ThaiTai Re-conversation : Based on True Story

Page 1



01

ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง บทภัณฑารักษ์

โดย jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย)

วิธีวิทยา:

แนวคิดไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง แนวคิ ด เชิ ง นามธรรมของเทศะพั ฒ นาตั ว เองภายนอก ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว แ ล ะ อ ยู่ น อ ก เ ห นื อ เ ส้ น ท า ง ที่ เ ร า มี ประสบการณ์ต่อมัน ด้ ว ยเหตุ น ี ้ ก ารอธิ บ ายความหมาย เชิ ง ภู มิ ศ าสตร์ ข องสถานที่ แ ละเทศะจึ ง มี ค ว า ม ส ลั บ ซั บ ซ้ อ นเป็ น อย่ า งยิ ่ ง เป ็ น สิ ่ ง เ ช ื ่ อ มโย ง ปร ะ ส บกา ร ณ ์ ของมนุ ษ ย์ ก ั บ สิ ่ ง ต่ า งๆ โดยมิ อ าจแบ่ ง แยก ห า ก แ ต ่ เป็นองค์รวม ภูมิศาสตร์มนุษยนิยมได้นำ�เสนอวิธีวิทยาเกี่ยวกับแนวคิด มโนทั ศ น์ (conceptual base) เพื ่ อ อธิ บ ายมุ ม มอง ที ่ มนุษย์มีต่อภูมิศาสตร์ ซึ่ง Yi Fu Tuan (b. 1930-) ให้ความสำ�คัญและจำ�เป็นต่อการศึกษาประสบการณ์ของ มนุ ษย์ ซ ึ ่ งสัม พัน ธ์เกี่ย วโยงกับสถานที ่ และเทศะ มันคือ วิ ธี วิ ท ยาที่ ช่ ว ยเผยคลี่ มิ ติ อั น สลั บ ซั บ ซ้ อ นของเทศะ สถานที ่ อาคารสถาปั ต ยกรรม วั ต ถุ ส ิ ่ ง ของต่ า งๆ ที ่ แวดล้อมและที่ขาดมิได้คือประสบการณ์ตรงของบุคคล กระแสหลั ง โครงสร้ า งนิ ย ม (post-structuralism) ได้พยายามปลดปล่อยเรื่องเล่าหรือบันทึกในรูปแบบต่างๆ เชิงทัศนศิลป์ให้ได้สัมผัสกับชีวิตมากขึ้น และมีความเห็น ว่าบันทึกเรื่องเล่าทั้งหลายนั้นเกิดจากความทรงจำ�ร่วมของ กลุ่มคน มั น ได้ ถ ู ก จดจำ � หรื อ แม้ แ ต่ ล บลื ม โดยทั่วไปแล้ว มนุ ษ ย์ เ รามี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ อื่ น เสมอในพื้ น ที่ ห นึ่ ง และ กอปรขึ้นจากประสบการณ์ร่วมกับบุคคลอื่นๆอีกมากมาย ประสบการณ์ในพื้นที่ของแต่ละคนจึงถูกกำ�หนดและเกิดขึ้น โดยประสบการณ์ร่วมกันกับบุคคลอื่นเสมอ มั น แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆ มีความสำ�คัญอย่าง ปฏิ เ สธมิ ไ ด้ อาทิ ความสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งบุ คคลกั บบุ คคล ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับเทศะ สถานที่ สัตว์ สิ่งของ และเวลา ตอกย้ำ�การเชื่อมโยงกันระหว่างกิจกรรม การให้ ความหมาย ความรู้สึกที่มีต่อเทศะและคุณค่าแห่งสถานที่

ดังนั้น ความสั ม พั น ธ์ ซ ึ ่ ง เกิ ด ขึ ้ น และกำ � หนดโดยบุ ค คลจึ ง ถื อ เป็นสิ่งที่สลับซับซ้อน ในทั ศ นะของนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยามองว่ า ประสบการณ์ของมนุษย์ประกอบด้วยร่างกาย ความคิด ความรู้สึก ที ่ แ ย ก แ ย ะ สิ ่ ง ต่ า ง ๆ อ อ ก จ า ก กั น ด้ ว ย สั ญ ลั ก ษ ณ์ ต่ า ง ๆ และเชื่ อ ว่ า ปั จ จั ย ทางชี ว วิ ท ยามี ส่ ว นสำ � คั ญ ในการอธิ บ ายความ เป็ น มนุ ษ ย์ แ น ว คิ ด ภู มิ ศ า ส ต ร์ ม นุ ษ ย นิ ย ม พ ย า ย า ม ต อ บ คำ � ถามที่ ว่าเพราะเหตุใ ด เทศะและสถานที ่ ต ่ า งๆ ปรากฏแสดง ขึ ้ น อย่ า งไร้ ค วามหมาย หากปราศจากประสบการณ์ร ่วมของ บุคคลบรรจุ ลงไปภายใน และประสบการณ์ ก ารมี ส ่ ว นร่ ว มของ ก ลุ ่ ม บุ ค ค ล ภ า ย ใ ต้ ส ถ า น ก า ร ณ์ เ ดี ย ว กั น ทั ้ ง เ ชิ ง อั ต วิ สั ย และภววิ ส ั ย ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ในพื ้ น ที ่ เ ดี ย วกั น จึงมีความหมายที่ ลึกซึ้งต่อพื้นที่คล้ายคลึงหรือต่ า งกั น นั้ น ขึ้ น อยู่ กั บ ความเข้ ม ข้ น ของแต่ ละบุคคล ประสบการณ์ ระยะเวลาและเหตุการณ์ แนวคิด ภววิ สั ย เชิ ง ปริ ม าณเช่ น นี้ ส ามารถอธิ บ ายความหมายทางสั ง คม ได้ อ ย่ า งน่ าสนใจ ทำ � อย่ า งไรเราจึ ง สามารถประยุกต์ความรู้ทาง ภูมิศาสตร์ร่วมกับสนามทางทัศนศิลป์ เพื ่ อ อธิ บ ายหรื อ ถอดรหั ส ความหมายของสถานที ่ เทศะ รวมถึงสภาพแวดล้อมต่างๆของ มนุ ษ ย์ อ ย่ า งเป็ น ระบบ และกลายเรื ่ อ งเล่ า ธรรมดาๆ เพื ่ อ ให้ สถาปัตยกรรมแห่งความว่างเปล่ากลับมีความหมายอี ก ครั ้ ง

เทศะ สถานที่ และมนุษย์ ความสั ม พั น ธ์ ข องมนุ ษ ย์ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มได้ ถู ก นิ ย ามในเชิ ง ภู ม ิ ศ าสตร์ ว ่ า Topophilia ซึ ่ ง ในภาษากรี ก นิ ร ุ ก ติ ศ าสตร์ ของคำ�ว่า topos หมายถึง “สถานที่”และ philia หมายถึ ง “ความรั ก ที ่ ม นุ ษ ย์ ม ี ต ่ อ สถานที ่ แ ห่ ง หนึ ่ ง แห่ ง ใด อย่ า งเข้ ม ข้ น ”มั น ผสานรวมเข้ า กั บ ความรู้ สึ ก เชิ ง อั ต ลั ก ษณ์ ท าง วัฒนธรรมซึ่งหลายคนเกิดความประทับใจและหลงใหลในสถานที่ แห่ ง ใดแห่ ง หนึ ่ ง อย่ า งสุ ด ที ่ จ ะบรรยาย นั ก ญาณวิ ท ยาอย่ า ง Gaston Bachelard (b. 1884-1962) ระบุใ นหนังสือ The Poetics of Space กล่าวถึง Topophilia โดย นำ � เสนอแนวคิ ด พื้ น ที่ เ ชิ ง กวี นิ พ นธ์ แ ละสภาวะความมี ตั ว ตนของ มนุ ษ ย์ ใ นพื ้ น ที ่ น ั ้ น Bachelard ให้ ค วามสนใจต่ อ เทศะในฐานะ ภาพสะท้อนของพื ้ น ที ่ ท างจิ ต วิ ท ยา กล่ า วคื อ ขอบเขตภายนอก อ า ค า ร ส ถ า น ที ่ ที ่ ป ก ป้ อ ง พื้ น ที่ ภ า ย ใ น ข อ ง เ ร า แ ท้ จ ริ แ ล้ ว การทำ � ความเข้ า ใจเรื ่ อ ง Topophilia นั ้ น เป็ น สิ ่ ง ที ่ ส ร้ า งความ ซั บ ซ้ อ นและมี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ อ ย่ า งสู ง เนื่องจากเป็นการ พยายามอ ธิ บ า ย ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ม นุ ษ ย์ กั บ สิ ่ ง ที ่ แวดล้ อ ม และมี ร ากฐานการสร้ า งความเข้ า ใจเกี ่ ย วกั บ มนุ ษ ย์ เพราะเป็นแนวคิดที่วางประสบการณ์ของมนุษย์ไว้ตรงกลาง และ ปฏิ เ สธอำ � นาจเหนือธรรมชาติหรืออำ�นาจที่ม องไม่เห็น


02 ภู มิ ศ า ส ต ร์ ม นุ ษ ย นิ ย ม นั้ น เ ชื่ อ มั่ น ใ น ก า ร ก ร ะ ท ำ � ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ห นื อ สิ ่ ง อื ่ น ใ ด แ ล ะ น ั ก ภ ู ม ิ ศ า ส ต ร ์ อย่ า ง Fu Tuan ได้ เ สนอแนวคิดซึ่งให้ความสำ�คัญ กั บ การรั บ รู้ แ ละทั ศ นคติ ข องมนุ ษ ย์ เ ช ่ น เ ด ี ย ว ก ั บ ก า ร ใ ห ้ ค ำ � อ ธ ิ บ า ย ใ ต ้ ภ า พ ม ั น เ ป ็ น ก า ร อธิ บ ายสิ ่ ง ที ่ ย ึ ด โ ย ง สั ม พั น ธ์ พ ร้ อ ม กั น ทั ้ ง ภ า พ แ ล ะ บ ท ในเวลาเดี ยว เขาสรุป ว่าระดับ ขั ้ นทางอารมณ์ ความรู ้ ส ึ ก ภ า ย ใ น อั น เป็ น บุ ค ลิ ก ภ า พ แห่ ง ส ถ า น ที ่ ส า ม า ร ถ ก่ อ ให้ เ กิ ด การรั บ รู้ ห รื อ สร้ า งความประทั บ ใ จ อ ย ่ า ง เข้ ม ข้ น แ ล ะ ค ว า ม ร ู ้ ส ึ ก ส ด ใ ห ม ่ แ ห ่ ง ส ั ม ผ ั ส ท า ง ก า ย ภ า พ ต า ม ท ั ศ น ะ ข อ ง ม น ุ ษ ย ์ การค้ น พบสถาน ที่ อ ั น คุ้ น เคยไม่ ต่ า งจากบ้ า นในลั ก ษณะเช่ น นี ้ ไ ด้ ส ร้ า ง ความพึงใจด้านสุขภาวะและพลั ง สร้ า งสรรค์ ซ ึ ่ ง ส ั ม พ ั น ธ ์ ก ั บ เ ร า บ น โ ล ก ใ บ น ี ้ ทั ้ ง ในแง่ ข องความเป็นปั จเ จก แ ล ะ ก า ร เ ข้ า ไ ป มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น เ ชิ ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ที ่ ย าวนานทางวั ฒ นธรรม

ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง / สารจากภัณฑารักษ์ วั ต ถุ - สถานที ่ นำ � ไปสู ่ ข ้ อ เท็ จ จริ ง เชิ ง รู ป ธรรมได้ ต่ อ เ มื ่ อ เ ร า มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ อ ย่ า ง ร อ บ ด้ า น ภ า ย ใ น สถานที่นั้นๆ ผ่ า นผั ส สะรั บ รู ้ เ ชิ ง รุ ก ทั ้ ง หมดของมนุ ษ ย์ เ ร า แ ล ะ ส ะ ท้ อ น ภ า พ ข อ ง จิ ต ใ จ เ ร า . . . สามารถกล่ า วได้ ว่ า สถานที่ ทั้ ง หลายมี จิ ต วิ ญ ญาณ และความเป็นบุคคลแฝงอยู่ ม ี เ พ ี ย ง ม น ุ ษ ย ์ เท่ า นั ้ น ที ่ จ ะรู ้ ส ึ ก และมี ส ำ � นึ ก ถึ ง สถานที ่ แ ละเทศะได้ ม นุ ษ ย์ เ ร า ส า ม า ร ถ แ ส ด ง อ อ ก ซึ่ ง ค ว า ม รู้ สึ ก ต่ อ สถานที ่ น ั ้ น ๆ เมื ่ อ เขาและเธอประยุ ก ต์ ป ั ญ ญาด้ า น จริยธรรมและสุนทรียภาพของตนไปใช้ ก ั บ พื ้ น ที ่ จ ำ � เพาะ หรื อ สถานที ่ น ั ้ น Yi Fu Tuan ก ร ะ บ ว น ก า ร ฝั ง ตั ว ข อ ง ศิ ล ปิ น ใ น พื ้ น ที ่ จำ � เ พ า ะ ช่ ว ยขยายผั ส สะการรั บ รู ้ แ ก่ บ ุ ค คลไดไม่ ม ากก็ น ้ อ ย นิ ท รรศการไทยไท บทสนทนาย้ อ น: สร้ า งจากเรื่อง จริง ใ ห ้ ค ว า ม ส ำ � ค ั ญ ใ น ป ร ะ เ ด ็ น ค ำ � ถ า ม ต ่ อ ก า ร ม ี ประสบการณ์ ต รงของบุ ค คลที ่ ม ี ต ่ อ เทศะ สามารถตอบ คำ�ถามหรืออรรถาธิบายความหมายของสถานที่ได้อย่างไร และอะไรคื อ ปั จ จั ย ที ่ ท ำ � ให้ เ ป็ น เช่ น นั ้ น การให้ความสำ�คัญ กับสถานที่ในฐานะเป็นหนทางในการมองเห็น รวมถึงการ สร้างความรู้ แ ละการทำ�ความเข้ า ใจต่ อ โลกที่ แ วดล้ อ มเรา อยู่ ถือเป็นสิ่งที่มิอาจมองข้าม หากเราต้องการศึกษาความ เป็นมาเป็นไปของสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง เป็นไปได้หรือไม่ที่ งานอนุรักษ์สถาปัตยกรรมชิ้นหนึ่งมิ ไ ด้ สำ � แดงข้ อ มู ล ตาม กรอบประเพณีน ิยม และมิใช่ง านอนุร ัก ษ์ก ้อ นอิฐ หิน ปูน ซึ ่ ง ถู กเวลากลืน กิน ในทุก ขณะ แต่เป็น ต้น ธาตุสำ�คัญ ให้ ประสบการณ์ของบุคคลได้เผยแง่มุมความรู้ และความ

คำ � ว่ า Topophilia ถ ื อ ว ่ า เ ป ็ น ศ ั พ ท ์ ซ ึ ่ ง บ ั ญ ญ ั ต ิ ใ ช ้ ในกลุ่มนักวิชาการด้านภูมิศาสตร์ร่วมสมัย มันถูกใช้ ศึ ก ษ า แ ล ะ กำ � ห น ด ข อ บ เ ข ต ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง พื้ น ที่ วั ต ถุ - สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ม นุ ษ ย์ เ ข้ า ไปมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ข้ อ งเกี่ ย ว ในทุ ก กรณี ซึ ่ ง ต่ า งจากความละเอี ย ดอ่ อ นและความ เข้มข้นในอารมณ์ของการแสดงออกทั่วๆ ไป นั้นหมายถึง ความรั บ ผิ ด ชอบที่ ม นุ ษ ย์ มี ต่ อ สภาพแวดล้ อ มอั น เป็ น ส่วนหนึ่งของสุนทรียภาพ ที่ทำ�ให้เรารู้สึก ไ ด ้ แ ล ะ สามารถเ ข้ า ไ ป สั ม ผั ส กั บ ค ว า ม ส ด ใ ห ม่ ข อ ง อากาศ น้ำ�และผืน โลกซึ่งเป็น บ้ า นเป็ นสถานที ่ แห่ ง ความ ทรงจำ� ในไม่ ช ้ า เราต่ า งก็ จ ะหันมาใส่ใจต่อ Topophilia ซึ่ ง มั น ปรากฏในรู ป แบบของประสบการณ์ ที่ ห ลากหลาย ไม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร เ ดิ น ท า ง ท่ อ ง เ ที ่ ย ว ไ ป ใ น ที ่ ต่ า ง ๆ หรื อ การน ั ่ ง ช ม พระ อาท ิ ตย ์ ต ก ณ ท ี ่ ใด ท ี ่ ห นึ ่ ง เรามั ก มี ป ระสบการณ์ เ ช่ น นี้ เ มื่ อ เดิ น ทางออกไปจากพื้ น ที่ ที ่ ค ุ ้ น ชิ น เราท่องเที่ย วไปในสถานที ่ ท ี ่ ด ึ ง ดู ด ใจเช่ นสถาน พั ก ตากอากาศ เมื อ งโบราณหรื อ สถานที ่ แ ห่ ง หนึ ่ ง ซึ ่ ง มี เ สน่ ห ์ ดึ ง ดู ด เบื้ อ งหลั ง กายภาพทางสถาปั ต ยกรรม และผั ง เมื อ งที ่ ถ ู ก ออกแบบไว้ อ ย่ า งน่ า สนใจ ม ั น ไ ด ้ สร้ า งสรรค์ สุ น ทรี ย ภาพอันน่าประทับใจต่อมนุษย์สำ�หรับ การดำ�รงชีพและการอยู่อาศัย สถานที่ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มผลั ก ดั น ให้ อ ารมณ์ ค วามรู้ สึ ก ข อ ง ม น ุ ษ ย ์ แ ป ร เ ป ลี ่ ย น ไ ป ต า ม ก า ร รั บ รู ้ เ ชิ ง สั ญ ลั ก ษณ์ ห รื อ เหตุ ก ารณ์ การตระหนั ก ถึ ง อดี ต จึ ง กลายเป็ น ต้ น ธาตุ สำ � คั ญ ในความรั ก ที่ ม นุ ษ ย์ มี ต่ อ สถานที่ มนุ ษ ย์ เ ราจึ ง มี ร ากที ่ ห ยั ่ ง ลงในสถานที ่ ห นึ ่ ง ใดเสมอ

นึกคิดที่มีต่อสถานที่แห่งหนึ่ง

นิทรรศการ ไ ท ย ไ ท บ ท ส น ท น า ย ้ อ น : สร้ า งจา ก เรื ่ อ งจริ ง

น ิ ท ร รศก าร ไทยไท บ ท ส น ท น า ย ้ อ น : สร้ า งจากเรื ่ อ งจริ ง เป็นโครงการที่ออกแบบให้ศิลปินทำ�งานเชิงรุก และมีโอกาสพำ�นัก ปฏิบัติงานลงพื้นที่ภาคสนามร่วมกันสองพื้นที่ ได้แก่พื้นที่ Open Contemporary Art Center ในกรุงไทเปและ About Photography ในกรุงเทพฯ ความน่าสนใจของพื้นที่ทั้งสองนั้น เชื่ อ มโยงสั ม พั น ธ์ กั น ต่ า งกรรมต่ า งวาระสร้ า งร่ อ งรอยตาม


03

ประสบการณของบุ ค คลฝั ง แฝงภายในพื ้ น ที ่ เ ป็ น พื ้ น ที ่ ก รณี ศึ ก ษาที ่ ส ามารถสื บ ค้ น ตั้ ง คำ�ถามและค้นหาคำ�ตอบด้วยเป้าหมาย เพื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละเผยจิ ต วิ ญ ญ า ณ ข อ ง เ ท ศ ะ แ ล ะ ส ถ า น ที ่ ส ถ า น ที ่ ซึ ่ ง มี พั ฒ น า ก า ร และความต่ อ เนื ่ อ งในทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ตั้ ง อยู่ บ นระนาบแนวดิ ่ ง และแนวขวาง ของชุ ม ชนจิ น ตกรรม (imagined communities) ยุ ก ติ มุกดาวิจิตรได้อธิบายไว้ว่าชุมชนจินตกรรมนั้นชวน ให้ เ ข้ า ใจเกี่ ย วกั บ คนที่ อ ยู่ ห่ า งไกลกั น แม้ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ญาติ พี่น้องไม่เคยพบเห็นกันมก่อน หากมีสำ�นึกถึงความสัมพันธ์ ที่สืบต่อเนื่องกัน แม้ในลักษณะเป็นเส้นประไม่ปะติดปะต่อ ไม่คงที่ตายตัว และอ้างถึงความเชื่อมโยงสัมพันธ์และสำ�นึก ข้ามถิ่นฐานของคน 2 กลุ่ม ทั้ง เชิ ง พื ้ นที ่ เวลา ขอบเขต ของสายเลื อ ด เครื อ ญาติ หรื อ สั ง คมที ่ ต ิ ด ต่ อ สั มพั นธ์ กั น ใกล้ ช ิ ด ไปเชื่อมโยงกับคนที่ไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย ไม่จำ�เป็น ต้ อ งเคยพบ ป ะ ก ั น ม าก ่ อน ด ้ ว ย ส ำ � นึ กคว า มเ ป็ น ช ุ ม ช น จิ น ตกรรมขนาดย่ อ มที่ ซ้ อ นทั บ กั น หลายลั ก ษณะ มี สำ � นึ ก ถึ ง สั ง คมที่ ก ว้ า งไกลไปกว่ า ชุ ม ชนที่ ต นติ ด ต่ อ สัมพันธ์คุ้นเคย และสามารถปรับเปลี่ยนสำ�นึกของความเป็น กลุ่ ม ชนจากกลุ่ ม หนึ่ ง ไปเป็ น อี ก กลุ่ ม หนึ่ ง ได้ เ สมอเป็ น สำ�นึกในจินตนาการที่คนทั้ง 2 กลุ่มมีผ่านความรับรู้เกี่ยวกับ อดีตที่ผูกพันอยู่กับพื้นที่และการเคลื่อนย้ายถิ่นฐาน สลับ กันไปมาภายใต้เงื่อนไขแห่งกาลเทศะและสถานที่ การเข้ า พำ � นั ก -ปฏิ บั ติ ง านภายในเทศะและบริ บ ทแวดล้ อ ม ของพื้นที่กรณีศึกษาสองแห่ง ได้แก่ About Photography ประเทศไทย พื ้นที ่ศ ิลปะร่วมสมัยที ่ม ีความ สำ � คั ญ ย่ า น ช า ย ข อ บ ข อ ง เ ย า ว ร า ช เ ป็ น พื ้ น ที ่ ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย (Contemporary art space)

รุ่นบุกเบิกแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ดำ�เนินกิจกรรมและขับ เคลื่อนโครงการงานศิลปะร่วมสมัย ตั้งแต่ปี 1997 และ Open Contemporary Art Center ประเทศไต้หวัน พื้ น ที่ ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย ขั บ เคลื่ อ นโดยกลุ่ ม ศิ ล ปิ น ตั้ ง แต่ ปี 1994 ถึ ง ปั จ จุ บ ั น ด้ ว ยข้ อ จำ � กั ด ตามกรอบระยะ เวลา ของการขอใช้ แ ละการรับสนับสนุนพื้นที่เพื่อดำ�เนิน กิ จกรรมจากภาครัฐ และเอกชน เป็น เหตุให้พ วกเขาต้อ ง อพยพเคลื ่ อ นย้ า ยไปหลายครั ้ ง หลายแห่ ง ยังผลให้มี โอกาสโยกย้ า ยถิ ่ น ฐานการดำ � เนิ น กิ จ กรรมมาที ่ About Photography ประเทศไทย ตามกรอบระยะเวลา 6 เดื อ น ในปี 2012-2013 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่โครงการแลกเปลี่ยน แ ล ะ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ด้ า น ศิ ล ป ะ แ ล ะ นิ ท ร ร ศ ก า ร ศิ ล ป ะ ร ่ ว มส มั ย“ ร ะยะไทยไท” ได้ถือกำ�เนิดขึ้นจากความร่วม มือระหว่าง O p e n C o n te m p o ra r y A r t C e n te r แ ล ะ บ ้ า น น อ ก ความร่ ว มมื อ ทางศิ ล ปวั ฒ นธรรมนั บ จาก เริ่มต้นจวบจนปัจจุบัน

ด้ ว ยเหตุ นี้โครงการแลกเปลี่ยนและความร่วมมือ ระหว่าง Open Contemporary Art Center และ บ้านนอกความ ร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรมในครั้งนี้ จึงมิใช่การผลิตซ้ำ�เชิง ข้อมูลหรือเรื่องเล่าจากอดีต หรือเป็นพียงการนำ�เสนอ ภา พปร ะวั ต ิ ศ าสตร์ ห า ก แ ต ่ เ ป ็ น ก า ร เ ช ื ่ อ ม โ ย ง ประสบการณ์ ข องบุ ค คล ณ ปัจจุบันซึ่งซ้อนทับอยู่บน ฐานของเทศะและสถานที ่ เ ดี ย วกั น เรื่องเล่าต่างๆกลาย เป็นส่วนหนึ ่งของข้อมูลเพื ่อการพินิจพิเคราะห์ ประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ จากการแบ่ ง ปั น และการมี ป ระสบการณ์ ร่ ว มกั น ใน พื ้ น ที ่ ยั ง เป็ น ผลให้ บ ุ ค คลเล็ ง เห็ น ถึ ง คุ ณ ค่ า และความ ห ม า ย ข อ ง พื้ น ที่ อ ย่ า ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ่ า น ส น า ม ท า ง ทั ศ น์ ศ ิ ล ป์


04


ThaiTai Re-conversation : Based on True Story พื ้ น ที ่ ใ นกรณี ศ ึ ก ษาทั ้ ง สองแห่ ง นั ้ น ได้ เ ปลี่ ย นแปลง ไปตามเหตุปัจจัยของกาลเวลา เหตุการณ์ กิจกรรม ความ หมาย ความทรงจำ�ที่ผ่านมาในอดีต ยังคงถูกตั้งคำ�ถามและ วนเวี ย นภายในความคิดของอี กหลายคน โดยเฉพาะผู้ที่ เคยมีประสบการณ์ร่วมกั บ พื ้ น ที ่ ด ั ง กล่ า ว ภายใต้ ก รอบ ระยะเวลา 3 เดื อ นในการพำ�นักและปฏิบัติงานของศิลปิน พวกเขากลายเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของอดี ต และยื น อยู่ บ นสนาม แห่งความทรงจำ�ร่วม เป็ น ความเคลื่อนไหวเชิงบวกของ เอกภาพและความร่ ว มมื อ ซึ ่ ง อธิ บ ายถึ ง สิ ่ ง ที ่ อ ยากจะ อธิบายและการให้ความหมายกับสถานที่ที่ใครอีกหลายคน รู้สึก และคิดคำ�นึงถึง อนึ่ง นิทรรศการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจาก เรื่องจริง (ThaiTai Re-conversation: Based on true story) ครั ้ ง นี ้ ร ิ เ ริ ่ ม และดำ � เนิ น โครงการฯ ด้วย ความร่วมมือกันระหว่าง Open Contemporary Art Center (OCAC) ประทศไต้หวัน และ บ้านนอกความร่วม มือทางศิลปวัฒนธรรม (Baan Noorg Collaborative Arts and Culture) ประเทศไทย ภายใต้ กรอบความ ร่วมมือแลกเปลี่ยนและการค้นคว้าวิจัยข้อมูล เพื่อสร้าง พืน ้ ฐานรูค ้ วามเข้าใจทีม ่ ต ี อ ่ พืน ้ ทีก ่ รณีศก ึ ษา ระยะเวลาในการ ดำ�เนินโครงการตั้งแต่เดือน กรกฎาคมถึงกันยายน ปี 2018 รั บ ทุ น สนั บ สนุ น งบประมาณจากกระทรวงวั ฒ นธรรม รัฐบาลไต้หวัน โดยมี โนบุโอะ ทากะโมริ ผู้อำ� นวยการ Outsider Factory ประเทศไต้ ห วั น ดำ�เนินโครงการ Project Complex in Bangkok คูข่ นานไปกับนิทรรศการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง โดยผู้รับหน้าที่ ภั ณ ฑารั ก ษ์ ร ่ ว มโครงการฯครั ้ ง นี ้ ได้ แ ก่ ซื ่ อ ตง โล (ผู้อำ�นวยการ Open Contemporary Art Center) และจิแอนด์ยน ่ิ (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) (ผูอ ้ ำ�นวยการ บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม) โดยมี ศิลปิน12 ท่าน เข้าร่วมโครงการฯ ประกอบด้วยกลุ่มศิลปิน Space Reader (เจียง หยู่ เจี๋ย, หมิง เหยา, เซวียน หวง, เจี๋ย ฉิง ซือ และ ฉุน เจิน หวง) รวิรุจ สุรดินทร์, สะรุจ ศุภสุทธิเวช, ศุภกานต์ วงษ์แก้ว และศิ ล ปิ น รั บ เ ช ิ ญ ในโครงการฯ ได้ แ ก่ ศิ ล ปิ น กลุ ่ ม CHENCHENGYU (ฉุน เจิน หวง, หยู่ เฉิง หลิวและ หยู่ เฉา หลิว) และจุ ฑ ามาส บู ร ณะเจตน์ และปิ ต ิ อั ม ระรงค์ ศิลปิน ไทยและไต้ ห วั น ได้ ร่ ว มพั ฒ นาโครงงานผ่ า นสนามทาง ทั ศ นศิ ล ป์ ต ามกรอบระยะเวลาที ่ ก ำ � หนด เพื ่ อ สรุ ป ผล โครงการด้วยนิท รรศการศิลปะร่ ว มสมั ย และร่ ว มกั น นำ � เสนอผลงานทั ศ นศิ ล ป์ ห ลายหลากสื่ อ ต่ า ง รู ป แ บ บ อาทิ มี เ ดี ย อาร์ ต , ศิ ล ปะการแสดงสด, บท, เสียง, ภาพ และวัตถุ เป็นต้น

05

Curatorial Statement By jiandyin (jiradej and Pornpilai Meemalai) Mythology: Curating the ThaiTai Re-conversation: Based on True Story The abstract concept of space develops

itself outside force and stands aside from the path that we have had experienced on it. As a result, to describe geographical meaning of place and space is a complex thing. It connects with human experience toward things as a whole. H u m a n i s t i c Geography has presented Conceptual base methodology to explain human vision towards geography which Yi Fu Tuan (b. 1930-) emphasized and it is significant to study how human experience relates to place and space as a methodology to unfold the complexity behind space, place, architecture, surrounded things and human’s direct experience. The tendency of post-structuralism has attempted to liberate all sorts of artistic narratives or archives to encounter more to the life and to consider that they are common memories of people. They were memorized and were forgotten. In general, humans often interact with others at a certain place and often acquire experiences with many others. It reveals that all things significantly unquestionable relate to one another. Fo r i n s t a n c e, re l a t i o n s h i p s b e t we e n individual persons, between human and space, place, animal, things and time underline the connection of activities, definition, sensibility towards space and value of place.


06 Therefore, relationship marked by human is a complex issue. Anthropologists have rega rd e d t h a t h u m a n e x p e r i e n c e consists of physical body, thoughts, sensibility of classifying things via symbols, and believed that the biological factor significantly defines human being. The notion of h u m a n i s t i c g e o g r a p h y attempts to respond the question of why all spaces and places appear meaningless without human experience that inherited inside it and collaborative experience among groups of people under common circumstances or places, subjectively and objectively. Whether they are profoundly meaningful, similar or different depending on each specific person, experience, duration and circumstance. Such objective quantitative concept interestingly explains social meaning. How can we apply geographical knowledge with visual art field to methodically explore or decode the meaning of place, space as well as environment of human and achieve into an ordinary narrative to revive an empty architecture?

Space Place and Human Relationship between human and environment is geographically defined as Topophilia. The etymogy of topos in Greek means “place” and philia means “strong love that human has toward a certain place”. It merges with cultural characteristic sentiment and indescribable feeling of love with a place. G a s t o n B a c h e l a rd ( b . 1 8 8 4 - 1 9 6 2 ) , epistemologist, pointed about Topophilia in the book The Poetics of Space introducing the concept of poetic space and existing condition of human being in a certain space. Bachelard’s interest in space as a reflection of Psychological space which is literally the frontier of a building that protects whatever inside our thoughts.

In fact, understanding the Topophilia concept is complex as it involves extremely humanistic issues and even portrays relationship between human and environment. It also places human’s experience at the core and declines invisible supernatural power. Humanistic geography principally believes in human engagement. Geologist Fu Tuan introduced a concept emphasizing on human perception and attitude compared to a caption under an image – both of which are relatedly bound together as one at the same time. He concluded that there are levels of internal emotion that is the characteristic of a place where strong sensitivity, impression, fresh physical contact are created in human’s perception. To discover a familiar place as if one has discovered his or her home creates a healthy pleasure and creative force associating with our long history – individually and culturally.

The word “Topophilia” was formulated by contemporary geography academics for studying and defining the responsive scope of place, object-environment human has interaction with, in every circumstance. This is unlike to general emotion, whether delicate or severe. Similar to a course of human responsibility to his/her environment that is part of the aesthetic, we can feel and reach the crisp air, fresh water and earth as a home – a place of memory. Soon after, we will all concentrate on Topophilia which appears in various forms of experiences; from journeys to sitting and watching the sun set somewhere. We often gain experience when we travel away from our familiar place – voyaging to resorts, to ancient town or a charming place with architectural structure and interestingly designed urban plan. These are which generating impressive aesthetics for human living and dwelling.


07 Place and environment drive human emotion transform with perception through symbols and situation. The awareness of the past now becomes a significant element of the affection that human has toward place and a reason why humans usually root at one certain place.

ThaiTai Re-conversation: Based on True Story Object-Place can bring us to concrete fact, once we experience all around the place over our active sensation, at the same time, reflecting our inner‌ We can say that every place is embraced with spirit and the being of a person. There is only human that has ability to sense and able to realize place and space, able to convey feelings towards certain place as soon as he/she applies morality and own aesthetics to adapt to specific place. Yi Fu Tuan The process that artists reside in one specific space more or less expands personal perceptions. The ThaiTai Re-conversation: Based on a True Story questioned over direct personal experience towards space on how the answer can be reached or described the meaning of the place. What are the factors behind it? To emphasize a place as a way to perceive and to understand the world and the story behind it is what we shouldn’t overlook. Is it possible that an architecture c o n s e r va t i o n d o e s n o t s o le ly re v e a l conventional information,nor bricks, stones, plaster conservation that constantly corroded every minute, but rather reveals significant elements of personal experience that discloses knowledge and opinion towards a place.

ThaiTai Re-conversation: Based on True Story exhibition ThaiTai Re-conversation: Based on True Story exhibition is a project generating for artists who actively work and live onsite together at Contemporary Art Center, Taipei and at About Photography, Bangkok. The 2 sites interestingly connect to each other in different circumstances. It created traces upon people’s experience embedded within m o d e l study places, allow us to question and seek answers for learning purpose and uncover the hidden spirit of space and place. A place with continual historical developed, vertically and horizontally situated on an im a g in ed co mmunity, Yuk ti Mukd av ijit ex p la in ed that imagined co mmunity persuades us to realize the state of someone who lives distantly from each other, does not have relativeinvolvement and has never seen each other before but longing for a continual relationship, although uneven likewise dashed lines. Regarding if we refer to a n asso c iatio n and c ross-b o rd er se n t iment o f 2 gro up s o f p eo p lein re l a t i on to time, space, blood relatives or i n t i m a te d social group to connect with unknown or unfamiliar people, having an awareness of minor scale of imagined communities that overlapped in many different layers and include awareness of society a far from familiar community, it will always convey a change in the respect of being group from one group to another. This is an imagined recognition that both groups have acquired through perception in relation to place from the past and migration, interchanging with condition and place.


08

The residency program at the 2 model study sites and their context: About Photography, Bangkok, a pioneer contemporary art space in an old area of Chinatown operated contemporary art programs since 1997; the Open Contemporary Art Center, Taiwan, a contemporary art space run by artist collective since 1994 to present. With the limitation of time to approach for space support from government and private companies to run the programs, it had caused them to move to other places and finally translocated to About Photography, Thailand, for 6-month period during 20122013. It was during the time when the contemporary art exchange and collaboration of ThaiTai: A Measure of Understanding between Open Contemporary Art Center and jiandyin (Baan Noorg Collaborative Arts and Culture) began.

As a result, the current exchange and collaboration between Open Contemporary Art Center and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture is not a reproduction of past narratives and information nor solely a presentation of historical images, it is rather a connection of human experience at present which overlaps on the basis of common space and place. All narratives have become a mutual experience of the place and have made people creatively realize the true and meaningful value of place and space through visual art field. The two case study areas have changed by factors of time, events, activities, meanings, and past memories, and remained a question and a lingering trace in the minds of many – particularly those who have shared experiences with those spaces. During the timeframe of three-month work and residency of the artists, they have become a part of the past and stood on the field of collective memories -a positive movement of unity and collaboration that explains things they want to express and gives a meaning to the place that are felt and cherished by many.


09 09

“ThaiTai Re-conversation: Based on True Story� exhibition is initiated by the collaboration between Open Contemporary Art Center (OCAC) Taiwan and Baan Noorg Collaborative Arts and Culture Thailand under the collaborative framework of bilateral exchange and research with the purpose of establishing a fundamental k n ow le d ge a n d u n d e rs t a n d i n g o f t h e designated case study areas. The project is sponsored by the Ministry of Culture, Taiwan and its timeframe started from July to September 2018, through Nobuo Takamori, director of Outsider Factory, Taiwan, operates in parallel with Project Complex in Bangkok, co-curated by Shih Tung Lo (Director of Open Contemporary Art Center) a n d J i a n d y i n ( J i ra d e j a n d Po r n p i l a i Meemalai) (Director of Baan Noorg Collaborative Arts and Culture), along with 12 artists who have participated in this project including Space Reader Artists Collective (Yu Jie Jiang, Min Yao, Xuan Huang, Chieh Ching Shih, Chun Chen Huang), Rawiruj Suradin, Saroot Supasuthivech, Supphakarn Wongkaew, as well as guest artists CHENCHENGYU Family (Chun Chen Huang, Yu Cheng Liu, Yu Chiao Liu) and Jutamas Buranajade and Piti Amraranga. Artists from Thailand and Taiwan work together to develop the project in the field of visual arts withinthe designated timeframe and conclude the project results with contemporary arts exhibition featuring visual artworks in many different media such as media art, performance art, textual, sound, photo and object.


10

ศิลปินกลุ่ม CHENCHENGYU -Reading Bangkok, 2018, กล่อง, ตราประทับ, ภาพถ่าย -A Keyword Space, 2018, ตัดกระดาษ -Chewing Gum Sculpture, 2018, หมากฝรั่ง -Let’s Playing the Guitar!, 2018, กีตาร์ -Hello, My Friends, 2018, ภาพถ่าย -Speechless Poem, 2018, กล่อง, กรรไกร, ถุงพลาสติก, หนังสือ, โต๊ะ, เก้าอี้, แสดงสด ขนาดผันแปรตามพื้นที่

ฉุน เจิน หวง / Chun Chen Huang

หยู่ เฉิง หลิว / Yu Cheng Liu

หยู่ เฉา หลิว / Yu Chiao Liu

CHENCHENGYU คือกลุม ่ ศิลปินครอบครัว ริเริ่มพัฒนา และสร้างสรรค์โครงการด้านทัศนศิลป์ในปี 2011 สมาชิก ของกลุ่มประกอบด้วยศิลปินคู่สามีภรรยา ฉุน เจิน หวง, หยู่ เฉิง หลิว และ หยู่ เฉา หลิว บุตรสาวของพวกเขาซึ่ง เป็ น แรงบั น ดาลใจและพลั ง สร้ า งสรรค์ ที่ ริ เ ริ่ ม จากภายใน ตนเอง พวกเขามี ผ ลงานเข้ า ร่ ว มแสดงในนิ ท รรศการ กลุ่มหลายครัง้ อาทิ 19991221 > 20130421 | PART ONE” จัดแสดงที่ OCAC กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน ในปี 2012 เทศกาลศิลปะ ติดศิลป์บนราชบุรี ครั้งที่ 2 “We are the City” ราชบุรี ประเทศไทย นิทรรศการ ระยะไทยไท จัดแสดงที่ URS21 Chung Shan Creative Hub กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน นิทรรศการ ThaiTai Fever -STAGE 3 “how to fix a leaky roof in rainy days” จัดแสดงที่ About Photography กรุงเทพฯ ประเทศไทย ในปี 2013 และ นิทรรศการ ThaiTai Fever – “After and Before a Meeting” จัดแสดงที่ OCAC กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน ในปี 2014 CHENCHENGYU ใ ห ้ ค ว า ม ส น ใ จ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ ไ ร้ ซึ่ ง ค ว า ม ท ะ เ ย อ ท ะ ย า น โ ด ย ก า ร ปล่ อ ยให้ เ ป็น ไปเองพวกเขาอ้างคำ�กล่าวของ Hiroshi Sugimoto (b.1948-) ที่ว่า “ผลงานศิ ล ปะที ่ ป รากฏ อยู่นี้เป็นงานสร้างสรรค์ที่ปราศจากแรงทะเยอทะยานใดๆ ทั้งสิ้น” การย้ อ นกลั บ พลั ง ธรรมชาติ เ ชิ ง บวกด้ ว ยตั ว มั น เองกลายเป็ น สิ่ ง ที่ สำ � คั ญ อย่ า งยิ่ ง ในผลงานของกลุ่ ม CHENCHENGYU มีความเป็นไปได้มากมายที่เราสามารถ สร้างสรรค์ทัศนศิลป์โดยละทิ้งแรงทะเยอทะยาน โดยรั บ ฟั ง คำ � ของเด็ ก น้ อ ยผ่ า นบทสนทนาบนพื้ น ฐานของความ จริงแท้ และสร้างความเข้าใจร่วมกันในพลังสร้างสรรค์เพิ่ม มากขึ้น กลุ่ม CHENCHENGYU ได้รับเชิญเข้าร่วมใน นิทรรศการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง ใน ฐานะกลุ ่ ม ศิ ล ปิ น รั บ เชิ ญ ด้ ว ยเหตุ ท ี ่ พ วกเขาเคยพำ � นั ก ปฏิ บั ติ ง านในโครงการความร่ ว มมื อ และการแลกเปลี่ ย น ThaiTai Fever ที่ About Photography แห่งนี้ ในปี 2012 กลุ่ม CHENCHENGYU จึงเป็นเสมือนภาพแทน บุ ค คลทางประวั ติ ศ าสตร์ ข องพื้ น ที่ เ มื่ อ ครั้ ง ที่ ค ณะศิ ล ปิ น จาก OCAC ประเทศไต้หวัน โยกย้ายถิ่น ฐานมาพำ�นัก ที่ นี ่ เป็นเวลา 6 เดือน และมีโอกาสร่วมในการขับเคลื่อนศิลปะ ร่ ว มสมั ยในกรุงเทพฯ ด้วยกิจกรรมต่างๆ หลายโครงการ ย่อย พวกเขาพยายามสร้างกลไกหลากสื่อเพื่อให้เกิดการมี ส่วนร่วมของผู้ชม กระบวนการเหล่านี้คือกุญแจสำ�คัญใน การสร้างประสบการณ์ร่วมของบุคคลกับเทศะและสถานที่ รายละเอี ย ดมากมายภายในพื ้ น ที ่ ว ่ า งได้ ถ ู ก หลอมรวม เป็นปรากฏการณ์ โดยมิได้มุ่งความสนใจไปที่ภูมิหลังของ มัน อากัปกริยาการเคลื่อนไหวของมนุษย์เสียเอง ที่เป็นตัว สร้างประสบการณ์และปลดปล่อยสำ�นึกของบุคคลให้เป็น อิสระในการเชื่อมโยงตนเองเข้ากับเทศะและสถานที่


11 CHENCHENGYU is a group of family and artists who has been creating and developing vis ual art proj e ct s in ce 2 0 1 1 . T h e members of the group consist of a couple Chun Chen Huang and Yu Cheng Liu, and also their daughter Yu Chiao Liu which is their inspiration and motivation originated within themselves. Chun Chen Huang received a Master ’s degre e f rom t h e C o llege o f Liberal Arts, National Taiwan University in 2005 and currently takes a position of assistant professor at the college. Yu Cheng Liu also received a Master’s degree from the College of Liberal Arts, National Taiwan University in 2006. Yu Chiao Liu is currently studying in grade 4 at Taipei Municipal Ren-Ai Elementary. Various works by the group were exhibited including “19991221 > 20130421 | PART ONE” at OCAC, Taipei, Taiwan in 2012, “Tid Silp Bon Ratchaburi 2: We are the City” in Ratchaburi, Thailand, “ThaiTai: A Measure of Understanding” at URS21 Chung Shan Creative Hub, Taipei, Taiwan, “ThaiTai Fever - STAGE 3: How to Fix a Leaky Roof in Rainy Days” at About Photography, Bangkok, Thailand in 2013 and “ThaiTai Fever – After and Before a Meeting” at OCAC, Taipei, Taiwan in 2014. Six years ago, CHENCHENGYU resided at About Photography as artists in residency for several months on their daughter’s school holidays. They held no ego and were down-to-earth, sharing an appearance of a happy family accompanying each other. Their works of art go beyond obligation and boundaries of visual ar t, and are interdisciplinary. The work “A Period of Time” created in 2013 (journal, installation) let the audiences see their methodology and the way they present their works fascinatingly by creating an ambiguous viewpoint and erasing the boundary of consciousness of memory through objects and activities. CHENCHENGYU is interested in creative processes that are without ambition, letting everything goes naturally with an emphasis on relationships between space, objects, and audiences’ points of view. They refer to the saying of Hiroshi Sugimoto (b.1948-),

“the art visible is creation without any ambition.” Letting natural force come back to oneself becomes an important thing in their works. There are possibilities that we can create visual art without ambition by listening to a little child’s saying through conversations based on reality and establishing more u n d e r s t a n d i n g o f c re a t i ve p owe r. CHENCHENGYU p a r t i c i p a te s in “ThaiTai Re-conversation: Based on True Story” as invited artists since they once resided and worked for “ThaiTai Fever” cooperation and exchange project at About Photography in 2012. Therefore, the group is metaphorically an image of historical people of the place when the artists from OCAC in Taiwan resided here for 6 months and had a chance to participate developing the contemporary art in Bangkok with their activities in various sub-projects. The group have tried to create multimedia mechanism so that the audiences could interact with art works. Their movements are key factors to create co-experiences between people, space, and places. A great deal of details in an empty space itself fused into a phenomenon without focusing on the place’s backgrounds. The movement of humans is what creates experiences and releases individual consciousness giving it freedom to connect oneself with space and places. CHENCHENGYU Artists Collective -Reading Bangkok, 2018, box, stamp, print photo -A Keyword Space, 2018, cutting sheet -Chewing Gum Sculpture, 2018, gums -Let’s Playing the Guitar!, 2018, guitar -Hello, My Friends, 2018, print photo -Speechless Poem, 2018, box, scissors, plastic bags, books, tables, chairs, site specific performance, dimensions variable


12

๔ จุฑามาส บูรณะเจตน์ และ ปิติ อัมระรงค์ 2-Seat Orange Sofa, 2018 บท, ขนาด กระดาษ A4

จุฑามาส บูรณะเจตน์ เกิดปี 1980 ที่จังหวัดนครปฐม และ ปิติ อัมระรงค์ เกิดปี 1980 กรุงเทพฯ ทั้งสอง พำ� นักและทำ� งานที่นครปฐม-กรุงเทพฯ ประเทศไทย เขา ทั้งสองเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง o-d-a (object design alliance) และศิลปินคู่ซึ่งทำ�งานออกแบบโดยอาศัยข้อมูล พื้นฐานจากงานวิจัยเพื่อหาความเป็นไปได้ในการออกแบบ วัตถุตามประโยชน์ ใ ช้ ส อย ทั้งสองจบการศึกษาระดับ ปริญญาตรีจากคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานส่วนใหญ่ของพวกเขามักเกี่ยวข้องกับการทำ�งาน ข้ามศาสตร์เชิงการออกแบบ และพาตนเองเข้าไปทำ�งาน ร่วมกับชุมชนในหลายมิติ เช่น โครงการที่ต้องอาศัย ความร่ ว มมื อ จากชุ ม ชนและผู้ ชำ � นาญงานช่ า งพื้ น ถิ่ น จุ ฑ ามาสและปิ ต ิ เป็นผู้ออกแบบเครื่องเรือนสำ�หรับ เด็กให้แก่ Katoji ผลิตภัณฑ์สัญชาติญี่ปุ่น และเป็ น ผู ้ ร่ ว มก่ อ ตั ้ ง ‘hat’ สตู ด ิ โ องานออกแบบ พวกเขาให้ ความสนใจในรายละเอียดของงานออกแบบเชิงหัตถศิลป์ และให้ ค วามเคารพในวิ ถ ี ง านช่ า งไม้ ส ่ ง ผลให้ ทุ ก ราย ละเอียดแสดงออกมาอย่างปราณีตบรรจง ผลงาน Divinity Trace #5 ปี 2012 ทั้งสองร่วมงานกับ เหว่ย ลี่ เย่ เพื่อคืนสำ�นึกความทรงจำ�ของเก้าอี้ตัวหนึ่งที่ แอบนำ�ออกมาจากอาคารร้างแห่งหนึ่งในกรุงไทเปพลังงาน ของเก้าอี้บุนวมตัวนั้นสูญหายไปกับกาลเวลา พวกเขาได้ ร่วมกันนำ�จิตวิญญาณของเก้าอี้ที่ถูกทิ้งรวมเข้ากับชิ้นไม้ จริงที่รื้อมาจากบ้านเก่าในไทย ผลงานชิ ้ น นี้จ ัดแสดงในนิท รรศการ ระยะไทยไทจั ด ขึ ้ นที ่ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพฯ เมื่อครั้งที่คณะศิลปิน ไต้ หวั น พำ �นัก และปฏิบ ัติงานที ่ About Photography ในปี 2012 และทั้งสองเป็น ส่ ว นหนึ ่ ง ในโครงการย่ อ ย ThaiTai Ferver: Stage 3 นิ ท รรศการที ่ แสดงความ ว่างเปล่าของพื้นที่สีขาว ด้วยการเข้าไปซ่อมแซมเปลี่ยนพื้น ไม้ที่ถูกปลวกกินบริเวณชั้น 2 ที่ About Photography ในปี 2013 ความแนบเนียนของชิ้นไม้ที่นำ�มาเปลี่ยนดู แทบไม่ อ อกด้ ว ยสายตา นอกเสียจากการสังเกตเห็นจาก ด้านใต้บริเวณชั้น 1 ความน้อยแต่มากนั้นเป็นส่วนหนึ่งใน แนวทางที่พวกเขาร่วมกับมุ่งมั่นพัฒนาตลอดที่ผ่านมา

ในนิทรรศการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง จุฑามาสและปิติ เข้ า ร่ ว มโครงการในฐานะศิ ล ปิ น รั บ เชิ ญ ด้วยเหตุที่พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งในโครงการความร่วมมือ และการแลกเปลี่ยน ดังที่กล่าวมาแล้วในปี 2012-2013 พวกเขาเป็นเสมือนภาพแทนบุคคลทางประวัติศาสตร์ของ พื้นที่ ความชำ�นาญเฉพาะทางด้านงานออกแบบสร้างสรรค์ เครื่องเรือนทำ�การศึกษาวิเคราะห์ชุดเก้าอี้ตัวหนึ่งที่ยังคง ตั้งอยู่ที่ About Photography ตั้งแต่เริ่มแรกจวบจน ปัจจุบัน แม้ความชำ�รุดทรุดโทรมจะเป็นอุปสรรคต่อการใช้ งาน แต่มันก็เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์พื้นที่ด้วยเช่น กัน การทำ�ความเข้าใจต่อร่องรอยระหว่างเก่าและใหม่ อดีต และปัจจุบัน จินตนาการและสำ�นึกความทรงจำ� ทำ�ให้บุคคล มีประสบการณ์ต่อสิ่งรอบตัวที่ละเอียดอ่อนยิ่งขึ้น การยืด อายุข้าวของเครื่องใช้เอาไว้ จึงมิใช่เพียงการระลึกย้อน อดีตหรือความหวงแหนย้อนยุค แต่เป็นความปราณีอย่าง ที่สุดที่จะใช้ชีวิตร่วมไปกับสิ่งต่างๆ ที่แวดล้อมได้อย่างมี คุณค่า การตระหนักถึงสภาวะความมีตัวตนและความรับ ผิดชอบของมนุษย์คือภาพสะท้อนของพื้นที่ทางจิตวิทยาที่ มนุษย์มีต่อเทศะและสถานที่ซี่งดำ�รงอยู่ภายในสำ�นึกของเรา ทุกคน


13

Jutamas Buranajade and Piti Amraranga 2-Seat Orange Sofa, 2018, text, A4

Jutamas Buranajade was born in 1980 in Nakhon Pathom province. Piti Amraranga was born in 1980 in Bangkok. The two live and work between Nakhon Pathom and Bangkok, Thailand, and they co-found o-d-a (object design alliance). As an artist duo, they work in art/design field and use the fundamental data from research result to explore the possibility to design objects by their utilities. The two artists earned a Bachelor’s degree from the Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University. Most of their works are related to interdisciplinary design arts, and they often bring themselves into and work with local communities in various aspects, such as the project that requires collaboration from local communities and local artisans. Jutamas and Piti designed children’s furniture for Japanese brand “Katoji” and co-established ‘hat’ design studio.The artist duo has keen interest in the detail of craftsmanship design and deeply respects the works of woodcraftsman, and that is how their works are presented in such detail and elaborateness. They collaborated with another artist Wei Li Ye to create “Divinity Trace #5” (2012), the work that brings back the memory of an old chair that they secretly took out of an abandoned building in Taipei. The energy of that upholstered chair has lost within the tide of time, so they brought together the spirit of abandoned chair and the real wood pieces gathered from old houses in Thailand. This artwork was showcase in “T haiTa i : A Mea su re o f U n d e rs ta n d in g ” exhibition in Bangkok Art and Culture Center (BACC), back when ag r o u p o f Ta i wa n e s e a r t i s t s h a s l i v e d and worked at About Photography in 2012.

Jutamas and Piti were also a part of subproject “ThaiTai Fever - Stage 3”, the exhibition presenting the emptiness of a blank space. They fixed the wood floor damaged by termites on the second floor of the About Photography in 2013. The replacement wood pieces were so neatly placed that you almost could not see it with bare eyes, unless you detect it underneath from the first floor. Less but more is one of the concepts that they have been tirelessly developing throughout these years. Jutamas and Piti join “ThaiTai Re-conversation: Based on True Story” exhibition as guest artists, for the reason that they were a part of collaboration and exchange project back in 2012-2013. It could be said that the two artists are the representation of local historical figures. Their expertise in furniture creative design has led to the research and analysis of one chair that is placed at About Photography from the very beginning until present day. Even when deterioration has posed obstacles to its utility, it has become a part of local history. The process of understanding the connecting boundaries between old and new, past and present, imagination and memory consciousness has made a person more aware of the surrounding experience. The effort to prolong the life of objects, therefore, is not merely for the recollection of past nor the unyielding longing for old times, but also is the utmost delicacy and dedication to meaningfully co-exist with surrounding objects. Awareness of one’sexistenceand human responsibility is the reflection of psychological space that human has for place and location that exist withi our own consciousness.


14

๕ รวิรุจ สุรดินทร์

-sketch_180903a, 2018, ทีวีจอแบน, ระยะเวลาต่อเนื่องแบบสุ่ม -sketch_180725b, 2018, สัญญาณภาพดิจิทัล, ระยะเวลาต่อเนื่องแบบสุ่ม -monologue 00, 2018, พิมพ์อิงค์เจ็ท,A5

รวิรุจ สุรดินทร์ เกิดปี 1989 เขาเกิดและพำ�นักที่กรุงเทพฯ จบการศึ ก ษาระดับ ปริญญาโท สาขาจิตรกรรม จาก Royal Academy of Fine Arts (KASK) เมืองเกนต์ ประเทศเบลเยี ย ม ในปี 2017 เขาได้ ร ั บ เชิ ญ เข้า ร่ ว มแสดงนิ ท รรศการหลายโครงการ อาทิ Autopilot หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพฯ ประเทศไทย ใน ปี 2015 นิทรรศการ The Saint, The Fox and Their Dictionary เมื อ งซานตา ทาเรซ่ า กรุ ง ริ โ อเดอจาเนโร ประเทศบราซิ ล และ นิ ท รรศการ ALIEN เมื อ งเกนต์ ประเทศเบลเยียม ในปี 2016 นิทรรศการ Consultation Only ที่ Middelheim Museum Library เมือง แอนต์เวิร์ปประเทศเบลเยียม ในปี 2017 นอกจากนั้น เขายั ง มี บ ทความในฐานะนั ก เขี ย นและช่ า งภาพอิ ส ระใน นิตยสาร Fine Art Magazine และ art4d Magazine ประเทศไทย ด้วยภูมห ิ ลังการศึกษาด้านการออกแบบ อุ ตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ประยุกต์ให้ รวิรุจ พั ฒ นาแนวคิ ด วิ ธ ี วิ ท ยาและแนวทางการนำ � เสนอผลงานทางทั ศ นศิ ล ป์ ได้อย่างน่าสนใจ ด้วยกระบวนการและระบบคิดวิเคราะห์ เชิ ง มโนทั ศ น์ (conceptual) เขาพัฒนาผลงานชุด The Entropy of Painting ในปี 2017 โดยไม่เชื่อมโยง กับประสบการณ์ที่มนุษย์มีต่อสิ่งใดๆ (non re-presentation) ด้ ว ยรู ป แบบศิ ล ปะแนว Abstract Expression และก้ า วไปพ้ น ความแบนราบของขอบเขตและเวลา

ความสนใจต่อประเด็นคำ�ถามเรื่องพื้นที่และขบวนการที่มัน ถู ก รื ้ อ สร้ า งด้ ว ยสมองกล ได้ ป ลดปล่ อ ยจิ ต รกรรม ของเขาให้กลายเป็นกระบวนการทำ�งานของสีและพื้นที่ โดย การขยายขีดจำ�กัดและมิติของพื้นที่ทางกายภาพไปสู่พื้นที่ ของระบบอิเล็กทรอนิกส์ แทนสัญญาณไฟฟ้าด้วยตัวเลข 0 และ 1 ซึ่งเป็นตัวเลขในระบบเลขฐานสองแต่ละหลัก ที่เรียกว่าบิต (binary digit : bit) และเมื่อนำ�ตัวเลข หลายๆ บิตมาเรียงกัน มันสามารถใช้สร้างภาษา ความหมาย รหัสแทน หรือสัญลักษณ์ได้ โดยทั่วไปมนุษย์เรามีวิสัยทัศน์ เกี่ยวกับพื้นที่หรือเทศะ ผ่านการปรากฏแสดงของอาณา บริเวณที่ไม่ต่อเนื่องกัน แต่ ก ลายรู ป แปรร่ า งตามมุ ม มองขณะที ่ เ รารั บ รู ้ ถ ึ ง ขอบเขตของมั น ในอีกด้านหนึ่ง ความคิดของมนุษย์เราสามารถรับรู้มโนทัศน์ของพื้นที่และ อาณาบริเวณเหล่านั้นภายใต้ขอบเขตทางภาษา อิ ส รภาพ และขอบเขตพื ้ น ที ่ ข องปั จ เจกคื อ อะไร นี ้ เ ป็ น คำ � ถามที ่ รวิรุจ พยายามค้ น หาคำ � ตอบ เขาพบว่าขณะที่เราคิดเกี่ยว กั บ พื้ น ที่ มั น จะปรากฏอาณาบริ เ วณของตั ว มั น ไปพร้ อ ม กัน เช่ น เดี ย วกั บ การต่ อ รองระหว่ า งคู ่ ต รงข้ า มของ พื ้ น และภาพ ประธานและกรรม ทำ � อย่ า งไรเราจึ ง มี จิ น ตนาการเกี่ ย วกั บ เทศะในแบบที่ ข้ า มพ้ น ไปจากกรอบ ภายใต้เงื่อนไขทฤษฎีของ Gestalt สำ�หรับผลงานของ รวิรุจ ในนิทรรศการ ไทยไท บทสนทนา ย้อน: สร้างจากเรื่องจริง ครั้งนี้ยังคงสืบค้นและแสวงหา หนทางที ่ จ ิตใจของมนุษ ย์จะสามารถรับ รู้สิ่ง ต่างๆ ผ่าน ประสบการณ์และความทรงจำ�โดยปราศจากวัตถุได้อย่างไร ด้ ว ยเหตุ นี้ ค วามทรงจำ � จึ ง กลายเป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ สำ � คั ญ ทั้งจากประสบการณ์ส่วนบุคคลและประสบการณ์ร่วมกั บ บุ ค คลอื ่ น ในระหว่ า งลงพื ้ น ที ่ ศ ึ ก ษาวิ จ ั ย พำ � นั ก และ ปฏิบัติงานที่กรุงไทเป รวิรุจ ได้พบหนังสือ The Curious Incident of Dog In The Night-Time ที่ร้านหนังสือ Mollie Used Book Shida Store ความเข้มข้นของ ตัวบทในหน้า 118 ถูกนำ�มาประยุกต์ใช้กับแนวคิดซึ่งให้ ความสำ�คัญกับการรับรู้และทัศนคติของมนุษย์ได้อย่างน่า สนใจ ด้วยวิธีอ้างอิงแหล่งที่มา การสร้างความเข้าใจต่อ กระบวนการซึ่ง นำ�ฐานข้อ มูลมาแปลงเป็น บิต หมายถึง 1 คือ 1 และ 0 คือ 0 ไม่มีสิ่งอื่น ภาพปรากฏที่เกิดจาก ข้อมูลย่อยๆ มากมาย แสดงออกซึ่งความเป็นปัจเจก การ มีส่วนร่วมเชิงประวัติศาสตร์และการมีประสบการณ์ร่วมกับ บุคคลอื่นในเทศะเดียวกัน ผ่านสำ�นึกเกี่ยวกับเวลาและตัว ฉันที่คิดโดยมิอาจแยกแบ่งตรงกันข้ามอีกต่อไป


Rawiruj Suradin

-sketch_180903a, 2018, LCD monitor, random infinite running

-sketch_180725b, 2018, digital projection, random infinite running -monologue 00, 2018, inkjet print, A5 Raw i r u j S u ra d i n wa s b o r n i n 1 9 8 9 a n d currently lives in Bangkok, Thailand. He received a master degree in painting from Royal Academy of Fine Arts (KASK), Ghent, Belgium in 2017. Rawiruj’s works of art were exhibited in various exhibitions including “Autopilot” at Bangkok Art and Culture Centre in Bangkok, Thailand in 2015, “The Saint, The Fox and Their Dictionary” in Santa Teresa, Rio de Janeiro, Brazil in 2016, “ALIEN” in Ghent, Belgium in 2016, and “Consultation Only” at Middelheim Museum Library in Antwerp, Belgium in 2017. Furthermore, he also writes articles as a freelance author and photographer for Fine Art Magazine and Art4D Magazine in Bangkok, Thailand. With an educational background in Industrial Design, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, Rawiruj interestingly adapts his knowledge to apply on methodological concepts and the ways he present visual art with conceptual processes and an anaytical system. In 2017, Rawiruj developed a series of works entitled The Entropy of Painting which relied on a non-representational method, offering abstract expressionist art which went beyond flatness of space and time.

15 His interest towards questionable issues regarding space and how the paintings were deconstructed by computer allowed them to become processes of color and space by extending the limits and dimensions of physical space into electronic space, replacing electronic signals with numbers 0 and 1 which are numbers in the binary digit system called bits. When arranging these numbers in row, it can create languages, meanings, codes or symbols. Generally, we hold visions towards space through appearances of inconsistent areas. These areas vary in accordance with what we see while perceiving their boundaries. On the other hand, we can perceive concepts of space and those inconsistent areas subject to linguistic boundaries. What are the freedom and the space of individuality? This is the question that Rawiruj tries to find the answer to. He has found that while we think about space, it simultaneously shows its areas, like negotiation between binary oppositions of backgrounds and contexts, subjects and objects. What can we do to have imagination towards space in the manner of going beyond limits subject to Gestault theory? The works of art by Rawiruj in “ThaiTai Re-conversation: Based on True Story” art exhibition still search for the way human minds can perceive things through experiences and memories without objects. For this reason, memories, both from personal and shared experiences, become essential materials. While working and doing research in Teipei, Rawiruj found the book entitled The Curious Incident of the Dog in the Night-Time at Mollie Used Book Shida Store. The intense context from page 118 was adapted and applied on his concept that fascinatingly put an emphasis on human perception and attitudes by referencing original resources. With understanding towards processes that transform databases into bits; 1 is 1, 0 is 0, the appearances made from sub-data show individuality, participation in history, experiences shared with other people in similar space, through consciousness towards time and me myself who thinks in the manner of not dividing oppositions anymore.


16

๖ สะรุจ ศุภสุทธิเวช

เมื่อไต้ฝุ่นขนาดใหญ่มาถึง ควรอยู่กับครอบครัว วีดีโอความละเอียดสูงและเสียง 4:3 2 ช่อง ดอกลิลลี่ (เรซิ่นผงหินอ่อน) และหินแกรนิต

สะรุจ ศุภสุทธิเวช เกิดปี 1991 เกิดและพำ�นักที่กรุงเทพฯ จบ การศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาสื่อผสม คณะจิตร-กร รมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในปี 2015 เขาได้รับเลือกเป็น หนึ่งในศิลปินโครงการ EARLY YEARS PROJECT #2 ปี 2017 จัดโดยหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพฯ และร่วม แสดงผลงานงานกลุ่มอีกหลายครั้ง อาทิ นิทรรศการ ไท นัย asean พิพิธภัณท์ธนาคารแห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ ในปี 2015 และ นิทรรศการโครงการ Pop-up Museum (Model Study for Nongpho Community) ราชบุ ร ี ประเทศไทย ในช่ ว งระหว่ า งปี 2016 สะรุจ ได้ เข้ า ร่ วมโครงการศึก ษาวิจ ัยเชิ ง ทั ศนศิ ล ป์ 365 days : LIFE MUSE (แบบจำ � ลองการศึ ก ษาแรงงานข้ า มช า ต ิ เมี ย นมา ช ุ ม ชนหนองโพ) ในฐานะผู ้ ช ่ ว ยผู ้ จ ั ด การ โครงการและผู ้ ป ระสานงานศิ ล ปิ น ต่ า งชาติ ในปี 2018 เ ข า มี โ อ ก า ส ร่ ว ม พั ฒ น า แ ล ะ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ ล ง า น Bio-dictionary กับ ดร. หง จัง หลิน ในฐานะผู้ช่วย ศิลปิน ในโครงการ “ภาพสะท้ อ นภู ม ิ ล ั ก ษณ์ เ มื อ งสะท้ อ น เมื อ ง” ซึ ่ ง กรุ ง เทพฯ ถื อ เป็ น หนึ ่ ง ในเมื อ งหลวงจากห้ า ประเทศในเอเชี ย ที ่ ร ่ ว มอยู ่ ใ นโครงการฯ จั ด แสดง นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย บางกอกหลอกชั้น (Bangkok Layers) ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพฯ ในผลงาน วิดีโอจัดวาง SECURITY GUARD ปี 2017 สะรุ จ พั ฒนาแนวคิดวิธีวิท ยาและแนวทางการนำ � เสนอ ผ่ า นกระบวนสื บ ค้ น และวิ เ คราะห์ ส นามข้ อ มู ล พร้ อ ม กั บ งานคู่ ข นานแนวทางศิ ล ปะและการมี ส่ ว นร่ ว มกั บ ผู้ ค น (participatory art) ภาพของเทศะสองนั ย ถู กวางสลั บ ทั บ ซ้ อ นกั น และปล่ อ ยให้ ม วลของพื ้ น ที ่ ว ่ า งเคลื ่ อ นตั ว ห้ อ มล้ อ มสิ ่ ง ต่ า งๆ อาทิ วั ต ถุ อาคาร สถานที ่ ฯลฯ

การเคลื่อนตัวอย่างอิสระและเนิบช้าได้กลืนกินกายภาพของ สิ่งต่างๆ อย่างมีนัยเมื่อเชื่อมโยงกลับไปที่ฐานข้อมูลภาค สนาม สะรุ จ อาศั ย มิ ต ิ ท างภู ม ิ ร ั ฐ ศาสตร์ จ ำ � ลองภาพ เทศะและสถานที่ (space and place) เพื่ออธิบายความ สัมพันธ์อันคลุมเครือและสลับซับซ้อนระหว่างมนุษย์และสิ่ง ต่างๆ ที่แวดล้อม เส้นแบ่งที่ไม่ชัดเจนของพื้นที่ทางกายภาพ และสำ�นึกของพื้นที่จากความทรงจำ� เรื่องเล่า บรรยากาศ และเสียงที่ถูกบันทึก เป็นฐานข้อมูลที่เขาใช้แปรค่าในทฤษฎี โลกเสมือน ผลงานวิดีโอจัดวางและประติมากรรม When Typhoon Arrives, stay with Family, 2018 ซึ่งพัฒนาขึ้นใน นิทรรศการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง แสดงออกถึ ง ความสนใจของสะรุ จ ในประเด็ น ของการ อพยพโยกย้าย การตั้งถิ่นฐานแบบชั่วคราว และตั้งคำ�ถาม กับชุมชนจินตกรรมขนาดย่อม ที่อาจมีความสัมพันธ์ต่อ กันหรือไม่ก็ตามผ่านการรับรู้เกี่ยวกับอดีตที่ผูกพันอยู่กับ พื้นที่ที่หนึ่ง วัตถุหรือความเชื่ออย่างใดอย่างหนึ่งที่มี ร่วมกัน เป็นตัวชี้วัดความเชื่อมโยงในทางประเพณี ความ เชื่อและพิ ธ ี ก รรม ของชาวจีนอพยพและตั้งรกรากใหม่ใน ถิ่นฐานอื่นๆ ทั ้ ง ในประเทศไทยและไต้ ห วั น บทสัมภาษณ์ ที่บันทึกไว้ระหว่างการลงพื้นที่ พำ�นักและปฏิบัติงานในกรุง ไทเปได้บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการสร้างแท่งหินประดับ หลุมศพที่ถูกลักษณะ ซึ่งสัมพันธ์กับตัวอักษร ตำ�แหน่ง สีที่ใช้ และเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ สุ ส านผ่ า นความทรงจำ � ของบุ ค คล ที่สัมพันธ์กับพื้นที่มายาวนานกว่า 60 ปี สะรุจ พยายาม เชื่อมโยงแท่งหินสลักซึ่งในบริบททางโบราณคดี ถือเป็นรูป แบบของศิลปะที่เก่าแก่ที่สุดของศิลปะเกี่ยวกับ ความตาย ที่เชื่อมโยงกับคนที่ยังมีชีวิตเข้ากับความหมายที่ลึกซึ้งเกี่ยว กั บรากเหง้าและที่ม าของบุค คล หลุมศพหรือสุสานในมิติ ของเทศะและสถานที่ได้กลายเป็นสิ่งที่ยึดโยงความไม่ปะติด ปะต่อของอดีต ปัจจุบันและอนาคตของสายโซ่ที่มองไม่เห็น ผู้เคร่งครัดในพิธีกรรมชิงหมิงจะเดินทางกลับไปภูมิลำ�เนา นั้นๆ เพื่อพบปะญาติมิตรสหายและร่วมกันทำ�ความสะอาด สุสานของผู้สืบสายร่วม (common descent) แม้มันจะ เกิดขึ้นภายใต้มโนทัศน์ของชุมชนจินตกรรมก็ตาม


Saroot Supasuthivech When Typhoon Arrives, stay with family. HD digital and audio 4:3 2 channel and lily flower resin marble powder, granite

Saroot Supasuthivech was born in 1991 and currently lives in Bangkok, Thailand. He received a bachelor’s degree in Visual Arts (Mixed Media), Faculty of Painting Sculptu re a n d Gra ph ic Ar t , S ilp a ko r n University, Bangkok, Thailand in 2015. Saroot was chosen as an artist in “EARLY YEARS PROJECT #2” in 2017 organized by Bangkok Art and Culture Centre. His works were exhibited in several group exhibitions including “Tai Nai Asean” at Thai Bank Museum, Bangkok, Thailand in 2015, “Popup Museum (Model Study for Nongpho Community) in Ratchaburi, Thailand in 2016. In 2018, he participated in a visual art research project entitled “365 days: LIFE MUSE (Model Study of Nongpho Community Labourers)” as an assistant director and foreign artist coordinator. In 2017, Saroot also participated in developing and creating a work of art entitled “Bio-Dictionary” coordinating with Dr. Lin Hong John as an assistant artist for the project “Topography of Mirror Cities” in which Bangkok, considered as one of the 5 cities in Asia, also has taken part in the project and organized a contemporary art exhibition entitled “Bangkok Layers” at Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, Thailand contributing a video installation work entitled “SECURITY GUARD.” Saroot has developed his methodological concept and the way he represents his works through researches and analyses of data fields, along with parallels of art concepts and participatory art. Images of bi-meaning space are overlapped, letting masses of empty spaces surround things such as objects, buildings, places, etc.

17 Free and inert movements have devoured physicality of things connotationally when connected back to field databases. He relies on geopolitical dimensions, utilizing them to create images of space and places, to describe ambiguous and complex relationships between humans and environments. Blurred borderlines of physical spaces and consciousness of spaces from memories, stories, atmospheres, and recorded sounds are databases that Saroot uses to interpret in the virtual world theory. Saroot’s video installation and sculpture “When Typhoon Arrives, Stay with Family” ( 2 0 1 8 ) whic h has b een d evel o p ed in “ThaiTai Re-conversation: Based on True Story” exhibition expresses his interest in issues regarding emigration and habitation, His work raises questions towards small imagined communities, whether they share relationships between each other or not, through perception of the past which clings to an area, an object, or belief s h a re d t o ge t h e r. T h e s e c o m m u n i t i e s indicate way-of-life intertextuality of traditions, belief, and rituals that Chinese emigrants in Thailand and Taiwan hold. Recorded inteviews conducted during the residence and the operation in Taipei have told stories about the proper construction of tombstones which relate to letters, positions, and colors, and stories about cemeteries through memories that people connecting with the area for more than 60 years old. Saroot tries to link engraved tombstones, which in the manner of archaeological context is considered a form of the most ancient art that belongs to art about death which still connects to those who are still alive, with profound meanings about people’s roots and background. Tombs and cemeteries in the dimension of space and places have become things that interwine the inconsistency of the past, the present, and the future of the invisible chain. Those who are strict about Qingming rituals would travel back to their hometown to meet their family, relatives and friends and together clean the tombs of their common descent, although the rituals occur under concepts of imagined communities.


18

๗ ศุภกานต์ วงษ์แก้ว

คลับคล้ายคลับคลา, 2018, ร่วมมือกับ: ปวรพล รุ่งรจนา หนังสือ, พิมพ์ภาพถ่าย ขนาดผันแปรตามพื้นที่

ศุภกานต์ วงษ์แก้ว เกิดที่ราชบุรี ปี 1988 ปั จ จุ บ ั น พำ � นั ก อยู ่ ท ี ่ น นทบุ ร ี เธอจบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาออกแบบนิ เ ทศศิ ล ป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิท ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ ร ี หลั ง จบการศึ ก ษาเธอเริ ่ ม งานออกแบบกราฟิก ที ่ ห อศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพฯ ประเทศไทย จ า ก นั ้ น เ ธ อ เ ริ ่ ม ทำ � ง า น อิ ส ร ะ โ ด ย อ อ ก แ บ บ สิ่ ง พิ ม พ์ ใ ห้ กั บ นิ ท รรศการศิ ล ปะร่ ว มสมั ย หลายโครงการ ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น เ ธ อ ไ ด้ พั ฒ น า แ น ว ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร จัดการ และการขับ เคลื่อนงานด้ า นศิ ล ปวั ฒนธรรมและมี โ อ ก า ส ไ ด้ ทำ � ง า น ใ น ฐ า น ะ ผู้ ช่ ว ย ผู้ จั ด ก า ร โ ค ร ง ก า ร ปกติศิลป์ ครั้งที่ 1 ราชบุรีในปี 2012 ต่อมาในปี 2013 ศุภกานต์ รับหน้าที่ภัณฑารักษ์ร่วมใน นิทรรศการ Poperomia / Golden Teardrop เทศกาล ศิลปะนานาชาติ 55th Biennale di Venezia ประเทศ อิตาลี ปี 2014 รับเชิญเป็นภัณฑารักษ์ร่วมในนิทรรศการ Translocal ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาล Chiang Mai Design Week เชียงใหม่ ประเทศไทย ในปี 2015 เธอ เข้ า ร่ ว มเป็ น ผู ้ ช ่ ว ยโครงการวิ จ ั ย Research and Archiving Project titled The Exhibition History in Thailand from the 1970s to the Present สนับสนุนโดย Asian Culture Center (ACC) จัดแสดง โครงการ ณ เมือง Gwangju สาธารณรัฐเกาหลี และในปี 2016 เธอรับหน้าที่ภัณฑารักษ์โครงการ ปกติศิลป์ ครั้งที่ 2 ราชบุรี ประเทศไทย นอกจากนั้นเธอได้ร่วมก่อตั้ง Rai.D Collective กลุ่ม ขับ เคลื่อนทางศิ ล ปวั ฒนธรรมขึ ้ นใน ปี 2017

ศุภกานต์ ให้ความสนใจในมิติความหลากหลายของศิลปะ ร่วมสมัยและการทำ�งานข้ามศาสตร์ เธอใช้ความสามารถใน เชิงภัณฑารักษ์และงานศิลปะการออกแบบพัฒนาแนวคิด วิ ธี วิ ท ยาและแนวทางการนำ � เสนอผลงานของตนเอง ในนิทรรศการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง ศุภกานต์มุ่งศึกษาเทศะในฐานะชั้นตะกอนที่ทับซ้อนกันหลาก กรรมหลากวาระ จากสภาวะที่ดูเหมือนจะคล้ายแต่ต่าง และ กระตุ้ น ให้ เ กิ ด การผลิ ต ซ้ำ � จิ น ตภาพคู่ ข นานของเทศะและ สถานที่ (space and place) การสืบค้นเชิงชั้นที่สลับ ซับซ้อนของเทศะผ่านเรื่องเล่าของผู้คนที่อยู่อาศัยโดยรอบ การเก็ บ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล จากกลุ ่ ม คนชุ ม ชนจิ น ตกรรม (imagined communities) ซึ่งมีประสบการณ์ที่แตก ต่างกันตามแต่ช่วงเวลาและสถานการณ์ ยังผลให้เรื่องราว มากมายปะปนยึดโยงกันอย่างหลวมๆ โดยมิอาจรู้ได้อย่าง แท้จริงว่าเรื่องใดได้เคยเกิดขึ้น ศุภกานต์ พยายามอธิ บ ายอาการของเทศะและกายภาพ ของสถานที ่ ผ่ า นการผลิ ต ซ้ ำ � ข้ อ มู ล ชุ ด หนึ ่ ง ด้ ว ยภาพ และตัวบท เรื่องสั้น (เขียนขึ้น จากเหตุก ารณ์จริง ) ถู ก ตี พิ ม พ์ ด ้ ว ยระบบการพิ ม พ์ ร ้ อ น (Thermal Transfer) มันย่นย่อกาลและเทศะให้ปรากฏแสดงเฉกเช่นเดียวกับการ ระบุความหมายใต้ภาพ โดยตั ว บทที ่ เ ราอ่ า นจะค่ อ ยๆจาง หายไปจากแผ่นกระดาษสีขาว และภาพถ่ า ยสถานที ่ ซ ึ ่ ง ปรากฏต่ อ สายตาด้ ว ยจิ น ตภาพที่ ว างซ้ อ นทั บ กั น ของวง เวียนเจิ้นเฉิน (Chien-Chen Circle) และวงเวี ย น 22 กรกฎา เทศะของวงเวียนและตัวบทได้ทำ�หน้าที่ของมันภาย ใต้กฎของกาลเวลา สถานการณ์ ท ั ้ ง หลายที ่ ถ ู ก ประดิ ษ ฐ์ สร้ า งขึ้ น มาดู ร าวกั บ ว่ า มั น ได้ เ คยเกิ ด ขึ้ น มาแล้ ว และกำ � ลั ง ผลิตซ้ำ�ตัวมันเองอีกครั้งในพื้นที่เดิมๆ แต่ไม่เคยเหมือนเดิม ลักษณะเดียวกันกับผู้อ่านตามทัศนะของ โรล็องด์ บาร์ตส์ สามารถที่จะแทรกแซงตัวบทและกลายเป็นผู้เล่าเสียเอง


19 Seemingly, 2018 Collaborative with: Pawornpon Rungrodchana book, inkjet photo dimensions variable Reference: Research Taipei Map http://www.historygis.udd.gov.taipei Support Fax Machine: Chaiporn Intuvisankul (ชัยพร อินทุวิศาลกุล)

Supphakarn Wongkaew was born in Ratchaburi, Thailand in 1988 and currently lives in Nonthaburi, Thailand. She received a bachelor’s degree in Fine Arts (Communication Design), School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok, Thailand. After her graduation, Supphakarn started working as a graphic designer at Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand. She then has become a freelancer, designing publications for various contemporary art exhibitions and also developed implementation of art and culture management and improvement. In 2012, she worked as an assistant manager for a community-based art project “Art Normal #1” in Ratchaburi, Thailand. In 2013, she worked as a co-curator for a contemporary art exhibition entitled “Poperomia /Golden Teardrop” Thai Pavilion, at the 55th International Art Exhibition – la Biennale di Venezia Italy. In 2014, she was invited to work as a co-curator in “Translocal” art exhibition which was a part of Chiang Mai Design Week, Chiang mai, Thailand. In 2015, she worked as an assistant researcher for the “Research and Archiving Project titled The Exhibition History in Thailand from the 1970s to the Present,” which was supported by the Asian Culture Center (ACC), Institute of Asian Culture Development, Ministry of Culture, Sports and Tourism, Gwangju, South Korea. In 2016, she worked as a curator for “Art Normal #2: Toyburi,” Ratchaburi, Thailand. In 2017 Supphakarn and her colleagues established a curator and cultural worker group called “Rai.D Collective”.

Supphakarn is interested in various dimensions of contemporary art and working on multidisciplinary subjects. She utilizes and adapts her curatorial and designing ability to develop methodological concepts and the way she represents her works. In “THAITAI Re-conversation: Based on True Story” exhibition, Supphakarn focuses on learning space as sediment overlapped with various actions and times from circumstances that seem to be similar but different, generating reproduction of paralleled images of space and places. This leads to an investigation into complicated layers of space through stories told by local people. Information was recorded from people from imagined communities who have different experiences coherent with time and circumstances. We won’t be able to know which stories have really occurred, since the stories are complex and overlay loosely. Supphakarn tries to describe the condition of space and physicality of places through reproduction of a series of information with images and text of a book printed by the thermal transfer method. It extracts space and time into visibility, like giving a meaning under an image. The text will slowly disappear from the papers and the visible photographs of places, Chien-Chen Circle and 22nd July Circle, blurred and blended into each other. The spaces of the two circles and the text perform under the rules of time. It seems like the various invented circumstances have occurred in the past and will reproduce themselves again at the same places, but they never remain the same, like the readers of Roland Barthes who are able to intervene the text and become the tellers themselves.


20

ศิลปินกลุ่ม Space Reader

Space Reader คื อ กลุ ่ ม ศิ ล ปิ น ที ่ ร ่ ว มตั ว กั น ขึ ้ น เพื ่ อ สื บ ค้ น สอบสวน เรี ย นรู ้ พ ื ้ น ที ่ ด ้ ว ยการสร้ า งกระบวน วิธีในการแสดงออกให้สอดคล้องกับเนื้อหา และขณะของ เวลาที่ต่อเชื่อมกับเป็นลูกโซ่และมีอิสระต่อกัน พวกเขาริเริ่ม รวมกลุ ่ ม พั ฒ นาแนวทางการดำ � เนิ น โครงการตั ้ ง แต่ ปี 2016- ระหว่ า งที ่ ก ำ � ลั ง ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี ปัจจุบน ั สมาชิกส่วนหนึ่งในกลุ่มกำ�ลังศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ท ี ่ คณ ะ ศ ิ ล ป ก ร ร ม ศ าสตร ์ มหาวิ ท ยาลั ย National Taiwan University of Art สมาชิกของกลุ่มทั้ง 5 คน ประกอบด้วย หยู่ เจี๋ย เจียง, หมิง เหยา, เซวียน หวง, เจี ๋ ย ฉิ ง ซื อ และ หวง ฉุ น เจิ น Sp a ce Read er ถ ื อ ได้ ว ่ า เป ็ น ก ลุ ่ ม ศ ิ ล ป ิ น แสดง ส ด รุ ่ น ใหม่ ก ลุ ่ ม หนึ ่ ง ในกรุ ง ไทเป ใ น ป ี 2 0 1 6 - 1 7 พวกเขามีผลงานแสดงสด 3 โครงการย่อย ได้แก่ Art Project ‘Space Reading Project’ I, II, III: Gazing the Gueishan Island และ Gazing the Fuzhou Island ในโครงงาน Golden Fish Space และ Northern Art Village ที ่ เ มื อ งอี ๋ ห ลานและไทเปเมื อ ง ใหม่ ประเทศไต้หวัน เพื่อพัฒนาวิธีวิทยาและแนวทางใน การนำ�เสนอผลงานด้ ว ยการสร้ า ง ไวยากรณ์ ใ นงาน ศิ ล ปะแสดงสด โดยให้ ค วามสำ � คั ญ ต่ อ กระบวนการการ สอบสวน สื บ ค้ น ภาษาของเทศะและสถานที่ ที่ ถู ก ปล่ อ ยให้ ทิ้ ง ล้ า งและมี อ ยู่ มากมายในประเทศไต้ ห วั น ด้วยสาเหตุที่เจ้าของอาคาร ได้เสียชีวิตไปแล้ว พวกเขาลงทำ�งานภาคสนามและทำ�การ แสดงสดเพื่อถอดรหัสพื้นที่ว่าง พื้น ผนัง ประตู หน้าต่าง เครื่องเรือนเก่าๆ วัตถุข้าวของเครื่องใช้ที่ชำ�รุด ด้วยสำ�นึก ที่เรามีร่วมกัน ณ ขณะนั้น โดยอาศัยร่างกายเป็นฐานใน การรับรู้สัมผัสและแสดงออก คำ�ถามที่ว่าสำ�นึกของอดีตจะ สามารถเชื่อมโยงประวัติศาสตร์ของพื้นที่กับประสบการณ์ ของบุคคลได้อย่างไร มิติของพื้นที่และเวลาที่ถูกซ้อนทับ กันเป็นชั้นๆ ตอกย้ำ�ความจริงของความมีอยู่ของพลังงาน และจิตวิญญาณ ด้วยเหตุนี้ วัตถุ-สถานที่ ได้นำ�พาเราไป สู่ข้อเท็จจริงเชิงรูปธรรม ร่องรอยจากประสบการณ์ของ บุ ค คลได้ ฝ ั ง ตั ว อยู ่ ภ ายในพื ้ น ที ่ และรอให้ บ ุ ค คลสร้ า ง บทสนทนาร่วมในพื้นที่และเวลา โดยโครงสร้างและแนวทาง ในการแสดงด้นสดเป็นหนทางที่จะเข้าไปสำ�รวจอาณาเขต ของพื้นที่และสถานที่ผ่านสนามทางทัศนศิลป์ในมุมมองที่ หลากหลาย


21

Space Reader Artists Collective

นี ่ เ ป็ น ครั ้ ง แรกที ่ ก ลุ ่ ม Space Reader เดิ น ทาง มาประเทศไทย พวกเขาเข้าพำ� นั กและปฏิ บั ต ิ ง านในพื ้ นที ่ About Photography ตามกรอบระยะเวลาของ โครงการฯ การโยกย้ายถิ่นฐานชั่วคราวและการใช้ชีวิตใน พื้นที่กรณีศึกษาดังกล่าวนำ�ไปสู่คำ�ถามที่พวกเขาพยายาม คลี่คลายและให้ความหมาย แก่ตัวพื้นที่เป็นอาคารเก่าแก่ที่มี คุณค่าทางสถาปัตยกรรม พร้อมกับสำ�นึกความทรงจำ�ร่วม กั บ อี ก หลายคน ความละเอียดอ่อนในการมีประสบการณ์ คล้ายกับการที่พวกเขาสวมใส่ตนเองลงไปในอาภรณ์แห่ง พื้นที่ เพื่อสัมผัสถึงล่องลึก รอยต่อ พื้นผิว ประวัติศาสตร์ ของเทศะ-สถานที่ แ ละความหลากหลายเชิ ง วั ฒ นธรรม การปรับขนาดสมดุลระหว่างร่างกายและอาภรณ์ที่สวมใส่ มิใช่ข้อจำ�กัดในกระบวนการการเรียนรู้ การปรับตัวในพื้นที่ ที่ไม่คุ้นเคยให้ค่อยๆคุ้นชินถือว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ กลุ่ม Space Reader พยายามอธิบายความสัมพันธ์ของ พวกเขากับพื้นที่ด้วยแนวทางหลากหลาย เช่น การสร้าง รอยประทับซ้อนด้วยแสงที่ถูกฉายลงบนพื้นผิวของผนังใน ลักษณะรอยประทับล่องหนที่จับต้องได้ยาก และชุดเสื้อผ้า ที่ถูกออกแบบขึ้นโดยเฉพาะสามารถสร้างแรงบันดาลใจต่อ การค้นหาบนพื้นฐานทฤษฏีหลังโครงสร้างนิยมและหน้าที่ (post structural and function) ตามทั ศ นะของ Claude Levi-Strauss(b. 1908- 2009) แนวคิดดัง กล่าวเปรียบเสมือนการแสดงของร่างทรงที่รวมเอาความรู้ ข้ามศาสตร์ เช่นกวี ศิลปิน นักจิตวิทยาสังคมและสร้างโลก ของวิญญาณทางสังคมเพื่อเชื่อมโยงประสบการณ์ของ บุคคล ณ ปัจจุบันซึ่งซ้อนทับอยู่บนรากฐานของเทศะและ สถานที ่ เ ดี ยวกัน การพำ�นักอยู่ร่วมกันในพื้นที่กรณีศึกษา แม้มีข้อจำ�กัดมากมายแต่ มันทำ�ให้พวกเขาเกิดสำ�นึกความ ทรงจำ�ถึงบ้านที่จากมาซ้อนทับกับบ้านที่อาศัย ณ ปัจจุบัน ซึ่งมีเทศะ ที่ม ีค วามเชื่อมโยงกันทางวั ฒนธรรมและเรื ่ อ ง เล่าจากศิลปินไต้หวันที่เคยอาศัยอยู่ที่นี้ ตอนนี้พวกเขา พยายามลำ�ดับเหตุการณ์และช่วงเวลาต่างๆ การซ่อ มแซม การทำ�ลาย เกิดและดับซ้ำ�แล้วซ้ำ�อีกตลอดระยะเวลาห้าปีที่ ผ่านมา พวกเขาพูดคุย เดิน และร้องเพลงบนชั้นสามของ อาคารในขณะเดียวกันที่ เงาของพวกเขาเต้นไหวไปบนผนัง พื้น และเพดาน แสงที่ถูกฉายได้ฉาบเงามืดของพวกเขาลง ไปในเทศะของอาคาร รอยประทับดังกล่าวอาจทำ�ให้พื้นที่ แห่งนี้ไม่โดดเดี่ยวหรือเลือนรางอีกต่อไป

Space Reader is a group of artist that gathers together to explore, investigate, and learn about the space by creating the process of expression that conforms with content and the moments of time that are chained together and at the same time are free from one another. They have established the group and initiated the framework for this project since 2016— when they were in college. As of present, some of the members are continuing their Master’s degree education at the Department of Fine Arts, National Taiwan University of Art. The five members of the group include Yu Jie Jiang, Min Yao, Xuan Huang, Chieh Ching Shih and Chun Chen Huang. It could be said that Space Reader is one of the young generation improvisational performance groups in Taipei. During 2016-2017, the group have 3 improvised subprojects including Art Project ‘Space Reading Project’ I, II, III: Gazing the Gueishan Island, Gazing the Fuzhou Island in Golden Fish Space project, and Northern Art Village in Yilan County and New Taipei City, Taiwan. These subprojects aim to develop the methodology of presenting their works by creating syntactic structure in their improvisational performance art. They focus on the process of exploring and investigating the language of abandoned places and locations– where the owners passed away– that can be found throughout Taiwan,


22 then do the fieldworks and improvisational performances to decode the empty spaces, floors, walls, doors, windows, old furniture and broken tools with the collective consciousness that everyone shares at that moment of time, using their bodies as a foundation of perception, sense and expression. There is a question of whether the consciousness of the past can be linked to the history of a certain place and individual experiences. The dimensions of time and space are overlapping, emphasizing the existence of spiritual energy. For this reason, object-place are leading us to concrete facts – the traces of individual experiences that are embedded w i t h i n t h e s p a c e , wa i t i n g fo r a n o t h e r individual to create shared dialogue within that space and time. The structure and methodology of improvisation is the way to explore the territory of space and place through the field of visual arts from diverse perceptions.

This is the first time that Space Reader has traveled to Thailand. During this project, they resided and worked at About Photography. This temporary migration and residency in the designated case study area led to the question that they tried to resolve. They gave meaning to the space that is an old building with significant architectural value and shared collective memory and consciousness with many others. This delicate experience can be compared to the artists themselves putting on the attire of the space, in order to feel its nooks and crannies, seams, textures, history of location, and the diversity of cultures. The adjustment that they have made to fit their bodies with such attire does not pose limitations to their process of learning. One can adapt t h e m se lves to b eco me famil iar with an unfamiliar space.


23 Living together in the designated case study area has posed many restrictions, but it also helps to create their collective memory of the houses they once lived in and the house they’re currently living in, where the space has cultural connectivity and stories from Taiwanese artists who used to live here. As of present, they are trying to create timeline of events and moments that were reconstructed, destroyed, born, and ended over and over during these five years. While they were talking, walking, and talking on the third floor of the building, their shadows were also dancing on the wall, floor, and ceiling. The light projected their shadows onto the building space, and that traces perhaps make this place no longer lonely nor hollow.


24

หยู่ เจี๋ย เจียง Yu Jie Jiang

๘ หยู่ เจี๋ย เจียง, หมิง เหยา, เซวียน หวง, เจี๋ย ฉิง ซือ และ ฉุน เจิน หวง -แสดงสด : Living in a Missing Place, 2018 หยู่ เจี๋ย เจียง -ผิว, 2018, วีดีโอจัดวางจอเดี่ยว, สี, เสียง, 10” วน -The face of five years ago and after, 2018, วีดีโอจอเดี่ยว, ขาวดำ�, เสียง, 15” วน เซวียน หวง -เทศะ, 2018, วีดีโอจอเดี่ยว, สี, 13” วน หมิง เหยา -About the inside and outside, here and now, maybe it’s not enough for the future,2018, บท, สติกเกอร์ -About here, they are only one-eighth of the usefulness,2018, กุญแจ, พวงกุญแจ, 5 x 15 x 2 ซม., 8 ชุด

๑๐ เซวียน หวง Xuan Huang


25

หมิง เหยา Min Yao

๙ (Yu Jie Jiang, Min Yao, Xuan Huang, Chieh Ching Shih) -Live performance: Living in a Missing Place, 2018 Yu Jie Jiang -Skin, 2018, single channel video, Installation, colour, sound, 10” and 10” loop -The face of five years ago and after, 2018, single channel video, b&w, sound, 15” and 15” loop Xuan Huang -Space, 2018, single channel video, color, 13” and 13” loop Min Yao -About the inside and outside, here and now, maybe it’s not enough for the future, 2018, words, stickers -About here, they are only one-eighth of the usefulness, 2018, keys, key rings, 5 x 15 x 2 cm, 8 components

๑๑ เจี๋ย ฉิง ซือ Chieh Ching Shih


26


27


28

นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ThaiTai Re-conversation: Based on True Story ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง ระหว่างวันที่ 14 – 25 กันยายน 2561 ณ About Photography เลขที่ 418 ถนนไมตรีจิตต์ แขวงป้อมปราบ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100

กิตติกรรมประกาศ เกล้ามาศ ยิบอินซอย / นพดล ขาวสำ�อางค์ / โนบุโอะ ทากะโมริ / ฟาริดา เฮงษฎีกุล / วรรณศิริ ตั้งคารวคุณ / โฆษิต วิวัฒน์วิชา / ประธาน ธีระธาดา / ธวัชชัย สมคง / อนุตรา อึ้งสุประเสริฐ / จุฑามาส บูรณะเจตน์ และปิติ อัมระรงค์ / สุรพร เลิศวงศ์ไพฑูรย์ / วศินบุรี สุพานิชวรภาชน์ / ราชันย์ กล่อมเกลี้ยง / ถนัดนนท ขำ�พรหมลาภ

Acknowledgement Klaomas Yipintsoi / Nopadon Kao Sam-ang / Nobuo Takamori / Farida Hengsadeekul / Wannasiri Tangkarawakun / Kosit Wiwatwicha / Pratarn Teeratada / Tawatchai Somkong / Anutra Ungsuprasert / Jutamas Buranajade and Piti Amraranga / Suraporn Lertwongpaitoon / Wasinburee Supanichvoraparch / Rachan Klomklieng / Thanatnon Kamphromlarp

นิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ผู้อำ�นวยการโครงการ และภัณฑารักษ์ร่วม: ซื่อ ตง โล และ jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) ผู้จัดการโครงการ: สร้อยฟ้า แสนคำ�ก้อน ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ: สุนิศา นวมเผือก, อธิชา สุทธิวีระวัฒน์ ฝ่ายการเงิน: สร้อยฟ้า แสนคำ�ก้อน, หมิง เหยา ออกแบบกราฟิกในนิทรรศการ: สุนิศา นวมเผือก, อธิชา สุทธิวีระวัฒน์, ซื่อ ตง โล ออกแบบและติดตั้งนิทรรศการ: บ้านนอกการช่าง (อธิชนัน แก้วอนันต์, ปวรุตม์ พรหมแก้ว, สุนิศา นวมเผือก)

ริเริ่มโครงการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่องจริง: ซื่อ ตง โล และ jiandyin (จิระเดช และ พรพิไล มีมาลัย) ร่วมดำ�เนินโครงการ: บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลป วัฒนธรรม และ Open contemporary Art Center ดำ�เนินโครงการ Project Complex in Bangkok: Outsider Factory ภัณฑารักษ์โครงการ Project Complex in Bangkok: โนบุโอะ ทากะโมริ ผู้สนับสนุนหลัก: กระทรวงวัฒนธรรม, ไต้หวัน, สำ�นักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำ�ประเทศไทย ผู้สนับสนุนที่จัดแสดง: About Photography (เกล้ามาศ ยิบอินซอย นพดล ขาวสำ�อางค์) ผู้สนับสนุนอุปกรณ์: บริษัท โซนี่ไทย จำ�กัด, บริษัท ที เค เอส เคมิคอล (ประเทศไทย) จำ�กัด, บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จำ�กัด สื่อความร่วมมือ: นิตยสารอาร์ตโฟร์ดี, นิตยสารไฟน์อาร์ต ดำ�เนินโครงการ ไทยไท บทสนทนาย้อน: สร้างจากเรื่อง จริง: บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรมและ Open contemporary Art Center


29 พิธีเปิดนิทรรศการและกิจกรรมประกอบนิทรรศการ แสดงสดพิธีเปิดนิทรรศการ: Living in a Missing Place โดย Space Reader กิจกรรมเสวนา: หัวข้อ ชุมชนจินตกรรมกับศิลปินอพยพ โดย รวิรุจ สุรดินทร์, สะรุจ ศุภสุทธิเวช, ศุภกานต์ วงษ์แก้ว, จิระเดช และพรพิไล มีมาลัย คู่มือนำ�ชมนิทรรศการ จัดพิมพ์และบรรณาธิการ: บ้านนอก ความร่วมมือทาง ศิลปวัฒนธรรม และ Open contemporary Art Center บทภัณฑารักษ์และบทแถลงศิลปิน: ซื่อ ตง โล และ jiandyin (จิระเดช และพรพิไล มีมาลัย) พิสูจน์อักษรไทย-อังกฤษ: อนุตรา อึ้งสุประเสริฐ, พรพิไล มีมาลัย, สุพิชญา ขุนชำ�นิ แปลไทย-อังกฤษ-ไทย: พรพิไล มีมาลัย, พลวัชร์ เบี้ยวไข่มุข, ศุณิษา เทพธารากุลการ แปลไทย-อังกฤษ-จีน: เพนนี ลิน ออกแบบกราฟิกคู่มือนำ�ชมนิทรรศการ: สุนิศา นวมเผือก, อธิชา สุทธิวีระวัฒน์, ซื่อ ตง โล ภาพวาดประกอบหนังสือคู่มือนำ�ชมนิทรรศการ: สุพิชญา ขุนชำ�นิ สำ�นักพิมพ์ : หจก. ภาพพิมพ์, จำ�นวน 400 เล่ม โครงการนิทรรศการศิลปะร่วมสมัย ไทยไท บทสนทนา ย้อน: สร้างจากเรื่องจริง ร่วมดำ�เนินงานโดย บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลป วัฒนธรรม และ Open contemporary Art Center

ผู้อำ�นวยการบ้านนอกฯ: พรพิไล และจิระเดช มีมาลัย ผู้จัดการบ้านนอกฯ: สุพิชญา ขุนชำ�นิ ผู้ช่วยจัดการบ้านนอกฯ: สุนิศา นวมเผือก, อธิชา สุทธิวีระวัฒน์, ปวรุตม์ พรหมแก้ว ผู้อำ�นวยการ Open contemporary Art Center: ซื่อ ตง โล ผู้จัดการ Open contemporary Art Center: จยา หลัน เฉิน บ้านนอก ความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรม 162 หมู่ 2 ตำ�บลหนองโพ อำ�เภอโพธาราม จังหวัด ราชบุรี 70120 ประเทศไทย https://www.baannoorg.org Open contemporary Art Center No. 25 ถนน กันโจว เขตต้าถง 10346 เมืองไทไป ประเทศไต้หวัน https://www.ocac.com.tw

ThaiTai Re-conversation: Based on True Story Contemporary art exhibition Exhibition Period: 14 – 25 September 2018 Venue: About Photography, 418, Maitreejit Road, Pomprab, Pomprapsattruphai, Bangkok, 10100, Thailand

Contemporary Art Exhibition Project Co-directors and Co-curators: Shih Tung Lo and jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) Project manager: Soifa Saenkhamkon Assistant managers: Aticha Suttiwerawat, Sunisa Nuampeuag Project accountants: Soifa Saenkhamkon, Min Yao Poster and exhibition graphic designer: Sunisa Nuampeuag, Aticha Suttiwerawat, Shih Tung Lo Exhibition design and installation: Baan Noorg Kaanchang (Atichanan Kaew-anan, Pawarut Promkaew, Sunisa Nuampeuag) Project initiators of ThaiTai Re-conversation: Based on True Story: Shih Tung Lo and jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) Co-Organizers of ThaiTai Re-conversation: Based on True Story: Baan Noorg Collaborative Arts and Culture and Open Contemporary Art Center (OCAC) Organizer of Project Complex in Bangkok: Outsider Factory Curator of Project Complex in Bangkok: Nobuo Takamori Project Supervisors: Ministry of Culture, Taiwan, Taipei Economic and Cultural Office in Thailand Venue support: About Photography (Klaomas Yipintsoi and Nopadon Kao Sam-ang) Equipment sponsors: Sony Thailand, TKS chemical (Thailand) Co., Ltd., Epson Thailand Media Partners: Fine Art Magazine, Art4D


30 Opening/Closing program Opening Live Performance: Living in a Missing Place by Space Reader 18:00-, 14 9 2018 at About Photography Forum: Imagined communities by Rawiruj Suradin, Saroot Supasuthivech, Supphakarn Wongkaew, jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) 14:00-16:00, 22 9 2018 at About Photography Exhibition Hand-out Publisher and Editor: Baan Noorg Collaborative Arts and Culture and Open Contemporary Art Center Curatorial and artists texts: Shih Tung Lo and jiandyin (Jiradej and Pornpilai Meemalai) Proofreaders Thai-Eng: Anutra Ungsuprasert, Pornpilai Meemalai, Suphitchaya Khunchamni Translators Thai-Eng: Pornpilai Meemalai, Polwach Beokhaimook, Sunisa Teptarakunkarn Translator Eng-Chinese: Penny Lin Hand-out designer: Sunisa Nuampeuag, Aticha Suttiwerawat, Shih Tung Lo Hand-out illustrators: Suphitchaya Khunchamni Printing: Parbpim Ltd., 400 copies

ThaiTai Re-conversation: Based on True Story Project Co-organize by Baan Noorg Collaborative Arts and Culture and Open contemporary Art Center Baan Noorg’ directors: Pornpilai and Jiradej Meemalai Baan Noorg’ Manager: Suphitchaya Khunchamni Baan Noorg’ Assistant managers: Aticha Suttiwerawat, Sunisa Nuampeuag, Pawarut Promkeaw

Open contemporary Arts Center Director: Shih Tung Lo Open contemporary Arts Center Manager: Chia Lan Chen Baan Noorg Collaborative Arts and Culture 162 Moo 2 Nongpho Photharam Ratchaburi 70120 Thailand Website: http://www.baannoorg.org Open Contemporary Arts Center No. 25, Ganzhou St., Datong Dist., Taipei, 10346, Taiwan Website: http://www.ocac.com.tw


31

co-organizers:

Project Supervisors/Official support:

Venue support: About Photography

Equipment sponsors:

Media Partners:

ThaiTai Re-conversation: Based on True Story Š December 2018, Baan Noorg Collaborative Arts and Culture, Open contemporary Art Center All rights reserved. Copyrights of the works are reserved for the artists; of texts for authors; of the photographs for the photographers.


32 Invited Artists

1. CHENCHENGYU Artists Collective (TW) 1.1 A Keyword space, 2018 (installed on variable sites) 1.2 Reading Bangkok, 2018 1.3 Speechless Poem, 2018 1.4 Let’s Playing the Guitar!, 2018 (installed on variable sites) 1.5 Chewing Gum Sculpture, 2018 1.6 Hello, My Friends, 2018 (installed on variable sites)

3rd fl.

2. Jutamas Buranajade and Piti Amraranga (TH) 2.1 2-Seat Orange Sofa, 2018 Artists

3. Rawiruj Suradin (TH) 3.1 sketch_180903a, 2018 3.2 sketch_180725b, 2018 3.3 monologue 00, 2018 4. Saroot Supasuthivech (TH) When Typhoon Arrives, stay with family, 2018 5. Supphakarn Wongkaew (TH) Seemingly, 2018

2nd fl.

6.Space Reader Artists Collective (TW) Living in a Missing Place, 2018 (Live performance)

1st fl.

6.1 Yu Jie Jiang 6.1.1 Skin, 2018 6.1.2 The face of five years ago and after, 2018 6.2 Xuan Huang, Space, 2018 6.3 Min Yao 6.3.1 About the inside and outside, here and now, maybe it’s not enough for the future, 2018 6.3.2 About here, they are only one-eighth of the usefulness, 2018




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.