@Surat Magazine

Page 1


2



4



Editor s Talk Volume 6 Issue 71 November 2016

คณะที่ปรึกษา

สวัสดีครับคุณผู้อ่าน วันที่ 13 ตุลาคม 2559 สถานีวทิ ยุ โทรทัศน์ทกุ แห่งในประเทศไทยได้เผยแพร่ขา่ วเรือ่ งประกาศ สำ�นักพระราชวัง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสวรรคต ทำ�ให้ชาวไทย ทั้งประเทศต่างเศร้าโศกเสียใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะเราได้สูญเสียพระมหากษัตริย์ผู้เป็นที่รัก และเปรียบเสมือนศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยทั้งชาติไป พระองค์ได้สละเวลาและความสุขส่วน พระองค์เพือ่ ช่วยเหลือปวงชนชาวไทยไม่วา่ ยากดีมจี นหรืออยูใ่ นถิน่ ทุรกันดารเพียงใดมาตลอด 70 ปี ที่เสด็จขึ้นครองราชย์ ด้วยเหตุนี้นิตยสาร จึงได้ลงบทความเพื่อถวายความอาลัยและ สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์เป็นล้นพ้นในฉบับที่ 71 นี้ ถึง 5 คอลัมน์ เพือ่ บันทึกเป็น ความทรงจำ�อันน่าภาคภูมิใจว่า “เราได้เกิดในรัชสมัยของพระองค์” นอกจากนี้ ทีมงานนิตยสาร ของเรายังได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงจากท่าน “ผศ.ดร.ณรงค์ พุทธิชวี นิ ” ท่านเป็นทีป่ รึกษาตัง้ แต่เริม่ ผลิตนิตยสารฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบนั ซึ่งก็คืออดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 2 สมัย สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ มาขึน้ ปก ผมเคยทำ�งานฝ่ายสือ่ สารองค์กร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สมัยทีท่ า่ นเป็นอธิการบดี ซึง่ ท่านก็ได้ให้ค�ำ ปรึกษาในการทำ�นิตยสารนีต้ ลอดมา แม้บางครัง้ จะท้อแท้และคิดจะเลิกเพราะ มีอปุ สรรคต่างๆ แต่ทา่ นก็แนะนำ�ให้อดทนและฝ่าฟันอุปสรรคจนล่วงเลยมาถึงปัจจุบนั ท่านเคย ปรารภกับผมว่า ท่านไม่เหมาะกับการเป็นนักการเมือง ตัวตนของท่านทีแ่ ท้จริงคือ นักการศึกษา ท่านมี จิตวิญญาณความเป็นครูมากกว่า เพราะทัง้ ชีวติ ท่านเดินทางสายอาชีพนี้ ซึง่ ในเวลานัน้ ท่านยังเป็น สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอยู่ ผมยอมรับว่าท่านเป็นครูและนักบริหารการศึกษามืออาชีพจริงๆ การทีท่ า่ นจะกลับมาพัฒนาการศึกษาในสุราษฎร์ธานี ถือว่าเป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดีอย่างยิง่ และผมหวัง ว่าชาวสุราษฎร์ที่อยู่ต่างถิ่นจะกลับมาพัฒนาบ้านเกิดของตนเองกันมากขึ้นครับ

ดร.หิรัญ ชคทานนท์ บรรณาธิการบริหาร

ผศ.ดร.ณรงค์ พุทธิชีวิน ศุภพร ล่องดุริยางค์ ปัญญา แสงสุริยัน พลตำ�รวจโท ดร.กรีรินทร์ อินทร์แก้ว กิตติ ชคทานนท์

ที่ปรึกษาบรรณาธิการบริหาร ธีรภาพ โลหิตกุล

บรรณาธิการบริหาร ดร.หิรัญ ชคทานนท์

บรรณาธิการอำ�นวยการ

พ.อ.(พิเศษ) ธัญญลักษณ์ แก้วน้อย

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

ผศ.ดร.นำ�้อ้อย มิตรกุล จำ�นงค์ ศรีวุ่น

หัวหน้าฝ่ายการตลาด ภนิตา ชคทานนท์

กองบรรณาธิการ

ษราวุธ พัฒน์ศิริ สุจิตรา ก่อกิจไพศาล วิริยะ กลิ่นเสาวคนธ์ จิรา ชุมศรี

กราฟฟิค ดีไซน์

วัชระ ธัญญาหาร กรรณิการ์ สัมพันธ์

พิสูจน์อักษร

กรรณิการ์ สืบไทย

ช่างภาพ

พศวัฒน์ สิริศิลปสรณ์ ษราวุธ พัฒน์ศิริ

นักเขียนประจำ�

บทความและรูปภาพทั้งหมด (ยกเว้นโฆษณา-ข่าว) ในนิตยสาร @Surat สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย หากจะ นำ�ไปเผยแพร่ต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการเท่านั้น สำ�หรับสารคดี บทความ ข้อความ-ภาพโฆษณา ความคิดเห็นและข้อเขียนต่างๆ ในนิตยสาร @Surat เป็นความคิดเห็นส่วนตัวและเป็นความรับผิดชอบของ ผู้เขียนผู้ประกอบการที่ลงโฆษณาเท่านั้น คณะผู้จัดทำ�นิตยสารไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบ ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น (เลขทะเบียนการจดแจ้งการพิมพ์ที่ สศก. ๑๔/๑๒/๒๕๕๓)

ธีรภาพ โลหิตกุล อภินันท์ บัวหภักดี กานต์ ลิ่มสถาพร ดร.ภาสกร ธรรมโชติ จิรา ชุมศรี

ที่ปรึกษาฝ่ายกฎหมาย สิทธิราช ศรีแก้ว

ติดต่อสำ�นักพิมพ์ได้ที่ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด โกก๊ก มีเดีย 49/4 ถ.ดอนนก ต.ตลาด อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000 บรรณาธิการผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา : ดร.หิรัญ ชคทานนท์ โทร. 081-777-6366, 077-288-607 E-mail : atsuratmag@gmail.com Website : www.atsuratmag.com


7


8


9


contents

Page

10

Volume 6 Issue 71 November 2016

มหาวิทยาลัยจะต้องเปิดกว้าง ให้ใครก็ได้ส่งลูกมาเรียน แต่ไม่ใช่เปิดกว้างเพียงอย่างเดียว ต้องร่วมกันผลิต ร่วมกันรับไปทำ�งาน

22 Exclusive

ผศ.ดร.ณรงค์ พุทธิชีวิน

นักการศึกษา นักคิดมืออาชีพ อดีตอธิการบดี 2 สมัย ผู้วางรากฐานวิทยาลัยครูสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำ�ของภาคใต้ เราจะเห็นท่านกลับมาในบทบาทอธิการบดีอีกหรือไม่? ในอนาคตอันใกล้นี้ 36 Food for Thought : Magic Word 20

Buddhadasa on My Mind

32

atTai-Nichi YUKO

34

ON MY WAYS

38

Love through Journey

P34

คำ�ว่าบุญนัน้

ตะลุยโตเกียว เทีย่ วชิบยู า่ ล่าฮาราจูกุ ทะลุตลาดอะเมโยโกะ “นัง่ รถไฟไปเชือ่ มสัมพันธ์ สองท่า”

ON MY WAY

ชิน ชวน ชิม By @Surat

42

ASEAN Art Corridor สยามอาดูร

44

Beauty Talk เทรนด์กระชับผิวตึง ไม่พง่ึ มีดหมอ

บางหวัน

“นั่งรถไฟไปเชื่อมสัมพันธ์ สองท่า”

40

P38

Love through Journey บางหวัน

- เฉียบ หอยทอดซีฟดู๊ - ร้านโรตีเน้นนม โรตีชาร์โคล (แป้งดำ�) เจ้าแรกในสุราษฎร์ฯ

P42

ASEAN Art Corridor สยามอาดูร


11


contents

Page

12

Volume 6 Issue 71 November 2016

48

60

Asean Travel

µÒÁÃ;Ãкҷ º¹´ÍÂÍ‹Ò§¢Ò§

My View

¤ÃÑé§ÊíÒ¤ÑÞã¹ÇѹáʹÍÒÅÑÂ

46

True Story ดั�งนกขมิ�นหลงรัง (ตอนจบ)

58

Good Living

50

My Beloved Tapee ‘ความวาง’ ในทัศนะของพุทธทาส ตอนที่ 12

62

Good Health & Wellness มะเร�งในชองปาก ตอนที่ 4

52 54

Smart Pretty

64

@Talk

Horoscope

56

Delicious Food ร�่นรมณรสของหวานแสนอรอยที่ “รัตนาขนมไทย”

66 68

P46

Health Care

“พอเลาเร�อ่ ง… เมืองทาขนอน”

True Story

ดั่งนกขมิ้นหลงรัง (ตอนจบ)

P56

Delicious Food

Supalai Save Our World Save Your Money

Surat@Risk

Photography Documentary 12 มีนาคม พุทธศักราช 2502

รื่นรมณรสของหวานแสนอรอย ที่ “รัตนาขนมไทย”

P64

@Talk

Surat@Risk


13


Society

Photo : วัธนา มาลัยบาน (น้าตู่)

14

ประมวลภาพจากพระบรมมหาราชวัง ท้องสนามหลวง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่นักศึกษาจัดกิจกรรมและคลื่นมหาประชาชนชาวไทยทั่วสารทิศเดินทางมาถวายสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช


15


Society

Photo : วัธนา มาลัยบาน (น้าตู่)

16

ประมวลภาพจากพระบรมมหาราชวัง ท้องสนามหลวง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่นักศึกษาจัดกิจกรรมและคลื่นมหาประชาชนชาวไทยทั่วสารทิศเดินทางมาถวายสักการะพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช


17


Society

ภาพถ่าย : อุรุพงษ์ อนุการคาหกิจ

ภาพถ่าย : น.พ.กฤษฎา รัตตานุกูล

พิธีจุดเทียนร้องเพลงแสดงความอาลัย บริเวณศาลหลักเมืองและ ร่วมแปรอักษร โดยมีนายอวยชัย อินทร์นาค ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นประธานในพิธี จัดขึ้นที่หน้าสนามศาลากลางจังหวัด มีเหล่าพสกนิกร ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานีร่วมพิธี เมื่อวันที่ 27 - 28 ตุลาคม 2559

ภาพถ่าย : ช่างภาพอาสาของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีทุกท่าน

ภาพถ่าย : ช่างภาพอาสาของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีทุกท่าน

ภาพถ่าย : น.พ.กฤษฎา รัตตานุกูล

ภาพถ่าย : นายสุทัศน์ แซ่ลิ้ม

สำ�นักงานขนส่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมพิธีบำ�เพ็ญกุศล

เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช สำ�นักงานขนส่งจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้เข้าร่วมพิธบี �ำ เพ็ญกุศล เพือ่ ถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช โดยมีนายมานพ สุทธิพงษ์ ผูอ้ �ำ นวยการขนส่งจังหวัดสุราษฎร์ธานีและข้าราชการในสำ�นักงานขนส่ง จังหวัดเข้าร่วมพิธอี ย่างพร้อมเพรียงกัน ณ พระอุโบสถวัดไตรธรรมาราม อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี เมือ่ วันพุธ ที่ 26 ตุลาคม 2559

18

ภาพถ่าย : ช่างภาพอาสาของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีทุกท่าน

พิธมี อบทุนการศึกษามูลนิธนิ า่ นฟ้าไทย ประจำ�ปี 2559

แก่เด็กพิการในจังหวัดั สุราษฎร์ธานี

เมือ่ วันที่ 13 ตุลาคม 2559 บริษทั วิทยุการบินแห่งประเทศไทยได้จดั งาน พิธีมอบทุนการศึกษา “มูลนิธิน่านฟ้าไทย” ประจำ�ปี 2559 ให้แก่เด็กพิการ ระดับประถมศึกษา โดยมีนายฑีฆายุ มุรธา นักวิชาการระดับผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ เป็นประธานมอบทุนการศึกษา นายวชิรพงศ์ เพ็ชรประสิทธิ์ ผูอ้ �ำ นวยการศูนย์ ควบคุมการบินสุราษฎร์ธานี กล่าวรายงานการมอบทุน ซึง่ จัดขึน้ ทีโ่ รงแรมสยามธานี ห้องเทพธานี 2 มีผปู้ กครอง นักเรียน ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียน ประชาชนเข้าร่วม งานอย่างคับคัง่


19


Buddhadasa on My Mind

Text / Photo : ธีรภาพ โลหิตกุล

คำ�ว่าบุญนั้น ใจความสำ�คัญมันอยู่ที่ว่าเป็นเครื่องชำ�ระชะล้างบาป การทำ�บุญหวังให้สวย ให้รวย ให้ได้วิมาน ให้ได้สวรรค์ เต็มไปด้วยกามารมณ์เหล่านี้ มันเป็นการชำ�ระชะล้างบาปหรือเปล่า ? พุทธทาสภิกขุ*

พุทธทาสภิกขุ* พุทธทาสภิกขุ อริยสงฆ์ผู้สร้าง “สวนโมกขพลาราม” เป็นแหล่งศึกษาและปฏิบัติแก่นแท้แห่งพุทธธรรม ท่านเป็นชาวอำ�เภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้รับการ ยกย่องจากองค์การยูเนสโกแห่งสหประชาชาติ ให้เป็น “บุคคลสำ�คัญผู้มีผลงานดีเด่นระดับโลก” ในปี พ.ศ. 2549

20



Exclusive

Text : ดร.ภาสกร ธรรมโชติ Photo : พศวั²น์ สิริศิลปสรณ์ / ษราวุธ พั²น์ศิริ

ผศ.ดร.ณรงค์ พุทธิชีวิน -

22

อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภั¯สุราษฎร์ธานี 2 สมัย สมาชิกสภาป¯ิรูปแห่งชาติ ประธานอนุกรรมาธิการปฎิรูประบบการศึกษา รองประธานอนุกรรมาธิการการศึกษา คนที่ 1 กรรมการยกร่างแผนการศึกษาแห่งชาติระยะยาว (2560-2574) อนุกรรมการยกร่างแผนอุดมศึกษา 15 ปี ฉบับที่ 2, 3 : (2525-2559), (2560-2574)


¼È.´Ã.³Ã§¤ ¾Ø·¸ÔªÕÇÔ¹

¹Ñ¡¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¹Ñ¡¤Ô´Á×ÍÍÒªÕ¾ ʹյ͸ԡÒú´Õ 2 ÊÁÑ ¼ÙŒÇÒ§ÃÒ¡°Ò¹ÇÔ·ÂÒÅѤÃÙÊÙ‹ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѪÑé¹¹íҢͧÀҤ㵌 àÃÒ¨ÐàËç¹·‹Ò¹¡ÅѺÁÒ㹺·ºÒ·Í¸Ô¡Òú´ÕÍÕ¡ËÃ×ÍäÁ‹? ã¹Í¹Ò¤µÍѹã¡ÅŒ¹Õé »ÃÐÇѵԡÒÃÈÖ¡ÉÒ áÅо×é¹à¾¢Í§¤Ãͺ¤ÃÑÇ

“¼ÁªÍº¤Ô´ ÍÐäáçµÒÁ¼Á¤Ô´áÅŒÇ໚¹ »ÃÐ⪹ ¼Á¨Ð¤Ô´ »˜¨¨ØºÑ¹¼ÁàʹÍá¹Ç¤Ô´ã¹ ¡Ò÷íÒá¼¹¡ÒÃÈÖ¡ÉҢͧªÒµÔ ¤¹àÃÒ¨ÐÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ÁÒ¡àÁ×Íè ¤ÇÒÁ¤Ô´¢Í§àÃÒä´ŒÃºÑ ¡Òû¯ÔºµÑ Ô ¨Ø´·Õ¼è Á à¤Â໚¹Í¸Ô¡Òú´Õ ¤×Í ¨Ø´ÊÙ§Êش㹪ÕÇÔµ¼ÁáÅŒÇ áÅмÁ¤Ô´Ç‹Ò¼ÁäÁ‹µÍŒ §¾Ôʨ٠¹ áÅŒÇÇ‹Ò¼Á໚¹Í¸Ô¡Òà ·Õ´è ËÕ Ã×ÍäÁ‹´Õ ¡Ãкǹ¡ÒþÔʨ٠¹ µÇÑ àͧÁѹ¨ºáÅŒÇ áµ‹¶ÒŒ ¨ÐÁÕÍÐäÃà¡Ô´¢Ö¹é ¡ŒÒǵ‹Íä» ¼Á¤Ô´Ç‹Ò¼ÁµŒÍ§ ·íÒà¾×èͺ͡NjÒÃÒªÀѯµŒÍ§äÁ‹ËÂØ´à¾Õ§ᤋ¹Õé” “ã¹»˜¨¨ØºÑ¹Ê¶ÒºÑ¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÃдѺÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ ¡íÒÅѧµÔ´¡Ñº´Ñ¡àÃ×èͧ¾Ñ¹¸¡Ô¨¢Í§ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂâ´Â ÁØ‹ § ์ ¹ Ç‹ Ò ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â ÁÕ Ë ¹Œ Ò ·Õè ¤× Í Ê͹ ºÃÔ ¡ Òà ÇÔªÒ¡Òà ·íҹغíÒÃاÈÔÅ»ÇѲ¹¸ÃÃÁ àÃÒäÁ‹à¤Âµéѧ ¤íÒ¶ÒÁµ‹ÍÇ‹Òà¾×Íè ÍÐäÃËÃ×Íà¾×Íè ã¤Ã ¶ŒÒ¨ÐµÑ§é ¾Ñ¹¸¡Ô¨ãËÁ‹ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѤÇÃÁÕ˹ŒÒ·Õè¼ÅÔµºÑ³±Ôµ ÊÌҧͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅйíҺѳ±ÔµáÅÐͧ¤ ¤ÇÒÁÃÙŒÁҢѺà¤Å×è͹ ä»ÊÙ‹ªØÁª¹áÅзŒÍ§¶Ôè¹” “Çѹ¹Õé¡Ãкǹ¡ÒèѴ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒµŒÍ§à»š¹¡Òà ÊÌҧ¤ÇÒÁËÇÁÁ×ͨҡËÅÒÂͧ¤ ¡Ã ºÑ³±ÔµäÁ‹ ¨íÒ໚¹µŒÍ§¼ÅÔµ¨Ò¡ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¾Õ§áË‹§à´ÕÂÇ ÊͧÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÍÒ¨¨ÐËÇÁ¡Ñ¹¼ÅÔµºÑ³±Ôµä´Œ «Ö§è ¨Ð µŒÍ§à¡Ô´¨Ò¡¤ÇÒÁËÇÁÁ×͡ѹ·Ñ§é ͧ¤ ¡Ã·Ñ§é ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ áÅмٌ»ÃСͺ¡ÒÔ

¾×¹é ྼÁ໚¹¤¹á¶ÇáÁ‹¹Òíé ÍíÒàÀÍà¡ÒÐÊÁØ ¨Ñ§ËÇÑ´ÊØÃÒɮà ¸Ò¹Õ ¼ÁࢌÒàÃÕ¹·ÕèâçàÃÕ¹à¡ÒÐÊÁØ ¡ÒÃàÃÕ¹·Õèà¡ÒÐÊÁØÂä´ŒÊÌҧ¾×é¹°Ò¹ ¤ÇÒÁ¤Ô´ãËŒ¡Ñº¼ÁÍ‹ҧÁÒ¡à¾ÃÒйѡàÃÕ¹·ÕèàÃÕ¹·ÕèâçàÃÕ¹à¡ÒÐÊÁØ ã¹ÊÁѹÑé¹ÁÕ໇ÒËÁÒ·Õè¨ÐࢌÒâçàÃÕ¹àµÃÕÂÁá¾·Â âçàÃÕ¹àµÃÕÂÁ ÇÔÈÇÐãˌ䴌 ᵋ㹪‹Ç§¹Ñé¹¼ÁÁÕ¢ŒÍ¨íÒ¡Ñ´·Ò§¤Ãͺ¤ÃÑÇ ¼ÁàŵѴÊԹ㨠ູà¢çÁÁÒ·Ò§ÊÒ¤ÃÙ ¼Á⪤´Õ·Õè¼ÁÁÕ¤ÃÙ·Õè໚¹µŒ¹áºº «Ö觼Á¶×ÍÇ‹Ò໚¹¤ÃÙ·Õè´Õ·ÕèÊØ´ã¹ ªÕÇÔµ¼Á ª×èͤس¤ÃÙÊÒÁÒö ÈÑ¡´Ôìà¨ÃÔÞ «Ö觻˜¨¨ØºÑ¹·‹Ò¹Âѧ¾íҹѡÍÂÙ‹·Õè ÍíÒàÀÍ·‹Òª¹Ð ¨Ñ§ËÇÑ´ÊØÃÒɮà ¸Ò¹Õ àÁ×èͼÁ¨º Á.È.3 ¼Á䴌ࢌÒÈÖ¡ÉÒ µ‹Í·ÕèÇÔ·ÂÒÅѤÃÙʧ¢ÅÒ ¨Ò¡¹Ñ鹡çࢌÒÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÈÃÕ¹¤ÃÔ¹·ÃÇÔâò »ÃÐÊÒ¹ÁԵà ËÃ×Í ÁÈÇ.»ÃÐÊÒ¹ÁԵà ໚¹·Õ·è ÃÒº¡Ñ¹´ÕÇÒ‹ ÊÁѹѹé ÇÔ·ÂÒÅÑ ÇÔªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ·Õè ÁÈÇ.»ÃÐÊÒ¹ÁÔµÃÁÕª×èÍàÊÕ§ÁÒ¡ã¹ÃдѺ»ÃÐà·È 㹪‹Ç§·Õàè ¢ŒÒÁÒàÃÕ¹·Õè ÁÈÇ.»ÃÐÊÒ¹ÁԵà ¼ÁÁÕ¤ÇÒÁÁا‹ ÁÑ¹è ·ÕÍè ÂÒ¡ ¨Ð¨ºä»´ŒÇÂà¡ÕÂõԹÂÔ Á ᵋ㹪‹Ç§·Õ¼è ÁàÃÕ¹»‚áá¼Áà¡Ô´¤ÇÒÁÃÙÊŒ ¡Ö Ç‹Ò ¶ŒÒ¨Ð·íÒãˌ䴌à¡ÕÂõԹÂÔ ÁÍѹ´Ñº 1 ªÕÇµÔ ¼Á¤§µŒÍ§ÍÂÙ¡‹ ºÑ ˹ѧÊ×Íᵋà¾Õ§ Í‹ҧà´ÕÂÇ «Ö§è ¼Á¤Ô´Ç‹ÒÁѹäÁ‹ãª‹ ¼ÁàŵѴÊÔ¹ã¨Ëѹ价íÒ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Ò§æ áÅÐä»àÅ‹¹¡ÕÌÒ ä»·íÒ˹ѧÊ×;ÔÁ¾ ä»ËŒÍ§ÊÁØ´ ä»ÍÍ¡¤‹ÒÂÍÒÊҾѲ¹Ò ä»ÍÂÙÍ‹ §¤ ¡ÒùѡÈÖ¡ÉÒ áÁŒ¼Å¡ÒÃàÃÕ¹¼Á¨Ðµ¡Å§Í‹ҧÎǺÎÒº ᵋ ¼ÁÂѧàª×èÍÇ‹Ò¡ÒÃàÃÕ¹äÁ‹ãª‹áµ‹à¾Õ§àÃÕ¹˹ѧÊ×ÍÍ‹ҧà´ÕÂÇ ¨¹ã¹·ÕÊè ´Ø ¼ÁÊíÒàÃ稡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¨Ò¡ ÁÈÇ.»ÃÐÊÒ¹ÁԵà «Öè§ã¹ª‹Ç§·Õè¼Á¨º¢³Ð¹Ñ鹡ç ໚¹ª‹Ç§ 14 µØÅÒ¤Á 2516 ¾Í´Õ ËÅѧ¨Ò¡¹Ñ¹é ¼ÁàÃÔÁè ·íÒ§Ò¹áÅСÅѺÁÒÈÖ¡ÉÒµ‹ÍÃдѺ»ÃÔÞÞÒâ··Õè ÁÈÇ.»ÃÐÊÒ¹ÁԵà ¾Í¨º»ÃÔÞÞÒâ·¼Á¡çÍÂÒ¡ÈÖ¡ÉÒµ‹ÍÃдѺ»ÃÔÞÞÒàÍ¡ ¼ÁÊͺࢌÒàÃÕ¹»ÃÔÞÞÒàÍ¡·Õè ÁÈÇ.»ÃÐÊÒ¹ÁԵà áÅзըè ÌØ Òŧ¡Ã³ áÅÐÊͺ¼‹Ò¹·Ñ§é 2 áË‹§ µÍ¹áá¼Á¤Ò´ËÇѧNjҼÁ¨ÐàÃÕ¹»ÃÔÞÞÒàÍ¡ ·Ñ§é Êͧ·Õè áµ‹Ê´Ø ·ŒÒÂÁѹäÁ‹äËÇ ¼ÁµÑ´ÊԹ㨷Õè¨ÐàÅ×Í¡àÃÕ¹µ‹Í·Õè»ÃÔÞÞÒ àÍ¡·Õ¨è ÌØ Òŧ¡Ã³ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂà¾ÃÒзջè ÃÐÊÒ¹ÁÔµÃàÃÕ¹ÁÒ·Ñ§é »ÃÔÞÞÒ µÃÕáÅлÃÔÞÞÒâ·áÅŒÇ ¼ÁàÃÔÁè ·íÒ§Ò¹¤Ãѧé áá㹵íÒá˹‹§ÍÒ¨Òà·ÇèÕ ·Ô ÂÒÅѤÃÙ¨¹Ñ ·ºØÃÕ µ‹Í ÁÒÂŒÒÂÁÒ·ÕÇè ·Ô ÂÒÅѤÃÙ ¹¤ÃÈÃÕ¸ÃÃÁÃÒª áÅÐÊØ´·ŒÒÂÂŒÒÂÁÒ·ÕÇè ·Ô ÂÒÅѤÃÙ ÊØÃÒɮà ¸Ò¹Õ 㹪‹Ç§·Õ輋ҹÁÒ¼ÁÁÕ¤ÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒã¹ÍÒªÕ¾ÁÒàÃ×èÍÂæ áÅÐàÃÕ¹ÃÙàŒ ¡ÕÂè ǡѺ¡ÒúÃÔËÒÃÁÒàÃ×Íè Âæ ¨¹ä´Œ´Òí çµíÒá˹‹§Í¸Ô¡Òú´Õ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÊØÃÒɮà ¸Ò¹Õ

23


ณ วันนี้

ผมว่าคนต้องการที่จะเรียนคณะอะไร และสาขาอะไร น้อยกว่าเรียนเพื่อจะเป็นอะไร และทำ�อะไรได้ การที่คนจะเรียนอะไร เพื่อทำ�อะไรได้นั้นเป็นการตอบ โจทย์สำ�หรับวันนี้และอนาคต

หากดูประวัติการศึกษาของผมจะเห็นว่าผมจบคณิตศาสตร์ตอน ปริญญาตรี ปริญญาโทผมจบทางด้านอุดมศึกษา ปริญญาเอกผมจบด้าน จิตวิทยาการศึกษา นอกจากนีใ้ นระหว่างทำ�งานผมได้มโี อกาสรับการคัด เลือกเข้าอบรมจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ของโลก โดยเข้าอบรมภาวะผู้นำ� ของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge) อบรมการ บริหารระดับสูงที่ Kellogg (Northwestern University) และเรียนรู้ ศึกษาดูงานที่มหาวิทยาลัย Oxford หลังจากผมหมดวาระอธิการบดีทมี่ หาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี แล้วผมผันตัวเองมาเป็นทีป่ รึกษาให้กบั อธิการบดีมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เป็นสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติดำ�รงตำ�แหน่งรองประธานกรรมาธิการ การศึกษาคนที่ 1 หลังจากนัน้ เมือ่ หมดวาระสมาชิกสภาปฏิรปู ผมมาทำ�งาน ทีเ่ วทีการศึกษาเพือ่ การเปลีย่ นแปลงประเทศไทยกับอาจารย์ประเวศ วะสี และร่วมจัดทำ�แผนการศึกษาชาติ (พ.ศ. 2560-2574) ของสภาการศึกษา แห่งชาติและทำ�แผนอุดมศึกษา 15 ปี (พ.ศ. 2560-2574) ของสำ�นักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา

สุราษฎร์ธานีกบั เมืองศูนย์กลางการศึกษา (Education Hub) จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นทีร่ วมของคนจากหลายๆ จังหวัด เป็นจังหวัด ที่เชื่อมระหว่างสองฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน และหากเรามองให้ดีเมื่อ เราเอาวงเวียนมาวงในบริเวณของอาเซียนจะพบว่าจังหวัดสุราษฎร์ธานี อยู่ตรงจุดกึ่งกลางของภูมิภาคอาเซียน ซึ่งจะเห็นได้ว่าสภาพภูมิศาสตร์ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานีอยู่ตรงกึ่งกลาง อย่างไรก็ตามในการเป็นศูนย์กลางการศึกษาไม่ใช่แค่เป็นศูนย์กลาง ทางภูมิศาสตร์และไม่ใช่เรื่องของการสร้างมหาวิทยาลัยให้มีขนาดใหญ่ หรือการสร้างมหาวิทยาลัยขึ้นอีกหลายๆแห่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานี การเป็นศูนย์กลางการศึกษาเป็นเรื่องของกระบวนการจัดกิจกรรมทาง การศึกษา กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากความ ร่วมมือจากหลายภาคส่วน ผมเคยมีความคิดในสมัยก่อนในการที่จะไปควบรวมมหาวิทยาลัย เหล่านีเ้ ป็นแห่งเดียว ซึง่ ในปัจจุบนั นีผ้ มรูแ้ ล้วว่าไม่ใช่ ณ วันนีผ้ มเปลีย่ น ความคิด เราไม่จ�ำ เป็นต้องควบรวม แต่สามารถจัดกิจกรรมให้รว่ มกันได้ จัดการเรียนการสอนร่วมกันได้ วันนีก้ ระบวนการจัดการศึกษาคือ Value Chain คือการสร้างความร่วมมือจากหลายองค์กร บัณฑิตไม่จำ�เป็นต้องผลิตจากมหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียว สอง มหาวิทยาลัยอาจจะร่วมกันผลิตบัณฑิตได้ ซึ่งจะต้องเกิดจากความร่วม มือกันทัง้ องค์กรทัง้ การศึกษาและผูป้ ระกอบการ ตัวอย่างเช่น Thai Fight ในปัจจุบนั ผลิตบัณฑิตสาขาการจัดการกีฬาร่วมกันกับสถาบันเทคโนโลยี เจ้าคุณทหารลาดกระบัง กระบวนการจัดการศึกษาในวันนีม้ หาวิทยาลัย ไม่ใช่เป็นพระเอกแต่เพียงฝ่ายเดียว เหมือนการสร้างหนังเรื่องหนึ่งที่ ต้องร่วมกันจากทุกภาคส่วน และผมเชื่อว่ากระบวนการแบบนี้จะทำ�ให้ สุราษฎร์ธานี เป็นเมืองแห่งการศึกษา มันตอบสนองความต้องการของ คนได้จริง

24


“ผมเคยมีความคิดในสมัยก่อนในการที่จะไปควบรวมมหาวิทยาลัยต่างๆ เป็นแห่งเดียว ซึ่งในปัจจุบันนี้ผมรู้แล้วว่าไม่ใช่ ณ วันนี้ผมเปลี่ยนความคิด เราไม่จำาเป็นต้องควบรวม แต่สามารถจัดกิจกรรมให้ร่วมกันได้ จัดการเรียนการสอนร่วมกันได้” “คนของพระราชา” ในมุมมองของท่านหมายความ ว่าอย่างไร

ณ วันนี ้ ผมว่าคนต้องการทีจ่ ะเรียนคณะอะไร และ สาขาอะไร น้อยกว่าเรียนเพือ่ จะเป็นอะไร และทำาอะไรได้ การทีค่ นจะเรียนอะไร เพือ่ ทำาอะไรได้นนั้ เป็นการตอบ โจทย์สาำ หรับวันนีแ้ ละอนาคต เราอาจต้องเปลีย่ นคำาถาม สำาหรับเด็ก จากทีถ่ ามว่าจะเรียนคณะอะไร เป็นต้องการ เป็นอะไร เช่น หากต้องการเป็นหมอก็ต้องเรียนวิชานี้ ไม่จาำ เป็นต้องเรียนในคณะเดียว มหาวิทยาลัยเดียว การจะ เป็นศูนย์กลางการศึกษาต้องอาศัยกำาลังทุกภาคส่วน การศึกษาจึงเหมือนการยกจอหนังที่ต้องใช้กำาลังจาก หลายๆ ภาคส่วนเข้ามาช่วยกันยกและตรึงหมุดหมาย

ผมมองว่าคำาว่า “คนของพระราชา” เป็นเป้าหมายสูงสุดไม่ใช่ เป็นคำาขึน้ ต้น ถ้าบอกว่าเราเป็นคนของพระราชาแต่ไม่ทาำ อะไรเลย ก็ไม่มปี ระโยชน์อะไร แต่ตอ้ งสะท้อนให้เห็นว่าคุณทำามหาวิทยาลัยให้ ตอบโจทย์ของประเทศอย่างทีพ่ ระราชาต้องการได้อย่างไร ปณิธาน ของพระองค์ท่านต้องคงอยู่ตลอดไป โดยมหาวิทยาลัยราชภฏสุราษฎร์ธานีจะต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่ ดูแลท้องถิน่ ไม่เพิกเฉยต่อปัญหาของชาวบ้าน ไม่เป็นมหาวิทยาลัย ที่ปิดโอกาสคน การที่จะพูดว่าเป็น “คนของพระราชา” มันต้อง ทำากิจกรรมที่เดินตามรอยพระราชาทำาก่อนถึงจะพูดได้ว่าเป็นคน ของพระราชาตามรอยพระองค์ท่าน ดังนั้นมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ธานี ต้องผลิตบัณฑิตทีม่ อี าชีพ เป็นนักปฏิบตั ทิ ตี่ ดิ ดิน ต้อง เอาโจทย์ของท้องถิ่นเป็นตัวตั้งและออกแบบมหาวิทยาลัยตามนั้น ตัวอย่างเช่น เรือ่ งสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยหลายๆ แห่งเพิกเฉย เมื่อไม่กี่วันมีไฟไหม้ที่ดอยสุเทพ ไฟไหม้ที่พรุโต๊ะแดง สิ่งเหล่านี้ สะท้อนว่าสังคมมีปญ ั หา คำาถามคือมหาวิทยาลัยทำาอะไร มันไม่ใช่ แค่การเข้าไปบอกในห้องเรียนว่า เราต้องไม่ตดั ต้นไม้นะ ถ้าเป็นผม จะส่งนักศึกษาเข้าไปช่วยในพืน้ ที ่ มันเป็นการสอนและส่งสัญญาณ ว่าทุกคนมีหน้าทีด่ แู ลสิง่ แวดล้อมด้วยการทำา ไม่ใช่ดว้ ยการถูกสอน ว่าให้ทาำ เราต้องทำาให้นกั ศึกษาเรียนรูด้ ว้ ยการทำา มากกว่าสอนว่า ให้ทาำ นักศึกษาต้องเป็นผูก้ ระทำา (Active Learner) ไม่ใช่ผถู้ กู กระทำา (Passive Learner) อีกตัวอย่างคือเรือ่ งการลงประชามติ เรือ่ งรัฐธรรมนูญ วันนีไ้ ม่มี มหาวิทยาลัยไหนทีค่ ดิ ว่าเป็นหน้าที ่ เราพบว่ามหาวิทยาลัยเพิกเฉย ทำาไมนักศึกษามหาวิทยาลัยไม่ไปทำาในสิ่งเหล่านี้ ถ้านักศึกษาไม่เข้าใจรัฐธรรมนูญ แล้วประชาชนจะเข้าใจได้อย่างไร นักศึกษาต้องถูกปลูกฝังว่านี่คือวิถีของเราที่เรา ต้องเข้าไปช่วยประเทศ นี่คือการสอนประชาธิปไตยโดยที่เราไม่ต้องสอน ตัวอย่างปัญหาในพืน้ ทีข่ องสุราษฎร์ธานี ในบทบาทของคนของพระราชาและ บทบาทของมหาวิทยาลัย ในวันนี้เกษตรกรที่ปลูกพืชผลต่างๆ ทำาบัญชีเป็นหรือไม่ รูห้ รือไม่วา่ ปลูกแล้วจะขายใคร การปลูกพืชแบบหลากหลายควรทำาอย่างไร นี่คือ บทบาทของมหาวิทยาลัยชัดๆ นักศึกษาจะต้องมีคลินิกเกษตรกรให้ประชาชนเข้า มาปรึกษา มหาวิทยาลัยต้องช่วยออกแบบกับประชาชนและให้นักศึกษาเหล่านี้ เข้าไปช่วยในเรื่องการตลาด ชาวบ้านขายพืชผลอำานาจต่อรองมีน้อย กลไกการ ตลาดไม่รู้ เราเข้าไปช่วยได้ไหม

25


บทบาทของมหาวิทยาลัยในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุราษฎร์ธานีควร เป็นอย่างไร ผมมองว่าในปัจจุบันเราติดกับดักเรื่องพันธกิจของมหาวิทยาลัยว่า มหาวิทยาลัยมีหน้าทีค่ อื สอน บริการวิชาการ ทำ�นุบ�ำ รุงศิลปวัฒนธรรม เราไม่ เคยตัง้ คำ�ถามต่อว่าเพือ่ อะไรหรือเพือ่ ใคร ถ้าจะตัง้ พันธกิจใหม่ มหาวิทยาลัย ควรมีหน้าทีผ่ ลิตบัณฑิต สร้างองค์ความรู้ และนำ�บัณฑิตและองค์ความรู้ มาขับเคลื่อนไปสู่ชุมชนและท้องถิ่น ถ้าเป็นแบบนี้จะตอบโจทย์มากกว่า หากยึดตามหลักนีจ้ ะตอบได้เลยว่าผลิตบัณฑิตสาขานีไ้ ม่ใช่ความต้องการ ของชุมชน วิจัยเรื่องนี้ไม่ใช่ความต้องการของชุมชน ซึ่งต้องทบทวนกัน อย่างจริงจัง

ปัญหาธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย ธรรมาภิบาลมีสองลักษณะ ประการแรกคือการมองแล้วตัดสินโดย ไม่มขี อ้ มูล เช่น หากมีโครงการใหญ่ตอ้ งมีการโกง การรับคนเข้ามาทำ�งาน ต้องมีการรับพวกพ้อง ธรรมาภิบาลบางครั้งเป็นเรื่องของอคติ การไม่มี ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยมันมีจริง มีกระบวนการเอือ้ มีกระบวนการทีค่ ดิ ว่าไม่ผดิ แต่ผดิ มีกระบวนการทีผ่ ดิ แต่เจตนาทีจ่ ะทำ� เพราะฉะนัน้ มีทง้ั สิง่ ที่ เป็นจินตนาการ อคติ ประการทีส่ องปรากฏการณ์ในโลกของความเป็นจริง ถ้าเราปล่อยไปโดยไม่จัดการ เราจะสิ้นหวังกับการสร้างคนรุ่นใหม่ เราต้องจัดการสร้างระบบธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยให้ได้ ผมมอง ว่ามหาวิทยาลัยควรมีคณะกรรมการธรรมาภิบาลหรือสมัชชาธรรมาภิบาล

26

ผมมีความกังวลที่ มหาวิทยาลัยบางแห่งมุ่งเน้น แต่การสร้างสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งมันไม่ใช่ทิศทางที่ควรจะก้าว ไปในอนาคต การเรียนจะต้อง เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา ในมหาวิทยาลัยที่มีตัวแทนจากหลายภาคส่วน ทั้งในและนอก มหาวิทยาลัย นั่นแปลว่าเรื่องอะไรก็ตามที่มีคำ�ถามในเรือ่ งเหล่านี้ โยนลงไปในคณะกรรมการธรรมาภิบาลให้คณะกรรมการพิจารณา ถ้าทำ�ไม่ได้ก็หยุด ถ้ามีคณะกรรมการธรรมาภิบาล การร้องเรียน


ก็ จ ะน้ อ ยลงและตอบคำ า ถามต่ อ สั ง คมได้ เช่ น ทำ าไมต้ อ ง ก่อสร้างอาคารนี้ ประกวดราคาโดยวิธีพิเศษ ผมจะส่งไปที่ คณะกรรมการธรรมาภิบาลให้วนิ จิ ฉัยว่าควรหรือไม่ แล้วกลไก บริหารก็รบั ลูกมาลงมือต่อ จึงเป็นการทีไ่ ม่ใช่ทาำ แล้วก็แก้ แต่ให้ แก้กอ่ นทีจ่ ะทำา และนำานักศึกษาให้เข้ามามีสว่ นร่วม ซึง่ นักศึกษา จะไม่ใช่ผรู้ บั (Passive Person) ในมหาวิทยาลัยแต่ตอ้ งเป็น ผูเ้ ล่น (Player) ด้วย

ทักษะที่จำาเป็นสำาหรับบัณ±ิตในยุคใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ การสือ่ สาร การมุง่ อนาคต และการ ตัดสินใจ เป็นทักษะที่จำาเป็น สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องสำาคัญสำาหรับ คนรุ่นใหม่ โดยทั้งหมดทั้งปวงนี้มีเรื่องเทคโนโลยีเป็นพื้นฐาน เราจะสามารถสร้างมันได้โดยกระบวนการให้นักศึกษาลงไป ปฏิบตั จิ ริง และทีจ่ ะทำาให้เกิดได้จริงๆ คือการส่งนักศึกษาเข้าไป ในพื้นที่ โลกยุคใหม่ ถ้าเราเอาแต่สร้างอาคารเรียน จะตอบ สนองความต้องการของอนาคตได้อย่างไร โลกของการเรียนรู้ ในมหาวิทยาลัยคือ สถานประกอบการ ชุมชน และสังคม เปรียบเสมือน Value Chain หรือห่วงโซ่แห่งคุณค่า กระบวนการ ของมหาวิทยาลัยเป็นเรือ่ งของผูป้ ระกอบการ ชุมชน และสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันออกแบบคนที่ต้องการจ้างในอนาคต ผมมีความกังวลทีม่ หาวิทยาลัยบางแห่งนัน้ มุง่ เน้นแต่การ สร้างสิง่ ปลูกสร้าง เช่น อาคารเรียน ซึง่ มันไม่ใช่ทศิ ทางทีค่ วรจะ ก้าวไปในอนาคต การเรียนจะต้องเกิดได้ทกุ ที ่ ทุกเวลา (anytime anywhere) สิง่ ปลูกสร้างจะถูกใช้งานน้อยลง กระบวนการเรียน ในมหาวิทยาลัยต้องสามารถที่จะเรียนออนไลน์ ตัวอย่างที่เห็น ทุกวันนีห้ ากเราต้องการสัง่ อาหารอร่อยๆ เราไม่ตอ้ งไปทีร่ า้ นแล้ว แค่เปิดดูLine Facebook อาหารมาส่งถึงที่ เพราะฉะนั้น มหาวิทยาลัยเองต้องให้นกั ศึกษาลงไปในพืน้ ที ่ มหาวิทยาลัยต้อง เรียนรูท้ จี่ ะส่งถึงมือ (Delivery) ด้วยเทคนิคการเรียนรูแ้ บบใหม่ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยจะต้องเปิดกว้างให้ใครก็ได้ส่ง ลูกมาเรียน แต่ไม่ใช่เปิดกว้างแต่เพียงอย่างเดียว ต้องร่วม กันผลิต ร่วมกันรับไปทำางาน พ่อที่เป็นทนายความเปิดบริษัท ทนายความ ถ้าต้องการส่งลูกมาเรียนนิติศาสตร์ ควรจะให้ เรียน เพราะเขามีงานทำาแน่ๆ เพราะนักศึกษามีครูทั้งที่บ้าน และมหาวิทยาลัย และมีความใฝ่ฝัน (Passion) ในวิชาชีพ อยู่ในสายเลือด กระบวนการในการคัดคนเข้าเรียนต้องให้ ความสำาคัญกับสถานประกอบการมากขึ้น เพราะมีส่วนในการ รับเด็กไปฝึกงานและทำางานและให้ทนุ นักศึกษาทีร่ บั เข้าเรียนได้ เช่น บริษัท A ต้องการให้ลูกทำาธุรกิจ มหาวิทยาลัยรับให้ เข้าเรียนบริหารธุรกิจ แต่บริษทั A ต้องรับนักศึกษาคนนัน้ เป็น พนักงานตั้งแต่ต้น รับไปฝึกงาน รับไปทำางาน และบริษัท A ต้องมาช่วยสอนในมหาวิทยาลัยด้วย สิง่ เหล่านีเ้ ป็นสิง่ ทีจ่ าำ เป็น สำาหรับทักษะชีวิต

27


องค์ประกอบของความสำาเร็จ ในการทำางาน คือ

สมรรถนะในตัวคน เราต้องการให้บุคลากร มีสมรรถนะอย่างไร ต้องการให้ผลิตอะไรออกมา ต้องใส่สมรรถนะด้านนั้นเข้าไป ที่สำาคัญเราต้องไม่ตัดสินปลา โดยการดูความสามารถ ในการปีนต้นไม้

มุมมองของการสร้างสุขในองค์กร องค์ประกอบของความสำาเร็จในการทำางานมีอยูส่ องอย่าง ประการแรกคือความสุข เราไม่มี ทางทีจ่ ะทำากับข้าวอร่อยถ้าเราทุกข์ เราไม่มที างร้องเพลงได้ไพเราะถ้าใจเราขุน่ มัว การมองโลก ในแง่ดี การมองโลกอย่างมีความหวังคือพื้นฐานของความสุข สิ่งที่สองคือสมรรถนะในตัวคน (Competency) มีความสุขแต่ทาำ อะไรไม่เป็นก็ไม่ได้ หลังจากมีความสุขและมีสมรรถนะก็จะเกิด การลงมือทำา (Performance) อย่างที่เราต้องการ วันนีผ้ บู้ ริหารมหาวิทยาลัยพยายามจะตัง้ สมรรถนะ โดยไม่ได้ดเู ลยว่าบุคลากรมีความสุข มีสมรรถนะหรือเปล่า ผมมองว่าเราต้องใส่ Value หรือคุณค่าเข้าไปให้บคุ ลากรมีความสุขในงาน ที่ทำาให้มีความภูมิใจในองค์กร ให้มีอนาคตจากองค์กรนั้นด้วย นี่คือ Value ให้มองโลกในแง่ดี มองเพื่อนมนุษย์อย่างเอื้ออาทร ส่วนทีส่ องต้องใส่ สมรรถนะ (Competency) เราต้องการให้บคุ ลากรมีสมรรถนะอย่างไร ต้องการให้ผลิตอะไรออกมา ต้องใส่สมรรถนะด้านนั้นเข้าไป ถ้าต้องการให้นักศึกษาวิจัยเป็น เราต้องมีอาจารย์ที่เข้าใจงานวิจัยอย่างถ่องแท้ เราต้องการให้นักศึกษาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำาได้ เราต้องมีอาจารย์ที่มีความสามารถในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำา ที่สำาคัญเราต้องไม่ตัดสินปลาโดย การดูความสามารถในการปีนต้นไม้

28

อาจารย์ในมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ต้องปรับตัวอย่างไร การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในวงการศึกษา วิธกี ารสอน และการเรียนรูใ้ นศตวรรษที ่ 21 อาจารย์ จ ะต้ อ งปรั บ ตั ว เป็ น อย่ า งมากถ้ า ต้องการสร้างอาจารย์ที่มีสมรรถนะ เรา จำาเป็นต้องมีสถาบันพัฒนาอาจารย์ที่จะ พั ฒ นาอาจารย์ ใ ห้ มี ส มรรถนะตามที่ เ รา ต้องการ แค่อาจารย์รู้ว่ามหาวิทยาลัยไม่ ทอดทิง้ ความสุขก็เกิดแล้ว ในขณะเดียวกัน บุคลากรต้องพยายามทำาตัวให้เป็นคนที่ใช่ สำาหรับองค์กรด้วย บุคลากรต้องเป็นปลา เป็นไม่ใช่ปลาตาย ทีพ่ ร้อมทีจ่ ะขับเคลือ่ นไป ด้วยกัน บุคลากรต้องพยายามทีจ่ ะสร้างงาน ผลิตคน ผลิตความรู ้ และนำาคนและความรู้ ไปขับเคลื่อน


มหาวิทยาลัยจะต้องเปิดกว้าง ให้ใครก็ได้ส่งลูกมาเรียน แต่ไม่ใช่เปิดกว้างเพียงอย่างเดียว ต้องร่วมกันผลิต ร่วมกันรับไปทำางาน

การส่งอาจารย์ไปเรียนต่อต่างประเทศยังมีความจำาเป็นอยู่ แต่มี แนวคิดใหม่จะใช้วิธีรับอาจารย์ในบางสาขาโดยการให้ทุนย้อนหลัง หากมีอาจารย์หนึ่งคนที่สอบไปเรียนต่อปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยต่าง ประเทศได้ ผมตัดสินใจส่งไปเรียน ผมต้องรออีกห้าปีกว่าอาจารย์ท่าน นั้นจะสำาเร็จการศึกษาและกลับมาปฏิบัติหน้าที่ แต่การรออีก 5 ปี มันมีความเสี่ยงที่ว่าผู้ท่ไี ด้รับทุนจะจบการศึกษาหรือไม่และจะกลับมา ทำางานหรือไม่ หรือไม่แน่ใจว่าความต้องการในศาสตร์นี้ยังคงอยู่หรือ เปล่าเมื่อเวลาผ่านไป การส่งคนไปแบบนี้มหาวิทยาลัยมีความเสี่ยง รูปแบบใหม่ ก็คือหากมีคนปริญญาเอกมาสมัครในสาขาที่ใช่เรา จะเสนอให้ทุนหมดเลยตามที่คุณไปใช้จ่ายในการเรียนปริญญาเอก โดยมีสัญญาว่าจะต้องทำางานภายในกี่ปี และทยอยจ่ายเงินดังกล่าวให้ เป็นเดือนบวกเพิม่ ไปในเงินเดือนโดยไม่ได้จา่ ยเป็นก้อนเดียว ผมได้อะไร จากการทำาแบบนี ้ ประการแรกผมได้คนจบปริญญาเอกทันที สองผมได้คน มาทำางานทันที และหากเบีย้ วความเสียหายก็นอ้ ยหรือหากโครงการนีเ้ กิด ผมอาจจะรับคนที่ทำางานที่มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่อื่นมา 10 ปีแล้ว แต่มีความประสงค์จะลาออกมาทำางานกับผม เราให้ทุนย้อนหลังได้ ด้วยเช่นกัน

ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันทำาให้มีนักศึกษาจำานวน หนึง่ ไม่สามารถเรียนได้และต้องลาออก เราจะช่วย เด็กอย่างไร ประการáรก เงินรายได้ทเี่ รามีทงั้ หมดต้องกันไว้เป็นทุน การทำางานสำาหรับ นักศึกษาเหล่านี้ ประการที่สอง ในส่วนที่ นักศึกษาไปทำางานในสถานประกอบการ เราแปลงการฝึกงาน เป็นการจ้างและเอาการจ้างเป็นต้นทุนของบริษทั บริษทั สามารถ นำาต้นทุนนี้ไปลดภาษีได้สองเท่า แน่นอนเราต้องมีเครือข่าย เพราะผมได้กล่าวไว้แล้วว่าการผลิตบัณฑิตมีหมุดตรึงหลายตัว ผมกำาลังมองว่าบริษทั จ้างนักศึกษาเราเป็นพนักงานตัง้ แต่ตน้ นี่ คือการให้ทุน และค่าจ้างพนักงานคือต้นทุนของบริษัทที่นำา ไปลดหย่อนภาษี ช่วงที่นักศึกษาว่างให้มาทำางานให้บริษัท นักศึกษาจะได้เห็นคุณค่าของบริษทั คุณค่าของการทำางาน และ ได้ประสบการณ์ด้วย มหาวิทยาลัยจะก้าวไปข้างหน้าต้องนำา พาไปทั้งอาจารย์ บุคลากร นักศึกษา นอกจากนีต้ อ้ งมีชอ่ งทางหารายได้แบบอืน่ ทีไ่ ม่ได้มาจาก งบประมาณแผ่นดินแต่เพียงอย่างเดียว ในปัจจุบันผมไม่ได้ หนักใจว่านักเรียนทีจ่ ะเข้ามหาวิทยาลัยน้อยลง การจัดการศึกษา

29


ของมหาวิทยาลัยในอนาคตต้องปรับเปลี่ยน ถ้าเทคโนโลยีเข้ามา คนหนึ่งคนที่ทำางานแล้ว จะต้องเปลีย่ นงานสามสีร่ อบ เนือ่ งจากการเข้า มาทดแทนของเทคโนโลยี เราต้องจัดการศึกษา ให้คนทำางานแล้ว เพราะเขาต้องการการเติม เต็ ม หรื อ ปรั บ ทั ก ษะใหม่ เ พื่ อ เสริ ม ศั ก ยภาพ เพื่อรองรับการเปลี่ยนงานใหม่ เนื่องจากมี เทคโนโลยีเข้ามาแทนทีต่ าำ แหน่งเดิม รายได้อกี ส่วนหนึง่ มาจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยร่วมมือกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ในการพัฒนาคน เช่น เทศบาลจัด อบรมภาษาจีนสำาหรับเป็นมัคคุเทศก์ เทศบาลซือ้ หลักสูตรมาจากมหาวิทยาลัย และไปดำาเนินการ จัดอบรมให้ประชาชนทั่วไป การดำาเนินการ แบบนีป้ ระชาชนไม่ตอ้ งจ่ายเอง เทศบาลจ่ายให้ เป็นการพัฒนาคน เพราะถ้าคนมีรายได้ รายได้ ก็ยอ้ นกลับมาทีเ่ ทศบาล เหมือนการอบรมของ มติชนหรืออบรมการขายตรง ซึง่ ในปัจจุบนั ไม่ใช่ Amway แล้ว ก๋วยเตี๋ยว ข้าวยำา ขายตรงได้

ความสำาคัญศิษย์เก่าต่อมหาวิทยาลัย ผมมองว่าเราเข้าไม่ถึงแก่นของศิษย์เก่า ผมไปอบรมทีเ่ คมบริดจ์ ผมเป็นศิษย์เก่า เคมบริดจ์ ส่งเอกสารข่าวมาให้ผมทุกปี เมือ่ ส่งข่าวคราวที่ ไม่ใช่เรือ่ งของเงิน ศิษย์เก่ามีความยินดี แต่วนั นี้ เกือบทุกข่าวสารทีศ่ ษิ ย์เก่ารับจากมหาวิทยาลัย เดาได้เลยคือการขอความอนุเคราะห์เรื่องเงิน ต้องเปลี่ยนกรอบความคิด วันนี้ศิษย์เก่าอยู่ในพื้นที่เป็นจำานวนมาก เราสามารถเชิญศิษย์เก่ามาเป็น mentor หรือ พีเ่ ลีย้ งให้กบั นักศึกษา ให้คาำ แนะนำา ให้คาำ ปรึกษา เกี่ยวกับชีวิต เกี่ยวกับการทำางาน ศิษย์เก่า 2 คน เป็นพี่เลี้ยงให้กับนักศึกษา 1 คน ใน รูปแบบนีศ้ ษิ ย์เก่าจะมีความหมายมาก มากกว่า การระดมเงิน วันนีก้ ระบวนการเหล่านีย้ งั ไม่เกิด ศิษย์เก่าทุกคน คือ หมุด ซึง่ จะมีพลังมหาศาล มหาวิ ท ยาลั ย มี ศิ ษ ย์ เ ก่ า ที่ เ ป็ น นั ก ธุ ร กิ จ ที่ มี ชื่อเสียง ผู้ประกอบการและข้าราชการผู้ใหญ่ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีจำานวนมาก ในอดีตมี นักธุรกิจ ข้าราชการ ผู้นำาท้องถิน่ หลายคนที่ สำาเร็จการศึกษาจากโครงการ ExBA ExPA ซึง่ ผมมองเรือ่ งนีม้ านานแล้ว ไม่ใช่เพิง่ คิดและได้ วางแนวทางมาหลายปีแล้วลองนำาคนเหล่านี้ มาเป็นที่ปรึกษาให้กับนักศึกษาก็จะเป็นพลัง มหาศาล และให้โอกาสน้องๆ เข้าไปฝึกงานนี่ คือการสร้างองค์กรอย่างมีความหมาย

30

คนสุราษฎร์ธานีมศี กั ยภาพ แต่ยงั ขาดกลไกทีจ่ ะใช้ศกั ยภาพได้เต็มที่ ถ้าคนสุราษฎร์ธานี สถาบันการศึกษา ผูน้ าำ ท้องถิน่ นักธุรกิจ มานัง่ พูดคุยกันเพือ่ มาร่วมพัฒนาสุราษฎร์ธานี เพือ่ พัฒนา Value และศักยภาพ (Performance) ก็จะเกิด


หน้าที่ของมหาวิทยาลัย คือการสร้างความรู้ ไม่ใช่การมุ่งสร้างสิ่งปลูกสร้าง หรืออาคารขนาดใหญ่ อยากฝากอะไรไว้ให้กับชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผมมองว่าคนสุราษฎร์ธานีมศี กั ยภาพในระดับทีน่ า่ พอใจ แต่ยงั ขาดกลไก ทีจ่ ะใช้ศกั ยภาพได้เต็มที่ ถ้าคนสุราษฎร์ธานี สถาบันการศึกษา ผูน้ �ำ ท้องถิน่ นักธุรกิจ สามารถมานัง่ พูดคุยกันเพือ่ มาร่วมพัฒนาสุราษฎร์ธานี เพือ่ พัฒนา คุณค่าและสมรรถนะ ถ้าเราสามารถสร้างตรงนี้ได้ในเรื่องคุณค่า เรามี ท่านพุทธทาส เรามีความเป็นเมืองคนดี เราขาดสมรรถนะ ต้องมาร่วม พูดคุยว่าจะพัฒนา Competency หรือ สมรรถนะอะไรให้เป็นพิเศษกับ คนสุราษฎร์ธานี วันนี้คนสุราษฎร์ธานีมีกุ้ง ปลา หอย ปาล์ม ยาง การปลูกทำ�ได้ดี แต่บางเรือ่ งยังมีปญ ั หาในการนำ�ไปขายต่างประเทศ แต่เดิม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีเคยมี AIC (ASEAN Information Center) ซึง่ เป็นศูนย์ขอ้ มูลอาเซียน แต่ปจั จุบนั ได้ให้บริษทั เอกชนเช่า ผมไม่คอ่ ยเห็นด้วย เนือ่ งจากศูนย์ AIC ดังกล่าวสามารถจัดอบรม เชิญทูตพาณิชย์ กงสุลประเทศ ในอาเซียน ถ้าจะค้าขายกับพม่า กัมพูชา นักธุรกิจต้องเตรียมตัวอย่างไร เราสามารถเชิญบุคคลเหล่านี้มาให้ความรู้ แลกเปลี่ยนร่วมกัน นอกจากนี้ ยังสามารถเป็นแหล่งคัดสรรคนจากอาเซียนให้กบั สถานประกอบการ วันนี้ ถ้าเราบอกว่าบริษัทต้องการคนพม่าสักสิบคน เราจะหาที่ไหน เราสามารถ ฝึกอบรมแรงงานต่างด้าวได้ ก่อนจะส่งลงไปยังสถานประกอบการ นอกจากนี้ยังมีพื้นที่บ้าน SRU บนเกาะสมุยที่ไปสร้างไว้ที่หน้าทอน ผมหวังทีจ่ ะให้เป็นตัวอย่างของ Guest House ให้นกั ศึกษาทีเ่ รียนการโรงแรม ได้ฝึกประสบการณ์ในการบริหาร Guest House ไม่จำ�เป็นว่านักศึกษาที่ เรียนการโรงแรมจะต้องบริหารโรงแรมขนาดใหญ่ แต่ในปัจจุบันพื้นที่ดัง กล่าวได้จัดสรรไปทำ�อย่างอื่นแล้ว ในส่วนวิทยาลัยนานาชาติ หากเรามา เรียนวิทยาลัยนานาชาติทสี่ มุยนัน่ คือ สีเ่ อส 4S หรือ Sea Sand Sun Study จะเห็นได้วา่ ในปัจจุบนั คนจีนมาท่องเทีย่ วสมุยเป็นจำ�นวนมาก ถ้าเราสามารถ นำ�นักศึกษาจีนมาเรียนการท่องเทีย่ วกับเราได้ หรือนักศึกษาจากเวียดนาม พม่า มาเรียนทีเ่ รา เมือ่ นักศึกษาเหล่านีจ้ บแล้ว เราสามารถจ้างให้ท�ำ งานกับ เราและให้ไปเปิดสำ�นักงานในประเทศบ้านเกิดเพื่อเป็นตัวแทนในการรับ นักศึกษาต่างชาติให้กับทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีต่อไปได้

สุดท้ายผมเป็นคนชอบคิด อะไรก็ตามผมคิดแล้ว เป็นประโยชน์ผมจะคิด ปัจจุบนั ผมเสนอแนวคิดในการทำ� แผนการศึกษาของชาติ คนเราจะมีความสุขมากเมื่อ ความคิดของเราได้รับการนำ�ไปปฏิบัติ จุดที่ผมเคยเป็น อธิการบดีคอื จุดสูงสุดในชีวติ ผมแล้ว และผมคิดว่าผมไม่ ต้องพิสจู น์แล้วว่าผมเป็นอธิการทีด่ หี รือไม่ดี กระบวนการ พิสจู น์ตวั เองมันจบแล้ว แต่ถา้ จะมีอะไรเกิดขึน้ ก้าวต่อไป ผมคิดว่าผมต้องทำ�เพือ่ บอกว่าราชภัฏฯ ต้องไม่หยุดเพียง แค่นี้ มหาวิทยาลัยต้องมีพลวัต ผมคิดว่ามหาวิทยาลัยกำ�ลัง เสียศูนย์ติดกับดักพันธกิจ สอน วิจัย บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยต้องตอบโจทย์ประเทศ ส่วนกระบวนการสอน วิจยั บริการวิชาการ เป็นส่วนหนึง่ ในการตอบโจทย์ประเทศ หน้าที่ของมหาวิทยาลัยคือการสร้างความรู้ ไม่ใช่การ มุ่งสร้างสิ่งปลูกสร้างหรืออาคารขนาดใหญ่ หากเราต้อง เลือกระหว่างการสร้างอาคารหนึง่ หลังกับการซือ้ โปรแกรม หรือฐานข้อมูลใหม่ๆ จากมหาวิทยาลัยชั้นนำ�เพื่อการ เรียนรูใ้ หม่ ต้องตัดสินใจให้ถกู การสร้างหอสมุดใหญ่ๆ วันนี้ มันไม่ใช่แล้วเพราะห้องสมุดมันเป็นดิจิตอลไปหมดแล้ว ห้องสมุดที่ผมต้องการ คือ ห้องสมุดที่สามารถเข้าถึง ฐานข้อมูลหรือหนังสือออนไลน์ของมหาวิทยาลัยชั้นนำ� ของไทยและต่างประเทศได้ หากผมต้องการหนังสือเล่ม หนึง่ ทีอ่ ยูท่ ี่ MIT เราก็สามารถสืบค้นจากระบบของเราได้ นี่ต่างหากคือทิศทางใหม่ของการเรียนรู้ที่มหาวิทยาลัย ควรจะก้าวไป

31


atTai-Nichi YUKO Text : น้าตู่ / Photo : วัธนา มาลัยบาน

ตะลุยโตเกียว เที่ยวชิบูย่า ล่าฮาราจูกุ ทะลุตลาดอะเมโยโกะ ทริปนีผ้ มได้นอ้ งนักเรียนไทยในญีป่ นุ่ เป็นผูน้ �ำ ทาง น้องไอซ์กบั น้องอาท สองนักเรียนไทยทีอ่ ยูใ่ นจังหวัดอิบารากิ (Ibaraki) ไม่ไกล จากกรุงโตเกียวมากนัก อาสาพาเทีย่ วหลังจากทีไ่ ด้พบน้องๆ ทีส่ ถานี อากิฮาบาร่า (Akihabara) แล้วน้องก็น�ำ ทางโดยนัง่ รถไฟ สาย JR Yamato line (มี 28 สถานี) ซึง่ เป็นรถไฟวิง่ รอบเป็นวงกลมและจะจอดทุก สถานี ค่าโดยสารไม่เกิน 200 เยน แต่ถา้ เราซือ้ บัตรเติมเงินก็จะสะดวก ในการขึน้ รถไฟในโตเกียว ทีแ่ รกเรามาทีย่ า่ นชิบยู า่ (Shibuya) วันนี้ อากาศสบายๆ สำ�หรับย่านนีเ้ ป็นทีเ่ หมาะสำ�หรับผูท้ ช่ี น่ื ชอบช็อปปิง้ อีกทัง้ เป็นแหล่งรวมเสือ้ ผ้าแฟชัน่ ทีน่ �ำ สมัย แต่ราคาก็มหี ลายระดับ จนถึงหลักแสนเยน โดยเฉพาะสินค้าแบรนด์เนม น้องไอซ์ชวนให้มา ดูผคู้ นทีก่ �ำ ลังจะข้ามถนน พอสัญญาณไฟเขียวให้คนเดินข้ามถนนได้ ฝูงชนต่างเดินอย่างเร่งรีบ ตรงห้าแยกจุดข้ามถนนตรงนีจ้ ดั เป็นแหล่ง ทีน่ กั ท่องเทีย่ วไม่ควรพลาดเพราะคุณจะได้เห็นการข้ามถนนทีม่ ผี คู้ น มากมายต่างเดินสวนกันไปมา ถ้าเรามองจากมุมสูงแล้วต้องยอมรับ เลยครับว่าเยอะจริงๆ ข้ามมาอีกฝัง่ ตรงข้ามกับสถานีรถไฟ จะพบกับ รูปหล่อของเจ้าฮาจิโกะ สุนขั ยอดกตัญญู เราใช้เวลาพอสมควรจึงนัง่ รถไฟต่อไปทีฮ่ าราจูกุ (Harajuku) เพียงสถานีเดียว 120 เยน ย่านนี้ เป็นแหล่งช็อปปิง้ สำ�หรับวัยรุน่ และผูช้ น่ื ชอบการคอสเพลย์ เราจะเห็น ความมีสสี นั ไม่แพ้ยา่ นอืน่ ในกรุงโตเกียว วันอาทิตย์บา่ ยๆ จะคึกคักมาก เพราะมีวยั รุน่ ญีป่ นุ่ มารวมกัน บ้างก็แต่งตัวตามแบบหนังการ์ตนู หรือ ภาพยนตร์ทก่ี �ำ ลังดังทางโทรทัศน์ ออกมาเดินโชว์ความสวยงามของ ชุดให้คนทีผ่ า่ นไปผ่านมาได้ชม มีการแสดงดนตรีสดหลากหลายรูป แบบอีกทัง้ ร้านค้า แหล่งช็อปปิง้ ในย่านนีจ้ ะเน้นไปทีเ่ สือ้ ผ้าแฟชัน่ แบบ วัยรุน่ และร้านกิฟท์ชอ็ ปน่ารักๆ หลายร้านทีห่ ากได้เข้ามาแล้วสามารถ เดินดูกนั ได้ทง้ั วันแบบไม่มเี บือ่ สำ�หรับผูท้ ช่ี น่ื ชอบตุก๊ ตา Kitty แล้วคงจะ อดใจไม่ไหวแน่ๆ เพราะร้าน Kiddy Land เป็นร้านทีร่ วบรวมเจ้า Kitty ไว้มากมาย และยังมีของให้คณ ุ ได้เลือกซือ้ อีกหลายอย่าง ตัง้ แต่ชน้ิ เล็กๆ จนถึงชิน้ ใหญ่ ส่วนราคาไม่ตอ้ งพูดเลยล่ะครับ น้องอาทและน้องไอซ์ บอกเราให้ไปต่อกันทีย่ า่ นอุเอโนะ (Ueno) กันดีกว่า เราทัง้ สามคนจึง เดินกลับไปขึน้ รถไฟต่อไปอีกไม่กส่ี ถานีกม็ าถึงสถานีอเุ อโนะเป็นสถานี ทีใ่ หญ่ เราสามารถต่อรถไฟไปยังสนามบินนาริตะได้จากสถานีน้ี น้องไอซ์ บอกเราว่าต้องเดินออกทีท่ างออกหมายเลข 5 เพือ่ ทีจ่ ะเดินไปทะลุยงั ตลาดอะเมโยโกะ (Ameyoko) เสียงดังมาแต่ไกลจากพ่อค้าในตลาด ทีร่ อ้ งเชิญชวนและให้ลองลิม้ ชิมผลไม้ ราคาไม้ละ 100 เยน (34 บาท) ทัง้ สับปะรด เมล่อน สตรอว์เบอร์ร่ี ยืนกินกันอย่างเอร็ดอร่อยเลยล่ะครับ เดินเข้าไปด้านในจะเป็นอาหารทะเลสด ปลาหมึกตัวโตๆ ปลาแซลมอน ปูยกั ษ์ ขายถูกมากเลยครับ เห็นแล้วอยากซือ้ กลับมาเมืองไทยจัง ร้านขายขนมราคาเหมือนร้านขายส่ง ราคาไม่แพง นักท่องเทีย่ วต่าง เลือกซือ้ กินกันอย่างสนุกสนาน ยิง่ ใกล้ค�ำ่ คนก็ยง่ิ เยอะ เราเดินตามถนน ทีแ่ บ่งออกเป็นซอย เริม่ หิวกันแล้ว น้องอาทชวนแวะชิมข้าวปัน้ ซูซิ ราเมง ภายในร้านบรรยากาศเป็นแบบญีป่ นุ่ ดัง้ เดิม เชฟเป็นคนญีป่ นุ่

32


ขายเป็นคำ�ๆ ในร้านมีแต่คนญีป่ นุ่ ผมเองไม่คอ่ ยชอบอะไรดิบๆ มากนักแต่พอน้องๆ ทัง้ สองคนชอบมาก ก็เลยลองกินไปสองสามคำ� รสชาติกอ็ ร่อยดี คนทีน่ ง่ั ข้างๆ เราเขาเห็นเราทัง้ สามเลยถามว่าพวกคุณมา จากไหนกัน น้องอาทตอบเขาเป็นภาษาญีป่ นุ่ ก็เลยสนุก คุยกันใหญ่เลย หลังจากอิม่ ท้องกันแล้ว พวกเราก็ตะลุยในตลาดกันต่อ ไปดูรองเท้าและกระเป๋ากัน เสียงน้องไอซ์ชวนไปร้านขายกระเป๋าเป้ anello ทีก่ �ำ ลังเป็นทีน่ ยิ มของบ้านเรา ราคา 4,500 เยน ไม่ตอ้ งเสียภาษี นักท่องเทีย่ วชาวไทยต่างมา ซือ้ หาเป็นของฝากกันทัว่ หน้า เดินถัดไปก็จะพบร้านขายรองเท้า มีให้เราเลือกมากมายตัง้ แต่ Onitsuka และ Nike เป็นรองเท้าทีค่ นนิยมมาก ราคาทีน่ จ่ี ะถูกกว่าร้านทัว่ ๆ ไป นอกจากนัน้ ยังมีของทีร่ ะลึกขาย อาทิ ชุดกิโมโน ชุดยูกาตะ ผ้าพันคอสไตล์ญป่ี นุ่ กระเป๋าใส่เศษสตางค์เก๋ๆ และอืน่ ๆ ถ้าจะมาทีน่ ่ี เขาเปิดตัง้ แต่ 10 โมงเช้าไปจนถึงใกล้ค� ำ่ วันพุธจะปิด จะมีบางร้านเท่านัน้ ทีเ่ ปิดขาย นักท่องเทีย่ วจะน้อย แต่ไหนๆ ก็มาแล้วจึงพากันเดินไปตึกม่วงหรือห้างทาเคย่า (Takeya) หาไม่ยากเพราะตัวอาคารเป็นสีมว่ ง สูง 9 ชัน้ เด่นสะดุดตา ขอแนะนำ�นักท่องเทีย่ วเพราะทีน่ ถ่ี กู มาก มีตง้ั แต่เครือ่ งสำ�อาง เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ตลอดจนเสือ้ ผ้ายีห่ อ้ ดังๆ แถมคืนภาษีได้ดว้ ย (Tax-Refund) ย่านอุเอโนะ ยังมีอะไรให้เราได้คน้ หาอีกเยอะ โดยในช่วงเดือนเมษายน สวนสาธารณะ Ueno Park จัดเป็นสวนขนาดใหญ่ของโตเกียว ภายในมีทะเลสาบและสวนสัตว์ บรรยากาศร่มรืน่ มากเพราะมี ต้นซากุระ ผูค้ นจะมาพักผ่อนและพาครอบครัวมาปิกนิกกันใต้ตน้ ไม้ในช่วงเทศกาลชมดอกซากุระ สำ�หรับผูท้ ม่ี โี อกาสหรือวางแผนไว้วา่ จะไปเทีย่ วทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ ก็ลองเก็บไว้เป็นข้อมูลเบือ้ งต้น ดูนะครับ ต้องขอขอบคุณน้องไอซ์ (อังคณา มาลัยบาน) น้องอาท (วีรากร วัชโรทยางกูร) สองนักเรียนไทยในญีป่ นุ่ ทีม่ าเป็นไกด์พาทัวร์ในโตเกียวครัง้ นี้

33


ON MY WAYS Text / Photo : ม๋อจิ้ว@สุราษฎร์ธานี

Special Thanks : ภาพขาวดำ�จากสำ�นักพระราชวัง และอนุสรณ์ วูก้ า้ น (www.facebook.com/ดำ� จังเรา)

“นั่งรถไฟไปเชื่อมสัมพันธ์

สองท่า”

...เป็นปลื้มอิ่มอกอิ่มใจสมหวังดังใจปรารถนาอย่างหนึ่งในโลกก็ เช้านีน้ แ่ี หละ นัน่ คือ “ได้นง่ั รถไฟสายประวัตศิ าสตร์ขบวนท่าขนอน เส้นทางนี้เป็นครั้งแรกในชีวิต” คนพื้นที่โตกับมันมาเห็นจนชินชา ตัง้ แต่ไหนแต่ไรไม่รสู้ กึ ตืน่ เต้นอะไรหรอก แต่รไู้ หมคนต่างถิน่ พอได้แต่ อ่านรีววิ ทัง้ ภาพนิง่ และเคลือ่ นไหว “รูส้ กึ อยากแปล๊บๆ” ว่ามันสำ�คัญยิง่ ใหญ่แค่ไหน ยิง่ พอได้รบั รูว้ า่ พ่อหลวงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เคยเสด็จเยีย่ มพสกนิกรของทัง้ สองอำ�เภอ “พุนพินและคีรรี ฐั นิคม” จังหวัดสุราษฎร์ธานีเมือ่ ปี พ.ศ.2510 และ พ.ศ.2512 ครัง้ อดีต น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ อันหาทีส่ ดุ มิได้ ประเทศไทยได้ด�ำ เนินการก่อสร้างเส้นทางรถไฟทัว่ ประเทศตัง้ แต่เริม่ ต้นในสมัยของรัชกาลที่ 5 ซึง่ วัตถุประสงค์ของเส้นทางสายนี้ เพือ่ หวังให้ สองฟากทะเลทัง้ ฝัง่ อันดามันกับฝัง่ อ่าวไทยมาเชือ่ มถึงกันได้ โดยมีระยะ ทางราว 189 กิโลเมตร แต่ท�ำ ไปทำ�มาเกิดวิกฤติการณ์สงครามโลก ครัง้ ที่ 2 และวิกฤติเศรษฐกิจของเมืองไทย ทำ�ให้โครงการสวยหรูตอ้ ง ถูกพักแขวนค้างเติง่ รอเวลางัดเอามารือ้ ปัดฝุน่ กันใหม่ ทัง้ ๆ ทีไ่ ด้เวนคืน ทีด่ นิ ตลอดแนวเส้นทางกันไว้แล้ว แต่ปจั จุบนั อาจจะต้อง ศึกษาถึงผลกระทบต่างๆ กันใหม่ และบางพืน้ ทีถ่ กู บุกรุก หรือจมอยูใ่ นน้�ำ ใต้เขือ่ นรัชชประภา (เขือ่ นเชีย่ วหลาน) ทางรถไฟสายคีรรี ฐั นิคมสร้างขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2481 และเริม่ การเดินรถได้ในปี พ.ศ. 2499 เป็นทางรถไฟ สายรองของภาคใต้ จากสถานีสรุ าษฎร์ธานี (คนท้องถิน่ เรียกสถานีรถไฟท่าข้าม) อำ�เภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เริม่ ตรงสถานีชมุ ทางบ้านทุง่ โพธิ์ ยาวต่อไปอีก 7 - 8 สถานี

34


ได้แก่บา้ นดอนรัก บ้านทุง่ หลวง บ้านขนาย บ้านดอนเรียบ คลองยัน เขาหลุง บ้านยาง ไปสุดสายที่สถานี คีรรี ฐั นิคม (ชาวบ้านเรียกสถานี รถไฟท่าขนอน) อำ�เภอคีรรี ฐั นิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี รวมระยะ ทาง 31 กิโลเมตร แต่ไม่สามารถ ดำ � เนิ น การสร้ า งต่ อ ไปให้ ผ่า น อำ�เภอบ้านตาขุน อำ�เภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานีอ�ำ เภอทับปุด จั ง หวั ด พั ง งา ถึ ง สถานี ท่า นุ่น ตำ�บลโคกกลอยอำ�เภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา เพือ่ รองรับโครงการ รถไฟรางเบาที่จะเชื่อมต่อไปยัง จังหวัดภูเก็ตได้ตามโครงการ ทำ�ให้ปัจจุบันยังเปิดดำ�เนินการเดินรถหัวรถ จักรดีเซลรุน่ GE 4037 พ่วงตูโ้ ดยสาร 4-5 โบกี้ เพือ่ ใช้ขนส่งสินค้าทางการเกษตร ชาวบ้าน คนในพืน้ ที่ พ่อค้าแม่คา้ นักเรียน นักศึกษา หรือนักปัน่ จักรยาน ทีจ่ ะเดินทางมาติดต่อค้าขาย ธุรกิจ เรียนหนังสือ หรือท่องเที่ยว ในสมัยก่อนจัดเดินรถได้มากถึง วันละ 6 เทีย่ ว แต่ในยุคสมัยนีจ้ ดั ขบวนรถไฟได้เพียง สองเที่ยวต่อวันเท่านั้นโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทัง้ สิน้ อันได้แก่ ขบวน 490 ออกจากสถานีตน้ ทาง คีรรี ฐั นิคม เวลา 06.00 น. ขบวน 489 ออกจาก สถานีปลายทางสุราษฎร์ธานี เวลา 16.55 น. ใช้เวลา เดินทางโดยประมาณ 1 ชัว่ โมง ตลอดเส้นทางแสน โรแมนติกแห่งนี้ ข้ามสะพานคลองยันหรืออีกชือ่ เรียก ว่า “สะพานดำ�” ซึง่ มีประวัตศิ าสตร์นา่ สนใจทีไ่ ด้น�ำ เหล็กบางส่วนของสะพานจุลจอมเกล้ามาใช้สร้าง หลังจากโดนเครือ่ งบินฝ่ายพันธมิตรทิง้ ระเบิดตัดเส้น ทางขนส่งของทหารญี่ป่นุ จนได้รับความเสียหายใช้ การไม่ได้ จนมีการกล่าวอ้างว่าได้เลียนเค้าต้นแบบ ของสะพานจุลจอมเกล้าเดิมก่อนจะถูกทำ�ลาย หากได้ไปใช้บริการขบวนรถจากสถานีตน้ ทาง คีรรี ฐั นิคมทันเทีย่ วเช้าตรูใ่ นวันธรรมดา หลังแวะชิม ปาท่องโก๋ กาแฟร้อนร้านคุณครูหน้าสถานีรถไฟ สัมผัส อากาศเย็ น สบาย หมอกเรี่ย ๆ เหนื อ ผื น แปลง การเกษตร ชมพระอาทิตย์โผล่ทกั ทายยามเช้าสวยงาม กระจัดกระจายไม่ต้องระบุท่ีน่ังมาในโบกี้ท่ีมีสินค้า การเกษตร เด็กนักเรียน คนทำ�งาน ทยอยเติมขึน้ มา เรือ่ ยๆ ตามสถานีทห่ี ยุดแวะรับรายทาง บรรยากาศ

คึกคักแปรตามจำ�นวนผูโ้ ดยสาร มีทง้ั ขึน้ มานัง่ สัปหงกหลับต่อ ทำ�การบ้าน รูดสมาร์ทโฟนเล่น เสียบหูฟงั ฟังเพลง คุยเฮฮาประสาเพือ่ นสนิท รับประทานอาหารเช้าแบบง่ายๆ ทีพ่ กห่อขึน้ มา ดู เป็นกันเอง จากรุน่ สูร่ นุ่ มีสว่ นน้อยทีน่ ง่ั เฉยสายตา จ้องออกนอกหน้าต่างให้เห็นง่ายๆ ทำ�ให้บรรยากาศ ดูครึกครืน้ ยิง่ พอเห็นคนแปลกหน้า ร่วมขบวนกันมาด้วยเที่ยวเดินวุ่น ทุกโบกีพ้ ร้อมเสมอทีจ่ ะยกกล้องขึน้ มาแอบส่องกดชัตเตอร์รวั ๆ ทีพ่ เิ ศษสุดนัน่ คือสามารถขอ อนุญาตหัวหน้าต้นหนเข้าไปถ่าย ภาพจากห้องเครื่องของหัวรถจักร ขณะทีป่ ฏิบตั งิ านได้หากไม่ไปกระทำ� การเกะกะวุน่ วายแก่เจ้าหน้าทีเ่ พราะ ความรูส้ กึ ตอนกำ�ลังลอดสะพานดำ� ข้ามคลองยันนัน้ เสมือนได้อารมณ์ เสียวต้องบังคับรถไฟด้วยตนเองเลย ยิง่ ได้ชวน กันร่วมโดยสารมากับขบวนนี้ในช่วงฤดูกาลนี้ จมูกได้กลิน่ ทุเรียนหอมตลบอบอวลทัง้ โบกี้ จน ต้องสืบหาเจ้าของ มีทง้ั ผลสดและแบบแปรรูป ยังไม่นบั ผลผลิตทางการเกษตรสดอืน่ ๆ เช่น ฝักสะตอ หน่อไม้ตม้ ยอดเหลียง ขนมพืน้ บ้าน ต่างๆ ทีจ่ ะนำ�มาจำ�หน่ายทีต่ ลาดสดเช้าหลัง สถานีปลายทางสุราษฎร์ธานี นีซ่ นิ ะ “เสน่หข์ อง รถไฟสายประวัตศิ าสตร์ทา่ ขนอน” แต่จะให้ ย้อนอดีตเหมือนสมัยก่อนทีบ่ รรดาพ่อค้าแม่คา้

คึกคึกผูโ้ ดยสารแน่นขนัดล้นโบกี้ ตอนทีถ่ นนหนทาง ยังไม่ตดั เข้าถึงได้สะดวก หรือตอนรถราส่วนตัวนับ จำ�นวนได้ไม่มากคงจะเป็นไปไม่ได้อกี แล้ว แค่หาโอกาส และเวลาว่างๆ มานัง่ ปล่อยอารมณ์ซบึ ซับบรรยากาศ แบบชาวบ้านแดนขุนเขาฟินๆ ฟรีๆ ก็คมุ้ แล้ว หมดสิทธิ์ ทีจ่ ะได้ยนิ เสียงตะโกนเชือ้ เชิญ “โอเลีย้ ง น้�ำ แข็ง ไข่ตม้ ยาอม ยาดม ยาหม่อง” แว่วเต็มสองรูหเู มือ่ ผ่านสถานี ใหญ่ๆ ดังแต่กอ่ น ซึง่ ได้แต่แอบหวังลึกๆ ว่าในชาติน้ี ขอให้รัฐบาลยุคไหนก็ได้เร่งศึกษาดำ�เนินการสร้าง โครงการขยายโลจิสติกส์ระบบรางเชือ่ มต่อชิน้ นีม้ ลู ค่า สามหมืน่ กว่าล้านบาทให้ส�ำ เร็จถึงจุดหมายทีว่ างไว้ที เต๊อะ...เจ้าประคูณ ้ “ฉึกกะฉักๆๆ ปูน๊ ๆๆ”...

35


Food for Thought

Text / Photo : พาฝัน นิลสวัสดิ์ อาจารย์สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

Magic Word (ขอ 4 คำ�) การเดินทางใกล้ไกลรวมถึงการเดินทางข้ามรัฐข้ามพรมแดนในโลกยุคนีก้ ลายเป็นเรือ่ งง่าย ราคาถูก และมีตวั เลือกทีห่ ลากหลาย เป็นเทรนด์ใหม่ ที่เจือปนไปด้วยความท้าทาย ประสบการณ์แปลกใหม่ มุมมองและวิถีชีวิตที่แตกต่าง ถือเป็นการเปิดโลกทัศน์ที่ดีเยี่ยมให้ผู้คนในยุค 4G ภาษา คือ ตัวกลางที่สำ�คัญในการติดต่อสื่อสาร ท่ามกลางความแตกต่างทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต ความรู้สึก นึกคิดของผูค้ น ไม่วา่ คุณจะไปบ้านไหนเมืองไหน ไม่วา่ จุดหมาย ปลายทางของคุณจะอยูม่ มุ ไหนของโลก มีค�ำ อยูส่ คี่ �ำ ทีค่ วรพก ติดตัวและจำ�ให้ตดิ ปากเสมอๆ แม้วา่ คุณจะพูดภาษาพืน้ เมือง ของบ้านเมืองเขาไม่ได้ ก็ให้พกสีค่ �ำ นีใ้ นเวอร์ชนั่ ภาษาอังกฤษ ติดเอาไว้ ฝรั่งเรียกสี่คำ�นี้ว่า “magic word” หรือ “คำ�ที่มี เวทมนตร์” คำ�แรกคือคำ�ว่า Good morning / afternoon / evening หรือ “สวัสดี” นัน่ เองจะเป็นสวัสดี ยามเช้า ยามสาย ยามบ่าย ยามใดก็แล้วแต่ ควรเป็นคำ�พูดที่ติดปากเราไว้ยามที่เราต้อง มีปฏิสัมพันธ์กับผู้คนไม่ว่าจะรู้จักหรือไม่ก็ตาม เป็นคำ�เริ่มต้น ของการผูกมิตร เป็นคำ�เริ่มต้นของการขอความช่วยเหลือ ในบางประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมของฝรั่งเศส เมื่อคุณผลัก ประตูเข้าไปในร้านค้าไม่ว่าเป็นร้านขนมปัง ร้านขายของชำ� ร้านกาแฟ หรือร้านขายเครื่องสำ�อาง จะมีกล่าวคำ�ทักทาย เมื่อเดินเข้าไปก่อนเสมอ บางประเทศในแอฟริกา หากคุณ เดิมดุ่มๆ เข้าไปถามทาง หรือขอความช่วยเหลือ โดยที่ไม่ กล่าวคำ�สวัสดีใดๆ ก่อนเขาอาจจะเมินหนีหน้าหรือไม่ก็ไม่ ตอบคำ�ถาม หรือแม้กระทัง่ อาจจะต่อว่าคุณทันทีวา่ ทำ�ไมคุณ ถึงไม่กล่าวสวัสดีก่อนเลยสักคำ� คำ�ทีส่ องคือ คำ�ว่า Thank you / Thanks หรือ “ขอบคุณ” เมือ่ ไหร่กต็ ามทีค่ ณ ุ ได้รบั ไมตรี หรือได้รบั ความช่วยเหลือ หรือ ได้รับการบริการ ไม่ว่าจากใคร ที่ไหน เมื่อไหร่ ควรกล่าว คำ�ขอบคุณทิ้งท้ายไว้ด้วยเสมอ ในประเทศฝรั่งเศสที่คนดู เชิดๆหยิ่งๆ ไม่ค่อยยิ้ม มีธรรมเนียมกล่าวขอบคุณเสมอเมื่อ ได้รับเงินทอน หรือเมื่อเดินออกจากร้านอาหารหรือร้านค้า แม้ว่าคุณจะไม่ได้ซื้ออะไรติดมือออกไปจากร้านก็ตาม

36


คำาที่สามคือ คำาว่า Excuse me / Sorry “ขอโทÉ” ไม่ว่าเหตุการณ์ จะเล็กจะใหญ่ จะเกิดโดยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ คำาคำานี้จะมีเวทมนตร์ที่ช่วย คลี่คลายสถานการณ์และความตึงเครียดที่เกิดขึ้นได้อย่างเหลือเชื่อ คำาสุดท้ายคือ คำาว่า Please “ได้โปรด หรือ กรุณา” การใช้คาำ นีใ้ นภาษาไทย จะมีลกั ษณะทีด่ เู ป็นทางการ วัฒนธรรมการพูดในภาษาไทย เราจะใช้คาำ สร้อยอืน่ ๆ ที่แสดงถึงความสุภาพในการขอร้อง ขอความกรุณา ขอความช่วยเหลือ หรือ ขออนุญาต รวมถึงโทนเสียงแทน เช่น คำาว่า “ตะ” ทีใ่ ส่ไว้ทา้ ยประโยคในภาษาใต้ หรือคำาว่า “นะ” หรือใช้คาำ ว่า “ช่วย” แต่ทว่าในการสือ่ สารต่างแดน คำาว่า please นี้ ต้องใส่เข้าไปเสมอ จะอยู่ต้นประโยค กลางประโยค หรือท้ายประโยคก็ได้ เพื่อแสดงถึงความสุภาพในการร้องขอ และมรรยาทที่ดีงามของผู้พูด คนฟังเอง ก็เกิดความรู้สึกรื่นหูและรับรู้ได้ถึงไมตรีที่ส่งออกมา

หลายæ พืน้ ทีบ่ นโลกใบนีอ้ าจจะไม่เคยได้สมั ผัสหรือพบปะกับผูค้ นจากเมืองไทย มากนัก พวกเขาจึงไม่รู้ว่าจะสร้างป¯ิสัมพันธ์กับเราแบบไหน รอยยิ้มพร้อมกับ คำาที่มีเวทมนตร์ทั้งสี่นี้ จะเป็นใบเบิกทางให้การเดินทางของคุณเต็มไปด้วยเรื่อง ราวที่จะประทับอยู่ในความทรงจำาตลอดไป

37


Love through Journey

Text / Photo : อัยย์ รินทร์

2

1

บางหวัน

1

3

ความจริงที่เรามิอาจปฏิเสธได้ และนั่นคือกฎเกณฑ์ของการ เปลีย่ นแปลง ภาพทีเ่ ราเห็นในอดีตกับภาพปัจจุบนั ย่อมแตกต่างกันอย่าง สิน้ เชิง แม้สถานทีบ่ างแห่งเราคุน้ เคย จดจำ�รายละเอียดทุกอย่างได้แต่ ในบางเรื่องราวก็เลือนหายไปจากความทรงจำ� “นี่ๆ มันต้องไปทางนี้” น้องชายผู้เป็นสารถี ขับรถนำ�เรามาถึง ทางแยกที่ผมไม่คุ้นเคยเอาเสียเลย... “ถ้าหากพี่กลับมาคนเดียว มีหวัง หลุดเส้นทางไปหลายโยชน์” ผมกล่าวกับน้องชาย ขณะที่รถกำ�ลังแล่น ผ่านสวนปาล์ม ผ่านโรงเรียนมัธยมซึ่งในยุคของผมมีแค่ชั้นมัธยมต้น ปัจจุบนั อาคารใหม่ๆ รวมทัง้ ผืนป่าบางส่วนถูกปรับปรุงและทดแทนด้วย ตึกอาคาร “เดี๋ยวจอดบางหวันให้พี่ก่อนนะ” ผมบอกสารถี ขณะที่เสียงแม่ กำ�ลังแซวเจ้าลูกชายวัยแตกเนือ้ หนุม่ เรือ่ งส่งข้อความแชตไลน์กบั สาวๆ หนุม่ น้อยแก้ความเขินอายด้วยการแสร้งทำ�เป็นชีไ้ ปยังแผ่นป้าย ทีบ่ อก ว่าเรากำ�ลังจะถึงจุดหมาย เสียงสายน้�ำ ไหลกระทบโขดหิน มองรอบๆ ป่าไม้ สวนยางเขียวขจี ผมหลับตาหยุดยืนสงบนิง่ เพือ่ สดับรับฟัง บทเพลงแห่งพงไพร ณ ทีแ่ ห่งนี้ คือที่ที่ผมคุ้นเคยตั้งแต่วัยเด็ก น้ำ�ในบางสวรรค์ยังคงใสราวกับกระจก จนมองเห็นฝูงปลาแหวกว่ายและก้อนหิน จึงเป็นต้นกำ�เนิดของตำ�บล บางสวรรค์ เดิมนั้นเรียกกันว่า “บ้านเขาปด” เนื่องจากมีเถาวัลย์ชนิด หนึ่งเรียกว่า “ย่านปด” ซึ่งมีมากมายอยู่บนภูเขา ต่อมาปี พ.ศ.2497 เจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานีมาเยี่ยมชาวบ้าน จึงเปลี่ยนชื่อให้ใหม่ว่า “บางสวรรค์“ นับแต่นั้นมา 1 สระแก้ว 3 คลองบางสวรรค์

38

2 วัดเขาพระ 4 ทางขึน้ เขาพระ

4

2

เมฆฝนปกคลุมท้องฟ้า ลมเย็นพัดผ่านมา คือสัญญาณบอก ว่าอีกไม่นานฝนจะโปรยปราย และก็เป็นเช่นนัน้ จริงๆ ฝนพรัง่ พรูลงมา ราวกับว่าเทวดาท่านจะให้พร เราเร่งวิ่งฝ่าฝนเข้าไปหลบในศาลาที่พัก ริมทาง ยืนมองดูทุกอย่างรอบๆ มองตามสายน้�ำ ทีท่ อดยาว ด้านล่างระหว่างจุดตัดสองสีของสายน้�ำ บางสวรรค์ที่ใสสะอาด และคลองอิปันสีขุ่นในฤดูฝน บริเวณนั้นผมกับ แม่เคยเก็บผักชีล้อมหอยกาบมาแกงใบชะพลู “ฮาย วันนี้ท่าทางไม่ได้ ตัดยางหล่าว” (วันนี้คงไม่ได้กรีดยางอีกแน่) น้องชายสารถีจำ�เป็นบ่น เปรยๆ “ช่างมันแหละ พักมัง่ เหนือ่ ยกันมาพอแล้ว” ภรรยาคูช่ วี ติ กล่าว ได้ยนิ คำ�นี้ ผมเองก็อยากสนับสนุน ให้ทงั้ สองพักผ่อนกันเสียบ้าง เหตุที่ ผมรู้สึกเช่นนั้น เพราะเมื่อคืนวานผมได้รับรู้เรื่องราวการต่อสู้ชีวิตของ


3

คู่รักคู่นี้หลังจากแต่งงาน ทั้งสองก็มาอยู่ด้วยกันที่ขนำ�หลังน้อย ฟันฝ่า อุปสรรคต่างๆ นานา จนมีบ้าน มีสวนยางและสวนปาล์ม กระนัน้ ก็เถอะ ด้วยความทีล่ กู กำ�ลังโต กำ�ลังเรียน ทัง้ สองก็ยงั รับจ้าง สารพัด เพื่อหารายได้มาจุนเจือ สิ่งที่ไม่น่าเชื่อคือราคาน้ำ�ยาง ตามท้อง ตลาดกับเงินค่าแรงทีไ่ ด้กลับมา เมือ่ หักลบค่าต่างๆ สวนทางกันอย่างสิน้ เชิง “รับจ้างแทงปาล์ม ยังรายได้ดหี วาตัดยาง” คือคำ�เปรียบเทียบทีท่ �ำ ให้ ผมสะดุ้ง แต่มันคือเรื่องจริง “พักผ่อนมัง่ ก็ดนี ะน้อง” ผมพูดได้เพียงแค่น้ี “ฝนหยุดแล้ว” เจ้าหลานชาย ตัวแสบร้องบอก เราเร่งขึ้นรถไปยังจุดหมายต่อไป นั่งมองสองข้างทางที่ เปลี่ยนแปลง อาคารห้องแถว เป็นชุมชนใหญ่โต ผ่านวัดบางสวรรค์ ผม ยกมือสาธุ พ่อเฒ่าหลวง “พระครูปญ ั ญาสารสุนทร” อดีตเจ้าอาวาสผูเ้ ป็นที่ เคารพนับถือของคนบางสวรรค์และย่านใกล้เคียง รถแล่นมาถึงตลาด มอง หาป้ายทีม่ ขี อ้ ความบอกเส้นทาง “วัดเขาพระ” เพือ่ นมัสการพ่อท่านทอง...

3

เข็มนาฬิกาบอกเวลาเทีย่ งกว่า แต่ทอ้ งฟ้ายามนีย้ งั คงมีกอ้ นเมฆ

สีหม่นปกคลุม ในรถผูโ้ ดยสารกับสารถีก�ำ ลังทุม่ เถียงกันเรือ่ งเส้นทาง จนมา ถึงประตูทางเข้าวัดเขาพระ อดีตสำ�นักสงฆ์มีแค่ศาลาพระพุทธรูปและที่ พำ�นักพระสงฆ์ แต่... ปัจจุบนั นัน้ เป็นวัดใหญ่ในร่มเงาสวนปาล์ม พระอุโบสถ และศาลาโรงธรรม พูดถึงวัดเขาพระนั้น มีเรื่องราวเล่าต่อๆ กันมาว่า ชาวบ้านจากหลากหลายแห่ง มีความประสงค์จะนำ�พระพุทธรูปไปบรรจุที่ พระธาตุนครศรีธรรมราช ทว่าเมือ่ เดินทางมาถึงขุนเขาแห่งนีช้ าวบ้านทราบ ข่าวว่าพระธาตุนครศรีธรรมราชนัน้ สร้างเสร็จ แล้วจึงได้รว่ มกันนำ�พระพุทธรูป ขึ้นไปบรรจุในถ้ำ�นี้แทน

ยืนพักเหนือ่ ยหลังจากทีป่ นี บันไดขึน้ มาได้ระยะหนึง่ ทอดสายตา มองดูความสีเขียวขจีจากสวนยาง สวนปาล์ม ภูเขาและท้องฟ้า รังผึง้ มากมายทีห่ น้าผา ริมบันไดขัน้ สูงสุด มีรปู แกะสลักพระแม่ธรณีบบี มวยผม พ่อท่านทอง ยังคงประดิษฐานอยูใ่ นซอกถ้� ำ สองพ่อลูกกำ�ลัง ตามมา ส่วนภรรยา ขอตัวนัง่ รออยูด่ า้ นล่างเพราะเธอกลัวความสูง “มาลูก มาไหว้พระ” ผูเ้ ป็นพ่อบอกกับลูกชาย มองสองพ่อลูก ก้มกราบพ่อท่านทองด้วยความปีติ ส่วนตัวเองก็สมปรารถนา เมือ่ ได้ มายืนอยู่ ณ ตรงจุดนี้ กราบนมัสการลาพ่อท่านทองด้วยใจอิม่ เอม ก้าวลงบันไดทีละขัน้ อย่างอาวรณ์ ห้วงยามแห่งความฝันค่อยๆ เลือนหาย กลับมาเหยียบย่�ำ บนผืนดิน เพื่อจุดหมายสุดท้าย... คือสระแก้ว “เมือ่ กีพ้ อ่ อธิษฐานไหรครับ?” เจ้าลูกชายถามมาจากด้านหลัง “พ่อขอให้ครอบครัวมีความสุข ลูกๆ เรียนเก่ง ไม่ดอื้ ไม่เกเร แล้วก็ ขอให้แม่ลูกหายจากโรคภัยต่างๆ” “อ้าว นึกว่าขอเลข เผื่องวดหน้ารวย” ผู้เป็นภรรยาพูดยิ้มๆ “ฮาย น้องนีก้ แ็ หลงไปเพ้อ” สารถีตอบอย่างอารมณ์ดี เราหัวเราะกัน อย่างสบายใจ ท่ามกลางสายฝนโปรยปราย เรามาถึงทางเข้าสระแก้ว แอ่งน้ำ�ผุดที่ใสสะอาดเหมือนบางสวรรค์ เชื่อกันว่าสระแก้ว...คือ สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิท์ จี่ ดจำ�และเป็นความภาคภูมใิ จของคนบางสวรรค์ คือน้�ำ ในสระแก้วถูกนำ�ไปใช้ในพิธพี ระบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (ร.9) เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม 2493 หลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2489

4

เรานัง่ หลบฝนในศาลาพักริมทาง ระหว่างนัน้ ผมเล่าเรือ่ ง ราวคูร่ กั ชายหนุม่ หญิงสาว ทีม่ าพร่�ำ รักคำ�สาบานใต้รม่ ไม้ ฝ่ายชาย ที่บอกว่าจะรักมั่นในตัวฝ่ายหญิง ในห้วงเวลาที่ไม่มีใครคาดคิด สายฟ้าฟาดลงมาจนร่างของเธอและเขาล้มลง “จริงเหรอครับ ลุง” หลานชายเอ่ยถาม “ใช่ครับ อย่าสาบานอะไรซีซ้ วั้ นะ” ผมตอบพร้อมกับมองหน้า ไปยังผูเ้ ป็นพ่อและแม่ซงึ่ นัง่ ยิม้ กันอยู่ ฝนซาชัว่ ขณะ ยืนดูสายน้�ำ ใส จากสระแก้วไหลปะทะกับคลองอิปนั สีขนุ่ เหมือนธรรมชาติก�ำ ลังจะ บ่งบอกอะไรสักอย่าง ยิง่ นึกถึงภาพสามีภรรยาทีจ่ บั มืออันหยาบกร้าน ของกันและกันไว้จนทั้งคู่ผ่านพ้นอุปสรรค “นุย้ ไม่ตอ้ งการไหรมากหวานีแ้ ล้ว ผมขอแค่ลกู ได้ร�ำ่ เรียนจบสูงๆ เหมือนเพื่อน อย่าให้เหมือนพ่อ ส่วนเมียผมก็ดีใจที่เราอดทนและ ฟันฝ่าความยากลำ�บากมาด้วยกัน” แม้ปจั จุบนั บางสวรรค์จะเปลีย่ นไปซะจนผมกลายเป็นคนหลงยุค ทว่า... บางสวรรค์ในวันวาน ก็ยงั อยูใ่ นห้วงลึกของความทรงจำ�ทีท่ �ำ ให้ผมคิดถึงมิเสือ่ มคลาย... และจะกลับมาเยือน... ตราบเท่าทีโ่ อกาส พึงมี ขอบคุณครอบครัว...ที่จูงมือกันฟันฝ่าอุปสรรค ขอบคุณ สายน้ำ�ใสบางสวรรค์ และสระแก้วที่เหมือนจะบอกให้รู้...ไม่ว่าจะ แตกต่างอย่างไร ท้ายที่สุดแล้วก็คือการหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียว กับคลองอิปัน

* ตำ�บล บางสวรรค์ อยู่ในเขตพื้นที่ อำ�เภอพระแสง ห่างจากตัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี ๑๕๔ กิโลเมตร โดยประมาณ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม สวนปาล์ม สวนยางและสวนกาแฟ บางสวรรค์ ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติใกล้เคียง ...อีกมากมาย.

39


ชิ น ชวน ชิ ม By @Surat Photo : ชิน เย็นแจ่ม / Text : วิชชุดา อินทร์แก้ว

www.facebook.com/chinchuanchim IG :: chin_chuan_chim

เฉียบ หอยทอดซีฟู้ด

ราคาเริ่มต้น : 40-60 บาท โทรศัพท์ : 095-096-3500 Wi-Fi : ไม่มี

เวลาเปิด-ปิด พิกัด ที่จอดรถ

: 11.00 น. - 21.00 น. : ถนนวัดโพธิìในลึก ร้านอยู่ระหว่างซอยวัดโพธิ ì 35 และซอยวัดโพธิì 37 : มี

เวลาเปิด-ปิด พิกัด ที่จอดรถ

: 16.00 น. - 22.00 น. : ถนนเลี่ยงเมือง ตรงข้ามเทสโก้ โลตัส สาขาสุราษฎร์ธานี : มี

ร้โรตีาชนโรตี เ น้ น นม าร์โคล (แป้งดำา) เจ้าแรกในสุราษฎร์Ï

ราคาเริ่มต้น : 15-50 บาท โทรศัพท์ : 099-407-9462 Wi-Fi : ไม่มี

40


41


ASEAN Art Corridor Text : ธีรภาพ โลหิตกุล / Photo : จิรา ชุมศรี และ สุชาติ ชูลี

สยามอาดูร แผ่นดินแผ่นฟ้ามืด ปางพระเสด็จดับขันธ์ สามโลกวิโยค กัน – โอ้ พระทูลกระหม่อมแก้ว

ดับตะวัน นิราศแล้ว แสงโศก ยะเยียบน้ำ�ตาหนาว เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ / กวีซีไรต์

42


13 ตุลาคม พุทธศักราช 2559

สยามอาดูรจากคำ�ประกาศ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสวรรคต ด้ ว ยมิ ใ ช่ เ พี ย งความอาดู ร จากการสู ญ เสี ย “พระมหากษัตริย”์ ผูเ้ ป็นทีร่ กั หากยังประหนึง่ เป็นความสูญเสีย “พ่อ” ผูท้ รงงานหนักตลอด 70 ปีแห่งรัชสมัย ด้วยความห่วงใยในพสกนิกร ของพระองค์ทุกวินาที และ “พ่อ” ผู้เป็นแบบ อย่างอันประเสริฐในทุกๆ ด้านให้ลูกๆ ก้าวเดิน ตามด้วยสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ...สุดจะ รำ�พัน

43


Beauty Talk พญ. จันทรรัตน์ ไพศาลโรจน์ แพทย์ผู้บริหารจันทรัตน์คลินิก สาขาสุราษฎร์ธานี สาขารามคำาแหง และสุรีย์พรคลินิก Short Course โรงพยาบาลรามาธิบดี Certified Trainer of Botox, Allergan, USA

Certified Trainer of Restylane, Sweden Certified Course Advance in Hyaluronic Acid Filler Esthelis, Switzerland Certified of Thread Rejuvenation Training, Korea

เทรนด์กระชับผิวตึง ไม่พึ่งมีดหมอ

นิตยสาร VOGUE ประเทศสหรัฐอเมริกา ตีพิมพ์ว่า “FDA (องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา) ได้รับรองว่า Ulthera ซึ่งใช้พลังงาน คลื่นความถี่สูง ที่มีความเฉพาะเจาะจงผ่านไปยังใต้ชั้นผิว ส่งผลให้เกิดการยกกระชับสูงสุด” อีกทั้งยังสอดคล้องกับเทรนด์ของผู้หญิงยุคใหม่ ที่ต้องการดูสวย อ่อนเยาว์ และในขณะเดียวกันก็ต้องการเห็นผลลัพธ์เร็วæ โดยไม่ต้องใช้เวลาพักฟ„œน ซึ่งเป็นการรักษาที่ได้รับความนิยมสูงสุดอีก อย่างหนึ่งที่จันทรัตน์คลินิก เครื่อง Ulthera (USA) ช่วยกระชับผิวหน้า โดยวิธีกระตุ้นให้ชั้นพังผืด SMAS ที่พยุงผิวอยู่ให้ตึง กระชับขึ้น พร้อมๆ กับกระตุ้นให้มีการสร้างเนื้อเยื่อ คอลลาเจนในชัน้ ผิวหนังแท้เพิม่ ขึน้ ทัง้ นี ้ ในอดีตนัน้ ไม่มี เทคโนโลยีตัวใดสามารถส่งพลังงานลงไปได้ลึกถึงชั้น SMAS มาก่อน โดยทีผ่ วิ หนังชัน้ บนไม่เป็นอันตรายและ ไม่ต้องผ่าตัด แต่พบว่าถ้าปล่อยพลังงานที่เหมาะสม ลงไปให้ลกึ ถึงระดับนี ้ จะช่วยกระตุน้ ให้เกิดความกระชับ ตึงทัง้ โครงสร้างผิว ผิวทีห่ ย่อนคล้อยบริเวณใต้คางและ

44

แนวขากรรไกรค่อยๆ กระชับตึงขึน้ รูปหน้าแลดูเรียวขึ้น คิ้วและตา ดูยกสูงขึน้ ช่วยให้หน้าตาดูสดใส อ่อนเยาว์ลง ผลนีม้ กั จะอยูไ่ ด้นาน ประมาณ 1-2 ปี โดยผลลัพธ์จะ แตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล

SMAS สำาคัญอย่างไร เราเคยได้ยนิ คำาว่า “คอลลาเจน” และ “อิลาสติน” กันมาบ่อยแล้ว และรู้ดีว่าสอง คำานี้มีผลกับผิวสวย แต่หลายคนอาจจะยัง ไม่ทราบว่า ใต้ชั้นผิวของเราลึกลงไป ยังมี พังผืดที่พยุงชั้นผิวอยู่เรียกว่า SMAS ชั้น พังผืด SMAS มีคอลลาเจนและอิลาสตินเป็น ส่วนประกอบเหมือนกัน พอเราอายุมากขึน้ คอลลาเจนและอิลาสตินในชัน้ พังผืด SMAS เริ่มเสื่อมสภาพ ส่งผลให้พังผืดขาดความ แข็งแรง และเป็นสาเหตุสาำ คัญของผิวหน้า หย่อนคล้อยในคนอายุมาก จะเห็นว่าความ สำาคัญของ SMAS ก็คอื มันจะเป็นตัวพยุงผิว เอาไว้อกี ที เปรียบเสมือนเสาทีเ่ ป็นตัวค้าำ ยัน พื้นบ้าน หรือหลังคาบ้านนั่นเอง เมื่อไหร่ที่ เสาบ้านไม่แข็งแรง พืน้ บ้านหรือหลังคาก็จะ ง่อนแง่นโยกเยกได้งา่ ยๆ ดังนัน้ การจะแก้ไข คืนความแข็งแรงให้กับผิวจึงต้องเริ่มจาก การทำาให้โครงสร้างผิวหรือตัวที่พยุงชั้นผิว ไว้ให้แข็งแรงเสียก่อน

ด้วยเหตุนี้ในการศัลยกรรมดึงหน้า หมอศัลยกรรมจะทำาการเปิดผิว แล้วดึงชัน้ SMAS นี้ให้กระชับตึง พร้อมๆ กับดึง ผิวชั้นบนและตัดผิวส่วนเกินออกไปบ้าง ก่อนจะเย็บปิดแผล ซึ่งหลักการทำางาน ของเทคโนโลยี Ulthera (USA) ก็ได้ แรงบั น ดาลใจมาจากการศั ล ยกรรมดึ ง หน้านี่เอง จึงทำาให้ Ulthera (USA) เป็น ทางเลือกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการยก กระชับผิวหน้าเทียบเท่ากับการดึงหน้า สำ า หรั บ ผู้ ที่ ไ ม่ ป ระสงค์ จ ะทำ า ศั ล ยกรรม สำาหรับภาคใต้นนั้ “จันทรัตน์คลินกิ ” เป็น แห่งเดียวที่มีทั้งเครื่อง Thermage และ Ulthera (USA) ตั้งสแตนด์บายไว้บริการ เพื่อสามารถตอบโจทย์การยกกระชับผิว ได้อย่างครบวงจร


45


True Story

Text / Photo : ªÙÅÕ ÊØªÒµÔ (Choolee Suchart)

´Ñ§è ¹¡¢ÁÔ¹é ËŧÃѧ µÍ¹¨º

ËÅѧ¨Ò¡·Õ¼ è Á¡ÑºáÁ‹µÑ§é ʵÔä´Œ àÍÒÁ×ͻҴ¹éÒí µÒ ·Õäè ËÅ»¹ÍÒÃÁ³ ¢¹Ñ ¼ÁÅͧ·º·Ç¹¤ÇÒÁÃÙ·Œ ÃÕè ºÑ ¿˜§ ¨Ò¡¤íҺ͡àŋҢͧáÁ‹áÅÐÂѧàÊÒÐËÒ¢ŒÍÁÙÅÍ×è¹æ ÁÒ ¤ÇºÃÇÁ ¡Ò÷íÒàËÁ×ͧáËã¹àÁ×ͧä·Â¹Ñé¹ÁÕÁÒ¹Ò¹ µÑé§áµ‹µŒ¹¾Ø·¸ÈµÇÃÃÉ·Õè 25 ¡ÅØ‹Á¹Ò·عªÒǨչ áÅЪҵԵÐÇѹµ¡à¢ŒÒÁÒ·íÒàËÁ×ͧáË ã¹ÃѪÊÁѾÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃШØŨÍÁà¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙË‹ ÇÑ Ï àÊ´ç¨ »ÃоÒʵŒ¹áËÅÁÁÅÒÂÙ ã¹ Ã.È. 109 㹡ÒùÕé·Ã§àʴ稷ʹ ¾ÃÐ๵áÒ÷íÒÍصÊÒË¡ÃÃÁàËÁ×ͧáË ´Ñ§¹Õé 26 àÁÉÒ¹ àʴ稷ʹ¾ÃÐ๵ÃàËÁ×ͧáË·ÕèÃйͧ 28 àÁÉÒ¹ àÊ´ç¨Å§àÃ×Í·Í´¾ÃÐ๵Ãâç¶ÅاáË·µÕè СÑÇè »†Ò 30 ¾ÄÉÀÒ¤Á àʴ稷ʹ¾ÃÐ๵ÃàËÁ×ͧáË´ºÕ ¡Ø µÐ¾Ò¹ËÔ¹

46

ÀÒÂËÅѧ¨Ò¡¡ÒÃàʴ稻ÃоÒʵŒ¹ã¹¤ÃÑ§é ¹Ñ¹é ÅŒ¹à¡ÅŒÒÃѪ¡ÒÅ·Õè 5 ·Ã§â»Ã´ãËŒµ§Ñé ¡ÃÁâÅË¡Ô¨áÅÐÀÙÁÇÔ ·Ô ÂÒ ã¹ Ã.È. 110 ࢌÒÊÙ‹ ¤Ø ·Í§ ¢Í§¡Ô¨¡ÒÃàËÁ×ͧáË´ºÕ ¡Ø ã¹ËŒÇ§àÇÅҢͧʧ¤ÃÒÁâÅ¡¤ÃÑ§é ·Õè 1 ·Ñ§é ¾‹Í¤ŒÒÇÒ³ÔªªÒǨչ ºÃÃÉÑ·ªÒµÔµÐÇѹµ¡ ºÃôҹѡµ×¹è áË µ‹Ò§Áا‹ ˹ŒÒ ÊÙ‹áËÅ‹§¢ØÁ·ÃѾ á˴պءªÒ½˜›§·ÐàÅÍѹ´ÒÁѹµÒÁ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òà µÅÒ´âÅ¡ ᵋáÅŒÇÃÒ¤Ò«×éÍ¢ÒÂáˡ竺à«ÒŧÍÕ¡¤ÃÑé§ à¾ÃÒеŒÍ§à¼ªÔÞ ¡Ñºä¿Ê§¤ÃÒÁáÅÐàÈÃÉ°¡Ô¨½„´à¤×ͧ


ปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 เรือดำาน้ำาของสัญชาติ

พญาอินทรีมาลอยลำาในทะเลท้ายเหมืองของจังหวัดพังงา ใน เรือดำาน้ำาลำานั้น มีนาวิกโยธินผู้หนึ่งซึ่งเคยเป็นนักธรณีวิทยา ความงามของท้องทะเลกับผืนฟ้าที่สดใส ยั่วยวนใจให้เขา ตัดสินใจดำาน้ำา เพื่อดูความงดงามของปะการังใต้ท้องทะเล ดำาดิ่งลึกลงไปเรื่อยๆ แทนที่พื้นทะเลจะเป็นทรายสีขาว กลับเป็นสีดาำ และเมือ่ หยิบก้อนทรายเหล่านัน้ มาดู ก็รวู้ า่ ทราย สีดำาที่เห็นคือ “แร่ดีบุก” นาวิกโยธินคนนั้นเก็บงำาไว้เป็นความลับ รอจนกระทั่ง ปลดประจำาการหลังสิ้นสุดมหาสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาเดินทางกลับมาทีพ่ งั งาอีกครัง้ เพือ่ ตระเวนดำาน้าำ เอา ตัวอย่างแร่ จนมัน่ ใจว่าท้องทะเลแถบนัน้ คือแหล่งแร่ดบี กุ จึง เป็นทีม่ าของคณะสำารวจแร่ชดุ แรกของบริษทั ยูเนีย่ นคาร์ไบด์ เข้ามาที่ภูเก็ต ผมลืมบอกไปนาวิกโยธินคนนั้นชื่อ “เกรแฮม อาร์ชิบอด์ เนลสัน” รับบทบาทผู้จัดการโครงการ ราวเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2506 ในยุครัฐบาล “ข้าพเจ้า ขอรับผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียว” ได้ให้สมั ปทานสำารวจแร่บริเวณ ชายฝั่งทะเลแถบจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต ชุมพรและ สุราษฎร์ธานี มีการก่อตั้งบริษัทไทยแลนด์ สเมลติ้ง แอนด์ รีไฟนิ่ง จำากัด (ไทยซาร์โก้) เพือ่ สร้างโรงงานถลุงแร่ดบี กุ แห่งแรกและ แห่งเดียวของประเทศไทยในเดือนเดียวกัน นี่คือจุดเริ่มต้นของการประท้วงในเมืองกรุง โดยบรรดา นักศึกษามหาวิทยาลัยต่างออกมาชุมชุมเรียกร้องสัมปทานใน ปี 2518 เรื่องความไม่ยุติธรรมของจักรวรรดินิยม กระแสการคัดค้านได้ขยายวงออกไปอย่างต่อเนือ่ ง บุคคล ท่านหนึ่งที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้กล้า ดร.ธวัช มกรพงศ์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพังงาได้เสนอให้รฐั บาล ม.ร.ว.เสนีย ์ ปราโมช ถอนสัมปทานบัตรในต้นปี พ.ศ. 2518 ฟังเรือ่ งเล่าของแม่เกีย่ วกับการหาขีต้ ะกรัน ผมนึกถึงเรือ่ ง ลับเรื่องหนึ่งที่บรรดานายเหมืองและผู้ทำาเหมืองแร่ในยุคนั้น ต่างไม่มีโอกาสได้ล่วงรู้

ด้วยคุณลักษณ์ของขีต้ ะกรันมีแร่แทนทาลัมปะปนอยู ่ ใน ช่วงปี พ.ศ. 2517 นวัตกรรมทางด้านเทคโนโลยี มีพฒ ั นาการ ก้าวหน้า โดยเฉพาะอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ชิ้นสำาคัญคือ “ไมโครชิพ” ซึ่งใช้แทนทาลัมมาทำาเป็นชิ้น ส่วนประกอบที่เรียกกันว่า “ชิพแทนทาลัมคาพา«ิเตอร์ (Capacitor)” และเมื่อนำาแทนทาลัมมารวมกับคาร์บอนก็ จะได้แทนทาลัมคาร์ไบด์ทคี่ วามแข็ง ทนทาน ใช้เป็นเครือ่ งมือ ตัดเจาะเหล็กกล้า ทั้งยังนำาไปใช้ในการทำาชิ้นส่วนอุปกรณ์ การบินอวกาศ หัวจรวด เครือ่ งบินขีปนาวุธอุปกรณ์ปรมาณู จึงทำาให้ราคาขีต้ ะกรัน (แทนทาลัม) ในตลาดโลกขยับสูงขึน้ เรือ่ ยๆ จนถึงปี พ.ศ. 2520 เกิดธุรกิจรับซือ้ ส่งขายต่างประเทศ เราขายขีต้ ะกรัน ให้กับต่างชาติในราคาเม็ดกรวดผืนทราย กว่าจะรู้ก็เกือบจะสาย ท้ายที่สุดเหมืองแร่ก็ถูกปิดสัมปทาน ก็ถึงเวลาที่แม่ต้องโบยบิน อีกครั้ง “แม่รู้ไหม ขี้ตะกรันที่แม่ไปหา เขาเอาไปทำาอะไร?” ผมถาม ลองเชิง “เขาเอาไปทำาหัวเรือบิน” แม่ตอบพร้อมๆ กับเหม่อมองไปบน ท้องฟ้า เมื่อได้ยินเสียงเจ้านกเหล็กบินผ่านมา ราวกับยิ้มเยาะว่า... แม่ก็เป็นคนหนึ่งที่ทำาให้เจ้านกเหล็กโบยบิน...

ชูลี สุชาติ (Choolee Suchart) เป็นนามปากกาของ สุชาติ ชูล ี ทีม่ พี อ่ เป็นคนนครศรีธรรมราช แต่ดันเกิดไกลที่กระบี่ ย้ายอยู่บ้านแม่ท่พี ังงา ตอนเด็กต่อ ป.3 ที่ สุราษฎร์ธานีจนจบ ม.6 บทเพลง “นักแสวงหา” กับ “หนุม่ พเนจร” เป็น แรงบันดาลใจให้หว้ิ กระเป๋าหนึง่ ใบ ขึน้ รถไฟมุง่ สูเ่ มืองกรุงเมือ่ 20 ปีกอ่ น ชีวติ การทำางานหมุนเวียนเปลีย่ นไปตามใจปรารถนา การเล่าเรียนขัน้ สูง แบบเรือเกลือ จนจบปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช เพราะเชือ่ ในสิง่ ทีท่ าำ และมุง่ มัน่ จะเดินบนถนนสายคนอยากเขียน ผลงานเล่มแรก “เทีย่ วยกครัวทัวร์เกาหลีใต้” จึงได้อบุ ตั ขิ น้ึ ผมเขียน คอลัมน์นข้ี น้ึ ด้วยแรงปรารถนาทีอ่ ยากนำาเสนอเรือ่ งราวของแม่คนหนึง่ ผูเ้ ร่รอ่ น ร่อนแร่ และสุดท้ายเธอก็เลือกทีจ่ ะหยุด เมือ่ ถึงวันทีอ่ อ่ นล้า “แม่ไม่ไปไหน” คือคำาทีด่ งั กึกก้อง และเป็นแรงผลักดันให้เขียนเรือ่ งราว เหล่านี ้ เพือ่ บอกเล่าเป็นอุทาหรณ์วา่ ในวันที.่ .. นกขมิน้ ไม่หลงรังอีกแล้ว ปัจจุบนั ทำาหน้าทีห่ ลักคือดูแลแม่ และเป็นคนอยากเขียน พำานัก สถานย่านปทุมธานี (Facebook : สุชาติ ชูล ี / Page : ดูดวี ถิ ไี ทย / Blog Oknation : ฝายชะลอน้าำ / ติดต่อได้ท ่ี : 081-615-0535)

47


Asean Travel

Text / Photo : อภินันท์ บัวหภักดี

ดอยอ่างขาง เทือกดอยสูงสวยงามในอำ�เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ที่นี่มีทุกสิ่งทุกอย่างที่แหล่งท่องเที่ยวบนภูเขาสูงภาคเหนือควรมี คือ มีทั้งจุดชมวิวสวยๆ ทะเลหมอกหนาแน่น พระอาทิตย์ขึ้น พระอาทิตย์ตก ดอกไม้พรรณไม้เมืองหนาวสวยๆ โดยเฉพาะดอกซากุระ หรือพญาเสือโคร่งสีชมพูสดใส เมเปิล้ ผลัดใบ ไร่สตรอว์เบอร์รี่ กล้วยไม้ป่า อีกทั้งยังมีชนชาวไทยภูเขาเผ่าต่างๆ ที่มีเครื่องแต่งกายสีสันสดใส เป็นสิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยวให้ใครๆ ชักชวน กันขึ้นไปแวะชม

ตามรอยพระบาท บนดอยอ่างขาง

แต่สิ่งที่เป็นความแตกต่างอย่างที่ภูเขาสูงอื่นๆ อย่าง ดอยอินทนนท์ หรือดอยสุเทพไม่มีก็คือ ประวัติความเป็น มายิง่ ใหญ่ทเี่ กีย่ วพันกับพระราชกรณียกิจของพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ของเราชาวไทย เพราะพระองค์ทรงใช้พื้นที่ ดอยอ่างขาง เป็นพื้นที่แรกสำ�หรับการศึกษาทดลองและ ปฏิบตั กิ ารปลูกผักผลไม้เมืองหนาวทดแทนฝิน่ โดยพระองค์ เสด็จพระราชดำ�เนินไปแทบทุกตารางนิว้ บนเทือกดอยแห่งนี้ ด้วยพระบาทในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่างๆ เพื่อ ประชาชนของพระองค์

48


นอกจากนั้นบนดอยอ่างขางยังมีรายการท่องเที่ยวพิเศษ ไม่ซ้ำ�แบบใครนั่นคือ รายการท่องเที่ยว “ตามรอยเท้าพ่อบน ดอยอ่างขาง” ซึง่ จัดขึน้ โดย รีสอร์ทธรรมชาติอา่ งขาง ทีพ่ กั สุดหรู บนดอยอ่างขาง ทีม่ เี จตนาให้นกั ท่องเทีย่ วนอกจากจะได้รบั ความ ประทับใจจากทิวทัศน์ธรรมชาติทสี่ วยงามแล้ว ยังจะได้ตระหนักรู้ และซาบซึ้งกับพระมหากรุณาธิคุณขององค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ของเราอีกด้วย

หน้าหนาวปีนี้ กรมอุตุฯ ประกาศแล้วว่าอากาศเมืองไทย จะหนาวเย็นกว่าทุกปี ความหนาวเย็นนี้จะทำ�ให้บนดอยสูงมี บรรยากาศทีน่ า่ ท่องเทีย่ วมากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ อย่ารอช้า ไปเทีย่ ว .. ตามรอยเท้าพ่อ บนดอยอ่างขาง .. กันเถอะครับ

คู่มือท่องเที่ยว รีสอร์ทธรรมชาติ อ่างขาง โทร. 053-450110 โครงการหลวง ดอยอ่างขาง www.angkhangstation.com

49


My Beloved Tapee

Text / Photo : กานต์ ลิ่มสถาพร

‘¤ÇÒÁÇ‹Ò§’ ã¹·ÑȹТͧ¾Ø·¸·ÒÊ ถ้าคุณกำาลังมองหาท้องฟ้า คุณจะไม่มีวันพบท้องฟ้า คุณจะพบท้องฟ้าได้ทไี่ หน? ในเมือ่ ท้องฟ้ามิใช่ทใี่ ดทีห่ นึง่ แต่ มันคือทุกๆ ที่ จิตว่าง ในความเห็นนั้นเป็นเช่นใด? เมื่อคุณพบปัญหาหรืออุปสรรค ถ้าไม่รู้จักทำาให้จิตว่าง ก็จะ แก้อะไรไม่ได้เลย แต่หากทำาให้จติ ว่างได้ ปัญหาก็จะหมดไปเองโดย ธรรมชาติ ดังนั้น พอจิตว่างจากตัวกู-ของกูก็จะเต็มอยู่ด้วยสติปัญญา จิตวุน่ วาย ยิง่ ไม่วา่ ง หัวเสียคิดอะไรไม่ออก ก็วนุ่ วาย จะทำางาน ด้วยจิตว่างก็ตอ้ งรูจ้ กั ทำาให้จติ ว่างก่อน หากกลัดกลุม้ ต้องสำารวมจิต ให้ว่าง สำารวมที่ว่า คือ ทำาจิตให้ว่างจากสิ่งที่รบกวนจิต บางครั้ง ความรู้ความสามารถที่เรามีอยู่ เอามาใช้แล้วมันก็ใช้ไม่ได้ เพราะ จิตกลัดกลุ้ม ต้องใช้สามัญสำานึกอันเป็นความรู้ธรรมชาติมาใช้ ไม่ว่าจะทำาอะไร ความคิดต่างๆจะหลั่งไหลเข้ามา จะไหลมามาก หรือน้อย หรือไม่มาเลยก็ไม่เป็นไร ไม่ตอ้ งไปกังวลกับสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ขอเพียงคุณมีจิตว่าง ความลึกลับมหัศจรรย์ของชีวิตนั้น ไม่ได้มีไว้เพื่อค้นหาคำา อธิบาย มันไม่มีวันอธิบายได้ สิ่งนี้มีไว้ให้คุณได้ใช้ชีวิตอยู่กับมัน คุณต้องเคลื่อนตัวเข้าไปหา ไปสู่ความมหัศจรรย์ในการมองชีวิต โดยใช้ปรีชาญาณ บางทีมนั ก็ชดั เจนมากเกินกว่าทีค่ ณ ุ จะมองเห็น ด้วยซ้ำาไป จิตว่าง ตามแบบของพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา ปัญญามีมากจิตก็วา่ งมาก จนไม่ตอ้ งใช้ปญ ั ญาเลย นัน่ หมาย ถึงอะไรๆ ก็วา่ ง แม้แต่กเิ ลสก็คอื ความว่าง ความทุกข์กค็ อื ความว่าง ส่วนวิธที ดี่ ที สี่ ดุ ซึง่ เป็นวิธขี องพระพุทธเจ้า คือ มีปญ ั ญาเหมือน ไฟกรด มองไปทางไหนว่างไปหมด ในทัศนะของท่านพุทธทาสมองว่า พระพุทธเป็นพระพุทธเจ้า ก็เพราะว่างจากตัวกู-ของกู ธรรมะเป็นพระธรรมขึน้ มา ก็เพราะว่า มันเป็นธรรมชาติที่ไม่เจืออยู่ด้วยตัวกู-ของกู แม้ธรรมะที่เป็นคำาสอนสำาหรับเล่าเรียน มันก็เป็นเรื่องตัวกู ปฏิบตั วิ า่ งจากตัวกู ผลของมันก็คอื ว่างจากตัวกู ดังนัน้ ธรรมะก็คอื ความว่าง “วิสัยโลกหรือคนปุถุชนในโลก มันก็มีปัญหามากในการที่จะ ทำาให้หวั เสีย พอหัวเสียก็คอื ตาย... วิธที จี่ ะไม่ให้หวั เสียนัน้ มันก็ไม่มี วิธีอื่นนอกจากดำารงชีพไว้ให้ถูกต้อง ให้เป็นอยู่เสมอ คือ มีปัญญา มีวิชชาตามแบบของพระพุทธเจ้า”

50

µÍ¹·Õè 12

ปัญญาบริสุทธิ์ ตามแบบฉบับพระพุทธเจ้า ก็คือ จิตว่าง นั่นเอง ชนะความชัว่ ด้วยความดี ชนะคนขีเ้ หนียวด้วยการให้ทาน แต่ถา้ คุณคิดและเชือ่ ว่า วิธกี ารชนะความชัว่ ด้วยความดีนนั้ ใช้ไม่ได้ ต้องใช้ ตาต่อตา ฟันต่อฟัน เท่านั้นถึงจะได้ผล อย่างนั้นถือว่าจิตไม่ว่าง คุณต้องเอาชนะตัวเอง ชนะกิเลส ว่างจากตัวกู-ของกูเสียก่อน จึงจะมีสติปญ ั ญา เห็นลูท่ างทีจ่ ะเอาชนะผูอ้ นื่ ได้ คุณต้องใช้ความอดกลัน้ อดทนบวกกับสติปัญญา ความเจ็บปวดมันอยูท่ กี่ ารอดกลัน้ อดทนนีแ่ หละ ถ้าทนไม่ได้กล็ ม้ ละลายอยูต่ รงนัน้ ถ้าเป็นคนทำางานด้วยตัวกู-ของกู ไม่ได้ทาำ งานเพือ่ งาน มันก็ยงิ่ ยาก แล้วจะทำาอย่างไรทีจ่ ะทำางาน โดยไม่มงี าน ไม่เป็นงาน คือ มองอะไรว่างไปหมด เหมือนที่พระพุทธเจ้ามองเห็น


กรอบคิดคับแคบทั่วไปทำาให้มนุษย์มองเห็นอะไรเป็นการเป็นงาน เป็นความรับผิดชอบไปหมด โดยมากมักจะไปโทษผูอ้ นื่ หรือสิง่ อืน่ ไม่โทษ ตัวเอง ไม่โทษสติปัญญาหรือความสามารถของตนเอง ไม่มีสติปัญญาไหนจะดีไปกว่าสติปัญญาที่ปรากฏอยู่ในตัวมันเอง ในขณะทีจ่ ติ ว่างจากตัวกู-ของกู ปราศจากความยึดมัน่ ถือมัน่ จะเป็นเวลา ทีส่ ติปญ ั ญาสูงสุด ฟังดูคล้ายๆ ว่าเป็นความโง่ หรือเป็นความทีไ่ ม่มอี ะไรเลย เพราะไม่ต้องคิดต้องนึก แต่มันเป็นสติปัญญาตามธรรมชาติ ทำาให้บาง คำาพูดที่ง่ายๆ แต่กลับฟังดูยาก ดังนัน้ ระบบการศึกษาทีผ่ กู ปมคุณไว้ ต้องแก้ให้ได้ แก้ให้เป็นอิสระ เหมือนกับที่ศาสดาทั้งหลายล้วนมุ่งมั่นทำาในสิ่งเดียวกัน คือ พยายาม แก้ไขสิ่งที่สังคมได้ทำาไว้กับคุณ สิ่งที่คุณพยายามต่างๆ นานา แต่คุณก็ ล้มเหลว เพราะว่าสมมุติฐานที่ตั้งไว้เป็นสิ่งที่หลอกลวง คนเราพยายามทำาอะไรตั้งมากมาย แต่ทำาไม่สำาเร็จ การฝักใฝ่ใน ความสำาเร็จนำามาซึ่งความอึดอัดขัดข้อง คุณมีเงินมากมายก่ายกอง มีเครือ่ งอำานวยความสะดวกครบครัน วิทยาศาสตร์ความก้าวหน้ามีมากขึน้ แต่ทำาไมความทุกข์ยากกลับไม่ลดน้อยลงไปเลย มีอะไรผิดพลาดไป? (ถ้าไม่ใช่สมมุติฐานที่ตั้งไว้ผิด) ถ้าคุณเอาหน้าที่การงานเป็นหน้ากาก โฉมหน้าที่แท้จริงของคุณ จึงถูกปิดทับเอาไว้ ถ้าคุณมีเงินทองมากมาย มันก็จะปรากฏเป็นหน้าตา ของคุณ และจะบดบังหน้าตาทีแ่ ท้จริงของคุณไว้เช่นกัน ฉะนัน้ ในทุกๆ สถานการณ์จงึ ถือเป็นโอกาส สติปญ ั ญาจะเป็นการปลดแอกให้คณ ุ ไม่มี ความคิดวิ่งไปวิ่งมา มีแต่เปลวไฟแห่งการรู้ตัวทั่วพร้อม ท่านพุทธทาสบอกว่า “คนเราโง่มากทีส่ ดุ ก็เมือ่ มีตวั หรือเห็นแก่ตวั เพราะว่าความโง่นนั้ เป็นเหตุให้รกั ให้เกลียด ให้กลัว ให้โกรธ ให้อะไรต่างๆ สารพัดอย่างได้ คนที่มีสมรรถภาพมากที่สุด ก็คือคนที่อยู่เหนือความโง่ ไม่มคี วามโง่ หรือความผิดอะไรเหลืออยูใ่ นขณะนัน้ ซึง่ เราเรียกกันในทีน่ ี้ ว่ามีจิตว่างจากตัวกู-ของกู” ขยายทัศนะกว้างๆ ก็คอื มนุษย์มคี วามเห็นแก่ตวั และอยูใ่ นสภาพ ปัจจุบนั ทีเ่ ห็นแก่ตวั มากขึน้ ๆ เพียงแต่อาศัยความสุภาพทีฉ่ าบย้อมเอาไว้

ตามทีส่ อนกันให้มคี วามสุภาพฉาบย้อม ปิดบังกิเลสหยาบๆ มันเพียงแต่ ปิดบังไว้ กลบเกลือ่ นไว้ ทำาให้เรามีจติ ใจทีฉ่ ลาด คือไกลจากธรรมชาติ​ิ มากขึน้ ทุกที จึงมีความทุกข์เต็มไปหมดเพราะมีความอยาก มีความยึดมัน่ ถือมั่นมากขึ้นๆ เราต้องใช้สติปญ ั ญามากเท่าไร ในเมือ่ เราแต่ละคนเต็มไปด้วย ความคิดความรูส้ กึ ทีเ่ ป็นตัวกู-ของกู กลัดกลุม้ หรือเต็มปรีอ่ ยูใ่ นนัน้ ยิง่ วิง่ ยิ่งไกล ยิ่งออกกำาลัง ยิ่งลึก ยิ่งมีสติปัญญา ยิ่งจมลึกลงไปในกองทุกข์เท่านั้น สติปัญญาเพื่อตัวกู-ของกู จึงเป็นสติปัญญาที่ขุดหลุมฝังตัวเอง หากปัญญาทีจ่ ะควบคุมตัวกู-ของกูยงั ไม่พอ หรือมันมีนอ้ ยเกินไป คุณก็ ต้องให้ธรรมชาติเป็นตัวช่วย เอาสติปญ ั ญาของธรรมชาติ ของความว่าง ตามธรรมชาติมาช่วย เป็นตัวยั่วหรือตัวล่อปัญญาให้วิ่งเข้ามาหา หากการตระหนักรู้เกิดขึ้นได้ นั่นคือ จุดเปลี่ยน เมือ่ ความคิดหยุดลง การตระหนักรูจ้ ะเกิดขึน้ เมือ่ ความคิดหายไป ความใสกระจ่างจะเข้ามา ความจริงแท้นนั้ ไม่ใช่เรือ่ งทีค่ ณ ุ ต้องคิดเอา ความจริงแท้ เป็นสิง่ ที่ คุณต้องมองเห็น

51


Smart Pretty Text / Photo : กองบรรณาธิการ ชื่อ : นางสาวพิยดา ประทุมวรรณ์ ชื่อเล่น : น้องอ๋อม การศึกษา : กำ�ลังศึกษาอยู่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี คณะ : ศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ สาขาวิชา : เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ สถานที่ท่องเที่ยวที่ประทับใจ : ศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองรวมทั้งเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี และศาลหลักเมืองนั้นทำ�ให้ ทราบถึงความเป็นมาในการก่อสร้างและเหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์และยังมีความโดดเด่นสวยงามอีกด้วย ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เอื้อเฟื้อสถานที่

ขอขอบคุณร้านเสริมสวยทิพย์ & สปา ภูธร 8 (พ่อขุนทะเล) สถานความงามครบวงจร เปิดบริการตั้งแต่ 07.30 น. - 20.00 น. ทุกวัน โทร. 084-052-4428

52


ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เอื้อเฟื้อสถานที่

53


Health Care

Text / Photo : สุจิตรา ก่อกิจไพศาล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี

“พ่อเล่าเรื่อง...” เมืองท่าขนอน

จากการบอกเล่าของพ่อ และจากการค้นคว้าเพิ่มเติม ถึงประวัติความเป็นมาของตำาบลท่าขนอน อำาเภอคีรีรัฐนิคม จั ง หวั ด สุ ราษฎร์ ธ านี พบว่า มีประวัติอัน ยาวนานมาหลาย ศตวรรษ ตำาบลท่าขนอนในปัจจุบนั นัน้ เดิมคือเมืองคีรรี ฐั นิคม เคยเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรศรีวิชัย ในพุทธศตวรรษที่ 13 ครัน้ อาณาจักรศรีวชิ ยั เสือ่ มลง ได้แยกดินแดนออกเป็นสามเมือง คือ เมืองไชยา เมืองท่าทอง และเมืองคีรรี ฐั นิคม มีการเปลีย่ นแปลง การปกครองหลายครัง้ และมีการเปลีย่ นชือ่ เป็นเมืองท่าขนอน หรืออำาเภอท่าขนอนเพื่อให้ตรงกับที่ตั้ง ซึ่งเป็นด่านเก็บภาษี อากรสินค้าทีเ่ ข้ามาทางจังหวัดพังงา ตะกัว่ ป่า ภูเก็ต โดยมีการ ขนส่งสินค้าผ่านมาทางช่องเขา และล่องมาตามลำาน้ำาพุมดวง เข้าไปยังอำาเภอต่างๆ ต่อมาปี พ.ศ. 2504 รัฐบาลได้เล็งเห็น ว่าชื่อของอำาเภอไม่ถูกต้องตามสภาพพื้นที่ เพื่อให้ถูกต้องและ เหมาะสมกับสภาพพืน้ ทีใ่ นปัจจุบนั และรักษาไว้ซง่ึ ประวัตศิ าสตร์ จึงเปลี่ยนชื่ออำาเภอท่าขนอน กลับไปเป็นอำาเภอคีรีรัฐตามเดิม นี่กระมังที่ได้ชื่อว่า “คีรีรัฐนิคม” เมืองแห่งขุนเขา สภาพพื้นที่ ส่วนใหญ่ของทีน่ เี่ ป็นภูเขาสูงและเตีย้ สลับซับซ้อนกันไป การเดิน ทางยุคนัน้ ใช้การสัญจรทางเรือ เรือกลไฟ เรือหางยาว เรือแจว เพือ่ บรรทุกคนและสินค้าเข้ามาจำาหน่าย โดยมีตลาด มีทา่ เทียบเรือ มีเรือนแพ ทีเ่ ป็นสถานทีแ่ ลกเปลีย่ นสินค้า หากต้องเดินทางเข้า มาที่อำาเภอเมืองหรือตลาดบ้านดอน ก็ต้องใช้เรือดังกล่าวด้วย

54

สมัยนั้น พ่อเล่าว่า พ่อนำาทุเรียนเข้ามาขายที่ตลาดบ้านดอน ในช่วงของงานเดือนสิบเอ็ด พ่อใช้เรือแจวล่องลงมา เรือแจว มีหลังคาพอให้ได้หลบฝน พ่อและแม่ช่วยกันแจว โดยมีพี่ชาย นั่งมาในเรือด้วย การหุงหาอาหาร ใช้เตาถ่าน ใช้ไม้ฟืนหุงข้าว และทำาแกงกินกันในเรือ แจวเรือล่องลงมาเรือ่ ยๆ ไม่เหนือ่ ยมาก เพราะล่องลงมาตามกระแสน้ำาจากคลองพุมดวงผ่านคลองยัน น้ำาจะเชี่ยวสักหน่อย ต้องวาดหัวเรือให้ดี เพราะเรืออาจล่มได้ การเดินทางแต่ละครั้งต้องใช้เวลาเดินทางหลายวันเพราะ ระยะทางค่อนข้างยาวไกล จากท่าขนอนถึงบ้านดอน ค่ำาไหน นอนนั่น โดยจอดเรือริมตลิ่ง เช้ามาก็เดินทางอีกครั้ง ผ่านลง มาเรื่อยๆ จนถึงแม่น้ำาตาปีถึงท่าข้าม (อำาเภอพุนพิน) และถึง บ้านดอน (อำาเภอเมือง) ตลาดสมัยนัน้ อยูท่ ต่ี ลาดกอบกาญจน์ หรือตลาดล่างนั่นเอง พ่อพักเรือที่ข้างตลิ่ง หลังจากขายของ ที่นำามาจากบ้าน ซึ่งจะพักอยู่หลายวัน สมัยนั้นพ่อแม่ยังหนุ่ม จึงไม่เหน็ดเหนื่อยมากกับการล่องเรือ ขากลับการพายเรือ ทวนน้ำาในระยะทางที่ไกลมากนั้น ค่อนข้างลำาบาก ดังนั้นพ่อ จะรอเรือกลไฟที่จะแล่นจากบ้านดอนขึ้นไปทางเหนือผ่าน ท่าขนอน โดยจะให้เรือกลไฟลากกลับไป ซึ่งมีเรือแจวจำานวน มากที่ต้องให้เรือกลไฟพ่วงหรือลากขึ้นไป ทั้งนี้ต้องใช้เวลา รอนแรมเหมือนกัน จะเห็นได้ว่าสมัยบรรพบุรุษนั้นใช้ชีวิต ค่อนข้างลำาบาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการสัญจรหรือการใช้


ÊÁѺÃþºØÃØɹÑé¹ ãªŒªÕÇÔµ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÅíÒºÒ¡ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹àÃ×èͧ¢Í§¡ÒÃÊÑÞ¨ÃËÃ×Í¡ÒÃ㪌à¤Ã×èͧ·Ø‹¹áç ·Õè¨Ð¹íÒÁÒ㪌㹪ÕÇÔµàËÁ×͹Âؤ»˜¨¨ØºÑ¹ ᵋàÁ×èͶÒÁ·‹Ò¹ ·‹Ò¹ºÍ¡Ç‹Ò·‹Ò¹ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ ã¹¹éíÒÁÕ»ÅÒ ã¹¹ÒÁÕ¢ŒÒÇ ÁÕ»†ÒäÁŒ·ÕèÍØ´ÁÊÁºÙó

à¤Ã×Íè §·Ø¹‹ áç·Õ¨è йíÒÁÒ㪌㹪ÕÇµÔ àËÁ×͹Âؤ»˜¨¨Øº¹Ñ ᵋàÁ×Íè ¶ÒÁ·‹Ò¹ ·‹Ò¹ºÍ¡ Ç‹Ò·‹Ò¹ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ ã¹¹éÒí ÁÕ»ÅÒ ã¹¹ÒÁÕ¢ÒŒ Ç ÁÕ»Ò† äÁŒ·ÍÕè ´Ø ÁÊÁºÙó ˹ŒÒÌ͹¡çäÁ‹ÃŒÍ¹ ͺÍØ‹¹´ÕÁÒ¡æ µ‹ÍÁÒàÁ×èÍÊÀÒ¾ÍÒ¡ÒÈà»ÅÕèÂ¹ä» à¾ÃÒÐ ¨íҹǹ»ÃЪҡ÷ÕÁè Ò¡¢Ö¹é à·¤â¹âÅÂÕáÅÐà¤Ã×Íè §·Ø¹‹ áç·Õ¹è Òí ÁÒ㪌¡¹Ñ ÁÒ¡¢Ö¹é Ê‹§¼Åµ‹Í¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§ àÁ×Íè Œ͹ÃíÒÅÖ¡¶Ö§Í´Õµ·íÒãËŒÃÐÅÖ¡¹Ö¡¶Ö§¤ÇÒÁÊØ¢ ·Õ輋ҹÁÒ ºÒ§¤ÃÑ駪ÕÇÔµàÃÒäÁ‹µŒÍ§¡ÒÃÍÐäÃàÅ µŒÍ§¡ÒÃà¾Õ§ᤋ¡ÒÃÍÂÙ‹¡Ñº ¸ÃÃÁªÒµÔ·ÕèàÍ×éÍÍíÒ¹ÇÂá¡‹ªÕÇÔµ ¾Ö觾ҫÖ觡ѹáÅСѹ áÅФÇÒÁ¾Íà¾Õ§ ÇÔ¶ÕªÕÇÔµ¾Íà¾Õ§¡Ñº¤ÇÒÁÊØ¢·Õè»ÃÒö¹Ò໚¹àÃ×èͧ·ÕèÊíÒ¤ÑÞÂÔè§


Delicious Food Text / Photo : วิริยะ กลิ่นเสาวคนธ์ นิตยสาร ฉบับนีข้ อเปลีย่ นบรรยากาศมาแนะนำ�ของหวานกันบ้าง ขนมไทยเป็นของหวานทีม่ คี วามละเอียดอ่อน วิธกี ารทำ�แต่ละขัน้ มีความประณีตแตกต่างกันไปตามชนิดของหวาน เคล็ดลับการทำ�ของหวานน่าจะเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึง่ ทีส่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ การเลือกสรรวัตถุดบิ ตลอดจนวิธกี ารทำ�ทีพ่ ถิ พี ถิ นั ทำ�ให้ได้รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสนั รูปร่าง น่าตาสวยงามชวนรับประทาน ฉบับนีจ้ งึ ขอแนะนำ�ขนมหวานแสนอร่อยจากผูผ้ ลิตขนมไทยภายใต้ชอ่ื “รัตนาขนมไทย”

รื่นรมย์รสของหวานแสนอร่อยที่

“รัตนาขนมไทย”

คุณรัตนา ทองใส เจ้าของและผู้เริ่มต้นกิจการเล่าให้ฟังว่าเดิมรับราชการ แต่ดว้ ยเป็นผูท้ ชี่ นื่ ชอบการทำ�อาหารหวานแบบไทยๆ เป็นชีวติ จิตใจจากความชอบ นำ�ไปสูก่ ารทำ�เป็นงานอดิเรกตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2536 ซึง่ ทำ�ให้สงั่ สมประสบการณ์และ เมื่อรับคำ�แนะนำ�จากทุกคนที่ได้ชิมมาพัฒนาให้มีรสชาติที่เหมาะสมเป็นที่ชื่นชอบ ของทุกๆ คน โดยในตอนช่วงแรกจะเน้นทีก่ ารผลิตของหวานทีช่ อื่ ลูกชุบซึง่ มีความ สวยงามสีสนั ชวนรับประทาน จากนัน้ ก็ออกรายการขนมอืน่ ๆ ตามมามากมายตาม ลำ�ดับ โดยผลิตและเปิดจำ�หน่ายอย่างเป็นทางการเมือ่ พ.ศ. 2538 ภายใต้การปรุงที่ เน้นคุณภาพ ความอร่อย เอาใส่ใจทุกรายละเอียด ทุกขั้นตอน ร้านรัตนาขนมไทย ในขณะนี้มีคุณเกียรติศักดิ์ ทองใส เป็นผู้จัดการ มี 4 สาขาให้บริการขนมหวาน หลากหลายชนิดทั้งขนมไทยและเบเกอรี่ ด้วยความหลากหลายของรายการขนมทีผ่ เู้ ขียนสุดความสามารถจะบรรยาย ได้จึงขอให้ผู้อ่านดูจากรูปและขอแนะนำ�บางอย่างดังนี้ เริ่มด้วย ลูกชุบ ปั้นเป็น รูปทรงผลไม้หลากชนิดน่ากินเป็นทีส่ ดุ และลูกชุบไข่เค็ม พัฒนามาอีกขัน้ สีขาวสวย เหมือนไข่นกกระทาปอก

56


ตามมาด้วยชุด บ้าบิ่น ข้าวตู ศิลาอ่อน จะกินเล่นหรือกินจริงย่อมได้ มีทั้งความรู้สึก เหนียวหนึบ กรอบมัน ผสมผสาน และชุดขนม จ่ามงกุฎ ทองเอก เสน่ห์จันทร์ ความหอม ละมุนและความหวานทีส่ ดชืน่ และของหวาน ชุดวุน้ เค้กแต่งหน้าลูกเป็ด สีสวยของวุน้ บรรจง สร้างอย่างประณีตสวยงามดูและน่ารักน่ากิน ขอแนะนำ�ขนมกินเป็นอาหารว่างกับชากาแฟ อย่าง ชิฟฟ่อนเค้กมะพร้าวอ่อน ชิฟฟ่อน เค้กฝอยทอง พายเค้กฝอยทอง และสำ�หรับ ผู้ที่ชื่นชอบขนมเปี๊ยะ หรือขนมแบบไทยแท้ อย่าง ขนมชั้น หรือ ขนมจีบไส้สังขยา ไส้ถั่ว พายสับปะรดก็มีให้เลือกมากมาย

นอกจากนีย้ งั มีอกี หลายเมนูเด็ด ผัดไทย กรอบ ชุดนี้พัฒนาโดยใช้น้ำ�ยาสำ�หรับผัดไทย ไชยาทีล่ อื ชือ่ นำ�มาทำ�เป็นอาหารเคีย้ วเล่นทีไ่ ด้ รสชาติกลมกล่อม อีกอย่างทีอ่ ยากแนะนำ�ก็คอื กะหรี่ปั๊บ กรอบนอกนุ่มในน่ากินสุดๆ

คุณเกศิณี ทองใส (ลูกสาวคุณรัตนา ทองใส) ผู้ดูแลร้าน

รัตนาขนมไทย 79/1 ตำ�บลหัวเตย อำ�เภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84130 โทร. 077-268-320 เปิดเวลา 06.30 น. – 20.00 น. ทุกวัน สาขา 1 หน้าโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ อ.พุนพิน โทร. 077-240-545 เปิดเวลา 07.00 น. – 19.00 น. ทุกวัน สาขา 2 ตรงข้ามโรงเรียนสุราษฎร์พิทยา อ.เมือง โทร. 077-275-887 เปิดเวลา 07.00 น. – 18.00 น. ทุกวัน

57


Good Living Text / Photo : นิตยสาร Supalai@home Q2/2016 (ฉบับเดือนเมษายน - มิถุนายน 2559)

Supalai Save Our World Save Your Money หลายฉบับทีผ่ า่ นมาเราได้พดู ถึงกระบวนการคิด และออกแบบให้เกิดบ้านทีส่ ามารถประหยัดการใช้พลังงาน เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน ครัง้ นีเ้ รามาสรุปกันว่าหลักการออกแบบให้บา้ นพักอาศัยมีศกั ยภาพในการประหยัดการใช้พลังงาน และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั้นทั้งหมดแล้วเราต้องคำ�นึงถึงปัจจัยอะไรบ้าง การเลือกใช้วัสดุเพื่อประหยัดการใช้พลังงาน การลดภาระ การทำ�ความเย็นของระบบปรับอากาศ และการใช้เทคโนโลยี ยุคใหม่ที่เหมาะสม การเลือกใช้วัสดุ ปัจจัยสำ�คัญที่ทำ�ให้บ้านพักอาศัยประหยัดการใช้ พลังงานได้ โดยเฉพาะหลังคา ผนัง พืน้ และกระจก การเลือกใช้ผนังทีด่ ี จะช่วยป้องกันไม่ให้ความร้อนถ่ายเทเข้ามาในอาคารมากเกินไป และยัง ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความชื้น ซึ่งมักเกิดขึ้นกับผนังของอาคารที่มีการ ปรับอากาศ อันสาเหตุที่ทำ�ให้เกิดเชื้อราภายในผนัง เทคนิคสำ�คัญ คือ ต้องควบคุมความชื้นให้ได้ สำ�หรับกระจกนั้น เพื่อให้สามารถประหยัด การใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษในการตัด คลืน่ รังสีอลั ตร้าไวโอเลตและรังสีอนิ ฟราเรด เพือ่ ป้องกันความร้อน โดย มีแสงสว่างจากธรรมชาติในช่วงคลืน่ ทีต่ ามนุษย์สามารถมองเห็นได้ และ มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้น

ปัจจัยสำ�คัญ 8 ประการ ของการออกแบบบ้านเพื่อประหยัดการใช้ พลังงาน ประการแรก คือ การปรุงแต่งสภาพแวดล้อมให้เอือ้ อำ�นวยต่อการอยูอ่ าศัย ประการที่ 2 การเลือกรูปทรงอาคารให้เหมาะสม ประการที่ 3 การเลือกใช้ปัจจัยธรรมชาติ เพื่อช่วยในการประหยัดการใช้ พลังงาน ประการที่ 4 การเลือกใช้วัสดุเพื่อการประหยัดการใช้พลังงาน ประการที่ 5 การลดภาระการทำ�ความเย็นของระบบปรับอากาศ ประการที่ 6 การใช้เทคโนโลยียุคใหม่ที่เหมาะสม ประการที่ 7 การใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และประการสุดท้าย คือ การคำ�นึงถึงการบำ�รุงรักษา

การปรุงแต่งสภาพแวดล้อมให้เอือ้ อำ�นวยต่อการอยูอ่ าศัย การเลือกใช้ ปัจจัยธรรมชาติและการเลือกรูปทรงอาคารให้เหมาะสม

การประหยัดการใช้พลังงานทัง้ ในรูปแบบทีม่ กี ารใช้ และไม่ใช้ระบบปรับอากาศ ไปพร้อมๆ กัน เป็นปัจจัยทีต่ อ้ งคำ�นึงถึง การประยุกต์สภาพแวดล้อมของบ้านพัก อาศัยให้เอือ้ อำ�นวยต่อการประหยัดการใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ โดยนำ� ทรัพยากรธรรมชาติไปใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ทัง้ แสงอาทิตย์ ลม น้� ำ การปรับปรุง สภาพแวดล้อมให้มสี ภาพทีร่ ม่ รืน่ มีผลต่อปริมาณความร้อนทีเ่ ข้าสูอ่ าคาร เพราะเมือ่ ผิวอาคารมีพน้ื ทีม่ ากความร้อนก็จะผ่านเข้ามาภายในอาคารได้มากดังนัน้ นอกจาก ทีต่ อั งเลือกรูปทรงอาคาร หลังคาให้เหมาะสม เพือ่ ทำ�ให้พน้ื ผิวอาคารทีร่ บั ความร้อน โดยตรงเหลือน้อยทีส่ ดุ แล้ว สภาพแวดล้อมทีม่ รี ม่ เงา รวมทัง้ ความร่มรืน่ จะเป็น ปัจจัยเสริมช่วยให้ประหยัดการใช้พลังงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นไปเป็นอย่างดี

58

เลือกใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง ค่าบำ�รุงรักษาอาคารต่ำ�

การบำ�รุงรักษาอาคาร อีกหนึง่ ปัจจัยสำ�คัญ เพือ่ การประหยัดการใช้ พลังงาน ดังนั้นจึงต้องมีการเลือกใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และมี การบำ�รุงรักษาต่ำ� การออกแบบควรแยกอุปกรณ์ที่ให้ความร้อนอยู่ นอกบ้านทั้งหมด มีการใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์ทุกชนิดเท่าที่จำ�เป็น ไม่ใช้อย่าง ฟุ่มเฟือย เพื่อให้มีการบำ�รุงรักษาต่ำ� ควรเลือกใช้วัสดุผนัง ฝ้าเพดาน วัสดุมุงหลังคาที่ทำ�ให้ไม่เกิดการรั่วหรือเสียหายในระยะยาว ใช้วัสดุที่ พัฒนาขึน้ เพือ่ แทนวัสดุทใี่ ช้กนั โดยทัว่ ไป เช่น ไม้เทียมทีต่ อ้ งบำ�รุงรักษา น้อยกว่าไม้จริงมาก ใช้ท่อระบบประปาเป็นชนิดพีบีอาร์แทนพีวีซีและ ท่อทองแดง รวมไปถึงการออกแบบร่มเงา เพือ่ ป้องกันผนังจากแสงอาทิตย์ และลมฟ้าอากาศ อันเป็นสาเหตุให้เกิดความเสื่อมสภาพและดูเก่าเร็ว เน้นการระบายอากาศให้ไหลผ่านสะดวกทุกบริเวณตลอดทั้งปีท�ำ ให้ไม่มี จุดอับและไม่สะสมความชืน้ มีการใช้ผนังระบบฉนวนกันความร้อนทำ�ให้ไม่ เกิดการแตกร้าว แตกลายงาสีไม่ลอก ตลอดจนสนามหญ้าและเนินดิน ใช้ระบบหัวฉีดน้ำ�อัตโนมัติเพื่อลดภาระการดูแลรักษาพื้นที่สีเขียว

การออกแบบบ้านพักอาศัยให้ใช้พลังงานต่�ำ อย่างชาญ

ฉลาด อยู่อาศัยแบบพึ่งพาตนเอง เพื่อให้มีความเป็นอยู่ อย่างยั่งยืนเป็นสิ่งที่ศุภาลัยมุ่งมั่นและตั้งใจมาโดยตลอด เพื่อสร้างสรรค์บ้านที่ดีให้กับทุกท่านที่ปรารถนาชีวิตที่ดี และเป็นสุขตลอดไป SUPALAI SAVE OUR WORLD SAVE YOUR MONEY.


59


My View Text / Photo : จิรา ชุมศรี

ครั้งสำ�คัญในวันแสนอาลัย

“ข้างหน้าช่วยขยับเดินกันไปหน่อย อย่ามัวแต่ถา่ ยรูปกันอยู่ ข้างหลังแออัดจะเป็นลมกันหมดแล้ว!” เสียงตะโกนจากชายคนหนึง่ ดังมาแต่ไกลจาก กลุม่ คนจำ�นวนมากด้านหลังจุดทีฉ่ นั ยืนอยู่ ตามมาด้วย เสียงคนบ่นว่า...ไม่ไหวแล้ว จะเป็นลม เป็นเหตุการณ์ ทีฉ่ นั ได้รบั รู้ ได้สมั ผัส เมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม 2559 หรือ 1 วัน ภายหลังจากพสกนิกรชาวไทยต้องเสียใจ อย่างสุดซึง้ เมือ่ ทราบว่าพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชสวรรคต แล้ววันถัดมา คลืน่ มหาชน ก็แห่แหนกันมามืดฟ้ามัวดิน มาร่วมถวายสักการะ ขบวนอัญเชิญพระบรมศพพระมหาราชาผู้ย่ิงใหญ่ ในจิตใจของพวกเขา ตลอดสองข้างทางจากโรงพยาบาลศิรริ าชไปยัง พระทีน่ ง่ั พิมานรัตยาในพระบรมมหาราชวัง เมือ่ ขบวน อัญเชิญพระบรมศพผ่านมา เสียงร้องไห้ดังระงม สลับเสียงถวายพระพร “ทรงพระเจริญ” ดังกึกก้อง บริเวณแยกอรุณอมรินทร์ เฉกเช่นห้วงยามทีย่ งั ทรง มีพระชนม์ชพี จนขบวนเสด็จผ่านเลยไป ประชาชนก็เริม่ ทยอย กลับบ้าน ตอนทีท่ กุ คนนัง่ รอเฝ้ารับขบวนเสด็จ ฉันคิด ว่าจำ�นวนคนทีม่ าในวันนีม้ ากมายทีเดียว แต่พอทุกคน ลุกขึ้นยืนนี่สิ ยิ่งเยอะมากจนมองไม่เห็นอะไรเลย นอกจากคลืน่ คนไกลสุดลูกหูลกู ตา จากถนนกว้างๆ ดู คับแคบไปสนิทใจ ต่างคนต่างแยกย้ายกันกลับบ้าน เดินสวนกันไปสวนกันมา จนกลายเป็นความแออัด ขนาดขยับตัวไม่ได้ เพราะเบียดเสียดกันเข้ามาจน แน่นไปหมด ในขณะที่ฉันยืนอยู่ตรงกลางคลื่นคนพอดีจะ เดินหน้าก็ไม่ได้ ขยับถอยก็ไม่ได้ ด้านหลังเริม่ ดันเข้ามา ด้านหน้าก็เริม่ ติดแน่นง่ิ ไม่ขยับเลย จนมีเสียงชายคน หนึง่ ตะโกนมาว่า “ข้างหน้าช่วยขยับเดินกันไปหน่อย อย่ามัวแต่ถา่ ยรูปกันอยู่ ข้างหลังแออัดจะเป็นลมกัน หมดอยูแ่ ล้ว” จากหนึง่ เสียง ก็เริม่ แตกเป็นเสียงบ่นจากคนนัน้ คนนี้ ฟังไม่ได้ศพั ท์ อือ้ อึงมาก ฉันเริม่ รูส้ กึ ว่าตัวเอง หน้าซีด ด้วยอาการตืน่ ตระหนก จนใจเต้นแรง หายใจ ไม่สะดวก อบอ้าวจนอึดอัดไปหมด ฉันไม่เคยเจอ สถานการณ์เช่นนีม้ าก่อน รูส้ กึ ใจไม่ดี หันไปมองเห็น เด็กชายวัย 3-4 ขวบนัง่ อยูบ่ นคอพ่อ เจ้าหนูหน้าแดง กำ�ลังจะร้องไห้ด้วยความกลัวเช่นเดียวกัน ขณะที่ เด็กหญิงอีกคนก็ก�ำ ลังยืนหน้าซีด

60


“ไหวไหมน้อง ไม่ตอ้ งกลัวนะ เดีย๋ วก็โล่งแล้วค่ะ นัน่ เริม่ ขยับแล้ว” ฉันฝืนยิม้ แล้วปลอบน้องเขาไป ทัง้ ๆ ทีต่ วั เองเริม่ หายใจไม่ออก เสียงตะโกนดังระงมว่า “มีคนเป็นลม” ฉันหันไปทางต้นเสียงนัน้ เห็นคุณป้าอายุราว 50 เศษกำ�ลังหน้าซีด มีผ้ชู ายสองคนช่วย พยุงและพยายามพาป้าแกออกมา ตรงจุดที่มีเจ้าหน้าที่คอยให้ การปฐมพยาบาล ซึง่ มีผหู้ ญิงอีกคนทีเ่ ป็นลมไปก่อนแล้ว นอนราบ ไปบนฟุตบาทที่ยังพอมีพ้นื ที่นิดหน่อย สำ�หรับการปฐมพยาบาล เบือ้ งต้น ฉันอึดอัดเต็มที ไม่ไหวแล้ว หายใจไม่ออก พยายามเบียดตัวเอง ให้ไปอยูด่ า้ นข้าง เพือ่ หาอากาศหายใจ จนหลุดจากฝูงชนมายืนอยู่ ที่จอดมอเตอร์ไซค์ ฉันยืนอยู่กับที่ ปล่อยให้ผ้คู นเดินกันไปก่อน จนค่อยๆ สลายตัวกันไป ทำ�ให้ถนนโล่งอีกครัง้ จนฉันรูส้ กึ ดีขน้ึ หายใจได้คล่องขึน้ แล้วกลับไปทำ�หน้าทีบ่ นั ทึกภาพบรรยากาศแห่ง ความอาดูรของพสกนิกรต่อไป ตัง้ ใจว่า ในระหว่างทีป่ ระชาชนเดินทางมาแสดงความอาลัย แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่บริเวณ หน้าพระบรมมหาราชวัง ฉันจะบันทึกภาพเหตุการณ์ประวัตศิ าสตร์ ครัง้ นีไ้ ว้ให้ลกู ให้หลานรับรูว้ า่ เรามีในหลวงรัชกาลที่ 9 ทีป่ ระชาชน ให้ความเคารพรักอย่างทีส่ ดุ ทีส่ �ำ คัญ ฉันจะใช้ภาพถ่ายเป็นสือ่ อันทรงพลัง บอกอนุชน คนรุน่ หลังว่าพระองค์ทรงทำ�อะไรให้พสกนิกรบ้าง พสกนิกรจึงรัก และศรัทธาพระองค์มากมายเพียงนี้

จิรา ชุมศรี [Jira Chumsri]

ช่างภาพหญิง ชาวอำ�เภอเคียนซา สุราษฎร์ธานี เคยยึดอาชีพกรีดยาง เลีย้ งครอบครัวถึง 14 ปี ไม่เคยผ่าน การศึกษาจากสถาบันการถ่ายภาพใด นอกจากอบรมการถ่ า ยภาพจาก โรงเรียนสารพัดช่างพระนครราว สามเดือน และฝึกฝนเรียนรูจ้ ากการ ลงมือทำ� โดยมีช่างภาพมือรางวัล พศวัฒน์ สิรศิ ลิ ปสรณ์เป็นครู จนถึงปี 2558 เธอสอบผ่านและได้รบั วุฒิ “ช่างภาพเกียรตินยิ ม ระดับ LBPS” สมาคมถ่ายภาพกรุงเทพฯ ประจำ�ปี 2558 เคยมีผลงาน ภาพชุด “เคียนซาทีร่ กั ” ในนิตยสาร @Surat ปัจจุบนั เป็นช่างภาพอิสระ รับงานถ่ายภาพในนาม “บ้านเราสตูดโิ อ” ติดต่อ 086-949-3223 หรือ www.facebook.com/บ้านเราสตูดโิ อ)

61


Good Health & Wellness Text : ทพ.สุทธิพันธุ์ จำ�นงค์ทอง ทันตแพทย์เฉพาะทางศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิโลเฟเชียล โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี / Oral Max & Dental Clinic

มะเร็งในช่องปาก ตอนที่ 4

หลังจากทีเ่ ราวินจิ ฉัยว่าผูป้ ว่ ยเป็นมะเร็งในช่องปากและแพทย์ผูเ้ ช่ยี วชาญได้เลือกแนวทางการรักษาแล้วนัน้ ซึง่ การรักษา แต่ละวิธีนั้นมีข้อจำ�กัดและข้อดีข้อเสียแตกต่างกัน เราจะต้องทำ�ความเข้าใจและเรียนรู้ผลข้างเคียงของการรักษาแต่ละอย่าง ได้แก่ ผลข้างเคียงจากการผ่าตัด เช่น อาการปวดแผล มีเลือดออกจากแผลผ่าตัด การติดเชือ้ การสูญเสียเนือ้ เยือ่ อวัยวะที่ผ่าตัดและการบาดเจ็บจากอวัยวะข้างเคียง เนื่องจากการผ่าตัดนั้นไม่ใช่แค่ เพียงผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออกไปเท่านั้นแต่ต้องตัดเอาเนื้อเยื่อข้างเคียงออกด้วยเพื่อ ป้องกันการเกิดซ้� ำ อาจมีการสูญเสียเส้นเลือด เส้นประสาท ต่อมน้�ำ เหลืองบริเวณคอ เพื่อป้องกันการกระจายของมะเร็งในอนาคต ส่งผลต่อระบบการบดเคี้ยว การกลืน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการผ่าตัดอาจจะทำ�ได้ไม่ทุกกรณีของการเกิดมะเร็งช่องปากขึ้นกับ ว่าเกิดที่อวัยวะใดและอยู่ในระยะใด

เนือ้ เยือ่ ในช่องปากอักเสบแดง แสบร้อน กินอาหารหรือ กลืนลำ�บากได้ ปริมาณรังสีที่มากอาจทำ�ให้มีการบวม ของทางเดินหายใจและหายใจลำ�บากได้

ผลข้างเคียงจากการให้ยาเคมีบ�ำ บัด การให้ยาเคมีบำ�บัดจะมีผลข้างเคียงได้กับหลายระบบของร่างกายเนื่องจากยา เข้าสู่กระแสเลือดทำ�ให้มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ เบื่ออาหาร อาเจียน ยาเคมีบำ�บัด สามารถกดการทำ�งานของไขกระดูก ทำ�ให้ไขกระดูกทำ�งานน้อยลงสร้างเม็ดเลือด ได้น้อย เกิดภาวะซีด ภูมิคุ้มกันร่างกายต่ำ�ลง เกล็ดเลือดต่ำ�ทำ�ให้มีเลือดออกได้ง่าย และหยุดยาก

ผลข้างเคียงจากการรังสีรกั ษา การให้รังสีรักษานั้นมีผลข้างเคียงเฉพาะเนื้อบริเวณที่ได้รับรังสีเท่านั้น โดย มะเร็งในช่องปากจะมีผลข้างเคียงเฉพาะบริเวณใบหน้าและลำ�คอ ซึ่งขึ้นกับปริมาณ รังสีที่ได้รับ รังสีรักษาจะทำ�ให้เส้นเลือดบริเวณที่รับรังสีลดลงทำ�ให้มีเลือดไปเลี้ยง เนื้อเยื่อลดลงทำ�ให้ผิวหนังอักเสบ คล้ำ� ดำ� แห้ง ตกสะเก็ด (เมื่อได้ปริมาณรังสี ระดับปานกลาง) และอาจเป็นแผลแตกเหมือนน้ำ�ร้อนลวก (เมื่อได้ปริมาณรังสีสูง) อวัยวะข้างเคียง เช่น ต่อมน้�ำ ลายจะฝ่อลง ผลิตน้�ำ ลายได้นอ้ ยลง ทำ�ให้ฟนั ผุกร่อนได้งา่ ย

62

จะเห็นได้ว่าการรักษาแต่ละวิธีนั้นมีผลข้างเคียง ซึ่งแพทย์ผู้ชำ�นาญจะเป็นผู้ตัดสินใจร่วมกับผู้ป่วย การแก้ไขและลดผลข้างเคียงของการรักษานัน้ จะต้อง พิจารณาควบคูไ่ ปกับการรักษามะเร็ง ในครัง้ หน้าเรา จะมาเรียนรูก้ ารเตรียมช่องปากก่อนการรักษามะเร็ง กันครับ


63


Talk Text : ดร. ภาสกร ธรรมโชติ (นักเรียนทุนฟุลไบร์ท 2549) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี

Surat@Risk การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเป็นปัญหาสำาคัญทีก่ าำ ลังส่งผลต่อประเทศต่างæ ทัว่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทย โดยเฉพาะในภาคเกษตรกรรม ซึ่งกำาลังเผชิญการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ในรูปของภัยแล้ง อุทกภัย การระบาดของโรคแมลง การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ที่ส่งผลต่อการทำาการเกษตร น้ำาเค็มรุกหรือพื้นที่ดินเค็มขยาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในลักษณะต่างæ ส่งผลกระทบโดยตรงกับ ภาคการเกษตร เนือ่ งจากพืน้ ทีก่ ารเกษตรส่วนใหญ่ของไทยเป็นระบบการเกษตรทีอ่ าศัยน้าำ ฝนเป็นหลัก ทัง้ นีผ้ ลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันออกไปแต่ละพื้นที่และชนิดของพืช รวมทั้งในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี นอกเหนือจากสายงานทางด้านการเงิน สายงานการท่องเทีย่ วก็เริม่ จะเห็น แนวการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศก่อให้เกิดข้อจำากัดในการผลิตในภาคเกษตร มากขึน้ ทัง้ ข้าว ยางพารา ผลไม้ และปาล์มน้าำ มัน ซึง่ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เช่น อุณหภูม ิ ปริมาณน้าำ ฝน ภาวะฝนทิง้ ช่วง การขาดแคลนน้าำ รวมทัง้ ระยะเวลาของฤดูแล้งทีย่ าวนานขึน้ ส่งผลกระทบต่อ ผลผลิตทางการเกษตร ในส่วนของจังหวัดสุราษฎร์ธานีซ่ึงเป็นจังหวัดที่มีพ้ืนที่ปลูกปาล์มน้ำามัน ยางพารา และไม้ผล รวมทัง้ เป็นจังหวัดทีเ่ คยประสบภัยธรรมชาติครัง้ ใหญ่ในปี พ.ศ. 2554 หลายพืน้ ทีใ่ นจังหวัดสุราษฎร์ธานีมนี าำ้ ป่าไหลหลาก น้าำ ท่วมฉับพลัน และน้าำ ล้นตลิง่ ส่งผลให้มพี น้ื ทีท่ าำ การเกษตรได้รบั ความเสียหาย นอกจากนีย้ งั มีภยั แล้ง ช่วงทีแ่ ล้งมากคือประมาณ กุมภาพันธ์-เมษายน หรือในบางครัง้ ตัง้ แต่ ธันวาคม – เมษายน โดยภัยแล้งจะส่งผลกระทบกับผลผลิตทางการเกษตร ในอนาคตความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศจะทวีความรุนแรง ขึน้ เรือ่ ยๆ ในขณะทีก่ ารปรับตัวต่อความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ พบว่ายังมีขอ้ จำากัดโดยส่วนใหญ่เกษตรกรเลือกทีจ่ ะปล่อยตามธรรมชาติ หรือปล่อยตามสภาพไม่มกี ารปรับตัวใดๆ ดังนัน้ เรือ่ งการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิ

64


อากาศจึงมิใช่ปญ ั หาระดับชาติอกี ต่อไป แต่เป็นปัญหาระดับท้องถิน่ ทีห่ ลายๆ พืน้ ที่ กำาลังเผชิญอยู ่ การกำาหนดนโยบายในการปรับตัวเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศจึงมีความจำาเป็นต้องคำานึงถึงปัจจัยเชิงพืน้ ทีเ่ ป็นหลัก นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังเป็นประเด็นท้าทายในการ พัฒนาเมือง งานศึกษาในชุดโครงการการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของสำานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว) ของ ผศ.ดร. วนารัตน์ กรอิสรานุกลู ได้ระบุวา่ อำาเภอ พุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความจำาเป็นต้องปรับผังเมือง เนือ่ งจากการเจริญเติบโต ขยายของเมือง แต่เดิมเป็นไปตามระบบสาธารณูปโภคทำาให้เมืองขยายไปยังพืน้ ทีท่ ่ี มีความเสี่ยง เนื่องจากการตัดถนนเชื่อมระหว่างตัวสนามบินไปยังตัวเมืองเก่าเกิด การขยายตัวของเมืองขวางทางน้าำ หลาก ปัญหาดังกล่าวจะทวีความรุนแรงมากขึน้ หากไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำาเป็นที่ชาวสุราษฎร์ธานีจะหยิบยกประเด็นนี้มาศึกษา แลกเปลีย่ น เรียนรู ้ เพือ่ เตรียมพร้อมหาทางออก และหาแนวทางปรับตัวรองรับ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต

65


Horoscope

ทำานายดวงชะตาราศี ระหว่างเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2559 ราศีเมษ Aries

สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 14 เมษายน - 14 พÄษภาคม ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วความรักค่อนข้างดี ราบรืน่ ไม่มี ปัญหาเข้ามากวนใจ ส่วนคนที่กำาลังมองหาใครอยู่จะมีคนที่ดีเข้า มาหา ควรใช้โอกาสช่วงนีใ้ นการคบหาดูใจกัน ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ การเงินมีแนวโน้มทีด่ ขี น้ึ มีโอกาสได้รบั เงินก้อนใหญ่ มีโชคลาภอย่างไม่คาดคิดมาก่อน และควรแบ่งเงินทีไ่ ด้สว่ นหนึง่ ไป ทำาบุญเสริมดวงการเงินด้วย

ราศีพÄษภ Taurus

สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 15 พÄษภาคม - 14 มิถุนายน

ราศีสิงห์ Leo สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 17 สิงหาคม - 16 กันยายน

ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วความรักราบรืน่ ไม่มอี ปุ สรรคอะไร เข้ามายุง่ เกีย่ วในชีวติ ส่วนคนโสดหรือกำาลังคบหากันไม่คอ่ ยดีเท่าไหร่ รักใครคบใครอาจไม่สมหวัง ทำาให้รสู้ กึ เหนือ่ ยและปลง ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ การเงินค่อนข้างมีปญ ั หา ระวังการใช้จา่ ยเงินทีไ่ ม่ จำาเป็นหรือเงินทีจ่ า่ ยโดยไร้ประโยชน์ เพราะยังมีภาระทีจ่ ะตามเข้ามา ให้ใช้เท่าทีจ่ าำ เป็นและพยายามเก็บออมไว้จะดีทส่ี ดุ

ราศีกันย์ Virgo สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 17 กันยายน - 17 ตุลาคม

ด้านความรัก ความรักในช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วไม่คอ่ ยจะดีเท่าไหร่ ควรระมัดระวังการเข้ามาของคนอืน่ ทีจ่ ะทำาให้เกิดการทะเลาะกันได้ ส่วนคนโสดยังไม่มเี กณฑ์คนทีถ่ กู ใจเข้ามา ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีก้ ารเงินค่อนข้างดี มีคนช่วยเหลืออุปถัมภ์ทาำ ให้ ไม่ลาำ บากหรือขัดสนในเรือ่ งเงิน มีเกณฑ์ใช้จา่ ยเพราะภาระครอบครัว หลังผ่านช่วงนีไ้ ปควรวางแผนการเงินให้ด ี ช่วงทีม่ กี เ็ ก็บออมไว้บา้ ง

ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคยู่ งุ่ กับการงาน ทำาให้มคี วามรูส้ กึ ค่อนข้าง เหนือ่ ยใจกับปัญหาของความรัก พยายามปล่อยวางแล้วทุกอย่างจะ ดีเอง ส่วนคนโสดยังไม่มคี นถูกใจเข้ามา ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีก้ ารเงินไม่คอ่ ยดีนกั อาจสะดุดหรือติดขัด ทำาให้ รูส้ กึ ต้องเหน็ดเหนือ่ ยในการหาเงิน ควรพยายามจัดสรรเงินให้ดกี ว่า ทีเ่ ป็นอยูจ่ ะทำาให้ไม่หนักใจ

ราศีเมถุน Gemini

ราศีตุลย์ Libra

สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 15 มิถุนายน - 16 กรกฎาคม

สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 18 ตุลาคม - 16 พÄศจิกายน

ด้านความรัก คนมีคแู่ ล้วช่วงนีเ้ พราะให้ความสำาคัญกับการทำางาน และการหาเงินมากจนทำาให้ไม่มเี วลา ทำาให้ความรักดูจดื จาง ควรแบ่ง เวลาให้เหมาะสม ส่วนคนโสดคงต้องโสดไปก่อนสักพัก ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีห้ าเงินคล่องมากไม่วา่ จะเป็นงานประจำาหรือ งานเสริมต่างๆ ก็ทาำ เงินให้เป็นอย่างดี ทำาให้มรี ายได้เพิม่ เข้ามามากขึน้ แต่อย่าชะล่าใจใช้จา่ ยมากจนเกินไปนัก

ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วความสัมพันธ์ไม่คอ่ ยสดใสนัก ระวัง เรือ่ งเงินทองมากเกินไป อาจทำาให้ไม่เข้าใจ สำาหรับคนโสดควรออก พบปะคนแปลกหน้าอาจเจอคนถูกใจได้ ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีร้ ายได้รายจ่ายหมุนเวียนได้ด ี อาจมีลาภลอยมา เป็นระยะ แต่ควรระวังเพราะมีโอกาสเช่นกันทีจ่ ะได้ไม่คมุ้ เสีย ควรคิด ไตร่ตรองให้ดกี อ่ นจะรับ

ราศีกรกฎ Cancer

สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 17 กรกฎาคม - 16 สิงหาคม ด้านความรัก คนมีคแู่ ล้วแนวโน้มความรักค่อนข้างดี ความรักราบรืน่ ไม่มอี ะไรน่าห่วง ส่วนคนโสดมีโอกาสได้พบกับคนทีใ่ ช่และเหมาะสม แต่กต็ อ้ งดูกนั ไปสักระยะก่อนอย่ารีบร้อนจนเกินไป ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีห้ าเงินเก่ง หาเงินคล่อง ขณะเดียวกันก็ใช้เงิน เก่งเช่นกัน พยายามอย่าฟุม่ เฟือยกับสิง่ ทีไ่ ม่เกิดประโยชน์ เก็บออม ไว้ดที ส่ี ดุ จะมีเกณฑ์ตอ้ งเสียเงินบ้างเข้ามาในไม่ชา้

66

ราศีพิจิก Scorpio สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 17 พÄศจิกายน - 15 ธันวาคม ด้านความรัก คนมีคแู่ ล้วความรักยังคงราบรืน่ ดี ไม่มอี ะไรเข้ามา เป็นปัญหา สำาหรับคนโสดควรเข้าสังคม ร่วมกิจกรรมสาธารณะบ้าง อาจทำาให้ได้พบรัก ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีเ้ งินมาเป็นกะปริบกะปรอย ค่าใช้จา่ ยจุกจิก หยุมหยิมซึง่ ก็ดเู หมือนไม่หนักหนาอะไรแต่พอรวมๆ กันแล้วก็หนักหนา เอาการอยูพ่ อสมควร


ราศีธนู Sagittarius สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 16 ธันวาคม - 14 มกราคม

ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วอยูใ่ นจุดทีย่ งั ไม่ด ี การสือ่ สารกัน เป็นสิง่ สำาคัญ หรือชวนกันไปเปลีย่ นบรรยากาศท่องเทีย่ วบ้าง ใช้เวลา ร่วมกันให้มากขึน้ ส่วนคนโสดเน้นการทำางานไปก่อน ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีร้ ายจ่ายมีแนวโน้มลดลง ในขณะทีร่ ายได้จะเพิม่ เข้ามามากขึน้ มีการเงินคล่องตัวมากขึน้ เพียงแต่ตอ้ งระวังเรือ่ งเสียเงิน เกีย่ วกับการดูแลรักษาสุขภาพ

ราศีมังกร Capricorn

สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 15 มกราคม - 12 กุมภาพันธ์ ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วยังอยูใ่ นจุดทีด่ ี มีความสัมพันธ์ทด่ี ี สวีทหวานโรแมนติกมากขึน้ ส่วนคนโสดมีโอกาสจะได้พบกับคนทีใ่ ช่ คนทีถ่ กู ใจโดยมีพอ่ สือ่ แม่สอ่ื กองเชียร์ชว่ ยเหลือเต็มที่ ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีด้ วงการเงินเริม่ ดีขน้ึ แล้ว มีการจัดการรายรับรายจ่ายทีด่ ี รายได้ยงั มีเข้ามาอย่างสม่าำ เสมอ สำาหรับดวงโชคลาภยัง ไม่โดดเด่น คงต้องรอสักระยะ

ราศีกุมภ์ Aquarius สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 13 กุมภาพันธ์ - 14 มีนาคม

ด้านความรัก ช่วงนีค้ นมีคแู่ ล้วความรักเริม่ ดีขน้ึ หลังจากทีห่ ลายคู่ เคยมีปญ ั หาขัดแย้งกันมาก่อนหน้านีแ้ ละควรแบ่งเวลาให้กบั คนรักบ้าง สำาหรับคนโสดต้องค่อยเป็นค่อยไป อย่ารีบร้อนเปิดตัวจนกว่าจะแน่ใจ ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนีใ้ ห้ระวังเรือ่ งการใช้จา่ ย ต้องระวังในเรือ่ งของ การเสีย่ งโชค เน้นรายได้ทม่ี าจากน้าำ พักน้าำ แรงและการทำางานมากกว่า มีแนวโน้มทีร่ ายได้เก่าๆ และเป็นผลให้หมุนเวียนเงินทองได้ดขี น้ึ

ราศีมีน Pisces สำาหรับผู้ที่เกิดช่วงวันที่ 15 มีนาคม - 13 เมษายน

ด้านความรัก ช่วงนีค้ นทีม่ คี แู่ ล้วอยูใ่ นเกณฑ์ทย่ี งั ดูแลกันได้เรือ่ ยๆ อาจจะทะเลาะกันบ้างด้วยเรือ่ งจุกจิกเล็กน้อย สำาหรับคนโสดถ้าอยาก การเดินทางจะช่วยให้เกิดโอกาสได้พบเจอกับคนใหม่ๆ ´ŒÒ¹¡ÒÃà§Ô¹ ช่วงนี้มีโอกาสได้เงินได้โชคเข้ามาอย่างไม่คาดฝัน สำาหรับใครทีว่ างแผนลงทุนในธุรกิจทีม่ คี วามเสีย่ ง มีโอกาสได้รบั ผล ตอบแทนทีด่ กี ลับมา แต่ระวังการใช้จา่ ย ควรบริหารจัดการกันให้ดๆี

67


Photography Documentary

Text / Photo : ธีรภาพ โลหิตกุล

12 มีนาคม พุทธศักราช 2502 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถ เสด็จเยีย่ ม พสกนิกร ณ อำาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ 1 ในพระบรมฉายาลักÉณ์ประวัตศิ าสตร์ อันเป็นประจักÉ์พยาน ยืนยันว่าพระมหากÉัตริยร์ ชั กาลที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์พระองค์น้ี ทรงศึกÉาภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ วิถชี วี ติ และศิลปวั²นธรรมแห่งสยามประเทศอย่างถ่องแท้ ก่อนจะทรงงานเพือ่ ประโยชน์สขุ แห่งมหาชน ชาวสยามตามพระราชปณิธานทีพ่ ระราชทานไว้ ในวันทีร่ ฐั บาลไทยน้อมเกล้าÏ จัดพระราชพิธบี รมราชาภิเÉก ถวายเมือ่ วันที่ 5 พÄÉภาคม พ.ศ. 2493 หรือวันฉัตรมงคล

68


69



71


72


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.