SIS: Annual Report 2012

Page 1

1 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สารบัญ วิสยั ทัศน์ .................................................................................................................................................................. 4 ข้ อมูลการเงินโดยสรุป ............................................................................................................................................... 5 สารจากคณะกรรมการ .............................................................................................................................................. 7 ข้ อมูลทัว่ ไปของบริ ษัท ............................................................................................................................................... 8 โครงสร้ างองค์กร ..................................................................................................................................................... 13 คณะกรรมการบริษัท ............................................................................................................................................... 14 คณะผู้บริหารและเลขาบริษัท ................................................................................................................................... 20 บริษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้ อง .............................................................................................................................. 25 ภาวะอุตสาหกรรม .................................................................................................................................................. 26 สถานภาพและศักยภาพในการแข่งขัน ...................................................................................................................... 29 การดําเนินการและผลงานที่สําคัญในปี 2555 ........................................................................................................... 32 โครงสร้ างรายได้ บริษัท ............................................................................................................................................ 34 คําอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ ายจัดการ .............................................................................................................. 36 รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง .................................................................................................................. 39 ปั จจัยความเสี่ยง ..................................................................................................................................................... 40 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ..................................................................................................................................................... 44 รายงานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ...................................................................................................... 45 ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ........................................................................................................................... 46 รายงานการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี................................................................................................. 49 รายงานระหว่างกัน.................................................................................................................................................. 64 ภารกิจต่อสังคม ...................................................................................................................................................... 66 รายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2555 .................................................................. 67 รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน ............................................................................. 71 รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต .................................................................................................................. 72 งบแสดงฐานะการเงิน.............................................................................................................................................. 74 งบกําไรขาดทุน ....................................................................................................................................................... 77 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น ............................................................................................................ 78 งบกระแสเงินสด ..................................................................................................................................................... 80 หมายเหตุประกอบงบการเงิน – สารบัญ ................................................................................................................... 83 1 ข้ อมูลทัว่ ไป ...........................................................................................................................................................84 2

เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน .....................................................................................................................................84

3

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ ......................................................................................................................................85

4

บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน .............................................................................................................................. 95

5

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด .......................................................................................................................100

6

ลูกหนี ้การค้ า .......................................................................................................................................................100

7

ลูกหนี ้อื่น .............................................................................................................................................................102

8

สินค้ าคงเหลือ ......................................................................................................................................................103

9

เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย .........................................................................................................................................103

10 เงินลงทุนระยะยาวอื่น ..........................................................................................................................................105 11 ลูกหนี ้การค้ าระยะยาว .........................................................................................................................................105 2 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


12 อุปกรณ์ ...............................................................................................................................................................106 13 สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน ..............................................................................................................................................110 14 หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ย ........................................................................................................................................111 15 เจ้ าหนี ้การค้ า.......................................................................................................................................................112 16 เจ้ าหนี ้อื่น ............................................................................................................................................................113 17 ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน .........................................................................................................................113 18 ทุนเรื อนหุ้น ..........................................................................................................................................................114 19 ใบสําคัญแสดงสิทธิ ..............................................................................................................................................116 20 สํารอง .................................................................................................................................................................117 21 ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน...................................................................................................................117 22 รายได้ อื่น ............................................................................................................................................................119 23 ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน...............................................................................................................120 24 ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ .........................................................................................................................................121 25 ต้ นทุนทางการเงิน ................................................................................................................................................122 26 ภาษี เงินได้ ...........................................................................................................................................................122 27 กําไร(ขาดทุน) ต่อหุ้น ...........................................................................................................................................123 28 เงินปั นผล ............................................................................................................................................................124 29 เครื่ องมือทางการเงิน ............................................................................................................................................124 30 ภาระผูกพันที่มีกบั บุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้ องกัน .............................................................................................128 31 หนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้น ..............................................................................................................................................130 32 เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ...........................................................................................................130 33 มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยที่ยงั ไม่ได้ ใช้ .................................................................................................131 34 การจัดประเภทรายการใหม่ ..................................................................................................................................133

3 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


วิสัยทัศน์ ที่SiS…. ….. เราเป็ นผู้นําธุรกิจไอทีในประเทศไทย พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง ดําเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและเป็ นธรรม ..... ส่งเสริ มการใช้ เทคโนโลยี มีสนิ ค้ าคุณภาพสูงหลากหลาย ทําให้ คนไทยมีความสามารถมากขึ ้น ผู้ประกอบการไทย และ ประเทศไทยมีประสิทธิภาพขึ ้น ..... เติบโตอย่างมัน่ คง ให้ ผลตอบแทนที่ดีในระยะยาวต่อผู้ถือหุ้น ..... มีพนักงานที่มีความรู้ ความสามารถสูง ให้ คําแนะนําที่ดีกบั ลูกค้ า ..... ประสบผลสําเร็จพร้ อมกับลูกค้ าซัพพลายเออร์ และพนักงาน

4 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ข้ อมูลการเงินโดยสรุ ป รายได้ รวม บริษัทฯ มีรายได้ รวม 22,092 ล้ านบาท ลดลงจากปี ที่ผา่ นมา 2.7% ซึง่ เกิดจากยอดขายสินค้ ากลุม่ สมาร์ ทโฟนของบริ ษัทฯ จากผู้ผลิต 3 รายหลักที่ลดลงถึง 38.8% (ลดลง 3,209 ล้ านบาท) เมื่อเทียบกับปี 2554 ทําให้ รายได้ รวมลดลง ล้ านบาท 25,000

22,713

22,092

2554

2555

20,000 16,584 15,000

13,950 12,087

10,000 5,000 2551

2552

2553

กําไรสุทธิ บริษัทฯ ขาดทุนสุทธิ 738.7 ล้ านบาท ซึง่ เกิดจาก 2 สาเหตุหลักคือ 1) ขาดทุนจากธุรกิจสมาร์ ทโฟน 3 รายหลักที่บริ ษัทฯ เป็ น ผู้แทนจําหน่าย คิดเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 383.5 ล้ านบาท 2) การตังสํ ้ ารองความเสียหายจากการฝากขายสินค้ า 599.8 ล้ านบาท ซึง่ รวมการขาดทุน 2 ส่วนนี ้ เท่ากับ 983.3 ล้ านบาท ล้ านบาท 400 200

207

242

2551

2552

295 144

(200)

2553

2554

2555

(400) (600) (800)

5 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

(739)


สําหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 หน่วย : ล้ านบาท

ผลการดําเนินงาน รายได้ รวม อัตราเติ บโตของรายได้ กํ าไรก่ อนต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ อัตราเติ บโตของกํ าไรก่ อนดอกเบีย้ และภาษี กํ าไรสุทธิ อัตราเติ บโตของกํ าไรสุทธิ ฐานะการเงิน สินทรั พย์รวม หนี ้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่ วนทางการเงิน อัตรากํ าไรขั ้นต้ น อัตราส่วนกํ าไรสุทธิต่อรายได้ รวม อัตราผลตอบแทนต่อสินทรั พย์ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนสภาพคล่อง อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว อัตราส่วนหนี ้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี ้สินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ข้ อมูลต่ อหุ้น กํ าไรสุทธิต่อหุ้นขั ้นพื ้นฐาน มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น เงินปั นผลต่อหุ้น

2551

2552

2553

2554

2555

12,087.3 15.2% 337.0 38.9% 206.6 59.4%

13,949.5 15.4% 364.8 8.2% 241.7 17.0%

16,584.4 18.9% 461.3 26.5% 295.3 22.2%

22,712.5 37.0% 330.2 -28.4% 143.5 -51.4%

22,091.3 -2.7% (561.9)

(ล้ านบาท) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท)

2,143.2 1,314.5 828.7

2,981.9 1,984.0 999.3

3,473.2 2,231.1 1,242.1

6,018.8 4,739.2 1,279.6

4,573.4 4,057.2 516.2

(เท่า) (เท่า) (เท่า) (เท่า)

6.8% 1.7% 10.5% 27.6% 1.59 0.95 1.59 0.59

5.4% 1.7% 9.4% 26.4% 1.45 0.95 1.99 0.91

5.8% 1.8% 9.1% 26.3% 1.50 0.92 1.80 0.79

4.7% 0.6% 3.0% 11.4% 1.22 0.43 3.70 1.75

3.0% -3.3% -13.9% -82.3% 1.08 0.66 7.86 5.06

(บาท) (บาท) (บาท)

1.02 4.09 0.35

1.19 4.92 0.40

1.44 5.96 0.50

0.62 6.06 0.25

(3.17) 2.21 -

(ล้ านบาท) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท)

หมายเหตุ 

กําไรต่อหุ้นขันพื ้ ้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิประจําปี ด้วยจํานวนหุ้นสามัญที่ออกจําหน่ายแล้ วในระหว่างปี ตามวิธีถวั เฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนัก

 คณะกรรมการได้ มีมติให้ งดจ่ายเงินปั นผลในปี 2555 นี ้ เนื่องจากบริ ษัทฯ ประสบปั ญหาขาดทุน ซึง่ จะเสนอต่อผู้ถือหุ้นอีกครัง้

6 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

(738.7)


สารจากคณะกรรมการ เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น 2555 เป็ นปี ที่มีการเปลี่ยนแปลงมากในอุตสาหกรรม IT โดยเป็ นปี แรกในรอบกว่า 10 ปี ที่ยอดขายรวมของ PC ทัว่ โลกหด ตัวลงเมื่อเทียบกับปี ที่ผ่านมา ซึง่ International Data Corporation (IDC) ได้ ให้ ข้อมูลว่าตลาด PC ทัว่ โลก (ทังเครื ้ ่ องตังโต๊ ้ ะและ โน๊ ตบุ๊ค)หดตัวลง 3.2% จากที่เคยเติบโตติดต่อกันมาทุกปี สาเหตุหลักที่ตลาด PC หดตัวลง เพราะความนิยมที่เพิ่มขึ ้นมากของสมาร์ ทโฟนและแท็บเล็ต ที่มีขนาดกะทัดรัด พกพา สะดวกและใช้ งานง่ายในระบบสัมผัส ประกอบกับการขยายตัวอย่างรวดเร็ วของ Social Network ที่มีการพัฒนาให้ สมาร์ ทโฟน และแท็บเล็ต สามารถใช้ ในทางธุรกิจได้ มากขึ ้นจนทําให้ Microsoft ผู้ผลิตระบบปฏิบตั ิการหลักของ PC ต้ องเร่ งแนะนํา Windows 8 ที่เป็ นระบบปฏิบตั ิการแบบสัมผัสออกสูต่ ลาดในปลายปี 2555 เพื่อกระตุ้นยอดขาย PC บริ ษัทฯ ได้ ติดตามตลาดสมาร์ ทโฟนในหลายปี ที่ผ่านมา และได้ นําสมาร์ ทโฟนมาจําหน่ายหลายยี่ห้อจนทําให้ บริ ษัทฯ มี ผลประกอบการที่ดีติดต่อกันมาหลายปี อย่างไรก็ตาม ในปี 2555 ที่ผ่านมา ซึง่ เป็ นปี ที่สมาร์ ทโฟนได้ รับความนิยมเพิ่มขึ ้นมาก จน กลายเป็ นสินค้ าที่ใช้ กนั โดยทัว่ ไป ผู้ผลิตสมาร์ ทโฟนหลัก 3 รายที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายนัน้ ไม่สามารถผลิตสินค้ าที่ตอบสนอง ความต้ องการของผู้บริ โภคส่วนใหญ่ได้ ทําให้ ไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้ ดี ส่งผลให้ บริ ษัทฯ เจอปั ญหาสินค้ าค้ างสต็อกจํานวน มาก จนต้ องเร่ งระบายสินค้ าออกไป และประสบภาวะขาดทุนจากธุรกิ จสมาร์ ทโฟนสูงถึง 383.5 ล้ านบาทในปี 2555 โดยมี ยอดขายสมาร์ ทโฟนจากผู้ผลิตหลัก 3 รายที่ลดลงถึง 38.8% (ลดลง 3,209 ล้ านบาท) เมื่อเทียบกับปี ที่ผา่ นมา นอกเหนือจากนี ้ ในปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ สํารองความเสียหายจากการฝากขายสินค้ าให้ บริ ษัทคู่ค้ารายหนึ่งที่เคยค้ าขายกัน มานานและเข้ าสู่กระบวนการฟื น้ ฟูกิจการ ในปั จจุบนั บริ ษัทฯ อยู่ระหว่างการดําเนินการเรี ยกคืนสินค้ าทังหมด ้ และดําเนินการทุก ประการตามกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้ ได้ รับสินค้ าและ/หรื อรั บชํ าระค่าสินค้ า โดย บริ ษัทฯได้ สํารองความเสียหายไว้ ทงสิ ั ้ ้น 599.8 ล้ านบาท แม้ จะมีผลกระทบดังกล่าว ธุรกิจหลักในการค้ าส่งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่อพ่วง ยังคงดําเนินการไปได้ ดีและมีกําไร แต่ความเสียหายทังสองประการสู ้ งกว่า ทําให้ บริ ษัทฯ ประสบกับการขาดทุน ส่งผลกระทบต่อส่วนของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการ บริ ษัท เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 จึงมีมติเห็นชอบให้ นําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิจดั สรรหุ้นเพิ่มทุนอีก 379 ล้ านบาท เพื่อเสริ มสร้ างสถานะทางการเงินและเพื่อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินธุรกิจต่อไป บริ ษัทฯ ต้ องขออภัยเป็ นอย่างมาก ในการบริ หารงานที่ทําให้ เกิดภาวะขาดทุน ดังกล่าว ทังนี ้ ้ ความเสียหายทังจากธุ ้ รกิจ สมาร์ ทโฟน และจากการฝากขายสินค้ า ให้ กบั บริ ษัทคูค่ ้ าดังกล่าว บริ ษัทฯ ได้ พยายามแก้ ปัญหาทังหมดให้ ้ ยตุ ิไปในรอบ บัญชี 2555 นี ้ โดยในกรณี Smart Phone บริ ษัทฯ ได้ จําหน่ายสินค้ าที่ค้าง สต็อกแทบทังหมดออกไปแล้ ้ วตังแต่ ้ ปลายปี 2555 และในกรณีบริ ษัทคูค่ ้ าราย ดังกล่าว บริ ษัทฯ ได้ ตงสํ ั ้ ารองไปทังหมดแล้ ้ วเช่นกัน จะไม่มีความเสียหาย เพิ่มขึ ้นกว่านี ้อีก ซึง่ ปั ญหาที่แก้ ไขไปทังหมดแล้ ้ วนี ้ ทําให้ ในปี 2556 บริ ษัทฯ จะสามารถกลับมาดําเนินธุรกิจได้ ตามปกติและมีผล ประกอบการที่ดีตอ่ ไป สุดท้ ายนี ้ ในนามของคณะกรรมการ ขอขอบคุณผู้ถือหุ้นทุกท่าน พนักงาน คู่ค้า เจ้ าหนี ้ และผู้ผลิตสินค้ าทุกราย ที่ให้ ความไว้ วางใจบริ ษัทฯ สนับสนุนการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ทํา ให้ คนไทย ผู้ประกอบการไทย และประเทศไทย มีประสิทธิภาพและ ความสามารถในการแข่งขันสูงขึ ้น

(นายสุวิทย์ จินดาสงวน) ประธานกรรมการ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

(นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ) กรรมการผู้จดั การ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

7 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ข้ อมูลทั่วไปของบริษัท บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ลักษณะธุรกิจ : จํ าหน่ายสินค้ าไอทีให้ กับผู้ประกอบการโดยบริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายให้ กับผู้ผลิตกว่า 70 ผู้ประกอบการกว่า 5,000 ราย

รายและจําหน่ายสินค้ าให้ กับ

บางส่ วนของสินค้ าที่บริษัทฯ จัดจําหน่ าย Axis, Asus, Apple, Acer, Aver, APC, Apacer, Avermedia, Alcatel, AMD, Barkan, Brocade, BlueTrek, BlackBerry, Brother,Case-Mate, CISCO, D-Link, Dell, Double Take, EMC, Emerson, Ergotron, Enzatec, Fortinet, Fujitsu, Golla, GoldenEar Technology, Hewlett Packard, HTC, Huawei, iGO, IBM, Infocus, Imation, Jabra, Juniper, Lenovo, LinkSys, LG, Microsoft, Motorola, MSI, Nuforce, Nikon, Norton, NEC, OKI, Olympus, Philips, PCTools, Panasonic, QNAP, Ricoh, Radware, Samsung, Sandisk, Symantec, Sony, Sanyo, Sangfor, Sharp, Synology, Toshiba, Targus, Transcend, Veritas, VMware, Viewsonic, Western Digital, Xerox, Zyxel, ZTE

เลขทะเบียนบริษัท เวปไซท์ อีเมลล์

นักลงทุนสัมพันธ์

: บมจ.0107547000052 : ส่วนกลาง www.sisthai.com นักลงทุนสัมพันธ์ www.sisthai.com/investor_th.html : ส่วนกลาง sis@sisthai.com นักลงทุนสัมพันธ์ investorinfo@sisthai.com เลขานุการบริษัท companysecretary@sisthai.com ร้ องเรี ยน/แนะนํา complain@sisthai.com : อีเมลล์ investorinfo@sisthai.com

8 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บุคคลอ้ างอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหลักทรั พย์

ผู้สอบบัญชี

กรรมการอิสระที่ทาํ หน้ าที่ดูแล ผู้ถือหุ้นรายย่ อย

: บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : (662) 229 -2800 โทรสาร : (662) 359-1259 Call Center : (662) 229-2888 Website: http://www.tsd.co.th E-mail: contact.tsd@set.or.th : นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4195 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ชัน้ 50-51 เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ , 195 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ +662677-2000 โทรสาร +662677-2222 หมายเหตุ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เคพีเอ็มจี ออดิท (ประเทศไทย) จํากัด) เป็ นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ โดยเป็ นผู้ทําการตรวจสอบและ แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทฯ ซึง่ บริ ษัท เคพีเอ็มจีฯ ได้ เป็ นผู้สอบบัญชี ้ ปีแรกที่ดําเนินการ (2542) และบริษัทฯ ผ่านการ ของบริษัทฯ มาอย่างต่อเนื่องตังแต่ ตรวจสอบบัญชีอย่างไม่มีเงื่อนไขทุกปี : อีเมลล์ : independentdirector@sisthai.com

9 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ที่ตงั ้ สํานักงานใหญ่ สํานักงานใหญ่ มีพื ้นที่ทงสิ ั ้ ้น 3,300 ตารางเมตร ตังอยู ้ ท่ ี่ เลขที่ 9 อาคารภคินท์ ชันที ้ ่ 9 ห้ องเลขที่ 901 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดิน แดง เขตดินแดงกรุงเทพฯ 10400(ติดกับฟอร์ จนู ทาวน์) โทร 0-2640-3000 โทรสาร 0-2640-3780

10 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


นอกจากสํานักงานใหญ่ในกรุงเทพฯ แล้ ว บริษัทฯ มีสาขาต่างจังหวัด ที่เปิ ดเป็ นสํานักงานขายและบริ การและศูนย์บริการใน กรุงเทพฯ ดังนี ้ สํานักงานขายและศูนย์ บริการต่ างจังหวัด สาขาเชียงใหม่ : 244 ถนนวัวลาย ตําบลหายยา อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์ 053-201-901-3 สาขาภูเก็ต : เลขที่ 185/43 ถนนพังงา ตําบลตลาดใหญ่ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ 076-344-106-8 สาขาขอนแก่น : เลขที่ 114/65-66 ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ 043-245-511, 043-245-588, 043-245-524 สาขาพัทยา : เลขที่ 151/15 ถนนสุขมุ วิท-พัทยา ตําบลหนองปรื อ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรีโทรศัพท์ 038-423-028 สาขาหาดใหญ่ : เลขที่ 62 ถนนโชติวิทยะกุล 3 ตําบลหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ 074-559-082-4 สาขาอุบลราชธานี : เลขที่ 148 ถนนพรหมเทพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ 045-244-522 ศูนย์ บริการกรุ งเทพฯ ศูนย์บริการพันธุ์ทิพย์ เลขที่ 604/3 อาคารพันธุ์ทิพย์พลาซ่า ห้ องเลขที่ 327 ถนนเพชรบุรี แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2640-3000 ต่อ 4003 ศูนย์บริการไอทีมอลล์ ห้ องเลขที่ 26 ชัน้ 4 ศูนย์การค้ าฟอร์ จนู ทาวน์ ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10320 โทร 0-2640-3000 ต่อ 4004

11 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คลังสินค้ า พื ้นที่ 10,000 ตารางเมตรโดยใช้ Warehouse Management ของ SAP เป็ นระบบจัดการคลังสินค้ าและเพื่อลดความผิดพลาดใน การจัดส่ง บริษัทฯ มีการ scan บาร์ โค้ ดของรหัสสินค้ าและ serial number ของสินค้ าก่อนส่งออกพร้ อมทังติ ้ ดตังกล้ ้ อง IP Camera ทัว่ ทังบริ ้ เวณ เพื่อรักษาความปลอดภัยและเพื่อให้ สามารถตรวจสอบย้ อนหลังเมื่อเกิดความผิดพลาดได้

12 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


โครงสร้ างองค์ กร บริษัทเอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท 1) นายสุวิทย์ จินดาสงวน 5) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ 2) นายสมชาย ศิริวิชยกุล 6) นายลิม ฮวี ไฮ 3) นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ 7) นายลิม เคีย ฮอง 4) ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน 1) นายสมชาย ศิริวิชยกุล 2) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ

คณะกรรมการตรวจสอบ 1) ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 2) นายสุวิทย์ จินดาสงวน

เลขานุการบริษัท และเลขานุการคณะกรรมการ นายวรภพ ทักษพันธุ์

3) นายสมชาย ศิริวิชยกุล

กรรมการผู้จัดการ นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ

กรรมการบริหาร นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ Value Added Consumer Business Unit

นายไมตรี เนตรมหากุล

3) นายลิม ฮวี ไฮ 4) ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1) นายลิม ฮวี ไฮ 2) ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 3) นายสมบัติ ปั งศรี นนท์

ฝ่ ายบัญชีและการเงิน นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา ฝ่ ายปฏิบัตกิ าร นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ

Value Added Commercial Business Unit

นายไกวัลย์ บุญเสรฐ Consumer Business Unit

นายธนา ธนะแพสย์ Commercial Business Unit

นายธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์ Phone Business Unit

นายคคนานต์ คนึงเหตุ Movie & Music Business Unit

นายพนิต ศรี เกริ กกริ ช ฝ่ ายบริการ นายพรศักดิ์ ปั งศรี นนท์

13 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

ฝ่ ายตรวจสอบภายใน นางสาวปรี ยาภรณ์ นิยมไชยวิสาล


คณะกรรมการบริษัท ชื่อ – ชื่อสกุล

นายสุวิทย์ จินดาสงวน

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา

ประธานกรรมการ • กรรมการตรวจสอบ • กรรมการอิสระ 59 ปี ไทย ปริ ญญาโท วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต(เศรษฐศาสตร์ เกษตร), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -Director Certification Program -Directors Accreditation Program -Audit Committee Program -Improving the Quality of Financial Reporting -Role of Compensation Committee Program -Audit Committee: Experience, Problem and Best Practice -CG of Thai Listed Companies -Role of Chairman -Monitoring the Quality Financial Report -IT Governance : A Strategic Path Forward -Successful Formulation & Execution of Strategy -Monitoring the System of Internal Control and Risk Management -Directors Forum 2/2012 "Risk Oversight VS Risk Management: Whose Role is it?" -Role of the Nomination and Governance Committee (RNG 214,000 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.09 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง

การฝึ กอบรมจาก IOD

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 55) จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย)

9 ปี

ประวัตกิ ารทํางานและการดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน ม.ค. 2550 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ม.ค. 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัท 2 แห่งคือ 1) กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ยูนิเวนเจอร์ จดทะเบียน จํากัด (มหาชน) 2) กรรมการบริ หารความเสี่ยง บริ ษัท อสมท จํากัด (มหาชน) ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ และทีป่ รึกษาในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริ ษัทจดทะเบียน รวม 3 การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ เป็ น แห่ง ดังนี ้ บริษัทจดทะเบียน 2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บจก. อินเตอร์ เน็ทโซลูชนั่ แอนด์ เซอร์ วิส โพรวายเดอร์ 2548 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการ, บริ ษัท ไวด์ ไว แม็กซ์ จํากัด 2555 - ปั จจุบนั กรรมการพิจารณาผู้ทําแผน และผู้บริ หารแผนฟื น้ ฟูกิจการ กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม

14 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

ตําแหน่ ง

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ • กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน • กรรมการบริ หารความเสี่ยง • กรรมการอิสระ 51 ปี ไทย Doctor of Philosophy in Marketing & Management, Charles Sturt University -Fellow Member of Thai Institute of Directors Association -Director Certification Program -Audit Committee Program -Directors Accreditation Program -Audit Committee: Experience, Problem and Best Practice -Finance for Non-finance Director -Improving Board Decisions -Improving the Quality of Financial Reporting -Role of Compensation Committee Program -Certificate of Diploma -CEO Relations : Balancing Trust and Oversight -Chartered Director Class -What the Board Should Expect from the Company Secretary -Successful Formulation & Execution the Strategy -DCP Refresher Course -Monitoring the System of Internal Control and Risk Management -Monitoring the Quality of Financial Reporting -Will the Global Economy Stumble or Slow down? And What -Will that mean for Thailand? -Monitoring Fraud Risk Management -Monitoring the Internal Audit Function -How to Develop a Risk Management Plan (HRP) 26,125 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.01ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง

อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรมจาก IOD

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 55) จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) 9 ปี ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน ม.ค. 2547 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ก.พ. 2552 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ,บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ก.พ. 2551 - ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2551 - 2552 ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2549 - 2551 กรรมการกําหนดค่าตอบแทน, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ น ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียน ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ และทีป่ รึกษาในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริ ษัทจดทะเบียน รวม 2 แห่ง ดังนี ้ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน 2553 – ปั จจุบนั กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ บริ ษัท ออสสิริส ฟิ วเจอร์ จํากัด 2553 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษัท ทิปท็อป โลจิสติกส์ จํากัด 2547 - ปั จจุบนั อาจารย์ประจํา คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 2555 รองคณบดี วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 15 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

คุณสมชาย ศิริวชิ ยกุล

ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน • กรรมการ ตรวจสอบ • กรรมการอิสระ อายุ 56 ปี สัญชาติ ไทย การศึกษา Master of Engineering (Civil Engineering), Tokyo Institute of Technology, Japan Accredited Gemologist, Asian Institute of Gemological Sciences (AIGS) การฝึ กอบรมจาก IOD -Director Certification Program -Directors Accreditation Program -Audit Committee Program -Audit Committee: Experience, Problem and Best practice -IT Governance: A Strategic Part Forward -Role of the Compensation Committee (RCC) -Director Certification Program Refresher Course -ควรกําหนดบทบาทและอํานาจหน้ าที่ของกรรมการอิสระอย่างไร เพื่อให้ สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ อย่างมีประสิทธิผล -Successful Formulation & Execution of Strategy -Monitoring the System of Internal Control and Risk Management -Will the Global Economy Stumble or Slow down? and What Will that Mean for Thailand? -Monitoring the Quality of Financial Reporting -Evolving Executive Compensation with Changing Times -Monitoring Fraud Risk Management -Monitoring the Internal Audit Function ตําแหน่ ง

สัดส่ วนการถือหุ้น ไม่มีการถือหุ้นในบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (31 ธ.ค. 55) (มหาชน) จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) 9 ปี ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) ประวัตกิ ารทํางาน ม.ค. 2547 - ปั จจุบนั ก.พ. 2551 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) ม.ค. 2547 - ม.ค.2551 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ม.ค. 2547 - ม.ค. 2550 ประธานคณะกรรมการบริ ษัท บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ม.ค. 2549 - ม.ค. 2551 กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน ที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ และทีป่ รึกษาในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริ ษัทจดทะเบียน รวม 3 แห่ง ดังนี ้ ที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน 2547 - ปั จจุบนั กรรมการบริ ษัท ไซเบอร์ อินเทรนด์ จํากัด 2546 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การบริ ษัท โปรฟิ ต เซ็นเตอร์ กรุ๊ป จํากัด 2533 - ปั จจุบนั หุ้นส่วนผู้จดั การห้ างหุ้นส่วนจํากัด ศิริโชคพัฒนาการ

16 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายลิม ฮวี ไฮ

ตําแหน่ ง

กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม•ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง• กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 63 ปี สิงคโปร์ ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ (เกียรตินิยมอันดับหนึง่ ), Nanyang University ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ, The National University of Singapore - Director Accreditation Program (DAP) - Director Certification Program (DCP) กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร 163,125 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.07 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง

อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรมจาก IOD

ประเภทกรรมการ สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 2555) จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย)

14 ปี

ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน 2542 - ปั จจุบนั กรรมการ, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บวิ ชัน่ (ประเทศไทย) 2551 - ปั จจุบนั ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง, บมจ.เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2551 - ปั จจุบนั กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บมจ.เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2549 - ก.พ. 2551 ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) กรรมการและกรรมการผู้จดั การใหญ่, SiS Group of Companies 2526 - ปั จจุบนั ผู้จดั การ, Banque Nationale De Paris 2522 - 2525 เจ้ าหน้ าที่อาวุโส, Development Bank of Singapore 2519 - 2521 การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน ที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ และทีป่ รึกษาในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริ ษัทจดทะเบียน ที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน

ชื่อ – ชื่อสกุล

Mr. Lim Kia Hong

ตําแหน่ ง กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม 56 ปี อายุ สัญชาติ สิงคโปร์ การศึกษา ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ, University of Washington, USA ประเภทกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร สัดส่ วนการถือหุ้น 161,250 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.07 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียง (31 ธ.ค. 55) จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) 14 ปี ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน 2542 - ปั จจุบนั กรรมการ, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บวิ ชัน่ (ประเทศไทย) 2526 - ปั จจุบนั ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร, SiS Group of Companies การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ น ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ ไม่มีการดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการ / ผู้บริ หาร ในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริ ษัทจดทะเบียน เป็ นบริษัทจดทะเบียน

17 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายสมชัย สิทธิชัยศรีชาติ

กรรมการผู้จดั การ •กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม•กรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน 53 ปี อายุ สัญชาติ ไทย การศึกษา ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า, มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การฝึ กอบรมจาก IOD -Director Certification Program -Directors Accreditation Program -CEO Succession and Effective Leadership Development -IT Governance : A Strategic Path Forward -Successful Formulation & Execution the Strategy -What the Board Should Do in a Turnaround Situation -ภาวะเศรษฐกิจ 2552 : จําเป็ นหรื อไม่ต้อง Downsize องค์กร -IOD Breakfast Talk 1/2012 "Asian Business Models in Transformation" ประเภทกรรมการ กรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร สัดส่ วนการถือหุ้น 6,266,130 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 2.68 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้ โดยยังไม่รวมหุ้นของ (31 ธ.ค. 55) นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ (คูส่ มรส) จํานวน 6,242,160 หุ้น ตําแหน่ ง

นายพิชญ์ สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตร) นางสาวพลอย สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตร)

จํานวน 8,314,790 หุ้น จํานวน 13,200,000 หุ้น

จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย)

14 ปี

ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน 2542 - ปั จจุบนั กรรมการผู้จดั การ, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) กรรมการผู้จดั การ, บริ ษัท เอ็มแอนด์วีเทคโนโลยี จํากัด 2535 - 2541 ผู้จดั การทัว่ ไป, บริ ษัท ชาร์ ปเทพนคร จํากัด 2525 - 2535 การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่เป็ นบริษัทจด -ไม่มี ทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่นที่ไม่ เป็ นบริษัทจด กรรมการผู้จดั การ, บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด ทะเบียน กรรมการผู้จดั การ, บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

18 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายสมบัติ ปั งศรี นนท์

กรรมการบริ หาร•กรรมการผู้มีอํานาจลงนาม 56 ปี ไทย ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า, เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ปริ ญญาโท บริ หารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การฝึ กอบรมจาก IOD -Director Certification Program -Directors Accreditation Program -Role of Compensation Committee Program -Successful Formulation and Execution of Strategy (SFE) ประเภทกรรมการ กรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร สัดส่ วนการถือหุ้น 13,966,020 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 5.98ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้ โดยยังไม่รวมหุ้นของ (31 ธ.ค. 55) นางสุรณี ปั งศรี นนท์ (คูส่ มรส) จํานวน 110 หุ้น นายชานนท์ ปั งศรี นนท์ (บุตร) จํานวน 4,126,300 หุ้น นายธนกร ปั งศรี นนท์ (บุตร) จํานวน 3,850,000 หุ้น คณะบุคคลสุธนา โดยนางสุรณี ปั งศรี นนท์ จํานวน 830,940 หุ้น จํานวนปี ที่เป็ นกรรมการอิสระของ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) 14 ปี ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา

ประวัตกิ ารทํางาน และ การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น ประวัตกิ ารทํางาน 2542 - ปั จจุบนั 2552 – ปั จจุบนั 2540 - 2542 2535 - 2540 การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น -ไม่มี ที่เป็ นบริษัทจดทะเบียน การดํารงตําแหน่ งในกิจการอื่น -ไม่มี ที่ไม่ เป็ นบริษัทจดทะเบียน

กรรมการบริ หาร, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) กรรมการบริ หารความเสี่ยง, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) กรรมการบริ หาร, บริ ษัท เอ็มแอนด์วีเทคโนโลยี จํากัด กรรมการบริ หาร, บริ ษัท ธนวรรธน์อินฟอร์ เมชัน่ ซิสเต็ม จํากัด

19 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คณะผู้บริหารและเลขาบริษัท

เรียงจากซ้ ายไปขวา 1) คัคนานต์ คนึงเหตุ •2) ธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์• 3) พนิต ศรี เกริ กกริ ช•4) สุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา•5) ไมตรี เนตรมหากุล•6) วรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ •7) ธนา ธนะแพสย์ •8) ไกวัลย์ บุญเสรฐ

20 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน 43 ปี ไทย ปริ ญญาโท การบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -SiS-Chula Mini MBA : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute -โครงการอบรมเพื่อรับประกาศนียบัตร CFO สภาวิชาชีพบัญชี -Risk Management Seminar & Workshop สมาคมส่งเสริ มสถาบัน กรรมการบริ ษัทไทย -เตรี ยมพร้ อมรับเกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย -ผลกระทบจากการใช้ มาตรฐานการบัญชี IFRS สําหรับบริ ษัทจดทะเบียน : สมาคมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ -Q & A สําหรับการ Implement มาตรฐานบัญชีใหม่ : สภาวิชาชีพบัญชี 1,371,360 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.59 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 55) ประวัตกิ ารทํางาน

2542 - ปั จจุบนั 2537 - 2542 2534 - 2536

ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ผู้จดั การฝ่ ายบัญชี, บริ ษัท เอ็มแอนด์วีเทคโนโลยี จํากัด ผู้ตรวจสอบบัญชีอาวุโส, บริ ษัท คูเปอร์ สแอนด์ไลน์แบรนด์ จํากัด

ชื่อ – ชื่อสกุล

นางวรีพร สิทธิชัยศรีชาติ

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ 53 ปี ไทย ปริ ญญาตรี วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ -ความรู้มาตรฐานสําหรับคณะกรรมการกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ : สมาคม บริ ษัทจัดการลงทุน/สมาคมกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ/สถาบันพัฒนาความรู้ ตลาดทุน -การบริ หารผลตอบแทนตามแนวคิดการบริ หารองค์กรสมัยใหม่ : บริ ษัท ไฮ โพเทรนนิ่งแอนด์คอนเซ้ าท์แทนซี่ จํากัด -การบริ หารทรัพยากรมนุษย์บนพื ้นฐานของ Competency : บริ ษัท วาโซ่ จํากัด The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute -GEN Y Talent Management & Succession Planning : OMEGAWORLDCLASS Research Institute -การบริ การค่าตอบแทนสําหรับผู้แทนฝ่ ายขาย : MPI Management & Psychology Institute -SalaryStructure Design : OMEGAWORLDCLASS Research Institute 6,242,160 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 2.7 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้ โดยยังไม่รวมหุ้นของ นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (คูส่ มรส) จํานวน 6,266,130 หุ้น นายพิชญ์ สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตร) จํานวน 8,314,790 หุ้น จํานวน 13,200,000 หุ้น นางสาวพลอย สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตร) 2542 - ปั จจุบนั ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2537 - 2542 ผู้จดั การฝ่ ายข้ อมูลและสารสนเทศ,บริ ษัท เอ็มแอนด์วีเทคโนโลยี จํากัด

สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 55)

ประวัตกิ ารทํางาน

21 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายธนวัฒน์ พริง้ วณิชย์

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม สัดส่ วนการถือหุ้น (31 ธ.ค. 55) ประวัตกิ ารทํางาน

ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Commercial Business Unit 46 ปี ไทย ปริ ญญาโท (Commerce) Macquarie University, Sydney, Australia -The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute 72,785 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.03 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้ 2549 - ปั จจุบนั 2546 - 2548 2545 - 2546 2543 - 2545

ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Commercial Business Unit, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ผู้จดั การฝ่ ายขายและการตลาด, บริ ษัท ดาต้ าโปร คอมพิวเตอร์ ซิสเต็มส์ จํากัด Business Consultant Kenan Institution of ASIS ผู้จดั การฝ่ ายขาย, บริ ษัท เดอะแวลลูซิสเต็มส์ จํากัด

ชื่อ – ชื่อสกุล

นายพนิต ศรีเกริกกริช

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Movie & Music Business Unit 45 ปี ไทย ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

-การพัฒนาทักษะหัวหน้ างานยุคใหม่, บริษัท ไฮโพ เทรนนิ่งแอนด์ คอนเซ้ าท์แทนซี่ จํากัด

สัดส่ วนการถือหุ้น ประวัตกิ ารทํางาน

ไม่มี 2547 - ปั จจุบนั 2545 - 2547 2542 - 2545 2541 - 2542

ชื่อ – ชื่อสกุล

นายธนา ธนะแพสย์

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา

ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ ายConsumer Business Unit 51 ปี ไทย ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปริ ญญาโท การตลาด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การฝึ กอบรม

-SiS-Chula Mini MBA : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute

สัดส่ วนการถือหุ้น ประวัตกิ ารทํางาน

ไม่มี

2551 - ปั จจุบนั 2548 - 2551 2539 - 2548

ผู้จดั การทัว่ ไป Movie & Music Business Unit, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) ผู้จดั การฝ่ ายการตลาด,บมจ. จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ผู้จดั การผลิตภัณฑ์, บริ ษัท ไพโอเนียร์ อีเล็กโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จํากัด ผู้จดั การผลิตภัณฑ์, บริ ษัท บีเอ็มจี เอนเตอร์ เทนเม้ นต์ (ประเทศไทย) จํากัด

ผู้จดั การทัว่ ไป Consumer Business Unit, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย)

ผู้จดั การทัว่ ไป, Thai Samsung Electric Company Consumer Sales Manager, Hewlett Packard (Thailand) Co., Ltd.

22 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายไกวัลย์ บุญเสรฐ

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา สัดส่ วนการถือหุ้น ประวัตกิ ารทํางาน

ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ ายValue Added Commercial Business Unit 47 ปี ไทย ปริ ญญาตรี บริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ไม่มี 2551 - ปั จจุบนั ผู้จดั การทัว่ ไป Value Added Commercial Business Unit, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2546 - 2551 Vice President, Total Access Communication 2545 - 2546 Senior Sales Manager, Hewlett Packard (Thailand) Co., Ltd. Major Account Manager, Compaq Computer (Thailand) 2540 - 2545

ชื่อ – ชื่อสกุล

นายไมตรี เนตรมหากุล

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ ายValue Added Consumer Business Unit 45 ปี ไทย ปริ ญญาตรี บริ หารการตลาด มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

สัดส่ วนการถือหุ้น ประวัตกิ ารทํางาน

-The Coaching Clinic : Management and Psychology Institute ดําเนินธุรกิจก้ าวหน้ า หากใช้ สิทธิประโยชน์ทางภาษี จากถิ่นกําเนิด สินค้ าภายใต้ เขตการค้ าเสรี (FTA) : หอการค้ า หลักการและเทคนิคการตังราคาสิ ้ นค้ า ไม่มี 2551 - มีค 2556 2547 - 2551 2542 - 2546 2538 - 2540

ผู้จดั การทัว่ ไป Value Added Consumer Business Unit, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) รองประธานฝ่ ายขายและการตลาด, บจก. อีพีเอส ไอที พลัส ผู้จดั การฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ, บริ ษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด ผู้จดั การฝ่ ายขายและการตลาด, บริ ษัท อีพีเอส มีเดีย จํากัด

ชื่อ – ชื่อสกุล

นายคัคนานต์ คนึงเหตุ

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา สัดส่ วนการถือหุ้น ประวัตกิ ารทํางาน

ผู้จดั การทัว่ ไป Phone Business Unit 51 ปี ไทย ปริ ญญาตรี รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - ไม่มี 2553 - มี.ค. 2556 ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Phone BU, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2550 - 2553 Senior Regional Manager, Philips Electronics (Singapore) 2543– 2550 Senior Business Manager, Philips Electronics (Thailand) Area Sales Manager, Sony Thai 2539 – 2542

23 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ – ชื่อสกุล

นายวรภพ ทักษพันธุ์

ตําแหน่ ง อายุ สัญชาติ การศึกษา การฝึ กอบรม

เลขานุการบริ ษัท 46 ปี ไทย ปริ ญญาตรี บัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

สัดส่ วนการถือหุ้น ประวัตกิ ารทํางาน

-Risk Management Seminar & Workshop : สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริ ษัทไทย -Investigation of Fraud Irregularities : สมาคมผู้ตรวจสอบภายใน เตรี ยมพร้ อมรับเกณฑ์กรรมการตรวจสอบใหม่ : ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย -What the Board Should Expect from the Company Secretary : สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย -การวางแผนและแนวทางการตรวจสอบภายในภายใต้ ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ : สมาคมผู้ตรวจสอบ ภายใน -ผลกระทบจากการใช้ มาตรฐานการบัญชี IFRS สําหรับบริษัทจดทะเบียน : สมาคมนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ -Fundamentals Practice for Corporate Secretary : สมาคมบริ ษัทจดทะเบียนไทย -SiS-Chula Mini MBA : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -Q & A สําหรับการ Implement มาตรฐานบัญชีใหม่ : สภาวิชาชีพบัญชี 3,800 หุ้น คิดเป็ นร้ อยละ 0.00 ของหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมด ้ 2551 -มี.ค.2556 เลขานุการบริ ษัท, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) Quality Assurance Manager, บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2547 - 2551 2547 - 2551 เลขานุการคณะกรรมการ,บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) Assistant Accounting Manager, เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 2546 - 2547 2544 - 2546 Senior Accountant, All Seasons Property Co., Ltd. ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน, Siam Property Master 2541 - 2544

24 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัทย่ อยและบริษัทที่เกี่ยวข้ อง บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ลงทุนในบริ ษัทย่อยและบริษัทที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจที่ตอ่ เนื่องกับธุรกิจ หลักของบริษัทฯ รวมทังสิ ้ ้น 4 บริษัทดังนี ้ บริษัท บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศ ไทย) จํากัด บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด

ลักษณะกิจการ

สัดส่ วนการถือหุ้น

ค้ าส่งสินค้ ากลุม่ สมาร์ ทโฟน

99.99%

เป็ นบริ ษัทฯ ที่จะไปลงทุนในบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกับ ธุรกิจที่ตอ่ เนื่องกับธุรกิจหลักของบริ ษัท

99.99%

ถือหุ้นโดย บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

บริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ค้ าปลีกสินค้ าไอที ปอเรชัน่ จํากัด

15%

บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด

บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด

15%

บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด

พัฒนาแอพพลิเคชัน่ บนสมาร์ ทโฟน

ภาพแสดงความสัมพันธ์ของบริ ษัทย่อยและบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง

25 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ภาวะอุตสาหกรรม บริ ษัท International Data Corporation (IDC) ซึง่ เป็ นบริ ษัทวิจยั ได้ รายงานผลสํารวจตลาด PC เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556 (http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS23903013#.UUfKBhxvWAi)ว่าในไตรมาส 4 ปี 2555 จํานวน PC ที่มีการส่งมอบจากผู้ผลิตทัว่ โลกมีจํานวนรวม 89.9 ล้ านเครื่ อง ลดลง 6.4% เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2554 และมียอด ส่งมอบทังปี ้ ที่ 352.4 ล้ านเครื่ อง ลดลง 3.2% เมื่อเทียบกับปี ที่ผ่านมา โดยให้ ความเห็นเพิ่มเติมว่าเป็ นเพราะตลาดสมาร์ ทโฟน และแท็บเล็ตที่เติบโตขึ ้นและเข้ ามาทดแทนการใช้ งานบางส่วนของ PC อีกเหตุผลที่ทําให้ ตลาด PC หดตัวลง เนื่องจาก Microsoft ได้ แจ้ งการแนะนํา Windows 8 ซึง่ เป็ นระบบปฏิบตั ิการใหม่ที่ เพิ่มทางเลือกในการใช้ งานให้ สามารถเลือกได้ ว่าจะใช้ mouse หรื อจะใช้ การสัมผัสหน้ าจอ เข้ าสู่ตลาดในปลายปี 2555 ทําให้ ผู้บริโภคบางส่วนชะลอการซื ้อ PC โดยการหดตัวของตลาดโลกในส่วน PC นี ้ ถือเป็ นครัง้ แรกในรอบกว่า 10 ปี เพราะในอดีตที่ผ่าน มา ตลาด PC มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องมาตลอดซึง่ เชื่อว่ายอดขาย PC จะเริ่ มดีขึ ้นในปี 2556 เมื่อผู้ผลิตได้ ทยอยแนะนํา PC ที่ใช้ ระบบ Windows 8 ออกสูต่ ลาดแล้ ว IDC ได้ รายงานตลาดสมาร์ ทโฟน ของปี 2555 ว่ามีการส่งมอบสมาร์ ทโฟน จํานวนทังสิ ้ ้น 219.4 ล้ านเครื่ องในไตรมาส 4 ้ ซึง่ ปี 2555 เพิ่มขึ ้น 36.4% เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2554 และถือเป็ นสัดส่วน 45.5% ของตลาดโทรศัพท์มือถือทังหมด เป็ นสัดส่วนสูงสุดเท่าที่ผา่ นมา โดยมียอดส่งมอบ สมาร์ ทโฟน ทังปี ้ 2555 ที่ 712.6 ล้ านเครื่ อง เพิ่มขึ ้นจากปี 2554 ในอัตรา 44.1% (http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS23903013#.UUfKBhxvWAi) สําหรับตลาดแท็บเล็ต IDC ได้ รายงานว่ามีการส่งมอบทัว่ โลกในไตรมาสสี่ปี 2555 ที่จํานวน 52.5 ล้ านเครื่ อง เพิ่มขึ ้น 75.3% เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี 2554 (http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS23926713#.UUfm9hxvWAg) ในแง่การมี การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครั วเรื อน ซึ่งสํารวจโดยสํานักงานสถิ ติแห่งชาติ กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (www.nso.go.th) นัน้ พบว่าร้ อยละของครัวเรื อนที่มีคอมพิวเตอร์ ได้ เพิ่มขึ ้นจาก 24.7% ในปี 2554 เป็ น 26.9% ในปี 2555 พร้ อมกับสถิติอื่น ๆ ตามตารางด้ านล่าง 2550

2551

2552

2553

2554

2555

ร้ อยละของครั วเรื อนที่มี คอมพิวเตอร์

17.5

19.6

20.3

22.8

24.7

26.9

ร้ อยละของครั วเรื อนที่มี internet

n/a

8.6

9.5

11.4

13.4

18.4

ร้ อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปที่ใช้ คอมพิวเตอร์

26.8

28.2

29.3

30.9

32

33.7

ร้ อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปที่ใช้ อนิ เทอร์ เน็ต

15.5

18.2

20.1

22.4

23.7

26.5

นอกเหนือจากอัตราการมีคอมพิวเตอร์ ที่คอ่ นข้ างตํ่าทําให้ มีโอกาสขยายตัวได้ อย่างต่อเนื่องแล้ ว ยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ช่วย สนับสนุนตลาดไอที ให้ มีการเติบโตเพิ่มขึ ้นได้ เช่น :

26 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


Windows 8 และคอมพิวเตอร์ ในรู ปแบบใหม่ Microsoft ได้ แนะนําWindows 8 เข้ าสูต่ ลาดตังแต่ ้ ปลายปี 2555 นี ้ ซึง่ Windows 8 เป็ น ระบบปฏิบตั ิการที่สามารถใช้ ได้ กบั CPU ทังจาก ้ Intel และ ARM ที่ใช้ พลังงานน้ อย และมี user interface ทังแบบที ้ ่ใช้ กบั mouse และแบบสัมผัส ซึง่ จากความสามารถที่เพิ่มขึ ้นนี ้ จะทําให้ ผ้ ผู ลิต PC มี การแนะนําคอมพิวเตอร์ รูปแบบใหม่ ๆ ที่ผสมผสาน ระหว่างโน๊ ตบุ๊คและแท็บเล็ต เพื่อตอบสนองความ ต้ องการของผู้ใช้ ซงึ่ ถ้ า Windows 8 ได้ รับความนิยม จะมีการซื ้อ PC ใหม่ที่ได้ รับการออกแบบให้ ใช้ กบั Windows 8 โดยเฉพาะ ซึง่ จะช่วยขยายตลาด IT ในปี 2556 ได้ มาก การขยายตัวของโทรศัพท์ ระบบสมาร์ ทโฟน โทรศัพท์แบบสมาร์ ทโฟน ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องในแง่สว่ นแบ่งตลาดสําหรับแต่ละระบบปฏิบตั ิการ จากการสํารวจของ IDC พบว่าในปี 2555 ระบบ Android เป็ นระบบปฏิบตั ิการที่ได้ รับความนิยมสูงสุดในตลาดโลก โดยมีสว่ นแบ่งตลาดเพิ่มขึ ้นจาก 49.2% จากปี 2554 มาเป็ น68.8% ของตลาดในปี 2555 (http://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prUS23946013#.UUuoBRxJd2A) ระบบปฏิบตั กิ าร Android iOS BlackBerry Symbian Windows Phone/ Windows Mobile Others Total

จํานวน(ล้ านเครื่ อง) ส่ วนแบ่ งตลาด 2555 ปี 2555 497.1 68.80% 135.9 18.80% 32.5 4.50% 23.9 3.30% 17.9 2.50% 15.1 722.4

2.10% 100.00%

การขยายตัวของตลาดแท็บเล็ต นอกเหนือจาก iPad ที่ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมากในตลาดแท็บเล็ตแล้ ว จาก โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทยที่มีการจัดหาแท็บเล็ตพีซีให้ กบั ให้ เด็ก ระดับชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2555 จํานวนประมาณแปดแสนเครื่ อง ไปแล้ วนัน้ ทําให้ ตลาด แท็บเล็ต ที่ใช้ ระบบปฏิบตั ิการ Android ได้ เติบโตขึ ้นมาก โดยในปี 2556 นี ้ รัฐบาลยังคงดําเนินการต่อไป และจะขยายชันเรี ้ ยนที่จะจัดหา แท็บเล็ต เพิ่มเป็ นชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 1 และชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 1 ควบคูก่ นั ไป ทําให้ จํานวนแท็บเล็ต ที่จะจัดหาในปี นี ้มีจํานวนประมาณ 1.6 ล้ านเครื่ อง ซึง่ จะ ช่วยสร้ างความต้ องการของตลาดแท็บเล็ต ให้ เพิ่มขึ ้นไปอีก นอกเหนือจากแท็บเล็ต ในระบบ iOS และ Android แล้ ว ในปี 2556 นี ้ จากการแนะนํา Windows 8 เข้ าสูต่ ลาด คาด ว่าแท็บเล็ต ในระบบ Windows 8 จะได้ รับความนิยมมาก ขึ ้น โดยเฉพาะในตลาดองค์กร

27 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริการ 3G จากการประมูลคลื่นความถี่ 2100 MHz สําหรับการใช้ งานสื่อสารข้ อมูลความเร็ว สูงไร้ สาย (3G) ที่จบลงแล้ ว คาดว่าผู้ให้ บริการจะเริ่มให้ บริการได้ ในกลางปี 2556 นี ้ ซึง่ จะทําให้ ผ้ ใู ช้ PC, แท็บเล็ต , สมาร์ ทโฟน ได้ ประโยชน์จากการใช้ อปุ กรณ์ใน ลักษณะที่สามารถเชื่อมต่อเข้ ากับ internet ได้ ตลอดเวลา ทําให้ จะมีการขยายการ ใช้ งานมากขึ ้น ช่วยสนับสนุนอุตสาหกรรม IT ให้ เติบโตขึ ้นไปอีก Cloud Computing จากความนิยมที่เพิ่มขึ ้นของการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในระบบ cloud ที่ผ้ ใู ช้ มี ทางเลือกในการใช้ งานระบบคอมพิวเตอร์ แบบจ่ายตามการใช้ งานโดยไม่ต้อง ลงทุนซื ้อคอมพิวเตอร์ และหรื อโปรแกรม ทําให้ ระบบ cloud ได้ รับความนิยม เพิ่มขึ ้นมาก ทังในแง่ ้ public cloud และ private cloud ที่องค์กรต่าง ๆ เริ่ ม ปรับปรุง data center ของตนเอง ให้ ทนั สมัยขึ ้น ใช้ งานได้ สะดวกขึ ้น ขยาย ความสามารถได้ เร็วขึ ้น โดยใช้ เทคโนโลยีของ cloud computing มาใช้ ซึง่ แนวโน้ มของ cloud computing นี ้ จะทําให้ หน่วยงานธุรกิจเริ่มปรับปรุงระบบ ของตัวเองที่จะทําให้ อตุ สาหกรรม IT ในส่วนองค์กร มีการขยายตัวเพิ่มขึ ้นอีก

28 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สถานภาพและศักยภาพในการแข่ งขัน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจขายส่งคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ อุปกรณ์ตอ่ พ่วงและอุปกรณ์สํานักงานอัตโนมัติตา่ ง ๆ ในประเทศไทย โดยบริ ษัทฯ ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อปี 2541 และในปี 2547 บริษัทฯ เข้ าเป็ นบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา บริ ษัทฯ มีการเติบโตของรายได้ รวมอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี 2555 บริษัทฯ มีรายได้ รวม ทังสิ ้ ้น 22,091 ล้ านบาท ซึง่ ถึงแม้ ในปี 2555 บริ ษัทฯ จะมีรายได้ รวมลดลง 2.7% แต่ก็เป็ นการลดลงจากผู้ผลิตสมาร์ ทโฟน 3 รายที่ ไม่สามารถแข่งขันในตลาดสมาร์ ทโฟนได้ โดยยอดขายของผู้ผลิตสมาร์ ทโฟน 3 รายนี ้ ลดลงจาก 8,270 ล้ านบาทในปี 2554 มา เป็ น 5,061 ล้ านบาทในปี 2555 หรื อลดลง 3,209 ล้ านบาท ในขณะที่ยอดขายสินค้ า IT ที่ไม่รวมสมาร์ ทโฟน จากผู้ผลิต 3 รายนี ้ เพิ่มขึ ้น 17.9% ซึง่ แสดงถึงการเติบโตของอุตสาหกรรม IT และศักยภาพในการแข่งขันของบริษัทฯ

รายได้ รวม 25,000

รายได้ รวม (ล้ านบาท)

20,000 15,000 10,000 5,000 ‐ รายได้ รวม

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

5,688

6,752

8,760

9,295

10,492

12,087

13,950

16,584

22,713

22,091

การปรั บโครงสร้ างพืน้ ฐาน ปี 2554 ต่อเนื่องมาถึงปี 2555 บริ ษัทฯ มีการปรับปรุงโครงสร้ างพื ้นฐานสําคัญ 4 ด้ านคือ 1) การ upgrade และติดตัง้ ระบบ SAP ใหม่ จากรุ่ น 4.6C มาเป็ นรุ่น ECC6 พร้ อมทังปรั ้ บการใช้ งานเพิ่มเติม ซึง่ การปรับปรุ ง SAP นี ้เป็ นโครงการต่อเนื่องที่ จะต้ องดําเนินการไปอีกหลายปี 2) การย้ ายและขยายคลังสินค้ า จาก 4000 ตารางเมตรเป็ น 10,000 ตารางเมตร โดยเมื่อขยาย คลังสินค้ าแล้ ว ก็จะต้ องมีการลงทุนเครื่ องมืออื่น ๆ และปรับการทํางานเพิ่มให้ เหมาะสมกับคลังสินค้ าที่มีพื ้นที่มากขึ ้น 3) การย้ าย และขยายสํานักงานใหญ่จาก 1,800 ตารางเมตรเป็ น 3,300 ตารางเมตร และ 4) การขยายสาขาต่างจังหวัดเพิ่มจาก 2 สาขาเป็ น 6 สาขา ซึง่ การขยายโครงสร้ างพื ้นฐานนี ้ แม้ ในช่วงแรกจะมีค่าใช้ จ่ายที่เพิ่มขึ ้น แต่ในระยะยาวแล้ ว จะเป็ นพื ้นฐานที่ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถขยายธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่องต่อไป

29 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การบริหารงานแบบ Business Unit นอกเหนือจากการปรับปรุ งโครงสร้ างพื ้นฐานแล้ ว ในปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ ทดลองปรับการบริ หารงานใหม่ในลักษณะ Business Unit ที่มีการแบ่งธุรกิจออกเป็ นส่วนย่อยลง ในลักษณะเหมือนกับบริ ษัทฯ ย่อย โดยแยกตามประเภทสินค้ าและบริ การที่ แตกต่างกัน โดยแบ่งออกเป็ น 6 Business Unit ที่มีความแตกต่างกันหลายด้ าน ดังนี ้ Business Unit Commercial BU Consumer BU Phone BU Value Added Commercial BU Value Added Consumer BU Apple BU

ตัวอย่างสินค้ า เน้ นด้ าน APC, HP, IBM, Infocus, ประสิทธิภาพ, การลดต้ นทุน, ความ Lenovo, OKI, Ricoh, Xerox รวดเร็ว, การปรับปรุงขันตอนการ ้ ทํางาน, การหาแหล่งเงินทุนให้ ลกู ค้ า Acer, Asus, Brother, HP, ประสิทธิภาพ, การลดต้ นทุน, ความ Samsung, Toshiba, Zyxel รวดเร็ว, การปรับปรุงขันตอนการ ้ ทํางาน Acer, Asus, BlackBerry, ประสิทธิภาพ, การลดต้ นทุน, ความ HTC, Samsung, Sharp, รวดเร็ว, การปรับปรุงขันตอนการ ้ ZTE ทํางาน การขายทังระบบ, ้ การมีพนักงานขายที่ Brocade, EMC, HP, มีความรู้ไปเข้ าไปช่วยลูกค้ าขาย, การ Juniper, Symantec, VMware ให้ บริการด้ านเทคนิคหลังการขาย iGo, Norton, Nikon, การจัดแสดงสินค้ า, การหาพนักงาน Olympus, Sandisk, Targus เข้ าไปช่วยขาย, การดูแลสต็อคสินค้ า ให้ ลกู ค้ า iMac, Macbook, iPod, การจัดแสดงสินค้ า, การหาพนักงาน iPad เข้ าไปช่วยขาย, การดูแลสต็อคสินค้ า ให้ ลกู ค้ า

ช่องทาง Corporate Reseller, System Integrator IT Retailer Phone Retailer Selected Corporate Resellers, System Integrator Selected IT Retailer Apple Authorized Reseller

ในปี 2556 สําหรับ Phone Business Unit บริษัทฯ ได้ เป็ นตัวแทนผู้ผลิตสมาร์ ทโฟนเพิ่มขึ ้น โดยจะเน้ นสินค้ าที่มีราคาไม่สงู เพื่อจับ ตลาดใหม่ โดยในไตรมาสแรกของปี 2556 ได้ เริ่ มจําหน่ายสมาร์ ทโฟนจาก ZTE และ Sharp แล้ ว ในราคาขันต้ ้ นที่ 4,900 บาท นอกจากนี ้ ในปี 2556 บริ ษัทฯ จะเพิ่ม Consumer Electronic Business Unit เพื่อเริ่ มจําหน่ายสินค้ ากลุม่ อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ IT เพิ่ม เช่น Smart TV และ Digital Music โดยบริ ษัทฯ กําลังอยู่ในระหว่างการหาสินค้ าที่เหมาะสม โดยกลุม่ Consumer Electronic นี ้ จะเน้ นช่องทางใหม่สองช่องทางคือช่องทางขายเครื่ องใช้ ไฟฟ้าและช่องทางขายเครื่ องเสียงระดับบน การมีเครื อข่ ายที่กว้ างขวาง บริ ษัทฯ มีเครื อข่ายลูกค้ าที่กว้ าง โดยในปี 2555 บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ าให้ ลกู ค้ าทังสิ ้ ้นมากกว่า 5,000 รายซึง่ การมีฐาน ลูกค้ าที่ซื ้อสินค้ าจากบริษัทฯ เป็ นประจําอยูจ่ ํานวนมากนี ้ ทําให้ บริ ษัทฯ มีความมัน่ คงของยอดขาย และเป็ นรากฐานสําคัญที่ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถขยายธุรกิจเพิ่มเติมได้ ง่ายด้ วยการจัดหาสินค้ าเพิ่มเติมมาจําหน่ายให้ กับฐานลูกค้ าที่ซือ้ สินค้ าเป็ นประจํากับ บริ ษัทฯ อยูแ่ ล้ ว การมีสนิ ค้ าจําหน่ ายจํานวนมาก บริ ษัทฯ ได้ รับความไว้ วางใจจากผู้ผลิตชันนํ ้ าระดับโลกให้ เป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ ากว่า 70 ราย พร้ อมทังบริ ้ ษัทฯ ได้ รับ การติดต่อเพิ่มเติมจากผู้ผลิตอีกหลายราย เพื่อให้ เป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ า ซึ่งการมีสินค้ าที่หลากหลายนี ้ ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถ จัดหาสินค้ ามาป้อนให้ กบั ลูกค้ าได้ อย่างต่อเนื่อง ในปี 2556 บริ ษัทฯ จะจัดตัง้ Consumer Electronic Business Unit เพิ่ม เพื่อทดลองตลาดด้ านสินค้ ากลุม่ Consumer Electronic ซึง่ จะเริ่ มต้ นด้ วยสินค้ ากลุม่ Smart TV และระบบ Digital Music ที่เชื่อว่าจะได้ รับความนิยมเพิ่มมากขึ ้น และระบบ ดังกล่าว ที่ต้องเชื่อมต่อกับ network ทําให้ บริ ษัทฯ สามารถใช้ ช่องทางที่มีอยู่แล้ วในการจําหน่ายสินค้ ากลุ่มนีไ้ ด้ ง่ายขึน้ หรื อ สามารถขายสินค้ าเป็ น solution เข้ าไปในช่องทาง Consumer Electronic อย่างมีข้อได้ เปรี ยบมากขึ ้น 30 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ระบบงานและวัฒนธรรมองค์ กร บริ ษัทฯ มีการพัฒนาระบบงานที่มีประสิทธิ ภาพและมีการปรับปรุ งอย่างต่อเนื่อง มีการลงทุนในระบบงานที่ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางาน เช่นระบบ ERP ของ SAP, ระบบ electronic workflow ของ Lotus Notes, ระบบ Call Center ของ Avaya, ระบบ e-learning ของ IBM ซึง่ ช่วยทําให้ พนักงานสามารถทํางานได้ อย่างเป็ นระบบและมีประสิทธิภาพ พร้ อมกันนี ้ บริ ษัท ฯ ได้ มีการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรให้ เป็ นองค์ กรที่เน้ นการเรี ยนรู้ มีการปรับปรุ งประสิทธิ ภาพตลอดเวลา ทําให้ บริ ษัทฯ ยังคง ความสามารถในการแข่งขันและสามารถปรับเปลี่ยนองค์กรให้ สอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงภายนอกได้ อย่างรวดเร็ว การให้ ความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการ บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญและมีการดําเนินการตามแนวทางกํากับกิจการที่ดีใน 5 แนวทาง อันได้ แก่ 1) สิทธิของผู้ถือหุ้น 2) การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3) การคํานึงถึงบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย 4) การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส 5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการซึ่งจากการสํารวจตามโครงการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริ ษัทจดทะเบียนที่สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทยจัดทําขึ ้น บริ ษัทฯ ได้ รับการประเมินอยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” ตังแต่ ้ ปี 2552 ต่อเนื่องมาถึงปี 2555 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุด ซึง่ แสดงให้ เห็นถึงการให้ ความสําคัญในการกํากับดูแลกิจการที่จะทําให้ บริษัทฯ สามารถเติบโตได้ อย่างมัน่ คง การมีพนักงานที่มีคุณภาพ บริ ษัทฯ มีชื่อเสียงด้ านการมีพนักงานที่มีคณ ุ ภาพ ซึ่งพนักงานของบริ ษัทฯ มักจะเป็ นที่ต้องการของผู้ผลิตและคู่แข่งอยู่ เสมอ บริ ษัทฯ มีกระบวนการที่ดีในด้ านพนักงานตังแต่ ้ การคัดเลือกรับพนักงานที่มีการทดสอบความรู้ การคัดเลือกผู้สมัครที่มีผล การเรี ยนที่ดี การสัมภาษณ์ การตรวจสอบข้ อมูลของผู้สมัครจากแหล่งอื่น ๆ, การฝึ กอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่อง, การมีนโยบาย ผลตอบแทนที่สอดคล้ องกับเป้าหมายบริ ษัทฯ , การจัดหาเครื่ องมือในการทํางานที่ดีให้ พนักงาน, การให้ โอกาสในการทํางานและ การเติบโต, นโยบายที่เป็ นธรรมต่อทุกฝ่ าย, การให้ พนักงานมีส่วนร่ วมในการตัดสินใจต่าง ๆ, การเปิ ดเผยข้ อมูลให้ พนักงานทราบ ข้ อเท็จจริ ง การสื่อสารภายในที่เปิ ดกว้ าง ฯลฯ ซึ่งการสะสมสิ่งเหล่านี ม้ าเป็ นเวลานาน ทําให้ บริ ษัทฯ มีพนักงานส่วนใหญ่ ที่มี คุณภาพและทุม่ เท เป็ นทรัพยากรที่สําคัญของบริษัทฯ ในการพัฒนาให้ บริษัทฯ ก้ าวหน้ าต่อไป

31 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การดําเนินการและผลงานที่สาํ คัญในปี 2555 การจัดงานสัมมนาและการเข้ าร่ วมงานแสดงสินค้ า ตลอดปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ จดั งานสัมมนาและเข้ าร่วมงานต่าง ๆ หลายงาน ซึง่ มีภาพบางส่วนจากงานต่าง ๆ เช่น

งาน Solution Week ของ Value Added Commercial Business Unit ซึง่ ได้ นํา Solution ต่าง ๆ มานําเสนอและเชิญลูกค้ ามา สัมมนาเพื่อแนะนํา Solution ต่าง ๆ ที่จดั เตรี ยมไว้ โดยงานดังกล่าว จัดที่ห้องประชุมใหญ่ของบริ ษัทฯ เมื่อวันที่ 25 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2555

งาน Virtualizing Business Critical Application on VMware ซึง่ เป็ นงานสัมมนา ที่จดั ร่วมกับ VMware เพื่อให้ ความรู้กบั ลูกค้ า โดยจัดที่โรงแรม Grand Hyatt เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555

งาน Commart Comtech Thailand 2555 ซึง่ เป็ นงานแสดงสินค้ าจัดที่ศนู ย์ประชุมแห่งชาติสริ ิ กิติ์ 15 -18 พฤศจิกายน 2555

32 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


งาน SiS Expo ที่จดั ขึ ้นเพื่อให้ ความรู้เกี่ยวกับสินค้ าและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้ กบั ลูกค้ า จัดเมื่อ 24 กรกฎาคม 2555 ที่ Swiss Hotel การจัดประชุมผู้ถือหุ้นและได้ รับการจัดอันดับให้ อยู่ในกลุ่มดีเยี่ยม สํานักงาน กลต. ได้ ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย กระตุ้นบริษัทจดทะเบียนให้ ปรับปรุง คุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นและจัดให้ มีการประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ (AGM) ประจําปี 2555 โดยได้ ประเมินการประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี ของบริษัทฯ ที่ปิดรอบบัญชี ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซึง่ จากการเห็นความสําคัญของการ ประชุมผู้ถือหุ้น ตระหนักถึงความสําคัญของผู้ถือหุ้นที่ได้ ลงทุนในบริษัทฯ ว่าควรได้ รับข้ อมูลที่เหมาะสมในการประชุมผู้ถือหุ้น จึง พยายามจัดประชุมให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ประโยชน์สงู สุด เพื่อให้ ทราบข้ อมูลและสามารถติดตามการดําเนินงานของบริษัทฯ ซึง่ จากการ ประเมินคุณภาพการจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี 2555 บริษัทฯ ได้ คะแนนจากการประเมินเต็ม 100 คะแนน ถือเป็ น 1 ใน 74 บริษัทฯ ที่ได้ คะแนนเต็ม 100 โดยบริษัทฯ มีเป้าหมายที่จะปรับปรุงการประชุมผู้ถือหุ้น ให้ ได้ ประโยชน์ตอ่ ผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ ้นไปอีก ในโอกาสต่อไปโดยท่านสามารถติดตามรายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่ได้ คะแนนเต็ม 100 ได้ จาก http://www.thaiinvestors.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539361559&Ntype=683 ได้ รับผล “ดีมาก” จากการสํารวจการกํากับดูแลกิจการ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยได้ สํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจําปี 2555 ที่มีการประเมินการ กํากับกิจการใน 5 หมวดได้ แก่ สิทธิของผู้ถือหุ้น, การปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน, การเปิ ดเผยข้ อมูลและความโปร่งใส, การคํานึงถึงบทบาทของผู้มีสว่ นได้ เสีย และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ซึง่ บริษัทฯ ได้ รับการจัดกลุม่ อยูใ่ นกลุม่ ดีเลิศ ซึง่ เป็ นกลุม่ ที่ได้ คะแนนสูงสุด และมีบริษัทฯ ทังสิ ้ ้น 59 บริษัทฯ ที่ได้ คะแนนดังกล่าว โดยบริษัทฯ ได้ ตงเป ั ้ ้ าที่จะพัฒนาการกํากับดูแล กิจการให้ ดีขึ ้นไปอีก เพื่อการเติบโตอย่างมัน่ คง

33 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


โครงสร้ างรายได้ บริษัท บริ ษัทฯ มีรายได้ จากการขายในปี 2555 เท่ากับ 21,852 ล้ านบาทลดลงจากปี ที่ผ่านมา 2.5%โดยสามารถแบ่งสินค้ าเป็ น สามกลุม่ และมียอดขายในรอบ 5 ปี ที่ผา่ นมา ตามตารางด้ านล่าง 25,000

ยอดขาย (ล้ านบาท)

20,000 15,000 10,000 5,000 ‐

2551

2552

2553

2554

2555

Smartphone

1,127

1,312

3,253

8,256

5,590

Peripheral

5,546

6,045

6,422

6,453

8,022

System

5,223

6,435

6,678

7,705

8,240

โดยมีสดั ส่วนของสินค้ าแต่ละประเภทและการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี ตามตารางด้ านล่าง

2551 สัดส่วน 2552 สัดส่วน เปลีย่ นแปลง 2553 สัดส่วน เปลีย่ นแปลง 2554 สัดส่วน เปลีย่ นแปลง 2555 สัดส่วน เปลีย่ นแปลง

System 5,223 43.9% 6,435 46.7% 23.2% 6,678 40.8% 3.8% 7,705 34.4% 15.4% 8,240 37.7% 6.9%

Peripheral 5,546 46.6% 6,045 43.8% 9.0% 6,422 39.3% 6.2% 6,453 28.8% 0.5% 8,022 36.7% 24.3%

34 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

Smartphone 1,127 9.5% 1,312 9.5% 16.4% 3,253 19.9% 147.9% 8,256 36.8% 153.8% 5,590 25.6% -32.3%

Total Sales 11,895 13,793 15.9% 16,354 18.6% 22,414 37.1% 21,852 -2.5%


System System ในรายงานนี ้ คือกลุม่ สินค้ าที่ประกอบด้ วยคอมพิวเตอร์ ทกุ แบบตังแต่ ้ Server, คอมพิวเตอร์ ตงโต๊ ั ้ ะ, คอมพิวเตอร์ โน๊ ตบุ๊ค ้ 10 และแท็บเล็ต, เครื่ องแบบ hybrid (โน๊ ตบุ๊ค+แท๊ บเล็ต) ทังนี ้ ้ไม่รวม smartphoneซึง่ บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ าจากผู้ผลิตทังหมด รายคือ 1) Acer 2) Apple 3) Asus4) Fujitsu 5) HP6) IBM7) Lenovo 8) MSI9) Samsung 10) Toshiba

Server

คอมพิวเตอร์ ตงโต๊ ั้ ะ

โน๊ ตบุ๊ค

Hybrid

แท็บเล็ต

Peripheral เป็ นสินค้ าต่อพ่วงและอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ และบริ การต่าง ๆ เช่นวัสดุสิ ้นเปลือง, จอภาพ, Projector, Scanner, Printer, Hard Disk, Software, Memory, Keyboard, Mouse, กระเป๋ า, Network, ฯลฯ โดยบริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ าจากผู้ผลิต หลายราย เช่น 3Com, Avermedia, Axis, APC, Brocade, BlueTrek, Barkan, Commy, Cisco, Case-Mate, Cheval, Double-Take, D-Link, EMC, Emerson, Fortinet, Golla, Huawei, iGo, Infocus, IOMEGA, Imation, Juniper, Linksys, LG, Microsoft, Nuforce, Norton, Nikon, OKI, Philips, Panasonic, PC-Tools, QNAP, Ricoh, Radware, Symantec, Sandisk, Sanyo, Sangfor, Targus, VMware, Xerox, Western Digital, ZTE, Zyxel

Smartphone โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ ทโฟน โดยในปี 2555 บริ ษัทฯ จําหน่ายสินค้ า สมาร์ ทโฟน จากผู้ผลิต 6 รายคือ 1) Acer 2) Asus 3) BlackBerry 4) HTC 5) Motorola 6) Samsung

35 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คําอธิบายและการวิเคราะห์ ของฝ่ ายจัดการ ผลดําเนินงาน ช่วงครึ่ งปี แรกของปี 2555 เป็ นช่วงที่อตุ สาหกรรม IT ได้ รับผลกระทบทางลบต่อเนื่องจากภาวะนํ ้าท่วมปลายปี 2554 เนื่องจากผู้ผลิตหลายรายที่มีโรงงานอยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมที่นํ ้าท่วม ได้ รับความเสียหายเพราะต้ องหยุดการผลิต ทําให้ สินค้ าบาง กลุ่มขาดตลาดต่อเนื่องมาถึงครึ่งปี แรกของปี 2555 นอกจากนัน้ ภาวะนํ ้าท่วมยังทําให้ กําลังซื ้อโดยรวมลดลงเนื่องจากผู้บริ โภค ส่วนใหญ่ที่ได้ รับผลกระทบมีการใช้ จ่ายเพื่อแก้ ไขความเสียหายจากนํ ้าท่วม และต่อมา ในช่วงครึ่งปี หลัง เมื่อ Microsoft กําหนดวัน แนะนํา Windows 8 สู่ตลาดในปลายเดือนตุลาคม 2555 ทําให้ ผ้ บู ริ โภคจํานวนมากชะลอการสัง่ ซื ้อคอมพิวเตอร์ ลงเพื่อรอ คอมพิวเตอร์ รุ่นใหม่ที่ออกแบบมาสําหรับใช้ กบั Windows 8 โดยเฉพาะเหตุการณ์นี ้ มีผลทําให้ เกิดภาวะยอดขายรวมของ PC ลดลง เกิดภาวะสินค้ าค้ างสต็อคจํานวนมากจนเกิดการแข่งขันด้ านราคาเพื่อเร่งขาย ทําให้ กําไรลดลงทังผู ้ ้ ผลิตและช่องทางการจัด จําหน่าย สําหรับธุรกิจสมาร์ ทโฟน ในช่วงไตรมาสสุดท้ ายของปี 2554 ซึง่ ปกติเป็ นช่วงที่ยอดขายเพิ่มขึ ้นในประเทศตะวันตก ทําให้ ผู้ผลิตสมาร์ ทโฟน ส่วนใหญ่ แนะนําสินค้ ารุ่นใหม่จํานวนมากออกสูต่ ลาดในไตรมาส 4 ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ ซื ้อ สมาร์ ทโฟน รุ่ นใหม่หลาย ้ ไตรมาส 4 ปี 2554 แต่เมื่อเกิดภาวะนํ ้าท่วม ทําให้ ยอดขายลดลง ประกอบ รายการจากผู้ผลิตที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายตังแต่ กับสินค้ าจากผู้ผลิตสมาร์ ทโฟน สามรายหลักที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย ไม่สามารถตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภคใน ตลาดได้ ทําให้ เกิดภาวะสินค้ าค้ างสต็อคที่บริ ษัทฯ จําเป็ นต้ องเร่ งขายออกไปเพื่อลดความเสียหาย ทําให้ เกิดภาวะขาดทุนจาก ธุรกิจสมาร์ ทโฟน ในปี 2555 ในแง่ผลประกอบการ ปี 2555 บริ ษัทฯ มีรายได้ รวม 22,092 ล้ านบาท ลดลงร้ อยละ 2.7 เมื่อเปรี ยบเทียบกับปี ที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ถ้ าแบ่งสินค้ าเป็ น 2 กลุม่ คือกลุม่ IT ที่ประกอบด้ วย System และ Peripheral บริ ษัทฯ มียอดขายที่ 16,262 ล้ าน บาท เพิ่มขึ ้น 14.9% เมื่อเทียบกับปี ที่ผ่านมา ส่วนอีกกลุม่ คือ สมาร์ ทโฟน บริ ษัทฯ มียอดขายที่ 5,590 ล้ านบาท ลดลง 32.3% เมื่อ เทียบกับปี ที่ผา่ นมา ดังนัน้ การลดลงของยอดขายที่ 2.7% เป็ นการลดลงจากกลุม่ สินค้ าสมาร์ ทโฟน เนื่องจากผู้ผลิตสามรายหลักที่ บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย ไม่สามารถผลิตสินค้ าตามความต้ องการของผู้บริโภคได้ ทําให้ ยอดขายลดลง สําหรับกําไรสุทธิ บริ ษัทฯ มีผลขาดทุน 739 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นการขาดทุนจาก 2 เรื่ องหลักคือ 1) ขาดทุน 384 ล้ านบาท จากสินค้ าสมาร์ ทโฟน 3 ยี่ห้อหลักที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายเพราะต้ องเร่งจําหน่ายสินค้ าที่ไม่ได้ รับความนิยมเพื่อลดสินค้ าคง ้ ารองความเสียหายทังจํ ้ านวนจากสินค้ าฝากขายที่ลกู หนี ้ ผิด คลังลงตามที่ได้ กล่าวมาแล้ ว 2) ขาดทุน 600 ล้ านบาท จากการตังสํ สัญญารับฝากสินค้ า และไม่สามารถส่งคืนสินค้ าได้ ครบ พร้ อมทังได้ ้ ดําเนินการเรี ยกร้ องโดยการยื่นขอรับชําระหนี ้ในกระบวนการ ้ ร้องทุกข์กล่าวโทษในทางอาญาซึง่ ขณะนี ้อยู่ระหว่าง แผนฟื น้ ฟูกิจการ ตามที่ศาลล้ มละลายกลางมีคําสัง่ ให้ ฟืน้ ฟูกิจการ รวมทังได้ การสอบสวนของเจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องของรัฐ การงดจ่ ายเงินปั นผล จากผลประกอบการที่ขาดทุนและต้ องการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อใช้ ในกิจการ คณะกรรมการมีมติให้ งดจ่ายเงินปั นผลสําหรับผลการ ดําเนินงานประจําปี 2555 สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ซึง่ จะนําเสนอที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ต่อไป

36 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ฐานะทางการเงิน ด้ านสินทรั พย์ สินทรัพย์ที่สําคัญของบริษัทฯ มีสองรายการคือลูกหนี ้การค้ าและสินค้ าคงคลัง ซึง่ สองรายการนี ้ มีมลู ค่ารวมเท่ากับ 82.8% ของ สินทรัพย์ทงหมดโดยมี ั้ รายละเอียดดังนี ้ ลูกหนีก้ ารค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีมลู ค่า 2,595.1ล้ านบาทเพิ่มขึ ้น 758.4 ล้ านบาท หรื อเท่ากับเพิ่มขึ ้น 41.3% เมื่อเทียบ กับปี ที่ผา่ นมาและเท่ากับเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย 40.8 วัน ทังนี ้ ้ลูกหนี ้การค้ ารวมเพิ่มขึ ้นเมื่อเทียบกับปี 2554 เพราะในช่วงปลายปี 2554 ้ ้เมื่อพิจารณา เกิดภาวะนํ ้าท่วมใหญ่ที่ทําให้ ช่วงสิ ้นปี ยอดขายลดลงมาก ทําให้ มลู ค่าลูกหนี ้การค้ าปลายปี 2554 ลดลงไปด้ วย ทังนี จากเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ยปี 2555 ที่เท่ากับ 40.8 วันนัน้ ถือว่าเป็ นระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ยปกติ สอดคล้ องกับระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ย ของอุตสาหกรรม โดยปกติ บริษัทฯ จะกําหนดเวลาชําระเงินในการขายไว้ ที่ 30 วัน แต่ในทางปฏิบตั ิ ลูกค้ าส่วนใหญ่ จะรวบชําระเงินสัปดาห์ ละหนึง่ วัน หรื อชําระทุก ๆ สองสัปดาห์ ทําให้ ระยะเวลาชําระเงินเพิ่มขึ ้นมากกว่า 30 วัน รวมทังกรณี ้ งานโครงการที่มีกําหนด ระยะเวลาชําระเงินชัดเจนตามโครงการอยูแ่ ล้ ว ลูกค้ ามักจะขอชําระเงินตามระยะเวลาของโครงการ ในช่วงเวลาที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีลกู หนี ้การค้ าและระยะเวลาเก็บหนี ้เฉลี่ยตามตารางด้ านล่าง มูลค่ าลูกหนีก้ ารค้ า (ล้ านบาท) ระยะเวลาเก็บหนีเ้ ฉลี่ย (วัน)

2552 1,824 43.2

2553 2,018 46.2

2554 1,837 34.9

2555 2,595 40.8

สินค้ าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 เท่ากับ 1,191 ล้ านบาทลดลง 1,979 ล้ านบาท เท่ากับลดลง 62.4% เมื่อเทียบกับปี ที่ ผ่านมา และมีระยะเวลาขายเฉลี่ย 38.9 วันซึง่ โดยทัว่ ไป บริษัทฯ มีนโยบายที่จะมีสนิ ค้ าคงคลังอยู่ที่ระดับ15 วันสําหรับสินค้ าทัว่ ไป และ 30-45 วันสําหรับสินค้ าใหม่ หรื อบางกรณี ผู้ผลิตกําหนดจํานวนสัง่ ซื ้อขันตํ ้ ่า ทําให้ ระดับสินค้ าคงคลังสูงกว่าที่ต้องการได้ ในปี ที่ผา่ นมา บริ ษัทฯ มีสนิ ค้ าคงคลังที่สงู มากตังแต่ ้ ต้นปี เพราะช่วงปลายปี 2554 มีปัญหานํ ้าท่วมใหญ่ที่ทําให้ ขายสินค้ าน้ อยลงมาก และมี สมาร์ ทโฟน รุ่นใหม่เข้ ามาหลายรุ่น ทําให้ สินค้ าคงคลังสูงตังแต่ ้ ต้นปี อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ได้ แก้ ปัญหาดังกล่าวจบไปแล้ ว ทําให้ สนิ ค้ าคงคลังช่วงปลายปี ลดลงเหลือเพียง 1,191 ล้ านบาท ซึง่ เป็ นระดับที่เหมาะสม ในช่วงเวลาที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีสนิ ค้ าคงเหลือและระยะเวลาขายเฉลี่ยตามตารางด้ านล่าง มูลค่ าสินค้ าคงเหลือ (ล้ านบาท) ระยะเวลาขายเฉลี่ย (วัน)

2552 919 23.9

2553 1,152 24.7

2554 3,171 37.9

2555 1,191 38.9

ด้ านหนีส้ นิ หนี ้สินที่สําคัญของบริษัทฯ คือเจ้ าหนี ้การค้ าและเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หนี ้สินสองรายการนี ้ มีมลู ค่ารวมเป็ น 93.7% ของมูลค่าหนี ้สินรวม โดยมีรายละเอียดดังนี ้: เจ้ าหนีก้ ารค้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อยูท่ ี่ 1,191ล้ านบาท เท่ากับระยะเวลาชําระหนี ้เฉลี่ย29.4 วัน ซึง่ ส่วนใหญ่ เจ้ าหนี ้จะให้ ระยะเวลาชําระหนี ้ 30 วัน แต่เนื่องจากเจ้ าหนี ้หลายราย ให้ สว่ นลดถ้ าชําระหนี ้ก่อนกําหนด ซึง่ ถ้ าบริษัทฯ เห็นว่าคุ้มค่าและมีวงเงิน กู้เหลืออยูก่ ็จะเลือกชําระหนี ้เร็วกว่ากําหนด ทําให้ ระยะเวลาชําระหนี ้โดยเฉลี่ยตํ่ากว่า 30 วัน เจ้ าหนีก้ ารค้ า (ล้ านบาท) ระยะเวลาชําระหนี ้ (วัน)

2552 905 20.9

37 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

2553 991 22.1

2554 2,274 27.5

2555 1,191 29.4


เงินกู้จากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อยูท่ ี่ 2,610 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น 16.4% เทียบกับปี ที่ผา่ นมาและมีอตั ราส่วน หนี ้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 7.9 โดยอัตราส่วนหนี ้สินที่มีดอกเบี ้ยต่อส่วนผู้ถือหุ้นเท่ากับ 5.1 เงินกู้สถาบันการเงินที่เพิ่มขึ ้น เนื่องจากผลประกอบที่ขาดทุนในปี 2555 ทําให้ เงินทุนลดลง ซึง่ ในด้ านเงินทุนที่ลดลง นี ้ บริษัทฯ จะเพิ่มทุนในปี 2556 นี ้ รวมถึงเนื่องจากได้ มีการแก้ ไขปั ญหาสต็อคสินค้ านานไปเป็ นส่วนใหญ่แล้ ว คาดว่าผล ประกอบการที่กลับสูร่ ะดับปกติจะทําให้ กลับมามีกําไรและลดระดับการกู้ลงได้ เงินกู้สถาบันการเงิน (ล้ านบาท) ดอกเบีย้ จ่ าย (ล้ านบาท) อัตราส่ วนหนีส้ นิ ต่ อส่ วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่ วนหนีส้ นิ ที่มีดอกเบีย้ ต่ อส่ วนของผู้ถือหุ้น

2552 907 30.9 1.99 0.91

2553 976 38.6 1.80 0.79

2554 2,243 58.1 3.7 1.8

2555 2,610 100.9 7.9 5.1

ส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้นในปี 2555 เท่ากับ 516 ล้ านบาท ลดลงจากปี ที่ผ่านมา เนื่องจากภาวะขาดทุนในปี 2555

กระแสเงินสด กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน โดยรวมแล้ ว ในปี 2555 บริษัทฯ มีวงจรเงินสด (cash cycle) อยูท่ ี่ 50.3 วัน และมีกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงานที่ลดลง 305 ล้ านบาทจากปี ที่ผา่ นมา โดยรายการหลักที่ทําให้ กระแสเงินสดลงของปี 2555 คือ - การขาดทุนในปี 2555 738.7 ล้ านบาท 771.5 ล้ านบาท - ลูกหนี ้การค้ าที่เพิ่มขึ ้น - เจ้ าหนี ้การค้ าที่ลดลง 1,081.3 ล้ านบาท ส่วนรายการหลักที่ทําให้ กระแสเงินสดเพิ่มขึ ้นของปี 2555 คือ - สินค้ าคงเหลือลดลง 2,033.8 ล้ านบาท

38 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริ ษัทตระหนักถึงความสําคัญของบริ หารความเสี่ยง ที่จะทําให้ ดําเนินธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง จึงได้ มีการ แต่งตังคณะกรรมการบริ ้ หารความเสี่ยง เพื่อช่วยกลัน่ กรองความเสี่ยงที่สําคัญ รวมถึงนําเสนอแนวทางแก้ ไขที่เหมาะสม โดยมี วาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี ซึง่ ปั จจุบนั ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่านดังนี ้ 1. นายลิม ฮวี ไฮ ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร) 2. ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ กรรมการบริ หารความเสี่ยง (กรรมการอิสระ) 3. นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และหัวหน้ าทีมงานบริหารความเสี่ยง (กรรมการบริหาร) กรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ จดั ตังคณะทํ ้ างาน ซึ่งประกอบด้ วย กรรมการผู้จดั การ กรรมการบริ หาร ผู้บริ หารระดับสูง และตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อร่ วมกําหนดนโยบายด้ านการบริ หารความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยงที่มีผลกระทบ ต่อบริ ษัทฯ รวมถึงจัดทําแผน ติดตาม หรื อมาตรการเพื่อป้องกัน และแก้ ไขหากเกิดความเสี่ยงนัน้ ขึน้ ตามแนวทางปฏิบตั ิที่เป็ น สากล ในปี 2555 ทังเศรษฐกิ ้ จโลกและเศรษฐกิจไทยยังคงอยู่ในภาวะที่ย่งุ ยากและไม่แน่นอน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทัง้ ในอุตสาหกรรม IT และอุตสาหกรรมสมาร์ ทโฟน การเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคในการพิจารณาว่าจะซื ้อแท็บเล็ต หรื อคอมพิวเตอร์ แบบโน๊ ตบุ๊คเป็ นหนึง่ ในตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ความนิยมของ BlackBerry ที่ลดลงอย่างรวดเร็วและผู้บริ โภคหันไป ซื ้อ สมาร์ ทโฟน ที่ใช้ ระบบปฏิบตั ิการอื่น เป็ นอีกตัวอย่างของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นเร็วมาก คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ ให้ คําแนะนําคณะกรรมการในการทบทวนแผนธุรกิจหลักของบริ ษัทฯ รวมไปถึงการ ปรับเปลี่ยนการบริ หารองค์กรไปสูร่ ูปแบบ Business Unit ต่าง ๆ โดย Business Unit ที่ตงขึ ั ้ ้นใหม่ ก็เพื่อให้ บริ ษัท ฯ สามารถขยายธุรกิจไปยังธุรกิจใหม่ที่ทํากําไรสูงได้ เพิ่มเติมจากธุรกิจเดิมที่มียอดขายสูงแต่กําไร ตํ่า ทังนี ้ ้เพื่อให้ บริษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจต่อไปได้ อย่างมีกําไร และเป็ นไปตามระดับโครงสร้ าง ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ในปี 2555 คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงได้ รายงานให้ ฝ่ายบริ หารได้ ทราบถึงความ เสี่ยงต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะความเสี่ยงจากระดับสินค้ าคงคลังที่เพิ่มขึ ้นมาก รวม ไปถึงระดับของลูกค้ าการค้ าที่เพิ่มขึ ้น และล่าสุด ได้ มีการกําหนดระดับของอํานาจต่างๆ ว่าระดับไหนที่จะต้ องได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการ ทังนี ้ ้เพื่อให้ เพื่อให้ คณะกรรมการ ได้ มีโอกาสทบทวนเรื่ องที่มีความสําคัญสูงก่อนที่ผ้ บู ริ หารของ บริ ษัทฯ จะดําเนินการต่อ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงยังคงติดตามและควบคุมความเสี่ยง ผ่านรายงานจากทีมงานบริ หารความเสี่ยงต่อไป ซึ่งเมื่อรวมกับแผนการ กําหนดระดับอํานาจต่าง ๆ ที่ชดั เจนขึ ้น คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง เชื่ อ ว่ า จะสามารถควบคุ ม เรื่ อ งที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง ได้ และด้ วยการ ดําเนินงานตามรูปแบบที่กําหนดไว้ อย่างโปร่ งใสและเป็ นไปตามข้ อบังคับ ต่าง ๆ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงเชื่อว่าจะสามารถช่วยให้ บริ ษัทฯ บรรลุเป้าหมายด้ านธุรกิจโดยไม่ได้ รับผลกระทบด้ านลบจากความไม่ แน่นอนและความเสี่ยงต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ ้น คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงขอขอบพระคุณผู้ที่ห้ นุ และผู้ที่มีสว่ นได้ เสียทุกท่านที่ได้ ให้ การสนับสนุนและเชื่อถือบริษัท ฯด้ วยดีตลอดมา

(นายลิม ฮวี ไฮ) ประธานคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

39 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ปั จจัยความเสี่ยง ปั จจัยความเสี่ยงที่อาจมีผลต่อผลประกอบการของบริษัทฯ และอาจทําให้ เกิดความเสี่ยงต่อการลงทุนของผู้ลงทุนมีดงั นี ้ 1) ความเสี่ยงจากการพึ่งพาผู้ผลิตน้ อยราย ในปี 2552 ผู้ผลิตรายใหญ่สดุ ที่บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย มีสดั ส่วน 41% ของยอดขายรวม ซึง่ ต่อมา บริ ษัทฯ มีการเพิ่มการเป็ น ผู้แทนจําหน่ายของสินค้ า ทําให้ สดั ส่วนของยอดขายของผู้ผลิตรายใหญ่สดุ ต่อยอดขายรวม ค่อย ๆ ลดลง และเท่ากับ 17.5% ในปี 2555 ที่ผา่ นมา ซึง่ ทําให้ ความเสี่ยงด้ านนี ้ลดลง แต่ถงึ แม้ ความเสี่ยงในการพึง่ พาผู้ผลิตรายใหญ่สดุ ลดลงและบริ ษัทฯ ได้ เป็ นผู้แทน จําหน่ายสินค้ าจากผู้ผลิตมากกว่า 70 รายในปี 2555, แต่ 42% ของยอดขายรวมยังคงมาจากผู้ผลิตเพียง 3 ราย ซึง่ บริ ษัทฯ ยังคง ต้ องดําเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อลดความเสี่ยงในเรื่ องนี ้ดังนี ้

สัดส่ วนยอดขายของผู้ผลิตรายใหญ่ สุดต่ อยอดขายรวม

2552 41%

2553 31%

2554 26%

2555 18%

การรักษาความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผู้ผลิต บริษัทฯ มีการลงทุนหลายด้ านเพื่อปรับปรุงระบบงานให้ มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ สามารถเป็ นคูค่ ้ าที่ดีของผู้ผลิตรายใหญ่ ซึง่ ที่ผา่ น ั้ าย เป็ นคูค่ ้ าที่มี มา บริษัทฯ ก็เป็ นลูกค้ ารายใหญ่ของผู้ผลิตรายใหญ่เช่นกัน ทําให้ ความสัมพันธ์เป็ นแบบสองทางที่ทงสองฝ่ ความสําคัญของกันและกัน การจําหน่ ายสินค้ าอื่นเพิ่ม บริษัทฯ มีการหาสินค้ าอื่น ๆ มาจําหน่ายเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะสินค้ าประเภทใหม่ที่ไม่มีความขัดแย้ งกับผู้ผลิตเดิมที่ บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายอยูแ่ ล้ ว ในปี 2555 บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ าเพิ่มขึ ้น เช่น Brother, LG ซึง่ บริ ษัทฯ ยังคงเพิ่ม การเป็ นผู้แทนจําหน่ายของสินค้ าอื่น ๆ ในปี 2556 ต่อไป การพัฒนาประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง บริษัทฯ ยังคงมีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ เป็ นองค์กรที่สําคัญและมีสว่ นในอุตสาหกรรมไอทีไทย เช่น: การครอบคลุมตลาด ้ ้อสินค้ าจากบริษัทฯ แล้ ว ในปี 2555 ที่ผา่ นมา บริษัทฯ มีเครื อข่ายลูกค้ าที่เป็ นบริษัทฯ ที่ดําเนินธุรกิจ IT และได้ เปิ ดบัญชีพร้ อมทังซื มากกว่า 5,000 ราย (ในปี 2552 มีลกู ค้ าซื ้อสินค้ าจากบริษัทฯ 4,450 รายและเพิ่มเป็ น 4,804 รายในปี 2553)ซึง่ บริ ษัทฯ สามารถ ช่วยเหลือผู้ผลิตในการจัดจําหน่ายสินค้ าไปยังกลุม่ ลูกค้ ากว่า 5,000 รายได้ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  การจัดเก็บและกระจายสินค้ า บริษัทฯ มีระบบบริหารคลังสินค้ าที่ดีและมีประสิทธิภาพ สามารถเก็บสินค้ าให้ กบั ผู้ผลิตและจัดส่งให้ กบั ลูกค้ าทัว่ ประเทศไทย ได้ อย่างรวดเร็วถึงแม้ จะเป็ นการสัง่ ซื ้อในจํานวนน้ อย โดยบริษัทฯ สามารถจัดส่งสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าในเขตกรุงเทพฯ ภายในวัน เดียวกันถ้ าสัง่ ซื ้อก่อน 11.00 น. และสามารถจัดส่งสินค้ าในวันถัดไปสําหรับลูกค้ าที่สงั่ ซื ้อหลัง 11.00 น. หรื อลูกค้ าต่างจังหวัด ในวันถัดไปได้ ทงหมดซึ ั้ ง่ เป็ นการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพภายใต้ คา่ ใช้ จ่ายที่ยอมรับได้

40 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


 การบริหารลูกหนีร้ ายย่ อย บริษัทฯ มีทีมงานที่สามารถบริหารลูกหนี ้รายย่อยได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีฐานลูกค้ ามากกว่า 2,500 รายที่มีวงเงิน เครดิต สามารถซื ้อสินค้ าแบบเครดิตจากบริษัทฯ ได้ ทนั ที ซึง่ สามารถช่วยเหลือผู้ผลิตในการให้ เครดิตกับลูกค้ ารายย่อย ทําให้ ผู้ผลิตสามารถเริ่ มจําหน่ายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าหลาย ๆ รายได้ อย่างรวดเร็ว ทังหมดนี ้ ้ ทําให้ บริ ษัทฯ เป็ นกลไกสําคัญในอุตสาหกรรมไอทีของประเทศไทย และทําให้ ผ้ ผู ลิตต้ องการให้ บริ ษัทฯ เป็ นผู้แทน จําหน่ายอย่างต่อเนื่องทังผู ้ ้ ผลิตที่แต่งตังให้ ้ บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายอยูแ่ ล้ วและผู้ผลิตรายใหม่ ๆ ที่มีการติดต่อขอให้ บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่ายเพิ่ม ซึง่ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะขยายธุรกิจโดยการนําสินค้ าประเภทใหม่ ๆ มาขายเพิ่มเติม เพื่อลด ความเสี่ยงด้ านการพึง่ พาผู้ผลิตน้ อยรายลง 2) ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีท่ กี ระทบต่ อสินค้ าคงคลัง เนื่องจากสินค้ าหลักของบริษัทฯ เป็ นคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง ซึง่ สินค้ าในกลุม่ นี ้มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทําให้ สินค้ าคงคลังของบริษัทฯ อาจจะมีการล้ าสมัย สร้ างความเสียหายกับบริษัทฯ ได้ บริ ษัทฯ มีการดําเนินการบริหารความเสี่ยงด้ านสินค้ าคงคลังหลาย ๆ วิธีดงั นี ้:  การควบคุมมูลค่ าสินค้ าคงคลังให้ คงเหลือน้ อย บริษัทฯ มีนโยบายในการเก็บสินค้ าคงคลังอยูใ่ นช่วง 15 - 30 วันตามประเภทของสินค้ า โดยสินค้ าที่จําหน่ายมาจนมีข้อมูล การขายแล้ วบริ ษัทฯ จะลดสินค้ าคงคลังให้ อยูใ่ นระดับ 15 วันส่วนสินค้ าใหม่ ที่ยงั ไม่ทราบความต้ องการที่ชดั เจน ก็สามารถ เก็บในสินค้ าปริ มาณที่มากกว่าได้ แต่ก็ไม่ควรเกิน 30 วัน เพื่อให้ สามารถแก้ ไขปั ญหาได้ ถ้าเกิดการเปลี่ยนแปลงของตลาด โดยบริษัทฯ มีมลู ค่าสินค้ าคงคลังในแต่ละปี ที่ผา่ นมาตามตารางด้ านล่าง

มูลค่ าสินค้ าคงคลัง (ล้ านบาท) ระยะเวลาขายเฉลี่ย (วัน)

2548 672 27.4

2549 488 25.9

2550 566 20.5

2551 789 22.5

2552 919 23.9

2553 1,152 24.7

2554 3,171 37.9

2555 1,191 38.9

 การให้ มีผ้ ูจัดการผลิตภัณฑ์ ดูแลสินค้ าโดยเฉพาะ บริษัทฯ มีการกําหนดให้ ผ้ บู ริหารผลิตภัณฑ์ (Product Manager) เป็ นผู้ดแู ลสินค้ าทังในแง่ ้ ของการสัง่ ซื ้อ การดูแลสินค้ าคง คลัง และส่งเสริ มขายสินค้ า ทําให้ มีผ้ เู ชี่ยวชาญที่ให้ ความสําคัญในการดูแลสินค้ าแต่ละยี่ห้อ เมื่อเกิดปั ญหาขึ ้นก็สามารถ แก้ ไขได้ อย่างรวดเร็วรวมทังบริ ้ ษัทฯ ถือว่าการดูแลสินค้ า เป็ นปั จจัยสําคัญในการประเมินผลงานของผู้บริ หารผลิตภัณฑ์  การตัง้ สํารองสินค้ าล้ าสมัย ้ ารองสินค้ าคงคลังล้ าสมัยตามอายุสนิ ค้ าในทุก ๆ เดือน โดยการตังสํ ้ ารองนี ้เป็ นไปอย่างพอเพียง ซึง่ เมื่อมี บริ ษัทฯ มีการตังสํ สินค้ าค้ างสต็อค จะมีการตังสํ ้ ารองตามอายุสนิ ค้ าอันจะทําให้ กําไรที่แสดงในงบการเงิน เป็ นกําไรที่หกั ภาระสินค้ าค้ างสต็อค ไปแล้ วเสมอ  ระบบข้ อมูล บริ ษัทฯ มีการลงทุนด้ านระบบจัดการสินค้ าคงคลังของ SAP ECC6 ซึง่ เป็ นระบบที่จะให้ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้ าได้ อย่างถูกต้ อง และรวดเร็ว พร้ อมรายงานต่าง ๆ ที่ช่วยในการจัดการสินค้ าคงคลังได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นรายงาน Inventory Aging แยกแต่ละรายการสินค้ า, รายงาน inventory turnover แยกแต่ละรายการ ฯลฯรวมไปถึงระบบแจ้ งเตือนที่มีการรวบรวมข้ อมูล สินค้ าคงคลังที่ค้างนานไว้ ในฐานข้ อมูลและให้ ผ้ ดู แู ลสินค้ าแต่ละคนเข้ าไปบันทึกแนวทางในการแก้ ปัญหา ซึง่ ทังหมดนี ้ ้ ทําให้ ผู้ปฏิบตั ิงานและผู้เกี่ยวข้ องทุกคน รับรู้ข้อมูลที่ถกู ต้ องเกี่ยวกับสินค้ าคงคลังอยูเ่ สมอ

41 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


 การจัดการ ฝ่ ายจัดการของบริษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการดูแลสินค้ าคงคลังอย่างสมํ่าเสมอ ผู้บริหารระดับสูงสุด มีการประชุมเพื่อ ตรวจสอบมูลค่าสินค้ าคงคลังโดยรวมและอายุสินค้ ารวมกับผู้จดั การผลิตภัณฑ์ทกุ สัปดาห์ ซึง่ ทําให้ บริษัทฯ เห็นแนวโน้ มการ เปลี่ยนแปลง และสามารถกําหนดมาตรการแก้ ไขปั ญหาได้ อย่างรวดเร็ว สามารถลดความเสียหายด้ านสินค้ าคงคลังลงได้ และสร้ างให้ เป็ นวัฒนธรรมของบริษัทฯ ในการให้ ความสําคัญในการดูแลสินค้ าคงคลัง 3) ความเสี่ยงด้ านอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่ างประเทศ ้ าหน่ายในประเทศเป็ นเงินบาท บริษัทฯ มีการสัง่ ซื ้อสินค้ าบางส่วนโดยชําระด้ วยเงินสกุลดอลลาร์ สหรัฐ ในขณะที่สินค้ าทังหมดจะจํ โดยบริ ษัทฯ มีการทําสัญญาป้องกันความเสี่ยงล่วงหน้ าอย่างน้ อย 50% ในทุกใบสัง่ ซื ้อทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ รับคําแนะนําจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้ องของสถาบันการเงินอย่างสมํ่าเสมอในการทําสัญญาป้องกันความเสี่ยงว่าควรจะทําในระดับใด 4) ความเสี่ยงจากการแข่ งขันและกําไรขัน้ ต้ นตํ่า ธุรกิจขายส่งอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ถือเป็ นธุรกิจที่มีการแข่งขันสูง มีกําไรขันต้ ้ นอยู่ในระดับตํ่า แต่เป็ นอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่ และมีการเติบโตสูง โดยในช่วงหลายปี ที่ผ่านมา มีการเติบโตที่มากกว่า 10% มาตลอด ซึง่ จากลักษณะอุตสาหกรรมแบบนี ้ อาจมี คู่แข่งใช้ ราคามาเป็ นกลยุทธ์ หลักในการแข่งขัน ซึ่งถ้ าเกิดขึ ้น บริ ษัทฯ อาจต้ องลดราคาสินค้ าเพื่อให้ สามารถแข่งขันได้ ดีขึ ้น และ อาจจะกระทบผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ ได้ บริ ษัทฯ ได้ พยายามลดความเสี่ยงด้ วยการเพิ่มประเภทสินค้ า ทําให้ มีการขาย สินค้ ากระจายมากประเภทขึ ้น ถ้ าเกิดปั ญหาขึ ้น ก็จะมีผลกระทบเฉพาะบางส่วน รวมไปถึงบริ ษัทฯ พยายามให้ ความสําคัญในการ พัฒนาและส่งเสริ มการขายสินค้ าที่ตลาดไม่ใหญ่นกั แต่สามารถให้ กําไรได้ ดีและมีการแข่งขันน้ อยมาช่วยเพิ่มกําไร พร้ อมกันนี ้ บริ ษัทฯ ได้ มีการขายสินค้ าไปยังลูกค้ าจํานวนมาก โดยบริ ษัทฯ มีลกู ค้ ามากกว่า 5,000 ราย จึงมีการขายที่กระจาย สมํ่าเสมอ กระจายความเสี่ยงไปยังลูกค้ าหลายราย และเนื่องจากธุรกิจค้ าส่งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็ นธุรกิจที่ใช้ เงินทุนมาก มีโอกาสน้ อยที่ จะมีค่แู ข่งรายใหม่เข้ ามาในตลาดเพิ่ม ในทางกลับกัน เชื่อว่าจะมีผ้ คู ้ าบางรายที่ไม่สามารถแข่งขันได้ ออกจากตลาดไป หรื อมีการ ควบรวมกิจการระหว่างผู้ค้าส่ง นอกจากนี ้ ในปี 2555 บริ ษัทฯ ได้ จดั โครงสร้ างการบริ หารใหม่ในรู ปแบบหน่วยธุรกิจ (Business Unit) โดยแบ่งเป็ น 6 หน่วยธุรกิจหลักเพื่อให้ สามารถบริหารสินค้ าที่แตกต่างกันได้ โดย 2 ใน 6 หน่วยธุรกิจ จะเป็ นหน่วยธุรกิจที่ดําเนินธุรกิจแบบ Value Added เพื่อจัดจําหน่ายสินค้ าที่กําไรสูง โดยได้ มีการเพิ่มบริ การต่าง ๆ ที่เหมาะสมเข้ าไป ซึ่งการขยายธุรกิจในรู ปแบบ Value Added ที่มีบริการต่าง ๆ เพิ่มเติมเข้ าไปนี ้ จะช่วยลดความเสี่ยงจากการแข่งขันด้ านราคาลงได้ 5) ความเสี่ยงจากลูกหนีก้ ารค้ า ้ กบั บริษัทฯ รวมไปถึง การขายส่วนใหญ่ เป็ นการขายเชื่อ โดยลูกหนี ้ส่วนใหญ่ ไม่ได้ มอบหลักประกันที่ครอบคลุมหนี ้สินทังหมดให้ ้ กหนี ้การค้ าของบริ ษัท ลูกค้ าของบริษัทฯ หลายราย เป็ นบริ ษัทฯ ขนาดเล็กและเป็ นบริ ษัทฯ ใหม่ที่ยงั ไม่มีเงินทุนมากนัก ดังนันหากลู ฯ เกิดปั ญหาในการบริหารงาน ไม่สามารถชําระเงินได้ ตามกําหนด จะส่งผลต่อสภาพคล่องของบริ ษัทฯ ทางด้ านเงินทุนหมุนเวียน หรื อผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ได้ บริษัทฯ มีการลดความเสี่ยงด้ านลูกหนี ้การค้ าด้ วยการตรวจสอบเครดิตอย่างรัดกุมก่อนจะ ให้ เครดิตกับลูกค้ า และมีการแยกฝ่ ายควบคุมเครดิตออกจากฝ่ ายขาย เพื่อให้ การพิจารณาเครดิตเป็ นไปอย่างอิสระ และเพื่อลด ความเสี่ยงด้ านหนี ้สูญลงไปอีก ในปี 2555 บริษัทฯ มีประกันคุ้มครองส่วนหนึง่ ของความเสียหายจากปั ญหาหนี ้เสีย รวมทังบริ ้ ษัทฯ ได้ มีการตังสํ ้ ารองเพื่อให้ งบการเงินที่มีอยู่ สะท้ อนข้ อเท็จจริงจากภาวะหนี ้ที่อาจจะไม่สามารถชําระได้

42 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


6) ความเสี่ยงด้ านการเงิน จากโครงสร้ างธุรกิจค้ าส่งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตอ่ พ่วงซึง่ เป็ นธุรกิจที่มี cash cycle อยู่ในช่วง 30 - 50 วัน ทําให้ ปริ มาณเงินทุน หมุนเวียนที่ต้องใช้ อาจเพิ่มขึ ้นมากถ้ าบริ ษัทฯ มีการเติบโตของรายได้ รวมเพิ่มขึ ้นสูงกว่า 15% ซึง่ ถือเป็ นความเสี่ยงและภาระของ บริ ษัทฯ ที่ต้องจัดหาเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ ้น โดย ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริ ษัทฯ มีการกู้เงินจากสถาบันการเงินรวม 2,610 ล้ านบาท ซึ่งเงินกู้เหล่านี ้ เป็ นเงินกู้ระยะสัน้ ถ้ าทุกสถาบันการเงิน มีการเรี ยกเงินคืนพร้ อม ๆ กัน จะสร้ างปั ญหาด้ านการเงินให้ กบั บริ ษัทฯ ได้ อย่างไรก็ตาม การที่บริ ษัทฯ ได้ เข้ าเป็ นบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทําให้ บริ ษัทฯ มีทางเลือกในการเพิ่ม ้ ษัทฯ มีการกระจายการกู้เงินไปยังสถาบันการเงินหลาย ๆ แห่ง เพื่อลดความเสี่ยงในการพึง่ พา เงินทุนหมุนเวียนมากขึ ้น รวมทังบริ สถาบันการเงินรายใดรายหนึง่ เป็ นหลัก 7) ความเสี่ยงจากการพึ่งพาบุคลากร ไอทีเป็ นธุรกิจที่ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้เฉพาะด้ านเข้ ามาร่วมงานจํานวนมากซึง่ นอกเหนือจากการรับพนักงานที่มี ประสบการณ์เข้ ามาร่วมงานแล้ ว บริษัทฯ ยังต้ องมีการฝึ กอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ สามารถให้ บริการลูกค้ าได้ อย่างมี ประสิทธิภาพซึง่ หากบุคลากรที่มีความสามารถและความชํานาญงานได้ ลาออกจากบริษัทฯ อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินงาน และความสามารถในการขยายงานของบริษัทฯ ในระยะสัน้ และก่อให้ เกิดงบประมาณเพิ่มเติมที่ต้องใช้ ในการฝึ กอบรมบุคลากร กลุม่ ใหม่ขึ ้นมาทดแทน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีการจัดระบบค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้ กบั พนักงาน ซึง่ แปรเปลี่ยนตาม ความสามารถ รวมทังได้ ้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื ้อหุ้นของบริษัทฯ ในราคาพิเศษให้ แก่พนักงานของบริษัทฯ ที่สามารถใช้ สิทธิได้ ตามอายุงาน เพื่อจูงใจให้ ร้ ูสกึ ถึงความมีสว่ นร่วมเป็ นเจ้ าของบริ ษัทฯ และทํางานให้ บริษัทฯ อย่างเต็มที่และยาวนานขึ ้น รวมทังการดํ ้ าเนินการอีกหลายด้ าน เพื่อลดความเสี่ยงการพึง่ พาบุคลากรของบริ ษัทฯ เช่น การแยกงานการขายและการตลาดออก จากกัน ซึง่ ทําให้ ลกู ค้ าทุกรายจะได้ รับการติดต่อจากบริษัทฯ ผ่าน 2 หน่วยงานหลักคือ ฝ่ ายขายและฝ่ ายการตลาด ลดความเสี่ยง จากการพึง่ พาพนักงานเพียงฝ่ ายเดียวลงได้ , การปรับปรุงระบบงานโดยใช้ Information System เข้ ามาช่วยงานมากขึ ้น เช่น การ ใช้ ระบบ ERP ของ SAP ECC6 และการใช้ Electronic Workflow ของ Lotus Notes ทําให้ ระบบงานต่างๆ สามารถทําได้ ง่าย ้ การกําหนดโครงสร้ างการบริหาร ที่มี รวดเร็ว ถูกต้ อง มีระบบเตือนภัยเมื่องานผิดพลาด ลดการพึง่ พาบุคลากรลงได้ บ้าง รวมทังมี การกระจายงานออกให้ ผ้ บู ริหารหลายๆ ท่าน จัดให้ มีพนักงานที่มีความสามารถใกล้ เคียงกัน และสามารถทํางานทดแทนกันได้ ใน หลายๆ ระดับซึง่ เชื่อว่าทังหมดนี ้ ้จะช่วยลดการพึง่ พาบุคลากรลงได้

43 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรกของบริษัทฯ ณ. 31 ธันวาคม 2555 มีดงั นี ้ ลําดับ

ชื่อผู้ถือหุ้น

1 2

SIS TECHNOLOGIES (THAILAND) PTE. LTD. รวมหุ้นของครอบครัวสิทธิชยั ศรี ชาติประกอบด้ วย - สมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (กรรมการผู้จดั การ) - วรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ (คูส่ มรส) - พิชญ์ สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตรชาย) - พลอย สิทธิชยั ศรี ชาติ (บุตรสาว) รวมหุ้นของครอบครัวปั งศรี นนท์ประกอบด้ วย - สมบัติ ปั งศรี นนท์ (กรรมการบริหาร) - สุรณี ปั งศรี นนท์ (คูส่ มรส) - ชานน ปั งศรี นนท์ (บุตรชาย) - ธนกร ปั งศรี นนท์ (บุตรชาย) - สุธนาโดยนางสุรณี ปั งศรี นนท์ สมพงษ์ ชลคดีดํารงกุล ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTDUBS AG LONDON BRANCH-NRBS IPB CLIENT SEG นายวิโรจน์ โกศลธนวงศ์และน.ส.รักชนก ลุมาดกพันธุ์ โดยนายวิโรจน์ โกศลธนวงศ์ วิภารัตน์ เลิศศิวาพร วิสทุ ธิ์ ศิโรเวฐน์ รวมหุ้นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 ราย รวมหุ้นทัง้ หมด

3

4 5 6 7 8 9 10

จํานวนหุ้นที่ถอื 109,725,000 34,023,080

ร้ อยละของ หุ้นทัง้ หมด 47.0% 14.6%

6,266,130 6,242,160 8,314,790 13,200,000 22,773,370

9.8% 13,966,020 110 4,126,300 3,850,000 830,940

8,070,000 2,548,010 2,647,580 2,702,700

3.5% 1.1% 1.1% 1.2%

2,147,200

0.9%

1,796,520 1,700,000 188,133,460 233,465,770

0.8% 0.7% 80.6%

หมายเหตุ

บริษัท SiS Technologies (Thailand) PTE. LTD. มีลกั ษณะธุรกิจเป็ น Investment Holding และมีนายลิม ฮวี ไฮ, นายลิม เคีย ฮอง เป็ นกรรมการ ซึง่ ทังสองท่ ้ านนี ้ เป็ นกรรมการของบริษัท เอสไอเอสดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เช่นกัน

44 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนได้ รับการแต่งตังจากคณะกรรมการบริ ้ ษัท มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 3 ปี ประกอบด้ วยกรรมการจํานวน 4 ท่าน โดยมี นายสมชาย ศิริวิชยกุล (กรรมการอิสระ) เป็ นประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และมี ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ (กรรมการอิสระ), นายลิม ฮวี ไฮ (กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริ หาร), นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ (กรรมการ ผู้จดั การ) เป็ นกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทนได้ ปฏิ บัติหน้ าที่ตามที่ได้ รั บมอบหมาย ซึ่งได้ กําหนดไว้ ในกฎบัตร ด้ ว ยความ ระมัดระวังอย่างรอบคอบ ในการสรรหา และการกําหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุดย่อย ตลอดจนให้ ข้ อเสนอแนะต่างๆ อย่างสมเหตุสมผลต่อคณะกรรมการบริ ษัท โดยในปี 2555 ได้ มีการประชุมรวม 2 ครัง้ ซึ่งกรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน ทุกท่านเข้ าร่วมประชุมทุกครัง้ เพื่อพิจารณาเรื่ องต่างๆ ตามหน้ าที่ ดังนี ้ 1. พิจารณา และประเมินผลการปฏิบตั ิงานตามหน้ าที่ ความรับผิดชอบ และผลการดําเนินงานของบริ ษัทฯ โดยเปรี ยบเทียบกับเป้าหมาย และแผนงานประจําปี 2555 เพื่อกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร ให้ สอดคล้ องกับผลการประเมิน รวมถึงพิจารณา ทบทวน ค่าตอบแทนกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย สําหรั บปี 2556 คณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่าตอบแทนได้ มีการ ้ ปี 2552 เพื่อให้ เหมาะสมกับภาระหน้ าที่ ที่เพิ่มขึ ้นตามข้ อกําหนดของหน่วยงานกํากับ พิจารณาเพื่อปรับอัตราค่าตอบแทน ที่ใช้ มาตังแต่ ดูแล และสอดคล้ องกับภาวะเศรษฐกิจในปั จจุบนั แต่เนื่องจากผลประกอบการของบริ ษัทไม่เป็ นไปตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ จึงเห็น ควรว่า ยัง คงให้ ใ ช้ อัตราเดิ ม เช่น เดีย วกับปี 2555 ต่อ ไปอี ก หนึ่ง ปี โดยรายละเอี ย ดค่า ตอบแทน กรรมการ และผู้บ ริ ห ารระดับ สูง ประจํ า ปี 2555 ได้ เ ปิ ดเผยไว้ ใ นรายงานประจํ า ปี 2555 แบบ รายบุคคล สําหรั บนโยบายค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษัท และคณะกรรมการชุดย่อย สําหรับปี 2556 จะได้ นําเสนอรายละเอียดในหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นต่อไป 2. พิจารณาแผนสืบทอดตําแหน่ง (Succession Plan) ซึง่ ได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื่องจากปี 2553 โดยได้ เพิ่มกระบวนการที่จะสรรหาบุคลากรเพื่อสามารถเป็ นผู้สืบทอด หรื อทดแทนตําแหน่ง ของกรรมการที่ เ ป็ นผู้ บริ ห ารภายในเวลาที่ เ หมาะสม และได้ เ พิ่ ม การพัฒ นาความรู้ ความสามารถ รวมถึงทักษะในด้ านต่างๆ ที่จําเป็ น เพื่อให้ บ ริ ษัทฯมีความมั่น คง และ สามารถแข่งขันทางธุรกิจได้ อย่างต่อเนื่อง 3. ในปี 2556 จะมี กรรมการที่ ว่างลงตามวาระ ซึ่งคณะกรรมการสรรหา และกํ าหนด ค่าตอบแทน ได้ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูถือหุ้นเสนอรายชื่อบุคคลเพื่อรั บเลือกเป็ นกรรมการตาม หลักเกณฑ์ และระยะเวลาที่บริ ษัทฯได้ แจ้ งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ้ ้ไม่มีผ้ ถู ือหุ้น ไทย เพื่อให้ คณะกรรมการบริ ษัท พิจารณาและ นําเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทังนี ท่า นใดเสนอชื่ อบุคคลมายังบริ ษั ทฯ คณะกรรมการสรรหาและกํ าหนดค่า ตอบแทน จึง มี ความเห็นให้ เสนอ กรรมการที่ต้องออกตามวาระกลับเข้ าดํารงตําแหน่งเป็ นกรรมการอีกวาระ ุ สมบัติที่เหมาะสม และไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด หนึง่ เนื่องจากมีคณ 4. จากข้ อ กํ า หนดของหน่ ว ยงานกํ า กับ ดูแ ล และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ บริ ษั ท มหาชน ที่ เ พิ่ ม ขึ น้ ในช่ ว งที่ ผ่ า นมานัน้ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนจึงมีความเห็นที่ควรจะเพิ่มจํานวนกรรมการอิสระ และกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หาร เพื่อช่วย กลัน่ กรองงานด้ านต่างๆของคณะกรรมการชุดย่อย และแบ่งเบาภาระของคณะกรรมการบริ ษัท ซึ่งได้ นําเสนอคณะกรรมการบริ ษัท เพื่อให้ การเห็นชอบในการเพิ่มจํานวนกรรมการ และได้ สรรหากรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หารเพิ่มอีก 1 ท่าน ซึง่ จะได้ นําเสนอผู้ถือหุ้นให้ เลือก ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 นี ้ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนตระหนักถึงความสําคัญต่อประโยชน์สงู สุดต่อผู้ถือหุ้น รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย จึงปฏิบตั ิ หน้ าที่ด้วยความรั บผิดชอบ มีความระมัดระวัง เป็ นธรรม โปร่ งใส ตามมาตรฐานสากล ในการกํ าหนดผลตอบแทนของกรรมการ และ กรรมการชุดย่อย เพื่อเพิ่มแรงจูงใจในการพัฒนาการปฏิบตั ิงาน ในการสร้ างผลการดําเนินงานให้ ดีขึ ้นอย่างต่อเนื่อง

(นายสมชาย ศิริวิชยกุล) ประธานคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บมจ. เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556 45 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่ าตอบแทนกรรมการ บริษัทฯ มีนโยบายการกําหนดค่าตอบแทนให้ กรรมการและผู้บริ หารที่กําหนดไว้ ชดั เจนและโปร่งใส มีการจ่ายค่าตอบแทนเพิ่มตาม ปริมาณงานที่เพิ่มขึ ้น ค่าตอบแทนที่กําหนดไว้ อยูใ่ นระดับเดียวกันกับอุตสาหกรรมและเหมาะสมกับกรรมการที่มีคณ ุ สมบัติที่ ต้ องการ โดยสําหรับค่าตอบแทนกรรมการ มีการแยกตามประเภทค่าตอบแทนดังนี ้ เงินประจําตําแหน่ งกรรมการ ประธานกรรมการ จะได้ รับเงินประจําตําแหน่งในอัตราเดือนละ 20,000 บาท กรรมการท่านอื่น (ยกเว้ นกรรมการผู้จดั การ และ กรรมการบริหาร เนื่องจากทังสองท่ ้ าน เป็ นผู้บริ หารที่ได้ รับเงินเดือนจากบริษัทฯ อยูแ่ ล้ ว) จะได้ รับเงินประจําตําแหน่งในฐานะ กรรมการในอัตราเดือนละ 10,000 บาท เงินประจําตําแหน่ งกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ จะได้ รับเงินประจําตําแหน่งในอัตราเดือนละ 32,500 บาท กรรมการตรวจสอบท่านอื่น จะได้ รับเงิน ประจําตําแหน่งในอัตราเดือนละ 25,000 บาท เบีย้ ประชุมกรรมการ กรรมการที่เข้ าประชุมกรรมการ ซึง่ บริษัทฯ จัดให้ มีการประชุมกรรมการทุกไตรมาส จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดย ประธานกรรมการ จะได้ รับเพิ่มอีก 10,000 บาทเป็ นครัง้ ละ 30,000 บาท และจะจ่ายให้ ไม่เกินปี ละ 4 ครัง้ เบีย้ ประชุมกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบที่เข้ าประชุมกรรมการตรวจสอบ ซึง่ มีการประชุมเดือนละครัง้ โดยกรรมการตรวจสอบจะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 7,500 บาท และประธานกรรมการตรวจสอบจะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 10,000 บาทและจ่ายให้ ไม่เกินปี ละ 12 ครัง้ เบีย้ ประชุมกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนที่เข้ าประชุม ซึง่ มีการประชุม 3 ครัง้ จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดยประธาน กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน จะได้ รับเพิ่มอีก 10,000 บาท เบีย้ ประชุมกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง ซึง่ มีการประชุม 2 ครัง้ จะได้ รับเบี ้ยประชุมครัง้ ละ 20,000 บาท โดยประธานกรรมการบริหารความ เสี่ยง จะได้ รับเพิ่มอีก 10,000 บาท รางวัลพิเศษประจําปี จะมีการจ่ายรางวัลพิเศษให้ กบั กรรมการที่ไม่ใช่กรรมการบริหารปี ละครัง้ ตามผลงาน โดยกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน จะเป็ นผู้พิจารณาตามหัวข้ อที่กําหนดขึ ้น สําหรับปี 2555บริษัทฯ ได้ ขออนุมตั ิงบประมาณโดยรวมในการจ่ายค่าตอบแทนให้ กบั กรรมการไว้ ไม่เกิน 6 ล้ านบาท โดย บริ ษัทฯ ได้ จ่ายจริงที่ 3,830,000 บาท และจะมีการเสนอให้ ผ้ ถู ือหุ้นพิจารณาอนุมตั ิคา่ ตอบแทนกรรมการประจําปี 2556 ไว้ ที่ไม่ เกิน 6ล้ านบาทในที่ประชุมสามัญประจําปี โดยในปี 2555 กรรมการแต่ละท่าน ได้ รับผลตอบแทนตามประเภทรายได้ ดงั นี ้

46 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ชื่อ

สุวทิ ย์ จินดาสงวน

ตําแหน่ง

เงินประจําตําแหน่งกรรมการ เงินประจําตําแหน่งกรรมการ ตรวจสอบ เบี ้ยประชุมกรรมการ เบี ้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ เบี ้ยประชุมกรรมการสรรหาฯ เบี ้ยประชุมกรรมการบริหาร ความเสีย่ ง รางวัลประจําปี รวม

สมชาย ศิริวชิ ยกุล

โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์

ลิม ฮวี ไฮ

ประธานกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการตรวจสอบ

กรรมการสรรหาฯ

ประธานกรรมการสรรหาฯ

กรรมการสรรหาฯ

ประธานกรรมการ

กรรมการบริหารความเสี่ยง 120,000 390,000

บริหารความเสีย่ ง 120,000 -

240,000 300,000

120,000 300,000

120,000 90,000 -

80,000 90,000 60,000

80,000 120,000 40,000 40,000

420,000 1,170,000

270,000 920,000

270,000 1,060,000

ลิม เคีย ฮอง กรรมการ

สมชัย สิทธิชัยศรี ชาติ

สมบัติ ปั งศรีนนท์

กรรมการผู้จดั การ กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาฯ กรรมการบริหาร ความเสีย่ ง

120,000 -

-

-

60,000 40,000 60,000

40,000 -

80,000 40,000

80,000 40,000

280,000

160,000

120,000

120,000

สําหรับค่าตอบแทนของกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร คณะกรรมการกําหนดค่าตอบแทนจะประเมินการปฏิบตั ิงานของ กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร โดยแบ่งการประเมินออกเป็ น 3 หมวดคือหมวดการปฏิบตั ิตามยุทธวิธีที่กําหนดไว้ (สัดส่วน 20%), หมวด Operation & Corporate Governance (สัดส่วน 20%) เมื่อเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้ และหมวดผล ประกอบการ (สัดส่วน 60%) เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม สําหรับผู้บริ หารระดับรองลงไป กรรมการผู้จดั การจะเป็ นผู้กําหนดผลตอบแทนและแจ้ งยอดรวมการจ่ายให้ กบั กรรมการกําหนด ค่าตอบแทนพร้ อมกับเปิ ดเผยในรายงานประจําปี ในส่วน ค่าตอบแทนผู้บริหาร

ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผู้บริ หารรวม 11 รายในปี 2555 ในรูปเงินเดือน เงินรางวัลประจําไตรมาสและเงินโบนัสประจําปี เป็ นจํานวนเงินรวม 42,563,000บาท โดยมีรายชื่อดังต่อไปนี ้: 1) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ กรรมการผู้จดั การ 2) นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ กรรมการบริหาร ผู้จดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน 3) นางสาวสุวาทิพย์ พรสุวรรณนภา 4) นางวรี พร สิทธิชยั ศรี ชาติ ผู้จดั การฝ่ ายปฏิบตั ิการ 5) นายธนวัฒน์ พริ ง้ วณิชย์ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Commercial 6) นายพนิต ศรี เกริกกริ ช ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Movie & Music 7) นายธนา ธนะแพสย์ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Consumer 8) นายไกวัลย์ บุญเสรฐ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Value Added Commercial 9) นายคัคนานต์ คนึงเหตุ ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ ายPhone 10) นายไมตรี เนตรมหากุล ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ าย Value Added Consumer เลขานุการบริษัท 11) นายวรภพ ทักษพันธุ์

47 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


เงินสมทบเข้ ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพของผู้บริหาร เงิ นสมทบเข้ ากองทุนสํารองเลีย้ งชี พของผู้บริ หาร 11 ราย ในปี 2555 เป็ นจํ านวนเงิ น 1,888,800 บาท โดยจะต้ องมีอายุงาน มากกว่า 5 ปี ขึ ้นไป จึงจะได้ รับค่าตอบแทนนี ้ และจะได้ รับเมื่อพ้ นสภาพการเป็ นพนักงาน ทังนี ้ ้ ถ้ าอายุงานน้ อยกว่า 5 ปี จะได้ รับ เงินคืน ตามอายุงานดังนี ้ อายุงาน น้ อยกว่า 2 ปี 2 – 3 ปี 3 – 4 ปี 4 – 5 ปี 5 ปี ขึ ้นไป

อัตราส่ วนที่ได้ รับ จ่ายคืนเฉพาะส่วนของพนักงานพร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 20% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 40% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 70% ของบริ ษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 100% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน

48 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานการปฏิบตั ติ ามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น บริ ษั ท ฯ ได้ ต ระหนักและให้ ค วามสํา คัญ กับการกํ า กับ ดูแ ลกิ จการที่ ดี โดย คณะกรรมการและผู้บริ หารระดับสูงของบริ ษัทฯ ได้ ร่วมกันผลักดันให้ เกิดวัฒนธรรมใน การกํากับดูแลกิจการที่พนักงานทุกคน นํ าไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ บริ ษัทฯ มี รากฐานที่แข็งแรง สามารถเติบโตได้ อย่างต่อเนื่องและมัน่ คง โดยยึดถือข้ อพึงปฏิบตั ิที่ดี ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนดไว้ จากการผลักดันให้ มีการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีมาตลอด ทําให้ เมื่อมีการสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริ ษัทจดทะเบียนไทยประจําปี 2555 ที่ ดําเนินการโดย สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD), ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ซึ่งได้ รายงานผลไว้ ที่http://trt.listedcompany.com/misc/20121203-TRTBrochureCGR2012.pdf บริ ษัทฯ ถูกประเมินอยู่ในกลุม่ “ดีเลิศ” (excellent) ซึง่ เป็ น กลุม่ สูงสุดที่มีช่วงคะแนนระหว่าง 90 – 100 คะแนน ซึง่ มีทงหมด ั้ 59 บริ ษัทฯ ที่อยู่ใน กลุ่ม “ดีเลิศ” อันแสดงถึงการให้ ความสําคัญและการปฏิบัติตามแนวทางที่ตลาดหลักทรั พย์ แห่ง ประเทศไทยกําหนดไว้ ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ รับการประเมินให้ อยู่ในกลุ่ม “ดีเลิศ” (excellent) มาติดต่อกัน ตังแต่ ้ ปี 2552 บริ ษั ท ฯ ยัง คงยื น หยัด ที่ จ ะดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ควบคู่ไ ปกับ การใส่ ใ จ ดูแ ลรั ก ษาสัง คมและ สิ่งแวดล้ อ มภายใต้ ห ลักจริ ยธรรม การกํ ากับ ดูแ ลกิ จการที่ ดี ไม่สนับสนุนการดํ าเนินการที่ มี ลักษณะเป็ นการละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญาหรื อลิขสิทธิ์ จัดให้ มีระบบการบริ หารจัดการที่ สามารถป้องกันการจ่ายสินบนและทุจริ ตและเป็ นระบบที่ตรวจสอบได้ รวดเร็ ว และการนํ า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการ เพื่อนําไปสูการดําเนินธุรกิจที่ประสบความสําเร็ จ อย่างยัง่ ยืน โดยส่งเสริ มให้ พนักงานทุกคนปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่าง ต่อเนื่ อง โดยมีการติดตามแนวทางที่กําหนดขึน้ โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) และสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลัก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ (กลต.) กํ า หนดไว้ ตามที่ ชี แ้ จงในรายงานส่ ว นนี ้

(นาย สมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ) กรรมการผู้จดั การ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

49 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ตระหนักถึงภาระและหน้ าที่ของการเป็ นบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ฯ ที่จะต้ องคํานึงถึงผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นทุกราย มีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันดังนี ้  มีการดําเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพและระมัดระวัง เพื่อให้ บริ ษัทฯ มีการเจริ ญเติบโตอย่างมัน่ คง มีวฒ ั นธรรมองค์กรที่ ดี มีผลตอบแทนต่อการลงทุนที่เหมาะสม ทังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ ซึ่งบริ ษัทฯ ได้ ระบุให้ เป็ นหนึ่งในเป้าหมายหลัก ของบริษัทฯ  มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน มีการเปิ ดเผยข้ อมูลสารสนเทศอย่างครบถ้ วน เพียงพอ และโปร่ งใส จัดให้ มี การประชุมผู้ถือหุ้นในลักษณะที่สนับสนุนให้ มีการปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ส่งเสริ มให้ ผ้ ถู ือหุ้นมีโอกาสเท่า เทียมกันในการแสดงความคิดเห็นและตังคํ ้ าถาม ให้ ความสําคัญต่อข้ อเสนอแนะของผู้ถือหุ้น และกําหนดสิทธิออกเสียง ในการเข้ าประชุมของผู้ถือหุ้นอย่างชัดเจน  การเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นสอบถามการดําเนินงาน ซึง่ ในปี 2555 บริ ษัทฯ มีการไปร่วมงาน Opportunity Day เพื่อแถลง ผลประกอบการไตรมาส 1 และ 2 พร้ อมเปิ ดโอกาสให้ มีการซักถาม ซึง่ เป็ นการประชุมที่มีการเผยแพร่ทาง Web Site ของ ตลาดหลักทรั พย์ฯ และมี การบันทึกการประชุมเพื่อให้ ผ้ ูสนใจเข้ าไปติดตามการประชุมภายหลังได้ ซึ่งนอกจากการ ประชุมแล้ ว ระหว่างปี มีผ้ ถู ือหุ้นสอบถามรายละเอียดการดําเนินงานทาง email และทางโทรศัพท์มาหลายครัง้ ซึง่ บริ ษัท ฯ ก็ได้ ตอบคําถามผู้ที่สนใจทุกครัง้ รวมทังเปิ ้ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเข้ าพบผู้บริ หารและมีการเข้ าไปชี ้แจงและตอบคําถาม ต่าง ๆ ตาม web blog ที่เป็ นที่นิยมของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทัว่ ไปอย่างสมํ่าเสมอ  บริ ษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอวาระการประชุมหรื อส่งคําถามเกี่ยวกับบริ ษัทฯ ล่วงหน้ าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นได้ ผ่านทาง web site ของบริ ษัทฯ ภายใต้ หวั ข้ อ Investor Relations และหัวข้ อย่อย “การเสนอวาระประชุม” ที่ให้ ผ้ ถู ือหุ้น สามารถเข้ าไปดูหลักเกณฑ์ในการเสนอเรื่ องเพื่อพิจารณาเป็ นวาระการประชุม, การเสนอชื่อผู้เข้ ารับการเลือกตังเป็ ้ น กรรมการ รวมไปถึงแบบเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเป็ นวาระประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี ผ่าน web site หรื อทาง email ได้ ที่ investorinfo@sisthai.com  เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นและบุคคลภายนอกที่สนใจจะลงทุนในบริษัทฯ ได้ ข้อมูลอย่างถูกต้ องและรวดเร็ว บริษัทฯ จัดให้ มี หน่วยงานผู้ลงทุนสัมพันธ์พร้ อมกับให้ มีหน้ า Investor Relation ใน website ของบริษัทฯ www.sisthai.comเพื่อให้ ข้อมูล ที่เป็ นประโยชน์ ซึง่ ผู้ถือหุ้นและผู้ที่สนใจจะลงทุนทุกท่าน สามารถสอบถามหรื อแนะนําผ่าน email ได้ ที่ investorinfo@sisthai.com ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นครัง้ ที่ 1/2555 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555 มีผ้ ถู ือหุ้นได้ สอบถามในที่ประชุม ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ ตอบข้ อสอบถามของผู้ถือหุ้นในที่ประชุมอย่างครบถ้ วน  บริษัทฯ จัดให้ มีการประชุมผู้ถือหุ้นตามแนวปฏิบตั ิที่ดี ซึง่ ตามที่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (กลต.) ร่วมกับสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยและสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ได้ ร่วมกันประเมินคุณภาพการ จัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญทุกปี นัน้ บริษัทฯ มีผลการประเมินการประชุมตามตารางด้ านล่างซึง่ บริษัทฯ มีการปรับปรุงการ ประชุมให้ เป็ นไปตามแนวทางที่ได้ รับคําแนะนํา ซึง่ บริษัทฯ ได้ คะแนนเต็มจากการประเมิน อันแสดงถึงการให้ ความสําคัญกับผู้ถือหุ้นและความพยายามในการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ปี 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้ รับ

100 110 110 100 100 100 100

56.4 72.0 102.5 100.0 100.0 100.0 100.0

50 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


สิทธิของผู้มีส่วนได้ เสียอื่น ๆ บริษัทฯ ตระหนักถึงสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียที่เกี่ยวข้ องอื่น ๆ และได้ กําหนดเป็ นนโยบายของบริษัทฯ ในการปฏิบตั ิกบั ผู้มีสว่ นได้ เสีย อื่น ๆ อย่างเป็ นธรรมและเหมาะสมดังนี ้ 1. พนักงาน บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของพนักงานที่มีสว่ นสําคัญต่อความก้ าวหน้ าของบริษัทฯ และมีนโยบายในการดูแลความ ปลอดภัยของพนักงานและพัฒนาพนักงานให้ มีความรู้ความสามารถเพิ่มขึ ้น เปิ ดโอกาสให้ พนักงานได้ ทํางานที่ชอบ ส่งเสริม ให้ มีความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ ้น ให้ อํานาจการตัดสินใจภายใต้ ข้อกําหนดที่ตรวจสอบได้ ให้ โอกาสในการปฏิบตั ิงานที่ หลากหลายและจ่ายผลตอบแทนตามความสามารถโดยมีแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับพนักงานหลายด้ าน เช่น ก. ด้ านความปลอดภัยและสุขอนามัยพนักงาน I. การลดความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภยั มีการปรับกระบวนการทํางานเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดเหตุเพลิงไหม้ เช่นมีการตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าว่าไม่มีการ ใช้ เกินกําลัง,การจัดที่สบู บุหรี่ และห้ ามสูบบุหรี่ ในคลังสินค้ าและที่ทํางาน ฯลฯ II. การจัดให้ มีแผนฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบตั ิภยั มีการร่วมมือกับเจ้ าของอาคารที่บริษัทฯ เช่า เพื่อซ้ อมเมื่อมีอบุ ตั ิภยั ต่าง ๆ เช่นเมื่อเกิดไฟไหม้ , และการใช้ เครื่ องมือช่วย ดับไฟ โดยจัดเป็ นประจําทุกปี รวมทังให้ ้ มีผ้ รู ับผิดชอบหลักในกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉินขึ ้น การดูแลประตูทางออกไม่ให้ มีสงิ่ กีด ขวาง ฯลฯ III. สุขอนามัยพื ้นฐาน บริษัทฯ มีการดูแลที่ทํางานให้ มีความสะอาด มีระบบระบายอากาศที่ดี มีการจัดแสงสว่างอย่างเหมาะสม มีจํานวนอ่าง ล้ างมือและห้ องสุขาอย่างเพียงพอและมีการให้ พนักงานช่วยกันรักษาความสะอาดอย่างสมํ่าเสมอ IV. อุปกรณ์และการปฐมพยาบาล มีการจัดหาอุปกรณ์ปฐมพยาบาลอย่างเพียงพอและเหมาะสมและจัดให้ มีการอบรมการปฐมพยาบาลให้ กบั พนักงาน ที่ เกี่ยวข้ องและมีห้องพยาบาลสําหรับพนักงาน V. การฝึ กอบรมด้ านความปลอดภัย มีการฝึ กอบรมด้ านความปลอดภัยให้ พนักงานและกําหนดเรื่ องการแนะนําเรื่ องความปลอดภัยให้ เป็ นส่วนหนึง่ ของการ ปฐมนิเทศของฝ่ ายบุคคลเมื่อมีพนักงานใหม่เข้ าทํางาน ข. การให้ พนักงานได้ ทาํ งานที่ถนัด เพื่อให้ พนักงานมีโอกาสทํางานที่ชอบและตรงกับความถนัด เมื่อบริ ษัทฯ จะรับพนักงานเพิ่ม บริษัทฯ จะเปิ ดโอกาสให้ พนักงานเดิมสามารถสมัครได้ ก่อนคนนอก ทังนี ้ ้ พนักงานจะต้ องผ่านกระบวนการคัดเลือกจากหน่วยงานที่ต้องการรับเหมือน การรับพนักงานใหม่และเปิ ดโอกาสให้ พนักงานแจ้ งให้ ทราบเมื่อต้ องการย้ ายไปทํางานในลักษณะงานแบบอื่นที่ถนัด ซึง่ บริษัทฯ จะพิจารณาความเหมาะสมในทุกกรณีที่พนักงานแจ้ งให้ ทราบ ค. ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม บริ ษัทฯ มีนโยบายในการกําหนดผลตอบแทนที่ดีและเหมาะสมให้ กบั พนักงาน โดยมีการตรวจสอบและเปรี ยบเทียบกับ อุตสาหกรรมเดียวกันทุกปี และนอกเหนือจากรายได้ ประจําแล้ ว บริษัทฯ กําหนดให้ พนักงานทุกคนมีสวัสดิการและรายได้ อื่น ๆ เช่น : I. การจ่ายโบนัสเป็ นรายไตรมาสและโบนัสประจําปี บริษัทฯ มีการจ่ายโบนัสแต่ละไตรมาสและโบนัสประจําปี ให้ พนักงานตามผลประกอบการรวมของบริษัทฯ ตามผล ประกอบการของแต่ละ Business Unit และตามผลงานของพนักงานแต่ละคน II. โครงการ Employee Stock Option เพื่อเสริมสร้ างให้ พนักงานมีความรู้สกึ ร่วมในการเป็ นเจ้ าของกิจการและให้ พนักงานได้ รับผลตอบแทนที่ดีตามผล ประกอบการของบริษัทฯ ซึง่ บริ ษัทฯ ได้ กระจาย Stock Option ให้ พนักงานครัง้ แรกเมื่อเริ่มเข้ าจดทะเบียนในตลาด ้ ้น หลักทรัพย์ฯ ในปี 2547 จํานวน 5,000,000 สิทธิ์ โดยให้ ทยอยใช้ สทิ ธิ์ใน 5 ปี ซึง่ มีพนักงานใช้ สทิ ธิ์เปลี่ยนเป็ นหุ้นทังสิ 51 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


III.

IV.

V.

3,174,100 หุ้นเมื่อจบโครงการในปี 2552 ซึง่ เมื่อจบโครงการ ได้ ขอมีการดําเนินการต่อ โดยในที่ประชุมผู้ถือหุ้นสามัญ ครัง้ ที่ 1 ปี 2553 ได้ รับอนุมตั ิจากผู้ถือหุ้น เพื่อให้ ดําเนินการในโครงการ Stock Option ต่อเพื่อจัดสรรให้ พนักงาน, ผู้บริ หารและกรรมการเพิ่มอีก 10 ล้ านหุ้นสําหรับทยอยใช้ สทิ ธิ์ในระยะเวลา 3 ปี ตรวจสุขภาพประจําปี บริ ษัทฯ จัดให้ มีการตรวจสุขภาพประจําปี สําหรับพนักงานทุกคน เพื่อให้ มีข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเองและเป็ นการ ส่งเสริ มการมีสขุ ภาพดีโดยเมื่อทราบผล ก็จะจัดให้ มีแพทย์เข้ ามาให้ คําแนะนําการปฏิบตั ิตวั เพื่อให้ มีสขุ ภาพดี กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ บริษัทฯ จัดให้ มีกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพให้ กบั พนักงานทุกคนตังแต่ ้ ปี 2546 โดยทังบริ ้ ษัทฯ จ่ายเงินสะสมเข้ าโครงการใน อัตรา 5% ของเงินเดือน และพนักงานจะเริ่มได้ รับส่วนของบริษัทฯ เมื่อทํางานมากกว่า 2 ปี ขึ ้นไป โดยจะได้ รับส่วนของ บริษัทฯ ทังหมดเมื ้ ่อทํางานมากกว่า 5 ปี ขึ ้นไปดังนี ้ อายุงาน อัตราส่ วนที่ได้ รับ น้ อยกว่า 2 ปี จ่ายคืนเฉพาะส่วนของพนักงานพร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 2 – 3 ปี จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 20% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 3 – 4 ปี จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 40% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 4 – 5 ปี จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 70% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน 5 ปี ขึ ้นไป จ่ายคืนส่วนของพนักงานและ 100% ของบริษัทฯ พร้ อมผลประโยชน์จากกองทุน การประกันอุบตั ิเหตุ บริษัทฯ มีการประกันภัยอุบตั ิเหตุเพิ่มเติมนอกเหนือจากกองทุนเงินทดแทนให้ กบั พนักงานทุกคน โดยคุ้มครอง 24 ชัว่ โมง ทัว่ โลก ซึง่ ในปี 2555 มีจํานวนเงินทุนประกันทังสิ ้ ้นมากกว่า 200 ล้ านบาท

ง. การฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ ให้ ความสําคัญด้ านการฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงาน โดยจัดให้ มีการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ทกุ คน พร้ อมจัดให้ มี ระบบ “พี่เลี ้ยง” ให้ กบั พนักงานใหม่ทกุ คน มีเจ้ าหน้ าที่ฝ่ายฝึ กอบรมที่ทํางานด้ านฝึ กอบรมเต็มเวลาสองคน มีการกําหนด งบประมาณเพื่อใช้ ในการฝึ กอบรมพนักงานทุกปี มีการฝึ กอบรมทังด้ ้ านที่เกี่ยวกับงานโดยตรงที่เป็ นการอบรมภายใน และการ อบรมด้ านอื่น ๆ ที่มีการเชิญวิทยากรจากภายนอกมาให้ ความรู้

จ. การจัดให้ มีเครื่ องมือในการทํางานที่ดี บริ ษัทฯ ให้ ความสําคัญกับการให้ พนักงานทํางานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และจัดให้ มีเครื่ องมือในการทํางานที่ดี มี ประสิทธิภาพโดยเฉพาะด้ าน Information Technology ที่เป็ นธุรกิจหลักของบริษัทฯ อยูแ่ ล้ ว เช่น จัดให้ พนักงานทุกคนมี คอมพิวเตอร์ ใช้ งาน และพนักงานที่ทํางานภายนอกบริษัทฯ จะมีคอมพิวเตอร์ แบบโน๊ ตบุ๊คพร้ อมระบบสื่อสารไร้ สายที่สามารถ เชื่อมต่อกับบริ ษัทฯ ได้ ตลอดเวลา พร้ อมกับจัดให้ มีระบบการทํางานแบบ electronic workflow ที่พนักงานทุกคนสามารถ ทํางานผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ได้ ทังในที ้ ่ทํางานและภายนอก รวมไปถึงระบบจัดเก็บข้ อมูลที่ทําให้ พนักงานทุกคนสามารถ เข้ าถึงข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องได้ อย่างรวดเร็ว มีข้อมูลประกอบการทํางานและตัดสินใจได้ ถกู ต้ อง 52 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ฉ. การให้ มีวันหยุดประจําปี ที่เหมาะสม บริษัทฯ กําหนดให้ พนักงานมีวนั หยุดประจําปี และวันลากิจที่สามารถลาได้ รวมปี ละ 12 วัน โดยให้ เริ่มลาได้ ตงแต่ ั ้ บรรจุเข้ า ทํางานโดยไม่ต้องรอให้ ทํางานครบปี และพนักงานที่ไม่ได้ ใช้ วนั ลา เมื่อครบปี บริษัทฯ จะคํานวณจ่ายคืนให้ ตามวันลาที่ไม่ได้ ใช้ ช. การเปิ ดเผยข้ อมูลต่ อพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายและแนวปฏิบตั ิในการเปิ ดเผยข้ อมูลต่อพนักงานมาตังแต่ ้ ต้น มีการเปิ ดให้ พนักงานทุกคนสามารถเข้ าถึง ข้ อมูลต่าง ๆ ของบริษัทฯ ได้ มีการรายงานผลประกอบการในแต่ละเดือนให้ พนักงานรับทราบทุกเดือนเพื่อให้ พนักงานมีข้อมูล ประกอบการตัดสินใจที่ดีและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ซึง่ จากระบบดังกล่าว บริษัทฯ กําหนดให้ พนักงานทุกคนงดการซื ้อขาย หุ้นของบริษัทฯ ระหว่างจบไตรมาสจนถึงวันที่บริ ษัทฯ รายงานผลประกอบการต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เสมอ ซ. ส่ งเสริมให้ พนักงานแสดงความเห็น บริษัทฯ มีกระบวนการส่งเสริมให้ พนักงานทุกคนแสดงความเห็นในทุกเรื่ องอย่างเสรี ทงในแง่ ั้ การแนะนํา หรื อการแจ้ งปั ญหา โดยได้ จดั ให้ มี database ในด้ านนี ้โดยเฉพาะและมีระบบกระตุ้นเตือนให้ พนักงานให้ ข้อมูลอย่างน้ อยเดือนละครัง้ พร้ อมทัง้ เปิ ดให้ สามารถส่งข้ อมูลที่แจ้ งให้ กบั พนักงานที่เกี่ยวข้ องได้ ทนั ที รวมทังเปิ ้ ดให้ พนักงานทุกคนสามารถเข้ าไปดูข้อมูลต่าง ๆ ได้ ซึง่ การให้ ข้อมูล สามารถเลือกได้ ทงแบบเปิ ั้ ดเผยและแบบที่ไม่ต้องการเปิ ดเผยชื่อผู้ให้ ข้อมูล 2. ลูกค้ า บริษัทฯ ตระหนักดีวา่ ลูกค้ าเป็ นผู้มีอปุ การคุณอย่างสูงต่อบริษัทฯ ซึง่ บริษัทฯ มีความมุง่ มัน่ ที่จะตอบสนองความต้ องการของ ้ นและระยะยาวผ่ ้ านความจริงใจในการดําเนินธุรกิจกับลูกค้ า ลูกค้ า และปรารถนาให้ ลกู ค้ าประสบผลสําเร็จในธุรกิจทังระยะสั โดยบริษัทฯ กําหนดแนวทางในการสร้ างความพึงพอใจในระยะสันและยาวกั ้ บลูกค้ าผ่านแนวทางสําคัญ 4 ประการคือ - การให้ ข้อมูลและปฏิบตั ิกบั ลูกค้ าอย่างถูกต้ องแม่นยํา - การมีทรัพยากรอย่างเพียงพอในการปฏิบตั ิงานกับลูกค้ า - การปฏิบตั ิตอ่ ลูกค้ าเสมือนเป็ นหุ้นส่วนการค้ า - การให้ คําแนะนําที่ดีและมีประโยชน์กบั ลูกค้ า รวมทังบริ ้ ษัทฯ เปิ ดให้ ลกู ค้ าสามารถติดต่อผู้บริหารได้ โดยตรงไม่วา่ จะเป็ นการร้ องเรี ยนหรื อแนะนําโดยมีการแจ้ ง email address ที่ลกู ค้ าสามารถใช้ ในการติดต่อโดยตรงรวมทังบริ ้ ษัทฯ มีหน่วยงานที่จดั ตังขึ ้ ้นเพื่อพิจารณาคําร้ องเรี ยนทุกเรื่ อง และ ติดตามแก้ ปัญหาจนจบ นอกจากนี ้ ในการจัดหาสินค้ ามาจําหน่าย บริษัทเน้ นการคัดเลือกสินค้ าที่ผลิตโดยคํานึงถึง ้ วนตัวและองค์กร รวมทังมี ้ การให้ ข้อมูลที่ สิง่ แวดล้ อม เป็ นสินค้ าที่ใช้ งานได้ อย่างปลอดภัยและมีประโยชน์ตอ่ การใช้ งานทังส่ ถูกต้ องและเพียงพอต่อผู้บริโภค มีการให้ บริการหลังการขายที่ดีกบั ลูกค้ า 3. คู่ค้า บริ ษัทฯ กําหนดจรรยาบรรณในการจัดซื ้อจัดจ้ าง เพื่อให้ การดําเนินธุรกิจกับคู่ค้าเป็ นไปอย่างเหมาะสม มีการให้ เกียรติและ ปฏิบตั ิกบั คูค่ ้ าอย่างเป็ นธรรม เสมอภาค บนพื ้นฐานของการได้ รับผลตอบแทนที่เป็ นธรรมทังสองฝ่ ้ าย มีการชําระเงินค่าสินค้ า หรื อบริการให้ กบั คูค่ ้ าตรงตามข้ อตกลง และตระหนักถึงความสําคัญของคูค่ ้ าที่เป็ นส่วนหนึง่ ในความสําเร็จของบริ ษัทฯ ต้ องการให้ คคู่ ้ าเจริญก้ าวหน้ าไปพร้ อมกับบริษัทฯ และเปิ ดโอกาสให้ คคู่ ้ าสามารถร้ องเรี ยนโดยตรงมายังผู้บริหารหรื อ กรรมการอิสระผ่านระบบ group email ที่เผยแพร่ไว้ บน web site หรื อสามารถโทรแจ้ งกับฝ่ ายตรวจสอบภายในได้ โดยตรง หากไม่ได้ รับความเป็ นธรรมในการดําเนินกิจการกับบริษัท 4. Supplier บริษัทฯ ตระหนักถึงการทํางานร่วมกับ Supplier เพื่อให้ ประสบผลสําเร็จร่วมกัน ซึง่ บริษัทฯ ตังมั ้ น่ บนความเชื่อว่า Supplier ทุกรายที่เลือกให้ SiS เป็ นผู้แทนจําหน่าย จะประสบผลสําเร็จในการดําเนินธุรกิจในประเทศไทย เพราะ SiS เป็ นองค์กรที่มี ประสิทธิภาพและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทังในแง่ ้ การมีเครื อข่ายลูกค้ าที่ครอบคลุม การเข้ าใจความต้ องการของตลาด การ มีพนักงานที่มีความสามารถ การลงทุนในระบบที่สามารถเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์ เข้ ากับคอมพิวเตอร์ ของ supplier ้ าย มีการทํางานร่วมกับ Supplier ใน เพื่อให้ มีข้อมูลที่รวดเร็วได้ ซึง่ เป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานของทังสองฝ่ 53 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


การแนะนําสินค้ าและเทคโนโลยีให้ กบั ผู้ใช้ และผู้ประกอบการในประเทศไทย มีการชําระเงินผ่านระบบ electronic เพื่อลด ขันตอน ้ ลดค่าใช้ จ่าย และชําระเงินตรงตามข้ อตกลง โดยบริษัทฯ ยึดมัน่ ในการดําเนินธุรกิจที่ได้ ประโยชน์ร่วมกัน เปิ ดเผย ข้ อมูล ปฏิบตั ิตามข้ อตกลงและกฎหมายอย่างเคร่งครัด 5. เจ้ าหนี้ บริษัทฯ ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้ อตกลงของเจ้ าหนี ้อย่างเคร่งครัด มีการเปิ ดเผยข้ อมูลการดําเนินงานให้ เจ้ าหนี ้ทราบอย่าง ต่อเนื่อง ชําระคืนเงินกู้และดอกเบี ้ยให้ เจ้ าหนี ้เงินกู้ยืมทุกประเภทตามกําหนดเวลา และไม่ใช้ เงินไปในทางที่ขดั ต่อ วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม 6. คู่แข่ ง บริ ษัทฯ เชื่อมันในเรื่ องการแข่งขันเสรี และอย่างเป็ นธรรมโดยเชื่อว่าระบบการแข่งขันเสรี จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพ มีปฏิบตั ิ ต่อคูแ่ ข่งภายใต้ กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่ทําลายชื่อเสียงของคูแ่ ข่ง ไม่กล่าวหาบริษัทฯ ที่เป็ นคูแ่ ข่งด้ วยความไม่สจุ ริ ต ไม่แสวงหาข้ อมูลที่เป็ นความลับของคูแ่ ข่งด้ วยวิธีการที่ไม่สจุ ริตหรื อไม่เหมาะสม และไม่มีการกล่าวร้ ายต่อคูแ่ ข่งในทางที่ทําให้ คูแ่ ข่งเสียหาย 7. สังคมและสิง่ แวดล้ อม ก. ต่อต้ านการทุจริ ต บริษัทฯ เน้ นการดําเนินงานอย่างถูกต้ อง โปร่งใส ต่อต้ านการทุจริ ตทุกรูปแบบ ไม่มีการจ่ายสินบนเพื่อผลประโยชน์ มีนโยบาย ้ ระบบการ ต่อต้ านการทุจริ ตในลักษณะ zero tolerance policy และได้ มีการแจ้ งให้ พนักงานรับทราบถึงนโยบาย พร้ อมทังมี รับแจ้ งเรื่ องทุจริ ตจากผู้เกี่ยวข้ องที่ไม่ต้องเปิ ดเผยชื่อ และมีการรักษาความลับของผู้ร้องเรี ยนอย่างเข้ มงวด ข. การช่วยเหลือสังคม ั้ งสํ ้ านักงานทังในกรุ ้ งเทพฯ บริษัทฯ มีการสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมอาสาที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาชุมชนโดยรอบที่ตงของทั และต่างจังหวัด และร่วมรักษาสภาพแวดล้ อมในชุมชนและสังคมให้ น่าอยู่ สนับสนุนให้ ชมุ ชนและสังคมมีระบบ สาธารณูปโภคพื ้นฐานต่าง ๆ อย่างเพียงพอ และมีการตอบแทนสังคมตามความสามารถในการทํากําไร โดยเน้ นด้ าน การศึกษาและสิ่งแวดล้ อม ซึง่ บริ ษัทฯ มีการกําหนดงบประมาณในการทํางานเพื่อสังคมทุกปี ตามที่ได้ ชี ้แจงรายละเอียดของ โครงการไว้ ใน “ภารกิจต่อสังคม” ค. การเคารพสิทธิมนุษยชนและการปฏิบตั ิตอ่ แรงงานอย่างเป็ นธรรม บริ ษัทฯ ให้ การสนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิมนุษยชน มีการตรวจตราดูแลมิให้ ธุรกิจของตนเข้ าไปมีสว่ นเกี่ยวข้ องกับ การล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน ไม่สนับการบังคับใช้ แรงงาน ต่อต้ านการใช้ แรงงานเด็ก โดยดูแลครอบคลุมไปถึงคู่ค้า ง. สิง่ แวดล้ อม บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการรักษาสภาพแวดล้ อม และกําหนดเป็ นนโยบายของบริษัทฯ ที่จะดําเนินธุรกิจอย่าง รับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้ อม ดูแลป้องกันมิให้ การดําเนินงานของบริ ษัทฯ ก่อให้ เกิดความเสียหายต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน สังคมและสิง่ แวดล้ อม พร้ อมกําหนดแนวทางที่นํามาใช้ ในการปฏิบตั ิงานดังนี ้ I. การจัดหาสินค้ าที่รักษาสิง่ แวดล้ อม บริ ษัทฯ มีการส่งเสริมและจัดหาสินค้ าที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมมาใช้ ถึงแม้ ราคาจะเพิ่มขึ ้น และในทางกลับกัน มีการหา สินค้ าที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมมาจําหน่ายในราคาพิเศษ ที่ไม่แพงขึ ้นหรื อแพงขึ ้นเล็กน้ อย เช่นสินค้ าที่ช่วยประหยัด พลังงาน สินค้ าที่ผลิตภายใต้ มาตรฐานสิง่ แวดล้ อม II. การฝึ กอบรมพนักงานด้ านสิง่ แวดล้ อม มีการบรรจุหลักสูตรด้ านสิง่ แวดล้ อมเข้ าไปในหลักสูตรการฝึ กอบรมพนักงาน ซึง่ จะถือเป็ นส่วนหนึง่ ของหลักสูตรที่ พนักงานต้ องเข้ าไปศึกษาหาความรู้ในระบบ e-learning ของบริษัทฯ III. การประหยัดพลังงาน บริษัทฯ มีการกระตุ้นให้ พนักงานช่วยกันประหยัดพลังงาน มีการเลือกใช้ สนิ ค้ าที่ช่วยประหยัดพลังงาน และปรับวิธีการใช้ งานอุปกรณ์ให้ ช่วยลดพลังงาน เช่นจัดให้ มีสวิตช์ไฟแยกเป็ นส่วน ๆ และกําหนดให้ มีผ้ รู ับผิดชอบในการปิ ดไฟในช่วงพัก 54 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


IV.

เที่ยงและเลิกงาน หรื อเมื่อไม่มีพนักงานทํางานในส่วนนัน้ ๆ เช่นเดียวกับเครื่ องปรับอากาศที่กําหนดให้ มีผ้ รู ับผิดชอบเป็ น ส่วน ๆ เพื่อปรับอุณหภูมิให้ เหมาะสม หรื อปิ ดการใช้ งานถ้ าไม่มีความจําเป็ น โครงการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ มีโครงการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพหลายโครงการ เช่น : Electronic Workflow บริษัทฯ ได้ พฒ ั นาระบบ electronic workflow เพื่อทดแทนแบบฟอร์ มและการขออนุมตั ิตา่ ง ๆ มามากกว่า 10 ปี จน ปั จจุบนั มี workflow ที่ใช้ ช่วยการดําเนินการมากกว่า 100 ระบบ ซึง่ การพัฒนา electronic workflow นี ้ นอกจากจะช่วย เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน เพราะมีระบบเตือนให้ อนุมตั ิทาง email พร้ อมกับการให้ ตรวจสอบขันตอนได้ ้ ตาม กําหนดเวลาแล้ ว ยังสามารถช่วยประหยัดกระดาษได้ มาก โดยบริษัทฯ ยังคงพัฒนา workflow เพิ่มขึ ้นเรื่ อย ๆ เพื่อ ทดแทนขันตอนปกติ ้ ที่ต้องใช้ กระดาษ Print and Pick เมื่อพบว่ามีพนักงานสัง่ พิมพ์ แล้ วไม่ได้ รับเอกสาร ทําให้ ต้องทิ ้งเอกสารเหล่านี ้ทุกวันและมีจํานวนมากขึ ้น บริ ษัทฯ เปลี่ยนเครื่ องพิมพ์ให้ เป็ นระบบเก็บข้ อมูลลงใน Hard Disk โดยยังไม่พิมพ์ออกมา แล้ วให้ ผ้ สู งั่ พิมพ์ป้อนรหัสขณะที่ ต้ องการรับเอกสาร เครื่ องจึงพิมพ์เอกสารออกมาให้ ทําให้ ลดการศูนย์เสียกระดาษที่พิมพ์แล้ วไม่มารับได้ 100% การใช้ Fax Server บริษัทฯ พบว่าเมื่อได้ รับแฟกซ์ที่ลกู ค้ าส่งมาให้ แล้ วต้ องทิ ้งกระดาษเหล่านันจํ ้ านวนมากทุกวัน จึงมีการติดตัง้ fax server ที่จะเปลี่ยนแฟกซ์ให้ อยูใ่ นรูป electronic แล้ วมีระบบเตือนแจ้ งให้ ผ้ รู ับทราบ สามารถเข้ าไปดูแฟกซ์ผา่ นระบบ electronic ได้ ทําให้ ประหยัดกระดาษและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานขึ ้นได้ มาก เพราะทุกคนสามารถตรวจสอบ แฟกซ์ด้วยตนเองได้ ผา่ นคอมพิวเตอร์ ของแต่ละคนโดยไม่ต้องเดินไปที่เครื่ องแฟกซ์และเป็ นการประหยัดกระดาษได้ มาก เช่นเดียวกับการส่ง ที่สามารถส่งแฟกซ์ผา่ นคอมพิวเตอร์ ได้ โดยไม่ต้องพิมพ์ออกมาก่อน Scan to email นอกจากการส่งแฟกซ์ผา่ นคอมพิวเตอร์ โดยไม่ต้องพิมพ์ออกมาก่อน บริษัทฯ ติดตังเครื ้ ่ อง scan ที่สามารถ scan แล้ วส่ง email ให้ ผ้ รู ับได้ ทนั ที แทนการส่งแฟกซ์ซงึ่ จะช่วยด้ านรับให้ ไม่ต้องพิมพ์ออกมาบนกระดาษ ซึง่ ช่วยลดค่าใช้ จ่ายและเป็ น มิตรต่อสภาพแวดล้ อม Video Conferencing บริษัทฯ ลดการเดินทางของพนักงานประจําศูนย์ตา่ งจังหวัดด้ วยการใช้ ระบบการประชุมทางไกล ที่จดั ให้ มีการประชุม ระหว่างสํานักงานใหญ่กบั สาขาต่าง ๆ ได้ ด้วยระบบ Video Conferencing ที่สามารถประชุมร่วมกันได้ และเห็นภาพ ผ่านจอคอมพิวเตอร์ ถงึ แม้ จะอยู่คนละสถานที่ เป็ นการประหยัดพลังงานและเวลาที่จะต้ องเดินทางมาประชุม ให้ ลูกค้ าชําระเงินผ่ านระบบ electronic เพื่อลดการใช้ นํ ้ามันในการเดินทางเพื่อวางบิลซึง่ จะช่วยลดความคับคัง่ ด้ านจราจรลงด้ วย บริษัทฯ ได้ จดั ให้ มีการชําระเงิน ผ่าน internet โดยร่วมมือกับธนาคาร 4 แห่ง โดยให้ ลกู ค้ าสามารถเข้ าไปเช็ครายการที่ยงั ไม่ชําระผ่านระบบของธนาคาร และเลือกชําระรายการที่ถงึ กําหนดได้ และเริ่มประชาสัมพันธ์ให้ ลกู ค้ าเข้ ามาใช้ ระบบนี ้ซึง่ ก็ได้ รับความร่วมมือมากขึ ้น เรื่ อย ๆ โดยระบบนี ้ จะลดขันตอนการวางบิ ้ ล เก็บเช็ค การส่งเช็คไปธนาคาร ฯลฯ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อมเพราะช่วยลด การเดินทาง ประหยัดนํ ้ามัน และลดการใช้ เช็คลงได้

การประชุมผู้ถือหุ้น สําหรับผลการดําเนินงานงวด 1 มกราคม 2555 ถึง 31 ธันวาคม 2555 บริษัทฯ กําหนดวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี ครัง้ ที่ 1/2556 ในวันศุกร์ ที่ 26 เมษายน 2556 โดยกรรมการบริษัทฯ กรรมการตรวจสอบ และผู้บริหารบางส่วนของบริ ษัทฯ จะเข้ าร่วม ประชุมผู้ถือหุ้นดังกล่าว และประธานในที่ประชุมจะจัดสรรเวลาอย่างเหมาะสมเพื่อเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นได้ ซกั ถามและแสดง ความเห็นต่อที่ประชุม รวมทังสอบถามข้ ้ อสงสัยต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ในที่ประชุมตามวาระที่กําหนดไว้ รวมทังจะมี ้ การ บันทึกประเด็นซักถามและข้ อคิดเห็นที่สําคัญไว้ ในรายงานการประชุมอย่างครบถ้ วนและจะมีการสรุปการลงมตินบั คะแนนเสียง เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถตรวจสอบได้ บริษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นเสนอวาระการประชุมหรื อส่งคําถามเกี่ยวกับบริษัทฯ ล่วงหน้ าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น 55 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ได้ ผา่ นทาง web site ของบริษัทฯ www.sisthai.comภายใต้ หวั ข้ อ Investor Relations และหัวข้ อย่อย “การเสนอวาระประชุม” ที่ ให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเข้ าไปดูหลักเกณฑ์ในการเสนอเรื่ องเพื่อพิจารณาเป็ นวาระการประชุม, การเสนอชื่อผู้เข้ ารับการเลือกตังเป็ ้ น กรรมการ รวมไปถึงแบบเสนอเรื่ องเพื่อบรรจุเป็ นวาระประชุมผู้ถือหุ้นประจําปี รวมไปถึงสามารถดาวน์โหลดหนังสือเชิญประชุมผู้ ถือหุ้นจาก www.sisthai.com ได้ ในการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 1/2556 ที่จะจัดให้ มีขึ ้นในวันศุกร์ ที่ 26 เมษายน 2556 นัน้ บริษัทฯ จะจัด ให้ มีการลงทะเบียนผู้เข้ าร่วมประชุมด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ผ้ ถู ือหุ้นพร้ อมจัดพิมพ์บตั รลงคะแนน สําหรับแต่ละวาระให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น เพื่อใช้ ในการลงคะแนน ซึง่ ก่อนเริ่มประชุม ประธานกรรมการจะชี ้แจงวิธีการลงคะแนนและนับ คะแนน ซึง่ บริษัทฯ จะใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยในการลงคะแนน ซึง่ จะสรุปผลคะแนนทุกขันตอนอย่ ้ างชัดเจนในห้ องประชุม นอกจากนี ้ ในกรณีที่ผ้ ถู ือหุ้นไม่สามารถเข้ าร่วมประชุมได้ บริษัทฯ เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ถู ือหุ้นมอบฉันทะให้ บคุ คลอื่น กรรมการอิสระ กรรมการผู้จดั การ หรื อเลขานุการบริ ษัทฯ เข้ าร่วมประชุมแทนได้ ภาวะผู้นําและวิสัยทัศน์ ของคณะกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้ วยผู้มีประสบการณ์ในหลาย ๆ สาขา ที่สามารถนํามาใช้ ประโยชน์ในธุรกิจ มีวิสยั ทัศน์ และมีความเป็ น อิสระในการตัดสินใจเพื่อประโยชน์สงู สุดของบริ ษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวม คณะกรรมการมีสว่ นในการร่วมกําหนดและให้ ความ เห็นชอบในเรื่ องวิสยั ทัศน์ ยุทธวิธี เป้าหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริ ษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแลให้ ฝ่ายจัดการดําเนินการ ให้ เป็ นไปตามแผนงานและงบประมาณที่กําหนดไว้ รวมทังติ ้ ดตามผลการดําเนินงานทุกเดือน ดูแลให้ มีการปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้ อบังคับต่าง ๆ ของหน่วยงานที่กํากับดูแล และหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ อง และให้ เป็ นไปตามมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทฯ โดยกรรมการผู้จดั การ มีการสื่อสารกลยุทธ์ เป้าหมาย สถานการณ์ และผลการดําเนินงาน ้ ้นทุกเดือน พร้ อม ของบริษัทฯ ให้ ผ้ บู ริ หารและพนักงานทุกคนได้ รับทราบในที่ประชุมรวม ที่บริษัทฯ จัดประชุมพนักงานทังหมดขึ แจ้ งทิศทางการดําเนินงานในเดือนถัดไป คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ กําหนดให้ มีการจัดทําแผนการพัฒนาและสืบทอดงานของกรรมการผู้จดั การและผู้บริหาร ระดับสูง เพื่อเตรี ยมความพร้ อมอย่างต่อเนื่อง กรณีที่กรรมการผู้จดั การและผู้บริ หารระดับสูงไม่สามารถปฏิบตั ิหน้ าที่ได้ ข้ อกําหนดและนิยามกรรมการอิสระ

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่เป็ นอิสระในการตัดสินใจ ไม่เป็ นผู้ที่เกี่ยวข้ องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้บริ หาร และ ผู้เกี่ยวข้ อง ของ บริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เพื่อดูแลผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่าง เท่าเทียมกัน โดยมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี ้  ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละหนึ่งของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทังหมดของบริ ้ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัท ทังนี ้ ้ ให้ นบั รวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้ องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้ วย

 ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นกรรมการที่มีส่วนร่ วมบริ หารงาน ลูกจ้ าง พนักงาน หรื อที่ปรึ กษาที่ได้ เงินเดือนประจําจากบริ ษัท หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม บริ ษัทย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิติบคุ คลที่อาจมี ความขัดแย้ ง ทั้งในปั จจุบนั และ 2 ปี ก่อนหน้ าที่จะรับตําแหน่งกรรมการอิสระ  ไม่เป็ นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ ทางสายโลหิตหรื อโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็ น บิดามารดา คู่ สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท หรื อ บุคคลที่จะได้ รับการเสนอให้ เป็ นผู้บริ หารหรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัทหรื อบริ ษัทย่อย  ไม่มีหรื อเคยมีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจ ควบคุมของบริ ษัท ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้ วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็ นหรื อเคย เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนัยหรื อผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัท ร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่า สองปี ก่อนรับตําแหน่งเป็ นกรรมการอิสระ  ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้สอบบัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุม ของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนผู้จัดการของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผ้ สู อบ 56 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


  

บัญชีของบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท สังกัดอยู่ เว้ น แต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนรับตําแหน่งเป็ นกรรมการอิสระ ไม่เป็ นหรื อเคยเป็ นผู้ให้ บริ การทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้ บริ การเป็ นที่ปรึ กษากฎหมายหรื อที่ปรึ กษาทางการ เงิน ซึง่ ได้ รับค่าบริ การเกินกว่าสองล้ านบาทต่อปี จากบริ ษัท บริ ษัทใหญ่ บริ ษัทย่อย บริ ษัทร่ วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อ ผู้มีอํานาจควบคุมของบริ ษัท และไม่เป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั ผู้มีอํานาจควบคุม หรื อหุ้นส่วนผู้จดั การของผู้ให้ บริ การทาง วิชาชีพนั ้นด้ วย เว้ นแต่จะได้ พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้ วไม่น้อยกว่าสองปี ก่อนรับตําแหน่งกรรมการอิสระ ไม่เป็ นกรรมการที่ได้ รับการแต่งตั้งขึ ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริ ษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อผู้ถือหุ้นซึ่งเป็ น ผู้เกี่ยวข้ องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันที่เป็ นนัยกับกิจการของบริ ษัท หรื อเข้ าเป็ นหุ้นส่วนใน ห้ างหุ้นส่วน หรื อเป็ นผู้ถือหุ้นที่มีนยั หรื อเป็ นกรรมการของบริ ษัทอื่นซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและ เป็ นการแข่งขันที่เป็ นนัยกับกิจการของบริ ษัท ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทําให้ ไม่สามารถให้ ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริ ษัท

การพัฒนากรรมการ บริ ษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาความรู้ของกรรมการ ซึ่งได้ กําหนดให้ เป็ นหนึ่งในหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ บริ ษัทฯ โดยมีการส่งเสริ ม และอํานวยความสะดวกให้ กรรมการได้ รับการฝึ กอบรมด้ านต่าง ๆ ตลอดมา ทังจากหน่ ้ วยงานกํากับ ดูแลที่เกี่ยวข้ องและจากหน่วยงานอื่นอย่างสมํ่าเสมอผ่านเลขานุการบริษัทฯ การฝึ กอบรมของกรรมการ บริษัทฯ มีกรรมการรวม 7 ท่าน โดยแบ่งเป็ นกรรมการที่เป็ นชาวต่างประเทศ 2 ท่าน และกรรมการที่มีสญ ั ชาติไทย 5 ท่าน กรรมการ 6 ท่าน ผ่านการอบรม Director Certification Program (DCP) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) กรรมการทัง้ 7 ท่าน มีประสบการณ์ด้านการเงินมากกว่า 10 ปี และกรรมการตรวจสอบ ซึง่ เป็ นกรรมการอิสระทัง้ 3 ท่าน ได้ ผ่าน การฝึ กอบรม Audit Committee Program จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)ในปี 2555 มีการเข้ ารับการ ฝึ กอบรมของกรรมการดังนี ้ นายสุวิทย์ จินดาสงวน – ประธานกรรมการ (กรรมการอิสระ) - Directors Forum 2/2012 "Risk Oversight VS Risk Management: Whose Role is it?" - Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ – ประธานกรรมการตรวจสอบ (กรรมการอิสระ) - How to Develop a Risk Management Plan (HRP) นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ – กรรมการผู้จดั การ - IOD Breakfast Talk 1/2012 "Asian Business Models in Transformation" นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ – กรรมการบริหาร - Successful Formulation and Execution of Strategy (SFE) การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เมื่อมีกรรมการใหม่ จะมีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ โดยคณะกรรมการบริษัทฯ ได้ มอบให้ เลขานุการบริษัทฯ และกรรมการ ผู้จดั การ สรุปข้ อมูลต่าง ๆ ให้ กรรมการใหม่ได้ รับทราบ พร้ อมทังมอบข้ ้ อมูลต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์รวมไปถึงบันทึกการประชุม ต่าง ๆ ที่ผา่ นมา กําหนดให้ กรรมการใหม่เข้ าเยี่ยมชมกิจการ เพื่อให้ เข้ าใจถึงอุตสาหกรรมและการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมถึง การชี ้แจงลักษณะธุรกิจ กลยุทธ์ในการดําเนินงานจากกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร ทังนี ้ ้ ในปี 2555บริ ษัทฯ ไม่มี กรรมการใหม่

57 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ มีโครงสร้ างกรรมการที่เป็ นอิสระต่อการดําเนินงาน โดยมีกรรมการอิสระ 3 ใน 7 คน (42.9%) มีกรรมการที่เป็ นตัวแทนผู้ ถือหุ้นรายใหญ่ 2 ใน 7 คน (28.6%) และมีกรรมการที่เป็ นผู้บริ หาร 2 ใน 7 คน (28.6%) จึงมีความเป็ นอิสระในการดําเนินงาน ้ การกําหนดนโยบายและมีวิธีการดูแลไม่ให้ และได้ ดแู ลรายการที่อาจเกิดความขัดแย้ งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบรวมทังมี ผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้ องนําข้ อมูลภายในของบริษัทฯ ไปใช้ เพื่อประโยชน์สว่ นตนดังนี ้ 1. คณะกรรมการได้ รับทราบและมีการตรวจสอบรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์และรายการที่เกี่ยวโยง กัน รวมทังมี ้ การปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทํารายการกับ บุคคลภายนอก และได้ เปิ ดเผยรายละเอียดไว้ ในรายงานประจําปี และแบบ 56-1 2. ในการประชุมคณะกรรมการในวาระที่กรรมการมีสว่ นได้ เสีย หรื อมีผลประโยชน์เกี่ยวข้ อง ก่อนการพิจารณา กรรมการที่มีสว่ นได้ เสียจะออกจากที่ประชุมเพื่อให้ ที่ประชุมได้ อภิปรายกันอย่างอิสระ 3. บริษัทฯ มีการกํากับดูแลเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายในองค์กร โดยกําหนดให้ ผ้ บู ริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย์ตอ่ สํานักงานคณะกรรมการ กลต. ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และห้ ามพนักงานทุก ้ ่องจากบริษัทฯ มีการดําเนิน ท่านเปิ ดเผยข้ อมูลภายในแก่บคุ คลภายนอกหรื อบุคคลที่ไม่มีหน้ าที่เกี่ยวข้ อง รวมทังเนื กิจการในรูปแบบที่เปิ ดเผยข้ อมูลให้ กบั พนักงานทุกท่านมาตลอด จึงมีการห้ ามพนักงานทุกท่านซื ้อ-ขาย หุ้นของบริษัทฯ เมื่อจบไตรมาสจนกว่าบริษัทฯ จะส่งผลประกอบการให้ ตลาดหลักทรัพย์ฯ จริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมัน่ การดําเนินธุรกิจด้ วยความโปร่งใส สุจริ ต และยึดถือความเป็ นธรรมในการดําเนินธุรกิจโดยให้ ผ้ บู ริ หารและหัวหน้ า งานปฏิบตั ิเป็ นตัวอย่าง ซึง่ ได้ มีการประกาศแนวทางปฏิบตั ิให้ กบั พนักงานนําไปปฏิบตั ิมาโดยตลอด และเพื่อให้ เป็ นรูปธรรมมาก ขึ ้น บริษัทฯ จะรวบรวมแนวทางที่ประกาศไปแล้ วทังหมด ้ เพื่อจัดทําเป็ นคูม่ ือจรรยาบรรณเพื่อแจกให้ กบั พนักงานทุกคน รวมทัง้ กําหนดให้ อยูใ่ นรายการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ รวมทังมี ้ การชี ้แจงในที่ประชุมประจําปี ทุกปี โดยมีการให้ หวั หน้ างานเป็ นผู้ดแู ลให้ พนักงานมีการปฏิบตั ิงานอย่างสุจริ ต และปฏิบตั ิตามแนวจรรยาบรรณของบริษัทฯ การถ่ วงดุลของกรรมการที่ไม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการ กรรมการของบริ ษัทฯ มีทงสิ ั ้ ้น 7 ท่าน และกําหนดให้ มีกรรมการอิสระมากกว่า 1/3 ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์ ฯ ได้ กําหนดไว้ โดยแบ่งกรรมการออกเป็ นประเภทดังนี ้ ประเภทกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร

จํานวน 3 2 2

อัตราส่ วน 42.9% 28.6% 28.6%

ทังนี ้ ้ บริษัทฯ กําหนดนโยบายการไปดํารงตําแหน่งกรรมการที่บริ ษัทอื่นที่เป็ นบริ ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ จํานวน ไม่เกิน 5 บริษัทฯ ซึง่ เป็ นไปตามข้ อแนะนําของตลาดหลักทรัพย์แหง่ประเทศไทย

58 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่าน ซึง่ ทัง้ 3 ท่าน เป็ นกรรมการอิสระ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ประกอบด้ วยกรรมการ 4 ท่าน โดยมีกรรมการอิสระเป็ นประธานกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน และมีสดั ส่วนของกรรมการทังหมดดั ้ งนี ้ จํานวน อัตราส่ วน ประเภทกรรมการ 2 50% กรรมการอิสระ 1 25% กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 25% กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร บทบาทและหน้ าที่กรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน มีหน้ าที่เสนอแนะต่อคณะกรรมการบริษัท ในเรื่ องค่าตอบแทนของกรรมการและ ผู้บริ หารระดับสูง และแผนสืบทอดงานในตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง นอกจากวัตถุประสงค์ข้างต้ น คณะกรรมการยังมีอํานาจและ หน้ าที่ตามวัตถุประสงค์ตอ่ ไปนี ้ 1. เพื่อทบทวน, กําหนด และให้ ความเห็นเกี่ยวกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ประจําปี ขององค์กรที่เกี่ยวกับค่าตอบแทนของ กรรมการและผู้บริ หารระดับสูง กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริ หาร และประเมินผลงานของกรรมการและผู้บริ หาร ระดับสูง เปรี ยบเทียบกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์ประจําปี เพื่อนํามาใช้ เป็ นฐานในการกําหนดค่าตอบแทนรายปี ของ กรรมการ กรรมการผู้จดั การ กรรมการบริ หารที่ประกอบด้ วยค่าตอบแทนรายเดือน ค่าเบี ้ยประชุม และค่าตอบแทนด้ าน แรงจูงใจอื่นๆ 2. เพื่อศึกษา และทบทวนแผนการให้ ค่าตอบแทนในรูปแบบของหุ้น และให้ ข้อเสนอแนะการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับแผนการ ดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัทเมื่อมีความจําเป็ น 3. จัดเตรี ยมหลักการ และหลักเกณฑ์การสรรหา ประเมิน คัดเลือก สนับสนุน และการปลดออก รวมถึงการเสนอชื่อ กรรมการ กรรมการบริ หาร กรรมการผู้จัดการ สําหรับตําแหน่งที่ว่างและพัฒนาแผนการสืบทอดตําแหน่งผู้บริ หาร ระดับสูง ในบริษัท และ/หรื อ บริษัทย่อย และ/หรื อ บริษัทร่วม 4. สรรหา ประเมิน คัดเลือก เสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสม มีความสามารถ และคุณสมบัติตรงตามหลักเกณฑ์สําหรับตําแหน่ง กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผู้จดั การ ตามเงื่อนไขการดํารงตําแหน่งที่วา่ งของบริ ษัท และ/หรื อ บริ ษัทย่อย และ/ ้ กเสนอโดยกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ไปยัง หรื อ บริ ษัทร่ วม ซึ่งบัญชีรายชื่อผู้ที่ถกู เสนอเพื่อเลือกตังจะถู คณะกรรมการบริษัท เพื่ออนุมตั ิ และ/หรื อ เสนอต่อที่ผ้ ชู มุ ผู้ถือหุ้น เพื่ออนุมตั ิ 5. ทําการจัดเตรี ยมและเผยแพร่ ต่อสาธารณะ เกี่ยวกับการรายงานค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริ หารระดับสูงประจําปี รวมถึงการสรรหา ในรู ปแบบของ proxy statement โดยประธานคณะกรรมการมีหน้ าที่นําเสนอรายงานการกําหนด ค่า ตอบแทนรายปี และนโยบายค่า ตอบแทนต่อ คณะกรรมการบริ ษั ท และจัดทํ า รายงานหรื อ เปิ ดเผยรายงานการ ดําเนินงานของคณะกรรมการไว้ ในรายงานประจําปี

59 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง ประกอบด้ วยกรรมการ 3 ท่าน โดยมีกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหารเป็ นประธาน และมีสดั ส่วนขอกรรมการทังหมดดั ้ งนี ้ จํานวน 1 1 1

ประเภทกรรมการ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร กรรมการอิสระ กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร

อัตราส่ วน 33.33% 33.33% 33.33%

การแยกตําแหน่ งประธานกรรมการ และ กรรมการผู้จัดการออกจากกัน บริษัทฯ ได้ แยกตําแหน่งประธานกรรมการ และ กรรมการผู้จดั การออกจากกัน เพื่อให้ มีการคานอํานาจซึง่ กันและกัน มีการสอบ ทานการบริหารงานได้ อย่างโปร่งใส โดยประธานกรรมการเป็ นผู้นําฝ่ ายนโยบาย ควบคุมการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ มี ประสิทธิภาพ สนับสนุนและผลักดันให้ กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการประชุม สนับสนุนให้ มีการดําเนินธุรกิจตามนโยบาย ผ่าน กรรมการผู้จดั การที่เป็ นผู้นําฝ่ ายบริหาร ทังนี ้ ้ มีการร่วมกันจัดวางนโยบาย งบประมาณ และแผนการดําเนินงานอย่างใกล้ ชิด บริษัทฯ กําหนดให้ ผ้ ดู ํารงตําแหน่งประธานกรรมการ เป็ นกรรมการอิสระ การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ กําหนดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทโดยทุกการประชุมมีการกําหนดวาระการประชุมเพื่อทราบและเพื่อพิจารณา อย่างชัดเจน มีการติดตามผลการดําเนินงานเป็ นประจํา มีเอกสารประกอบการประชุมครบถ้ วนและมีการส่งให้ คณะกรรมการ ล่วงหน้ าก่อนการประชุม ในวาระการประชุมที่กรรมการใดมีสว่ นได้ สว่ นเสีย หรื อมีผลประโยชน์เกี่ยวข้ องก่อนการพิจารณา กรรมการที่มีสว่ นได้ สว่ นเสีย จะออกจากที่ประชุมเพื่อให้ สามารถอภิปรายได้ อย่างอิสระ และได้ มีการเชิญผู้บริหารเข้ าร่วมประชุม เป็ นบางครัง้ เพื่อชี ้แจงข้ อมูลเพิ่มเติม, ร่วมหารื อเพื่อหาแนวทางแก้ ไขรวมถึงตอบข้ อซักถามในกรณีตา่ งๆ รวมทังการประชุ ้ ม กรรมการ มีช่วงการประชุมช่วงแรกที่เปิ ดโอกาสให้ กรรมการประชุมกันเองโดยไม่มีกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริ หารด้ วยทุก ครัง้ โดยมีรายละเอียดการเข้ าร่วมประชุมดังนี ้

รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

ประชุม กรรมการ

1. นายสุวิทย์ จินดาสงวน 2. นายสมชาย ศิริวิชยกุล 3. ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ 4. นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ 5. นายสมบัติ ปั งศรี นนท์ 6. นายลิม ฮวี ไฮ 7. นายลิม เคีย ฮอง

5/5 4/5 5/5 5/5 5/5 4/5 4/5

ประชุมกรรมการ สรรหาและ ประชุมกรรมการ กําหนด ตรวจสอบ ค่ าตอบแทน

12/12 12/12 12/12

2/2 2/2 2/2 2/2

หมายเหตุ : ข้ อมูลที่แสดงในรูปแบบ X/Y X คือจํานวนครัง้ ที่เข้ าประชุม และ Y คือจํานวนครัง้ ที่จดั ประชุม

60 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

ประชุม กรรมการบริหาร ความเสี่ยง

2/2 2/2 2/2

ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น 2554

รวม

1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1

18/18 19/20 22/22 8/8 8/8 9/10 5/6


การให้ กรรมการประเมินการปฏิบัตงิ านของตนเอง เพื่อให้ คณะกรรมการได้ พิจารณาและทบทวนผลงานและการปฏิบตั ิงาน คณะกรรมการมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของปี ที่ ผ่านมาด้ วยตนเองเป็ นประจําทุกปี เพื่อนํามาแก้ ไขและปรับปรุงการดําเนินงานให้ ดียิ่งขึ ้น โดยใช้ แนวทางจากแบบประเมินที่เสนอ โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาเป็ นหลักในการประเมิน สําหรับกรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร จะมีการประเมินโดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนแยก ต่างหากโดยแบ่งการประเมินออกเป็ น 3 หมวดคือหมวดการปฏิบตั ิตามยุทธวิธีที่กําหนดไว้ (สัดส่วน 20%), หมวด Operation & Corporate Governance (สัดส่วน 20%) เมื่อเทียบกับเป้าหมายที่กําหนดไว้ และหมวดผลประกอบการ (สัดส่วน 60%) เมื่อเทียบ กับอุตสาหกรรมและนําผลการประเมินนี ้ไปกําหนดผลตอบแทนให้ กบั กรรมการผู้จดั การและกรรมการบริหาร ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการได้ จดั ให้ มีระบบการควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพในทุกด้ าน ทังการดํ ้ าเนินงานให้ เป็ นไปตามกฎหมายหรื อ ข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ องทางด้ านการเงิน ด้ านการปฏิบตั ิงาน การดูแลทรัพย์สนิ ให้ มีการนําไปใช้ งานในกิจการของบริ ษัทฯ อย่าง เหมาะสม รวมไปถึงคณะกรรมการตรวจสอบ ได้ มีการปฏิบตั ิงานร่วมกับฝ่ ายกํากับและตรวจสอบ ในการจัดให้ มีการตรวจสอบ ภายในที่ครอบคลุมด้ านต่าง ๆ 8 ด้ านคือ 1) การขายสินค้ า 2) ด้ านลูกหนี ้การค้ าและเครดิต 3) ด้ านสินค้ าคงคลัง 4) ด้ านจัดซื ้อ และนําเข้ า 5) ด้ านเจ้ าหนี ้/ค่าใช้ จ่าย 6) ด้ านงานซ่อมและบริการ 7) ด้ านสินทรัพย์ถาวร 8) ด้ านการเงินและบัญชี โดย คณะกรรมการตรวจสอบ มีการทบทวนผลการตรวจสอบกับฝ่ ายกํากับและตรวจสอบทุกเดือน ซึง่ คณะกรรมการมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและเพียงพอ การมีส่วนร่ วมในระบบกํากับดูแลกิจการ บริษัทฯ มีการพัฒนาและปรับปรุงกลไกในการให้ ผ้ มู ีสว่ นได้ เสียเข้ ามามีสว่ นร่วมในระบบกํากับดูแลกิจการ มีการเปิ ดเผยข้ อมูล อย่างโปร่งใส เปิ ดโอกาสให้ ลกู ค้ าแนะนําหรื อร้ องเรี ยนผ่าน complain@sisthai.comและนักลงทุน ผ่าน email investorinfo@sisthai.com โดยบริษัทฯ จัดให้ มีคณะทํางานพิจารณาเรื่ องที่มีการร้ องเรี ยนหรื อแนะนํามาทุกเรื่ อง พร้ อมระบบ จัดเก็บข้ อมูลเพื่อติดตามเรื่ องที่มีการแนะนําเข้ ามาอย่างเป็ นระบบ การดูแลเรื่ องการใช้ ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายห้ ามกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนในการนําข้ อมูลภายในเกี่ยวกับฐานะและผลการดําเนินงานของ บริ ษัทซึง่ ยังไม่เปิ ดเผยต่อสาธารณชนไปใช้ ในการซื ้อขายหลักทรัพย์ รวมทังเพื ้ ่อแสวงหาประโยชน์สว่ นตัวอื่น ๆ ทังนี ้ ้บริ ษัทฯ ได้ แจ้ ง ให้ กรรมการ ผู้บริหาร รวมทังคู ้ ส่ มรสและบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ ตลอดจนบุคคลที่เกี่ยวข้ องตามมาตรา 258 แห่ง พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ของบุคคลดังกล่าวได้ เข้ าใจถึงภาระหน้ าที่ในการรายงานการถือครอง หลักทรัพย์ของบริษัทฯ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ตอ่ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ภายใน 3 วันตามมาตรา 59 และบทลงโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 นอกจากนี ้ ยังให้ มีการรายงานหลักทรัพย์ในรายงานประจําปี ทุกครัง้ นอกเหนือจากนี ้ บริษัทฯ ได้ มีข้อห้ าม ไม่ให้ พนักงานอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ผ้ บู ริหารปฏิบตั ิตามแนวทางเดียวกันกับผู้บริหารใน การงดซื ้อขายหลักทรัพย์ก่อนที่งบการเงินจะเผยแพร่ตอ่ สาธารณะชน โดยในช่วงเวลาดังกล่าว หากพนักงานมีความจําเป็ นจะต้ อง ซื ้อขายหลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ จะต้ องแจ้ งให้ ฝ่ายกํากับและตรวจสอบทราบถึงเหตุผลก่อนซื ้อขาย และจะต้ องให้ มีการอนุมตั ิจาก ฝ่ ายจัดการก่อน จึงจะสามารถซื ้อขายได้ เพื่อให้ พนักงานระลึกถึงข้ อปฏิบตั ินี ้ บริษัทฯ ได้ สง่ อีเมล์ให้ พนักงานทุกคนรับทราบถึงข้ อปฏิบตั ิทกุ ไตรมาส

61 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ แต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบ ้ ซึง่ ประกอบด้ วยกรรมการอิสระที่ไม่ได้ เป็ นผู้บริหาร 3 ท่าน เป็ นผู้ดแู ล รับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และแต่งตังคณะกรรมการสรรหาและกํ ้ าหนด ค่าตอบแทน ซึง่ ประกอบด้ วยกรรมการอิสระ 2 ท่าน กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน กรรมการที่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน โดยมี กรรมการอิสระเป็ นประธาน เป็ นผู้ดแู ลการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนให้ ผ้ บู ริ หาร และแต่งตังคณะกรรมการบริ ้ หารความเสี่ยง ซึง่ ประกอบด้ วย กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน กรรมการอิสระ 1 ท่าน และกรรมการที่เป็ นผู้บริหาร 1 ท่าน เพื่อสอบทานและ ควบคุมความเสี่ยงขององค์กร ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบและรายงานของ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน อันแสดงไว้ ในรายงานประจําปี ฉบับนี ้แล้ ว การให้ กรรมการและผู้บริหารเปิ ดเผยการซือ้ ขายหุ้น เพื่อให้ เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ กําหนดให้ ผ้ บู ริหารและกรรมการทุกท่าน เปิ ดเผยและรายงานการซื ้อ-ขาย หลักทรัพย์ของบริ ษัทฯ ให้ ที่ประชุมกรรมการทราบทุกครัง้ โดยบรรจุเรื่ องการรายงานการซื ้อ-ขายนี ้ เป็ นหนึง่ ในวาระการประชุม ประจําไตรมาส รายงานการมีส่วนได้ เสียของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ กําหนดให้ กรรมการและผู้บริหารทุกคนต้ องรายงานให้ บริ ษัทฯ ทราบถึงการมีสว่ นได้ เสียของตนหรื อของบุคคลที่มีความ เกี่ยวข้ อง ซึง่ เป็ นส่วนได้ เสียที่เกี่ยวข้ องกับการบริ หารการจัดการของบริษัทฯ หรื อบริษัทย่อย ทังนี ้ ้ เพื่อให้ บริษัทฯ มีข้อมูล ประกอบการดําเนินการตามข้ อกําหนดเกี่ยวกับการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันซึง่ เป็ นรายการที่อาจก่อนให้ เกิดความขัดแย้ งทาง ผลประโยชน์และอาจนําไปสูก่ ารถ่ายผลประโยชน์ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ ซึง่ เป็ นไปตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุน ที่ ั ้ านักงานใหญ่ ทจ. 2/2552 โดยบริษัทฯ กําหนดให้ เลขานุการบริ ษัทฯ มีหน้ าที่ในการจัดเก็บแบบรายงานการมีสว่ นได้ เสีย ณ ที่ตงสํ และนําสําเนาแบบรายงานการมีสว่ นได้ เสียต่อประธานคณะกรรมการบริษัทฯ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบภายใน 7 วัน นับจากวันที่ได้ รับแจ้ งจากผู้มีหน้ าที่แจ้ งรายงานการมีสว่ นได้ เสีย ความสัมพันธ์ กับผู้ลงทุน ้ นและข้ อมูลทัว่ ไปให้ มีความถูกต้ อง ทันเวลาและ คณะกรรมการบริษัทให้ ความสําคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลทังรายงานทางการเงิ โปร่งใส โดยบริ ษัทฯ จัดให้ มีหวั ข้ อ Investor Relations ใน website ของบริษัทฯ (www.sisthai.com) เพื่อสื่อสารกับนักลงทุนและ ผู้ที่สนใจโดยเฉพาะ โดยมีการเปิ ดเผยข้ อมูลต่าง ๆ ในหน้ าดังกล่าว รวมไปถึงการเปิ ดให้ ผ้ สู นใจสามารถสอบถามข้ อสงสัยต่าง ๆ ทาง email หรื อทางโทรศัพท์ได้ และการเปิ ดโอกาสให้ มีการเยี่ยมชมกิจการและสอบถามข้ อมูลความคืบหน้ าการดําเนินกิจการ ้ จากทังนั ้ กลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบัน นักวิเคราะห์ นักข่าว เมื่อมีการร้ องขอ โดยในปี 2555 มีการติดต่อสื่อสารทังโดยตรงและ ทางอ้ อม สรุปได้ ดงั นี ้ : - การสอบถามข้ อมูลเพิ่มเติมทาง email และโทรศัพท์ 27 ครัง้ - การให้ สมั ภาษณ์ด้านผลประกอบการกับสื่อต่าง ๆ 2 ครัง้ - การประชุมกับนักวิเคราะห์ 1 ครัง้ 2 ครัง้ - การให้ นกั ลงทุนสถาบันพบผู้บริหารและเยี่ยมชมกิจการ - การให้ นกั ลงทุนรายย่อยพบผู้บริ หารและเยี่ยมชมกิจการ 2 ครัง้ - การออกงาน Opportunity Day 2 ครัง้

62 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


เลขานุการบริษัทฯและบทบาทหน้ าที่ คณะกรรมการบริษัท ได้ กําหนดให้ นายวรภพ ทักษพันธุ์ เป็ นเลขานุการบริ ษัทฯ เพิ่มเติมไปจากตําแหน่งเดิมที่เป็ นเลขานุการของ คณะกรรมการบริษัทฯ อยูแ่ ล้ ว โดยได้ แสดงคุณสมบัติไว้ แล้ วในส่วน คณะผู้บริหารและเลขาบริษัท โดยได้ กําหนดบทบาทหน้ าที่ ดังนี ้ หน้ าที่เลขานุการบริษัท ซึง่ ทําหน้ าที่เลขานุการบริษัท ตามหน้ าที่ ที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และหน้ าที่ที่จะกําหนดเพิ่ม โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หน้ าที่เลขานุการกรรมการบริษัท เป็ นหน้ าที่เดิมในการประสานงานเพื่อจัดประชุมกรรมการบริษัทและจัดประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ โดยประสานงานกับกรรมการผู้จดั การเพื่อกําหนดวาระการประชุม และจัดทําหนังสือเชิญประชุมต่างๆ ดังกล่าวพร้ อมทัง้ ประสานงานกับกรรมการบริษัททังหมดเพื ้ ่อการจัดประชุมดังกล่าว จัดทําเอกสารประกอบวาระการประชุม จดบันทึกรายงานการ ประชุมทังหมด ้ การประสานงานผู้เกี่ยวข้ องเพื่อการชี ้แจงหรื อให้ ข้อมูลต่อที่ประชุมในแต่ละวาระของการประชุม หน้ าที่ดาํ เนินการตามมติท่ ปี ระชุมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทะเบียนบริษัทฯ กรณีที่กรรมการหรื อผู้ถือหุ้นมีมติที่เกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนบริษัทฯ เลขานุการบริษัทฯ จะเป็ นผู้รับผิดชอบเปลี่ยนแปลงทะเบียนบริษัทฯ ให้ เป็ นไปตามมติที่ ประชุม หน้ าที่ให้ คาํ ปรึกษาแก่ คณะกรรมการ ในส่วนที่จะต้ องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ รวมทังข้ ้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายในเวลาที่กําหนดไว้ รวมทังการรายงานข้ ้ อมูลให้ กบั คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามกฎระเบียบที่กําหนดขึ ้น หน้ าที่ประสานงานการจัดทํารายงานประจําปี ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในบริ ษัทฯ เพื่อรวบรวมข้ อมูลสําหรับการ ทํารายงานประจําปี ให้ ครบถ้ วนตามข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ หน้ าที่เป็ นนายทะเบียนหุ้นบริษัทฯ ในเครื อ ในกรณีที่มีบริษัทฯ ในเครื อ เลขานุการบริษัทฯ มีหน้ าที่เป็ นนายทะเบียนหุ้นของ บริษัทฯ ในเครื อที่เป็ นบริษัทจํากัด รวมไปถึงการแจ้ งต่อกรมทะเบียนธุรกิจการค้ า กระทรวงพาณิชย์ หน้ าที่ประสานงานกับ Investor Relation เพื่อดูแลการเปิ ดเผยข้ อมูลให้ เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย แผนการสืบทอดตําแหน่ ง คณะกรรมการได้ มอบหมายให้ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนเป็ นผู้รับผิดชอบเรื่ องแผนการสืบทอดตําแหน่ง ซึง่ ได้ มีการ มอบหมายให้ กรรมการผู้จดั การจัดทําแผนในการทดแทนตําแหน่งงานหลัก ซึง่ อยู่ในระหว่างการปฏิบตั ิโดยมีการกําหนดความรู้ ความสามารถที่ต้องการของตําแหน่งงานหลัก หลังจากนัน้ จะมีการพิจารณาคัดเลือกพนักงานที่มีอยูแ่ ล้ ว พร้ อมกับประเมินตาม ความรู้ ความสามารถของตําแหน่งหลัก เพื่อให้ ทราบว่าพนักงานที่คดั เลือกมาแล้ วนัน้ ขาดคุณสมบัติข้อใด จากนัน้ จะมีการให้ ฝึ กอบรมเพิ่ม หรื อ ย้ ายให้ ไปดําเนินงานอื่นเพื่อเพิ่มประสบการณ์ด้านที่ขาด ซึง่ จะมีการพิจารณาถึงความคืบหน้ าของแผนการสืบ ทอดตําแหน่งในทุกครัง้ ที่มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

63 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานระหว่ างกัน บริษัทฯ มีรายการระหว่างกันที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ในปี 2555 โดยมีรายละเอียดดังนี ้ บริษัทที่เกี่ยวข้ อง ความสัมพันธ์ มูลค่ า (บาท) ลักษณะรายการและความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ ขายสินค้ า บริษัท อไลน์เอินซ์ บริ ษัทเป็ นผู้ถือหุ้น 17,430,143 เป็ นการขายสินค้ าที่บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย แอนด์ ลิงค์ คอร์ ร้ อยละ 15 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ ปอเรชัน่ จํากัด คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็ นไปตามราคาตลาดและปฏิบตั ิเหมือนลูกค้ าทัว่ ไป บริษัท ฮาร์ ดแวร์ เป็ นบริษัทลูกของ 710,302,164 เป็ นการขายสินค้ าที่บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ บริษัท อไลน์เอินซ์ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ แนล จํากัด แอนด์ ลิงค์ คอร์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ปอเรชัน่ จํากัด ทําให้ ดังกล่าวเป็ นไปตามราคาตลาดและปฏิบตั ิเหมือนลูกค้ าทัว่ ไป บริ ษัทเป็ นผู้ถือหุ้น ร้ อยละ 15 ทางอ้ อม บริษัท คลิก คอนเนค บริษัทเป็ นผู้ถือหุ้น 433,296 เป็ นการขายสินค้ าที่บริษัทฯ เป็ นผู้แทนจําหน่าย เพื่อใช้ งานใน จํากัด ร้ อยละ 15 บริษัท ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็ นไปตามราคาตลาดและปฏิบตั ิเหมือนลูกค้ าทัว่ ไป ซือ้ สินค้ า บริษัท อไลน์เอินซ์ บริ ษัทเป็ นผู้ถือหุ้น 30,004,378 เป็ นการซื ้อสินค้ าเพื่อมาจําหน่าย ร้ อยละ 15 ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็ นการสัง่ ซื ้อในราคาตลาดเท่ากับผู้ซื ้อรายอื่นทัว่ ไป บริษัท ฮาร์ ดแวร์ เป็ นบริษัทลูกของ 121,405,775 เป็ นการซื ้อสินค้ าเพื่อมาจําหน่าย เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ บริษัท อไลน์เอินซ์ ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ แนล จํากัด แอนด์ ลิงค์ คอร์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ปอเรชัน่ จํากัด ทําให้ ดังกล่าวเป็ นการสัง่ ซื ้อในราคาตลาดเท่ากับผู้ซื ้อรายอื่นทัว่ ไป บริ ษัทเป็ นผู้ถือหุ้น ร้ อยละ 15 ทางอ้ อม บริษัท คลิก คอนเนค บริษัทเป็ นผู้ถือหุ้น 5,681,280 เป็ นการซื ้อสินค้ าเพื่อมาขายร่วมกับบริษัทฯ ที่เป็ นผู้แทน จํากัด ร้ อยละ 15 จําหน่าย ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็ นการสัง่ ซื ้อในราคาตลาดเท่ากับผู้ซื ้อรายอื่นทัว่ ไป

64 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัทที่เกี่ยวข้ อง ความสัมพันธ์ รายได้ ค่าธรรมเนียมการจัดการ SiS International เป็ นบริษัทฯ ของผู้ถือ Holdings Limited หุ้นใหญ่

รายได้ ค่าเช่ า บริษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด

เป็ นบริษัทลูกของ บริษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด ทําให้ บริ ษัทเป็ นผู้ถือหุ้น ร้ อยละ 15 ทางอ้ อม

มูลค่ า (บาท)

ลักษณะรายการและความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ

13,678,639 เป็ นค่าธรรมเนียมการจัดการ ที่จ่ายตามสัญญาในการให้ ความช่วยเหลือในการเจรจากับผู้ผลิตในการกําหนดให้ SiS ในประเทศไทยเป็ นผู้แทนจําหน่ายสินค้ าหลาย ๆ รายการ และ การเจรจาด้ านวงเงินกับธนาคาร การใช้ กําลังคนร่วมกัน รวมถึงการบริหารจัดการบางด้ านจากส่วนกลาง ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ดังกล่าวเป็ นไปตามสัญญาที่ได้ ตกลงกัน คณะกรรมการ ตรวจสอบพิจารณาแล้ วเห็นว่าเป็ นอัตราเดิมจากปี ก่อน ซึง่ เป็ น อัตราที่ตํ่ากว่าที่ได้ เรี ยกเก็บจากบริษัทฯ ในเครื ออื่น ๆ จึงเห็น ว่าเป็ นสัญญาที่มีความเหมาะสม 2,679,310 เป็ นค่าเช่าสถานที่จดั จําหน่ายสินค้ า ในอัตราที่ตกลงกัน ความเห็นคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ พิจารณาแล้ วเห็นว่ารายการ ดังกล่าว บริษัทฯ ถือปฏิบตั ิเหมือนลูกค้ าทัว่ ไป

หมายเหตุ ในปี 2545 บริ ษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.25 ของยอดขาย ในปี 2546 บริ ษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.125 ของยอดขาย ในปี 2547 เป็ นต้ นมา บริ ษัทฯ จ่ายค่าธรรมเนียมการจัดการในอัตราร้ อยละ 0.0625 ของยอดขาย

65 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


ภารกิจต่ อสังคม บริ ษัทฯ ตระหนักถึงภารกิจที่พงึ มีตอ่ สังคมโดยเน้ นงานด้ านการศึกษาและสิง่ แวดล้ อม ในปี 2555 บริ ษัทฯ และพนักงาน ของบริ ษัทฯ ได้ เข้ าร่วมในกิจกรรมหลายรายการ โดยมีบางส่วนของภาพกิจกรรมดังนี ้ โครงการ Mobile Battery for Life เป็ นโครงการลดปั ญหาสิ่งแวดล้ อมที่บริ ษัท ฯ ได้ ร่วมกับ DTAC เพื่อเปิ ดรับขยะอิเลคโทรนิคส์ เช่ น แบตเตอรี่ มื อ ถื อ เก่ า ตั ว เครื่ องมื อ ถื อ หรื อ อุ ป กรณ์ เ สริ ม ที่ ไ ม่ ใ ช้ งานแล้ วมาทิ ง้ เพื่ อ นํ า เข้ า กระบวนการทํ าลายหรื อ recycle ที่ถูกต้ องและ ปลอดภัย โดยในโครงการนี ้ จะมีกล่องไปวางตามจุด ต่ า ง ๆ ทัง้ ลูก ค้ า และสาขาของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ ผ้ ูที่ สนใจ สามารถทิ ง้ ขยะอิ เ ลคโทรนิ ค ส์ ที่ จ ะมี ก าร ดําเนินการต่ออย่างถูกต้ อง การบริจาคโลหิต บริ ษัทฯ ได้ ร่วมกับสภากาชาดไทยเชิญชวน พนักงานบริ ษัทฯ และบุคคลภายนอกที่ สนใจในการ บริ จาคโลหิต โดยใช้ ห้องประชุมของบริ ษัท ฯ ที่ ชัน้ 9 อาคารภคิ น ท์ เลขที่ 9 ถนนรั ช ดาภิ เษก ในการ ดํ า เนิ น การ ซึ่ง ได้ รั บ ความร่ ว มมื อ จากพนัก งานและ บุค คลภายนอกที่ มี จิ ต กุศ ล ร่ ว มบริ จ าคโลหิ ต ทัง้ สิ น้ 168 คน โครงการกระเป๋า 985 ใบเพื่อน้ องนักเรี ยนที่ขาดแคลน ้ า เป็ นโครงการที่บริ ษัทฯ ร่ วมกับ Targus ซึง่ เป็ นผู้ผลิตกระเป๋ าชันนํ ในการมอบกระเป๋ าTargus จํานวน 985 ใบให้ กบั โรงเรี ยนวัดจันทาราม จังหวัด ศรี สะเกษ และโรงเรี ยนบ้ านแกสระใหญ่ จังหวัดสุรินทร์ โดยโรงเรี ยน วัดจันทาราม เป็ นโรงเรี ยนเอกชนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โดยมี ้ ่ในอําเภอศีขร นักเรี ยนถึงกว่า 800 คนส่วนโรงเรี ยนบ้ านแกสระใหญ่ ตังอยู ภูมิ จังหวัดสุรินทร์ มีจํานวนนักเรี ยนกว่า 100 คน การร่ วมแสดงความยินดีกับพนักงานของเดอะมอลล์ ท่ ชี นะการ แข่ งขันพาราลิมปิ กส์ 2012 บริ ษัทฯ ร่ วมกับ Power Mall ซึง่ เป็ นลูกค้ า ใหญ่ ของบริ ษัทฯ ในการสนับสนุน และแสดงความ ยินดีกับพนักงานของเดอะมอลล์ ที่ เป็ นนักกี ฬาที ม ชาติไทย ในการแข่งขันพาราลิมปิ กเกมส์ 2012 และ ได้ รับรางวัล 4 ท่าน 1. คุณสายสุนีย์ จ๊ ะนะ (นักกีฬาวีลแชร์ ฟันดาบ) 1 เหรี ยญทอง จากเอเป้บุคคลหญิง 2. คุณประวัติ วะโฮรัมย์ (นักกีฬาวีลแชร์ เรซซิ่ง) 2 เหรี ยญเงิน จาก 1,500 เมตร ชาย และผลัด 4*400 เมตร ชาย 3. คุณสายชล คนเจน (นักกีฬาวีลแชร์ เรซซิ่ง) 1 เหรี ยญเงิน จากผลัด 4*400 เมตร ชาย และ 2 เหรี ยญทองแดง จาก 100 เมตร ชาย และ 800 เมตร ชาย 4. คุณวาสนา คูทวีทรัพย์ (นักกีฬายิงธนู) 66 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําปี 2555 เรี ยน ท่ านผู้ถือหุ้น บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของ บริษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ประกอบด้ วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน คือ ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายสุวิทย์ จินดาสงวน และ นายสมชาย ศิริวิชยกุล กรรมการตรวจสอบทุกท่านมีคณ ุ สมบัติครบตามหลักเกณฑ์ และประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงเป็ นผู้มีประสบการณ์ทางด้ านการกําหนดแผนกลยุทธ์ ด้ านบัญชี การเงิน และด้ านบริหารคลังสินค้ า โดยได้ รับการแต่งตังจากที ้ ่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีวาระการดํารงตําแหน่ง 3 ปี ในรอบปี บัญชี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ตามขอบเขต หน้ าที่ และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษั ท ตามที่ กํ า หนดไว้ เ ป็ นลายลัก ษณ์ อัก ษรในกฎบัต รของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ง สอดคล้ อ งกับ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการตรวจสอบได้ จดั ให้ มีการประชุมทุกเดือน รวม 12 ครัง้ กรรมการ ตรวจสอบทุกท่านเข้ าร่วมประชุมครบทุกครัง้ และเป็ นการประชุมร่วมกับผู้บริหาร ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ปฏิบตั ิงาน และผู้สอบบัญชี ในเรื่ องที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ สรุปสาระสําคัญได้ ดงั นี ้ 1. สอบทานงบการเงินระหว่ างกาลรายไตรมาส และงบการเงินประจําปี 2555 ซึง่ ผ่านการสอบทาน และตรวจสอบ จากผู้สอบบัญชี รวมถึงการเปิ ดเผยข้ อมูลที่เป็ นสาระสําคัญ คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับฟั งคําชี ้แจงและซักถามผู้บริ หาร และ ้ ้ ผู้สอบบัญชี ในเรื่ องความถูกต้ อง ครบถ้ วนของงบการเงิน รายการบัญชีที่เพิ่มขึ ้นและลดลงอย่างมีนยั สําคัญ และความเสี่ยง ทังนี ได้ จดั ให้ มีประชุมร่ วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริ หารเข้ าร่ วมประชุมด้ วยสองครัง้ เพื่อให้ รายงานทางการเงินมีความถูกต้ อง เชื่อถือได้ และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ สอดคล้ องกับกฎหมายและประกาศที่เกี่ยวข้ องของหน่วยงานกํากับดูแลต่างๆ คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็น สอดคล้ อ งกับ ผู้ส อบบัญ ชี ว่ า งบการเงิ น ดัง กล่า วมี ค วามถูก ต้ อ งตามที่ ค วร ใน สาระสําคัญตามหลักการบัญชีรับรองทัว่ ไป อนึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ ตรวจสอบพบการเปลี่ยนแปลงของสถานะทางการเงินที่มีสาระสําคัญ คือ ในปี 2555 บริ ษัทและบริ ษัทย่อย มีรายได้ รวม 22,091.3 ล้ านบาท ลดลงจากปี ก่อน 612.3 ล้ านบาทหรื อลดลงร้ อยละ 2.7 และมีผลขาดทุน สุทธิรวม เท่ากับ 738.7 ล้ านบาท เมื่อเทียบกับกําไรสุทธิรวมจํานวน 143.5 ล้ านบาทของปี 2554 หรื อลดลง 882.2 ล้ านบาท จาก สาเหตุหลักสองประการ คือ ประการแรก จากการเสื่อมความนิยมของสินค้ ากลุ่มสมาร์ ทโฟนที่บริ ษัทจําหน่าย 383.5 ล้ านบาท และประการที่สอง จากการตังสํ ้ ารองความเสียหายจากสินค้ าฝากขายกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกัน เป็ นจํานวนเงินทังสิ ้ ้น 599.8 ล้ าน บาท แม้ ว่าธุรกิจหลักในการค้ าส่งคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วง ยังคงดําเนินการไปได้ ดี และมีผลกําไร แต่ความเสียหายทัง้ สองประการสูงกว่า คณะกรรมการตรวจสอบได้ ติดตามการทําธุรกิจสมาร์ ทโฟน โดยการสอบทานสินค้ าคงคลัง รวมทังได้ ้ เชิญ ผู้บริ หารมาให้ ข้อมูล กลยุทธ์ และแนวทางในการดําเนินงาน ในการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบทุกครัง้ สําหรับความเสียหายจากบริษัทที่เกี่ยวข้ องทําผิดสัญญารับฝากขายสินค้ า คณะกรรมการตรวจสอบได้ รับทราบว่ามีการผิด สัญญาในช่วงปลายปี โดยระหว่างปี ผู้บริ หารได้ มารายงานการทําธุรกิจกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องนี ้ เช่นเดียวกับเรื่ องสมาร์ มโฟน อนึ่ง เมื่อคณะกรรมการตรวจสอบได้ ทราบถึงโอกาสของความเสียหายที่จะเกิดขึ ้น จึงได้ ให้ ความเห็นให้ ฝ่ายบริ หารติดตามการเรี ยกคืน สินค้ า และพิจารณาเรื่ องการชดใช้ ความเสียหาย รวมทังดํ ้ าเนินการทุกประการตามกระบวนการยุติธรรมกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง ดังกล่าว เพื่อรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของบริษัทฯ และของผู้ถือหุ้น

67 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


2. สอบทานข้ อมูลดําเนินงาน และระบบการควบคุมภายใน เพื่อประเมินความเพียงพอ เหมาะสม และประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายใน โดยได้ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่กําหนดโดย กลต. จากการ พิจารณาผลการตรวจสอบภายใน ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตามแผนงานที่ได้ รับอนุมตั ิ ซึ่งครอบคลุมระบบงานที่สําคัญ ้ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ และมีการดูแลรักษาทรัพย์สนิ รวมทังมี คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯมีระบบการติดตามควบคุมดูแลการดําเนินงานอย่างเหมาะสม รวมทังมี ้ การบริ หารความเสี่ยง ซึ่งมีความสัมพันธ์ กับการดําเนินธุรกิจและกระบวนการบริ หารงานในเรื่ องสภาพแวดล้ อมภายในบริ ษัทฯ การกําหนดวัตถุประสงค์ การบ่งชี ้เหตุการณ์ การประเมินความเสี่ยง การตอบสนองความเสี่ยง ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ข้ อมูล ทังนี ้ ้ คณะกรรมการตรวจสอบพบว่า การดําเนินงานในปี 2555 มีสินค้ าคงเหลือสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุม่ สมาร์ ทโฟน ซึง่ เป็ นกลุม่ สินค้ าที่เสื่อมความนิยมเร็ว และบริ ษัทฯได้ ดําเนินการขายสินค้ าคงเหลือดังกล่าว โดยการลดราคา และมีการติดต่อเจรจา กับเจ้ าของสินค้ าในการสนับสนุนชดเชยราคาสินค้ า ซึ่งฝ่ ายบริ หารได้ ชีแ้ จงตามการสอบถามของคณะกรรมการตรวจสอบว่า เจ้ าของสินค้ าได้ กําหนดเงื่อนไขในการสนับสนุน ทําให้ อาจไม่ได้ รับการชดเชยราคาตามที่คาดการณ์ไว้ คณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นในการเร่งรัดเจรจาและติดตามการชดเชย ให้ เป็ นไปเพื่อประโยชน์สงู สุดและให้ เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ น้ อยที่สดุ 3. สอบทานการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานภารกิจ ขอบเขตการปฏิบตั ิงาน หน้ าที่และ ความรับผิดชอบ อัตรากําลัง แผนการฝึ กอบรม งบประมาณ และความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน และได้ อนุมตั ิ แผนงานการตรวจสอบประจําปี 2555 ทังนี ้ ้ยังได้ พิจารณาทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบประจําปี 2556 และทบทวน อนุมตั ิการแก้ ไขกฎบัตรหน่วยงานตรวจสอบภายในให้ เหมาะสมและมีความทันสมัย คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯมีระบบตรวจสอบภายในที่เหมาะสม มีประสิทธิผล และมีความเป็ น อิสระ รวมทังมี ้ การสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการตรวจสอบ ทังในด้ ้ านบุคลากร และการปฏิบตั ิงานตรวจสอบ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ การปฏิบตั ิงานตรวจสอบภายในบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น บริ ษัทฯควรเร่ งดําเนินการจัดหาบุคลากรด้ าน การตรวจสอบภายในเพิ่มเติมเพื่อให้ เกิดความสมดุลระหว่างปริ มาณงานและความรับผิดชอบกับจํานวนบุคลากรที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั 4. การสอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย รวมถึงข้ อพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับบริ ษัทจดทะเบียนตามประกาศของตลาด หลักทรั พย์ แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํ ากับหลักทรั พ ย์ แ ละตลาดหลักทรั พย์ การปฏิบัติตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ไม่พบประเด็นที่เป็ นสาระสําคัญ ในเรื่ องการไม่ปฏิบตั ิตาม กฎหมาย และ ข้ อกําหนด ดังกล่าว 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ รวมถึงให้ ความเห็นเกี่ยวกับ รายการที่เกี่ยวโยงกันดังกล่าวของบริ ษัทฯ และบริ ษัทย่อย เพื่อให้ การทํารายการมีความสมเหตุสมผล เป็ นไปตามกฎหมาย และ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยคํานึงถึง ประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายเป็ นสําคัญ คณะกรรมการตรวจสอบมี ความเห็นว่า การทํารายการดัง กล่าวเป็ นการดํ าเนินงานตามธุรกิจปกติ หรือรายการ สนับสนุ นธุรกิจปกติ เป็ นประโยชน์สงู สุดต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ และของผู้ถือหุ้น รวมทังมี ้ การเปิ ดเผยข้ อมูลอย่างเพียงพอ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการตรวจสอบพบว่า บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันทําการผิดสัญญาฝากขาย ทําให้ เกิดความเสียหายต่อ บริษัท จึงเสนอข้ อแนะนําให้ ฝ่ายบริ หารดําเนินการเรี ยกร้ องค่าชดใช้ และหากไม่สามารถเรี ยกร้ องค่าชดใช้ ดงั กล่าวได้ ให้ พิจารณา เรื่ องการดําเนินการฟ้องร้ องดําเนินคดีและดําเนินการทางกฎหมายตามที่ฝ่ายบริ หารเห็นสมควร และเป็ นไปเพื่อประโยชน์สงู สุด ของผู้ถือหุ้นโดยรวม

68 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


6. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่ งตัง้ และเสนอค่ าตอบแทนผู้สอบบัญชี ประจําปี 2556 เพื่อเสนอแนะคณะกรรมการ บริษัทให้ ความเห็นชอบ ก่อนเสนอขออนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบได้ ดําเนินการคัดเลือกผู้สอบบัญชี โดยได้ ประเมินทักษะ ความรู้ และความสามารถของผู้สอบ บัญชีและคณะผู้ช่วยผู้สอบบัญชี คุณภาพของผลงานการตรวจสอบปี 2555 ค่าตอบแทน และความเป็ นอิสระ จึงสมควรเสนอ แต่งตัง้ นายวิเชียร ธรรมตระกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3183 หรื อ นางสาววรรณาพร จงพีรเดชานนท์ ผู้สอบบัญชีรับ อนุญาตเลขทะเบียน 4098 หรื อ นางสาวสุรีย์รัตน์ ทองอรุณแสง ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4409 หรื อ นายเอกสิทธิ์ ชูธรรมสถิตย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4195 จากบริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ให้ เป็ นผู้สอบ บัญชีของบริษัทฯประจําปี 2556 โดยมีคา่ ตอบแทนการสอบบัญชีเป็ นจํานวนเงินไม่เกิน 1,255,000 บาท ซึง่ เท่ากับค่าตอบแทนการ สอบบัญชีปี 2555 7. สอบทานการกํากับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงนโยบายเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ เพื่อให้ บริ ษัทฯมีการปฏิบตั ิ รวมถึงมี การเปิ ดเผยข้ อมูลการปฏิบตั ิงานอย่างโปร่งใส เพียงพอ เป็ นไปตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สนับสนุนให้ ฝ่ายบริหารปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และเป็ นไปตาม นโยบายที่บริ ษัทฯได้ กําหนดไว้ อย่างต่อเนื่อง โดยผลการประเมินของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ในเรื่ องการกํากับ ดูแลกิจการของบริ ษัทฯ ดีขึ ้นตลอดมา โดยในปี 2555 อยูใ่ นกลุม่ ดีเลิศ และเป็ น 1 ใน 17 บริ ษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยที่ได้ รับรางวัล Investor’s Choice Award ซึง่ เป็ นรางวัลที่จดั ตังขึ ้ ้นโดยความร่วมมือของสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยมอบรางวัลดังกล่าว ให้ กบั บริษัทจดทะเบียนฯ ที่ได้ รับคะแนนจากการประเมินผลการจัดประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นประจําปี (AGM) 100% เต็ม ต่อเนื่องกัน 4 ปี ซ้ อน (พ.ศ. 2552-2555) ทังนี ้ ้ คณะกรรมการตรวจสอบจะได้ สนับสนุน ตรวจสอบ ตรวจทานและร่วมในการกํากับ ดูแลให้ บริษัทฯ มีการปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีตอ่ ไป 8. การประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้ มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ ตนเอง โดยได้ เปรี ยบเทียบกับแนวทางการปฏิบตั ิที่ดี รวมถึงได้ มีการเข้ าอบรมเสริ มความรู้ ในด้ านต่างๆ เพื่อพัฒนาและปรับปรุ ง การปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า จากผลสรุ ปโดยรวมของปี 2555 ผลการประเมินการปฏิบตั ิงานอยู่ในระดับที่น่า พอใจ โดยได้ ปฏิบัติหน้ าที่ครบตามที่กําหนดไว้ ในกฎบัตร และมีการเข้ ารั บการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ กับหน่วยงานที่เป็ นที่ ยอมรับเช่น สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย อย่างต่อเนื่อง

69 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บทสรุ ป ภาพรวมในปี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ครบถ้ วนตามที่ระบุไว้ ในกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบที่ได้ รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริษัท โดยใช้ ความรู้ ความสามารถ และมีความเป็ นอิสระ ตลอดจนได้ ให้ ความเห็นและ ข้ อเสนอแนะต่างๆ ต่อฝ่ ายบริหาร และคณะกรรมการบริษัทอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า บริ ษัทฯ มีการรายงานข้ อมูลทางการเงินและการดําเนินงานอย่างเพียงพอ มีระบบ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ หารความเสี่ยงที่เหมาะสม รวมทังมี ้ การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ข้ อกําหนด และ ุ ภาพและเหมาะสม ระเบียบข้ อบังคับต่างๆ ที่สอดคล้ องกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี และมีการพัฒนาระบบการปฏิบตั ิงานให้ มีคณ ต่อสภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ อย่างไรก็ตาม ปี 2555 มีผลกระทบจากการดําเนินงานที่เป็ นสาระสําคัญต่อผลประกอบการของธุรกิจเกิดขึ ้น กล่าวคือ กรณี ที่ 1) การขายสินค้ าคงเหลือ ซึ่งมีลกั ษณะของการเสื่อมความนิยมเร็ ว ด้ วยการลดราคา คณะกรรมการตรวจสอบได้ ให้ ความเห็นกับฝ่ ายบริ หารให้ เร่ งขายสินค้ าเสื่อมความนิยมดังกล่าวโดยเร็ ว หากการขายลดราคานัน้ เป็ นประโยชน์ สูงสุดต่อผล ประกอบการของบริ ษัทฯ และต่อผู้ถือหุ้น และให้ ขอการสนับสนุนชดเชยจากเจ้ าของสินค้ า รวมทัง้ ให้ เร่ งรัดติดตามการชดเชยการ ขายลดราคาดังกล่าวให้ มีประสิทธิภาพสูงที่สดุ และกรณีที่ 2) การผิดสัญญาทางการค้ าของบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งคณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ตรวจสอบ สอบทานและติดตามประเมินผลการดําเนินการของบริ ษัทฯ เกี่ยวกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องดังกล่าวอย่าง ต่อเนื่อง โดยให้ มีการเร่ งรัดติดตามการชําระราคาสินค้ าและรับสินค้ าคืน และได้ ให้ ความเห็นกับฝ่ ายบริ หารให้ ดําเนินธุรกิจกับ บริ ษัทที่เกี่ยวข้ องดังกล่าวอย่างระมัดระวังและเข้ มงวด รวมถึงได้ ให้ ข้อเสนอแนะการจัดหาที่ปรึ กษาทางการเงิน เพื่อพิจารณา วิเคราะห์และให้ ข้อแนะนําในการตัดสินใจด้ านการดําเนินธุรกิจกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง และสุดท้ ายได้ ให้ ความเห็นกับฝ่ ายบริ หาร ว่า ควรพิจารณาดําเนินการเรี ยกร้ องสิทธิทางกฎหมาย หากไม่สามารถเจรจาเพื่อติดตามสินค้ าคืนจากบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องดังกล่าวได้ และหากการเรี ยกร้ องสิทธิ ดงั กล่าวเป็ นประโยชน์กับบริ ษัทฯ ทัง้ นีก้ ารดําเนินการดังกล่าว ให้ อยู่ภายใต้ ความเห็นของที่ปรึ กษา ทางด้ านกฎหมายและที่ปรึกษาทางด้ านการเงิน เพื่อให้ เกิดความถูกต้ องตามขันตอนต่ ้ างๆ และลดความเสียหายต่อบริ ษัทฯให้ มาก ที่สดุ ในปี 2556 คณะกรรมการตรวจสอบยังคงกําหนดนโยบายให้ ฝ่ายตรวจสอบภายในติดตามเรื่ องลูกหนี ้ และสินค้ าคงเหลือ อย่างต่อเนื่อง รวมถึงให้ มีการปฏิบตั ิงานการตรวจสอบ ตามแนวคิดของการบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Based Audit) และการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเข้ มงวด อาทิเช่น เสนอให้ มีการทบทวนและ กําหนด Delegation of Authority ของฝ่ ายบริ หารให้ มีความเหมาะสมและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อรักษา ประสิทธิผลของการประกอบกิจการของบริ ษัทฯ และลดความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจ เพื่อประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นโดยรวม

(ดร.โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

70 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิน เรี ยน ท่ านผู้ถอื หุ้น คณะกรรมการบริ ษัทฯ เป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) รวมถึงข้ อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําปี โดยงบการเงินดังกล่าวจัดทําขึ ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รองรับ ทัว่ ไป โดยเลือกใช้ นโยบายการบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ มีความระมัดระวัง และประมาณการที่ดีที่สดุ มี ความสมเหตุสมผล และความรอบคอบในการจัดทํ างบการเงิ น รวมทัง้ การเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญอย่างเพี ยงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน และดูแลให้ บริ ษัทฯ มีระบบการบริ หารความเสี่ยง รวมถึงมีความเพียงพอในระบบการควบคุมภายใน และมี การปฏิบตั ิถกู ต้ องตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้ อง ในการนี ้ คณะกรรมการบริ ษั ท มี การแต่ง ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเป็ นกรรมการอิสระ ที่ไ ม่มีส่วนร่ วมในการ บริ หารงาน เป็ นผู้สอบทานนโยบายการบัญชี คุณภาพรายงานทางการเงิน และสอบทานระบบการควบคุมภายใน โดยความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบในเรื่ องนี ้ ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึง่ ได้ แสดงไว้ ในรายงานประจําปี คณะกรรมการบริ ษัทมีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริ ษัทฯโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจ และสามารถสร้ างความ เชื่อมัน่ ว่า รายงานทางการเงิน รวมถึงงบการเงินประจําปี 2555 ของบริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) มีความถูกต้ อง ครบถ้ วน เชื่อถือได้ และเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป

(นายสุวิทย์ จินดาสงวน) ประธานกรรมการ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

(นายสมชัย สิทธิชยั ศรี ชาติ) กรรมการผู้จดั การ บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชัน่ (ประเทศไทย) 18 มีนาคม 2556

71 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต

72 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


73 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน

สิ นทรัพย์

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2555 2554 (พันบาท)

สินทรั พย์ หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้อื่น เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี้การค้าระยะยาว อุปกรณ์ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

5 4, 6 4, 7 4 8

77,901 2,595,066 476,445 1,191,348 4,340,760

185,252 1,836,696 547,481 3,170,752 14,227 5,754,408

67,090 2,572,643 323,614 211,050 1,139,775 4,314,172

82,297 1,660,374 313,029 601,500 1,315,725 8,691 3,981,616

9 10 11 12 13

8,571 29,219 141,287 42,243 11,310 232,630

8,571 57,425 136,787 47,441 14,140 264,364

130,329 29,219 140,497 42,243 11,310 353,598

9,970 57,425 136,373 47,441 13,980 265,189

4,573,390

6,018,772

4,667,770

4,246,805

74 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม 31 ธันวาคม

หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม

2554

2555

2554

(พันบาท) หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูย้ ืม จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน หนี้สินไม่ หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ประมาณการหนี้สินต้นทุนการรื้ อถอนสิ นทรัพย์ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิ น

14 4, 15 4, 16

2,610,280 1,190,879 188,520

2,242,664 2,274,295 170,152

2,528,079 1,109,498 170,649

1,772,738 1,012,118 164,136

14

1,201 21,849 13,199 4,025,928

1,549 5,218 17,289 4,711,167

1,201 21,848 11,593 3,842,868

1,549 5,004 13,820 2,969,365

14

3,960 27,337 31,297 4,057,225

1,292 3,960 22,790 28,042 4,739,209

3,960 27,337 31,297 3,874,165

1,292 3,960 22,790 28,042 2,997,407

17

75 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม 31 ธันวาคม

หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่ วนของผู้ถอื หุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชําระแล้ว ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ กําไรสะสม จัดสรรแล้ว ทุนสํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม

2554

(พันบาท)

2555

2554

18

18

20

250,000 233,466 176,694

213,174 211,184 170,915

250,000 233,466 176,694

213,174 211,184 170,915

21,317 84,688 516,165

21,317 876,147 1,279,563

21,317 362,128 793,605

21,317 845,982 1,249,398

4,573,390

6,018,772

4,667,770

4,246,805

76 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกําไรขาดทุน บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หมายเหตุ

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (พันบาท)

รายได้ รายได้จากการขาย รายได้จากการให้บริ การ รายได้อื่น กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขาย ต้นทุนการให้บริ การ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุ ทธิ ต้นทุนทางการเงิน รวมค่ าใช้ จ่าย

4 4, 22

4, 24 24 4, 24 25

กําไร (ขาดทุน) ก่ อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ 26 กําไร (ขาดทุน) และกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสํ าหรับปี กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท)

27

21,851,786 40,144 171,975 27,370 22,091,275

22,413,633 31,001 267,905 22,712,539

17,946,033 26,034 213,933 14,527 18,200,527

16,243,658 28,727 210,647 16,483,032

21,211,191 18,352 445,098 978,575 100,860 22,754,076

21,378,155 20,887 478,460 452,294 52,559 58,116 22,440,471

17,120,635 17,385 283,158 1,044,248 90,297 18,555,723

15,409,998 17,108 301,622 437,597 13,137 47,327 16,226,789

-662,801 -75,862 -738,663

272,068 -128,548 143,520

-355,196 -75,862 -431,058

256,243 -102,905 153,338

-3.17

0.62

-1.85

0.66

77 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถอื หุ้น บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น งบการเงินรวม กําไรสะสม ทุนเรื อนหุน้ หมายเหตุ

ทุนสํารอง

รวมส่ วน

ที่ออกและชําระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ของผูถ้ ือหุน้ (พันบาท)

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554

208,543

156,520

21,317

836,871

-

1,223,251

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุน้ สามัญ

18

2,641

14,395

-

เงินปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั

28

-

-

-

(104,244)

(104,244)

2,641

14,395

-

(104,244)

(87,208)

211,184

170,915

21,317

143,520 876,147

143,520 1,279,563

รวมเงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้ กําไรและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

78 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

17,036


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถอื หุ้น บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่ น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น งบการเงินรวม

หมายเหตุ สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2555

กําไรสะสม ทุนเรื อนหุน้ ทุนสํารอง รวมส่ วน ที่ออกและชําระแล้ว ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร ของผูถ้ ือหุน้ (พันบาท) 211,184 170,915 21,317 876,147 1,279,563

รายการกับผู้ถือหุ้นที่บันทึกโดยตรงเข้ าส่ วนของผู้ถือหุ้น เงินทุนที่ได้รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้น เพิ่มหุน้ สามัญ 18 หุน้ ปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั 18, 28 28 เงินปันผลให้ผถู้ ือหุน้ ของบริ ษทั รวมเงินทุนที่ได้ รับจากผู้ถอื หุ้นและการจัดสรรส่ วนทุนให้ ผ้ ถู อื หุ้ ขาดทุนและกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

1,164 21,118 22,282

5,779 5,779

233,466

176,694

79 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-

(21,118) (31,678) (52,796)

6,943 (31,678) (24,735)

21,317

(738,663) 84,688

(738,663) 516,165


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกระแสเงินสด บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่ น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (พันบาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) สําหรับปี รายการปรั บปรุ ง ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนทางการเงิน (กําไร) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจริ ง ขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย ขาดทุนจากการด้อยค่าเงินลงทุนระยะยาวอื่น หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ สํารองค่าเผื่อสิ นค้าล้าสมัยและเสื่ อมสภาพ (กลับรายการ) ต้นทุนสําหรับภาระผูกพันของผลประโยชน์พนักงาน ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงในสิ นทรั พย์ และหนีส้ ิ นดําเนินงาน ลูกหนี้การค้า สิ นค้าคงเหลือ ลูกหนี้อื่น สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้ระยะยาว สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

-738,663

143,520

-431,058

153,338

35,470 -7,209 100,860 -1,084 315 611,512 -54,427 4,547 75,862 27,183

28,631 -2,629 58,116 55,250 2,130 51,030 35,314 118,554 3,951 128,548 622,415

35,285 -33,451 90,297 903 92 78,635 605,235 12,378 4,547 75,862 438,725

28,603 -8,586 47,327 13,611 2,131 51,030 25,668 27,460 3,951 102,905 447,438

-771,468 2,033,831 -527,378 14,227 28,206 2,830 -1,081,275 31,711 -4,090 -59,231 -305,454

145,524 -2,137,608 -420,930 (13,418) -57,425 -4,639 1,248,395 -8,827 -22,188 -186,543 -835,244

-934,635 163,572 (598,362) 8,691 28,206 2,670 97,172 19,825 -2,227 -59,018 -835,381

206,851 -427,410 (171,497) (1,641) (57,425) (4,479) 303,723 12,605 -25,500 -131,776 150,889

80 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกระแสเงินสด บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (พันบาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน รับดอกเบี้ย เงินจ่ายสุ ทธิ จากการซื้ อบริ ษทั ย่อย เงินจ่ายสุ ทธิ จากการซื้ อเงินลงทุนระยะยาวอื่น ซื้ ออุปกรณ์ ขายอุปกรณ์ เงินให้กยู้ ืมแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมการลงทุน

7,209 (44,127) 255 (6,225) (42,888)

2,629 (8,571) (104,573) 113 (6,522) (116,924)

38,359 (198,994) (43,228) 140 390,450 (6,225) 180,502

2,345 (104,132) 113 (601,500) (6,522) (709,696)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จ่ายดอกเบี้ย จ่ายเงินปันผลให้ผถู ้ ือหุน้ ของบริ ษทั จ่ายชําระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดรับสุ ทธิ จากเงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินกูย้ ืม จ่ายชําระเงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากการออกหุน้ สามัญ เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน

(99,193) (31,678) (1,640)

(58,083) (104,244) (1,635)

(88,599) (31,678) (1,640)

(47,380) (104,244) (1,635)

366,559 6,943 240,991

1,241,735 17,036 1,094,809

754,646 6,943 639,672

787,618 (38,000) 17,036 613,395

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 5 เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันสิ้นปี 5

(107,351) 185,252 77,901

142,641 42,611 185,252

(15,207) 82,297 67,090

54,588 27,709 82,297

81 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

งบกระแสเงินสด บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554

สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (พันบาท)

ข้ อมูลงบกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิม่ เติม รายละเอียดอุปกรณ์ที่ซ้ื อมาในระหว่างปี มีดงั นี้ อุปกรณ์ที่เพิ่มขึ้นในระหว่างปี การเปลี่ยนแปลงในเจ้าหนี้ค่าซื้ ออุปกรณ์ อุปกรณ์ ที่ซื้อมาโดยการชําระเป็ นเงินสด

12

รายละเอียดสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ซ้ื อมาในระหว่างปี มีดงั นี้ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่เพิ่มขึ้นในระหว่างปี 13 การเปลี่ยนแปลงในเจ้าหนี้ค่าซื้ อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตนที่ซื้อมาโดยการชําระเป็ นเงินสด

82 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

35,038 -9,089 44,127

117,619 13,046 104,573

34,143 -9,085 43,228

117,178 13,046 104,132

300 -5,925 6,225

24,022 17,500 6,522

300 -5,925 6,225

24,022 17,500 6,522


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงิน – สารบัญ

หมายเหตุ

สารบัญ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34

ข้ อมูลทัว่ ไป เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน นโยบายการบัญชีที่สําคัญ บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี ้การค้ า ลูกหนี ้อื่น สินค้ าคงเหลือ เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย เงินลงทุนระยะยาวอื่น ลูกหนี ้การค้ าระยะยาว อุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ย เจ้ าหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้อื่น ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ทุนเรื อนหุ้น ใบสําคัญแสดงสิทธิ สํารอง ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่วนงาน รายได้ อื่น ค่าใช้ จ่ายผลประโยชน์ของพนักงาน ค่าใช้ จ่ายตามลักษณะ ต้ นทุนทางการเงิน ภาษี เงินได้ กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น เงินปั นผล เครื่ องมือทางการเงิน ภาระผูกพันที่มีกบั บุคคลหรื อกิจการที่ไม่เกี่ยวข้ องกัน หนี ้สินที่อาจเกิดขึ ้น เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยงั ไม่ได้ ใช้ การจัดประเภทรายการใหม่

83 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ งบการเงินนี ้ได้ รับอนุมตั ใิ ห้ ออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2556 1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษัท เอสไอเอส ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (“บริ ษัท”) เป็ นนิติบคุ คลที่จดั ตั้งขึ ้นในประเทศไทย และมีที่อยู่จดทะเบียนตั้งอยู่เลขที่ 9 อาคารภคินท์ ชั้นที่ 9 ห้ องเลขที่ 901 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย บริ ษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 21 มิถนุ ายน 2547 ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในระหว่างปี ได้ แก่SiS Technologies (Thailand) Pte. Ltd. (ถือหุ้นร้ อยละ 47.00) ซึง่ เป็ นนิติบคุ คล จัดตั้งในประเทศสิงคโปร์ ,กลุ่มตระกูลสิทธิ ชัยศรี ชาติ (ถื อหุ้นร้อยละ 14.57) และตระกูลปั งศรี นนท์ (ถื อหุ้นร้อยละ 9.77) บริ ษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สํานักงานอัตโนมัติ การให้ บริ การและให้ เช่าคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตอ่ พ่วง และการจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลงรายละเอียดของบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 ได้ เปิ ดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 4และ 9

2

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน

(ก)

เกณฑ์ การถือปฏิบตั ิ งบการเงินนี ้จัดทําขึ ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมถึงแนวปฏิบตั ิทางการบัญชีที่ประกาศใช้ โดยสภา วิชาชีพบัญชีฯ (“สภาวิชาชีพบัญชี”) กฎระเบียบและประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่เกี่ยวข้ อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 สภาวิชาชีพบัญชีได้ ออกและปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ ซึง่ มี ผลบังคับสําหรับงบการเงินที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้ นไป และไม่ได้ มีการนํามาใช้ สําหรับการ จัดทํางบการเงินนี ้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรั บปรุ งใหม่ดงั กล่าวได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้ อ 33

84 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 (ข)

เกณฑ์ การวัดมูลค่ า งบการเงินนี้ จดั ทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑ์การบันทึกตามราคาทุนเดิ มยกเว้นเครื่ องมือทางการเงินที่แสดงด้วยมูลค่า ยุติธรรมผ่านกําไรหรื อขาดทุนวัดมูลค่าด้วยราคายุติธรรม

(ค)

สกุลเงินทีน่ ําเสนองบการเงิน งบการเงิน นี จ้ ัด ทํ าและแสดงหน่ วยเงิ นตราเป็ นเงิ นบาท ข้ อมูลทางการเงิ นทัง้ หมดมี การปั ด เศษในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินเพื่อให้ แสดงเป็ นหลักพันบาทยกเว้ นที่ระบุไว้ เป็ นอย่างอื่น

(ง)

การประมาณการและใช้ วจิ ารณญาณ ในการจัดทํางบการเงินให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผู้บริ หารต้ องใช้ วิจารณญาณ การประมาณ และข้ อสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบต่อการกํ าหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงินที่ เกี่ยวกับ สินทรัพย์ หนี ้สิน รายได้ และค่าใช้ จ่าย ผลที่เกิดขึ ้นจริ งอาจแตกต่างจากที่ประมาณไว้ ประมาณการและข้ อสมมติฐานที่ใช้ ในการจัดทํางบการเงินจะได้ รับการทบทวนอย่างต่อเนื่อง การปรับประมาณ การทางบัญชีจะบันทึกในงวดบัญชีที่ประมาณการดังกล่าวได้ รับการทบทวนและในงวดอนาคตที่ได้ รับผลกระทบ ข้ อ มูล เกี่ ย วกับ การประมาณความไม่ แ น่ น อนและข้ อ สมมติฐ านที่ สํ า คัญ ในการกํ า หนดนโยบายการบัญ ชี มี ผลกระทบสําคัญต่อการรับรู้ จํานวนเงินในงบการเงินซึ่งประกอบด้ วยหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 17การวัด มูลค่าของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์

3

นโยบายการบัญชีทสี่ ํ าคัญ นโยบายการบัญชีที่นําเสนอดังต่อไปนี ้ได้ ถือปฏิบตั โิ ดยสมํ่าเสมอสําหรับงบการเงินทุกรอบระยะเวลาที่รายงาน

(ก) เกณฑ์ ในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบด้ วยงบการเงินของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย (รวมกันเรี ยกว่า “กลุม่ บริ ษัท”)

85 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 บริ ษัทย่อย บริ ษัทย่อยเป็ นกิจการที่อยู่ภายใต้ การควบคุมของกลุม่ บริ ษัท การควบคุมเกิดขึ ้นเมื่อกลุม่ บริ ษัทมีอํานาจควบคุม ทั้ง ทางตรงหรื อ ทางอ้ อ มในการกํ า หนดนโยบายทางการเงิ น และการดํ า เนิ น งานของกิ จ การนัน้ เพื่ อ ได้ ม าซึ่ง ประโยชน์ จากกิจกรรมของบริ ษัทย่อย งบการเงินของบริ ษัทย่อยได้ รวมอยู่ในงบการเงินรวม นับแต่วันที่มีการ ควบคุมจนถึงวันที่การควบคุมสิ ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริ ษัทย่อยได้ ถกู เปลี่ยนตามความจําเป็ นเพื่อให้ เป็ นนโยบายเดียวกันกับของกลุม่ บริ ษัทผล ขาดทุนในบริ ษัทย่อยจะต้ องถูกปั นส่วนไปยังส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมแม้ ว่าการปั นส่วนดังกล่าวจะทําให้ ส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม (ข) เงินตราต่ างประเทศ รายการบัญชี ทีเ่ ป็ นเงิ นตราต่างประเทศ รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย์และหนี ้สินที่เป็ นตัวเงินและเป็ นเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันนั้น กําไรหรื อขาดทุนจากการแปลงค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุน สินทรัพย์และหนี ้สินที่ไม่เป็ นตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑ์ราคา ทุนเดิม แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้ อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ (ค) เครื่ องมือทางการเงินทีเ่ ป็ นตราสารอนุพันธ์ เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ได้ ถกู นํามาใช้ เพื่อจัดการความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ที่เกิดจากกิจกรรมดําเนินงาน เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ไม่ได้ มีไว้ เพื่อค้ า อย่างไรก็ตาม ตราสารอนุพันธ์ ที่ไม่เข้ าเงื่อนไข การกํ าหนดให้ เป็ นเครื่ องมือป้องกันความเสี่ยงถื อเป็ น รายการเพื่อค้ า เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ จะถูกบันทึกบัญชีเมื่อเริ่ มแรกด้ วยมูลค่ายุติธรรม ค่าใช้ จ่ายที่เกิดจาก การทํารายการดังกล่าวบันทึกในงบกําไรขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น การวัดมูลค่าใหม่ภายหลังการบันทึกครั้งแรกใช้ มลู ค่า ยุตธิ รรม กําไรหรื อขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้ เป็ นมูลค่ายุตธิ รรมบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนทันที

86 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 หากมีราคาตลาด มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าถือตามราคาตลาดของสัญญา ล่วงหน้ า ณ วันที่รายงาน ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาด ให้ ประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่าง ราคาล่วงหน้ าตามสัญญา กับราคาล่วงหน้ าของสัญญาปั จจุบนั ณ วันที่รายงานที่ครบกําหนดในวันเดียวกัน โดย ใช้ อตั ราดอกเบี ้ยประเภทที่ใช้ กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล (ง)

การป้องกันความเสี่ยง การป้ องกันความเสีย่ งจากมูลค่ายุติธรรม ในกรณีที่เครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ ถกู ใช้ ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงในมูลค่า ยุตธิ รรมของสินทรัพย์ หนี ้สิน หรื อข้ อผูกมัดที่ยงั ไม่มีการรับรู้ (หรื อเฉพาะส่วนที่เจาะจงของสินทรัพย์ หนี ้สิน หรื อข้ อ ผูกมัด) กํ าไรหรื อขาดทุนจากการตีราคาตามมูลค่ายุติธรรมหรื อองค์ ประกอบที่ เป็ นเงินตราต่างประเทศของ เครื่ องมือทางการเงินที่ใช้ ป้องกันความเสี่ยงถูกบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนรายการที่ได้ รับการป้องกันความเสี่ยงตี ราคาตามมูลค่ายุตธิ รรมเพื่อให้ สอดคล้ องกับความเสี่ยงที่มีการป้องกัน กําไรหรื อขาดทุนที่เกิดขึ ้นถูกบันทึกในกําไร หรื อขาดทุน

(จ) เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดในงบกระแสเงินสดประกอบด้ วย ยอดเงินสด ยอดเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อ เรี ยก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคล่องสูง เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารซึ่งจะต้ องชําระคืนเมื่อทวงถามถือเป็ น ส่วนหนึง่ ของกิจกรรมจัดหาเงินในงบกระแสเงินสด (ฉ) ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อื่น ลูกหนี ้การค้ าและลูกหนี ้อื่นแสดงในราคาตามใบแจ้ งหนี ้หักค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญพิจารณาโดยอาศัยการประเมินของฝ่ ายบริ หารเกี่ยวกับความสูญเสียที่อาจเกิดขึ ้นจากยอด ลูกหนี ้คงค้ าง การประเมินดังกล่าวได้ คํานึงถึงลูกหนี ้ที่ค้างชําระเกินกว่า 3 เดือนขึ ้นไปโดยจะตั้งค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะ สูญในอัตราร้ อยละ 100 ร่ วมกับ การวิเคราะห์ ประวัติการชําระหนีแ้ ละการคาดการณ์ เกี่ ยวกับการชํ าระหนีใ้ น อนาคตของลูกหนี ้ ตลอดจนสภาวะทางเศรษฐกิจในประเทศ ลูกหนี ้จะถูกตัดจําหน่ายออกจากบัญชีเมื่อทราบว่า เป็ นหนี ้สูญ

87 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 (ซ) เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษัทย่อยในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษัทบันทึกบัญชีโดยใช้ วิธีราคาทุน เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่ใช่หลักทรัพย์ในความต้ องการของตลาดแสดงในราคาทุนหักขาดทุนจากการด้ อยค่า (ฌ)

อุปกรณ์ การรับรู้และการวัดมูลค่า สิ นทรัพย์ทีเ่ ป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษัท อุปกรณ์แสดงด้ วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่า ราคาทุนรวมถึงต้ นทุนทางตรงที่เกี่ ยวข้ องกับการได้ มาของสินทรั พย์ ต้ นทุนของการก่อสร้ างสินทรั พย์ที่กิจการ ก่อสร้ างเอง รวมถึงต้ นทุนของวัสดุแรงงานทางตรง และต้ นทุนทางตรงอื่น ๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับการจัดหาสินทรั พย์ เพื่อให้ สินทรัพย์นั ้นอยู่ในสภาพที่พร้ อมจะใช้ งานได้ ตามความประสงค์ ต้ นทุนในการรื อ้ ถอนการขนย้ ายการบูรณะ สถานที่ตั้งของสินทรัพย์และต้ นทุนการกู้ยืม สําหรับเครื่ องมือที่ควบคุมโดยลิขสิทธ์ซอฟแวร์ ซงึ่ ไม่สามารถทํางานได้ โดยปราศจากลิขสิทธ์ซอฟแวร์ นั้นให้ ถือว่า ลิขสิทธ์ซอฟแวร์ ดงั กล่าวเป็ นส่วนหนึง่ ของอุปกรณ์ ส่วนประกอบของรายการอุปกรณ์แต่ละรายการที่มีอายุการให้ ประโยชน์ไม่เท่ากันต้ องบันทึกแต่ละส่วนประกอบที่มี นัยสําคัญแยกต่างหากจากกัน กําไรหรื อขาดทุนจากการจําหน่ายอุปกรณ์ คือผลต่างระหว่างสิง่ ตอบแทนสุทธิที่ได้ รับจากการจําหน่ายกับมูลค่า ตามบัญชีของอุปกรณ์ โดยรับรู้สทุ ธิเป็ นรายได้ อื่นในกําไรหรื อขาดทุน

88 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 สิ นทรัพย์ทีเ่ ช่า การเช่าซึง่ กลุม่ บริ ษัทได้ รับส่วนใหญ่ของความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพย์สินที่เช่านั ้นๆ ให้ จดั ประเภทเป็ นสัญญาเช่าการเงิน ส่วนอุปกรณ์ ที่ได้ มาโดยทําสัญญาเช่าการเงินบันทึกเป็ นสินทรั พย์ด้วยมูลค่า ยุติธรรมหรื อมูลค่าปั จจุบนั ของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้ วแต่จํานวนใดจะตํ่ากว่า หักด้ วยค่า เสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการด้ อยค่า ค่าเช่าที่ชําระจะแยกเป็ นส่วนที่เป็ นค่าใช้ จ่ายทางการเงิน และส่วนที่ จะหัก จากหนี ต้ ามสัญ ญา เพื่ อ ทํ า ให้ อัต ราดอกเบี ย้ แต่ล ะงวดเป็ นอัต ราคงที่ สํ า หรั บ ยอดคงเหลื อ ของหนี ส้ ิ น ค่าใช้ จ่ายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในกําไรหรื อขาดทุน ต้นทุนทีเ่ กิ ดขึ้นในภายหลัง ต้ นทุนในการเปลี่ยนแทนส่วนประกอบจะรับรู้ เป็ นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชีของรายการอุปกรณ์ ถ้ ามีความ เป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ที่กลุม่ บริ ษัทจะได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลค่า ต้ นทุนของรายการนั้นได้ อย่างน่าเชื่อถือ ชิ ้นส่วนที่ถกู เปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหน่ายตามมูลค่าตามบัญชี ต้ นทุนที่ เกิดขึ ้นในการซ่อมบํารุงอุปกรณ์ที่เกิดขึ ้นเป็ นประจําจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิดขึ ้น ค่าเสือ่ มราคา ค่าเสื่อมราคาคํานวณจากมูลค่าเสื่อมสภาพของรายการอุปกรณ์ ซึง่ ประกอบด้ วยราคาทุนของสินทรัพย์หรื อต้ นทุน ในการเปลี่ยนแทนอื่นหักด้ วยมูลค่าคงเหลือของสินทรัพย์ ค่ า เสื่ อ มราคาบัน ทึ ก เป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยในกํ า ไรหรื อ ขาดทุน คํ า นวณโดยวิ ธี เ ส้ น ตรงตามเกณฑ์ อ ายุก ารใช้ ง าน โดยประมาณของสินทรัพย์แต่ละรายการ ประมาณการอายุการใช้ งานของสินทรัพย์แสดงได้ ดงั นี ้ ยานพาหนะ เครื่ องตกแต่งและติดตั้ง คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สํานักงาน ส่วนปรับปรุงอาคารเช่า

5 5 3 และ 5 3, 5, 10 และ 12

ปี ปี ปี ปี

กลุม่ บริ ษัทไม่คดิ ค่าเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างการก่อสร้ าง วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา อายุการให้ ประโยชน์ของสินทรัพย์ และมูลค่าคงเหลือ ถูกทบทวนอย่างน้ อยที่สดุ ทุกสิ ้น รอบปี บัญชี และปรับปรุงตามความเหมาะสม

89 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 (ญ)

สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน ค่าลิ ขสิ ทธิ์ ซอฟแวร์ ค่าลิขสิทธิ์ซอฟแวร์ ที่กลุ่มบริ ษัทซื ้อมาและมีอายุการใช้ งานจํากัด แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและ ผลขาดทุนจากการด้ อยค่าสะสม ค่าตัดจํ าหน่าย ค่าตัดจําหน่ายคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพย์หรื อจํานวนอื่นที่ใช้ แทนราคาทุนหักด้ วยมูลค่าคงเหลือ ค่าตัดจําหน่ายรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงซึง่ โดยส่วนใหญ่จะสะท้ อนรูปแบบที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ ในอนาคตจากสินทรัพย์นนตามระยะเวลาที ั้ ่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์จากค่าลิขสิทธิ์ซอฟแวร์ โดยเริ่ มตัดจําหน่าย เมื่อค่าลิขสิทธิ์ ซอฟแวร์ นั้นพร้ อมที่จะให้ ประโยชน์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ สําหรั บปี ปั จจุบันและปี เปรี ยบเทียบคือ 5 และ 10 ปี วิธีการตัดจําหน่าย ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้ รับประโยชน์ และ มูลค่าคงเหลือ จะได้ รับการทบทวนทุกสิ ้นรอบปี บัญชีและปรับปรุงตามความเหมาะสม

(ฎ) การด้ อยค่ า ยอดสินทรัพย์ตามบัญชีของกลุม่ บริ ษัทได้ รับการทบทวน ณ ทุกวันที่รายงานว่ามีข้อบ่งชี ้เรื่ องการด้ อยค่าหรื อไม่ ใน กรณีที่มีข้อบ่งชี ้จะทําการประมาณมูลค่าสินทรัพย์ที่คาดว่าจะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่ารับรู้เมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ หรื อมูลค่าตามบัญชีของหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิด เงินสด สูงกว่ามูลค่าที่จะได้ รับคืน ขาดทุนจากการด้ อยค่าบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนเว้ นแต่เมื่อมีการกลับรายการ การประเมินมูลค่าของสินทรัพย์เพิ่มของสินทรัพย์ชิ ้นเดียวกันที่เคยรั บรู้ ในส่วนของผู้ถือหุ้นและมีการด้ อยค่าใน เวลาต่อมา ในกรณีนี ้จะรับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น

90 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 การคํานวณมูลค่าทีค่ าดว่าจะได้รบั คืน มูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึงมูลค่าจากการใช้ ของสินทรัพย์หรื อ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หกั ต้ นทุนในการขายแล้ วแต่มลู ค่าใดจะสูงกว่า ในการประเมินมูลค่าจากการใช้ ของ สินทรัพย์ ประมาณการกระแสเงินสดที่จะได้ รับในอนาคตจะคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบนั โดยใช้ อตั ราคิดลดก่อนคํานึง ภาษี เงินได้ เพื่อให้ สะท้ อนมูลค่าที่อาจประเมินได้ ในตลาดปั จจุบนั ซึง่ แปรไปตามเวลาและความเสี่ยงที่มีตอ่ สินทรัพย์ สําหรับสินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้ เกิดกระแสเงินสดรับโดยอิสระจากสินทรัพย์อื่น จะพิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืน รวมกับหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้ เกิดเงินสดที่สนิ ทรัพย์นั้นเกี่ยวข้ องด้ วย การกลับรายการด้อยค่า ขาดทุนจากการด้ อยค่าของสินทรั พย์ ทางการเงินจะถูกกลับรายการ เมื่ อมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนเพิ่มขึน้ ใน ภายหลัง และการเพิ่มขึน้ นั้นสัมพันธ์ โดยตรงกับขาดทุนจากการด้ อยค่าที่เคยรั บรู้ ในกํ าไรหรื อขาดทุน สําหรั บ สินทรัพย์ทางการเงินที่บนั ทึกโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ายและตราสารหนี ้ที่จดั ประเภทเป็ นหลักทรัพย์เผื่อขาย การ กลับ รายการจะถูก บัน ทึก ในกํ า ไรหรื อ ขาดทุน ส่ว นสิ น ทรั พ ย์ ท างการเงิ น ที่ เ ป็ นตราสารทุน ที่ จัด ประเภทเป็ น หลักทรัพย์เผื่อขาย การกลับรายการจะถูกรับรู้โดยตรงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น (ฏ) หนี้สินทีม่ ีภาระดอกเบี้ย หนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ยบันทึกเริ่ มแรกในมูลค่ายุติธรรมหักค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี ้สิน ภายหลังจากการ บันทึกหนี ้สินที่มีภาระดอกเบี ้ยจะบันทึกต่อมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหน่าย ผลต่างระหว่างยอดหนี ้เริ่ มแรกและยอด หนี ้เมื่อครบกําหนดไถ่ถอนจะบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนตลอดอายุการกู้ยืมโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง (ฐ) เจ้ าหนี้การค้ าและเจ้ าหนี้อื่น เจ้ าหนี ้การค้ าและเจ้ าหนี ้อื่น แสดงในราคาทุน

91 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 (ฑ) ผลประโยชน์ พนักงาน โครงการสมทบเงิ น โครงการสมทบเงินเป็ นโครงการผลประโยชน์ พนักงานหลังออกจากงาน ซึ่งกิจการจ่ายสมทบเป็ นจํานวนเงินที่ แน่นอนไปอีกกิจการหนึ่งแยกต่างหาก (กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพ) และจะไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระ ผูกพันโดยอนุมานที่จะต้ องจ่ายสมทบเพิ่มเติม ภาระผูกพันในการสมทบเข้ าโครงการสมทบเงินจะถูกรั บรู้ เป็ น ค่าใช้ จ่ายพนักงานในกําไรหรื อขาดทุนในรอบระยะเวลาที่พนักงานได้ ทํางานให้ กบั กิจการ โครงการผลประโยชน์ทีก่ ํ าหนดไว้ โครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ เป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานนอกเหนือจากโครงการสมทบเงิน ภาระผูกพันสุทธิของกลุม่ บริ ษัทจากโครงการผลประโยชน์ที่กําหนดไว้ ถกู คํานวณแยกต่างหากเป็ นรายโครงการจาก การประมาณผลประโยชน์ในอนาคตที่เกิดจากการทํางานของพนักงานในปั จจุบนั และในงวดก่อน ๆ ผลประโยชน์ ดังกล่าวได้ มีการคิดลดกระแสเงินลดเพื่อให้ เป็ นมูลค่าปั จจุบนั ทั้งนี ้ได้ สทุ ธิจากต้ นทุนบริ การในอดีตที่ยงั ไม่รับรู้และ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์โครงการ อัตราคิดลดเป็ นอัตรา ณ วันที่รายงานจากพันธบัตรระยะยาวของรัฐบาลใน ประเทศไทยซึ่งมีระยะเวลาครบกําหนดใกล้ เคียงกับระยะเวลาของภาระผูกพันของกลุม่ บริ ษัท และมีสกุลเงินเดียวกับ สกุลเงินของผลประโยชน์ที่คาดว่าจะจ่าย การคํานวณนั้นจัดทําโดยนักคณิตศาสตร์ ประกันภัยที่ได้ รับอนุญาต โดยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ เมื่อมีการคํานวณผลของผลประโยชน์ของพนักงานของกลุ่มบริ ษัท การรับรู้ เป็ นสินทรัพย์จํากัดเพียงยอดรวมของ ต้ นทุนในอดีตที่ยงั ไม่รับรู้ และมูลค่าปั จจุบนั ของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มีในรู ปของการได้ รับคืนในอนาคตจาก โครงการหรื อการหักการสมทบเข้ าโครงการในอนาคต ในการคํานวณมูลค่าปั จจุบนั ของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ มี การพิจารณาถึงความต้ องการเงินทุนขั้นตํ่าสําหรับโครงการต่าง ๆ ของกลุ่มบริ ษัท ผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจมี ให้ กบั กลุม่ บริ ษัท ถ้ าถูกรับรู้ภายในระยะเวลาของโครงการ หรื อ การจ่ายชําระของหนี ้สินของโครงการ เมื่อมีการเพิ่มผลประโยชน์ในโครงการผลประโยชน์ สัดส่วนที่เพิ่มขึ ้นของผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้ องกับต้ นทุนบริ การ ในอดีตของพนักงานรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงตามระยะเวลาถัวเฉลี่ยจนถึงวันที่ผลประโยชน์นั้นเป็ น สิทธิขาด ผลประโยชน์ที่เป็ นสิทธิขาดจะรับรู้เป็ นค่าใช้ จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนทันที

92 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 ผลประโยชน์ระยะสัน้ ของพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชน์ ระยะสันของพนั ้ กงานวัดมูลค่าโดยมิได้ คิดลดกระแสเงินสดและรับรู้ เป็ นค่าใช้ จ่ายเมื่อ พนักงานทํางานให้ หนี ้สินรับรู้ด้วยมูลค่าที่คาดว่าจะจ่ายชําระสําหรับการจ่ายโบนัสเป็ นเงินสดระยะสั้นหรื อการปั นส่วนกําไร หากกลุม่ บริ ษัทมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันโดยอนุมานที่จะต้ องจ่ายอันเป็ นผลมาจากการที่พนักงานได้ ทํางานให้ ในอดีตและภาระผูกพันนี ้สามารถประมาณได้ อย่างสมเหตุสมผล (ฒ) รายได้ รายได้ ที่รับรู้ไม่รวมภาษี มลู ค่าเพิ่ม และแสดงสุทธิจากส่วนลดการค้ า การขายสิ นค้าและให้บริ การ รายได้ รับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อได้ โอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้ าของสินค้ าที่มีนยั สําคัญไป ให้ กบั ผู้ซื ้อแล้ ว และจะไม่รับรู้รายได้ ถ้าฝ่ ายบริ หารยังมีการควบคุมหรื อบริ หารสินค้ าที่ขายไปแล้ วนั้นหรื อมีความไม่ แน่นอนที่มีนยั สําคัญในการได้ รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากการขายสินค้ าหรื อให้ บริ การนั ้น ไม่อาจวัดมูลค่าของ จํานวนรายได้ และต้ นทุนที่เกิดขึ ้นได้ อย่างน่าเชื่อถือ หรื อมีความเป็ นไปได้ คอ่ นข้ างแน่นอนที่จะต้ องรับคืนสินค้ า บริ ษัทจะรับรู้ รายได้ จากการจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลงสุทธิจากการประมาณการรับคืน เมื่อสินค้ าได้ ถูกจําหน่ายให้ กบั ลูกค้ าแล้ ว บริ ษัทจะรับรู้ รายได้ จากการจัดจําหน่ายสินค้ าผ่านทางร้ านค้ า (Smartshop) เมื่อผู้แทนจําหน่ายของบริ ษัทได้ จําหน่ายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ าแล้ ว รายได้ จากการให้ บริ การรับรู้เมื่อให้ บริ การแก่ลกู ค้ าแล้ ว ดอกเบี ย้ รับ ดอกเบี ้ยรับบันทึกในกําไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้ าง

93 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 (ณ) ต้ นทุนทางการเงิน ดอกเบี ้ยจ่ายและค่าใช้ จ่ายในทํานองเดียวกันรับรู้ ในกําไรหรื อขาดทุนในงวดที่ค่าใช้ จ่ายดังกล่าวเกิดขึ ้น ดอกเบี ้ย ซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของค่างวดตามสัญญาเช่าการเงินรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนโดยใช้ วิธีอตั ราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ ง (ด) สัญญาเช่ าดําเนินงาน รายจ่ายภายใต้ สญ ั ญาเช่าดําเนินงานบันทึกในกําไรหรื อขาดทุนโดยวิธีเส้ นตรงตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ประโยชน์ที่ ได้ รับตามสัญญาเช่าจะรับรู้ในกําไรหรื อขาดทุนเป็ นส่วนหนึง่ ของค่าเช่าทั้งสิ ้นตามสัญญาตลอดอายุสญ ั ญาเช่า ค่าเช่าที่อาจเกิดขึ ้นต้ องนํามารวมคํานวณจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ต้องจ่ายตามระยะเวลาที่คงเหลือของสัญญาเช่า เมื่อ ได้ รับการยืนยันการปรับค่าเช่า การจําแนกประเภทสัญญาเช่ า ณ วันที่เริ่ มต้ นข้ อตกลง กลุ่มบริ ษัทจะพิจารณาว่าข้ อตกลงดังกล่าวประกอบด้ วยสัญญาเช่าหรื อมีสญ ั ญาเช่าเป็ น ส่วนประกอบหรื อไม่ โดยพิจารณาจากสินทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง ถ้ าการปฏิบตั ติ ามข้ อตกลงนันขึ ้ ้นอยูก่ บั การใช้ สนิ ทรัพย์ที่มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจง และข้ อตกลงนั้นจะนําไปสูส่ ทิ ธิในการใช้ สินทรัพย์ ถ้ าทําให้ กลุม่ บริ ษัทมี สิทธิในการควบคุมการใช้ สนิ ทรัพย์ (ต) ภาษีเงินได้ ภาษี เงินได้ จากกําไรหรื อขาดทุนสําหรับปี ประกอบด้ วยภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั ซึ่งได้ แก่ภาษี ที่คาดว่าจะจ่าย ชําระโดยคํานวณจากกํ าไรหรื อขาดทุนประจําปี ที่ต้องเสียภาษี โดยใช้ อัตราภาษี ที่ประกาศใช้ ณ วันที่รายงาน ตลอดจนการปรับปรุงทางภาษี ที่เกี่ยวกับรายการในปี ก่อนๆ ในการกําหนดมูลค่าของภาษี เงินได้ ของงวดปั จจุบนั กลุม่ บริ ษัทต้ องคํานึงถึงผลกระทบของสถานการณ์ทางภาษี ที่ ไม่แน่นอนและอาจทําให้ จํานวนภาษี ที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ ้น และมีดอกเบี ้ยที่ต้องชําระ กลุม่ บริ ษัทเชื่อว่าได้ ตั ้งภาษี เงิน ได้ ค้างจ่ายเพียงพอสําหรั บภาษี เงินได้ ที่จะจ่ายในอนาคต ซึ่งเกิ ดจากการประเมินผลกระทบจากหลายปั จจัย รวมถึง การตีความทางกฎหมายภาษี และจากประสบการณ์ในอดีต การประเมินนี ้อยูบ่ นพื ้นฐานการประมาณการ และข้ อสมมติฐาน และอาจจะเกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต ข้ อมูลใหม่ๆอาจจะทําให้ กลุม่ บริ ษัทเปลี่ยนการตัดสินใจโดยขึ ้นอยู่กบั ความเพียงพอของภาษี เงินได้ ค้างจ่ายที่มีอยู่ การเปลี่ยนแปลงในภาษี เงินได้ ค้างจ่ายจะกระทบต่อค่าใช้ จ่ายภาษี เงินได้ ในงวดที่เกิดการเปลี่ยนแปลง

94 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 (ถ) กําไรต่ อหุ้น กลุ่มบริ ษัท แสดงกําไรต่อหุ้นขั้นพื ้นฐานและกําไรต่อหุ้นปรับลดสําหรับหุ้นสามัญ กําไรต่อหุ้นขั้นพื ้นฐานคํานวณ โดยการหารกํ าไรหรื อขาดทุนของผู้ถือ หุ้นสามัญของกลุ่มบริ ษัท ด้ วยจํ านวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่ วงนํ า้ หนักที่ ออกจําหน่ายระหว่างปี กําไรต่อหุ้นปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรหรื อขาดทุนของผู้ถือหุ้นสามัญที่ปรับปรุงด้ วย จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ ้าหนักที่ออกจําหน่ายและปรับปรุงด้ วยจํานวนสิทธิซื ้อหุ้นของพนักงาน 4

บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทํางบการเงิน บุคคลหรื อกิจการเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันกับกลุม่ บริ ษัท หาก กลุม่ บริ ษัทมีอํานาจควบคุมหรื อควบคุมร่ วมกันทั้งทางตรงและทางอ้ อมหรื อมีอิทธิพลอย่างมีสาระสําคัญต่อบุคคล หรื อกิจการในการตัดสินใจทางการเงินและการบริ หารหรื อในทางกลับกัน โดยที่กลุ่มบริ ษัทมีควบคุมเดียวกันหรื อ การมีอิทธิพลอย่างมีสาระสําคัญเดียวกัน การเกี่ยวข้ องกันนี ้อาจเป็ นรายบุคคลหรื อเป็ นกิจการ ความสัมพันธ์ ที่มีกบั บริ ษัทย่อยได้ เปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 9 สําหรับความสัมพันธ์ กบั ผู้บริ หาร สําคัญและกิจการที่เกี่ยวข้ องกันอื่นมีดงั นี ้ ชื่อกิจการ

ประเทศที่จัดตัง้ /สัญชาติ

ผู้บริ หารสําคัญ

SiS International Holdings Ltd. SiS Technologies (Thailand) Pte Ltd. Qool Labs Pte Ltd. บริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด

เบอร์ มิวดา สิงคโปร์ สิงคโปร์

ลักษณะความสัมพันธ์ บุคคลที่มีอํานาจและความรั บผิดชอบการวางแผน สัง่ การและควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของกิจการไม่ว่า ทางตรงหรื อทางอ้ อม ทั้งนี ้ รวมถึงกรรมการของกลุ่ม บริ ษั ท /บริ ษั ท (ไม่ ว่ า จะทํ า หน้าที่ ใ นระดับ บริ ห าร หรื อไม่) เป็ นบริ ษัทใหญ่ในลําดับสูงสุดของกลุ่มบริ ษัท และมี กรรมการร่วมกันกับบริ ษัท อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของบริ ษัทใหญ่ในลําดับสูงสุด อยูภ่ ายใต้ การควบคุมของบริ ษัทใหญ่ในลําดับสูงสุด

ไทย ไทย

บริ ษัทย่อยเป็ นผู้ถือหุ้นร้ อยละ 15 บริ ษัทย่อยเป็ นผู้ถือหุ้นร้ อยละ 15

ไทย

บริ ษัทย่อยเป็ นผู้ถือหุ้นทางอ้ อม

95 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 บริษัทย่ อยทางตรง บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

ไทย

เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุน้ ร้อยละ 99.99

ไทย

เป็ นบริ ษัทย่อย บริ ษัทถือหุ้นร้ อยละ 99.99

นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดงั ต่อไปนี้ รายการ ขายสินค้ า ค่าธรรมเนียมการจัดการรับ / จ่าย ค่าเช่า ซื ้อสินค้ า ดอกเบี ้ยรับ / จ่าย สําหรับเงินให้ ก้ ยู ืม / เงินกู้ยืม ดอกเบี ้ยรับจากการชําระเงินล่าช้ า รับสินค้ าเพื่อชําระหนี ้

นโยบายการกําหนดราคา อ้ างอิงจากราคาตลาดบวกค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องที่เกิดขึ ้นจริ ง ตามอัตราที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา ตามอัตราที่ตกลงร่วมกันตามสัญญา อ้ างอิงจากต้ นทุนจริ งบวกค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้ องที่เกิดขึ ้นจริ ง อ้ างอิงกับอัตราดอกเบี ้ยของสถาบันการเงิน ตามอัตราที่ตกลงกัน ตามอัตราที่ตกลงร่ วมกันตามสัญญาอ้ างอิงจากราคาทุนซึ่งใกล้ เคียง กับราคาตลาด ณ วันที่รับสินค้ าเพื่อชําระหนี ้

รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้ องกันสําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สรุปได้ ดงั นี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท) 395,854 712,236 381,622 2,238 157,257 3,043 86,575 107,897 14,029 11,216 10,156 585 1,781 585 4,629 26,624 10,870 110 293,624 292,073

สําหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2554 2555

ขายสินค้ า ซื ้อสินค้ า รายได้ คา่ ธรรมเนียมการจัดการ ค่าธรรมเนียมการจัดการ รายได้ คา่ เช่า ดอกเบี ้ยรับ ดอกเบี ้ยจ่าย รับสินค้ าเพื่อชําระหนี ้

728,166 157,091 13,679 1,781 -

96 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 สําหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม 2555 2554

ผู้บริหารสําคัญ ค่าตอบแทนผู้บริ หารสําคัญ ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวมค่าตอบแทนผู้บริ หารสําคัญ

44,467 1,889 46,356

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

49,642 1,990 51,632

36,895 1,536 38,431

41,002 1,618 42,620

ยอดคงเหลือกับกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ณ วันที่31 ธันวาคมมีดงั นี ้ งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

ลูกหนี้การค้ าบริษัททีเ่ กี่ยวข้ องกัน บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด บริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด

46,572 30

69,283 93

46,572 30

64,168 93

หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ

46,602 (46,572) 30

17,914 87,290 (52,236) 35,054

46,602 (46,572) 30

13,360 77,621 (42,590) 35,031

ลูกหนี้อื่น บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ

599,829 (599,829) -

-

584,284 (584,284) -

97 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

-


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

รายได้ ค้างรั บ บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

-

-

5,661

12,922

ดอกเบี้ยค้ างรั บ บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

-

-

1,333

6,241

เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสั้น แก่ กจิ การทีเ่ กีย่ วข้ องกัน

อัตรา ดอกเบีย้ 2555 2554

งบการเงินรวม

2555

งบการเงินเฉพาะ กิจการ

2554

3.68-4.00

3.55-3.86

2554

211,050

601,500

(พันบาท)

(ร้อยละต่อปี ) บริษัทย่ อย บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด

2555

-

-

รายการเคลื่อนไหวของเงินให้ ก้ ยู ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกันสําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2555 2554 2555 2554 (พันบาท) บริษัทย่ อย ณ วันที่ 1 มกราคม 601,500 เพิ่มขึ ้น 601,500 ลดลง (390,450) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 211,050 601,500 เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกันดังกล่าว มีกําหนดระยะเวลาชําระคืน เมื่อทวงถาม

98 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม 2555

2555

2554

2554

(พันบาท) เจ้ าหนี้การค้ าบริษัททีเ่ กี่ยวข้ องกัน บริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด

เจ้ าหนี้อื่นบริษัททีเ่ กี่ยวข้ องกัน SiS International Holdings Ltd.

85 -

86 2,395

85 -

86 2,395

85

9 2,490

85

9 2,490

-

3,915

-

4,451

ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย SiS International Holdings Ltd.

945

1,227

824

701

สัญญาสําคัญที่มีกับกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน รายได้ ค่าธรรมเนียมการจัดการ บริ ษัทมีสญ ั ญาค่าธรรมเนียมการจัดการกับบริษัทย่อย (บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด) เพื่อปั นส่วน ค่าใช้ จา่ ยจากการใช้ พนักงานและทรัพย์สนิ ร่วมกันสัญญามีกําหนดระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 เป็ นต้ น ไป โดยคิดในอัตราคงที่เดือนละ 3.68 ล้ านบาทรวมกับร้ อยละ 1 ของยอดขายสุทธิของบริษัทย่อยของแต่ละเดือน ค่ าธรรมเนียมการจัดการ ในปี 2547 บริ ษัทได้ ทําสัญญากับบริ ษัท SiS International Holdings Ltd. เพื่อปั นส่วนค่าใช้ จ่ายจากการใช้ พนักงานระดับบริ หารร่ วมกัน สัญญามีกําหนดระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547 เป็ นต้ นไป และจะจ่าย ค่าตอบแทนเป็ นรายเดือนในอัตราร้ อยละ 0.0625 ของยอดขายแต่ละเดือน

99 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม 2555 2554 เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

(พันบาท) 125 166 22,995 7,136 162,132 59,788 185,252 67,090

166 9,971 67,764 77,901

125 9,417 72,755 82,297

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดทั้งหมดของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 เป็ นสกุล เงินบาท 6

ลูกหนีก้ ารค้ า งบการเงินเฉพาะกิจการ

งบการเงินรวม หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บุคคลหรื อกิจการอื่นๆ รวม หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ สุทธิ หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ สําหรับปี

4

2555

2554

2555

2554

46,602 2,758,693 2,805,295 (210,229) 2,595,066

(พันบาท) 87,290 1,980,048 2,067,338 (230,642) 1,836,696

46,602 2,735,892 2,782,494 (209,851) 2,572,643

77,621 1,803,749 1,881,370 (220,996) 1,660,374

20,951

25,668

11,683

100 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

35,314


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 การวิเคราะห์อายุของลูกหนี ้การค้ ามีดงั นี ้ งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ น้ อยกว่า 3 เดือน 3 เดือน ถึง 6 เดือน 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ

บุคคลและกิจการอื่นๆ ยังไม่ครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ น้ อยกว่า 3 เดือน 3 เดือน ถึง 6 เดือน 6 เดือน ถึง 12 เดือน มากกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ รวม

81

73

81

73

46,521 46,602 (46,572) 30

35,673 36,842 14,507 195 87,290 (52,236) 35,054

46,521 46,602 (46,572) 30

34,957 31,035 11,361 195 77,621 (42,590) 35,031

1,880,137

1,299,836

1,861,202

1,189,000

555,809 45,812 178,967 97,968 2,758,693 (163,657) 2,595,036 2,595,066

446,819 135,080 3,050 95,263 1,980,048 (178,406) 1,801,642 1,836,696

551,943 45,812 178,967 97,968 2,735,892 (163,279) 2,572,613 2,572,643

380,900 135,388 3,172 95,289 1,803,749 (178,406) 1,625,343 1,660,374

โดยปกติระยะเวลาการให้ สนิ เชื่อแก่ลกู ค้ าของกลุม่ บริ ษัท มีระยะเวลาตั้งแต่ 30 วันถึง 90 วัน ลูกหนี ้การค้ าทั้งหมดของกลุม่ บริ ษัทและบริ ษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554เป็ นสกุลเงินบาท

101 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 7

ลูกหนีอ้ ่ ืน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ลูกหนี ้ความเสียหายจาก สินค้ าฝากขาย

4 4 4

สุทธิ

599,829 599,829 (599,829) -

-

584,284 5,661 1,333 591,278 (584,284) 6,994

12,922 6,241 19,163 19,163

กิจการอื่น ลูกหนี ้สรรพากร รายได้ ค้างรับ ค่าใช้ จา่ ยล่วงหน้ า อื่นๆ รวม

403,392 57,754 8,346 6,953 476,445

354,401 174,306 9,019 9,755 547,481

260,652 47,888 8,080 316,620

208,987 75,861 9,018 293,866

รวม

476,445

547,481

323,614

313,029

รายได้ ค้างรับ ดอกเบี ้ยค้ างรับ หัก ค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ

บริ ษัทและบริ ษัทย่อย (บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด) มีสญ ั ญาสินค้ าฝากขายกับบริ ษัทที่เกี่ยวข้ อง กัน (บริ ษัท ฮาร์ ดแวร์ เฮ้ าส์อินเตอร์ เนชัน่ แนล จํากัด) โดยในเดือนพฤศจิกายน 2555 บริ ษัทได้ แจ้ งเรี ยกคืนสินค้ า ฝากขายทั้งหมดจากบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันดังกล่าว เนื่องจากบริ ษัทที่เกี่ยวข้ องกันทําผิดสัญญารับฝากสินค้ า บริ ษัท และบริ ษัทย่อยจึงได้ ดําเนินการเรี ยกชดใช้ ความเสียหายจากสินค้ าฝากขายดังกล่าว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ยอดลูกหนี ้ความเสียหายจากสินค้ าฝากขายมียอดคงเหลือเป็ นเงินประมาณ 599.83ล้ านบาท (งบการเงินรวม) และ 584.28ล้ านบาท (งบการเงิน เฉพาะกิ จ การ) ตามลํ า ดับ ทั้ง นี บ้ ริ ษั ท อยู่ร ะหว่า งการเตรี ย มการเพื่ อ การฟ้ องร้ อง ดําเนินคดีต่อบริ ษัทที่เกี่ ยวข้ องกันดังกล่าว ดังนั้นบริ ษัทและบริ ษัทย่อยได้ ประมาณการค่าเผื่อหนี ส้ งสัยจะสูญ สําหรับลูกหนี ้ดังกล่าวไว้ เป็ นจํานวน 599.83 ล้ านบาทและ 584.28 ล้ านบาทตามลําดับ

102 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 8

สินค้ าคงเหลือ งบการเงินรวม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555

2554

2554

(พันบาท) สินค้ าสําเร็ จรูป- อุปกรณ์คอมพิเตอร์ และเครื่ องมือสื่อสาร สินค้ าสําเร็ จรูป - แผ่นดิจิตอลภาพ และเพลง สินค้ าระหว่างทาง รวม หัก ค่าเผื่อมูลค่าสินค้ าลดลง สุทธิ ต้ นทุนของสินค้ าคงเหลือที่บนั ทึกเป็ น เป็ นค่าใช้ จา่ ยและได้ รวมในบัญชี ต้ นทุนขาย - ต้ นทุนขาย - การปรับลดมูลค่าเป็ นมูลค่าสุทธิที่ คาดว่าจะได้ รับ - กลับรายการการปรับลดมูลค่า สุทธิ 9

1,254,420

3,302,846

1,174,383

1,352,981

15,645 40,678 1,310,743 (119,395) 1,191,348

18,827 22,901 3,344,574 (173,822) 3,170,752

15,645 40,678 1,230,706 (90,931) 1,139,775

18,827 22,470 1,394,278 (78,553) 1,315,725

21,265,618

21,259,601

17,108,258

15,382,538

12,378 (66,805) 21,211,191

118,554 21,378,155

12,378 17,120,635

27,460 15,409,998

เงินลงทุนในบริษัทย่ อย

ณ วันที่ 1 มกราคม ซื ้อเงินลงทุน ค่าเผื่อการด้ อยค่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม

103 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท) 61,000 61,000 198,994 (129,665) (51,030) 130,329 9,970


บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบวิ ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

หมายเหตุประกอบงบการเงิน สํ าหรับแต่ ละปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554 เงินลงทุนในบริ ษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554และเงินปั นผลรับจากเงินลงทุนสําหรับแต่ละปี มีดงั นี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ บริ ษทั ย่อย บริษัทย่ อยทางตรง บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด บริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)จํากัด

สัดส่ วนความเป็ น ลักษณะธุรกิจ เจ้าของ 2555 2554 (ร้อยละ)

ทุนชําระแล้ว 2555 2554

ราคาทุน 2555

2554

การด้อยค่า 2555 2554 (พันบาท)

ราคาทุน-สุ ทธิ 2555 2554

เงินปันผลรับ 2555 2554

ถือเงินลงทุน

99.99

99.99

60,000

60,000

60,000

60,000

51,030

51,030

8,970

8,970

-

-

ซื ้อมาขายไป

99.99

99.99

200,000 260,000

1,000 61,000

199,994 259,994

1,000 61,000

78,635 129,665

51,030

121,359 130,329

1,000 9,970

-

-

รวม บริ ษัทย่อยทั้งหมดดําเนินธุรกิจในประเทศไทย

104 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

10

เงินลงทุนระยะยาวอื่น งบการเงินรวม 2555

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554

2555

2554

-

-

-

-

(พันบาท) เงินลงทุนระยะยาวอื่น หลักทรัพย์อื่นที่ไม่อยูใ่ นความต้ องการของตลาด หักค่าเผื่อการด้ อยค่า สุทธิ

59,601 59,601 (51,030) 8,571

59,601 59,601 (51,030) 8,571

เงินลงทุนระยะยาวอื่น เป็ นเงินลงทุนในหุ้นสามัญของบริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด และ บริ ษัท คลิก คอนเนค จํากัด ซึง่ บริ ษัทย่อยของบริ ษัท(บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด) ถือหุ้นอยูใ่ นอัตราร้ อย ละ 15 ในระหว่างปี 2554 บริ ษัท เอสไอเอส เวนเจอร์ จํากัด ได้ ตั้งค่าเพื่อการด้ อยค่าในมูลค่าของเงินลงทุนในบริ ษัท อไลน์เอินซ์ แอนด์ ลิงค์ คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด ทั้งจํานวนเป็ นมูลค่า 51 ล้ านบาท 11

ลูกหนีก้ ารค้ าระยะยาว

เงินต้ น ครบกําหนดรับชําระ ภายในหนึง่ ปี 28,206 ครบกําหนดรับชําระหลังจาก หนึง่ ปี แต่ไม่เกินห้ าปี 29,219 รวม 57,425

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2555 ดอกเบี ้ย ยอดรับชําระ เงินต้ น ดอกเบี ้ย (พันบาท)

ยอดรับชําระ

1,794

30,000

27,230

2,770

30,000

781 2,575

30,000 60,000

57,425 84,655

2,575 5,345

60,000 90,000

ในระหว่างปี 2554 กลุม่ บริ ษัทได้ ทําสัญญาการขายสินค้ าให้ กบั มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง มีกําหนดรับชําระเงินงวด ละ 15 ล้ านบาท ทุก 6 เดือน เป็ นเวลา 3 ปี โดยสัญญาจะสิ ้นสุดในเดือนเมษายน 2557 กลุ่มบริ ษัทคํานวณ ดอกเบี ้ยอ้ างอิงอัตราดอกเบี ้ยของเงินกู้ยืมระยะสั้นถัวเฉลี่ยจากสถาบันการเงิน

105 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

12

อุปกรณ์

ยานพาหนะ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

เครื่ อง ตกแต่ง และติดตั้ง

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ส่วน และอุปกรณ์ ปรับปรุง สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้ าง

รวม

11,249 (686)

11,578 10,257 (6,063)

114,760 49,676 (13,644)

17,759 44,351 10,506 (12,808)

1,839 13,335 (10,506) -

157,185 117,619 (33,201)

10,563 10,563

15,772 1,365 17,137

150,792 24,759 4,564 (10,157) 169,958

59,808 8,101 917 68,826

4,668 813 (5,481) -

241,603 35,038 (10,157) 266,484

6,097 1,414 (686)

9,689 1,360 (6,061)

84,808 17,164 (13,621)

11,475 3,765 (10,588)

-

112,069 23,703 (30,956)

6,825 1,414 8,239

4,988 1,705 6,693

88,351 20,388 (9,587) 99,152

4,652 6,461 11,113

-

104,816 29,968 (9,587) 125,197

106 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

งบการเงินรวม คอมพิวเตอร์ ส่วน และอุปกรณ์ ปรับปรุง

สินทรัพย์ ระหว่าง

ยานพาหนะ

เครื่ อง ตกแต่ง และติดตั้ง

5,152 5,152

1,889 1,889

29,952 29,952

6,284 6,284

1,839 1,839

39,964 5,152 45,116

3,738 3,738

10,784 10,784

62,441 62,441

55,156 55,156

4,668 4,668

133,049 3,738 136,787

2,324 2,324

10,444 10,444

70,806 70,806

57,713 57,713

-

138,963 2,324 141,287

สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

ก่อสร้ าง

รวม

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของ กลุม่ บริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของ กลุม่ บริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของ กลุม่ บริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

107 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

ยานพาหนะ ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค่ าเสื่อมราคา ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าเสื่อมราคาสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

เครื่ อง ตกแต่ง และติดตั้ง

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ส่วน ปรับปรุง และอุปกรณ์ สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

สินทรัพย์ ระหว่าง ก่อสร้ าง

รวม

11,249 (686)

11,578 10,257 (6,063)

114,760 49,235 (13,644)

17,759 44,351 10,506 (12,808)

1,839 13,335 (10,506) -

157,185 117,178 (33,201)

10,563 10,563

15,772 1,365 17,137

150,351 23,864 4,564 (9,734) 169,045

59,808 8,101 917 68,826

4,668 813 (5,481) -

241,162 34,143 (9,734) 265,571

6,097 1,414 (686)

9,689 1,360 (6,061)

84,808 17,137 (13,621)

11,475 3,765 (10,588)

-

112,069 23,676 (30,956)

6,825 1,414 8,239

4,988 1,705 6,693

88,324 20,207 (9,502) 99,029

4,652 6,461 11,113

-

104,789 29,787 (9,502) 125,074

108 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ คอมพิวเตอร์ ส่วน ปรับปรุง และอุปกรณ์

สินทรัพย์ ระหว่าง

ยานพาหนะ

เครื่ อง ตกแต่ง และติดตั้ง

5,152 5,152

1,889 1,889

29,952 29,952

6,284 6,284

1,839 1,839

39,964 5,152 45,116

3,738 3,738

10,784 10,784

62,027 62,027

55,156 55,156

4,668 4,668

132,635 3,738 136,373

2,324 2,324

10,444 10,444

70,016 70,016

57,713 57,713

-

138,173 2,324 140,497

สํานักงาน อาคารเช่า (พันบาท)

ก่อสร้ าง

รวม

มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ภายใต้ กรรมสิทธิ์ของบริ ษัท ภายใต้ สญ ั ญาเช่าการเงิน

ราคาทรัพย์สนิ ของบริ ษัทก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของอุปกรณ์ซงึ่ ได้ คิดค่าเสื่อมราคาเต็มจํานวนแล้ วแต่ยงั ใช้ งานจนถึง ณ 31 ธันวาคม 2555 มีจํานวน74.0 ล้ านบาท (2554: 67.9 ล้านบาท)

109 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

13

สินทรั พย์ ไม่ มีตัวตน งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ค่าลิขสิทธิ์ ค่าลิขสิทธิ์ ซอฟท์แวร์ รวม ซอฟท์แวร์ ระหว่างติดตั้ง (พันบาท) ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 เพิ่มขึ ้น โอน จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ค่ าตัดจําหน่ าย ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 1 มกราคม 2555 ค่าตัดจําหน่ายสําหรับปี จําหน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มูลค่ าสุทธิทางบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554และ 1 มกราคม 2555 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

110 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

29,612 6,047 42,426 (2,644) 75,441

25,586 17,975 (42,426) 1,135

55,198 24,022 (2,644) 76,576

75,441

300

300

1,435

76,876

26,852 4,927 (2,644) 29,135

-

26,852 4,927 (2,644) 29,135

5,498 34,633

-

5,498 34,633

2,760 46,306 40,808

25,586 1,135 1,435

28,346 47,441 42,243


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

14

หนีส้ ินที่มีภาระดอกเบีย้ งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

ส่ วนทีห่ มุนเวียน - ไม่ มีหลักประกัน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ทรัสต์รีซีท เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ส่วนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึง่ ปี รวม ส่ วนทีไ่ ม่ หมุนเวียน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

981,306 1,628,974 2,610,280

230 977,434 1,265,000 2,242,664

899,105 1,628,974 2,528,079

6 507,732 1,265,000 1,772,738

1,201 2,611,481

1,549 2,244,213

1,201 2,529,280

1,549 1,774,287

-

1,292 1,292

-

1,292 1,292

หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยซึ่งไม่รวมหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินแยกแสดงตามระยะเวลาครบกําหนดชําระณ วันที่ 31 ธันวาคม ได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2555 2554 ครบกําหนดภายในหนึง่ ปี รวม

2,610,280 2,610,280

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

(พันบาท) 2,242,664 2,528,079 2,242,664 2,528,079

1,772,738 1,772,738

ภายใต้ เงื่อนไขของสัญญากู้ยืมเงินดังกล่าว กิจการจะต้ องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ ในสัญญา เช่น การดํารง สัดส่วนหนี ้สินต่อทุน เป็ นต้ น

111 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

หนี้สินตามสัญญาเช่ าการเงิน หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีรายละเอียดดังนี ้ งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554

2555 มูลค่า อนาคตของ จํานวนเงิน ขันตํ ้ ่าที่ต้อง จ่าย

มูลค่า

ดอกเบี ้ย

ปั จจุบนั ของ จํานวนเงินขัน้ ตํ่าที่ต้องจ่าย

มูลค่า อนาคตของ จํานวนเงิน ขันตํ ้ ่าที่ต้อง จ่าย

มูลค่า

ดอกเบี ้ย

ปั จจุบนั ของ จํานวนเงินขัน้ ตํ่าที่ต้องจ่าย

(พันบาท) ครบกําหนดชําระ ภายในหนึ่งปี ครบกําหนดชําระหลังจาก หนึ่งปี แต่ไม่เกินห้าปี รวม

1,233

32

1,201

1,680

131

1,549

1,233

32

1,201

1,324 3,004

32 163

1,292 2,841

เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าการเงินมีกาํ หนดการจ่ายชําระเป็ นรายเดือน 15

เจ้ าหนีก้ ารค้ า หมายเหตุ กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน กิจการอื่น รวม

4

งบการเงินรวม 2555 2554 85 1,190,794 1,190,879

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท) 2,490 85 2,490 2,271,805 1,109,413 1,009,628 2,274,295 1,109,498 1,012,118

ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553จัดตามประเภทสกุลเงินตรา ได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2555 2554 สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา รวม

966,453 224,426 1,190,879

112 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท) 705,995 965,928 702,458 1,568,300 143,570 309,660 2,274,295 1,109,498 1,012,118


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

16

เจ้ าหนีอ้ ่ ืน หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

งบการเงินรวม 2555 2554 (พันบาท)

กิจการทีเ่ กี่ยวข้ องกัน เจ้ าหนี ้อื่น ค่าใช้ จา่ ยค้ างจ่าย รวม

4 4

กิจการอื่น ค่าใช้ จา่ ยส่งเสริ มการขายค้ าง ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์พนักงาน เจ้ าหนี ้อื่น เงินรับล่วงหน้ า ค่าสินทรัพย์ไม่มีตวั ตนค้ างจ่าย ค่าอุปกรณ์ค้างจ่าย อื่นๆ รวม 17

รวม ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน

4,451 945 5,396

1,227 1,227

3,915 824 4,739

-

56,917 39,750 35,731 11,728 11,575 27,423 183,124

43,660 51,148 31,977 4,168 17,500 9,086 11,386 168,925

56,917 39,750 33,005 11,728 11,575 12,935 165,910

43,660 51,148 27,645 4,168 17,500 9,086 10,228 163,435

188,520

170,152

170,649

164,136

701 701

กลุ่มบริ ษัทจัดการโครงการบําเหน็จพนักงานตามข้ อกําหนดของพระราชบัญญัติค้ มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ใน การให้ ผลประโยชน์เมื่อเกษี ยณแก่พนักงานตามสิทธิและอายุงาน การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณ วันที่ 1 มกราคม ต้ นทุนบริ การปั จจุบนั และดอกเบี ้ย ภาระผูกพันของโครงการผลประโยชน์ ณวันที่ 31 ธันวาคม

22,790 4,547

18,839 3,951

22,790 4,547

18,839 3,951

27,337

22,790

27,337

22,790

113 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

ค่าใช้ จา่ ยที่รับรู้ในกําไรหรื อขาดทุน งบการเงินรวม 2555 ต้ นทุนบริ การปั จจุบนั ดอกเบี ้ยจากภาระผูกพัน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2554 (พันบาท) 3,197 754 3,951

3,750 797 4,547

2555

2554

3,750 797 4,547

3,197 754 3,951

ข้ อสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร์ ประกันภัย ณ วันที่รายงาน (แสดงโดยวิธีถวั เฉลี่ย ถ่วงนํ ้าหนัก) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2555 2554 2555 2554 (ร้อยละ) 3.5 3.5 3.5 อัตราคิดลด 3.5 อัตราการเพิ่มขึ ้นของเงินเดือน 6 6 6 6 อัตราการหมุนเวียนพนักงาน 0-22 0-22 0-22 0-22 ข้ อสมมุตเิ กี่ยวกับอัตรามรณะในอนาคตถือตามข้ อมูลทางสถิตทิ ี่เผยแพร่ทวั่ ไปและตารางมรณะ 18

ทุนเรื อนหุ้น 2555

มูลค่าหุ้น

จํานวนหุน้

จํานวนเงิน

1 1

213,174 36,826

213,174 36,826

213,174 -

213,174 -

1

250,000

250,000

213,174

213,174

ต่อหุ้น

(บาท) ทุนจดทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

2554

114 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

จํานวนหุน้ (พันหุน้ / พันบาท)

จํานวนเงิน


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

2555

มูลค่าหุ้น

จํานวนหุน้

จํานวนเงิน

1 1

211,184 22,282

211,184 22,282

208,543 2,641

208,543 2,641

1

233,466

233,466

211,184

211,184

ต่อหุ้น

(บาท) หุ้นทีอ่ อกและชําระเต็มมูลค่ า แล้ ว ณ วันที่ 1 มกราคม - หุ้นสามัญ ออกหุ้นใหม่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม - หุ้นสามัญ

2554 จํานวนหุน้ (พันหุน้ / พันบาท)

จํานวนเงิน

ในเดือนมิถนุ ายน 2554 ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19) ใช้ สิทธิในการซื ้อหุ้น สามัญของบริ ษัทจํานวน 1,628,975 หุ้นในราคาสิทธิที่คํานวณจากมูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริ ษัท ตามงบการเงินฉบับล่าสุดก่อนวันที่มีการใช้ สิทธิ ซึง่ เท่ากับราคาหุ้นละ 6.31 บาทบริ ษัทได้ จดทะเบียนการเพิ่ม ทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 8 มิถนุ ายน 2554 ในเดือนธันวาคม 2554ผู้ถือใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19) ใช้ สิทธิ ในการซื ้อหุ้น สามัญของบริ ษัทจํานวน 1,011,475 หุ้นในราคาสิทธิที่คํานวณจากมูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริ ษัท ตามงบการเงินฉบับล่าสุดก่อนวันที่มีการใช้ สิทธิ ซึง่ เท่ากับราคาหุ้นละ 6.68 บาท การเพิ่มทุนดังกล่าวได้ มีการ จดทะเบียนกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2554 ในการประชุมสามัญประจําปี ผู้ถือหุ้นของบริ ษัทเมื่อวันที่ 20เมษายน 2555 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั ิการเพิ่มทุนจด ทะเบียนของบริ ษัท จากทุนจดทะเบียนเดิม 213.2 ล้ านบาท เป็ นทุนจดทะเบียน 250 ล้ านบาท โดยเป็ นหุ้น สามัญ 250 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท โดยการออกหุ้นสามัญใหม่จํานวน 36.8 ล้ านหุ้น มูลค่าที่ตรา ไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท บริ ษัทได้ จดทะเบียนการเพิ่มทุนดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์แล้ วเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 และได้ มีการอนุมตั กิ ารจ่ายปั นผลเป็ นหุ้นสามัญให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ในอัตรา10 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นปั นผล มูลค่าที่ตราไว้ หุ้นละ 1 บาท รวมมูลค่าทังสิ ้ ้น 21.12 ล้ านบาทบริ ษัทได้ จดทะเบียนการเปลี่ยนแปลงทุนชําระดังกล่าวกับ กระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2555 ในเดือนมิถนุ ายน 2555 ได้ มีผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19) ใช้ สิทธิในการซื ้อ หุ้นสามัญของบริ ษัทจํานวน 0.97ล้ านหุ้นในราคาสิทธิที่คํานวณจากมูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริ ษัท ตามงบการเงินฉบับล่าสุดก่อนวันที่มีการใช้ สิทธิ ซึ่งเท่ากับราคาหุ้นละ 6.18 บาทบริ ษัทได้ จดทะเบียนการ เปลี่ยนแปลงทุนชําระดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่8 มิถนุ ายน 2555

115 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

ในเดือนธันวาคม 2555 ได้ มีผ้ ถู ือใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 19) ใช้ สทิ ธิในการซื ้อหุ้น สามัญของบริ ษัทจํานวน 0.20 ล้ านหุ้นในราคาสิทธิที่คํานวณจากมูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริ ษัทตาม งบการเงิ น ฉบับ ล่ า สุด ก่ อ นวัน ที่ มี ก ารใช้ สิ ท ธิ ซึ่ ง เท่ า กั บ ราคาหุ้ นละ 4.92บาทบริ ษั ท ได้ จ ดทะเบี ย นการ เปลี่ยนแปลงทุนชําระดังกล่าวกับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2555 ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน 2555ที่ ป ระชุม คณะกรรมการบริ ษั ท เอสไอเอส ดิ ส ทริ บิ ว ชั่น (ประเทศไทย) จํ า กัด (มหาชน)มีมติให้ เพิ่มทุนจดทะเบียนในบริ ษัท คูล ดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด จากเดิม 1,000,000 บาท เป็ น 200,000,000 บาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญจํานวน 19,900,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 10 บาท เป็ นจํานวนเงิน 199,000,000 บาท ส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น ตามบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตบิ ริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริ ษัทเสนอขายหุ้นสูง กว่ามูลค่าหุ้นที่จดทะเบียนไว้ บริ ษัทต้ องนําค่าหุ้นส่วนเกินนี ้ตั้งเป็ นทุนสํารอง (“ส่วนเกินมูลค่าหุ้น”) ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นนี ้จะนําไปจ่ายเป็ นเงินปั นผลไม่ได้ 19

ใบสําคัญแสดงสิทธิ ในปี 2553 บริ ษัทได้ ออกใบสําคัญแสดงสิทธิการซื ้อหุ้นสามัญ (Warrant) จํานวน 10 ล้ านหน่วยเพื่อเสนอขายต่อ กรรมการและพนักงานของบริ ษัทรายละเอียดโดยสังเขปของใบสําคัญแสดงสิทธิมีดงั นี ้ ประเภทใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

จํานวน อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ การเสนอขาย ราคาเสนอขาย ราคาใช้ สทิ ธิ

: : : : :

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญออกใหม่ของบริ ษัทประเภท ระบุชื่อผู้ถือโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ 10 ล้ านหน่วย 3 ปี เสนอขายต่อกรรมการและพนักงานของบริ ษัท 0 บาทต่อหน่วย มูลค่าทางบัญชีของหุ้นสามัญของบริ ษัทตามงบการเงินฉบับล่าสุด ก่อนวันที่มีการใช้ สทิ ธิ

116 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

กําหนดการใช้ สทิ ธิ

:

สิทธิในการซื ้อหุ้นสามัญต่อหน่วย จํานวนหุ้นสามัญที่จะจัดสรรและ สํารองไว้ เพื่อรองรับใบสําคัญแสดง สิทธิ

: :

วันครบกําหนดการใช้ สิทธิครั้งแรกคือวันที่ 1 มิถนุ ายน 2553 และ ครบกําหนดการใช้ สิทธิครั้งสุดท้ าย คือ วันที่ 31 พฤษภาคม 2556 ในวัน กํ า หนดการใช้ สิ ท ธิ ค รั้ง แรก ผู้ถื อ ใบสํ า คัญ แสดงสิ ท ธิ จ ะ สามารถใช้ สิทธิ ได้ ร้อยละ 50 ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งหมดที่ ตนเองได้ รับการจัดสรร และจะใช้ สิทธิได้ เพิ่มอีกร้ อยละ 12.5 ของ ใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ทั้ง หมดที่ ต นเองได้ รั บ การจั ด สรรในวั น กําหนดการใช้ สทิ ธิครั้งถัดไป (ทุกๆระยะเวลา 6 เดือน) ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย สามารถซื ้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น 10 ล้ านหุ้น

ในระหว่างปี 2553ถึง2555มีผ้ ูถือใบสําคัญแสดงสิทธิ มาใช้ สิทธิ ในการซื ้อหุ้นของบริ ษัทแล้ วจํานวน 9.2ล้ าน หน่วย และยังเหลือใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 0.8ล้ านหน่วย ที่ยงั ไม่ได้ ใช้ สทิ ธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 20

สํารอง สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตบิ ริ ษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริ ษัทจะต้ องจัดสรรทุนสํารอง (“สํารองตามกฎหมาย”) อย่างน้ อยร้ อยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปี หลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ ามี) จนกว่าสํารองดังกล่าวมีจํานวนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี ้จะนําไปจ่ายเป็นเงินปั น ผลไม่ได้ การเคลื่อนไหวในทุนสํารอง การเคลื่อนไหวในทุนสํารองแสดงรายการในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

21

ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน กลุ่มบริ ษัทได้ นําเสนอข้ อมูลทางการเงินจําแนกตาม รู ปแบบหลักในการรายงานธุรกิจ โดยพิจารณาจากระบบ การบริ หารการจัดการและโครงสร้างการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริ ษัทเป็ นเกณฑ์ในการกําหนด ส่วนงาน

117 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

ส่ วนงานธุรกิจ กลุม่ บริ ษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สําคัญ ดังนี ้ ส่วนงาน 1 ส่วนงาน 2 ส่วนงาน 3 ส่วนงาน 4

อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สํานักงานอัตโนมัติ การให้ บริ การและให้ เช่าคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตอ่ พ่วง แผ่นดิจิตอลภาพและเพลง Smart shop

ส่ วนงานภูมิศาสตร์ กลุ่มบริ ษัทดําเนินธุรกิจเฉพาะในประเทศเท่านัน้ ดังนั้นฝ่ ายบริ หารจึงพิจารณาว่ากลุ่มบริ ษัทมีส่วนงานทาง ภูมิศาสตร์ เพียงส่วนงานเดียว ข้ อมูลของส่วนงานทางธุรกิจ ณ วันที่และสําหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 มีดงั นี ้

ส่ วนงาน 1

ส่ วนงาน 2

สําหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายได้ 20,735 ต้ นทุน 20,163 กําไรขั้นต้ น 572 ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน รายได้ อื่นๆ ขาดทุนสุทธิก่อนภาษี เงินได้ ภาษี เงินได้ ขาดทุนสุทธิ อุปกรณ์ - สุทธิ สินทรั พย์ รวม

118 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

40 18 22

งบการเงินรวม ส่ วนงาน 3 (ล้านบาท) 127 114 13

ส่ วนงาน 4

990 934 56

รวม

21,892 21,229 663 (1,424) (101) 199 (663) (76) (739) 141 4,573


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

งบการเงินรวม ส่ วนงาน 1

ส่ วนงาน 2

ส่ วนงาน 3 (ล้านบาท)

ส่ วนงาน 4

31 (21) 10

111 (100) 11

1,528 (1,456) 72

สําหรั บปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายได้ 20,775 ต้ นทุน (19,822) กําไรขั้นต้ น 953 ค่าใช้ จา่ ยในการขายและบริ หาร ต้ นทุนทางการเงิน รายได้ อื่นๆ กําไรสุทธิก่อนภาษี เงินได้ ภาษี เงินได้ กําไรสุทธิ อุปกรณ์ - สุทธิ สินทรั พย์ รวม 22

รวม

22,445 (21,399) 1,046 (983) (58) 268 273 (129) 144 137 6,019

รายได้ อ่ ืน

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

รายได้ จากการส่งเสริ ม การขาย ดอกเบี ้ยรับ รายได้ คา่ ธรรมเนียมการ จัดการ อื่นๆ รวม

4 4 4

146,539 7,209

252,355 2,629

75,823 33,451

81,434 13,215

18,227 171,975

12,921 267,905

86,575 18,084 213,933

107,897 8,101 210,647

119 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

23

ค่ าใช้ จ่ายผลประโยชน์ ตอบแทนพนักงาน งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

ผู้บริหาร เงินเดือนและค่าตอบแทน อื่น ๆ พนักงานอื่น เงินเดือนและค่าตอบแทน อื่น ๆ รวม

44,467 1,889 46,356

49,642 1,990 51,632

36,895 1,536 38,431

41,002 1,618 42,620

167,901 22,479 190,380 236,736

172,612 22,056 194,668 246,300

167,901 22,479 190,380 228,811

172,612 22,056 194,668 237,288

กลุม่ บริ ษัทได้ จดั ตั้งกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพสําหรับพนักงานของกลุม่ บริ ษัทบนพื ้นฐานความสมัครใจของพนักงาน ในการเป็ นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้ อยละ 5 ของเงินเดือนทุกเดือน และกลุ่ม บริ ษัทจ่ายสมทบในอัตราร้ อยละ 5 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสํารองเลี ้ยงชีพนี ้ได้ จดทะเบียน เป็ นกองทุนสํารองเลี ้ยงชีพตามข้ อกําหนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จดั การกองทุนที่ได้ รับ อนุญาต

120 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

24

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ งบกํ า ไรขาดทุน เบ็ ด เสร็ จ ได้ ร วมการวิ เคราะห์ ค่า ใช้ จ่ า ยตามหน้ าที่ ค่า ใช้ จ่ า ยตามลัก ษณะได้ เ ปิ ดเผยตาม ข้ อกําหนดในมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับต่าง ๆ ดังนี ้ งบการเงินรวม 2555 2554

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

รวมอยู่ในต้ นทุนขาย การเปลี่ยนแปลงในสินค้ าคงเหลือ ซื ้อสินค้ าคงเหลือ สํารอง(กลับรายการ) ค่าเผื่อสินค้ า ล้ าสมัยและเสื่อมสภาพ รวม รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการขาย ค่าโฆษณาและส่งเสริ มการขาย ค่าขนส่งสินค้ า ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน อื่น ๆ รวม รวมอยู่ในค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ ค่าใช้ จา่ ยผลประโยชน์ตอบแทนพนักงาน ค่าเช่า ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าบริ การ ขาดทุนจากการด้ อยค่าเงินลงทุน ระยะยาวอื่น ขาดทุนจากการด้ อยค่าเงินลงทุนใน บริ ษัทย่อย อื่นๆ

2,033,831 19,231,787

(2,137,608) 23,397,209

163,572 16,944,685

(427,409) 15,809,947

(54,427) 21,211,191

118,554 21,378,155

12,378 17,120,635

27,460 15,409,998

387,346 29,498 22,092 6,162 445,098

431,907 24,717 16,510 5,326 478,460

229,954 26,222 22,092 4,890 283,158

256,379 23,407 16,510 5,326 301,622

611,512 203,270 37,536 35,466 17,482

35,314 212,118 27,941 28,631 13,547

605,235 203,270 37,536 35,285 16,737

25,668 212,118 27,941 28,603 13,547

-

51,030

-

-

73,309

83,713

78,635 67,550

51,030 78,690

121 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

งบการเงินรวม 2555 2554

25

รวม ต้ นทุนทางการเงิน

978,575

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

(พันบาท) 452,294 1,044,248

งบการเงินรวม 2555 2554

437,597

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ดอกเบี ้ยจ่าย บุคคลและกิจการอื่นๆ ดอกเบี ้ยจ่ายและค่าธรรมเนียม สถาบันการเงิน รวม 26

4

-

100,860 100,860

-

-

58,116 58,116

90,297 90,297

110

47,217 47,327

ภาษีเงินได้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554

งบการเงินรวม 2555 2554 (พันบาท) ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน สําหรับปี ปั จจุบนั ภาษี ปีก่อนๆ ที่บนั ทึกตํ่าไป รวม

75,862 75,862

126,250 2,298 128,548

75,862 75,862

100,607 2,298 102,905

การลดภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล พระราชกฤษฎีกาตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้ วยการลดอัตราและยกเว้ นรัษฎากรฉบับที่ 530 พ.ศ. 2554 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2554 ให้ ลดอัตราภาษี เงินได้ นิตบิ คุ คลสําหรับกําไรสุทธิเป็ นระยะเวลาสามรอบ ระยะเวลาบัญชีได้ แก่ปี 2555 2556 และ 2557จากอัตราร้ อยละ 30 เหลืออัตราร้ อยละ 23 สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี 2555 ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 และร้ อยละ 20 ของกําไรสุทธิสําหรับสองรอบ ระยะเวลาบัญชีถดั มา (2556 และ 2557) ที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และ 2557ตามลําดับ

122 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

ทั้งนี ้เป็ นที่เชื่อได้ ว่ารัฐบาลจะดําเนินการแก้ ไขกฎหมายเพื่อให้ อัตราภาษี ไม่สูงไปกว่าร้ อยละ 20 สําหรั บรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 เป็ นต้ นไปทั้งนี ้เพื่อให้ เป็ นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ วันที่ 11 ตุลาคม 2554 ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จํานวนภาษี เงินได้ ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จเฉพาะกิจการและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมมากกว่าจํานวน ภาษี เ งิ น ได้ ที่ คํ า นวณโดยการใช้ อัต ราภาษี เ งิ น ได้ คูณ กับ ยอดกํ า ไรสุท ธิ ต ามบัญ ชี สํ า หรั บ ปี เนื่ อ งจากความ แตกต่างระหว่างการรับรู้ รายได้ และค่าใช้ จ่ายทั้งทางบัญชีและทางภาษี บางรายการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่ อง เกี่ยวกับสํารองค่าเผื่อสินค้ ามูลค่าสินค้ าลดลงและสํารองค่าเผื่อหนี ้สงสัยจะสูญ 27

กําไร(ขาดทุน) ต่ อหุ้น กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื ้นฐานคํานวณคํานวณโดยหารกําไร (ขาดทุน) สําหรับปี ที่เป็ นของผู้ถือหุ้นของบริ ษัท ด้ วยจํ านวนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ า้ หนักของหุ้นสามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี โดยปรั บจํ านวนหุ้นสามัญเพื่ อสะท้ อ น ผลกระทบของการออกหุ้นปั นผลตามที่กล่าวไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้ อ 28 ซึง่ กําไรต่อหุ้นขั้นพื ้นฐาน ของปี ก่อนได้ ถกู คํานวณขึ ้นใหม่โดยถือเสมือนว่าการออกหุ้นปั นผลได้ เกิดขึ ้นตั้งแต่วนั ที่เริ่ มต้ นของปี แรกที่เสนอ รายงานแสดงการคํานวณดังนี ้ งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2555 2554 2555 2554 (ปรับปรุงใหม่) (ปรับปรุงใหม่) (พันบาท/พันหุน้ ) กําไร (ขาดทุน) ที่เป็ นส่ วนของผู้ถือหุ้น ของ บริษัท (ขัน้ พืน้ ฐาน) จํานวนหุ้นสามัญโดยวิธีถัวเฉลี่ยถ่ วง นํา้ หนัก กําไร(ขาดทุน) ต่ อหุ้น(บาท)

(738,663)

143,520

(431,058)

153,338

232,859

230,652

232,859

230,652

(3.17)

0.62

(1.85)

0.66

123 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้นปรับลด กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการแสดงกําไร (ขาดทุน) ต่อหุ ้นปรั บลด เนื่ องจากการออกใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญ ให้แก่กรรมการและพนักงานของกลุ่มบริ ษทั ไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสําคัญต่อจํานวนหุ ้นสามัญเทียบเท่า ปรับลด 28

เงินปั นผล ในการประชุมสามัญประจําปี ของผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555ผูถ้ ือหุ ้นมีมติอนุ มตั ิการจัดสรร กําไรเป็ นหุน้ ปันผลและเงินปันผลดังนี้ 1) จ่ายปั นผลเป็ นหุ น้ สามัญให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตรา10 หุ น้ เดิมต่อ 1 หุ ้นปั นผล มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท รวม มูลค่าทั้งสิ้ น 21.12 ล้านบาท 2) จ่ายปันผลเป็ นเงินสดในอัตราหุน้ ละ 0.15บาท คิดเป็ นจํานวนเงิน 31.68 ล้านบาท หุ้นปั นผลและเงินปั นผลดังกล่าวได้ จ่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในระหว่างปี 2555 ในการประชุมสามัญประจําปี ของผู้ถือหุ้นของกลุม่ บริ ษัทเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 ผู้ถือหุ้นมีมติอนุมตั กิ าร จัดสรรกําไรเป็ นเงินปั นผลในอัตราหุ้นละ 0.50บาท เป็ นจํานวนเงินทั้งสิ ้น 104.24 ล้ านบาท เงินปั นผลดังกล่าวได้ จ่ายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นในระหว่างปี 2554

29

เครื่ องมือทางการเงิน นโยบายการจัดการความเสี่ยงทางด้ านการเงิน กลุม่ บริ ษัทมีความเสี่ยงจากการดําเนินธุรกิจตามปกติจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี ้ยและอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ และจากการไม่ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดตามสัญญาของคู่สญ ั ญา กลุม่ บริ ษัทไม่มีการถือหรื อ ออกเครื่ องมือทางการเงินที่เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพื่อการเก็งกําไรหรื อการค้ า การจัดการความเสี่ยงเป็ นส่วนที่สําคัญของธุรกิจของกลุ่มบริ ษัท กลุ่มบริ ษัทมีระบบในการควบคุมให้ มีความ สมดุลของระดับความเสี่ยงที่ยอมรั บได้ โดยพิจารณาระหว่างต้ นทุนที่เกิดจากความเสี่ยงและต้ นทุนของการ จัดการความเสี่ยง ฝ่ ายบริ หารได้ มีการควบคุมกระบวนการการจัดการความเสี่ยงของกลุ่มบริ ษัทอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ มนั่ ใจว่ามีความสมดุลระหว่างความเสี่ยงและการควบคุมความเสี่ยง

124 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

การบริหารจัดการทุน นโยบายของคณะกรรมการกลุม่ บริ ษัท คือการรักษาระดับเงินทุนให้ มนั่ คงเพื่อรักษานักลงทุน เจ้ าหนี ้และความ เชื่อมัน่ ของตลาดและก่อให้ เกิดการพัฒนาของธุรกิจในอนาคต คณะกรรมการได้ มีการกํากับดูแลผลตอบแทน จากการลงทุน ซึ่งกลุ่มบริ ษัทพิจารณาจากสัดส่วนของผลตอบแทนจากกิจกรรมดําเนินงานต่อส่วนของเจ้ าของ รวม ซึง่ ไม่รวมส่วนได้ เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุม อีกทั้งยังกํากับดูแลระดับการจ่ายเงินปั นผลให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้นสามัญ ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้ านอัตราดอกเบี ้ย หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี ้ยในตลาดใน อนาคต ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานและกระแสเงินสดของกลุ่มบริ ษัทกลุ่มบริ ษัทมีความเสี่ยงด้ านอัตรา ดอกเบี ้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม(ดูหมายเหตุข้อ 14) สินทรัพย์และหนี ้สินทางการเงินของกลุ่มบริ ษัทโดยส่วนใหญ่มี อัตราดอกเบี ้ยลอยตัวโดยอ้ างอิงตามอัตราตลาด เช่น อัตราดอกเบี ้ยลูกค้ าชั้นดีของธนาคารพาณิชย์ ดอกเบี ้ย เงินฝากออมทรัพย์ หรื ออัตราดอกเบี ้ยอ้ างอิงอื่น เป็ นต้ น อัตราดอกเบี ้ยที่แท้ จริ งของหลักทรัพย์ที่เป็ นตราสารหนี ้และเงินกู้ยืม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 และ 2554 และ ระยะที่ครบกําหนดชําระหรื อกําหนดอัตราใหม่มีดงั นี ้

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้อยละต่อปี ) ปี 2555 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม ปี 2554 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม

ภายใน 1 ปี

งบการเงินรวม หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ล้ านบาท)

รวม

1.15 - 4.09

2,610 2,610

-

-

2,610 2,610

1.40 - 3.59

2,243 2,243

-

-

2,243 2,243

125 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

อัตราดอกเบี้ย ที่แท้จริ ง (ร้อยละต่อปี ) ปี 2555 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม ปี 2554 หมุนเวียน เงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ หลังจาก 1 ปี แต่ภายใน ภายใน 1 ปี 5 ปี หลังจาก 5 ปี (ล้ านบาท)

รวม

1.15 - 4.09

2,528 2,528

-

-

2,528 2,528

1.40 - 3.59

1,773 1,773

-

-

1,773 1,773

ความเสี่ยงจากเงินตราต่ างประเทศ กลุ่ม บริ ษั ท มี ค วามเสี่ ย งจากอัต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่า งประเทศซึ่ง เกิ ด จากการซื อ้ สิ น ค้ า ที่ เ ป็ นเงิ น ตรา ต่างประเทศ กลุ่มบริ ษัทได้ ทําสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศซึ่งรายการดังกล่าวจะมีอายุไม่เกินหนึ่งปี เพื่อ ป้องกันความเสี่ยงของหนี ้สินทางการเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า ณ วันที่รายงานเป็ นรายการที่เกี่ยวข้ องกับรายการซื ้อสินค้ าที่เป็ นเงินตราต่างประเทศในงวดถัดไป

126 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

ณ วันที่ 31 ธันวาคมกลุๆ่ มบริ ษัทและบริ ษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศอันเป็ นผลมา จากการมีหนี ้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศดังนี ้

หมายเหตุ เงินเหรี ยญสหรั ฐอเมริกา เจ้ าหนี ้การค้ า ทรัสต์รีซีท ยอดบัญชีในงบแสดงฐานะ การเงินที่มีความเสี่ยง

15

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (ล้านบาท)

224 352

1,568 977

144 270

576

2,545

414

576

(63) 2,482

414

(63) 755

30

(512)

(551)

(270)

(234)

30

-

(32) 1,899

144

(32) 489

ประมาณการยอดขายสินค้ า ยอดรวมความเสี่ยงทัง้ สิน้ สัญญาซื ้อขายเงินตรา ต่างประเทศ สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ยอดความเสี่ยงคงเหลือสุทธิ

งบการเงินรวม 2555 2554

-

64

310 508 2

818

ความเสี่ยงจากสินเชื่อ ความเสี่ยงทางด้ านสินเชื่อ คือ ความเสี่ยงที่ลกู ค้ าหรื อคูส่ ญ ั ญาไม่สามารถชําระหนี ้กลุม่ บริ ษัทตามเงื่อนไขที่ตก ลงไว้ เมื่ อครบกํ าหนด อาจทําให้ เกิ ดความสูญเสียทางการเงินได้ ทั ้งนีก้ ลุ่มบริ ษัทได้ กําหนดนโยบายในการ ป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้ าและคูส่ ญ ั ญา โดยกําหนดระเบียบการ พิจารณาและระยะเวลาการเรี ยกเก็บหนี ้ รวมถึงการมีนโยบายการทําประกันภัยสําหรับความเสี่ยงจากการไม่ สามารถเก็บเงินจากลูกหนี ้ได้ ความเสี่ยงจากสภาพคล่ อง กลุ่ม บริ ษั ท มี ก ารควบคุม ความเสี่ ย งจากการขาดสภาพคล่อ งโดยการรั ก ษาระดับ ของเงิ น สดและรายการ เทียบเท่าเงินสดให้ เพียงพอต่อการดําเนินงานของกลุม่ บริ ษัทและเพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของกระแส เงินสดลดลง 127 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

การกําหนดมูลค่ ายุตธิ รรม นโยบายการบัญชีและการเปิ ดเผยของกลุม่ บริ ษัทกําหนดให้ มีการกําหนดมูลค่ายุติธรรมทั ้งสินทรัพย์และหนี ้สิน ทางการเงิ น และไม่ ใ ช่ ท างการเงิ น มูล ค่า ยุติธ รรม หมายถึ ง จํ า นวนเงิ น ที่ ผ้ ูซื อ้ และผู้ข ายตกลงแลกเปลี่ ย น สินทรัพย์หรื อชําระหนี ้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝ่ ายมีความรอบรู้ และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถ ต่อรองราคากันได้ อย่างอิสระในลักษณะของผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้ องกัน วัตถุประสงค์ของการวัดมูลค่าและ/หรื อ การเปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมถูกกําหนดโดยวิธีต่อไปนี ้ ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสมมติฐานในการกําหนดมูลค่า ยุตธิ รรมถูกเปิ ดเผยในหมายเหตุที่เกี่ยวข้ องกับสินทรัพย์และหนี ้สินนั้นๆ มูลค่ายุติธรรมของลูกหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้การค้ า เงินเบิกเกินบัญชีและ เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน เป็ นมูลค่าที่ ใกล้ เคียงกับมูลค่าตามบัญชี หากมีราคาตลาด มูลค่ายุตธิ รรมของสัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าถือตามราคาตลาดของสัญญา ล่วงหน้ า ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาดให้ ประมาณมูลค่ายุตธิ รรมโดยการคิดลดจากผลต่างระหว่างราคาล่วงหน้ า ตามสัญญา กับราคาล่วงหน้ าของสัญญาปั จจุบนั ณ วันที่รายงานที่ครบกําหนดในวันเดียวกัน โดยใช้ อตั รา ดอกเบี ้ยประเภทที่ใช้ กบั ธุรกรรมการเงินที่ปลอดความเสี่ยง เช่น พันธบัตรรัฐบาล 30

ภาระผูกพันที่มีกับบุคคลหรื อกิจการที่ไม่ เกี่ยวข้ องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 2555 2554 2555 2554 (ล้านบาท) ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าดําเนินงานที่ ยกเลิกไม่ ได้ ภายในหนึง่ ปี หลังจากหนึง่ ปี แต่ไม่เกินห้ าปี รวม

35 12 47

128 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)

34 44 78

35 12 47

34 44 78


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 2555 2554 (ล้านบาท) ภาระผูกพันอื่นๆ วงเงินสินเชื่อที่ยงั ไม่ได้ ใช้ สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้ า สัญญาซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า หนังสือคํ ้าประกันจากธนาคาร รวม

2,771

3,949

2,433

3,499

512 154 3,437

32 551 7 4,539

270 154 2,857

32 234 7 3,772

สัญญาเช่ าและสัญญาบริการ กลุ่มบริ ษัทได้ ทําสัญญาเช่าพื ้นที่อาคารสํานักงานและโกดังเก็บสินค้ าและสัญญาเช่าอุปกรณ์ สัญญามีอายุ ประมาณ 1-3 ปี สัญญาซื้อขายเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ า ในปี 2555กลุ่มบริ ษัทมีวงเงินของการซื ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ ากับธนาคารพาณิชย์จํานวนประมาณ 3,892ล้ านบาท หรื อจํานวนเงินที่เทียบเท่า126 ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ (31 ธันวาคม2554: 3,426 ล้านบาท หรื อ จํ านวนเงิ นเทียบเท่า 107.63ล้านดอลล่าร์ สหรัฐ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555กลุ่มบริ ษัทได้ ทําสัญญาซื ้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ าจํานวนเงินประมาณ 16.59 ล้ านดอลล่าร์ สหรัฐ หรื อจํานวนเงินเทียบเท่า 512.32ล้ านบาท ซึ่งรายการดังกล่าว จะครบกําหนดอายุภายใน เดือนมิถนุ ายน 2556(31 ธันวาคม 2554:17.81ล้านดอลล่าร์ สหรัฐ หรื อจํ านวนเงิ นเทียบเท่า 551.26ล้านบาท จะ ครบกํ าหนดอายุภายในเดือนมิ ถนุ ายน 2555) สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่ างประเทศล่ วงหน้ า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555กลุม่ บริ ษัทไม่มีสญ ั ญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ า(2554:1 ล้านดอลล่าร์ สหรัฐ ซึ่ งรายการดังกล่าว จะครบกํ าหนดอายุภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2555)

129 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

อื่น ๆ ในปี 2549 กลุม่ บริ ษัทได้ ทําสัญญาจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลง จํานวนสองฉบับ ซึง่ บริ ษัทจะต้ องจ่าย ชําระค่าสินค้ าเพิ่มในส่วนของรายได้ จากการจัดจําหน่ายแผ่นดิจิตอลภาพและเพลงให้ แก่ผ้ ผู ลิตหลังจากหัก ส่วนลดในอัตราที่ระบุตามสัญญาการจัดจําหน่าย สัญญามีผลตั้งแต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2549 และวันที่ 1 ตุลาคม 2549 เป็ นต้ นไปและสัญญาดังกล่าวจะยกเลิกเมื่อคูส่ ญ ั ญามีการบอกเลิกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร 31

หนีส้ ินที่อาจเกิดขึน้ ในระหว่างปี 2554 บริ ษัทได้ ถกู ฟ้องร้ องโดยบริ ษัทในประเทศแห่งหนึ่ง เนื่องจากผิดสัญญาค่าเช่าสถานที่เป็ น เหตุให้ โจทย์เสียหายจากการขาดรายได้ เป็ นจํานวนเงิน 111.69ล้ านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 การ ฟ้องร้ องดังกล่าวยังไม่สิ ้นสุด และผลของการฟ้องร้ องยังไม่สามารถทราบได้ บริ ษัทจึงมิได้ ตั้งค่าเผื่อความ เสียหายที่อาจเกิดขึ ้นจากการถูกฟ้องร้ องดังกล่าว

32

เหตุการณ์ ภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน ในการประชุมคณะกรรมการของบริ ษัทเมื่อวันที่ 1มีนาคม 2556 คณะกรรมการมีมติอนุมตั ใิ นเรื่ องดังต่อไปนี ้ 1) มีมติให้ ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 250,000,000บาท เป็ น 233,465,770 บาท โดยการลดหุ้นสามัญจํานวน 16,543,230 หุ้น มูล ค่า ที่ ต ราไว้ ห้ ุน ละ 1 บาท เป็ นจํ า นวนเงิ น 16,543,230 บาทเพื่ อ ตัด ทุน จดทะเบี ย นที่ กรรมการและพนักงานไม่ได้ นําใบแสดงสิทธิมาใช้ สทิ ธิในการซื ้อหุ้นของบริ ษัท 2) มีมติให้ เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 233,465,770บาท เป็ น 350,198,655บาท ประกอบด้ วยหุ้นสามัญจํานวน 116,732,885 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท เพื่อรองรับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เสนอขายให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น เดิมของบริ ษัท ในอัตรา 2 หุ้นเดิมต่อ 1 หุ้นใหม่ และกําหนดราคาเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนในอัตราหุ้นละ 3.25 บาท

130 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

33

มาตรฐานการรายงานทางการเงินไทยที่ยังไม่ ได้ ใช้ กลุ่มบริ ษัทยังไม่ได้ ใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรั บปรุ งใหม่ดังต่อไปนี ้ ณ วันที่รายงาน เนื่องจากยังไม่มีการบังคับใช้ มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่กําหนดให้ ถือปฏิบตั ิกบั งบการเงินสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม ในปี ดังต่อไปนี ้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เรื่ อง

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษี เงินได้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 ส่วนงานปฏิบตั กิ าร

ปี ที่มีผล บังคับใช้ 2556 2556 2556

ผู้บริ หารคาดว่าจะนํามาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีมาใช้ และถือปฏิบตั ิ โดยผู้บ ริ หารพิจ ารณาถึง ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึน้ จากการใช้ ม าตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ อ อกและ ปรับปรุงใหม่ดงั กล่าวต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการซึง่ มีผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่องบการเงิน ในงวดที่ถือปฏิบตั ิ มาตรฐานการบัญชีดงั กล่าวมีดงั ต่อไปนี ้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 -ภาษีเงินได้ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 ระบุให้ กลุ่มบริ ษัทต้ องบันทึกสินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชี ในงบการเงิน สินทรัพย์และหนี ้สินภาษี เงินได้ รอการตัด บัญชี คือ จํ านวนภาษี เงินได้ ที่กลุ่ม บริ ษัทต้ องจ่าย หรื อได้ รับ ตามลําดับในอนาคต ซึ่งเกิ ดจากผลแตกต่าง ชัว่ คราวระหว่างมูลค่าทางบัญชีของสินทรัพย์และหนี ้สินที่แสดงในงบแสดงฐานะทางการเงินกับฐานภาษี ของ สินทรัพย์และหนี ้สินนั้น และ ขาดทุนทางภาษี ที่ยงั ไม่ได้ ใช้ ปั จจุบนั กลุม่ บริ ษัทไม่ได้ บนั ทึกภาษี เงินได้ รอการตัด บัญชีในงบการเงิน

131 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

กลุม่ บริ ษัทจะถือปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 12 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มตั ้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้ นไป ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงจะปรับปรุงย้ อนหลังในงบการเงิน และปรากฏในงบ แสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผู้บริ หารประมาณผลกระทบต่องบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนี ้ งบการเงินรวม 2555 2554 งบแสดงฐานะทางการเงิน ประมาณการเปลี่ยนแปลงจากการปรับงบการเงิน ย้ อนหลังเนื่องมาจากการนํามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 -ภาษี เงินได้ มาถือปฏิบตั :ิ สินทรัพย์ภาษี เงินได้ รอการตัดบัญชีเพิ่มขึ ้น กําไรสะสมเพิ่มขึ ้น

202,548 (202,548)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2555 2554 (พันบาท)

105,683 (105,683)

198,959 (198,959)

86,845 (86,845)

ทั้งนี ้ยังไม่สามารถกําหนดผลกระทบต่องบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับปี 2556 และในงวดต่อมาภายหลัง มาตรฐานการบัญชีฉบับที2่ 1 -ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่ างประเทศ การเปลี่ยนแปลงหลักการของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21เพื่อเสนอแนวคิดของสกุลเงินต่างๆที่ ใช้ ในการ รายงาน ซึง่ เป็ นสกุลเงินที่พิจารณาว่าเป็ นสกุลเงินในสภาวะแวดล้ อมทางเศรษฐกิจที่กิจการนั ้นประกอบกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 กํ าหนดให้ กิจการ ระบุสกุลเงินที่ใช้ รายงานและแปลงค่ารายการที่เป็ นสกุล ต่า งประเทศให้ เ ป็ นสกุล เงิ นที่ ใ ช้ ใ นการดํ าเนิ น งาน และรายงานผลกระทบจากการแปลงค่า ดัง กล่า วตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 ได้ ให้ คํานิยามสําหรั บ เงินตราต่างประเทศ กล่าวคือ เงินตราสกุลอื่น นอกเหนือจากสกุลเงินที่ใช้ ในการดําเนินงานของกิจการ ผู้บริ หารกําหนดสกุลเงินที่ใช้ รายงานของบริ ษัทเป็ นสกุลเงินบาท ดังนั้นการถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2556 จะไม่ได้ รับผลกระทบที่มีสาระสําคัญต่อ สินทรัพย์ หนี ้สิน และ กําไรสะสมของกลุม่ บริ ษัท

132 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 เรื่อง ส่ วนงานดําเนินงาน

34

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 นําเสนอหลักการที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีหลักการเปิ ดเผยส่วน งานดําเนินงานจากข้ อมูลภายในที่นําเสนอให้ ผ้ มู ีอํานาจตัดสินใจสูงสุดด้ านการดําเนินงาน การเปลี่ยนนโยบาย การบัญชีดงั กล่าวกระทบเพียงการเปิ ดเผยข้ อมูลเท่านั้นไม่มีผลกระทบต่องบการเงินของกลุม่ บริ ษัท การจัดประเภทรายการใหม่ รายการบางรายการในงบการเงินปี 2554ได้ มีการจัดประเภทรายการใหม่เพื่อให้ สอดคล้ องกับการนําเสนองบ การเงินปี 2555ดังนี ้ 2554 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ ก่อนจัด หลังจัด ก่อนจัด หลังจัด ประเภท จัดประเภท ประเภท ประเภท จัดประเภท ประเภทใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่ (พันบาท) งบแสดงฐานะการเงิน ลูกหนี ้อื่น 547,481 313,029 547,481 313,029 207,413 ลูกหนี ้อื่น - กรมสรรพากร 352,648 (352,648) (207,413) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 209,060 (194,833) 14,277 114,307 8,691 (105,616) 170,152 เจ้ าหนี ้อื่น 31,977 27,645 164,136 138,175 136,491 หนี ้สินหมุนเวียนอื่น 155,464 (138,175) 17,289 150,311 13,820 (136,491) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ค่าใช้ จา่ ยในการบริ หาร 504,853 ขาดทุนจากอัตรา แลกเปลี่ยน -

(52,559)

452,294

450,734

(13,137)

437,597

52,559 -

52,559

-

13,137 -

13,137

การจัดประเภทรายการใหม่นี ้เพื่อให้ สอดคล้ องกับการจัดประเภทรายการตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจ การค้ า เรื่ อง กําหนดรายการย่อทีต่ อ้ งมี ในงบการเงิ นพ.ศ. 2554 ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ---------------------------------------------------------------------------------

133 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


บริษัท เอสไอเอสดิสทริบวิ ชั่น )ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแต่ละปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555และ 2554

134 | รายงานประจําปี 2555 | บมจ. เอสไอเอสดิสทริ บิวชัน่ (ประเทศไทย)


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.