ไอศกรีมฟามสุข

Page 1

สรุปความรูที่ไดจากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่องกิจการ เพื่อสังคม ในหัวขอ "SE Idea: ไอศกรีม เปลี่ยนโลก"

โดย คุณบอม ผูกอตั้ง ฟารมสุขไอศกรีม ในวันอังคารที่ 9 พฤษภาคม 2560 เวลา 13.00 น. ณ หอง SoLA209 ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร


การดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการ มี 2 ประเภทหลัก คือ การทําธุรกิจเพื่อธุรกิจ และการทําธุรกิจเพื่อ สังคม ซึ่งเปนที่มาของธุรกิจเพื่อสังคมอยางฟารมสุขไอศกรีมที่เกิดขึ้น คุณบอมใหโอกาสแกเด็กดอยโอกาส อยางเชน เด็กที่ผานการรับโทษทางกฎหมาย เด็กที่มีปญหาครอบครัว นําเด็กเหลานั้นมาสอนวิธีการทําไอศกรีม ให เด็กไดทําไอศกรีมเปนงานเสริมสรางรายได และปลูกฝงทัศนคติที่ดีในการดําเนินชีวิตใหกับเด็กเพื่อคืนสูสังคมตอไป โดยเด็กที่ผานการคัดเลือกในบริษัทนั้นจะตองกรอกใบสมัครซึ่งเปนรูปแบบของคําถามเชิงจิตวิทยา เชน ชอบฟง เพลงอะไร ความสนใจสิ่งตางๆ รอบตัวของเด็ก เพื่อใหเด็กรูจักเรียนรูตัวเองกอน จากนั้นวัดผลคุณภาพของเด็กอีก ครั้งจากแบบสอบถามเชิงจิตวิทยาเชนกัน ในคําถามแบบเดิมที่จะมีมุมมองอื่นๆ ของเด็กสอดแทรกลงไป การวัดผลของธุรกิจนี้ คุณบอมเริ่มตนจากคําถามที่วา ธุรกิจเราทําเพื่ออะไร ถาเราทําเพื่อใหเด็ก เติบโตคืนสูสังคมไดดี เราก็ตองวัดจากคุณภาพที่ดีของเด็ก ตามแบบธุรกิจทั่วไปที่เริ่มตั้งแตการวัดปริมาณของ ผลผลิต ปริมาณราคาของไอศกรีมที่เด็กขายได ตนทุน-กําไร ตามปริมาณเด็กในบริษัททั้งหมด จากนั้นการพูดคุยกับ เด็กจะทําใหเห็นผลผลิตของธุรกิจอยางแทจริง โดยเราตองใชทักษะการฟงและถาม เชน ในขณะที่เด็กกําลังทํา ไอศกรีมอยูนั้น เด็กทําหก เด็กพูดขึ้นมาเองวา "หนูนี่สมควรเกิดมาแลวอยูตรงนี้จริงๆ" พื้นหลังของเด็กผูหญิงคนนี้ คือ เด็กเคยตองโทษฆาผูอื่นโดยเจตนาเพราะปองกันตัวจากการขมขืน เมื่อสอบถามคําพูดนั้นของเด็กไปเรื่อยๆ เด็ก ก็อธิบายใหฟงวา “เพราะหนูไมระวัง หนูไมระวังที่จะเทมันดีๆ มันก็เลยหก เหมือนที่หนูไมคิดใหดีๆ แลวหนูก็เลยทํา ผิดไป ถาหนูระวังตัวตั้งแตทีแรกก็คงไมเกิด..”เหตุการณนี้สะทอนใหเห็นวา เด็กสามารถเชื่อมโยงปญหาภายในใจ และตอบคําถามใหกับตัวเองได และเราอาจจะพูดใหกําลังใจ หรือใหแนวคิดตางๆ ตอไปเพราะเด็กมีทัศนคติที่จะ เปดรับกับมันแลว


ในการทําธุรกิจเพื่อสังคมนี้ คุณบอม ยอมรับวาก็มีชวงที่รูสึกวาเบื่อบาง เหนื่อยบาง แตเราควรที่จะหาจุดสมดุลวา เราทําเพื่ออะไร เชน เราทําเพื่อสังคม เพื่อเด็ก เด็กไดดีมากขึ้น เด็กคิดไดมากขึ้น เราก็จะหายเหนื่อย เด็กบาง คนที่ทํางานกับคุณบอมนําความคิดที่ไดจาก การทําไอศกรีมนี้ไปสอนลูกของตนเองตอ เทากับเปนการตอยอดคืนสูสังคม หรือคน รอบตัวภูมิใจกับสิ่งที่คุณบอมทํา มันก็เปนแรง บันดาลใจที่ทําใหทําตอไดทําใหหายเหนื่อย ซึ่ง บางครั้งความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นมากก็อาจทํา ใหเราเกิดความรูสึก “เหลิง” เพราะฉะนั้นเรา วัดความเปลี่ยนแปลงไดจากคนรอบขาง เพื่อ แกกับความรูสึกนั้น

สิ่งสําคัญในการสงความสุขของตนเองสู สังคม เราตองเริ่มจากคนรอบขางที่ใกล ตัวอยางครอบครัวกอน ครอบครัวเปน ความสัมพันธเริ่มตนที่ดีที่สุดซึ่งตอบโจทยและ แกปญหาทุกอยางได เปนคลายกับเครื่องมือ ตัวหนึ่งเมื่อเจอปญหาหลายๆอยาง ถาแกจาก พื้นฐานสวนนี้ไดก็ทําใหทุกปญหาในสังคม คลายลงได คุณบอมใชทักษะการฟงจาก ครอบครัว และทักษะการถาม ไตรถามถึง ความกังวลที่ครอบครัวมีกับตัวเรา เชน สิ่งที่ แมกังวลคืออะไร แลวแมคิดวาอยางไร อธิบายใหเขาใจ หากไมมีเวลาใหครอบครัว เพราะตองทําธุรกิจ นอกจากพูดคุยดวยแลวก็ พาคนในครอบครัวไปทํางานกับเราดวย ให ครอบครัวเขาใจในสิ่งที่เราทํา


คําแนะนําสําหรับการทํา ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) สิ่งแรกที่ควรทํา คือ การอนุญาตใหตัวเองผิด กอน พึงเขาใจวา ไมมีใครที่ ทําอะไรถูกตั้งแตครั้งแรก เริ่ม จากการเรียนรูตัวเอง ประเมิน ความเสี่ยงของธุรกิจ ศึกษาสิ่ง นั้นๆ ลงมือทํา และอนุญาตให ตัวเองผิดได เรียนรูความผิด ดําเนินการทําสิ่งนั้นใหมโดย แกปญหาสิ่งนั้นแลว

กําไรของการประกอบ ธุรกิจนั้นขึ้นอยูกับความพอดี ของผูประกอบการเอง ธุรกิจ ไอศกรีมถือวามีคูแขงทาง การตลาดมาก และตนทุน ของวัตถุดิบมีราคาสูง แตคุณ บอมมีเปาหมายของการทํา ธุรกิจเพื่อสังคม อยางนอย ภาคสังคมไมตองบริจาคเขา มาชวยเหลือเด็ก เพราะเด็ก สามารถหารายไดเอง นั้นก็ ถือวาเปนกําไรแลว

ศรัทธาตอการทํางาน สิ่งที่คุณบอมศรัทธาคือ “ศรัทธาวาตัวเองทําดีได มากกวานี้” ไมใชไมเคยผาน สิ่งที่ทําใหผิดหวัง ทอแท หรือเสียใจ แตเจอสิ่งตางๆ ลองผิดลองถูกมา จนทําให เขมแข็งไดอยางทุกวันนี้

สรุปโดย นางสาวอารยา ศรีบัวบาน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.