Chapter 1 GIT Introduction

Page 2

2

1.บทนํา ความเข้าใจหรื อการรับรู ้ของคนทัว# ไปเกี#ยวกับพืนที# มีนิยามที#แตกต่างกันออกไปอันเนื# องมาจาก ความหลากหลายของถิ#นที#อยู่ ประสบการณ์ทางพืนที#ที#แตกต่างกัน ความคุน้ เคย และพฤติกรรมทางพืนที# เป็ นต้น อย่างไรก็ตามศาสตร์ ทางพืนที#มีมิติทงด้ ั านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ในตัวของมันเอง สถาบัน บางแห่งกําหนดให้ภูมิศาสตร์ อยูใ่ นส่ วนของสังคมศาสตร์ แต่บางแห่งให้อยูท่ างด้านวิทยาศาสตร์ อย่างไรก็ ตามเมื#อภูมิศาสตร์ ถูกจัดวางกระจัดกระจายและเข้าไปผสมกลมกลืนกับวิชาการด้านอื#นๆ ไม่วา่ จะเป็ น วิทยาศาสตร์ กายภาพและชีวภาพ สิ# งแวดล้อม ท้องถิ#นศึกษา ประวัติศาสตร์ ประชากรศาสตร์ และการ บริ หารการเมืองการปกครอง เป็ นต้น แต่ศาสตร์ นีก็ยงั มีวิธีการบอกเล่าเรื# องราว และสร้างกรอบความรู ้ที#เป็ น ลักษณะจําเพาะ และเป็ นส่ วนหนึ#งของการทําความเข้าใจปรากฏการณ์บนพืนผิวโลกได้อย่างชัดเจน จนกระทัง# ได้นิยามศัพท์ที#ใหม่ ซึ# งเปลี#ยนจากภูมิศาสตร์ (geographical)เป็ นศาสตร์ ทางพืนที# (spatial) ซึ# ง ครอบคลุมความหมายที#กว้างออกไปเหนือกว่าคําว่า ภูมิศาสตร์ แบบเดิม โดยมีลกั ษณะเป็ นองค์รวม (a holistic approach to geographic thoughts) อย่างไรก็ตามสามารถจําแนกแนวความคิดทางภูมิศาสตร์ ออกเป็ น 2 ระบบกว้างๆ คือ ภูมิศาสตร์ กายภาพ และภูมิศาสตร์ มนุษย์ (รู ปที# 1)ส่ วนแนวคิดที#สาํ คัญๆ มีดงั นี

รู ปที# 1 การแตกสาขาของภูมิศาสตร์ กายภาพและภูมิศาสตร์ มนุษย์ ที#มา : http://www.uwsp.edu/geo/faculty/ritter/geog101/textbook/essentials/continuum_of_geography.html 2. ศาสตร์ ทางพืน ที (Spatial Science) ภูมิศาสตร์ ในฐานะที#เป็ นศาสตร์ ทางพืนที# เนื# องจากใช้ตอบคําถามของสิ# ง (Things) นันว่าอยูท่ ี#ไหน และทําไมจึงปรากฏอยูท่ ี#นน#ั โดยทังนีตังอยูบ่ นคําถาม 4 ประการด้วยกันที#สัมพันธ์กบั ตําแหน่งที#ตงั สถานที# รู ปแบบทางพืนที# และปฏิสัมพันธ์ทางพืนที# • บอกตําแหน่งที#ตงั (Location) ซึ# งกําหนดที#ตงจากการอ้ ั างอิงพิกดั ละติจูด และลองจิจูดของ สิ# งนัน เป็ นที#ตงสมบู ั รณ์


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.