เสน่ห์ของการแปล

Page 1

สรุปการบรรยายพิ เศษเรื่อง เสน่ หข์ องการแปล วิทยากรโดย อาจารย์ผุสดี นาวาวิจติ (บรรณาธิการ สานักพิมพ์ผเี สือ้ ) ในวันพฤหัสบดีท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 12.00 น.-13.00 น. ณ ห้องประชุมสนัน่ สุ มิตร ชัน้ 9 อาคารสานักงานอธิการบดี อาจารย์ผุสดี นาวาวิจติ ในผลงานแปลชื่อดังจากหนังสือชื่อ "โต๊ะโตะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง" และ อีกหลายเรือ่ ง เช่น นางสาวโต๊ะโตะ, เปลือกหอยจากนางเงือก, 4 ปี นรกในเขมร เป็ นต้น อาจารย์ได้ใช้ ประสบการณ์การทางานเพิม่ ความเชีย่ วชาญในทักษะการแปล และศึกษาด้วยตนเองเพิม่ เติม ซึง่ ส่วนหนึ่ง นัน้ อาจารย์ศกึ ษาจากหนังสือชื่อเรือ่ ง การแปลขัน้ ต้น ของ ซาดาโนริ เบ็คคุ หนังสือนัน้ กล่าวโดยสาระสาคัญ ว่า "การแปลเปรียบได้กบั การต่อจิก๊ ซอว์ของภาพทีต่ อ้ งใช้สติปัญญาระดับสูง เราไม่สามารถแปลทุกตัวอักษร ได้ แต่เราสามารถเก็บข้อมูลในส่วนทีส่ าคัญที่สุดได้" นักแปลต้องมองภาพรวมให้ได้ก่อน และหาจิก๊ ซอว์มาใส่ โดยมีคลังคาอยูใ่ นสมอง จากหนังสือ The art of translation กล่าวว่า ในการแปลทีด่ ี ต้องแปลได้ว่า ผูแ้ ต่งพูดว่าอะไร (แปล ตามตัวอักษร) หมายความว่าอะไร (ใช้การตีความ) และ เขาพูดอย่างไร (ใช้สานวนภาษา) นอกจากนี้หนังสือ เรือ่ ง Trials of translator ได้กล่าวอีกว่า การแปลนัน้ ต้องแปลตรงตามต้นฉบับ อ่านแล้วเข้าใจ รวมถึงน่ าอ่าน อีกด้วย ถูก การแปล

ใช้หลักการแปลตามระดับคาศัพท์ทผ่ี แู้ ปลทราบ ผิด ดี

การแปล

ใช้หลักการแปลตามความสามารถในการใช้ถอ้ ยคาของผูแ้ ปล ไม่ดี

การแปลอย่างไรไม่ให้ผดิ 1. อย่าเชื่อคาในหนังสือง่ายๆ ให้ใช้พจนานุกรมช่วย 2. ให้หมันเปิ ่ ดพจนานุกรมบ่อยๆ 3. อย่าหลงคาทีส่ ะกดคล้ายกันในเวลาทีเ่ ปิ ดพจนานุกรม


4. รูจ้ กั ขนมธรรมเนียม วัฒนธรรมของภาษาทีเ่ ราแปล และในภาษาของเรา 5. มีความรูร้ อบตัว 6. รูจ้ กั ภาษาต้นฉบับเป็ นอย่างดี 7. ต้องอ่านต้นฉบับหลายๆครัง้ 8. ใช้วจิ ารณญาณในการแปล 9. อย่าด่วนสรุปความหมายของคาศัพท์ต่างๆ 10. ถ้าสงสัยให้ถามผูร้ ู้ 11. ให้คนอื่นช่วยอ่านต้นฉบับแปล ทาอย่างไรให้แปลดี 1. ใช้ภาษาทีแ่ ปลถูกต้อง รักษาความเป็ นภาษานัน้ ๆ 2. ใช้จนิ ตนาการ มีภาพวาดในใจและถ่ายทอดเป็ นภาษานัน้ ๆ 3. ใช้สานวนโวหาร จะช่วยให้น่าอ่านมากขึน้ 4. แปลด้วยหู ใช้คาทีร่ น่ ื หูและให้อ่านด้วยเสียง อาจทราบได้ว่า มีคาซ้ามากเกินไป คุณสมบัตขิ องการเป็ นนักแปล 1. เป็ นนักอ่านมาก่อน 2. ชอบภาษามากทัง้ ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ 3. มีประสบการณ์ในการทารายการวิทยุ อาจารย์ใช้เทคนิคการเล่นคาศัพท์ในชีวติ ประจาวันทีพ่ บเห็นตามสื่อต่างๆ และลองแปลเป็ นไทย, แปลเป็ นภาษาอังกฤษ และแปลเป็ นภาษาญี่ป่ นุ การแปลให้สนุก 1. เลือกหนังสือทีอ่านแล้วชอบและอยากแปล 2. หาอุปกรณ์ทน่ี ่ าใช้ในการทางานแปล เช่น ยางลบ ดินสอ โพสต์อทิ แบบทีช่ อบ 3. สร้างบรรยาการการทางาน อาจารย์ไม่นิยมเปิ ดเพลงเพราะหนังสือมีเสียงของตนเองแล้ว ขัน้ ตอนการทางานแปลของอาจารย์ 1. อ่านตัง้ แต่ตน้ จนจบก่อน 1 รอบ 2. แปลทีละย่อหน้า คาทีย่ งั ไม่พบในภาษาไทยให้ชท้ บั ศัพท์ไปก่อน 3. เปิ ดพจนานุกรม


4. คาศัพท์เฉพาะ เช่น คาทีไ่ ม่มใี นภาษาไทย ใช้พจนานุกรมไม่พบ ให้ใช้คาทีส่ อดคล้องกับความเป็ นไทย 5. อ่านตรวจทานอีกครัง้ 6. อ่านแบบออกเสียง จะช่วยเพิม่ อรรถรสในการอ่านมากขึน้ 7. ส่งให้บรรณาธิการต้นฉบับแปลและอ่านเช่นกัน เกร็ดเพิม่ เติมของหนังสือประเภทหนังสือวรรณกรรมสาหรับเด็กจากอาจารย์ผุสดี หนังสือวรรณกรรมสาหรับเด็กไม่ได้เป็ นหนังสือทีเ่ ขียนขึน้ มาโดยง่าย หนังสือหนึ่งเล่มอาจจะเน้น การสอนเพียงเรือ่ งเดียวก็ได้ ซึง่ เป็ นลักษณะแฝง ไม่สอนแบบตรงๆ เพื่อซึมซับให้เด็กรักทีจ่ ะเรียนรู้ เพราะฉะนัน้ ผูท้ เ่ี ขียนวรรณกรรมสาหรับเด็กจึงต้องรู้จกั เด็กเป็ นอย่างดี ไม่มคี าผูใ้ หญ่เข้าไปสอนให้เด็กรูส้ กึ เข้าใจยาก สรุปโดย นางสาวอารยา ศรีบวั บาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.