


จึงได้พาไปฝากเนื้อฝากตัวเป็นลูกศิษย์ซออู้ของครูฉลวย
๒๕๒๑ และก็เริ่มหลงใหลในด้านดนตรีไทยมาตั้งแต่บัดนั้น การที่ได้เรียนที่กรมประชาสัมพันธ์
ทำให้ได้พบกับนักดนตรีเก่ง
“Thai Court Singing: History, Musical Characteristics and Means of Transmissions” ซึ่งต่อมาได้รับ
การตีพิมพ์ นับเป็นหนังสือเกี่ยวกับการขับร้องไทยเล่มแรก ที่ตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ รวมระยะเวลาที่อยู่ในประเทศอังกฤษถึง ๑๖

ทำนองซอโดยมีระดับเสียงทางกลางแหบ
เป็นเพลงสำหรับร้องประกอบละครในมาแต่โบราณ
“ชื่อแขกมอญบางขุนพรหมนามสมญา ฉันได้มาจากวังบางขุนพรหม”
แต่งเพลงเถาในสำเนียงมอญอย่างนั้นบ้าง จึงทรงหารือกับครูผู้ใหญ่ในวงการดนตรีไทยในสมัยนั้น
เพลงที่ทรงเลือกมาเพื่อพระราชนิพนธ์ขึ้นเป็นเพลงเถานั้น คือเพลงมอญดูดาว สองชั้น
ซึ่งเมื่อทรงพิจารณาเพลงลงไป
พระราชนิพนธ์เพลงโดยใช้หน้าทับเป็น ประเภทปรบไก่
ดังนั้นหากทรงคงเนื้อเพลงของเดิม
จากทำนองเดิมที่ต้องบรรเลงซ้ำหลายเที่ยว
บทร้องที่นำมาใช้ในวันนี้
ๆ เนื่องด้วยเพลงลาวแพนมีที่มาจากการเล่นแอ่วลาวเป่าแคน เมื่อนำมาดัดแปลงบรรเลงด้วย
เครื่องดนตรีไทย เริ่มด้วยการใช้ปี่ถ่ายทอดเพลงเนื่องจากสามารถเลียนแบบเสียงแคนได้ ต่อมาได้นำจะเข้มา
บรรเลงแทน เนื่องจากเสียงจะเข้สามารถเลียนเสียงทำนองลายของแคนได้และพิณได้ ทำให้ได้อารมณ์เพลงที่ เป็นสำเนียงลาวอีสานได้อย่างชัดเจน
พระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาทรงนิพนธ์เพื่อใช้ประกอบการเล่นในการต้อนรับแขกเมือง
มาแต่งขยายขึ้นเป็น
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
มีการสอดรับคล้องจองกันในแต่ละท่อน
สว่างวิบูลย์พงศ์ โดยเพลงเต่ากินผักบุ้ง



































































































