RS : Annual Report 2016 (TH)

Page 1


.6' 5g 02

MEDIA REVOLUTIONIST

06

.6' 6 '4 6 ''% 6' B)4 '4 6 A ę6/ ę6 9I 'è/6'

34

17 4 ''% 6' 'è-5

38 '5"&Ĝ.8 9ID ę D 6' '4 1 <' 8

62

20 C& 6&B)4$6"'+% 6' '4 1 <' 8

40

ę1"ô"6 6 /%6&

ę1%=)/)5 '5"&Ĝ B)4 =ę ;1/<ę

ę1%=) 5I+E B)4 ę1%=).7 5g1;I

+6%'5 ċ 1 Ę1.5 % .8ø B+ )ę1% B)4 =ę 9IA 9I&+ ę1

99

6' + <%$6&D B)4 6' 'è/6' 5 6' +6%A.9I&

108 ę1%=) 6 6'A è 9I.7 5g

ĝ 5& +6%A.9I&

46

88

6' 7 5 =B) 8 6'

'6& 6''4/+Ę6 5

)5 - 4 6' '4 1 <' 8

44

78

93

30

C ' .'ę6

6' 5 6'

90 C& 6& 6' Ę1 ę6 6' < 'è 1'Ĝ'5 5

117 6'+èA '64/Ĝ B)4 71 8 6& 1 !ē6& 5 6'

6'A è


ã +è.5& 5, Ĝ »Å»ÁÀ

16'ĜA1. 4A ğ =ę 8+5 8 6'.'ę6 .'' Ĝ ) 6 5 A 8 ę+& +6%'5 ċ 1 Ę1.5 % ã "5 8 »ÅÅ»ÁÀ

16'ĜA1. 4 7A. 1 ) 6 5 A 8 < $6" < '= B A"÷I1 1 . 1 < +6% ę1 6' 1 )= ę6 ę+& 9% < )6 ' 9I%9 +6%A ğ A)8, "'ę1%'5 6'A )9I& B )

B)4B.+ /6C1 6.D/%ĘG 1&=ĘA.%1 $6&D ę'4 6' 5 6'B)4A C C)&9 9I 5 .%5& ã $6"'+% 6' '4 1 <' 8 1 'è-5 B)4 'è-5 &Ę1&

16'ĜA1. 7A 8 <' 8 /)5 B Ę 11 A ğ )<Ę% E ęB Ę <' 8 .;I1 <' 8 .< $6"B)4 +6% 6% <' 8 A") B)4 <' 8 '5 ę6 B)4 )8 8 ''% C & <' 8 .;I1%9.5 .Ę+ 9ID/gĘ 9I.< 5J .;I1C ' 5, ĜB)4+è &< C &%9 Ę1 ¤ 8 è 1) 9+éA ğ =ę 7 B)4&5 %9 Ę1 9+é 6+A 9&%19 Ę1 E ęB Ę Ę1 . 6& 9 9+é wº³ÀÀ·¾ '+% : );I +è &< w ¸³ºÄ·Àº·»Æ ¥ 'è-5 3 E ę Ę1&1 '6&E ęC & 6'A ę6.=Ę <' 8 .< $6"B)4 +6% 6%A"÷I1A ğ 6' 'è/6'B)4 5 6' 5 .;I1 D %;1D/ęA 8 '4C& Ĝ.= .<


PAGE

2


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

สารจากประธานกรรมการและประธานเจ าหน าที่บริหาร “เขมทุกเรื่องราว สุดทุกอารมณ” นอกจากจะเปนปรากฏการณใหมของ “ชอง 8” ที่อารเอสนําเสนอสูสายตาผูชมในป 2559 ที่ผานมาแลวนั้น นับไดวาป 2559 เปน อี ก ป ที่ ก ารแข ง ขั น ในสื่ อ ต า งๆ มี ค วามเข ม ข น และหลากหลายอารมณ อ ย า งแท จ ริ ง ผู  ป ระกอบการทั้ ง รายเก า รายใหม ต  า งสรรสร า งรายการเพื่ อ แย ง ชิ ง สายตาผู  ช ม ใหมากที่สุด แตในทางกลับกัน เม็ดเงินโฆษณากลับมีอยูอยางจํากัด สําหรับอารเอสเอง ก็มีการปรับเปลี่ยนองคกรในหลายดาน ทั้งการจัดโครงสรางธุรกิจใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เพื่อใหทํางานไดอยางเต็มความสามารถ และมุงเนนการทํางานเพื่อใหบรรลุผล รวมกัน การเขาสูปที่ 3 ของการเปลี่ยนผานสูธุรกิจโทรทัศนระบบดิจิตอล “ชอง 8” อย า งเต็ ม ตั ว เรานํ า เสนอทั้ ง ละคร มวย ข า ว วาไรตี้ และซี รี ส  ต  า งประเทศที่ ส นุ ก เขมขนและทันสมัยเพื่อตอบโจทยกลุมผูชมที่หลากหลายมากขึ้น แตเราก็ไมลืมวาการ บริหารตนทุนอยางมีประสิทธิภาพก็มีสวนสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน อีกหนึ่งธุรกิจสื่อ นัน่ คือ ธุรกิจวิทยุอยาง “คูลฟาเรนไฮต 93” ซึง่ อยูใ นอุตสาหกรรมทีอ่ มิ่ ตัว ก็ตอ งปรับตัว เพื่ อ รั ก ษาส ว นแบ ง ตลาดและความเป น ผู  นํ า ให ไ ด อ ย า งต อ เนื่ อ ง อี ก ทั้ ง การขยั บ ตั ว เขาสูธุรกิจสุขภาพและความงามที่เปนความทาทายในสภาพเศรษฐกิจปจจุบัน อารเอส มองเห็นประโยชนของการนําสื่อที่มีอยูในมือเพื่อใชเพิ่มรายไดใหแกบริษัทฯ เราเริ่มจาก การพั ฒ นาสิ น ค า โดยเน น ไปที่ ก ารขายและการตลาดผ า นช อ งทางสื่ อ ของบริ ษั ท ฯ ทั้ง “ชอง 8” “ชอง 2” และ “สบายดีทีวี” รวมถึงสื่อวิทยุและอื่นๆ ซึ่งไดรับผลตอบรับ ดีเกินคาด ทําใหในป 2559 อารเอสไดตอยอดรายไดดวยการเพิ่มชองทางการขายและ สรางแบรนดใหเปนที่รูจักในวงกวาง ภายใต “บริษัท ไลฟสตาร จํากัด” นําโดยแบรนด “มาจีค” ผานทางโฆษณาโทรทัศน สื่อนอกบาน รวมถึง “มาจีค” ยังไดเขาไปจําหนาย ในรานวัตสัน อีฟแอนดบอย ท็อปส และกูรเมตมารเก็ตในเครือเดอะมอลลใกลบานทาน ภาพรวมในป 2559 นั้น ตัวเลขการเติบโตทางเศรษฐกิจเมื่อเทียบกับปกอนหนายังอยู ในเกณฑทรงตัว โดยขยายตัวไดเพียงรอยละ 3.2 ปจจัยภายนอกยังมีความไมแนนอนสูง และการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกอยูในระดับตํ่า แมวารัฐบาลจะออกมาตรการกระตุน เศรษฐกิจ เชน มาตรการเพิ่มรายไดใหแกผูมีรายไดนอย มาตรการชวยเหลือเกษตรกร และเศรษฐกิจฐานราก มาตรการกระตุนภาคอสังหาริมทรัพย มาตรการภาษีกระตุน เศรษฐกิจและการทองเที่ยว เปนตน การเรงรัดการเบิกจายของรัฐบาลและโครงการ ลงทุนโครงสรางพื้นฐานที่มีความกาวหนามากขึ้น รวมถึงอัตราดอกเบี้ยและเงินเฟอ ที่ยังอยูในระดับตํ่า แตภาคประชาชนกลับยังมีการใชจายในระดับตํ่า ซึ่งสงผลตอเนื่อง มาถึ ง อุ ต สาหกรรมโฆษณาที่ มี ก ารเติ บ โตสั ม พั น ธ กั บ เศรษฐกิ จ ของประเทศก็ ไ ด รั บ ผลกระทบตามไปดวย ประกอบกับการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามิ น ทราธิ ร าช

ท ามกลางโลกของ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว กอปรกับการแข งขันที่รุนแรง และมีความหลากหลาย องค กรที่จะเติบใหญ อย างยั่งยืนได ต องเป นองค กร คุณภาพ อาร เอสจึงไม เคยหยุดนิ่ง และพร อมสําหรับการปรับเปลี่ยน ตลอดเวลา ในป ที่ผ านมา อาร เอสมีการปรับโครงสร าง องค กรแบบเข มข น เราพัฒนา ตนเองตลอดเวลา ปรับทีมทํางาน และพร อมสนับสนุนบุคลากร

3


PAGE

4

บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 ประชาชนทั้งประเทศตางโศกเศราและรวมกันไวอาลัยตอพระองคทาน สื่อโทรทัศน และวิ ท ยุ ไ ด ง ดการเผยแพร ร ายการ ทํ า ให ใ นช ว งไตรมาส 4 ของป 2559 เม็ ด เงิ น โฆษณาในช ว ง 30 วั น แรกถู ก เลื่ อ นออกไป และกระเตื้องขึ้นเพียงเล็กนอยในชวงปลายป คาดวาอุตสาหกรรมสื่อและโฆษณาจะกลับมาคึกคักอีกครั้งหลังผานไตรมาส 1 ป 2560 ซึ่งไตรมาสดังกลาวเปนชวงที่รายไดสื่อไมสูงนัก ผลประกอบการของป 2559 บริษัทฯ มีรายไดรวมเทากับ 3,249 ลานบาท ลดลงจากปกอนหนา เนื่องจากบริษัทฯ มีรายได จากธุ ร กิ จ สื่ อ โทรทั ศ น ผ  า นดาวเที ย ม “ช อ ง 2” และ “สบายดี ที วี ” ลดลงอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ตามการหดตั ว ลงของอุ ต สาหกรรม โทรทัศนผานดาวเทียมโดยรวม อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดบริหารตนทุนของชองดาวเทียมใหมีประสิทธิภาพมากที่สุดในสถานการณ ป จ จุ บั น และคาดว า เมื่ อ เศรษฐกิ จ ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น โทรทั ศ น ด าวเที ย มจะกลั บ มาเป น กํ า ลั ง สํ า คั ญ ในการสร า งรายได ใ ห แ ก บ ริ ษั ท ฯ และมีความสามารถในการทํากําไรดีเนื่องจากมีตนทุนตํ่ากวาโทรทัศนระบบดิจิตอลมาก ในสวนของ “ชอง 8” ที่มีเรตติ้งเปน อั น ดั บ ต น ๆ ของประเทศทํ า รายได สู ง ขึ้ น กว า ป 2558 เล็ ก น อ ยแม ว  า จะได รั บ ผลกระทบจากการเลื่ อ นการใช เ ม็ ด เงิ น โฆษณา ในไตรมาส 4 แตผลจากการปรับผังและคุณภาพรายการใหเขมขนขึ้น ดังจะเห็นไดจาก “คุยขาวเชาชอง 8” มีผูชมทะลุ 1.5 ลานคน ทําใหเรตติ้งกลุมรายการขาวติดอันดับ 1 ในกลุมผูประกอบการโทรทัศนระบบดิจิตอลหนาใหม และอันดับ 3 ของประเทศ รวมถึง กลุมรายการมวยและละครก็ไดรับความนิยมสูง ในสวนของรายไดธุรกิจสื่อวิทยุลดลง เนื่องจากอยูในอุตสาหกรรมที่คอนขาง อิ่มตัว แต “คูลฟาเรนไฮต 93” ก็ยังสามารถรักษาสวนแบงทางการตลาดทั้งในแงของรายไดและจํานวนผูฟงอยูในอันดับ 1 ของกลุม Easy Listening และอั น ดั บ 2 ของประเทศ ธุ ร กิ จ เพลงมี ร ายได ล ดลงจากป ก  อ นหน า อั น เนื่ อ งมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของผูบริโภคที่มีรูปแบบการฟงเพลงผานออนไลน ซึ่งรายไดจากออนไลนยังเติบโตไมพอเพียงกับรายไดที่หายไปของการจัดจําหนาย เพลงแบบเดิม อารเอสเองก็ไมหยุดนิ่ง เราไดปรับโครงสรางธุรกิจเพลงจนเรียกไดวาเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจเพลง ที่เชื่อวา จะมั่นคงและยั่งยืน โดยเปดโอกาสใหศิลปนทุกคนมีสวนรวมในการลงทุนผลิตและวางแผนผลงานเพลงในลักษณะกึ่งพันธมิตร ทางธุรกิจ ซึ่งสงผลดีตอตัวศิลปนทั้งในเรื่องการวางแผนงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานของผลงาน ตลอดจนการพัฒนาตนเอง อยางสมํ่าเสมอ ขณะเดียวกันบริษัทฯ ก็สามารถบริหารจัดการตนทุนการผลิตไดแมนยํายิ่งขึ้น เนื่องจากธุรกิจเพลงยังคงเปนธุรกิจ ที่บริษัทฯ ใหความสําคัญเนื่องจากเปนตนทางของคอนเทนต และบุคลากรทางดานบันเทิงสวนใหญของบริษัทฯ ที่สามารถตอยอด ไปสู  ธุ ร กิ จ สื่ อ ได ส ว นรายได ธุ ร กิ จ รั บ จ า งและผลิ ต กิ จ กรรมมี ร ายได เ พิ่ ม ขึ้ น จากป ก  อ นหน า เนื่ อ งจากรั บ รู  ร ายได จ ากกิ จ กรรม ขนาดใหญ ในสวนของธุรกิจใหม คือ ธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายใตบริษัท “ไลฟสตาร” ไดเปดตัวสินคาใหเปนที่รูจักทั่วประเทศ และขยายชองทางการจัดจําหนายสูรานคาปลีกสมัยใหมทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัดรวมกวาพันสาขา ทั้งนี้ ในสวนของรายไดนั้น ทรงตัวเมื่อเปรียบเทียบกับป 2558 จากเศรษฐกิจที่ขยายตัวตํ่าและการใชจายภาคครัวเรือนที่ยังไมฟนตัวนัก สงผลตอการตัดสินใจ เลือกซื้อสินคาของผูบริโภค อีกทั้งในไตรมาส 4 บริษัทฯ ไมสามารถโฆษณาและจัดจําหนายสินคาผานชองทางสื่อของบริษัทฯ ไดมากนักจากการเลื่อนออกอากาศรายการภายหลังวันที่ 13 ตุลาคมที่ผานมา อยางไรก็ตาม การบุกตลาดภายนอกทําใหอารเอส ไดเรียนรูถึงปญหาและอุปสรรคตางๆ ของธุรกิจนี้ เราเชื่อมั่นวาในป 2560 เราไดพัฒนาแนวทางที่เหมาะสมและดีขึ้น พรอมที่จะเปน อีกกาวที่ยิ่งใหญสําหรับธุรกิจสุขภาพและความงาม ท า มกลางโลกของการเปลี่ ย นแปลงที่ ร วดเร็ ว กอปรกั บ การแข ง ขั น ที่ รุ น แรงและมี ค วามหลากหลาย องค ก รที่ จ ะเติ บ ใหญ อย า งยั่ ง ยื น ได ต อ งเป น องค ก รคุ ณ ภาพ อาร เ อสจึ ง ไม เ คยหยุ ด นิ่ ง และพร อ มสํ า หรั บ การปรั บ เปลี่ ย นตลอดเวลา ในป ที่ ผ  า นมา อาร เ อสมี ก ารปรั บ โครงสร า งองค ก รแบบเข ม ข น เราพั ฒ นาตนเองตลอดเวลา ปรั บ ที ม ทํ า งานและพร อ มสนั บ สนุ น บุ ค ลากร ให มี คุ ณ ภาพเพื่ อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพขององค ก รแบบยั่ ง ยื น รวมทั้ ง การปรั บ โครงสร า งการบริ ห ารเพื่ อ ให เ กิ ด ความคล อ งตั ว และทําใหคณะกรรมการบริหารและฝายจัดการมีการสื่อสารกันอยางใกลชิด นอกเหนือจากการมุงเนนใหพนักงานพัฒนาความรู ความสามารถของตนเองอยูตลอดเวลาแลวนั้น บริษัทฯ ยังสงเสริมใหผูบริหาร พนักงาน และศิลปนของอารเอสไดนอมนําหลัก


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาใชในชีวิตประจําวัน รวมถึงการทําประโยชน เพื่อสังคมควบคูกับการดําเนินธุรกิจบันเทิงอยางตอเนื่อง โดยในป 2559 ที่ผานมา เราไดเขารวมโครงการเพื่อสังคมมากมาย เชน “ชอง 8 Share To Child” เปนการนําดาราศิลปนปนรักวันเด็กแกนองๆ บานนนทภูมิ ศิลปนอารเอสเซ็นสัญญารับภารกิจ เปนฑูตสมาคมปองกันการทารุณสัตวแหงประเทศไทย ทีมผูประกาศขาวชวยเหลือผูประสบอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ศิลปน ดาราอารเอสรวมรณรงคกวาดลางยุงลาย กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย ณ ทําเนียบรัฐบาล รวมถึงการรวมพลังทําดีเพื่อพอ ลงพื้นที่ชวยผูประสบภัยหนาว จังหวัดเชียงใหม เปนตน อีกหนึ่งความภาคภูมิใจของอารเอส คือ การจัดทําบทเพลงพิเศษ “รักพอ... ไมมีวันพอเพียง” เพื่อนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในสวนของนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ไดรับการจัดอันดับอยูในกลุม Very Good CG Scoring จากผลสํารวจ การกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยประจําป พ.ศ. 2559 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2016) อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ ได มี ก ารทบทวนนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละจรรยาบรรณธุ ร กิ จ เป น ประจํ า ทุ ก ป พร อ มทั้ ง ให กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานถือปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวมาโดยตลอด ในป 2559 บริษัทฯ ไดนํานโยบายการปองกันการ มีสวนเกี่ยวของกับคอรรัปชัน (Anti-corruption Policy) มาพิจารณาใหมีความชัดเจนและครอบคลุมมากขึ้นเพื่อควบคูไปกับ การดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน ในนามของคณะกรรมการบริษัทฯ ขอขอบคุณทานผูถือหุน พันธมิตรทางธุรกิจ ลูกคา หนวยงานราชการ และผูมีอุปการคุณ ทุ ก ท า นที่ เชื่ อ มั่ น ไว ว างใจ และสนั บ สนุ น บริ ษั ท ฯ ด ว ยดี เ สมอมา รวมถึ ง พนั ก งานและศิ ล ป น ทุ ก ท า นที่ ทุ  ม เทแรงกาย แรงใจ มีความพรอมที่จะปรับเปลี่ยนและเผชิญกับทุกสถานการณแมในชวงที่ทาทายของธุรกิจสื่อเชนทุกวันนี้ เราจะรวมมือกันนําพาองคกร ใหกาวเดินตอไปสูการเปนบริษัทชั้นนําของทุกคน

นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ประธานกรรมการและประธานเจ าหน าที่บริหาร

5


PAGE

6

คณะกรรมการบริษัท

คุณสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

ตําแหน ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ าหน าที่บริหาร

คุณพรพรรณ เตชรุ งชัยกุล

ตําแหน ง กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เลขานุการบริษัท และประธานเจ าหน าที่ฝ ายปฏิบัติการ

คุณดามพ นานา

ตําแหน ง กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ าหน าที่ฝ ายการเงิน

คุณดนัยศิษฏ เปสลาพันธ

ตําแหน ง กรรมการ และประธานเจ าหน าที่ฝ ายกฎหมาย

คุณศุภชัย นิลวรรณ

ตําแหน ง กรรมการ และรองกรรมการผู อํานวยการอาวุโส


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

คุณโสรัตน วณิชวรากิจ ตําแหน ง กรรมการ

คุณพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

ตําแหน ง กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน

พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย

ตําแหน ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน

คุณวรรณสุดา ธนสรานาต

ตําแหน ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน

PAGE

7


PAGE

8

คณะกรรมการบริษัท

นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

ตําแหน ง : ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ าหน าที่บริหาร สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 33.09 อายุ 54 ป การศึกษา : ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ●

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : กรรมการ บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด กรรมการ บริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด กรรมการ บริษัท ไทเกอรฟน จํากัด กรรมการ บริษัท เชษฐโชติ จํากัด

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Accreditation Program (DAP) ป 2546

การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2555 - ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2546 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2535 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2546 - 2555 รองประธานกรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

389,400,000 1,246,300 54,000,000 334,153,700


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

9

นางพรพรรณ เตชรุ งชัยกุล

ตําแหน ง : กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เลขานุการบริษัท และประธานเจ าหน าที่ฝ ายปฏิบัติการ สัดส วนการถือหุ น : อายุ 46 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สถิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Executive Development Program รุนที่ 4 (EDP4) ป 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

2550 - ปจจุบัน

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2550 Director Accreditation Program (DAP) ป 2547 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2554 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2553 - ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน)

2547 - ปจจุบัน

ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) กรรมการ และกรรมการบริหาร ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

-


PAGE

10

นายดามพ นานา

ตําแหน ง : กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหารความเสี่ยง และประธานเจ าหน าที่ฝ ายการเงิน สัดส วนการถือหุ น : อายุ 47 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) University of Notre Dame, Indiana, USA ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ●

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2551 Director Accreditation Program (DAP) ป 2551 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2550 - ปจจุบัน กรรมการ และกรรมการบริหาร ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2554 - 2559 กรรมการบรรษัทภิบาล บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2553 - 2559 กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2545 - 2550 Senior Vice President ธนาคารฮองกงและเซี่ยงไฮแบงกิ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด (HSBC)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

-


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

11

นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ

ตําแหน ง : กรรมการ และประธานเจ าหน าที่ฝ ายกฎหมาย สัดส วนการถือหุ น : อายุ 61 ป การศึกษา : น.บ.ท. เนติบัณฑิตไทย สํานักอบรมศึกษากฎหมาย แหงเนติบัณฑิตยสภา น.บ. นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประกาศนียบัตร กฎหมายการคาระหวางประเทศ สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา ประกาศนียบัตร กฎหมายภาษีอากร สํานักอบรม และศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา

2551 - ปจจุบัน

2550 - 2558

2555 - 2557

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2551 Director Accreditation Program (DAP) ป 2551 Financial Statements for Directors (FSD) ป 2551 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2558 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่ฝายกฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

2540 - 2550

กรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส สํานักกฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

-


PAGE

12

นายศุภชัย นิลวรรณ

ตําแหน ง : กรรมการ และรองกรรมการผู อํานวยการอาวุโส สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 0.01 อายุ 49 ป การศึกษา : ปริญญาตรี คณะวารสารศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร Executive Development Program รุนที่ 8 (EDP8) ป 2554 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย Advanced Retail Management รุนที่ 8 (ARM8) ป 2554 บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) ●

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Accreditation Program (DAP) ป 2559 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2558 - ปจจุบัน กรรมการ กรรมการผูอํานวยการ - ธุรกิจเพลง บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2544 - 2550 กรรมการผูจดั การ บริษัท อารสยาม จํากัด

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

76,500 76,500


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

13

นายโสรัตน วณิชวรากิจ

ตําแหน ง : กรรมการ สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 11.39 อายุ 43 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC) ●

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2556 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2555 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2543 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท แพนเอเชียอุตสาหกรรม จํากัด การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : บริษัท แพนเอเชียอุตสาหกรรม จํากัด

สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

114,000,000 1,000,000 115,000,000


PAGE

14

นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

ตําแหน ง : กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น : อายุ 75 ป การศึกษา : ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี พาณิชยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 966

2544 - ปจจุบัน

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2550 Audit Committee Program (ACP) ป 2548 Director Accreditation Program (DAP) ป 2547 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2557 - ปจจุบัน กรรมการ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จํากัด (มหาชน) กุมภาพันธ 2550 - กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน และประธานกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2546 - ปจจุบัน กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ และรองประธานกรรมการสรรหา และคาตอบแทน บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน)

2535 - ปจจุบัน 2545 - 2557

ประธานกรรมการบริหาร กลุมบริษัทที่ปรึกษาในเครือบริษัท โปรเฟสชั่นแนล อัลไลแอนซ กรุป จํากัด กรรมการ และกรรมการบริหาร บริษัท โปลิฟารม จํากัด กรรมการบริหาร บริษัท ภูเก็ต อินเตอรเนชั่นแนล ฮอสปตอล จํากัด

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : กรรมการ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการบริหาร กลุมบริษัทที่ปรึกษาในเครือบริษัท โปรเฟสชั่นแนล อัลไลแอนซ กรุป จํากัด กรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท โปลิฟารม จํากัด

สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

-


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

15

พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย

ตําแหน ง : กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น : อายุ 70 ป การศึกษา : ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิตทางพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) ปริญญาตรี โรงเรียนนายรอย Sandhurst U.K. ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง ●

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Certification Program (DCP) ป 2550 Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 Audit Committee Program (ACP) ป 2550 Finance for Non-Finance Director (FN) ป 2550 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 2557 - ปจจุบัน สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ 2557 มกราคม 2550 - กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) กุมภาพันธ 2550 - กรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ปจจุบัน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2549 รองผูบัญชาการทหารสูงสุด (ทบ.) กองบัญชาการทหารสูงสุด 2548 ประธานคณะที่ปรึกษา กองทัพบก 2543 ผูบัญชาการศูนยอํานวยการสรางอาวุธ กองทัพบก

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทอื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

-


PAGE

16

นางวรรณสุดา ธนสรานาต

ตําแหน ง : กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น : ร อยละ 0.02 อายุ 65 ป การศึกษา : ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม ●

การอบรมจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย : Director Accreditation Program (DAP) ป 2559 การอบรมหลักสูตรตางๆ ในป 2559 : ประสบการณการทํางาน : 13 มกราคม 2559 - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ปจจุบัน และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2553 - ปจจุบัน Senior Vice President ลูกคาจีน ลูกคาธุรกิจรายกลาง ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหนงกรรมการในบริษทั อื่นที่ไมไดถือหุนโดย บมจ.อารเอส : สัดสวนการถือหุน ตนป 2559 (หุน) ซื้อระหวางป 2559 (หุน) ขาย/โอนออกระหวางป 2559 (หุน) สัดสวนการถือหุนสิ้นป 2559 (หุน)

90,000 120,000 210,000


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

17


PAGE

18

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ อารเอสไดดําเนินการกอตั้งในป พ.ศ. 2519 โดยเริ่มตนจากการทําธุรกิจเพลงครบวงจร ตอมาบริษทั ไดแปลงสภาพเปนบริษทั มหาชน และไดทาํ การจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยในป พ.ศ. 2546 ดวยทุนจดทะเบียน 560 ลานบาท และภายหลัง ไดเปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)” โดย ณ 31 ธันวาคม 2559 บริษัท มีทุนจดทะเบียนที่ออกและเรียกชําระแลว จํานวน 1,009,937,646 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท อยางไรก็ดี บริษัทไดขยายธุรกิจมาอยางตอเนื่องจากธุรกิจเพลง ไปสูธุรกิจสื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน และธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม โดยเมื่อปลายป 2556 บริษัทฯ เปนผูชนะ การประมูลคลื่นความถี่ เพื่อใหบริการโทรทัศนในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจ ระดับชาติ หมวดหมูทั่วไปแบบความคมชัดปกติ (Standard Definition) จํานวน 1 ชอง และบริษัทฯ ไดนํา “ชอง 8” ที่เดิมออกอากาศอยูบนระบบโทรทัศนผานดาวเทียม เปลี่ยนมาออกอากาศในระบบดิจิตอลแทน ตั้งแตเดือนเมษายน ป 2557 เปนตนมา บริษัทไดดําเนินการภายใตวิสัยทัศน (Vision) และพันธกิจ (Mission) รวมถึงเปาหมาย การดําเนินธุรกิจ ดังนี้

วิสัยทัศน (Vision) “อารเอสจะเปนผูปฏิวัติการสรางสรรคผลงานบันเทิง ดวยความรับผิดชอบตอสังคม”

พันธกิจ (Mission) “อารเอสจะนําเสนอผลงานบันเทิงคุณภาพทุกรูปแบบ เพื่อตอบสนองทุกความตองการ ของลูกคา ดวยทีมบุคลากรที่มีความเปนเลิศ พรอมรับการเปลี่ยนแปลงและแสวงหา โอกาสใหมๆ อยูเสมอ ภายใตระบบการจัดการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย”

เป าหมายการดําเนินธุรกิจใน 5 ป ขา งหน า (5-Year Business Direction) “อารเอส เปนองคกรที่ทําธุรกิจรวมกับ “โอกาส” โดยมุงเนนความเปนผูนํา และลงทุน อยางตอเนื่องเพื่อความยั่งยืนในธุรกิจสื่อ และขยายไปยังธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจสื่อ โดยใหมีสัดสวนรายไดเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญเพื่อเสริมความแข็งแกรงของรายไดรวม ของบริษัทฯ”

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย อย ปจจุบันอารเอส ดําเนินธุรกิจหลักแบงออกเปน 4 กลุม ไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจสุขภาพ และความงาม ธุรกิจเพลง และธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม โดยธุรกิจสื่อมีสัดสวน ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ประกอบไปด ว ย สื่ อ โทรทั ศ น และสื่ อ วิ ท ยุ โดยมี ช อ ง 8 ดิ จิ ต อลที วี เปนผูนํา และยังมีชองทีวีดาวเทียมอีก 3 ชอง ไดแก ชอง 2 ชองสบายดีทีวี และชอง

YOU Channel โดยแตละชองรายการ ของบริษัทฯ ไดรับผลตอบรับที่ดีทั้งในแง ของผู  ช มและลู ก ค า ผู  ล งโฆษณา รวมถึ ง คลื่นวิทยุ COOLfahrenheit 93 ก็ยังคง รั ก ษาฐานผู  ฟ  ง ที่ ชั ด เจนและได รั บ ความ นิยมเปนอันดับหนึ่ง ทําใหธุรกิจสื่อของ บริษทั ฯ มีการเติบโตอยางตอเนือ่ ง บริษทั ฯ ไดตอ ยอดรายไดโดยการเขาสูธ รุ กิจสุขภาพ และความงามเพื่ อ เป น การบริ ห ารและ จัดการกับสื่อในมือใหเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ฯ ยั ง ได มี ก ารลงทุ น ผานบริษัทยอยตางๆ โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัทยอยในเครือของบริษัท ที่ลงทุนเองรอยละ 100 และดําเนินธุรกิจอยู ประกอบดวย -

บริษัท อาร.เอส. เทเลวิชั่น จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจใหบริการสื่อโทรทัศนในระบบดิจิตอล

-

บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจใหบริการสื่อโฆษณาและ จําหนายผลิตภัณฑเสริมความงาม

-

บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจสื่อวิทยุ

-

บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจจัดเก็บคาลิขสิทธิ์

-

บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท โพเอมา จํากัด) (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจรับจางจัดกิจกรรม

-

บริษัท ยาค จํากัด (รอยละ 99.97) ดําเนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน

-

บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด (รอยละ 99.99) ดําเนินธุรกิจผลิตรายการโทรทัศน

โครงสร างการถือหุ นของบริษัทเป นดังนี้ บริษัท อาร เอส จํากัด (มหาชน)

สื่อโทรทัศน

ธุรกิจรับจ าง และผลิตกิจกรรม

ธุรกิจเพลง

ธุรกิจสื่อ สื่อวิทยุ

บมจ.อาร เอส 99.99% บจ.อาร .เอส. เทเลวิชั่น

99.99% บจ.คูลลิซึ่ม

ธุรกิจสุขภาพและความงาม

บมจ.อาร เอส

บมจ.อาร เอส

99.99% บจ.จัดเก็บ ลิขสิทธิ์ ไทย

99.97% บจ.ย าค

99.99% บจ.ไลฟ สตาร

99.99% บจ.อาร อัลไลแอนซ 99.99% บจ.บันเทิง วาไรตี้

หมายเหตุ : - ตัวเลขรอยละ (แสดงเปนเปอรเซ็นต) แสดงสัดสวนการถือหุนของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) - กรณีที่ไมใชบริษัทยอยที่ถือหุนโดยบริษัทฯ รอยละ 100 กลุมผูถือหุนหลักสวนที่เหลือไมไดเปนบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) - บริษัทที่หยุดธุรกรรมชั่วคราว ไดแก บจ.อาร.เอส.สปอรตมาสเตอร, บจ.อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท, บจ.บลูแฟรรี่, บจ.เวรี่เวลล, บจ.อะลาดิน เฮาส และ บจ.ดีมีเดีย แอนดโปรดักชั่น - บริษัทที่เลิกกิจการ และอยูระหวางการชําระบัญชี ไดแก บจ.อารเอส อินสโตรมีเดีย

19


PAGE

20


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

21

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ธุรกิจในปจจุบันของกลุมอารเอส ประกอบดวย 4 ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจสุขภาพและความงาม ธุรกิจเพลง และธุรกิจรับจาง และผลิตกิจกรรม

โครงสร างรายได ประเภทรายได

กลุมธุรกิจสื่อ กลุมธุรกิจสุขภาพและความงาม กลุมธุรกิจเพลง กลุมธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดจากธุรกิจอื่น รวมรายได

2557 (ล านบาท)

3,356.8 1.2 566.1 350.2 32.1 4,306.4

สัดส วน (ร อยละ)

2558 (ล านบาท)

78 0 13 8 1 100

2,246.1 231.9 463.6 707.4 79.7 3,728.7

สัดส วน (ร อยละ)

60 6 13 19 2 100

2559 (ล านบาท)

1,814.7 227.9 321.6 753.2 7.6 3,124.9

สัดส วน (ร อยละ)

58 8 10 24 0 100

ธุรกิจสื่อ ธุรกิจสื่อของอารเอส ประกอบดวย 2 สื่อหลัก ไดแก สื่อโทรทัศน และสื่อวิทยุ

ธุรกิจสื่อโทรทัศน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจทีวีดิจิตอลชอง 8 และโทรทัศนดาวเทียมจํานวน 3 ชอง ไดแก ชอง 2 ชองสบายดีทีวี และชอง YOU Channel ซึ่งมีรูปแบบ คอนเซ็ปต และกลุมเปาหมายที่แตกตางกัน ดังนี้

ช อง 8 สถานีโทรทัศน “ชอง 8” เปดตัวโลโกใหม ภายใตคอนเซ็ปต “เขมทุกเรื่องราว สุดทุก อารมณ” นําเสนอรายการที่ตอบโจทยความตองการของกลุมผูชมโทรทัศนสวนใหญ ของประเทศ พร อ มทั้ ง ขยายฐานผู  ช มกลุ  ม คนเมื อ ง ด ว ยการผลิ ต และสร า งสรรค ความบันเทิงแบบครบทุกรูปแบบ วางคอนเซปตใหเปนฟรีทีวีที่เขาถึงผูคนไดหลากหลาย เพศและวัย โดยมีรายการที่เปนแมเหล็กของชอง ไดแก ละครใหมออกอากาศเปนครั้งแรก (First Run) ในป 2559 ชอง 8 มีละครใหมออกอากาศเปนครั้งแรก จํานวน 8 เรื่อง ไดแก “สะใภรสแซบ” “พี่เลี้ยง” “มนตรักอสูร” “บาปบรรพกาล” “ลาดับตะวัน” “บวงรัก สลักแคน” “แมนาก” และ “กระถินริมรั้ว” นอกจากนี้ยังมีรายการตางๆ ในรูปแบบ ที่หลากหลาย อาทิ รายการกีฬา “8 Max มวยไทย” “เดอะแชมเปยน มวยไทยตัดเชือก”


PAGE

22

รวมถึงมวยระดับโลกที่ไดรับลิขสิทธิ์มาถายทอดสด ไดแก “ศึกมวยโลก ชอง 8 HBO Boxing” “UFC มวยกรง 8 เหลี่ยม” โดยในป 2559 ไดเพิ่มความมันสดวยรายการมวยในวันศุกรชวงไพรมไทม ไดแก “มวยไทย แบทเทิ้ล” และตอดวย “มวยมันส ซูเปอร Max” รวมถึง รายการขาวที่ถูกนําเสนอใหดูงาย เขาใจงาย เปนตนแบบรายการขาวชวงเชาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในประเทศ และไดรับความนิยม ติดอันดับ 1 ในกลุมผูประกอบการโทรทัศนในระบบดิจิตอลรายใหม และอันดับ 3 ของประเทศ สําหรับ “คุยขาวเชาชอง 8” ตามมาดวย “ขาวเดนชอง 8” “คุยขาวเย็นชอง 8” และ “ขาวเดนรอบวันชอง 8” รวมถึงการเพิ่มรายการขาว “สะดุดขาวเด็ด” นําเสนอขาวขําขัน ทุกประเภททั้งในประเทศและตางประเทศ และ “ปากทองตองรู” รายการขาวเศรษฐกิจ เรื่องรองทุกขชวยชาวบาน พาชิมเมนูเด็ด และสถานที่ทองเที่ยวสุดฮิต รวมอยูภายในรายการเดียว “ชอง 8” ยังเพิ่มความเขมขนดวยรายการวาไรตี้ตางๆ อาทิ “บันเทิง108” “ปากโปง” “เสียงสวรรคพิชิตลาน” “ครัวลั่นทุง” “ซุปตารตลาดแตก” “อึ้งทึ่งเสียวกําลังสอง” “The Guest ตีสนิทคนดัง” “สไมลเรนเจอรขบวนการอัพยิ้ม” และ “English สะกิดตอมฮา” รวมไปถึงการนําซีรีสตางประเทศยอดนิยมทั้งเกาหลีและจีนมาออก อากาศหมุนเวียนกันไปตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งรายการตางๆ เหลานี้ทําให “ชอง 8” มีเรตติ้งครองอันดับตนของประเทศ จากการสํารวจ ของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) เดือนธันวาคม 2559

ช อง 2 สถานีโทรทัศน “ชอง 2” ภายใตคอนเซปต “วาไรตี้ฮอต ละครฮิต” ที่รวบรวมสุดยอด รายการวาไรตี้ ละครที่ไดรับความนิยมอยางสูงจากชอง 8 และซีรีสตางประเทศ คัดสรร และนําเสนออยางเขมขนบน “ชอง 2” เพื่อรักษาฐานกลุมผูชมที่ชื่นชอบความบันเทิง อยางครบรส รวมไปถึงสื่อที่ครอบคลุมเพื่อใชในการโปรโมทชอง เขาถึงกลุมเปาหมาย และการสนับสนุนจากเหลาพันธมิตรมากมายที่ใหการตอบรับเปนอยางดี

ช อง สบายดีทีวี ชอง “สบายดีทวี ”ี จับกลุม เปาหมายผูช นื่ ชอบเพลงไทย ในหลากหลายแนวเพลง ไมเพียงแต จํากัดเฉพาะเพลงลูกทุงเทานั้น ยังมีเพลงแนวเพื่อชีวิต เพลงสตริง เพลงฮิตในอดีต และ เพลงเกาหาฟงยาก ภายใตสโลแกน “ชองเพลงฮิตอันดับหนึ่งของเมืองไทย” ดวยจุดแข็ง ของชอง “สบายดีทวี ”ี ทีด่ แู ลการผลิตและบริหารคอนเทนตเองภายใตคา ยเพลงอารสยาม ทําใหมีจุดแข็งในการนําเสนอรายการไดหลากหลายรูปแบบ ทั้งในเชิงลึกและเชิงกวาง สามารถดึงศักยภาพของศิลปนมาใชไดอยางเต็มที่ ควบคูไ ปกับการคัดสรรผูด าํ เนินรายการ ที่มีเอกลักษณ เปนที่จดจําและชื่นชอบกับคนหลากหลายกลุม จึงทําใหชอง “สบายดีทีวี” เปนชองทีส่ ามารถรับชมไดอยางเพลิดเพลิน สนุกสนานไดตลอดทัง้ วัน และสามารถสือ่ สาร ถึงกันผานขอความมือถือ (sms) และภาพหนาจอ (display) ไดตลอดเวลา

ช อง YOU Channel ชอง “YOU Channel” ชองรายการที่มาพรอมคอนเซ็ปต “ชองเพลงไทยสากลของ คนทั้งชาติ” ตอบโจทยกลุมผูชมและผูฟงที่มีหัวใจรักในเสียงดนตรีทุกเพศ ทุกวัย นําเสนอ คอนเทนตในรูปแบบของมิวสิควีดโี อหรือภาพคอนเสิรต ของศิลปนทีห่ ลากหลาย เพือ่ สราง กระแสนิยม และเปนชองทางในการโปรโมทศิลปนในเครืออารเอส


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

การตลาดและการแข งขัน ในป 2559 อุตสาหกรรมสื่อโทรทัศนมีการแขงขันเพื่อแยงชิงสายตาคนดูและเม็ดเงินโฆษณามีความรุนแรงมากขึ้นกวาในอดีต เนื่องจาก คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กสทช. ไดจดั ใหมกี ารประมูลใบอนุญาตดิจติ อล ทีวีประเภทธุรกิจจํานวน 24 ใบอนุญาต ทําใหมีคูแขงรายใหมเกิดขึ้นมากมาย ชอง 8 ในฐานะที่เปนชองที่มีประสบการณในการทําสื่อ ุ ภาพ โทรทัศนมาอยางยาวนานจากการทีเ่ คยอยูใ นธุรกิจโทรทัศนดาวเทียมมากอน ทําใหบริษทั ฯ มีความรูค วามสามารถ ผลิตผลงานทีม่ คี ณ ไดถูกใจผูชมเปนอยางดีมาอยางตอเนื่อง ถึงแมวาการเกิดขึ้นของดิจิตอลทีวีในประเทศไทยจะทําใหหลายฝายตางใหความสนใจ ไมวาจะเปนผูชมหรือลูกคาผูลงโฆษณาที่ตาง เทเม็ดเงินโฆษณาเขามาในอุตสาหกรรมดิจิตอลทีวี แตอยางไรก็ตาม จากการแขงขันของผูประกอบการอยางสูงในปจจุบัน ประกอบกับ สภาพเศรษฐกิจที่มีการเติบโตไมสูงนัก ทําใหเม็ดเงินโฆษณาในระบบคอนขางจํากัด และบางสวนถูกยายไปสําหรับการโฆษณาผานสื่อ ออนไลน การจะอยูใหไดในอุตสาหกรรมนี้ การผลิตรายการใหโดดเดน เปนที่สนใจ และตรงกับความตองการของกลุมเปาหมาย รวมถึง การบริหารตนทุนการผลิตรายการอยางเหมาะสม เปนปจจัยที่สําคัญอยางยิ่งยวดในธุรกิจนี้ และอีกสิ่งหนึ่งที่ละเลยไมได ก็คือ การนํา คอนเทนตที่นาสนใจไปวางไวบนสื่อออนไลนในชวงเวลาที่เหมาะสม ก็จะกอใหเกิดรายไดอีกทางหนึ่ง อยางไรก็ตาม ผูชมสวนใหญเกือบรอยละ 60 ของประเทศยังคงรับชมชองโทรทัศนผานดาวเทียม และตนทุนการประกอบการโทรทัศน ผานดาวเทียมนั้นไมสูงนักเมื่อเทียบกับดิจิตอลทีวี ดังนั้นบริษัทฯ จึงยังคงใหความสําคัญกับธุรกิจทีวีดาวเทียม ทั้งชอง 2 และชอง สบายดีทวี ี และพยายามรักษาความผูน าํ ในธุรกิจทีวดี าวเทียมไว โดยเชือ่ วาในชวงทีเ่ ศรษฐกิจของประเทศพลิกฟน ตัวดีขนึ้ เม็ดเงินโฆษณา ผานทีวีดาวเทียมจะเพิ่มขึ้นมาก และมีความสามารถในการทํากําไรไดเปนอยางดี

กลยุทธ การตลาด 1) กลยุทธการกําหนดตราสินคาของบริษัท และจุดยืนทางการตลาด (positioning) ของรายการ บริษัทฯ ไดกําหนดตําแหนงทางการตลาดของธุรกิจไวอยางชัดเจน ในรายการแตละประเภท การสื่อสารภาพลักษณของบริษัทฯ และการออกแบบรายการมุงเนนตอบสนองกลุมเปาหมายโดยเฉพาะ โดยพิจารณาพฤติกรรมของผูชมแตละกลุม และกระแส ที่กําลังเปนที่นิยม ทั้งนี้สอดรับกับกลยุทธของกลุมบริษัทฯ ซึ่งมีความเขมแข็งและมีความสามารถในการแขงขันในตลาดสูง 2) กลยุทธการใชจุดแข็งทางการแขงขันของกลุมอารเอสมาเปนองคประกอบหลักในการผลิตเพื่อใหไดรายการที่มีคุณภาพ นอกจากกําหนดกลุมผูชมเปาหมายที่ชัดเจน การออกแบบและผลิตรายการใหมีคุณภาพนั้น บริษัทฯ ยังไดนําจุดแข็งทางการแขงขัน ขององคกรในกลุมตลาดวัยรุนและตลาดเพลงลูกทุง ซึ่งเปนตลาดขนาดใหญและมีความสามารถในการซื้อสูง ทั้งในดานศิลปน นักรองนักแสดง พิธีกรในสังกัด เพลง และ คอนเทนตอื่นๆ โดยนํามาใชเปนองคประกอบหลักในการผลิตรายการ เมื่อผนวกเขากับ จุ ด แข็ ง ของที ม งานที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญและมี ป ระสบการณ ใ นการผลิ ต สื่ อ รายการโทรทั ศ น แ ละสื่ อ วี ดี ทั ศ น แ ล ว ทํ า ให ผ ลงาน การผลิตมีคุณภาพและมีผลตอบรับที่ดี 3) กลยุทธการกําหนดรูปแบบการขายเพื่อสรางคุณคาสูงสุดใหกับลูกคา การออกแบบการขายสื่อโฆษณาเพื่อตอบสนองความตองการและสรางคุณคาสูงสุดใหกับลูกคาในลักษณะของการขายแบบ แพ็คเกจ คือ การขายเวลาโฆษณารวมกับการทํากิจกรรมทางการตลาดควบคูก นั ไป เพือ่ เปนการชวยตอกยํา้ และสรางการรับรูแ บรนด ใหกับลูกคา โดยทีมงานมุงเนนการสรางสรรคกิจกรรมทางการตลาดในแนวความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) เพื่อกระตุนจิตสํานึกและเผยแพรความรูเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอสังคมของลูกคาที่มีตอผูบริโภคโดยนํามา เสนอในรายการใหดูกลมกลืนแนบเนียนไปกับตัวรายการ และสามารถสื่อสารคุณสมบัติของสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการออกแบบแพ็คเกจของสื่อโฆษณาลงในหลายๆ รายการรวมกันเพื่อใหการใชงบประมาณโฆษณาของลูกคาคุมคาสูงสุด

23


PAGE

24

4) กลยุทธการสรางคุณภาพรวมเพื่อเปนที่ยอมรับของลูกคา มุง เนนการสรางคุณภาพรวมในทุกสวนงานของบริษทั ฯ เพือ่ ใหเปนทีย่ อมรับและไววางใจจากลูกคา ไมเฉพาะแตในสวนของคุณภาพ การผลิตที่สรางความพึงพอใจใหกับลูกคาแตยังรวมถึงดานการบริการทั้งกอนและหลังการขาย เชน การตอบสนองความตองการ ของลูกคาอยางรวดเร็วและถูกตอง การรับฟงและแกปญหาใหกับลูกคา เปนตน 5) กลยุทธการพัฒนารูปแบบรายการเพื่อตอบสนองรสนิยมของกลุมเปาหมาย มีการวิเคราะหความตองการของผูชมเปาหมายอยางตอเนื่อง เพื่อนํามาใชในการพัฒนารูปแบบการผลิตใหสอดคลองกับความ ตองการของกลุมผูชมและลูกคาเพื่อเพิ่มความนิยมในตัวรายการ และเพิ่มยอดขายอยางตอเนื่อง 6) กลยุทธการบริหารการจัดการและการบริหารตนทุน วางโครงสรางใหเกิดความคลองตัวในการบริหารจัดการ และการบริหารตนทุน โดยใชพนักงานของบริษทั ฯ ในการผลิตงานสวนหนึง่ และใชการจางงานบุคลากรภายนอก (Outsourcing) อีกสวนหนึ่ง

การจัดหาผลิตภัณฑ หรือบริการ การเกิดขึ้นของดิจิตอลทีวีทําใหมีผูเลนรายใหมมากขึ้น การแยงชิงบุคลากรที่มีความรูความสามารถ จึงเกิดขึ้นอยางรุนแรงและหลีกเลี่ยง ไมได แตอยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดมีแผนการปองกันความเสี่ยงโดยมีการเซ็นสัญญาบุคลากรตางๆ ทั้งผูเขียนบท ผูกํากับ และนักแสดง ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีการคัดสรรบุคลากรทั้งเบื้องหนาและเบื้องหลังที่มีศักยภาพ มีความเชี่ยวชาญ และเปนที่ยอมรับของกลุมเปาหมาย โดยในสวนของบุคลากรเบื้องหนา มุงเนนที่ศิลปนนักแสดงในสังกัดของกลุมอารเอส และอีกสวนหนึ่งไดมาจากการคัดเลือกนักแสดง และศิลปนอิสระ สําหรับทีมงานผลิตนั้น ในสวนของการสรางสรรครูปแบบงานและการควบคุมการผลิต เปนการจัดการโดยทีมงาน ของบริษัทฯ สวนของการดําเนินการผลิตอยูในรูปแบบของพนักงานภายในสวนหนึ่ง และอีกสวนหนึ่งเปนการจางผลิต

ธุรกิจสื่อวิทยุ บริษัทดําเนินธุรกิจผานระบบคลื่นความถี่ระบบ F.M. 93.0 MHz ภายใตแบรนด COOLfahrenheit 93 โดยมีรายละเอียด ดังนี้ สถานีวิทยุ

COOLfahrenheit 93

ผูใหสัมปทานคลื่นวิทยุ

สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือ

วันและเวลาออกอากาศ

24 ชั่วโมง

สัญญาณสงครอบคลุมพื้นที่

กรุงเทพฯ และปริมณฑล

แนวคิด (Concept)

50 Minutes Music Freeze Your Mind

กลุมผูฟงเปาหมายหลัก

นักศึกษา คนทํางาน อายุระหวาง 20 - 44 ป

สถานีวิทยุ COOLFahrenheit 93 (F.M. 93.0 MHz) COOLfahrenheit 93 ดําเนินตามนโยบายของบริษัทฯ ในการประกอบกิจการวิทยุเชิงพาณิชยเต็มรูปแบบ โดยยังคงเนนรักษา ความนิยมของสถานีไว พรอมขยายฐานผูฟงใหกวางขึ้นผาน platform radio online จนทําใหในปจจุบัน COOLfahrenheit 93 ยังคงรักษาฐานผูฟงที่ชัดเจนและความนิยมในการรับฟงไวไดจนสามารถครองความนิยมในอันดับ 1 ของกลุมเปาหมายอยางตอเนื่อง กวาทศวรรษ จากการสํารวจ ของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) สงผลใหลูกคาบริษัทโฆษณา และบริษัทเจาของสินคา ยังคงความมั่นใจในการใชสื่อโฆษณาของบริษัทอยางตอเนื่อง


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

รูปแบบของรายการวิทยุ COOLfahrenheit 93 สถานีที่นําเสนอเพลงไทยสากลในแนว EASY LISTENING ที่ไดรับการยอมรับจากกลุมผูฟงสูงสุดและ เปนรายการวิทยุคลื่นแรกที่สรางปรากฏการณการนําเสนอเพลงเพราะตอเนื่องมากที่สุด 50 นาที “50 Minutes Music Freeze your mind” โดยทุกๆ บทเพลงเพราะไดผานการคัดสรรจากผลสํารวจความนิยมของผูฟงอยางแทจริง พรอมดวยทีมคูลเจมืออาชีพที่ไดรับ การยอมรับจากกลุมคนฟง และการจัดกิจกรรมที่ตอบสนองไลฟสไตลและเปดโลกทัศนของกลุมคนทํางานรุนใหมอยางตอเนื่อง สงผลให COOLfahrenheit 93 เปนสถานีเพลงอันดับ 1 ทั้งบนหนาปทมวิทยุและหนาจอมัลติสกรีน (ออนไลน) ของคนทํางานอยางเปน เอกฉันทจากการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) ดวยกลยุทธการตลาดที่ไมหยุดนิ่ง ตั้งแตป 2545 จนกระทั่งปจจุบันนี้ (ขอมูลเดือนธันวาคม 2559) ในกลุมรายการวิทยุประเภทเพลงไทยสากล ของกลุมคนทํางาน (20 - 44 ป)

การตลาดและการแข งขัน ในปจจุบันถึงแมวากลุมผูฟงจะมีพฤติกรรมการฟงเพลงผานวิทยุนอยลง แตอยางไรก็ตามยอดผูฟงที่มีการฟงเพลงออนไลนผานเว็บไซต และอุปกรณสมารทโฟนนั้นมีมากขึ้น โดย COOLfahrenheit 93 มียอดผูฟงที่ฟงเพลงผานทางเว็บไซต และแอพพลิเคชั่น เพิ่มมากขึ้น เรื่อยๆ รวมถึงชองทางการติดตอสื่อสาร ยอดติดตาม (Follow) ยอดแฟนเพจ (Like) ผานทางโซเชียลมีเดียก็มีมากขึ้นอยางตอเนื่อง การตลาดและการแขงขันของธุรกิจสื่อวิทยุยังคงมีอยูสูงเนื่องจากงบประมาณโฆษณาที่มีจํากัด ทําใหลูกคาจะเลือกซื้อเวลาโฆษณา จากรายการวิทยุที่ไดรับความนิยมสูงเปนปจจัยหลัก แตในขณะเดียวกัน กลยุทธดานราคานั้นก็มีความสําคัญตอการตัดสินใจซื้อ โฆษณาสูง เนือ่ งดวยจะทําใหลกู คาสามารถไดเวลาโฆษณามากขึน้ หรือไดรปู แบบโฆษณาทีห่ ลากหลายทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั กลยุทธการขายของ แตละบริษัทที่จะจูงใจใหลูกคาเห็นวาคุมคากับเงินที่ใชไปสูงที่สุด

กลยุทธ การตลาด 1) กลยุทธนโยบายความคุมคา (Value for money) เพื่อสรางประโยชนสูงสุดใหกับงบประมาณที่ลูกคามีอยูเพื่อการโฆษณา ในลักษณะของการขายแบบแพ็คเกจ คือ การขายเวลาโฆษณารวมกับการจัดกิจกรรมทางการตลาดซึ่งมีผลตอการสงเสริม การขายอยางเปนรูปธรรมและคุมคาตอการลงทุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดออกแบบแพ็คเกจที่เขาถึงกลุมผูฟงเปาหมาย ทั้งระบบอนาล็อก (F.M. 93.0 MHz) และระบบดิจิตอล (radio online) ครอบคลุมทุก platform smartphone ทําใหตอบโจทยผซู อื้ สือ่ โฆษณา ทีม่ แี นวโนมนิยมการใชสอื่ ดิจติ อล ออนไลน ที่เพิ่มมากขึ้นอีกดวย 2) กลยุทธการจัดกิจกรรมสงเสริมการขาย จากสภาวะการแขงขันอยางเขมขนของธุรกิจวิทยุทตี่ อ งการสรางความแตกตางของรายการ ใหเกิดขึ้น เพื่อเสริมสรางมูลคาเพิ่มทั้งตอคลื่นวิทยุและตอลูกคาและสินคาที่รวมกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆ ดังนั้นการขายเวลา โฆษณาอยางเดียวไมเพียงพอตอความตองการของลูกคา และตอการสรางแบรนดของบริษัทฯ และคลื่น ดวยเหตุนี้ทางบริษัทฯ จึงมีการปรับปรุงกลยุทธการดําเนินการใหความสําคัญกับการจัดกิจกรรมสงเสริมการขายโดยมีกลยุทธการเปนพันธมิตรทางธุรกิจ (Synergy) กับพันธมิตรในดานตางๆ โดยการเขารวมเปนสื่อพันธมิตร (Media Partner) ใหกับกิจกรรมหรือคอนเสิรตที่มีกลุมลูกคา เปาหมายเดียวกัน รวมถึงการเพิ่มมูลคาของสินคาโดยมีกิจกรรมสงเสริมการขายที่ทํารวมกันระหวางรายการและผูฟง กิจกรรมสงเสริมการขายทั้งหมดนี้ บริษัทฯ จะเนนกิจกรรมที่มีคุณภาพที่สามารถใหสาระและบันเทิงกับผูรวมกิจกรรมและ ในขณะเดียวกันยังสามารถตอบสนองนโยบายการตลาดของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ มีความชัดเจนและตรงกับกลุมเปาหมาย สงผลใหบริษัทฯ สามารถสรางรายไดจากการจัดกิจกรรมสงเสริมการขายใหกับลูกคาไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้แลวบริษัทฯ ยังใชศักยภาพของฝายโฆษณาและประชาสัมพันธของบริษัทฯ เพื่อเผยแพรกิจกรรมของ COOLfahrenheit 93 และกิจกรรมของลูกคาใหเปนที่ยอมรับและรูจักอยางแพรหลายทั้งในรูปแบบขาวประชาสัมพันธและการโฆษณาในสื่ออื่นๆ เชน สื่อออนไลน รายการโทรทัศน นิตยสาร สื่อนอกบาน (OOH) ฯลฯ อีกดวย

25


PAGE

26

3) กลยุทธการใหบริการวางแผนโฆษณา บุคลากรของบริษัทฯ เปนผูที่อยูในสายงานวิทยุมาเปนเวลานาน มีความรูและความเขาใจ ในธุรกิจสือ่ วิทยุเปนอยางดี สามารถใหคาํ ปรึกษากับลูกคาในการวางแผนการบริหารสือ่ ใหมคี ณ ุ ภาพมากทีส่ ดุ และการเลือกซือ้ เวลา โฆษณาหรือแพ็คเกจโฆษณาทีเ่ หมาะสมกับวัตถุประสงคของลูกคาและกลุม ผูฟ ง รายการ บริษทั ฯ มีการวางแผนโฆษณาโดยสรางสรรค กิจกรรมพิเศษเฉพาะกิจ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาและขอจํากัดของสินคาแตละประเภท ซึ่งบริษัทฯ ไดใชนโยบาย การเปนคูคารวมกับผลิตภัณฑในการวางแผนโฆษณาเชนนี้กับสินคาทุกรายที่สนับสนุนรายการ เพื่อสรางแรงจูงใจและเกิดความ คุมคาสูงสุดในการเลือกใชบริการสื่อของบริษัทฯ

การจัดหาผลิตภัณฑ หรือบริการ 1. นักจัดรายการวิทยุ และบุคลากรฝายผลิตและสรางสรรค บริษัทฯ ไดสรางนวัตกรรมใหมของวงการวิทยุโดยนักจัดรายการวิทยุแตละคนจะตองเพิ่มศักยภาพของตนเองใหมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ จะตองมีเรื่องของความรูเบื้องตนทางการตลาด รูจักการใชเทคโนโลยี และสื่อออนไลน Social Media ใหเกิดประโยชนสูงสุด พรอมทั้งสามารถดําเนินรายการตามรูปแบบของรายการที่วางไวใหสอดคลองกับรสนิยมของกลุมเปาหมาย ปจจุบันนักจัดรายการ ของบริษัทฯ ยังตองเปนผูมีทักษะในการเปนผูดําเนินรายการในการจัดกิจกรรมสงเสริมการขาย (on ground) เพื่อรองรับงานกิจกรรม พิเศษ (event) เพื่อสงเสริมการขายอีกทางหนึ่งดวย ซึ่งนักจัดรายการจะเปนผูมีสวนสําคัญในการสรางความนิยมใหแกสถานี 2. ระบบการออกอากาศ บริษทั ไดเลือกใชระบบคอมพิวเตอรในการควบคุมการออกอากาศแบบอัตโนมัตซิ งึ่ เปนเทคโนโลยีทเี่ ปนมาตรฐานสากล และมีการอัพเดท ซอฟตแวรอยางตอเนื่อง เพื่อความทันสมัยและคุณภาพในการออกอากาศ ผานคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม และ platform radio online ที่เขาถึงทุกดีไวซ ทั้ง smartphone และ PC

ธุรกิจสุขภาพและความงาม อารเอสดําเนินธุรกิจสุขภาพและความงามผานบริษัท ไลฟสตาร จํากัด โดยมีผลิตภัณฑ ครอบคลุมทัง้ ผลิตภัณฑบาํ รุงผิว (Skin Care) ภายใตแบรนด “มาจีค” (Magique) ผลิตภัณฑ ดูแลเสนผม (Hair Care) ภายใตแบรนด “รีไวฟ” (Revive) และผลิตภัณฑเสริมอาหาร (Food Supplement) ซึ่งผลิตภัณฑเหลานี้ไดแรงบันดาลใจจากนวัตกรรมระดับโลกและ สถาบันวิจัยทั้งในและตางประเทศ นําเสนอผานผลิตภัณฑกวา 20 รายการ และโฆษณา ผานชองทางสื่อของอารเอส ทั้งชอง 8 ชอง 2 และชองสบายดีทีวี เนื่องจากอารเอส เล็งเห็นถึงชองทางการใชสื่อในมือใหเกิดประโยชนสูงสุด อีกทั้งบริษัทฯ ไดตอยอดขยาย ชองทางการจัดจําหนายออกไปยังรานคาปลีกสมัยใหมทั่วประเทศ

การตลาดและการแข งขัน ตลาดอุตสาหกรรมสุขภาพและความงามในประเทศไทยมีขนาดสูงกวาแสนลานบาท อีกทั้งยังมีอัตราการเติบโตที่สมํ่าเสมอแมวา เศรษฐกิจของประเทศจะมีการขยายตัวในระดับตํา่ ก็ตาม เนือ่ งจากในยุคสมัยปจจุบนั คนรุน ใหมหนั มาสนใจดูแลรักษาสุขภาพเพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวติ ใหดขี นึ้ รวมถึงเขาถึงขอมูลขาวสารตางๆ ไดงา ยและทันทวงทีมากขึน้ ทําใหคนรูจ กั เลือกสรรผลิตภัณฑทตี่ รงกับความตองการ ไลฟสไตล และชวยยกระดับใหดูดีขึ้น อยางไรก็ตาม ดวยมูลคาตลาดผลิตภัณฑสุขภาพและความงามที่คอนขางสูง ทําใหเกิดการแขงขัน สูงตามไปดวย ผลิตภัณฑมีความหลากหลายทั้งในแงของประเภทผลิตภัณฑ แบรนด ราคา การจัดจําหนาย รวมถึงสวนแบงการตลาด ก็กระจายไปยังผูป ระกอบการอยางหลากหลาย ทัง้ ผูป ระกอบการทีเ่ ปนแบรนดระดับโลกและแบรนดในประเทศ นอกเหนือไปจากคุณภาพ ของผลิตภัณฑที่เปนสวนสําคัญในธุรกิจสุขภาพและความงามแลวนั้น การทําการตลาด โฆษณา และชองทางการจัดจําหนายที่ตรงกับ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ความตองการของผูบริโภคก็มีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ดวยเหตุนี้ ทําใหบริษัทฯ เชื่อมั่นวา นอกเหนือไปจากการมีคูคาและ พันธมิตรที่แข็งแกรงแลวนั้น จุดแข็งของอารเอสคือการมีประสบการณอันยาวนานและมีสื่อแตกตางกันหลายประเภทอยูในมือ จะนําพา ใหผลิตภัณฑสุขภาพและความงามของไลฟสตารขึ้นมาเปนแบรนดหนึ่งในตัวเลือกหลักของผูบริโภคได

กลยุทธ การตลาด ผลิตภัณฑสุขภาพและความงามของบริษัทฯ ไดรับแรงบันดาลใจมาจากนวัตกรรมระดับโลก รวมถึงไดผูเชี่ยวชาญและพันธมิตรจาก สถาบันวิจัยตางประเทศ รวมกับสวนผสมที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดวยการสกัดจากเทคโนโลยีขั้นสูง อยูในบรรจุภัณฑที่สามารถเก็บรักษา คุณภาพของผลิตภัณฑไวไดอยางเหมาะสม โดยบริษัทฯ เลือกใชการตั้งราคาอยางสมเหตุสมผลเพื่อใหคนสวนใหญจับตองได อารเอสใชการโฆษณาประชาสัมพันธผา นชองทางสือ่ ของบริษทั ฯ เปนชองทางแรก ทัง้ ชอง 8 ชอง 2 และชองสบายดีทวี ี รวมถึงการโฆษณา ในชองโทรทัศนทไี่ ดรบั ความนิยมในระดับสูงและการโฆษณาผานบิลบอรดทัว่ ประเทศ เพือ่ ทําใหผลิตภัณฑเปนทีร่ จู กั ในวงกวาง เมือ่ ลูกคา ตองการซือ้ สินคาสามารถโทรศัพทเขามาที่ call center ของบริษทั ฯ หรือสามารถซือ้ ผานออนไลนไดที่ www.shop1781.com ในสวนนี้ จะทําใหบริษัทฯ มีขอมูลผูบริโภค ทราบถึงรสนิยมและความตองการผานผลิตภัณฑที่นําเสนอที่มีความหลากหลาย และสามารถนํามาใช จัดการใหเกิดประโยชนกับชองทางจัดจําหนายอื่นๆ เชน รานคาปลีกสมัยใหม เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคได บริษัทฯ ยังมีแผนเพิ่มจํานวนประเภทผลิตภัณฑและขยายชองทางการจัดจําหนายใหมๆ ทั้งหางสรรพสินคาและรานคาปลีกขนาดใหญ (Hypermarket and Superstore) รานคาสะดวกซื้อ (Convenience Store) และรานจําหนายเวชสําอาง (Drug store) กลยุทธดานการสงเสริมการตลาด บริษัทฯ มีการวางแผนอยางตอเนื่องตลอดทั้งปใหเหมาะสมกับลูกคาในแตละชองทางการจัดจําหนาย อาทิเชน การทําโปรโมชั่น Shock Deal และโปรโมชั่นรวมกับรานคาปลีกตางๆ

การจัดหาผลิตภัณฑ หรือบริการ อารเอสรวมมือกับสถาบันวิจัยนานาชาติเปนผูคิดคนสวนผสมที่สําคัญในแตละผลิตภัณฑ เมื่อไดสวนผสมหรือสารสกัดที่สําคัญแลว จะนํามาผลิตโดยพันธมิตรชั้นนําระดับประเทศ และบางสวนเปนบริษัทในเครือของบริษัทชั้นนําระดับโลกเปนผูรับจางผลิตผลิตภัณฑ

ธุรกิจเพลง ธุ ร กิ จ เพลงของอาร เ อส มี ก ารดํ า เนิ น งานในลั ก ษณะครบวงจร ครบทุ ก ขั้ น ตอนของการดํ า เนิ น งาน ตั้ ง แต ก ารคั ด เลื อ กศิ ล ป น การทํางานเพลง การทําการโปรโมท การวางกลยุทธสื่อและการตลาด การบริหารศิลปน และการบริหารคอนเทนตเพลง ทั้งในแง ตัวศิลปน ตัวงานเพลง ผานชองทางทั้งในสื่อ Online เชน streaming, download และ Offline เชน โทรทัศน 1) การวางโครงสรางการประกอบธุรกิจเพลง (Business Model) การทํางานเพลงจะเริ่มตนจากการนําเสนอแนวความคิด คอนเซ็ปตของงาน และกําหนดกลุมผูฟงเปาหมาย รวมกับศิลปนที่พรอมจะรวมเปนพารทเนอรกัน ดวยการที่อารเอสมีทีมงาน ที่มีประสิทธิภาพและประสบการณในหลากหลายรูปแบบ รวมถึงชองทางสื่อที่มีศักยภาพทั้ง Offline และ Online ทําใหสามารถ ผลิตผลงานเพลงไดหลากหลายเพื่อตอบสนองกลุมเปาหมายไดครบทุกกลุมและสามารถผลิตผลงานออกสูตลาดไดอยางตอเนื่อง หลังจากนั้นจึงนําเสนอคอนเซ็ปตและกลยุทธ ตอคณะกรรมการบริหารธุรกิจเพลง (Music Business Management Board) เพื่อพิจารณาอนุมัติในหลักการ 2) การวางนโยบายการผลิ ต ผลงานในจํ า นวนที่ เ หมาะสม เน น การให ค วามสํ า คั ญ กั บ คุ ณ ภาพของผลงาน และการดู แ ลสิน ค า เมื่อออกสูตลาดอยางใกลชิดตั้งแตตนจนจบกระบวนการ ทําใหการผลิตผลงานแตละโปรเจคเปนไปตามการวางแผนในขั้นตน และมีการวัดผลทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงการตอบรับของกลุมเปาหมาย ผานตัววัดในชองทาง Social Media ตางๆ 3) การใชประโยชนจากสื่อตางๆ ไมวาจะเปนสื่อโทรทัศน สื่อออนไลนทั้งทางเว็บไซต และโซเชียลมีเดียตางๆ ของบริษัทฯ และบริษัท ในเครือเพื่อใหการประชาสัมพันธผลงานมีประสิทธิภาพ และเปนการใชสื่อที่มีอยูทั้งหมดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

27


PAGE

28

4) การบริหารจัดการลิขสิทธิ์งานเพลงที่มีอยูอยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อสรางรายไดเพิ่มเติมใหกับบริษัท 5) การตอยอดในเชิง Value ของศิลปนที่ผลิตผลงาน โดยจะตอยอดทั้งในเชิงของการวางกลยุทธในการสรางรายไดจากงาน Event, Showbiz ตางๆ รวมไปถึงการเปน Brand Ambassador, Presenter ของผลิตภัณฑที่มี positioning และกลุมเปาหมาย เดียวกับกับตัวศิลปน 6) การวางนโยบายในการเปดโอกาสใหกับกลุมศิลปนใหม นักแตงเพลง และชองทางสรางสรรคงานเพลงรูปแบบใหม เพื่อพัฒนา และยกระดับงานเพลงของกลุมอารเอสใหทันสมัยและครอบคลุมกลุมเปาหมายตลอดเวลา โดยที่การประกอบธุรกิจเพลง มีรายไดหลักจาก 3 แหลงดังนี้ 1) รายไดจาก Showbiz, Event ของศิลปนที่อยูในสังกัด เปนการวางกลยุทธเพื่อการขายงานแสดง/งานโชวของศิลปน ตลอดทั้งป รวมทั้งการตอยอดเชิงภาพลักษณของศิลปนในแงของการเปน Brand Ambassador หรือ Presenter ผลิตภัณฑตางๆ 2) รายไดจากการขายผลิตภัณฑเพลงในรูปแบบตางๆ ผานทางระบบดิจิตอล (Digital Content) ไมวาจะเปนการดาวนโหลดเพลง (Download) การดาวนโหลดเสียงเรียกเขาผานทางโทรศัพท (Ring tone) การเลือกซือ้ เพลงรอสายผานเครือขายของระบบโทรศัพท เคลือ่ นที่ (Ring Back Tone) การดาวนโหลดเพลง (Full Song) ผานชองทางอืน่ ๆ เชน iTunes หรือผานเครือขายของระบบโทรศัพท เคลื่อนที่ (WAP) การฟงเพลงในรูปแบบ Online Streaming ผาน Platform ตางๆ เชน JOOX, Apple Music การฟงเพลง และดูมิวสิควิดีโอออนไลนผาน YouTube, Line TV 3) รายไดจากการจัดเก็บลิขสิทธิ์เพลง โดยบริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด หรือในชื่อยอวา TCC (Thai Copyright Collection CO., LTD.) เปนบริษัทในเครือที่ทําหนาที่จัดเก็บลิขสิทธิ์ผลงานตางๆ ที่ถูกนําไปใชในเชิงพาณิชยใหกับบริษัทฯ

ศิลป นนักร องในสังกัด (Artist/Singer) ปจจุบนั บริษทั ฯ มีศลิ ปนนักรองเพลงไทยสากล และเพลงไทยลูกทุง ประกอบดวยศิลปนเดีย่ วและศิลปนกลุม ซึง่ สามารถนําเสนองานเพลง ทีห่ ลากหลายครอบคลุมทุกกลุม เปาหมายทัว่ ประเทศ ตัวอยางศิลปนในอารเอส ไดแก ใบเตย อารสยาม, จะ อารสยาม, กระแต อารสยาม, เบิ้ล ปทุมราช อารสยาม, วงเฟลม, วงเคลิ้ม, เอก สุระเชษฐ, แบล็คแจ็ค, บาววี, จินตหรา พูนลาภ, บีทเติ้ล, กลุมศิลปนสโมสรชิมิ เปนตน

การตลาดและการแข งขัน ในปจจุบันผูบริโภคมีพฤติกรรมการฟงเพลงที่เปลี่ยนไปจากเดิม โดยมีตัวแปรที่สําคัญคือการใชงานอินเทอรเน็ตและการเพิ่มขึ้นอยาง แพรหลายของอุปกรณสมารทโฟน (Smartphone) สงผลใหผูบริโภคหันมาฟงเพลงออนไลนผานทางเว็บไซตตางๆ และฟงเพลง บนอุปกรณสมารทโฟนกันมากขึ้น ดังนั้นบริษัทฯ จึงตองใหความสําคัญกับชองทางการจัดจําหนายมากขึ้น ตองมีชองทางที่หลากหลาย เพื่อใหสามารถเขาถึงผูบริโภคไดอยางทั่วถึงโดยไมจําเปนจะตองเปนผลิตภัณฑแผนเพลงเสมอไป นอกจากนี้ในปจจุบัน คอนเทนตเพลงมีการผลิตกันออกมาหลากหลาย ทําใหผูบริโภคสามารถเลือกฟงไดงายดายผาน social network ตางๆ ทําใหเกิดรูปแบบใหมๆ ของคอนเทนตเพลงในตลาดมากขึ้น

ธุรกิจรับจ างและผลิตกิจกรรม รายไดจากธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม มาจาก 2 สวน ไดแก การจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด

การจัดคอนเสิร ตและกิจกรรมการตลาด ประเภทของธุรกิจการแสดงและกิจกรรมการตลาด เปนอีกรูปแบบหนึง่ ในประเทศไทยทีม่ กี ารขยายตัวอยางรวดเร็ว เปนผลใหลกู คาบริษทั โฆษณาและบริษัทเจาของสินคา มีการจัดสรรงบประมาณในแงของกิจกรรมสงเสริมการขาย ณ จุดขาย (Below the line) มากขึ้น อารเอสมีความเชี่ยวชาญในการจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด ผลิตผลงานไดสอดคลองกับแผนการตลาดของลูกคาที่ลงทุน ในสื่อกิจกรรมสงเสริมการขาย ณ จุดขาย ประเภทการแสดงและอีเวนต โดยมีการเสนอแผนงาน รูปแบบสื่อกิจกรรมบันเทิงตางๆ ใหมีความตอเนื่องและสงผลตอธุรกิจในระยะยาวได


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

สําหรับธุรกิจการจัดคอนเสิรต และกิจกรรมการตลาด ในประเทศไทยจะจัดแบงเปน 3 กลุมใหญ ดังนี้ 1. กลุมบริษัทประเภทจัดงานแสดง (Presentation) และผูรับจางจัดอีเวนต (Event Organizer) ที่ใหบริการรับจัดอีเวนตทั่วไป ใหกับสินคาและบริการ 2. กลุมบริษัทประเภท ผูสนับสนุนอีเวนตระดับทองถิ่น (Local Event Promoter) ที่ใหบริการจัดการแสดง โชว คอนเสิรต โดยเปนผูลงทุนในการทําตลาด จัดงานเอง และ/หรือ รวมกับบริษัทอื่นๆ ในประเทศ 3. กลุมบริษัทประเภท ผูสนับสนุนอีเวนตระหวางประเทศ (International Event Promoter) ที่ใหบริการจัดการแสดง โชว คอนเสิ ร  ต โดยผู  ล งทุ น และให บ ริ ก ารในการทํ า แผนตลาด จั ด งานเอง และ/หรื อ ร ว มกั บ บริ ษั ท อื่ น โดยเป น ผู  คั ด สรรงาน เพื่อมาทําตลาดในประเทศ การจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาดในประเทศไทย มีการแขงขันคอนขางสูง เนื่องจากมีผูประกอบการ ทั้งบริษัทที่มีขนาดเล็ก กลาง และใหญ เปนจํานวนมาก แตในขณะเดียวกันธุรกิจนี้ก็มีโอกาสทางดานธุรกิจสูง เนื่องจากแผนการตลาดสวนใหญของสินคาตางๆ จะจัดสรรงบประมาณของกิจกรรมสงเสริมการขาย ณ จุดขาย เพิ่มขึ้นทุกๆ ปเชนกัน อารเอสเปนบริษัทสื่อขนาดใหญ ซึ่งมีขอไดเปรียบในการดําเนินธุรกิจการจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด เนื่องจากมีศิลปน นักรอง ที่ไดรับความนิยมอยูในสังกัดเปนจํานวนมาก อีกทั้งมีธุรกิจสื่อครบวงจร ทั้งสื่อโทรทัศนและสื่อวิทยุ ทําใหมั่นใจไดวาการจัด คอนเสิรตและกิจกรรมการตลาดกับบริษัทฯ จะตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ

การตลาดและการแข งขัน บริษัทฯ ใชทั้งกลยุทธ Mass Customization Strategy และกลยุทธการตอบสนองลูกคาเฉพาะราย (Individual Customization Strategy) เปนกลยุทธหลักในการทํางาน (ขึ้นอยูกับประเภทของการผลิตและการบริการ) โดยมุงเนนไปที่กลุมลูกคาที่เปนเจาของสินคา (Direct Customer) เปนหลัก แตก็ไมละเลยลูกคาที่เปนบริษัทโฆษณา (Advertising Agency) ทั้งนี้ในการนําเสนองานใหกับลูกคานั้น ทางบริษัทฯ มุงเนนที่จะใหลูกคาไดมองใหเห็นวางานที่บริษัทฯ นําเสนอนั้น เปนเครื่องมือทางการตลาด (Marketing Tool) ที่จะทําให ลูกคาแตละรายประสบความสําเร็จในวัตถุประสงคทางการตลาดที่ตั้งไวของลูกคาทุกรายโดยอาศัยหลักการของการตลาดภาคบันเทิง (Entertainment Marketing) ในการเขาถึงผูบริโภค

29


PAGE

30


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ป จจัยความเสี่ยง บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย (บริษทั ฯ) ประเมินความเสีย่ งทีม่ นี ยั สําคัญ ที่อาจเกิดขึ้นและอาจสงผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจ มีดังนี้

ความเสี่ยงจากการออกประกาศหลักเกณฑ จากสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) บริษัทฯ ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการประกอบกิจการโทรทัศนทั้งในระบบภาคพื้นดิน ซึ่งสงสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital Terrestrial Television) และระบบดาวเทียม (Satellite Television) ซึ่งกิจการโทรทัศนนับไดวาเปนกิจการสื่อสารมวลชนที่มีอิทธิพล ตอประชาชนเปนอยางยิง่ เพราะเปนการสือ่ สารทีป่ ระชาชนสามารถเขาถึงและรับรูข อ มูล ไดอยางทั่วถึงมากกวาสื่อมวลชนประเภทอื่นๆ ดังนั้นการประกอบกิจการโทรทัศนจึงตอง ดําเนินภายใตกฎหมายเปนสําคัญ ซึ่งหนวยงานภาครัฐที่เขามามีบทบาทการกํากับดูแล ผูป ระกอบกิจการโทรทัศนของประเทศไทย คือ สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) มีอาํ นาจหนาทีห่ ลักในการกํากับ ดูแลและออกประกาศหลักเกณฑตางๆ เพื่อควบคุมกํากับดูแลผูประกอบกิจการโทรทัศน ใหมีการแขงขันกันอยางเสรีและเปนธรรม มีมาตรฐานทางจริยธรรมและคุมครองผูบริโภค ใหไดรับประโยชนและมิใหถูกเอาเปรียบจากผูประกอบกิจการ อาทิเชน การกํากับดูแล เนื้อหารายการตองมีคุณภาพเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย การจัดระดับความเหมาะสม ของรายการเพื่อคุมครองเด็กและเยาวชน การโฆษณา การสงเสริมและคุมครองสิทธิ ของคนพิการใหเขาถึงหรือรับรูและใชประโยชนจากรายการของกิจการโทรทัศน เปนตน ณ ปจจุบันประกาศ กสทช. ยังมีออกมาอยางตอเนื่องตามแนวนโยบายของ กสทช. และ ตามสภาพปญหาของการประกอบกิจการ ดังนั้น การออกประกาศตางๆ ของ กสทช. จึงยังเปนสิ่งที่ควบคูไปกับการประกอบธุรกิจของผูประกอบกิจการโทรทัศนทุกราย เชนเดิม กฎเกณฑตา งๆ ทีจ่ ะออกมาควบคุมการดําเนินธุรกิจเกีย่ วกับการประกอบกิจการ โทรทัศนของบริษัทฯ จึงยังไมเสถียรและตองใชเวลาอีกสักระยะเพื่อใหเห็นกฎเกณฑ ที่ออกมาบังคับทั้งหมดกอนวาจะสงผลกระทบกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือ ไมเพียงใด อันจะสะทอนเปนปจจัยความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจได

ความเสี่ยงจากการแข งขันที่รุนแรงในธุรกิจสื่อโทรทัศน ตั้งแตเริ่มออกอากาศทีวีดิจิตอลชวงกลางป 2557 เปนตนมา อุตสาหกรรมโทรทัศน เผชิ ญ กั บ สภาวการณ แข ง ขั น ที่ รุ น แรง เกิ ด การปรั บ ตั ว เปลี่ ย นแปลงต า งๆ มากมาย จากผูประกอบการของแตละชอง ไมวาจะเปนผูป ระกอบการรายเดิม (ระบบแอนะล็อก) ที่ตองพยายามรักษาอันดับของตัวเองไมใหตกลงมา และรายใหมที่ตองตอสูเพื่อชวงชิง เรตติ้งและเม็ดเงินโฆษณาในตลาดใหไดมากที่สุด ซึ่งตางก็ใชกลยุทธในการเรียกคะแนน ความนิยมโดยมีคอนเทนตเปนแมเหล็กสําคัญในการดึงดูดผูชมรายการ โดยเฉพาะในชวง ของไพรมไทม (Prime Time) จะมีการแขงขันรุนแรงมากที่สุด ผูชมรายการจะเปนผูไดรับ

ประโยชนจากทางเลือกที่หลากหลายขึ้น บริษทั เอเยนซีโ่ ฆษณาจะมีตวั เลือกในการลง โฆษณามากขึน้ โดยมี “เรตติง้ ” และ “ความ คุม คาของราคา” เปนเกณฑในการพิจารณา ลงโฆษณา ซึง่ จะทําใหการขายเวลาโฆษณา ยากขึ้น อ ย  า ง ไร ก็ ดี จ า ก ก า ร ที่ บ ริ ษั ท ฯ มี ประสบการณ ก ารทํ า ธุ ร กิ จ ผลิ ต รายการ โทรทัศน และบริหารชองรายการของตัวเอง มาเป น เวลานาน มี ก ลุ  ม ผู  ช มเป า หมาย ชัดเจน มีคอนเทนตที่แข็งแรงดวยรูปแบบ ที่ตรงกับรสนิยมของผูชมกลุมเปาหมาย มี บุ ค ลากรและที ม งานที่ มี คุ ณ ภาพและ ประสบการณ ตลอดจนการจัดกิจกรรม สงเสริมการตลาดรูปแบบตางๆ เพือ่ กระตุน ใหผชู มติดตามรับชมอยางตอเนือ่ งและเพือ่ ใหเปนที่รูจักในวงกวาง ทําใหชองโทรทัศน ของบริษัทฯ ติดอยูในอันดับตนๆ จากการ จั ด อั น ดั บ ของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) จะชวยใหบริษัทฯ สามารถช ว งชิ ง และรั ก ษาส ว นแบ ง ทาง การตลาดจากคูแขงในอุตสาหกรรมได

ความเสี่ยงจากการต ออายุ สัญญาสัมปทาน สัมปทานธุรกิจทีวีดาวเทียม จากการที่ กสทช. ไดออกประกาศเรื่อง หลักเกณฑและวิธีการอนุญาตใหบริการ กระจายเสียงหรือโทรทัศน เพือ่ จัดระเบียบ ผูประกอบการชองทีวีดาวเทียมและเคเบิล ทีวใี หเขาสูก ลไกการกํากับดูแล โดย กสทช. จะออกใบอนุญาตใหผูประกอบการเปน คราวๆ ในขั้นแรกใบอนุญาตจะมีอายุ 1 ป หลั ง จากนั้ น จะพิ จ ารณาต อ ใบอนุ ญ าต ใหอีกคราวละไมเกิน 2 ป โดย กสทช. ไดนําหลักเกณฑเรื่องรองเรียนการกระทํา ความผิ ด เกี่ ย วกั บ เนื้ อ หารายการที่

31


PAGE

32

ไมเหมาะสม หรือการโฆษณาที่ผิดกฎหมาย หรือการกระทําอันเปนการขัดหรือแยงกับ การกํากับดูแลดานการคุมครองผูใชบริการ รวมถึงหลักเกณฑอื่นๆ ที่ทาง กสทช. จะออก เพิ่มเติมในอนาคต มาเปนพื้นฐานในการพิจารณาตอใบอนุญาตแกผูประกอบการกิจการ แตละราย ซึ่งการไดรับใบอนุญาตเปนคราวๆ และแตละคราวมีอายุการประกอบการ ระยะสั้นอาจเปนขอจํากัดในการขยายธุรกิจ การวางแผนการผลิต และการสรางรายได ของบริษัทฯ อยางไรก็ดี บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติตามขอกําหนด และกฎเกณฑอยางเครงครัด เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นวาบริษัทฯ จะสามารถไดรับการ ตอใบอนุญาตประกอบกิจการทีวีดาวเทียมไดอยางตอเนื่อง

สัมปทานธุรกิจวิทยุ โดยปกติการทําสัญญาเชาเวลาออกอากาศกระจายเสียงสถานีวิทยุมีระยะเวลาประมาณ 2 ป ซึ่งหากบริษัทฯ ไมไดรับการตออายุสัญญาเชาเวลาออกอากาศดังกลาวจะสง ผลกระทบถึงความตอเนื่องของการออกอากาศรายการและรายไดของบริษัทฯ ทั้งนี้ หมายรวมถึงความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญาซึ่งอาจทําใหบริษัทฯ ไดรับ เงื่อนไขที่ดอยลงไปจากเดิม นอกจากนี้ การแสวงหาเวลาออกอากาศใหมเพื่อทดแทน อาจทําใหบริษัทฯ สูญเสียประโยชนจากการขาดความตอเนื่องทางธุรกิจ และการสราง ความนิยมใหเทียบเคียงกับรายการเดิมได หรืออาจทําใหตนทุนเพื่อการไดมาสูงขึ้น อยางไรก็ดี บริษัทฯ เชื่อวาจากการที่บริษัทฯ ผลิตผลงานที่มีคุณภาพออกมาอยางตอเนื่อง จนไดรับความนิยม มีฐานผูฟงรายการประจํา รวมถึงการที่บริษัทฯ ไดรักษามาตรฐาน ในการชําระเงินและปฏิบัติตามเงื่อนไขของการจายคาเชาเวลาอยางเครงครัด ตลอดจน มีการสรางความสัมพันธอันดีกับผูใหสัมปทานจะทําใหบริษัทฯ ไดรับความไววางใจและ สามารถลดความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการตออายุสญ ั ญาเชาได แตอยางไรก็ตาม บริษทั ฯ จะพิจารณาถึงมูลคาของสัญญาสัมปทาน โดยเปรียบเทียบกับความคุมคาในการลงทุน ซึ่ง หากพิจารณาแลวเห็นวาไมกอใหเกิดประโยชน ทางบริษัทฯ อาจพิจารณาไมตออายุ สัมปทานดังกลาว ทั้งนี้ ในป 2558 บริษัทฯ ไดผานการพิจารณาอนุมัติใหตออายุสัมปทาน ออกไปอีก 2 ป โดยสัญญาสิ้นสุดในป 2560 เมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2559 ไดมคี าํ สัง่ หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ตามมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ยืดระยะเวลาที่ กสทช. เรียกคืนคลื่นความถี่วิทยุ กระจายเสียงจากเดิมในป 2560 ออกไปอีก 5 ป และใหคงสิทธิในการประกอบกิจการวิทยุ กระจายเสียง และการถือครองคลืน่ ความถีด่ งั กลาวไดตามขอบเขตและสิทธิเดิม ซึง่ บริษทั ฯ เห็นวาคําสั่งดังกลาว จะเปนผลดีตอธุรกิจวิทยุของบริษัทฯ ที่จะทําใหมูลคาสัมปทาน รวมถึงขอบเขตและสิทธิไมเปลี่ยนแปลง

พกพาตางๆ (ที่เรียกวา Second Screen ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ นหน า จอที่ 2 รองจาก โทรทัศน) Second Screen จึงเปนสิง่ สําคัญ ที่ ส  ง ผลให บ ทบาทของรายการโทรทั ศ น ตองเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับกับสื่อสังคม ออนไลน (Social Media) ดวย บริษัทฯ จึง ตระหนักดีถึงการเปลี่ยนแปลงและปรับตัว ใหทันกับเทคโนโลยีเพื่อสรางโอกาสการ สือ่ สารกับผูร บั ชมใหครอบคลุมทุกชองทาง แตอีกปจจัยที่สําคัญของการเติบโตทางสื่อ สังคมออนไลน (Social Media) คือ การ ควบคุมกํากับดูแลของภาครัฐที่มีแนวโนม จะเข ม ข น ขึ้ น เนื่ อ งจากป จ จุ บั น ยั ง ไม มี หนวยงานใดที่กํากับดูแลโดยตรง จึงทําให การเสนอขอมูลขาวสารในชองทางสือ่ สังคม ออนไลน (Social Media) คอนขางเสรีและ มีขีดจํากัดนอยกวาสื่อโทรทัศนที่ตองอยู ภายใตการกํากับดูแลของ กสทช. ดังนัน้ ใน อนาคตอั น ใกล ภ าครั ฐ ย อ มต อ งกํ า หนด หนวยงานกํากับดูแลและออกกฎระเบียบ เพื่อควบคุมกํากับดูแลสื่อสังคมออนไลน (Social Media) ใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะ สงผลใหการดําเนินธุรกิจผานชองทางนี้ อาจถูกกํากับมากยิ่งขึ้น อาทิเชน การขอ ใบอนุญาตประกอบกิจการ การเรียกเก็บ คาธรรมเนียมประกอบกิจการ การควบคุม เนื้ อ หารายการ เป น ต น แต อ ย า งไรก็ ดี บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจดวยความระมัดระวัง และอยูภ ายใตกฎเกณฑกรอบของกฎหมาย จึงมั่นใจวา บริษัทฯ จะสามารถปรับตัวให ทันกับทุกสถานการณ

ความเสี่ยงจากความก าวหน าของเทคโนโลยี

ความเสี่ยงจากการถูก ละเมิดลิขสิทธิ์

ปจจุบันเปนที่ยอมรับกันวาเทคโนโลยีมีอิทธิพลตอการใชชิวิตของผูคนทั่วโลก ความเจริญ กาวหนาของเทคโนโลยีทาํ ใหทกุ คนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารไดอยางรวดเร็ว มีผลทําให พฤติกรรมของผูคนในโลกเปลี่ยนแปลงไปไมวาจะเปนการติดตอสื่อสาร การรับรูขอมูล ขาวสาร การหาความบันเทิงตางๆ จากเดิมผูคนเปนเพียงผูรอรับขอมูลขาวสารจาก สือ่ โทรทัศน สือ่ หนังสือพิมพ แตปจ จุบนั เทคโนโลยีทาํ ใหพฤติกรรมของผูค นเปลีย่ นแปลง ไปทําใหการเปนผูรอรับขอมูลสิ้นสุดลง โดยสามารถเปนผูแสวงหาขอมูลไดดวยตนเอง ประกอบกับขอมูลขาวสารแพรกระจายไดอยางรวดเร็วดวยการสงผานระบบอินเทอรเน็ต ไปยังอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสซงึ่ อยูใ นมือของทุกคน อยางสมารทโฟน แท็บเล็ต หรืออุปกรณ

ต ล อ ด ร ะ ย ะ เว ล า ห ล า ย ป  ที่ ผ  า น ม า อุตสาหกรรมเพลงไดรบั ผลกระทบหลักจาก การถู ก ละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ในหลากหลาย รูปแบบ ไมวา จะเปนการจําหนายแผนเพลง (CD, VCD, DVD, MP3) แบบละเมิดลิขสิทธิ์ การดาวนโหลดเพลงจากเว็บไซตที่ไมไดรับ อนุญาต การนําคอนเทนตเพลงไปหารายได ของผูประกอบการรานคา รานอาหาร และ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

รานคาราโอเกะ การจัดกิจกรรมและงานแสดงคอนเสิรตตางๆ รวมถึงการนําคอนเทนต ไปใชเพื่อประโยชนทางพาณิชยหรือเพื่อความบันเทิงสวนตัวผานชองทางออนไลน ซึ่งการ ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ดังกลาว สงผลใหรายไดของสวนงานเพลงไมสะทอนปริมาณการบริโภค ที่แทจริง อยางไรก็ดี บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญของปญหาที่เกิดขึ้น และไดดําเนินการหาทาง แกไข โดยการทบทวนแผนธุรกิจใหมๆ อยูเสมอ เพื่อใหมีความยืดหยุน เหมาะสมและ ทันเหตุการณ เชน การปรับโครงสรางภายในของสายงานเพือ่ รองรับแผนงานทีเ่ ปลีย่ นแปลง และตอบสนองความตองการของลูกคาแตละรายไดอยางตรงจุด การใชกลยุทธการขายให เขากับพฤติกรรมของผูบริโภคตามยุคสมัย การพัฒนาระบบงานภายในใหรองรับกับระบบ Platform ตางๆ ที่มีอยูในตลาดปจจุบันและที่จะเกิดขึ้นใหมได รวมถึงมีหนวยงานที่ รับผิดชอบดูแลเรื่องการปองกันและปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์โดยเฉพาะ ซึ่งไดรับ ความร ว มมื อ และสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ ในการบั ง คั บ ใช ก ฎหมายเข า ดํ า เนิ น การกั บ ผูประกอบการที่กระทําความผิดฐานละเมิดลิขสิทธิ์ในผลงานของบริษัทฯ รวมถึงรณรงค ประชาสัมพันธกระตุนลูกคาและผูประกอบธุรกิจที่นํางานลิขสิทธิ์ไปใช ตองเคารพตอสิทธิ์ และทําการชําระคาลิขสิทธิ์เปนการตอบแทน จากมาตรการดังกลาวขางตน บริษัทฯ คาดวาจะชวยลดผลกระทบอยางมีนัยสําคัญจากความเสี่ยงของการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ได

ความเสี่ยงจากโครงการขนาดใหญ ที่ ได มาเป นครั้งคราว บริษัทฯ มีแผนการขยายธุรกิจอยางตอเนื่อง ซึ่งบางโครงการที่บริษัทฯ ไดมา จําเปนตอง ใชเงินลงทุนคอนขางสูง จึงอาจมีความเสี่ยงหากไมสามารถบริหารรายไดใหเปนไปตาม เปาหมายที่วางไว ซึ่งอาจมาจากหลายสาเหตุ ไดแก การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของ เทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค กระแสความนิยมตางๆ ภาวะการ แขงขันในอุตสาหกรรมที่รุนแรงมากขึ้น ตลอดจนอาจมีการบอกเลิกสัญญา หรือ การเกิด เหตุการณใดๆ ที่ทําใหไมสามารถดําเนินการตอได เปนตน อยางไรก็ดี บริษัทฯ ไดกําหนด กระบวนการในการพิจารณากลั่นกรอง ประเมินประโยชนและความคุมคากอนการ ตัดสินใจลงทุน โดยจัดใหมีการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ เมื่อมีการทําสัญญาหรือ ขอผูกพันใดๆ จะมีผูเชี่ยวชาญจากหลายฝายที่เกี่ยวของเขารวมกันพิจารณาเพื่อความ รอบคอบรัดกุม ตลอดจนกําหนดใหมีการวางแผนและการเตรียมงานลวงหนา นอกจากนี้ หากเปนโครงการขนาดใหญมากจะตองไดรบั การอนุมตั เิ ห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั ดวย เพื่อลดความเสี่ยงอยางมีนัยสําคัญที่อาจเกิดขึ้นจากการลงทุนดังกลาว

ความเสี่ยงจากพึ่งพิงผู ผลิตผลิตภัณฑ สุขภาพและความงาม บริษัทฯ มีพันธมิตรที่มีชื่อเสียงระดับตนๆ ของประเทศเพื่อผลิตผลิตภัณฑสุขภาพและ ความงาม โดยบริษทั ฯ จะเปนผูก าํ หนดวัตถุดบิ หลัก (Active ingredient) รวมถึงคุณสมบัติ ของผลิตภัณฑโดยรวม และจะรวมกับสถาบันวิจัยชั้นนําทั่วโลก รวมถึงโรงงานผูผลิตใน การพัฒนาสูตรการผลิตและขั้นตอนการผลิต แตโรงงานผูผลิตจะเปนผูจัดหาวัตถุดิบและ ดําเนินการผลิตเองทั้งกระบวนการ ซึ่งหากผูผลิตรายใดรายหนึ่งเกิดปญหาไมสามารถ ผลิตผลิตภัณฑดังกลาวใหแกบริษัทฯ ได จะสงผลใหบริษัทฯ ไมสามารถทําการจัดหา ผลิตภัณฑไดตรงตามเวลาหรือตามความตองการของลูกคา ซึง่ อาจสงผลตอผลประกอบการ รวมของบริษัทฯ ได

PAGE

อยางไรก็ดี บริษทั ฯ มีนโยบายในการจัดการ ตอความเสี่ยงดังกลาว โดยการกระจาย คําสั่งผลิตสูผูผลิตชั้นนําในประเทศออกไป จํานวนหลายราย เพื่อไมใหเกิดการพึ่งพิง ผูผลิตเพียงรายเดียว รวมถึงความพยายาม ในการสรางความสัมพันธอันดีกับผูผลิต รายใหมๆ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถวน ทําใหบริษทั ฯ สามารถต อ รองกั บ ผู  ผ ลิ ต และสามารถ ควบคุมตนทุนสินคาไดมากขึ้น

ความเสี่ยงจากอายุของ ผลิตภัณฑ สุขภาพและความงาม เนื่ อ งจากความจํ า เป น ในการสั่ ง ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ สุ ข ภาพและความงามต อ งมี จํานวนมากพอเพื่อการบริหารตนทุนใหอยู ในระดับที่เหมาะสม และตองมีการบริหาร สินคาสําหรับการจัดเก็บสินคาคงคลังใน จํานวนทีเ่ พียงพอเพือ่ การกระจายสินคาให แกรานคาปลีกทั่วประเทศ บริษัทฯ จึงมี ความเสี่ยงจากอายุของผลิตภัณฑสุขภาพ และความงามซึ่งโดยอายุเฉลี่ยสวนใหญ ประมาณ 3 ป หากในกรณีที่กระแสนิยม ของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับ บริษทั ฯ อยูใ นชวงเริม่ ตนของธุรกิจและตอง มี ก ารนํ า เสนอผลิ ต ภั ณ ฑ สิ น ค า ใหม ๆ ออกมาอยางตอเนื่อง กอนการผลิตสินคา บริษัทฯ ตองทําการ สํารวจตลาดและพฤติกรรมของผูบริโภค เพื่อใหสามารถวิเคราะหและคาดการณ ยอดขายของผลิ ต ภั ณ ฑ แ ต ล ะประเภท ใหแมนยําที่สุด และเพื่อใหสอดคลองกับ ความต อ งการของตลาดในขณะนั้ น ๆ โดยตองติดตามและตรวจสอบอายุคงเหลือ ของสินคาอยางสมํ่าเสมอ รวมทั้งมีการ บริหารจัดการสินคาคงเหลือใหเหมาะสม กับชวงอายุของแตละผลิตภัณฑ ซึ่งโดย เฉลี่ยหากสินคามีอายุคงเหลือประมาณ 18 เดือนและมีอัตราการสั่งซื้อชาลง สินคานั้น จะถูกนํามาพิจารณาโดยฝายบริหาร และ จัดใหมโี ปรโมชัน่ หรือทําการตลาดใดๆ เพือ่ เรงการขายสินคาเหลานัน้ ออกไปใหเร็วทีส่ ดุ

33


PAGE

34


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

35

ทรัพย สินที่ใช ในการประกอบธุรกิจ ทรัพยสินหลักที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย (กลุมอารเอส) แสดงรายละเอียด ดังตอไปนี้

ที่ดิน บริษัทฯ และบริษัทยอยไดทําการเชาที่ดินเพื่อใชในการประกอบธุรกิจจากบุคคลอื่นนอกกลุมดังรายละเอียดตอไปนี้ ผู เช า

อายุสัญญา

ค าเช า/เดือน (ล านบาท)

บมจ. อารเอส

3 ป (ส.ค. 2557 - ก.ค. 2560)

0.41

ที่ตั้ง

เลขที่ 431/2-5 ซอยลาดพราว 15 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ

อุปกรณ อุปกรณหลักที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย มีดังนี้ บริษัท

อุปกรณ และเครื่องจักร

ลักษณะ กรรมสิทธิ์

มูลค าตามบัญชี ป 2559 (ล านบาท)

ภาระผูกพัน

1. บมจ. อารเอส

อุปกรณหองควบคุมการออกอากาศ และอุปกรณถายทํารายการโทรทัศน

เจาของ

246.27

ไมมี

2. บจ. คลูลิซึ่ม

อุปกรณหองบันทึกเสียง

เจาของ

1.96

ไมมี

คลังสินค า คลังสินคาของบริษัทยอย มีดังนี้ ผู เช า

อายุสัญญา

ค าเช า/ค าบริการ ต อเดือน (ล านบาท)

เลขที่ 9/102 หมูที่ 5 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

บจ. ไลฟสตาร

1 ป (สิ้นสุดสัญญา เดือนเมษายน 2560)

0.20

อาคาร B อาคาร 2BB เลขที่ 9/46 หมูที่ 5 ถนนพหลโยธิน ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

บจ. ไลฟสตาร

1 ป (ปจจุบันไดตออายุสัญญาเชา เปนชวงเวลา 1 มกราคม 31 ธันวาคม 2560)

0.10

ที่ตั้ง


PAGE

36

สัมปทานและสัญญาเช าวิทยุ บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาเชาสถานีวิทยุจากหนวยงานราชการและบริษัทภายนอก ตามรายละเอียดดังนี้ สถานี

F.M. 93.0 MHz

เจ าของสถานี

ช วงเวลาตามสัญญา

สถานีวิทยุเสียงจากทหารเรือวังนันทอุทยาน

1 มกราคม 2559 - 31 ธันวาคม 2560

สัญญาบริการการส งสัญญาณภาพ บริษัทฯ และบริษัทยอยแหงหนึ่ง ไดทําสัญญาบริการการสงสัญญาณภาพ และบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มีดังนี้ ผู ให บริการ

1. องคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย 2. บริษทั ไทยคม จํากัด (มหาชน)

ช วงเวลาตามสัญญา

สิ้นสุดวันที่ 16 มิถุนายน 2571 1 สิงหาคม 2556 - 1 กรกฎาคม 2566

ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน เพื่อให บริการโทรทัศน ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ เปนผูไดรับอนุญาตประกอบกิจการโทรทัศน เพื่อใหบริการโทรทัศน ภาคพืน้ ดินในระบบดิจติ อล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ หมวดหมูท วั่ ไปแบบความคมชัดปกติ จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ใบอนุญาตเลขที่ B1-S20031-0012-57 มีอายุสบิ หาปนบั ตัง้ แตวนั ที่ 25 เมษายน 2557 สิ้นผลวันที่ 24 เมษายน 2572 ในการประกอบกิจการโทรทัศนทางคณะกรรมการ กสทช. ไดออกประกาศเพื่อกําหนด หลักเกณฑ เงื่อนไข หนาที่ตางๆ ของผูไดรับใบอนุญาตใหปฏิบัติตามไวอยางเครงครัด รวมถึงกําหนดมาตรการกํากับดูแลผูรับใบอนุญาต มิใหดาํ เนินการใดๆ อันเปนฝาฝนตอกฎหมาย คําสัง่ หรือประกาศตางๆ โดยมีบทกําหนดโทษทางกฎหมายไวตงั้ แตโทษทางปกครอง ไดแก การสั่งระงับการทําใดๆ อันเปนความผิด การปรับ การพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาต จนถึงโทษทางอาญา ไดแก การปรับ หรือโทษจําคุก เงือ่ นไขทีผ่ รู บั ใบอนุญาตตองปฏิบตั เิ พือ่ ใหดาํ รงไวซงึ่ ใบอนุญาต (ทีม่ า : เงือ่ นไขแนบทายใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละประกอบกิจการ โทรทัศน เพือ่ ใหบริการโทรทัศนภาคพืน้ ดินในระบบดิจติ อล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ) อาทิเชน คุณสมบัตขิ องผูร บั ใบอนุญาต ตองเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด การใหบริการโทรทัศนผูรับใบอนุญาตตองประกอบกิจการดวยตนเอง จะมอบการบริหารจัดการหรือ ยินยอมใหบุคคลอื่นเปนผูมีอํานาจประกอบกิจการแทนมิได หรือจะโอนสิทธิในใบอนุญาตใหกับบุคคลอื่นอันทําใหมีผลกระทบ ตอการประกอบกิจการตามที่ไดรับใบอนุญาตไมได แตอาจแบงชวงเวลาใหผูอื่นเชาเวลาดําเนินรายการบางชวงไดตามหลักเกณฑ ที่คณะกรรมการกําหนด การบริหารจัดการสถานีตองมีกระบวนการในการกํากับดูแลตนเองใหมีประสิทธิภาพตามกรอบมาตรฐาน จริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบตอสังคม ตามทีค่ ณะกรรมการกําหนด การออกอากาศรายการตองปฏิบตั ติ ามประกาศ กสทช. วาดวยเรื่องผังรายการ เนื้อหารายการ สําหรับการใหบริการโทรทัศนอยางเครงครัด จะออกอากาศรายการที่มิไดกําหนดไวในผังรายการ มิไดโดยตองมีการจัดใหมีระบบการตรวจสอบเนื้อหารายการที่ไมขัดหรือแยงกับกฎหมาย การหารายไดดวยวิธีการโฆษณา การบริการ ธุรกิจ ไดไมเกินชัว่ โมงละสิบสองนาทีครึง่ โดยเมือ่ รวมเวลาโฆษณาและการบริการธุรกิจตลอดทัง้ วันเฉลีย่ แลวตองไมเกินชัว่ โมงละสิบนาที รวมถึงการชําระคาธรรมเนียมใหใชคลื่นความถี่ตองเปนไปตามที่คณะกรรมการกําหนด เปนตน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

การชําระค าธรรมเนียมให ใช คลื่นความถี่ตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการกําหนด ดังนี้ หนวย : ลานบาท งวดการ จ ายชําระ

ค าธรรมเนียมใบอนุญาต ในส วนของราคาขั้นตํ่า จํานวนเงิน

ค าธรรมเนียมใบอนุญาต ในส วนที่เกินขั้นตํ่า จํานวนเงิน

รวม

วันที่ครบกําหนดชําระ

1

190.0

188.5

378.5

11 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557

2

114.0

188.5

302.5

23 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

3

38.0

377.0

415.0

23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

4

38.0

377.0

415.0

23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

5

-

377.0

377.0

23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

6

-

377.0

377.0

23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

รวม

380.0

1,885.0

2,265.0

ทัง้ นีก้ รณีทผี่ รู บั ใบอนุญาตชําระคาธรรมเนียมตามตารางขางบนไมครบถวนภายในระยะเวลาทีก่ าํ หนด จะตองชําระคาธรรมเนียมเพิม่ เปน จํานวนเงินเทากับผลคูณของจํานวนเงินคาธรรมเนียมที่ตองชําระกับอัตราดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งคูณกับสัดสวนของจํานวนวันที่ คางชําระตอจํานวนวันในหนึ่งป (360 วัน) หรืออาจถูกพิจารณาพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาต ตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับ เงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกําหนด ตอมาเมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2559 ราชกิจจานุเบกษาไดประกาศคําสัง่ หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติที่ 76/2559 เรือ่ งมาตรการ สงเสริมการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชนสาธารณะ เพื่อเปนมาตรการ ชวยแกปญหาจากผลกระทบของสภาวะเศรษฐกิจที่สงผลตอรายไดของผูประกอบการที่สุจริตทําใหไมอาจชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาต ไดทันภายในระยะเวลาที่กําหนด อันเปนการสรางความเชื่อมั่นใหแกผูประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งเปนการสงเสริม อุตสาหกรรมกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม ใหเกิดประสิทธิภาพและสรางความมั่นคงใหแกระบบ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ คําสั่งดังกลาวมีผลใหผูไดรับใบอนุญาตมีสิทธิเลือกวิธีการชําระคาธรรมเนียมตามบัญชีทายคําสั่ง หัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ไดโดยทําหนังสือแจงความประสงคไปยังสํานักงาน กสทช. ซึ่งวิธีการชําระคาธรรมเนียม ตามคําสั่ง คสช. จะทําใหผูไดรับใบอนุญาตไดรับประโยชนจากการขยายระยะเวลา กลาวคือ การชําระคาธรรมเนียมตามเงื่อนไขเดิม ตองชําระราคาขั้นตํ่าในงวดที่สี่เปนงวดสุดทาย แตคําสั่ง คสช. ขยายใหงวดที่สี่แบงชําระไดเปนสองงวด และคาธรรมเนียมในสวน ที่เกินกวาราคาขั้นตํ่าในสวนที่เหลืองวดที่สี่ถึงงวดที่หก คําสั่ง คสช. ขยายใหแบงชําระไดเปนอีกหกงวด โดยตองเสียดอกเบี้ยอัตรา นโยบายตามที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทยประกาศกําหนดในวันที่ชําระ

37


PAGE

38


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ข อพิพาททางกฎหมาย บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯหรือบริษัทยอย อยางมีนัยสําคัญ และไมมีขอพิพาทที่มีผลกระทบดานลบอันอาจจะมีผลกระทบตอสินทรัพยของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยที่มีจํานวนสูงกวารอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตลอดจนไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มิไดเกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติ ของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย

39


PAGE

40


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

ข อมูลทั่วไปและข อมูลสําคัญอื่น ข อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท

:

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”)

ประเภทธุรกิจ

:

4 ธุรกิจหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อ ทั้งสื่อโทรทัศนและสื่อวิทยุ ธุรกิจสุขภาพและความงาม ธุรกิจเพลง และธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม

ที่ตั้งสํานักงานใหญ

:

อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 419/1 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

ทะเบียนเลขที่

:

0107546000016

เว็บไซต

:

http://www.rs.co.th

โทรศัพท

:

+66 2511 0555

โทรสาร

:

+66 2511 2324

ทุนจดทะเบียน

:

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท

ทุนชําระแลว

:

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท

นายทะเบียนหลักทรัพย

:

บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท +66 2009 9000 โทรสาร +66 2009 9991 เว็บไซต http://www.set.or.th/tsd

ผูสอบบัญชี

:

บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 15 179/74-80 ถนนสาทรใต กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท +66 2344 1000 โทรสาร +66 2286 5050 เว็บไซต http://www.pwc.com/th

ที่ปรึกษากฎหมาย

:

สํานักกฎหมาย บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 419/1 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2938 5622

PAGE

41


PAGE

42

ข อมูลทั่วไปของบริษัทย อยที่บริษัทถือหุ นเกินร อยละ 10 ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้ง

1. บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น 431/4 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล จํากัด เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจสื่อ โทรทัศน

ชนิดหุ น ทุนจดทะเบียน

ทุนชําระแล ว

ถือหุ น ร อยละ

หุนสามัญ 300,000,000 300,000,000 99.99 บาท บาท

2. บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด)

ธุรกิจ 419/2 ซอยลาดพราว 15 หุนสามัญ 200,000,000 200,000,000 99.99 บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล สื่อโฆษณา บาท เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 และจําหนาย ผลิตภัณฑ โทรศัพท +66 2902 1933, เสริมความงาม +66 2511 0555 โทรสาร +66 2938 5621

3. บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด

ธุรกิจสื่อวิทยุ หุนสามัญ 25,000,000 25,000,000 419/2 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล บาท บาท เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2938 5694

99.99

4. บริษัท ยาค จํากัด

ธุรกิจผลิต 431/3 ซอยลาดพราว 15 รายการ ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรทัศน โทรศัพท +66 2 938 5630 - 2 โทรสาร +66 2511 2324

หุนสามัญ 2,500,000 บาท

2,500,000 บาท

99.97

ธุรกิจจัดเก็บ หุนสามัญ 5,000,000 5. บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย 203/34-36 คาลิขสิทธิ์ จํากัด บาท ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2938 8000 โทรสาร +66 2938 5583

5,000,000 บาท

99.99

ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 80,000,000 80,000,000 203/34-36 และผลิต บาท ซอยลาดพราว 15 บาท กิจกรรม ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

99.99

6. บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด)


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

43

ชนิดหุ น ทุนจดทะเบียน

ทุนชําระแล ว

ถือหุ น ร อยละ

7. บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด

ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 5,000,000 419/3 ซอยลาดพราว 15 และผลิต บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

5,000,000 บาท

99.98

8. บริษัท เวรี่เวลล จํากัด

ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 4,000,000 431/3 ซอยลาดพราว 15 และผลิต บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

4,000,000 บาท

99.98

9. บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด

ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 5,000,000 431/2 ซอยลาดพราว 15 และผลิต บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

5,000,000 บาท

99.99

10. บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด

419/1 ซอยลาดพราว 15 ธุรกิจรับจาง หุนสามัญ 37,000,000 37,000,000 บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล บาท และผลิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

99.99

11. บริษัท อารเอส อินเตอร เนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด

419/3 ซอยลาดพราว 15 ธุรกิจใหบริการ หุนสามัญ 37,500,000 37,500,000 บาท บาท ถนนลาดพราว แขวงจอมพล และรับจาง เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 จัดกิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 ดานการกีฬา โทรสาร +66 2511 2324

83.33

12. บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด

419/2 อาคารเชษฐโชติศกั ดิ์ 2 ชั้นที่ 3 ซอยลาดพราว 15 แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

หุนสามัญ 1,000,000 บาท

1,000,000 บาท

99.99

ผลิตรายการ หุนสามัญ 4,500,000 13. บริษัท อาร.เอส. สปอรต 419/2 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล โทรทัศนและ มาสเตอร จํากัด เขตจตุจักร กรุงเทพฯ รับจางผลิตงาน 10900 กิจกรรม โทรศัพท +66 2511 0555 โทรสาร +66 2511 2324

4,500,000

75.98

ชื่อบริษัท

สถานที่ตั้ง

ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจผลิต รายการ โทรทัศน


PAGE

44


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

45

ข อมูลหลักทรัพย และผู ถือหุ น จํานวนทุนจดทะเบียนและทุนชําระแล ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนจํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท มีทุนชําระแลวจํานวน 1,009,937,646 บาท แบงออกเปนหุนสามัญจํานวน 1,009,937,646 หุน มูลคา ที่ตราไวหุนละ 1 บาท

ผู ถือหุ น กลุมผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก ณ วันปดสมุดทะเบียนพักการโอนหุน เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2559 มีดังนี้ ลําดับที่

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 หมายเหตุ * 1. 2. 3. 4. ** 1. 2.

ชื่อ-สกุล

กลุม เชษฐโชติศักดิ์ * กลุม วณิชวรากิจ ** ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) นายชาญยุทธิ์ เหลารัดเดชา SIX SIS LTD นางสาวชมกมล พุมพันธุมวง นายศิริศักดิ์ สนโสภณ นางทรงศรี พสวงศ

จํานวนหุ นที่ถือ

349,033,500 125,000,000 70,000,000 45,684,836 43,273,300 18,937,600 18,468,240 11,400,000 9,221,100 8,000,000

คิดเป นร อยละ

34.56 12.38 6.93 4.52 4.28 1.88 1.83 1.13 0.91 0.79

กลุมเชษฐโชติศักดิ์ ไดแก นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 334,153,700 หุน คิดเปนรอยละ 33.09 นายสุวัฒน เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 374,800 หุน คิดเปนรอยละ 0.04 นายเชษฐ เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 13,705,000 หุน คิดเปนรอยละ 1.36 นายโชติ เชษฐโชติศักดิ์ ถือหุนจํานวน 800,000 หุน คิดเปนรอยละ 0.08 กลุมวณิชวรากิจ ไดแก นายโสรัตน วณิชวรากิจ ถือหุนจํานวน 115,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 11.39 นายโยธิน วณิชวรากิจ ถือหุนจํานวน 10,000,000 หุน คิดเปนรอยละ 0.99

รายชื่อกลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณ มีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการหรือการดําเนินงานของบริษัทอยางมีนัยสําคัญ (กลุมผูถือหุน หรือผูถือหุนที่ถือหุนเกินกวารอยละ 10 และดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทฯ หรือสงตัวแทนเขามาเปนกรรมการบริษัท)

การออกหลักทรัพย อื่น -ไมมี-

นโยบายการจ ายเงินป นผล บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ยมี น โยบายจ า ยเงิ น ป น ผลในอั ต ราไม น  อ ยกว า ร อ ยละ 50 ของกํ า ไรสุ ท ธิ ห ลั ง จากหั ก ภาษี แ ละสํ า รอง ตามกฎหมายแลว ทั้งนี้ คณะกรรมการของบริษัทฯ มีอํานาจในการพิจารณายกเวนไมดําเนินการตามนโยบายดังกลาว หรือเปลี่ยนแปลง นโยบายดังกลาวไดเปนครั้งคราว โดยอยูภายใตเงื่อนไขที่การดําเนินการดังกลาวจะตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุน


PAGE

46


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

โครงสร างการจัดการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน (Nomination and Remuneration Committee)

คณะกรรมการบริษัท (Board of Directors)

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee)

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) คณะกรรมการบริหาร (Executive Board)

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล (Corporate Governance Committee) คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (Human Development Committee)

ประธานเจ าหน าที่บริหาร (CEO)

ฝ ายตรวจสอบกลาง (Internal Audit)

บริหารลูกค าองค กร (Corporate Client Management) ธุรกิจสื่อโทรทัศน (Television) สํานักกฎหมาย (Legal Office) การเงินและบัญชี (Finance & Accounting) ทรัพยากรบุคคลและธุรการ (Human Resource and Administration) สื่อสารองค กร (Corporate Communication) เทคโนโลยีสารสนเทศและบรอดคาสท (Information Technology and Broadcast)

ธุรกิจสื่อวิทยุ (Radio) ธุรกิจเพลง (Music) ธุรกิจสุขภาพและความงาม (Health and Beauty) ธุรกิจรับจ างและผลิตกิจกรรม (Event)

47


PAGE

48

โครงสรางการจัดการของบริษทั ฯ ประกอบดวยคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการรวมทัง้ หมด 7 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัท ของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 9 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการบริหาร

2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และเลขานุการบริษัท

3. นายดามพ นานา

กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการบรรษัทภิบาล

4. นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ

กรรมการบริษัท

5. นายศุภชัย นิลวรรณ

กรรมการบริษัท

6. นายโสรัตน วณิชวรากิจ

กรรมการบริษัท

7. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

8. พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

9. นางวรรณสุดา ธนสรานาต

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

นิยามกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการจากภายนอกทีไ่ มไดมตี าํ แหนงเปนผูบ ริหารหรือพนักงานประจําของบริษทั ฯ ไมไดเปนกรรมการบริหาร หรือ กรรมการผูม อี าํ นาจลงนามผูกพันบริษทั ฯ และเปนอิสระจากผูถ อื หุน รายใหญ ผูบ ริหาร และผูท เี่ กีย่ วของ สามารถทําหนาทีค่ มุ ครอง ผลประโยชนของผูถ อื หุน ทุกรายอยางเทาเทียมกัน และสามารถชวยดูแลไมใหเกิดรายการทีม่ คี วามขัดแยงทางผลประโยชนระหวางบริษทั ฯ กับบุคคลที่เกี่ยวของกัน โดยมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (1) ถือหุนไมเกินรอยละ 0.5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง ทั้งนี้ใหนับรวมหุนที่ถือโดยผูที่เกี่ยวของ* ดวย (2) ไมเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน**/พนักงาน/ลูกจาง/ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา/ผูมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน*** หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทั้งในปจจุบัน และในชวงเวลา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

(3) ไมมีความสัมพันธทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เปนบิดามารดา คูสมรส พี่นองและบุตร รวมทั้งคูสมรส ของบุตร กับผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอชื่อเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย (4) ความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ แบงได ดังนี้ (ก) ลักษณะความสัมพันธ ❒

ความสัมพันธในลักษณะของการใหบริการทางวิชาชีพ ●

ลักษณะความสัมพันธ : ผูสอบบัญชี ผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น เชน ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษาทางการเงิน ผูประเมิน ราคาทรัพยสิน เปนตน ระดับนัยสําคัญที่เขาขายไมอิสระ - กรณีผูสอบบัญชี : หามทุกกรณี - กรณีเปนผูใหบริการทางวิชาชีพอื่น : มูลคารายการเกิน 2 ลานบาทตอป

ความสัมพันธทางการคา/ทางธุรกิจ (ใชแนวทางในทํานองเดียวกับขอกําหนดวาดวยการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ของตลาดหลักทรัพยฯ) ●

ลักษณะความสัมพันธ : กําหนดครอบคลุมรายการทางธุรกิจทุกประเภท ไดแก รายการทีเ่ ปนธุรกรรมปกติ รายการเชา/ ใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพย/บริการ และรายการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ระดับนัยสําคัญที่เขาขายไมอิสระ : มูลคารายการ ≥ 20 ลานบาท หรือ ≥ รอยละ 3 ของ NTA ของบริษัท แลวแต จํานวนใดจะตํ่ากวา ทั้งนี้ ในการพิจารณามูลคารายการใหรวมรายการที่เกิดขึ้นในระหวาง 6 เดือน กอนวันที่มี การทํารายการในครั้งนี้ดวย

(ข) กรณีที่มีลักษณะความสัมพันธตาม (ก) กับนิติบุคคล บุคคลที่ถือวาเขาขายไมอิสระ ไดแก ผูถือหุนรายใหญ กรรมการ (ยกเวนกรณีเปนกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ) และผูบริหารหรือ Partner ของนิติบุคคลนั้น (ค) กําหนดชวงเวลาที่หามมีความสัมพันธตาม (ก) และ (ข) : ปจจุบันและ 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง (ง) ขอยกเวน : กรณีมีเหตุจําเปนและสมควร ซึ่งมิไดเกิดขึ้นอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ อาจมีความสัมพันธเกินระดับนัยสําคัญทีก่ าํ หนดในระหวางดํารงตําแหนงก็ได แตตอ งไดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั กอน และมติที่ไดตองเปนมติเปนเอกฉันท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทตองจัดใหมีการเปดเผยความสัมพันธดังกลาวของ กรรมการรายนั้นไวในแบบแสดงรายการขอมูลการเสนอขายหลักทรัพย (แบบ Filing) แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) และรายงานประจําป (แบบ 56-2) ของบริษัทฯ และหากตอมาบริษัทฯ จะเสนอกรรมการอิสระ/กรรมการ ตรวจสอบรายนัน้ เพือ่ ดํารงตําแหนงตออีกวาระหนึง่ คณะกรรมการบริษทั ตองจัดใหมกี ารเปดเผยขอมูลเกีย่ วกับความสัมพันธ ดังกลาวในหนังสือนัดประชุมผูถือหุนในวาระเลือกตั้งกรรมการดวย (5) ไมเปนกรรมการที่ไดรับแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูเกี่ยวของกับ ผูถือหุนรายใหญของบริษัทฯ (6) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระได (7) กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามขอ (1) - (6) อาจไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของ บริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีการตัดสินใจ ในรูปแบบองคคณะ (Collective Decision) ได

49


PAGE

50

ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการอิสระมีการดํารงตําแหนงเปนกรรมการอิสระในบริษัทใหญ บริษัทยอย และบริษัทยอยลําดับเดียวกัน คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการดํารงตําแหนงดังกลาว และคาตอบแทนรวม ที่กรรมการอิสระรายนั้น ไดรับในแบบ Filing แบบ 56-1 และแบบ 56-2 ดวย หมายเหตุ *

ผูที่เกี่ยวของ หมายถึง บุคคลตามมาตรา 258 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย

**

กรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน หมายถึง กรรมการที่ดํารงตําแหนงเปนผูบริหาร กรรมการที่ทําหนาที่รับผิดชอบเยี่ยงผูบริหาร และกรรมการที่มีอํานาจ ลงนามผูกพัน เวนแตแสดงไดวาเปนการลงนามผูกพันตามรายการที่คณะกรรมการมีมติอนุมัติไวแลว และเปนการลงนามรวมกับกรรมการรายอื่น

*** บริษัทยอยลําดับเดียวกัน หมายถึง บริษัทยอยตั้งแต 2 บริษัทขึ้นไปที่มีบริษัทใหญเปนบริษัทเดียวกัน

กรรมการผู มีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ กรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อผูกพันบริษัทฯ ประกอบดวย นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล นายดามพ นานา นายศุภชัย นิลวรรณ สองในหาคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริษัท ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2546 ไดมีมติกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทไว ดังนี้ คณะกรรมการบริษัทมีอํานาจหนาที่จัดการบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับ มติของที่ประชุมผูถือหุน และมีอํานาจมอบหมายแตงตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งใหเปนกรรมการบริหารหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นใด เพื่อดําเนินการอยางหนึ่ง อยางใดหรือหลายอยางภายใตการควบคุมของคณะกรรมการบริษัทได เวนแตอํานาจในการดําเนินการดังตอไปนี้ จะกระทําไดก็ตอเมื่อ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอน ทัง้ นีก้ าํ หนดใหรายการทีก่ รรมการหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแยง มีสว นไดเสีย หรือมีความขัดแยง ทางผลประโยชนอื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ใหกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใด ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น (ก) เรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดมติจากที่ประชุมผูถือหุน (ข) การทํารายการที่กรรมการมีสวนไดเสียและอยูในขายที่กฎหมาย หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยระบุใหตองไดรับอนุมัติ จากที่ประชุมผูถือหุน และในกรณี ดั ง ต อ ไปนี้ จ ะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และที่ ป ระชุ ม ผู  ถื อ หุ  น ด ว ยคะแนนเสี ย ง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุนที่เขาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ก) การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญ (ข) การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นหรือบริษัทเอกชนมาเปนของบริษัทฯ (ค) การทํา แกไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการใหเชากิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญ การมอบหมายใหบุคคลอื่น เขาจัดการธุรกิจของบริษัทฯ หรือการรวมกิจการกับบุคคลอื่นโดยมีวัตถุประสงคจะแบงกําไรขาดทุนกัน (ง) การแกไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณหสนธิหรือขอบังคับ (จ) การเพิ่มทุน การลดทุน การออกหุนกู การควบหรือเลิกบริษัท (ฉ) การใดที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย หรือประกาศตลาดหลักทรัพยกําหนดใหตองไดรับมติจากที่ประชุมผูถือหุน เชน การไดมา หรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยของบริษัทจดทะเบียนหรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

หนาที่ความรับผิดชอบ ตลอดจนอํานาจอนุมัติของคณะกรรมการ ของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) รวมถึงเรื่องดังตอไปนี้ 1. พิจารณาและอนุมัติวิสัยทัศน และพันธกิจของกลุมบริษัทฯ 2. ดูแลใหการดําเนินการตางๆ เปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ 3. อนุมตั แิ ละหรือใหความเห็นชอบนโยบาย แผนงาน และงบประมาณประจําป และกํากับดูแลใหฝา ยจัดการดําเนินการใหเปนไปตาม นโยบายและแผนงานที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. พิจารณาและอนุมัติรายการที่มีนัยสําคัญ ตามที่กําหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับ ประกาศ นโยบาย ระเบียบหรืออํานาจดําเนินการ ของบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีหนาที่พิจารณารายชื่อกรรมการใหมซึ่งไดรับการพิจารณากลั่นกรองแลวและนําเสนอโดยคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน กรรมการที่ไดรับการเสนอชื่อจะตองพรอมที่จะทุมเทเวลา ความรู ความสามารถที่มีใหแกบริษัทฯ และมีความเขาใจหนาที่ความรับผิดชอบของกรรมการ สําหรับกรรมการใหมทางบริษัทฯ มีกระบวนการใหขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจและ การดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อใหกรรมการใหมมีความรูความเขาใจในธุรกิจของบริษัทฯ ไดเปนอยางดี นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั มีการประเมินผลการทํางานของคณะกรรมการบริษทั ประจําปตามแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริษัท เพื่อเปนการตรวจสอบการทํางานและปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการบริษัทใหดียิ่งขึ้น

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของประธานกรรมการ เพื่อทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ อีกทั้งลงคะแนนเสียงชี้ขาดในกรณีที่ ที่ประชุมคณะกรรมการมีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียงเทากัน ตลอดจนทําหนาที่เรียกประชุมคณะกรรมการ และเปนประธานในที่ประชุมใหญผูถือหุนของบริษัท รวมถึง ปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายซึ่งกําหนดไวเฉพาะใหเปนหนาที่ของประธานกรรมการ

การเข าร วมประชุมคณะกรรมการบริษัทในป 2559 รายนามคณะกรรมการ

ตําแหน ง

จํานวนครั้งที่เข าร วมประชุม

1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

ประธานกรรมการ

6/6

2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

กรรมการ

6/6

3. นายดามพ นานา

กรรมการ

6/6

4. นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ

กรรมการ

6/6

5. นายศุภชัย นิลวรรณ

กรรมการ

6/6

6. นายโสรัตน วณิชวรากิจ

กรรมการ

6/6

7. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

กรรมการอิสระ

6/6

8. พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย

กรรมการอิสระ

6/6

9. นางวรรณสุดา ธนสรานาต

กรรมการอิสระ

5/6

51


PAGE

52

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

ประธานคณะกรรมการ

2. พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย

กรรมการ

3. นางวรรณสุดา ธนสรานาต

กรรมการ

หมายเหตุ : 1. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย คือ กรรมการตรวจสอบที่มีความรู และ ประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัทฯ โดยเปนผูสอบบัญชีรับ อนุญาต เลขทะเบียน 966 รับตรวจสอบบัญชี บริษัทตางๆ ซึ่งไมใชบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ (ก) เขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อมีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย การตัดสินใจทางธุรกิจ ตลอดจนการกํากับดูแลกิจการ (ข) พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง และถอดถอนผูสอบบัญชี และเสนอคาสอบบัญชีบริษัทฯ ประจําป รวมถึงประเด็น ดังนี้ ❒

พิจารณาความเปนอิสระของผูส อบบัญชี เชน พิจารณาจากการใหบริการอืน่ นอกเหนือจากการสอบบัญชี (non-audit service) ที่อาจทําใหขาดความเปนอิสระ เชน การวางระบบบัญชี เปนตน ใหมีการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขาประชุมดวยอยางนอย 1 ครั้ง ตอป เพื่อขอความเห็นจากผูสอบบัญชี ในเรื่องตางๆ

(ค) พิจารณานโยบายและแนวทางปฏิบัติของฝายตรวจสอบกลางใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิผลอยางตอเนื่อง (ง) พิจารณาทบทวนแผนงานการตรวจสอบประจําปของฝายตรวจสอบกลาง (จ) สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล โดยสอบทาน รวมกับผูสอบบัญชีภายในและภายนอก รวมถึงประเด็น ดังนี้ ❒

ใหความเห็นชอบในการแตงตั้ง โยกยาย เลิกจาง และพิจารณาความดีความชอบของหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน ทั้งนี้เพื่อใหหนวยงานดังกลาวมีความเปนอิสระอยางแทจริง พิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายในโดยพิจารณาจากการปฏิบัติหนาที่ และการรายงานตางๆ รวมถึง สายงานบังคับบัญชาของหนวยงานนี้

(ฉ) พิ จ ารณารายงานผลการตรวจสอบรายไตรมาส และข อ เสนอแนะของผู  ส อบบั ญ ชี ภ ายในและภายนอก รวมทั้ ง ติ ด ตาม ผลการดําเนินการตามขอเสนอแนะดังกลาว (ช) สอบทานรายการทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอยรายไตรมาส ใหมีความถูกตองเชื่อถือได และมีการเปดเผยขอมูล ที่เพียงพอ ตามกระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดี (ซ) ดูแลและสอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ (ฌ) พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใ ห เ ป น ไปตามกฎหมายและข อ กํ า หนด ของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาว สมเหตุสมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ (ญ) พิจารณารวมกับผูสอบบัญชีถึงปญหา หรือขอจํากัดที่เกิดขึ้นจากการตรวจสอบงบการเงิน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

(ฎ) จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดังกลาว ลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และตองประกอบดวยขอมูล ดังนี้ ❒

จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเขารวมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบแตละทาน

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบในประเด็น ดังนี้ o ความถูกตองครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ o ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ o การปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของ กับธุรกิจของบริษัทฯ o ความเหมาะสมของผูสอบบัญชี o รายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน o ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร

รายการอื่นที่เห็นวา ผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท

(ฏ) คณะกรรมการตรวจสอบมีอํานาจเชิญกรรมการบริหาร ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของมาใหขอมูล หรือเขารวมประชุมได (ฐ) การปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน โดยมีรายนาม ดังตอไปนี้ 1. นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

ประธานกรรมการ

2. พลเอกไพโรจน พานิชสมัย

กรรมการ

3. นางวรรณสุดา ธนสรานาต

กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน (ก) พิจารณาหลักเกณฑและกระบวนการในการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการ รวมทั้งคัดเลือก บุคคลตามกระบวนการสรรหาที่ไดกําหนดไว และเสนอความเห็นตอคณะกรรมการบริษัทซึ่งจะนําเสนอที่ประชุมผูถือหุน ใหเปนผูแตงตั้งกรรมการ แบงไดเปน ❒

กําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาใหเปนไปตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบของคณะกรรมการ ที่คณะกรรมการกําหนดไว โดยดําเนินการ ดังนี้ o พิจารณาความเหมาะสมของความรู ประสบการณ และความเชี่ยวชาญของกรรมการโดยรวมวา คณะกรรมการตองการ กรรมการที่มีคุณสมบัติลักษณะใดบาง

53


PAGE

54

o พิจารณาความเปนอิสระของกรรมการอิสระแตละคน เพื่อพิจารณาวา กรรมการอิสระคนใดมีคุณสมบัติครบถวนหรือ คนใดขาดคุณสมบัติในการเปนกรรมการอิสระ รวมทั้งพิจารณาวาจําเปนตองสรรหากรรมการอิสระใหมหรือไม หากมี กรรมการอิสระไมครบตามนโยบายของคณะกรรมการ o พิจารณาการอุทิศเวลาของกรรมการ ❒

สรรหาและเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมที่จะมาดํารงตําแหนงกรรมการใหคณะกรรมการพิจารณาเพื่อเสนอชื่อใหที่ประชุม ผูถือหุนเปนผูแตงตั้ง โดยดําเนินการ ดังนี้ o กําหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการใหเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของบริษัทฯ o ดําเนินการพิจารณารายชื่อบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อมาและคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติ ที่กําหนดไว o ตรวจสอบใหรอบคอบวาบุคคลที่จะถูกเสนอชื่อนั้นมีคุณสมบัติตามกฎหมายและขอกําหนดของหนวยงานทางการ o ดําเนินการทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว เพื่อจะไดมั่นใจวา บุคคลดังกลาว มีความยินดีจะมารับตําแหนงกรรมการของบริษัท หากไดรับการแตงตั้งจากผูถือหุน o เสนอชื่อใหคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและบรรจุชื่อในหนังสือนัดประชุมผูถือหุน เพื่อใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณา แตงตั้งตอไป

(ข) พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทนของกรรมการเพื่อเสนอความเห็นตอคณะกรรมการ ซึ่งจะนําเสนอที่ประชุม ผูถือหุนใหเปนผูอนุมัติ (ค) พิจารณาเกณฑประเมินผลประธานเจาหนาที่บริหาร (ง) พิจารณากําหนดคาตอบแทนประจําปของกรรมการ (จ) พิจารณาการเสนอขายหลักทรัพยใหม (หรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน) ใหแกกรรมการและพนักงาน โดยใหเงื่อนไขตางๆ จูงใจใหกรรมการและพนักงานปฏิบัติหนาที่เพื่อใหเกิดการสรางมูลคาเพิ่มใหผูถือหุนในระยะยาวและสามารถรักษาบุคลากร ที่มีคุณภาพไดอยางแทจริง แตในขณะเดียวกันตองไมสูงเกินไปและเปนธรรมตอผูถือหุนดวย ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2550 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมมี ติแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และอนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน ดังรายนามตอไปนี้ 1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

ประธานกรรมการ

2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

กรรมการ

3. นายดามพ นานา

กรรมการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546 และที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ไดมมี ติกาํ หนดขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการบริหาร โดยกําหนดใหคณะกรรมการบริหารมีอาํ นาจหนาที่ ดังตอไปนี้ (ก) มีอํานาจพิจารณาอนุมัติการกูหรือใหกูยืมเงิน หรือการขอสินเชื่อใดๆ จากสถาบันการเงิน รวมตลอดถึงการเขาเปนผูคํ้าประกัน หรือการชําระหรือใชจายเงินเพื่อธุรกรรมตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ ทั้งนี้ ภายในวงเงินสําหรับแตละรายการไมเกินกวา 100 ลานบาท หรือจํานวนเทียบเทา (ข) มีอํานาจแตงตั้ง ถอดถอนเจาหนาที่ของบริษัทฯ ในตําแหนงที่ไมสูงกวาตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหาร (เดิมใชชื่อตําแหนง เปนกรรมการผูจัดการ) (ค) มีอํานาจจัดทํา เสนอแนะและกําหนดนโยบายแนวทางธุรกิจ และกลยุทธทางธุรกิจของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการ (ง) จัดตั้งโครงสรางองคกรและการบริหาร และกรรมการบริหาร โดยใหครอบคลุมทุกรายละเอียดของการคัดเลือก การฝกอบรม การวาจาง และการเลิกจางของพนักงานของบริษัทฯ (จ) กําหนดแผนธุรกิจ อํานาจการบริหารงาน อนุมัติงบประมาณสําหรับประกอบธุรกิจประจําป และงบประมาณรายจายประจําป และดําเนินการตามแผนทางธุรกิจและกลยุทธทางธุรกิจโดยสอดคลองกับนโยบาย และแนวทางธุรกิจที่ไดแถลงตอคณะกรรมการ (ฉ) ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการ อนึง่ การอนุมตั กิ ารเขาทํารายการดังกลาวขางตน จะตองไมมลี กั ษณะเปนการอนุมตั กิ ารเขาทํารายการทีท่ าํ ใหคณะกรรมการบริหารหรือ ผูรับมอบอํานาจจากคณะกรรมการบริหาร สามารถอนุมัติการเขาทํารายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง หรือมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใด (ตามขอบังคับของบริษัทฯ และตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศกําหนด) ทํากับบริษัทฯ หรือบริษทั ยอย ยกเวนเปนการอนุมตั กิ ารเขาทํารายการทีเ่ ปนไปตามนโยบายและหลักเกณฑทคี่ ณะกรรมการบริษทั ไดพจิ ารณาอนุมตั ไิ ว ทั้งนี้ ใหคณะกรรมการมีอํานาจในการแกไขเปลี่ยนแปลงขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารไดตามที่จําเปนหรือเห็นสมควร

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 2 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

ประธานกรรมการ

2. นายดามพ นานา

กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และอนุมัติ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง โดยกําหนดใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) พิจารณานโยบาย แผนงานและการดําเนินงานบริหารความเสี่ยง รวมถึงใหคําแนะนําแกคณะกรรมการบริษัท และฝายจัดการ ในเรื่องการบริหารความเสี่ยง (ข) กํากับดูแลและสนับสนุนใหการบริหารความเสี่ยงเปนไปตามแผนงานและสําเร็จลุลวงในระดับองคกร ตลอดจนระดับโครงการ (ค) พิจารณาความเสี่ยงที่สําคัญของบริษัทในระดับองคกร และประเมินการดําเนินงานบริหารความเสี่ยง ใหสอดคลองกับกลยุทธ และแผนธุรกิจของบริษัทฯ (ง) รายงานการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท

55


PAGE

56

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 2 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

ประธานกรรมการ

2. นายดามพ นานา

กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2554 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และอนุมัติ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล โดยกําหนดใหคณะกรรมการบรรษัทภิบาล มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ (ก) เสนอแนวทางหรือนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตอคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท (ข) ทบทวนหรือปรับปรุงแนวทางหรือนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ (ค) ใหคําแนะนําดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี แกคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท (ง) ดูแลใหกรรมการและฝายจัดการปฏิบัติงานตามนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน โดยมีรายนาม ดังตอไปนี้ 1. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

ประธานกรรมการ

2. นางสาวประอรศรี อุดมผล

กรรมการ

3. นายชาคริต พิชญางกูร

กรรมการ

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ก) นําเสนอนโยบาย และแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคล (ข) พัฒนากลยุทธ และเทคนิควิธีเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ค) กํากับ และดูแลการดําเนินงานดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล (ง) พิจารณา และตัดสินใจในประเด็นที่เกี่ยวของดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล ตามแนวทางที่ไดรับอนุมัติโดยคณะกรรมการบริหาร


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

คณะผู บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 คณะผูบริหารของบริษัทฯ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 6 ทาน โดยมีรายนามดังตอไปนี้ 1. นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

ประธานเจาหนาที่บริหาร

2. นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ

3. นายดามพ นานา

ประธานเจาหนาที่ฝายการเงิน

4. นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ

ประธานเจาหนาที่ฝายกฎหมาย

5. นายศุภชัย นิลวรรณ

รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส

6. นางสาวนงลักษณ งามโรจน

รองกรรมการผูอํานวยการอาวุโส

หมายเหตุ 1. ผูบริหาร หมายถึง ผูบริหารตามนิยามของประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย (กลต.) ที่ สจ.14/2540 2. นางสาวชุติมา ทิชาชาติ ไดออกจากการเปนผูบริหารของบริษัท เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2559

ขอบเขตอํานาจหน าที่ของประธานเจ าหน าที่บริหาร ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2546 และครั้งที่ 2/2556 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2556 ไดมีมติ กําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหาร (เดิมใชชื่อตําแหนงเปนกรรมการผูจัดการ) โดยกําหนดใหประธานเจาหนาที่ บริหาร มีอํานาจอนุมัติในการดําเนินการใดๆ ที่จําเปนหรือเกี่ยวเนื่องกับการดําเนินงานตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ ภายในวงเงินสําหรับ แตละรายการไมเกินกวา 25 ลานบาท หรือจํานวนเทียบเทา ทั้งนี้ การอนุมัติการทํารายการดังกลาวขางตนประธานเจาหนาที่บริหารไมมี อํานาจในการดําเนินการใดๆ ในหรือเกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยที่สําคัญของบริษัทฯ และ/หรือ รายการหรือเรื่องที่ประธานเจาหนาที่บริหาร หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชนในลักษณะอื่นใดที่จะทําขึ้นกับบริษัทฯ และบริษัทยอย ในกรณีดังกลาว รายการหรือเรื่องดังกลาวจะตองนําเสนอตอ คณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรือ คณะกรรมการของบริษัทฯ (แลวแตกรณี) เพื่อพิจารณาอนุมัติ

การสรรหากรรมการและผู บริหาร ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2550 เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมมี ติแตงตัง้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และอนุมตั ขิ อบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดังนัน้ การคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะเขาดํารงตําแหนงเปน กรรมการของบริษทั ฯ ตองผานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน วิธกี ารสรรหากรรมการจะกระทําโดยคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑคุณสมบัติตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทเี่ กีย่ วของ นอกจากนีย้ งั พิจารณาถึงความหลากหลาย ของทักษะ ประสบการณ ความรู และความสามารถเฉพาะเพื่อประโยชนและการพัฒนากิจการของบริษัทฯ รวมทั้งการอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติหนาที่ จากนั้นจึงนํารายชื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาแตงตั้ง

57


PAGE

58

ในการแตงตั้งคณะกรรมการของบริษัทฯ ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังตอไปนี้ (ก) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอเสียงหนึ่ง (ข) ใหผูถือหุนออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคลไป (ค) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งใหประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ ทําหนาที่เปนเลขานุการบริษัท ซึ่งปจจุบัน คือ นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ชื่อสกุล

นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

ตําแหนง

กรรมการ กรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เลขานุการบริษัท และประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ

อายุ

46 ป

คุณวุฒิทางการศึกษา

ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สถาบันศศินทรแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปริญญาตรี สถิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Executive Development Program รุนที่ 4 (EDP 4) ป 2552 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

สัดสวนการถือหุน

ไมมี

ความสัมพันธทางครอบครัวระหวางผูบริหาร

ไมมี

ประสบการณทํางาน

2547 - ปจจุบัน กรรมการบริษัท และกรรมการบริหาร บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2551 - ปจจุบัน เลขานุการบริษัท บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 2550 - ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ค าตอบแทนผู บริหาร ค าตอบแทนที่เป นตัวเงิน ก) กรรมการบริษัท ป 2559

รายการ

จํานวน (ท าน)

จํานวนเงิน (บาท)

รายละเอียดค าตอบแทน

กรรมการบริษัท

9

1,110,000

คาตอบแทนประจําและเบี้ยประชุม

กรรมการตรวจสอบ

3

1,748,000

คาตอบแทนประจําและเบี้ยประชุม

โดยมีรายละเอียดคาตอบแทนประจํา และเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท เปนรายบุคคลดังนี้ ลําดับที่

ป 2559

รายนามกรรมการบริษัท

ค าตอบแทนประจํา (บาท)

ค าเบี้ยประชุม (บาท)

1

นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

-

150,000

2

นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล

-

120,000

3

นายดามพ นานา

-

120,000

4

นายดนัยศิษฏ เปสลาพันธ

-

120,000

5

นายศุภชัย นิลวรรณ

-

120,000

6

นายโสรัตน วณิชวรากิจ

-

120,000

7

นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย

-

120,000

8

พลเอก ไพโรจน พานิชสมัย

-

120,000

9

นางวรรณสุดา ธนสรานาต

-

120,000

รวมทั้งหมด

1,110,000

หมายเหตุ 1. คาตอบแทนกรรมการนี้เปนผลประโยชนที่จายใหแกกรรมการของบริษัทฯ ตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 (โดยไมรวมเงินเดือน และผลประโยชนที่เกี่ยวของที่จายใหกับกรรมการซึ่งดํารงตําแหนงเปนผูบริหารของบริษัทฯ ดวย) และการเปนกรรมการบริษัทยอยไมไดรับคาตอบแทน

ข) กรรมการบริหารและผูบริหารของบริษัทฯ รายการ

ป 2559 จํานวน (ท าน)

จํานวนเงิน (ล านบาท)

รายละเอียดค าตอบแทน

กรรมการบริหาร

3

-

-

ผูบริหาร

7

68.18

เงินเดือน/โบนัส/สวัสดิการอื่นๆ

ในป 2559 บริษัทไดจายเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผูบริหาร 6 ราย จํานวนเงินรวมประมาณ 2.29 ลานบาท

59


PAGE

60

ค าตอบแทนอื่น -ไมมี-

บุคลากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุมบริษัทฯ มีจํานวนพนักงานทั้งหมด 1,109 คน ประกอบดวยพนักงานใน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) 611 คน และบริษัทในเครือ 498 คน และไดจายผลตอบแทนเปนจํานวนเงินรวมประมาณ 760 ลานบาท โดยเปนผลตอบแทนในรูปของ เงินเดือน โบนัสและคาใชจายบุคลากรอื่นๆ ตลอดจน มีเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงาน จํานวนเงินรวมประมาณ 18 ลานบาท

นโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 1. บริษัทฯ คํานึงถึงความสําคัญของพนักงานในฐานะทุนมนุษย (Human Capital) ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะผลักดันใหองคกร บรรลุสูเปาหมายได จึงกําหนดใหมีแผนงานและมีการจัดสรรงบประมาณในแตละปไวอยางชัดเจน และมีการจัดระดับการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล ไว 3 ระดับ คือ การพัฒนาองคกร (Organization Development) การพัฒนาอาชีพ (Career Development) และการฝกอบรมและพัฒนา (Training Development) โดยในป 2559 ไดจัดการอบรมรวมทั้งสิ้น 11 หลักสูตร จํานวน 26 รุน แบงเปนจัดฝกอบรมภายในเปนจํานวน 194 ชั่วโมงและฝกอบรมภายนอกเปนจํานวน 277 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 471 ชั่วโมง แบงเปน 1.1 การพัฒนาองคกร (Organization Development) ไดสงเสริมการสรางวัฒนธรรมองคกรภายในของกลุมบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ตั้งแตชวงการปฐมนิเทศพนักงานใหม ผานกิจกรรม Welcome Day และการใชงานโปรแกรม Lotus Notes จัดทั้งหมด 10 รุน จํานวนผูเขาอบรม 124 คน 1.2 การพัฒนาอาชีพของพนักงาน (Career Development) ไดกําหนดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) และกําหนดหลักเกณฑการเลื่อนตําแหนง/ปรับระดับตําแหนง (Promotion Path) 1.3 การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน (Training Development) ไดกําหนดแนวทางการพัฒนาโดยใชกรอบของความสามารถ (Competency Base Training) ประกอบกับผลสํารวจความจําเปนในการฝกอบรม (Training Need) โดยมีวิธีการพัฒนา ทั้งในสวนของการสงไปฝกอบรมภายนอก (Public Training) และจัดฝกอบรมภายใน (In-house Training) ที่ครอบคลุม ทั้งดานการพัฒนาความรู (Knowledge Development) การพัฒนาทัศนคติ (Attitude Development) และการ พัฒนาทักษะ (Skill Development) ไดแก 1) หลักสูตร Winner Mindset จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 24 คน 2) Passion to Win Camp จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 39 คน 3) ระบบพื้นฐานงานออกอากาศสถานีโทรทัศน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 90 คน 4) Children’s Rights and Business Principles จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 19 คน และ 5) Team Building CCM 2016 เสริมสรางพลังการทํางานเปนทีม จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 107 คน เปนพนักงานตั้งแตระดับปฏิบัติการถึงระดับผูบริหาร บริษัทฯ ยังไดจัดอบรมตามที่กฎหมายกําหนด ไดแก 1) หลักสูตรความปลอดภัยสําหรับลูกจางทั่วไปและลูกจางเขางานใหม จํานวน 4 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 163 คน 2) การปฐมพยาบาลเบื้องตนและการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรม จํานวน 56 คน 3) เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 12 คน และ 4) เจาหนาที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหนางาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 51 คน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

2. บริษัทใหความสําคัญกับการสรางความผูกพัน (Engagement) ของพนักงานในองคกรมาอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมีกิจกรรม ตางๆ เชน กิจกรรมของขวัญที่เพียงพอและดีตอใจ โดยมอบขาวหอมมะลิปลอดสาร 100% จากกลุมชาวนาจังหวัดสุรินทร เพื่อเปนของขวัญวันปใหมใหแกผูบริหาร, พนักงาน และศิลปน นักรอง นักแสดง ผูประกาศ เปนตน 3. บริษัทมุงเนนในการสรางจิตสํานึกในการรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) กับพนักงานเพื่อ ใหเปนไปตามวิสัยทัศนขององคกรอยางตอเนื่อง โดยการสงเสริมและจัดใหมีกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรม RS Birthday Charity ซึ่งจัดขึ้นทุกเดือนตลอดป 2559 เพื่อใหพนักงาน ศิลปน นักรองนักแสดง ที่มีวันคลายวันเกิดในแตละเดือนไดรวมแบงปน ความสุขใหแกผูดอยโอกาสทางสังคม ผูปวยโรครายแรง เด็ก คนชรา และผูพิการ ในมูลนิธิ สถานสงเคราะหและองคกร เพื่อสาธารณะตางๆ ดังนี้ RS Birthday Charity ครั้งที่ 13 เดือนมกราคม 59 ที่สถานสงเคราะหเด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด (บานนนทภูมิ) RS Birthday Charity ครั้งที่ 14 เดือนกุมภาพันธ 59 โครงการปนรัก ผานของรัก สูสังคม รวมกับมูลนิธิยุวพัฒน RS Birthday Charity ครั้งที่ 15 เดือนมีนาคม 59 ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา RS Birthday Charity ครั้งที่ 16 เดือนเมษายน 59 ที่มูลนิธิบานสงเคราะหสัตวพิการ ปากเกร็ด RS Birthday Charity ครั้งที่ 17 เดือนพฤษภาคม 59 ที่มูลนิธิอนุเคราะหคนพิการ (โรงเรียนศรีสังวาลย) RS Birthday Charity ครั้งที่ 18 เดือนมิถุนายน 59 ที่สถาบันวิจัยจุฬาภรณ 4. จากการที่บริษัทฯ ไดประกาศนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานโดยจัดใหมีตัวแทนพนักงาน ทุกระดับรวมเปนคณะทํางานดานความปลอดภัยในระดับตางๆ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายดานความปลอดภัยใหเห็นผลเปน รูปธรรมและสอดคลองตามกฎหมายและมาตรฐานดานความปลอดภัยที่เกี่ยวของ ในป 2559 บริษัทฯ ไดขยายผลและติดตามการดําเนินงานดานความปลอดภัยฯ โดยนําแผนงานไปปฏิบัติกับพนักงานทุกระดับเพื่อ ปรับปรุงการดําเนินงานอยางตอเนื่อง เชน 1) ลงพื้นที่ตรวจสอบ รายงาน และติดตามการแกไขจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่การทํางาน 2) ปรับปรุงพื้นที่การทํางานในจุดที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุและทําการติดปายสัญลักษณดานความปลอดภัยตางๆ 3) ปรับปรุงระบบ ทางหนีไฟ ปรับปรุงปายบอกทางหนีไฟและไฟสองสวางฉุกเฉินใหอยูในมาตรฐานที่กําหนด 4) ตรวจสอบสภาพถังดับเพลิงในแตละตึก ตามระยะเวลาที่กําหนด และ 5) เก็บสถิติการเกิดอุบัติเหตุและการเจ็บปวยของพนักงานที่ใชบริการหองพยาบาลของบริษัทฯ เพื่อวิเคราะหหาสาเหตุ แนวทางแกไขและใหขอมูลขาวสาร ความรูดานสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางานเพื่อใหพนักงาน นําไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางานใหมีความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี เปนตน ทั้งนี้ ในป 2559 อัตราการเจ็บปวยของพนักงาน ที่ใชบริการหองพยาบาลของบริษัทฯ อยูที่ประมาณรอยละ 0.11 ตอเดือน

61


PAGE

62


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

การกํากับดูแลกิจการ บริ ษั ท ฯ ได กํ า หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ โดยให ค วามสํ า คั ญ ต อ ระบบการควบคุ ม และการตรวจสอบภายใน และมุงเนนการกํากับดูแลฝายบริหารใหดําเนินการตามนโยบายอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชนระยะยาวของผูถือหุน รวมทั้ง มุงเนนเรื่องความโปรงใสในการดําเนินกิจการ การเปดเผยขอมูล และการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม ตลอดจนความรับผิดชอบ ตอสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในป พ.ศ. 2559 บริษัทไดรับการจัดอันดับที่ Very Good CG Scoring จากผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจําป พ.ศ. 2559 สรุปการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีในป 2559 ดังนี้

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ อยางเปนลายลักษณอักษร และจัดใหมีการพิจารณา ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบาย ดังกลาวอยางนอยปละ 1 ครั้ง และบริษัทฯ ไดเผยแพรใหกรรมการและพนักงานเพื่อใชอางอิงและถือปฏิบัติ รวมทั้งเผยแพร บนเว็บไซตภายในของบริษัทฯ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง และอนุมัตินโยบาย การกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ครอบคลุมแนวทางปฏิบัติเปน 5 หมวด ไดแก •

สิทธิของผูถือหุน

การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน

บทบาทของผูมีสวนไดเสีย

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

สิทธิของผู ถือหุ น บริษัทฯ ไดใหความสําคัญและเคารพสิทธิของผูถือหุน โดยปฏิบัติตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด ใน ป 2559 บริษัทฯ จัดประชุม สามัญผูถือหุนวันที่ 27 เมษายน 2559 ซึ่งกรรมการทุกทาน ที่อยูในตําแหนงไดเขารวมประชุมผูถือหุน ยกเวน นายศุภชัย นิลวรรณ ไมไดเขารวมประชุม เนื่องจากติดภารกิจ (รายชื่อกรรมการบริษัทที่เขาประชุมผูถือหุน ดูรายละเอียดไดที่รายงานการประชุมผูถือหุน) บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมและอํานวยความสะดวกใหแกผูถือหุน รวมถึงนักลงทุนสถาบัน ในการเขารวมการประชุมผูถือหุน โดยบริษัท เลือกสถานที่จัดการประชุมมีระบบขนสงมวลชนเขาถึงและเพียงพอเพื่อใหผูถือหุนสามารถเดินทางเขารวมการประชุมไดสะดวก บริษัทฯ มีนโยบายการปฏิบัติกับผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน โดยตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิของผูถือหุนในการเขาถึงขอมูล ของบริษทั ฯ อยางเพียงพอและทันเวลา ในการจัดประชุมผูถ อื หุน บริษทั ฯ จะจัดสงหนังสือเชิญประชุมพรอมทัง้ ขอมูลประกอบการประชุม ตามวาระตางๆ ใหผูถือหุนทราบลวงหนากอนวันประชุมอยางนอย 7 วัน ซึ่งเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด

63


PAGE

64

ในป 2559 บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนนายทะเบียนหุนของบริษัทฯ เปนผูจัดสงหนังสือเชิญประชุม ใหแกผูถือหุนลวงหนากอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน หรือ 14 วัน แลวแตกรณีที่กฎหมายกําหนด ในป 2559 บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือนัดประชุม พรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมตามวาระตางๆ ใหผูถือหุนทราบลวงหนากอน วันประชุมในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด ซึ่งในแตละวาระมีหลักการและเหตุผลและความเห็นของคณะกรรมการบริษัทประกอบ นอกจากนัน้ บริษทั ฯ ไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมผูถ อื หุน และเอกสารประกอบการประชุม ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษไวทเี่ ว็บไซต ของบริษัทฯ http://www.rs.co.th/investor.html กอนวันประชุมไมนอยกวา 30 วัน และ เผยแพรรายงานประจําป ไวที่ เว็บไซต ของบริษัทฯ กอนวันประชุมไมนอยกวา 7 วัน เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการเขาถึงขอมูลของผูถือหุน สวนรายงานการประชุมผูถือหุนที่ จัดในป 2559 ไดนําไปโพสตไวภายใน 14 วัน หลังการประชุมผูถือหุนแลวเสร็จ บริษัทฯ ไดจัดการประชุมผูถือหุนโดยกอนเริ่มประชุม ประธานในที่ประชุมไดมอบหมายใหเลขานุการบริษัทชี้แจงวิธีการออกเสียงลงคะแนนใหที่ประชุมทราบ ในระหวางการประชุมประธาน ในที่ประชุมเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิอยางเทาเทียมกันในการสอบถามเพิ่มเติม และแสดงความคิดเห็น กอนการออกเสียงลงคะแนน ในทุกวาระ และสนับสนุนใหมกี ารใชบตั รลงคะแนนเสียงในวาระทีส่ าํ คัญ เพือ่ ความโปรงใสและตรวจสอบได รายงานการประชุมถูกจัดทําขึน้ อยางถูกตอง ครบถวน เสร็จสมบูรณ ในเวลาที่กฎหมายกําหนด และมีระบบการจัดเก็บที่ดีเพื่อใหผูถือหุนสามารถตรวจสอบได ในป 2559 บริษัทฯ ดูแลผูถือหุนมากกวาสิทธิตามกฎหมาย เชน การใหขอมูลสําคัญที่เปนปจจุบันผานเว็บไซต และไมมีการลิดรอนสิทธิ ของผูถือหุนในการศึกษาสารสนเทศของบริษัทฯ ที่ตองเปดเผยตามขอกําหนดตางๆ และการเขาประชุมผูถือหุน ไดแก ไมเพิ่มวาระ การประชุมหรือเปลี่ยนแปลงขอมูลสําคัญโดยไมไดแจงใหผูถือหุนทราบลวงหนา ไมแจกเอกสารที่มีขอมูลสําคัญเพิ่มเติมในที่ประชุม ผูถือหุนอยางกะทันหัน และไมจํากัดสิทธิในการเขาประชุมของผูถือหุนที่มาสาย เปนตน และในระหวางการประชุมผูถือหุน ประธาน ในที่ประชุมไดเปดโอกาสใหผูถือหุนมีสิทธิอยางเทาเทียมกันในการสอบถาม แสดงความคิดเห็น และขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับ ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ รวมทั้งเปดโอกาสใหผูถือหุนสงคําถามลวงหนากอนวันประชุม โดยสงคําถามผานเว็บไซตของบริษัทฯ หรือสงจดหมายถึงคณะกรรมการบริษัท ซึ่งการใหสิทธิของผูถือหุนและการสงเสริมใหผูถือหุนใชสิทธิเปนไปตามนโยบายการกํากับดูแล กิจการที่ดี

การปฏิบัติต อผู ถือหุ นอย างเท าเทียมกัน สําหรับผูถือหุนที่ไมสะดวกเขารวมประชุมดวยตนเอง บริษัทฯ เสนอใหมอบฉันทะใหกรรมการอิสระซึ่งเปนประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบเขาประชุมและลงคะแนนเสียงแทน ในการประชุมสามัญผูถือหุนป 2559 มีผูถือหุนจํานวน 22 ราย มอบฉันทะใหประธาน กรรมการตรวจสอบ ซึ่งเปนกรรมการอิสระที่บริษัทฯ เสนอเปนผูรับมอบฉันทะใหออกเสียงแทน เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2559 บริษัทไดเผยแพรขอมูลถึงผูถือหุนผานเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใหผูถือหุนสวนนอยเสนอเรื่องเพื่อบรรจุ เปนวาระการประชุมสามัญผูถ อื หุน พรอมทัง้ กําหนดกฎเกณฑทชี่ ดั เจนลวงหนาสําหรับการพิจารณาการเพิม่ วาระทีผ่ ถู อื หุน สวนนอยเสนอ และบริษัทฯ มีกําหนดวิธีการใหผูถือหุนสวนนอยเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการพิจารณาดํารงตําแหนงกรรมการ พรอมขอมูล ประกอบการพิจารณาดานคุณสมบัติและการใหความยินยอมของผูไดรับการเสนอชื่อ อยางไรก็ตาม ไมมีผูเสนอเรื่องเพื่อบรรจุเปนวาระ การประชุมสามัญผูถือหุน และไมมีผูเสนอชื่อบุคคลเพื่อเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการ บริษัทฯ มีมาตรการปองกันกรรมการและผูบริหารใชขอมูลภายในเพื่อหาผลประโยชนใหแกตนเองหรือผูอื่นในทางมิชอบเปนลายลักษณ อักษร ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหกรรมการบริษัท ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ รายงานรายการที่อาจมีความ ขัดแยงของผลประโยชนของตนและผูเกี่ยวของตอคณะกรรมการโดยสงขอมูลใหแกสํานักกฎหมาย เพื่อนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท และใหคณะกรรมการสามารถพิจารณาธุรกรรมของบริษัทฯ ที่อาจมีความขัดแยงของผลประโยชนและสามารถตัดสินใจเพื่อประโยชน ของบริษัทฯ โดยรวม ทั้งนี้ กรรมการและผูบริหารที่มีสวนไดเสียกับธุรกรรมที่ทํากับบริษัทฯ ไมใหมีสวนรวมในการตัดสินใจทําธุรกรรม ดังกลาว ดังรายละเอียดที่ไดเปดเผยในหัวขอการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน อีกทั้ง คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหในการทํารายการ ระหวางกันนั้นจะตองเปนไปตามขอกําหนดที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ดังรายละเอียดที่ไดเปดเผยในหัวขอ มาตรการ หรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน ตั้งแตป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายหามกรรมการและ ผูบริหารระดับสูง(**) ซื้อขายหุนบริษัทฯ ในชวง 3 สัปดาหกอนงบการเงินเผยแพรและ 2 วันหลังเปดเผยงบการเงิน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัทกําหนดขอหามไมใหมีการใชโอกาสหรือขอมูลที่ไดจากการเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือพนักงานในการหาประโยชนสวนตน หรือทําธุรกิจแขงขันกับบริษัทฯ หรือธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งไมใชขอมูลภายในเพื่อประโยชนของตนในการซื้อขายหุนของบริษัทฯ ไวในคูมือจรรยาบรรณ และไดเปดเผยไวในหัวขอการดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน หมายเหตุ (**) หมายถึง ผูบริหารตามนิยามของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ที่มีหนาที่ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตามกฎหมาย

บทบาทของผู มีส วนได เสีย บริษัทฯ ใหความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ทั้งผูมีสวนไดเสียภายใน ไดแก พนักงานและผูบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย หรือผูมีสวนไดเสียภายนอก ไดแก คูแขง เจาหนี้ ภาครัฐและหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เนื่องจากบริษัทฯ ตระหนักถึง แรงสนับสนุนจากผูมีสวนไดเสีย โดยเฉพาะอยางยิ่งชุมชนและสังคม ซึ่งใหความสําคัญอยางสมํ่าเสมอ (ดูตัวอยางในหัวขอบทบาทและ ความรับผิดชอบตอสังคมและนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล) รวมทั้งบริษัทฯ ไดจัดใหมีระเบียบและแนวปฏิบัติเปนลายลักษณ อักษร รวมถึงกําหนดบทลงโทษทางวินัย เพื่อใหผูที่เกี่ยวของ ซึ่งไดแก กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของกลุมบริษัทอารเอส เปนตน ยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจของบริษัทฯ ดวยความซื่อสัตยสุจริตและมีจริยธรรม ทั้งการปฏิบัติตอบริษัทฯ และผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ สวนเนื้อหาของคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ ครอบคลุมในเรื่องจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณของพนักงาน ซึ่งไดแก

ความรับผิดชอบต อสังคมและสิ่งแวดล อม บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงหนาที่และความรับผิดชอบที่พึงมี ตอประเทศชาติ สังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจนดําเนินธุรกิจและควบคุมใหมีการปฏิบัติภายใตกรอบของกฎหมาย และกฎเกณฑตางๆ ที่เกี่ยวของอยางครบถวน รวมถึงมุงมั่นผลักดันใหเกิดกระแสพัฒนาคุณภาพของสังคมและสิ่งแวดลอม ทั้งที่ดําเนินการเองและรวมมือ กับรัฐและชุมชน และสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนื่องใหแกพนักงานและลูกจางทุกระดับ ในการปฏิบตั ติ นเปนคนดีทาํ ประโยชนใหกบั ชุมชนและสังคม รวมทัง้ สนับสนุนใหพนักงานและลูกจางมีสว นรวมสรางสรรคกจิ กรรมตางๆ เพื่อชุมชนและสังคมอยางสมํ่าเสมอ อันกอใหเกิดวัฒนธรรมที่ดีในองคกรตอไป โดยมีการทบทวน ประเมินผล และติดตามความกาวหนา ในการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหแนใจวา บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามนโยบายเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจน บริษัทฯ ไดสนับสนุนใหมีกิจกรรมรณรงคการใชทรัพยากรอยางรูคุณคาในองคกร เชน บริษัทสนับสนุนใหลดการใชกระดาษ โดยทดแทน ดวยวิธีอื่นแทน เชน ใชขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น ทําใหบริษัทฯ สามารถลดการใชกระดาษลงไปไดอยางมาก และสนับสนุนการ ใชกระดาษสองหนา การชวยกันประหยัดพลังงาน เชน ปดแอรและปดไฟชวงระหวางพัก และใหขาวสารขอมูลความรู พรอมทั้งรณรงค การใชทรัพยากรอยางประหยัดเปนตน (ดูตวั อยางในหัวขอบทบาทและความรับผิดชอบตอสังคมและนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล)

ลูกค า บริษัทฯ มุงมั่นในการจําหนายสินคาและใหบริการที่มีคุณภาพกับลูกคาของบริษัทฯ และรับผิดชอบในการปฏิบัติตามสัญญาอยาง เครงครัด ตลอดจนมีหนวยงานใหบริการ ดูแล ชี้แจงขอสงสัย และแกไขปญหาตางๆ ใหกับลูกคา

ผู ถือหุ น บริษัทฯ บริหารงานดวยความรูความสามารถที่ดี มีประสิทธิภาพ เพื่อใหผลการดําเนินงานที่ดี โดยคํานึงถึงความเสี่ยงในปจจุบันและ อนาคต ตลอดจนใหเกิดผลตอบแทนที่เหมาะสมตอผูถือหุน และควบคุมดูแลใหเปนที่มั่นใจไดวา ไดมีการรายงานผลการปฏิบัติงาน และสถานะทางการเงินของบริษัทฯ ตลอดจนการเปดเผยขอมูลตอผูถือหุนอยางถูกตองครบถวน

65


PAGE

66

พนักงาน บริษัทฯ ถือวาพนักงานเปนสมบัติอันมีคาของบริษัทฯ ดังนั้นคุณคาของพนักงานจึงถือเปนเรื่องสําคัญ ซึ่งบริษัทฯ จัดใหมีสวัสดิการ ที่เหมาะสมแกพนักงาน ใหผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรูความสามารถ ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน แตละคน และสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในระยะสั้น ไดแก เงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และสอดคลอง กับผลการดําเนินงานของบริษัทในระยะยาว ไดแก การวัดผลการปฏิบัติงานพนักงานตาม Key Performance Indicators (KPI) และการจายผลตอบแทนของอุตสาหกรรมเดียวกัน และกลุมบริษัทอารเอส ใหความสําคัญกับการรักษาสุขภาพ ความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางานใหมีความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของพนักงานอยูเสมอ และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน ทั้งนี้บริษัทฯจัดใหมีการตรวจสุขภาพพนักงาน การประกันชีวิตและสุขภาพพนักงาน และจัดใหมีการตรวจสอบความปลอดภัยของ สถานที่ทํางานสมํ่าเสมอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ไดมีการพิจารณาและอนุมัตินโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน บริ ษั ท ฯ ส ง เสริ ม ให มี ก ารฝ ก อบรมให ค วามรู  แ ก พ นั ก งาน กรรมการ และผู  บ ริ ห าร เป น ต น (ดู ตั ว อย า งในหั ว ข อ บทบาทและ ความรับผิดชอบตอสังคมและนโยบายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล)

คู ค าและเจ าหนี้ บริษัทฯ ตั้งมั่นในความซื่อสัตยสุจริต และเที่ยงธรรมตอคูคา โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ และอยูบนพื้นฐานของการไดรับ ผลตอบแทนที่เปนธรรมตอทั้งสองฝาย หลีกเลี่ยงความลําเอียง หรือสถานการณที่ทําใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน ตลอดจน ยึดมั่นและถือปฏิบัติตามสัญญา เงื่อนไขตามขอตกลง และหนาที่ที่พึงมีตอคูคาและเจาหนี้ หากเกิดกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไข ของสัญญาที่ตกลงกันไวได บริษัทฯ จะแจงใหเจาหนี้ทราบลวงหนาเพื่อรวมกันพิจารณาหาแนวทางการแกปญหา อีกทั้งบริษัทฯ ไมสนับสนุนการทุจริตและการจายสินบนเพื่อผลประโยชนทางธุรกิจของบริษัท (ดูรายละเอียดไดในหัวขอนโยบายการตอตานการทุจริต คอรรัปชั่น) บริษัทฯ มีเกณฑการคัดเลือกคูคา/ผูขาย/ใหบริการภายนอก ดังนี้ •

คุณภาพของสินคา/และบริการ

ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความชํานาญ และประสบการณ

นโยบายการคา

ความมีชื่อเสียงทางธุรกิจ

สถานภาพทางการเงิน

คู แข ง บริษัทฯ สงเสริมนโยบายการแขงขันทางการคาอยางเสรีและเปนธรรม ตลอดจนปฏิบัติตอคูแขงอยางมืออาชีพ

คุณธรรม บริษัทฯ มุงมั่นกระทําในสิ่งที่ถูกตอง ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ตรงไปตรงมา ภายใตกฎหมาย และกฎระเบียบของบริษัทฯ โดยถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณนี้ในทุกกิจกรรมและในการตัดสินใจในทุกเรื่องของบริษัทฯ บริษัทฯจะดําเนินธุรกิจดวยความซื่อสัตย และคํานึงถึงความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอบริษัทฯ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ความเสมอภาคกับสิทธิมนุษยชนแก ผู เกี่ยวข อง บริษัทฯ ไมมีการกีดกัน หรือไมใหสิทธิพิเศษ หรือเลือกปฏิบัติแกผูหนึ่งผูใด เนื่องจากความแตกตางทางดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ อายุ สถาบันการศึกษา รวมทั้งไมเกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ทรัพย สินทางป ญญาหรือลิขสิทธิ์ บริษัทฯ มีนโยบายสนับสนุนการไมลวงละเมิดทรัพยสินทางปญญาหรือลิขสิทธิ์ คณะกรรมการบริษัทไดมีการพิจารณาทบทวน และปรับปรุงคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง ซึ่งใน ป 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 ไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง และอนุมัติคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และประกาศลงในระบบ Intranet ของบริษัทฯ รวมถึงใชเปนขอมูลในการฝกอบรมพนักงานใหมเพื่อใหพนักงานทุกระดับรับทราบ อยางทั่วถึง และมีกระบวนการดูแลใหมีการปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดอยางเครงครัด บริษัทฯ มีนโยบายใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกระดับปฏิบัติตามที่กําหนดในคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ อยางเครงครัด ในปที่ผานมา บริษัทฯ และบริษัทยอยไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางมีนัยสําคัญและ ที่มีผลกระทบดานลบอันอาจจะมีผลกระทบตอสินทรัพยของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยที่มีจํานวนสูงกวารอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ตลอดจนไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่มิไดเกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย บริษัทฯ พัฒนากลไกการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียในการสรางเสริมผลการดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อสรางความมั่นคงอยางยั่งยืน ใหกับกิจการโดยการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส และรับฟงความเห็น ขอรองเรียน หรือขอเสนอแนะ (ยกเวนคํารองเกี่ยวกับพฤติกรรม ที่อาจสอถึงการทุจริต หรือประพฤติมิชอบของบุคคลในองคกร ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอนโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น) ทั้งจากพนักงานเอง และผูมีสวนไดเสียอื่น ผานทางการพบผูบริหาร หนวยงานตรวจสอบกลาง หนวยงานนักลงทุนสัมพันธ เลขานุการ บริษัท หรือคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อนําเสนอผานไปยังคณะกรรมการบริษัทโดยตรง โดยทางเว็บไซต http://www.rs.co.th/ investor.html ทางโทรศัพท หมายเลข +66 2938 4307 และ +66 2511 0555 ตอ 1496 หรือติดตอโดยตรงตามหนวยงานดังกลาว เพื่อใหมีการรวบรวมและตรวจสอบขอมูลตามกระบวนการที่บริษัทฯ กําหนดไวและรายงานตอคณะกรรมการ สําหรับคํารองเกีย่ วกับรายงานทางบัญชีและการเงิน การควบคุมภายใน การบริหารความเสีย่ ง การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและจรรยาบรรณ เลขานุการบริษัท จะเปนผูรับเอกสารและสรุปประเด็นตางๆ ทั้งหมดเสนอใหคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทเปน รายไตรมาส บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการเก็บขอมูลรองเรียนเปนความลับเพื่อสรางความมั่นใจใหแกผูรองเรียน และเรื่องรองเรียน ดังกลาวจะรับรูเฉพาะในกลุมบุคคลที่ไดรับมอบหมายและเกี่ยวของดวยเทานั้น

การเป ดเผยข อมูลและความโปร งใส บริษัทฯ ใหความสําคัญตอระบบการควบคุมภายในทั้งในระดับบริหาร และระดับปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ โดยกําหนดภาระหนาที่ อํานาจการดําเนินการของผูปฏิบัติงาน ผูบริหารไวอยางชัดเจน มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสิน และมีการแบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุม และประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการควบคุม ภายในที่เกี่ยวกับระบบการเงิน โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบรายงานทางการเงินเสนอผูบริหารสายงานที่รับผิดชอบ บริษัทฯ มีฝายตรวจสอบภายในทําหนาที่ตรวจสอบโดยจะรายงานการตรวจสอบตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหมั่นใจวาการ ปฏิบัติงานหลัก และกิจกรรมทางการเงินสําคัญของบริษัทฯ ไดดําเนินการตามแนวทางที่กําหนดและมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ มีนโยบายที่จะมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมายและขอกําหนดที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ (Compliance Control)

67


PAGE

68

คณะกรรมการชุดย อย คณะกรรมการบริษัทแตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยเพื่อชวยกลั่นกรองรายละเอียดโดยกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ ไวในระเบียบของแตละคณะ สมาชิกสวนใหญของคณะกรรมการชุดยอยเปนกรรมการอิสระ ยกเวน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประธานกรรมการไมดํารงตําแหนงในคณะกรรมการชุดยอย ทุกคณะ อีกทั้งยังกําหนดใหกรรมการอิสระเปนประธานของแตละคณะดวย ยกเวน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ปจจุบัน บริษัทฯ มีคณะกรรมการชุดยอย 6 คณะ ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รายละเอียดเกี่ยวกับรายชื่อ หนาที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการชุดยอยอยูในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัท ไดแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อชวยในการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ดังนี้ ❏

คณะกรรมการตรวจสอบ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ทุกทานเปนกรรมการอิสระ รายนามคณะกรรมการตรวจสอบ และหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษทั ฯ คณะกรรมการบริษัทเห็นวา นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย เปนกรรมการอิสระที่มีความรูและความเชี่ยวชาญดานบัญชีและการเงิน จึงไดแตงตั้งใหเปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งสิ้นจํานวน 4 ครั้ง ซึ่งกรรมการตรวจสอบทุกทานที่อยู ในตํ า แหน ง ได เข า ร ว มประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบทุ ก ครั้ ง และรายงานผลการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ต  อ คณะกรรมการบริ ษั ท อยางสมํ่าเสมอ อีกทั้งในการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ มีการประชุมรวมกันระหวางคณะกรรมการตรวจสอบกับ ผูสอบบัญชีโดยไมมีผูบริหารอยู 1 ครั้ง

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน อนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ และพิจารณาคาตอบแทน โดยคณะกรรมการฯ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งหมด จํานวน 3 ทาน ซึ่งมีสมาชิกที่เปนกรรมการอิสระทั้งหมด จํานวน 3 ทาน โดยกรรมการอิสระ 1 ใน 3 ทาน เปนประธานกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการฯ มีวาระในการดํารงตําแหนงคราวละ 3 ป (ดูรายละเอียด ในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ) ในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน รวมทั้งสิ้นจํานวน 2 ครั้ง ซึ่งกรรมการทุกทาน ที่อยูในตําแหนงไดเขารวมประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนทุกครั้ง และคณะกรรมการสรรหาฯ รายงาน ผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการบริษัทอยางสมํ่าเสมอ ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. พิจารณาสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติและความเหมาะสมเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทแทนกรรมการ ที่พนจากตําแหนงตามวาระ 2. พิจารณาอนุมัติแตงตั้งกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพิ่มเติม 3. พิจารณาทบทวนและอนุมัติกฎบัตรของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 4. พิจารณาทบทวนความเหมาะสมของรูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน 5. พิจารณาทบทวนเรื่องคาตอบแทนประจําปของกรรมการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

6. พิจารณาเกณฑการประเมินผลประธานเจาหนาที่บริหาร 7. พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนประจําป 2559 8. รายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการบริษัทอยางสมํ่าเสมอ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนมีความเห็นวา รายการดังกลาวมีความเหมาะสมและเปนไปเพื่อประโยชน ของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว ❏

คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน รายนามคณะกรรมการบริหาร ดูรายละเอียดในหัวขอ โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริหาร รวมทั้งสิ้นจํานวน 24 ครั้ง ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. จัดทํา เสนอแนะและกําหนดนโยบายแนวทางธุรกิจ และกลยุทธทางธุรกิจของบริษัทฯ ตอคณะกรรมการ 2. กําหนดแผนธุรกิจ การบริหารงาน อนุมัติงบประมาณสําหรับประกอบธุรกิจประจําป และงบประมาณรายจายประจําป และดํ า เนิ น การตามแผนทางธุ ร กิ จ และกลยุ ท ธ ท างธุ ร กิ จ โดยสอดคล อ งกั บ นโยบาย และแนวทางธุ ร กิ จ ที่ ไ ด แ ถลงต อ คณะกรรมการ 3. กํากับ ควบคุมและดูแลบริหารงานใหเปนไปตามกลยุทธและแผนงานที่ไดวางไว 4. ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่ไดรับมอบหมายในแตละชวงเวลาจากคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารไดบริหารงาน อยางรอบคอบ เต็มกําลังความรูความสามารถ และสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแล กิจการที่ดีและจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2553 เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2553 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ และพิจารณาคาตอบแทน โดยคณะกรรมการฯ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งหมดจํานวน 2 ทาน (ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ)

69


PAGE

70

โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อวางแผน ทบทวนระบบ หรือประเมินประสิทธิผล ของการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมทั้งสิ้นจํานวน 1 ครั้ง ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. พิจารณาแผนงาน ปจจัยความเสี่ยงที่สําคัญของบริษัท การดําเนินงานบริหารความเสี่ยง และประเมินการบริหารความเสี่ยง ใหสอดคลองกับกลยุทธ และแผนธุรกิจของบริษัท 2. กํากับดูแลและสนับสนุนใหการบริหารความเสี่ยงเปนไปตามแผนงาน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งไดปฏิบตั งิ านในการบริหารความเสีย่ งอยางรอบคอบ เต็มกําลังความรูค วามสามารถ และสอดคลอง กับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสีย ในระยะยาวแลว ❏

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2554 ไดมีการแตงตั้งคณะกรรมการบรรษัทภิบาล อนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ และพิจารณาคาตอบแทน โดยคณะกรรมการฯ ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ ทั้งหมดจํานวน 2 ทาน (ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ) คณะกรรมการบรรษัทภิบาลไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณ ของกลุมบริษัทฯ และนโยบายที่เกี่ยวของอื่นๆ และติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาว ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. ทบทวนนโยบายกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส และนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 2. สงเสริมใหการปฏิบัติงานสอดคลองไปกับนโยบายกํากับดูแลกิจการที่ดีและคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส และนโยบายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 3. ใหคําแนะนําดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีแกคณะกรรมการบริษัท 4. กําหนดแนวทางและสอบทานการรายงานการปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเพื่อเสนอในรายงานประจําป คณะกรรมการบรรษัทภิบาลมีความเห็นวา รายการดังกลาวมีความเหมาะสมและเปนไปเพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน รายนามคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และหนาที่ของคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ดูรายละเอียดในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมทั้งสิ้นจํานวน 4 ครั้ง ในระหวางป 2559 สรุปสาระสําคัญของงานที่ปฏิบัติไดดังตอไปนี้ 1. ทบทวนและพัฒนานโยบาย และแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคล 2. พัฒนากลยุทธ และเทคนิควิธีเพื่อการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 3. กํากับ และดูแลการดําเนินงานดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล 4. พิจารณา และตัดสินใจในประเด็นทีเ่ กีย่ วของดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล ตามแนวทางทีไ่ ดรบั อนุมตั โิ ดยคณะกรรมการบริหาร


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ไดปฏิบัติงานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางรอบคอบ เต็มกําลังความรูความสามารถ และสอดคลองกับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียในระยะยาวแลว

เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งใหประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ ทําหนาที่เปนเลขานุการบริษัท ซึ่งปจจุบัน คือ นางพรพรรณ เตชรุงชัยกุล เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยมีบทบาทหนาที่หลัก ดังนี้ •

ใหคําแนะนําดานกฎหมาย ดานบัญชีและภาษี และกฎเกณฑตางๆ ที่คณะกรรมการจะตองทราบ

ปฏิบัติหนาที่ในการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการ

ประสานงานใหมีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการ

เลขานุการบริษทั เปนผูท มี่ คี วามรูท งั้ ทางดานบัญชีและกฎหมาย อยางไรก็ตาม บริษทั ไดสง เสริมใหผทู ที่ าํ งานสนับสนุนงานของเลขานุการ บริษัทและคณะกรรมการบริษัทไดเขารวมอบรมคอรส Company Secretary Program (CSP) ของสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย (IOD) นอกจากนัน้ บริษทั ยังมีหนวยงานกํากับการปฏิบตั งิ าน (Compliance Unit) ซึง่ อยูใ นสังกัดสํานักกฎหมายชวยดูแลงาน ของคณะกรรมการบริษัทใหเปนไปตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ หรือกฎหมายอีกดวย

การประชุมคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีกําหนดประชุมโดยปกติอยางนอยปละ 4 ครั้ง และ มีการประชุมพิเศษเพิ่มเติมตามความจําเปน โดยมีการกําหนด วาระการประชุม และวันประชุมไวลวงหนา โดยมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเปนประจํา ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือ เชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารการประชุมกอนการประชุมลวงหนาอยางนอย 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการ บริษัทไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขารวมประชุม โดยประธานกรรมการและประธานเจาหนาที่บริหารรวมกันพิจารณาการ เลือกเรื่องเขาวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัท โดยพิจารณาใหแนใจวาเรื่องที่สําคัญไดถูกบรรจุเขาวาระการประชุมเรียบรอยแลว และกรรมการแตละทานมีความเปนอิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสูวาระการประชุม ตลอดจนคณะกรรมการบริษัทสามารถเขาถึงขอมูล ทีจ่ าํ เปนไดจากประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร ทัง้ นี้ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ (นิยามและคุณสมบัตดิ รู ายละเอียดในหัวขอโครงสราง การจัดการของบริษัทฯ) จะเขารวมประชุมทุกครั้ง โดยในป 2559 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทรวมทั้งสิ้นจํานวน 6 ครั้ง โดยการประชุมจัดที่สํานักงานใหญของบริษัทฯ ทุกครั้ง ซึ่งกรรมการทุกทานที่อยูในตําแหนงไดเขารวมประชุมคณะกรรมการบริษัท ทุกครั้ง ยกเวน นายศุภชัย นิลวรรณ ที่ขาดการประชุม 1 ครั้ง เนื่องจากติดภารกิจ ในกรณีทมี่ กี รรมการทานใดเปนผูม สี ว นไดเสียอยางมีนยั สําคัญในเรือ่ งทีก่ าํ ลังพิจารณา กรรมการทานนัน้ จะไมเขารวมการประชุมระหวาง การพิจารณาเรื่องนั้นๆ นอกจากนี้ จํานวนองคประชุมขั้นตํ่า ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการอยูไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายใหกรรมการที่ไมเปนผูบริหารมีโอกาสที่จะประชุมระหวางกันเองตามความจําเปน เพื่ออภิปรายปญหา ตางๆ เกีย่ วกับการจัดการทีอ่ ยูใ นความสนใจโดยไมมฝี า ยจัดการรวมดวย และใหแจงประธานเจาหนาทีบ่ ริหารทราบถึงผลการประชุมดวย

71


PAGE

72

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกปตามแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการบริษัท แบงออกเปนการประเมินผลเปนรายบุคคลโดยตนเอง และการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ เพื่อให คณะกรรมการบริษัทรวมกันพิจารณาตรวจสอบผลงานและปญหาเพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานของคณะกรรมการบริษัท ใหดียิ่งขึ้น องคประกอบของการประเมิน ประกอบดวย โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ การประชุมคณะกรรมการ การทําหนาที่ของกรรมการ ความสัมพันธกับฝายจัดการ การพัฒนาตนเองของกรรมการ และการพัฒนาผูบริหาร อีกทั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนใหความเห็นในการกําหนดเกณฑการประเมินผลงานของประธานเจาหนาที่บริหาร และนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาใหความเห็นชอบ และการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่บริหารจะถูก ประเมินตามแบบประเมินผลการปฏิบัติงานที่คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนกําหนด และประเมินโดยคณะกรรมการ บริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระเทานั้น เพื่อการปรับปรุงแกไขตอไป คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกป เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 ไดมีการพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทประจําป 2559 เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทรวมกันพิจารณาผลงานและปญหาเพื่อการปรับปรุงแกไขตอไป และผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่ บริหารประจําป 2559 ไดถูกประเมินโดยคณะกรรมการบริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระเทานั้น เพื่อพิจารณาผลงานและการปรับปรุงแกไข ตอไป นอกจากนั้น คณะกรรมการยังจัดใหมีการประเมินผลงานทั้งคณะและเปนรายบุคคลของคณะกรรมการชุดยอยทั้งหมด ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล

การจ ายค าตอบแทน บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารไวอยางชัดเจนและโปรงใส สําหรับประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหาร ระดับสูง บริษัทฯ มีนโยบายทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่จะใหผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรูความสามารถ ความรับผิดชอบ ผลการปฏิบัติงานของแตละคน และสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และการจายผลตอบแทน ของอุตสาหกรรมเดียวกัน สวนนโยบายคาตอบแทนกรรมการนั้น ผูถือหุนไดอนุมัติคาตอบแทนของกรรมการ โดยในการประชุมวิสามัญ ผูถือหุนครั้งที่ 1/2546 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2546 และที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2556 ไดพิจารณาอนุมัติ คาตอบแทนกรรมการใหอยูในระดับเดียวกับอุตสาหกรรมซึ่งสูงเพียงพอที่จะดึงดูด และรักษากรรมการที่มีคุณสมบัติที่ตองการ และสอดคลองกับผลการดําเนินงานของบริษัทฯ สวนการประเมินผลงานของประธานเจาหนาที่บริหาร คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาคาตอบแทนกําหนดเกณฑการประเมินผลงานของประธานเจาหนาที่บริหาร และนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณา ใหความเห็นชอบ และผลการปฏิบัติงานของประธานเจาหนาที่บริหารจะถูกประเมินโดยคณะกรรมการบริษัทซึ่งเปนกรรมการอิสระ เทานั้น (รายละเอียดคาตอบแทนกรรมการและผูบริหารไดแสดงไวในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ)

การพัฒนากรรมการและผู บริหาร คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายใหกรรมการเดิมซึ่งไดรับมอบหมายแนะนํากรรมการใหมใหรูจักบริษัทฯ และบรรยายสรุปแผนธุรกิจ ของบริษัทฯ ผลประกอบการ กลยุทธ สภาพการแขงขัน วิสัยทัศน คานิยมองคกร นโยบายกํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณธุรกิจ รวมทั้งขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท เปนตน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายที่จะเสริมสรางและพัฒนาความรูใหมๆ ใหกับกรรมการและผูบริหาร โดยสนับสนุนใหเขารับการสัมมนา และการอบรมในหลักสูตรที่เปนประโยชน ซึ่งจัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย และสถาบันอื่นๆ เพื่อสนับสนุน การปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ ออกคาใชจาย ซึ่งในป 2559 ไดสนับสนุนกรรมการเขารวมอบรม ดังนี้ ลําดับ

กรรมการ

ตําแหน ง

หลักสูตรที่อบรมในป 2559

1

นายศุภชัย นิลวรรณ

กรรมการ และรองกรรมการ ผูอํานวยการอาวุโส

Director Accreditation Program (DAP) ป 2559

2

นางวรรณสุดา ธนสรานาต

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหา และพิจารณาคาตอบแทน

Director Accreditation Program (DAP) ป 2559

แผนการสืบทอดงานของประธานเจ าหน าที่บริหารและผู บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษัทไดสนับสนุนใหมีการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง ซึ่งจะชวยใหการดําเนินงานของบริษัทฯ เปนไปไดอยางราบรื่น นอกจากนั้น คณะกรรมการบริษัทจัดใหมีโครงการสําหรับพัฒนาผูบริหาร ซึ่งเปนการเตรียมใหพรอมเปนแผนที่ตอเนื่องถึงผูสืบทอดงาน ของประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารระดับสูง ในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได เพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดความตอเนื่อง ในการบริหารจัดการองคกร มีขั้นตอนดําเนินการ ดังนี้ 1. คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล พิจารณาเสนอชื่อและคัดเลือกกลุมผูบริหารซึ่งมีศักยภาพสูง เพื่อนํามาพัฒนาและเตรียมความพรอม 2. คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลดําเนินการใหมีการพัฒนาผูบริหารกลุมดังกลาวโดยจัดโปรแกรมพัฒนาผูบริหารระดับสูง 3. คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล รวมพิจารณาคัดเลือกผูที่มีความเหมาะสมเพื่อมาดํารงตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารระดับสูง สําหรับตําแหนงประธานเจาหนาที่บริหารที่มีการคัดเลือกแลวจะนําเสนอ ตอที่ประชุมคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริษัทตอไป 4. คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค า ตอบแทนจะพิ จ ารณาบุ ค คลที่ ไ ด รั บ การเสนอมาว า มี ค วามเหมาะสม และมี ค วามรู  ความสามารถ ที่จะเปนประโยชนตอบริษัทได พรอมขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อ แตงตั้งตอไป

งานนักลงทุนสัมพันธ คณะกรรมการบริษัท ตระหนักดีวาขอมูลของบริษัทฯ ทั้งที่เกี่ยวกับการเงินและที่ไมใชการเงิน ลวนมีผลตอกระบวนการตัดสินใจ ของผูลงทุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ จึงใหความสําคัญตอการเปดเผยสารสนเทศที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส และทั่วถึง ทั้งโดยผานชองทางจากสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของบริษัทฯ พรอมทั้งจัดใหมีการประชุม พบปะระหวางคณะผูบริหารของบริษัทฯ กับนักวิเคราะหหลักทรัพย กองทุน และนักลงทุนทั่วไป เพื่อตอบขอซักถามตางๆ อยาง เทาเทียมกัน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดกําหนดให “แผนกนักลงทุนสัมพันธ” ทําหนาที่ติดตอสื่อสาร และใหขอมูลขาวสาร และกิจกรรมตางๆ ของบริษัทฯ แกผูลงทุนสถาบัน ผูถือหุน นักวิเคราะห ภาครัฐที่เกี่ยวของ และนักลงทุนทั่วไป ทั้งนี้ ผูลงทุนสามารถติดตอหนวยงาน ดังกลาวไดที่

73


PAGE

74

หมายเลขโทรศัพท :

+66 2938 4307 และ +66 2511 0555 ตอ 1496

เว็บไซต :

http://www.rs.co.th/investor.html

เฟซบุก :

http://www.facebook.com/pages/rs-ir/256459961140733

ทวิตเตอร :

https://twitter.com/rs_ir หรือ

อีเมล :

ir@rs.co.th

นอกจากนี้ในรอบป 2559 บริษัทฯ ไดเผยแพรขอมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ผานกิจกรรมตางๆ ดังนี้ •

การจัดประชุมนักวิเคราะห เพื่อแถลงผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ในทุกไตรมาส โดยเปดโอกาสใหนักวิเคราะหไดพบปะ ผูบริหารเพื่อตอบขอซักถามในประเด็นตางๆ และเอกสารประกอบการประชุมไดถูกนําเสนอผานเว็บไซตของบริษัทฯ

การเขารวมงานที่จัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพยและบริษัทหลักทรัพยในการพบปะนักลงทุนสถาบัน และนักลงทุนตางชาติ ไดแก งาน CNS Corporate Access และงาน Thailand Focus 2016 “A New Growth Strategy” อีกทั้งยังเปดโอกาสใหนักลงทุน ไดพบปะพูดคุยกับผูบริหารระดับสูงที่บริษัทฯ เพื่อตอบขอสงสัยในประเด็นตางๆ และทราบถึงแนวทางการดําเนินงานในอนาคต นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดทําแบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ56-1) และ รายงานประจําป (แบบ56-2) เผยแพรทางระบบ SET Community Portal (SCP) ของตลาดหลักทรัพยฯ และในเว็บไซตของบริษัทฯ ในสวนของรายงานประจําป บริษัทฯ ไดจัดสงใหผูถือหุนเปนประจําทุกป รวมถึงจัดทํารูปเลมสําหรับผูถือหุนในงานประชุมสามัญผูถือหุนประจําป

การสรรหาและแต งตั้งกรรมการและผู บริหารระดับสูงสุด ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2550 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน และอนุมัติขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน ดังนั้น การคัดเลือกบุคคลที่จะเขา ดํารงตําแหนงเปนกรรมการของบริษัทฯ ตองผานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน วิธีการสรรหากรรมการจะกระทํา โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกตามเกณฑคุณสมบัติตามมาตรา 68 แหงพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทเี่ กีย่ วของ นอกจากนีย้ งั พิจารณา ถึงความหลากหลายของทักษะ ประสบการณ ความรู และความสามารถเฉพาะเพื่อประโยชนและการพัฒนากิจการของบริษัทฯ รวมทั้งการอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติหนาที่ จากนั้นจึงนํารายชื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาแตงตั้ง ในการแตงตั้งคณะกรรมการของบริษัทฯ ที่ประชุมผูถือหุนเปนผูแตงตั้งกรรมการ โดยใชเสียงขางมากตามหลักเกณฑและวิธีการ ดังตอไปนี้ (ก) ผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอเสียงหนึ่ง (ข) ใหผูถือหุนออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งกรรมการเปนรายบุคคลไป (ค) บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือ จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนที่จะพึงมี หรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นใหผูเปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด

นโยบายความหลากหลายในโครงสร างของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหา ใหสอดคลองกับกลยุทธในการดําเนินธุรกิจของบริษัท และมีความหลากหลายสําหรับผูที่จะมาทําหนาที่เปนกรรมการ โดยพิจารณาจากทักษะที่จําเปนที่ยังขาดอยูในคณะกรรมการบริษัท รวมทั้ง วิชาชีพ ความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน และเพศ เปนตน ดังจะเห็นไดในป 2558 คณะกรรมการฯ ไดมีการสรรหากรรมการอิสระ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ที่เปนผูหญิงจํานวน 1 ทาน เพื่อใหมีความหลากหลายของโครงสรางคณะกรรมการฯ อยางไรก็ตาม คณะกรรมการฯ ยังไดใชฐานขอมูล กรรมการ (Director Pool) ในการสรรหากรรมการใหม แตคุณสมบัติฯ ยังไมเหมาะสมกับบริษัท ณ ขณะนั้น และในการสรรหา กรรมการ คณะกรรมการไดจัดทํา Board Skill Matrix เพื่อกําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาโดยพิจารณาจากกลยุทธ ในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ

ความเป นอิสระจากฝ ายจัดการของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทประกอบดวยกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร 4 ทาน (เปนกรรมการอิสระ 3 ทาน) และเปนกรรมการที่เปนผูบริหาร 5 ทาน ประวัติของกรรมการแตละทานแสดงไวในหัวขอ “ประวัติคณะกรรมการบริษัท” ประธานกรรมการเปนบุคคลเดียวกับประธานเจาหนาที่บริหาร และเปนตัวแทนของกลุมผูถือหุนใหญ อยางไรก็ตาม โครงสราง คณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ ทําใหเกิดการถวงดุลและสอบทาน การบริหารงาน คณะกรรมการบริษัทเห็นวา กรรมการอิสระทั้ง 3 ทาน มีความเปนอิสระ และมีคุณสมบัติตามนิยามที่บริษัทกําหนดขึ้น ดังรายละเอียด ในหัวขอโครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทเห็นวา นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย เปนกรรมการอิสระที่มีความรู และความเชี่ยวชาญดานบัญชีและการเงิน จึงไดแตงตั้งใหเปนประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

ความเหมาะสมของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดคุณสมบัติที่เหมาะสมของผูที่จะดํารงตําแหนงกรรมการ ประกอบดวยผูมีความรู ประสบการณ ความสามารถเฉพาะดานที่เปนประโยชนกับบริษัทฯ รวมทั้งอุทิศเวลา ความรู ความสามารถ และความพยายามในการปฏิบัติหนาที่ เพื่อเสริมสรางใหบริษัทฯ เจริญกาวหนา และกําหนดนโยบายใหกรรมการทุกคนและผูบริหารระดับสูง (**) ที่มีหนาที่รายงานการถือ ครองหลักทรัพยตามกฎหมายจัดสงรายงานดังกลาวใหแกคณะกรรมการบริษัทเปนประจํา ในคณะกรรมการของบริษัทใหกรรมการดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนไดไมเกิน 3 บริษัท และใหกรรมการที่เปนผูบริหาร ไปดํารงตําแหนงกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นไดไมเกิน 2 บริษัท ตลอดจนในการไปดํารงตําแหนงกรรมการที่บริษัทจดทะเบียนอื่น ของประธานเจาหนาที่บริหารและผูบริหารระดับสูง (**) ของบริษัทฯ ตองผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทกอน กรรมการหรือผูบริหารระดับสูงของบริษัทไมเคยเปนพนักงานหรือหุนสวนของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่บริษัทใชบริการอยูในชวง 2 ปที่ผานมา หมายเหตุ (**) หมายถึง ผูบริหารตามนิยามของ ก.ล.ต.

ประสิทธิภาพในการทําหน าที่ของคณะกรรมการบริษัท การกําหนดนโยบาย คณะกรรมการบริษัทมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ภารกิจ กลยุทธ เปาหมาย แผนธุรกิจและงบประมาณของบริษัทฯ ตลอดจนกํากับดูแลใหฝายจัดการดําเนินการใหเปนไปตามแผนธุรกิจ และงบประมาณที่วางไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนมีจุดมุงหมายไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการจัดการใหบริษัทฯ มีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และนโยบายและการดําเนินงานบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม รวมทั้งมีการติดตามผลการดําเนินงานในเรื่อง ดังกลาวอยางสมํ่าเสมอในการประชุมคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทเปนผูพิจารณาการกําหนดและแยกบทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบระหวางคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล และประธาน เจาหนาที่บริหารอยางชัดเจน

75


PAGE

76

ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ไดมีการพิจารณาทบทวนและอนุมัติวิสัยทัศนและ ภารกิจของบริษัท ซึ่งคณะกรรมการไดพิจารณาทบทวนและอนุมัติวิสัยทัศนและภารกิจของบริษัทอยางนอยปละ 1 ครั้ง

การกํากับดูแลฝ ายจัดการ คณะกรรมการบริษัทไดมีการประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน และผลการจัดการความเสี่ยง และการปฏิบัติตาม นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 ไดมีการพิจารณาประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในและผลการบริหารความเสี่ยง และประเมินเรื่อง การปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี

การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทย อยและบริษัทร วม การเสนอชื่อและใชสิทธิออกเสียงแตงตั้งบุคคลเปนกรรมการในบริษัทยอยและบริษัทรวมดําเนินการโดยฝายจัดการ ตั้งแตป 2557 เป น ต น ไป การเสนอชื่ อ และใช สิ ท ธิ อ อกเสี ย งดั ง กล า วต อ งได รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ด ว ย โดยบุ ค คลที่ ไ ด รั บ แต ง ตั้ ง ใหเปนกรรมการในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม มีหนาที่ดําเนินการเพื่อประโยชนที่ดีที่สุดของบริษัทยอยหรือบริษัทรวมนั้นๆ และบริษัท ไดกําหนดใหบุคคลที่ไดรับแตงตั้งนั้น ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทกอนที่จะไปลงมติ หรือใชสิทธิออกเสียงในเรื่องสําคัญ ในระดับเดียวกับที่ตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ หากเปนการดําเนินการโดยบริษัทเอง นอกจากนี้ ในกรณีเปนบริษัทยอย บุคคลที่ไดรับแตงตั้งจากบริษัทนั้น ตองดูแลใหบริษัทยอยมีขอบังคับในเรื่องการทํารายการเกี่ยวโยง ที่สอดคลองกับบริษัท มีการจัดเก็บขอมูล และการบันทึกบัญชีใหบริษัทสามารถตรวจสอบ และรวบรวมมาจัดทํางบการเงินรวมไดทัน กําหนดดวย ตลอดจนกําหนดระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและรัดกุมเพียงพอ ตลอดป 2559 บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ยกเวนเรื่องตอไปนี้ 1. ไมไดเปดเผยคาตอบแทนของกรรมการที่เปนผูบริหารในสวนที่ไดรับจากการเปนกรรมการบริษัทอื่น เพราะไมใชขอมูลของบริษัทฯ 2. ประธานกรรมการเปนบุคคลเดียวกับประธานเจาหนาที่บริหาร และเปนตัวแทนของกลุมผูถือหุนใหญ อยางไรก็ตาม โครงสราง คณะกรรมการของบริษัท ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ ทําใหเกิดการถวงดุลและสอบทาน การบริหารงานที่โปรงใสและรัดกุม 3. คณะกรรมการไมไดกําหนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการอิสระไวใหไมเกิน 9 ป เนื่องจากมีความเห็นวา กรรมการอิสระ เปนผูที่มีความรูความสามารถ และมีประสบการณมาก ดังนั้น การดํารงตําแหนงกรรมการเปนเวลานานจะชวยใหเขาใจ การดําเนินธุรกิจของบริษัทไดดียิ่งขึ้น 4. บริษัทไมไดกําหนดใหกรรมการและผูบริหารระดับสูงแจงตอคณะกรรมการ หรือผูที่คณะกรรมการมอบหมายเกี่ยวกับการซื้อขาย หุนของบริษัท อยางนอย 1 วันลวงหนา กอนทําการซื้อขาย เนื่องจากบริษัทมีระเบียบขอบังคับในเรื่องการใชขอมูลภายใน ของบริษัทและนโยบายที่ครอบคลุมเรื่องการใชขอมูลภายใน

การดูแลเรื่องการใช ข อมูลภายใน บริษัทฯ ไดดําเนินการแจงใหผูบริหารฝายตางๆ ใหเขาใจถึงภาระหนาที่ในการรายงานการถือหลักทรัพยในบริษัทฯ ของตนเอง คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ตลอดจนรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 และบทกําหนดโทษตามมาตรา 275 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 นอกจากมาตรการที่เปนขอกําหนดของกฎหมายแลว บริษัทฯ ไดมีนโยบายเปนลายลักษณอักษรซึ่งครอบคลุมเรื่องการใชขอมูลภายใน ไวในคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติแกกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุกคน โดยคูมือจรรยาบรรณ ของกลุมบริษัทฯ ผานมติการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแลวเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2549 และไดมีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

และอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเปนประจําทุกป ซึ่งการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง และอนุมัติครั้งลาสุดเปนการประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการกําหนดระเบียบขอบังคับในการนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชดังนี้ (1) กรรมการ ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ จะตองรักษาความลับ/หรือขอมูลภายในของบริษัทฯ (2) กรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษัทฯ จะตองไมนําความลับ และ/หรือ ขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปเปดเผย หรือแสวงหาผลประโยชนแกตนเองหรือเพือ่ ประโยชนแกบคุ คลอืน่ ใด ไมวา โดยทางตรงหรือทางออม และไมวา จะไดรบั ผลตอบแทน หรือไมก็ตาม (3) กรรมการ ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ จะตองไมทําการซื้อขาย โอนหรือรับโอน หลักทรัพยของบริษัทฯ โดยใช ความลับและ/หรือขอมูลภายในบริษัทฯ และ/หรือเขาทํานิติกรรมอื่นใดโดยใชความลับและ/หรือขอมูลภายในของบริษัทฯ อันอาจกอใหเกิดความเสียหายตอบริษัทฯ ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม โดยขอกําหนดนี้รวมความถึงคูสมรสหรือผูที่อยูกินดวยกันฉันสามีภริยา บุพการี ผูสืบสันดาน ผูรับบุตรบุญธรรม หรือบุตรบุญธรรม และพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน หรือพี่นองรวมบิดาหรือรวมมารดาเดียวกันของกรรมการ ผูบริหาร พนักงานและลูกจางของบริษัทฯ พนักงานคนใดฝาฝนในระเบียบดังกลาวบริษัทฯ จะถือวาไดกระทําผิดอยางรายแรงโดยอาจมีโทษตั้งแตขั้นตักเตือนดวยวาจาจนถึง ขั้นใหออกจากงาน ตั้งแตป 2551 คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายหามกรรมการและผูบริหารระดับสูงซื้อขายหุนบริษัทฯ ในชวง 3 สัปดาหกอน งบการเงินเผยแพรและ 2 วันหลังเปดเผยงบการเงิน

ค าตอบแทนของผู สอบบัญชี ค าตอบแทนจากการสอบบัญชี บริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาสอบบัญชีใหกับบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด ซึ่งเปนสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีของบริษัทประจําป 2559 สังกัด รวมทั้งบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกับผูสอบบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชี สังกัด ในรอบปบัญชีที่ผานมา มีจํานวนเงินรวม 4.30 ลานบาท โดยเปนของบริษัทฯ จํานวนเงิน 1.00 ลานบาท และบริษัทยอยรวมกัน จํานวนเงิน 3.30 ลานบาท

ค าบริการอื่นๆ บริษัทฯ จายคาบริการสําหรับการสอบทานแบบสรุปคาธรรมเนียมใบอนุญาตรายป (นส.1) และแบบแสดงประเภทของรายไดจากการประกอบกิจการ (นส.2) ตามประกาศ กสทช. เรื่อง คาธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียง หรือกิจการโทรทัศน พ.ศ. 2555 ใหกับบริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด มีจํานวนเงินรวม 0.15 ลานบาท

77


PAGE

78


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ความรับผิดชอบต อสังคม สิ่งแวดล อม และผู ที่เกี่ยวข อง บริษัทฯ สงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนดวยความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอม และผูมีสวนไดเสีย ซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศน (Vision) ของบริษัทฯ โดยแบงตามกิจกรรมไดดังนี้

1. การประกอบกิจการด วยความเป นธรรม บริษัทฯ มุงมั่นกระทําในสิ่งที่ถูกตอง ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ตรงไปตรงมา ภายใตกฎหมายและกฎระเบียบของบริษัทฯ โดยถือปฏิบัติตามจรรยาบรรณนี้ในทุกกิจกรรมและในการตัดสินใจในทุกเรื่องของบริษัทฯ

2. การเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ ใหความสําคัญในการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน โดยยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย รวมทั้งหลักสิทธิมนุษยชน ซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษยเกิดมาพรอมกับความเสมอภาค ความเทาเทียมในแงของศักดิ์และสิทธิ์ โดยจะไมมีการกีดกัน หรือไมใหสิทธิพิเศษ หรือเลือกปฏิบัติแกผูหนึ่งผูใด เนื่องจากความแตกตางทางดานเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา เพศ สีผิว อายุ ภาษา สถาบันการศึกษา รวมทั้งไมเกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน

3. การปฏิบัติต อแรงงานอย างเป นธรรม บริษัทฯ คํานึงถึงความสําคัญของทุนมนุษย (Human Capital) ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สุดที่จะผลักดันใหองคกรบรรลุสูเปาหมาย บริษัทฯ จึงมีแผนการสงเสริมและพัฒนาทรัพยากรบุคคลไวดังนี้ 1) กําหนดใหมีแผนงานและมีการจัดสรรงบประมาณในแตละปไวอยางชัดเจน มีการจัดระดับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลไว 3 ระดับ คือ การพัฒนาองคกร (Organization Development) การพัฒนาอาชีพ (Career Development) และการฝกอบรมและ พัฒนา (Training Development) โดยในป 2559 ไดจัดการอบรมรวมทั้งสิ้น 11 หลักสูตร จํานวน 26 รุน แบงเปนจัดฝกอบรม ภายในเปนจํานวน 194 ชั่วโมงและฝกอบรมภายนอกเปนจํานวน 6 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 200 ชั่วโมง รวมถึงการจัดอบรมตามที่ กฎหมายกําหนด ไดแก 1) หลักสูตรความปลอดภัยสําหรับลูกจางทั่วไปและลูกจางเขางานใหม จํานวน 4 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 163 คน 2) การปฐมพยาบาลเบื้องตนและการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 56 คน 3) เจาหนาที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร จํานวน 1 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 12 คน และ 4) เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับหัวหนางาน จํานวน 2 รุน ผูเขาอบรมจํานวน 51 คน 2) จัดตรวจสุขภาพประจําปใหพนักงาน โดยจัดโปรแกรมการตรวจสุขภาพที่เหมาะสม และเจรจาตอรองกับโรงพยาบาลใหพนักงาน สามารถเพิ่มรายการตรวจสุขภาพไดในราคาพิเศษ พรอมทั้งอํานวยความสะดวกใหโรงพยาบาลมาใหบริการตรวจสุขภาพ ถึงที่อาคารสํานักงานของบริษัทฯ 3) จัดสรรสวัสดิการพนักงาน เชน สวัสดิการคารักษาพยาบาลผานการประกันชีวิตและอุบัติเหตุหมู สวัสดิการเงินชวยเหลือและ อื่นๆ เชน เงินชวยเหลืองานศพ กรณีพนักงานเสียชีวิต และกรณีบิดา มารดา บุตร หรือคูสมรสที่ชอบดวยกฎหมายของพนักงาน เสียชีวิต เงินชวยเหลือกรณีพนักงานสมรส กรณีพนักงานอุปสมบท เปนตน 4) ใหความสําคัญกับการสรางความผูกพัน (Engagement) ของพนักงานในองคกรอยางตอเนื่อง โดยจัดใหมีกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรมของขวัญที่เพียงพอและดีตอใจ โดยมอบขาวหอมมะลิปลอดสาร 100% จากกลุมชาวนาจังหวัดสุรินทร เพื่อเปน ของขวัญวันปใหมใหแกผูบริหาร พนักงาน ศิลปน นักรอง นักแสดง และผูประกาศ เปนตน

79


PAGE

80

5) ประกาศนโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางานโดยจัดใหมีตัวแทนพนักงานทุกระดับรวมเปน คณะทํางานดานความปลอดภัยในระดับตางๆ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายดานความปลอดภัยใหเห็นผลเปนรูปธรรมและสอดคลอง ตามกฎหมายและมาตรฐานดานความปลอดภัยที่เกี่ยวของ

4. ความรับผิดชอบต อลูกค าและผู บริโภค บริษัทฯ มุงมั่นในการสรางสรรคและผลิตผลงานดานสื่อและดานบันเทิงทุกรูปแบบ เพื่อสรางความพึงพอใจอยางตอเนื่องใหกับลูกคา จําหนายสินคาและใหบริการที่มีคุณภาพกับลูกคาของบริษัทฯ ตลอดจนมีหนวยงานใหบริการ ดูแล ชี้แจงขอสงสัย และแกไขปญหาตางๆ ใหกับลูกคา

5. บทบาทและความรับผิดชอบต อชุมชน สิ่งแวดล อม และสังคมส วนรวม บริษัทฯ ยึดมั่นในการดําเนินธุรกิจที่เปนประโยชนตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงหนาที่และความรับผิดชอบ ที่พึงมีตอประเทศชาติ สังคมและสิ่งแวดลอม ตลอดจนดําเนินธุรกิจและควบคุมใหมีการปฏิบัติภายใตกรอบของกฎหมาย และกฎเกณฑ ตางๆ ที่เกี่ยวของ อยางครบถวน รวมถึงมุงมั่นผลักดันใหเกิดกระแสพัฒนาคุณภาพของสังคม และสิ่งแวดลอม ทั้งที่ดําเนินการเอง และรวมมือกับรัฐและชุมชน และสงเสริมความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนื่องใหแกพนักงานทุกระดับ ในการปฏิบัติตนเปนคนดีทําประโยชนใหกับชุมชนและสังคม รวมทั้งสนับสนุนใหพนักงานมีสวนรวมสรางสรรคกิจกรรมตางๆ เพื่อชุมชน และสังคมอยางสมํ่าเสมอ อันกอใหเกิดวัฒนธรรมที่ดีในองคกรตอไป โดยในป 2559 กลุมบริษัทฯ มีบทบาทและความรับผิดชอบ ตอสังคมที่สําคัญ ดังนี้


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

กิจกรรม RS Birthday Charity 2016 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) สานตอกิจกรรม “RS Birthday Charity 2016” เพื่อใหพนักงาน ศิลปน นักรองนักแสดง ที่มีวันคลายวันเกิดในแตละเดือนไดรวมแบงปนความสุขใหแกผูดอยโอกาสทางสังคม ผูปวยโรครายแรง เด็ก คนชรา และผูพิการ ในมูลนิธิ สถานสงเคราะหและองคกรเพื่อสาธารณะตางๆ อาทิ การเลี้ยงอาหารกลางวัน มอบสิ่งของอุปโภค บริโภคที่จําเปน และใหความบันเทิงทั้งการรองและการเตนกับเด็กๆ ณ สถานสงเคราะหเด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด (บานนนทภูมิ) ศิลปน นักรองนักแสดง และชาวอารเอส รวมกันบริจาคของรักที่ยังอยูในสภาพใชงานไดใหกับโครงการ ปนกัน เพื่อเปนชองทางระดมทุนการศึกษาใหเยาวชนไทย โดยเปนทุนการศึกษาสําหรับนักเรียนทุนในมูลนิธิยุวพัฒน การรวมเลี้ยงอาหารผูปวยภาคสนาม ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา การเขารวมบริจาคอาหารและสิ่งจําเปนใหกับนองหมา นองแมว ณ มูลนิธิบานสงเคราะหสัตวพิการ ปากเกร็ด การรวมกันเลี้ยงอาหารกลางวันใหกับนองๆ บริเวณโรงอาหาร ของโรงเรียนศรีสังวาลย มูลนิธิอนุเคราะหคนพิการ ในพระราชูปถัมภของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ กิจกรรมรวมกันตกแตงกระถางตนไมในเดือนสิ่งแวดลอมโลก เพื่อมอบเปนกําลังใจและสรางบรรยากาศสดชื่นใหกับผูปวย โรคมะเร็ง สถาบันวิจัยจุฬาภรณ

วัตถุประสงค : 1. เพื่ อ ให ค วามช ว ยเหลื อ กั บ บุ ค คล หน ว ยงาน และ องคกรการกุศลตางๆ 2. เพื่อใหกําลังใจเด็ก ผูสูงอายุ ผูพิการ และผูปวยเรื้อรัง ต า งๆ ที่ ไ ด รั บ ความเดื อ ดร อ นหรื อ ต อ งการความ ชวยเหลือ 3. เพื่อใหดารา นักแสดง และพนักงานที่สนใจไดทํา กิจกรรมเพื่อชวยเหลือสังคมอยางตอเนื่อง 4. เพื่ อ ให ด ารา นั ก แสดง มี ส  ว นในการสร า งกระแส การทําดี และเปนแบบอยางที่ดีใหกับประชาชนทั่วไป 5. เพือ่ สงเสริมใหพนักงานเกิดความรูส กึ ผูกพันกับองคกร

PAGE

81


PAGE

82

กิจกรรมเพื่อสังคมอื่นๆ ในรอบป 2559

ดร.องอาจ สิ ง ห ลํ า พอง กรรมการผู  อํ า นวยการใหญ สถานีโทรทัศนชอง 8 นําทีมดารานักแสดงใบเตย-อารสยาม และมารติน มิดาล เขามอบเงินจํานวน 4 แสนบาท จาก การขายปฏิทินชอง 8 ใหกับมูลนิธิโรงพยาบาลรามาธิบดี เพื่อสมทบทุนโครงการสถาบันการแพทยจักรีนฤบดินทร

โครงการ “แลงนี้ ไมแลงนํ้าใจ ดวยการใหโลหิต” นํา ดารา-นางเอกสาว จากชอง 8 มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ เขาพบ พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี มอบปาย รณรงคเลนสงกรานตอยางมีสติ ใชนํ้าอยางประหยัด และ ชวยกันบริจาคโลหิตกักตุนไวชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ บนทองถนน ในชวงเทศกาลสงกรานต ใหมีโลหิตสํารอง ไวจายใหกับโรงพยาบาลตางๆ ไดอยางทันทวงที มังกร-ปภาวิน หงษขจร และ ฟาใส-อรจิรา แกวสวาง ดารา นักแสดงจาก ชอง 8 รวมงานแถลงขาว วันดอกปอบปบาน พรอมรณรงคชวนคนไทย ซื้อดอกปอบป เพื่อนํารายไดชวยเหลือ ครอบครั ว ทหารผ า นศึ ก ที่ ไ ด รั บ บาดเจ็ บ และสมทบทุ น มู ล นิ ธิ สงเคราะห ค รอบครั ว ทหารผ า นศึ ก ในพระราชู ป ถั ม ภ สมเด็ จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในวันทหารผานศึก

พลตํารวจโท ศานิตย มหถาวร ผูบัญชาการตํารวจนครบาล และพลตํารวจตรี ทรงพล วัธนะชัย ผบก.น.6 รวมกับสถานี โทรทัศนชอง 8 จัดกิจกรรมเดินรณรงค “ปองกันอัคคีภัย ชวงเทศกาลตรุษจีน” โดยมีศิลปนดาราชอง 8 อาทิ ลาลา (ขวัญนภา เรืองศรี) ลูลู (ดวงฤดี บุญบํารุง) และฝาย-เวฬุรีย รวมกันเดินรณรงค


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สภานายิกาสภากาชาดไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให นายแผน วรรณเมธี เลขาธิการสภากาชาดไทย เปนผูแทนพระองค พรอมดวย ทีมผูประกาศขาว จากสถานีโทรทัศนชอง 8 อาทิ หลี่แช-วิยดา พีรรัฐกุล กอย-บุญญิตา งามศัพพศิลป แนส-ฑิฆัมพร อยูกําเนิด เอ-ดลนกฤต แดงหวานปสีห พรอมดวย ลูลู-ดวงฤดี บุญบํารุง และลาลา-ขวัญนภา เรืองศรี ลงพื้นที่นํ้าทวม นําชุดธารนํ้าใจสภากาชาดไทยพรอมนํ้าดื่มมอบใหแก ราษฎรที่ไดรับความเดือดรอนจากเหตุอุทกภัยใน อําเภอผักไห จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ศิ ล ป น อาร เ อส อาทิ กระแต-กระต า ย อารสยาม แบล็คแจ็ค-จารุพงศ กลวยไม งาม เนย-ซิ น ญอริ ต  า พ อ ย-พรวรา สิทธิประศาสน เติรด-ลภัส งามเชวง และ อี ก มากมาย รณรงค ก ารใช นํ้ า อย า ง ประหยั ด และเล น สงกรานต กั น อย า ง ปลอดภัย ภายใตแคมเปญ “Save Water Save Life” (เซฟ วอเตอร เซฟ ไลฟ)

พลเอก ประยุท ธ จั น ทร โ อชา นายกรั ฐมนตรี พร อ มด ว ย ศ.คลินิ ก เกี ย รติ คุ ณ นพ.ป ย ะสกล สกลสั ต ยาทร รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวง สาธารณสุข และนพ.อํานวย กาจีนะ อธิบดีกรมควบคุมโรค พรอมศิลปน ดาราจากอารเอส อาทิ ใบเตย-สุ ธี วั น ทวี สิ น และ อลิ ซ ชญาดา อารสยาม รวมรณรงคกวาดลางยุงลาย กําจัดแหลงเพาะพันธุยุงลาย พรอมเปดตัว แอพพลิเคชัน (Application) พิชิตลูกนํ้ายุงลาย โดยรัฐบาล ใช โ อกาสทองช ว งหน า แล ง เร ง รณรงค ก วาดล า งยุ ง ลาย ใช ม าตรการ 3 เก็บปองกัน 3 โรค

PAGE

83


PAGE

84

พลอากาศเอก ชัยพฤกษ ดิษยะศริน ผูชวยผูบัญชาการ กองทัพอากาศ และสถานีโทรทัศนชอง 8 รวมพลัง ทําดีเพื่อพอ ลงพื้นที่ชวยเหลือผูประสบภัยหนาวที่ อํ า เภอสารภี จั ง หวั ด เชี ย งใหม โดยมีดาราชอง 8 ใบเตย-สุธีวัน ทวีสิน มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ โบวลิ่ง-ปริศนา กัมพูสิริ และ มังกร-ปภาวิน หงษขจร ทั้งหมดขึ้นเครื่องบินจากหนวยมิตรประชา กองทัพ อากาศ รวมลงพื้นที่ชวยเหลือประชาชน ตลอดจน ผู  สู ง อายุ ใ นพื้ น ที่ อ ากาศหนาว โดยมอบผ า ห ม ใหกับประชาชนในถิ่นทุรกันดาร จํานวน 250 ผืน พรอมจัดหนวยแพทยเคลื่อนที่ชวยเหลือ ที่โรงเรียน สารภีพิทยาคม ตําบลยางเนิ้ง อําเภอสารภี จังหวัด เชียงใหม

ศิลปนดาราอารเอส อาทิ จะ อารสยาม และ ฟลุค-จิระ ด า นบวรเกี ย รติ เข า พบ พลเอก ประยุ ท ธ จั น ทร โ อชา นายกรัฐมนตรี เพื่อรณรงค แคมเปญ “ปดไฟ 1 ชั่วโมง ใหโลกพัก” หรือ 60+ Earth Hour โดยเชิญชวนคนไทย ทั่วประเทศ ปดไฟดวงที่ไมจําเปน 1 ชั่วโมง ตั้งแตเวลา 20.30 - 21.30 น. พรอมกับหัวเมืองใหญกวา 7,000 ประเทศทั่วโลก ซึ่งจากสถิติจากการจัดกิจกรรม ปดไฟ 1ชั่วโมง เมื่อป 2558 สามารถประหยัดไฟฟาไดถึง 1,699 เมกะวัตต คิดเปนการลด ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซต ได 1,073 ตัน ซึ่งสามารถลด คาใชจายในการผลิตกระแสไฟฟาไดถึง 6,656,699 บาท

กุ  ง สุ ธิ ร าช อาร ส ยาม และพิ ธี ก รรายการ อึ้ ง ทึ่ ง เสี ย ว พรอม ขนมจีน-กุลมาศ ลิมปวุฒิวรานนท ดารานักแสดง ชอง 8 ทําหนาที่พรีเซ็นเตอรประชาสัมพันธเชิญชวนคนไทย สนั บ สนุ น ดอกแก ว กั ล ยา (ดอกไม สั ญ ลั ก ษณ ป ระจํ า วั น คนพิการ) เนื่องในโอกาสวันคนพิการแหงชาติ เพื่อนํารายได บริจาคสมทบ “กองทุนดอกแกวกัลยา” ชวยเหลือคนพิการ ในงานวันคนพิการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

“กิจกรรมชอง 8 คืนความรัก” มอบความบันเทิง มอบของบริจาค รดนํ้าดําหัว เลี้ยงอาหาร ใหกับผูสูงอายุ เนื่องในวันผูสูงอายุ แหงชาติ ณ บานผูสูงอายุบางแค 2 โดยมีดาราศิลปนมารวมตัวในงานบุญครั้งนี้ อาทิ มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ เอี๊ยง-สิทธา สภานุชาติ เปก-รัฐภูมิ ไขนาค และ เซลีนา เพียซ

สงมอบความสุขใหนอ งๆ ทีโ่ รงเรียนบานนานอย และโรงเรียน บานนาราบ จังหวัดนาน ใน “กิจกรรมชอง 8 คืนความรัก” ขึ้นเครื่องบินทหาร C-130 จากหนวยมิตรประชา กองทัพ อากาศ สงตอความรักดวยการอาสามอบความบันเทิงดวย เสียงเพลง มอบอุปกรณการเรียน การกีฬา และทุนการศึกษา เพือ่ ชวยเหลือนอง โดยมีดาราศิลปนชอง 8 รวมกิจกรรม อาทิ ลาลา-ขวัญนภา เรืองศรี ลูลู-ดวงฤดี บุญบํารุง โบวลิ่งปริศนา กัมพูสิริ และ เอี๊ยง-สิทธา สภานุชาติ

คุณศุภชัย นิลวรรณ กรรมการผูอํานวยการธุรกิจเพลง บมจ. อารเอส จํากัด (มหาชน) พรอมดวยศิลปน คายกามิกาเซ อาทิ แตงคกิ้ว-ศิลปชนก คลายแต เติรด-ลภัส มารค-ธนัต แองจี-้ ฐิตชิ า กรีน-ปยะภูมิ พารท เคียราน เนโกะ-เนรัญชรา ไปป มากอน ฯลฯ รวมมอบอาหารและความบันเทิง ใหกับ นองบานราชาวดีหญิง ในกิจกรรม “กามิกาเซ กิ๊ฟ แอนด แชร สงสุขปใหมใหนอง” ณ บานราชาวดีหญิง

PAGE

85


PAGE

86

6. การจัดการสิ่งแวดล อม บริษัทฯ สงเสริมใหมีการรณรงคและสรางจิตสํานึกใหแกพนักงานในการอนุรักษและการใชทรัพยากรและพลังงานตางๆ อยางชาญฉลาด และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนสร า งสรรค แ ละสนั บ สนุ น กิ จ กรรมอั น เป น ประโยชน ต  อ การดู แ ลรั ก ษา การอนุ รั ก ษ และการใช ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และพลังงานตางๆ อยางตอเนื่อง โดยการสงเสริม รณรงค และปลูกจิตสํานึกรวมกันในการรูจัก ถึงประโยชน เห็นคุณคา และการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งการประหยัดไฟฟา โดยการปดสวิทซไฟและเครื่องใชไฟฟา ทุกครั้งที่เลิกใชงาน ปดไฟเมื่อพักเที่ยง ปดแอรกอนเลิกงานครึ่งชั่วโมง การใชบันไดแทนการใชลิฟท การประหยัดนํ้า โดยมีเจาหนาที่ คอยตรวจสอบการรั่วซึมของอุปกรณ การประหยัดนํ้ามัน โดยการวางแผนการเดินทางกอนออกเดินทาง การใช E-mail แทนการ สงเอกสารดวยตัวเอง รวมทั้งการประหยัดพลังงานอื่นๆ ในที่ทํางาน อาทิ การใชกระดาษใหครบทั้ง 2 ดาน เปนตน โดยนอกจาก ประชาสัมพันธรณรงค ใหความรูกับพนักงานอยูเสมอแลว ยังกระตุนโดยการจัดกิจกรรมประหยัดพลังงาน ภายใตแคมเปญ OFFICE เบอร 5 เพื่อใหรางวัลกับหนวยงานที่มีผลงานในการประหยัดพลังงานโดดเดนที่สุดอีกดวย

รางวัลที่ ได รับในป 2559 เอ-ดลยกฤต กอย-บุญญิตา และ หลี่แช-วิยดา ผูประกาศขาว รายการ “คุยขาวเชาชอง 8” ชวงคุยขาวบรรเทาทุกข สถานีโทรทัศน ชอง 8 เขารับรางวัล “ประชาบดี” และ “เข็มเชิดชูเกียรติ” ประเภทสื่อที่นําเสนอกิจกรรมที่เปนประโยชนแกผูอยูในสภาวะ ยากลําบาก ประจําป 2559 ซึ่งจัดโดยกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย (พม.)

ดารา ชอง 8 และศิลปนคายอารสยาม อาทิ จินตหรา พูนลาภ อารสยาม โบวลิ่ง-ปริศนา กัมพูสิริ มังกร-ปภาวิน หงษขจร และ อารม-พิพัฒน คูลเจ จากคลื่นคูล 93 เขารับ รางวัลศิลปนเพือ่ สังคมไทยปลอดบุหรี่ ประจําป 2559 จาก เครือขาย สุขภาพวิชาชีพเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ ณ อาคาร แพทยสมาคมแหงประเทศไทย

มด-ณปภัช วัฒนากมลวุฒิ และ มังกร-ปภาวิน หงษขจร จากสถานีโทรทัศนชอง 8 ไดเขาพิธีเซ็นสัญญารับภารกิจ เปน ฑูตสมาคมปองกันการทารุณสัตวแหงประเทศไทย (TSPCA) เพื่อทําหนาที่เปนตัวแทนในการปองกัน ยับยั้ง และชวยเหลือสัตวที่ถูกทารุณกรรม


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

กุง-สุธิราช คายอารสยาม และพิธีกรรายการ “อึ้ง ทึ่ง เสียว” จากทางชอง 8 เขารับโลหประกาศเกียรติคุณ รางวัล “บุคคล ผูทําคุณประโยชนตอเด็กและเยาวชนประจําป 2559 สาขา สื่อมวลชนเพื่อเด็กและเยาวชนที่ปองกันปญหาสังคม” จาก สํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทกั ษเด็ก เยาวชน ผูด อ ยโอกาส คนพิการและผูสูงอายุ (สท.) กระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย

อารสยาม ตอกยํ้าความเปนคายเพลงลูกทุงอันดับ 1 ของเมืองไทย กวาด 6 รางวัลเกียรติยศจากทั้งหมด 15 รางวัล ในงานประกาศรางวัลมหานครอวอรดส ครั้งที่ 12 ประจําป 2558 ซึ่งจัดโดย FM 95 ลูกทุงมหานคร นําทีมโดยศิลปน แหงชาติ ชาย เมืองสิงห (สมเศียร พานทอง) บาววี อารสยาม (พันจาอากาศเอก วีรยุทธิ์ นานชา) กระแต-กระตาย อารสยาม (นิภาพร-ฐิฆพรณ บุญยะเลี้ยง) เดือนเพ็ญ อํานวยพร อารสยาม (อํานวย จันโทสี) และ นุช วิลาวัลย อารสยาม

กุง-สุธิราช วิรดา วงศเทวัญ และ หนูมิเตอร จากคายอารสยาม ไดรับประดับเข็มเครื่องหมายรูปกระเปาคันชีพฯ ประจําป 2559 จาก กรมทหารราบที่ 2 รักษาพระองค เนื่องจากเปนผูที่บําเพ็ญคุณงาม ความดี และใหการสนับสนุนกิจการของกรมทหารราบที่ 2ฯ ตลอดมา

กระแต อารสยาม เขารับรางวัล “เอ็มไทย ท็อป ทอลก อะเบาต 2016” สาขาศิลปน ที่ ถู ก กล า วถึ ง มากที่ สุ ด บนโลกออนไลน จากการสํารวจของเว็บไซตเอ็มไท

PAGE

87


PAGE

88


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง บริษัทฯ ใหความสําคัญตอการเสริมสรางการควบคุมภายใน ใหมีความเพียงพอและเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจ เพื่อเปนการปองกัน ทรัพยสินของบริษัทฯ ไมใหเกิดความเสียหาย หรือนําไปหาประโยชนโดยมิชอบ โดยมีฝายตรวจสอบกลางเปนหนวยงานทําหนาที่ ตรวจสอบการปฏิ บั ติ ง านและกิ จ กรรมทางการเงิ น ที่ สํ า คั ญ และรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหฝายตรวจสอบกลางมีความเปนอิสระเพียงพอในการปฏิบัติงาน ปจจุบันหัวหนางานผูตรวจสอบภายใน คือ นางสาวกรพินธุ นาคศุภรังษี มีตําแหนงเปน ผูชวยผูอํานวยการฝายตรวจสอบกลาง

คุณวุฒิทางการศึกษา/การอบรม : •

ปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เขารวมอบรมและสัมมนาตางๆ ที่จัดโดยสภาวิชาชีพบัญชี สมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย (สตท.) สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ประสบการณ การทํางาน : •

2536 - 2544

ผูชวยผูจัดการ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ออดิท จํากัด

ธันวาคม 2544 - ปจจุบัน

ผูชวยผูอํานวยการฝายตรวจสอบกลาง บมจ. อารเอส

ในการประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ 3 ทานเขารวมประชุม ดวย คณะกรรมการไดประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในโดยการซักถามขอมูลจากฝายบริหาร และการตอบแบบประเมิน ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ดวยตนเอง สรุปไดวา การประเมินระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ ในดานตางๆ 5 สวน คือ 1. องคกรและสภาพแวดลอม บริษัทฯ คํานึงถึงสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี โดยไดกําหนดใหมีนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทฯ และไดเผยแพรเพื่อใชอางอิงและถือปฏิบัติ ตลอดจนติดตามประเมินผลการปฏิบัติ ตามนโยบายฯ นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจอยางชัดเจน ทบทวนแผนธุรกิจ และให ขอสังเกตแกฝายจัดการไปพิจารณาดําเนินการ 2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มุงเนนใหความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยง โดยจัดใหมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อกําหนดนโยบาย กํากับดูแล และสนับสนุนใหการบริหารความเสี่ยงเปนไปตามนโยบาย หรือแผนงาน และสําเร็จลุลวง 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทฯ มีนโยบาย ระเบียบขอบังคับ วิธีปฏิบัติงาน อํานาจหนาที่ และอํานาจอนุมัติ เพื่อใหมีการควบคุมที่รัดกุม 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ จัดใหมีระบบสารสนเทศที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติงานทางบัญชีและการรายงาน ทางการเงิน อยางเปนระบบ และเปนไปตามนโยบาย และระเบียบขอบังคับที่ควบคุม 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทไดรับทราบผลการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเปาหมายทุกไตรมาส และมีฝายงาน ตรวจสอบภายในทําหนาที่ประเมินความเพียงพอและความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่มีอยูและตรวจสอบการ ปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในของหนวยงานตางๆ ตามแผนการตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบแลว คณะกรรมการมีความเห็นวา ปจจุบันบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในในเรื่องการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่เกี่ยวของกับบุคคลดังกลาวอยางเพียงพอแลว สําหรับการควบคุมภายในในหัวขออื่น คณะกรรมการเห็นวาบริษัทมีการควบคุม ภายในที่เพียงพอแลวเชนกัน

89


PAGE

90


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

นโยบายการต อต านการทุจริตคอร รัปชัน บริษัทฯ ตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน ดังนั้น ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2560 จึงไดมีการพิจารณา อนุมัตินโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชันเพื่อใหแนวทางปฏิบัติของบริษัทมีความ ชัดเจนยิ่งขึ้น

นโยบายและแนวทางปฏิบัติ คณะกรรมการบริษทั มุง มัน่ ในการดําเนินธุรกิจภายใตกรอบการปฏิบตั ติ ามนโยบายกํากับ ดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส เพื่อใหมีความโปรงใส และ ไมยอมรับการทุจริตคอรรัปชันในทุกรูปแบบ ตลอดจนสรางจิตสํานึกและคานิยมในเรื่อง ความซื่อสัตยสุจริต และการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน ใหเปนวัฒนธรรมองคกร โดยกําหนดใหมีการกํากับดูแล ควบคุมดูแล บริหารความเสี่ยง และระบบควบคุมภายใน เพื่อปองกันการทุจริตคอรรัปชันอยางมีประสิทธิภาพ แนวทางการปฏิบัติ ดังนี้ 1. กํ า หนดหลั ก การการให ห รื อ รั บ ของขวั ญ การรั บ ประโยชน แ ละการเกี่ ย วข อ ง ทางการเงิน ไวในคูมือจรรยาบรรณของกลุมบริษัทอารเอส 2. กําหนดระเบียบปฏิบัติในเรื่องตางๆ รวมถึงลําดับอํานาจอนุมัติไวอยางชัดเจน ไดแก การจัดซื้อจัดจางไมใหมีการใหหรือรับในลักษณะที่เปนการทุจริตคอรรัปชัน และใหดําเนินการตามคูมือการปฏิบัติงานฝายจัดหาจัดซื้อ เพื่อใหมีความชัดเจน และโปรงใส

การกํ า กั บ ดู แ ลและควบคุ ม ดู แ ลเพื่ อ ป องกันและติดตามความเสี่ยง จากการ ทุจริตคอร รปั ชัน และการติดตามประเมิน 3. จัดใหมีการควบคุมภายในอยางเพียงพอและเหมาะสม ไดแก การแบงแยกหนาที่ ผลการปฏิบัติตามนโยบายการต อต าน ความรับผิดชอบในงานอยางชัดเจนและเหมาะสม การอนุมัติหรือใหความเห็นชอบ การทุจริตคอร รัปชัน ตามลําดับชั้น การตรวจสอบ และการสอบทาน เปนตน

4. มีการสื่อสารนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี และคูมือจรรยาบรรณของกลุม บริษัทอารเอส รวมถึงนโยบายการตอตานการทุจริตคอรรัปชัน 5. จั ด ให มี ช  อ งทางการร อ งเรี ย นและการแจ ง เบาะแส ทั้ ง จากพนั ก งานและผู  มี ส ว นได เ สี ย อื่ น รวมทั้ ง ยั ง ได กํ า หนดมาตรการคุ  ม ครองและรั ก ษาความลั บ ของ ผูรองเรียน

การประเมินความเสี่ยงจากการทุจริต คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดมีการพิจารณาวางแผน ทบทวนระบบ และประเมิน ประสิทธิผลของการบริหารจัดการความเสี่ยงเปนประจําป ซึ่งครอบคลุมถึงความเสี่ยง ที่อาจเกิดจากการทุจริตคอรรัปชันดวย

1. จัดใหมีการสื่อสารและฝกอบรมแก พนักงานทุกคนเพือ่ ใหความรูเ กีย่ วกับ นโยบายและแนวปฏิ บั ติ ใ นการ ตอตานการทุจริตคอรรัปชัน 2. เปดโอกาสใหพนักงานในทุกระดับ ไดเสนอความคิดเห็น และขอเสนอแนะ เพื่ อ การพั ฒ นาการควบคุ ม ภายใน รวมถึงการปองกันการทุจริตคอรรปั ชัน ใหเหมาะสมและรัดกุมมากขึ้น

91


PAGE

92

3. กรรมการ ผูบริหาร หรือหัวหนางานในทุกระดับมีหนาที่สอดสองติดตามไมใหผูใตบังคับบัญชาฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามจริยธรรม ในเรื่องนี้ รวมถึงสื่อสารและใหความรูกับผูเกี่ยวของ 4. ฝายตรวจสอบกลางปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามแผนงานตรวจสอบประจําปที่กําหนดไว หากตรวจพบความเสี่ยงหรือการกระทํา ซึ่ ง ส ง ผลกระทบที่ มี นั ย สํ า คั ญ ในเรื่ อ งเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ การทุ จ ริ ต คอร รั ป ชั น ให นํ า เสนอข อ มู ล ต อ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท 5. ชองทางในการแจงเบาะแสและรองเรียน ในกรณีที่พบเห็นการกระทําที่ฝาฝนนโยบายดังกลาว ทั้งจากพนักงานเอง และผูมี สวนไดเสียอื่น สามารถรองเรียนหรือใหขอมูลผานชองทางอีเมล : IA_Anti_Corr@rs.co.th และใหความรวมมือในการตรวจสอบ ขอเท็จจริงตางๆ

มาตรการคุ มครองและรักษาความลับของผู ร องเรียน บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการเก็บขอมูลรองเรียนเปนความลับเพื่อสรางความมั่นใจใหแกผูรองเรียน และเรื่องรองเรียนดังกลาว จะรับรูเฉพาะในกลุมบุคคลที่ไดรับมอบหมายและเกี่ยวของดวยเทานั้น และบุคคลใดๆ ที่ไดรับทราบเรื่องรองเรียน หรือขอมูลที่เกี่ยวของ กับเรื่องรองเรียน จะตองปกปองขอมูลเรื่องรองเรียน หรือขอมูลที่เกี่ยวของกับเรื่องรองเรียนใหเปนความลับ และไมเปดเผยตอ บุคคลอื่น เวนแตเปนการใหขอมูลเพื่อการตรวจสอบขอเท็จจริงตามกระบวนการ หรือตามที่กฎหมายกําหนด หากมีการจงใจฝาฝน นําขอมูลไปเปดเผย บริษัทฯ จะดําเนินการลงโทษทางวินัยและ/หรือดําเนินการทางกฎหมายแลวแตกรณี


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

93


PAGE

94

รายการระหว างกัน รายละเอียดขอมูลของรายการระหวางกัน ระหวางบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทที่เกี่ยวของกันไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินของบริษัทฯ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ไดสอบทานรายการระหวางกัน ของบริษัทฯ แลวมีความเห็นวารายการระหวางกันดังกลาว เปนไปตามเงื่อนไขการคาโดยทั่วไปและเปนไปตามหลักเกณฑตาม ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มีหลักฐานการทํารายการครบถวน ตลอดจนมีการเปดเผยในงบการเงินอยางเพียงพอ ในป 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจตามปกติกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงตั้งแต วันที่ 1 มกราคม 2559 ดังตอไปนี้ บุคคลที่อาจมีความขัดแย ง

ความสัมพันธ

นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 33.09 ในบริษัทฯ

บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด

นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 18.70 ในบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด นางสุจีรา เชษฐโชติ ผูถือหุนรอยละ 6.30 ของ บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และเปนภรรยาของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ซึ่งเปนกรรมการและผูถือหุน รอยละ 33.09 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ นายสุวัฒน เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการ และถือหุนรอยละ 14.35 ในบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และถือหุนรอยละ 0.04 ในบริษัทรวมทั้ง เปนนองชายของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ นางสาวมาลี เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 14.50 ใน บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และเปนพี่สาวของ นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ และนายสุวัฒน เชษฐโชติศักดิ์

บริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด

นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ เปนกรรมการและถือหุนรอยละ 50.00 โดยรวมการถือหุนของภรรยาดวย ในบริษัท เชษฐโชติ จํากัด ซึ่งเปน ผูถือหุนรายใหญของบริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด นายโชติ เชษฐโชติศักดิ์ ผูถือหุนรอยละ 10.00 ในบริษัทเม็มเบอรชิปจํากัด และถือหุนรอยละ 0.08 ในบริษัทฯ และเปนบุตรชายของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ นายเชษฐ เชษฐโชติศักดิ์ ผูถือหุนรอยละ 30.00 ในบริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด และถือหุนรอยละ 1.36 ในบริษัทฯ และเปนบุตรชายของนายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์

หมายเหตุ สัดสวนการถือหุนของบุคคลที่อาจมีความขัดแยงในบริษัทฯ เปนขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

ลักษณะรายการระหว างกัน เงื่อนไขและนโยบายราคา การกําหนดราคาของรายการระหวางกันกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน สวนใหญเปนการใหเชาทรัพยสิน ไดกระทําโดยคํานึงถึงความ เหมาะสมโดยอางอิงไดกับราคาตลาดและมีเงื่อนไขอื่นๆ ไมแตกตางอยางเปนสาระสําคัญจากตลาด โดยลักษณะของรายการ ระหวางกันประกอบไปดวย

การเช าอาคาร งบการเงิ น สํ า หรั บ ป สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2559 บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย อ ยได ชํ า ระค า เช า อาคาร ค า บริ ก ารส ว นกลาง คาสาธารณูปโภค และคาบริการอื่นๆ ใหแก บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด บริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด (เดิมชื่อ บริษัท เอส.เอส.ทู.ซี จํากัด) และคณะบุคคลเชษฐโชติศักดิ์ (ซึ่งถือเปนบุคคลที่อาจมีความขัดแยงกัน) เปนจํานวน 70.14 ลานบาท 10.70 ลานบาท และ 0.26 ลานบาท ตามลําดับ บริษัทฯ ไดมีการเชาอาคารเชษฐโชติศักดิ์ 1 - 3 จากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนอาคารสํานักงาน โดยคิดคาเชาและคาบริการสวนกลาง ในอัตรา 327 บาทตอตารางเมตร ซึ่งมีความสมเหตุสมผลเมื่อเทียบกับอาคารที่อยูในบริเวณ ใกลเคียงกับบริษัทฯ ซึ่งคิดคาเชาและคาบริการในอัตรา 480 - 690 บาทตอตารางเมตร สวนการเชาอาคารอื่นในบริเวณใกลเคียงจากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และบริษัท เม็มเบอรชิป จํากัด นั้น (รายละเอียดในตาราง คาเชาอาคารสํานักงาน ขอ 4 5 และ 6) มีการเรียกเก็บคาเชาและคาบริการสวนกลางแบบเหมารวม (การคิดคาบริการแบบเหมารวม หมายถึง การคิดคาเชาและคาบริการรวมตออาคารทั้งหลัง แทนที่จะคิดเปนตารางเมตร โดยคิดราคาตามสภาพของอาคารแตละอาคาร ที่ใหเชา) โดยมีวัตถุประสงคของการเชาเพื่อใชเปนอาคารสํานักงาน และอาคารจอดรถของบริษัทฯ ทั้งนี้ อาคารสํานักงานที่ทางบริษัทฯ ไดทําการเชาจากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด (ตารางคาเชาอาคารสํานักงาน ขอ 5 และ 6 ซึ่งอยูในบริเวณติดกับอาคารเชษฐโชติศักดิ์ 2) เปนอาคารที่ทางบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด ไดทําการเชาชวงตอมาจากนายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์ และนํามาปรับปรุงพื้นที่ลักษณะการใชงานจากบานทาวนเฮาส มาเปนอาคารสํานักงาน พรอมใหบริการอํานวย ความสะดวกเกี่ยวกับสาธารณูปโภคตางๆ และคิดคาเชา/คาบริการในอัตราเหมารวม โดยมีอัตราเฉลี่ยประมาณ 287 บาทตอ ตารางเมตร (คํานวณจากคาเชา/คาบริการที่คิดในอัตราเหมารวมหารพื้นที่ใชสอยโดยประมาณของอาคาร) ซึ่งเปนอัตราที่ตํ่ากวาอาคาร เชษฐโชติศักดิ์ 1 - 3 โดยอัตราดังกลาวมีความสมเหตุสมผลตามรายละเอียดที่เปรียบเทียบตามวรรคกอน อนึ่ง สาเหตุหลักที่บริษัทฯ ทําการเชาชวงตอจาก บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด นั้น เนื่องจากบริษัทดังกลาวมีความชํานาญเชี่ยวชาญในการบริหารสํานักงานเชา ไดดีโดยสัญญาเชาที่ทํากับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีรายละเอียดดังตารางตอไปนี้

95


PAGE

96

ค าเช าอาคารสํานักงาน ผู เช า

พื้นที่ (ตรม.)

ค าเช าและ ค าบริการ/ เดือน (ล านบาท)

เริ่ม

สิ้นสุด (*)

อนุมัติ รายการโดย (**)

1. อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 1 บจ. เลขที่ 419/1 เชษฐโชติศักดิ์ ซอยลาดพราว15 เขตจตุจักร กทม.

บมจ. อารเอส

3,745

1.22

มิ.ย. 58

พ.ค. 61

คณะกรรมการ

2. อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 2 บจ. เลขที่ 419/2 เชษฐโชติศักดิ์ ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

บมจ. อารเอส บจ. คลูลิซึ่ม บจ. ไลฟสตาร

4,645 1,200 200

1.52 0.39 0.07

มิ.ย. 58 มิ.ย. 58 มิ.ย. 58

พ.ค. 61 พ.ค. 61 พ.ค. 61

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ

บจ. 3. อาคารเชษฐโชติศักดิ์ 3 เชษฐโชติศักดิ์ เลขที่ 419/3 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

บมจ. อารเอส

2,242

0.73

มิ.ย. 58

พ.ค. 61

คณะกรรมการ

บมจ. อารเอส (ราคา เหมารวม) (***)

0.76

ม.ค. 59

ธ.ค. 61

คณะกรรมการ

อาคาร/ที่ตั้ง

ผู ให เช า/ ผู เช าช วง

อายุสัญญา

4. อาคารเลขที่ 419/4 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

บจ. เม็มเบอรชิป

5 อาคารเลขที่ 203/18-20 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

นายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์/ บจ. เชษฐโชติศักดิ์

บมจ. อารเอส

(ราคา เหมารวม)

0.19

มิ.ย. 58

พ.ค. 61

คณะกรรมการ

6. อาคารเลขที่ 203/34-36 ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

นายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์/ บจ. เชษฐโชติศักดิ์

บจ. จัดเก็บ ลิขสิทธิ์ไทย

(ราคา เหมารวม)

0.15

มิ.ย. 58

พ.ค. 61

คณะกรรมการ

หมายเหตุ *

สามารถตออายุของสัญญาเชาออกไปไดอีก เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาเชา (การตออายุสัญญาเชาดังกลาว ไมเปนไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งตองมีการพิจารณาสัญญาใหมทุกครั้ง) ** รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นไดมีการอนุมัติรายการและเปดเผยขอมูลตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนแลว *** ระยะเวลาเชา 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561 เปลี่ยนชื่อผูเชาจากเดิม บมจ.อารเอส เปน บริษัท อาร. เอส. เทเลวิชั่น จํากัด


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

97

การเช าที่ดิน งบการเงินสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ และบริษัทยอยไดชําระคาเชาที่ดิน ใหแก บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และคณะบุคคลเชษฐโชติศักดิ์ เปนจํานวนเงิน 0.32 ลานบาท บริษัทฯ และบริษัทยอยไดมีการเชาที่ดินจากบริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด และคณะบุคคลเชษฐโชติศักดิ์ ซึ่งเปนที่ดินที่เชาชวงตอมา จาก นายเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์ มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนโรงเก็บอุปกรณและรานคา โดยคิดคาเชาที่ดินในอัตราตารางวาละ 36 - 105 บาท ซึ่งมีความสมเหตุสมผลเมื่อเปรียบเทียบกับการเชาที่ดินในบริเวณใกลเคียง รายละเอียดการเชามีดังตารางตอไปนี้ อายุสัญญา

อนุมัติ รายการโดย (**)

ผู ให เช า/ ผู เช าช วง

ผู เช า

พื้นที่ (ตรม.)

ค าเช า/ เดือน (บาท)

เริ่ม

สิ้นสุด (*)

1. ที่ดิน ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

คณะบุคคล เชษฐโชติศักดิ์

บมจ. อารเอส

152 ตร.วา

22,000

มิ.ย. 58

พ.ค. 61

ดําเนินการโดย ฝายจัดการ

2. ที่ดิน ซอยลาดพราว 15 เขตจตุจักร กทม.

บจ. เชษฐโชติศักดิ์

บจ. ไลฟสตาร

52 ตร.ม

5,500

มิ.ย. 58

ก.ค. 61

ดําเนินการโดย ฝายจัดการ

ที่ตั้ง

หมายเหตุ *

สามารถตออายุของสัญญาเชาออกไปไดอีก เมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาเชา (การตออายุสัญญาเชาดังกลาว ไมเปนไปโดยอัตโนมัติ ซึ่งตองมีการพิจารณาสัญญาใหมทุกครั้ง) ** สัญญาที่ดําเนินการโดยฝายจัดการเนื่องจากขนาดของรายการไมถึงเกณฑที่ตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนแลว

การซื้อทรัพย สินถาวร -ไมมี-

การคํ้าประกัน -ไมมี-


PAGE

98

ความจําเป นและความสมเหตุสมผลของการทํารายการระหว างกัน รายการระหวางกันที่เกิดขึ้นนั้นมีความจําเปนและความสมเหตุสมผลของการทํารายการเพื่อกอใหเกิดประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ ซึ่งในป 2559 ที่ผานมา บริษัทฯ มีรายการระหวางกันที่เกิดขึ้นกับบริษัทยอย และกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง โดยมีรายการหลักๆ อันไดแก การเชาที่ดิน การเชาอาคารเพื่อใชเปนอาคารสํานักงาน หรือเพื่อการดําเนินธุรกิจ และรายการคํ้าประกันซึ่งเปนรายการ ที่ดําเนินตามธุรกิจปกติ ไมมีเงื่อนไขพิเศษ และไมมีการถายเทผลประโยชน ระหวางบริษัทฯ และผูที่เกี่ยวของ การกําหนดราคา อัตราคาธรรมเนียม และ/หรือ อัตราดอกเบี้ย เปนการกําหนดตามราคาที่สอดคลองกับอัตราปกติที่สามารถเปรียบเทียบไดกับการ ทํารายการกับบุคคลอื่นที่ไมมีความเกี่ยวของกัน ซึ่งไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจําป 2559 แลว คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ไดสอบทานรายการระหวางกันของบริษัทฯ และบริษัทยอย และกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง อันไดแก การเชาที่ดิน การเชาอาคาร รายการซื้อขายสินคา หรือทรัพยสิน คาลิขสิทธิ์ การรับจางผลิต งานคอนเสิรตและกิจกรรม การตลาด การขายโฆษณา คาบริการ และดอกเบี้ยเงินกู ฯลฯ ซึ่งไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินประจําป 2559 แลว มีความเห็นวา รายการดังกลาวเปนรายการที่ดําเนินตามธุรกิจปกติ มีความจําเปนและความสมเหตุสมผลของการทํารายการเพื่อ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ

มาตรการ หรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหว างกัน บริษัทฯ มีนโยบายในการทํารายการระหวางกัน คือ รายการระหวางกันนั้น ตองอยูบนพื้นฐานของความจําเปน ความสมเหตุสมผล และเป น การดํ า เนิ น การเพื่ อ ก อ ให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด ต อ กลุ  ม บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง เป น ไปในราคา และเงื่ อ นไขที่ ไ ม แ ตกต า งกั บ รายการ ที่มีกับบุคคลภายนอกที่ไมเกี่ยวของกัน และในกรณีที่มีรายการระหวางกันที่มีสาระสําคัญ บริษัทฯ จะจัดใหผานการอนุมัติจาก คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัท รวมถึงที่ประชุมผูถือหุนตามแตกรณี โดยกําหนดใหการออกเสียงในที่ประชุมนั้นๆ กรรมการ หรือผูถือหุน ซึ่งมีสวนไดเสีย จะไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ทั้งนี้ การดําเนินการใดๆ จะตองเปนไปตามประกาศที่เกี่ยวของ ของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน

นโยบายหรือแนวโน มการทํารายการระหว างกันรวมทั้งการได มาหรือจําหน ายไปซึ่งสินทรัพย ในอนาคต บริษัทฯ ยังคงมีนโยบายหรือแนวโนมในการทํารายการระหวางกันในอนาคตกับบริษัทที่เกี่ยวของกันตอไป เชน การเชาอาคารสํานักงาน การเชาที่ดิน และการคํ้าประกันเงินกูของบริษัทในกลุมโดยบริษัทฯ อยางไรก็ตามบริษัทฯ ไมมีนโยบายที่จะทํารายการกับบุคคล ที่ อ าจขั ด แย ง กั น ยกเว น ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ฯ เห็ น ว า จะได รั บ ผลตอบแทนสู ง สุ ด ซึ่ ง เป น ไปในราคาและเงื่ อ นไขที่ ไ ม แ ตกต า งหรื อ ดีกวาจากบุคคลภายนอก ซึ่งบริษัทฯ จะกําหนดใหผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผูถือหุนในกรณีที่เปน รายการตามประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

99


PAGE

100

ข อมูลทางการเงินที่สําคัญ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 พันบาท ร อยละ

31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร อยละ

31 ธันวาคม 2559 พันบาท ร อยละ

381,535

757,112

15.6%

103,762

2.5%

0.1% 4,522 24.1% 875,712 2.3% 163,095 0.6% 40,928 0.1% 97,985 35.5% 1,939,354

0.1% 18.1% 3.4% 0.8% 2.0% 40.0%

647,567 129,680 67,630 1,483 950,123

15.6% 3.1% 1.6% 0.0% 23.0%

0.1% 7.9%

4,104 473,046

0.1% 11.4%

37.2% 1,666,431 6.7% 551,610 35,417 2.7% 124,080 4.7% 303,618 0.6% 30,860 60.0% 3,189,166 100.0% 4,139,289

40.3% 13.3% 0.9% 3.0% 7.3% 0.7% 77.0% 100.0%

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน : เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น - เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) สินคาคงเหลือ (สุทธิ) ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน : เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) คาใชจายลวงหนาเกินป ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย (สุทธิ) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

4,465 1,100,765 106,767 25,694 6,601 1,625,826

5,406 388,231 1,937,315 372,633 92,454 117,361 37,359 2,950,757 4,576,584

8.3%

0.1% 8.5%

5,103 384,016

42.3% 1,802,058 8.1% 323,571 2.0% 130,538 2.6% 228,020 0.8% 31,266 64.5% 2,904,572 100.0% 4,843,927


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

101

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 พันบาท ร อยละ

31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร อยละ

31 ธันวาคม 2559 พันบาท ร อยละ

หนี้สินและสวนของเจาของ หนี้สินหมุนเวียน : เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงินที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป (สุทธิ) คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศนคางจาย ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป (สุทธิ) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ประมาณการคาเผื่อการรับคืนสินคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดคางจาย ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน : หนี้สินภายใตสัญญาเชาทางการเงิน (สุทธิ) เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศนคางจาย (สุทธิ) ประมาณการผลขาดทุนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

840,927 7,655

235,349 36,735 57,379 84,102 23,338 1,285,484

5,103 1,467,594 3,705 65,351 6,017 1,547,771 2,833,255

18.4% 1,419,374 0.2%

5,865

5.1% 361,675 0.8% 14,366 1.3% 48,410 1.8% 37,642 0.5% 11,949 28.1% 1,899,282

0.1% -

7,206 -

32.1% 1,105,919 0.1% 1,659 1.4% 85,546 0.1% 17,156 33.8% 1,217,486 61.9% 3,116,768

29.3%

589,116

14.2%

0.1%

11,668

0.3%

7.5% 378,076 - 706,000 0.3% 1,892 1.0% 43,962 0.8% 22,905 0.2% 15,150 39.2% 1,768,769

9.1% 17.1% 0.0% 1.1% 0.6% 0.4% 42.7%

0.1% -

24,702 444,060

0.6% 10.7%

22.8% 727,843 0.0% 1.8% 97,959 0.4% 16,432 25.1% 1,310,996 64.3% 3,079,765

17.6% 2.4% 0.4% 31.7% 74.4%


PAGE

102

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2557 พันบาท ร อยละ

31 ธันวาคม 2558 พันบาท ร อยละ

31 ธันวาคม 2559 พันบาท ร อยละ

หนี้สินและสวนของเจาของ (ตอ) สวนของเจาของ : ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 1,026,000,280 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 1,013,591,880 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 1,022,346,046 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท หุนสามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ หุนสามัญซื้อคืน สวนตางระหวางราคาซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย ที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับมูลคาสุทธิ ตามบัญชีของบริษัทยอย กําไรสะสม จัดสรรแลว-ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรแลว-สํารองหุนสามัญซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม รวมสวนของเจาของ รวมหนี้สินและสวนของเจาของ

1,026,000

22.4% 1,013,592

1,022,346 255,225 (74,672)

(16,594) 69,910 74,672 382,381 1,713,268 30,061 1,743,329 4,576,584

20.9% 1,009,938

24.4%

22.3% - 1,009,938 5.6% 255,825 (1.6%) -

20.9% 1,009,938 5.3% 255,825 - (465,275)

24.4% 6.2% (11.2%)

(0.4%)

(0.3%)

(16,594)

1.5% 91,781 1.6% 8.4% 375,901 37.4% 1,716,850 0.7% 10,308 38.1% 1,727,159 100.0% 4,843,927

หมายเหตุ : งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จัดประเภทรายใหม โดยฝ ายจัดการ

-

-

1.9% 100,895 465,275 7.8% (317,336) 35.4% 1,049,321 0.2% 10,203 35.7% 1,059,524 100.0% 4,139,289

2.4% 11.2% (7.7%) 25.4% 0.2% 25.6% 100.0%


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

103

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ รายได รายไดจากการขาย 311,682 รายไดจากการใหบริการ 3,994,770 รวมรายไดจากการขายและใหบริการ 4,306,451 รายไดอื่น 26,925 รวมรายได 4,333,377 ตนทุน ตนทุนขาย (277,516) ตนทุนการใหบริการ (2,640,518) รวมตนทุนขายและการใหบริการ (2,918,034) คาใชจาย คาใชจายในการขาย (322,500) คาใชจายในการบริหาร (535,930) คาใชจายอื่น (4,016) รวมคาใชจาย (862,446) 552,897 กําไร (ขาดทุน) กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน (77,802) กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได 475,095 (คาใชจาย) รายไดภาษีเงินได (107,452) กําไร (ขาดทุน) สําหรับป 367,644 กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จะไมจัดประเภทรายการใหมเขาไปไวใน กําไรหรือขาดทุนในภายหลัง - กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนพนักงาน 1,567 - การเปลี่ยนแปลงสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี เกี่ยวกับ - กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนพนักงาน (313) กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป 368,897

พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ

พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ

7.2% 795,468 92.2% 2,933,238 99.4% 3,728,706 0.6% 51,551 100.0% 3,780,258

21.0% 838,345 77.6% 2,286,574 98.6% 3,124,919 1.4% 123,590 100.0% 3,248,509

25.8% 70.4% 96.2% 3.8% 100.0%

(6.4%) (379,644) (60.9%) (2,323,358) (67.3%) (2,703,002)

(10.0%) (399,755) (61.5%) (1,931,248) (71.5%) (2,331,004)

(12.3%) (59.5%) (71.8%)

(7.4%) (12.4%) (0.1%) (19.9%) 12.8% (1.8%) 11.0% (2.5%) 8.5%

(345,119) (531,188) (83) (876,390) 200,865 (81,085) 119,781 12,330 132,110

(9.1%) (14.1%) (0.0%) (23.2%) 5.3% (2.1%) 3.2% 0.3% 3.5%

(441,939) (516,763) (1,907) (960,609) (43,104) (83,373) (126,477) 24,235 (102,241)

(13.6%) (15.9%) (0.1%) (29.6%) (1.3%) (2.6%) (3.9%) 0.7% (3.1%)

0.0%

-

-

-

-

(0.0%) 8.5%

132,110

3.5%

(102,241)

(3.1%)


PAGE

104

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

การแบงปนกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

กําไร (ขาดทุน) ตอหุนสวนที่เปนของบริษัทใหญ กําไร (ขาดทุน) ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) จํานวนหุนสามัญ (พันหุน)

พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ

พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ

340,975 26,669 367,644

7.9% 0.6% 8.5%

121,634 10,476 132,110

3.2% 0.3% 3.5%

(102,145) (96) (102,241)

(3.1%) (0.0%) (3.1%)

341,819 27,078 368,897

7.9% 0.6% 8.5%

121,634 10,476 132,110

3.2% 0.3% 3.5%

(102,145) (96) (102,241)

(3.1%) (0.0%) (3.1%)

0.3465 983,958

0.1208 1,006,635

หมายเหตุ : งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จัดประเภทรายการใหม โดยฝ ายจัดการ

(0.1043) 978,992


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

105

งบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) กอนภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญภาษีเงินไดหัก ณ ที่จาย (กลับรายการ) คาเผื่อสินคาลาสมัย (กลับรายการ) ขาดทุนจากการทําลายสินคา กลับรายการประมาณการคาเผื่อการรับคืนสินคา คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยไมมีตัวตน (กลับรายการ) คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยหมุนเวียนอื่น และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (กลับรายการ) คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม ขาดทุนจากการประมาณการหนี้สิน (กลับรายการ) (กําไร) ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพย ไมมีตัวตน และอาคารและอุปกรณ (กําไร) ขาดทุนจากการจําหนายอาคารและอุปกรณ ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ดอกเบี้ยรับ ตนทุนทางการเงินดอกเบี้ยจาย การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น คาใชจายลวงหนาเกินป สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ภาษีเงินไดหัก ณ ที่จายคางจาย หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กอนดอกเบี้ยรับตนทุนทางการเงินจาย และภาษีเงินไดจาย รับคืนภาษีถูกหัก ณ ที่จาย เงินสดจายภาษีเงินได เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ

พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ

475,095

124.5%

119,781

15.8%

(126,477)

(121.9%)

1,078,491 4,294

282.7% 1.1%

546,667 19,176

72.2% 2.5%

468,499 4,932

451.5% 4.8%

2,635 (7,491) (37,733)

0.7% (2.0%) (9.9%)

(3,114) 29,915 3,889 (22,369)

(0.4%) 4.0% 0.5% (3.0%)

(1,361) 17,555 6,960 (12,474)

(1.3%) 16.9% 6.7% (12.0%)

19,719

5.2%

(4,490)

(0.6%)

15,153

14.6%

(302) 90 1,756

(0.1%) 0.0% 0.5%

673 303 (2,045)

0.1% 0.0% (0.3%)

(1,010) 999 -

(1.0%) 1.0% -

306 17,151 (2,957) 77,802 1,628,857

0.1% 4.5% (0.8%) 20.4% 426.9%

808 (744) 20,194 (2,455) 81,085 787,272

0.1% (0.1%) 2.7% (0.3%) 10.7% 104.0%

456 (419) 12,414 (1,742) 83,373 466,858

0.4% (0.4%) 12.0% (1.7%) 80.4% 449.9%

(36,910) (60,365) (17,330) 8,312 10,857 (6,164) 7,849 (3,456)

(9.7%) (15.8%) (4.5%) 2.2% 2.8% (1.6%) 2.1% (0.9%)

205,862 (90,133) (24,203) (91,212) 5,189 588,867 (11,389) 11,139

27.2% (11.9%) (3.2%) (12.0%) 0.7% 77.8% (1.5%) 1.5%

223,220 8,900 (31,150) 96,948 (35,417) 970 (850,748) 3,200 (2,384)

215.1% 8.6% (30.0%) 93.4% (34.1%) 0.9% (819.9%) 3.1% (2.3%)

1,531,652 883 (155,875) 1,376,660

401.4% 0.2% (40.9%) 360.8%

1,381,392 12,298 (192,056) 1,201,634

182.5% 1.6% (25.4%) 158.7%

(119,603) 61,887 (120,167) (177,883)

(115.3%) 59.6% (115.8%) (171.4%)


PAGE

106

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 พันบาท ร อยละ

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากดอกเบี้ยรับ เงินใหกยู มื ระยะสัน้ แกบคุ คลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกันเพิม่ ขึน้ รับชําระเงินใหกูยืมระยะสั้นแกบุคคล และกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกพนักงานลดลง เงินลงทุนชัว่ คราว-เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน เงินสดจายซื้อที่ดนิ อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพยไมมีตัวตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายชําระดอกเบี้ย เงินรับจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จายชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินรับจากเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน จายชําระเงินกูยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จายชําระหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน เงินสดจายใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ และประกอบการโทรทัศน จายชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน จายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมลดลงจากการจายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมลดลงจากการจายเงินลดทุน เงินสดรับจากการเพิ่มทุน เงินสดรับจากการจําหนายหุนซื้อคืน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือปลายป รายการที่มิใชเงินสด เจาหนี้คงคางจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เจาหนี้คงคางจากการซื้อสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม เจาหนี้คงคางจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ภายใตสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน คางจาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม ดอกเบีย้ คางรับจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม คาเผื่อดอกเบี้ยคางรับจากกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม ลดทุนหุนสามัญซื้อคืน สวนเกินมูลคาทุนสามัญที่ลดลงจากการลดทุนหุนสามัญซื้อคืน

พ.ศ. 2558 พันบาท ร อยละ

พ.ศ. 2559 พันบาท ร อยละ

3,139 (91,000)

0.8% (23.9%)

2,471 (68,500)

0.3% (9.0%)

1,735 (30,000)

1.7% (28.9%)

91,000 41 (74) (141,258) 473 (550,934) (688,614)

23.9% 0.0% (0.0%) (37.0%) 0.1% (144.4%) (180.5%)

68,500 59 (57) (88,984) 8,694 (274,409) 531 (351,696)

9.0% 0.0% (0.0%) (11.8%) 1.1% (36.2%) 0.1% (46.5%)

30,000 4,522 (139,435) 6,949 (471,238) (597,467)

28.9% 4.4% (134.4%) 6.7% (454.2%) (575.8%)

(26,195) 755,000 (755,000) 65,000 (351,915) (6,133)

(6.9%) 197.9% (197.9%) 17.0% (92.2%) (1.6%)

(13,365) 470,000 (470,000) (10,216)

(1.8%) (28,400) (27.4%) 62.1% 3,046,000 2,935.6% (62.1%) (2,340,000) (2,255.2%) 444,060 428.0% (1.3%) (19,266) (18.6%)

(340,500) (8,000) (310,955) (10) 100,049 (878,658)

(89.2%) (2.1%) (81.5%) (0.0%) 26.2% (230.3%)

(302,500) (180,916) (11,478) (18,750) 62,864 (474,361)

(40.0%) (23.9%) (1.5%) (2.5%) 8.3% (62.7%)

(415,000) (100,109) (9) (465,275) 122,001

(400.0%) (96.5%) (0.0%) (448.4%) 117.6%

(190,612) 572,147 381,535

(50.0%) 150.0% 100.0%

375,576 381,535 757,112

49.6% 50.4% 100.0%

(653,350) 757,112 103,762

(629.7%) 729.7% 100.0%

19,459

9,039

28,752

-

-

416

-

9,960

41,278

1,702,942 -

-

2,490

-

(52,347) 39,939

(2,490) -

หมายเหตุ : งบกระแสเงินสด สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จัดประเภทรายการใหม โดยฝ ายจัดการ


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

107

อัตราส วนทางการเงินที่สําคัญ ป 2557 2558 และ 2559 งบการเงินรวม พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง (เทา) อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา) อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด (เทา) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน) อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ (เทา) ระยะเวลาชําระหนี้ (วัน) Cash Cycle (วัน)

1.26 0.97 1.07 5.25 69 33.48 11 19.29 19 61

1.02 0.75 0.75 4.87 75 16.85 22 17.79 21 76

0.54 0.34 -0.10 5.36 68 11.91 31 15.58 23 76

อัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไร อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไรจากการดําเนินงาน (%) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร (%) อัตรากําไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%)

32.24% 12.21% 261.74% 7.87% 20.69%

27.51% 4.00% 804.77% 3.22% 7.09%

25.41% -5.33% N/A -3.14% -7.39%

อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร (%) อัตราการหมุนของสินทรัพย (เทา)

14.69% 128.83% 1.15

4.26% 55.93% 0.80

-0.96% 0.51% 0.72

อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash basis) (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%)

1.65 7.11 0.72 88.41%

1.82 2.48 1.15 83.03%

2.94 -0.52 -0.06 -

ขอมูลตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท) กําไร (ขาดทุน) ตอหุนสวนที่เปนของบริษัทใหญ (บาท)

1.7353 0.3465

1.7102 0.1208

1.0961 -0.1043


PAGE

108


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

109

การวิเคราะห และคําอธิบายของฝ ายจัดการ การวิเคราะหและคําอธิบายของฝายจัดการในสวนนี้ไดจัดทําขึ้นจากผลประกอบการรวมของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ (“บริษัทฯ”) ตามงบการเงินที่ผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชี เพื่อประโยชนในการแสดงภาพผลประกอบการ โดยรวมของบริษัทฯ ไดมีการจัดแบงกลุมธุรกิจหลัก ออกเปน 4 กลุมหลัก ไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจเพลง ธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม และธุรกิจสุขภาพและความงาม ดังตาราง กลุ มธุรกิจ 1) ธุรกิจสื่อ

ประเภท ธุรกิจสื่อโทรทัศน

“ชอง 8” “ชอง 2” “สบายดีทีวี” “You Channel”

ธุรกิจสื่อวิทยุ

“COOL Fahrenheit 93”

2) ธุรกิจเพลง

- ธุรกิจดิจิตอล - ธุรกิจจัดเก็บลิขสิทธิ์ - ธุรกิจบริหารศิลปน (1)

3) ธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม

-

4) ธุรกิจสุขภาพและความงาม

จัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด งานรับจางผลิต กลุมผลิตภัณฑดูแลผิวหนา กลุมบํารุงเสนผมและหนังศีรษะ กลุมอาหารเสริม

หมายเหตุ : (1) ป 2559 ธุรกิจบริหารศิลปนจัดกลุมธุรกิจใหมโดยอยูภายใตธุรกิจเพลง (เดิมอยูกลุมธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม)

1. ภาพรวมธุรกิจ ภาพรวมธุรกิจสื่อโทรทัศนและวิทยุทั้งอุตสาหกรรมสําหรับป 2559 ปรับตัวลดลงจากผลกระทบของการงดเผยแพรรายการทั้งภาพ และเสียงที่แสดงถึงความรื่นเริง โดยนําเสนอเพียงขาว พรอมทั้งเผยแพรขอมูลขาวสารการถายทอดภาพและเสียงเกี่ยวกับการ เสด็จสวรรคตและงานพระบรมศพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ อยางตอเนื่องเปนเวลา 30 วันภายหลัง วันที่ 13 ตุลาคม 2559 โดยตลาดสื่อและโฆษณายังไดรับผลกระทบอยางตอเนื่องจนถึงปลายป 2559 โดยหากพิจารณาการใชงบโฆษณา (ADEX) ผานสื่อโทรทัศนและวิทยุจากผลการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) ชี้ใหเห็นวา เม็ดเงินโฆษณา ของป 2559 เทียบกับป 2558 ลดลง 13,802 ลานบาท ซึ่งเปนผลมาจากการลดลงของเม็ดเงินโฆษณาผานทั้งโทรทัศนและวิทยุ อยางไรก็ตาม ในสวนของโทรทัศนระบบดิจิตอลนั้นมีสัดสวนการใชงบโฆษณาลดลงนอยที่สุด โดยลดลงเพียง 538 ลานบาท หรือลดลง รอยละ 2.6 ตามดวยการใชงบโฆษณาผานวิทยุที่ลดลง 413 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 7.3 ธุรกิจสื่อโทรทัศนโดยรวมนั้น เม็ดเงินโฆษณาลดลงสะทอนจากจํานวนผูชมโทรทัศนเฉลี่ยเดือนธันวาคม ป 2559 ลดลงเมื่อเทียบกับ ชวงเวลาเดียวกันของป 2558 กวารอยละ 4.3 ของจํานวนผูชมทั่วประเทศ อยางไรก็ตาม สัดสวนผูชมโทรทัศนในระบบดิจิตอล มีจํานวนสูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 43.7 ในเดือนธันวาคม ป 2559 เทียบกับรอยละ 29.3 ในเดือนธันวาคม ป 2558


PAGE

110

2. สรุปผลการดําเนินงานสําหรับป 2559 งบการเงินรวมของบริษัทฯ สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญจํานวน 102.1 ลานบาท ลดลง 223.7 ลานบาท จากปกอนหนา ซึ่งมีกําไรสุทธิสวนที่เปนของบริษัทใหญจํานวน 121.6 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 184.0 สาเหตุจากการลดลงของรายไดธุรกิจสื่อเปนหลัก โดยเปนผลมาจากการงดการเผยแพรรายการในไตรมาส 4 ของป 2559 ในสวนของคาใชจายทางการตลาดสูงขึ้นสําหรับใชในการโฆษณาผลิตภัณฑสุขภาพและความงามออกสูตลาดคาปลีก และประชาสัมพันธ สินคาใหเปนที่รูจักในวงกวางตั้งแตชวงกลางป 2559 เปนตนมา ทําใหในป 2559 บริษัทฯ มีผลขาดทุน 102.1 ลานบาท หรือลดลง 223.7 ลานบาท

สรุปผลการดําเนินงานแยกตามกลุ มธุรกิจ 2.1 รายได รายไดจากการขายและบริการสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 3,124.9 ลานบาท ลดลงสุทธิจากปกอน จํานวน 603.8 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 16.2 แยกอธิบายตามกลุมธุรกิจ ไดดังนี้ หน วย : ล านบาท รายไดธุรกิจสื่อ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม รายไดธุรกิจบริการและอื่นๆ รายไดจากการขายและบริการ

ป 2558 จํานวน ร อยละ 2,246.1 60.3 463.6 12.4 707.4 19.0 231.9 6.2 79.7 2.1 3,728.7 100

ป 2559 จํานวน ร อยละ 1,814.7 58.1 321.6 10.3 753.2 24.1 227.9 7.3 7.6 0.2 3,124.9 100

เปลี่ยนแปลง (y-y) จํานวน -431.4 -19.2% -142.0 -30.6% 45.7 6.5% -4.1 -1.7% -72.1 -90.5% -603.8 -16.2%

2.1.1 รายไดธุรกิจสื่อ รายไดจากธุรกิจสื่อประกอบดวย รายไดจากธุรกิจสื่อโทรทัศนและสื่อวิทยุ โดยในป 2559 มีรายไดจากธุรกิจสื่อรวม จํานวน 1,814.7 ลานบาท ลดลงจากปกอน จํานวน 431.4 ลานบาท คิดเปนรอยละ 19.2 ประกอบไปดวย - ธุรกิจสื่อโทรทัศน : ประกอบดวย รายไดจากชองโทรทัศนภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล หมวดหมูทั่วไปแบบความ คมชัดปกติ ไดแก สถานีโทรทัศน “ชอง 8” รายไดจากชองโทรทัศนดาวเทียม ไดแก “ชอง 2” และ “สบายดีทีวี” เปนหลัก ภาพรวมรายไดธุรกิจสื่อโทรทัศนลดลง เนื่องจากผลกระทบของการใชงบโฆษณาผานสื่อโทรทัศนดาวเทียมโดยรวม ลดลงอยางมีนัยสําคัญตามการจัดสรรเม็ดเงินโฆษณาที่ลดลง โดยการใชงบโฆษณาผานสื่อโทรทัศนดาวเทียมสําหรับ ป 2559 เทียบกับป 2558 ลดลง 2,560 ลานบาท หรือลดลงกวารอยละ 42.3 เปนผลใหรายไดของ “ชอง 2” และ “สบายดีทีวี” ลดลง ในสวนของโทรทัศนระบบดิจิตอล แมวาการใชงบโฆษณาโดยรวมสําหรับป 2559 เทียบกับ ป 2558 จะลดลงรอยละ 2.6 ซึ่งผลกระทบหลักมาจากการงดการเผยแพรรายการอยางตอเนื่องเปนเวลา 30 วันในชวงไตรมาส 4 และอุตสาหกรรมสื่อโทรทัศนที่ไดรับผลกระทบตอเนื่องจนถึงสิ้นป 2559 อยางไรก็ตาม รายไดของ “ชอง 8” ซึ่งเปนรายไดหลักของธุรกิจสื่อโทรทัศนของบริษัทฯ กลับทําไดดีสวนทางกับตลาดโดยรวม


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

111

ตลอดป 2559 สถานีโทรทัศน “ชอง 8” ภายใตคอนเซปต “เขมทุกเรื่องราว สุดทุกอารมณ” พรอมโลโกใหม และการเพิ่มเติมรายการใหมๆ เพื่อขยายฐานผูชมโทรทัศนกลุมคนเมืองยังคงไดรับความนิยมตอเนื่องทั้งรายการ ในกลุมกีฬา ไดแก รายการ “8 Max มวยไทย” “เดอะแชมเปยน มวยไทยตัดเชือก” “ศึกมวยโลก ชอง 8 HBO Boxing” และ “UFC มวยกรง 8 เหลี่ยม” และการเพิ่มรายการมวยในชวงเวลาไพรมไทมวันศุกรทั้ง “มวยไทย แบทเทิ้ล” และ “มวยมันส ซูเปอร Max” รายการขาว นําโดย“คุยขาวชอง 8” ซึ่งสรางสถิติใหม ทําใหเรตติ้งกลุมรายการขาวของ ชอง 8 ติดอันดับ 1 ในกลุมผูประกอบการโทรทัศนในระบบดิจิตอลรายใหม และอันดับ 3 ของประเทศ รวมถึงการเพิ่ม รายการขาวรูปแบบใหม คือ “สะดุดขาวเด็ด” และ “ปากทองตองรู” ในสวนของละคร มีละครที่ออกอากาศใหม ทั้งสิ้น 8 เรื่อง ไดแก “สะใภรสแซบ” “มนตรักอสูร” “พี่เลี้ยง” “ลาดับตะวัน” “บาปบรรพกาล” “บวงรัก สลักแคน” “แมนาก” และ“กระถินริมรั้ว” นอกจากนี้ ยังเพิ่มความสนุกดวยการเติมวาไรตี้อีก 3 รายการ ไดแก “The Guest ตี ส นิ ท คนดั ง ” “สไมล เรนเจอร ข บวนการอั พ ยิ้ ม ” และ “English...สะกิ ด ต อ มฮา” อี ก ทั้ ง มี ก ารออกอากาศ ซีรีสตางประเทศยอดนิยมทั้งเกาหลีและจีนเพื่อเพิ่มฐานผูชมใหมๆ อีกดวย จากผลการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) “ชอง 8” มีจํานวนผูชมชวงปลายปเพิ่มขึ้นจากปลายป 2558 ถึงรอยละ 13.9 - ธุรกิจสื่อวิทยุ : รายไดธุรกิจสื่อวิทยุมาจากผลการดําเนินงานของ “COOL Fahrenheit 93” ภาพรวมรายไดธุรกิจ สื่อวิทยุในป 2559 ลดลงรอยละ 11.9 จากปกอน สาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการซื้อสื่อโฆษณาที่เปลี่ยนไป ของทั้งอุตสาหกรรม ประกอบกับในป 2559 บริษัทฯ ยุติการดําเนินธุรกิจสําหรับคลื่น “สบายดี เรดิโอ 88.5” อยางไรก็ตาม จากผลการสํารวจของ AGB Nielsen Media Research (Thailand) คลื่น “COOL Fahrenheit 93” ยังคงไดรับความนิยมติดอยูในอันดับ 1 ของกลุม Easy Listening และอันดับ 2 ของประเทศ และยังมีการจัดกิจกรรม สําหรับผูฟงซึ่งไดรับความนิยมอยางสูงตลอดทั้งป ไดแก “อิ๊งค Eat All Around” “COOL Music Alive” “COOL Outing” “COOL Music Fest” และ “One Life” 2.1.2 รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจเพลง ประกอบดวย รายไดจากธุรกิจดิจิตอล รายไดจากการจัดเก็บลิขสิทธิ์ และรายไดจากการบริหารศิลปน โดยบริษทั ฯ ไดหยุดผลิตและจําหนายแผนเพลงไปตัง้ แตไตรมาส 1 ของป 2559 เพือ่ ใหสอดคลองกับพฤติกรรมของผูบ ริโภค เพลงที่เปลี่ยนแปลงไปและกอใหเกิดความคลองตัว เปนผลใหรายไดโดยรวมของป 2559 จํานวน 321.6 ลานบาท ลดลง จากปกอน จํานวน 142.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 30.6 อีกทั้งพฤติกรรมการดาวนโหลดริงโทนก็ลดความนิยมลง ทั้งนี้ แนวโนมรายไดของการใหบริการ Music Streaming และ YouTube ยังเพิ่มขึ้น แตไมเพียงพอกับการลดลงของรายได จากชองทางอื่นๆ อยางไรก็ตาม ภายหลังการปรับโครงสรางธุรกิจ ตัดตนทุนที่ไมกอใหเกิดรายไดออกไป ทําใหธุรกิจเพลง โดยรวมยังมีความสามารถในการทํากําไรที่ดี 2.1.3 รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม ประกอบดวย รายไดจากการจัดคอนเสิรตและกิจกรรมการตลาด และรายไดจาก งานรับจางผลิต ในป 2559 รายไดจากธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม จํานวน 753.2 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 45.7 ล า นบาท คิ ด เป น ร อ ยละ 6.5 เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ ยั ง คงมี กิ จ กรรมคอนเสิ ร  ต ที่ จั ด อย า งต อ เนื่ อ งและประสบ ความสําเร็จเปนอยางดี ทั้งคอนเสิรต “The Next Venture Concert 2016” “Love Laugh Cry with 9 Men” รวมถึง คอนเสิรตสําหรับสื่อตางๆ ของบริษัทฯ ทั้ง “ชอง 8 พบเพื่อน” และ “สบายดีสัญจร” เปนตน


PAGE

112

2.1.4 รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม ประกอบดวย รายไดจากการจัดจําหนายกลุมผลิตภัณฑดูแลผิวหนา ภายใตแบรนด “มาจีค (Magique)” กลุมบํารุงเสนผมและหนังศีรษะ ภายใตแบรนด “รีไวฟ (Revive)” และกลุมอาหารเสริม โดยบริษัทฯ มีรายไดจํานวน 227.9 ลานบาท คอนขางทรงตัวจากป 2558 ที่จํานวน 231.9 ลานบาท เหตุผลหลักมาจากการทําการ ขายผานสื่อโทรทัศนไมไดในชวงไตรมาส 4 ประกอบกับเศรษฐกิจที่ซบเซามาระยะหนึ่งสงผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ ที่เพิ่งออกใหมในตลาด อยางไรก็ตาม เมื่อธุรกิจโฆษณาเริ่มกลับมาเปนปกติ บริษัทฯ ไดเพิ่มเสนการขายและโฆษณา ผานสื่อของบริษัทฯ มากขึ้น รวมถึงเพิ่มจํานวนเจาหนาที่รับสายคอลเซ็นเตอรเพื่อรองรับความตองการของลูกคา ทีส่ งู ขึน้ ใหไดทงั้ หมด และยังทําการตลาดในทุกชองทางเพือ่ เปนการกระตุน ยอดขายสําหรับลูกคาเดิม และเพือ่ ประชาสัมพันธ ใหผลิตภัณฑเปนที่รูจักในวงกวาง รวมถึงการขยายชองทางการขายและการทําโปรโมชั่นรวมกับรานวัตสัน (Watsons) อีฟ แอนด บอย (EVEANDBOY) ท็อปส มารเก็ต (Tops Market) กูรเมต มารเก็ต (Gourmet Market) และ โฮม เฟรช มารท (Home Fresh Mart) ดวย 2.2 ต นทุนขายและบริการ ตนทุนขายและบริการจํานวน 2,331.0 ลานบาท ลดลงจากปกอน จํานวน 372.0 ลานบาท คิดเปนลดลงรอยละ 13.8 เนื่องมาจาก ตนทุนของชองโทรทัศนดาวเทียมลดลงอยางมีนัยสําคัญ เนื่องจากความพยายามในการบริหารตนทุนใหลดลง ตามรายไดที่หดตัวลง ตนทุนขายและบริการอีกสวนหนึ่งที่ลดลงมาจากตนทุนของธุรกิจผลิตและจําหนายแผนเพลงที่ลดลง เปนอยางมากตามการยุติการผลิต อยางไรก็ตาม แมตนทุนการดําเนินงานของชอง 8 จะเพิ่มสูงขึ้น แตก็เปนไปตามสัดสวน เดียวกับรายไดทเี่ พิม่ ขึน้ โดยเปนการพัฒนาคุณภาพดานเนือ้ หารายการ อุปกรณในการดําเนินงาน ตนทุนละครตามการออกอากาศ และการเพิ่มรายการใหมๆ ใหไดรับความนิยมและเพิ่มฐานผูชมอยางตอเนื่อง 2.3 ค าใช จ ายในการขายและบริหาร ค าใช จ ายอื่น และต นทุนทางการเงิน คาใชจายในการขายและบริหาร จํานวน 960.6 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2558 จํานวน 84.2 ลานบาท คิดเปนเพิ่มขึ้นรอยละ 9.6 จากการเพิ่ ม ขึ้ น หลั ก ๆ ของค า ใช จ  า ยในการขายและการโฆษณาประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า สุ ข ภาพและความงามของบริ ษั ท ฯ ผานชองทางขายอื่นนอกเหนือจากที่แตเดิมขายผานชองทาง Telesales เพียงอยางเดียว ในสวนของตนทุนทางการเงิน จํานวน 83.4 ลานบาท เพิ่มขึ้น 2.3 ลานบาทจากป 2558 คิดเปนเพิ่มขึ้นรอยละ 2.8 สาเหตุมาจาก ดอกเบี้ยจายธนาคารสูงขึ้นจากการเริ่มกูยืมระยะยาวเปนปแรกเพื่อชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่โทรทัศน ในระบบดิจิตอล 2.4 อัตรากําไรขั้นต น อัตรากําไรสุทธิ และอัตราผลตอบแทนผู ถือหุ น (ROE) ป 2558

ป 2559

อัตรากําไรขั้นตน

27.5%

25.4%

อัตรากําไรสุทธิ

3.2%

-3.1%

อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (ROE)

7.1%

-7.4%

ป 2559 บริษัทฯ มีอัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรสุทธิ และอัตราผลตอบแทนผูถือหุน ลดลงจากปกอน สาเหตุหลักมาจากการ ลดลงของผลประกอบการจากธุรกิจสื่อ และธุรกิจสุขภาพและความงาม


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

113

3. สินทรัพย 3.1 ส วนประกอบของสินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสินทรัพยรวมทั้งสิ้น 4,139.3 ลานบาท แบงเปนสินทรัพยหมุนเวียนรอยละ 23.0 และ สินทรัพยไมหมุนเวียน รอยละ 77.0 สินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 จํานวน 4,139.3 ลานบาท ลดลงจากป 2558 รอยละ 14.5 มีสาเหตุหลักมาจากการ ลดลงของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด รอยละ 86.3 จากการซื้อหุนคืน และการลงทุนในคอนเทนตรายการตางๆ ลูกหนี้ การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) ลดลงรอยละ 26.1 ตามการลดลงของรายได และในระหวางป ไดตัดจําหนายคาใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนในระบบดิจิตอล จํานวน 135.6 ลานบาท อยางไรก็ดี สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) เพิ่มขึ้น รอยละ 70.5 จากการเพิ่มขึ้นของคอนเทนตละครและซีรีสตางประเทศ 3.2 คุณภาพของสินทรัพย 3.2.1 ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น (สุทธิ) หน วย : ล านบาท ลูกหนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระ : เกินกวากําหนดเวลาชําระหนี้นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน รวม หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น (สุทธิ) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา (เทา) ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) รอยละของคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตอมูลคาลูกหนี้การคา

ป 2558

ป 2559 364.7

266.0

270.7 21.2 25.0 48.6 730.2 -60.5 669.7 4.87 75 8.3%

205.9 13.5 3.5 70.7 559.6 -63.4 496.2 5.36 68 11.3%

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น (สุทธิ) 496.2 ลานบาท ลดลงจากปกอน 173.5 ลานบาท คิดเปน รอยละ 25.9 ตามการลดลงของรายไดขายและบริการ รวมถึงการรับชําระหนี้ในระหวางป โดยสวนใหญเปนลูกหนี้การคาจากกิจกรรม การคาปกติ ซึ่งบริษัทฯ อาจมีขอตกลงในการเรียกเก็บลวงหนาบางสวน หรือใหเครดิตเทอมซึ่งโดยเฉลี่ยอยูในระยะเวลา 60 - 90 วัน ขึ้นอยูกับประเภทของการขายหรือบริการที่ให หากพิจารณาจากอายุลูกหนี้ในตารางขางตนจะเห็นวา ระยะเวลาคางชําระของลูกหนี้โดยสวนใหญเกินรอยละ 80 เปนลูกหนี้ที่ยังไมถึง กําหนดชําระและคางชําระนอยกวา 3 เดือน ซึ่งเปนไปตามระยะเวลาการใหสินเชื่อของบริษัทฯ นอกจากนี้ ในป 2558 และ ป 2559 ระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้เฉลี่ยของบริษัทฯ อยูที่ประมาณ 68 - 75 วัน ซึ่งใกลเคียงกับนโยบายในการใหเครดิตเทอมเฉลี่ย ของบริษัทฯ ที่ประมาณ 60 - 90 วัน ทั้งนี้ บริษัทฯ มีนโยบายพิจารณาและทบทวนคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ที่ผิดนัดชําระ หนี้ทุกงวดบัญชีอยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหมูลหนี้ที่คงเหลือในงบการเงินแสดงมูลคาที่คาดวาจะไดรับจริง โดยใชวิธีการพิจารณามูลหนี้ของ ลูกหนี้รายตัวที่มีแนวโนมจะมีปญหาในการจายชําระ และมีปญหาในการติดตามทวงถามหนี้ ซึ่งมูลหนี้ที่จะนํามาใชรวมในการพิจารณา นั้นจะครอบคลุมถึงหนี้ทั้งหมดที่ลูกหนี้รายนั้นมีตอบริษัทฯ รวมถึงมีมาตรการในการติดตามทวงถามหนี้จากลูกหนี้อยางเครงครัด


PAGE

114

3.2.2 สินคาคงเหลือ (สุทธิ) หน วย : ล านบาท

ป 2558

ป 2559

ราคาทุน

203.6

187.7

หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย

-40.5

-58.0

สินคาคงเหลือ (สุทธิ)

163.1

129.7

อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ (เทา)

16.85

11.91

22

31

19.9%

30.9%

ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ยรวม (วัน) รอยละของคาเผื่อมูลคาสินคา ตอมูลคาสินคาคงเหลือ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินคาคงเหลือ (สุทธิ) ประกอบดวย สินคาสําเร็จรูปประเภทผลิตภัณฑเสริมความงาม กลองรับสัญญาณ ดาวเทียม “SUN BOX” งานระหวางทําประเภทรายการโทรทัศน งานรับจางและผลิตกิจกรรม รวมมูลคาสุทธิ 129.7 ลานบาท ลดลง จากปกอน 33.4 ลานบาท คิดเปนรอยละ 20.5 จากสินคาของงานรับจางผลิตเปนหลัก จากตารางขางตน บริษัทฯ มีระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ยไมเกิน 1 เดือน จากงานระหวางทําประเภทรายการโทรทัศน งานรับจางและ ผลิตกิจกรรม ที่มีกําหนดสงมอบงานในระยะเวลาอันสั้น ในสวนของสินคาสําเร็จรูป บริษัทฯ มีนโยบายในการจัดการควบคุมสินคา คงเหลือใหอยูในระดับที่เหมาะสมและเพียงพอตอความตองการของผูบริโภค อีกทั้งมีนโยบายในการทําลายสินคาที่ไมมีมูลคาและ ไมไดใชประโยชนแลว เพื่อชวยลดตนทุนของงานดานการบริหารคลังสินคา นอกจากนี้ สําหรับสินคาคงเหลือที่ยังขายไมไดและคงคาง อยูในคลังสินคา หรืองานระหวางทําที่คางการสงมอบเปนระยะเวลานาน บริษัทฯ มีนโยบายในการทบทวนมูลคาสินคาคงเหลือ อยางสมํ่าเสมอในทุกงวดบัญชีเพื่อใหสินคาคงเหลือแสดงรายการในงบการเงินดวยมูลคาสุทธิที่จะไดรับโดยสะทอนประโยชนที่จะไดรับ ในอนาคตอยางแทจริง โดยในป 2559 บริษัทฯ มีสัดสวนคาเผื่อสินคาลาสมัยตอมูลคาสินคาคงเหลือ รอยละ 30.9 เพิ่มขึ้นจากปกอน ที่มีอัตราเทากับรอยละ 19.9 จากการบันทึกคาเผื่อสินคาลาสมัยของกลองรับสัญญาณ “SUN BOX” 3.2.3 สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) หน วย : ล านบาท

ป 2558 1,462.7

ป 2559 1,933.7

หัก คาตัดจําหนายสะสม

-810.5

-1,038.4

คาเผื่อการดอยคา

-328.6

-343.7

สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ)

323.6

551.6

ราคาทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) ประกอบดวย ลิขสิทธิ์ละคร ลิขสิทธิ์เพลง โปรแกรมคอมพิวเตอรและอื่นๆ รวมมูลคาสุทธิ 551.6 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 228.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 70.5 จากการเพิ่มขึ้นของคอนเทนตละคร ซีรีส ตางประเทศ และโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อรองรับระบบการทํางานในดานตางๆ


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

115

จากตารางขางตน คาเผื่อการดอยคา ณ สิ้นป 2558 และ 2559 จํานวน 328.6 ลานบาท และ 343.7 ลานบาท ตามลําดับ สวนใหญ มาจากลิขสิทธิ์เพลง และลิขสิทธิ์ภาพยนตรที่มีอายุเปนเวลานาน สําหรับลิขสิทธิ์เพลงเนื่องจากมีอายุการใหประโยชนที่ไมทราบแนนอน บริษัทฯ จึงไมมีการตัดจําหนายแตใชวิธีการทดสอบการดอยคาแทน อยางไรก็ดี บริษัทฯ มีนโยบายในการทบทวนมูลคาสุทธิที่คาดวา จะไดรับอยางสมํ่าเสมอในทุกงวดบัญชีเพื่อลดความเสี่ยงที่ราคาตามบัญชีที่แสดงในงบการเงินมีมูลคาสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน ตามประโยชนเชิงเศรษฐกิจที่คาดวาจะไดรับในอนาคต

4. สภาพคล อง 4.1 กระแสเงินสด หน วย : ล านบาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน

ป 2558 1,201.6

ป 2559 -177.9

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

-351.7

-597.4

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

-474.3

122.0

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) - สุทธิ

375.6

-653.3

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป

757.1

103.8

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 103.8 ลานบาท ลดลงจากปกอน 653.3 ลานบาท สาเหตุหลักมาจากการซื้อหุนคืน 465.3 ลานบาท การจายเงินปนผล 100.1 ลานบาท และการลงทุนในคอนเทนตผลิตรายการ โทรทัศน ทั้งละคร ขาว และรายการวาไรตี้ตางๆ รวมถึงการลงทุนในอุปกรณดําเนินงานตางๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตรายการ และการดําเนินงานใหดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ในระหวางป บริษัทฯ จายชําระคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ในระบบดิจิตอล 415.0 ลานบาท สุทธิจากการไดรับเงินกูยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินรวม 1,150.1 ลานบาท 4.2 อัตราส วนสภาพคล องที่สําคัญ ป 2558

ป 2559

อัตราสวนสภาพคลอง (เทา)

1.02

0.54

อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว (เทา)

0.75

0.34

ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)

75

68

ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย (วัน)

22

31

ระยะเวลาชําระหนี้เฉลี่ย (วัน)

21

23

Cash cycle (วัน)

76

76

ในป 2559 บริษัทฯ มีอัตราสวนสภาพคลองและอัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว 0.54 เทา และ 0.34 เทา ตามลําดับ ลดลงจากป 2558 ที่มีอัตรา 1.02 เทา และ 0.75 เทา ตามลําดับ จากแผนการเพิ่มการลงทุนในคอนเทนตละคร ซีรีสตางประเทศ และรายการตางๆ ใน “ชอง 8” เพื่อเพิ่มศักยภาพของการแขงขันใหทัดเทียมกับชองรายการอื่นๆ รวมถึงการวางแผนการเติบโตของธุรกิจสุขภาพ และความงาม จึงมีความจําเปนที่ตองใชเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น


PAGE

116

อย า งไรก็ ดี การบริ ห ารเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นเป น ไปตามปกติ โดยระยะเวลาเก็ บ หนี้ เ ฉลี่ ย ยั ง คงสอดคล อ งกั บ นโยบายของบริ ษั ท ฯ การขายสินคาหรือการสงมอบงานรับจางแกลูกคา รวมถึงการจายชําระหนี้เปนไปตามวงจรการดําเนินธุรกิจปกติของบริษัทฯ

5. แหล งที่มาของเงินทุน หนี้สิน ส วนของเจ าของ และอัตราส วนหนี้สินต อส วนของผู ถือหุ น หน วย : ล านบาท เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

ป 2558

ป 2559 -

706.0

-

444.1

คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนคางจาย (สุทธิ)

1,467.6

1,105.9

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

1,537.6

684.7

111.6

139.1

หนี้สินรวม

3,116.8

3,079.8

สวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ

1,716.9

1,049.3

1.82

2.94

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 3,079.8 ลานบาท ลดลงจากปกอน 37.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 1.2 โดยมี การเปลี่ยนแปลงหลักๆ ไดแก การเพิ่มขึ้นของเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 706.0 ลานบาท เพื่อใชเปนเงินทุนหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 444.1 ลานบาท เพื่อจายชําระคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ในระบบดิจิตอล ในขณะที่หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลง 852.9 ลานบาท หลักๆ จากรายไดรับลวงหนางานรับจางผลิตเนื่องจาก ไดสงมอบงานเรียบรอยแลว และการจายชําระของคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริษัทฯ มีสวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ จํานวน 1,049.3 ลานบาท ลดลงจากปกอน 667.5 ลานบาท คิดเปนรอยละ 38.9 จากการซื้อหุนคืนจํานวน 465.3 ลานบาท การจายเงินปนผลใหผูถือหุน จํานวน 100.1 ลานบาท และผลขาดทุนระหวางงวด 102.1 ลานบาท ในป 2559 มีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน 2.94 เทา เพิ่มขึ้นจากป 2558 ที่มีอัตราสวน 1.82 เทา จากการเพิ่มขึ้นของเงินกูยืม ระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินเปนหลัก

6. ป จจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต อผลการดําเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต ในป 2560 สถานีโทรทัศน “ชอง 8” ไดวางกลยุทธเสริมความแข็งแกรงอยางตอเนื่องสําหรับประเภทรายการที่ไดรับความนิยม นําโดยรายการในกลุมกีฬา ขาว ละคร และวาไรตี้ เพื่อเพิ่มเรตติ้งแบบกาวกระโดด ใหสอดคลองกับการปรับเพิ่มขึ้นคาโฆษณา ประมาณรอยละ 35 จากป 2559 สําหรับธุรกิจสุขภาพและความงาม ภายหลังการตอบรับเปนอยางดีของกลยุทธวางเสนการขายใหมตั้งแตกลางเดือนธันวาคม ที่ผานมา บริษัทฯ วางแผนเพิ่มประเภทผลิตภัณฑ (SKU) ใหครอบคลุมตามความตองการของผูบริโภคมากขึ้น รวมทั้งขยายชองทาง การจัดจําหนายสินคาผานโฮมชอปปงและรานคาปลีกอื่นๆ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

117


PAGE

118

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ทานผูถือหุน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) สําหรับป พ.ศ. 2559 คณะกรรมการตรวจสอบไดปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการ บริษัท และสนับสนุนใหบริษัทมีระบบการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) เพื่อใหมีความโปรงใส มีคุณธรรม และจริยธรรม กอใหเกิดความเชื่อมั่นแกผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียอื่นๆ รวมถึง ไดมีการพิจารณาสอบทานงบการเงินประจําป พ.ศ. 2559 รวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีภายนอก ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาแลว มีความเห็นสอดคลองกับ ผูสอบบัญชีภายนอกและฝายบริหารวา งบการเงินและการเปดเผยขอมูลทางการเงินของบริษัทครบถวน เพียงพอ และถูกตองตามที่ควร และเปนไปตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองทั่วไป นอกจากนั้นระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอเหมาะสมไมพบขอบกพรอง ที่เปนสาระสําคัญ สําหรับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทไดปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของและนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหการดําเนินการในรายการดังกลาวเปนไปอยางสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวมกับฝายตรวจสอบกลางเพื่อหารือแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นการประเมินความเสี่ยง ผลการ ตรวจสอบ และความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งใหขอเสนอแนะในการปองกันหรือลดความเสี่ยง พิจารณาและ อนุมัติแผนงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนกํากับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัทใหมีความโปรงใสและมีการปฏิบัติตามขอกําหนด ของกฎหมาย ในป 2559 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 4 ครั้ง รวมการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีภายนอกโดยไมมีผูบริหาร หรือฝายบริหารเขารวมการประชุมดวย เพื่อเปดโอกาสใหผูสอบบัญชีภายนอกนําเสนอขอมูล ปญหาที่พบจากการตรวจสอบ รวมถึง ขอเสนอแนะตางๆ ไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการยังไดทําการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําป 2559 และไดพิจารณาสอบทานคุณสมบัติ ความเปนอิสระ คาสอบบัญชี ผลงาน และความพรอมในการใหบริการของผูสอบบัญชีภายนอก ตามที่ผูบริหารเสนอ พิจารณาเห็นวามีความเหมาะสม จึงนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัทสําหรับการแตงตั้งผูสอบบัญชีจาก บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ สําหรับป พ.ศ. 2560 เพื่อนําเสนอที่ประชุมผูถือหุนลงมติ แตงตั้งตอไป

(นายพิศิษฐ ดัชณาภิรมย) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

119

รายงานคณะกรรมการ เรียน ทานผูถือหุน บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการบริษัท เปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมของบริษัทฯ และบริษัทยอยซึ่งจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป โดยเลือกใชนโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ และใชดุลยพินิจอยางระมัดระวัง และประมาณการ ที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู  ถื อ หุ  น ครั้ ง ที่ 1/2546 ได มี ม ติ แ ต ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง ประกอบด ว ยกรรมการที่ ไ ม เ ป น ผู  บ ริ ห าร เปนผูดูแลรับผิดชอบเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน และความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับเรื่องนี้ไดปรากฏในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งแสดงไวในรายงานประจําปนี้แลว คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นวา บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่ดีและงบการเงินประจําป 2559 ของบริษัทฯ และบริษัทยอย ที่คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรวมกับฝายบริหารและผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ไดแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน เปนจริง ถูกตอง ครบถวน ตามที่ควร ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป

(นายสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์) ประธานกรรมการ/ประธานเจาหนาที่บริหาร


PAGE

120 รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผูถือหุนของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมของบริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) และบริษัทยอย (“กลุมกิจการ”) และงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัทแสดงฐานะการเงินรวมของกลุมกิจการและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ ผลการดํา เนิ น งานรวมและผลการดํ าเนิ น งานเฉพาะกิจ การ กระแสเงิ น สดรวมและกระแสเงิน สดเฉพาะกิ จการสํ า หรับ ป สิ้น สุ ด วันเดียวกัน โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

งบการเงินที่ตรวจสอบ ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงินรวมของกลุมกิจการและงบการเงินเฉพาะกิจการที่แนบมานี่ของบริษัท ซึ่งประกอบดวยงบแสดงฐานะ การเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของเฉพาะกิจการ และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสําหรับ ปสิ้น สุดวันเดียวกัน และหมา ยเหตุประกอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ

เกณฑในการแสดงความเห็น ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของขาพเจาไดกลาวไวในสวนของความรับผิดชอบของ ผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของขาพเจา ขาพเจามีความเปนอิสระจากกลุมกิจการ และบริษัทตามขอกําหนดจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพบัญชีในสวนที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบงบการเงิน รวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ และขา พเจาไดปฏิบัติตามความรับผิดชอบดานจรรยาบรรณอื่น ๆ ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดเหลานี้ ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดง ความเห็นของขาพเจา

เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ เรื่องสํา คัญในการตรวจสอบคือ เรื่องตา ง ๆ ที่มีนั ยสําคัญที่สุดตามดุลยพินิ จเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพของขาพเจาในการตรวจสอบ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสําหรับงวดปจจุบัน ขาพเจาไดนําเรื่องเหลานี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของขาพเจา ทั้งนี้ ขาพเจาไมไดแสดงความเห็นแยกตางหากสําหรับเรื่องเหลานี้


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

การประเมินมูลคาของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบ กิจการโทรทัศน อางอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการขอ 15 ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ และประกอบกิจการโทรทัศนมูลคา 1.67 พันลานบาทสุทธิจาก คาตัดจัดจําหนายสะสม เนื่องจากเปนชวงเปลี่ยนแปลงการรับ สื่อ จากระบบทีวีอ นาล็อกสูระบบทีวี ดิจิตอล แตการรับชมที วี ดิ จิ ต อลยั ง ไม ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศ ดั ง นั้ น ส ว นแบ ง การตลาดของผูชมในระบบทีวีดิจิตอลยังคงนอยกวาระบบทีวี อนาล็อก สงผลใหความสามารถในการแขงขันของทีวีดิจิตอล ยังคงเปนรองทีวีอนาล็อกอยูในปจจุบัน

ขาพเจาประเมินและสอบถามผูบ ริหารในเชิงทดสอบเกี่ยวกับ การประมาณการกระแสเงินสดของกลุมกิจการรวมถึงขั้นตอน การจัดทํา และทดสอบขอมูลสําคัญที่ใชในการคํานวณประมาณ การกระแสเงินสดในอนาคต

ขาพเจาเปรียบเทียบประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตของ กลุ ม กิ จ การที่ ทํ า ในป ป จ จุ บั น กั บ ประมาณการกระแสเงิ น สด ในอนาคตที่ทําในปที่แลว รวมถึงประเมินและสอบถามเชิงทดสอบ เกี่ ย วกั บ การปรั บ ปรุ ง ของประมาณการที่ สํ า คั ญ และข า พเจ า จากขอบงชี้ขางตนแสดงใหเห็นวามูลคาที่ กลุมกิจการคาดวาจะ เปรี ย บเที ย บประมาณการกระแสเงิ น สดของกลุ ม กิ จ การกั บ ไดรับคืนจากการใชใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่และประกอบ ผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นจริงของปปจจุบัน กิจการโทรทัศนนั้นอาจต่ํากวามูลคาตามบัญชีสุทธิ ซึ่งผูบริหาร ประเมินการดอ ยคาประจําปของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ ข า พเจ า สอบถามผู บ ริ ห ารเชิ ง ทดสอบเกี่ ย วกั บ ข อ สมมติ ฐ าน ที่สําคัญคือการเติบโตของรายไดและอัตราคิดลด เพื่อทําความเขาใจ และประกอบกิจการโทรทัศนแลวพบวาไมมีการดอยคา แผนการเติบโตในอนาคต พรอ มดวยพิจารณาวากลุม กิจการ ขาพเจาใหความใสใจการประเมินการดอยคาในใบอนุญาตใหใช มีความสามารถในการทําใหแผนสัมฤทธิ์ผลภายในระยะเวลา คลื่ นความถี่ และประกอบกิจ การโทรทั ศน เพราะใบอนุ ญ าต ที่ส มควร ข า พเจ าได เปรี ยบเทีย บอัต ราการเติ บโตของรายได มีมูลคาเปนจํานวนที่มีสาระสําคัญ และมีขอสมมติฐานที่สําคัญที่ กับภาพรวมของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ขาพเจา ผูบ ริหารใชดุลยพินิจในการประเมิน อัตราการเติบโตโดยรวม ไดเปรียบเทียบอัตราคิดลดของตนทุนเงินทุนของกลุมกิจการกับ ของรายไดและอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงองคประกอบของ อัตราดอกเบี้ยที่กลุมกิจการจายจริง สมมติฐานเพียงเล็กนอยจะสงผลใหประมาณการกระแสเงินสด ข าพเจ าทดสอบการวิ เคราะห ความอ อนไหวของข อสมมติ ฐาน เปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ เกี่ยวกับอัตราการเติบโตของรายได และอัตราคิดลด เพื่อพิจารณา การเปลี่ยนแปลงของสมมติฐานซึ่งอาจสงผลใหเกิดการดอยคา ของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน อางอิงจากหลักฐานที่มีอยู ขาพเจาพบวา สมมติฐานที่ผูบริหารใช ในการประเมินมูลคาของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ประกอบกิจการ โทรทัศนสมเหตุสมผล

PAGE

121


PAGE

122 เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

สินทรัพยภาษีเงินไดจากขาดทุนสะสมของบริษัทยอยอาจจะ ไมไดใชสิทธิประโยชนทางภาษี อางอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการขอ 18 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุมกิจการมีสินทรัพยภาษีเงินได รอตัดบัญชีจํานวน 304 ลานบาท ประกอบดวยสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีจากขาดทุนสะสมทางภาษีที่ยังไมไดใชของบริษัท และบริษัทยอยจํานวน 143 ลานบาท

ขาพเจาทําความเขาใจรายการสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่สํ า คัญ และทดสอบหลั ก ฐานสนั บ สนุ น การบั น ทึก การรั บ รู สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ขาพเจาประเมินขาดทุนทางภาษี ที่สามารถใชไดยกไปโดยพิจารณาจากระยะเวลาสิ้นสุดการใชได ตามกฎหมายภาษีอากรที่เกี่ยวของ นอกจากนั้นขาพเจาพิจารณา กลุมกิจการรับรูสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจากขาดทุน ความถูกตองของการคํานวณภาษี และประมาณการการใชภาษี สะสมทางภาษีที่ยังไมไดใช เมื่อ ผูบริหารพิจารณาวาจะมีกําไร ในอนาคต ทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะสามารถนําผลขาดทุน สะสมทาง ภาษียกมามาหักเปนรายจายได ผูบริหารของกลุมกิจการจัดทํา ข า พเจ า ประเมิ น และสอบถามผู บ ริ ห ารเชิ ง ทดสอบเกี่ ย วกั บ ประมาณการกํ า ไรที่ ต อ งเสี ย ภาษี ใ นอนาคต เพื่ อ พิ จ ารณา ดุลยพินิจและสมมติฐานที่ใชในการประมาณการกระแสเงินสด ความสามารถในการใชประโยชนทางภาษีของภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ในอนาคตของกลุมกิจการในชวงระยะเวลา 5 ปขางหนา ซึ่งเปน ที่ตั้งจากขาดทุนสะสมทางภาษี ที่ยังไมไดใ ช ซึ่ง ประมาณการ ระยะเวลาที่ ก ลุม บริ ษั ท สามารถใช สิ ทธิ ประโยชน จากขาดทุ น อัตราการเติบโตของรายไดแ ละกําไรเปน ปจ จัยสําคัญ ที่สงผล สะสมทางภาษี ซึ่ งมี ข อสมมติ ฐานด านการเติ บโตของกํ าไรใน อนาคตอันเปนผลมาจากการเติบโตของรายไดโดยเปรียบเทียบ กระทบตอประมาณการเหลานี้ อั ต ราการเติ บ โตของรายได ข องกลุ ม กิ จ การเปรี ย บเที ย บกั บ ขาพเจาใหความใส ใจในเรื่อ งสิน ทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ประมาณการทางเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ที่ตั้งจากขาดทุนสะสมที่ยังไมไดใชเพราะมูลคาสินทรัพยภาษีเงินได รอตัดบัญชีที่ถูกตั้งเปนสาระสําคัญ และการพิจารณาตัวเลขดังกลาว จากวิ ธี ป ฏิ บั ติ งานของข า พเจ า ดั ง กล า วข างต น ข า พเจ า พบว า เกี่ยวของกับดุลยพินิจของผูบริหารในการประเมิน ความสามารถ ขอ สมมติฐานที่สํา คัญที่ผู บ ริหารใชใ นการประมาณการกําไร ในการทํากําไรใหเกิดขึ้นไดในอนาคต เพื่อใหสามารถใชประโยชน ที่ตองเสียภาษีในอนาคตอยูในระดับที่สมเหตุสมผล ทางภาษีจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีที่ตั้งจากขาดทุนสะสม ทางภาษีที่ยังไมไดใช


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

เรื่องสําคัญในการตรวจสอบ

วิธีการตรวจสอบ

การรับรูจํานวนการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละคร อางอิงหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะ กิจการขอ 2.10 สินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุมกิจการมียอดคงเหลือตนทุน วิธีการตรวจสอบของขาพเจาในเรื่องดังกลาวรวมถึง การผลิตละครสุทธิจํานวน 299 ลานบาท คิดเปนมูลคารอยละ 54 x ประเมินความเหมาะสมของวิธีการคาดการณที่เกี่ยวกับการ ของมู ลคา สิน ทรัพย ไมมีตั วตนทั้ งหมด ตน ทุน การผลิต ละคร ประมาณการจํานวนตอนของการออกอากาศละครแตละเรื่อง แสดงมู ล ค า ตามราคาทุ น หั ก ค า ตั ด จํ า หน า ยสะสม ซึ่ ง ต น ทุ น โดยเทียบกับแผนการออกอากาศ การผลิตละครตัดจําหนายตามรูป แบบที่คาดการณของการใช x ประเมิน จํา นวนตอนที่อ อกอากาศจริ งของละครเรื่ อ งนั้ น ของสินทรัพยเพื่อประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคต โดยเปรี ยบเที ย บกับ แผนการออกอากาศละครที่ นํ า มาใช คํานวณการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละคร ผูบริหารแบงสั ดสวนตน ทุนการผลิตละครออกเปน 2 สว น x ทดสอบการคํ า นวณ เพื่ อ ประเมิ น ความถู ก ต อ งของการ กลาวคือ สวนแรกของตนทุนการผลิตละครจะตัดจําหนายตาม คํานวณการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละคร จํ า นวนตอนในแต ล ะครั้ ง ที่ ค าดการณ ว า จะออกอากาศทาง โทรทัศน และสวนที่เหลือของตนทุนการผลิตละครจะตัดจําหนาย อางอิงจากหลักฐานที่มีอยู ขาพเจาพิจารณาแลววาดุลยพินิจของ ดวยวิธีเสนตรง ผูบริหารนั้นสมเหตุสมผล และอยูในระดับที่ยอมรับได ขาพเจาใหความใสใจวิธีการตัดจําหน ายตน ทุนการผลิตละคร ในสวนที่ตัดจําหนายตามจํานวนตอนในแตละครั้งที่คาดการณวา จะออกอากาศทางโทรทัศน เนื่ องจากวิธีตัดจําหนายในสวนนี้ เกี่ ย วข อ งกั บ การใช ดุ ล ยพิ นิ จ ของผู บ ริ ห ารในการคาดการณ จํานวนตอนที่จะออกอากาศในอนาคต และตนทุนการผลิตละคร ตามสวนแบงมีจํานวนเงินที่มีสาระสําคัญ

PAGE

123


PAGE

124

ขอมูลอื่น กรรมการเปนผูรับผิดชอบตอขอมูลอื่น ขอมูลอื่นประกอบดวย ขอมูลซึ่งรวมอยูในรายงานประจําป แตไมรวมถึงงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ และรายงานของผูสอบบัญชีที่อยูในรายงานนั้น ขาพเจาคาดวาขาพเจาจะไดรับรายงานประจําปภายหลังวันที่ ในรายงานของผูสอบบัญชีนี้ ความเห็นของขาพเจาตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไมครอบคลุมถึงขอมูลอื่น และขาพเจาไมไดใหความเชื่อมั่นตอขอมูลอื่น ความรับผิดชอบของขาพเจาที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการคือ การอานและพิจารณาวาขอมูลอื่น มีความขัดแยงที่มีสาระสําคัญกับงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ หรือกับความรูที่ไดรับจากการตรวจสอบของขาพเจา หรือ ปรากฏวาขอมูลอื่นมีการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม เมื่อขาพเจาไดอานรายงานประจําป หากขาพเจาสรุปไดวามีการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ขาพเจาตองสื่อสาร เรื่องดังกลาวกับคณะกรรมการตรวจสอบ ความรับผิดชอบของกรรมการตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการมีหนาที่รับผิดชอบในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้ โดยถูกตองตามที่ควรตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ กรรมการพิจารณาวาจําเปน เพื่อใหสามารถจัดทํา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริต หรือขอผิดพลาด ในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ กรรมการรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุมกิจการและบริษัทใน การดําเนินงานตอเนื่อง เปดเผยเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินงานตอเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการ ดําเนินงานตอเนื่อง เวนแตกรรมการมีความตั้งใจที่จะเลิกกลุมกิจการและบริษัท หรือหยุดดําเนินงาน หรือไมสามารถดําเนินงานตอเนื่อง ตอไปได คณะกรรมการตรวจสอบมีหนาที่ชวยกรรมการในการสอดสองดูแลกระบวนการในการจัดทํารายงานทางการเงินของกลุมกิจการและบริษัท


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชีตอการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของขาพเจามีวัตถุประสงคเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลวางบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม ปราศจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด และเสนอรายงาน ของผู ส อบบัญชี ซึ่ งรวมความเห็นของข าพเจาอยูดวย ความเชื่อ มั่ น อย างสมเหตุ ส มผลคือ ความเชื่ อ มั่น ในระดับสู ง แต ไมไดเป น การรับประกันวาการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ ที่มีอ ยู ไดเ สมอไป ข อ มูล ที่ ขัดต อ ขอ เท็จจริงอาจเกิ ดจากการทุจริต หรือ ขอ ผิ ดพลาด และถือ วามีส าระสําคัญ เมื่อ คาดการณ อ ยา ง สมเหตุสมผลไดวารายการที่ขัดตอขอเท็จจริงแตละรายการ หรือทุกรายการรวมกันจะมีผ ลตอ การตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผูใช งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหลานี้ ในการตรวจสอบของขาพเจาตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขาพเจาไดใชดุลยพินิจเยี่ยงผูประกอบวิชาชีพและการสังเกต และสงสัยเยี่ยง ผูประกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของขาพเจารวมถึง x

x x x

x x

ระบุและประเมินความเสี่ยงจากการแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองตอความเสี่ยงเหลานั้น และไดหลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของขาพเจา ความเสี่ยงที่ไมพบ ขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญซึ่งเปนผลมาจากการทุจริตจะสูงกวาความเสี่ยงที่เกิดจากขอผิดพลาด เนื่องจากการ ทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรูรวมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเวนการแสดงขอมูล การแสดงขอมูลที่ไมตรงตาม ขอเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน ทําความเขาใจในระบบการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็นตอความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุมกิจการและบริษัท ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่กรรมการใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชี และการเปดเผย ขอมูลที่เกี่ยวของซึ่งจัดทําขึ้นโดยกรรมการ สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใชเกณฑการบัญชีสําหรับการดําเนินงานตอเนื่องของกรรมการและจากหลักฐานการสอบบัญชี ที่ไดรับ สรุปวามีความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณหรือสถานการณที่อาจเปนเหตุใหเกิดขอสงสัยอยางมี นัยสําคัญตอความสามารถของกลุมกิจการและบริษัทในการดําเนินงานตอเนื่องหรือไม ถาขาพเจาไดขอสรุปวามีความไมแนนอน ที่มีสาระสําคัญ ขาพเจาตองกลาวไวในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจาถึงการเปดเผยที่เกี่ยวขอ งในงบการเงิน รวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการ หรือถาการเปดเผยดังกลาวไมเพียงพอ ความเห็นของขาพเจาจะเปลี่ยนแปลงไป ขอสรุปของขาพเจา ขึ้นอยูกับหลักฐานการสอบบัญชีที่ไดรับ จนถึงวันที่ในรายงานของผูสอบบัญชีของขาพเจา อยางไรก็ตาม เหตุการณหรือ สถานการณในอนาคตอาจเปนเหตุใหกลุมกิจการและบริษัทตองหยุดการดําเนินงานตอเนื่อง ประเมินการนําเสนอ โครงสรางและเนื้อหาของงบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึงการเปดเผยวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงรายการ และเหตุการณในรูปแบบที่ทําใหมีการนําเสนอขอมูลโดยถูกตองตามที่ควร ไดรับหลักฐานการสอบบัญชีที่เหมาะสมอยางเพียงพอเกี่ยวกับขอมูลทางการเงินของกิจการภายในกลุมหรือกิจกรรมทางธุรกิจ ภายในกลุมกิจการเพื่อแสดงความเห็นตองบการเงินรวม ขาพเจารับผิดชอบตอการกําหนดแนวทางการควบคุมดูแลและการปฏิบัติงาน ตรวจสอบกลุมกิจการ ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบแตเพียงผูเดียวตอความเห็นของขาพเจา

PAGE

125


PAGE

126

ขาพเจาไดสื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับขอบเขตและชวงเวลาของการตรวจสอบตามที่ไดวางแผนไว ซึ่งรวมถึงประเด็นที่ มีนัยสําคัญที่พบจากการตรวจสอบและขอบกพรองที่มีนัยสําคัญในระบบการควบคุมภายใน ซึ่งขาพเจาไดพบในระหวางการตรวจสอบ ของขาพเจา ขาพเจาไดใหคํารับรองแกคณะกรรมการตรวจสอบวา ขาพเจาไดปฏิบัติตามขอกําหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับความเปนอิสระและ ไดสื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับความสัมพันธทั้งหมด ตลอดจนเรื่องอื่นซึ่ง ขาพเจาเชื่อวามีเหตุผลที่บุคคลภายนอก อาจพิจารณาวากระทบตอความเปนอิสระของขาพเจาและมาตรการที่ขาพเจาใชเพื่อปองกันไมใหขาพเจาขาดความเปน อิสระ จากเรื่องที่สื่อสารกับคณะกรรมการตรวจสอบ ขาพเจาไดพิจารณาเรื่องตาง ๆ ที่มีนั ยสําคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงินรวมและ งบการเงินเฉพาะกิจการในงวดปจจุบันและกําหนดเปนเรื่องสําคัญในการตรวจสอบ ขาพเจาไดอธิบายเรื่องเหลานี้ในรายงานของผูสอบบัญชี เวนแตกฎหมายหรือขอบังคับไมใหเปดเผยตอสาธารณะเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว หรือในสถานการณที่ยากที่จะเกิดขึ้น ขาพเจาพิจ ารณาวา ไมควรสื่อสารเรื่องดังกลาวในรายงานของขาพเจาเพราะการกระทําดังกลาวสามารถคาดการณไดอยางสมเหตุผลวาจะมีผลกระทบ ในทางลบมากกวาผลประโยชนตอสวนไดเสียสาธารณะจากการสื่อสารดังกลาว บริษัท ไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอบีเอเอส จํากัด

สุดวิณ ปญญาวงศขันติ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3534 กรุงเทพมหานคร 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2560


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

7

103,761,958

757,111,787

23,739,791

518,611,127

8 9 35 ง) 10 23 11

647,567,198 129,679,765 67,630,189 1,483,466

4,522,302 875,711,663 163,095,437 40,928,458 97,984,687

568,171,986 577,700,000 3,525,818 326,904

1,023,419,799 494,274,774 54,667,935 96,728,841

950,122,576

1,939,354,334

1,173,464,499

2,187,702,476

9 12 13 14

4,103,678 473,046,349

5,102,753 384,016,267

291,364,640 581,361,593 450,699,505

481,732,849 358,736,941

15 16

1,666,431,413 551,610,176 35,416,667 124,080,113 303,617,658 30,859,926

1,802,058,253 323,571,197 130,537,536 228,020,379 31,265,889

142,171,290 55,838,141 94,574,938 27,713,927

109,666,456 69,548,760 108,772,378 28,119,889

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

3,189,165,980

2,904,572,274

1,643,724,034

1,156,577,273

รวมสินทรัพย

4,139,288,556

4,843,926,608

2,817,188,533

3,344,279,749

หมายเหตุ สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น - เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) เงินใหกยู ืมระยะสั้นแกกจิ การที่เกีย่ วของกัน (สุทธิ) สินคาคงเหลือ (สุทธิ) ภาษีมูลคาเพิ่ม สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้การคาบริษัทที่เกีย่ วของกันเกินป เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) อาคาร และอุปกรณ (สุทธิ) ใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละ ประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) คาใชจายจายลวงหนาเกินป ภาษีเงินไดถกู หัก ณ ที่จาย (สุทธิ) สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ)

17 18 19

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

PAGE

127


PAGE

128 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

20

589,116,455

1,419,373,826

264,066,264

1,121,993,242

21

11,667,631

5,865,272

11,667,631

5,865,272

15 22 35 จ)

378,075,913 706,000,000 1,891,930 43,962,189 22,905,356 15,149,577

361,674,762 14,365,874 48,410,441 37,642,175 11,949,157

598,000,000 140,400,000 33,707,868 4,989,690

48,000,000 14,365,874 26,430,661 6,762,080

1,768,769,051

1,899,281,507

1,052,831,453

1,223,417,129

21 24

24,702,002 444,060,000

7,206,218 -

24,702,002 -

7,206,218 -

15

727,842,925 97,959,294 16,431,623

1,105,918,838 1,659,333 85,545,748 17,156,186

84,092,281 10,832,374

74,813,289 11,007,788

รวมหนี้สินไมหมุนเวียน

1,310,995,844

1,217,486,323

119,626,657

93,027,295

รวมหนี้สิน

3,079,764,895

3,116,767,830

1,172,458,110

1,316,444,424

หมายเหตุ หนี้สินและสวนของผูถอื หุน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงินที่ถงึ กําหนดชําระ ภายในหนึ่งป (สุทธิ) คาใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละ ประกอบกิจการโทรทัศนคา งจายที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ่งป (สุทธิ) เงินกูย ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูย ืมระยะสั้นจากกิจการที่เกีย่ วของกัน ประมาณการคาเผื่อการรับคืนสินคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีเงินไดคา งจาย ภาษีเงินไดหกั ณ ที่จายคางจาย

23

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน (สุทธิ) เงินกูย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละ ประกอบกิจการโทรทัศนคา งจาย (สุทธิ) ประมาณการผลขาดทุนอื่น ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

25 26

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

129

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ

งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

1,013,591,880

1,013,591,880

หนี้สินและสวนของเจาของ (ตอ) สวนของเจาของ ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุน สามัญ 1,013,591,880 หุน มูลคาที่ตราไวหนุ ละ 1 บาท หุน สามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ตราไวหนุ ละ 1 บาท ทุนที่ออกและชําระเต็มมูลคาแลว หุน สามัญ 1,009,937,646 หุน มูลคาที่ไดรับชําระแลวหุน ละ 1 บาท สวนเกินมูลคาหุน สามัญ หุน สามัญซื้อคืน สวนตางระหวางราคาซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย ที่อยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับมูลคาสุทธิ ตามบัญชีของบริษัทยอย กําไรสะสม จัดสรรแลว - ทุนสํารองตามกฎหมาย จัดสรรแลว - สํารองหุน สามัญซื้อคืน ยังไมไดจัดสรร

27.1

27.1 27.2

1,009,937,646

1,009,937,646

1,009,937,646 1,009,937,646 255,824,816 255,824,816 (465,274,840) -

1,009,937,646 1,009,937,646 255,824,816 255,824,816 (465,274,840) -

-

(16,593,840)

-

-

100,894,958 465,274,840 (317,336,467)

91,780,991 375,900,765

100,894,958 465,274,840 278,073,003

91,780,991 670,291,872

รวมสวนของผูเปนเจาของของบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม

1,049,320,953 10,202,708

1,716,850,378 10,308,400

1,644,730,423 -

2,027,835,325 -

รวมสวนของเจาของ

1,059,523,661

1,727,158,778

1,644,730,423

2,027,835,325

รวมหนี้สินและสวนของเจาของ

4,139,288,556

4,843,926,608

2,817,188,533

3,344,279,749

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


PAGE

130 บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ

838,344,671 2,286,574,490

795,468,082 2,933,238,304

602,604,617 823,641,491

526,270,615 1,410,569,657

รวมรายไดจากการขายและใหบริการ

3,124,919,161

3,728,706,386

1,426,246,108

1,936,840,272

ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ

(399,755,366) (1,931,248,198)

(379,643,823) (2,323,358,482)

(304,699,156) (810,971,576)

(252,743,876) (1,215,832,602)

รวมตนทุนขายและการใหบริการ

(2,331,003,564)

(2,703,002,305)

(1,115,670,732)

(1,468,576,478)

29

793,915,597 123,589,627

1,025,704,081 51,551,204

310,575,376 444,284,393

468,263,794 611,176,175

30 32

917,505,224 (441,938,595) (516,763,250) (1,907,295) (83,372,848)

1,077,255,285 (345,119,294) (531,187,500) (83,033) (81,084,844)

754,859,769 (124,755,919) (427,375,121) 11,870,455 (2,057,180) (16,065,241)

1,079,439,969 (140,965,440) (479,581,259) (35,076,889) (1,080,279) (4,751,313)

33

(126,476,764) 24,235,322

119,780,614 12,329,876

196,476,763 (14,197,440)

417,984,789 19,427,875

กําไร(ขาดทุน)สําหรับป กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จอื่น

(102,241,442) -

132,110,490 -

182,279,323 -

437,412,664 -

กําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมสําหรับป

(102,241,442)

132,110,490

182,279,323

437,412,664

กําไรขัน้ ตน รายไดอื่น กําไรกอนคาใชจา ย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุน คาใชจายอื่น ตนทุนทางการเงิน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได (คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

หมายเหตุ การแบงปปนกําไร(ขาดทุน) สวนทีเ่ ปปนของบริษทั ใหญ สวนทีเ่ ปปนของสวนไดเสียทีไ่ มมอี ํานาจควบคุม

การแบงปปนกําไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวม สวนทีเ่ ปปนของบริษทั ใหญ สวนทีเ่ ปปนของสวนไดเสียทีไ่ มมอี ํานาจควบคุม

งบการเงินรวม จัดประเภทใ ท หม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ จัดประเภทใ ท หม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

(102,145,200) (96,242)

121,634,482 10,476,008

182,279,323 -

437,412,664 -

(102,241,442)

132,110,490

182,279,323

437,412,664

(102,145,200) (96,242)

121,634,482 10,476,008

182,279,323 -

437,412,664 -

(102,241,442)

132,110,490

182,279,323

437,412,664

(0.1043)

0.1208

0.1862

0.4345

กําไรตอหุน สวนทีเ่ ปนของบริษทั ใหญ กําไรตอหุน ขัน้ พืน้ ฐาน (บาท)

34.1

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

PAGE

131


1,009,937,646

255,824,816

-

-

-

-

-

(39,938,917)

40,539,101

-

-

-

-

-

-

52,347,317

22,324,499

(74,671,816)

ซื้อคืน

หมายเหตุประกอบงบการเงิ​ินรวมและงบการเงิ​ินเฉพาะกิ​ิจการในหน ใ า 139 - 226 เปปนสวนหนึ่ึงของงบการเงิ​ินนี้ี

ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

-

-

จายเงินปนผล

กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป

-

จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย

-

(12,408,400)

-

255,224,632

1,022,346,046

-

28

หุนสามัญ

(16,593,840)

-

-

-

-

-

-

-

(16,593,840)

บริษัทยอย

สุทธิตามบัญชีของ

สวนเกิน มูลคาหุน

ทีอ่ อกและ

ภายใ ย ตการควบคุม

ในบริษัทยอยทีอ่ ยู

ราคาซื้อเงินลงทุน

สวนตางระหวาง

ทุนสํารอง

91,780,991

-

-

21,870,633

-

-

-

-

69,910,358

ตามกฎหมาย

-

-

-

-

(74,671,816)

-

-

-

74,671,816

ซื้อคืน

หุนสามัญ

สํารอง

กําไรสะสม จัดสรรแลว

สวนของผูเ ปนเจาของของบริษทั ใหญ

เดียวกันกับมูลคา

เรียกชําระแลว

งบการเงินรวม (บาท) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ทุนจดทะเบียน

สํารองหุน สามัญซือ้ คืน

จดทะเบียนของบริษัทยอย

27.2

27.2

ลดทุนจดทะเบียนจากการตัดหุน สามัญซือ้ คืน

สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุมลดลงจากการลดทุน

27.2

หมายเหตุ

จําหนายหุน สามัญซือ้ คืน

การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป

ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558

สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

375,900,765

121,634,482

(180,915,596)

(21,870,633)

74,671,816

-

-

-

382,380,696

จัดสรร

1,716,850,378

121,634,482

(180,915,596)

-

-

-

-

62,863,600

1,713,267,892

ของบริษทั ใหญ

10,308,400

10,476,008

(11,478,277)

-

-

(18,750,000)

-

-

30,060,669

อํานาจควบคุม

ยังไมไ ด ของผูเ ปนเจาของ สวนไ น ดเสียทีไี่ มมี

รวมสวน รวม

1,727,158,778

132,110,490

(192,393,873)

-

-

(18,750,000)

-

62,863,600

1,743,328,561

สวนของเจาของ

PAGE

132


255,824,816

1,009,937,646

(465,274,840)

-

-

-

-

-

(465,274,840)

-

ซื้อคืน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

255,824,816

1,009,937,646

จายเงินปนผล

กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป

หุนสามัญ

-

-

-

-

16,593,840

-

-

(16,593,840)

บริษัทยอย

สุทธิตามบัญชีของ

สวนเกิน มูลคาหุน

เรียกชําระแลว

ทีอ่ อกและ

ภายใ ย ตการควบคุม

ในบริษัทยอยทีอ่ ยู

ราคาซื้อเงินลงทุน

สวนตางระหวาง

ทุนสํารอง

100,894,958

-

-

9,113,967

-

-

-

91,780,991

ตามกฎหมาย

465,274,840

-

-

-

-

465,274,840

-

-

ซื้อคืน

หุนสามัญ

สํารอง

กําไรสะสม จัดสรรแลว

สวนของผูเ ปนเจาของของบริษทั ใหญ

เดียวกันกับมูลคา

-

28

27.2

หมายเหตุ

งบการเงินรวม (บาท) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ทุนจดทะเบียน

จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย

การควบคุมกับมูลคาสุทธิตามบัญชีของบริษัทยอย

สวนตางระหวางราคาซือ้ เงินลงทุนในบริษัทยอยทีอ่ ยูนอก

สํารองหุน สามัญซือ้ คืน

จําหนายหุน สามัญซือ้ คืน

การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป

ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559

สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

(317,336,467)

(102,145,200)

(100,109,385)

(9,113,967)

(16,593,840)

(465,274,840)

-

375,900,765

จัดสรร

1,049,320,953

(102,145,200)

(100,109,385)

-

-

-

(465,274,840)

1,716,850,378

ของบริษทั ใหญ

10,202,708

(96,242)

(9,450)

-

-

-

-

10,308,400

อํานาจควบคุม

ยังไมไ ด ของผูเ ปนเจาของ สวนไ น ดเสียทีไี่ มมี

รวมสวน รวม

1,059,523,661

(102,241,442)

(100,118,835)

-

-

-

(465,274,840)

1,727,158,778

สวนของเจาของ

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

133


28

27.2 27.2

หมายเหตุ

40,539,101 (39,938,917) 255,824,816

1,009,937,646

255,224,632

1,022,346,046 (12,408,400) -

สวนเกิน มูลคาหุน

ทุนจดทะเบียน ทีอ่ อกและ เรียกชําระแลว

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป จําหนายหุน สามัญซื้อคืน ลดทุนจดทะเบียนจากการตัดหุน สามัญซื้อคืน สํารองหุน สามัญซื้อคืน จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย จายเงินปนผล กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป

สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

-

22,324,499 52,347,317 -

(74,671,816)

91,780,991

21,870,633 -

69,910,358

-

(74,671,816) -

74,671,816

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สวนของเจาของ กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารอง หุนสามัญ ทุนสํารอง หุนสามัญ ซื้อคืน ตามกฎหมาย ซื้อคืน

670,291,872

74,671,816 (21,870,633) (180,915,596) 437,412,664

360,993,621

ยังไมไ ด จัดสรร

2,027,835,325

62,863,600 (180,915,596) 437,412,664

1,708,474,657

รวมสวนของ เจาของ

PAGE

134


28

27.2

หมายเหตุ

255,824,816

1,009,937,646

255,824,816

1,009,937,646 -

สวนเกิน มูลคาหุน

ทุนจดทะเบียน ทีอ่ อกและ เรียกชําระแลว

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือปลายปป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ยอดคงเหลือตนปป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 การเปลี่ยนแปลงใ ง นสวนของเจาของสําหรับปป จําหนายหุน สามัญซื้อคืน สํารองหุน สามัญซื้อคืน จัดสรรทุนสํารองตามกฎหมาย จายเงินปนผล กําไรเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปป

สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน)

(465,274,840)

(465,274,840) -

-

100,894,958

9,113,967 -

91,780,991

465,274,840

465,274,840 -

-

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) สําหรับปปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 สวนของเจาของ กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารอง หุนสามัญ ทุนสํารอง หุนสามัญ ซื้อคืน ตามกฎหมาย ซื้อคืน

278,073,003

(465,274,840) (9,113,967) (100,109,385) 182,279,323

670,291,872

ยังไมไ ด จัดสรร

1,644,730,423

2,027,835,325 (465,274,840) (100,109,385) 182,279,323

รวมสวนของ เจาของ

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

135


PAGE

136 บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

บาท

บาท

บาท

บาท

(126,476,764)

119,780,614

196,476,763

417,984,789

468,498,619

546,666,741

110,597,903

88,988,709 2,661,161

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย

14, 15, 16, 31

คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญภาษีเงินไดหัก ณ ทีจ่ าย คาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญเงินใหกยู มระยะสั ื ้นบริษัททีเ่ กีย่ วของกัน (กลับรายการ) คาเผือ่ สินคาลาสมัย (กลับรายการ)

9

4,931,692

19,175,827

3,015,651

(1,360,952)

(3,114,451)

-

-

17,555,279

29,915,367

(9,425,226) (3,565,749)

(10,574,774) (3,630,215)

6,959,939

3,888,845

6,959,234

3,888,845

(12,473,944)

(22,369,059)

(14,365,874)

(22,369,059)

16

15,152,801

(4,490,167)

15,460,069

15,802,735 (138,802)

35 ง) 10

ขาดทุนจากการทําลายสินคา กลับรายการประมาณการคาเผือ่ การรับคืนสินคา (กลับรายการ)คาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพยไมมีตวั ตน คาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพยหมุนเวียนอื่น 11, 19

(1,010,122)

672,755

93,536

คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม

และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

13

999,075

303,337

-

(กลับรายการ)คาเผือ่ การดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทยอย

12

-

-

(11,773,751)

49,370,541

กลับรายการประมาณการผลขาดทุนของเงินลงทุนในบริษัทยอย

12

-

-

12,997,200

(2,949,109)

(กลับรายการ)ขาดทุนจากการประมาณการหนี้สิน

30

-

(กําไร)ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตวั ตนและอาคารและอุปกรณ

30

กําไรจากการจําหนายอาคารและอุปกรณ

29

(418,842)

(744,323)

(276,618)

(27,945)

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

25

12,413,546

20,194,264

9,278,992

18,106,055

เงินปนผลรับ

28

-

-

(122,813,200)

(369,578,855)

ดอกเบีย้ รับ

29

(1,741,591)

(2,454,665)

(25,992,049)

(19,099,399)

ตนทุนทางการเงินดอกเบีย้ จาย

32

83,372,848

81,084,844

16,065,241

4,751,313

466,857,582

787,272,105

183,170,876

173,695,053

455,998

(2,045,499)

-

807,675

438,754

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

-

509,063


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

137

บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

บาท

บาท

บาท

บาท

หมายเหตุ การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น

223,219,784

205,862,089

34,853,007

(228,559,402)

สินคาคงเหลือ

8,900,454

(90,133,029)

47,748,632

(49,342,837)

ภาษีมูลคาเพิ่ม

(31,149,983)

(24,203,392)

7,277,207

(641,099)

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

96,947,535

(91,212,310)

96,848,251

(94,040,584)

คาใชจายลวงหนาเกินปป

(35,416,667)

-

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

-

-

969,771

5,189,222

(133,888)

4,316,968

(850,748,041)

588,867,436

(877,491,970)

646,929,951

ภาษีเงินไดหัก ณ ทีจ่ ายคางจาย

3,200,420

(11,388,929)

(1,772,390)

1,081,495

หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

(2,383,896)

11,138,796

(175,414)

10,091,694

(119,603,041)

1,381,391,988

(509,675,689)

463,531,239

61,886,965

12,297,788

37,010,317

12,297,788

เงินสดจายภาษีเงินได

(120,167,366)

(192,056,271)

(23,299,698)

(32,922,621)

เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงาน

(177,883,442)

1,201,633,505

(495,965,070)

442,906,406

1,734,580

2,470,534

25,010,734

16,236,570

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

เงินสดไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมดําเนินงานกอนดอกเบีย้ รับ ตนทุนทางการเงินจาย และภาษีเงินไดจาย รับคืนภาษีถกู หัก ณ ทีจ่ าย

17

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากดอกเบีย้ รับ เงินใหกยู มระยะสั ื ้นแกบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกันเพิ่มขึน้

35 ง)

(30,000,000)

(68,500,000)

(815,500,000)

(338,500,000)

รับชําระเงินใหกยู มระยะสั ื ้นแกบุคคลและกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

35 ง)

30,000,000

68,500,000

741,500,000

184,500,000

เงินใหกยู มระยะสั ื ้นแกพนักงานลดลง

-

59,101

เงินสดจายเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย

-

-

เงินลงทุนชัว่ คราว-เงินฝากประจําครบกําหนด 12 เดือน

4,522,302

(100,852,193)

(57,462)

-

-

เงินสดรับจากการลดทุนของบริษัทยอย

-

-

เงินปนผลรับ

-

-

249,809,030

379,079,203

(139,435,339)

(88,983,784)

(142,928,538)

(70,385,388)

6,948,891

8,693,737

13,074,284

248,598

(471,237,618)

(274,408,741)

(60,523,831)

(10,884,255)

530,895

262,296

(351,695,720)

(90,148,218)

เงินสดจายซื้อทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดรับจากการขายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ เงินสดจายสินทรัพยไมมีตวั ตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพยไมมีตวั ตน เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมลงทุน

(597,467,184)

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

93,750,000

254,044,728


PAGE

138 บริษทั อารเอส จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปปสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

บาท

บาท

บาท

บาท

(28,399,595)

(13,364,724)

(14,507,890)

(4,939,309)

เงินรับจากเงินกูย มระยะสั ื ้นจากสถาบันการเงิน

3,046,000,000

470,000,000

2,573,000,000

370,000,000

จายชําระเงินกูย มระยะสั ื ้นจากสถาบันการเงิน

(2,340,000,000)

(470,000,000)

(1,975,000,000)

(370,000,000)

เงินรับจากเงินกูย มระยะยาวจากสถาบั ื นการเงิน

444,060,000

-

จายชําระหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน

(19,265,933)

(10,216,316)

(415,000,000)

(302,500,000)

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน จายชําระดอกเบีย้

เงินสดจายใบอนุญาตใหใชคลืน่ ความถีแ่ ละประกอบการโทรทัศน

(19,265,933) -

(10,216,316) -

เงินรับจากเงินกูย มระยะสั ื ้นจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

35 จ)

-

-

223,500,000

127,500,000

จายชําระเงินกูย มระยะสั ื ้นจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน

35 จ)

-

-

(131,100,000)

(325,545,000)

28

(100,109,385)

(180,915,596)

(100,109,385)

(180,915,596)

(9,450)

(11,478,277)

-

-

-

-

จายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุมลดลงจากการจายเงินปนผล สวนไดเสียทีไ่ มมีอํานาจควบคุมลดลงจากการจายเงินลดทุน

27.3

-

(18,750,000)

เงินสดรับจากการจําหนายหุนซื้อคืน

27.2

(465,274,840)

62,863,600

(465,274,840)

62,863,600

เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

122,000,797

(474,361,313)

91,241,952

(331,252,621)

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ

(653,349,829)

375,576,472

(494,871,336)

365,698,513

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือตนปป

757,111,787

381,535,315

518,611,127

152,912,614

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดยอดคงเหลือปลายปป

103,761,958

757,111,787

23,739,791

518,611,127

28,751,749

9,038,606

27,742,761

8,817,124

รายการทีมิม่ ิใชเงินสด เจาหนี้คงคางจากการซื้อทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม เจาหนี้คงคางจากการซื้อสินทรัพยไมมีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

415,588

-

368,080

-

เจาหนี้จากการซื้อทีด่ นิ อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

41,278,000

9,960,000

41,278,000

9,960,000

ลูกหนี้คงคางจากการจําหนายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

-

5,945,521

ลูกหนี้คงคางจากการจําหนายสินทรัพยไมมีตวั ตน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

-

-

-

500,679

ดอกเบีย้ คางรับจากกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2,489,884

-

-

-

คาเผือ่ ดอกเบีย้ คางรับจากกิจกรรมทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

(2,489,884)

-

-

-

ลดทุนหุนสามัญซื้อคืน

27.2

-

(52,347,317)

-

(52,347,317)

สวนเกินมูลคาทุนสามัญทีล่ ดลงจากการลดทุนหุนสามัญซื้อคืน

27.2

-

39,938,917

-

39,938,917

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหนา 139 - 226 เปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

139

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 1

ขอมูลทั่วไป บริ ษั ท อาร เ อส จํ า กั ด (มหาชน) (“บริษั ท ”) เป น บริ ษั ท จํ า กั ด ซึ่ ง ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในประเทศไทยเมื่ อ วั น ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2535 บริษัทไดแปลงสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัดเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2546 และจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และมีที่อยูจดทะเบียนดังนี้ เลขที่ 419/1 ซอยลาดพราว 15 ถนนลาดพราว แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงคในการรายงานขอมูล จึงรวมเรียกบริษัทและบริษัทยอยวา “กลุมกิจการ” ธุรกิจหลักของกลุมกิจการ ไดแก ธุรกิ จบันเทิงเต็มรูปแบบ ซึ่งประกอบดวยธุรกิจหลักไดแก ธุรกิจสื่อ ธุรกิจจัดจําหน ายเพลง ธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม และธุรกิจอื่นที่สนับสนุนธุรกิจหลักของกลุม งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สําคัญที่ใชในการจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีดังตอไปนี้ 2.1

เกณฑการจัดทํางบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการไดจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใตพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกภายใตพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และตามขอกําหนด ของคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ว า ด ว ยการจั ด ทํ า และนํ า เสนอรายงานทางการเงิ น ภายใต พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตัวเลขเปรียบเทียบไดมีการจัดประเภทรายการใหมเพื่อใหสอดคลองกับการนําเสนอรายการในงบการเงินงวดปจจุบันเทา ที่จําเปน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน ยกเวน เรื่องที่อธิบายในนโยบายการบัญชีในลําดับตอไป การจัดทํางบการเงินใหสอดคลองกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทย กําหนดใหใชประมาณการทางบัญชี ที่สําคัญและการใชดุลยพินิจของผูบริหารซึ่งจัดทําขึ้นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชีของกลุมกิจการไปถือปฏิบัติ และตองเปดเผยเรื่องการใชดุลยพินิจของผูบริหาร หรือ ความซับซอน หรือ เกี่ยวกับขอสมมติฐานและประมาณการที่มี นัยสําคัญตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในหมายเหตุ 4 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เปนภาษาไทย ในกรณี ที่มีเนื้อความขัดแยงกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกตางกัน ใหใชงบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทยเปนหลัก


PAGE

140

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการ ที่เกี่ยวของกัน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เรื่อง เกษตรกรรม เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกัน เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

141

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2558) เรื่องที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ไดกําหนดใหมีความชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับการปรับราคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเสื่อมราคาสะสม ในกรณีที่กิจการใชวิธีการ ตีราคาใหม มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2558) เรื่องผลประโยชนพนั กงาน ไดมีการอธิบายเกี่ยวกับวิธีการ ปฏิบัติทางบัญชีสําหรับเงินสมทบจากพนั กงานหรือบุคคลที่ส ามแกโครงการผลประโยชน ที่กําหนดไวให ชัดเจนขึ้น การปรับปรุงดังกลาวใหความแตกตางระหวาง เงินสมทบที่เกี่ยวของกับการบริการที่เกิดขึ้นในรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เงินสมทบนั้ นเกิดขึ้นเทานั้ น และเงินสมทบที่เกี่ยวของกับการบริการที่มากกวาหนึ่ งรอบ ระยะเวลาบัญชี มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2558) เรื่องการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดรวมกิจการที่ใหบริการดานผูบริหารสําคัญแกกิจการที่รายงาน หรือแกบริษัทใหญของกิ จการที่รายงาน ซึ่ง กิจการตองเปดเผยจํานวนเงินที่กิจการไดจายใหแกกิจการที่ใหบริการดานผูบริหารสําคัญ มาตรฐานดังกลาวไม สงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ ยกเวนเรื่องการเปดเผยขอมูล มาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 27 (ปรับปรุง 2558) ใหกิจการที่ดําเนิ น ธุรกิจด านการลงทุน ที่ไดรับการยกเวน ไมตองรวมบริษัทยอยเขามาในการจัดทํางบการเงินรวมสามารถแสดงงบการเงินเฉพาะกิจการเพียงงบเดียวได และไดกําหนดใหวัดมูล คาเงินลงทุนในบริษัทยอยดังกลาวดวยมูลคายุติธรรมและรับรูการเปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรมดังกลาวไปยังกําไรหรือขาดทุน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย ไดมีการกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การเปดเผยขอมูลในกรณีที่มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยวัดมูลคาโดยใชวิธีมูลคายุติ ธรรมหักตนทุน ในการจําหนาย โดยการเปดเผยดังกลาวรวมถึง 1) ลําดับชั้นของมูลคายุติธรรม 2) กรณีที่การวัดมูลคายุติธรรม อยูในลําดับชั้นที่ 2 และ 3 จะตองมีการเปดเผย เทคนิคที่ใชในการวัดมูลคายุติธรรม และขอสมมติฐานสําคัญที่ ใช มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ ยกเวนเรื่องการเปดเผยขอมูล


PAGE

142

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2558) เรื่องสินทรัพยไมมีตัวตนไดกําหนดใหชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับการ ปรับราคาตามบัญชีกอนหักคาตัดจําหนายสะสม และคาตัดจําหนายสะสมในกรณีที่กิจการใชวิธีการตีราคาใหม มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2558) เรื่องอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ไดกําหนดใหชัดเจนขึ้น วา กิจการควรพิจารณามาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ในการพิจารณาวาการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุนนั้นเขาเงื่อนไขการรวมธุรกิจหรือไม มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับ งบการเงินของ กลุมกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 41 เรื่องเกษตรกรรม ไดมีการกําหนดใหสิ น ทรัพยชีวภาพ รวมถึง ผลผลิตทาง การเกษตร ณ จุดเก็บเกี่ยวจากสินทรัพยชีวภาพของกิจการตองวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย สภาวิ ชาชี พได มี การออกแนวปฏิ บั ติ ทางการบั ญชี สํ าหรั บ มาตรฐานการบั ญชี ฉบั บ ที่ 41 เรื่ องเกษตรกรรม โดยยกเวนพืชเพื่อการใหผลิตผล ออกจากขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 41 แนวปฏิบัตินี้กําหนดให พืชเพื่อการใหผลิตผล จะตองวัดมูล คาดวย ราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสม หักคาเพื่อการดอยคา (ถามี) ตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 16 เรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงิน ของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ไดกําหนดคํานิยาม ใหชัดเจนขึ้น สําหรับ “เงื่อนไขการไดรับสิทธิ ” และ กําหนดคํานิยามแยกกันระหวาง “เงื่อนไขผลงาน” และ “เงื่อนไขการบริการ” มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2558) เรื่องการรวมธุรกิจ ไดกําหนดใหชัดเจนขึ้นในเรื่อง ก) ภาระผูกพันที่กจิ การตองจายชําระสิ่งตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้นที่เขาคํานิยามของเครื่องมือทางการเงิน วาเปน หนี้สินทางการเงินหรือสวนของเจาของตามคํานิยามของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 32 เรื่องการแสดงรายการ สําหรับเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) หรือตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นที่เกี่ยวของ และไดกําหนดใหวัดมูลคาสิ่งตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้นที่ไมไดถูกจัดประเภทเปนสวนของเจาของดวยมูลคา ยุติธรรมและรับรูการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมในกําไรหรือขาดทุนทุกสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน และ ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 3 ไมไดถือปฏิบัติกับการบัญชีสําหรับการจัดตั้งการรวมคาที่อยู ภายใตมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 11 มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุม กิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) ถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมถึง สัญญาประกันภัยตอ) ที่กิจการเปนผูออกและสัญญาประกันภัยตอที่กิจการถือไว มาตรฐานการรายงานทาง การเงิ น ฉบั บ นี้ ยกเวน เปน การชั่ว คราว ใหผู รั บ ประกั น ภั ย ไม ต อ งปฏิ บั ติต ามข อ กํ า หนดบางประการของ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับอื่น ๆ รวมทั้งขอกําหนดตามแมบทการบัญชีในการเลือกใชนโยบายการ บัญชี สํา หรับ สัญ ญาประกัน ภัย อย างไรก็ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ นี้มีข อ กํ าหนด ดัง นี้ (ก) หามตั้งประมาณการหนี้ สินสําหรับ คาสินไหมทดแทนที่ยังไมเกิดขึ้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน (ข) ใหทดสอบความเพียงพอของหนี้สินจากการประกันภัยที่รับรูแลว และทดสอบการดอยคาของสินทรัพยจาก สัญญาประกัน ภัยตอ และ (ค) ใหผูรับประกัน ภัยบัน ทึกหนี้สินจากสัญญาประกัน ภัยไวในงบแสดงฐานะ การเงินของกิจการจนกวาภาระหนี้สินจากสัญญาประกันภัยนั้นจะหมดลง หรือยกเลิก หรือสิ้นผลบังคับ และให แสดงหนี้ สินจากสั ญญาประกั นภั ยโดยไม มี การหั กกลบกับ สิน ทรัพ ยจ ากสัญ ญาประกัน ภัย ตอ ที่เ กี่ย วข อ ง มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 4 ถือปฏิบัติกับสัญญาประกันภัยทั้งหมด (รวมถึงสัญญาประกันภัยตอ) ที่ กิ จ การเป น ผู อ อกและสั ญ ญาประกั น ภั ย ต อ ที่ กิ จ การถื อ ไว มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบั บ ที่ 4 ไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานของกลุมกิจการ

143


PAGE

144

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) เรื่องสวนงานดําเนินงาน ไดกําหนดใหมีการเปดเผย ขอมูลเกี่ยวกับดุลยพินิจของผูบริหารในการรวมสวนงานเขาดวยกัน และกําหนดใหนําเสนอการกระทบยอด สินทรัพยของสวนงานกับสินทรัพยของกิจการเมื่อกิจการรายงานขอมูลสินทรัพยของสวนงานใหกับผูมีอํานาจ ตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานของกิจการ มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ ยกเวนเรื่องการเปดเผยขอมูล มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) เรื่อง งบการเงินรวม การปรับปรุงนี้ไดใหคํานิยาม ของกิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุนและไดกําหนดขอยกเวนในการจัดทํางบการเงินรวม ซึ่งการปรับปรุง ดังกลาวสงผลใหกองทุนหลายกองทุนและกิจการที่มีธุรกิจที่คลายคลึงกัน ไดรับขอยกเวนจากการนําบริษัทยอย เกือบทั้งหมดมารวมในการจัดทํางบการเงินรวม แตจะวัดมูล คาเงินลงทุน ในบริษัทยอยเหลานั้ นดวยมูลคา ยุติธรรมผานกําไรหรือขาดทุน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) ไดกําหนดใหกิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุน เปดเผยขอมูลที่กําหนดไวสําหรับกิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับ งบการเงินและการเปดเผยขอมูลของกลุมกิจการ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 13 (ปรับปรุง 2558) เรื่องมูล คายุติธรรมไดกําหนดใหชัดเจนขึ้น เกี่ยวกับขอยกเวนในเรื่องของการวัดมูลคายุติธรรมเปนกลุมใหปฏิบัติใชกับทุกสัญญาที่อยูในขอบเขตของ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 39 เรื่อง การรับรูและการวัดมูลคาเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) หรือ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9 เรื่องเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) ซึ่งรวมถึงสัญญาที่ ไมเปนสัญญาทางการเงิน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบกับงบการเงินของกลุมกิจการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

145

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบั​ัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่เกี่ยวของที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางมีสาระสําคัญ มีดังตอไปนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ การตีความมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้ กลาวถึงการบัญชีสําหรับหนี้สินการจายเงินที่นําสงรัฐ หากหนี้สินนั้นอยูภายใตขอบเขต ของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) เรื่องประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ยังไดกลาวเกี่ยวกับการบัญชีสําหรับ หนี้สินการจายเงินที่นําสงรัฐที่จังหวะเวลาและจํานวนเงินมีความแนนอน มาตรฐานดังกลาวไมสงผลกระทบ กับงบการเงินของกลุมกิจการ


PAGE

146

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรั บปรุง และการตีความมาตรฐานที่เปลี่ยนแปลงอย างไม มี สาระสําคัญและไมมีผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2558)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง การนําเสนองบการเงิน เรื่อง สินคาคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญากอสราง เรื่อง ภาษีเงินได เรื่อง สัญญาเชา เรื่อง รายได เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจาก รัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เรื่อง ตนทุนการกูยืม เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่ เงินเฟอรุนแรง เรื่อง กําไรตอหุน เรื่อง งบการเงินระหวางกาล เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินทีอ่ าจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น เรื่อง สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

147

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรั บปรุง และการตีความมาตรฐานที่เปลี่ยนแปลงอย างไม มี สาระสําคัญและไมมีผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของ อยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรือผูถือหุน เรื่อง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง รายได - รายการแลกเปลี่ยนเกีย่ วกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สนิ ที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เรื่อง การประเมินวา ขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชา หรือไม เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและการปรับปรุงสภาพแวดลอม เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) เรื่องการรายงาน ทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง


PAGE

148

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 มีดังตอไปนี้ (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มี การปรั บปรุง และการตีความมาตรฐานที่เปลี่ยนแปลงอย างไม มี สาระสําคัญและไมมีผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2558)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2558)

เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นต่ําและปฏิสมั พันธของ รายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559)

เรือ่ ง การนําเสนองบการเงิน เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เรื่อง งบการเงินเฉพาะกิจการ เรื่อง เงินลงทุนในบริษัทรวม และการรวมคา เรื่อง งบการเงินระหวางกาล เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน เรื่อง เกษตรกรรม เรื่ อ ง สิ น ทรั พ ย ไ ม ห มุ น เวี ย นที่ ถื อ ไว เ พื่ อ ขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก เรื่อง งบการเงินรวม เรื่อง การรวมการงาน เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น

PAGE

149


PAGE

150 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) ไดใหความชัดเจนในหลายประเด็น ที่สําคัญดังตอไปนี้ - ความมีสาระสําคัญ - กิจการไมควรรวมยอดหรือแยกแสดงขอมูลในรูปแบบที่ทําใหผูใชงบการเงินเขาใจ รายการไดลดลง หากเปนรายการที่มีสาระสําคัญ จะตองเปดเผยขอมูลใหเพียงพอเพื่ออธิบายผลกระทบที่มี ตอฐานะการเงินหรือผลการดําเนินงาน - การแยกแสดงรายการและการรวมยอด - รายการบรรทัดที่ระบุใน TAS 1 อาจจําเปนตองแสดงแยกจากกัน หากเกี่ยวของตอความเขาใจฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ นอกจากนี้ยังมีแนวปฏิบัติใหม ของการใชการรวมยอด - หมายเหตุประกอบงบการเงิน - ยืนยันวาหมายเหตุประกอบงบการเงินไมจําเปนตองเรียงลําดับตามลําดับ การแสดงรายการในงบการเงิน - รายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นที่เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย - สวนแบงกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ที่เกิดจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียจะถูกจัดกลุมโดยพิจารณาวาเปนรายการที่จะถูกจั ดประเภทใหมไปยัง กําไรหรือ ขาดทุน ในภายหลั งหรือ ไม โดยแตจะกลุ มจะแยกแสดงเปนรายการบรรทั ดแยกต างหากใน งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ ไดกําหนดใหมีความชัดเจนขึ้นวา การคิดคาเสื่อมราคาที่ดินอาคารและอุปกรณโดยอางอิงกับรายไดน้ันไมเหมาะสม และ แกไขขอบเขตใหพืช ที่ใหผลิตผลที่เกี่ยวของกับกิจกรรมทางการเกษตรรวมอยูในขอบเขตของมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ ไดกําหนดใหมีความชัดเจนขึ้น สําหรับการเลือกใชอัตราคิดลดสําหรับการประมาณผลประโยชนหลังออกจากงานวาใหใชอัตราผลตอบแทน ของหนี้สินโดยพิจารณาจากสกุลเงินของหนี้สินที่มีสกุลเงินที่สอดคลองกับสกุลเงินของหนี้สินผลประโยชน หลังออกจากงานเปนสําคัญ ไมใชพิจารณาจากประเทศที่หนี้สินนั้นเกิดขึ้น


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการแกไขโดยใหทางเลือกเพิ่มในการบันทึกเงินลงทุน ในบริษัทยอย การรวมคา หรือบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการโดยใชวิธีสวนไดเสียตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) เพิ่มเติมจากเดิมที่ใหใชวิธีราคาทุน หรือวิธีมูลคายุติธรรม (เมื่อมีการประกาศใช) ทั้งนี้การเลื อกใชนโยบายบัญชีสํา หรับเงินลงทุ นแตละประเภท (บริษัท ยอ ย การร วมคา หรือ บริษัท รวม) เปนอิสระจากกัน โดยหากกิจการเลือกที่จะเปลี่ยนมาใชวิธีสวนไดเสียจะตองทําโดยปรับปรุงงบการเงินยอนหลัง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2559) มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือ 1) ใหทางเลือกเพิ่มสําหรับ กิจการที่ไมใชกิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุนที่มีสวนไดเสียในบริษัทรวมหรือการรวมคาที่เปน กิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุน โดยในการบันทึกบัญชีโดยใชวิธีสวนไดเสียในเงินลงทุนในบริษัทรวม หรือการรวมคาที่เปนกิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุนนั้น จะมีทางเลือกในการที่จะยังคงการวัดมูลคา เงินลงทุนในบริษัท ย อยของบริษัท รวมหรื อการรวมคานั้น ๆ ดวยวิธีมูล คายุติธรรมตามที่บ ริษัท รวมหรื อ การรวมคานั้นๆใชอยู หรือจะถอดการวัดมูลคายุติธรรมออกและแทนดวยการจัดทํางบการเงินรวมของบริษัทรวม หรือการรวมคาที่เปนกิจการที่ดําเนินธุรกิจเฉพาะดานการลงทุน และ 2) เพิ่มทางเลือกในการใชวิธีสวนไดเสีย สําหรับเงินลงทุนในบริษัทรวมหรือการรวมคาในงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2559) การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือไดกําหนดใหมีความชัดเจน ถึงความหมายของการอางอิงในมาตรฐาน ไปยัง “ขอมูลที่ไดเปดเผยไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินระหวางกาล หรือที่อื่นในรายงานทางการเงินระหว างกาล” วากิจการที่ใชประโยชนของขอผอนปรนนี้จะตองอางอิงจาก งบการเงินระหวางกาลไปถึงยังรายงานอื่นที่มีขอมูลดังกลาวอยางเฉพาะเจาะจง โดยที่ผูใชงบการเงินตองสามารถ เขาถึงรายงานอื่นที่มีขอมูลนั้นในลักษณะและเวลาเดียวกันกับงบการเงินระหวางกาล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการเปลี่ยนแปลงโดยใหมีการสันนิษฐานวาการตัดจําหนาย ของสินทรัพยไมมีตัวตนโดยการอางอิงจากรายไดน้ันไมเหมาะสม ขอสันนิษฐานนี้อาจตกไปหากเข าขอหนึ่ง ขอใดตอไปนี้ คือสินทรัพยไมมีตัวตนไดถูกแสดงเหมือนเปนตัววัดของรายได (นั่นคือรายไดเปนปจจัยที่เปน ขอจํากัดของมูลคาที่จะไดรับจากสินทรัพย) หรือสามารถแสดงไดวารายไดและการใชประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ที่ไดจากสินทรัพยมีความสัมพันธกันเปนอยางมาก

151


PAGE

152 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ก) กลุมมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุงและการตีความที่เกี่ยวของที่มี การเปลี่ยนแปลง อยางมีสาระสําคัญตอกลุมกิจการ มีดังตอไปนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2599) ไดมีการเปลี่ยนแปลงซึ่งสอดคลองกับแนวปฏิบัติทางบัญชี สําหรับการวัดมูลคาและรับรูรายการของพืชเพื่อการใหผลผลิตซึ่งสภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศเมื่อ พ.ศ. 2558 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหความชั ดเจนเพิ่มเติม ในกรณีท่ีสินทรัพย (หรือกลุมสินทรัพยท่ีจะจําหนาย) ถูกจัดประเภทใหมจาก “ที่ถือไวเพื่อขาย” เปน “ที่มีไว เพื่อจายใหแกผูเปนเจาของ” หรือถูกจัดประเภทใหมในทางตรงกันขามนั้น ไมถือวาเปนการเปลี่ยนแปลง แผนการขายหรือแผนการจายและไมตองปฏิบัตติ ามแนวทางการบันทึกบัญชีสําหรับการเปลี่ยนแปลง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการปรับปรุงใหชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับ 1) ขอยกเวน ในการจัดทํางบการเงินรวมวาใหใชกับกิจการที่เปนบริษัทใหญข้นั กลางที่เปนบริษัทยอยของกิจการที่ดําเนินธุรกิจ ดานการลงทุนดวยเหมือนกัน และ 2) กิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุนจะตองนําบริษัทยอยที่ไมใชกิจการ ที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุนและบริษัทยอยดังกลาวใหบริการหรือมีกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุน มารวมใน การจัดทํางบการเงินรวมดวย มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับ ที่ 11 (ปรับปรุง 2559) ไดกําหนดใหมีความชัดเจนมากขึ้นสําหรับ 1) การซื้อสวนไดเสียในการดําเนินงานรวมกันที่กิจกรรมของการดําเนินงานรวมกันนั้นประกอบกันขึ้นเปนธุรกิจ ใหผูซ้อื นําหลักการบัญชีของการรวมธุรกิจมาถือปฏิบัติ และ 2) ในกรณีที่ผูรวมดําเนินงานมีการซื้อสวนไดเสีย ในการดําเนินงานรวมกันเพิ่มขึ้นนั้น สวนไดเสียเดิมที่มีอยูในการดําเนินงานรวมกันจะไมถูกวัดมูลคาใหม หากรวมดําเนินงานยังคงมีการควบคุมรวมอยู มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) ไดมีการกําหนดใหชัดเจนยิ่งขึ้นใหกิจการที่เปน กิจการที่ดําเนินธุรกิจดานการลงทุน ตองเปดเผยขอมูลของบริษัทยอยที่วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ตามที่ กําหนดใน TFRS 12 แมไมไดมีการจัดทํางบการเงินรวม ผูบริหารของกิจการอยูในระหวางการประเมินและพิจารณาผลกระทบจากการปรับปรุงดังกลาวขางตนที่มีตอ งบการเงินของกลุมกิจการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการ ปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2559)

มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2559)

เรื่อง สินคาคงเหลือ เรื่อง งบกระแสเงินสด เรื่อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการ ทางบัญชีและขอผิดพลาด เรื่อง เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่อง สัญญากอสราง เรื่อง ภาษีเงินได เรื่อง สัญญาเชา เรื่อง รายได เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือ จากรัฐบาล เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ เรื่อง ตนทุนการกูยืม เรื่อง การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่ เกี่ยวของกัน เรื่อง การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน เมื่อออกจากงาน เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงิน เฟอรุนแรง เรือ่ ง กําไรตอหุน เรื่อง การดอยคาของสินทรัพย เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินทีอ่ าจเกิดขึ้น และ สินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น

PAGE

153


PAGE

154

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2559)

เรื่อง อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เรื่อง การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ เรื่อง การรวมธุรกิจ เรื่อง สัญญาประกันภัย เรื่อง การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร เรื่อง สวนงานดําเนินงาน เรื่อง การวัดมูลคายุติธรรม เรื่อง ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความ เกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรม ดําเนินงาน เรื่อง สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา เรื่อง ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษี ของกิจการหรือของผูถือหุน เรือ่ ง การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบ กฎหมาย เรื่อง การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 (ปรับปรุง 2559)

เรื่อง รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา เรื่อง สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สนิ ที่มีลักษณะคลายคลึงกัน เรื่อง การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม เรื่อง สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะ และการปรับปรุงสภาพแวดลอม เรื่อง การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง2559) เรื่อง การรายงานทาง การเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง เรื่อง งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา เรื่อง ขอตกลงสัมปทานบริการ เรื่อง โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา เรื่อง ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขั้นต่ําและปฏิสัมพันธของ รายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน

155


PAGE

156 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับปรุง และการตีความมาตรฐาน ที่เกี่ยวของ (ตอ) 2.2.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับป รุง และการตีความที่เกี่ยวของ ซึ่งมีผลบังคับใช ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 ซึ่งเกี่ยวของกับกลุมกิจการและยังไมได นํามาถือปฏิบัติกอนวันบังคับใช (ตอ) ข) กลุมมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐาน ที่เปลี่ยนแปลงอยางไมมีสาระสําคัญและไมมี ผลกระทบตอกลุมกิจการ มีดังนี้ (ตอ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2559) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 104 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 105 (ปรับปรุง 2559) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 107 (ปรับปรุง 2559)

เรื่อง สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย เรื่อง การจายสินทรัพยที่ไมใชเงินสดใหเจาของ เรื่อง การโอนสินทรัพยจากลูกคา เรื่อง ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับ เหมืองผิวดิน เรื่อง เงินที่นําสงรัฐ เรื่อง การบัญชีสําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา เรื่อง การบัญชีสําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และ ตราสารทุน เรื่อง การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลสําหรับ เครื่องมือทางการเงิน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

157

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3

บัญชีกลุมกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม (1)

บริษัทยอย บริษัทยอยหมายถึงทุกกิจการที่ กลุมกิจการมีอํานาจในการควบคุม กลุมกิจการมีอํานาจการควบคุมเมื่อกลุมกิจการ เปดรับหรือมีสิทธิในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวของกับผูไดรับการลงทุน และมีความสามารถที่จะทําให เกิดผลกระทบตอผลตอบแทนนั้นจากการมีอํานาจเหนือผูไดรับการลงทุน กลุมกิจการรวมงบการเงินของบริษัทยอย ไวในงบการเงินรวมตั้งแตวันที่ กลุมกิจการมีอํานาจในการควบคุมบริษัทยอย กลุมกิจการจะไมนํางบการเงินของ บริษัทยอยมารวมไวในงบการเงินรวมนับจากวันที่กลุมกิจการสูญเสียอํานาจควบคุม กลุมกิจการบัน ทึกบัญชีการรวมธุรกิจโดยถือ ปฏิบัติตามวิธีซื้อ สิ่งตอบแทนที่โ อนใหสําหรับการซื้อ บริษัทยอ ย ประกอบดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ผูซื้อโอนใหและหนี้สินที่กอขึ้นเพื่อจายชําระใหแกเจาของเดิมของผูถูกซื้อ และสวนไดเสียในสวนของผูถือหุนที่ออกโดยกลุมกิจการ สิ่งตอบแทนที่โอนใหรวมถึงมูลคายุติธรรมของสินทรัพย หรือหนี้สินที่ผูซื้อคาดวาจะตองจายชําระตามขอตกลง ตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อจะรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น มูลคาเริ่มแรกของสินทรัพยที่ระบุไดที่ไดมาและหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่รับมาจากการรวมธุรกิจจะถูก วัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซ้ือ ในการรวมธุรกิจแตละครั้ง กลุมกิจการวัดมูลคาของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมในผูถูกซื้อดวยมูลคายุติธรรม หรือ มูลคาของสิน ทรัพยสุทธิที่ระบุไดของผูถูกซื้อตามสัดสวนของหุน ที่ ถือโดยสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ในการรวมธุรกิจที่ดําเนินการสําเร็จจากการทยอยซื้อ ผูซื้อตองวัดมูลคาสวนไดเสียที่ผูซื้อถืออยูในผูถูกซื้อกอนหนา การรวมธุรกิจใหมโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซ้ือและรับรูผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลคาใหมน้ัน ในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายออกไปโดยกลุมกิจการ รับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ การเปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายที่รับรูภายหลังวันที่ซื้อซึ่งจัดประเภทเปนสินทรัพยหรือหนี้สินให รับรูในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายซึ่งจัดประเภทเปนสวนของผูถือหุนตองไมมีการวัดมูลคา ใหม และใหบันทึกการจายชําระในภายหลังไวในสวนของผูถือหุน ในการรวมธุรกิจที่ดําเนินการสําเร็จจากการทยอยซื้อ ผูซื้อตองวัดมูลคาสวนไดเสียที่ผูซื้อถืออยูในผูถูกซื้อที่กอนหนา การรวมธุรกิจใหมมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซ้ือและรับรู ผลกําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการวัดมูลคาใหม นั้นในกําไร หรือขาดทุน สวนเกินของมูลคาสิ่งตอบแทนที่โอนให มูลคาสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในผูถูกซื้อและมูลคายุติธรรม ณ วันซื้อ ธุรกิจของสวนไดเสียในสวนของผูถือหุนของผูถูกซื้อที่ผูซ้ือถืออยูกอนการรวมธุ รกิจ ที่มากกวามูลคายุติธรรมสุทธิ ณ วันที่ซื้อของสินทรัพยสุทธิที่ระบุไดที่ไดมา ตองรับรูเปนคาความนิยม หากมูลคาของมูลคาสิ่งตอบแทนที่ โอนให มูลคาสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุมในผูถูกซื้ อ และมูลค ายุติธรรม ณ วันซื้อธุรกิจของสวนไดเสี ยในส วนของ ผูถ ือหุนของผูถูกซื้อที่ผูซื้อถืออยูกอนการรวมธุรกิจ นอยกวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยที่ไดมา เนื่องจากการซื้อในราคาต่ํากวามูลคายุติธรรม จะรับรูสวนตางโดยตรงไปยังกําไรขาดทุน


PAGE

158 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3

บัญชีกลุมกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม (ตอ) (1)

บริษัทยอย (ตอ) กิจการจะตัดรายการบัญชีระหวางกัน ยอดคงเหลือ และกําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกันในกลุมกิจการ ขาดทุนที่ ยังไมเกิดขึ้นจริงก็จะตัดรายการในทํานองเดียวกัน เวนแตรายการนั้นมีหลักฐานวาสินทรัพยที่โอนระหว างกันเกิดการ ดอยคา นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดถูกปรับปรุงเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมกิจการ ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทยอยจะบันทึกบัญชีดวยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคา ตนทุนจะมีการปรับ เพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจาย ตนทุนนั้น จะรวมตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของกับการไดมาของเงินลงทุนนี้ รายชื่อของบริษัทยอยของกลุมกิจการไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 12

(2)

รายการและสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม กลุมกิจการปฏิบัติตอรายการกับสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมเชนเดียวกันกับรายการกับสวนที่เปนของผูถือหุน กลุมกิจการ สําหรับการซื้อสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนที่จายใหและหุนที่ไดมาของ มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิของหุนที่ซื้อมาในบริษัทยอยจะถูกบันทึกในสวนของผูถือหุน และกําไรหรือ ขาดทุนจากการขายในสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมจะถูกบันทึกในสวนของผูถือหุน

(3)

การจําหนายบริษัทยอย เมื่ อกลุ ม กิ จ การสู ญ เสี ย การควบคุ ม ส ว นได เ สี ย ในกิ จ การที่ เ หลื อ อยู จ ะวั ด มู ล ค า ใหม โ ดยใช มู ล ค า ยุ ติ ธ ร รม การเปลี่ยนแปลงในมูลคาจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน มูลคายุติธรรมนั้นจะถือเปนมูลคาตามบัญชีเริ่มแรกของมูลคา ของเงินลงทุนเพื่อวัตถุประสงคในการวัดมูลคาในเวลาตอมาของเงินลงทุนที่เหลืออยูในรูปของบริษัทรวม กิจการ รวมคา หรือสินทรัพยทางการเงิน สําหรับทุกจํานวนที่เคยรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในสวนที่เกี่ยวของกับ กิจการนั้นจะถูกปฏิบัติเสมือนวากลุมกิจการมีการจําหนายสินทรัพยหรือหนี้สินที่เกี่ยวของนั้นออกไป

(4)

บริษัทรวม บริษัทรวมเปน กิจการที่ กลุมกิจการมีอิท ธิพลอยางเปนสาระสําคัญแตไมถึงกับควบคุมซึ่ งโดยทั่วไปก็คือการที่ กลุมกิจการถือ หุน ที่มีสิท ธิอ อกเสียงอยูระหวางรอ ยละ 20 ถึงรอ ยละ 50 ของสิทธิอ อกเสียงทั้งหมด เงินลงทุน ในบริษัท รวมรับ รูโ ดยใชวิธีสวนไดเสี ยในการแสดงในงบการเงินรวม ภายใตวิธีสวนไดเสี ย กลุมกิจการรับ รู เงินลงทุนเมื่อเริ่มแรกดวยราคาทุน มูลคาตามบัญชีของเงินลงทุนนี้จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงในภายหลังวันที่ไดมาดวย สวนแบงกําไรหรือขาดทุนของผูไดรับการลงทุนตามสัดสวนที่ผูลงทุนมีสวนไดเสียอยู เงินลงทุนในบริษัทรวมของ กลุมกิจการรวมถึงคาความนิยมที่ระบุได ณ วันที่ซ้อื เงินลงทุน ถาสวนไดเสียของเจาของในบริษัทรวมนั้นลดลงแตยังคงมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ กิจการตองจัดประเภทรายการ ที่เคยรับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเขากําไรหรือขาดทุนเฉพาะสัดสวนในสวนไดเสียของเจาของที่ลดลง


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.3

บัญชีกลุมกิจการ - เงินลงทุนในบริษัทยอย (ตอ) (4)

บริษัทรวม (ตอ) สวนแบงกําไรหรือขาดทุนของกลุมกิจการในบริษัทรวมที่เกิดขึ้นภายหลังการไดมาจะรวมไวในกําไรหรือขาดทุน และสว นแบ งในกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็จอื่ น ที่เกิ ดขึ้ น ภายหลังการไดม าจะรวมไวในกํา ไรขาดทุน เบ็ด เสร็ จอื่ น ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงภายหลังการไดมาดังกลาวขางตน จะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื่อ สวนแบงขาดทุน ของกลุมกิจการในบริษัทรวมมีมูลคาเทากับหรือเกินกวามูลคาสวนไดเสียของกลุมกิจการ ในบริษัทรวมนั้น กลุมกิจการจะไมรับรูสวนแบงขาดทุนอีกตอไป เวนแตกลุมกิจการมีภาระผูกพันในหนี้ของบริษัทรวม หรือรับวาจะจายหนี้แทนบริษัทรวม กลุมกิจการมีการพิจารณาทุกสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีวามีขอบงชี้ที่แสดงวาเงินลงทุนในบริษัทรวมเกิดการดอยคา หรือไม หากมีขอบงชี้เกิดขึ้นกลุมกิจการจะคํานวณผลขาดทุนจากการดอยคา โดยเปรียบเทียบมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน กับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน และรับรูผลตางไปที่สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ของเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบ กําไรขาดทุน รายการกําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงระหวางกลุมกิจการกับ บริษัท รวมจะตัดบัญชีเทาที่ กลุมกิจการมีสวนไดเสีย ในบริษัทรวมนั้น รายการขาดทุนที่ยังไมไดเกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทํานองเดียวกัน เวนแตรายการนั้นมีหลักฐานวา สินทรัพยท่โี อนระหวางกันเกิดการดอยคา บริษัทรวมจะเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเทาที่จําเปนเพื่อใหสอดคลองกับนโยบายการบัญชีของกลุมกิจการ กําไรและ ขาดทุนจากการลดสัดสวนในบริษัทรวมจะรับรูในกําไรหรือขาดทุน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทรวม จะบันทึกบัญชีดวยราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคา ตนทุนจะมีการ ปรับเพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงสิ่งตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของสิ่งตอบแทนที่คาดวาตองจาย ตนทุนจะรวมตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของจากการไดมาของเงินลงทุนนี้ รายชื่อของบริษัทรวมของกลุมกิจการไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13

159


PAGE

160 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.4

การแปลงคาเงินตราตางประเทศ (ก)

สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงิน รายการที่ ร วมในงบการเงิ น ของแต ล ะบริ ษั ท ในกลุ ม กิ จ การถู ก วั ด มู ล ค า โดยใช ส กุ ล เงิ น ของสภาพแวดล อ ม ทางเศรษฐกิจหลักที่บริษัทดําเนินงานอยู (สกุลเงินที่ใชในการดําเนินงาน) งบการเงินรวมแสดงในสกุลเงินบาท ซึ่งเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานและสกุลเงินที่ใชนําเสนองบการเงินของบริษัท

(ข)

รายการและยอดคงเหลือ รายการที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนสกุลเงินที่ใชในการดําเนินงานโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ เกิดรายการหรือวันที่ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลคาใหม รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือ จายชําระที่เ ปนเงินตราตางประเทศ และที่เกิดจากการแปลงคาสิน ทรัพยและหนี้ สินที่เปนตัวเงินซึ่งเปนเงินตรา ตางประเทศดวยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นป ไดบันทึกไวในกําไรหรือขาดทุน เมื่อมีการรับรูรายการกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไมเปนตัวเงินไวในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องคประกอบของ อัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมดของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรูไวในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นดวย ในทางตรงขามการ รับรูกําไรหรือขาดทุนของรายการที่ไมเปนตัวเงินไวในกําไรหรือขาดทุน องคประกอบของอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด ของกําไรหรือขาดทุนนั้นจะรับรูไวในกําไรขาดทุนดวย

2.5

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสด หมายรวมถึงเงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท แตไมรวมเงินฝากธนาคารประเภทที่ตองจายคืนเมื่อสิ้น ระยะเวลาที่กําหนด (เงินฝากประจํา) และบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินอื่น และไมรวมเงินฝาก ธนาคารที่มีขอจํากัดในการเบิกถอน และรายการเทียบเทาเงินสดรวมถึงเงินลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคลองสูงซึ่งมีอายุ ไมเกินสามเดือนนับจากวันที่ไดมา ในงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรวมถึงเงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ประเภทจายคืนเมื่อ ทวงถาม เงินลงทุน ระยะสั้น อื่น ที่มีสภาพคลองสูงซึ่งมีอ ายุไมเกินสามเดือนนับจากวันที่ไดมา และ เงินเบิกเกินบัญชี เงินเบิกเกินบัญชีจะแสดงไวในสวนของหนี้สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน

2.6

ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคารับรูเริ่มแรกดวยมูลคาตามใบแจงหนี้และจะวัดมูลคาตอมาดวยจํานวนเงินที่เหลืออยูหักคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึง ผลตางระหวางราคาตามบัญชีของ ลูกหนี้การคาเปรียบเทียบกับมูลคาที่คาดวาจะไดรับจากลูกหนี้การคา หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนโดยถือเปน สวนหนึ่งของคาใชจายในการบริหาร


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

161

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.7

สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในงบแสดงฐานะการเงินดวยราคาทุนหรือมูลคาสุทธิท่ีจะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนของ สินคาคงเหลือคํานวณโดยวิธีเขากอนออกกอน ตนทุนในการซื้อประกอบดวยราคาซื้อ และคาใชจายทางตรงที่เกี่ยวของกับ การซื้อสินคานั้น เชน คาอากรขาเขา คาขนสง หักดวยสวนลดเกี่ยวของทั้งหมด สวนยอมใหหรือเงินที่ไดรับคืน ตนทุนของ สินคาสําเร็จรูป และงานระหวางทําภาพยนตร ละคร หนังแผน และอื่นๆ ประกอบดวย ตนทุนการผลิตทางตรง การถายทํา และคาใชจายในการผลิตอื่น มูลคาสุทธิที่จะไดรับประมาณจากราคาที่คาดวาจะขายได ตามปกติของธุรกิจหักดวยคาใชจายที่ จําเปนเพื่อใหสินคานั้นสําเร็จรูปและเพื่อใหสินคานั้นขายไดรวมถึงคาใชจายในการขาย กลุมกิจการจะบันทึกบัญชีคาเผื่อลด มูลคาสินคาเมื่อพบวามีสินคาเกา ลาสมัย เสื่อมคุณภาพเทาที่จําเปน

2.8

อาคารและอุปกรณ อาคารและอุปกรณแสดงรายการดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ตนทุนเริ่มแรกจะ รวมตนทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการซื้อสินทรัพยนั้น ตนทุนที่เกิดขึ้นในภายหลังจะรวมอยูในมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยหรือรับรูแยกเปนอีกสินทรัพยหนึ่งตามความเหมาะสม เมื่อตนทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดวาจะใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตแกกลุมกิจการ และตนทุนดังกลาวสามารถวัดมูลคา ไดอยางนาเชื่อถือ มูลคาตามบัญชีของชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดรายการออก สําหรับคาซอมแซมและบํารุงรักษาอื่นๆ กลุมกิจการจะรับรูตนทุนดังกลาวเปนคาใชจายในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาเสื่อมราคาของสินทรัพยอื่ นคํานวณด วยวิ ธีเสนตรงเพื่อลดราคาตามบั ญชี ใ ห เทากับมูลค าคงเหลือของสินทรัพยแตละ ชนิด ตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพยที่ประมาณไวดังตอไปนี้ อาคาร สวนปรับปรุงอาคารเชา เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

20 ป ตามอายุสัญญาเชาที่ดิน 8 ป 7 เดือน 5 - 10 ป 5 - 10 ป 5 ป

ทุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานกลุมกิจการไดมีการทบทวนและปรับปรุงมูลคาคงเหลือ และอายุการใหประโยชนของสินทรัพย ใหเหมาะสม ในกรณีที่มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยดังกลาวจะถูกปรับลด ใหเทากับมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนทันที รายการกําไรและรายการขาดทุนจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ คํานวณโดยการเปรียบเทียบสิ่งตอบแทนสุทธิ ที่ไดรับจากการจําหนายสินทรัพยกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และไดรวมอยูในรายไดอื่นและคาใชจายอื่นตามลําดับ


PAGE

162 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.9

ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ใบอนุ ญ าตให ใช คลื่ นความถี่ และประกอบกิจ การโทรทัศ น ประกอบด วย ต น ทุ นทางตรงที่เ กี่ย วข อ งกับ การไดม าซึ่ ง ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนภาคพื้นดินในระบบดิ จิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ ในหมวดหมูขาวสารและสาระ และหมวดหมูทั่วไป แบบความคมชัดปกติ แสดงดวยมูลคาเทียบเทาเงินสดโดยวิธีคิดลด จํานวนเงินที่ตองจายชําระเพื่อใหเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดตามที่ธนาคารกําหนดสําหรับสินเชื่อเพื่อการดังกลาว หักคาตัดจําหนายสะสมและขาดทุนจากการดอยคา ผลตางระหวางราคาเทียบเทาเงินสดกับจํานวนเงินทั้งหมดที่ตองจาย ชําระบันทึกเปนตนทุนทางการเงินตลอดอายุการจายชําระคาธรรมเนียมการไดรับใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบ กิจการโทรทัศน โดยจะเริ่มตัดจํ าหนายเมื่อ พรอ มที่จะใหบ ริการ บริษัท ตัดจําหน า ยใบอนุ ญาตใหใ ชคลื่นความถี่และ ประกอบกิจการโทรทัศนโดยวิธีเสนตรงตามอายุของใบอนุญาต 15 ป

2.10 สินทรัพยไมมีตัวตน ตนทุนการผลิตละครและรายการ ตนทุนการผลิตละครและรายการ แสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) ในระหวางป พ.ศ. 2558 กลุมกิจการไดเปลี่ยนวิธีการตัดจําหนายตนทุนการผลิตละครจากวิธีตามประมาณการรายไดเปนตาม จํานวนครั้งที่ออกอากาศ ลิขสิทธิ์อื่น ลิขสิท ธิ์อื่น แสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อ การดอยคา (ถามี) กลุมกิจการตัดจําหนายเปน คาใชจายโดยวิธีเสนตรงตามอายุสัญญาที่เกี่ยวของ ลิขสิทธิ์มาสเตอรเทปเพลง ลิขสิท ธิ์มาสเตอรเทปเพลงมีอ ายุการใหประโยชนไมทราบแน น อน กลุมกิจการจึงไมมีการตัดจําหน ายแตจะใชวิธีการ ทดสอบการดอยคาแทน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.10 สินทรัพยไมมีตวั ตน (ตอ) โปรแกรมคอมพิวเตอร ตนทุน ที่ใชในการบํารุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอรใหบัน ทึกเปน คาใชจายเมื่อเกิดขึ้น คาใชจายที่เกิดจากการพัฒนา ที่เกี่ยวของโดยตรงในการออกแบบและทดสอบโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงซึ่ง กลุมกิจการเปนผูดูแล จะรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตนเมื่อเปนไปตามขอกําหนดทุกขอดังนี้ x x x x x x

มีความเปนไปไดทางเทคนิคที่กจิ การจะทําโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเสร็จสมบูรณเพื่อนํามาใชประโยชนหรือขายได ผูบริหารมีความตั้งใจที่จะทําโปรแกรมคอมพิวเตอรใหเสร็จสมบูรณและนํามาใชประโยชนหรือขาย กิจการมีความสามารถที่จะนําโปรแกรมคอมพิวเตอรน้นั มาใชประโยชนหรือขาย สามารถแสดงวาโปรแกรมคอมพิวเตอรน้นั ใหผลประโยชนทางเศรษฐกิจในอนาคตอยางไร มีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรดานเทคนิค ดานการเงิน และดานอื่นไดเพียงพอที่จะนํามาใชเพื่อทําใหการ พัฒนาเสร็จสิ้นสมบูรณ และนําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาใชประโยชนหรือนํามาขายได กิจการมีความสามารถที่จะวัดมูลคาของรายจายที่เกี่ยวของกับโปรแกรมคอมพิวเตอร ที่เกิดขึ้นในระหวางการพัฒนา ไดอยางนาเชื่อถือ

ตนทุนโดยตรงที่รับรูเปนสวนหนึ่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร จะรวมถึงตนทุนพนักงานที่ ทํางานในทีมพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอรและคาใชจายที่เกี่ยวของในจํานวนเงินที่เหมาะสม ตนทุนการพัฒนาอื่นที่ไมเขาเงื่อนไขเหลานี้จะรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น คาใชจายในการพัฒนาหากกอนหนานี้รับรูเปน คาใชจายไปแลว จะไมรับรูเปนสินทรัพยไมมีตัวตนในเวลาภายหลัง ตนทุนในการพั ฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรจะรับรู เปนสินทรัพยไมมีตั วตนและตัดจํ าหน ายโดยใชวิธี เสนตรงตลอดอายุ ประมาณการใหประโยชนในระยะเวลาไมเกิน 10 ป 2.11 การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยที่มีอายุการใหประโยชน ไมทราบแนชัดเชน คาความนิย ม ซึ่งไมมีการตัดจําหนายจะถูกทดสอบการดอยคาเปน ประจําทุกป สินทรัพยอื่นที่มีการตัดจําหนายจะมีการทบทวนการดอยคา เมื่อมีเหตุการณหรือสถานการณบงชี้วาราคาตามบัญชี อาจสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน รายการขาดทุนจากการดอยคาจะรับรูเมื่อราคาตามบัญชีของสิน ทรัพยสูงกวามูลคา ที่คาดวาจะไดรับคืน ซึ่งหมายถึงจํานวนที่สูงกวาระหวางมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายเทียบกับมูลคาจากการใช สินทรัพยจะถูกจัดเปนหนวยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได เพื่อวัตถุประสงคของการประเมินการดอยคา สินทรัพย ที่ไ มใ ช สิ น ทรั พย ทางการเงิ นนอกเหนื อจากคาความนิ ยมซึ่ งรั บรู รายการขาดทุ นจากการดอยคาไปแลว จะถู กประเมิ น ความเปนไปไดที่จะกลับรายการขาดทุนจากการดอยคา ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน

163


PAGE

164

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.12 สัญญาเชาระยะยาว - กรณีทกี่ ลุมกิจการเปนผูเชา สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณซึ่งผูเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเกือบทั้งหมดถือเปน สัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรือมูลคาปจจุบัน สุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา โดยจํานวนเงินที่ตองจายจะปนสวนระหวางหนี้สิน และคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอหนี้สินคงคางอยู โดยพิจารณาแยกแตล ะสัญญา ภาระผูกพัน ตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงิน จะบัน ทึกเปน หนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบัน ทึกในกําไรหรือขาดทุน ตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาทางการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา หรืออายุของสัญญาเชา แลวแตระยะเวลาใดจะสั้นกวา สัญญาเชาดําเนินงาน สัญญาเชาสินทรัพยซึ่งผูใหเ ชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเกือบทั้งหมดถือเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน เงินที่ตองจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงาน (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดรับจากผูใหเชา) จะทยอยบันทึกใน กําไรหรือขาดทุนโดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชานั้น 2.13 เงินกูยืม เงินกูยืมรับรูเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ไดรับหักดวยตนทุนการจัดทํารายการที่เกิดขึ้น เงินกูยืมวัดมูลคา ในเวลาตอมาดวยวิธีราคาทุนตัดจําหนายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ผลตางระหวางสิ่งตอบแทน (หักดวยตนทุนการจัดทํา รายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลคาที่จายคืนเพื่อชําระหนี้นั้นจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดชวงเวลาการกูยืม คาธรรมเนียมที่จายไปเพื่อใหไดเงินกูมาจะรับรูเปนตนทุนการจัดทํารายการเงินกูในกรณีที่มีความเปนไปไดจะใชวงเงินกู บางสวนหรือทั้งหมด ในกรณีน้ี คาธรรมเนียมจะรอการรับรูจนกระทั่งมีการถอนเงิน หากไมมีหลักฐานที่มีความเปนไปได ที่จะใชวงเงินบางสวนหรือ ทั้งหมด คาธรรมเนียมจะรับ รูเปน คาใชจายจายลวงหน าสําหรับการใหบ ริการสภาพคลอ ง และจะตัดจําหนายตามระยะเวลาของวงเงินกูที่เกี่ยวของ เงินกูยืมจัดประเภทเปนหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุมกิจการไมมีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขใหเลื่อนชําระหนี้ออกไปอีกเปนเวลา ไมนอยกวา 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

165

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.14 ภาษีเงินไดงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาใชจายภาษีเงินไดสําหรับงวดประกอบดวย ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดจะรับรู ในกําไรหรือขาดทุน ยกเวนสวนภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับรายการที่รับรูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือรายการที่รับรู โดยตรงไปยังสวนของผูถือหุน ในกรณีนี้ภาษีเงิน ไดต องรับ รูในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรือโดยตรงไปยังสวนของ ผูถือหุนตามลําดับ ภาษีเงินไดของงวดปจจุบันคํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีอากรที่มีผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมี ผลบังคับใชภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงานในประเทศที่บริษัท และบริษัทยอยตองดําเนินงานอยูและเกิดรายไดเพื่อเสียภาษี ผูบริหารจะประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเปนงวด ๆ ในกรณีที่มีสถานการณที่การนํากฎหมายภาษี ไปปฏิบัติ ขึ้นอยูกับการตีความ และจะตั้งประมาณการคาใชจายภาษีที่เหมาะสมจากจํานวนที่คาดวาจะตองจายชําระภาษีแก หนวยงาน จัดเก็บ ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีรับรูตามวิธีหนี้สิน เมื่อเกิดผลตางชั่วคราวระหวางฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สิน และราคาตามบัญชี ที่แสดงอยูในงบการเงิน อยางไรก็ตามกลุมกิจการจะไมรับรูภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดจากการรับรูเริ่มแรกของรายการ สินทรัพยหรือรายการหนี้สินที่เกิดจากรายการที่ไมใชการรวมธุรกิจ และ ณ วันที่เกิดรายการ รายการนั้นไมมีผลกระทบตอ กําไรหรือขาดทุนทั้งทางบัญชีหรือทางภาษี ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีคํานวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษีอากร) ที่มี ผลบังคับใชอยู หรือที่คาดไดคอนขางแนวาจะมีผลบังคับใชภายในสิ้นรอบระยะเวลาที่รายงาน และคาดวา อัตราภาษีดังกลาว จะนําไปใชเมื่อสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวของไดใช ประโยชน หรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ไดมี การจายชําระ สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะรับรูหากมีความเปนไปไดคอนขางแนวากลุมกิจการจะมีกําไรทางภาษีเพียงพอที่จะนํา จํานวนผลตางชั่วคราวนั้นมาใชประโยชน กลุมกิจการไดต้ังภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยพิจารณาจากผลตางชั่วคราวของ เงินลงทุนในบริษัทรวม บริษัทยอย และสวนไดเสียในกิจการรวมคาที่ตองเสียภาษีเวนแตกลุมกิจการสามารถควบคุมจังหวะ เวลาของการกลับรายการผลตางชั่วคราวและการกลับรายการผลตางชั่วคราวมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะไมเกิดขึ้นได ภายในระยะเวลาที่คาดการณไดในอนาคต สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ ตอเมื่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมาย ที่จะนําสินทรัพยภาษีเงินไดของงวดปจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินไดของงวดปจจุบัน และทั้งสินทรัพยภาษีเงินได รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีเกี่ยวของกับภาษีเงินไดที่ประเมินโดยหนวยงานจัดเก็บภาษี หนวยงาน เดียวกันโดยการเรียกเก็ บเปนหนวยภาษีเดียวกันหรือหนวยภาษีตางกันซึ่งตั้งใจจะจายหนี้สินและสินทรัพยภาษีเงินได ของ งวดปจจุบันดวยยอดสุทธิ


PAGE

166 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.15 ผลประโยชนพนักงาน กลุมกิจการไดกําหนดโครงการผลประโยชน เมื่อเกษียณอายุในหลายรูปแบบ กลุมกิจการมีทั้งโครงการสมทบเงิน และ โครงการผลประโยชน สําหรับโครงการสมทบเงิน กลุ มกิจการจะจายเงินสมทบให กองทุนในจํานวนเงินที่ คงที่ กลุมกิจการไมมี ภาระผู กพันทาง กฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะตองจายเงินเพิ่ม ถึงแมกองทุนไมมีสินทรัพยเพียงพอที่จะจายใหพนัก งาน ทั้งหมดสําหรับการใหบริการจากพนักงานทั้งในอดีตและปจจุบัน กลุมกิจการจะจายสมทบใหกับกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่ง บริหารโดยผูจัดการกองทุนภายนอกตามเกณฑและขอกําหนดของ พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 กลุม กิจการไมมีภาระผูกพันที่จะจายเงินเพิ่มอีก เมื่อไดจายเงินสมทบไปแลว เงินสมทบจะถูกรับรูเปนคาใชจายผลประโยชน พนักงานเมื่อถึงกําหนดชําระ สําหรับเงินสมทบจายลวงหนาจะถูกรับรูเปนสินทรัพยจนกวาจะมีการไดรับเงินคืนหรือหัก ออกเมื่อครบกําหนดจาย สําหรับโครงการผลประโยชนคือโครงการบําเหน็จบํานาญที่ไมใชโครงการสมทบเงิน ซึ่งจะกําหนดจํานวนเงินผลประโยชน ที่พนักงานจะไดรับเมื่อเกษียณอายุ โดยสวนใหญจะขึ้นอยูกับหลายปจจัย เชน อายุ จํานวนปที่ใหบริการ และ คาตอบแทน หนี้สินสําหรับโครงการผลประโยชนจะรับรูในงบแสดงฐานะการเงินดวยมูลคาปจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที่ สิ้นรอบ ระยะเวลารายงานหักดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยโครงการ ภาระผูกพันนี้คํานวณโดยนักคณิตศาสตรประกันภัยอิสระ ทุกป ดวยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว ซึ่งมูลคาปจจุบันของโครงการผลประโยชนจะประมาณโดยการคิดลด กระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใชอัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเปนสกุลเงิน เดียวกับ สกุล เงิน ที่จะจา ยภาระผูกพัน และวันครบกําหนดของพันธบัต รรัฐบาลใกลเคียงกับระยะเวลาที่ตอ งชําระภาระผูกพัน กองทุ น บําเหน็จบํานาญ กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัยที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงจากประสบการณหรือการ เปลี่ยนแปลงในขอสมมติฐานจะตองรับรูในสวนของผูถือหุนผานกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ตนทุนบริการในอดีตจะถูกรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน เวนแตการเปลี่ย นแปลงโครงการผลประโยชนน้ันจะมีเงื่อนไข ซึ่งผูกกับระยะเวลาที่พนักงานยังคงตองใหบริการตามที่กําหนด (ระยะเวลาการใหสิทธิ) ซึ่งในกรณีน้ันตนทุนการใหบริการ ในอดีตจะถูกตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตลอดระยะเวลาการใหสิทธิ


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.16 สินทรัพยทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน สินทรัพ ยทางการเงิน ที่สําคัญ ซึ่งได แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด วย เงิ นสดและรายการเที ยบเทา เงิน สด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทยอย สินทรัพยหมุนเวียนอื่น และสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สิน ทางการเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบดวย เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้ การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน และภาระผูกพันผลประโยชน พนักงาน ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับรายการแตละรายการไดเปดเผยแยกไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ บริษัท มีการทําสั ญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศลวงหนาเพื่อ ช วยปอ งกัน บริษัท จากความเคลื่อ นไหวของอัตรา แลกเปลี่ยนดวยการกําหนดอัตราที่จะใชในการจายหนี้สิน ที่เปนสกุล เงินตางประเทศ บริษัทไมรับรูสัญญาแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศลวงหนาในงบการเงินในวันเริ่มแรกและจะรับรูเมื่อครบกําหนดตามสัญญา 2.17 ประมาณการหนี้สิน - ทั่วไป ประมาณการหนี้สินจะรับรูก็ตอเมื่อ กลุมกิจการมีภาระผูกพันในปจจุบันตามกฎหมายหรือตามขอตกลงซึ่งจัดทําไวอันเปน ผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณในอดีต ซึ่งการชําระภาระผูกพันนั้นมีความเปนไปไดคอนขางแนวาจะสงผลให กลุมกิจการ ตองสูญเสียทรัพยากรออกไปและสามารถประมาณการจํานวนที่ตองจายไดอยางนาเชื่อถือ ในกรณีท่มี ีภาระผูกพันที่คลายคลึงกันหลายรายการ กลุมกิจการกําหนดความนาจะเปนที่กิจการจะสูญเสียทรัพยากรเพื่อจาย ชําระภาระผูกพัน เหลานั้น โดยพิจารณาจากความน าจะเปนโดยรวมของภาระผูกพันทุกประเภท แมวาความเปนไปได คอนขางแนที่กลุมกิจการจะสูญเสียทรัพยากรเพื่อชําระภาระผูกพันบางรายการที่จัดอยูในประเภทเดียวกันจะมีระดับต่ํา กลุมกิจการจะวัดมูลคาของจํานวนประมาณการหนี้สิน โดยใชมูลคาปจจุบันของรายจายที่คาดวาจะตองนํามาจายชําระภาระผูกพัน โดยใชอัตรากอนภาษีซึ่งสะทอ นถึงการประเมินสถานการณตลาดในปจจุบันของมูลคาของเงินตามเวลาและความเสี่ยง เฉพาะของหนี้สิน ที่กําลังพิจารณาอยู การเพิ่มขึ้นของประมาณการหนี้สินเนื่องจากมูล คาของเงินตามเวลา จะรับ รูเปน ดอกเบี้ยจาย 2.18 ทุนเรือนหุน หุน สามัญและหุนบุริมสิทธิชนิดไถถอนไมได (ถามี) ที่กิจการสามารถกําหนดการจายเงินปนผลไดอยางอิสระจะจัดประเภทไว เปนสวนของผูถือหุน หุนประเภทอื่นซึ่งรวมถึงหุนบุริมสิทธิ์ชนิดบังคับไถถอนจะจัดประเภทไวเปนหนี้สิน ตนทุนสวนเพิ่มที่เกี่ยวของกับการออกหุนใหมหรือการออกสิทธิในการซื้อหุนซึ่งสุทธิจากภาษีจะถูกแสดงในสวนของผูถือหุน โดยนําไปหักจากสิ่งตอบแทนที่ไดรับจากการออกตราสารทุนดังกลาว กรณีท่บี ริษัทใดก็ตามในกลุมกิจการซื้อคืนหุนสามัญของบริษัทกลับคืน (หุนทุนซื้อคืน) สิ่งตอบแทนที่จายไปรวมถึงตนทุน เพิ่มเติมที่เกี่ยวของโดยตรง(สุทธิจากภาษีเงินได จะรับรูเปนหุนทุนซื้อคืนและแสดงเปนรายการหักจากยอดรวมของสวน ของกผูถือหุนของบริษัทจนกวาหุนทุนซื้อคืนดังกลาวจะถูกยกเลิกไปหรือจําหนายออกไปใหม เมื่อมีการจําหนายหุนทุนซื้อ คืนออกไปใหม สิ่งตอบแทนใดๆ ที่ไดรับ จากการขายหรือนํ าหุนทุนซื้อคืนออกจําหน ายใหมสุท ธิจากตน ทุน เพิ่มเติมที่ เกี่ยวของโดยตรงสุทธิจากภาษีเงินไดท่เี กี่ยวของ จะแสดงรวมไวในสวนของผูถือหุน

167


PAGE

168 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.19 การรับรูรายได รายไดประกอบดวยมูลคายุติธรรมที่จะไดรับจากการขายสินคาและบริการซึ่งเกิดขึ้นจากกิจกรรมตามปกติของกลุมกิจการ รายได จะแสดงด วยจํ านวนเงิ นสุทธิ จากภาษี ขาย การรั บคืน เงิ นคืนและส วนลด โดยไมรวมรายการขายและการให บริ การภายใน กลุมกิจการสําหรับงบการเงินรวม 2.19.1 รายไดจากการขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเมื่อผูซ้ือรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เปนสาระสําคัญของความเปนเจาของสินคา 2.19.2 รายไดจากการใหบริการ ก) ข) ค) ง) จ) ฉ) ช) ซ)

รายไดจากการบริการโฆษณาและการประชาสัมพันธจะรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลวทางสื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ สื่อในธุรกิจโมเดิรนเทรด และสื่ออื่น ๆ รายไดจากการรับจาง รับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบงาน รายไดจากการผลิตกิจกรรมรับรูเปนรายไดตามสัดสวนงานที่ใหบริการเสร็จ รายไดจากการใหเชาชวงสถานีโทรทัศนรับรูเปนรายไดตามระยะเวลาของการใหเชาชวง รายไดจากการจัดคอนเสิรตรับรูเปนรายไดเมื่อมีการแสดงแลว รายไดคาบริหารศิลปนรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลว รายไดธุรกิจดิจิตอลรับรูเมื่อมีการใหบริการดาวนโหลดเพลงแลว รายไดจากการบริหารจัดการรับรูเปนรายไดเมื่อไดใหบริการแลว

2.19.3 รายไดคาลิขสิทธิ์ ก) ข)

รายไดจากคาลิขสิทธิ์เพลงรับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบหรือรับรูรายไดตามวิธีเสนตรงตามอายุสัญญา รายไดจากการขายลิขสิทธิ์ภาพยนตรรับรูเปนรายไดเมื่อมีการสงมอบ

2.19.4 รายไดดอกเบี้ย รายไดดอกเบี้ยรับรูตามเกณฑสัดสวนของเวลาโดยคํานึงถึงอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงของชว งเวลาจนถึงวันครบอายุ และพิจารณาจากจํานวนเงินตนที่เปนยอดคงเหลือในบัญชีสําหรับการบันทึกคางรับของกลุมกิจการ 2.19.5 เงินปนผลรับ เงินปนผลรับถือเปนรายไดเมื่อบริษัทมีสิทธิในการรับเงินปนผล


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2

นโยบายการบัญชี (ตอ) 2.20 ตนทุนทางการเงิน ตนทุนทางการเงินประกอบดวย ดอกเบี้ยจายและคาธรรมเนียมจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และจากบริษัทยอย และดอกเบี้ยจายจากหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน 2.21 การจายเงินปนผล เงินปนผลและเงินปนผลระหวางกาลที่จายบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งที่ประชุมผูถือหุนและกรรมการของกลุมกิจการที่เกี่ยวของไดอนุมัติการจายเงินปนผลตามลําดับ 2.22 ขอมูลจําแนกตามสวนงาน สวนงานดํ าเนิ น งานไดถูก รายงานในลัก ษณะเดี ยวกับ รายงานภายในที่นํ า เสนอใหผู มีอํ านาจตั ดสิ น ใจสู งสุ ดด านการ ดําเนินงาน ผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานหมายถึงบุคคลที่มีหนาที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผล การปฏิบัติงานของสวนงานดําเนินงาน ซึ่งพิจารณาวาคือ คณะกรรมการบริษัทที่ทําการตัดสินใจเชิงกลยุทธ

3

การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน 3.1

ปจจัยความเสี่ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุมกิจการยอมมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งไดแก ความเสี่ยงจากตลาด (รวมถึงความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงดานมูลคายุติธรรมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานกระแสเงินสด อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย และความเสี่ยงดานราคา) ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ และความเสี่ยงดานสภาพคลอง แผนการจั ดการความเสี่ ย งโดยรวมของกลุ มกิ จ การจึ ง มุง เนน ความผั น ผวนของตลาดการเงิ น และแสวงหาวิ ธี การลด ผลกระทบที่ทําใหเสียหายตอผลการดําเนินงานทางการเงินของกลุมกิจการใหเหลือนอยที่สุดเทาที่เปนไปได การจัดการความเสี่ยงดําเนินงานโดยฝายการเงิน ฝายการเงินของกลุมกิจการจะชี้ประเด็น ประเมิน และปองกันความเสี่ยงทาง การเงินดวยการรวมมือกันทํางานอยางใกลชิดกับหนวยปฏิบัติงานตางๆ ภายในกลุมกิจการ ฝายการเงินจะกําหนดหลักการ โดยภาพรวมเพื่อจัดการความเสี่ยงและนโยบายที่เกี่ยวของรวมถึงนโยบายสําหรับความเสี่ยงที่เฉพาะเจาะจง เชน ความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงการใหสินเชื่อ การใชตราสารทั้งที่เปนอนุพันธทาง การเงินและไมใชอนุพันธทางการเงินและการลงทุนโดยใชสภาพคลองสวนเกินในการจัดการความเสี่ยง 3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน กลุมกิจการมีความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศเนื่องจากบริษัทมีรายการบางรายการเปนเงินตรา ตางประเทศ บริษัทไดเขาทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อปองกันความเสี่ยงในอนาค ตที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน อยางไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริษัทไมมีสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา คงเหลือ

169


PAGE

170 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 3

การจัดการความเสี่ยงทางการเงิน (ตอ) 3.1

ปจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ตอ) 3.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบีย้ ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ยเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งความผันผวนดังกลาวจะสงผลกระทบ ตอผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของบริษัทในอนาคต ซึ่งเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับบัญชีเงินฝากธนาคารและ เงินกูยืมจากธนาคารอยางไรก็ตาม กลุมกิจการไมไดใชเครื่องมือทางการเงินเพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของ อัตราดอกเบี้ยแตอยางใด เนื่องจากฝายบริหารมีความเห็นวากลุมกิจการไมมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่จะกระทบ ตอกลุมกิจการอยางเปนสาระสําคัญ 3.1.3 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ กลุมกิจการไมมีการกระจุกตัวอยางมีนัยสําคัญของความเสี่ยงทางดานสินเชื่อ กลุมกิจการมีนโยบายที่เหมาะสม เพื่อ ทําใหเชื่อ มั่นไดวาไดขายสินคาและใหบริการแกลูกคาที่มีประวัติสินเชื่อ อยูในระดับที่เหมาะสม คูสัญญา ในอนุพันธทางการเงินและรายการเงินสดไดเลือกที่จะทํารายการกับสถาบันการเงินที่มีระดับความนาเชื่อถือสูง 3.1.4 ความเสี่ยงดานสภาพคลอง จํานวนเงินสดที่มีอยางเพียงพอและเงินลงทุนในหลักทรัพยที่มีตลาดรองรับยอมแสดงถึงการจัดการความเสี่ยงของ สภาพคลองอยางรอบคอบ ความสามารถในการหาแหลงเงินทุนแสดงใหเห็นไดจากการที่มีวงเงิน อํานวยความ สะดวกในการกูยืมที่ไดมีการตกลงไวแลวอยางเพียงพอ สวนงานบริหารเงินของกลุมกิจการไดตั้งเปาหมายวาจะใช ความยืดหยุนในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสินเชื่อที่ตกลงไวใหเพียงพอที่จะหามาไดเนื่องจากลักษณะ ธรรมชาติของธุรกิจที่เปนฐานของกลุมกิจการมีพลวัตเปลี่ยนแปลงได

3.2

การประมาณมูลคายุติธรรม ความแตกตางของระดับขอมูลสามารถแสดงไดดังนี้ x x x

ขอมูลระดับ 1 ไดแก ราคาเสนอซื้อขาย (ไมตองปรับปรุง) ในตลาดที่มีสภาพคลองสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินอยางเดียวกัน ขอมูลระดับ 2 ไดแก ขอมูลอื่นนอกเหนือจากราคาเสนอซื้อขายซึ่งรวมอยูในขอมูลระดับ 1 ทั้งที่สามารถสังเกตไดโดยตรง (ไดแก ขอมูลราคา) หรือโดยออม (ไดแก ขอมูลที่คํานวณมาจากราคา) สําหรับสินทรัพยนั้นหรือหนี้สินนั้น ขอมูลระดับ 3 ไดแก ขอมูลสําหรับสินทรัพยหรือหนี้สินซึ่งไมไดมาจากขอมูลที่สามารถสั งเกตไดจากตลาด (ขอมูลที่ ไมสามารถสังเกตได)

ขอมูลเกี่ยวกับมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 24


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

171

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 4

ประมาณการทางบัญชีที่สําคัญ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินจิ การประมาณการ ขอสมมติฐานและการใชดุลยพินิจ ไดมีการประเมินทบทวนอยางตอเนื่อง และอยูบนพื้นฐานของประสบการณในอดีต และปจจัยอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงการคาดการณถึงเหตุการณในอนาคตที่เชื่อวามีเหตุผลในสถานการณขณะนั้น กลุมกิจการมีการประมาณการทางบัญชีและใชขอสมมติฐานที่เกี่ยวของกับเหตุการณในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชีอาจไมตรง กับ ผลที่เกิดขึ้น จริง ประมาณทางการบัญชีที่สําคัญและขอสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอยางเปนสาระสําคัญที่อาจเปนเหตุใหเกิด การปรับปรุงยอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหนา มีดังนี้ (ก)

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงิน ไดรอการตัดบัญชีเกิดจากผลแตกตางชั่วคราวบางรายการซึ่งมีความเปนไปไดคอนขางแนที่จะใชสิทธิ ประโยชนทางภาษี โดยการประมาณการของผูบริหาร ซึ่งมีขอสมมติฐานจากการคาดการณผลกําไรที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต และปรับปรุงดวยปจจัยความผันผวนภายนอกอยางอื่นที่คาดวาจะกระทบตอประมาณผลกําไรที่คาดวาจะเกิดขึ้น รวมทั้ง การพิจารณาการใชผลขาดทุนทางภาษีในอดีต ซึ่งผูบริหารไดพิจารณาดวยหลักความระมัดระวังรอบคอบ

(ข)

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน มูลคาปจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานขึ้นอยูกับหลายปจจัยที่ใชในการคํานวณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย โดยมีขอสมมติฐานหลายตัว รวมถึงขอสมมติฐานเกี่ยวกับอัตราคิดลด การเปลี่ยนแปลงของขอสมมติฐานเหลานี้จะสงผลกระทบ ตอมูลคาของภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน กลุมกิจการไดพจิ ารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสมในแตละป ซึ่งไดแกอัตราดอกเบี้ยที่ควรจะใชในการกําหนดมูลคาปจจุบันของ ประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะตองจายภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ในการพิจารณาอัตราคิดลดที่เหมาะสม กลุมกิจการพิจารณาใช อัตราผลตอบแทนในตลาดของพันธบัตรรัฐบาล ซึ่งเปนสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินที่ตองจายชําระ ผลประโยชนเมื่อเกษียณอายุ และมีอายุครบกําหนดใกลเคียงกับระยะเวลาที่ตองจายชําระภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ที่เกี่ยวของ ขอสมมติฐานหลักอื่นๆสําหรับภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานอางอิงกับสถานการณปจจุบันในตลาด ขอมูลเพิ่มเติม เปดเผยในหมายเหตุ 25

(ค)

ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน และสินทรัพยไมมีตัวตน ในการบันทึกและวัดมูลคาของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนและสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วันที่ไดมา ตลอดจนการทดสอบการดอยคาในภายหลัง ฝายบริหารจําเปนตองประมาณการกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคต จากสินทรัพยหรือหนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสด รวมทั้งการเลือกอัตราคิดลดที่เหมาะสมในการคํานวณหามูลคาปจจุบัน ของกระแสเงินสดนั้นๆ


PAGE

172 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 5

การจัดการความเสี่ยงในสวนของทุน วัตถุประสงคของกลุมกิจการในการบริหารทุนของกลุมกิจการนั้นเพื่อดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงานอยางตอเนื่อ ง ของกลุมกิจการ เพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุนและเปนประโยชนตอผูที่มีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุน ที่เหมาะสมเพื่อลดตนทุนทางการเงินของทุน ในการดํารงไวหรือปรับโครงสรางของทุน กลุมกิจการอาจปรับนโยบายการจายเงินปนผลใหกับผูถือหุน การคืนทุนใหแกผูถือหุน การออกหุนใหม หรือการขายทรัพยสินเพื่อลดภาระหนี้สนิ

6

การจัดประเภทรายการใหม ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูบริหารไดมกี ารพิจารณาจัดประเภทรายการใหมของตัวเลขเปรียบเทียบในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและเฉพาะกิจการ สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม

ตามที่เคยรายงานไว บาท

เพิ่มขึน้ (ลดลง)จากการ จัดประเภทใหม ตามทีจ่ ัดประเภทใหม บาท บาท

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รายไดธุรกิจสือ่ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจบริการและอื่นๆ รายไดอื่น

2,246,138,300 374,962,586 796,019,155 311,586,345 50,803,881

795,468,082 2,933,238,304 (2,246,138,300) (374,962,586) (796,019,155) (311,586,345) 747,323

795,468,082 2,933,238,304 51,551,204

คาใชจาย ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร

(2,706,851,881) (207,026,213) (665,431,005)

(379,643,823) (2,323,358,482) 2,706,851,881 (138,093,081) 134,243,505

(379,643,823) (2,323,358,482) (345,119,294) (531,187,500)


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

173

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 6

การจัดประเภทรายการใหม (ตอ) ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ผูบริหารไดมีการพิจารณาจัดประเภทรายการใหมของตัวเลขเปรียบเทียบในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จรวมและเฉพาะกิจการ สรุปไดดังนี้ (ตอ) งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึน้ (ลดลง)จากการ ตามที่เคยรายงานไว จัดประเภทใหม ตามทีจ่ ัดประเภทใหม บาท บาท บาท งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได รายไดจากการขาย รายไดจากการใหบริการ รายไดธุรกิจสือ่ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจบริการและอื่นๆ รายไดอื่น คาใชจาย ตนทุนขาย ตนทุนการใหบริการ ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร

882,103,508 323,351,395 750,123,332 53,262,037 539,148,230

526,270,615 1,410,569,657 (882,103,508) (323,351,395) (750,123,332) (53,262,037) 72,027,945

526,270,615 1,410,569,657 611,176,175

(1,468,576,478) (70,550,083) (549,996,616)

(252,743,876) (1,215,832,602) 1,468,576,478 (70,415,357) 70,415,357

(252,743,876) (1,215,832,602) (140,965,440) (479,581,259)


PAGE

174

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 7

เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร - ประเภทออมทรัพย - ประเภทกระแสรายวัน - ประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 3 เดือน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

10,952,337 87,138,053 5,658,917

6,804,963 677,505,069 72,800,736

7,869,942 15,066,493 803,356

4,056,559 441,841,839 72,711,710

12,651 103,761,958

1,019 757,111,787

23,739,791

1,019 518,611,127

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 0.10 ถึงรอยละ 0.62 ตอป (พ.ศ. 2558 : รอยละ 0.30 ถึงรอยละ 1.70 ตอป) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 3 เดือน) มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1.37 ตอป (พ.ศ. 2558 : รอยละ ละ 0.90 ถึงรอยละ 1.00 ตอป) 8

เงินลงทุนระยะสั้น งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินฝากธนาคาร - ประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 12 เดือน)

-

4,522,302

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํา (ระยะเวลา 12 เดือน) มีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 1.00 ตอป

-


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

175

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ)

หมายเหตุ ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน หัก ลูกหนี้การคา บริษัทที่เกี่ยวของกันเกินป

35 ข)

ลูกหนี้อื่น - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน รายไดคางรับ - บริษัทอื่น เงินปนผลคางรับ เงินทดรองจาย- พนักงาน - บริษัทที่เกี่ยวของกัน 35 ข) ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน 35 ข) คาใชจายจายลวงหนา - บริษัทอื่น หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้การคา - บริษัทอื่น - ลูกหนี้อื่น - บริษัทอื่น - รายไดคางรับ - บริษัทอื่น - ดอกเบี้ยคางรับ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน

35 ข)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

559,605,691 -

730,219,610 -

108,681,736 710,225,807

258,584,219 529,447,172

559,605,691 53,290,331 74,824,468 8,440,880 -

730,219,610 53,685,998 123,040,971 11,241,829 -

(291,364,640) 527,542,903 45,613,153 42,757,136 820,933 180,713

788,031,391 46,037,055 92,074,160 126,995,830 2,392,480 142,797

7,011 2,489,884 71,843,224 770,501,489

73,035,970 991,224,378

3,400 10,316,955 30,425,476 657,660,669

9,339,040 44,880,078 975,123,391

(63,415,499) (53,100,066) (3,928,842)

(60,499,530) (53,253,082) (1,760,103)

(36,688,994) (45,578,383) (3,928,842)

(36,194,460) (45,731,399) (1,760,103)

(2,489,884) (122,934,291)

(115,512,715)

(3,292,464) (89,488,683)

(2,787,070) (86,473,032)

647,567,198

875,711,663

568,171,986

1,023,419,799


PAGE

176 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 9

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น (สุทธิ) (ตอ) ยอดคงเหลือของลูกหนี้การคาแยกตามอายุหนี้ที่คางชําระไดดังนี้ งบการเงินรวม

บริษัทอื่น ลูกหนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ เกินกวากําหนดเวลาชําระหนี้นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

265,999,298 205,946,763 13,466,298 3,485,347 70,707,985 559,605,691

364,700,544 270,706,750 21,168,060 24,990,970 48,653,286 730,219,610

37,350,759 23,884,375 2,585,351 458,199 44,403,052 108,681,736

116,215,330 98,025,610 1,849,897 5,327,366 37,166,016 258,584,219

งบการเงินรวม

บริษัทที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ เกินกวากําหนดเวลาชําระหนี้นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน เกินกวา 12 เดือน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

-

-

100,800,170 96,764,008 94,215,062 127,081,927 291,364,640 710,225,807

123,574,107 71,952,455 79,418,617 119,732,553 134,769,440 529,447,172

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ในงบเฉพาะกิจการมียอดลูกหนี้บริษัท ยอยคางนานเกินกวา 12 เดือน จํานวน 291,364,640 บาท ซึ่งเปนยอดคางชําระจากบริษัท อาร เอส เทเลวิชั่น จํากัด ทั้งจํานวน ผูบริหารพิจารณาวา แมวาบริษัทยอยนี้เปนบริษัทที่ดําเนินธุรกิจหลัก และสามารถสรางกระแสเงินสดรับใหแกกลุมกิจการ แตในชวงระยะแรกนี้ บริษัทยอยตองใชเงินทุนหมุนเวียนจํานวนมาก ผูบริหาร จึงไดประเมินความสามารถในการชําระหนี้ของบริษัท ยอ ยนี้ รวมทั้งพิจารณาแผนการจายชําระเงินคืน ที่ไดรับ จากบริษัท ยอ ย ผูบริหารมีความมั่นใจในสามารถชําระคืนในที่สุด แตอยางไรก็ตาม ผูบริหารพิจารณาวาควรจัดรายการคางชําระของลูกหนี้บริษัท ยอยนี้เปนสินทรัพยไมหมุนเวียนและยังไมมีความจําเปนตองตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จนกวาจะมีการผิดนัดชําระตามแผน


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

177

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 10สินคาคงเหลือ (สุทธิ) งบการเงินรวม

สินคาสําเร็จรูปประเภทภาพยนตร และ เพลงในสื่อ เทป ซีดี วีซีดี ดีวีดี หนังแผน และ อื่น ๆ ผลิตภัณฑเสริมความงาม สินคาของที่ระลึก รวมสินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา : ภาพยนตรและอื่น ๆ เพลง รายการทีวี คอนเสิรตและกิจกรรมรับจางผลิต กิจกรรมอื่นๆ รวมงานระหวางทํา วัตถุดบิ กลองรับสัญญาณดาวเทียม เงินจายลวงหนาคาสินคา อื่น ๆ รวม สินคาคงเหลือ หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย สินคาคงเหลือ (สุทธิ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

622,273 108,872,773 1,288,288 110,783,334

5,367,046 52,920,879 17,020,844 75,308,769

622,273 1,288,288 1,910,561

5,366,428 17,020,844 22,387,272

1,516,529 6,352,480 1,004,404 8,873,413

1,325,560 3,527,445 1,201,787 6,054,792

1,516,529 869,418 2,385,947

30,000 1,015,065 1,045,065

64,614,658 1,829,625 1,622,942 187,723,972 (58,044,207) 129,679,765

2,463,875 79,498,003 2,591,000 37,667,926 203,584,365 (40,488,928) 163,095,437

4,296,508 (770,690) 3,525,818

2,463,876 33,108,161 59,004,374 (4,336,439) 54,667,935

ตนทุนของสินคาคงเหลือที่รับรูเปนคาใชจายและรวมอยูในตนทุนขายในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจํานวน 67,051,602 บาท และ 814,002 บาท (พ.ศ. 2558 : 333,812,861 บาท และ 241,197,573 บาท) ตามลําดับ กลุมบริษัทตั้งเพิ่มคาเผื่อสินคาคงเหลือที่เคยรับรูในงบการเงินรวมเปนจํานวน 17,555,279 บาท และกลับรายการคาเผื่อสินคาคงเหลือที่ เคยรับรูในงบการเงินเฉพาะกิจการเปนจํานวน 3,565,749 บาท (พ.ศ. 2558 : ตั้งเพิ่มเปนจํานวน 29,915,367 บาท และกลับรายการ เปนจํานวน 3,630,215 บาท) ตามลําดับ ในราคาทุนเดิมจํานวนที่กลับรายการไดรวมอยูในตนทุนขายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ


PAGE

178 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 11

สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินมัดจํา เงินประกัน อืน่ ๆ หัก คาเผื่อการดอยคา สินทรัพยหมุนเวียนอื่น (สุทธิ)

12

600,000 260,698 657,256 1,517,954 (34,488) 1,483,466

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

94,431,832 2,595,375 1,438,282 98,465,489 (480,802) 97,984,687

361,392 361,392 (34,488) 326,904

94,431,832 1,721,219 1,056,592 97,209,643 (480,802) 96,782,841

เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวย สัดสวนการถือหุน ชื่อบริษัท บริษัทยอยที่ดําเนินธุรกิจ บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซ่มึ จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติง้ แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัทยอยทีห่ ยุดดําเนินธุรกิจ บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาวอง จํากัด บริษัท อาร สยาม จํากัด บริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบิวชั่น จํากัด บริษทั บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด

พ.ศ. 2559 รอยละ

พ.ศ. 2558 รอยละ

ลักษณะธุรกิจ

จดทะเบียนใน

ใหบริการสื่อโทรทัศนในระบบดิจิตอล ใหบริการสื่อโฆษณาและจําหนายผลิตภัณฑ เสริมความงาม ใหบริการสื่อวิทยุ จัดเก็บคาลิขสิทธ

ประเทศไทย

100

100

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

100 100 100

100 100 100

รับจางจัดกิจกรรม ผลิตรายการโทรทัศน

ประเทศไทย ประเทศไทย

100 100

100 100

ใหบริการและรับจางจัดกิจกรรมดานการกีฬา รับจางจัดกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม ผลิตรายการโทรทัศน

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

83 100 100 100 100

83 100 100 100 -

รับจางจัดกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม รับจางผลิตรายการโทรทัศนและกิจกรรม รับจางจัดกิจกรรม ผลิตเพลงลูกทุง สื่อโทรทัศน สื่อวิทยุ จัดจําหนายภาพยนตและรับจางผลิตภาพยนต รับจัดคอนเสิรตและกิจกรรมตาง ๆ ใหบริการเชาสนามฟุตบอล

ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย ประเทศไทย

100 65 76 100 100 100 100 100

100 65 76 100 100 100 100 100


12

บริษัทยอยที่ดําเนินธุรกิจ บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด รวม

-

80,000,000 80,000,000 80,000,000 80,000,000 (76,069,917) (75,877,273) 3,930,083 4,122,727 2,500,000 2,500,000 2,499,300 2,499,300 (2,499,300) 2,499,300 7,495,401 1,000,000 852,193 852,193 697,000,000 596,000,000 825,793,779 724,941,586 (256,926,105) (260,135,868) 568,867,674 464,805,718 122,813,200 368,283,036

57,374,954 69,198,062 183,064,874 8,294,005 12,635,984 193,973 498,930 631,889 608,693

-

37,500,000 37,500,000 191,250,000 191,250,000 (154,567,097) (154,938,192) 36,682,903 36,311,808 37,000,000 37,000,000 32,775,000 32,775,000 (26,289,091) (26,821,103) 6,485,909 5,953,897 25,000,000 25,000,000 5,199,993 5,199,993 5,199,993 5,199,993 5,000,000 5,000,000 4,999,400 4,999,400 4,999,400 4,999,400 5,000,000 5,000,000 4,009,993 4,009,993 4,009,993 4,009,993 4,000,000 4,000,000 3,999,300 3,999,300 3,999,300 3,999,300

-

300,209,300 200,209,300

36,999,870 114,099,601

-

200,000,000 200,000,000 199,999,300 199,999,300

-

มูลคาตามบัญชี เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 29) พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท บาท บาท

199,999,300 199,999,300

-

วิธีราคาทุน พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผื่อการดอยคา พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

300,000,000 200,000,000 300,209,300 200,209,300

ทุนชําระแลว พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบดวย (ตอ)

เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

179


12

รวมทั้งสิ้น

บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด รวม

บริษัทยอยที่หยุดดําเนินธุรกิจ บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด** บริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด* บริษัท อาวอง จํากัด* บริษัท อาร สยาม จํากัด* บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบวิ ชั่น จํากัด* 5,000,000 30,000,000 3,000,000 4,000,000 1,000,000 4,500,000 5,000,000 15,000,000 67,500,000

พ.ศ. 2558 บาท 4,999,300 19,499,300 2,667,595 27,166,195

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

4,999,300 7,755,501 2,777,326 395,704 999,300 16,927,131

พ.ศ. 2558 บาท

มูลคาตามบัญชี

4,999,300 4,999,300 19,499,300 (12,004,681) (11,743,799) 7,494,619 2,999,300 (221,974) 3,999,300 (3,603,596) 999,300 2,667,595 (2,667,595) (2,667,595) 4,999,300 (4,999,300) 33,800,530 (33,800,530) 73,963,925 (14,672,276) (57,036,794) 12,493,919

พ.ศ. 2558 บาท

วิธีราคาทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผื่อการดอยคา

-

พ.ศ. 2559 บาท

1,295,819 1,295,819

พ.ศ. 2558 บาท

เงินปนผลรับ (หมายเหตุ 29)

749,500,000 663,500,000 852,959,974 798,905,511 (271,598,381) (317,172,662) 581,361,593 481,732,849 122,813,200 369,578,855

5,000,000 30,000,000 3,000,000 4,000,000 1,000,000 4,500,000 5,000,000 52,500,000

พ.ศ. 2559 บาท

ทุนชําระแลว

เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบดวย (ตอ)

เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

PAGE

180


12

บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติง้ แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด เปนบริษัทยอยที่มีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมไม เปนสาระสําคัญ ดังนั้น บริษัทจึงไมไดเปดเผยขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทยอยดังกลาว

-

-

-

เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2559 บริษัททําสัญญาซื้อขายหุนกับบริษัท นาโนไลฟ จํากัด เพื่อซื้อหุนสามัญทั้งหมดของบริษัทเปนจํานวนทั้งหมด 100,000 หุน เปนจํานวนเงิน 107,208 บาท บริษัทไดรับการโอนหุน และบันทึกในทะเบียนผูถือหุนของบริษัท นาโนไลฟ จํากัด วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 บริษัท นาโนไลฟ จํากัด ไดทําการเปลี่ยนชื่อเปน บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2559 บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด เรียกเก็บชําระคาหุนเพิ่มหุนละ 7.45 บาท เปนจํานวนเงิน 745,000 บาท สําหรับหุนสามัญจํานวน 100,000 หุน มีมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท ในระหวางปบริษัทยอยที่หยุดดําเนินการแลว ไดมีการดําเนินการจดทะเบียนขอยกเลิกกิจการกับกระทรวงพาณิชย โดยบริษัท อาวอง จํากัด จดทะเบียนขอยกเลิกเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 สวนบริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด, บริษัท อาร สยาม จํากัด และบริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบิวชั่น จํากัด จดทะเบียนขอยกเลิกเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ดังนั้น นับตั้งแตวันที่จดทะเบียนยกเลิกกิจการ ขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยทั้ง 4 แหงนี้ไมไดรวมอยูในงบการเงินรวมสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด เปนบริษัทยอยทีอ่ ยูภายใตกระบวนการลมละลายและไดถูกพิทักษทรัพยเด็ดขาด ดังนั้นขอมูลทางการเงินของบริษัทยอยนี้ไมไดรวมอยูในงบการเงินรวมสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รายการเคลื่อนไหวของเงินลงทุนในบริษัทยอยสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดังนี้

-

บริษัทยอยดังกลาวขางตนไดรวมอยูในการจัดทํางบการเงินรวมของกลุมกิจการ สัดสวนของสิทธิในการออกเสียงในบริษัทยอยโดยบริษัทใหญ ไมแตกตางจากสัดสวนที่ถือหุนสามัญ บริษัทใหญไมไดถือหุนบุริมสิทธิ ของบริษัทยอยที่รวมอยูในกิจการ

* การชําระบัญชีเสร็จแลว **เลิกกิจการและอยูในระหวางการชําระบัญชี

เงินลงทุนในบริษัทยอย ซึ่งบันทึกโดยวิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2558 ประกอบดวย (ตอ)

เงินลงทุนในบริษัทยอย (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

181


PAGE

182 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 13

เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) งบการเงินรวม บาท

ชื่อบริษัท

ธุรกิจหลัก

บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด

รับจางจัดกิจกรรม

รอยละ

ทุนที่ออกและเรียกชําระ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 20,000,000

20,000,000

สัดสวนการถือหุนของบริษัท พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 25.00

25.00

งบการเงินรวม เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนตามวิธีราคาทุน

เงินลงทุนในบริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด หัก คาเผื่อการดอยคา เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ)

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

4,103,678 4,103,678

5,102,753 5,102,753

6,303,621 (2,199,943) 4,103,678

6,303,621 (1,200,868) 5,102,753

เงินลงทุนในบริษัทรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม

ราคาตามบัญชีสุทธิตนป สวนแบงขาดทุนสําหรับป ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

5,102,753 (999,075) 4,103,678

5,406,090 (303,337) 5,102,753


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

183

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 13

เงินลงทุนในบริษัทรวม (สุทธิ) (ตอ) ขอมูลทางการเงินโดยสรุปสําหรับบริษัทรวม ขอมูลทางการเงินสําหรับบริษัท บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด ซึ่งปฏิบัติตามวิธีสวนไดเสีย แสดงดังตอไปนี้ งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุป บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพยสุทธิ

15,777,710 711,596 16,489,306

16,056,439 150,000 16,206,439

74,598 74,598

73,370 73,370

16,414,708

16,133,069

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยสรุป บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท รายได

690,512

20,257,504

กําไรกอนภาษี คาใชจาย/รายไดภาษีเงินได

371,505 (74,598)

336,408 (70,612)

กําไรสุทธิ

296,907

265,796

74,227

66,449

สวนไดเสียตามสัดสวนการถือหุนของบริษัท


14

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม

ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31)

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม

อาคารและอุปกรณ (สุทธิ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

33,252,931 (31,031,907) 2,221,024

3,511,380 626,301 660,000 (1,773,491) 1,601,079 (2,404,245) 2,221,024

33,740,121 (30,228,741) 3,511,380

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา

204,163,870 (139,565,089) 64,598,781

84,909,536 12,299,896 840,000 (23,216,678) 16,092,820 (26,326,793) 64,598,781

214,240,652 (129,331,116) 84,909,536

อุปกรณ

452,174,882 (251,585,725) 200,589,157

196,334,851 48,639,920 6,806,439 (18,561,323) 17,100,504 (49,731,234) 200,589,157

415,289,846 (218,954,995) 196,334,851

52,595,041 (23,029,475) 29,565,566

22,420,962 12,517,009 (392,523) 392,522 (5,372,404) 29,565,566

40,470,555 (18,049,593) 22,420,962

งบการเงินรวม (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

87,041,739 87,041,739

81,053,828 14,294,350 (8,306,439) 87,041,739

81,053,828 81,053,828

งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

829,228,463 (445,212,196) 384,016,267

388,230,557 88,377,476 (43,944,015) 35,186,925 (83,834,676) 384,016,267

784,795,002 (396,564,445) 388,230,557

รวม

PAGE

184


14

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสือ่ มราคาสะสม

ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31)

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม

อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

34,189,065 (33,251,677) 937,388

2,221,024 936,134 (2,219,770) 937,388

33,252,931 (31,031,907) 2,221,024

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา

413,058,761 (163,864,516) 249,194,245

64,598,781 30,435,461 181,301,135 (896,675) 886,200 (1,945,030) 1,944,961 (27,130,588) 249,194,245

204,163,870 (139,565,089) 64,598,781

อุปกรณ

483,579,834 (304,314,484) 179,265,350

200,589,157 33,075,750 9,888,830 (8,852,394) 8,543,680 (2,707,234) 2,677,146 (63,949,585) 179,265,350

452,174,882 (251,585,725) 200,589,157

67,181,399 (23,692,427) 43,488,972

29,565,566 31,670,517 (15,669,500) 9,458,640 (1,414,659) 990,261 (11,111,853) 43,488,972

52,595,041 (23,029,475) 29,565,566

งบการเงินรวม (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

160,394 160,394

87,041,739 104,308,620 (191,189,965) 160,394

87,041,739 87,041,739

งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

998,169,453 (525,123,104) 473,046,349

384,016,267 200,426,482 (25,418,569) 18,888,520 (6,066,923) 5,612,368 (104,411,796) 473,046,349

829,228,463 (445,212,196) 384,016,267

รวม

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

185


14

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม

ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31)

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม

อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

25,503,343 (23,631,509) 1,871,834

2,997,504 772,401 660,000 (221,747) 112,718 (2,449,042) 1,871,834

24,292,689 (21,295,185) 2,997,504

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา

129,808,764 (74,962,341) 54,846,423

77,139,911 6,178,500 840,000 (16,713,419) 10,791,395 (234,500) 142,714 (23,298,178) 54,846,423

139,738,183 (62,598,272) 77,139,911

อุปกรณ

423,027,969 (233,453,807) 189,574,162

191,291,800 37,951,774 6,806,439 (11,267,070) 11,022,922 (500,100) 191,851 (45,923,454) 189,574,162

390,036,926 (198,745,126) 191,291,800

47,557,771 (21,716,107) 25,841,664

17,689,607 12,517,009 (392,523) 392,522 (4,364,951) 25,841,664

35,433,285 (17,743,678) 17,689,607

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

86,602,858 86,602,858

81,053,828 13,855,469 (8,306,439) 86,602,858

81,053,828 81,053,828

งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

712,500,705 (353,763,764) 358,736,941

370,172,650 71,275,153 (28,373,012) 22,206,839 (956,347) 447,283 (76,035,625) 358,736,941

670,554,911 (300,382,261) 370,172,650

รวม

PAGE

186


14

1,871,834 936,134 (2,112,343) 695,625 26,439,477 (25,743,852) 695,625

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป - ตามที่ปรับใหม ซื้อสินทรัพย รับโอนจากงานระหวางกอสราง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสื่อมราคาสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาเสือ่ มราคาสะสม คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 31) ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ

346,459,529 (100,189,325) 246,270,204

54,846,423 35,729,931 181,301,135 (337,301) 333,747 (43,000) 43,000 (25,603,731) 246,270,204

129,808,764 (74,962,341) 54,846,423

อุปกรณ

440,586,617 (277,784,955) 162,801,662

189,574,162 31,400,050 8,537,150 (21,151,281) 14,568,736 (1,227,272) 1,214,344 (60,114,227) 162,801,662

423,027,969 (233,453,807) 189,574,162

62,141,057 (21,369,437) 40,771,620

25,841,664 31,670,239 (15,672,294) 9,460,727 (1,414,659) 990,261 (10,104,318) 40,771,620

47,557,771 (21,716,107) 25,841,664

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เครื่องตกแตง ติดตั้งและ อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ

160,394 160,394

86,602,858 103,395,821 (189,838,285) 160,394

86,602,858 86,602,858

งานระหวางกอสราง และอุปกรณ ระหวางติดตั้ง

875,787,074 (425,087,569) 450,699,505

358,736,941 203,132,175 (37,160,876) 24,363,210 (2,684,931) 2,247,605 (97,934,619) 450,699,505

712,500,705 (353,763,764) 358,736,941

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณซึ่งหักคาเสื่อมราคาทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยูในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมีจํานวนเงินทั้งสิ้น 209,801,826 บาท และ 177,518,206 บาท (พ.ศ. 2558 : 197,007,572 บาท และ 164,116,445 บาท) ตามลําดับ

25,503,343 (23,631,509) 1,871,834

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคารเชา

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชีสุทธิ - ตามที่ปรับใหม

อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

187


PAGE

188 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 14

อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) (ตอ) สินทรัพยตามสัญญาเชาการเงินที่บริษัทและบริษัทยอยเปนผูเชา ซึ่งรวมแสดงในรายการขางตนประกอบดวย รถยนต มีมูลคา ตามบัญชีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

ราคาทุนของสินทรัพยตามสัญญาเชาการเงิน หัก คาเสื่อมราคาสะสม มูลคาสุทธิตามบัญชี 15

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

60,153,041 (12,877,093) 47,275,948

27,439,701 (12,303,902) 15,135,799

60,153,041 (12,877,093) 47,275,948

27,439,701 (12,303,902) 15,135,799

ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) รายการเคลื่อนไหวของใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม

มูลคาเทียบเทาเงินสด (มูลคาปจจุบัน) หัก คาตัดจําหนายสะสม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

2,030,326,376 (363,894,963) 1,666,431,413

2,030,326,376 (228,268,123) 1,802,058,253

เมื่อ วัน ที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 บริ ษัท ยอ ยแหงหนึ่ ง (“บริษั ท อารเ อส เทเลวิชั่น จํากัด ”) ไดรับใบอนุ ญาตใหใชคลื่ นความถี่ และประกอบกิจการโทรทัศนเพื่อใหบริการโทรทัศนภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติในหมวดหมูทั่วไป แบบความคมชัดปกติ ในราคาประมูล 2,265 ลานบาท (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สําหรับระยะเวลา 15 ป (เริ่มตั้งแตวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 ถึงวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2572)


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

189

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15

ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) (ตอ) บริษัทยอยดังกลาวจะตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่โดยแยกชําระ ดังนี้ 1) คาธรรมเนี ยมใบอนุ ญาตในสวนของราคาขั้น ต่ําจํานวน 380 ลานบาท แบงชําระ 4 งวด ภายใน 3 ป (วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560) นับแตวันที่ไดรับใบอนุญาตตามเงื่อนไขที่ กสทช. กําหนด 2) คาธรรมเนียมใบอนุญาตในสวนที่เกินกวาราคาขั้นต่ําจํานวน 1,885 ลานบาท แบงชําระ 6 งวด ภายใน 5 ป (วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562) นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ ใบอนุ ญ าตตามเงื่ อ นไขที่ ค ณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย งกิ จ การโทรทั ศ น แ ละกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติ (“กสทช”)กําหนด 3) วางหนังสือค้ําประกันการชําระคืนคาธรรมเนียมสวนที่เหลือจากการจายชําระใหกับ กสทช. ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 หนังสือค้ําประกันดังกลาวมียอดคงเหลือจํานวน 1,251 ลานบาท (พ.ศ. 2558 : 1,695 ลานบาท) 4) ตารางแสดงภาระผูกพันที่ตองจายชําระคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ มีดังนี้ คาธรรมเนียม ใบอนุญาตใน สวนของราคาขั้นต่ํา จํานวนเงิน งวดการจายชําระ ลานบาท 1 2 3 4 5 6 รวม

คาธรรมเนียมใบอนุญาต ในสวนที่เกินขั้นต่ํา จํานวนเงิน ลานบาท

รวม ลานบาท

190.0 114.0 38.0 38.0 -

188.5 188.5 377.0 377.0 377.0 377.0

378.5 302.5 415.0 415.0 377.0 377.0

380.0

1,885.0

2,265.0

บริษัทยอยบันทึกใบอนุญาตดังกลาว ณ วันที่ไดรับสิทธิดวยมูลคาเทียบเทาเงินสด (มูลคาปจจุบัน)

วันที่ครบกําหนดชําระ 11 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562


PAGE

190 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 15

ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน (สุทธิ) (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันที่จะตองจายคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท ราคาตามบัญชีสุทธิตนป จายชําระ ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

1,584,000,000 (415,000,000) 1,169,000,000

พ.ศ. 2558 บาท 1,886,500,000 (302,500,000) 1,584,000,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริษัทยอยมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบ กิจการโทรทัศน ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศนที่ตองจาย หัก ดอกเบี้ยในอนาคต หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

1,169,000,000 (63,081,162) 1,105,918,838 (378,075,913) 727,842,925

พ.ศ. 2558 บาท 1,584,000,000 (116,406,400) 1,467,593,600 (361,674,762) 1,105,918,838

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 จํานวนเงินที่ตองจายชําระมีดังนี้

กําหนดชําระภายใน 1 ป 2 - 5 ป

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท 415,000,000 754,000,000 1,169,000,000

พ.ศ. 2558 บาท 415,000,000 1,169,000,000 1,584,000,000

เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2559 คณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ออกคําสั่งตามมาตรา 44 เรื่อง มาตรการสงเสริมการประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชนสาธารณะ โดยใหผูรับใบอนุญาตรายใดไมสามารถปฏิบัติ ตามหลักเกณฑการชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตในสวนที่เหลือ ตั้งแต งวดที่สี่เปน ตน ไป ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข ที่กําหนดเริ่มแรก แจงเปนหนังสือไปยัง กสทช. ลวงหนากอนวันครบกําหนดชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตตามที่กําหนดไวใน ประกาศ ในกรณีที่ กสทช. พิจารณาแลวเห็นเปนการสมควร ก็ใหผูรับใบอนุญาตรายนั้นชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตในสวนที่เหลือ ทั้งหมดตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดไวในคําสั่งนี้ ซึ่งกําหนดใหขยายการชําระคาธรรมเนียมใบอนญาตในสวนที่เหลือ เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุมกิจการกําลังอยูในระหวางกระบวนการการพิจารณาสําหรับการชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหใช คลื่นความถี่ดังกลาวแก กสทช.


16

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา

ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย โอนงานระหวางติดตั้ง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนาย (หมายเหตุ 31) คาเผื่อดอยคา

ราคาตามบัญชีสุทธิ

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา

สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ)

295,821,750 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,796

70,480,268 5,947,262 (299,999) (15,802,735) 60,324,796

289,874,488 (82,403,675) (136,990,545) 70,480,268

คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

1,045,856,452 (672,515,495) (174,242,368) 199,098,589

52,820,472 301,285,508 (4,999,972) 4,999,988 (155,007,407) 199,098,589

749,570,916 (522,508,076) (174,242,368) 52,820,472

ตนทุนการผลิต ละครและ ภาพยนตร

102,189,180 (55,323,744) (1,544,808) 45,320,628

181,025,912 9,658,574 (720,258,500) 719,727,589 (162,534,931) 17,701,984 45,320,628

812,789,106 (612,516,402) (19,246,792) 181,025,912

โปรแกรม คอมพิวเตอร และอื่นๆ

งบการเงินรวม (บาท)

18,827,184 18,827,184

68,306,223 255,162,813 (307,232,770) 2,590,918 18,827,184

70,897,141 (2,590,918) 68,306,223

ตนทุน ระหวางทํา

1,462,694,566 (810,542,913) (328,580,456) 323,571,197

372,632,875 264,821,387 (725,258,472) 724,727,577 (317,842,337) 4,490,167 323,571,197

1,923,131,651 (1,217,428,153) (333,070,623) 372,632,875

รวม

295,821,790 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,836

70,480,308 5,947,262 (299,999) (15,802,735) 60,324,836

289,874,528 (82,403,675) (136,990,545) 70,480,308

คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง

624,028,723 (451,074,954) (166,242,356) 6,711,413

11,292,611 (4,581,198) 6,711,413

624,028,723 (446,493,756) (166,242,356) 11,292,611

ตนทุนการผลิต ละครและ ภาพยนตร

92,759,077 (50,288,870) 42,470,207

44,171,234 6,871,539 (725,000) 224,321 (8,071,887) 42,470,207

86,612,538 (42,441,304) 44,171,234

โปรแกรม คอมพิวเตอร และอื่นๆ

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

160,000 160,000

2,094,546 4,012,716 (5,947,262) 160,000

2,094,546 2,094,546

ตนทุน ระหวางทํา

1,012,769,590 (584,067,498) (319,035,636) 109,666,456

128,038,699 10,884,255 (725,000) 224,321 (12,953,084) (15,802,735) 109,666,456

1,002,610,335 (571,338,735) (303,232,901) 128,038,699

รวม

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

191


16

60,324,796 4,501,408 (60,000) (15,460,045) 49,306,159

300,323,158 (82,763,674) (168,253,325) 49,306,159

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีสุทธิตนป ซื้อสินทรัพย โอนงานระหวางติดตั้ง จําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาตัดจําหนายสะสม ตัดจําหนายสินทรัพย - ราคาทุน - คาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนาย (หมายเหตุ 31) คาเผื่อดอยคา ราคาตามบัญชีสุทธิปลายป

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา ราคาตามบัญชีสุทธิ 1,363,547,074 (890,886,422) (173,935,124) 298,725,528

199,098,589 317,690,622 (218,370,927) 307,244 298,725,528

1,045,856,452 (672,515,495) (174,242,368) 199,098,589

142,470,832 (64,718,522) (1,544,808) 76,207,502

45,320,628 40,917,373 (635,721) 634,278 (10,029,056) 76,207,502

102,189,180 (55,323,744) (1,544,808) 45,320,628

งบการเงินรวม (บาท) ตนทุนการผลิต โปรแกรม ละครและ คอมพิวเตอร ภาพยนตร และอื่นๆ

127,370,987 127,370,987

18,827,184 426,234,425 (317,690,622) 127,370,987

18,827,184 18,827,184

ตนทุน ระหวางทํา

1,933,712,051 (1,038,368,618) (343,733,257) 551,610,176

323,571,197 471,653,206 (635,721) 634,278 (228,459,983) (15,152,801) 551,610,176

1,462,694,566 (810,542,913) (328,580,456) 323,571,197

รวม

300,323,198 (82,763,674) (168,253,349) 49,306,175

60,324,836 4,501,408 (60,000) (15,460,069) 49,306,175

295,821,790 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,836

คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง

624,028,723 (454,207,533) (166,242,356) 3,578,834

6,711,413 160,000 (160,000) (3,132,579) 3,578,834

624,028,723 (451,074,954) (166,242,356) 6,711,413

131,828,319 (59,734,038) 72,094,281

42,470,207 39,198,503 (117,040) 14,744 (12,221) 10,793 (9,470,705) 72,094,281

92,759,077 (50,288,870) 42,470,207

17,192,000 17,192,000

160,000 17,192,000 (160,000) 17,192,000

160,000 160,000

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) ตนทุนการผลิต โปรแกรม ละครและ คอมพิวเตอร ตนทุน ภาพยนตร และอื่นๆ ระหวางทํา

1,073,372,240 (596,705,245) (334,495,705) 142,171,290

109,666,456 60,891,911 (277,040) 14,744 (12,221) 10,793 (12,663,284) (15,460,069) 142,171,290

1,012,769,590 (584,067,498) (319,035,636) 109,666,456

รวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ราคาตามบัญชีกอนหักคาตัดจําหนายสินทรัพยของสินทรัพยไมมีตัวตนซึ่งหักคาตัดจําหนายทั้งจํานวนแลวแตยังคงใชงานอยู ในงบการเงิ นรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการมี จํานวนทั้งสิ้น 79,360,064 บาท และ 78,955,164 บาท (พ.ศ. 2558 : 59,252,293 บาท และ 56,842,014 บาท) ตามลําดับ

295,821,750 (82,703,674) (152,793,280) 60,324,796

คาลิขสิทธิ์ สําหรับเพลง

ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม คาเผื่อการดอยคา ราคาตามบัญชีสุทธิ

สินทรัพยไมมีตัวตน (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

PAGE

192


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

193

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 17

ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย (สุทธิ) งบการเงินรวม

ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย หัก คาเผื่อภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย ที่คาดวาจะไมไดรับคืน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

131,947,576

139,765,951

55,838,141

69,548,760

(7,867,463) 124,080,113

(9,228,415) 130,537,536

55,838,141

69,548,760

ในระหว า งป ก ลุ ม บริ ษัท ได รั บ เงิน ภาษี เ งิ น ได ถู ก หั ก ณ ที่ จ า ยคืน ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะกิ จ การเป น จํ า นวน 61,886,965 บาท และ 37,010,317 บาท (พ.ศ. 2558 : 12,297,788 บาท และ 12,297,788 บาท) ตามลําดับ 18

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะใชประโยชนภายใน 12 เดือน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะใชประโยชนเกินกวา 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะจายชําระภายใน 12 เดือน หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ที่จะจายชําระเกินกวา 12 เดือน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

98,614,369

111,228,506

15,091,755

38,945,349

206,682,177 305,296,546

117,413,048 228,641,554

81,162,071 96,253,826

70,448,204 109,393,553

898,031

(77,800)

898,031

(77,800)

(2,576,919) (1,678,888)

(543,375) (621,175)

(2,576,919) (1,678,888)

(543,375) (621,175)

303,617,658

228,020,379

94,574,938

108,772,378


PAGE

194

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 18

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียด ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ยอดคงเหลือตนป เพิ่มในงบกําไรขาดทุน ยอดคงเหลือปลายป

228,020,379 75,597,279 303,617,658

117,360,680 110,659,699 228,020,379

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 108,772,378 (14,197,440) 94,574,938

88,366,146 20,406,232 108,772,378

สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีแสดงรายการสุทธิตามหนวยภาษีในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ดังนี้ งบการเงินรวม

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

303,617,658 303,617,658

228,020,379 228,020,379

94,574,938 94,574,938

108,772,378 108,772,378


18

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ทรัพยสินภายใตสัญญาเชาการเงิน รวมหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมมีตัวตน ประมาณการรับคืนสินคา คาเผื่อสินคาลาสมัย หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ขาดทุนสะสมทางภาษี คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน คาเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ รวมสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (1,057,713) (1,057,713) 75,597,279

228,020,379

5,819,641 (63,408) (2,494,789) 3,511,055 115,958 7,590,414 2,482,709 59,530,803 (1,787,016) 1,949,625 76,654,992

(621,175) (621,175)

13,282,224 39,592,323 2,873,175 9,069,298 2,336,066 18,470,404 17,109,150 83,513,917 42,394,997 228,641,554

1 มกราคม พ.ศ. 2559 บาท

งบการเงินรวม เพิ่ม(ลด)ใน ) งบกําไรขาดทุน บาท

303,617,658

(1,678,888) (1,678,888)

19,101,865 39,528,915 378,386 12,580,353 2,452,024 26,060,818 19,591,859 143,044,720 40,607,981 1,949,625 305,295,546

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท

108,772,378

(621,175) (621,175)

8,396,278 13,079,936 2,873,175 867,288 2,336,066 14,962,658 24,483,155 42,394,997 109,393,553

(14,197,440)

(1,057,713) (1,057,713)

5,748,855 (7,812,479) (2,873,175) (713,150) 115,958 1,855,798 (9,624,143) (1,787,016) 1,949,625 (13,139,727)

งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม เพิ่ม(ลด)ใน ) พ.ศ. 2559 งบกําไรขาดทุน บาท บาท

รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

94,574,938

(1,678,888) (1,678,888)

14,145,133 5,267,457 154,138 2,452,024 16,818,456 14,859,012 40,607,981 1,949,625 96,253,826

31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บาท

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

195


18

5,674,026 (621,175) 5,052,851 110,659,699

(5,674,026) (5,674,026) 117,360,680

หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยไมมีตัวตน ทรัพยสินภายใตสัญญาเชาการเงิน รวมหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ)

5,321,548 5,008,237 (4,473,812) 6,605,958 2,336,066 10,281,477 4,038,854 34,093,523 42,394,997 105,606,848

7,960,676 34,584,086 7,346,987 2,463,340 8,188,927 13,070,296 49,420,394 123,034,706

สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินทรัพยไมมีตัวตน ประมาณการรับคืนสินคา คาเผื่อสินคาลาสมัย หนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน คาใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ขาดทุนสะสมทางภาษี คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน รวมสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี

1 มกราคม พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม เพิ่ม(ลด)ใน ) งบกําไรขาดทุน บาท

228,020,379

(621,175) (621,175)

13,282,224 39,592,323 2,873,175 9,069,298 2,336,066 18,470,404 17,109,150 83,513,917 42,394,997 228,641,554

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท

88,366,146

-

7,737,854 25,831,526 7,346,987 1,379,939 11,341,447 34,728,393 88,366,146

20,406,232

(621,175) (621,175)

658,424 (12,751,590) (4,473,812) (512,651) 2,336,066 3,621,211 (10,245,238) 42,394,997 21,027,407

งบการเงินเฉพาะกิจการ 1 มกราคม เพิ่ม(ลด)ใน ) พ.ศ. 2558 งบกําไรขาดทุน บาท บาท

รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ (ตอ)

ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี (สุทธิ) (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

108,772,378

(621,175) (621,175)

8,396,278 13,079,936 2,873,175 867,288 2,336,066 14,962,658 24,483,155 42,394,997 109,393,553

31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บาท

PAGE

196


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

197

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 19

สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) งบการเงินรวม

เงินมัดจํา เงินประกัน หัก คาเผื่อการดอยคาของเงินประกัน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น (สุทธิ) 20

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

557,673 39,788,130 40,345,803 (9,485,877) 30,859,926

557,673 40,757,901 41,315,574 (10,049,685) 31,265,889

557,673 31,242,131 31,799,804 (4,085,877) 27,713,927

557,673 31,108,243 31,665,916 (3,546,027) 28,119,889

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

35 ค)

130,421,797 35,312,967 3,720,985

168,813,426 24,213,770 3,598,412

40,453,007 25,247,406 28,804,620 3,651,447

67,251,140 113,953,850 22,710,528 3,465,566

35 ค)

132,067,313 -

704,803,756 -

31,812,878 40,504,358

619,064,055 51,594,944

35 ค)

202,490,061 -

228,498,470 -

59,624,854 997,996

86,988,338 -

35 ค)

62,034,949 -

205,987,287 -

28,537,698 -

71,067,871 20,051,654

35 ค)

361,939 -

401,631

130,356

4,030,369 264,066,264

65,714,940 1,121,993,242

หมายเหตุ เจาหนี้การคา - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน รายไดรับลวงหนา - บริษัทอื่น - บริษัทที่เกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย - คานายหนาและคาใชจาย สงเสริมการขายคางจาย - บริษัทอืน่ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน - คาใชจายโครงการคางจาย - บริษัทอืน่ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน - ดอกเบี้ยคางจาย - บริษัทอืน่ - บริษัทที่เกี่ยวของกัน - คาใชจายคางจายอื่นๆ - บริษัทอืน่

งบการเงินเฉพาะกิจการ

35 ค)

22,706,444 589,116,455

83,458,705 1,419,373,826


PAGE

198 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 21

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน (สุทธิ) งบการเงินรวม

หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน หัก ดอกเบี้ยในอนาคตของสัญญาเชาการเงิน หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

38,965,125 (2,595,492) 36,369,633 (11,667,631) 24,702,002

14,153,197 (1,081,707) 13,071,490 (5,865,272) 7,206,218

38,965,125 (2,595,492) 36,369,633 (11,667,631) 24,702,002

14,153,197 (1,081,707) 13,071,490 (5,865,272) 7,206,218

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 จํานวนเงินที่ตองจายสําหรับสัญญาเชาการเงินขางตน มีดังนี้ งบการเงินรวม

ภายใน 1 ป เกิน 1 ป แตไมเกิน 5 ป

22

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

13,025,844 25,939,281 38,965,125

6,432,135 7,721,062 14,153,197

13,025,844 25,939,281 38,965,125

6,432,135 7,721,062 14,153,197

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน งบการเงินรวม ประเภทของเงินกูยืมระยะสัน้ ตั๋วสัญญาใชเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

706,000,000

-

598,000,000

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ตั๋วสัญญาใชเงินที่ตออายุไดในสกุลเงินบาท มีดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยระหวางอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืม ประมาณรอยละ 3.10 ตอป ถึงอัตราดอกเบี้ยรอยละ 3.60 ตอป เงินกูคงเหลือพรอมดอกเบี้ยมีกําหนดชําระคืนในระหวางเดือนกุมภาพันธ ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

199

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 22

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (ตอ) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ งบการเงินรวม ตั๋วสัญญาใชเงิน ราคาตามบัญชีสุทธิตนงวด/ป เงินกูยืมเพิ่ม ชําระคืนเงินกูยืม ราคาตามบัญชีสุทธิปลายงวด/ป

23

พ.ศ. 2559 บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2558 บาท

3,046,000,000 (2,340,000,000) 706,000,000

-

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

2,573,000,000 (1,975,000,000) 598,000,000

-

ภาษีมูลคาเพิ่ม งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท ภาษีขายยังไมถึงกําหนดชําระ ภาษีซ้อื ยังไมถึงกําหนดชําระ ภาษีมูลคาเพิ่มรอรับคืน

(88,179,440) 60,418,191 51,429,249 23,668,000

(95,525,631) 61,766,158 26,277,490 (7,481,983)

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท (52,906,013) 3,065,294 16,132,851 (33,707,868)

(46,430,213) 11,265,888 8,733,664 (26,430,661)

ภาษีมูลคาเพิ่มแสดงรายการสุทธิตามหนวยภาษี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ดังนี้ งบการเงินรวม

ภาษีมูลคาเพิ่ม (สินทรัพย) ภาษีมูลคาเพิ่ม (หนี้สิน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

67,630,189 (43,962,189) 23,668,000

40,928,458 (48,410,441) (7,481,983)

(33,707,868) (33,707,868)

(26,430,661) (26,430,661)


PAGE

200 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 24

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินมีรายการเคลื่อนไหวสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 มีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 กูเพิ่มระหวางป จายชําระคืนเงินกูยืมระหวางป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

444,060,000 444,060,000

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 กลุมกิจการมีวงเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน แหงหนึ่งจํานวน 1.60 พัน ลานบาท อัตรา ดอกเบี้ย MLR ลบดวยรอยละคงที่ตามสัญญา โดยชําระคืนเงินตนงวดแรกในวันครบกําหนดระยะเวลา 25 เดือนนับจากวันเบิกเงินกู ครั้งแรกในวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และงวดตอไป ชําระเปนรายไตรมาส ทั้งนี้ กําหนดชําระคืนดอกเบี้ยทั้งหมดภายใน 96 เดือน นับตั้งแตวันเบิกเงินกูครั้งแรก อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

รอยละ 4.25

-

รอยละ 4.25

-


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

201

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 24

เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (ตอ) ราคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาว มีดังนี้ งบการเงินรวม ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

444,060,000 444,060,000

-

มูลคายุติธรรม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท 444,060,000 444,060,000

-

มูลคายุติธรรมของเงินกูยืมสวนที่หมุนเวียนมีมูล คาเทากับราคาตามบัญชี เนื่องจากผลกระทบของอัตราคิดลดไมมีสาระสํา คัญ มูลคายุติธรรมคํานวณจากกระแสเงินสดในอนาคตซึ่งคิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมที่อัตรารอยละ 4.25 (พ.ศ. 2558 : ไมมี) และ อยูในขอมูลระดับ 2 ของลําดับขั้นมูลคายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กําหนดระยะเวลาชําระคืนเงินตนของเงินกูยืม ระยะยาวจากสถาบันการเงินสรุปได ดังนี้ งบการเงินรวม ถึงกําหนดชําระภายในปสิ้นสุด ครบกําหนดชําระภายในไมเกิน 1 ป ครบกําหนดชําระเกิน 1 ป แตไมเกิน 5 ป ครบกําหนดชําระหลังจาก 5 ป

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

360,000,000 84,060,000 444,060,000

-


PAGE

202 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 25

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม

งบแสดงฐานะการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

97,959,294

85,545,748

84,092,281

74,813,289

รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชนที่กําหนดไวระหวางปมีดังนี้ งบการเงินรวม

ยอดตนป ตนทุนบริการปจจุบนั ตนทุนบริการในอดีต ตนทุนดอกเบี้ย ยอดปลายป

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

85,545,748 9,626,100 2,787,446 97,959,294

65,351,484 9,114,836 8,591,010 2,488,418 85,545,748

74,813,289 7,036,956 2,242,036 84,092,281

56,707,234 8,011,683 7,930,865 2,163,507 74,813,289

งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราคิดลด อัตราเงินเฟอ อัตราการเพิ่มของเงินเดือน

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

รอยละ 3.50 รอยละ 3.00 รอยละ 7.00 - 7.50

รอยละ 3.50 รอยละ 3.00 รอยละ 7.00 - 7.50


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

203

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 25

ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงาน (ตอ) การวิเคราะหความออนไหวของขอสมมติหลักในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ภาระผูกพันผลประโยชนพนักงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) งบการเงินรวม พ.ศ.2559 พ.ศ.2558 บาท บาท

การเปลี่ยนแปลงใน ขอสมมติฐาน อัตราคิดลด อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มของเงินเดือน อัตราการเพิ่มของเงินเดือน อัตราการลาออก อัตราการลาออก

เพิ่มขึ้นรอยละ 1 ลดลงรอยละ 1 เพิ่มขึ้นรอยละ 1 ลดลงรอยละ 1 เพิ่มขึ้นรอยละ 20 ลดลงรอยละ 20

(10,198,869) 11,858,406 13,250,483 (11,489,778) (14,065,131) 17,729,684

(9,390,463) 10,982,712 11,330,128 (9,843,699) (12,038,711) 15,096,944

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ.2559 พ.ศ.2558 บาท บาท (8,691,390) 10,085,983 11,297,659 (9,815,474) (11,889,888) 14,921,219

(7,996,726) 9,332,597 9,640,551 (8,393,408) (10,149,428) 12,665,532

การวิเคราะหความออนไหวขางตนนี้อางอิงจากการเปลี่ยนแปลงขอสมมติ ขณะที่ใหขอสมมติอื่นคงที่ ในทางปฏิบัติสถานการณ ดังกลาวยากที่จะเกิดขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในขอ สมมติอ าจมีความสัมพัน ธกัน ในการคํานวณการวิเคราะหความออ นไหว ของภาระผูกพันผลประโยชนที่กําหนดไวที่มีตอการเปลี่ยนแปลงในขอสมมติหลักไดใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว 26

หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น

เงินมัดจํารับ เงินค้ําประกันผลงาน

งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

16,431,623 16,431,623

66,000 10,766,374 10,832,374

17,156,186 17,156,186

66,000 10,941,788 11,007,788


PAGE

204

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

ทุนเรือนหุน 27.1 ทุนเรือนหุนและสวนเกินมูลคาหุน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนหุนสามัญ หุนสามัญ สวนเกินมุลคาหุน หุน บาท บาท ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ลดทุน (หมายเหตุ 27.2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ลดทุน (หมายเหตุ 27.2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

1,022,346,046 (12,408,400) 1,009,937,646 1,009,937,646

1,022,346,046 (12,408,400) 1,009,937,646 1,009,937,646

255,224,632 600,184 255,824,816 255,824,816

27.2 หุนสามัญซื้อคืน/สํารองหุนสามัญซื้อคืน หุนสามัญซื้อคืน เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 1/2555 มีมติใหซ้ือหุนสามัญคืนจํานวนไมเกิ น 26 ลานหุน คิดเปนไมเกินรอยละ 2.9 ของจํานวนหุนที่จําหนายทั้งหมด (ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 บริษัทมีหุน ที่ ออกจําหนายไดแลวทั้งหมดจํานวน 882,654,428 หุน) และวงเงินสูงสุดที่จะใชในการซื้อหุนคืนจํานวนไมเกิน 75 ลานบาท เพื่อวัตถุประสงคในการบริหารทางการเงิน เนื่องจากบริษัทมีสภาพคลองสวนเกินโดยทําการซื้อคืนหุนในตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืนภายในระยะเวลา 6 เดือน นับตั้งแตวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2555 โดยกําหนดระยะเวลาการจําหนายหุนที่ซ้ือคืนเมื่อ พนกําหนด 6 เดือน นับแตการซื้อหุนคืนเสร็จสิ้น โดยขายคืนภายใน 3 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษัทมีหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 17,700,000 หุน มูลคาการซื้อคืนคงเหลือ 74,671,816 บาท โดยมีราคาตลาดของหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 297,360,000 บาท เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2558 บริษัทไดจําหนายหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 441,600 หุน ในราคาของหุนละ 21.00 บาท รวมเปนเงิน 9,273,600 บาท


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

205

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

ทุนเรือนหุน (ตอ) 27.2 หุนสามัญซื้อคืน/สํารองหุนสามัญซื้อคืน (ตอ) หุนสามัญซื้อคืน (ตอ) เมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทไดจําหนายหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 3,000,000 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.80 บาท ถึง 11.00 บาท รวมเปนเงิน 32,700,000 บาท เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทไดจําหนายหุนสามัญซื้อคืนจํานวน 1,850,000 หุน ในราคาระหวางหุนละ 11.00 บาท ถึง 11.40 บาท รวมเปนเงิน 20,890,000 บาท เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558 บริษัทไดจดทะเบียนลดทุนสําหรับหุนสามัญซื้อคืนที่ไมสามารถจําหนายไดหมดภายใน ระยะเวลาที่กําหนดไวจํานวน 12,408,400 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท กับกระทรวงพาณิชยแลว เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทครั้งที่ 1/2559 มีมติใหบริษัทดําเนินการซื้อหุนคืน โดยมี รายละเอียดดังนี้ x วงเงินสูงสุดที่ใชในการซื้อหุนคืนไมเกิน 470.00 ลานบาท x จํานวนหุนที่จะซื้อคืนไมเกิน 50.70 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท จํานวนหุนที่จะซื้อคืนไมเกินรอยละ 5.02 ของ หุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด x วิธีการในการซื้อหุนคืนโดยซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย x กําหนดระยะเวลาที่จะซื้อหุนคืนภายในระยะเวลา 6 เดือนนับตั้งแตวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 x หลักเกณฑในการกําหนดราคาหุนที่จะซื้อคืน โดยใหนําราคาหุนเฉลี่ยยอนหลั ง 30 วันกอนที่บริษัทจะทําการเปดเผย ขอมูลมาประกอบการพิจารณากําหนดราคาซื้อคืน ราคาซื้อคืนจะไมเกินกวาราคาปดของหุนเฉลี่ย 5 วันทําการซื้อขาย กอนหนาวันที่ทําการซื้อขายในแตละครั้งบวกดวยจํานวนรอยละ 15 ของราคาปดเฉลี่ยดังกลาว ทั้งนี้ราคาหุนเฉลี่ย ยอนหลัง 30 ตั้งแตวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 เทากับ 9.27 บาทตอหุน ในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 4,840,300 หุน ในราคาระหวางหุนละ 9.10 บาท ถึง 9.70 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 45,850,070 บาท ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 9,637,600 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.10 บาท ถึง 10.60 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 99,155,940 บาท ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 13,740,600 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.10 บาทถึง 12.10 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 151,530,140 บาท ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 บริษัทไดซ้ือหุนทุนซื้อคืนจํานวน 15,054,800 หุน ในราคาระหวางหุนละ 10.40 บาทถึง 11.70 บาท รวมเปนจํานวนเงิน 168,738,690 บาท


PAGE

206 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 27

ทุนเรือนหุน (ตอ) 27.2 หุนสามัญซื้อคืน/สํารองหุนสามัญซื้อคืน (ตอ) รายการเคลื่อนไหวของหุนสามัญซื้อคืนและสวนเกินมูลคาหุนสามัญซื้อคืนสําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 เปนดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ

ยอดคงเหลือตนป ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 จําหนาย ลดทุน ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ซื้อคืน ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

จํานวนหุน

มูลคาของ หุนสามัญซื้อคืน บาท

สวนเกินมูลคา หุนสามัญซื้อคืน บาท

17,700,000 (5,291,600) (12,408,400) 43,273,300 43,273,300

74,671,816 (22,324,499) (52,347,317) 465,274,840 465,274,840

(40,539,101) 39,938,917 (600,184) (600,184)

27.3 การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทยอย ในการประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น เมื่ อ วั น ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ได มี ม ติ ล ดทุ น จดทะเบี ย นของ บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด เปนจํานวนเงิน 112,500,000 บาท โดยลดหุนสามัญจํานวน 1,125,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท บริษัทไดจดทะเบียนลดทุนกับกระทรวงพาณิชยเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558 โดยจายเงินคืนใหกับใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมเปนจํานวนเงิน 18,750,000 บาท 27.4 การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทยอย ในการประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น เมื่ อ วั น ที่ 29 ธั น วาคม พ.ศ. 2559 ผู ถื อ หุ น ได มี ม ติ อ นุ มั ติ เ พิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นของ บริษัท อาร.เอส. เทเลวิชั่น จํากัด จากหุนสามัญจํานวน 2,000,000 หุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เปนหุนสามัญ จํานวน 3,000,000 หุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2559 บริษัทไดรับคาหุนสําหรับ หุนสามัญที่เพิ่มจํานวน 1,000,000 หุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 100 บาท ในราคาหุนละ 100 บาท โดยมีมูลคาหุนที่ชําระแลว ตามมูลคาที่ตราไว 100,000,000 บาท และ 100,000,000 บาท ตามลําดับ บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2559


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

207

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 28

การจายเงินปนผล ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของบริษัทเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2559 ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผล จากผลการดําเนินงานสําหรับป พ.ศ. 2558 ในอัตราหุนละ 0.10 บาท เปนจํานวนเงินรวม 100,109,385 บาท ทั้งนี้เงินปนผลดังกลาว จายชําระในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของบริษัทเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมผูถือหุนไดมีมติอนุมัติใหจายเงินปนผล จากการดําเนินงานสําหรับป พ.ศ. 2557 ในอัตราหุนละ 0.18 บาท เปนจํานวนเงินรวม 180,915,596 บาท ทั้งนี้เงินปนผลดังกลาว จายชําระในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

29

รายไดอ่นื

กําไร(ขาดทุน)สุทธิจากอัตราแลกเปลี่ยน รายไดดอกเบี้ย รายไดเงินปนผล (หมายเหตุ 12) กําไรจากการขายอาคาร และอุปกรณ รายไดคาเชาพื้นที่ รายไดจากการบริหารจัดการ รายไดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ รายไดอื่น

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

2,038,922 1,741,591 418,842 407,634 391,308 118,591,330 123,589,627

907,276 2,454,665 747,323 447,401 27,084 30,974,673 15,992,782 51,551,204

1,866,035 25,992,049 122,813,200 276,618 8,117,654 225,861,968 59,356,869 444,284,393

466,109 19,099,399 369,578,855 27,945 4,951,993 209,545,089 7,506,785 611,176,175

รายไดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ เปนรายไดที่เกิดจากการเรียกเก็บคาละเมิดลิขสิทธิ์กีฬาจากบริษัทแหงหนึ่ง


PAGE

208 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 30

คาใชจายอื่น งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

ขาดทุนจากการตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตน และอาคารและอุปกรณ กลับรายการจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการดอยคาเงินลงทุนในบริษัทอื่น กลับรายการ(ขาดทุน)จากการประมาณการหนี้สนิ กําไร(ขาดทุน)จากการปดกิจการในบริษัทยอย คาใชจายอื่น ๆ

31

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

(455,998) 524,183 (999,076) 1,268,868 (2,245,272) (1,907,295)

(807,675) (303,337) 2,045,499 (1,017,520) (83,033)

(438,754) 216,940 (103,747) (1,731,619) (2,057,180)

(509,063) (571,216) (1,080,279)

คาใชจายตามลักษณะ คาใชจายที่สําคัญสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ถูกจัดประเภทตามลักษณะดังตอไปนี้ ซึ่งแสดงรวมไว ในกําไร(ขาดทุน)กอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูป และงานระหวางทํา ตนทุนบริการและวัตถุดิบใชไป คาใชจายพนักงาน คาเสื่อมราคา (หมายเหตุ 14) คาตัดจําหนาย (หมายเหตุ 15 และ 16) คาเชาและคาสาธารณูปโภค คาใชจายในการสงเสริมการขายและโฆษณา (กลับรายการ)ขาดทุนจากการดอยคาสินทรัพย ขาดทุนจากการทําลายสินคา และคาเผื่อสินคาลาสมัย

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

15,860,392 2,126,282,856 688,790,268 104,411,795 364,086,823 109,421,784 108,781,805 16,902,815

(104,263,368) 2,518,675,593 699,654,492 83,834,676 453,098,611 109,847,523 235,291,463 (3,778,393)

54,707,866 760,655,617 469,640,036 97,934,619 12,663,284 93,900,822 14,790,006 15,656,163

(46,779,519) 1,076,890,660 601,185,761 76,035,625 12,953,084 93,501,298 96,554,702 13,620,854

23,525,589

1,714,223

2,405,077

1,689,938


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

209

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 32

ตนทุนทางการเงิน

ดอกเบีย้ จายเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ดอกเบี้ยจายเงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 35 ก) ดอกเบี้ยจายหนี้สินภายใตสัญญาเชาการเงิน ดอกเบี้ยจายจากคาใบอนุญาตใหใช เคลื่อนความถี่และประกอบกิจการโทรทัศน

33

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

(28,761,534)

(13,364,725)

(13,676,726)

(2,264,438)

(1,286,076)

(569,001)

(1,102,439) (1,286,076)

(1,917,874) (569,001)

(53,325,238) (83,372,848)

(67,151,118) (81,084,844)

(16,065,241)

(4,751,313)

ภาษีเงินได รายการกระทบยอดภาษีเงินไดสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้

ภาษีเงินไดในงวดปจจุบันสําหรับกําไรทางภาษี สําหรับป การปรับปรุงจากการบันทึกภาษีเงินไดปกอน ต่ําไป รายการที่เกิดจากผลแตกตางชั่วคราว (หมายเหตุ 18) รวม(คาใชจาย)รายไดภาษีเงินได

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

(51,361,957)

(96,920,630)

-

-

75,597,279 24,235,322

(1,409,193) 110,659,699 12,329,876

(14,197,440) (14,197,440)

(978,357) 20,406,232 19,427,875


PAGE

210 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 33

ภาษีเงินได (ตอ) รายการกระทบยอดภาษีเงินไดสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 ประกอบดวยรายละเอียดดังนี้

กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีทางบัญชี ภาษีคํานวณจากอัตราภาษีรอยละ 20 (พ.ศ. 2558 : รอยละ 20) ผลกระทบ: คาใชจายที่ไมสามารถหักภาษี คาใชจายที่สามารถหักเพิ่มได ผลแตกตางชั่วคราวที่ไมไดบันทึกเปนสินทรัพย คาเผื่อเงินลงทุนและเงินใหกูยืมในบริษัทยอย รายไดที่ไมตองเสียภาษี - เงินปนผลรับ การปรับปรุงภาษีเงินไดปกอนต่ําไป ภาษีเงินได

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 บาท บาท

(126,476,764)

119,780,614

196,476,763

417,984,789

25,295,353

(23,956,123)

(39,295,353)

(83,596,958)

(9,167,357) 2,441,020 (664,828) 6,340,571 (9,437) 24,235,322

(8,610,843) 284,807 3,626,231 42,394,997 (1,409,193) 12,329,876

(6,234,948) 359,044 (698,146) 7,109,323 24,562,640 (14,197,440)

(6,566,038) 47,562 1,384,823 35,221,072 73,915,771 (978,357) 19,427,875


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

211

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 34

กําไร(ขาดทุน)ตอหุน 34.1 กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไร(ขาดทุน )สวนที่เปนของผูถือหุนสามัญดวยจํานวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ออกจําหนายในระหวางป

สวนแบงกําไร(ขาดทุน)ที่เปนของ บริษัทใหญ (บาท) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน) กําไร(ขาดทุน)ตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) 35

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

พ.ศ. 2558

(102,145,200) 978,992,072 (0.1043)

121,634,482 1,006,634,753 0.1208

182,279,323 978,992,072 0.1862

437,412,664 1,006,634,753 0.4345

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทหมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัท หรือถูกควบคุมโดยบริษัทไมวาจะเปน โดยทางตรงหรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัท รวมถึงบริษัท ที่ทําหนาที่ถือหุน บริษัทยอยและกิจการที่เปน บริษัทยอยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึง บริษัทรวมและบุคคลซึ่งถือหุนที่มีสิทธิออกเสี ยง ไมวาทางตรงหรือทางออม และมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับบริษัท ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัท ตลอดทั้ง สมาชิกในครอบครัวที่ใกลชิดกับบุคคลดังกลาว และกิจการที่เกี่ยวของกับบุคคลเหลานั้น ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทแตละรายการ บริษัทคํานึงถึงเนื้อหาของความสัมพันธ มากกวารูปแบบทางกฎหมาย เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่สําคัญเปดเผยในหมายเหตุ 12 และ หมายเหตุ 13 รายการกับบุคคลหรือบริษัทที่เกี่ยวของกันที่สําคัญที่นอกเหนือจากบริษัทยอยและบริษัทรวมสรุปได ดังนี้ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด บริษัท เม็มเบอรชิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส.เอส.ทู ซี จํากัด”) ผูบริหาร

ใหบริการเชาสถานที่ รับจางจัดกิจกรรม ใหบริการเชาสถานที่

-

ลักษณะความสัมพันธ มีผูถือหุนและกรรมการรวมกัน ถือหุนทางออมโดยมีกรรมการบริษัทยอยรวมกัน มีผูถือหุนและกรรมการรวมกัน

บุคคลที่มีอํานาจและความรับ ผิดชอบการวางแผน สั่งการและ ควบคุมกิจกรรมตางๆ ของกิจการไมวาทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ รวมถึ ง กรรมการของกลุ ม กิ จ การ (ไม ว า จะทํ า หน า ที่ ใ นระดั บ บริหารหรือไม)


35

ก)

รวม

บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด 49,775,048 23,530,921 7,850 32,787,517 3,529,950 109,631,286

4,372,500 (67) 45,448,946 49,821,379

23,276,673 2,525,073 2,744,449 28,546,195

รายไดธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม

-

รายได ธุรกิจลิขสิทธิ์

26,322,283 26,322,283

รายได บริการอื่น

127,534,943 60,000,000 24,003,900 10,325,100 3,606,050 391,975 225,861,968

รายไดจากการ บริหารจัดการ

24,251,169 137,705 577,049 93,600 25,059,523

ดอกเบี้ยรับ

รายไดอ่นื

2,840,964 7,632,499 559,386 11,349 11,044,198

รายไดอ่นื

212

รายได ธุรกิจสื่อ

รายไดธุรกิจ จัดจําหนาย เพลง

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)

รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558

รายการคาที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน สามารถสรุปไดดังนี้ :

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

PAGE


35

ก)

บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซ่มึ จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด รวม 182,012,693 124,030,954 9,813 1,860,000 307,913,460

รายได ธุรกิจสื่อ 639,410 466,884 53,544,841 54,651,135

รายไดธุรกิจ จัดจําหนาย เพลง 6,907,550 3,657,224 58,643 3,900,000 1,600 4,043,100 5,096,000 23,664,117

รายไดธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม -

รายได ธุรกิจลิขสิทธิ์

6,925,433 1,226,565 270,000 8,421,998

รายได บริการอื่น

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)

รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)

รายการคาที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน สามารถสรุปไดดังนี้ : (ตอ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

80,785,724 90,259,121 24,484,632 13,687,612 328,000 209,545,089

รายไดจากการ บริหารจัดการ

15,941,424 3,288 437,151 878,685 1,644 93,600 814,200 18,169,992

ดอกเบี้ยรับ

รายไดอ่นื

2,064,950 961,640 211,846 14,357 1,250,000 1,800 4,504,593

รายไดอ่นื

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

213


35

ก)

รวม

บริษัท เชษฐโชติศกั ดิ์ จํากัด บริษัท เม็มเบอรซิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส.เอส. ทู ซี จํากัด”)

รวม

บริษัท เชษฐโชติศกั ดิ์ จํากัด บริษัท เม็มเบอรซิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส.เอส. ทู ซี จํากัด”)

27,157,673 2,131,800 29,289,473

32,603,361 6,337,838 38,941,199

47,722,673 47,722,673

28,635,318 28,635,318

47,722,673 47,722,673

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร

29,548,746 29,548,746

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

42,047,979 6,337,838 48,385,817

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร

28,100,425 4,364,070 32,464,495

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) ตนทุนขายและ คาใชจายยในการขาย บริการ และบริหาร

รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปส้นิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวขอ งกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

PAGE

214


35

ก)

รวม

บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท ยาค จํากัด บริษทั อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท อาวอง จํากัด บริษัท อาร สยาม จํากัด บริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด

บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชนั่ จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) 24,823,386 3,928,834 548,842 20,886,100 2,263,500 52,450,662

ตนทุนขายและ บริการ 1,259,100 74,327 100,000 1,433,427

คาใชจาย ในการขาย และบริหาร 4,098 348,402 68,899 75,714 57,703 436,933 60,485 1,639 48,566 1,102,439

ตนทุน ทางการเงิน - ดอกเบี้ยจาย

-

-

44,626,250 7,365,179

10,000 52,001,429

51,796,722 51,442,490

6,582,134 2,700,000 112,521,346

คาใชจาย ในการขาย และบริหาร

77,245 68,284 41,978 1,168,055 152,877 4,782 12,637 29,002 1,917,874

303,476

59,538

ตนทุน ทางการเงิน - ดอกเบี้ยจาย

-

-

คาตอบแทน ผูบริหารสําคัญ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)

คาตอบแทน ตนทุนขายและ ผูบริหารสําคัญ บริการ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ

รายไดและคาใชจายระหวางกลุมกิจการกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวของกันสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

215


35

ข)

รวม

บริษัทยอย บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด -

ลูกหนี้การคา 2,489,884 2,489,884

(2,489,884) (2,489,884)

-

-

ลูกหนี้การคา

2,489,884 2,489,884

(2,079,438) (2,079,438)

คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ

คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ

เงินทดรองจาย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)

ยอดคงเหลือที่เกิดจากการลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

-

เงินทดรองจาย

PAGE

216


35

ข)

บริษัทยอย บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด) บริษัท คูลลิซ่มึ จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษทั เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท อาร.เอส. สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร เอส ฟลม แอนด ดิสทริบิวชั่น จํากัด บริษัท เอส - วัน สปอรต จํากัด รวม 602,095,439 83,608,315 4,490,158 1,847,735 17,437,915 746,245 710,225,807

6,213,049 1,614,022 2,489,884 10,316,955

(802,580) (2,489,884) (3,292,464)

2,665 2,315 4,067 1,750 5,200 164,716 180,713

456,604,770 59,516,856 3,428,538 3,068,803 2,762,205 4,066,000 529,447,172

3,206,761 2,121,973 1,520,422 2,489,884 9,339,040

(707,632) (2,079,438) (2,787,070)

915 900 1,481 10 900 138,591 142,797

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ เงินทดรองจาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) คาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้การคา ดอกเบี้ยคางรับ - ดอกเบี้ยคางรับ เงินทดรองจาย

ยอดคงเหลือที่เกิดจากการลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

217


35

ค)

บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด (หมายเหตุ 20) บริษัท เม็มเบอรชิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส. เอส. ทูซี จํากัด”) รวม

รวม

บริษัท เชษฐโชติศักดิ์ จํากัด (หมายเหตุ 20) บริษัท เม็มเบอรชิพ จํากัด (เดิมชื่อ “บริษัท เอส. เอส. ทูซี จํากัด”)

1,305,189 2,066,405 3,371,594

-

-

เจาหนี้การคา

2,066,405 3,720,985

-

-

-

-

-

-

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) รายไดรับ ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย

1,654,580

-

เจาหนี้การคา

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) รายไดรับ ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย

ยอดคงเหลือที่เกิดจากการเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

-

-

คาใชจาย คางจาย

-

-

เจาหนี้การคา

-

-

เจาหนี้การคา

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

-

คาใชจาย คางจาย

งบการเงินรวม

-

-

-

-

222,700 3,185,713

2,963,013

-

-

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย

222,700 3,598,412

3,375,712

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย

-

-

คาใชจาย คางจาย

-

-

คาใชจาย คางจาย

PAGE

218


35

ค)

279,853 -

279,853 3,651,447

8,836,542

94,614 12,500 15,360,010 943,740 -

25,247,406

25,247,406

บริษัทยอย (หมายเหตุ 20) บริษัท อาร.เอส.เทเลวิชั่น จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย)จํากัด) บริษัท คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท จัดเก็บลิขสิทธิ์ไทย จํากัด บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษัท เวรี่ เวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเนชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด รวม

รวมทั้งสิ้น

เจาหนี้การคา

40,504,358

40,504,358

56,000 40,448,358 -

-

401,631

113,115 401,631

215,615 1,639 18,852 16,967 18,476 16,967

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย

ยอดคงเหลือที่เกิดจากการเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 (ตอ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

997,996

997,996

-

997,996

คาใชจาย คางจาย

113,953,850

3,465,566

279,853

-

-

113,953,850

-

279,853

51,594,944

51,594,944

-

226,000 51,368,944 -

-

130,356

70,610 27,157 130,356

12,221 13,579 6,789

-

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) รายไดรบั ดอกเบีย้ เจาหนี้อื่น ลวงหนา คางจาย

65,918,898 4,033,092 804 -

44,001,056

เจาหนี้การคา

งบการเงินเฉพาะกิจการ

20,051,654

20,051,654

-

1,581,110 -

18,470,544

คาใชจาย คางจาย

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

219


35

ง)

บริษัท เอส-วัน สปอรต จํากัด รวม

บริษัทยอย บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท อาร.เอส.สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด

บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด

บริษัทรวมทางออม (30,000,000)

30,000,000 4,500,000 781,000,000 815,500,000

526,395,000

เพิ่มขึน้ ในระหวางป

(741,500,000)

(30,000,000) (28,500,000) (683,000,000) -

รับชําระคืน ในระหวางป

เงินใหกูยืมระยะสั้น

30,000,000

รับชําระคืน ในระหวางป

เงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ ในระหวางป

24,000,000 2,340,000 479,700,000 20,355,000

ยอดยกมา

-

ยอดยกมา

เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทที่เกี่ยวของกัน (สุทธิ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

600,395,000

2,340,000 577,700,000 20,355,000

ยอดคงเหลือ

-

ยอดคงเหลือ

(32,120,226)

(9,425,226) (2,340,000) (20,355,000)

ยอดยกมา

-

ยอดยกมา

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

ลดลง ในระหวางป -

ยอดคงเหลือ

-

-

เพิ่มขึน้ ในระหวางป

9,425,226

9,425,226 -

ลดลง ในระหวางป

คาาเผื่อการดอยคาของงเงินใหกูยืมระยะสั้นั

(22,695,000)

(2,340,000) (20,355,000)

ยอดคงเหลือ

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พพ.ศ. 2559 (บาท)

-

เพิ่มขึน้ ในระหวางป

คาเผื่อการดอยคาของเงินใหกูยืมระยะสั้น

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)

494,274,774

14,574,774 479,700,000 -

ยอดยกมา

-

ยอดยกมา

(30,000,000)

815,500,000

30,000,000 4,500,000 781,000,000 -

เพิ่มขึน้ ในระหวางป

(741,500,000)

(30,000,000) (28,500,000) (683,000,000) -

รับชําระคืน ในระหวางป

9,425,226

9,425,226 -

ลดลง ในระหวางป

-

ลดลง ในระหวางป

เงินใหกูยืมระยะสัน้ (สุสทธิ)

30,000,000

รับชําระคืน ในระหวางป

เงินใหกูยืมระยะสัน้ (สุทธิ) เพิ่มขึน้ ในระหวางป

577,700,000

577,700,000 -

ยอดคงเหลือ

-

ยอดคงเหลือ

PAGE

220


35

ง)

บริษัทยอย บริษัท อาร อัลไลแอนซ จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท โพเอมา จํากัด) บริษัท ยาค จํากัด บริษัท บลูแฟรร่ี จํากัด บริษัท อาร.เอส.สปอรตมาสเตอร จํากัด บริษัท อาร.เอส.เทเลวิช่นั จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัทสตารซ (ประเทศไทย)จํากัด) บริษัท เอส-วัน สปอรต จํากัด รวม

บริษัท ไอเดีย เพาเวอร จํากัด

บริษัทรวมทางออม (32,000,000)

68,500,000 4,000,000 261,000,000 5,000,000 338,500,000

20,355,000 372,395,000

(5,000,000) (184,500,000)

(68,500,000) (1,000,000) (110,000,000)

เงินใหกูยืมระยะสั้น เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป

32,000,000

เงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป

20,000,000 1,000,000 2,340,000 328,700,000

ยอดยกมา

-

ยอดยกมา

เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัทที่เกี่ยวของกัน (สุทธิ) (ตอ)

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

20,355,000 526,395,000

24,000,000 2,340,000 479,700,000

ยอดคงเหลือ

-

ยอดคงเหลือ -

-

-

(20,355,000) (42,695,000)

(20,000,000) (2,340,000) -

-

10,574,774

10,574,774 -

(20,355,000) (32,120,226)

(9,425,226) (2,340,000) -

งบกการเงินเฉพาะกิจกาาร สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พพ.ศ. 2558 (บาท) คาาเผื่อการดอยคาของงเงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดยกมา ในระหวางป ในระหวางป ยอดคงเหลือ

-

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท) คาเผื่อการดอยคาของเงินใหกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ ลดลง ยอดยกมา ในระหวางป ในระหวางป ยอดคงเหลือ

329,700,000

1,000,000 328,700,000

ยอดยกมา

-

ยอดยกมา

(32,000,000)

-

5,000,000 338,500,000

68,500,000 4,000,000 261,000,000

(5,000,000) (184,500,000)

(68,500,000) (1,000,000) (110,000,000)

10,574,774

10,574,774 -

เงินใหกูยืมระยะสั้น (สุททธิ) เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ลดลง ในระหวางป ในระหวางป ในระหวางป

32,000,000

เงินใหกูยืมระยะสั้น (สุทธิ) เพิ่มขึน้ รับชําระคืน ลดลง ในระหวางป ในระหวางป ในระหวางป

494,274,774

14,574,774 479,700,000

ยอดคงเหลือ

-

ยอดคงเหลือ

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST PAGE

221


35

จ)

10,000,000 26,000,000 4,500,000 5,000,000 2,500,000 48,000,000

189,000,000 1,000,000 4,000,000 2,000,000 5,000,000 2,500,000 20,000,000 223,500,000

(100,000,000) (11,000,000) (100,000) (20,000,000) (131,100,000)

89,000,000 30,000,000 4,500,000 4,900,000 4,500,000 5,000,000 2,500,000 140,400,000

ยอดคงเหลือ

90,000,000 7,000,000 139,000,000 6,000,000 750,000 1,000,000 2,295,000 246,045,000

ยอดยกมา

25,000,000 3,000,000 75,000,000 6,000,000 3,500,000 15,000,000 127,500,000

(115,000,000) (188,000,000) (1,500,000) (1,000,000) (1,000,000) (750,000) (1,000,000) (2,295,000) (15,000,000) (325,545,000)

10,000,000 26,000,000 4,500,000 5,000,000 2,500,000 48,000,000

ยอดคงเหลือ

เงินกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ จายชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป

เงินกูยืมระยะสัน้ เพิ่มขึน้ จายชําระคืน ในระหวางป ในระหวางป

ยอดยกมา

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (บาท)

สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (บาท)

งบการเงินเฉพาะบริษัท

222

บริษัทยอย บริษทั คูลลิซึ่ม จํากัด บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท อารเอส อินเตอรเ นชั่นแนล บรอดคาสติ้ง แอนด สปอรต แมเนจเมนท จํากัด บริษัท อะลาดิน เฮาส จํากัด บริษทั เวรีเวลล จํากัด บริษัท บลูแฟรรี่ จํากัด บริษัท ดี มีเดีย แอนด โปรดักชั่น จํากัด บริษัท บันเทิง วาไรตี้ จํากัด บริษัท อาวอง จํากัด บริษัท อาร สยาม จํากัด บริษัท บางกอก ออรกาไนเซอร จํากัด บริษัท ไลฟสตาร จํากัด (เดิมชื่อ : บริษัท สตารซ (ประเทศไทย) จํากัด)

เงินกูยืมระยะสั้นจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ)

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

PAGE


PAGE

ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

223

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 35

รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน (ตอ) ฉ)

คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ ผูบ ริห ารสํา คัญ ของบริษั ท รวมถึ งกรรมการ (ไมว า จะทํ า หน า ที่ใ นระดั บ บริห ารหรือ ไม ) และคณะผูบ ริห ารระดับ สู ง คาตอบแทนที่จายหรือคางจายสําหรับผูบริหารสําคัญมีดังนี้ งบการเงินรวม

เงินเดือนและผลประโยชนระยะสั้นอื่น ผลประโยชนระยะยาวอื่น

36

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

160,488,746 4,013,808 164,502,554

152,873,823 5,936,291 158,810,114

137,786,906 3,082,573 140,869,479

141,440,823 5,144,456 146,585,279

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน ในการวัดผลการดําเนินงานของกลุมกิจการ กลุมกิจการมีการพิจารณาจากกําไรขั้นตนจากรายไดตางๆโดยจัดประเภท ของรายได ออกเปนรายไดธุรกิจสื่อ รายไดธุรกิจเพลง รายไดธุรกิจรับจางและผลิตกิจกรรม รายไดธุรกิจสุขภาพและความงาม และรายไดธุรกิจบริการ และอื่นๆ ยอดรายไดไดตัดรายการระหวางกันออกแลว กําไรขั้นตนคํานวนจากยอดรายไดหักดวยตนทุนขายและตนทุนการใหบริการ งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

รายได รายไดภายนอก รายไดภายใน รวมรายได ตนทุนขายและบริการ กําไรขั้นตน สินทรัพยถาวร สินทรัพยไมมีตัวตน

ธุรกิจสื่อ บาท

ธุรกิจเพลง บาท

ธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม บาท

1,814,720,195 289,518,869 2,104,239,064 1,857,220,682

321,567,493 49,553,150 371,120,643 253,583,303

753,156,702 20,886,017 774,042,719 434,655,561

227,876,041 227,876,041 58,856,375

7,598,730 73,989,664 81,588,394 79,974,585

3,124,919,161 433,947,700 3,558,866,861 2,684,290,506

247,018,382

117,537,340

339,387,158

169,019,666

1,613,809

874,576,355

(80,660,758)

319,479,862 2,074,848,449

12,694,528 49,368,622

692

16,278,441 4,538,237

124,592,826 89,286,281

473,046,349 2,218,041,589

-

-

ธุรกิจสุขภาพ และความงาม บาท

ธุรกิจบริการ และอื่นๆ บาท

รวม รายการตัดบัญชี บาท บาท

รวม บาท

3,124,919,161 (433,947,700) (433,947,700) 3,124,919,161 (353,286,942) 2,331,003,564 793,915,597 473,046,349 2,218,041,589


PAGE

224

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 36

ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน (ตอ) งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

รายได รายไดภายนอก รายไดภายใน รวมรายได ตนทุนขายและบริการ กําไรขั้นตน สินทรัพยถาวร สินทรัพยไมมีตัวตน

37

ธุรกิจสื่อ บาท

ธุรกิจเพลง บาท

ธุรกิจ รับจางและ ผลิตกิจกรรม บาท

2,246,138,300 564,941,446 2,811,079,746 2,349,707,827

463,541,174 60,275,343 523,816,517 310,662,526

707,440,567 36,288,161 743,728,728 495,929,803

231,926,508 381,815 232,308,323 63,922,717

79,659,837 100,186,849 179,846,686 163,901,387

3,728,706,386 762,073,614 4,490,780,000 3,384,124,260

3,728,706,386 (762,073,614) (762,073,614) 3,728,706,386 (681,121,955) 2,703,002,305

461,371,919

213,153,991

247,798,925

168,385,606

15,945,299

1,106,655,740

(80,951,659) 1,025,704,081

219,490,316 2,022,670,801

24,504,953 60,395,859

1,258 -

6,564,122 -

133,455,618 42,562,790

384,016,267 2,125,629,450

ธุรกิจสุขภาพ และความงาม บาท

ธุรกิจบริการ และอื่นๆ บาท

รวม รายการตัดบัญชี บาท บาท

-

รวม บาท

384,016,267 2,125,629,450

วงเงินสินเชื่อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 วงเงินสินเชื่อที่ยังไมไดเบิกใชมีดังนี้ งบการเงินรวม

วงเงินสินเชื่อตางๆ ที่ไดรบั - วงเงินที่ยังไมไดใช 38

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 ลานบาท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

พ.ศ. 2559 ลานบาท

พ.ศ. 2558 ลานบาท

5,090

990

2,207

820

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสัญญาที่สําคัญ 38.1 ภาระผูกพัน งบการเงินรวม

ภาระผูกพันรายจายฝายทุน ซื้อทรัพยสิน ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดําเนินงาน ภายในระยะเวลาหนึ่งป ระยะเวลามากกวาหนึ่งปถึงสามป รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

พ.ศ. 2559 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

พ.ศ. 2559 บาท

-

174,989,500

-

65,502,891 29,362,431 94,865,322

59,846,390 82,450,722 142,297,112

57,292,411 26,274,731 83,567,142

พ.ศ. 2558 บาท 174,989,500 59,646,390 82,450,722 142,097,112


ANNUAL REPORT MEDIA REVOLUTIONIST

PAGE

225

บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 38

ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสัญญาที่สําคัญ (ตอ) 38.2 สัญญาสําคัญที่ทํากับกิจการที่เกี่ยวของกันและกิจการอื่น ก) บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาจํานวน 1 สัญญา เพื่อใชบริการเกี่ยวกับการรับสงสัญญาณโทรทัศนผานดาวเทียม โดยมีกําหนดระยะเวลาตั้งแตป พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2566 โดยบริษัทตกลงจายคาธรรมเนียมสําหรับการใชบริการและ จายคาใชจายตางๆ ที่เกี่ยวกับการใชบริการดังกลาวตามที่ ระบุในสัญญา ทั้งนี้ บริษัทตองปฏิบัติตามเงื่อนไขตางๆ ที่ระบุไวในสัญญา ข) บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาเชาเวลาของสถานีวิทยุกระจายเสียงกับสวนราชการจํานวน 1 สัญญา กําหนดระยะเวลา 2 ป ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ค) บริษัทและบริษัทยอยสองแหงไดรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) โดยมีภาระผูกพันที่จะตองปฏิบัติตามขอกําหนดตาง ๆ ที่ระบุไวในใบอนุญาตและตองชําระคาธรรมเนียมใบอนุญาตรายป และคาธรรมเนี ยมในการนําสงเขากองทุนตาม ขอกําหนดและเงื่อนไขที่ประกาศโดย กสทช. ง) บริษัทยอยแหงหนึ่งไดทําสัญญาเชาใชบริการโครงขายโทรทัศนประเภทที่ใชคลื่นความถี่ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล กับองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทย (ส.ส.ท.) สําหรับดําเนินกิจการโทรทั ศนระบบ ดิจิตอลระยะเวลา 15 ป โดยมีคาธรรมเนียมสําหรับการใชบริการตามที่ระบุไวในสัญญา และบริษัทยอยไดวางหนังสือ ค้ําประกันจากสถาบันการเงินรอยละ 5 ของมูลคาตามสัญญา 38.3 หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 กลุมกิจการมีภาระผูกพันกับธนาคารพาณิชย ดังนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 ค้ําประกันใหบริษัทฯบริษัทยอยและ บริษัทอื่น (หนวย : ลานบาท)

4.93

15.11

งบการเงินเฉพาะกิจการ พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2558 0.26

3.71


PAGE

226 บริษัท อารเอส จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 39

ขอพิพาททางกฎหมายที่สําคัญ 39.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2558 บริษัทและบริษัทยอยถูกฟองรองเรียกคาเสียหาย เนื่องจากการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ของบริษัท จํานวนทุนทรัพย 38.32 ลานบาท และ 102.63 ลานบาท ตามลําดับ ปจจุบันอยูระหวาง การพิจารณาของศาล ดังนั้นผูบริหารจึงยังไมไดบันทึกประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวของ 39.2 เงินสนับสนุนการถายทอดฟุตบอลโลก ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 บริษัทยอยและคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ไดตกลงรวมกันใหบริษัทยอยถายทอดการแขงขันฟุตบอลโลก 2014 ทุกการแขงขันผานบริการโทรทัศนท่ีเปนการทั่วไป (Free TV) โดยกสทช.จะใหเงินสนับสนุน ปจจุบัน บริษัท ยอ ยไดยื่น ฟองตอศาลปกครองสูงสุด เพื่อ เรียกเงิน สนั บ สนุ น 57.14 ลานบาท จากคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียงกิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ซึ่ง ณ ป จจุบันคดีอยูระหวางการพิจารณาของ ศาลปกครองสูงสุด




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.