิดขึ้น การพัฒนาผูบริหารโรงเรียน แนวคิดการพัฒนาผูบริหารโรงเรียนในที่นี้ ผูเขียนไดศึกษาจากขอเขียนของ Daresh และ Playko (1992) ซึ่ง ไดกลาวถึงแนวการพัฒนาผูบริหารโรงเรียนไวสามทัศนะดังนี้ คือ ทัศนะที่ยึดถือหลักการเชิงวิทยาศาสตร (scientific approach) ทัศนะที่ยึดถือหลักการมนุษยสัมพันธ (human relations approach) และทัศนะที่ยึดถือหลักการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย (human resource development approach) โดยแตละทัศนะมีรายละเอียดโดยสังเขปดังนี้ • การพัฒนาที่ยึดถึอหลักการเชิงวิทยาศาสตร เปนไปตามแนวคิดทฤษฎีเชิงวิทยาศาสตร (scientific management) ในยุคเริ่มแรก ซึ่งมีขอตกลงเบื้องตน เกี่ยวกับการบริหารวา การบริหารตองอาศัยกฎระเบียบและขอบังคับเปนสําคัญ งานของผูบริหารจึงตองใหมีความ มั่นใจไดวา จะเปนไปตามกฎระเบียบและขอบังคับนั้นอยางเปนเหตุเปนผล ผูบริหารจะตองเปนผูกําหนดนโยบายและ แนวการปฏิบัติงานที่เหมาะสม มีการสั่งการจากบนลงลาง และครูผูสอนจะมีฐานะเปนผูปฏิบัติงานตามนโยบายและ แนวการปฏิบัติของผูบริหารนั้น ตามขอตกลงเบื้องตนนี้ แสดงใหเห็นถึงวา ในการปฏิบัติงานนั้นมีทางเลือกที่ดีที่สุด เพียงทางเลือกเดียว (one best way) เมื่อกําหนดขึ้นมาแลว จะตองเปนหนาที่ความรับผิดชอบของผูบริหารที่จะทําให มั่นใจวาครูไดรับรูในสิ่งที่กําหนดนั้นและมีการปฏิบัติตาม หนาที่ของผูบริหารก็คือ “การวางแผน” เพื่อหาทางเลือกที่ดี ที่สุดที่ประหยัดที่สุดและสงผลตอการบรรลุเปาหมายองคการไดดีที่สุด ซึ่งจากแนวคิดเชิงทฤษฎีดังกลาวไดสงผลตอ รูปแบบการพัฒนาผูบริหารโรงเรียนในระยะตางๆ ดังนี้ 1) ระยะกอนประจําการ (preservice preparation) จะเนนการสื่อสารทางเดียวจากผูที่มีหรือผูรูในองค ความรูหรือขอเท็จจริงเชิงวิทยาศาสตร (scientific facts) เกี่ยวกับสิ่งที่ผูบริหารพึงกระทําไปสูผูซึ่งคาดหวังวาจะเปน ผูบริหารในอนาคต สวนใหญแลวจะเปนขอเท็จจริงที่อธิบายเกี่ยวกับ “สิ่งที่ดีหรือสิ่งที่ถูกตอง” ที่ผูบริหารพึงกระทํา เอกสารตําราก็มักจะอธิบายถึง “วิธีการ” (how to) ที่จะใชในเรื่องตางๆ เชน วิธีการใชภาวะผูนํา วิธีการบริหาร การเงิน วิธีการประเมินบุคลากร วิธีการออกแบบหลักสูตรและการสอน และอื่นๆ เปนตน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.