ROJNA: Annual Report 2016

Page 1






ข้ อมูลทั่วไปและข้ อมูลสำคัญอื่น

ข้ อมูลทัว่ ไป ชื่อบริ ษทั ชื่อย่อหลักทรัพย์ เว็บไซด์ เลขทะเบียนบริ ษทั ทุนจดทะเบียน

: : : : :

ทุนที่เรี ยกชาระแล้ว ลักษณะการประกอบธุ รกิจ ที่ต้ งั สานักงานใหญ่

: : :

โทรศัพท์ โทรสาร E-mail : Address ที่ต้ งั โครงการ

: : : :

ที่ต้งั โครงการ

:

ที่ต้งั โครงการ

:

บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ROJNA www.rojana.com 0107537000840 2,035,588,788 บาท แบ่งเป็ นหุ น้ สามัญ 2,035,588,788 หุน้ มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 1 บาท 2,020,461,863 บาท ( ณ วันที่ 31 มกราคม 2560) พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภท เขต/สวนอุตสาหกรรม 2034/115 ชั้น 26 อาคารอิตลั ไทย ทาวเวอร์ ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร 10310 0 2716 1750-7 0 2716 1758-9 rojana@rojana.com , acrojana@truemail.co.th 1 หมู่ 5 ถนนโรจนะ ตาบลคานหาม อาเภออุทยั จังหวัดพระนครศรี อยุธยา โทร. (035) 330000-8 โทรสาร (035) 330009 3/7 หมู่ 2 ถนนบ้านค่าย-บ้านบึง ตาบลหนองบัว อาเภอบ้านค่าย จังหวัด ระยอง โทร. (038) 961870-2 โทรสาร (038) 961875 1. 168 หมู่ที่ 4 ถนนสัตหีบ-ฉะเชิงเทรา ตาบลบ่อวิน อาเภอศรี ราชา จังหวัดชลบุรี 2. ตาบลตะเคียนเตี้ย อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

นำยทะเบียนหลักทรัพย์ ชื่อบริ ษทั : ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ที่ต้งั สานักงาน : เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2009-9000 โทรสาร : 0-2009-9476 ผู้สอบบัญชี ชื่อผูส้ อบบัญชี : นางสุ วมิ ล กฤตยาเกียรณ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 2982 ชื่อบริ ษทั : บริ ษทั สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ที่ต้งั สานักงาน : เลขที่ 316/32 ซอยสุ ขมุ วิท 22 ถนนสุ ขมุ วิท เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์ : 0-2259-5300 โทรสาร : 0-2260-1553

“ผูล้ งทุนสามารถศึกษาข้อมูลของบริ ษทั ฯเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) ของบริ ษทั ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรื อ www.rojana.com”

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

5


ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุป

สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม ส่วนของผูถ้ ือหุน้ รายได้จากการขายที่ดิน,โรงงาน,อาคารชุด,ไฟฟ้า,บริ การ,ค่าเช่า รายได้อื่น(บริ การและค่าเช่า+กาไรจากการจัดประเภทเงินลงทุนอื่น+)

ต้นทุนขายที่ดิน, อาคารชุด, ไฟฟ้า, บริ การ, ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายอื่น กาไรขั้นต้น กาไรสุทธิรวม กาไรสุทธิต่อหุน้ (บาท) มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุน้ (บาท) อัตรากาไรสุทธิต่อรายได้ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร (%) อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ (%)

หน่ วย : ล้านบาท

2559

2558

2557

77,007.29 51,831.97 25,175.32 9,146.07 668.72 7,774.98 1,445.01 1,985.23 418.30 0.06 1.00 4.25 5.85 1.66

76,023.28 50,665.27 25,358.00 11,392.47 497.79 9,133.33 1,676.96 2,750.40 913.33 0.36 1.00 7.66 9.56 3.7

69,738.54 45,736.51 24,002.04 11,168.89 1,906.41 9,524.44 1,482.51 1,644.45 2,197.87 1.42 1.00 16.64 14.88 13

หมายเหตุ * งบการเงินประจาปี 2559 มีการจัดประเภทสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย/การดาเนินงานที่ยกเลิก อันเนื่องจากบริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) มีการเพิ่มทุนโดยการเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจากัด ซึ่งจะทาให้สดั ส่วนการถือหุ้นของบริ ษทั ลดลงจากเดิม ร้อยละ 44 เป็ นร้อยละ 26 โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะแล้วเสร็ จในวันที่ 16 มกราคม 2560 (ผูล้ งทุนสามารถดูรายละเอียดตามหมายเหตุในงบการเงิน ข้อ 12 และ ข้อ 17 จากงบการเงินประจาปี 2559)

ข้ อมูลสาคัญสาหรับผู้ถือหุ้น วันประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2560 วันและเวลาประชุม วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 10.00 น สถานที่ ณ ห้องบุษราคัม บอลรู ม ชั้น 2 โรงแรมอวานี เอเทรี ยม เลขที่ 1880 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310

6

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

1 หลักทรัพย์ ของบริษทั

ข้ อมูลหลักทรัพย์ และผู้ถือหุ้น

ณ วันที่ 16 มีนาคม 2560 บริ ษทั มีทุนจดทะเบียน 2,035,588,788 บาท แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 2,035,588,788 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท เรี ยกชาระแล้ว 2,202,461,863 บาท ในระหว่างปี 2559 บริ ษทั ฯได้มีการลดทุนจดทะเบียน ตามมติที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2559 เมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2559 โดยการลดทุนจดทะเบียนจาก 2,036,579,204 บาท เป็ น 2,035,588,788 บาท ณ วันที่ 11 พฤษภาคม 2559 กับกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า เป็ นการตัดหุ ้นสามัญจดทะเบียนที่คงเหลือจากการจัดสรร หุน้ ปันผล

2 รายชื่ อผู้ถือหุ้น

2.1 รายชื่อผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ กลุ่มผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ที่มีชื่อปรากฏตามสมุดทะเบียนผูถ้ ือหุ น้ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2560 ร้ อยละของหุ้นทีม่ ี สิ ทธิออกเสี ยง ทั้งหมด ชื่ อผู้ถือหุ้น/กลุ่มผู้ถือหุ้น จานวนหุ้น (ทุนทีเ่ รียกชาระ แล้ว) กลุ่มวินิชบุตร 605,505,271 29.97 Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation* 418,960,446 20.74 บริ ษทั มาซาฮิโร พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด 162,388,337 8.04 SMK ASIA LTD. 134,467,593 6.66 บริ ษทั กิมฟอง จากัด 76,323,783 3.78 นางสมทรง ลาภานันต์รัตน์ 55,167,061 2.73 บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 46,464,616 2.30 นายวิชยั วชิรพงศ์ 36,876,048 1.83 นายนเรศ งามอภิชน 30,600,000 1.51 อื่น 453,708,708 22.44 รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิ พลต่อการกาหนดนโยบาย การจัดการหรื อการดาเนิ นงานของบริ ษทั ประกอบด้วย : Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

7


ประกอบธุรกิจประเภท : กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ :

   

Marketing and import/export of steel, industrial supply and infrastructure, textiles, foodstuffs and others Nippon Steel & Sumitomo Metal Corporation  Japan Trustee Services Bank, Ltd.(Trust Mitsui & Co.,Ltd. Account) The Master Trust Bank of Japan, Ltd. (Trust  Japan Trustee Services Bank, Ltd.(Trust Account) Account 9)

กลุ่มวินิชบุตรประกอบด้วย :

   

นายดิเรก วินิชบุตร นายชาย วินิชบุตร นายเมธี วินิชบุตร นางเชอรี่ จรัญวาศน์

(167,863,908) (303,154,145) (2,755,572) (74,040,650)

   

นายจิระพงษ์ วินิชบุตร (28,590,381) นางวีรวรรณ วินิชบุตร (16,210,129) นส.ปิ ยะธิดา วินิชบุตร (834,188) นายเนตร จรัญวาศน์ (12,056,298)

(ผูล้ งทุนสามารถดูขอ้ มูลผูถ้ ือหุ้นที่เป็ นปัจจุบนั ได้จาก Website ของบริ ษทั ก่อนการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ้นประจาปี ) 2.2 ข้อตกลงระหว่างผูถ้ ือหุ้นใหญ่ (Shareholders’ agreement) -ไม่มี-

3.การออกหลักทรัพย์ อื่น 1 หลักทรัพย์แปลงสภาพ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2554 เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 และมติที่ชุมสามัญผูถ้ ือ หุ ้น ประจาปี 2554 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 มีมติอนุ มตั ิให้บริ ษทั เปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียน โดยการ เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 1,196,217,508 ล้านบาท (แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 1,196,217,508 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท) เป็ น 1,594,956,678 ล้านบาท (แบ่งเป็ นหุ ้นสามัญ 1,594,956,678 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 1 บาท) เพื่อรองรับ การใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญครั้งที่ 3 (ชื่อย่อ “ROJNA-W3” เป็ นการจัดสรรให้แก่ผู ้ ถือหุน้ เดิมของบริ ษทั โดยไม่คิดมูลค่าและเริ่ มทาการซื้ อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ต้ งั แต่วนั ที่ 31 สิ งหาคม 2554 เป็ นต้นไป) ซึ่ งบริ ษทั ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2554 การจัดสรรหุน้ สามัญเพิ่มทุนของบริ ษทั จานวน 398,739,170 หุ ้น เพื่อรองรับการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดง สิ ทธิที่จะซื้อหุน้ สามัญของบริ ษทั ในอัตราการใช้สิทธิใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วย มีสิทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญได้ 1 หุน้ ในราคาใช้สิทธิ 4 บาทต่อหุน้ โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท และมีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสาคัญ แสดงสิ ทธิ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ROJNA-W3 จานวน 386,369,385 หน่วย ใบสาคัญแสดงสิ ทธิดงั กล่าวมีอายุ 5 ปี นับจากวันออก ใบสาคัญแสดงสิ ทธิในวันที่ 20 กรกฎาคม 2554 กาหนดให้ใช้สิทธิได้ทุกวันทาการสุ ดท้ายของ เดือนมีนาคม, มิถุนายน, กันยายน และธันวาคมของแต่ละปี และการใช้สิทธิครั้งสุ ดท้ายจะใช้ใน วันที่ใบสาคัญแสดงสิ ทธิมีอายุครบ 5 ปี (ทั้งวันใช้สิทธิครั้งแรกและครั้งสุ ดท้ายจะตรงกับวันที่ 30 ธันวาคม 2554 และ 18 กรกฎาคม 2559 ตามลาดับ) และตามมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2559 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 มีมติอนุมตั ิการจ่ายเงินปันผลเป็ นหุ ้นสามัญ ทาให้ตอ้ งทาการ

8

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ปรับอัตราและราคาการใช้สิทธิ ตามหนังสื อข้อกาหนดว่าด้วยสิ ทธิ และหน้าที่ของผูอ้ อกใบสาคัญ แสดงสิ ทธิและผูถ้ ือใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ข้อ 4. เงื่อนไขการปรับสิ ทธิ ซึ่งมีสูตรการคานวณที่ระบุไว้ ในข้อ (ข) เมื่อบริ ษทั จ่ายเงินปันผลทั้งหมดหรื อบางส่ วนเป็ นหุ ้นสามัญให้แก่ผถู ้ ือหุ ้นของบริ ษทั เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือใบสาคัญแสดงสิ ทธิไม่ให้ดอ้ ยไปกว่าเดิม จึงทาให้ตอ้ งมีการปรับ อัตราและราคาการใช้สิทธิ ดังนี้ เดิม ใหม่ อัตราการใช้สิทธิ (หน่วย) 1.02051 1.04441 ราคาการใช้สิทธิ (บาท) 3.920 3.830 ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเริ่ มตั้งแต่การใช้สิทธิของวันที่ 30 มิถุนายน 2559 เป็ นต้นไป ในปี 2559 ผูถ้ ือใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุน้ สามัญ (ROJNA-W3) ใช้สิทธิซ้ือหุ น้ สามัญ เป็ นดังนี้ 1. จานวนหน่วย 6,510,209 หน่วย เทียบเท่าหุน้ สามัญ 6,643,726 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 3.92 บาท โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1.00 บาท ซึ่ งบริ ษทั ฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและเรี ยกชาระ แล้วกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์เสร็ จสิ้ น เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2559 2. จานวนหน่วย 475,933 หน่วย เทียบเท่าหุ น้ สามัญ 497,066 หุ น้ มูลค่าหุ น้ ละ 3.83 บาท โดยมีมูล ค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1.00 บาท บริ ษทั ฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้วกับกรม พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์เสร็ จสิ้ น เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2559 3. จานวนหน่วย 42,983,387 หน่วย เทียบเท่าหุ ้นสามัญ 44,892,095 หุ น้ มูลค่าหุน้ ละ 3.83 บาท โดยมีมูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1.00 บาท บริ ษทั ฯได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้ว กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิ ชย์เสร็ จสิ้ น เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2559 (ใช้สิทธิ ครั้งสุ ดท้าย เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2559) คงเหลือใบสาคัญแสดงสิ ทธิที่จะซื้ อหุน้ สามัญของ บริ ษทั จานวน 4,859,613 หน่วย ซึ่ งหมดอายุที่จะนามาใช้สิทธิ แปลงสภาพหุน้ สามัญ

2. หุน้ ทุนซื้อคืน

ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 มีมติอนุมตั ิ โครงการซื้ อหุน้ คืนเพื่อบริ หารการเงิน จานวน 22 ล้านหุ ้น (มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ น ร้อยละ 1.09 ของหุ น้ ที่จาหน่ายทั้งหมดและมีราคาที่จะซื้ อคืนไม่เกินราคาปิ ดของหุ ้นเฉลี่ย 5 วันทา การซื้อขายล่วงหน้าก่อนหน้าวันที่ทารายการซื้อขายแต่ละครั้งบวกด้วยร้อยละ 15 ของราคาเฉลี่ย ดังกล่าว โดยมีวงเงินสู งสุ ด ไม่เกิน 100 ล้านบาท โดยเป็ นการซื้ อหุ น้ คืนจากผูถ้ ือหุ ้นทัว่ ไปผ่านตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภายในระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2560 และมีกาหนดระยะเวลาจาหน่ายซื้ อหุ น้ คืนภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ที่ซ้ือหุน้ คืน เสร็ จสิ้ นแต่ตอ้ งไม่เกิน 3 ปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริ ษทั ฯยังไม่ได้ดาเนินการซื้ อหุน้ คืน

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

9


3. หลักทรัพย์ที่เป็ นตราสารหนี้

บริ ษทั ได้รับอนุมตั ิจากที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2554 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2554 ,มติที่ ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจาปี 2558 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2558 และมติที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจาปี 2559 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ให้ออกและเสนอขายหุน้ กู้ วงเงินรวมไม่เกิน 5,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็ น แหล่งเงินทุนหมุนเวียนสาหรับใช้ในการดาเนินงาน รวมทั้งการขยายธุ รกิจของบริ ษทั และ/หรื อชาระคืนหนี้ คงค้าง โดยบริ ษทั ได้ออกและเสนอขายหุน้ กู้ ครั้งที่ 1/2554 มีรายละเอียดดังนี้ การเสนอขาย ผูล้ งทุนสถาบันและ/หรื อผูล้ งทุนรายใหญ่ ประเภทหุ ้นกู้ หุ น้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน วันออกหุ น้ กู้ 13 พฤษภาคม 2554 มูลค่าของหุ น้ กู้ 712,000,000 บาท อายุของหุน้ กู้ 3 ปี , 5 ปี , 7 ปี นับจากวันออกหุ น้ กู้ อัตราดอกเบี้ย หุ น้ กูอ้ ายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.00 ต่อปี * หุ น้ กูอ้ ายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.35 ต่อปี * หุ น้ กูอ้ ายุ 7 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75 ต่อปี วันครบกาหนดไถ่ถอน หุน้ กูอ้ ายุ 3 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 13 พฤษภาคม 2557* หุ น้ กูอ้ ายุ 5 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 13 พฤษภาคม 2559* หุ น้ กูอ้ ายุ 7 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 13 พฤษภาคม 2561 การจัดอันดับความน่าเชื่ อถือ BBB+ โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2556 หมายเหตุ * ครบกาหนดชาระเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2557 และวันที่ 13 พฤาภาคม 2559 ได้ทาการ ชาระครบถ้วนทั้งดอกเบี้ยและเงินต้น ครั้งที่ 1/2557 มีรายละเอียดังนี้ การเสนอขาย ผูล้ งทุนสถาบันและ/หรื อผูล้ งทุนรายใหญ่ ประเภทหุ ้นกู้ หุ น้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน วันออกหุ น้ กู้ 30 เมษายน 2557 มูลค่าของหุ น้ กู้ 80,000,000 บาท อายุของหุน้ กู้ 3 ปี นับจากวันออกหุ ้นกู้ อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 4.27 ต่อปี วันครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 28 เมษายน 2560 การจัดอันดับความน่าเชื่ อถือ BBB+ โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2556

10

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ครั้งที่ 2/2557 มีรายละเอียดดังนี้ การเสนอขาย ผูล้ งทุนสถาบันและ/หรื อผูล้ งทุนรายใหญ่ ประเภทหุ ้นกู้ หุน้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน วันออกหุน้ กู้ 23 กรกฎาคม 2557 มูลค่าของหุน้ กู้ 100,000,000 บาท อายุของหุน้ กู้ 3 ปี นับจากวันออกหุ ้นกู้ อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 4.27 ต่อปี วันครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 23 กรกฎาคม 2560 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ BBB+ โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม 2556 ครั้งที่ 1/2558 มีรายละเอียดดังนี้ การเสนอขาย ผูล้ งทุนสถาบันและ/หรื อผูล้ งทุนรายใหญ่ ประเภทหุ ้นกู้ หุน้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน วันออกหุ น้ กู้ 28 เมษายน 2558 มูลค่าของหุน้ กู้ 500,000,000 บาท อายุของหุน้ กู้ 3 ปี นับจากวันออกหุ ้นกู้ อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 2.85 ต่อปี * วันครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 27 เมษายน 2559* การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ BBB+ โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2557 หมายเหตุ * ครบกาหนดชาระเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2559 ได้ทาการชาระครบถ้วนทั้งดอกเบี้ยและ เงินต้น ครั้งที่ 2/2558 มีรายละเอียดดังนี้ การเสนอขาย ประเภทหุ ้นกู้ วันออกหุ น้ กู้ มูลค่าของหุ น้ กู้ อายุของหุน้ กู้ อัตราดอกเบี้ย

ผูล้ งทุนสถาบันและ/หรื อผูล้ งทุนรายใหญ่ หุ น้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน 29 พฤษภาคม 2558 1,000,000,000 บาท 3 ปี และ 5 ปี นับจากวันออกหุน้ กู้ หุ น้ กูอ้ ายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.00 ต่อปี หุน้ กูอ้ ายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.40 ต่อปี วันครบกาหนดไถ่ถอน หุ น้ กูอ้ ายุ 3 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 29 พฤษภาคม 2561

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

11


หุน้ กูอ้ ายุ 5 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 29 พฤษภาคม 2563 การจัดอันดับความน่าเชื่ อถือ BBB+ โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2557 ครั้งที่ 1/2559 มีรายละเอียดดังนี้ การเสนอขาย ประเภทหุ ้นกู้ วันออกหุน้ กู้ มูลค่าของหุน้ กู้ อายุของหุน้ กู้ อัตราดอกเบี้ย

2558

ผูล้ งทุนสถาบันและ/หรื อผูล้ งทุนรายใหญ่ หุน้ กูช้ นิดระบุชื่อผูถ้ ือ ไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีหลักประกัน 19 พฤษภาคม 2559 1,000,000,000 บาท 3 ปี และ 5 ปี นับจากวันออกหุ น้ กู้ หุน้ กูอ้ ายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.40 ต่อปี หุน้ กูอ้ ายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.10 ต่อปี วันครบกาหนดไถ่ถอน หุน้ กูอ้ ายุ 3 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 19 พฤษภาคม 2562 หุน้ กูอ้ ายุ 5 ปี ครบกาหนดไถ่ถอน วันที่ 19 พฤษภาคม 2564 การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ BBB+ โดยบริ ษทั ทริ สเรทติ้ง จากัด เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน

ลักษณะการประกอบธุรกิจ นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 ความเป็ นมาและพัฒนาการทีส่ าคัญของบริษัท บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ได้จดทะเบียนก่อตั้งเป็ นบริ ษทั จากัด เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม2531 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่ มแรก 10 ล้านบาท โดยครอบครัววินิชบุตร และทาการเพิ่มทุนเป็ น 70 ล้านบาท มีนกั ลงทุนจากประเทศญี่ปุ่น คือ บริ ษทั อิโตมาน เรี ยล เอสเตทเซลล์ จากัด (ต่อมา ถูกครอบงากิจการโดย Sumikin Bussan Kaisha Co., Ltd. ซึ่ งภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็ น บริ ษทั สึ มิกิน บูสซัน คอร์ ปอเรชัน่ จากัด) ถือหุ น้ ใน สัดส่ วนร้อยละ 39 ของทุนจดทะเบียน ดาเนิ นธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภท โครงการเขต/สวนอุตสาหกรรม พร้อมระบบสาธารณู ปโภคต่าง ๆ เพื่อขาย ซึ่ งดาเนินการโดยภาคเอกชน และได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนในกิจการ เขตอุตสาหกรรมจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน เริ่ มเปิ ดโครงการแรกที่จงั หวัดพระนครศรี อยุธยา ต่อมา บริ ษทั ได้ทาการเพิ่มทุนและจดทะเบียน แปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชน เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2537 และเปิ ดตัว โครงการสวนอุตสาหกรรม แห่งที่ 2 ที่จงั หวัดระยอง ถนนบ้านค่าย-บ้านบึง ในปี 2538 และในปี เดียวกันบริ ษทั ได้ จัดตั้ง บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด เพื่อดาเนินธุ รกิจผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้า ที่จงั หวัดพระนครศรี อยุธยา ตามโครงการผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยมีกาลังการผลิต 122 เมกกะวัตต์ พร้อมทั้งไอน้ ากาลังการผลิต 43 ตันต่อชัว่ โมง โดยร่ วมทุนกับ Zurn Industries Asia Limited (ถูกครอบงากิจการ โดยโคเวนต้า เอ็นเนอร์ยี่) และ บริ ษทั สึ มิกิน บูสซัน คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ในสัดส่ วนการถือหุ น้ ร้อยละ 65, 25 และ 10 ตามลาดับ และในปี 2540 ได้จดั ตั้งบริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด ดาเนิ นธุ รกิจด้าน สาธารณู ปโภคจาหน่ายให้แก่ลูกค้าในเขต/สวนอุตสาหกรรมทั้ง 2 แห่ง ในปี 2541 และจาหน่ายเงินลงทุนในโรจนะ เพาเวอร์ จานวนร้อยละ 39 ให้กบั ผูร้ ่ วมทุน บริ ษทั เอ็นเนอร์ กี บาเดนเวอร์ เท็มแบค อาเกียง แกเซล ชาร์ ป จากัด ซึ่ ง ภายหลังผูร้ ่ วมทุนเยอรมันได้จาหน่ายเงินลงทุนในโรจนะเพาเวอร์ ทั้งหมด ให้กบั บริ ษทั คันไซ เพาเวอร์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ในปี 2542-2544 โรงงานไฟฟ้าของ โรจนะเพาเวอร์ เปิ ดดาเนินการผลิตกระแสไฟฟ้า จาหน่ายให้ กฟผ. จานวน 90 เมกกะวัตต์ ส่ วนที่เหลือ 30 เมกกะวัตต์ พร้อมทั้งไอน้ ากาลังการผลิต 43 ตันต่อชัว่ โมง ให้กบั โรงงานในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ ที่จงั หวัดพระนครศรี อยุธยาและต่อมาได้ทาการเพิ่มทุนอีก 404 ล้านบาท เพื่อขยายกาลังการผลิตไฟฟ้าอีก 44 เมกกะวัตต์ ในปี 2545บริ ษทั เพิ่มสัดส่ วนการลงทุนในโรจนะเพาเวอร์ จากเดิม ร้อยละ 26 เป็ นร้อยละ 41 โดยซื้ อหุ น้ จากบริ ษทั โคเวนต้า เอ็นเนอร์ ยี่ และได้เปลี่ยนจากสถานะจากบริ ษทั ร่ วม มา เป็ นบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ลงทุนใน OEG ซึ่ งดาเนินธุ รกิจเกี่ยวกับการบารุ งรักษาโรงไฟฟ้า จานวนร้อยละ 25 ของ หุ น้ ทั้งหมด และในปี 2546 บริ ษทั ลงทุนในบริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) เป็ นเงิน 399 ล้าน แบ่งเป็ น หุ น้ สามัญ 16.80 ล้านหุ น้ หุ ้นละ 20 บาท และใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อหุ น้ สามัญ 4.20 ล้านหน่วย ราคาหน่วยละ 15 บาท โดยมีสัดส่ วนการถือหุ น้ ในไทคอนร้อยละ 22.07 ของจานวนหุ น้ ที่ชาระแล้วทั้งหมด และ บริ ษทั ได้จดั ตั้งบริ ษทั ย่อยคือ บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด ดาเนิ นธุ รกิจเกี่ยวกับการพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์ 16

12

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

13


ประเภท อาคารชุดเพื่อเช่าและขาย ต่อมาในปี 2555 บริ ษทั ได้ทาการขยายธุ รกิจในพื้นที่ภาคตะวันออกโดยการเข้า ซื้ อกิจการ 2 แห่ง คือ 1. การเข้าซื้ อกิจการของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด (เดิมชื่ อ บริ ษทั พรอสเพอริ ต้ ี อินดัสเตรี ยล เอสเตท จากัด) ดาเนินธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ในอาเภอศรี มหาโพธิ จังหวัด ปราจีนบุรี และ บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด (เดิมชื่อ บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมปลวกแดง จากัด) ดาเนินธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ในอาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ในปี 2558 บริ ษทั มีการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงินลงทุนจากบริ ษทั ร่ วมเป็ นบริ ษทั ย่อย ของ บริ ษทั ไท คอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) สื บเนื่องจากในปลายปี 2557 บริ ษทั ได้ทาการเพิ่มสัดส่ วนการลงทุน ในบริ ษทั ดังกล่าว จากเดิมสัดส่ วนการถือเท่ากับร้อยละ 26.07 เป็ นร้อยละ 43.45 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของไท คอน โดยการเข้าไปซื้ อและใช้สิทธิ TICON-T2 , วิธี WHITEWASH และซื้ อผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการรายงานทางเงิน ที่มีผลบังคับใช้สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อ หลังวันที่ 1 มกราคม 2558 ที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในปี 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯมีมติอนุมตั ิโครงการซื้ อหุ น้ คืนเพื่อบริ หารการเงิน จานวน 22 ล้านหุ น้ (มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 1.09 ของหุ น้ ที่จาหน่ายทั้งหมดและมีราคาที่จะซื้ อคืนไม่เกิน ราคาปิ ดของหุ น้ เฉลี่ย 5 วันทาการซื้ อขายล่วงหน้าก่อนหน้าวันที่ทารายการซื้ อขายแต่ละครั้งบวกด้วยร้อยละ 15 ของ ราคาปิ ดเฉลี่ยดังกล่าว โดยมีวงเงินสู งสุ ดไม่เกิน 100 ล้านบาท โดยกาหนดระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 21 พฤศจิกายน 2559 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2560 ซึ่ ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯยังไม่ได้ดาเนินการซื้ อหุ น้ คืน ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯมีมติอนุมตั ิจดั ตั้งบริ ษทั ย่อย จานวน 2 บริ ษทั คือ บริ ษทั โป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิ ต้ ี จากัด ประกอบธุ รกิจเพือ่ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ มีทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท และบริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด ประกอบธุ รกิจซื้ อขายสิ นค้าหรื อบริ การ ผ่านระบบเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต มีทุนจดทะเบียน 5 ล้าน บาท โดยบริ ษทั ถือเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 มีมติอนุมตั ิเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,099 ล้านบาท เป็ น 1,834 ล้านบาท โดยการ ออกหุ น้ สามัญจานวน 735 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท อนุมตั ิเสนอขายและจัดสรรหุ ้นสามัญเพิ่มทุน ให้แก่ บริ ษทั เฟรเซอร์ ส พร็ อพเพอร์ ต้ ี โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด (“FPHT”) โดยเป็ นการเสนอขายให้แก่บุคคลใน วงจากัด (Private Placement) ในราคาเสนอขายหุ น้ ละ 18 บาท ซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 40 ของทุนจด ทะเบียนทั้งหมดของ TICON หลังการเพิ่มทุน มีผลทาให้สัดส่ วนการถือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ลดลงจากร้อยละ 43.55 เป็ นร้อยละ 26.1 และจะปรับเปลี่ยนสถานะเงินลงทุนในบริ ษทั ไทคอน จากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเป็ นเงินลงทุน ในร่ วม และไม่นางบการเงินของ ไทคอนมาจัดทางบการเงินรวม และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 บริ ษทั ไทคอน ได้รับชาระค่าหุ ้นดังกล่าวและจดทะเบียนเพิ่มทุนชาระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์

1.2 ภาพรวมของธุรกิจ บริ ษทั ฯ ได้กาหนดทิศทางการดาเนิ นงาน และแผนกลยุทธ์ต่างๆ ให้สอดคล้องกับเป้ าหมายการพัฒนาและ การขยายกิจการของบริ ษทั ฯ ที่เสริ มและสนับสนุนธุ รกิจของบริ ษทั ปั จจุบนั บริ ษทั ฯ ลงทุนในบริ ษทั ย่อยและร่ วม ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริ มทรัพย์และกิจการด้านสาธารณู ปโภค ดังนี้ 1. บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั ใหญ่ ดาเนิ นธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ประเภท โครงการเขต/สวนอุตสาหกรรมเพื่อขาย พร้อมระบบสาธารณู ปโภคต่าง ๆ ซึ่ งดาเนินการโดย ภาคเอกชน การดาเนินงานมี 4 โครงการ - โครงการที่ จ.พระนครศรี อยุธยา บนเนื้ อที่ 12,050 ไร่ แบ่งเป็ น พื้นที่พฒ ั นาและกาลังพัฒนา 9,877 ไร่ (แบ่งการพัฒนาเป็ น 8 ระยะ), เนื้อที่รอการพัฒนา 2,173 ไร่ - โครงการที่ จ.ระยอง บนเนื้อที่ประมาณ 2,373 ไร่ เป็ นพื้นที่พฒ ั นาแล้วและกาลังพัฒนา - โครงการที่ชลบุรี บ่อวิน บนเนื้อที่ 1,538 ไร่ เป็ นพื้นที่กาลังพัฒนาและรอการพัฒนา - โครงการที่ชลบุรี แหลมฉบัง เนื้อที่ 1,130 ไร่ เป็ นพื้นที่กาลังพัฒนาและรอการพัฒนา รายชื่ อผู้ถือหุ้นใหญ่ ดูรายละเอียดในหน้ าโครงสร้ างการถือหุ้นและการจัดการ 2. บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถื อหุ ้นอยู่ร้อยละ 41 ของทุนจดทะเบียน 4,920 ล้านบาท เพื่อดาเนินธุ รกิจผลิตและจาหน่ายไฟฟ้าและไอน้ า ปั จจุบนั มีกาลังการผลิตไฟฟ้ า 390 เมกกะ วัต ต์ , ไอน้ า ก าลัง การผลิ ต 125 ตัน ต่ อ ชั่ว โมง ให้บ ริ ก ารด้า นสาธารณู ป โภคแก่ ลู ก ค้า ในสวน อุตสาหกรรมที่จงั หวัดพระนครศรี อยุธยา โครงสร้ างผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น ร้ อยละ บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) 41.00 Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation 20.00 เคปิ ค เนเธอร์ แลนด์ บี.วี. 39.00 3. บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ ้นอยูร่ ้อยละ 90 ของทุนจด

ทะเบียน 200 ล้านบาท เพื่อดาเนิ นธุ รกิจผลิตและจาหน่ ายน้ าใช้อุตสาหกรรม และบาบัดน้ าเสี ยจาก โรงงานอุตสาหกรรม - โรงผลิตน้ าเพื่ออุตสาหกรรม มีจานวน 4 โรง แบ่งเป็ นที่จงั หวัดอยุธยา มี 3 โรง กาลังการผลิต น้ าเพื่ออุตสาหกรรม 35,000, 40,000 และ 40,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน จังหวัดปราจีนบุรี มี กาลังการผลิต 12,000 ลูกบาศ์กเมตรต่อวัน - โรงบาบัดน้ าเสี ย มีจานวน 5 โรง แบ่งเป็ นที่โครงการอยุธยา จานวน 3 โรง มีกาลังการผลิ ต โรงละ 6,000 ลู ก บาศก์ เ มตร ต่ อ วัน โครงการระยองมี 1 โรง มี ก าลัง การผลิ ต 14,000 ลูกบาศก์เมตร ต่อวัน โครงการปราจีนบุรี กาลังการผลิต 12,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน -

17

14

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

18

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

15


โครงสร้ างผู้ถือหุ้น บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation

ร้ อยละ 90.00 10.00

4. บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถื อหุ ้นอยู่ร้อยละ 100 ของทุ นจดทะเบียน

400 ล้านบาท เพื่อดาเนินธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทการก่อสร้างอาคารชุดเพื่อเช่าและขาย

5. บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถื อหุ ้นร้ อยละ 70 ของทุนจดทะเบียน 714

ล้านบาท เพื่อดาเนินธุรกิจเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้าจากพลังแสงอาทิตย์ ปั จจุบนั มีท้ งั หมด 3 ฟาร์ ม ฟาร์ ม ละ 8 เมกะวัตต์ โครงสร้ างผู้ถือหุ้น ร้ อยละ บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) 70.00 Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation 30.00

6. บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ ้นร้ อยละ 100 ของทุนจด

7.

8.

9. 10.

ทะเบี ย น 556.98 ล้า นบาท เพื่ อ ด าเนิ นธุ ร กิ จ พัฒนาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ป ระเภท โครงการเขต/สวน อุตสาหกรรมเพื่อขาย พร้อมระบบสาธารณู ปโภคต่าง ๆ ที่จงั หวัดปราจีนบุรี บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถื อหุ ้นร้อยละ 100 ของทุนจด ทะเบียน 498.00 ล้านบาท (ทุ นที่ออกและเรี ย กชาระแล้ว 327 ล้านบาท) เพื่อ ดาเนิ นธุ รกิ จพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์ประเภท โครงการเขต/สวนอุตสาหกรรมเพื่อขาย พร้อมระบบสาธารณู ปโภคต่าง ๆ ที่ อาเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง บริ ษทั เป๋ วโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิ ต้ ี จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ ้นร้ อยละ 100 ของทุนจด ทะเบี ย น1.00 ล้ า นบาท เพื่ อ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ พัฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ป ระเภท โครงการเขต/สวน อุตสาหกรรมเพื่อขาย พร้อมระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ปัจจุบนั ยังไม่ดาเนินการ บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด เป็ นบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ถือหุ ้นร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน 5.00 ล้านบาท เพื่อดาเนินธุ รกิจให้บริ การออนไลน์ บริ ษทั ออปอเรชัน่ แนล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ ป จากัด เป็ นบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ถือหุ ้นอยูร่ ้อยละ 25 ของทุนจด ทะเบีย น 30 ล้านบาท เพื่อดาเนิ นธุ รกิ จให้บริ การบารุ ง รั ก ษา และการบริ การเกี่ ยวกับ การผลิ ตของ โรงไฟฟ้า

โครงสร้ างผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้น บริ ษทั เอส แอนด์ เจ อินเตอร์ เนชัน่ แนล เอนเตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั เอ็นจิเนียริ่ ง เทคนิคอล ซัพพลาย จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ผูถ้ ือหุน้ รายย่อยที่ถือต่ากว่า ร้อยละ 10

ร้ อยละ 30.00 26.00 25.00 19.00

11. บริ ษทั ไทคอน อิ นดัสเทรี ยล คอนเน็ คชัน ่ จากัด (มหาชน) เป็ นบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ถื อหุ ้นอยู่ร้อยละ

26.10 (ณ วันที่ 10 มีนาคม 2560) ของทุนที่ชาระแล้ว เพื่อดาเนิ นธุ รกิจจัดสร้างโรงงานมาตรฐานใน เขตนิคมอุตสาหกรรมและเขต/สวนอุตสาหกรรมเพื่อให้เช่า และ/หรื อเพื่อขาย โครงสร้ างผู้ถือหุ้น (ณ วันที่ 10 มีนาคม 2560) ผู้ถือหุ้น ร้ อยละ บริ ษทั เฟรเซอร์ส พร็ อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จากัด 40.07 บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) 26.10 กลุ่มซิ ต้ ีเรี ยลตี้ 4.22 นางสุ ชาดา ลีสวัสดิ์ตระกูล 2.53 นายจตุพล เกรี ยงไชยกิจกุล 2.52 บริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จากัด 2.23 Nortrust Nominees Limited Group 1.40 ผูถ้ ือหุ น้ รายย่อยที่ถือต่ากว่า ร้อยละ 1.40 20.93

โครงสร้ างการถือหุ้นแยกตามกลุ่มธุรกิจของบริษทั ในกลุ่ม ณ วันที่ 16 มกราคม 2560 ประกอบด้วยบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม แยกประเภทตามกลุ่มธุ รกิจ ดังนี้ 1. ธุรกิจสาธารณูปโภค ประกอบด้วย บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด

บริ ษทั ถืออยู่ 41% บริ ษทั ถืออยู่ 90% บริ ษทั ถืออยู่ 70%

20

16

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

19

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

17


2. ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิ ต้ ี จากัด

บริ ษทั ถืออยู่ บริ ษทั ถืออยู่ บริ ษทั ถืออยู่ บริ ษทั ถืออยู่

100% 100% 100% 100%

3. ธุ รกิจ FACTORY RENTAL & LOGISTICS บมจ. ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ และบริ ษทั ย่อย ได้แก่ บริ ษทั ถืออยู่ 26.10% 4. ธุ รกิจ OPERATION AND MAINTENANCE บริ ษทั ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ ป จากัด

บริ ษทั ถืออยู่ 25%

5. ธุ รกิจ บริ การออนไลน์ บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด

บริ ษทั ถืออยู่ 100%

โครงสร้ างรายได้ ของบริษทั บริษทั ย่ อย และบริษทั ร่ วม ตามงบการเงินรวม รายการในงบการเงินรวม รายได้จากการขายที่ดิน รายได้จากการขายไฟฟ้า รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่า รายได้จากการขายอาคารชุด กาไรจากการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงินลงทุน

รายได้เงินชดเชยจากบริ ษทั ประกันภัย ส่ วนแบ่งกาไรในบริ ษทั ร่ วม รายได้อื่น รวมรายได้

2559 (ล้านบาท) ร้ อยละ 1,266.31 12.86 7,879.76 80.01 581.74 5.91 32.39 0.33 33.31 0.34 54.59 0.56 9,848.10 100.00

2558 2557 (ล้านบาท) ร้ อยละ (ล้านบาท) ร้ อยละ 2,215.11 18.59 2,635.92 19.96 9,177.36 77.01 8,532.97 64.62 457.43 3.84 386.00 2.92 33.84 0.28 35.39 0.27 6.90 0.05 1,361.33 10.31 95.30 0.72 27.55 0.23 129.52 0.98 6.52 0.05 21.49 0.16 11,917.81 100.00 13,204.82 100.00

หมายเหตุ* งบการเงินประจาปี 2558-9 เป็ นการแสดงเพื่อให้ สอดคล้ องกับข้ อกำหนดของมำตรฐำนกำรรำยงำนทำงกำรเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้ เพื่อขำยและกำรดำเนินงำนที่ยกเลิก โดยงบแสดงฐำนะกำรเงิน แยกแสดงผลกำรดำเนินงำนของ TICON เป็ น “กำไรสำหรับปี จำกกำรดำเนินงำนที่ยกเลิก” (ดูรำยละเอียดเพิ่มเติม จำกหมำยเหตุประกอบงบกำรเงิน ข้ อ 12 และ ข้ อ 17 ในงบกำรเงินประจำปี 2559)

รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสร้ างรายได้ ของบริษัท บริษัทย่อย และ บริษัทร่ วมตามงบการเงินรวมสามารถสรุปได้ ดังต่ อไปนี้ 1. รายได้จากการขายที่ดิน เป็ นรายได้ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย 2. รายได้จากการขายที่อาคารชุด เป็ นรายได้ของบริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด (บริ ษทั ย่อย) 3. รายได้จากการขายไฟฟ้า เป็ นรายได้ของบริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด (บริ ษทั ย่อย) ซึ่ งประกอบธุ รกิจผลิต และจ าหน่ า ยไฟฟ้ า และไอน้ า และบริ ษ ัท โรจนะ เอ็ น เนอร์ จี จ ากัด (บริ ษ ัท ย่อ ย) ประกอบธุ ร กิ จ ผลิ ต กระแสไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 4. รายได้ค่าบริ การและค่าเช่า เป็ นรายได้ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย โดยการตัดรายการระหว่างกันออกไป 5. บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ เป็ นบริ ษทั ย่อย ได้ดาเนินธุ รกิจจาหน่ายน้ าใช้ในนิคมอุตสาหกรรม และบาบัดน้ าเสี ยในสวนอุตสาหกรรม จัดอยูใ่ นหมวดของรายได้ค่าบริ การแต่เป็ นการดาเนินธุ รกิจที่เกี่ยวข้อง กับบริ ษทั บางส่ วน จึงทาการตัดรายการที่เกี่ยวข้องระหว่างกันออกในงบการเงินรวม 6. ส่ วนแบ่งผลกาไรในบริ ษทั ร่ วม เป็ นส่ วนแบ่งผลกาไรในบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั 7. รายได้อื่น เป็ นรายได้ที่มิใช่จากการดาเนินงานโดยตรง ลักษณะผลิตภัณฑ์ หรื อบริการ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ได้แก่ ที่ดินในโครงการเขต/สวนอุตสาหกรรม ที่บริ ษทั ได้พฒั นาขึ้นเพื่อขายให้กบั ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม พร้อมด้วยระบบสาธารณู ปโภคต่างๆ นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว บริ ษทั โรจนะ เพาเวอร์ จากัดและ บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ดาเนิ นธุ รกิจผลิตและจาหน่าย ไฟฟ้าและไอน้ า,ผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ ตามลาดับ ซึ่ งมีรายได้จากการผลิตและจาหน่ายกระแสไฟฟ้าและไอน้ า ในปี 2559 และปี 2558 คิดเป็ นร้อยละ 80.01 และ 77.01 ของรายได้รวมของงบการเงินรวม นอกจากนี้ บริ ษทั ยังได้ลงทุ นในธุ รกิ จอื่ นๆ ได้แก่ ผลิ ตและจาหน่ ายน้ า ใช้อุตสาหกรรม และบาบัดน้ าเสี ยจาก อุตสาหกรรม ธุรกิจพัฒนาอสั งหาริมทรัพย์ ประเภทเขต/สวนอุตสาหกรรม 1. ลักษณะภาพรวมของผลิตภัณฑ์ บริ ษทั ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทเขต/สวนอุตสาหกรรม ซึ่ งผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ได้แก่ ที่ดินเพื่อใช้ในการจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรม พร้อมทั้งบริ การทางด้านระบบสาธารณู ปโภค รวมทั้งสิ่ งอานวยความ สะดวกเพื่อให้บริ การแก่ผูป้ ระกอบการที่เข้ามาลงทุนจัดตั้งโรงงานในเขต/สวนอุตสาหกรรม โดยสาธารณู ปโภค และสิ่ งอานวยความสะดวกดังกล่าว ได้แก่ ระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบโทรศัพท์ ระบบบาบัดน้ าเสี ย ตลอดจน ที่พกั อาศัยในรู ปแบบของแฟลตและอพาร์ทเมนท์ สโมสร สนามกีฬา และภัตตาคาร เป็ นต้นในการดาเนินการจัดตั้ง 22

18

21

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

19


เขต/สวนอุตสาหกรรม บริ ษทั ได้ดาเนินการขออนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อ จัดตั้งเขต/สวนอุตสาหกรรม เขตประกอบการอุตสาหกรรม และ ชุ มชนอุตสาหกรรม และขอรับการส่ งเสริ มการ ลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน เพื่อให้เขต/สวนอุตสาหกรรมของบริ ษทั สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ดีที่สุด บริ ษทั มีนโยบายในการพัฒนาเขต/สวนอุตสาหกรรม โดยจัดพื้นที่ตามลักษณะการใช้งานออกเป็ น 4 เขต คือ 1. พื้นที่เขตอุตสาหกรรมทัว่ ไป (General Industry District/ Industrial Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่กาหนดไว้ สาหรับการประกอบอุตสาหกรรมและกิจการอื่นที่เป็ นประโยชน์หรื อเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรม 2. พื้นที่เขตพาณิ ชยกรรม (Commercial Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่กาหนดไว้สาหรับการประกอบธุ รกิ จที่ เกี่ ย วเนื่ องกับ การประกอบกิ จการพาณิ ช ยกรรม เช่ น ธนาคาร ไปรษณี ย ์ โรงพยาบาล สถานี บ ริ ก ารน้ ามัน และ สถานศึกษา เป็ นต้น 3. พื้นที่เขตที่อยู่อาศัย (Residential Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่กาหนดไว้สาหรับการก่อสร้ างเป็ นที่อยู่อาศัย เช่น แฟลต คอนโดมิเนียม และบ้านอยูอ่ าศัย เป็ นต้น 4. พื้นที่ส่วนกลาง (Infrastructure Zone/ Facility Zone) หมายถึง เขตพื้นที่ที่กาหนดไว้สาหรับการก่อสร้าง ระบบสาธารณู ป โภค และสิ่ ง อ านวยความสะดวก รวมทั้ง เขตที่ ว่า งสาธารณะ เช่ น คลับ เฮาส์ ถนน โรงผลิ ต น้ าประปา โรงบาบัดน้ าเสี ย โรงกาจัดขยะ อ่างเก็บน้ า สวนหย่อม และ ทะเลสาบ เป็ นต้น (ก) ลักษณะการจัดให้ ได้ มาซึ่งผลิตภัณฑ์ - การผลิต (จานวนโรงงาน/ กาลังการผลิตรวม) ในการพัฒนาโครงการเขต/สวนอุตสาหกรรม บริ ษทั จะต้องจัดเตรี ยมที่ดินจานวน ไม่ต่ากว่า 500 ไร่ โดยมี หลักเกณฑ์ในการพิจารณาซื้อที่ดิน ได้แก่ ทาเลที่ต้งั แหล่งน้ า ระบบสาธารณูปโภค นโยบายและข้อกาหนดต่าง ๆ ของภาครัฐบาล ทาการออกแบบและวางผังโครงการ ศึกษาผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม แล้วจึงก่อสร้างและพัฒนา โครงการ ในระยะที่ผา่ นมาบริ ษทั ได้วา่ จ้างบริ ษทั ผูร้ ับเหมาจากประเทศไทย ซึ่ งมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบ และการก่อสร้างโครงการพร้อมทั้งได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO นอกจากบริ ษทั ดาเนินธุ รกิจในการจัดตั้งโรงงานให้กบั ผูป้ ระกอบการโดยมีผลิตภัณฑ์ คือ ที่ดิน เป็ นหลักแล้ว บริ ษทั ยังมีระบบสาธารณู ปโภคและสิ่ งอานวยความสะดวกให้กบั ผูป้ ระกอบการ ที่เข้ามาดาเนินธุ รกิจในพื้นที่ ที่ได้ จัดตั้งไว้ ดังนี้ 1. ระบบถนน ถนนในเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ มีความแข็งแรงและทนทาน โดยบริ ษทั ได้ออกแบบให้ ถนนหลักเป็ นถนน 4 ช่องทาง เขตทางไม่นอ้ ยกว่า 30 เมตร ผิวจราจรไม่นอ้ ยกว่า 14 เมตร มีเกาะกลางถนนและทาง เท้าไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตรต่อข้าง นอกจากนี้มีผวิ ทางหรื อไหล่ทางกว้างเพียงพอที่จะให้รถยนต์จอดฉุ กเฉิ น ในส่ วน ถนนสายรอง ผิวจราจรไม่นอ้ ยกว่า 8.50 เมตร ไหล่ถนนไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตรต่อข้าง 2. ระบบนา้ ใช้ จัดให้มีระบบน้ าเพื่ออุตสาหกรรม รองรับความต้องการของลูกค้าอย่างเพียงพอ โดยปัจจุบนั มี กาลังการผลิตอยูท่ ี่ 115,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน 23

20

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

3. ระบบไฟฟ้ า จัดให้มีระบบไฟฟ้ารองรับ ทั้งบริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ , โรจนะ เอ็นเนอร์จีและการไฟฟ้าส่ วน ภูมิภาค โดยการจ่ายไฟฟ้าผ่านสถานีไฟฟ้าย่อยของ กฟภ. ซึ่งตั้งอยูบ่ ริ เวณเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ 4. ระบบการระบายนา้ และระบบบาบัดนา้ เสี ยและขยะ ตามมาตรฐานของเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะน้ าเสี ย จากโรงงานอุตสาหกรรมจะถูกปล่อยลงสู่ โรงบาบัดน้ าเสี ยของส่ วนกลาง ซึ่ งมีกาลังการผลิตเพียงพอต่อความ ต้องการของลูกค้า สาหรับการกาจัดขยะจากโรงงานอุตสาหกรรมนั้น บริ ษทั ให้บริ การกับลูกค้า โดยจัดให้มี รถบรรทุกออกไปจัดเก็บขยะที่ลูกค้ารวบรวมไว้ในสวนอุตสาหกรรมโรจนะ 5. สิ่ งอานวยความสะดวกอื่นๆ สิ่ งอานวยความสะดวกอื่นๆ ภายในเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ได้แก่ อพาร์ตเมนต์ อาคารพาณิ ชย์ ร้านค้า ภัตตาคาร และธนาคาร ในปัจจุบนั โครงการเขต/สวนอุตสาหกรรมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีอยู่ 4 แห่ง ดังต่อไปนี้ 1. โครงการจังหวัดพระนครศรี อยุธยา ตั้งอยูท่ ี่ เลขที่ 1 หมู่ 5 ถนนโรจนะ ตาบลคานหาม อาเภออุทยั จังหวัด พระนครศรี อยุธยา ปั จจุบนั โครงการมีพ้นื ที่รวมทั้งสิ้ น 12,050 ไร่ แบ่งการพัฒนาเป็ น 8 ระยะ 2. โครงการจังหวัดระยอง (บ้านค่าย) ตั้งอยูท่ ี่ 3/7 หมู่ 2 ถนนบ้านค่าย-บ้านบึง ตาบลหนองบัว อาเภอบ้าน ค่าย จังหวัดระยอง สาหรับโครงการเขต/สวนอุตสาหกรรมที่จงั หวัดระยอง ปั จจุบนั มีพ้ืนที่โครงการรวม 2,373 ไร่ แบ่งการพัฒนาเป็ น 3 ระยะ 3. โครงการระยอง 2 (อาเภอปลวกแดง) ตั้งอยู่ที่ 54/5 หมู่ที่ 1 ตาบลมาบยางพร อาเภอปลวกแดง จังหวัด ระยอง สาหรับโครงการเขต/สวนอุตสาหกรรมที่จงั หวัด ระยอง ปั จจุบนั มี พ้ืนที่โครงการรวม 1,369 ไร่ แบ่งการ พัฒนาเป็ น 2 ระยะ 4. โครงการปราจีนบุรี ตั้งอยู่ที่ 141 หมู่ที่ 12 ตาบลหัวหว้า อาเภอศรี มหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี สาหรับ โครงการเขต/สวนอุตสาหกรรมที่จงั หวัดระยอง ปัจจุบนั มีพ้นื ที่โครงการรวม 5,373 ไร่ แบ่งการพัฒนาเป็ น 2 ระยะ 5. โครงการชลบุรี บ่อวิน (กาลังเริ่ มพัฒนาโครงการ) ปัจจุบนั มีพ้นื ที่โครงการรวม 1,538 ไร่ 6. โครงการชลบุรี แหลมฉบัง (กาลังเริ่ มพัฒนาโครงการ) ปั จจุบนั มีพ้นื ที่โครงการรวม 1,130 ไร่

24

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

21


ตารางแสดงรายละเอียดความคืบหน้ าในการดาเนินโครงการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 โครงการ

ขนาดทีด ่ น ิ

มูลค่าราคาขาย

โครงการ ไร่

ความคืบหน ้า การขาย/ให ้ เช่า ร ้อยละ

ของโครงการ ล ้านบาท

กลุม ่ ลูกค ้า เป้ าหมาย

โครงการจังหวัดอยุธยา 1. ระยะที่ 1 - 4

จาหน่ายหมดแล ้ว

2. ระยะที่ 5

เขตอุตสาหกรรม

591

1,460

92 %

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

3. ระยะที่ 6 4. ระยะที่ 7

เขตอุตสาหกรรม

424

1,063

100 %

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

เขตอุตสาหกรรม

1,664

4,167

97 %

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

110

310

100 %

ผู ้ลงทุนต่างประเทศ

97

-

-

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

ระยะที่ 7.1-2 ระยะที่ 7(ส่วนขยาย)

5. ระยะที่ 8

เขตอุตสาหกรรม เขตพาณิชยกรรม (พืน ้ ทีร่ อการ พัฒนา)

ระยะที่ 8.1

เขตอุตสาหกรรม

1,580

3,360

79 %

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

ระยะที่ 8.2 6. ระยะที่ 9

เขตอุตสาหกรรม

1,290

1,263

26%

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

เขตอุตสาหกรรม

22

รอการพัฒนา

1,126

-

-

รอการพัฒนา

1,046

-

-

1. ระยะที่ 1

เขตอุตสาหกรรม

435

557

85%

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

2. ระยะที่ 2

เขตอุตสาหกรรม

846

810

59 %

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

3. ระยะที่ 3

เขตอุตสาหกรรม

293

264

52%

1. ระยะที่ 1

เขตอุตสาหกรรม

383

842

100%

2. ระยะที่ 2 โครงการจังหวัดปราจีนบุร ี

เขตอุตสาหกรรม

595

1. ระยะที่ 1

เขตอุตสาหกรรม

3,049

2. ระยะที่ 2.1(ส่วนขยาย)

เขตอุตสาหกรรม

500

รอการพัฒนา

860

ระยะที่ 9 (ส่วนขยาย)

7. ระยะที่ 10

48

100%

ผู ้ลงทุนชาวไทย

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

สิทธิทไี่ ด้ รับในการประกอบธุรกิจของบริษัท บัตรส่งเสริ มการลงทุน บริ ษทั ได้รับการส่งเสริ มการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุนดังนี้ : 1. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1124/2531 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2531 (ฉบับที่ 1) หมดสิ ทธิได้รับการส่งเสริ ม 2. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1109/2536 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2536 (ฉบับที่ 2) หมดสิ ทธิได้รับการส่งเสริ ม 3. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1702/2538 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2538 (ฉบับที่ 3) หมดสิ ทธิได้รับการส่งเสริ ม 4. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1130/2541 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2540 (ฉบับที่ 4) หมดสิทธิได้รับการส่งเสริ ม 5. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1511/2545 ลงวันที่ 15 สิ งหาคม 2545 (ฉบับที่ 5) หมดสิ ทธิได้รับการส่งเสริ ม 6. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1646(2)/2548 ลงวันที่ 18 กรกฎาคม 2548 (ฉบับที่ 6) หมดสิ ทธิได้รับการส่งเสริ ม 7. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1100(2)/2551 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 (ฉบับที่ 7)หมดสิทธิได้รับการส่งเสริ ม 8. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1237(2)/2554 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554 (ฉบับที่ 8) 9. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1860(2)/2555 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2555 (ฉบับที่ 9) 10. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 5158(2)/2556 ลงวันที่ 7 สิ งหาคม 2556 (ฉบับที่ 10 เป็ นบัตรตามมาตรการส่งเสริ มการลงทุนเพื่อฟื้ นฟู การลงทุนจากวิกฤตอุทกภัย ตามบัตรส่งเสริ มเลขที่ 1124/2531 ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน 2531, บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1109/2536 ลงวันที่ 13 สิ งหาคม 2536, บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1130/2541 ลงวันที่ 20 มีนาคม 2541 และบัตรส่งเสริ มเลขที่ 1511/2545 ลงวันที่ 15 สิ งหาคม 2545) 11. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 59-1392-0-00-1-0 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 11)

โครงการทีร่ ะยอง (บ ้านค่าย)

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและต่างชาติ

โครงการทีจ ่ ังหวัดระยอง (ปลวกแดง)

ระยะที่ 2.2

โครงการทีจ ่ ังหวัดชลบุร(ี แหลมฉบัง) 1. ระยะที่ 1 กาลังพัฒนา ระยะที่ 1 (ส่วนขยาย) เขตอุตสาหกรรม โครงการทีจ ่ ังหวัดชลบุร ี (บ่อวิน) 1. ระยะที่ 1

เขตอุตสาหกรรม รอการพัฒนา

241

18%

ผู ้ลงทุนชาวไทย ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและ ต่างประเทศ

3,172

85%

ผู ้ลงทุนทัง้ ชาวไทยและ ต่างประเทศ

100%

ผู ้ลงทุนชาวต่างประเทศ

850 -

947 151 691 617

-

129 482

18%

ผู ้ลงทุนชาวต่างประเทศ

20%

ผู ้ลงทุนชาวต่างประเทศ

25

22

26

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

23


รายละเอียดของสิทธิประโยชน์ ทไี่ ด้ รับ รายละเอียดสิทธิประโยชน์ ที่สาคัญมีดงั นี้ ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับเครื่ องจักร ตามที่คณะกรรมการพิจารณาอนุมตั ิ เงื่อนไข จะต้องนาเข้าภายในวันที่ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ กาไรสุ ทธิ ที่ได้รับจากการประกอบกิ จการที่ ได้รับการ ส่ งเสริ มมีกาหนดเวลา ทั้งนี้นบั แต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้ จากการประกอบกิ จการนั้น มาตรา 31 ในกรณี ที่ประกอบกิ จการขาดทุนในระหว่างเวลาได้รับ ยกเว้นภาษี เงิ นได้นิติบุคคลตามวรรคหนึ่ ง ผูไ้ ด้รับการ ส่ ง เสริ มจะได้รั บ อนุ ญ าตให้ น าผลขาดทุ น ประจ าปี ที่ เกิ ดขึ้ นในระหว่างเวลานั้น ไปหัก ออกจากก าไรสุ ทธิ ที่ เกิ ด ขึ้ น ภายหลัง ระยะเวลาได้รับ ยกเว้น ภาษี เ งิ น ได้นิ ติ บุ ค ค ล มี ก าห น ดเวล าไม่ เ กิ น 5 ปี นั บ แ ต่ ว ั น พ้ น กาหนดเวลานั้นโดยจะเลื อกหักจากกาไรสุ ทธิ ของปี ใดปี หนึ่งหรื อหลายปี ก็ได้ ให้ ไ ด้ รั บ ลดหย่ อ นภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล สาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้รับจากการลงทุนในอัตราร้ อยละ 50 ของอัตราปกติ ให้ ไ ด้รั บ ยกเว้น ไม่ ต้ อ งน าเงิ น ปั น ผลจาก กิจการที่ได้รับการส่ งเสริ มซึ่ งได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลตามมาตรา 31 ไปรวมคานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้ ตลอดระยะเวลาที่ผูไ้ ด้รับการส่ งเสริ มได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคลนั้น มาตรา 34 ให้ ไ ด้รั บ อนุ ญ าตให้ หั ก ค่ า ขนส่ ง ค่ า ไฟฟ้ า และค่าประปา 2 เท่า ของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็ นระยะเวลา 10 ปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น มาตรา 35 (2) ให้ ไ ด้รั บ อนุ ญ าตให้ หั ก เงิ น ลงทุ น ในการ ติดตั้ง หรื อก่ อสร้ างสิ่ งอานวยความสะดวก ร้ อยละ 25 ของเงิ นลงทุนนอกเหนื อไปจาก การหัก ค่าเสื่ อมราคา ตามปกติ มาตรา 35(3) ให้ได้รับอนุ ญาตให้นาหรื อส่ งเงิ นออกนอก ราชอาณาจักรเป็ นเงินตราต่างประเทศได้ มาตรา 37 วันที่คณะกรรมการอนุมตั ิให้การส่ งเสริ ม

24

เงื่อนไขในการใช้ สิทธิและประโยชน์ ทสี่ าคัญ 5158(2)/2556 /

/

06/01/58 /

28/08/56 /

27/04/62 /

8 ปี (28/06/56 ถึง 28/06/64) /

7 ปี (29/06/55 ถึง 29/06/62) /

8 ปี /

7 ปี /

/

/

-

/

-

/

/

/

-

/

-

-

/

-

-

-

-

-

/

/

/

/

07/06/56

25/05/2555

18/01/54

เงื่อนไขในการใช้ สิทธิ และประโยชน์ ที่สาคัญ มีดงั นี้

59-1392-0-00-1-0

07/02/59 /

27

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

บัตรส่ งเสริมเลขที่ 1860(2)/2555 1237(2)/2556 / /

29/08/2559

- จะต้องยืน่ ขออนุมตั ิบญั ชี รายการเครื่ องจักรก่อนการ ใช้สิทธิ และประโยชน์ยกเว้นหรื อลดหย่อนอากรขา เข้าเครื่ องจักร จะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็ จพร้อมที่จะ เปิ ดดาเนินการได้

5158(2)/2556 /

บัตรส่ งเสริมเลขที่ 1860(2)/2555 1237(2)/2554 / /

59-1392-0-00-1-0

/

ภายใน ภายใน ภายใน ภายใน กาหนดเวลาไม่ กาหนดเวลาไม่ กาหนดเวลาไม่ กาหนดเวลาไม่ เกิน 36 เดือน นับ เกิน 36 เดือน นับ เกิน 30 เดือน นับ เกิน 36เดือน นับ แต่วนั ที่ออกบัตร แต่วนั ที่ออกบัตร แต่วนั ที่ออกบัตร แต่วนั ที่ออกบัตร ส่ งเสริ ม ส่ งเสริ ม ส่ งเสริ ม ส่งเสริ ม

เมื่อเปิ ดดาเนินการแล้ว ต้องรายงานฐานะการเงินและ ผลการดาเนินงานตามแบบที่สานักงานกาหนด โดย ต้องรายงานทุกรอบปี ภายใน จะต้องจัดให้มีการใช้ระบบป้ องกันและ ควบคุมมิให้เกิดผลเสี ยต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อมหรื อที่ จะก่อให้เกิดอันตราย หรื อความเดือดร้ อนราคาญแก่ผู ้ อยูใ่ กล้เคียงโดยมีการรับรองจากกระทรวง อุตสาหกรรม หรื อสถาบันที่ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ให้ความเห็นชอบ จะต้องมีทุนจดทะเบียนไม่นอ้ ยกว่า โดยจะต้องชาระเต็มมูลค่าก่อนวันเปิ ดดาเนินการ

วันที่ 31 กรกฎาคม ของปี ถัดไป /

วันที่ 31 กรกฎาคม ของปี ถัดไป /

วันที่ 31 กรกฎาคม ของปี ถัดไป /

วันที่ 31 กรกฎาคม ของปี ถัดไป /

1,159 ล้านบาท

1,138 ล้านบาท

1,196 ล้านบาท

1,967 ล้านบาท

-

ขนาดของเขตอุตสาหกรรม

ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ลงทุ น เป็ นพื้ น ที่ 1,770 ไร่ โดย ที่ดิ น ที่ ใ ช้ต้ งั เป็ น ของโรงงาน จะต้อ งมี บ ริ เวณ ไม่ต่ากว่าร้ อยละ 6 0 แ ล ะ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 75 ของ พื้นที่ท้ งั หมด

ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ลงทุ น เป็ นพื้ น ที่ 560 ไร่ โดยที่ดิน ที่ ใ ช้ ต้ ัง เป็ นของ โรงงานจะต้องมี บริ เวณไม่ต่ ากว่า ร้ อ ยละ 60 และ ไม่เกินร้ อยละ 75 ของพื้นที่ท้งั หมด

ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ลงทุ น เป็ นพื้ น ที่ 1,019 ไร่ โดย ที่ ดิน ที่ใ ช้ต้ งั เป็ น ของโรงงาน จะต้อ งมี บ ริ เวณ ไม่ต่ ากว่าร้ อยละ 60 และไม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 75 ของ พื้นที่ท้ งั หมด

-

จะต้องตั้งเขตอุตสาหกรรมในท้องที่

ไ ด้ รั บ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ลงทุ น เป็ นพื้ น ที่ ประมาณ 4,205 ไร่ โดยที่ ดิ น ใช้ เ ป็ น ที่ ตั้ ง ข อ ง โรงงานจะต้องมี บริ เวณไม่ต่ ากว่า ร้ อ ยละ 60 และ ไม่ เ กิ น กว่ า ร้ อ ย ละ75ของพื้ น ที่ ทั้งหมด จ.พระนครศรี อยุธยา

จ.พระนครศรี อยุธยา

จ.ระยอง

จ.ชลบุรี

28

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

25


เงื่อนไขในการใช้ สิทธิ และประโยชน์ ที่สาคัญ มีดงั นี้ และจะต้องได้รับอนุญาตจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ภายในระยะเวลา 15 ปี นับแต่วนั เปิ ดดาเนิ นการ จะ ย้ายเขตอุตสาหกรรมไปตั้งในท้องที่อื่นมิได้ ระยะเวลาดาเนิ นการต้องจัดและปรับปรุ ง ที่ ดิ น ประมาณ ร้ อ ยละ 25 ของบริ เวณทั้ง หมดให้ มี บริ การสาธารณูปโภคต่างๆ ภายในระยะเวลา 2 ปี นับ แต่วนั ออกบัตรส่ งเสริ ม

5158(2)/2556 /

บัตรส่ งเสริมเลขที่ 1860(2)/2555 1237(2)/2554 / /

หน่ วยผลิตไฟฟ้ าแบบกังหันก๊ าซ 59-1392-0-00-1-0

/

หน่วยผลิตไฟฟ้ำกังหันก๊ ำซของโครงกำร1 มีจำนวน 5 ชุดและหน่วยผลิตไฟฟ้ำกังหันก๊ ำซของโครงกำร 2 มีจำนวน 2 ชุด โดยก๊ ำซธรรมชำติเป็ นเชื ้อเพลิงหลัก สำมำรถส่งกำลังขับเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำ (Generator) ได้ เครื่ องละ 42.5 เมกะวัตต์ กระบวนกำร

/

/

/

/

ผลิตเริ่ มต้ นจำกอำกำศจะถูกสูบผ่ำนแผ่นกรองอำกำศ (Air Filter) ก่อนถูกป้อนเข้ ำสูเ่ ครื่ องกังหันก๊ ำซเพื่ออัดอำกำศให้ มีควำมดันสูง

/

/

/

/

แล้ วฉีดก๊ ำซธรรมชำติเข้ ำไปจุดระเบิดในห้ องเผำไหม้ เมื่อเชื ้อเพลิงติดไฟจะเกิดกำรเผำไหม้ กลำยเป็ นก๊ ำซร้ อน (Exhaust Gas) ที่มี กำรขยำยตัวสูงส่งออกจำกห้ องเผำไหม้ ไปขับดัน ใบพัด (Blade) ของเครื่ องกังหันก๊ ำซให้ หมุน หลังจำกเครื่ องกังหันก๊ ำซเดินเครื่ อง แล้ ว ปลำยเพลำอีกด้ ำนหนึ่งจะฉุดให้ โรเตอร์ ของเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำหมุนจนเกิดกระแสไฟฟ้ำขึ ้น ภำยในห้ องเผำไหม้ จะมีกำร ควบคุมอุณหภูมิเพื่อลดปริ มำณออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ที่เกิดขึ ้น เนื่องจำก NOx ที่เกิดขึ ้นจะสัมพันธ์ กบั อุณหภูมิภำยในห้ อง เผำไหม้ สำหรับก๊ ำซร้ อนที่ผ่ำนหน่วยผลิตไฟฟ้ำแบบกังหันก๊ ำซแล้ วยังมีพลังงำนควำมร้ อนเหลืออยู่จะถูกส่ง ไปยังหน่วยผลิตไอน ้ำ

ธุรกิจผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้ าและไอนา้

ลักษณะผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หลักของ โรจนะเพำเวอร์ ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัท คือ ไฟฟ้ำ ปั จจุบนั โรจนะเพำเวอร์ มีกำลังกำรผลิต ไฟฟ้ำทังสิ ้ ้น 390 เมกะวัตต์ ซึ่งขำยให้ กบั กฟผ. 180 เมกะวัตต์(ในรู ปแบบสัญญำ SPP-Firmจำนวน 2 สัญญำส่วนที่เหลือขำย ให้ กบั โรงงำนเอกชนที่ตงอยู ั ้ ภ่ ำยในส่วนอุตสำหกรรมโรจนะจังหวัดพระนครศรี อยุธยำ

แบบนำควำมร้ อนกลับมำใช้ ใหม่ตอ่ ไป หน่ วยผลิตไอนา้ แบบนาความร้ อนกลับมาใช้ ใหม่ (Heat Recovery Steam Generator; HRSG) ก๊ ำซร้ อนที่ผ่ำน GTG แล้ วยังคงมีพลังงำนเหลืออยู่จะถูกนำมำผลิตไอน ้ำที่หน่วยผลิตไอน ้ำแบบนำควำมร้ อนกลับมำใช้ ใหม่ (HRSG) ซึ่งทำหน้ ำที่ผลิตไอน ้ำเพื่อนำไปใช้ ในกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำที่ STG ต่อไป โดย HRSG ของโครงกำรมีจำนวน 8 ชุด

ลักษณะและกระบวนการผลิตของโรงไฟฟ้ า

กำรทำงำนของ HRSG เริ่ มโดยป้อนก๊ ำซร้ อนจำก GTG เข้ ำสูเ่ ครื่ องแลกเปลีย่ นควำมร้ อนของ HRSG เพื่อถ่ำยเทควำมร้ อนให้ กบั น ้ำ

ปั จจุบนั โรงไฟฟ้ำของ บริ ษัท โรจนะเพำเวอร์ มีกำลังไฟฟ้ำ 390 เมกะวัตต์ และไอน ้ำซึ่งมีกำลังกำรผลิต 125 ตันต่อชัว่ โมง

ปรำศจำกแร่ธำตุ (ที่อยูภ่ ำยใน HRSG) จนกลำยเป็ นไอน ้ำที่มีควำมดันและอุณหภูมิตำมที่ออกแบบไว้ ไอน ้ำที่เกิดขึ ้นจะถูกนำไปใช้

(ทังนี ้ ้ไม่นบั รวมกำลังกำรผลิตของโรงไฟฟ้ำโครงกำร 3 ทีก่ ำลังก่อสร้ ำงและคำดว่ำจะแล้ วเสร็ จในปี 2560 อีก 108 เมกะวัตต์) โดยมี

ในกำรขับเคลือ่ นกังหันไอน ้ำเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำของ STG ต่อไป ส่วนก๊ ำซร้ อนหลังถ่ำยเทควำมร้ อนให้ กบั น ้ำปรำศจำกแร่ ธำตุใน

บริ ษัท ออปอเรชัน่ แนล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ป จำกัน (“OEG”) เป็ นผู้ดำเนินกำรและบำรุงรักษำโรงไฟฟ้ำทังหมด ้

HRSG แล้ วจะถูกระบำยออกทำงปล่องต่อไป

ปั จจุบนั บริ ษัท โรจนะเพำเวอร์ เป็ นโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้ อนร่วม(Cogeneration Power Plant) ในกระบวนกำรผลิตไฟฟ้ำ และไอน ้ำ ซึ่งประกอบด้ วย กังหันก๊ ำซและเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำ (Gas Turbine and Gas Turbine Generator) ขนำด 42 เมกะวัตต์

หน่ วยผลิตไฟฟ้ าแบบกังหันไอนา้ (Steam Turbine Generators; STGs)

กระบวนกำรผลิตไฟฟ้ำของโครงกำรเป็ นระบบพลังควำมร้ อนร่ วมที่มีหน่วยผลิตพลังงำนไฟฟ้ำจำกหน่วยผลิตไฟฟ้ำแบบ

ไอน ้ำที่เกิดขึ ้นจำก HRSG จะเข้ ำสูห่ น่วยผลิตไฟฟ้ำกังหันไอน ้ำ(Steam Turbine)ซึ่งจะรับไอน ้ำจำกหน่วยผลิตไอน ้ำแบบนำ ควำมร้ อนกลับมำใช้ ใหม่ (HRSG) และสำมำรถส่งกำลังขับเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำ (Generator) โดยไอน ้ำที่ผลิตจำก HRSG จะถูกส่งเข้ ำ ไปขับเคลือ่ นเครื่ องกังหันไอน ้ำ ซึง่ มีเพลำต่ออยูก่ บั เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำทำให้ เกิดแรงบิดและเหนี่ยวนำเกิดเป็ นกระแสไฟฟ้ำขึ ้น ส่วนไอน ้ำ ที่ผำ่ น STG แล้ ว จะถูกป้อนเข้ ำสูห่ น่วยควบแน่น (Condenser) กลำยเป็ นน ้ำคอนเดนเสทหมุนเวียนกลับมำใช้ ใหม่ ซึ่งกำรควบแน่นของ ไอน ้ำจำเป็ นต้ องมีกำรดึงควำมร้ อนออกมำด้ วยกระบวนกำรแลกเปลีย่ นควำมร้ อนโดยผ่ำนหอหล่อเย็น (Cooling Tower) และใช้ น ้ำเป็ น ตัวกลำง

กังหันก๊ ำซ (GTG) และหน่วยผลิตไฟฟ้ำแบบกังหันไอน ้ำ (STG) ซึง่ เป็ นกำรนำก๊ ำซร้ อนจำกเครื่ องกังหันก๊ ำซที่ยงั คงมีควำมร้ อนสูงไป

กระบวนกำรผลิตไฟฟ้ำจะเริ่ มจำกเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำกังหัน ก๊ ำซ ซึ่งขับเคลื่อนด้ วยพลังงำนที่ได้ จำกกำรเผำไหม้ ภำยใน

ผ่ำนหน่วยผลิตไอน ้ำแบบนำควำมร้ อนกลับมำใช้ ใหม่ (HRSG) และถ่ำยเทควำมร้ อนให้ กบั น ้ำทำให้ น ้ำเดือดกลำยเป็ นไอ และนำ

ของก๊ ำซธรรมชำติและอำกำศ พลังงำนควำมร้ อนที่เหลือจำกกำรขับเคลื่อนกังหัน ก๊ ำซถูกนำไปผลิตไอน ้ำควำมดันสูงเพื่อใช้ เป็ น

พลังงำนควำมร้ อนที่มีสะสมอยูใ่ นไอน ้ำมำเปลีย่ นรูปเป็ นพลังงำนกลโดยนำไปขับกังหันไอน ้ำเพื่อผลิตพลังงำนไฟฟ้ำต่อไป

พลังงำนขับเคลือ่ นเครื่ องกำเนินไฟฟ้ำกังหันไอน ้ำ (Steam Turbine)

จำนวน 7 ชุด และกังหันไอน ้ำและเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ำ (Steam Turbine and Steam Turbine Generator) ที่มีขนำด 38 เมกะวัตต์ จำนวน 1 ชุด กับขนำด 30 เมกะวัตต์ จำนวน 1 ชุด และขนำด 22 เมกะวัตต์อีก จำนวน 1 ชุด โดยใช้ ก๊ำซธรรมชำติจำก ปตท. เป็ น เชื ้อเพลิงผ่ำนระบบท่อส่งก๊ ำซใต้ ดิน กระบวนการผลิต

กำรผลิตไฟฟ้ำจำกโรงไฟฟ้ำระบบควำมร้ อนร่วมนี ้ เครื่ องกำเนินไฟฟ้ำทังสองจะท ้ ำกำรผลิตร่ วมกัน หำกเกิดเหตุขดั ข้ องที่ โรงไฟฟ้ำกังหันไอน ้ำ โรงไฟฟ้ำก็ยงั สำมำรถเดินเครื่ องกังหันก๊ ำซได้ ตำมปกติ แต่หำกเกิดเหตุขดั ข้ องกับเครื่ องกังหันก๊ ำซเครื่ องใด 29

26

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

30

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

27


เครื่ องหนึ่ง กำลังผลิตที่ได้ ก็จะลดลงตำมส่วน แต่เครื่ องกังหันก๊ ำซทุกตัวหยุ ดเดินเครื่ องโรงไฟฟ้ำกังหันไอน ้ำที่ใช้ ร่วมกันก็จะต้ อง หยุดเดินเครื่ องด้ วย

โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ ลักษณะผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หลักของ โรจนะเอ็นเนอร์ จี จำกัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัท คือ ไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ มีโครงกำรทังสิ ้ ้น 3 โครงกำร โครงกำรละ 8 เมกะวัตต์ รวม 24 เมกะวัตต์ ซึ่งขำยให้ กบั กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคทังหมดตำมระเบี ้ ยบกำรรับซื ้อไฟฟ้ำ จำกผู้ผลิตไฟฟ้ำขนำดเล็กมำก และสัญญำมีอำยุ 5 ปี โดยกำรต่ออำยุสญ ั ญำอัตโนมัติทุกๆ 5 ปี โครงกำรโรงไฟฟ้ำพลังงำน แสงอำทิ ตย์ เริ่ ม มี กำรจ่ ำยไฟฟ้ำครั ง้ แรกตัง้ แต่เมษำยน 2557 เป็ นต้ นมำ ซึ่ง ตัง้ อยู่ภำยในสวนอุตสำหกรรมโรจนะ จังหวัด พระนครศรี อยุธยำ กระบวนการผลิต กระบวนกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำของโรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ เริ่ มเมื่อแผงโซลำร์ เซลล์(PV module) รับพลังงำนจำก แสงอำทิตย์แล้ วจะทำหน้ ำที่แปลงเป็ นพลังงำนไฟฟ้ำกระแสตรง จำกนันไฟฟ้ ้ ำกระแสตรงจะถูกแปลงให้ เป็ นไฟฟ้ำกระแสสลับผ่ำน ทำงอินเวอร์ เตอร์

(Inverter)

และปรับระดับแรงดันจำกแรงดันตำ่ ให้ เป็ นแรงดันปำนกลำงผ่ำนหม้ อแปลงไฟฟ้ำ

ต่อจำกนัน้

กระแสไฟฟ้ำจะถูกรวบรวมโดยชุดควบคุมและจำหน่ำยกระแสไฟฟ้ำ (Control & Distribution Unit) ก่อนจ่ำยเข้ ำสูร่ ะบบจำหน่ำย ของกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค(PEA grid)

2. การตลาดและการแข่ งขัน ธุรกิจพัฒนาอสั งหาริมทรัพย์

การตลาดและภาวะการแข่ งขัน (ก) การทาการตลาดของผลิตภัณฑ์ และบริการทีส่ าคัญ - การทาการตลาดในปี ทีผ่ ่านมา กำรทำกำรตลำดของบริ ษัท ในปี 2559 ที่ผา่ นมา ได้มีการทาตลาดแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. ออกตลาดโดยเข้า

ร่ วมงานเทคโนโลยีอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั้งในไทยและต่างประเทศ โดยเฉพาะที่ทางสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ออกนโยบาย เส้นทางการเชื่อมโยงทางการค้าใหม่ของจีน หรื อที่เรี ยกว่า “One Belt One Road” ส่งผลให้มีนกั ลงทุนจากทางจีน ขยายการลงทุนมา ไทยมากขึ้น ซึ่งทางบริ ษทั ได้จดั ตั้งทีมงานการตลาดจีน ขึ้นมาดูแลลูกค้าจีนโดยเฉพาะ ทาให้ปัจจุบนั ทางบริ ษทั มีทีมงานดูแลลูกค้า ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าทั้งกลุ่มไทย ยุโรป ญี่ปุ่น และจีน 2. ติดต่อกลุ่มลูกค้าเดิมทั้งรายเดิมและรายใหม่ที่มีแนวโน้มว่าจะขยายการ ลงทุน โดยมุ่งกลุ่มที่ได้รับการส่งเสริ มการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน นอกจากนี้บริ ษทั ได้มีการทาการตลาดด้วยการ จัดหาผลิตภัณฑ์และทาเลที่ต้งั ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า การอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ การให้บริ การระบบ สาธารณูปโภคที่ครบถ้วน โดยเน้นด้านคุณภาพ ความสามารถในการให้บริ การเสริ มที่ครบวงจร การบริ การก่อนและหลังการขาย และการสร้างความสัมพันธ์กบั ลูกค้า เพื่อเป็ นการเสริ มความเชื่อมัน่ และชักจูงผูล้ งทุนทั้งกลุ่มเดิมที่ตอ้ งการขยายกิจการ และนัก ลงทุนใหม่ให้เข้ามาเป็ นลูกค้าของบริ ษทั

-

การเปรียบเทียบกับคู่แข่ งในภาพรวม

เมื่อเปรี ยบเทียบกลยุทธ์ในการแข่งขันที่บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะได้นามาใช้ คือ การให้บริ การด้านระบบ สาธารณูปโภคที่มีคุณภาพได้มาตรฐานและเพียงพอ จึงเป็ นที่พงึ พอใจกับกลุ่มลูกค้าเดิมที่ต้งั อยูภ่ ายในสวนอุตสาหกรรม อาทิเช่น การให้บริ การด้านไฟฟ้า, บริ การด้านน้ าเพื่ออุตสาหกรรมและการบาบัดน้ าเสี ย รวมถึงบริ การให้คาปรึ กษาในด้านต่างๆ เป็ นต้น อีก ทั้งมีการวางแผนการทางานที่เป็ นระบบ และมุ่งเน้นการทางานเพือ่ ให้เกิดประสิ ทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ด้วยองค์ประกอบ เหล่านี้ ทาให้บริ ษทั ฯสามารถแข่งขันกับคู่แข่งรายอื่นๆได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ส่งผลให้บริ ษทั สามารถมีอตั ราการเติบโตทางด้าน ธุรกิจสูงและมีกาไรในสัดส่วนที่เพิม่ มากขึ้น ธุรกิ จพัฒนาที่ ดิน ประเภท เขต/สวนอุตสาหกรรม เป็ นการพัฒนาที่ ดิน โดยมีวตั ถุประสงค์ให้โรงงานอุตสาหกรรมไป ตั้งอยู่ในบริ เวณเดี ยวกันอย่างเป็ นสัดส่ วน ทั้งนี้ รวมถึ งการจัดและพัฒนาสิ่ งอานวยความสะดวกด้านระบบสาธารณู ปโภคและ สาธารณูปการเพื่อให้บริ การแก่ผปู ้ ระกอบการอุตสาหกรรมภายในโครงการ ซึ่ งการดาเนิ นธุ รกิจดังกล่าวเหมือนกับธุรกิจประเภท นิคมอุตสาหกรรม เพียงแต่แตกต่างกันในเรื่ องของความเป็ นเจ้าของโครงการ ซึ่งแบ่งประเภทได้ดงั นี้ 1. นิคมอุตสาหกรรมที่เป็ นเจ้าของและบริ หารงานโดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (“กนอ.”) 2. นิ ค มอุ ต สาหกรรมร่ ว มด าเนิ น งาน ได้แ ก่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมที่ กนอ. ร่ ว มเป็ นเจ้า ของและร่ ว มบริ ห ารงานโดย บริ ษทั เอกชน 3. เขต/สวนอุตสาหกรรม ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมที่เป็ นเจ้าของและบริ หารงานโดยเอกชน

ข้อดีและข้อเสี ยของนิคมอุตสาหกรรมเทียบกับเขต/สวนอุตสาหกรรม มีดงั ต่อไปนี้ นิคมอุตสาหกรรม เขต/สวนอุตสาหกรรม ข้ อดี ข้ อดี 1. เนื่ องจากมีเจ้าของ หรื อร่ วมเป็ นเจ้าของโดยหน่ วยงาน 1. บริ หารงานโดยเอกชน ทาให้มีขอ้ ได้เปรี ยบ ในด้าน ราชการ จึ ง มี ค วามสะดวกในการติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ย การดาเนินงาน และการให้บริ การหลังการขายแก่ลูกค้า ราชการที่ เกี่ ยวข้อง มากกว่าเขต/สวนอุตสาหกรรม ซึ่ ง เมื่ อ เที ย บกั บ นิ คมอุ ต สาหกรรม เพราะสามารถ บริ หารงานโดยเอกชน ดาเนิ น การได้อ ย่า งรวดเร็ ว โดยไม่ ตอ้ งผ่านขั้น ตอน ตามกฎระเบียบของทางราชการ 2. บริ หารงานโดยเอกชน ทาให้มีความยืดหยุ่นในการ ปรับปรุ งและพัฒนาการให้บริ การได้มากกว่า ทาให้ เขต/สวนอุ ต สาหกรรมบางแห่ ง สามารถน าเสนอ รู ปแบบของบริ การที่สามารถตอบสนองความต้องการ ของผูป้ ระกอบการได้ดีกว่า ข้ อเสีย ข้ อเสีย 1. ขั้น ตอนการอนุ ม ัติ แ บบและระบบต่ า งๆ รวมทั้ง การ 1. เนื่ องจากมีเจ้าของเป็ นเอกชนจึงอาจมีความสะดวกใน ให้บริ การหลังการขายของโครงการอาจล่าช้า เนื่ องจาก การติดต่อกับหน่ วยราชการที่ เกี่ ยวข้องน้อยกว่านิ คม ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของทางราชการ อุต สาหกรรมซึ่ ง มี เจ้า ของ หรื อร่ ว มเป็ นเจ้าของเป็ น หน่วยงานราชการ

31

32

28

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

29


นอกจากนี้ยงั มีธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรพื้นที่ให้กบั โรงงานอุตสาหกรรม แต่มีสิ่งอานวยความสะดวก และสิ ทธิ ประโยชน์ไม่เท่ากับนิคมอุตสาหกรรม และเขต/สวนอุตสาหกรรม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. เขตประกอบการอุตสาหกรรม จัดตั้งโดยได้รับการอนุมตั ิตามมาตรา 30 แห่ ง พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 ดาเนิ นงาน โดยจัดสรรที่ดินในโครงการสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม โดยทัว่ ไปนั้น เมื่อเขตประกอบการอุตสาหกรรมได้รับการอนุมตั ิให้จดั ตั้ง แล้ว โรงงานต่างๆ ที่จะตั้งในเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไม่ตอ้ งขออนุญาตตั้งโรงงาน ซึ่ งเขตประกอบการอุตสาหกรรมส่ วน ใหญ่ เมื่ อขออนุ ญาตจัดตั้งได้แล้วก็จะขอรั บการส่ งเสริ มการลงทุนด้วย อย่างไรก็ดีการดาเนิ นการในรู ปของเขตประกอบการ อุตสาหกรรมมีขอ้ จากัด เนื่องจากต้องอยูใ่ นหลักเกณฑ์ตามประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่ อง มาตรการการสนับสนุนสาหรับ อุตสาหกรรมเป้ าหมาย วันที่ 1 พฤศจิกายน 2539 (ปรับปรุ งใหม่วนั ที่ 10 มีนาคม 2540) ซึ่ งส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเพียงบางประเภท ดังนั้นหากผูป้ ระกอบการที่จะขอจัดตั้งเขตประกอบการอุตสาหกรรม ดาเนิ นกิจการที่ ไม่อยู่ในขอบข่ายดังกล่าวก็ไม่สามารถที่จะ จัดตั้งได้ 2. เขตคลังสิ นค้าทัณฑ์บน จัดตั้งโดยอาศัยเขตอุตสาหกรรมซึ่ งได้รับการอนุมตั ิตามมาตรา 30 แห่ ง พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่ งแต่เดิ มนั้นไม่ได้มีการจากัดประเภทอุตสาหกรรม หรื อมี กองทุ นซ่ อมสร้ างในเขตประกอบการ ต่อมา ภายหลังจากที่ กระทรวงอุตสาหกรรมได้มีประกาศอุตสาหกรรม เรื่ อง มาตรการการสนับสนุนอุตสาหกรรมเป้ าหมาย เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2539 (ปรั บ ปรุ ง ใหม่ วนั ที่ 10 มี น าคม 2540) โดยกาหนดกลุ่มสิ นค้า ที่ จ ะได้รั บการส่ ง เสริ ม อุตสาหกรรมไว้ ทาให้เขตประกอบการ อุตสาหกรรมรายใหม่ตอ้ งดาเนิ นการภายใต้ประกาศดังกล่าว และมีสภาพเป็ นเขตคลังสิ นค้าทัณฑ์บนที่ ปลอดจากภาระภาษีอากร โดยได้รับการส่ งเสริ มการลงทุ นจากคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุ น ซึ่ งมี ลกั ษณะคล้ายเป็ น Free Trade Zone หรื อ เขต อุตสาหกรรมส่งออกในนิคมอุตสาหกรรม 3. ชุมชนอุตสาหกรรม ดาเนินงานภายใต้การดูแลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ประโยชน์เพิ่มเติมด้านอื่น ๆ ทั้งนี้ บริ ษทั ฯมีขอ้ ได้เปรี ยบเมื่อเทียบกับนิคมอุตสาหกรรมอื่น ๆ ดังนี้ 1. ทาเลที่ต้ งั ของโครงการ เป็ นทาเลที่มีศกั ยภาพในการพัฒนาและการขยายตัวทางเศรษฐกิจสู งเนื่ องจากโครงการทั้ง 6 ตั้งอยู่ บนถนนที่เอื้ออานวยต่อการคมนาคมขนส่งไปยังภูมิภาคต่างๆ โดย - โครงการที่ จงั หวัดพระนครศรี อยุธยา ตั้งอยู่ถนนโรจนะ(ทางหลวงหมายเลข 309) เชื่ อมต่อกับถนนสาย เอเชี ย(ทางหลวงหมายเลข 32) และถนนพหลโยธิ น (ทางหลวงหมายเลข 1) ใช้เวลาเดิ นทางกรุ งเทพฯ ประมาณ 45 นาที เชื่อมต่อเส้นทางขนส่งสายเหนือและสายอีสานได้สะดวก - โครงการที่จงั หวัดระยอง 1 (อาเภอบ้านค่าย) ตั้งอยูต่ าบลหนองบัว อาเภอบ้านค่าย บนถนนบ้านค่าย-บ้าน บึ ง(ทางหลวงหมายเลข 3138) การเดิ นทางจากกรุ งเทพฯใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมงครึ่ ง อยู่ใกล้ตวั เมือง ระยอง และอยูห่ ่างจากท่าเรื อมาบตาพุด เพียง 30 กิโลเมตร - โครงการที่จงั หวัดระยอง 2 (อาเภอปลวกแดง) ตั้งอยูต่ าบลมาบยางพร อาเภอปลวกแดง(ทางหลวงหมายเลข 2015) การเดิ นทางจากกรุ งเทพฯใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง คมนาคมสะดวกอยูห่ ่ างจากท่าเรื อมาบตาพุด เพียง 30 กิโลเมตร และอยูห่ ่างจากท่าเรื อแหลมฉบังเพียง 50 กิโลเมตร - โครงการที่จงั หวัดปราจีนบุรี ตั้งอยูท่ ี่ตาบลหัวหว้า อาเภอศรี มหาโพธิ บนถนนฉะเชิงเทรา-กบินทร์ บุรี(ทาง หลวงหมายเลข 304) การเดินทางจากกรุ งเทพฯใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง ตั้งอยูบ่ นเส้นทาง Southern GMS Corridors คมนาคมเชื่อมต่อในภูมิภาคอาเซียนได้สะดวก

33

30

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

โครงการที่จงั หวัดชลบุรี 1 (บ่อวิน) ตั้งอยู่ตาบลบ่อวิน อาเภอศรี ราชา บนถนนสัตหี บ-พนมสารคาม (ทาง หลวงหมายเลข 331) การเดินทางจากกรุ งเทพฯใช้เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง อยูห่ ่างจากท่าเรื อแหลมฉบังเพียง 26 กิโลเมตร - โครงการที่จงั หวัดชลบุรี 2 (แหลมฉบัง) ตั้งอยูต่ าบลตะเคียนเตี้ย อาเภอบางละมุง บนถนนมอเตอร์ เวย์ (ทาง หลวงหมายเลข 7) การเดินทางจากกรุ งเทพฯใช้เวลาประมาณ 1.30 ชัว่ โมง อยูห่ ่างจากท่าเรื อแหลมฉบังเพียง 9 กิโลเมตร 2. คุณภาพในการพัฒนาโครงการ ระบบสาธารณู ปโภคของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่ องเกี่ ยวกับการผลิต ไฟฟ้ าและไอน้ า การผลิ ตน้ าเพื่ออุตสาหกรรม การบริ การบาบัดน้ าเสี ยอย่างมีคุณภาพมาตรฐานและเพียงพอต่อความ ต้องการ ระบบการกาจัดขยะทัว่ ไปและขยะอุตสาหกรรม ระบบการควบคุมมาตรฐานอากาศ ระบบการจราจร เป็ นต้น โดยโครงการทั้งหมดมีการคานึงถึงคุณภาพสิ่ งแวดล้อมและสังคมของคนที่อยูอ่ าศัยทั้งในและนอกโครงการ 3. บริ การสาธารณะภายในโครงการ ได้จดั ให้มีการให้บริ การในด้ านสถานพยาบาล ธนาคารพาณิ ชย์ ร้ านอาหาร ร้ าน สะดวกซื้อและร้านค้าอื่น ๆ พร้อมลานจอดรถและมีการจัดการจราจรเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผมู ้ าใช้บริ การ 4. การบริ การก่อนและหลังการขาย บริ ษทั ฯมุ่งเน้นในเรื่ องการบริ การทั้งก่อนและหลังการขาย โดยยึดหลักว่า “การบริ การ คือหัวใจของการขาย” เริ่ มตั้งแต่การจัดตั้งบริ ษทั การขอใบอนุญาตต่างๆ กับทางราชการหรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การให้ ความรู ้ในเรื่ องพิธีการต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการ การติดต่อการขอรับการส่ งเสริ มจากสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ ม การลงทุน ตลอดจนให้คาแนะนา ตรวจสอบเกี่ยวกับระบบระบายน้ าเสี ยและระบบบาบัดน้ าเสี ยเบื้องต้น เพื่อให้เป็ นไปตาม มาตรฐานที่กาหนด -

- ลักษณะลูกค้ า

กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่ เป็ นนักลงทุนชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักลงทุนประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และนักลงทุนจาก ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ยงั มีกลุม่ นักลงทุนจากประเทศในแถบเอเชีย เช่น ประเทศสิ งค์โปร์ ประเทศมาเลเซีย และอินเดีย เป็ นต้น โดยผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ดาเนินธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนอิเลคทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่ องดื่ม อุตสาหกรรมพลังงาน อุตสาหกรรมการขนส่งและระบบโลจิสติก

- กลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย

กลุ่มลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่สนใจลงทุนซื้อที่ดินเพื่อจัดตั้งโรงงานและคลังสิ นค้าในเขตอุตสาหกรรมใน จังหวัดพระนครศรี อยุธยา, จังหวัดระยอง, จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดชลบุรี

- การจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ าย

บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ เน้นช่องทางจัดจาหน่ายทางตรง คือ การให้ทีมงานขายของบริ ษทั นาเสนอขายแก่ลูกค้ากลุ่ม เดิมที่ทางบริ ษทั ฯดูแลอยูแ่ ล้ว และลูกค้ากลุ่มใหม่ที่เพิ่งติดต่อเข้ามายังบริ ษทั ฯ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มลูกค้าที่มีความต้องการที่จะ ย้ายฐานการผลิตหรื อขยายกาลังการผลิตเข้ามาในพื้นที่ ปั จจุบนั บริ ษทั ฯมีตวั แทนจัดจาหน่ายที่ดินให้แก่นกั ลงทุนชาวญี่ปุ่น ซึ่งถือ เป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั ฯ คือ Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation (“สึ มิกิน”) นอกจากนี้บริ ษทั ยังมีทีมงานขาย ของบริ ษทั เองอีกส่วนหนึ่งเพื่อทาการตลาดเพิ่มเติม

- สั ดส่ วนการจาหน่ ายในประเทศและต่ างประเทศ

สาหรับปี ที่ผา่ นมา ลูกค้าได้เข้ามาทาสัญญาซื้อขายที่ดินเป็ นจานวน 210 ไร่ และบริ ษทั ได้โอนกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินให้กบั ลูกค้าเป็ นจานวน 405 ไร่ โดยนักลงทุนส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นนักลงทุนจากต่างประเทศซึ่งมีสดั ส่วนมากกว่า 90% จากการย้ายหรื อ ขยายฐานการผลิตมายังประเทศไทย และจากการที่ไทยมีนโยบายส่งเสริ มการลงทุนให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีและทางสิ ทธิดา้ นอื่น ๆ แก่นกั ลงทุน จากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน 34

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

31


- ชื่ อประเทศหรื อกลุ่มประเทศทีจ่ าหน่ ายผลิตภัณฑ์

ประเทศที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากที่สุดคือประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และนักลงทุนจากประเทศญี่ปนุ่ เนื่องจากประเทศจีนมีนโยบายส่งเสริ มนักลงทุนจีนให้ไปลงทุนต่างประเทศ ทาให้นกั ลงทุนจากประเทศจีนขยายฐานการผลิตมายัง ประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งประเทศไทยเป็ นหนึ่งในสถานที่ที่นกั ลงทุนจีนให้ความสาคัญ

- การพึง่ พิงลูกค้ าหรื อผู้จัดจาหน่ ายรายใดทีม่ ีบทบาทสาคัญต่ อการอยู่รอดของบริษัท (ดูหวั ข้อ ปั จจัยความเสี่ ยง)

(ข) ภาวะการแข่ งขัน - สภาพการแข่ งขันในอุตสาหกรรม

บริ ษทั ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทเขต/สวนอุตสาหกรรม ซึ่งผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ได้แก่ ที่ดิน เพื่อใช้ใน การจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรม พร้อมทั้งบริ การทางด้านระบบสาธารณูปโภค รวมทั้งสิ่ งอานวยความสะดวกเพื่อให้บริ การแก่ ผูป้ ระกอบการที่เข้ามาลงทุนจัดตั้งโรงงานในเขต/สวนอุตสาหกรรม โดยมีวตั ถุประสงค์ให้โรงงานอุตสาหกรรมไปตั้งอยูใ่ นบริ เวณ เดียวกันอย่างเป็ นสัดส่วน ทั้งนี้รวมถึงการจัดและพัฒนาสิ่ งอานวยความสะดวกด้านระบบสาธารณูปโภคเพื่อให้การบริ การแก่ ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมภายในโครงการ ซึ่งการดาเนินธุรกิจดังกล่าวเหมือนกับธุรกิจประเภทนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจากการวิเคราะห์เกี่ยวกับคู่แข่งขันทั้งหมดที่มีอยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน ทั้งขนาดของคู่แข่งขัน ส่วนแบ่งการตลาด กล ยุทธ์ของคู่แข่งขัน และรวมถึงสภาพเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อการแข่งขัน พบว่าทางบริ ษทั ยังมีความได้เปรี ยบทั้งในด้านขนาด ความคล่องตัวในการบริ หารงาน รวมถึงประสบการณ์และความเข้าใจในธุรกิจ

- แนวโน้ มภาวะอุตสาหกรรมและสภาพการแข่ งขันในอนาคต

สถานการณ์เศรษฐกิจโลกและการบริ โภคในประเทศไทยในปี 2559 ยังคงชะลอตัว การลงทุนที่ได้รับการอนุมตั ิการ ส่งเสริ มการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน (BOI) พบว่าใน 9 เดือนแรกของปี 2559 มีจานวนทั้งสิ้น 1,302 โครงการ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนที่มีจานวน 1,769 โครงการ แนวโน้มปี 2560 จากการที่คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาพื้นที่ใน เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (คนพ.) ได้ให้ความเห็นชอบร่ างแผนพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (พ.ศ.2560-2564) ประกอบด้วย 173 โครงการ วงเงินลงทุนรวม 712,645.23 ล้านบาท ซึ่งประกอบไปด้วยจังหวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา ส่งเสริ มให้เกิดการขยายการลงทุนทั้งจากในและต่างประเทศ ซึ่งทางบริ ษทั มีพ้นื ที่เขต/สวนอุตสาหกรรมรองรับ 4 โครงการ ใน 2 จังหวัด คือ โครงการระยอง อาเภอบ้านค่ายและ อาเภอ ปลวกแดง, โครงการชลบุรี ที่บ่อวินและแหลมฉบัง

- สถานภาพและศักยภาพในการแข่ งขัน

ด้วยการมุ่งเน้นคุณภาพและการบริ การ การวางแผนการทางานที่เป็ นระบบเพื่อให้เกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลสูงสุด ด้วยนโยบายและพันธกิจด้านการพัฒนาและจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า การสร้าง ระบบสาธารณูปโภคที่มีมาตรฐานและคุณภาพระดับโลก การประสานงานและการให้บริ การก่อนและหลังการขายที่เน้นการให้ ข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและสมบูรณ์ อีกทั้งยังคานึงถึงการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อมและคุณภาพชีวติ ทาให้บริ ษทั ฯมีศกั ยภาพ สามารถ แข่งขันกับคู่แข่งรายอื่นๆได้อย่างมีประสิ ทธิภาพเห็นได้ชดั จากผลการดาเนินงานของบริ ษทั ที่ผา่ นมา 20 กว่าปี ที่มีการขยายการ พัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ทั้งในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา , จังหวัดระยอง, จังหวัดปราจีนบุรี และโครงการใหม่ที่จงั หวัดชลบุรี

- ชื่ อคู่แข่ งขัน (กรณีมีค่ ูแข่ งขันรายเดียวหรื อน้ อยราย) (ดูหวั ข้อ การเปรี ยบเทียบกับคู่แข่งในภาพรวม)

35

32

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

3 การจัดหาผลิตภัณฑ์ หรื อบริการ

ที่ดิน จัดเป็ นวัตถุดิบที่สาคัญของธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ประเภทเขต/สวน บริ ษทั ฯมีนโยบายในการถือครองที่ดิน ในแต่ละช่วงเวลาเป็ นจานวนไม่มากนักตามแผนงานขายและการลงทุน เพื่อลดภาระดอกเบี้ยอันอาจจะเกิดขึ้นจากการสะสมที่ดิน จานวนมาก ซึ่งยังไม่มีโครงการรองรับ ยกเว้นในกรณี ที่ที่ดินเป็ นผืนใหญ่ติดกันและมีราคาถูกมากๆ หากในช่วงใด ความต้องการซื้อ ที่ดินในเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ สูงกว่าที่บริ ษทั ได้ต้ งั ประมาณการไว้ บริ ษทั จะจัดซื้อที่ดินที่อยูบ่ ริ เวณรอบโครงการของบริ ษทั เพิ่มเติมผ่านนายหน้าซื้อขายที่ดิน ซึ่งมีประสบการณ์และมีความสามารถในการเจรจาต่อรองสูง โดยมีการกาหนดราคาเป้ าหมายที่ ต้องการสาหรับที่ดินแต่ละแปลงเอาไว้ เพื่อป้ องกันการซื้อที่ดินในราคาที่สูงเกินไปจนอาจส่งผลกระทบต่อรายได้และกาไรของ บริ ษทั

(ก) ลักษณะการจัดให้ ได้ มาซึ่งผลิตภัณฑ์ - การผลิต (จานวนโรงงาน/ กาลังการผลิตรวม)

ในการพัฒนาโครงการเขต/สวนอุตสาหกรรม บริ ษทั จะต้องจัดเตรี ยมที่ดินจานวน ไม่ต่ากว่า 500 ไร่ โดยมีหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาซื้อที่ดิน ได้แก่ ทาเลที่ต้งั แหล่งน้ า ระบบสาธารณูปโภค นโยบายและข้อกาหนดต่าง ๆ ของภาครัฐบาล ทาการออกแบบ และวางผังโครงการ ศึกษาผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม แล้วจึงก่อสร้างและพัฒนาโครงการ ในระยะที่ผา่ นมาบริ ษทั ได้วา่ จ้างบริ ษทั ผูร้ ับเหมาจากประเทศไทย ซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการออกแบบและการก่อสร้างโครงการพร้อมทั้งได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO นอกจากบริ ษทั ดาเนินธุรกิจในการจัดตั้งโรงงานให้กบั ผูป้ ระกอบการโดยมีผลิตภัณฑ์ คือ ที่ดิน เป็ นหลักแล้ว บริ ษทั ยังมีระบบ สาธารณูปโภคและสิ่ งอานวยความสะดวกให้กบั ผูป้ ระกอบการ ที่เข้ามาดาเนินธุรกิจในพื้นที่ ที่ได้จดั ตั้งไว้ ดังนี้ 1. ระบบถนน ถนนในเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ มีความแข็งแรงและทนทาน โดยบริ ษทั ได้ออกแบบให้ถนนหลักเป็ น ถนน 4 ช่องทาง เขตทางไม่นอ้ ยกว่า 30 เมตร ผิวจราจรไม่นอ้ ยกว่า 14 เมตร มีเกาะกลางถนนและทางเท้าไม่นอ้ ยกว่า 2เมตรต่อข้าง นอกจากนี้มีผิวทางหรื อไหล่ทางกว้างเพียงพอที่จะให้รถยนต์จอดฉุกเฉิ น ในส่วนถนนสายรอง ผิวจราจรไม่นอ้ ยกว่า 8.50 เมตร ไหล่ถนนไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตรต่อข้าง 2. ระบบนา้ ใช้ จัดให้มีระบบน้ าเพือ่ อุตสาหกรรม รองรับความต้องการของลูกค้าอย่างเพียงพอของแต่ละโครงการ 3. ระบบไฟฟ้ า จัดให้มีระบบไฟฟ้ารองรับ ทั้งบริ ษทั โรจนะเพาเวอร์, บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จีและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดย การจ่ายไฟฟ้าผ่านสถานีไฟฟ้าย่อยของ กฟภ. ซึ่งตั้งอยูบ่ ริ เวณเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ 4. ระบบการระบายนา้ และระบบบาบัดนา้ เสียและขยะ ตามมาตรฐานของเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะน้ าเสี ยจากโรงงาน อุตสาหกรรมจะถูกปล่อยลงสู่โรงบาบัดน้ าเสี ยของส่วนกลาง ซึ่งมีกาลังการผลิตเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า สาหรับการ กาจัดขยะจากโรงงานอุตสาหกรรมนั้น บริ ษทั ให้บริ การกับลูกค้า โดยจัดให้มีรถบรรทุกออกไปจัดเก็บขยะที่ลูกค้ารวบรวมไว้ใน สวนอุตสาหกรรมโรจนะ 5. สิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆ สิ่ งอานวยความสะดวกอื่นๆ ภายในเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ได้แก่ อพาร์ตเมนต์ อาคาร พาณิ ชย์ ร้านค้า ภัตตาคาร และธนาคาร 6. ระบบบริการก่ อนและหลังการขาย 1. บริการก่อนการขาย ได้แก่ การให้บริ การแก่ผลู ้ งทุนในทุกๆ ด้านที่เกี่ยวกับการลงทุนในประเทศไทย หรื อในเขต/สวน อุตสาหกรรมของบริ ษทั รวมทั้งการให้คาปรึ กษาในการยืน่ ขอรับการส่งเสริ มการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน 2. บริการหลังการขาย ได้แก่ การอานวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าในการให้ความช่วยเหลือในการติดต่อกับหน่วยงาน ราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การยืน่ ขอรับการส่งเสริ มการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน การขอใบอนุญาต ก่อสร้างโรงงานและการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน เป็ นต้น 36

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

33


(ข) ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อมจากกระบวนการผลิตหรื อการกาจัดวัตถุดิบเหลือใช้

- การดาเนินการเพื่อลดผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้ อม บริ ษทั ตั้งเป้ าการดูแลสิ่ งแวดล้อมและการมีส่วนร่ วมตอบแทนสร้างสรรค์สงั คม เริ่ มจากการปฏิบตั ิตามมาตรการป้ องกัน แก้ไข และควบคุมผลกระทบสิ่ งแวดล้อม โดยบริ ษทั ได้กาหนดเป็ นภารกิจของพนักงานทุกคนในทุกหน่วยงานที่จะต้องดูแล สิ่ งแวดล้อม โดยป้ องกันผลกระทบที่เกิดในทุกส่วนงาน โดยบริ ษทั ให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรเพื่อให้สามารถดาเนินการอย่างมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล พร้อมทั้งมีการควบคุมและตรวจติดตามจากหน่วยงานจัดการสิ่ งแวดล้อมภายในบริ ษทั ฯ ตลอดจน รายงานกิจกรรมและทบทวนการจัดการสิ่ งแวดล้อมในการประชุมผูบ้ ริ หาร

4. งานทีย่ ังไม่ ได้ ส่งมอบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีภาระผูกพันที่จะต้องส่ งมอบพื้นที่โครงการให้กบั ลูกค้าที่ชาระเงินแล้ว แต่ยงั ไม่ ดาเนิ นการโอนคิดเป็ นพื้นที่ 288 ไร่ เนื่ องจากยังชาระเงินไม่ครบ และในจานวนนี้ มีพ้ืนที่ 43 ไร่ ที่ ชาระครบแล้วแต่ยงั ไม่ได้โอน กรรมสิ ทธิ์

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน ภาพรวมของธุรกิจผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้ า ภาพรวมของธุรกิจผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้ า

ธุรกิจผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้ าและไอนา้ ลักษณะผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หลักของ โรจนะเพำเวอร์ ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัท คือ ไฟฟ้ำ ปั จจุบนั โรจนะเพำเวอร์ มีกำลังกำรผลิต ไฟฟ้ำทังสิ ้ ้น 390 เมกะวัตต์ ซึ่งขำยให้ กบั กฟผ. 180 เมกะวัตต์(ในรู ปแบบสัญญำ SPP-Firmจำนวน 2 สัญญำ) ส่วนที่เหลือขำย ให้ กบั โรงงำนเอกชนที่ตงอยู ั ้ ่ภำยในสวนอุตสำหกรรมโรจนะจังหวัดพระนครศรี อยุธยำ และผลิตภัณฑ์หลักของ โรจนะเอ็นเนอร์ จี จำกัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยของบริ ษัท คือ ไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ มีโครงกำรทังสิ ้ ้น 3 โครงกำร โครงกำรละ 8 เมกะวัตต์ รวม 24 เม กะวัตต์ ซึง่ ขำยให้ กบั กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคทังหมดตำมระเบี ้ ยบกำรรับซื ้อไฟฟ้ำจำกผู้ผลิตไฟฟ้ำขนำดเล็กมำก และสัญญำมีอำยุ 5 ปี โดยกำรต่ออำยุสญ ั ญำอัตโนมัติทกุ ๆ 5 ปี ลักษณะและกระบวนการผลิตของโรงไฟฟ้ า ปั จจุบนั โรงไฟฟ้าของ บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ มีกาลังไฟฟ้า 390 เมกะวัตต์ และไอน้ าซึ่ งมีกาลังการผลิต125 ตันต่อชัว่ โมง (ทั้งนี้ไม่นบั รวมกาลังการผลิตของโรงไฟฟ้าโครงการ 3 ที่กาลังก่อสร้างและคาดว่าจะแล้วเสร็ จในปี 2560 อีก 108 เมกะวัตต์) โดยมี บริ ษทั ออปอเรชัน่ แนล เอ็นเนอร์ยี่ กรุ๊ ป จากัน (“OEG”) เป็ นผูด้ าเนินการและบารุ งรักษาโรงไฟฟ้าทั้งหมด ปั จจุบนั บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ เป็ นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่ วม(Cogeneration Power Plant) ในกระบวนการผลิตไฟฟ้า และไอน้ า ซึ่งประกอบด้วย กังหันก๊าซและเครื่ องกาเนิดไฟฟ้า(Gas Turbine and Gas Turbine Generator) ขนาด 42 เมกะวัตต์ จานวน 7 ชุด และกังหันไอน้ าและเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้า(Steam Turbine and Steam Turbine Generator) ที่มีขนาด 38 เมกะวัตต์ จานวน 1 ชุด กับขนาด 30 เมกะวัตต์ จานวน 1 ชุด และขนาด 22 เมกะวัตต์อีก จานวน 1 ชุด โดยใช้ก๊าซธรรมชาติจาก ปตท. เป็ นเชื้อเพลิงผ่าน

ปั จจัยสาคัญที่มีผลกระทบต่ อโอกาสหรือข้ อจากัดในการประกอบธุรกิจ 1. สิ ทธิประโยชน์ในการประกอบธุรกิจ โรจนะเพาเวอร์ ได้รับบัตรส่งเสริ มการลงทุนจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุน ดังนี้ 1.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1103(2)/2548 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่7กุมภาพันธ์2548 2.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1060(2)/2550อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 31มกราคม2550 3.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 4021/2555 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 15 มีนาคม2555 4.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 4022/2556 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 15 มีนาคม2555 5.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1444(2)/2554 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 12เมษายน 2553 6.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 1066(2)/2554 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 18 มกราคม 2554 7.บัตรส่งเสริ มเลขที่ 5161(2)/2556 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 14 สิ งหาคม 2556 8. บัตรส่งเสริ มเลขที่ 5060(2)/2556 อนุมตั ิการส่งเสริ มลงวันที่ 14 สิ งหาคา 2556 โดยสิ ทธิประโยชน์ในการประกอบธุรกิจตามบัตรส่งเสริ มการลงทุนข้างต้น เช่น การได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับ เครื่ องจักร โดยต้องนาเข้าภายในระยะเวลาที่กาหนด การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้จาก การประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริ มมีกาหนด 8 ปี นับจากวันเริ่ มมีรายได้ โดยสิ ทธิ ประโยชน์ในการประกอบธุ รกิ จตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุ นข้างต้น เช่น การได้รับยกเว้นอากรขาเข้าสาหรั บ เครื่ องจักร โดยต้องนาเข้าภายในระยะเวลาที่ กาหนด การได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับกาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบ กิจการที่ได้รับการส่งเสริ มมีกาหนด 8 ปี นับจากวันเริ่ มมีรายได้ 2 การตลาดและภาวะการแข่ งขัน ภาพรวมของธุรกิจผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้ า การดาเนินการผลิตและส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย กฟผ. จัดตั้งขึ้น ตามพระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2511 มีอานาจหน้าที่ในการจัดหาพลังงาน ไฟฟ้าให้แก่ประชาชน โดยการผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้านครหลวง (“กฟน.”) การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค (“กฟภ.”) และ ผูใ้ ช้ไฟฟ้ารายอื่น ตามที่กฏหมายกาหนดและดาเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านไฟฟ้า ในปั จจุบนั ระบบผลิตไฟฟ้าส่วนใหญ่และระบบส่ งไฟฟ้าทั้งหมดของประเทศไทย อยูใ่ นความดูแลของ กฟผ. ส่ วนระบบ จาหน่ายไฟฟ้าและการบริ การค้าปลีกนั้น อยู่ในความดูแลของ กฟน. และ กฟภ. เท่านั้น โดย กฟผ. ทาการผลิตและส่ งไฟฟ้าเกือบ ทั้งหมดเพื่อขายให้แก่ กฟน. และ กฟภ. เพื่อจัดจาหน่ายให้แก่ผใู ้ ช้ต่อไป โดยที่ กฟน. จะรับผิดชอบการจัดจาหน่ายไฟฟ้า ให้แก่ผใู ้ ช้ ไฟฟ้าในเขตกรุ งเทพฯ นนทบุรี และ สมุทรปราการ ส่วน กฟภ. รับผิดชอบในเขตจังหวัดอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมดของประเทศ จากอัตราการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ วของความต้องการใช้ไฟฟ้าในประเทศไทย ทาให้กาลังการผลิตติดตั้งไฟฟ้ารวมจาก โรงไฟฟ้าของ กฟผ. เพียงอย่างเดียวไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการใช้ไฟฟ้าภายในประเทศได้ รัฐบาลจึงได้ให้เอกชนเข้ามา มีส่วนร่ วมในการให้บริ หารในส่วนของระบบผลิตผ่านโครงการผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer :SPP) และผูผ้ ลิตไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ (Independent Power Producer:IPP) ซึ่ งจะทาการผลิตไฟฟ้าขายให้แก่ กฟผ. เพื่อขายต่อให้แก่ กฟน. และ กฟภ. ต่อไป การส่งเสริ มการผลิตไฟฟ้าภาคเอกชนนี้ เป็ นการเพิ่มกาลังการผลิตไฟฟ้ารวมภายในประเทศ อีกทั้งเป็ นการช่วยแบ่งเบาภาระ ทางด้านการลงทุนของรัฐในระบบการผลิตและระบบจาหน่ายไฟฟ้า นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีการรับซื้ อไฟฟ้ าจากประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว และ สหพันธรัฐมาเลเซีย

ระบบท่อส่งก๊าซใต้ดิน 37

34

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

38

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

35


การรับซื้อไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็ก ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายสนับสนุนให้เอกชนเข้ามามีบทบาทและร่ วมลงทุนในการผลิตไฟฟ้าและจาหน่ายไฟฟ้าทั้งใน รู ปแบบ ผูผ้ ลิตรายเล็ก (SPP) และผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน (IPP) นั้น คณะกรรมการนโยบายและพลังงานแห่งชาติ ได้พิจารณาเห็นว่าการ ผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงานนอกรู ปแบบ กากหรื อเศษวัสดุเหลือใช้เป็ นเชื้อเพลิง และการผลิตไฟฟ้าระบบพลังความร้อนร่ วมเป็ นการ ใช้พลังงานนอกรู ปแบบและต้นพลังงานพลอยได้ในประเทศ ให้เกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้นอีกทั้งเป็ นการช่วยแบ่งเบาภาระทางด้านการ ลงทุนของรัฐในระบบการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้า ดังนั้นเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2535 คณะรัฐมนตรี มีการออกระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กที่ผลิตไฟฟ้าโดย ใช้พลังงานนอกรู ปแบบ กากหรื อเศษวัสดุเหลือใช้เป็ นเชื้อเพลิง และจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าในระบบพลังงานความร้อนร่ วม (Cogeneration) โดย กฟผ. จะรับซื้อไฟฟ้าที่ผลิตได้ไม่เกิน 90 เมกะวัตต์จากผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กแต่ละราย ส่วนที่เหลือผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กสามารถ นาไปจาหน่ายให้กบั โรงงานอุตสาหกรรมภาคเอกชนอื่นๆ ได้ วัตถุประสงค์ของการรับซื้อไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตรายเล็กได้แก่  เพื่อส่งเสริ มให้ผผู ้ ลิตรายเล็กเข้ามามีส่วนร่ วมในการผลิตไฟฟ้า  เพื่อส่งเสริ มให้มีการใช้ตน้ พลังงานพลอยได้ ในประเทศและพลังงานนอกรู ปแบบในการผลิตไฟฟ้า  เพื่อส่งเสริ มให้มีการใช้ตน้ พลังงานในการผลิตไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์มากยิง่ ขึ้น  เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระทางด้านการลงทุน ของรัฐในระบบการผลิตและระบบจาหน่ายไฟฟ้า กฟผ. มีการทาสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับผูผ้ ลิตรายเล็ก โดยมีประเภทของสัญญา 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท Firm ซึ่งเป็ นสัญญาซื้อขายไฟฟ้า 20-25 ปี และประเภท Non-Firm ซึ่งเป็ นสัญญาซื้อขายไฟฟ้าอายุ 5 ปี นโยบายและลักษณะการตลาด โรจนะเพาเวอร์ ดาเนินธุรกิจภายใต้โครงการผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer) โดยมีนโยบายผลิตไฟฟ้าเพื่อ จาหน่ายให้กบั กฟผ. และโรงงานอุตสาหกรรมในเขตสวนอุตสาหกรรมโรจนะเท่านั้น โดยการซื้อขายมีการตกลงทาเป็ นสัญญา ระยะยาว ในการจาหน่ายไฟฟ้าให้กบั กฟผ. นั้นโรจนะเพาเวอร์ได้ทาสัญญาซื้อขายโดยตรงกับ กฟผ. ณ 19 ธันวาคม 2540 ระยะเวลา ตามสัญญา 25 ปี นับแต่วนั เริ่ มต้นซื้อขายไฟฟ้า (ในปี 2542) โดย กฟผ. ตกลงซื้อพลังงานไฟฟ้า ในปริ มาณ 90 เมกะวัตต์ (“พลังงานไฟฟ้าตามสัญญา) ที่ระดับแรงดันไฟฟ้า 115 กิโลโวลท์ และมีคุณภาพตามสัญญา ณ จุดรับซื้อไฟฟ้าที่สถานีไฟฟ้าย่อย ภายในเขต/สวนอุตสาหกรรมโรจนะ อาเภออุทยั จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ส าหรั บ การจ าหน่ า ยไฟฟ้ า และไอน้ าให้ แ ก่ โ รงงานอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ในเขตสวนอุ ต สาหกรรมโรจนะ จัง หวัด พระนครศรี อยุธยานั้น โรจนะเพาเวอร์ ทาสัญญาซื้อขายโดยตรงกับลูกค้า โดยมีการกาหนด อายุของสัญญาซื้ อขาย ปริ มาณพลังงาน ไฟฟ้าตามสัญญา ปริ มาณพลังงานไฟฟ้าสู งสุ ดรายปี ที่ผซู ้ ้ื อไฟฟ้า ต้องใช้หรื อซื้ อ และปริ มาณไฟฟ้าขั้นต่ารายปี ที่ผซู ้ ้ื อไฟฟ้าต้องใช้ หรื อซื้อ โรจนะเพาเวอร์ มี นโยบายสร้างจุดขาย โดยเน้นในเรื่ องการมีเสถียรภาพในการผลิตและจ่ ายไฟฟ้ า (Plant Reliablilty) เพื่อให้ลูกค้ามีความมัน่ ใจในคุณภาพและความสามารถในการส่ งมอบไฟฟ้าให้แก่ลูกค้าได้ตามปริ มาณที่กาหนดอย่างสม่าเสมอ ซึ่ ง ช่วยลดผลกระทบโดยตรงที่อาจเกิดขึ้นในกระบวนการผลิตสิ นค้าของลูกค้าได้ ภาวะการแข่ งขัน นอกจาก กฟผ. ซึ่ งเป็ นผูผ้ ลิตและจาหน่ายไฟฟ้าหลักของประเทศไทยแล้วปั จจุบนั ยังมีผปู ้ ระกอบกิจการผลิตไฟฟ้าหลาย ราย ได้แก่ ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายใหญ่ ผูผ้ ลิตไฟฟ้ าเอกชนรายเล็ก โดยภาครัฐบาลได้พยายามส่ งเสริ มให้ภาคเอกชนได้เข้ามามี บทบาทในการผลิตไฟฟ้าเพื่อขายภายในประเทศมากขึ้น นอกจากนี้ยงั มีผผู ้ ลิตไฟฟ้าจากต่างประเทศ โดย กฟผ. จะเป็ นผูร้ ับซื้ อไฟฟ้า ที่ผลิตได้เกือบทั้งหมดผ่านสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาวที่จดั ทาขึ้น ระหว่างผูผ้ ลิตไฟฟ้ากับ กฟผ. 39

36

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

การจัดให้ ได้ มาซึ่งผลิตภัณฑ์ เพื่อจาหน่ าย วัตถุดิบหลักที่ ใช้ในการผลิ ตไฟฟ้ า ได้แก่ เชื้ อเพลิ ง โดยก๊าซธรรมชาติจ ัดเป็ นเชื้ อเพลิ งหลัก และน้ ามันดี เซลจัดเป็ น เชื้ อเพลิงสารอง นอกจากนี้ ยงั มีวตั ถุดิบอื่นๆ เช่น น้ า และสารเคมี ต่างๆ เช่น สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการปรับปรุ งคุณภาพน้ า สารเติมแต่งในเชื้อเพลิง เป็ นต้น ซึ่งมีส่วนสาคัญในกระบวนการผลิตด้วยเช่นกัน รายละเอียดสามารถสรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้ 1. ก๊ าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเป็ นวัตถุดิบหลักที่ สาคัญที่ สุดต่อกระบวนการผลิตไฟฟ้ าประเภทพลังงานความร้อนร่ วม โรจนะเพาเวอร์ จึงได้ทา สัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติระยะยาวกับ ปตท. ตั้งแต่วนั แรกที่โรจนะเพาเวอร์ได้เริ่ มดาเนินการใช้ประโยชน์ เพื่อการค้า และบริ ษทั ได้ทาสัญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติระยะยาวกับ ปตท. และสัญญาดังกล่าวสามารถต่ออายุได้อีก 4 ปี โดยความเห็นชอบของคู่สัญญา ทั้ง 2 ฝ่ ายก่อนจะหมดอายุสญ ั ญา 1 ปี ภายใต้สัญญาซื้ อขายก๊าซธรรมชาติระหว่างกัน ปตท. ตกลงขายก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ในโรงไฟฟ้ าพลังความร้อนร่ วมให้กบั บริ ษทั โดยที่ ปตท. จะเป็ นผูจ้ ดั หาและส่งก๊าซธรรมชาติให้เพียงพอต่อความต้องการของโรจนะเพาเวอร์ โดยกาหนดปริ มาณการซื้อ ขายก๊าซธรรมชาติข้ นั ต่ารวม 2 โครงการไว้ที่ปริ มาณ 38 ล้านบาศก์ฟตุ ต่อวัน และโรจนะเพาเวอร์สามารถใช้ก๊าซได้สูงสุดไม่เกินวัน ละ 59 ล้านลูกบาศก์ฟตุ ต่อวัน ทั้งนี้ ราคาซื้อขายก๊าซธรรมชาติตามสัญญาซื้ อขายที่บริ ษทั ต้องจ่ายให้กบั ปตท. จะประกอบด้วยราคา เนื้อก๊าซและอัตราค่าผ่านท่อ 2. นา้ มันดีเซล น้ ามันดีเซลจะถูกใช้เป็ นเชื้อเพลิงสารองสาหรับผลิตไอน้ าในกรณี ที่ไม่สามารถผลิตไอน้ าจากโรงไฟฟ้าได้ โดยโรจนะเพาเวอร์ ได้ สารองน้ ามันดีเซลไว้ให้เพียงพอกับการเดินเครื่ องเต็มกาลังการผลิตไอน้ าสาหรับจาหน่ายให้ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ น้ ามันดีเซล จะถูกขนส่งมายังโรจนะเพาเวอร์โดยรถบรรทุกน้ ามัน 3. นา้ น้ าที่ใช้ในโรงไฟฟ้าโรจนะเพาเวอร์ เป็ นน้ าใช้เพื่ออุตสาหกรรมซึ่ งจาหน่ายโดยบริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด 4. สารเคมี สารเคมีที่ใช้ในโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่ วมของโรจนะเพาเวอร์ เป็ นสารเคมีสาหรับปรับปรุ งคุณภาพน้ าเพื่อใช้ในการผลิตน้ าเลี้ยง หม้อน้ า (Demineralized Water) โดยสารเคมีท้ งั หมดสามารถจัดหาได้ง่ายจากผูผ้ ลิตภายในประเทศ การปฏิบัตกิ ารเดินเครื่ องและการบารุงรักษา ในด้านการปฏิบตั ิการเดินเครื่ องและการบารุ งรักษาโรงไฟฟ้า (Power Plant) ระบบสายส่ง (Transmission System) และระบบ ท่อไอน้ า (Steam Pipeline System) ของโรจนะเพาเวอร์ โรจนะเพาเวอร์ใช้ระบบ Outsourcing โดยได้วา่ จ้าง OEG ซึ่งประกอบธุรกิจด้าน บริ หารโรงไฟฟ้ าที่ประสบการณ์ในการปฏิ บตั ิการเดิ นเครื่ องและการบารุ งรักษาโรงไฟฟ้า ทั้งในและต่างประเทศ ให้เป็ นผูร้ ับผิดชอบ ดาเนินการให้แต่เพียงผูเ้ ดียว ในการซ่อมแซมบารุ งรักษาครั้งใหญ่ของโรงไฟฟ้า โรจนะเพาเวอร์ จะมีค่าใช้จ่ายที่สูงในแต่ละรอบการซ่อมบารุ ง ทั้งนี้ โรจ นะเพาเวอร์ได้มีการสารองเงินสดทุกปี เพื่อการนี้โดยเฉพาะ (Maintenance Reserve Account) เพื่อเป็ นหลักประกันว่าโรจนะเพาเวอร์ จะมีเงินสดเพียงพอสาหรับดาเนินการบารุ งรักษาครั้งใหญ่และการซ่อมใหญ่ตามแผนงาน

40

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

37


ความรับผิดชอบต่ อสั งคม (Corporate Social Responsibilities: CSR) บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ตั้งเป้ าหมายความสาเร็ จภายใต้มิติการสร้าง ผลตอบแทนที่เป็ นธรรมแก่ ผูม้ ี ส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย ความสาเร็ จที่วดั ด้วยการสร้ างมูลค่าเพิ่ม (Economic Performance) การดูแลสิ่ งแวดล้อม (Environmental Performance) และการมีส่วนร่ วมตอบแทนสร้างสรรค์ สังคม (Social Performance) ในการดาเนิ นงานดังกล่าวจึ งได้กาหนดนโยบายความรั บผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibilities: CSR) เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิร่วมกันดังนี้ 1. สร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั สังคม ด้วยการบริ หารจัดการที่โปร่ งใส เป็ นธรรม และมีคุณธรรม จริ ยธรรม 2. ปฏิบตั ิงานภายใต้กรอบแห่งกฎหมายที่กาหนด 3. ส่ งเสริ มการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและตระหนักถึงผลกระทบสิ่ งแวดล้อมอันเกิดจากการ ดาเนินงานทางธุ รกิจ 4. ปลูกฝังให้พนักงานมีจิตสานึก และความรับผิดชอบต่อส่ วนรวม 5. สนับสนุนการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งจากนโยบายและแนวทางปฏิบตั ิงานสามารถจาแนกการดาเนินงานด้าน CSR ออกเป็ นมิติต่างๆ เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างทัว่ ถึงรอบด้าน เพื่อประโยชน์แก่ชุมชนและสังคมในมิติต่างๆ ดังนี้ - มิติดา้ นสิ่ งแวดล้อม - มิติดา้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ -มิติดา้ นศาสนาและวัฒนธรรม - มิติดา้ นสุ ขภาพ - มิติดา้ นจิตอาสาช่วยเหลือสังคม มิติด้านสิ่ งแวดล้อม เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มและรักษาสภาพแวดล้อมให้คงอยู่ต่อไปอย่างยัง่ ยืน ทาง บริ ษทั ฯ ได้ ดาเนินการปฏิบตั ิตามกฎหมายด้านสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทุกประการ เช่น การปฏิบตั ิตามมาตรการป้ องกัน และลดผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ที่ได้ระบุไว้ในหนังสื อเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (EIA) โดยเสนอต่ อ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้อ ง เป็ นประจ า 2 ครั้ ง/ ปี , รายงาน รว. เสนอต่ อ กรมโรงงาน อุตสาหกรรม ,รายงาน ทส. 2 เสนอต่อ องค์การบริ หารส่ วนตาบลเป็ นประจาทุกเดือน และรายงานต่างๆ ที่ ต้องส่ งหน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งมีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพน้ า ตลอด 24 ชัว่ โมง ให้แสดงผล ไปที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ก่อนปล่อยสู่ แหล่งน้ าสาธารณะตลอดระยะเวลาการดาเนินงานที่ผา่ นมา มิติด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ และการเรี ยนรู ้ของเด็กและเยาวชน บริ ษทั ฯ จึงเล็งเห็นถึง ความสาคัญของการสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อเด็กและเยาวชนในรู ปแบบต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อเสริ มสร้างให้ เด็กและเยาวชนเติบโตผ่านการเรี ยนรู ้ที่เข้มแข็งทั้งด้านสติปัญญา สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพใจที่ดี กิจกรรมที่ บริ ษทั ดาเนิ นการเพื่อเด็กและเยาวชน มีดงั ต่อไปนี้

38

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

1. สนับสนุนมูลนิธิโรงพยาบาลสงขลานคริ นทร์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อใช้ในการผลิตสื่ อวีดี ทัศน์คุณภาพสู งให้นกั ศึกษาแพทย์และนักวิทยาศาสตร์สุขภาพ ใช้เสริ มการเรี ยนรู ้ดา้ น พยาธิวทิ ยา และเป็ นสื่ อการสอนสาธารณะให้กบั โรงเรี ยนแพทย์โดยเฉพาะโรงเรี ยน แพทย์เปิ ดใหม่ ที่ยงั ขาดแคลนพยาธิแพทย์ 2. สนับสนุนงานวันเด็กแห่งชาติ 3. สนับสนุนงานของสภาอุตสาหกรรม มิติด้านศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อเป็ นการทานุบารุ งศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งเป็ นแหล่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจและ เป็ น แนวทางปฏิบตั ิไม่ให้เกิดความวุน่ วายให้กบั สังคม บริ ษทั ฯ ได้มีการดาเนินการ สนับสนุนด้านศาสนาและ วัฒนธรรม ดังต่อไปนี้ 1. ทาบุญทอดกฐิน วัดโคกมะยม , วัดกระสังข์ , วัดหนองน้ าส้ม 2. ทาบุญทอดผ้าป่ า ชาระค่ากระแสไฟฟ้าโบราณสถาน 3. ทาบุญช่วยเหลือผูป้ ่ วยโรคเอดส์ วัดพระบาทน้ าพุ 4. สนับสนุนงานตรุ ษจีนกรุ งเก่า 5. สนับสนุนการจัดงานกาชาดประจาปี ของอาเภอ และ จังหวัด 6. สนับสนุนการทาบุญหล่อพระพุทธสิ หิงค์ ณ วัดเทพกุญชร 7. สนับสนุนการทาบุญวันคล้ายวันสถาปนากรุ งศรี อยุธยา ประจาปี 2560 8. สนับสนุนทอดผ้าป่ ากองทุนพัฒนาเด็กในชนบท ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี 9. สนับสนุนโครงการประเพณี สงกรานต์และวันผูส้ ู งอายุ 10. สนับสนุนการจัดงานวันกาเนิดลูกเสื อชาวบ้านและชุมนุมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนาง เจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ 11. ทาบุญปรับปรุ งภูมิทศั น์วดั โคกมะยม อาเภอ อุทยั 12. สนับสนุนกิจกรรมวันลอยกระทง มิติด้านสุ ขภาพ เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มสุ ขภาพให้กบั เด็กและเยาวชน บุคคลทัว่ ไป และผูส้ ู งอายุ เพื่อที่จะได้มี สุ ขภาพแข็งแรง และทางบริ ษทั ฯ ได้เล็งเห็ นการออกกาลังกาย การเล่นกี ฬา เป็ นกิ จกรรมส่ วนหนึ่ งของ ชีวติ ประจาวันของทุกคน บริ ษทั จึงได้ร่วมมือกับผูใ้ หญ่บา้ นและชาวบ้านทาการติดตั้งอุปกรณ์เครื่ องเล่นออก กาลังการกลางแจ้งประจาหมู่บา้ นหนองระเนตร ตาบลหัวหว้า อาเภอศรี มหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เพื่อให้ ชาวบ้านทั้งในหมู่บา้ นและหมู่บา้ นใกล้เคียงได้มาออกกาลังกายและรวมกลุ่มกันทากิจกรรมร่ วมกัน ROJANA ANNUAL REPORT 2016

39


ปัจจัยความเสี่ ยง มิติด้านจิตอาสาช่ วยเหลือสั งคม เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และสังคมที่ได้รับความเดือดร้อน ทางบริ ษทั ฯ ได้มีการ ดาเนินการสนับสนุนด้านจิตอาสาช่วยเหลือ สังคม ดังต่อไปนี้ 1. สนับสนุนการจัดงานมรดกโลก จังหวัด อยุธยา ทุกปี 2. สนับสนุนการจัดงาน 5 ธันวา มหาราช ทุกปี 3. สนับสนุนการช่วยเหลือคนชรา และช่วยค่าการศึกษาเยาวชน 4. สนับสนุนการจัดงานวันคนพิการสากล ประจาทุกปี 5. สนับสนุนการจัดงานวัน กานัน ผูใ้ หญ่บา้ น ประจาทุกปี 6. สนับสนุนการปูกระเบื้องพื้นอาคารเรี ยน ร.ร.วัดคานหามและวัดโคกมะยม 7. สนับสนุนการจัดโครงการฝึ กอบรมและพัฒนาข้าราชการฝ่ ายปกครอง และ คณะกรรมการหมู่บา้ น อ.อุทยั 8. สนับสนุนทุนดาเนินการจัดการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนโรงเรี ยนพุทธศาสนาวัน อาทิตย์ 9. สนับสนุนโครงการจัดทาศูนย์กายภาพบาบัดและออกกาลังกายเพื่อสุ ขภาพฟื้ นฟูสภาพ ผูป้ ่ วยโรคเรื้ อรัง โรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตาบลคานหาม 10. สนับสนุนการซ่อมแซมสถานีตารวจอาเภออุทยั

40

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ความเสี่ ยงทีเ่ กีย่ วข้ องกับธุรกิจหลักของบริษัท4 1. ความเสี่ ยงจากการพึง่ พิงการจัดจาหน่ ายกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัท Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation (“สึ มิกิน”) ( เดิมชื่อบริ ษทั สึ มิกิน บูสซัน คอร์ ปอเรชัน่ จำกัด) เป็ นหนึ่งในผูถ้ ือหุ น้ รำยใหญ่ของบริ ษทั และยังเป็ นผูถ้ ือหุ น้ ของโรจนะเพำเวอร์ , โรจนะ เอ็นเนอร์จี โดยเป็ น ตัวแทนกำรจัดจำหน่ำยที่ดินรำยใหญ่ของบริ ษทั ซึ่งมีสัดส่ วนกำรขำยผ่ำนสึ มิกินปี ละประมำณ 70-80 ของกำรขำย ที่ดิน ทั้งนี้สึมิกินได้รับผลตอบแทนในรู ปของค่ำนำยหน้ำจำกกำรขำยที่ดิน ในอัตรำร้อยละ 4 ของยอดขำยที่ดิน ดังนั้นควำมเสี่ ยงจำกกำรที่สึมิกินอำจยกเลิกกำรเป็ นตัวแทนจำหน่ำยให้กบั บริ ษทั จะส่ งผลกระทบต่อรำยได้ของ บริ ษทั อย่ำงมีนยั สำคัญ อย่ำงไรก็ตำมควำมสัมพันธ์ที่ดีต่อกันเป็ นเวลำนำน ประกอบกับกำรมีผลประโยชน์ร่วมกันทั้งทำงตรง และทำงอ้อม ควำมเสี่ ยงในกำรยกเลิกเป็ นตัวแทนจำหน่ำยดังกล่ำวจึงมีนอ้ ยมำก นอกจำกนี้ บ ริ ษ ทั มี ก ำรพัฒนำที ม งำนขำยของบริ ษ ทั เองอี ก ส่ วนหนึ่ ง เพื่ อท ำกำรตลำดเพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ งจะ สำมำรถช่วยลดควำมเสี่ ยงจำกกำรพึ่งพิงกำรจัดจำหน่ำยผ่ำนสึ มิกินลงได้อีกทำงหนึ่ง 2. ความเสี่ ยงจากการมีนโยบายไม่ สะสมทีด่ ินเป็ นจานวนมาก โดยปกติ กำรที่ บริ ษทั มีนโยบำยในกำรถื อครองที่ ดินในแต่ละช่ วงเวลำเป็ นจำนวนไม่มำกนัก และจะ จัดหำซื้ อที่ดินเมื่อมีโครงกำรรองรับแล้วเท่ำนั้น เว้นแต่จะเป็ นที่ดินที่บริ ษทั ฯเล็งเห็นว่ำมีศกั ยภำพสู งในกำรพัฒนำ และรำคำอยูใ่ นระดับที่ให้ผลตอบแทนกำรลงทุนสู ง หรื อที่ดินที่เป็ นผืนใหญ่ ๆ ติดต่อกันแต่รำคำค่อนข้ำงต่ำ ด้วย เหตุเหล่ำนี้ ทำให้บริ ษทั ไม่ตอ้ งรับภำระดอกเบี้ยและแบกภำระต้นทุนที่ดินที่ยงั ไม่สำมำรถขำยได้ แต่ทำให้บริ ษทั มี ควำมเสี่ ยงที่รำคำที่ดินอำจเพิ่มสู งขึ้นในอนำคต ซึ่ งอำจส่ งผลต่อควำมสำมำรถในกำรสร้ำงรำยได้และทำกำไรของ บริ ษทั จำกประสบกำรณ์ ของบริ ษทั ในระยะที่ผำ่ นมำจะพบว่ำควำมเสี่ ยงดังกล่ำวมีไม่มำกนัก เนื่องจำกปั จจุบนั ที่ดินที่อยูบ่ ริ เวณรอบโครงกำรของบริ ษทั เป็ นที่ดินของรำยย่อย มีอำนำจต่อรองไม่สูงนัก ประกอบกับ บริ ษทั จะทำ กำรซื้ อที่ดินผ่ำนนำยหน้ำ ซึ่ งมีประสบกำรณ์ และมีควำมสำมำรถในกำรเจรจำต่อรองสู ง โดยมี กำรกำหนดรำคำ เป้ำหมำยที่ตอ้ งกำรสำหรับที่ดินแต่ละแปลงเอำไว้ เพื่อป้ องกันกำรซื้ อที่ดินในรำคำที่สูงเกินไปจนอำจส่ งผลกระทบ ต่อรำยได้และกำไรของบริ ษทั นอกจำกนี้ เนื่ องจำก บริ ษทั มีกำรกำหนดกลยุทธ์ในกำรตั้งรำคำแบบ Cost Plus ซึ่ ง เป็ นกำรกำหนดรำคำขำยโดยใช้รำคำทุนเป็ นฐำนในกำรคำนวณ ดังนั้นเมื่อที่ดินที่รับซื้ อเข้ำมำมีรำคำแพงขึ้น รำคำ ขำยก็จะสู งขึ้ นตำมไปด้วย ซึ่ งที่ ผ่ำนมำรำคำของที่ดินที่ซ้ื อเพิ่มอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และรำคำขำยก็ได้รับกำร ยอมรับจำกผูซ้ ้ื อว่ำอยูใ่ นระดับที่สมเหตุสมผล 3. ความเสี่ ยงด้ านกฎหมายในธุรกิจพัฒนาอสั งหาริมทรัพย์

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

41


กำรประกอบธุ รกิจเกี่ยวกับกำรพัฒนำอสังหำริ มทรัพย์จะมีควำมเสี่ ยงเกี่ยวกับเรื่ องกำรจัดสรรที่ดิน กำรใช้ พื้นที่ ตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดสรรที่ดิน พ.ศ.2543, ประกำศคณะกรรมกำรกำรจัดสรรที่ดินกลำงเรื่ อง กำหนด ขั้นตอนหลักเกณฑ์และวิธีกำร พิจำรณำแผนผังโครงกำรและวิธีกำรจัดสรรที่ดิน และกำรขอแก้ไขและเปลี่ยนแปลง แผนผังโครงกำร, ประกำศคณะกรรมกำรจัดสรรที่ดินฯ เรื่ องกำหนดนโยบำยกำรจัดสรรที่ดินเพื่อกำรอุตสำหกรรม, พระรำชบัญญัติผงั เมือง, พระรำชบัญญัติส่งเสริ มกำรลงทุน พ.ศ. 2520 ถ้ำมีกำรเปลี่ยนแปลงกฎหรื อข้อบังคับต่ำง ๆ จะส่ งผลกระทบต่อกำรดำเนิ นงำนของบริ ษทั แต่อย่ำงไรก็ตำมบริ ษทั ได้ติดตำมควำมเคลื่ อนไหวต่ำง ๆ ของ กฎระเบียบที่ออกมำและปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิของกฎหมำยอยูเ่ สมอ 4. ความเสี่ ยงจากเงินลงทุนและลูกหนีก้ ารค้ า บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยไม่มีควำมเสี่ ยงจำกกำรกระจุกตัวของเงินลงทุนและลูกหนี้กำรค้ำที่เกิดจำกเงิ นสด และเงิ นลงทุนระยะสั้นที่มีนยั สำคัญ เนื่ องจำกบริ ษทั ย่อยได้นำเงิ นสดไปลงทุ นในเงิ นลงทุนที่มีควำมเสี่ ยงต่ ำกับ ธนำคำรพำณิ ชย์และสถำบันกำรเงินที่มีควำมน่ำเชื่ อถือ และบริ ษทั มีนโยบำยโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินที่ขำยเมื่อลูกค้ำ ชำระเงินครบถ้วนแล้ว 5. ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น บริ ษ ทั ย่อยแห่ ง หนึ่ งไม่มี สัญญำซื้ อขำยเงิ นตรำต่ ำงประเทศล่ วงหน้ำ คงเหลื อและมี หนี้ สินที่ เป็ นสกุ ล เงินตรำต่ำงประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2559 เป็ นจำนวน 5.27 ล้ำนเหรี ยญสหรัฐอเมริ กำ 6. ความเสี่ ยงจากการเกิดอุทกภัย บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย 3 แห่ ง ตั้งโรงงำนในแถบลุ่มแม่น้ ำเจ้ำพระยำ ซึ่ งมีควำมเสี่ ยงจะเกิดอุทกภัยได้ ในฤดู น้ ำ หลำก เพื่อป้ องกันควำมเสี่ ย งดังกล่ ำ ว บริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่อยได้ท ำประกันครอบคลุ ม ถึ ง ภัยธรรมชำติ รวมทั้งได้สร้ำงเขื่อนป้ องกันน้ ำท่วมรอบโครงกำร โดยเขื่อนจะเป็ นแบบระบบเข็มพืด คอนกรี ต (พื้นผิวแบบลอน ลูกฟูก) ควำมสู ง 6.05 เมตรเหนือระดับน้ ำทะเล 7. ความเสี่ ยงจากการไม่ สามารถปฏิบัติตามสั ญญาซื้อขายไฟฟ้ า โรจนะเพำเวอร์ มีสัญญำที่ จะขำยไฟฟ้ ำให้กบั ลู กค้ำหลำยรำย ซึ่ ง กฟผ. จัดเป็ นลู กค้ำรำยใหญ่ที่สุด โดย รำยได้จำกกำรขำยไฟฟ้ำให้ กฟผ. นั้นมีสัดส่ วนประมำณร้อยละ 55 ของรำยได้จำกกำรขำยไฟฟ้ ำทั้งหมด ดังนั้น โรจ นะเพำเวอร์ จึงมีควำมเสี่ ยงหำก กฟผ. ยกเลิกสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ำดังกล่ำว อย่ำงไรก็ตำม ควำมเสี่ ยงจำกกำรไม่สำมำรถปฏิบตั ิตำมสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ำนั้นมีไม่มำกนัก เนื่ องจำกสัญญำ ซื้ อขำยไฟฟ้ำที่โรจนะเพำเวอร์ ทำกับ กฟผ. นั้นเป็ นสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ำระยะยำว ซึ่ งมีระยะเวลำตำมสัญญำทั้งสิ้ น 25 ปี โดยที่คู่สัญญำสำมำรถต่อสัญญำหลังจำกครบอำยุสัญญำได้อีก ซึ่ งสัญญำนี้ เริ่ มมีผลตั้งแต่บริ ษทั เริ่ มมีกำรจำหน่ำย ไฟฟ้ำให้กบั กฟผ. ในปี 2542 ปั จจุบนั สัญญำโครงกำร 1 มีอำยุคงเหลือประมำณ 7 ปี และสัญญำโครงกำร 2 โรจนะ เพำเวอร์เริ่ มมีกำรจำหน่ำยไฟฟ้ำให้กบั กฟผ. ในเดือนตุลำคม 2556 นอกจำกนี้แม้วำ่ ในระหว่ำงอำยุสัญญำ กฟผ. จะมีสิทธิ บอกเลิกสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับโรจนะเพำเวอร์ ได้ หำกโรจนะเพำเวอร์ ไม่สำมำรถปฏิบตั ิตำมข้อกำหนดตำมเงื่อนไขที่เกี่ยวกับมำตรฐำนคุ ณภำพไฟฟ้ ำที่ผผู ้ ลิตไฟฟ้ ำ

42

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

รำยเล็กพึงต้องปฏิบตั ิ (SPP Grid Code) ที่ระบุในสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับ กฟผ. ได้ แต่จำกผลกำรดำเนินงำนที่ผำ่ น มำ นับตั้งแต่วนั เริ่ มต้นซื้ อขำยไฟฟ้ำจนกระทัง่ ถึงปั จจุบนั โรจนะเพำเวอร์ สำมำรถปฏิบตั ิตำมเงื่อนไขสำคัญต่ำงๆ ที่ ระบุ ไว้ในสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ ำกับ กฟผ. ได้ครบถ้วน โดยไม่เคยทำผิดเงื่ อนไขในสัญญำซื้ อขำยดังกล่ ำวอย่ำงมี นัยสำคัญ ทั้งนี้ เนื่องจำกเครื่ องจักรและอุปกรณ์ที่ ใช้ใ นกำรผลิ ต ไฟฟ้ ำ นั้น ใช้เทคโนโลยีที่ มี ม ำตรฐำนและเป็ นที่ ย อมรั บ กันทั่วโลก และมี ก ำรบ ำรุ ง รั ก ษำอย่ำ ง สม่ำเสมอ โดยใช้บริ กำรจำกบริ ษทั ออปอเรชัน่ แนล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ ป จำกัด (“OEG”) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั และมีผบู ้ ริ หำรและพนักงำนที่มีควำมเชี่ยวชำญและประสบกำรณ์ในกำรบริ หำรโรงไฟฟ้ำทั้งในและต่ำงประเทศ ในส่ วนของ บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี มีสัญญำที่จะขำยไฟฟ้ ำให้กบั กำรไฟฟ้ำส่ วนภูมิภำคทั้งหมด ดังนั้น โรจนะเอ็นเนอร์จี จึงมีควำมเสี่ ยงหำก กำรไฟฟ้ำส่ วนภูมิภำคยกเลิกสัญญำซื้อขำยไฟฟ้ำดังกล่ำว อย่ำงไรก็ตำม ควำมเสี่ ยงจำกกำรไม่สำมำรถปฏิบตั ิตำมสัญญำซื้อขำยไฟฟ้ำนั้นมีไม่มำกนัก เนื่ องจำกสัญญำ ซื้อขำยไฟฟ้ำที่โรจนะเอ็นเนอร์ จีทำกับ กำรไฟฟ้ำส่ วนภูมิภำค นั้นเป็ นสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ำโดยมีระยะเวลำ 5 ปี และ ต่อเนื่องครั้งละ 5 ปี โดยอัตโนมัติ และให้มีผลใช้บงั คับจนกว่ำจะมีกำรยุติสัญญำ ในกรณี ผูผ้ ลิตไฟฟ้ำยื่นหนังสื อ เป็ นลำยลักษณ์อกั ษรถึงกำรไฟฟ้ ำแสดงควำมประสงค์ที่จะยุติกำรซื้ อขำยไฟฟ้ำ โดยกำรเลิกสัญญำ หรื อฝ่ ำยใดฝ่ ำย หนึ่งไม่ปฏิบตั ิตำมสัญญำข้อหนึ่ งข้อใด ให้อีกฝ่ ำยหนึ่งทำหนังสื อแจ้งให้ฝ่ำยนั้นดำเนิ นกำรแก้ไข หำกไม่แก้ไขให้ อีกฝ่ ำยหนึ่งมีสิทธิ บอกเลิกสัญญำนี้ได้ 8. ความเสี่ ยงจากการผันแปรของราคาวัตถุดิบทีใ่ ช้ ในการผลิต ก๊ ำ ซธรรมชำติ เ ป็ นเชื้ อ เพลิ ง หลัก ที่ ใ ช้ใ นกำรผลิ ต ไฟฟ้ ำ และไอน้ ำ ของโรจนะเพำเวอร์ ดัง นั้น กำร เปลี่ยนแปลงของรำคำก๊ำซธรรมชำติจะส่ งผลกระทบอย่ำงมีนยั สำคัญต่อต้นทุนกำรผลิตไฟฟ้ำของโรจนะเพำเวอร์ อย่ำงไรก็ตำม ควำมเสี่ ยงที่อำจเกิดขึ้นกับโรจนะเพำเวอร์ จำกผลกระทบของกำรผันผวนของรำคำก๊ำซธรรมชำติจดั อยูใ่ นเกณฑ์ต่ำ เนื่องจำกสู ตรกำรคำนวณค่ำพลังงำนไฟฟ้ ำในสัญญำซื้ อขำยไฟฟ้ำ กับ กฟผ. นั้นได้มีกำรคำนวณให้ แปรผันตำมต้นทุนจริ งของรำคำก๊ำซธรรมชำติที่โรจนะเพำเวอร์ซ้ื อจำก ปตท. ทำให้โรจนะเพำเวอร์ ได้รับกำรชดเชย ผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนแปลงรำคำก๊ำซธรรมชำติในส่ วนของกำรผลิตไฟฟ้ ำที่ขำยให้ กฟผ. ทั้งหมด สำหรับค่ำ พลังงำนไฟฟ้ำที่ได้รับจำกลูกค้ำรำยอื่นๆ นั้นอิงกับสู ตรค่ำไฟฟ้ำของกำรไฟฟ้ำส่ วนภูมิภำค (“กฟภ”.) โดยค่ำไฟฟ้ำ ส่ วนหนึ่ งจะแปรผันตำมต้นทุนเชื้ อเพลิ งและอัตรำแลกเปลี่ยนซึ่ งเรี ยกว่ำสู ตรปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ ำอัตโนมัติ (FT)ที่มี กำรประกำศเปลี่ยนแปลงทุก 4 เดือน ทำให้ค่ำพลังงำนไฟฟ้ำของลูกค้ำรำยอื่นๆ มีกำรปรับตำมกำรเปลี่ยนแปลงของ รำคำก๊ำซธรรมชำติเช่นเดียวกัน ในขณะที่กำรปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ ำอัตโนมัติจะถู กควบคุมโดยคณะกรรมกำรกำกับ กิจกำรพลังงำน(กกพ) ดังนั้น ควำมเสี่ ยงจำกควำมผันผวนของรำคำวัตถุดิบที่ใช้ในกำรผลิตไฟฟ้ ำของบริ ษทั ถือว่ำอยู่ ในเกณฑ์ปกติเนื่องจำกได้รับกำรชดเชยจำกกำรปรับปรุ งค่ำพลังงำนไฟฟ้ำดังที่ได้กล่ำวมำ 9. ความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้ องกับ การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย ข้ อบังคั บ และนโยบายของภาครั ฐบาลไทย ที่ เกีย่ วข้ องกับธุรกิจผลิตและจาหน่ ายไฟฟ้ า เนื่ องจำกธุ รกิจกำรผลิตและจำหน่ำยไฟฟ้ำเป็ นกิจกำรสำธำรณู ปโภคพื้นฐำนที่มีควำมจำเป็ นต่อประชำชน ดังนั้น หำกรัฐบำลมีกำรเปลี่ยนแปลงกฏหมำย ข้อบังคับ และนโยบำยที่เกี่ยวข้องกับกำรซื้ อขำยไฟฟ้ำของ กฟผ. กับ

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

43


ภำคเอกชน หรื อกำรปรับโครงสร้ำงกิจกำรไฟฟ้ ำของรั ฐบำล อำจส่ งผลกระทบต่อกำรดำเนิ นกิ จกำรของโรจนะ เพำเวอร์ และโรจนะเอ็นเนอร์ จีในอนำคตได้ ซึ่งยังไม่สำมำรถประเมินผลกระทบได้ในปั จจุบนั 10. ความเสี่ ยงด้ านการเงิน ณ สิ้ นปี 2559 บริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่อย มี เงิ นกู้ยืม ทั้งระยะสั้ นและระยะยำวจำกสถำบันกำรเงิ น จำนวน 28,559.87 ล้ำนบำท เพื่อลงทุนในโครงกำรกำรพัฒนำที่ดินและขยำยธุ รกิจ โดยจะต้องชำระคืนเงินต้นทุก ๆ ไตร มำสและชำระค่ำดอกเบี้ยทุก ๆ เดือน โดยบริ ษทั มีขอ้ ตกลงกับสถำบันกำรเงินเจ้ำหนี้ ดังนี้ เงินกูร้ ะยะยำว D/E* งบกำรเงินรวม ไม่เกิน 2.50 เท่ำ งบกำรเงินเฉพำะกิจกำร 1.75 เท่ำ หุ น้ กู้ D/E** งบกำรเงินรวม ไม่เกิน 2.75 เท่ำ โดยปั จจุบนั บริ ษทั มี D/E เท่ำกับ 2.06 และ 1.49 เท่ำ ตำมลำดับ ซึ่ งเกิดจำกกำรนำเงินไปขยำยโครงกำรต่ำง ๆ เพื่อ ก่อให้เกิดรำยได้ในอนำคต ซึ่งทำงธนำคำรและสถำบันกำรเงินเจ้ำหนี้ทุกแห่งได้เข้ำใจในสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้นและ ให้ควำมยินยอมผ่อนผันและปรับเงื่อนไขต่ำง ๆ ให้สอดคล้องกับกำรขยำยตัวของบริ ษทั (*D/E คำนวณจำก ส่ วนหนี้สินรวมต่อส่ วนของเจ้ำของตำมงบกำรเงินรวม **D/E คำนวณจำก ส่ วนหนี้ สินโดยไม่รวมถึงหนี้ ในทำงกำรค้ำปกติ(Trade Payable debts) ต่อส่ วนของ เจ้ำของตำมงบกำรเงินรวม) 11. ความเสี่ ยงจากบริษัทมีผ้ ถู ือหุ้นรายใหญ่ มากกว่ า 25% ณ วันที่ 16 มีนำคม 2560 กลุ่มวินิชบุตร(ดูรำยละเอียดในหัวข้อ ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุ ้น) ถือหุ ้นใน บริ ษทั จำนวน 605,505,271 หุ ้น คิดเป็ นร้อยละ 29.97 ของจำนวนหุ ้นที่จำหน่ ำยได้แล้วทั้งหมดของบริ ษทั ซึ่ งมี เจตนำร่ วมกันในกำรใช้สิทธิ ออกเสี ยงของตนไปในทำงเดี ยวกัน เพื่อควบคุ มสิ ทธิ ออกเสี ยงหรื อควบคุ มกิ จกำร ร่ วมกัน และมีควำมสัมพันธ์หรื อมีพฤติกรรมร่ วมกันตำมที่ประกำศคณะกรรมกำรกำกับตลำดทุนที่ ทจ.7/2552 เรื่ อง กำหนดลักษณะควำมสัมพันธ์หรื อพฤติกรรมที่เข้ำลักษณะเป็ นกำรกระทำร่ วมกับบุคคลอื่น และกลุ่มผูถ้ ื อหุ ้นรำย ใหญ่ยงั เป็ นกรรมกำรผูม้ ีอำนำจลงนำมและเป็ นผูบ้ ริ หำรของบริ ษทั ฯด้วย จึงทำให้กลุ่มผูถ้ ือหุ ้นใหญ่เป็ นผูม้ ีอำนำจ ในกำรบริ หำรจัดกำรและควบคุมคะแนนเสี ยงในกำรลงมติที่สำคัญได้ จึงทำให้กลุ่มวินิชบุตร สำมำรถควบคุมมติที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นได้เกินกว่ำ 1 ใน 4 ของที่ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นไม่ว่ำจะเป็ นเรื่ องกำรแต่งตั้งกรรมกำร หรื อกำรขอมติใน เรื่ องอื่นที่ตอ้ งใช้เสี ยงส่ วนใหญ่ของที่ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ยกเว้นในเรื่ องกฏหมำยหรื อข้อบังคับบริ ษทั กำหนดต้องให้ ได้รับเสี ยงในกำรประชุ มผูถ้ ือหุ ้นด้วยคะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่ำ 3 ใน 4 ของจำนวนหุ ้นที่เข้ำประชุ มผูถ้ ือหุ ้นและมี สิ ทธิ ออกเสี ยง หรื อในกรณี กำหนดให้สิทธิ ออกเสี ยงคัดค้ำนได้ ดังนั้นผูถ้ ือหุ ้นรำยอื่นที่เข้ำร่ วมประชุ มและมีสิทธิ ออกเสี ยงอำจจะไม่สำมำรถรวบรวมคะแนนเสี ยงเพื่อคัดค้ำนหรื อถ่วงดุลกำรบริ หำรของกลุ่มผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ได้ อย่ำงไรก็ดี โครงสร้ำงกำรจัดกำรของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยคณะกรรมกำรและคณะอนุ กรรมกำรรวม 2 ชุ ด ได้ แ ก่ คณะกรรมกำรบริ ษัท และคณะกรรมกำรตรวจสอบ โดยมี ก ำรก ำหนดขอบเขตอ ำนำจหน้ ำ ที่ ข อง คณะอนุกรรมกำรอย่ำงชัดเจน อีกทั้งในองค์ประกอบของคณะกรรมกำรตรวจสอบ ยังประกอบด้วยกรรมกำรอิสระ 3 ท่ำน ที่เป็ นผูท้ ี่มีควำมรู ้ ควำมสำมำรถในกำรบริ หำรจัดกำรธุ รกิ จและควำมรู ้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับงบกำรเงินและ

44

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

รำยงำนทำงกำรเงินต่ำง ๆ จึงมีส่วนช่วยให้กำรดำเนินงำนของคณะกรรมกำรและคณะอนุ กรรมกำรเป็ นไปอย่ำงมี ระบบ โปร่ งใสและสำมำรถตรวจสอบได้ นอกจำกนี้ บริ ษทั ฯ ยังมีนโยบำยเกี่ยวกับกำรทำรำยกำรที่เกี่ยวโยงกันกับ กรรมกำร ผูถ้ ือหุน้ รำยใหญ่ หรื อผูม้ ีอำนำจควบคุมในกิจกำรรวมทั้งบุคคลที่อำจมีควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ โดย จะทำกำรพิจำรณำเปรี ยบเทียบเงื่อนไขกับบุคคลภำยนอกอื่นก่อน และนำรำยกำรต่ำง ๆ เข้ำสู่ กำรพิจำรณำอนุมตั ิของ คณะกรรมกำรตรวจสอบทุกกรณี ก่อนที่จะนำเสนอต่อที่ประชุ มคณะกรรมกำรพิจำรณำอนุ มตั ิใ นขั้นต่อไป โดย บุ ค คลที่ มี ค วำมขัด แย้ง ทำงผลประโยชน์ ดัง กล่ ำ วจะไม่ มี อ ำนำจอนุ ม ัติ ใ นกำรเข้ำ ท ำรำยกำรนั้น ๆ อี ก ทั้ง คณะกรรมกำรตรวจสอบจะทำหน้ำที่ติดตำมรำยกำรที่เกี่ยวโยงกันทุก ๆ ไตรมำส โดยให้ผตู ้ รวจสอบภำยในทำกำร ตรวจสอบ 12. ความเสี่ ยงจากสั ญญาเช่ าระยะสั้ น จำกกำรที่สัญญำเช่ำโรงงำน/คลังสิ นค้ำของบริ ษทั ส่ วนใหญ่มีอำยุ 3 ปี (โดยมีทำงเลือกในกำรต่อสัญญำ) จึง อำจทำให้นกั ลงทุนกังวลว่ำ บริ ษทั จะได้รับผลกระทบหำกลูกค้ำไม่ต่อสัญญำเช่ำ อย่ำงไรก็ดี โดยทัว่ ไปเมื่อลูกค้ำเริ่ มทำกำรผลิตแล้วมักจะไม่ยำ้ ยออกจำกโรงงำนของบริ ษทั นอกจำกจะมี เหตุผลที่สมควรอื่น ซึ่งโดยปกติกำรต่อสัญญำเช่ำมีเกินกว่ำร้อยละ 80 ของสัญญำเช่ำที่ครบกำหนด กำรที่บริ ษทั มีโรงงำน/คลังสิ นค้ำให้เช่ำในหลำยทำเลที่ต้งั

อีกทั้งผูเ้ ช่ำก็เป็ นผูป้ ระกอบกำรในธุรกิจที่

หลำกหลำย และมำจำกหลำยประเทศ จึงเป็ นกำรกระจำยควำมเสี่ ยงของกำรยกเลิกสัญญำของผูเ้ ช่ำ นอกจำกนั้น โรงงำน/คลังสิ นค้ำของบริ ษทั ยังถูกออกแบบมำเป็ นแบบมำตรฐำน

และอยูใ่ นพื้นที่ที่ได้รับควำมนิยมจำกผูเ้ ช่ำ

ดังนั้น หำกมีกำรยกเลิกสัญญำของผูเ้ ช่ำ บริ ษทั จะสำมำรถหำผูเ้ ช่ำใหม่ได้ไม่ยำก 13. ความเสี่ ยงจากการกระจุกตัวของผู้เช่ า ณ 31 ธันวำคม 2559 ลูกค้ำที่เช่ำโรงงำนของบริ ษทั ร้อยละ 41 เป็ นผูป้ ระกอบกำรจำกประเทศญี่ปุ่น และร้อย ละ 22 เป็ นผูป้ ระกอบกำรจำกภูมิภำคยุโรป โดยมีสัดส่ วนร้อยละ 35 เป็ นผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนยำนยนต์ และร้อยละ 34 เป็ น ผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนในกลุ่มอุตสำหกรรมอิเล็กทรอนิคส์/เครื่ องใช้ไฟฟ้ำ นอกจำกนี้ ลูกค้ำที่เช่ำคลังสิ นค้ำของบริ ษทั ร้อย ละ 45 เป็ นผูป้ ระกอบกำรจำกภูมิ ภำคยุโรป และร้อยละ 17 เป็ นผูป้ ระกอบกำรจำกญี่ปุ่น โดยมีสัดส่ วนร้อยละ 42 เป็ นผูใ้ ห้บริ กำรโลจิสติกส์ และร้อยละ 12 เป็ นผูเ้ ช่ำคลังสิ นค้ำที่เกี่ยวข้องกับผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนยำนยนต์ ดังนั้น หำกมี กำรลดลงของกำรลงทุนในอุตสำหกรรมดังกล่ำว และมีกำรลดลงของกำรลงทุนจำกประเทศญี่ปุ่น และภูมิภำคยุโรป อำจส่ งผลกระทบต่อรำยได้ของบริ ษทั อย่ำงไรก็ตำม บริ ษทั เชื่อว่ำผลกระทบดังกล่ำวจะมีไม่มำกนัก เนื่องจำกลูกค้ำของบริ ษทั ในกลุ่มอุตสำหกรรม อิเล็กทรอนิคส์/เครื่ องใช้ไฟฟ้ำ เป็ นผูป้ ระกอบกำรในอุตสำหกรรมอิเล็กทรอนิคส์ที่หลำกหลำย ซึ่งรวมถึง เครื่ องใช้ไฟฟ้ำ ซึ่งส่ วนใหญ่เป็ นอุตสำหกรรมที่ไม่มีควำมเกี่ยวข้องกัน ตัวอย่ำงเช่น อุตสำหกรรมรับจ้ำงผลิต

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

45


ชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิ คส์ทวั่ ไป (Electronic Manufacturing Services) อุตสำหกรรมผลิตชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิคส์ใน เครื่ องใช้ไฟฟ้ำ อุตสำหกรรมผลิต Hard Disk Drive อุตสำหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ำต่ำง ๆ เป็ นต้น นอกจำกนี้ กลุ่ม อุตสำหกรรมยำนยนต์ยงั เป็ นอุตสำหกรรมที่มีแนวโน้มกำรเติบโตที่ดี จำกกำรฟื้ นตัวของตลำดโลก และกำรย้ำยฐำน กำรผลิตของผูผ้ ลิตรำยใหญ่มำยังประเทศไทยในกำรผลิตรถยนต์เพื่อกำรส่ งออก ส่ งผลให้ควำมต้องกำรชิ้นส่ วนยำน ยนต์มีโอกำสเติบโตได้อีกมำก นอกจำกนี้ กำรที่ผเู ้ ช่ำในอุตสำหกรรมชิ้นส่ วนยำนยนต์มีสัดส่ วนอยูใ่ นระดับ ใกล้เคียงกับผูผ้ ลิตชิ้นส่ วนในอุตสำหกรรมอิเล็กทรอนิคส์ และเครื่ องใช้ไฟฟ้ำ มีส่วนช่วยลดควำมเสี่ ยงจำกกำรพึ่งพิง ผูเ้ ช่ำเพียงอุตสำหกรรมใดอุตสำหกรรมหนึ่ง

1 คณะกรรมการบริษัท

นอกจำกนั้น จำกกำรที่โรงงำนและคลังสิ นค้ำของบริ ษทั มีรูปแบบมำตรฐำนจึงสำมำรถรองรับควำมต้องกำร ของผูป้ ระกอบกำรจำกทุก ๆ อุตสำหกรรม

โครงสร้ างการจัดการ ณ 31 ธันวาคม 2559 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร

นอกจำกควำมเสี่ ยงจำกกำรกระจุกตัวของกลุ่มอุตสำหกรรมที่เช่ำโรงงำนแล้ว ธุ รกิจผูใ้ ห้บริ กำรโลจิสติกส์ เป็ นธุ รกิจที่มีสัดส่ วนกำรเช่ำคลังสิ นค้ำของบริ ษทั สู งที่สุด อย่ำงไรก็ตำม บริ ษทั เชื่ อว่ำผลกระทบดังกล่ำวจะมีไม่มำก เช่นกัน เนื่องจำกบริ ษทั ในกลุ่มผูใ้ ห้บริ กำรโลจิสติกส์มีกำรให้บริ กำรจัดเก็บ และ/หรื อขนส่ งสิ นค้ำที่หลำกหลำย และไม่มีควำมเกี่ยวข้องกัน ตัวอย่ำงเช่น ชิ้นส่ วนยำนยนต์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ำ ชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิคส์ สิ นค้ำอุปโภคบริ โภค เอกสำร สิ นค้ำเพื่อสุ ขภำพ และควำมงำม สำรเคมีต่ำง ๆ เป็ นต้น สำหรับกำรลงทุนจำกประเทศญี่ปุ่นนั้น ผูป้ ระกอบกำรจำกประเทศญี่ปุ่นเป็ นผูล้ งทุนอันดับหนื่งในประเทศ ไทย จึงเป็ นเหตุให้บริ ษทั ซึ่ งมีส่วนแบ่งกำรตลำดของโรงงำนสำเร็ จรู ปสู งที่สุด และเป็ นผูใ้ ห้เช่ำคลังสิ นค้ำรำยใหญ่ ของประเทศมีลูกค้ำเช่ำโรงงำน และคลังสิ นค้ำจำกประเทศญี่ปุ่นมำกเป็ นไปตำมสัดส่ วน บริ ษทั มีควำมเห็นว่ำ ใน ภูมิภำคเอเชียโดยเฉพำะอย่ำงยิง่ เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เมื่อมีกำรรวมกลุ่มกันทำงเศรษฐกิจ หรื อ ASEAN Economic Cooperation (AEC) แล้ว ประเทศไทยจะยังคงเป็ นประเทศที่อยูใ่ นลำดับต้น ๆ ที่นกั ลงทุนมีควำมสนใจ เข้ำมำลงทุนจำกควำมได้เปรี ยบในด้ำนต้นทุนกำรผลิต ควำมเสี่ ยงจำกกำรกระจุกตัวของผูเ้ ช่ำที่มำจำกประเทศญี่ปุ่น จึงเป็ นควำมเสี่ ยงที่บริ ษทั ยอมรับได้

โครงสร้ างการจัดการ

กรรมการผู้จดั การ

ผู้จดั การทัว่ ไป

ผู้จดั การทัว่ ไป

ผู้จดั การทัว่ ไป

ฝ่ ายการตลาด

(สาขาอยุธยา)

(สาขาระยอง)

ฝ่ ายขายและ

ฝ่ ายบริ หารโครงการ

ฝ่ ายบริ หารโครงการ

ฝ่ ายบัญชีและ

การตลาด

สาขาอยุธยา

สาขาระยอง

การเงิน

ผู้จดั การฝ่ ายบัญชี และการเงิน

14. ความเสี่ ยงจากการไม่ มีผ้ เู ช่ าโรงงาน/คลังสิ นค้ าที่อยู่ในแผนการก่ อสร้ างในปัจจุบัน ณ 31 ธันวำคม 2559 บริ ษทั มีโรงงำน 157 โรง และคลังสิ นค้ำ 211 หลัง ที่อยูใ่ นแผนกำรก่อสร้ำง โดย บริ ษทั อำจมีควำมเสี่ ยงจำกกำรไม่มีผเู ้ ช่ำโรงงำน/คลังสิ นค้ำที่จะสร้ำงแล้วเสร็ จตำมแผนกำรก่อสร้ำงในปั จจุบนั อัน จะส่ งผลให้บริ ษทั มีภำระต้นทุนกำรก่อสร้ำงในช่วงเวลำดังกล่ำว อย่ำงไรก็ตำม บริ ษทั เชื่อว่ำจะสำมำรถควบคุมควำมเสี่ ยงดังกล่ำวได้ เนื่องจำกบริ ษทั มิได้มีนโยบำยในกำร สร้ำงโรงงำน/คลังสิ นค้ำเพื่อปล่อยทิ้งไว้ให้วำ่ งจำนวนมำก กล่ำวอีกนัยหนึ่งก็คือ บริ ษทั จะสร้ำงโรงงำน/คลังสิ นค้ำ เตรี ยมไว้พร้อมให้เช่ำในแต่ละทำเลโดยเฉลี่ยประมำณ 3 - 4 โรง และจะชะลอกำรก่อสร้ำงหำกมีโรงงำน/คลังสิ นค้ำ ที่สร้ำงเสร็ จพร้อมให้เช่ำมำกกว่ำจำนวนที่ตอ้ งกำร ทั้งนี้ กำรที่บริ ษทั มีทีมงำนก่อสร้ำงของตนเอง ทำให้กำรบริ หำร

ประกอบด้วย กรรมการที่ เป็ นผูบ้ ริ หาร 2 ท่าน กรรมการที่ เป็ นอิสระ 6 ท่าน และกรรมการที่ ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร 3 ท่าน ซึ่ งถือว่ามีการถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร โดยบริ ษทั มีกรรมการที่เป็ นอิสระ 5 ท่าน คิดเป็ น 1 ใน 2 ของ กรรมการทั้งคณะ สาหรับการรวมหรื อแยกตาแหน่งแบ่งเป็ นดังนี้ - ประธานกรรมการเป็ นกรรมการที่ไม่ได้เป็ นผูบ้ ริ หาร และไม่ได้ถือหุน้ บริ ษทั - ประธานกรรมการเป็ นกรรมการที่เป็ นอิสระและไม่มีความสัมพันธ์ใดๆ กับฝ่ ายบริ หาร - ประธานกรรมการไม่เป็ นบุคคลเดียวกันกับประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร และหรื อ กรรมการผูจ้ ดั การ เพื่อเป็ น การแบ่งแยกหน้าที่ในการกาหนดนโยบายการกากับดูแลการบริ หารงานประจา

กำรก่อสร้ำงทำได้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพ และมีควำมยืดหยุน่ ในกำรเร่ ง/ชะลอ/หยุดกำรก่อสร้ำง หรื อโยกย้ำยคนงำน ไปก่อสร้ำงในทำเลที่มีควำมต้องกำรเช่ำโรงงำน/คลังสิ นค้ำได้โดยง่ำย

46

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

47


บริ ษทั ได้กาหนดคุณสมบัติของ กรรมการอิสระ เป็ นดังนี้ -

-

-

-

-

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของทุนชาระแล้วของบริ ษทั , บริ ษทั ย่อย, บริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง โดยให้นบั รวมหุน้ ที่ถือโดยผูท้ ี่เกี่ยวข้องและกาหนดคุณสมบัติอื่นตามที่ สานักงาน กลต. กาหนด ไม่มีส่วนร่ วมบริ หาร ไม่เป็ นพนักงาน/ลูกจ้าง/ที่ปรึ กษา ที่ได้รับเงินเดือนประจา หรื อเป็ นผูม้ ี อานาจควบคุมของบริ ษทั , บริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งใน ปั จจุบนั และช่วง 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้ง ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ตหรื อโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เป็ นบิดามารดา คู่สมรส พี่ น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรกับผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ ผูม้ ีอานาจควบคุม หรื อ บุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อเป็ นผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอานาจควบคุมของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริ ษทั , บริ ษทั ย่อย, บริ ษทั ร่ วม หรื อนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในปัจจุบนั และ 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั้งในลักษณะของการให้บริ การทางวิชาชีพ เช่น ผูส้ อบ บัญชี ผูใ้ ห้บริ การทางวิชาชีพ, ที่ปรึ กษาทางกฎหมาย, ที่ปรึ กษาทางการเงิน, ผูป้ ระเมินราคา ทรัพย์สิน เป็ นต้น หรื อไม่มีความสัมพันธ์ทางการค้า/ทางธุรกิจซึ่งมีมูลค่ารายการตั้งแต่ 20 ล้าน บาทขึ้นไป หรื อตั้งแต่ร้อยละ 3 ของมูลค่าสิ นทรัพย์ที่มีตวั ตนสุทธิของบริ ษทั แล้วแต่จานวนใดจะ ต่ากว่า ทั้งนี้ในการพิจารณามูลค่ารายการให้รวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง 6 เดือนก่อนวันที่มี การทารายการในครั้งนี้ดว้ ย ไม่เป็ นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการบริ ษทั ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุน้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั ไม่มีลกั ษณะอื่นใดที่ทาให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างอิสระได้

รายชื่ อคณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีดงั ต่ อไปนี้ ชื่ อ - สกุล ตาแหน่ ง นายสุกิจ หวัง่ หลี ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ นายดิเรก วินิชบุตร กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร นายจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การ นายพงส์ สารสิ น กรรมการ และกรรมการอิสระ นายพงษ์ศกั ดิ์ อังสุพนั ธุ์ กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายอนุวฒั น์ เมธีวบิ ูลวุฒิ กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ น.ส.อมรา เจริ ญกิจวัฒนกุล กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ นายชาย วินิชบุตร กรรมการ นายยาซูชิ ทาเคซาว่า กรรมการ นายยาสุฮิโระ สุกิกชุ ิ กรรมการ หมายเหตุ ดูความสัมพันธ์/บริ การวิชาชีพ, การดารงตาแหน่งกรรมการแต่ละท่านกับบริ ษทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ในหัวข้อประวัติของ คณะกรรมการและหัวข้อรายชื่อกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และผูม้ ีอานาจควบคุมในบริ ษทั บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม

48

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามแทนบริ ษทั บริ ษทั ฯได้กาหนดไว้ในหนังสื อรับรองของบริ ษทั ฯ ให้กรรมการผูม้ ีอานาจลงลายมือชื่อแทนบริ ษทั คือ นายดิเรก วินิชบุตรและ นายจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการ 2 ท่านนี้ ลงลายมือชื่อร่ วมกันและประทับตราสาคัญของบริ ษทั เป็ นผูม้ ี อานาจผูกพันบริ ษทั โดยคณะกรรมการมีอานาจกาหนดหรื อแก้ไขเพิ่มเติมชื่อกรรมการผูม้ ีอานาจลงนามผูกพันบริ ษทั ขอบเขตอานาจหน้าที่ของประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร  กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หารให้เป็ นไปตามนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด  สร้างวิสยั ทัศน์และกาหนดพันธกิจ เพื่อกาหนดแนวทางการดาเนินงานและพัฒนาองค์กรในระยะยาว  ดาเนินกิจการและอนุมตั ิเรื่ องดาเนินการตามที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนดไว้ในอานาจดาเนินการ เช่น - การลงนามในสัญญาเช่า/ซื้อที่ดินและสัญญาให้เช่าพื้นที่/ให้บริ การของบริ ษทั - การอนุมตั ิการจัดซื้อจัดจ้างของบริ ษทั - การแต่งตั้งบุคลากรของบริ ษทั เป็ นต้น ยกเว้ น การดาเนินการใดที่ตาม ข้อบังคับของบริ ษทั หลักเกณฑ์ของกฎหมาย หรื อหลักเกณฑ์ของหน่วยงานที่ควบคุมดูแล บริ ษทั กาหนดให้ตอ้ งได้รับความเห็ นชอบจากที่ ประชุ มคณะกรรมการหรื อที่ ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น ให้ประธาน เจ้าหน้าที่บริ หารจะต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ดงั กล่าวทั้งหมด  สาหรับการตัดสิ นใจลงทุนในธุรกิจต่างๆ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารจะนาเรื่ องเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณาอนุมตั ิเป็ นคราวๆ ไป  สาหรับการดาเนินงานที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวโยง และรายการได้มาหรื อจาหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินของบริ ษทั ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารจะดาเนินการตามหลักเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ การมอบอานาจดังกล่าวข้างต้นให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารนั้น กาหนดให้ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร หรื อ ผูร้ ับมอบอานาจจากประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ไม่สามารถอนุมตั ิรายการที่ตนหรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสี ย หรื ออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใด ทากับบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อย เว้นแต่เป็ นการอนุมตั ิรายการที่ เป็ นไปตามปกติธุรกิจ และ รายการที่มีการกาหนดขอบเขตการอนุมตั ิที่ชดั เจน ได้แก่การอนุมตั ิให้บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย เข้า ทาข้อตกลงหรื อสัญญาใดๆ ที่ เกี่ยวกับการซื้ อขายไฟฟ้ า การให้บริ การ หรื อการรับบริ การ ซึ่ งเป็ นการดาเนิ นการค้าปกติ ระหว่างบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยกับบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง ซึ่ งนโยบายการคิดราคาเป็ นราคาที่ สามารถเที ยบเคียงได้กบั ราคาที่คิดกับบุคคลอื่น องค์ประกอบและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริ ษทั 1. คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยกรรมการจานวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และกรรมการไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ งของ จานวนกรรมการทั้งหมดต้องมี ถิ่ นที่ อยู่ในราชอาณาจักรและต้องมี คุณสมบัติต ามที่ กฎหมายกาหนด ซึ่ ง เลือกตั้งและถอดถอนโดยที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ 2. ให้ที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เลือกตั้งกรรมการ ตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ (1) ผูถ้ ือหุน้ รายหนึ่งมีคะแนนเสี ยงเท่ากับหนึ่งหุน้ ต่อหนึ่งเสี ยง (2) ผูถ้ ือหุน้ แต่ละคนจะต้องใช้คะแนนเสี ยงที่มีอยูท่ ้ งั หมดตาม (1) เลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรื อหลายคน เป็ นกรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสี ยงให้แก่ผใู ้ ดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสี ยงสู งสุ ดตามลาดับลงมา เป็ นผูไ้ ด้รับการเลือกตั้งเป็ นกรรมการเท่าจานวน กรรมการที่จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณี ที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลาดับถัดลง มาหากมีคะแนนเสี ยงเท่ากันเกิ นจานวนกรรมการที่ จะพึงมีหรื อจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้นให้ผูเ้ ป็ น ประธานเป็ นผูอ้ อกเสี ยงชี้ขาด ROJANA ANNUAL REPORT 2016

49


3. ในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตาแหน่งหนึ่ งในสาม ถ้าจานวนกรรมการที่จะแบ่ง ออกให้ตรงเป็ นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจานวนใกล้ที่สุดกับส่ วนหนึ่ งในสาม กรรมการที่จะต้องออกจาก ตาแหน่งในปี แรกและปี ที่สองภายหลังจดทะเบียนบริ ษทั นั้น ให้ใช้วธิ ีจบั สลากกันว่าผูใ้ ดจะออก ส่ วนปี หลัง ๆ ต่อไป ให้กรรมการท่านที่อยูใ่ นตาแหน่งนานที่สุดนั้นเป็ นผูอ้ อกจากตาแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจ ถูกเลือกเข้ามาดารงตาแหน่งใหม่ได้ 4. นอกจากการพ้น จากต าแหน่ งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้น จากต าแหน่ งเมื่ อ ตาย หรื อลาออก หรื อ ขาด คุณสมบัติหรื อมีลกั ษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกาหนด หรื อ ที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นลงมติให้ออก หรื อศาลมีคาสั่ง ให้ออก 5. กรรมการคนใดจะลาออกจากตาแหน่ง ให้ยนื่ ใบลาออกต่อบริ ษทั ฯ การลาออกมีผลนับแต่วนั ที่ใบลาออกไปถึง บริ ษทั ฯ 6. ในกรณี ที่ตาแหน่ งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้ฝ่ายจัดการเป็ นผูค้ ดั เลือก และเสนอชื่ อบุคคลซึ่ งมีคุณสมบัติเหมาะสม ให้คณะกรรมการพิจารณาเลือกเข้าเป็ นกรรมการแทนในการ ประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปก็ได้ เว้นแต่วาระของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดื อน บุคคลซึ่ งเป็ น กรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตาแหน่งกรรมการได้เพียงเท่าวาระที่ยงั เหลืออยูข่ องกรรมการที่ตนแทน ทั้งนี้ มติของคณะกรรมการในกรณี น้ ี ตอ้ งประกอบด้วยคะแนนเสี ยงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ ของจานวนกรรมการที่ยงั เหลืออยู่ 7. ในการลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตาแหน่ งก่อนถึงคราวออกตามวาระ ให้ถือคะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่า สามในสี่ ของจานวนผูถ้ ือหุน้ ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสี ยง และมีหุน้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ยกว่ากึ่งหนึ่ งของ จานวนหุน้ ที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสี ยง อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ อานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบที่สาคัญของคณะกรรมการบริ ษทั ฯ สรุ ปได้ดงั นี้  ดูแลและจัดการบริ ษทั ฯ ตลอดจนปฏิ บตั ิหน้าที่ให้เป็ นตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ นโยบาย และ ข้อบังคับของบริ ษทั ฯ ตลอดจนมติของที่ประชุม  แต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็ นประธานกรรมการ และแต่งตั้งกรรมการอีกคนหนึ่ง หรื อหลายคนเป็ น รองประธานกรรมการ  แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อประสานงานกับฝ่ ายตรวจสอบและดูแลปฏิบตั ิงานภายใน  กากับ ดู แลการบริ ห ารงานของฝ่ ายจัดการให้ดาเนิ น งานอย่า งมี ป ระสิ ทธิ ภาพและเป็ นไปตาม กฎระเบียบ ข้อบังคับของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี โดยจัดให้มีการทางบดุลและบัญชี กาไรขาดทุน ณ วันสิ้ นสุ ดรอบปี บัญชี ของบริ ษทั ฯ และจัดให้ผสู ้ อบบัญชีตรวจสอบให้เสร็ จก่อน นาเสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้  แต่งตั้งบุคคลอื่นใดให้ดาเนิ นกิจการของบริ ษทั ฯ ภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการ หรื อมอบ อ านาจเพื่ อ ให้ บุ ค คลดัง กล่ า วมี อ านาจตามที่ ค ณะกรรมการเห็ น สมควรและภายในเวลาที่ คณะกรรมการเห็นสมควร และคณะกรรมการอาจยกเลิกเพิกถอนเปลี่ยนแปลงหรื อแก้ไขอานาจ นั้น ๆ ได้

50

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

  

ประชุมคณะกรรมการ จัดให้มีและเรี ยกประชุมผูถ้ ือหุ ้น จัดทารายงานการประชุมคณะกรรมการ และรายงานการประชุมผูถ้ ือหุน้ พิจารณาการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล เมื่อบริ ษทั ฯมีกาไรสมควรพอ และรายงานให้ที่ประชุมผูถ้ ือ หุน้ ทราบในการประชุมคราวต่อไป พิจารณาให้ความยินยอมกรณี มีการทาธุรกรรมรายการระหว่างบริ ษทั /บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน

2 ผูบ้ ริ หาร ผู้บริหารของบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2559 ชื่ อ-สกุล 1. นายดิเรก วินิชบุตร 2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร 3. นายโยอิชิ คิมุระ 4. นายเจริ ญ ศักดิ์ศิริศิลป์ 5. นางวิไล เปล่งวิทยา 6. นางสาวผ่องศรี สุนยั ยศ

ตาแหน่ ง ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร และ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูจ้ ดั การ และ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม ผูจ้ ดั การฝ่ ายการตลาด ผูจ้ ดั การสาขาระยอง ผูจ้ ดั การฝ่ ายกฎหมายและเลขานุการบริ ษทั สมุห์บญั ชี

3 เลขานุการ คณะกรรมการบริ ษทั ได้มีมติแต่งตั้งให้ นางวิไล เปล่งวิทยา ดารงตาแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษทั ตามที่ประชุม คณะกรรมการครั้งที่ 7/2551 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2551 โดยคุณสมบัติของผูด้ ารงตาแหน่งเป็ นเลขานุการบริ ษทั ปรากฏใน เอกสารแนบ 1 4 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร 4.1 ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน ปี 2559 ปี 2558 จานวนราย (คน) จานวนเงิน (บาท) จานวนราย (คน) จานวนเงิน (บาท) เบี้ยประชุมกรรมการและบาเหน็จกรรมการ 10 7,210,556 11 7,574,444 ค่ าตอบแทนกรรมการ

ค่ าตอบแทนผู้บริหาร เงินเดือน เงินกองทุนสารองเลี้ยงชีพ และโบนัส

ปี 2559 ปี 2558 จานวนราย (คน) จานวนเงิน (บาท) จานวนราย (คน) จานวนเงิน (บาท) 4

9,773,169

5

11,870,909

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

51


52

ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ภาษีทบี่ ริษัท ค่ าตอบแทนทีไ่ ด้รับ ค่ าตอบแทนคณะกรรมการ สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 จานวนครั้งทีเ่ ข้ าประชุม ชื่ อ-สกุล ค่ าตอบแทน ภาษีออกให้ ษัทย่ อไ่ ยและ ทบี่ ริษัท ค่ าจากบริ ตอบแทนที ด้รับ (จ านวนการประชุ ม 5 ครั ้ ง ) จ านวนครั ้ ง ที เ ่ ข้ า ประชุ ม ริษัท ค่ าตอบแทนทีไ่ ด้รับม ชื่ อ-สกุล ค่ าตอบแทน ภาษีทบี่ ออกให้ จานวนครั ้ งทีเ่ ข้ าประชุ ม5 ครั้ง) จากบริบริษษัทัทย่ร่อวยและ (จ านวนการประชุ ม ัทย่ษอัทยและ ค่ าตอบแทน 1. นายสุชืก่ ิอจ-สกุล หวัง่ หลี 1,200,000 ออกให้ - านวนการประชุม5 5 ครั้ง) จากบริษบริ -ร่ วม (จ บริษัทร่ ว-มนายดิกเิจรก วินง่ ิหลี ชบุตร 600,000 1.2. นายสุ หวั 1,200,000 -55 1. 2.นายสุ กิจ เรก 1,200,000 - -5 55 -7,195,000 3. นายดิ นายจิ ระพงษ์ หวัง่ วิหลี วินนิชิชบุบุตตรร 600,000 600,000 2. 3.นายดิ เ รก วิ น ิ ช บุ ต ร 600,000 5 4. นายจิ นายพงส์ 1,200,000 ระพงษ์ วิสารสิ นิชบุตนร 600,000 -55 7,195,000 3. 4.นายจิ ระพงษ์ ศกั ดิ์ วินิชสารสิ บุอังตสุรพนนั ธ์ 600,000 - 5 55 7,195,000- 5. นายพงส์ นายพงษ์ 600,000 24,444 1,200,000 4. 5.นายพงส์ นสุพญนั กิธ์จวัฒนกุล 1,200,000 - 5 55 - -6. นายพงษ์ น.ส.อมรา 600,000 ศกั ดิ์ สารสิ อังเจริ 600,000 24,444 5. 6.นายพงษ์ ศกั ดิ์ อังสุเจริ พวินั นญธ์ิชกิบุจตวัรฒนกุล 600,000 5 53 -4,344,000 7. น.ส.อมรา นายชาย 600,000 24,444 - 600,000 6. 7.น.ส.อมรา 600,000 - -5 33 - 8. นายชาย นายอนุวฒั น์ เจริ ญวิเมธี 600,000 นกิจิชวัวบุฒบิ ตุลนกุ รวุฒลิ 600,000 4,344,000 7. 8.นายชาย วินิชเมธี บุตวรบิ ุลวุฒา ิ 600,000 - -3 34 4,344,000- 9. นายอนุ นายยาซู ทาเคซาว่ 600,000 วฒั ชน์ิ 600,000 8. 9.10. นายอนุ วฒั น์ชฮิ ิโระ เมธีทาเคซาว่ วบสุิ กุลิกวุฒชุ ิ ิ า 600,000 - -3 42 - -นายยาสุ 600,000 นายยาซู 600,000 9. 10.นายยาซู ชิ ฮิโระ ทาเคซาว่ 600,000 - 4 2 - นายยาสุ สุกิกชุ าิ 600,000 10. นายยาสุฮิโระ สุกิกชุ ิ 600,000 2 4.2 ค่ าตอบแทนอื่น ๆ าตอบแทนอื่น่นๆของกรรมการ 4.2 ค่ค่าตอบแทนอื 4.2 ค่ าตอบแทนอื -ไม่มี- ่น ๆ ่นของกรรมการ ค่าตอบแทนอื ค่าตอบแทนอื ค่-ไม่ าตอบแทนอื ่นของผูบ้ ริ หาร มี- ่นของกรรมการ -ไม่ ม ี ได้แก่ เงินกองทุ นสบ้ ารองเลี ค่าตอบแทนอื ่นของผู ริ หาร ้ ยงชีพ บริ ษทั ได้สมทบในอัตราส่วนร้อยละ 5 ของเงินเดือน โดยในปี 2559 บริ ษทั ได้ ค่าตอบแทนอื บ้ นริสหารองเลี าร้ ยงชีพ้ ยงชี จ่ายเงิ นสมทบกองทุ นสารองเลี สาหรั บผูษบ้ ทั ริ หได้ารสมทบในอั 4 ราย รวมเป็ นเงิวนร้ นทัอ้ งยละ สิ้น 50.25 ล้านบาท ได้แก่ เงิ่นนของผู กองทุ พ บริ ตราส่ ของเงิ นเดือน โดยในปี 2559 บริ ษทั ได้ ได้ แ ก่ เงิ น กองทุ น ส ารองเลี ย งชี พ บริ ษ ท ั ได้ ส มทบในอั ต ราส่ ว นร้ อ ยละ 5 ของเงิ น เดื อน โดยในปี 2559 บริ ษทั ได้ ้ จ่ายเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร 4 ราย รวมเป็ นเงินทั้งสิ้น 0.25 ล้านบาท จ่ายเงิ5นบุสมทบกองทุ คลากร นสารองเลี้ยงชีพสาหรับผูบ้ ริ หาร 4 ราย รวมเป็ นเงินทั้งสิ้น 0.25 ล้านบาท 5 บุคลากร 5 บุคลากร ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน ปี 2559 ค่ าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงิน ค่าตอบแทนพนักงาน ธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพปี ย์2559 ระบบสาธารณูปโภค ค่าตอบแทนพนักงาน ปี พ2559 พนักงานปฏิ บตั ิการ (คน)* 5 ปโภค ธุรกิจพัฒนาอสั62งหาริ มทรั ย์ ระบบสาธารณู ค่าตอบแทนพนั กงาน ธุรกิจพัฒนาอสังหาริ ระบบสาธารณู5ป6 โภค พนักกงานปฏิ งานบริบหตั าร พนั ิการ(คน)* (คน)* 629 มทรัพย์ พนักพนั งานปฏิ บตั ิกหารารานั(คน)* 62 970 5 630 พนักกงานบริ งานในส กงาน (คน)* (คน)* พนักพนั งานบริ หาร (คน)* 9 70141 6 3041 รวม (คน) กงานในส านักงาน (คน)* พนักรวม งานในส (คน)*(ล้านบาท)* 70 141 30 25.56 ค่าตอบแทนพนั 59.66 (คน)านักงานกงาน 41 รวมค่*(คน) 141 41 ษทั และบริ ษทั กย่งาน อย เฉพาะพนั กงานประจาของบริ ษทั าบริ ตอบแทนพนั (ล้านบาท)* 59.66 25.56 ค่าตอบแทนพนั ก งาน (ล้ า นบาท)* 59.66 25.56 *บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย เฉพาะพนักงานประจาของบริ ษทั ฒนาพนั กงาน *บริ ษทั และบรินโยบายการพั ษทั ย่อย เฉพาะพนั กงานประจ าของบริ ษทั บริ ษทั มีการจัดอบรมพนักงานให้มีความรู ้ความสามารถตามลักษณะงานของแต่ละฝ่ าย โดยการจัดส่ งพนักงานไป อบรมเพิ่มเติมความรู ้ และวิวฒั นาการใหม่ๆ ตามความเหมาะสมของงานแต่ละฝ่ าย เช่น การสัมมนาเกี่ยวกับความรู ้ดา้ น กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง การสัมมนาเกี่ ยวกับเทคโนโลยีของโรงไฟฟ้า การสัมมนาเกี่ ยวกับการกากับดูแลกิ จการที่ ดี และการ สัมมนาเฉพาะด้านต่างๆ เป็ นต้น ทั้งนี้ ผูบ้ ริ หารเป็ นผูพ้ ิจารณาในเรื่ องดังกล่าว เพื่อให้พนักงานนาความรู ้และวิวฒั นาการ ใหม่ๆ ดังกล่าวมาปรับปรุ งและประยุกต์ใช้กบั ระบบงานของบริ ษทั ROJANA ANNUAL REPORT 2016

1 นโยบายการกากับดูแลกิจการ

การกากับดูแลกิจการ

บริ ษทั ปฏิบตั ิตามหลักการการกากับดูแลกิจการที่ดีสาหรับบริ ษทั จดทะเบียนอย่างต่อเนื่อง และจากผลประเมินการ กากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบียนที่จดั ทาโดยสมาคมส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ปรากฏผลตามรายงาน การกากับดูแลกิจการเฉพาะบริ ษทั (Company Corporate Governance Assessment Report) ประจาปี 2559 บริ ษทั มีคะแนน ภาพรวมเท่ากับร้อยละ 68 โดยมีคะแนนในหมวดการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ในระดับ “ดีเลิศ” , หมวดสิ ทธิของ ผูถ้ ือหุน้ และหมวดการเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่ งใส ได้รับคะแนนในเกณฑ์ “ดีมาก” , หมวดการคานึงถึงบทบาทของผูม้ ี ส่วนได้เสี ย และหมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ได้รับคะแนนในเกณฑ์ “ผ่าน” คณะกรรมการบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามข้อพึงปฏิ บตั ิที่ดีสาหรับกรรมการบริ ษทั จดทะเบี ยน ตามแนวทางของตลาด หลักทรัพย์ และข้อบังคับของบริ ษทั ทุกประการ บริ ษทั ขอรายงานเรี ยงตามลาดับของหลักการในแต่ละหัวข้อดังต่อไปนี้ สิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ตระหนักถึงสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ในความเป็ นเจ้าของ ซึ่งจะควบคุมบริ ษทั โดยผ่านการแต่งตั้งคณะกรรมการให้ ทาหน้าที่แทน และมีสิทธิในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ บริ ษทั จึงได้ทาการส่งเสริ มให้ผถู ้ ือหุน้ ได้ใช้สิทธิ ของตน และได้รับการคุม้ ครองสิ ทธิข้ นั พื้นฐาน โดยดาเนินการให้ผถู ้ ือหุน้ ได้รับข่าวสารข้อมูลของบริ ษทั อย่างเพียงพอ การ เข้าร่ วมประชุมเพื่อใช้สิทธิออกเสี ยงในที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้นเพื่อแต่งตั้งกรรมการ กาหนดค่าตอบแทนกรรมการ แต่งตั้งผูส้ อบ บัญ ชี และก าหนดจ านวนเงิ น ค่ า สอบบัญ ชี รวมถึ ง การใช้สิ ท ธิ ล งคะแนนในเรื่ อ งส าคัญ ของบริ ษัท เป็ นต้น โดย คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนดนโยบายการกากับดู แลกิ จการไว้ชัดเจนว่า บริ ษทั จะส่ งเสริ มให้ผูถ้ ื อหุ ้นได้ใช้สิทธิ ข้ นั พื้นฐาน โดยบริ ษทั จะไม่กระทาการใด ๆ อันเป็ นการละเมิดหรื อลิดรอนสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ในการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ได้กาหนดวันประชุม ซึ่งไม่ใช่วนั หยุดต่อเนื่อง หรื อวันหยุดนักขัตฤกษ์และ กาหนดเวลาประชุมไม่เช้าหรื อเย็นเกินไป และกาหนดสถานที่ประชุม ซึ่งเป็ นบริ เวณที่มีการคมนาคมสะดวก มีสถานที่จอด รถเพียงพอ พร้อมแนบแผนที่สถานที่ประชุม ในปี 2559 บริ ษทั ได้จดั ให้มีการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2559 ณ ห้องบุษราคัม ชั้น 2 โรงแรมอวานี เอ เทรี ยม เลขที่ 1880 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ทั้งนี้ บริ ษ ัท ได้เ ผยแพร่ ห นัง สื อ เชิ ญ ประชุ ม พร้ อ มทั้ง ข้อ มู ล ประกอบการประชุ ม ตามวาระต่ า ง ๆ บนเว็บ ไซต์ข องบริ ษ ัท (www.rojana.com) เป็ นการล่วงหน้า 30 วันก่อนวันประชุม พร้อมทั้งได้จดั ส่งหนังสื อเชิญประชุมให้กบั บริ ษทั ศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ซึ่ งเป็ นนายทะเบียนหุ ้นของบริ ษทั เป็ นผูจ้ ดั ส่ งให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นล่วงหน้า 14 วันก่อนประชุม เพื่อให้ผถู ้ ือหุน้ มีเวลาพิจารณารายละเอียดของแต่ละวาระ และหากผูถ้ ือหุน้ มีวาระเพิม่ เติมใดๆ ก็สามารถเสนอในที่ประชุม ผูถ้ ือหุ ้นพิจารณาได้ ในการจัดส่ งเอกสารการประชุมได้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารประกอบการเข้าร่ วมประชุมและ หนังสื อมอบฉันทะ ในรู ปแบบตามที่กฎหมายกาหนด บริ ษทั ได้อานวยความสะดวกให้กบั ผูถ้ ือหุน้ ที่เข้าร่ วมประชุม โดยจัดเจ้าหน้าที่คอยดูแลต้อนรับและให้ขอ้ มูลแก่ผู ้ ถือหุน้ ทั้งก่อน-หลัง และก่อนการประชุม จัดให้มีของว่างสาหรับผูถ้ ือหุน้

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

53


คณะกรรมการบริ ษ ัท ได้ใ ห้ค วามสาคัญ ในการเข้า ร่ วมประชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น เพื่อ ตอบข้อ ซัก ถามและรั บ ฟั ง ข้อเสนอแนะจากผูถ้ ื อ หุ ้น โดยในปี 2559 มี กรรมการจานวน 9 ท่ านเข้าร่ วมประชุ มพร้ อมทั้งผูบ้ ริ หารของบริ ษทั (มี กรรมการ 1 ท่านที่ไม่ได้เข้าร่ วมประชุม เนื่ องจากติดภารกิจ คือ นายพงส์ สารสิ น) ในการประชุมดาเนิ นไปตามลาดับตาม ระเบียบวาระการประชุมที่กาหนดไว้ในหนังสื อเชิญประชุม และเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามเรื่ อง ต่าง ๆ ในแต่วาระอย่างเต็มที่โดยก่อนเริ่ มการประชุม เลขานุ การบริ ษทั ได้ช้ ีแจงให้ผูถ้ ือหุ ้นทราบรายละเอียดเกี่ ยวกับการ ประชุม วิธีการออกเสี ยงลงคะแนน และสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ในการประชุมดังนี้ ตามข้อบังคับของบริ ษทั ข้อ 40. กาหนดให้การออกเสี ยงลงคะแนนให้ผูถ้ ือหุ ้นหรื อผูร้ ับมอบฉันทะมีคะแนน เท่ากับจานวนหุน้ ที่ตนถืออยูห่ รื อรับมอบฉันทะ โดยถือว่าหนึ่งหุน้ เท่ากับหนึ่งเสี ยง ในการลงคะแนนเสี ยงแต่ ละวาระ ถ้า ไม่มีผูถ้ ื อหุ ้นท่ านใด ไม่เห็ นด้วย หรื องดออกเสี ยง ให้ถือว่าท่ านผูถ้ ื อหุ ้น เห็นชอบหรื อเห็นด้วยตามมติที่นาเสนอ หากมี ผูถ้ ื อ หุ ้น ท่ า นใด ไม่ เห็ นด้วย หรื อ งดออกเสี ย ง ให้ทาเครื่ อ งหมายตามความประสงค์ของท่ านลงในบัต ร ลงคะแนนที่ได้รับ ณ ตอนลงทะเบียน พร้อมกับลงลายมือชื่อในบัตร และชูมือขึ้น เจ้าหน้าที่ของบริ ษทั จะเก็บบัตรลงคะแนน สาหรับวาระปกติ ให้ถือคะแนนเสี ยงข้างมากของผูถ้ ือหุน้ ซึ่งมาประชุมและออกเสี ยงลงคะแนน วาระเพื่อรับทราบ ไม่มีการลงมติ วาระพิเศษ ให้ถือคะแนนเสี ยงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนเสี ยงทั้งหมดของผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ งมาประชุม และมีสิทธิ ออกเสี ยงลงคะแนน ทั้งนี้ การรวบรวมผลคะแนนเสี ยง บริ ษทั จะนาคะแนนเสี ยงที่ ไม่เห็ นด้วย หรื องดออกเสี ยง หักออกจากจานวน คะแนนเสี ยงทั้งหมดของผูท้ ี่เข้าร่ วมประชุม โดยส่วนที่เหลือจะถือว่าเป็ นคะแนนเสี ยงที่เห็นด้วยในระเบียบวาระนั้นๆ กรณี ผูถ้ ือหุ ้นที่ทาหนังสื อมอบฉันทะให้ผอู ้ ื่นเข้าร่ วมประชุม และเป็ นแบบออกเสี ยงลงคะแนนตามความประสงค์ ของท่านผูถ้ ือหุน้ นั้น บริ ษทั ได้นาคะแนน เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรื องดออกเสี ยง บันทึกรวมไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์เพื่อการ ลงมติตามวาระไว้แล้ว และหากผูถ้ ือหุ ้นท่านใด ประสงค์ที่จะออกจากห้องประชุมโดยไม่เข้าร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ ้นอีกต่อไป กรุ ณาแจ้งกับ เจ้าหน้าที่ของบริ ษทั ทางด้านจุดลงทะเบียน เพื่อจะได้หกั จานวนหุน้ ของผูถ้ ือหุน้ ออกในวาระนั้น สาหรับรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั ได้บนั ทึกข้อมูลอย่างชัดเจนเกี่ยวกับรายชื่อกรรมการที่เข้าร่ วมประชุม พร้อมมติที่ประชุม โดยเผยแพร่ รายงานผ่านเว็บไซต์ของบริ ษทั www.rojana.com ภายใน 30 วันหลังจากวันประชุมผูถ้ ือหุน้

54

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน บริ ษทั ให้ความสาคัญและดูแลให้มีการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็ นธรรม ซึ่ งมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ -

ดาเนินการประชุมผูถ้ ือหุน้ ตามลาดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสื อเชิญประชุม และไม่เพิ่ม ระเบียบวาระในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผถู ้ ือหุน้ ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้เพื่อให้ผถู ้ ือหุน้ ได้มี โอกาสศึกษาข้อมูลประกอบการพิจารณาระเบียบวาระต่าง ๆ - จัดให้มีบตั รลงคะแนนเสี ยงสาหรับทุกระเบียบวาระ พร้อมทั้งจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยอานวยความ สะดวกในการจัดเก็บบัตรลงคะแนนเสี ยงในห้องประชุม - บริ ษทั ได้จดั ทาและบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเผยแพร่ รายงานการ ประชุมให้ผถู ้ ือหุน้ ทุกรายรับทราบผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ภายหลังจากที่ได้จดั ส่งรายงานต่อ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แล้วหลังการประชุมเสร็ จสิ้น 14 วัน พร้อมทั้งเผยแพร่ ใน เว็บไซต์ของบริ ษทั - บริ ษทั เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ สามารถเสนอเพิ่มวาระการประชุม , เสนอชื่อผูท้ ี่มีคุณสมบัติดารง ตาแหน่งกรรมการ สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี ของบริ ษทั ได้ล่วงหน้าก่อนการ ประชุม ซึ่งบริ ษทั ได้แจ้งให้ผถู ้ ือหุน้ รับทราบโดยทัว่ กันผ่านทางเว็บไซต์ของบริ ษทั ทั้งนี้ คณะกรรมการจะเป็ นผูพ้ ิจารณาความเหมาะสมของการบรรจุหรื อไม่บรรจุระเบียบวาระการ ประชุมตามที่ผถู ้ ือหุน้ เสนอ และสาหรับบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อเพื่อรับการพิจารณาแต่งตั้ง เป็ นกรรมการ ฝ่ ายจัดการจะนาเสนอคณะกรรมการบริ ษทั และที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ต่อไป - บริ ษทั ได้กาหนดมาตรการป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อหาผลประโยชน์ของกรรมการและ ผูบ้ ริ หาร โดยแจ้งให้ทุกท่านทราบบทบาทภาระหน้าที่ที่ตอ้ งรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของ ตน คู่สมรส และบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะซึ่งถือหลักทรัพย์ของบริ ษทั และรับทราบการจัดทา รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรื อรับโอนหลักทรัพย์ ต่อคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทาการหลังจากวันที่ซ้ือ ขาย โอน หรื อ รับโอนหลักทรัพย์ นอกจากนี้กรรมการและผูบ้ ริ หารยังได้รับทราบหน้าที่และความรับผิดชอบ ตามที่กาหนดรวมถึงบทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และบริ ษทั ได้กาหนดห้ามผูบ้ ริ หารที่ได้รับทราบข้อมูลภายในกระทาการใด ๆ ซึ่งเป็ นการ ขัดต่อมาตรา 241 ของ พระราชบัญญัติฯดังกล่าว รวมถึงกฎเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้อง บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ย บริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อสิ ทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม ไม่วา่ จะเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายในได้แก่ พนักงาน และ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย หรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายนอก ได้แก่ คู่แข่ง เจ้าหนี้ ภาครัฐ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่ องจากบริ ษทั ตระหนักถึงแรงสนับสนุนจากผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ ซึ่ งจะสร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างกาไร ให้กบั บริ ษทั ซึ่งถือว่าเป็ นการสร้างความสาเร็ จในระยะยาวของบริ ษทั ได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้ : -

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

55


 พนักงาน : บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิกบั พนักงานอย่างเท่าเทียม เป็ นธรรม และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม  คู่คา้ : บริ ษทั มีการซื้อสิ นค้าและบริ การจากคู่คา้ เป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้า รวมถึงการปฏิบตั ิตาม สัญญาต่อคู่คา้  เจ้าหนี้ : บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้อตกลง  ลูกค้า : บริ ษทั เอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้า รักษาความลับของลูกค้า และมีหน่วยงานหรื อบุคคล ที่ทาหน้าที่รับข้อร้องเรี ยนของลูกค้าเพื่อรี บดาเนินการให้แก่ลูกค้าโดยเร็ วที่สุด  คู่แข่ง : บริ ษทั ประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันที่ ดี รักษาบรรทัดฐานของข้อพึงปฏิ บตั ิในการ แข่งขัน หลีกเลี่ยงวิธีการไม่สุจริ ตเพื่อทาลายคู่แข่ง  ชุมชน : มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของชุมชน และสังคม ทั้งนี้ บริ ษทั จะปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของกฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สิทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ย เหล่านี้ได้รับการดูแลอย่างดี การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่ งใส คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายให้บริ ษทั มีการดาเนินงาน ด้วยความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ มีการเปิ ดเผยข้อมูล อย่างเพียงพอแก่ผเู ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ าย พร้อมทั้งดูแลให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาและน่าเชื่อถือ และทุก ฝ่ ายสามารถเข้าถึงข้อมูลอย่างเท่าเทียมกัน ในการเปิ ดเผยข้อมูลสาคัญของบริ ษทั นอกจากเผยแพร่ ตามเกณฑ์ที่กาหนดผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย บริ ษทั จะทาการเผยแพร่ ไว้ในเว็บไซต์ของบริ ษทั อาทิเช่น รายงานประจาปี , แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) , ข้อมูลบริ ษทั , รายชื่อคณะกรรมการ , งบการเงิน, การลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม เป็ นต้น พร้อมทั้ง ได้แจ้ง E-mail Address, ที่อยู่ และ เบอร์ โทรศัพท์ ที่ใช้ในการติดต่อกับบริ ษทั ในรายงานประจาปี แล้ว เพื่อให้บริ การข้อมูล และข่าวสารกิจกรรมต่างๆ ของบริ ษทั กับผูล้ งทุน ผูถ้ ือหุน้ นักวิเคราะห์และประชาชนทัว่ ไป ทั้งนี้ ผลู ้ งทุนสามารถติดต่อขอ ทราบข้อมูลบริ ษทั ได้ที่ โทร.0 2716 1750-7 แฟกซ์.0 2716 1758-9 หรื อที่ e-mail address : rojana@rojana.com, acrojana@truemail.co.th หรื อเข้าชมได้ที่ website : www.rojana.com คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีการรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินของบริ ษทั (รายละเอียดดูได้จาก หัวข้อ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินของบริ ษทั ) และรายงานของ ผูส้ อบบัญชี(รายละเอียดดูได้จาก หัวข้อ งบการเงิน) คณะกรรมการให้ความสาคัญต่อการเปิ ดเผยข้อมูลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั อย่างถูกต้องครบถ้วนโปร่ งใส ทัว่ ถึง และทันเวลา โดยเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ ดังกล่าว สาหรับผูล้ งทุนและผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้ใช้ประกอบการตัดสิ นใจลง ผ่าน ช่องทางและสื่ อสารเผยแพร่ ขอ้ มูลต่าง ๆ ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์รวมถึงเว็บไซต์ของบริ ษทั ในปี 2559 บริ ษทั ได้ทาการนัดหมาย (COMPANY VISIT) กับนักวิเคราะห์ นักลงทุนและผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องมาพบกับ ผูบ้ ริ หาร เพื่อสอบถามข้อความความคืบหน้าการดาเนินกิจการ นานักวิเคราะห์และสถาบันการเงินเข้าเยีย่ มชมนิคม 4 ครั้ง COMPANY VISIT / CONFERENCE CALL 50 ครั้ง นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร บริ ษทั ได้กาหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่าง ชัดเจนและโปร่ งใส โดยค่าตอบแทนอยูใ่ นระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะดึงดูดและรักษากรรมการที่มี

56

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

คุณสมบัติที่ตอ้ งการ และได้ขออนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ แล้ว กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่ และความ รับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายเพิ่มมากขึ้น  

ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร : ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารเป็ นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดาเนินงานของบริ ษทั และผลการดาเนินงานของผูบ้ ริ หารแต่ละท่าน จานวนค่าตอบแทนในปี 2559 และ ปี 2558 : บริ ษทั ได้เปิ ดเผยค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารของ บริ ษทั ไว้ในเรื่ องค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร

นโยบายว่าด้วยการต่อต้านทุจริ ตคอร์รัปชัน่ คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายมุ่งมัน่ ในการดาเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต โปร่ งใส มีคุณธรรม ภายใต้ หลักการกากับดูแลกิจการที่ดี และรับผิดชอบต่อสังคม บริ ษทั ได้แสดงเจตนาอย่างมุ่งมัน่ ในการต่อต้านการคอร์รัปชัน่ ในทุก รู ปแบบ โดยบริ ษทั มีนโยบายกาหนดความรับผิดชอบ แนวปฏิบตั ิ และข้อกาหนดในการดาเนินการอย่างเหมาะสม เพื่อ ป้ องกันและหลีกเลี่ยงการดาเนินธุรกิจที่อาจมีความเสี่ ยงที่จะก่อให้เกิดการคอร์รัปชัน่ กับทุกกิจกรรมทางธุรกิจของบริ ษทั บริ ษทั ได้จดั ทานโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน่ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ นแนวทางการปฏิบตั ิ ทั้งนี้ บริ ษทั กาหนดให้ บริ ษทั บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั อื่นที่บริ ษทั มีอานาจควบคุม (ถ้ามี) ตัวแทนทางธุรกิจ รวมถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิ ตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน่ อย่างเคร่ งครัด การแจ้ งเบาะแส หรื อข้ อร้ องเรียน บริ ษทั ได้จดั ให้มีช่องทางให้ผถู ้ ือหุน้ และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มสามารถร้องเรี ยน

หรื อแจ้งเบาะแส

หรื อข้อ

ร้องเรี ยนเกี่ยวกับการทุจริ ตประพฤติมิชอบ ได้โดยตรงด้วยตนเอง ด้วยวาจา หรื อลายลักษณ์อกั ษรผ่านช่องทางต่างๆ 3 ช่องทาง คือ -

ทางไปรษณี ย ์ นาส่งที่คณะกรรมการบริ ษทั หรื อคณะกรรมการตรวจสอบ หรื อเลขานุการบริ ษทั ตามที่อยูข่ า้ งท้ายนี้

-

บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) เลขที่ 2034/115 ชั้น 26 อาคารอิตลั ไทย ทาวเวอร์ ถนนเพชรบุรีตดั ใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพฯ 10310 โทรศัพท์ : (662) 716-7150-7 โทรสาร : (662) 716-1758-9 เว็บไซด์ของบริ ษทั www.rojana.com

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

57


บริ ษทั มีมาตรการคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส หรื อผูร้ ้องเรี ยน ดังนี้ 1. บริ ษทั จะเก็บข้อมูลและตัวตนของผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ ้องเรี ยน หรื อ ผูถ้ ูกร้องเรี ยน ไว้เป็ นความลับ และเปิ ดเผยเท่าที่ จาเป็ น โดยคานึงคาถึงความปลอดภัยและความเสี ยหายของผูแ้ จ้งข้อมูลหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้อง 2. ผูแ้ จ้งเบาะแส ผูร้ ้องเรี ยน จะได้รับการปกป้ องและคุม้ ครองสิ ทธิตามกฎหมาย หรื อตามแนวทางที่บริ ษทั ได้กาหนด ไว้ จะให้ความเป็ นธรรมและคุม้ ครองพนักงาน หรื อบุคคลใดที่ แจ้งเบาะแสหรื อหลักฐานเรื่ องการทุจริ ต ผูท้ ี่ กระทาการ ทุจริ ต คอร์ รัปชัน่ ถื อเป็ นการกระทาผิดตามข้อบังคับเกี่ ยวกับการทางาน ซึ่ งจะต้องได้รับการพิจารณาโทษทางวินัยที่ กาหนดไว้ รวมอาจถึงโทษตามกฎหมาย หากการกระทานั้นผิดต่อกฎหมายด้วย 3. หากผูแ้ จ้งข้อมูลได้รับความเสี ยหายจะได้รับการบรรเทาความเสี ยหาย 4. บริ ษทั จะไม่กระทาการอันไม่เป็ นธรรมต่อผูแ้ จ้งเบาะแส หรื อผูร้ ้องเรี ยน หรื อผูใ้ ห้ความร่ วมมือ บริ ษทั จะไม่มีการ เปลี่ยนแปลงตาแหน่งงาน ลักษณะงาน สถานที่ทางาน สัง่ พักงาน ข่มขู่ เลิกจ้าง ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. โครงสร้างคณะกรรมการ ดูรายละเอียดในข้อ 8.1 โครงสร้างคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการชุดย่อย ปั จจุบนั บริ ษทั ยังไม่มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการสรรหา เนื่องจาก ระบบงาน ภายในบริ ษทั ไม่ซบั ซ้อน และกรรมการมีความรู ้ความสามารถและประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ อย่างเพียงพอ ประกอบมีเวลา ทางานให้กบั บริ ษทั ได้เต็มที่ อีกทั้งค่าตอบแทนที่กรรมการได้รับจะอยูใ่ นมาตรฐานเดียวกันกับอุตสาหกรรมประเภท เดียวกัน 3. บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 3.1 คณะกรรมการบริ ษทั ประกอบด้วยบุคคลในวงการธุรกิจ และจากหลายสาขาอาชีพ ซึ่ งมีภาวะผูน้ า มีวิสัยทัศน์ มีความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสิ นใจเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของ บริ ษทั และผูถ้ ือหุ ้นโดยรวมคณะกรรมการได้มีส่วนร่ วมในการกาหนด(หรื อให้ความเห็ นชอบ) วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้ าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของบริ ษทั ตลอดจนกากับดูแลให้ฝ่ายจัดการดาเนิ นการให้เป็ นไปตามแผนธุรกิจและ งบประมาณที่ กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิ จสู งสุ ดให้แก่กิจการ และความ มัน่ คงสูงสุดให้แก่ผถู ้ ือหุน้  คณะกรรมการได้จดั ให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริ หาร ความเสี่ ยงที่ มีประสิ ทธิ ผล รวมทั้งมีการติ ดตามการดาเนิ นการในเรื่ องดังกล่าวอย่างสม่ าเสมอในการ ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั  คณะกรรมการเป็ นผูพ้ ิจารณาการกาหนด แยกบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการ และฝ่ ายจัด การอย่า งชัด เจน รวมทั้ง มี ก ารสื่ อ สารบทบาท หน้า ที่ และความรั บ ผิด ชอบดัง กล่ า วต่ อ กรรมการ ฝ่ ายจัดการ และพนักงานของบริ ษทั อย่างสม่าเสมอ

58

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

คณะกรรมการกากับดูแลให้คณะกรรมการบริ หารดาเนิ นการตามนโยบายที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ ไม่รวมถึง รายการที่มีความขัดแย้งหรื อมีส่วนได้เสี ย รวมทั้งรายการที่ตอ้ งขอความเห็นจากผูถ้ ือหุ ้น ตามข้อกาหนด ของ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ 3.2 คณะกรรมการมีนโยบายเกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการ เนื่ องจากเห็นว่าเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญ และจาเป็ นต่อ การดาเนินธุรกิจ ให้มีความเจริ ญเติบโตที่ยงั่ ยืน คณะกรรมการมีความมุ่งมัน่ และตั้งใจที่จะปฏิบตั ิตามหลักการดังกล่าว โดย ได้กาหนดนโยบาย ทิศทางการดาเนินงานของบริ ษทั ให้ความสาคัญต่อระบบการควบคุม การตรวจสอบภายใน การกากับ ดู แลฝ่ ายบริ หารให้ดาเนิ นการตามนโยบายอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ เพื่อประโยชน์ในระยะยาวของผูถ้ ื อหุ ้น ภายใต้กรอบ ข้อกาหนดของกฎหมาย และจริ ยธรรมทางธุรกิจ  การปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ และผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยอย่างเท่าเทียมกัน เป็ นธรรมต่อทุกฝ่ าย  คณะกรรมการมี ความมุ่งมัน่ ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว บริ หารงานด้วยความ รอบคอบและระมัดระวัง รั บผิดชอบต่อการปฏิ บัติหน้าที่ ด้วยความสามารถและประสิ ทธิ ภาพที่ เพียงพอ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูถ้ ือหุ ้น ดูแลมิให้เกิดปั ญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรับผิดชอบต่อการตัดสิ นใจและการกระทาของตนเอง ในการนี้ คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาหนด หลัก เกณฑ์แ ละวิ ธีก ารเพื่ อ ให้ก รรมการและผูบ้ ริ ห ารของบริ ษ ัท รายงานการมี ส่ว นได้เ สี ย ของ กรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั หรื อของบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ซึ่ งเป็ นส่ วนได้เสี ยที่เกี่ยวข้อง กับการบริ หารจัดการกิจการของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ทั้งนี้เพื่อให้สามารถติดตามดูแลการมีส่วนได้ เสี ยของกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั หรื อของบุคคลที่ มีความเกี่ยวข้อง และป้ องกันมิให้เกิ ด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์  การดาเนิ นงานเป็ นไปด้วยความโปร่ งใส สามารถตรวจสอบได้ เปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอแก่ผูท้ ี่ เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย  การดาเนินธุรกิจโดยคานึงถึงความเสี่ ยงอยูเ่ สมอ โดยมีการควบคุมและบริ หารความเสี่ ยงที่เหมาะสม  บริ ษทั มีการกาหนดจริ ยธรรมธุรกิจเพื่อให้กรรมการและพนักงานถือปฏิบตั ิแล้ว 3.3 จรรยาบรรณทางธุรกิจ บริ ษทั ได้ออกข้อพึงปฏิบตั ิเกี่ยวกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ ฝ่ ายจัดการ และ พนักงาน เพื่อให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิหน้าที่ตามภารกิจของบริ ษทั ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริ ต และเที่ยง ธรรม ทั้งการปฏิบตั ิต่อบริ ษทั และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม สาธารณชน และสังคม โดยผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้ลงนามรับทราบ และ ตกลงที่จะถือปฏิบตั ิ และบริ ษทั ได้ติดต่อสื่ อสารกับพนักงานอย่างสม่าเสมอ และติดตามการปฏิบตั ิตามแนวทางดังกล่าวเป็ น ประจา รวมถึงกาหนดบทลงโทษทางวินัยไว้ดว้ ย ทั้งนี้ บริ ษทั ได้จดั ให้มีและเปิ ดเผยคู่มือจรรยาบรรณ สาหรับ กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานของบริ ษทั ที่ website : www.rojana.com 3.4 ความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ เพื่อป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการได้ดูแลอย่า ง รอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกาหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมตั ิรายการที่เกี่ยวโยง กัน รวมทั้งกาหนดนโยบายและวิธีการดูแลไม่ให้ผบู้ ริ หารและผูเ้ กี่ยวข้องนาข้อมูลภายในของบริ ษทั ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่วนตน ดังนี้ 

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

59


 รายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ : คณะกรรมการได้ทราบถึงรายการที่ มีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ และรายการที่ เกี่ยวโยงกัน และได้พิจารณาความเหมาะสมอย่างรอบคอบทุกครั้ง รวมทั้งมีการปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ โดยราคาและเงื่อนไขเสมือนทารายการกับ บุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis)  การดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน - กาหนดให้ผบู ้ ริ หารรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ ไทย ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 - ห้ า มไม่ ใ ห้ ผู ้บ ริ หาร หรื อหน่ ว ยงานที่ ไ ด้รั บ ทราบข้อ มู ล ภายในเปิ ดเผยข้อ มู ล ภายในแก่ บุคคลภายนอก หรื อบุคคลที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง 3.5 ด้านการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับการบริ หารความเสี่ ยงเป็ นอย่าง มาก บริ ษทั ได้มีการกาหนดและประเมินความเสี่ ยงของกิ จการ มีการกาหนดมาตรการป้ องกันและจัดการความเสี่ ยง ซึ่ ง รวมถึงความเสี่ ยงที่มีผลต่อการดาเนินงานของบริ ษทั มีการกากับดูแลการปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง และ มีการจัดทารายงานบริ หารความเสี่ ยง 3.6 ระบบการตรวจสอบและควบคุมภายใน บริ ษทั ได้ให้ความสาคัญต่อระบบควบคุมภายในทั้งในระดับบริ หาร และระดับปฏิบตั ิงานเพื่อความมีประสิ ทธิภาพ จึงได้กาหนดภาระหน้าที่ อานาจการดาเนินการของผูบ้ ริ หารและผูป้ ฏิบตั ิงาน ไว้ มีการควบคุมการใช้ทรัพย์สินของบริ ษทั ให้เกิดประโยชน์ และมีการแบ่งแยกหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน ผูต้ ิดตามควบคุมและ ประเมินผลออกจากกัน เพื่อให้เกิดการถ่วงดุล และตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมภายในที่ เกี่ยวกับระบบการเงิน โดยบริ ษทั ได้จดั ให้มีระบบรายงานทางการเงินเสนอผูบ้ ริ หารสายงานที่รับผิดชอบ และต่อกรรมการ บริ ษทั บริ ษทั ได้จดั ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบจานวน 3 ท่าน โดยกรรมการตรวจสอบเป็ นกรรมการที่เป็ นอิสระทั้งหมด กรรมการตรวจสอบได้มี การสอบทานระบบการควบคุ ม ภายใน เพื่ อให้การดาเนิ นงานของบริ ษทั มี ความรั ดกุมและมี ประสิ ทธิ ภาพ มีความโปร่ งใส รวมทั้งสอบทานงบการเงินของบริ ษทั ก่อนนาเสนอต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ นอกจากนี้ ยังได้ สอบทานให้บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของ ก.ล.ต. และ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั ปั จจุบนั บริ ษทั ได้แต่งตั้งให้นายไพรัช เผ่าทิตธรรม เป็ นผูต้ รวจสอบภายในของบริ ษทั และทาหน้าที่เป็ นผูช้ ่วย คณะกรรมการตรวจสอบ ในการดูแลและตรวจสอบระบบการทางาน และความเรี ยบร้อยต่างๆ ภายในบริ ษทั โดยให้รายงาน โดยตรงกับคณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั 4. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการมีกาหนดการประชุมกรรมการตามปกติอย่างสม่าเสมอ และมีการประชุมพิเศษเพิ่มตามความจาเป็ น โดยมีการกาหนดวาระชัดเจน ล่วงหน้า และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดาเนิ นงานเป็ นประจา โดยบริ ษทั ได้จดั หนังสื อ เชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารก่อนการประชุมล่วงหน้า 7 วัน เพื่อให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษา ข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่ วมประชุม ปกติการประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 1.30-2 ชัว่ โมง โดยในปี 2559 มีการ จัดประชุมกรรมการทั้งสิ้น 5 ครั้ง และได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยได้จดั เก็บรายงานการประชุม ที่ผา่ นการรับรองจากคณะกรรมการ พร้อมทั้งให้คณะกรรมการและผูท้ ี่เกี่ยวข้องตรวจสอบและรับรองรายงาน

60

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

5. การประเมินตนเองของคณะกรรมการ ในปี 2559 คณะกรรมการได้มีการประชุมเพื่อประเมินผลการปฏิบตั ิงานโดยรวมในรอบปี ที่ผา่ นมา ซึ่งจะนาผลที่ ได้มาประเมินเพื่อใช้ในการพิจารณาปรับปรุ งแก้ไขการปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ นโยบายและข้อบังคับของ บริ ษทั ฯ 6. ค่าตอบแทน จะแยกพิจารณาเป็ นดังนี้ 

 

ค่าตอบแทนกรรมการ : บริ ษทั ได้กาหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการไว้อย่างชัดเจนและโปร่ งใส โดย ค่ า ตอบแทนอยู่ใ นระดับ เดี ย วกับ อุ ต สาหกรรม และสู ง เพี ย งพอที่ จ ะดึ ง ดู ด และรั ก ษากรรมการที่ มี คุณสมบัติที่ตอ้ งการ และได้ขออนุมตั ิจากที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ แล้ว กรรมการที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่ และความรับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับหน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับ มอบหมายเพิ่มมากขึ้น ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร : ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารเป็ นไปตามหลักการและนโยบายที่คณะกรรมการบริ ษทั กาหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดาเนินงานของบริ ษทั และผลการดาเนินงานของผูบ้ ริ หารแต่ละท่าน จานวนค่าตอบแทนในปี 2559 และ ปี 2558 : บริ ษทั ได้เปิ ดเผยค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หารของ บริ ษทั ไว้ในเรื่ องค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร

7. การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสูงให้ความสนใจต่อการพัฒนาตนเอง เพื่อเสริ มสร้างความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และส่งเสริ มทักษะในการปฏิบตั ิหน้าที่ในฐานะกรรมการบริ ษทั จดทะเบียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึ้น บริ ษทั จึงมีนโยบายส่งเสริ มให้กรรมการได้เข้าร่ วมในการสัมมนาที่จดั โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) ในหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) (รายละเอียดดูได้จาก ประวัติของคณะกรรมการและผูบ้ ริ หาร)

2 คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ณ 31 ธันวาคม 2559 ชื่ อ-สกุล ตาแหน่ ง 1. นายพงษ์ศกั ดิ์ อังสุพนั ธุ์ ** ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. น.ส.อมรา เจริ ญกิจวัฒนกุล ** กรรมการตรวจสอบ 3. นายอนุวฒั น์ เมธีวบิ ูลวุฒิ กรรมการตรวจสอบ ** เป็ นผูม้ ีความรู ้และประสบการณ์เพียงพอที่จะสามารถทาหน้าที่ในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงิน ดูรายละเอียดในหัวข้อประวัติของ คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

61


สาหรับในปี 2559 มี การประชุ มคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งหมดจานวน 4 ครั้ง ซึ่ งแต่ละครั้งจะมีกรรมการ ตรวจสอบจะเข้าประชุมทุกท่าน (ยกเว้นครั้งที่ 3/2559 วันที่ 15 สิ งหาคม 2559 มีคณะกรรมการตรวจสอบ 1 ท่าน คือ นาย อนุวฒั น์ เมธีวบิ ูลวุฒิ ไม่ได้เข้าร่ วมประชุม เนื่องจากติดภารกิจ) อานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปได้ ดังนี้ 1. สอบทานให้บริ ษทั มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2. สอบทานให้บริ ษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพิจารณาความเป็ นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความ เห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน หรื อหน่วยงานอื่นใดที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานให้บริ ษทั ปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคล ซึ่งมีความเป็ นอิสระเพือ่ ทาหน้าที่เป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั และเสนอ ค่าตอบแทน รวมทั้งเข้าร่ วมประชุมกับผูส้ อบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่ วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็ นไปตามกฎหมาย และ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้เพื่อให้มนั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็ นประโยชน์สูงสุดต่อบริ ษทั 6. จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ซึ่งรายงานดังกล่าว ต้องลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้ คือ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็ นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาด หลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริ ษทั - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายงานที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่ วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่าน - ความเห็นชอบหรื อข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบตั ิหน้าที่ตามกฎ บัตร (Charter) - รายการอื่นที่เห็นว่าผูถ้ ือหุน้ และผูล้ งทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั 7. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย ด้วยความเห็นจากคณะกรรมการตรวจสอบ

3 การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งสุ ด

จากปั จจัยต่าง ๆ ได้แก่ ความรู ้ ความสามารถและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ นอกจากนี้ กรรมการและผูบ้ ริ หารของ บริ ษทั ต้องไม่มีลกั ษณะขาดความน่ าไว้วางใจ ในกรณี การคัดเลือกบุคคลที่ เหมาะสมเข้าดารงตาแหน่ งกรรมการบริ ษทั ฯ แทนกรรมการที่ ออกตามวาระ กระทาโดยบริ ษทั ฯเปิ ดโอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อยเสนอรายชื่ อบุ คคลที่ มีคุณสมบัติตาม กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตามคุณสมบัติที่บริ ษทั ฯ กาหนด เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเป็ นกรรมการ บริ ษทั ฯ โดยจะประกาศเชิญชวนในเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ให้ผถู ้ ือหุ ้นเสนอรายชื่อและประวัติบุคคลเข้ามายังบริ ษทั ฯ และ คณะกรรมการบริ ษทั จะทาการคัดเลือกและเสนอชื่อบุคคล ผูม้ ีคุณสมบัติเหมาะสมตามกฎหมายและหลักเกณฑ์ที่กาหนด โดยพิจารณาจากประสบการณ์ ความรู ้ ความสามารถที่ จะเป็ นประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ เพื่อให้คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้ พิจารณา การแต่ ง ตั้ง กรรมการ และกรรมการอิ สระ (ดู ร ายละเอี ย ด ข้อ 8.1 หั ว ข้อ ย่อ ยองค์ป ระกอบและการแต่ ง ตั้ง คณะกรรมการบริ ษทั )

4 การกากับดูแลการดาเนินงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม

ในส่วนนโยบายในการบริ หารงานในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมนั้น บริ ษทั ฯ ได้มีการแต่งตั้งตัวแทนให้เป็ น กรรมการหรื อผูบ้ ริ หารในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม เพื่อให้มีส่วนร่ วมเป็ นกรรมการบริ หารงานของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมนั้นๆ โดยมีส่วนในการควบคุมและกาหนดนโยบายของบริ ษทั สาหรับบริ ษทั ย่อย บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งจากบริ ษทั ฯ นั้น จะต้องดูแลให้บริ ษทั ย่อยมีการจัดเก็บข้อมูลและการบันทึกบัญชีให้บริ ษทั ฯสามารถตรวจสอบได้ และรวบรวมมาจัดทางบ การเงินรวมได้ทนั กาหนด

5 การดูแลเรื่ องการใช้ขอ้ มูลภายใน

กรรมการต้องปฏิ บตั ิ หน้าที่ ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับของบริ ษทั ตลอดจนมติ ของที่ ประชุมผูถ้ ือหุน้ การเปิ ดเผยข้อมูลต่างๆ ที่มีสาระสาคัญและมีผลกระทบต่อบริ ษทั ถ้าเป็ นข้อมูลทางการดาเนิ นงานให้ผ่าน ความเห็นชอบจากประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร แต่ถา้ ข้อมูลใดที่มีผลกระทบต่อผูล้ งทุนต้องผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุม คณะกรรมการบริ ษ ัท นโยบายและวิธีการติ ดตามดู แลในการนาข้อมู ลภายในไปใช้เ พื่อ ประโยชน์ส่วนตนนั้น บริ ษ ัท มอบหมายให้คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูด้ ูแลและพิจารณาตัดสิ นความผิด ในกรณี ที่มีกรรมการ และ/หรื อ ผูบ้ ริ หารมีการใช้ ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ส่วนตัว และมอบหมายให้ประธานเจ้าหน้าที่บริ หารเป็ นผูพ้ ิจารณาความผิด ตามมาตรการการ ลงโทษที่เป็ นไปตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการบริ ษทั หากพนักงานของบริ ษทั กระทาความผิดดังกล่าว

นโยบายการจ่ ายเงินปันผล คณะกรรมการบริ ษทั มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลในอัตราไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิของงบการเงินรวม อย่างไรก็ดี บริ ษทั มีนโยบายในการสารองเงินทุนเพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินงาน และจะนาเงินส่วนที่เหลือ จากการสารองเงินทุนดังกล่าวมาพิจารณาในการจ่ายเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุน้

การคัด เลื อ กบุ คคลที่ จ ะแต่ ง ตั้งเป็ นกรรมการ กรรมการอิ สระและผูบ้ ริ ห ารระดับ สู ง มิ ไ ด้ดาเนิ น การผ่า น คณะกรรมการสรรหา เนื่องจากบริ ษทั ฯยังมิได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการชุดดังกล่าว แต่คณะกรรมการจะพิจารณาร่ วมกัน เพื่อเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและเป็ นไปตามข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และพิจารณา

62

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

63


ในการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2560 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 โดยมีกรรมการตรวจสอบ

ของบริ ษทั รวม 3 ท่านเข้าร่ วม คณะกรรมการได้ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุม ภายในของบริ ษทั ในด้าน

ต่างๆ ทั้ง 5 ด้าน คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริ หารความเสี่ ยง การควบคุมการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริ หาร ระบบ สารสนเทศและการสื่ อสารข้อมูล และระบบการติ ดตาม คณะกรรมการบริ ษทั มี ความเห็ นว่าบริ ษทั มีระบบการควบคุ ม ภายในดังกล่าวเพียงพอแล้ว ทั้งนี้ ที่ผ่านมาการพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรมดังกล่าวได้คานึ งถึงผลประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั เป็ นสาคัญ อย่างไรก็ดี บริ ษทั ได้เพิ่มความระมัดระวังในการทาธุรกรรมดังกล่าวมากขึ้น โดยในการพิจารณาอนุมตั ิธุรกรรม ดังกล่าวในอนาคตจะกระทาโดยผูไ้ ม่มีส่วนได้เสี ยในธุรกรรมเท่านั้น

สาหรับการควบคุมภายในในหัวข้ออื่นของระบบการควบคุมภายใน คณะกรรมการบริ ษทั เห็นว่าปั จจุบนั บริ ษทั

ยังไม่มีฝ่ายตรวจสอบภายในเพื่อทาหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานต่างๆ ตามระบบการควบคุมภายในที่วาง

ไว้อย่างสม่าเสมอ อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ได้กาหนดให้มีเจ้าหน้าที่ของบริ ษทั ทาหน้าที่เป็ นผูช้ ่วยคณะกรรมการตรวจสอบ ใน การดูแลและตรวจสอบระบบการทางาน และความเรี ยบร้อยต่างๆ ภายในบริ ษทั โดยเจ้าหน้าที่ดงั กล่าวจะรายงานโดยตรง ให้กบั คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั

การตรวจสอบในปี ที่ผา่ นมา ผูบ้ ริ หารและคณะกรรมการตรวจสอบไม่พบสถานการณ์หรื อการปฏิบตั ิงานใน ขั้นตอนใดที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยงหรื อความเสี ยหายกับบริ ษทั นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบเข้ามาสอบทานระบบ การควบคุมภายใน และระบบการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั โดยมีการประสานงานกับผูส้ อบบัญชีและผูบ้ ริ หาร เกี่ยวกับการ สอบทานรายงานทางการเงินให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอและเชื่อถือได้ พร้อมทั้งจัดทารายงานการปฏิบตั ิงานของ คณะกรรมการตรวจสอบเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั และรายงานในรายงานประจาปี ของบริ ษทั โดยรายงานดังกล่าวลง นามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ

64 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

74

นายดิเรก วินิชบุตร กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร และ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม 2.

จานวนหุ น้ ที่ถือต้นปี 355,766,201 หุ น้ จานวนหุ น้ ที่ถือสิ้นปี 184,074,037 หุ น้ การซื้อขายระหว่างปี เป็ น การโอนหลักทรัพย์ให้นาย ชาย วินิชบุตร จานวน 171,692,164 หุ น้

86

- Diploma : International Business, London School of Foreign Trade, England - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริ มกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) Class 62/2007 (April 27, 2007)

- Mechanical Engineering, Leicester College, England - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) Class12/2004 (April7,2004)

คุณวุฒิทางการศึกษา

9.11 (รวมสามีภรรยา)

-ไม่ม-ี

พี่ชาย นายจิระพงษ์

-ไม่ม-ี

สัดส่ วนการถือ ความสัมพันธ์ หุ้นในบริษทั ทางครอบครัว (ร้ อยละ) ระหว่ างผู้บริหาร

2537-2544 2545-ปัจจุบนั 2539-ปัจจุบนั 2539-ปัจจุบนั 2539-ปัจจุบนั 2553-ปัจจุบนั 2527-ปัจจุบนั 2525-ปัจจุบนั 2552-ปัจจุบนั 2552-ปัจจุบนั 2546-ปัจจุบนั 2545-ปัจจุบนั 2540-ปัจจุบนั 2532-ปัจจุบนั 2531-ปัจจุบนั 2555-ปัจจุบนั 2555-ปัจจุบนั 2556-ปัจจุบนั 2558-ปัจจุบนั

ช่ วงเวลา

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการ ประธานกรรมการและกรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการ และกรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม ประธานกรรมการและกรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม ประธานกรรมการและกรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการ และกรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม รองประธานกรรมการและกรรมการผูม้ ีอานาจ กรรมการผูม้ ีอานาจและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการ กรรมการผูม้ ีอานาจและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการผูม้ ีอานาจและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการผูม้ ีอานาจและประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม

ตาแหน่ ง

ชื่ อหน่ วยงาน/ บริษทั บมจ.สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บมจ.สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั พูนผล จากัด บริ ษทั รังสิ ตพลาซ่า จากัด บริ ษทั สยามมอดิฟายด์ สตาร์ช จากัด บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย บริ ษทั สยามซานิทารี แวร์ จากัด บริ ษทั ล็อกซเล่ย ์ จากัด (มหาชน) บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด บริ ษทั ซูมิโซ (ไทยแลนด์) จากัด บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด บริ ษทั ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ยี่ กรุ๊ ป จากัด บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด บริ ษทั โรจนะดิสทรี บิวชัน่ เซ็นเตอร์ จากัด บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด บริ ษทั บางกอก ออฟฟิ ต 3 จากัด บริ ษทั ซูมิโซ (แหลมฉบัง) จากัด

ประสบการณ์ทางาน โดยสังเขป

ย่อย

นายสุ กจิ หวัง่ หลี กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการ

ชื่ อ-สกุล/ ตาแหน่ ง

อายุ (ปี )

บริ ษทั โดยมิได้กาหนดอัตราการจ่ายเงินปั นผลที่แน่นอนขึ้นอยูก่ บั ฐานะการเงินและแผนการลงทุนในอนาคตของบริ ษทั

1.

ลาดับ ที่

การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผู้บริหารและผู้มีอานาจควบคุมของบริษทั ณ 28 กุมภาพันธ์ 2560

ในส่วนของบริ ษทั ย่อย คณะกรรมการบริ ษทั ของบริ ษทั ย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลตามผลประกอบการของแต่ละ

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

65


66 ROJANA ANNUAL REPORT 2016 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

67

78

57

น.ส.อมรา เจริญกิจวัฒนกุล กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ 6.

อายุ (ปี )

89

66

นายพงษ์ ศักดิ์ อังสุ พนั ธุ์ กรรมการอิสระ และ ประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ

ชื่ อ-สกุล/ ตาแหน่ ง

นายพงส์ สารสิ น กรรมการอิสระ

จานวนหุ น้ ที่ถือต้นปี 28,590,381 หุ น้ จานวนหุ น้ ที่ถือสิ้นปี 28,590,381 หุ น้ การซื้อขายระหว่างปี ไม่มี

นายจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ และ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม

ชื่ อ-สกุล/ ตาแหน่ ง

อายุ (ปี )

5.

ลาดับ ที่

4.

3.

ลาดับ ที่

- ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Master of Commerce, University of Canterbury, New Zealand - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) Class 10/2004 (March22, 2004) - ปริ ญญาโทบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริ ญญาตรี บญั ชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) Class 23/2004 (August 27, 2004)

คุณวุฒิทางการศึกษา

- B.S. in Business Administration, Boston University, U.S.A.

- MBA (International Business), George Washington University, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) Class35/2005 (April1,2005)

คุณวุฒิทางการศึกษา

-ไม่ม-ี

น้องชาย นายดิเรก

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

สัดส่ วนการถือ ความสัมพันธ์ หุ้นในบริษทั ทางครอบครัว (ร้ อยละ) ระหว่ างผู้บริหาร

-ไม่มี

1.42

สัดส่ วนการถือ ความสัมพันธ์ หุ้นในบริษทั ทางครอบครัว (ร้ อยละ) ระหว่ างผู้บริหาร

2542-ปัจจุบนั 2540-ปัจจุบนั

2549-ปัจจุบนั 2548-ปัจจุบนั 2542-ปัจจุบนั 2542-ปัจจุบนั

ช่ วงเวลา

2537-ปัจจุบนั 2534-ปัจจุบนั 2533-2558 2533-31/10/2556

กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ

กรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ

ตาแหน่ ง

ชื่ อหน่ วยงาน/ บริษทั

บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั โพรเจ็ค ยูนิต้ ี จากัด

บริ ษทั ที.ซี.เจ. เอเซีย จากัด (มหาชน) บริ ษทั ยูนิมิต เอนจิเนียริ่ ง จากัด (มหาชน) บมจ. ศูนย์บริ การเหล็กสยาม บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

ชื่ อหน่ วยงาน/ บริษทั

บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั ผลิตอุปกรณ์ก่อสร้าง จากัด บริ ษทั ฝาจีบ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ไทยน้ าทิพย์ จากัด

บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด บรษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด Shanghai TICON Investment Management CO.,Ltd. บริ ษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด

บริ ษทั โรจนะดิสทรี บิวชัน่ เซ็นเตอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด บมจ. ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ บจ. ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ยี่ กรุ๊ ป บจ. โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

ประสบการณ์ทางาน โดยสังเขป

ประธานกรรมการ และกรรมการผูม้ ีอานาจลง นาม กรรมการอิสระ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร และกรรมการผูม้ ี อานาจ

2548-06/02/2560

2555-ปัจจุบนั 2555-ปัจจุบนั 2553-16/01/2560

กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การและกรรมการผูม้ ีอานาจ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามและกรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ และกรรมการผูม้ ีอานาจ กรรมการ, กรรมการผูจ้ ดั การ และกรรมการผูม้ ี อานาจลงนาม กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ

ตาแหน่ ง

2553-ปัจจุบนั 2552-ปัจจุบนั 2546-16/01/2560 2545-ปัจจุบนั 2540-ปัจจุบนั 2539-ปัจจุบนั 2536-ปัจจุบนั

ช่ วงเวลา

ประสบการณ์ทางาน โดยสังเขป


68 ROJANA ANNUAL REPORT 2016 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

69

65

54

49

56

58

นายอนุวฒ ั น์ เมธีวบิ ูลวุฒิ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ

นายโยอิชิ คิมูระ ผูจ้ ดั การฝ่ ายการตลาด

น.ส.ผ่ องศรี สุ นัยยศ สมุห์บญั ชี

นางวิไล เปล่ งวิทยา เลขานุการบริ ษทั /เจ้าหน้าที่ ฝ่ ายกฎหมาย นายเจริญ ศักดิ์ศิริศิลป ผูจ้ ดั การสาขาระยอง

10.

11.

12.

13.

14.

ชื่ อ-สกุล/ ตาแหน่ ง

อายุ (ปี )

59

นายยาสุ ฮิโระ สุ กกิ ชุ ิ กรรมการ

9.

ลาดับ ที่

59

42

นายยาซูชิ ทาเคซาว่ า กรรมการ

จานวนหุ น้ ที่ถือต้นปี 131,461,981 หุ น้ จานวนหุ น้ ที่ถือสิ้นปี 303,154,145 หุ น้ การซื้อขายระหว่างปี เป็ นการรับโอนหลักทรัพย์ จากนายดิเรก วินิชบุตร จานวน 171,692,164 หุ น้

นายชาย วินิชบุตร กรรมการ

ชื่ อ-สกุล/ ตาแหน่ ง

อายุ (ปี )

8.

7.

ลาดับ ที่

- ปริ ญญาโท บริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปริ ญญาตรี บริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

- ปริ ญญาตรี การเงินและการธนาคาร มหาวิทยาลัยรามคาแหง - ปริ ญญาตรี บัญชี มหาวิทยาลัยสยาม - ปริ ญญาตรี นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง

- Bachelor of Economics, Chuo University

- ปริ ญญาตรี นิติศาสตร์ บณ ั ฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริ ญญาโท รัฐประศาสน ศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คุณวุฒิทางการศึกษา

- BA in Law , Kanazawa University, Japan

- BA in Commercial Science, Meiji University, Japan

- Business Administration, Boston University, Massachusetts, U.S.A. - Director Accreditation Program (DAP) สมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการ บริ ษทั ไทย (IOD) Class 64/2007 (July 20 , 2007)

คุณวุฒิทางการศึกษา

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

ลูกชาย นายดิเรก

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

10,160 หุ น้ ซื้อขายระหว่างปี ไม่มี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

สัดส่ วนการถือ ความสัมพันธ์ หุ้นในบริษทั ทางครอบครัว (ร้ อยละ) ระหว่ างผู้บริหาร

-ไม่ม-ี

-ไม่ม-ี

15.00

สัดส่ วนการถือ ความสัมพันธ์ หุ้นในบริษทั ทางครอบครัว (ร้ อยละ) ระหว่ างผู้บริหาร

2551-ปัจจุบนั 2538-ปัจจุบนั 2530-2537 2526-2529 2550-2552 2553-2554 2555-2556 2557-ปัจจุบนั

2548-ปัจจุบนั

2559-ปัจจุบนั 2556-2559 2553-2556

2558-ปัจจุบนั 2557-ปัจจุบนั 2555-ปัจจุบนั 1/10/2555-ปัจจุบนั 2555-2555 2551-2555

ช่ วงเวลา

2558-2559 2556-2558 2556-2558 2554-2556 2554-2556

25/11/59-ปัจจุบนั 09/11/59-ปัจจุบนั 2558-06/02/2560 2555-ปัจจุบนั 2555-16/01/2560 2554-ปัจจุบนั 2554-ปัจจุบนั 2554-ปัจจุบนั 2554-ปัจจุบนั 2550-ปัจจุบนั 2550-ปัจจุบนั 2547-ปัจจุบนั 2556-ปัจจุบนั 2555-ปัจจุบนั 2554-ปัจจุบนั 2553-ปัจจุบนั 2549-ปัจจุบนั 2559-ปัจจุบนั 2559-ปัจจุบนั

ช่ วงเวลา

เลขานุการบริ ษทั เจ้าหน้าที่ฝ่ายกฎหมาย เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคลและกฎหมาย ทนายความ ผูจ้ ดั การฝ่ ายบริ หาร ผูช้ ่วยประธานบริ หาร ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การทัว่ ไป สาขาระยอง ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สาขาระยอง

สมุห์บญั ชี

ผูจ้ ดั การทัว่ ไปฝ่ ายการตลาด General Manager General Manager

กรรมการกฤษฎีกา สมาชิก กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ รองประธาน และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริ หาร รองปลัดกระทรวง อธิ บดี

ตาแหน่ ง

ชื่ อหน่ วยงาน/ บริษทั

บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั ซันคัลเล่อร์ จากัด สานักงานสัก กอแสงเรื อง บริ ษทั แอกโกร-ออน (ไทยแลนด์) จากัด บริ ษทั แอกโกร-ออน (ไทยแลนด์) จากัด บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation Sumikin Bussan Corporation

สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สภานิติบญั ญัติแห่งชาติ บมจ.สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด กระทรวงมหาดไทย กรมที่ดิน

ชื่ อหน่ วยงาน/ บริษทั

Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation Nippon Steel & Sumikin Bussan Matex Co.,Ltd. Sumikin Bussan Corporation Sumikin Bussan Matex Co.,Ltd.

บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะอินดัสเตียล ซิต้ ี จากัด บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด บริ ษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด บมจ. ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ บริ ษทั อีโค อินดัสเทรี ยล เซอร์วิสเซส จากัด บริ ษทั บางกอก ออฟฟิ ต 3 จากัด บริ ษทั บางกอก ออฟฟิ ต 4 จากัด บริ ษทั บางกอก ออฟฟิ ต 3 โฮลดิ้ง จากัด บริ ษทั บางกอก ออฟฟิ ต 4 โฮลดิ้ง จากัด บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด บมจ. สวนอุตสาหกรรมโรจนะ Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation Rojana Power Co.,Ltd. บริ ษทั โรจนะดิสทรี บิวชัน่ เซ็นเตอร์ จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทางาน โดยสังเขป

กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการ กรรมการผูม้ ีอานาจลงนาม กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ กรรมการ Executive Officer กรรมการ กรรมการ Director Director, Member of the Board and managing Executive Officer Managing Executive Officer Executive Officer President Executive Officer President

ตาแหน่ ง

ประสบการณ์ทางาน โดยสังเขป


คุณสมบัติของเลขานุการบริ ษทั

รายชื่ อกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอานาจควบคุมในบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่ วม พร้ อมตาแหน่ ง

1. 2. 3. 4.

คณะกรรมการของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ณ 28 กุมภาพันธ์ 2560 ประกอบด้วย ผูท้ รงคุณวุฒิ 10 ท่าน ดังนี้

5.

มีความรู ้และความเข้าใจในธุรกิจของบริ ษทั เข้าใจบทบาทหน้าที่ของเลขานุการบริ ษทั มีความรู ้และความเข้าใจพื้นฐานด้านกฎหมาย กฎระเบียบของสานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีความเป็ นอิสระและไม่มงุ่ หวังผลประโยชน์ส่วนตัวจากโอกาสทางธุรกิจของบริ ษทั รวมทั้งเก็บรักษาความลับของ บริ ษทั ได้เป็ นอย่างดี มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดี มีความสามารถในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกบริ ษทั

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของเลขานุการบริ ษทั 1. ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรับผิดชอบ ระมัดระวัง และซื่อสัตย์สุจริ ต ต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบอื่น ที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริ ษทั 2. ให้คาแนะนาเบื้องต้นด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และข้อพึงปฏิบตั ิดา้ นกากับดูแลในการดาเนิน กิจกรรมของคณะกรรมการให้เป็ นไปตามกฎหมาย 3. จัดการและประสานงานการประชุมคณะกรรมการและการประชุมผูถ้ ือหุน้ รวมทั้ง ดูแลและประสานงานให้มีการ ปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์ตาม ข้อบังคับของบริ ษทั มติคณะกรรมการ/ผูถ้ ือหุน้ ตลอดจนข้อกาหนดทางด้านกฎหมาย และกฎระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง 4. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกบริ ษทั รวมทั้ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสานักงาน คณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 4. จัดทาและเก็บรักษาเอกสาร ได้แก่ ทะเบียนกรรมการ หนังสื อนัดประชุม รายงานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และ ประชุมผูถ้ ือหุน้ รายงานประจาปี ของบริ ษทั 5. เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรื อผูบ้ ริ หาร และจัดส่งสาเนารายงานให้ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ ภายในเวลาที่กฎหมายกาหนด

70

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นายสุกิจ นายดิเรก นายจิระพงษ์ นายพงส์ นายพงษ์ศกั ดิ์ นายอนุวฒั น์ น.ส.อมรา นายชาย นายยาซูชิ นายยาสุฮิโระ

หวัง่ หลี วินิชบุตร วินิชบุตร สารสิ น อังสุพนั ธุ์ เมธีวบิ ูลวุฒิ เจริ ญกิจวัฒนกุล วินิชบุตร ทาเคซาว่า สุกิกชุ ิ

ประธานกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายชื่อกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ณ 28 กุมภาพันธ์ 2560 มีดงั นี้ 1. นายดิเรก วินิชบุตร ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร 2. นายจิระพงษ์ วินิชบุตร กรรมการผูจ้ ดั การ 3. นายโยอิชิ คิมุระ ผูจ้ ดั การฝ่ ายการตลาด 4. นายเจริ ญ ศักดิ์ศิริศิลป์ ผูจ้ ดั การสาขาระยอง 5. นางวิไล เปล่งวิทยา ผูจ้ ดั การฝ่ ายกฎหมายและเลขานุการบริ ษทั 6. นางสาวผ่องศรี สุนยั ยศ สมุห์บญั ชี 7. นางสาวมานามิ อิริโมโตะ กรรมการบริ ษทั ย่อย 8. นายโยอิชิโร มาซูเมะ กรรมการบริ ษทั ย่อย 9. นายชาย วินิชบุตร กรรมการผูม้ ีอานาจลงนามของบริ ษทั ย่อย

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

71


รายชื่อกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ร่ วม ณ 28 กุมภาพันธ์ 2560 มีดงั นี้

72

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

XX /

/,//,/// /'//

/,///,xx /,///,xx /,//,xx

/,//,/// /,//,///

/

/,///

/

/

/

นายดิเรก วินิชบุตร

นายจิระพงษ์ วินิชบุตร

นายโยอิชิโร มาซูเมะ

นายชาย วินิชบุตร

นายยาซูชิ ทาเคซาว่า

นส.มานามิ อาริ โมโตะ

นางสาวมานามิ อาริ โมโตะ

//

/,///,xx

/,///,xx

/,//

XX

BEIDOU RAY2 EN PRACHIN บริษัทย่อย

ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร ผูอ้ านวยการใหญ่ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป รองผูจ้ ดั การทัว่ ไป และพัฒนาธุรกิจระหว่างประเทศ ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายบัญชี การเงิน และเลขานุการบริ ษทั ผูอ้ านวยการอาวุโสฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ ผูอ้ านวยการฝ่ ายการตลาด 1 ผูอ้ านวยการฝ่ ายการตลาด 2 ผูอ้ านวยการฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ ผูอ้ านวยการฝ่ ายธุรการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชี ผูอ้ านวยการฝ่ ายจัดซื้อ ผูอ้ านวยการฝ่ ายกฎหมาย ผูอ้ านวยการฝ่ ายพัฒนาโครงการ ผูอ้ านวยการฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ผูอ้ านวยการฝ่ ายบริ หารอสังหาริ มทรัพย์

RPC

1. นายวีรพันธ์ พูลเกษ 2. นายโสภณ ราชรักษา 3. ดร. สมศักดิ์ ไชยพร 4. นายกฤษณ์ วีรกุล 5. นางสาวลลิตพันธุ์ พิริยะพันธุ์ 6. นายสามารถ รัศมีโรจน์วงศ์ 7. นายสมศักดิ์ รัตนวิระกุล 8. นางยูโกะ โฮชิ 9. นางสาวลัญจกร คงสกุล 10. นางสาวศิริพร สมบัติวฒั นา 11. นางสาวรจนา อัศววิเชียรจินดา 12. นางสาววรัญญา อินทรไพโรจน์ 13. นางสาวสุธารา จรุ งเรื องเกียรติ 14. นายภารุ จ บุณฑริ ก 15. นายอภิณฐั เมฆลอย 16. นางสาวปริ่ มโอภา ณัชชาจารุ วทิ ย์

RIM

รายชื่อผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ร่ วม มีดงั นี้

RW

ประธานกรรมการ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

รายชอื่ กรรมการ

เผื่อนโกสุม บุนนาค เจียรวนนท์ โสภณพนิช พีชานนท์ วินิชบุตร สิ ริวฒั นภักดี โลหชิตพิทกั ษ์ วินิชบุตร วินิชบุตร วิกิตเศรษฐ์ หันนาคินทร์

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่ อย ณ 28 กุมภาพันธ์ 2560

1. นายชายน้อย 2. นายตรี ขวัญ 3. นายชัชวาลย์ 4. นายชาลี 5. นายโชติพฒั น์ 6. นายชาย 7. นายปณต 8. นายอุเทน 9. นายดิเรก 10. นายจิระพงษ์ 11. นายธีระศักดิ์ 12. นางปิ ยพรรณ

ETOUCH

รายชื่อคณะกรรมการของบริ ษทั ร่ วม ประกอบด้วยดังนี้

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

73


74 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

RAY 2 = บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด

BEIDOU = บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิต้ ี จากัด

ETOUCH = บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด

X XX / // /// = = = = =

-

เงินให้กู้ เจ้าหนี้การค้า หนี้สินอื่น-เงินมัดจารับ รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่าที่ดิน ต้นทุนค่าน้ าและน้ าเสี ย ดอกเบี้ยรับ

- ลูกหนี้การค้า

695,435 11,561 6,054 1,712 7,264 175,890 17,817

59

-

2,400

- รายได้อื่น - ต้นทุนขายที่ดิน

9,627

- รายได้ค่าเช่า

-

78,012

- รายได้ค่าบริ การ

- รายได้จากการขายที่ดิน

18,849

ปี 2559 (พันบาท) - ลูกหนี้การค้า

ลักษณะรายการ

รายการระหว่างกัน

ประธานกรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ กรรมการผูม้ ีอานาจ

แมเนจเม้นท์ จากัด

= บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด

90

EN

บริ ษทั ย่อย

= บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด

บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล

PRACHIN

41

= บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด

บริ ษทั ย่อย

PPC

551,435 8,969 6,054 1,786 7,264 172,093 8,764

52

29,552

88,632

2,400

9,627

59,365

18,346

โดยกาหนดราคาเทียบเคียงได้กบั ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป โดยกาหนดราคาเทียบเคียงได้กบั ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป 13 - 15 บาท/ลูกบาศก์เมตร ใช้หมุนเวียนภายในกิจการ โดยคิดอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจา+2

ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป

โดยกาหนดราคาเทียบเคียงได้กบั

นโยบายการกาหนดราคา

= บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด

ปี 2558 (พันบาท)

RIM

บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด

บริ ษทั ถือหุ้นร้อยละ

= บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด

ลักษณะความสัมพันธ์ ที่มีต่อบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย

RP

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

สรุปรายการระหว่างกันในปี 2559 และ ปี 2558

หมายเหตุ

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

75


- ต้นทุนขายที่ดิน - ค่างวดที่ยงั ไม่รับรู ้รายได้ นิ ปปอน สตีล & สึ มิกิน

ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของ

บูสซัน คอร์ ปอเรชัน่

บริ ษทั ซึ่ งถือหุน้ อยู่

76

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

990

5,653

1,500

1,911

13,799

61,716

- ค่านายหน้าค้างจ่าย

6,329 -

ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป

1,911

990

- ค่านายหน้า

13,799

5,653

4%

- ค่าบริ การ

61,716

1,500

ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป

ต้นทุนค่าบริ การจัดการ

บริ ษทั ย่อยได้ใช้บริ การบริ ษทั ร่ วม ในการบริ หารจัดการโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าและพลังงานแสงอาทิตย์

บริ ษโดยคิ ทั ย่อยได้ ใช้บริ การบริ ษทัธุร่รวกิมจของบริ ในการบริษทัหารจัดการโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าและพลังงานแสงอาทิตย์ ดราคาตามปกติ ต้นทุนค่าบริ การ-เช่าเครื่ องจักรโดยคิบริดราคาตามปกติ ษทั ย่อยได้ใช้ธบุรกิริจกของบริ ารบริ ษษทั ทั ร่ วมในการเช่าเครื่ องจักรเพื่อใช้ในโครงการ โดยราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป ต้นทุนค่าบริ การ-เช่าเครื่ องจักร บริ ษทั ย่อยได้ใช้บริ การบริ ษทั ร่ วมในการเช่าเครื่ องจักรเพื่อใช้ในโครงการ โดยราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป

ระชุมมคณะกรรมการตรวจสอบครั คณะกรรมการตรวจสอบครั ที่ 16 พฤษภาคม ครั้งทีเมื่ 3/2559 นที่ 15 สิ งหาคม เมื่อวันที่ ้ งที่ 2/2559 ทีที่ป่ประชุ เมื่อวันเมืที่อ่ 16วันพฤษภาคม 2559, ครั2559, ่อวันที่ 15เมืสิ่องวัหาคม 2559, ครั้งที่ 2559, 4/2559 เมืครั่อ้ งวัทีน่ ที4/2559 ่ ้ งที่ 2/2559 ้ งที่ 3/2559 14พฤศจิ พฤศจิกกายน ายน2559 2559และครั และครั งที่ 1/2560 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจคารณาและมี ความเห็นว่าางรายการระหว่าง 14 เมื่อวัเมื นที่อ่ วั28นกุทีม่ 28 ภาพักุนมธ์ภาพั 2560นธ์ซึ่ง2560 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาและมี วามเห็ นว่ารายการระหว่ ้ งที่ ้ 1/2560 กล่าวเป็ าวเป็นรายการที นรายการที ่มีความจ น และมี เหตุผลสมควรของการท ารายการเพื ่อประโยชน์ องบรินษการท ทั และเป็ นการท กักันนดัดังงกล่ ่มีความจ าเป็ นาเป็และมี เหตุผลสมควรของการท ารายการเพื ่อประโยชน์ ของบริ ษทั ขและเป็ ารายการที ่เกิดารายการที จากการทาธุ่เกิรกิดจจากการทาธุ รกิ จ โดยปกติ ษัทษั ท และมี ม ติ เ ป็มนเอกฉั น ท์ อ นุนมท์ัติอก นุารท า งกั น ของบริ กั บ บุ ค คลที า ว น ดั ง กล่ า ว โดยปกติททั่ว ไปของบริ ั่ ว ไปของบริ และมี ติ เ ป็ นเอกฉั ม ัตารายการระหว่ ิ ก ารท ารายการระหว่ า งกัษันทของบริ ษัท ่ เกักีบ่ ย บุวโยงกั ค คลทีน ่ เดักีง่ ยกล่ วโยงกั

รายได้ค่าบริ การ

- ค่าบริ การ

2,404 61,716

บริ ษทั เป็ นผูใ้ ห้บริ การสาธารณูปโภคส่วนกลางแก่บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมที่อยูภ่ ายในโครงการ โดยคิดราคาเป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั รายได้ค่าเช่า บริ ษทั ให้บริ ษทั ย่อยเช่าพื้นที่เพื่อก่อสร้างโรงบาบัดน้ าเสี ยและโรงงานพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่ง บริ ษทั ย่อยให้บริ การแก่ลูกค้าภายในโครงการ โดยกาหนดราคาเทียบเคียงได้กบั ราคาตามท้องตลาด ทัว่ ไป รายได้จากการขายที่ดินและต้นทุนขายที่ดิน เพื่อให้บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ก่อสร้างโรงงาน และให้บริ การแก่ลูกค้าในโครงการ โดยราคาเป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั ต้นทุนค่าน้ าและน้ าเสี ย บริ ษทั ย่อยเป็ นผูด้ าเนินการผลิตน้ าเพื่ออุตสาหกรรมและบริ การบาบัดน้ าเสี ย โดยให้บริ การแก่ ลูกค้าทุกรายที่อยูภ่ ายในโครงการ โดยราคาเป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั เงินกูย้ มื และดอกเบี้ย บริ ษทั ให้บริ ษทั ย่อยกูย้ มื เงิน เพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียน ในฐานะผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ ในอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจา+2 ค่านายหน้า บริ ษทั ให้ผถู ้ ือหุน้ รายใหญ่เป็ นตัวแทนนายหน้า หาลูกค้าชาวญี่ปุ่น โดยคิดค่าตอบแทน ร้อยละ 4

ต้นทุนค่าบริ การจัดการ

- ค่านายหน้า

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

รายได้ค่าบริ การ

รายละเอียดความจาเป็ นในการทารายการระหว่างกัน ดังนี้

ร้อยละ 20.74

บริ ษทั ซึ่ งถือหุน้ อยู่ บูสซัน คอร์ ปอเรชัน่

- ค่านายหน้าค้างจ่าย

101,683

บริ ษทั เป็ นผูใ้ ห้บริ การสาธารณูปโภคส่วนกลางแก่บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมที่อยูภ่ ายในโครงการ โดยคิดราคาเป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั รายได้ค่าเช่า บริ ษทั ให้บริ ษทั ย่อยเช่าพื้นที่เพื่อก่อสร้างโรงบาบัดน้ าเสี ยและโรงงานพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่ง บริ ษทั ย่อยให้บริ การแก่ลูกค้าภายในโครงการ โดยกาหนดราคาเทียบเคียงได้กบั ราคาตามท้องตลาด ทัว่ ไป รายได้จากการขายที่ดินและต้นทุนขายที่ดิน เพื่อให้บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ก่อสร้างโรงงาน และให้บริ การแก่ลูกค้าในโครงการ โดยราคาเป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั ต้นทุนค่าน้ าและน้ าเสี ย บริ ษทั ย่อยเป็ นผูด้ าเนินการผลิตน้ าเพื่ออุตสาหกรรมและบริ การบาบัดน้ าเสี ย โดยให้บริ การแก่ ลูกค้าทุกรายที่อยูภ่ ายในโครงการ โดยราคาเป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั เงินกูย้ มื และดอกเบี้ย บริ ษทั ให้บริ ษทั ย่อยกูย้ มื เงิน เพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียน ในฐานะผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ ในอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจา+2 ค่านายหน้า บริ ษทั ให้ผถู ้ ือหุน้ รายใหญ่เป็ นตัวแทนนายหน้า หาลูกค้าชาวญี่ปุ่น โดยคิดค่าตอบแทน ร้อยละ 4

61,716 - เจ้าหนี้อื่น

ผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของ นิ ปปอน สตีล & สึ มิกิน

- ค่านายหน้าจ่ายล่วงหน้า - เจ้าหนี้อื่น

-

รายละเอียดความจาเป็ นในการทารายการระหว่างกัน ดังนี้

ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป

6,329 2,404 - ค่านายหน้าจ่ายล่วงหน้า

ผูถ้ ือหุน้ และกรรมการร่ วมกัน บจ. โรจนะดิ สทริ บิวชัน่ เซ็นเตอร์

-

101,683 - ค่างวดที่ยงั ไม่รับรู ้รายได้

4%

ราคาตามท้องตลาดทัว่ ไป

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั 105,410 - ต้นทุนขายที่ดิน

-

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั 128,577 - รายได้จากการขายที่ดิน

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

บริ ษทั ร่ วม บจ. ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ ป

โลจิสติคส์

380 429 - รายได้ค่าบริ การ

11 - ลูกหนี้การค้า

130,804 - ต้นทุนค่าบริ การ-ค่าเช่าเครื่ องจักร

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

242,387 - ต้นทุนค่าบริ การ-ค่าบริ การจัดการ

25

87,010

68,799 - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

65 - รายได้ค่าบริ การ

221,641

18 10 - ลูกหนี้การค้า บริ ษทั ร่ วม กองทุนอสังหาริ มทรัพย์ทีพาร์ ค

คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน)

บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล

ปราจีนบุรี จากัด

34,433

1,510 1,406 - รายได้ค่าบริ การ

43.45

184

125 126 - ลูกหนี้การค้า

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

4,828 2,676 - ดอกเบี้ยจ่าย

220,271 - ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน

-

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา+2

ใช้หมุนเวียนภายในกิจการ โดยคิด 126,193 15,193 100 บริ ษทั ย่อย บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

ระยอง 2 จากัด

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ

จากัด

- เงินกู้

245 - ดอกเบี้ยรับ

1,461

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา+2

ใช้หมุนเวียนภายในกิจการ โดยคิด 27,967 61,667 100

- เงินให้กู้

17,633 17,633 - รายได้ค่าเช่า

2 3 - รายได้ค่าบริ การ

4,408 บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี

จากัด

บริ ษทั ย่อย

70

- เงินมัดจารับ

4,408

เป็ นไปตามปกติธุรกิจของบริ ษทั

อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา+2 6,530 - ดอกเบี้ยรับ

8,497

ใช้หมุนเวียนภายในกิจการ โดยคิด 267,000 337,400 - เงินให้กู้ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ ต้ ี

100

ลักษณะความสัมพันธ์ ที่มีต่อบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย บุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง

บริ ษทั ถือหุ ้นร้อยละ

ลักษณะรายการ

ปี 2559 (พันบาท)

ปี 2558 (พันบาท)

นโยบายการกาหนดราคา

ร้อยละ 20.74

-

105,410

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

77


ความสมเหตุสมผลของการทารายการ รายการระหว่างกัน บริ ษทั ได้พิจารณาการทารายการเพื่อประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ทั้งนี้ หากมี รายการใดที่ กรรมการมีส่วนได้เสี ย จะต้องผ่านมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เช่น การทารายการระหว่างบริ ษทั กับสึ มิกิน ซึ่ งเป็ นผูถ้ ือ หุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั เพื่อให้เป็ นตัวแทนจาหน่ายให้บริ ษทั บริ ษทั จะมีการพิจารณาอนุมตั ิจ่ายค่าคอมมิชชัน่ ในอัตราเดียวกัน กับราคาตลาดโดยทัว่ ไปของธุรกิจนี้ อย่างไรก็ตาม การที่บริ ษทั เลือกตัวแทนจาหน่ายดังกล่าวเป็ นตัวแทนจาหน่ายของบริ ษทั เนื่ องจาก สึ มิกินเป็ นบริ ษทั ในเครื อของกลุ่มบริ ษทั ซูมิโตโม จากัด ซึ่ งมีเครื อข่ายธุ รกิ จจานวนมากและมีสาขาหลายแห่ งใน ต่างประเทศและเป็ นบริ ษทั ที่มีชื่อเสี ยงในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจะมีส่วนทาให้บริ ษทั เพิ่มศักยภาพในการดึงดูด และชักชวนผูล้ งทุน ที่ตอ้ งการขยายการลงทุนออกนอกประเทศ ให้มาลงทุนในชุมชน/สวนอุตสาหกรรมของบริ ษทั ได้มากยิง่ ขึ้น มาตรการป้องกันการทารายการระหว่ างกัน ตามนโยบายของบริ ษทั ขั้นตอนการทารายการระหว่างกันของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง จะต้องมีการเสนอแก่ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั เพื่อพิจารณา โดยต้องมีกรรมการตรวจสอบเข้าร่ วมประชุมเพื่อพิจารณา และอนุมตั ิการทารายการระหว่างกันด้วย ซึ่งรายการระหว่างกันดังกล่าวต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ซึ่ งผูท้ ี่อาจมีความ ขัดแย้งหรื อมีส่วนได้เสี ยในการทารายการระหว่างกัน จะไม่มีสิทธิออกเสี ยงลงมติในการทารายการระหว่างกันนั้นๆ เว้นแต่กรณี ที่เป็ นการทารายการระหว่างกันของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ซึ่งเป็ นรายการ ที่คณะกรรมการของบริ ษทั ได้มีการกาหนดขอบเขตการอนุมตั ิรายการดังกล่าวให้แก่ประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร และกรรมการ ผูจ้ ดั การ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ประธานเจ้า หน้า ที่ บ ริ ห ารสามารถอนุ มตั ิ รายการที่ เป็ นไปตามปกติ ธุร กิ จ และ รายการที่ มีก ารกาหนด ขอบเขตการอนุ มตั ิที่ชดั เจน ได้แก่การอนุ มตั ิให้บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย เข้าทาข้อตกลงหรื อสัญญาใดๆ ที่ เกี่ยวกับการซื้อขายไฟฟ้า การให้บริ การ หรื อการรับบริ การ ซึ่งเป็ นการดาเนินการค้าปกติระหว่างบริ ษทั หรื อ บริ ษทั ย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในวงเงินของการทาข้อตกลงหรื อสัญญาในแต่ละครั้งไม่เกิน 3 ล้าน บาท ซึ่งนโยบายการคิดราคาเป็ นราคาที่สามารถเทียบเคียงได้กบั ราคาที่คิดกับบุคคลอื่น 2. กรรมการผูจ้ ดั การสามารถอนุมตั ิรายการที่เป็ นไปตามปกติธุรกิ จ และ รายการที่ มีการกาหนดขอบเขตการ อนุมตั ิที่ชดั เจน ได้แก่การอนุมตั ิให้บริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย เข้าทาข้อตกลงหรื อสัญญาใดๆ ที่เกี่ยวกับการซื้ อ ขายไฟฟ้า การให้บริ การ หรื อการรับบริ การ ซึ่งเป็ นการดาเนิ นการค้าปกติระหว่างบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยกับ บุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ง ในวงเงิ นของการทาข้อตกลงหรื อสัญญาในแต่ละครั้งไม่เกิ น 3 ล้านบาท ซึ่ ง นโยบายการคิดราคาเป็ นราคาที่สามารถเทียบเคียงได้กบั ราคาที่คิดกับบุคคลอื่น โดยการอนุมตั ิรายการระหว่างกันของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งภายใต้ขอบเขตดังกล่าว ไม่ตอ้ งเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณา หลักการเกีย่ วกับข้ อตกลงทางการค้ าทีม่ เี งื่อนไขโดยทัว่ ไป บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอาจมีรายการ รายการระหว่างกัน กับ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ ยวข้องใน อนาคต บริ ษทั จึงขออนุมตั ิในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมตั ิการทาธุรกรรมดังกล่าวหากธุรกรรมเหล่านั้น มีขอ้ ตกลง

78

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วญ ิ ญูชนจะพึงกระทากับคู่สญ ั ญาทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอานาจต่อรองทางการค้า ที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริ ษทั จะจัดทารายงานสรุ ปการทาธุรกรรมดังกล่าวเพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการ นโยบายหรื อแนวโน้ มการทารายการระหว่ างกันในอนาคต บริ ษทั มีนโยบายในการทารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นในปั จจุบนั และต่อไปในอนาคต โดยบริ ษทั จะมีการกาหนด ข้อตกลงและเงื่อนไขต่างๆ ในการทารายการระหว่างกันดังกล่าวให้เป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้าปกติทวั่ ไปและเป็ นไปตาม ราคาตลาด ซึ่งสามารถเปรี ยบเทียบได้กบั ราคาที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ทั้งนี้ บริ ษทั จะได้ให้คณะกรรมการตรวจสอบ หรื อ ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญอิสระ แล้วแต่กรณี พิจารณาตรวจสอบและให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทารายการด้วย รายการระหว่างกันที่อาจเกิ ดขึ้นในอนาคตนั้น คณะกรรมการบริ ษทั จะต้องปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อบัง คับ ประกาศ คาสั่ง หรื อข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รวม ตลอดถึงการปฏิบตั ิตามข้อกาหนดเกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลการทารายการเกี่ยวโยงและการได้มาหรื อจาหน่ายทรัพย์สินที่ สาคัญของบริ ษทั ทั้งนี้ หากบริ ษทั มีการทารายการระหว่างบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งเกิดขึ้นในอนาคต บริ ษทั จะจัดให้คณะกรรมการ ตรวจสอบ เป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของรายการดังกล่าว หากคณะกรรมการตรวจสอบไม่มีความชานาญใน การพิจารณารายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น บริ ษทั จะจัดให้มีบุคคลที่มีความรู ้ความชานาญพิเศษ เช่น ผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั หรื อผูเ้ ชี่ ยวชาญอิสระเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นเกี่ ยวกับรายการระหว่างกันดังกล่าว ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบหรื อ บุคคลที่มีความรู ้ความชานาญพิเศษ จะถูกนาไปใช้ประกอบการตัดสิ นใจของคณะกรรมการหรื อผูถ้ ือหุ ้นแล้วแต่กรณี และ บริ ษทั จะทาการเปิ ดเผยรายการระหว่างกันดังกล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิ นตามมาตรฐานบัญชี ที่กาหนดโดย สมาคมนักบัญชี เงื่อนไขการทารายการระหว่ างกัน เงื่ อนไขการทารายการระหว่างกันจะต้องเป็ นไปตามรายละเอียด เรื่ องระบบการควบคุมภายในของบริ ษทั เพื่อ ประโยชน์สูงสุดของบริ ษทั ในกรณี เกี่ยวกับการทาธุรกรรมที่เป็ นข้อตกลงทางการค้าที่มีเงื่อนไขโดยทัว่ ไปเกี่ยวกับกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่ มีความเกี่ ยวข้อง เพื่อใช้เป็ นหลักปฏิ บตั ิตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรั พย์แห่ ง ประเทศไทย พ.ศ. 2551 โดยมี หลักปฏิ บตั ิดงั นี้ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยอาจมีรายการ รายการระหว่างกัน กับ กรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องในอนาคต บริ ษทั จึงขออนุมตั ิในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมตั ิการทาธุรกรรม ดัง กล่ า วหากธุ ร กรรมเหล่ า นั้น มี ข ้อ ตกลงทางการค้า ในลัก ษณะเดี ย วกับที่ วิญ ญู ช นจะพึ ง กระทากับ คู่ สัญ ญาทั่ว ไปใน สถานการณ์เดี ยวกัน ด้วยอานาจต่อรองทางการค้าที่ ปราศจากอิทธิ พลในการที่ ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผูบ้ ริ หาร หรื อ บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริ ษทั จะจัดทารายงานสรุ ปการทาธุรกรรมดังกล่าว เพื่อรายงานในการประชุมคณะกรรมการ

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

79


ฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน ข้ อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ (1.1) สรุปรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า งบการเงินของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ได้จดั ทา ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป การเปิ ดเผยข้อมูลในรายงานทางการเงินมีความถูกต้องเชื่อถือได้ ระบบการควบคุม ภายในของบริ ษทั มีความเพียงพอและเหมาะสมกับสภาพธุรกิจ ไม่มีขอ้ บกพร่ องที่เป็ นสาระสาคัญ (1.2) สรุปรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) มีความเห็นว่างบการเงินประจาปี 2558 ของ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยที่คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานร่ วมกับฝ่ ายบริ หาร และผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ได้ตรวจสอบ แล้ว ได้แสดงฐานะการเงินและผลการดาเนินงานโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป (1.3)

สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงิน ประจาปี 2557 ผูส้ อบบัญชีเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงฐานะการเงินของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรม โรจนะ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการสาหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยไม่มีเงื่อนไข สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงิน ประจาปี 2558 ผูส้ อบบัญชีเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ กิจการ ของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของเฉพาะบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ตามลาดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะกิจการและกระแส เงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยไม่มีเงื่อนไข

(2) ตารางสรุปงบดุล งบกาไรขาดทุน และงบกระแสเงินสด

บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน)และบริ ษทั ย่อย สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม หน่ วย : ล้านบาท งบการเงินรวม

งบการเงินรวม

%

2558

0.53

1,438.60

1.89

743.27

1.07

-

22.18

0.03

257.68

0.37

0.82

764.67

1.01

175.32

0.25

1.57

1,400.97

1.84

1,414.02

2.03

9.46

7,321.97

9.63

3,441.23

4.93

0.00

0.61

0.00

0.23

0.00

0.37

267.60

0.35

258.40

0.37

สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

410.50 634.85 1,207.61 7,281.75 0.45 285.01 492.47

0.64

1,090.98

1.44

1,034.75

1.48

รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน

10,312.64

13.39

12,307.58

16.19

7,324.90

10.50

สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย

42,280.47

54.90

52,593.11

68.30

งบดุล

2559

งบการเงินรวม %

2557

%

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว เงินลงทุนชัว่ คราวที่ใช้เป็ นหลักประกัน ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น-สุทธิ ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน สิ นค้าคงเหลือ อะไหล่-สุทธิ

12,307.58

16.19

7,324.90

10.50

สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงิน ประจาปี 2559 ผูส้ อบบัญชีเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ กิจการ ของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของเฉพาะบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ตามลาดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลการดาเนินงานรวมและผลการดาเนินงานเฉพาะกิจการและกระแส เงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาหรับปี สิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยไม่มีเงื่อนไข

80

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

81


หน่ วย : ล้านบาท

หน่ วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม

งบดุล

2559

งบการเงินรวม

%

2558

งบการเงินรวม

%

2557

%

สินทรัพย์

8.00 0.67 0.25 0.34 0.23 0.01 1.97 0.23 0.18 0.01 -

7,540.82 1,092.50 332.31 219.95 199.61 76.09 1.15 71.60 2,018.24 3,962.00 327.07 36.74 76.33

9.92 1.44 0.44 0.29 0.26 0.10 0.00 0.09 2.65 5.21 0.43 0.05 0.10

6,532.81 1,307.08 23.04 172.12 152.42 13.05 0.69 2,018.42 2,170.00 758.60 100.80 39.41

20.49 4.10 0.07 0.54 0.48 0.04 0.00 6.33 6.80 2.38 0.32 0.12

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

283.16

0.37

219.75

0.29

225.94

0.71

1.08

รวมหนี้สินหมุนเวียน

9,425.17

12.24

16,174.16

21.28

13,514.38

42.38

758.27

1.09

หนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน

0.09

111.73

0.16

25,347.94

32.92

83.81 100.00

62,413.65 69,738.55

89.50 100.00

34,773.11

45.16

5.52

0.01

63.05

0.08

76.24

0.11

ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดาเนินงานที่ยงั ไม่เรี ยกชาระ

-

-

80.32

0.11

49.65

0.07

เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

107.43

0.14

6,032.87

7.94

5,976.20

8.57

เงินลงทุนในการร่ วมค้า

-

-

4.07

0.01

4.20

0.01

เงินลงทุนในบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

0.26

0.00

0.26

0.00

2.62

1,942.93

2.56

4,365.17

6.26

-

33,015.93

43.43

28,941.27

41.50

ส่วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

28.79

20,092.96

26.43

19,803.29

28.40

-

-

1,171.36

1.54

1,171.36

1.68

78.35

0.10

92.79

0.12

102.54

0.15

-

-

306.18

0.40

301.55

0.43

หุ้นกูท้ ี่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ค่างวดที่ยงั ไม่รับรู้รายได้ ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ประมาณการหนี้สินระยะสั้น

20.27

0.03

128.16

0.17

751.92

ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า

-

-

714.98

0.94

สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

8.38

0.01

69.85

24,414.17 31.70 77,007.27 100.00

63,715.71 76,023.29

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ ค่าความนิยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-สุทธิ สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินจ่ายล่วงหน้าสาหรับซื้อที่ดินและก่อสร้าง

รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

งบการเงินรวม 2557 %

6,157.72 512.28 189.73 262.14 176.51 5.04 1,515.04 180.00 138.44 5.11 -

เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน

ที่ดินรอการพัฒนา

งบการเงินรวม 2558 %

หนีส้ ิน หนีส้ ินหมุนเวียน

สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน

82

งบดุล หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม 2559 %

2,020.40 22,173.82

เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เจ้าหนี้ซ้ือสิ นทรัพย์ เงินประกันผลงานค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี

ที่ถือไว้เพื่อขาย รวมหนี้สินหมุนเวียน

16,174.16

21.28

13,514.38

42.38

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

83


หน่ วย : ล้านบาท

หน่ วย : ล้านบาท

หนีส้ ิน

งบดุล หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น ( ต่ อ )

งบการเงินรวม 2559 %

งบการเงินรวม 2558 %

งบการเงินรวม

งบการเงินรวม 2557 %

งบดุล

%

2557

%

ทุนเรื อนหุ้น

หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน-สุทธิ

-

-

2.91

0.00

2.53

0.01

เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน

-

-

676.78

0.89

748.38

2.35

ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 2,035,588,788 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.00 บาท

เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน-สุทธิ

14,900.26

19.35

15,022.58

19.76

15,950.11

50.02

หุ้นกู-้ สุทธิ

2,100.00

2.73

16,220.00

21.34

13,132.00

41.18

หนี้สินอื่น-เงินมัดจารับ

31.61

0.04

339.65

0.45

314.72

0.99

มูลค่าหุ้นละ 1.00 บาท

ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน

26.98

0.04

58.88

0.08

52.92

0.17

เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้น

ประมาณการหนี้สินระยะยาว

-

-

59.69

0.08

93.79

0.29

ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ

รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า

-

-

1,382.49

1.82

1,185.76

3.72

หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี

-

-

728.13

0.96

741.92

2.33

34,491.11 50,665.27

45.37 66.64

32,222.13 45,736.51

101.04 143.42

17,058.85 51,831.96

22.15 67.31

2,035.59

2,036.58

1,997.04

ทุนที่ออกและเรี ยกชาระแล้ว หุ้นสามัญ 2,020,481,863 หุ้น 2,020.46 -

2.62 -

1,967.26

2.59

1,755.09

5.50

4.60

0.01

2.86

0.01

5,621.98

7.30

5,470.70

7.20

4,686.06

14.69

203.56

0.26

199.70

0.26

168.82

0.53

3,883.67

5.04

4,264.80

5.61

4,068.27

12.76

กาไรสะสม - จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย - ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย

0.00

-

-1.73 -

0.00

-

-

-

-

-

-0.56 -

0.00

-

รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้นบริ ษทั ใหญ่

11,729.11

15.23

11,905.33

15.66

10,681.10

33.49

ส่วนของผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม

13,446.21

17.46

13,452.68

17.70

13,320.93

41.77

25,175.32 77,007.29

32.69 100.00

25,358.01 76,023.28

33.36 100.00

24,002.03 69,738.54

75.27 100.00

รวมส่ วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

%

ส่ วนของผู้ถือหุ้น

จานวนที่รับรู้ในส่ วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์

84

2558

งบการเงินรวม

หนีส้ ินและส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ)

หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน

รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน

2559

งบการเงินรวม

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

85


หน่วย : ล้านบาท

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม 2559

งบการเงินรวม %

2558

งบการเงินรวม

งบการเงินรวม %

2557

2559

%

งบการเงินรวม %

2558

งบการเงินรวม %

2557

%

งบกาไรขาดทุน รายได้

ต้นทุนขายไฟฟ้ า

6,525.21

66.48

7,767.50

65.33

7,478.64

57.20

งบกาไรขาดทุน กาไรก่อนส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม และการร่วมค้า กาไรทีย่ งั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริมทรัพย์ ให้บริษทั ร่วม ต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งผลกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กาไรก่อนต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กาไรก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก กาไรสาหรับปี กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น รายการทีอ่ าจจะถูกจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง ส่วนเกินจากการเปลี่ยนสัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ร่วม ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ ป็ นเงินตราต่างประเทศ ส่วนขาดจากการเปลี่ยนสัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ย่อย

ต้นทุนค่าบริการ

478.47

4.87

435.32

3.66

365.00

2.79

รวมรายการทีอ่ าจจะถูกจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง

ต้นทุนค่าเช่า

66.50

0.68

48.31

0.41

39.54

0.30

รายการทีจ่ ะไม่ถกู จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกาไรหรือขาดทุนในภายหลัง

ค่าใช้จ่ายในการขาย

75.94

0.77

87.14

0.73

123.33

0.94

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

369.06

3.76

514.83

4.33

419.74

3.21

8,219.98

83.75

9,735.30

81.88

10,067.51

77.00

รายได้จากการขายทีด่ นิ รายได้จากการขายบ้านและอาคารชุด รายได้จากการขายไฟฟ้ า

1,266.31 -

12.90 -

2,215.11 -

18.63 -

2,635.92

20.16

6.90

0.05

7,879.76

80.28

9,177.36

77.18

8,532.97

65.26

รายได้ค่าบริการ

581.74

5.93

457.43

3.85

386.00

2.95

รายได้ค่าเช่า

32.39

0.33

33.84

0.28

35.39

0.27

รายได้เงินชดเชยจากบริษทั ประกันภัย

-

-

-

-

95.30

0.73

กาไรจากการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงินลงทุน

-

-

-

-

1,361.33

10.41

54.59

0.56

6.52

0.05

21.50

0.16

9,814.79

100.00

11,890.26

100.00

13,075.31

100.00

704.80

7.18

882.20

7.42

1,634.26

12.50

-

-

-

-

7.00

0.05

รายได้อ่นื รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายทีด่ นิ ต้นทุนขายบ้านและขายอาคารชุด

รวมค่าใช้จ่าย

86

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

กำไรจำกกำรประมำณกำรตำมหลักคณิตศำสตร์ประกันภัย-สุทธิจำกเงินได้

หัก ผลกระทบเงินได้ กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี กาไรเบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

1,594.83 33.31 1,628.14 -1000.02 628.12 -5.07 623.05 -204.76 418.29

16.25 0.34 16.59 -10.19 6.40 -0.05 6.35 -2.09 4.26

2,154.96 27.55 2,182.51 -1074.99 1,107.52 -55.55 1,051.97 -138.63 913.34

18.12 0.23 18.36 -9.04 9.31 -0.47 8.85 -1.17 7.68

3,007.80 129.52 3,137.32 -931.90 2,205.42 -7.54 0.00 0.00 2,197.88

23.00 0.99 23.99 -7.13 16.87 -0.06 0.00 0.00 16.81

0.00 2.68 0.00

0.03 0.00

0.00 1.65 -2.45

0.00 0.01 -0.02

-190.77 0.00 0.00

-1.46 0.00 0.00

2.68

0.03

-0.80

-0.01

-190.77

-1.46

-2.45

-0.02

1.00

0.01

0.00

0.77 -1.68 1.00 419.29

0.01 -0.02 0.01 4.27

-0.20 0.80 0.00 913.34

-0.00 0.01 0.00 7.68

0.00 0.00 -190.77 2,007.11

-1.46 15.35

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

87


หน่วย : ล้านบาท

หน่ วย : ล้านบาท

งบการเงินรวม 2559

งบการเงินรวม %

2558

งบการเงินรวม %

2557

%

งบกระแสเงินสด

งบกาไรขาดทุน กำรแบ่งปันกำไร(ขำดทุน) ส่วนทีเ่ ป็ นของผู้ถอื หุน้ บริษทั ใหญ่ กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก ส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก

370.19 -253.94 116.25

88.50 -60.71 27.79

812.91 -115.37 697.54

89.01 -12.63 76.37

0.00 0.00

-

252.87 49.18 302.05 418.30

60.45 11.76 72.21 100.00

239.05 -23.26 215.79 913.33

34.27 -2.55 31.72 108.10

0.00 0.00

371.68 -254.11 117.57

88.64 -60.60 28.04

812.91 -115.37 697.54

89.01 -12.63 76.37

2,047.69 150.18 2,197.87

93.17 6.83 100.00

252.77 48.96 301.73 419.30

60.28 11.68 71.96 100.00

239.05 -23.26 215.79 913.33

26.17 -2.55 23.63 100.00

1,856.93 150.18 2,007.11

92.52 7.48 100.00

-

ส่วนทีเ่ ป็ นของผู้ถอื หุน้ บริษทั ใหญ่ กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมจากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก ส่วนทีเ่ ป็ นของส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมจากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็จรวมจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก รวม กำไร(ขำดทุน)ต่อหุน้ กาไรต่อหุน้ ขัน้ พื้นฐาน กาไรต่อหุน้ ปรับลด กาไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ จากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ขัน้ พื้นฐาน (บาท/ หุน้ ) กาไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด (บาท/ หุน้ ) หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

88

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

0.06

0.19

0.36

1.42

0.36

1.36

0.42 0.41

งบการเงินรวม

งบการเงินรวม

2559

2558

2557

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน

2,176.63

2,733.28

1,022.96

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

-3,894.45

-7,435.24

-8,683.05

981.41

5,403.86

8,262.76

ผลต่างจากการแปลงค่าในงบการเงินในบริ ษทั ย่อย

-7.43

-6.57

0.00

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)

-743.84

695.33

602.67

1,438.60

743.27

140.59

-284.26 410.50

0.00 1,438.60

0.00 743.26

กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นงวด หัก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริ ษทั ย่อย ซึ่งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันปลายงวด

กำรแบ่งปันกำไร(ขำดทุน) เบ็ดเสร็จรวม

งบการเงินรวม

* งบการเงินประจาปี 2559 มีการจัดแสดงประเภทบัญชี เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดาเนิ นงานที่ยกเลิก บริ ษทั ฯแสดงสิ นทรัพย์ หนี้ สินและส่ วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับ บริ ษทั TICON เป็ นรายการแยกต่างหาก ภายใต้หวั ข้อ “สิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” “หนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” และ “จานวนที่รับรู ้ในส่ วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อ ขาย” ในงบแสดงฐานะการเงิน และแยกแสดงผลการดาเนิ นงานของ TICON เป็ น “กาไรสาหรับปี จากการดาเนิ นงานที่ ยกเลิก” ในส่ วนของกาไร ขาดทุนรวมสาหรับปี (เนื่ องจาก เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ที่ประชุ มวิสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2559 ของบริ ษทั TICON มีมติอนุ มตั ิเพิ่มทุนจด ทะเบียนจาก 1,099.1 ล้านบาท เป็ น 1,834.1 ล้านบาท โดยการออกหุ น้ สามัญจานวน 735.0 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาทเป็ นจานวนเงิน 735 .0 ล้านบาท และอนุมตั ิเสนอขายและจัดสรรหุ น้ สามัญเพิ่มทุน ให้แก่ บริ ษทั เฟรเซอร์ส พร็ อพเพอร์ต้ ี โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด(“FPHT”) โดยเป็ น การเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ในราคาเสนอขายหุ น้ ละ 18 บาท รวมเป็ นมูลค่าทั้งสิ้ นไม่เกิน 13,230.0 ล้านบาท ซึ่ งคิด เป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมดของบริ ษทั TICON หลังการเพิ่มทุน มีผลทาให้ภายหลังการเพิ่มทุนสัดส่วนการถือหุ ้นของ บริ ษทั ฯ ลดลงจากร้อยละ 43.55 เป็ นร้อยละ 26.10 บริ ษทั ฯได้ทาการประเมินเรื่ องการควบคุมบริ ษทั TICON และสรุ ปว่าบริ ษทั ฯ สู ญเสี ยการควบคุ มใน บริ ษทั TICON และจะปรับเปลี่ยนสถานะเงินลงทุนในบริ ษทั TICON จากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ซึ่ งภายหลังการเพิ่มทุน เสร็ จสมบูรณ์จะมีผลให้บริ ษทั ฯ หมดอานาจควบคุมในบริ ษทั TICON และไม่นางบการเงินของบริ ษทั TICON มาจัดทางบการเงินรวม และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 บริ ษทั FPHT ได้ชาระค่าหุ น้ สามัญเพิ่มทุนให้กบั TICON แล้ว โดยบริ ษทั TICON ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชาระแล้วกับกระทรวง พาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560)

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

89


การวิเคราะห์ และคาอธิบายของฝ่ ายจัดการ

ภาพรวมเศรษฐกิจไทย ปี 2559

อัตราส่ วนทางการเงินทีส่ าคัญ ตารางแสดงอัตราส่วนทางการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย งบการเงินรวม 2559

อัตราส่ วนสภาพคล่ อง (LIQUIDITY RATIO) 1. อัตราส่ วนสภาพคล่อง (เท่า) 1.51 2. อัตราส่ วนสภาพคล่องหมุนเร็ ว (เท่า) 0.05 3. อัตราส่ วนสภาพคล่องกระแสเงินสด (เท่า) 0.09 4. อัตราส่ วนหมุนเวียนลูกหนี้ การค้า (เท่า) 7.48 5. ระยะเวลาเก็บหนี้ เฉลี่ย (วัน ) 48.11 6. อัตราส่ วนหมุนเวียนสิ นค้าคงเหลือ (เท่า) 1.06 7. ระยะเวลาขายสิ นค้าเฉลี่ย (วัน ) 338.12 8. อัตราส่ วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ (เท่า) 9.69 9. ระยะเวลาชาระหนี้ (วัน ) 37.15 10. CASH CYCLE (วัน ) 349.07 อัตราส่ วนแสดงความสามารถในการหากาไร (PROFITABILITY RATIO) 1. อัตรากาไรขั้นต้น (ร้อยละ) 20.34 2. อัตรากาไรสุ ทธิ จากการดาเนิ นงาน (ร้อยละ) 5.82 3. อัตรากาไรอื่น (ร้อยละ) 0.89 4. อัตราส่ วนเงินสดต่อการทากาไร (ร้อยละ) 3.83 5. อัตรากาไรสุ ทธิ (ร้อยละ) 4.25 6. อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุ ้น (ร้อยละ) 1.66 อัตราส่ วนแสดงประสิ ทธิภาพในการดาเนินงาน (EFFICIENCY RATIO) 1. อัตราผลตอบแทนสิ นทรัพย์ (ร้อยละ) 0.55 2. อัตราผลตอบแทนสิ นทรัพย์ถาวร (ร้อยละ) 0.58 3. อัตราหมุนเวียนของสิ นทรัพย์ (เท่า) 0.13 อัตราส่ วนวิเคราะห์ นโยบายทางการเงิน (FINANCIAL POLICY RATIO) 1. อัตราส่ วนหนี้ สิ นต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น (เท่า) 2.06 2. อัตราส่ วนความสามารถชาระดอกเบี้ย (เท่า) 3.18 3. อัตราส่ วนความสามารถชาระภาระผูกพัน (cash basis)(เท่า)0.15 4. อัตราการจ่ายเงินปันผล (ร้อยละ) 2.21

90

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

งบการเงินรวม 2558

งบการเงินรวม 2557

0.76 0.18 0.18 8.44 42.64 1.70 212.14 7.61 47.29 207.48

0.54 0.16 0.10 8.67 41.52 2.33 154.49 6.34 56.79 139.21

23.14 8.80 0.29 2.61 7.66 3.70

17.87 5.09 12.17 1.73 16.64 13.00

1.25 9.56 0.16

4.33 14.88 0.26

2.00 3.59 0.10 0.81

1.91 2.11 0.05 N/A

ทิศทางการเติบโตของเศรษฐกิจไทยในปี 2559 ในส่วนที่เป็ นปั จจัยบวกยังไม่เอื้อต่อสภาวะทางธุรกิจเท่าที่ควร แม้วา่ ในครึ่ งปี แรกเศรษฐกิจไทยจะดีกว่าที่คาด แต่สภาวะทางธุรกิจกลับแสดงสัญญาณของการชะลอตัว โดยเฉพาะเศรษฐกิจ โลก, ราคาน้ ามันที่ผนั ผวนแรงและปั ญหาภัยแล้ง แม้ในครึ่ งปี หลังจะมีมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาลตั้งแต่รากหญ้า ไปถึงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานจากภาครัฐบาลและการลงทุนจากภาคเอกชน หลายมาตรการก็เดินไปและเริ่ มมองเห็นผล อยูบ่ า้ ง แต่เนื่องจากเศรษฐกิจไทยส่วนใหญ่ไปเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกในแง่การส่งออก จึงทาให้การฟื้ นตัวของเศรษฐกิจ ยังเป็ นไปได้ชา้

ผลการดาเนินงาน

ภาพรวมของผลการดาเนินงานทีผ่ ่านมา บริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ดาเนินธุรกิจแยกเป็ นสายผลิตภัณฑ์หลักได้ 2 ประเภท คือ ธุรกิจด้านพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ และระบบสาธารณูปโภค(ผลิตกระแสไฟฟ้าและน้ าใช้เพื่ออุตสาหกรรม) บริ ษทั ฯดาเนินธุรกิจในด้านการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ประเภทเขต/สวนอุตสาหกรรมจานวน 6 แห่ง ตั้งอยูท่ ี่ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา, จังหวัดระยอง(อาเภอบ้านค่ายและปลวกแดง), จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดชลบุรี คือที่บ่อวิน และแหลมฉบัง ซึ่งลูกค้าให้ความสนใจด้านทาเลที่ต้ งั และการคมนาคมที่สะดวกและรวดเร็ ว โดยในด้านการตลาด บริ ษทั ได้ ร่ วมมือกับ Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation ซึ่งเป็ นผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั เข้ามาทาการตลาดให้ นอกจากนี้บริ ษทั ยังเสริ มด้านการตลาด โดยการจัดตั้งทีมงานของบริ ษทั ที่เป็ นคนไทยและคนต่างประเทศ เช่น คนจีน เพื่อ คอยดูแลนักลงทุนทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ทั้งในด้านก่อนการขายและบริ การหลังการขาย ในแง่การรับรู ้รายได้ตามงบการเงินจะรับรู ้รายได้ต่อเมื่อมีการโอนความเสี่ ยงไปให้กบั ลูกค้า ซึ่งในปี ที่ผา่ นมา บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยได้ทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินให้กบั ลูกค้าที่ซ้ือที่ดินในโครงการที่อยุธยา,ระยอง, ปราจีนบุรีและ ชลบุรีท้ งั โครงการแหลมฉบัง และบ่อวิน รวมเป็ นจานวน 405 ไร่ บริ ษทั ย่อย (บริ ษทั โรจนะ เพาเวอร์ จากัด) ดาเนิ นธุ รกิ จผลิตกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งตั้งอยู่ที่สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา มีกาลังการผลิตรวม 390 เมกะวัตต์ ซึ่ งขายให้กบั กฟผ. 180 เมกะวัตต์(ในรู ปแบบสัญญา SPPFirm จ านวน 2 สั ญ ญา) ส่ ว นที่ เ หลื อ ขายให้ กับ โรงงานเอกชนที่ ต้ ัง อยู่ภ ายในสวนอุ ต สาหกรรมโรจนะ จัง หวัด พระนครศรี อยุธยา (ทั้งนี้ ยงั ไม่นับรวมกาลังการผลิตของโรงงานโครงการ 3 ที่ กาลังก่อสร้างและคาดว่าจะแล้วเสร็ จในปี 2560 อีก 108 เมกะวัตต์) บริ ษทั ย่อย (บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด) ดาเนิ นธุรกิจเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า พลังงานความร้อน ระบบไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่ งตั้งอยูท่ ี่สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา โดยมีกาลังการผลิตรวม 24 เมกะ วัตต์(3 ฟาร์ม ฟาร์มละ 8 เมกะวัตต์) ซึ่งปั จจุบนั ดาเนินการเต็มกาลังการผลิตและการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาครับซื้ อทั้งหมดภายใต้ สัญญา VSPP ในปลายปี 2557 บริ ษทั ได้ทาการเพิ่ มสัด ส่ วนการลงทุ น ในบริ ษทั ไทคอน อิ นดัสเทรี ยล คอนเน็ ค ชั่น จากัด (มหาชน) จากเดิมสัดส่วนการถือเท่ากับร้อยละ 26.07 เป็ นร้อยละ 43.45 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งหมดของไทคอน โดยการเข้า ไปซื้ อและใช้สิทธิ TICON-T2, วิธี WHITEWASH และซื้ อขายผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และต้นปี 2558 ทาง สภาวิชาชีพบัญชีได้ปรับปรุ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชี บริ ษทั จึงต้อง

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

91


เปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงินลงทุนจากบริ ษทั ร่ วมเป็ นบริ ษทั ย่อย และ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือ หุน้ ของบริ ษทั TICON มีมติอนุมตั ิเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,099.1 ล้านบาท เป็ น 1,834.1 ล้านบาท โดยการออกหุ ้นสามัญ จานวน 735.0 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาทเป็ นจานวนเงิ น 735 .0 ล้านบาท และอนุ มตั ิเสนอขายและจัดสรรหุ ้น สามัญเพิ่มทุน ให้แก่ บริ ษทั เฟรเซอร์ ส พร็ อพเพอร์ ต้ ี โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด(“FPHT”) โดยเป็ นการเสนอขายให้แก่ บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ในราคาเสนอขายหุ ้นละ 18 บาท รวมเป็ นมูลค่าทั้งสิ้ นไม่เกิน 13,230.0 ล้านบาท ซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมดของบริ ษทั TICON หลังการเพิ่มทุน มีผลทาให้ภายหลัง การเพิ่มทุนสัดส่ วนการถือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ลดลงจากร้อยละ 43.55 เป็ นร้อยละ 26.10 บริ ษทั ฯได้ทาการประเมินเรื่ องการ ควบคุมบริ ษทั TICON และสรุ ปว่าบริ ษทั ฯ สูญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั TICON และจะปรับเปลี่ยนสถานะเงินลงทุนในบริ ษทั TICON จากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเป็ นเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ซึ่งภายหลังการเพิ่มทุนเสร็ จสมบูรณ์จะมีผลให้บริ ษทั ฯ หมด อานาจควบคุมในบริ ษทั TICON และไม่นางบการเงินของบริ ษทั TICON มาจัดทางบการเงินรวม และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 บริ ษทั FPHT ได้ชาระค่าหุน้ สามัญเพิ่มทุนให้กบั TICON แล้ว โดยบริ ษทั TICON ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชาระแล้วกับ กระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 5 (ปรั บปรุ ง 2558) เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดาเนิ นงานที่ ยกเลิก บริ ษทั ฯแสดงสิ นทรัพย์ หนี้ สินและส่ วนของเจ้าของที่ เกี่ยวข้องกับบริ ษทั TICON เป็ นรายการแยกต่างหาก ภายใต้หัวข้อ “สิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” “หนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” และ “จานวนที่รับรู ้ในส่วนของเจ้าของที่ เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ แยกแสดงผลการดาเนินงานของ TICON เป็ น “กาไรสาหรับปี จากการดาเนินงานที่ยกเลิก” ในส่วนของกาไรขาดทุนรวม ผลการดาเนินงาน รายได้ ในช่วงปี 2557-2559 โครงสร้างรายได้หลักของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยคือ รายได้จากการขายที่ดิน, รายได้จากการ ขาย(ธุรกิจผลิตไฟฟ้า) และรายได้จากการขายที่ดินและอาคารโรงงาน เพื่อให้ง่ายในการพิจารณาโครงสร้างรายได้หลักของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย โดยดูได้จากรายละเอียดการขายในช่วง ปี 2557-2559 ดังนี้ (จัดประเภทตามหน้างบการเงิน)

92

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

รายได้หหลัลักก รายได้ ขายทีด่ ด่ ินิน ขายที ขายไฟฟ้าา ขายไฟฟ้

2559 2559 นบาท ล้ล้าานบาท %%

อือื่น่น

1,266.31 12.90 12.90 1,266.31 7,879.76 80.28 80.28 7,879.76 --668.72 6.81 6.81 668.72

รวม รวม

9,814.79 100.00 100.00 9,814.79

าไรจากการเปลี่ย่ยนแปลงการจั นแปลงการจัดดประเภทเงิ ประเภทเงินนลงทุ ลงทุนน กกาไรจากการเปลี

2558 2558 นบาท ล้ล้าานบาท %% 2,215.11 2,215.11 9,177.36 9,177.36 -497.79 497.79

18.63 18.63 77.18 77.18 -4.19 4.19

11,890.26 100.00 100.00 11,890.26

2557 2557 นบาท ล้ล้าานบาท %% 2,635.92 2,635.92 8,532.97 8,532.97 1,361.33 1,361.33 545.08 545.08

20.16 20.16 65.26 65.26 10.41 10.41 4.17 4.17

13,075.30 100.00 100.00 13,075.30

รายได้จจากการขายที ากการขายที่ด่ดินิน ในช่ ในช่ววงง33ปีปีทีที่ผ่ผา่ า่ นมา นมาการโอนกรรมสิ การโอนกรรมสิททธิธิ์ ใ์ ในที นที่ด่ดินินให้ ให้กกบั บั ลูลูกกค้ค้าาของปี ของปี 2559 2559จะมี จะมีปปริริมมาณ าณ 1.1. รายได้ ยกว่าาปีปี 2558 2558และ และปีปี 2557 2557อัอันนเนืเนื่อ่องมาจากในปี งมาจากในปีก่ก่ออนนๆๆมีมีลลูกูกค้ค้าาเข้เข้าาททาสั าสัญญญาซื ญาซื้ อ้ อขายที ขายที่ด่ดินินในโครงการใหม่ ในโครงการใหม่ซึซึ่ ง่ ง น้น้ออยกว่ จะต้อองใช้ งใช้เวลาในการพั เวลาในการพัฒฒนาโครงการมากกว่ นาโครงการมากกว่าา 11 ปีปี ซึซึ่ ง่ งในปี ในปี 2557 2557 –– 2558 2558 บริ บริษษทั ทั และบริ และบริษษทั ทั ย่ย่ออยได้ ยได้ททาการ าการ จะต้ นาแล้ววเสร็ เสร็จจ และสามารถโอนกรรมสิ และสามารถโอนกรรมสิททธิธิ์ ใ์ ในที นที่ด่ดินินให้ ให้กกบั บั ลูลูกกค้ค้าาได้ ได้เป็เป็นนจจานวนมาก านวนมาก จึจึงงททาให้ าให้รรายได้ ายได้ขขายที ายที่ด่ดินิน พัพัฒฒนาแล้ ในปี 2557 2557––2558 2558มากกว่ มากกว่าาปีปี 2559 2559ประกอบกั ประกอบกับบสถานการณ์ สถานการณ์เศรษฐกิ เศรษฐกิจจของไทยและโลกยั ของไทยและโลกยังงอยู อยูใ่ ใ่ นช่ นช่ววงชะลอตั งชะลอตัวว ในปี รายได้จจากการขายไฟฟ้ ากการขายไฟฟ้าา เป็เป็นรายได้ นรายได้มมาจากของบริ าจากของบริษษทั ทั โรจนะ โรจนะ เพาเวอร์ เพาเวอร์ จจากั ากัดด และบริ และบริษษทั ทั โรจนะ โรจนะ เอ็เอ็นนเนอร์ เนอร์จจี ี 2.2. รายได้ ากัดด รายได้ รายได้ใในปี นปี 2559 2559 ลดลงจาก ลดลงจาก 22 ปีปีก่ก่ออนน เป็เป็นนอัอันนมาจากบริ มาจากบริษษทั ทั โรจนะ โรจนะ เพาเวอร์ เพาเวอร์ จจากั ากัดด ย้ย้าายเครื ยเครื่ อ่ องจั งจักกรร จจากั บางส่ววนไปติ นไปติดดตัตั้ง้งในไลน์ ในไลน์กการผลิ ารผลิตตในโครงการ ในโครงการSPP3 SPP3ซึซึ่ ง่ งจะเริ จะเริ่ ม่ มผลิ ผลิตตและขายไฟฟ้ และขายไฟฟ้าาได้ ได้ตต้ งั ้ งั แต่ แต่กกลางปี ลางปี 2560 2560 บางส่ าไรจากการเปลี่ ย่ ยนแปลงการจั นแปลงการจัดดประเภทเงิ ประเภทเงินนทุทุนน การรั การรับบรูรู้ ร้ รายได้ ายได้ใในส่ นส่ววนนี นนี้ ้ มีมีเเฉพาะในปี ฉพาะในปี 2557 2557 จจานวน านวน 3.3. กกาไรจากการเปลี 1,361.33ล้ล้าานบาท นบาทเนืเนื่อ่องจากบริ งจากบริษษทั ทั ฯได้ ฯได้เข้เข้าาไปลงทุ ไปลงทุนนเพิเพิ่ม่มในไทคอน ในไทคอนททาให้ าให้สสัดัดส่ส่ววนการถื นการถืออหุหุ้น้นเปลี เปลี่ย่ยนแปลงไป นแปลงไป 1,361.33 จากเดิมมจนท จนทาให้ าให้สสถานะการจั ถานะการจัดดประเภทเงิ ประเภทเงินนลงทุ ลงทุนนเปลี เปลี่ย่ยนจากบริ นจากบริษษทั ทั ร่ร่ววมเป็ มเป็นบริ นบริษษทั ทั ย่ย่ออยยและมี และมีกกาไรเกิ าไรเกิดดขึขึ้ น้ น จากเดิ รายได้ออื่นื่นประกอบด้ ประกอบด้ววยรายได้ ยรายได้ทที่มี่มีมีมูลูลค่ค่าาคิคิดดเป็เป็นสั นสัดดส่ส่ววนไม่ นไม่ถถึงึง10% 10%ของรายได้ ของรายได้รรวม วมรายละเอี รายละเอียยดดั ดดังงนีนี้ ้ 4.4. รายได้ 2559 2558 2557 2559 2558 2557 นบาท) นบาท) นบาท) (ล้(ล้าานบาท) (ล้(ล้าานบาท) (ล้(ล้าานบาท) รายได้คค่า่าบริ บริกการาร 581.74 457.43 386.00 รายได้ 581.74 457.43 386.00 รายได้คค่า่าเช่เช่าา 32.39 33.84 35.39 รายได้ 32.39 33.84 35.39 รายได้ออื่นื่น 54.59 6.52 21.49 รายได้ 54.59 6.52 21.49 รายได้เงิเงินนชดเชยประกั ชดเชยประกันนภัภัยย 95.30 รายได้ --95.30 รายได้จจากการขายบ้ ากการขายบ้าานและอาคารชุ นและอาคารชุดด -6.90 รายได้ -6.90

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

93


ค่ าใช้ จ่ายการดาเนินงาน ต้ นทุนขายและกาไรขั้นต้ น

ฐานะทางการเงิน

ต้นทุนขายที่ดิน ต้นทุนขายไฟฟ้า

2559 (ล้านบาท) 704.80 6,525.21

กาไรขั้นต้นจากการขายที่ดิน กาไรขั้นต้นจากการขายไฟฟ้า

2559 (ล้านบาท) 561.51 1,354.55

2558 (ล้านบาท) 882.20 7,767.50

% 44.32 17.19

2558 (ล้านบาท) 1,332.92 1,409.86

2557 (ล้านบาท) 1,634.26 7,478.64

% 60.17 15.36

2557 (ล้านบาท) 1,001.66 1,054.33

% 38.00 12.36

เนื่องจากที่ดินที่รับรู ้รายได้ในปี 2557-2558 ส่วนใหญ่เป็ นที่ดินในโครงการจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งมีตน้ ทุนที่ไม่สูง มากนัก ส่วนในปี 2559 เป็ นการขายของโครงการอื่น ๆ ที่มีตน้ ทุนค่อนข้างสูงกว่า ในส่วนต้นทุนการขายไฟฟ้า ต้นทุนในปี 2559 ใกล้เคียงกับต้นทุนของปี 2558 ค่าใช้จ่ายในการขายของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในปี 2559 และ 2558 มีสดั ส่วนใกล้เคียงกัน เป็ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ การดาเนินธุรกิจเพื่อติดต่อลูกค้า, การโฆษณาและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการโอนกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินให้กบั ลูกค้า ส่วนค่าใช้จ่ายใน การบริ หาร มีจานวน 369.06 ล้านบาท , 514.83 ล้านบาท และ 419.74 ล้านบาท ตามลาดับ คิดเป็ น ร้อยละ 3.60, 4.33 และ 3.78 ของยอดรายได้จากการประกอบธุรกิจ ตามลาดับ ซึ่งเป็ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการบริ หารทัว่ ไป ต้นทุนทางการเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในปี 2559, 2558 และปี 2557 มีจานวน 1,000.02 ล้านบาท, 1,074.99 ล้านบาท และ 931.90 ล้านบาท ตามลาดับ เป็ นดอกเบี้ยเงินกูย้ มื เพื่อใช้ในการลงทุนในบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย รวมถึงการ ลงทุนและขยายโครงการต่าง ๆ ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย กาไรสุทธิของบริ ษทั ในปี 2559 จานวน 418.30 ล้านบาท ลดลงจากปี 2558 ซึ่งมีจานวน 913.33 ล้านบาท และ ลดลงจากปี 2557 ซึ่งมีจานวน 2,197.88 ล้านบาท เนื่องจากในปี 2559 มีการรับรู ้รายได้จากการขายที่ดินลดลง และในปี 2558-2559 ลดลงจากปี 2557 เนื่องจากในปี 2557 มีการรับรู ้กาไรจากการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภทเงินลงทุนของ บริ ษทั ไทคอน คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) จากบริ ษทั ร่ วมมาเป็ นบริ ษทั ย่อย จานวนเงิน 1,361.33 ล้านบาท อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุน้ หากพิจารณาอัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุน้ ตามงบการเงินรวมของบริ ษทั ซึ่งในช่วงปี 2557-2559 อยูท่ ี่ร้อยละ 13, 3.70 และ 1.66 ตามลาดับ เนื่องจากมีกาไรสุทธิลดลงจากปี ก่อน ทางด้านอัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ถาวรตามงบการเงิน รวมของบริ ษทั ซึ่งอยูท่ ี่ร้อยละ 14.88, 9.56 และ 5.85 อันเนื่องจากกาไรสุทธิที่ลดลง อัตราการจ่ายเงินปั นผลตามงบการเงินรวมของบริ ษทั ในปี 2559 อยูท่ ี่ร้อยละ 2.21 ส่วนในปี 2558 อยูท่ ี่ร้อยละ 0.81 (เป็ นการคานวณจาก เงินปั นผล/กาไรสุทธิ)

94

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

สินทรัพย์ บริ ษทั มีสินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2559, 2558 จานวน 77,007.29 และ 76,023.28 ล้านบาท ตามลาดับ มีรายละเอียด ในแต่ละรายการที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ณ สิ้ นปี 2559 , 2558 มีจานวน 1,207.61, 1,400.97 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ ต่อสิ นทรัพย์รวม เท่ากับ 1.57, 1.84 ตามลาดับ ซึ่งลูกหนี้ส่วนใหญ่เป็ นของธุรกิจโรงไฟฟ้าและพลังงาน แสงอาทิตย์ ซึ่งเป็ นไปตามรายได้จากการขายไฟฟ้า บริ ษทั ได้กาหนดนโยบายการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สาหรับลูกหนี้ประเภทค่าบริ การสาธารณูปโภค โดยการ ประเมินผลของฝ่ ายบริ หารเกี่ยวกับความสูญเสี ยที่อาจจะเกิดขึ้นจากยอดลูกหนี้แต่ละราย โดยคานึงถึง ประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุหนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น ลูกหนี้จะถูก ตัดจาหน่ายบัญชีเมื่อทราบว่าเป็ นหนี้สูญ ส่วนลูกหนี้ประเภทขายที่ดินและอาคารชุด ไม่มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ เนื่องจากกรรมสิ ทธิ์ในที่ดินจะโอนให้ลูกค้าต่อเมื่อลูกค้าชาระเงินเสร็ จสิ้นครบตามสัญญา จึงไม่มีความเสี่ ยง ใด ๆ 2. ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ณ สิ้นปี 2559 มีจานวน 7,281.75 ล้านบาท ลดลงจากงวดเดียวกันของปี ก่อน ซึ่งมีจานวน 7,321.97 ล้านบาท เนื่องจากบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยได้ทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ขายที่ดินให้กบั ลูกค้า 3. สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ณ สิ้นปี 2559 มีจานวน 492.47 ล้านบาท ลดลงจากเดียวกันของปี ก่อน ซึ่งมีจานวน 1,090.98 ล้านบาท มีรายละเอียดดังนี้ ปี 2559(ล้านบาท) ปี 2558(ล้านบาท) ลูกหนี้กรมสรรพากร 264.84 634.37 ภาษีซ้ือรอขอคืน 40.97 39.54 ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย 80.66 232.36 เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง 11.43 22.92 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 84.07 125.55 อื่น ๆ 10.50 36.24 4. ที่ดินรอการพัฒนา ณ สิ้นปี 2559 มีจานวน 2,020.40 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2558 ซึ่งมีจานวน 1,942.93 เนื่องจากมีการซื้อที่ดินเพิ่มเติม 5. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ณ สิ้นปี 2559 มีจานวน 22,173.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีจานวน 20,092.96 ล้านบาท เนื่องจากบริ ษทั ย่อยมีการขยายโครงการทั้งโรงไฟฟ้าและโรงผลิตน้ าเพื่ออุตสาหกรรม 6. สิ นทรัพย์บางรายการที่มีการเปลี่ยนแปลงที่เป็ นหลักใหญ่ ๆ ที่เป็ นของกลุ่มบริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอน เนคชัน่ จากัด (มหาชน) ประกอบด้วย

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

95


ปีปี 2559 2559 (ล้ (ล้าานบาท) นบาท)

ปีปี 2558 2558 (ล้ (ล้าานบาท) นบาท)

107.43 107.43 ----42,280.42 42,280.42

6,032.87 6,032.87 33,015.93 33,015.93 1,171.36 1,171.36 306.18 306.18 714.98 714.98 --

เงิเงินนลงทุ ลงทุนนในบริ ในบริษษทัทั ร่ร่ววมม อสั อสังงหาริ หาริมมทรั ทรัพพย์ย์เเพืพื่อ่อการลงทุ การลงทุนน ค่ค่าาความนิ ความนิยยมม สิสินนทรั ทรัพพย์ย์ภภาษี าษีเเงิงินนได้ ได้รรอตั อตัดดบับัญญชีชี ค่ค่าาเช่ เช่าาทีที่ด่ดินินจ่จ่าายล่ ยล่ววงหน้ งหน้าา สิสินนทรั ทรัพพย์ย์ไไม่ม่หหมุมุนนเวีเวียยนที นที่ถ่ถือือไว้ ไว้เเพืพือ่ อ่ ขาย ขาย

หนี หนีส้ ส้ ินิน บริ บริษษทัทั และบริ และบริษษทัทั ย่ย่ออยมี ยมีหหนีนี้ ้สสิ นิ นรวมทั รวมทั้ ง้ งสิสิ้น้น สสาหรั าหรับบ ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 และ และ เป็เป็ นจ นจานวน านวน 51,831.97 51,831.97 และ และ 50,665.27 50,665.27 ล้ล้าานบาท นบาท ตามล ตามลาดั าดับบ มีมีรรายละเอี ายละเอียยดในแต่ ดในแต่ลละรายการที ะรายการที่ส่สาคั าคัญญ ดัดังงต่ต่ออไปนี ไปนี้ ้ 1.1. เจ้เจ้าาหนี หนี้ ้ซซ้ือ้ือสิสินนทรั ทรัพพย์ย์ ส่ส่ววนใหญ่ นใหญ่เเป็ป็ นนเจ้เจ้าาหนี หนี้ ้ขของบริ องบริษษทัทั โรจนะ โรจนะ เพาเวอร์ เพาเวอร์ จจากั ากัดด เป็เป็ นเจ้ นเจ้าาหนี หนี้ ้คค่า่าก่ก่ออสร้ สร้าางโรงไฟฟ้ งโรงไฟฟ้าา 2.2. เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะสั ระยะสั้ น้ นจากสถาบั จากสถาบันนการเงิ การเงินน เป็เป็ นของบริ นของบริษษทัทั ปีปี 2559 2559 มีมีจจานวน านวน 6,157.72 6,157.72 ล้ล้าานบาท นบาท ลดลงจากปี ลดลงจากปี 2558 2558 ซึซึ่ ง่ งมีมี จจานวน านวน 7,540.82 7,540.82 ล้ล้าานบาท นบาท 3.3. ค่ค่าางวดที งวดที่ย่ยงังั ไม่ ไม่รรับับรูรู้ร้รายได้ ายได้ แยกตามโครงการได้ แยกตามโครงการได้ดดงั งั นีนี้ ้ สสาหรั าหรับบปีปี สิสิ้น้นสุสุดด ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 ชื่ อโครงการ ชื่ อโครงการ

ปราจีนบุรี ปราจีนบุรี ระยอง ระยอง ชลบุรี ชลบุรี ระยอง 2 ระยอง 2

4.4. 5.5.

96

มูลค่าที่ ขายแล้ว มูลค่าที่ ขายแล้ว ล้านบาท ล้านบาท 238.57 238.57 49.54 49.54 196.76 196.76 13.00 13.00

เงินที่ ถึงกาหนดชาระ เงินที่ ถึงกาหนดชาระ ล้านบาท % ล้านบาท % มูลค่าที่ ขาย มูลค่าที่ ขาย 94.63 94.63 4.95 4.95 37.40 37.40 1.20 1.20

39.67 39.67 9.99 9.99 19.01 19.01 9.23 9.23

เงินที่ ชาระแล้วสะสม เงินที่ ชาระแล้วสะสม ล้านบาท % ล้านบาท % มูลค่าที่ ขาย มูลค่าที่ ขาย 94.63 94.63 4.59 4.59 37.40 37.40 1.20 1.20

39.67 39.67 9.99 9.99 19.01 19.01 9.23 9.23

คงเหลือจานวนที่ คงเหลือจานวนที่ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ยังไม่ถึงกาหนดชาระ ล้านบาท % มูลค่าที่ ขาย ล้านบาท % มูลค่าที่ ขาย 143.94 143.94 44.58 44.58 159.36 159.36 11.80 11.80

60.33 60.33 89.99 89.99 80.99 80.99 90.77 90.77

หมายเหตุ หมายเหตุ ทุทุกกโครงการไม่ โครงการไม่มมีลีลูกูกค้ค้าาทีที่ค่คา้า้ งช งชาระ าระ ้ เงิเงินนกูกูย้ ย้ มื มื ระยะยาว+หุ น ้ กู และเงิ น ส่ ว นที ่ ถ ระยะยาว+หุน้ กู้ และเงินส่วนที่ถึงึงกกาหนดช าหนดชาระภายในหนึ าระภายในหนึ่ ง่ งปีปี –– ณณ วัวันนทีที่ ่ 31 31 ธัธันนวาคม วาคม 2559 2559 และ และ 2558 2558 มีมี มูมูลลค่ค่าาเท่ เท่าากักับบ 18,695.04 18,695.04 และ และ 37,222.82 37,222.82 ล้ล้าานบาท นบาท ตามล ตามลาดั าดับบ สสาหรั าหรับบในปี ในปี 2558 2558 ทีที่เ่เพิพิม่ ่มขึขึ้ น้ นส่ส่ววนใหญ่ นใหญ่เเป็ป็ นของไท นของไท คอน(บริ ษ ท ั ย่ อ ย) เพื อ ่ น าเงิ น ไปใช้ ใ นการพั ฒ นาโครงการในประเทศ รวมทั ง ขยายการลงทุ น ไปยั ง ต่ า งประเทศ ้ คอน(บริ ษทั ย่อย) เพื่อนาเงินไปใช้ในการพัฒนาโครงการในประเทศ รวมทั้งขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ หนี หนี้ ้สสิ นิ นบางรายการที บางรายการที่ม่มีกีการเปลี ารเปลี่ย่ยนแปลงที นแปลงที่เ่เป็ป็ นหลั นหลักกใหญ่ ใหญ่ ๆๆ ทีที่เ่เป็ป็ นของกลุ นของกลุ่ม่มบริ บริษษทัทั ไทคอน ไทคอน อิอินนดัดัสสเทรี เทรียยลล คอนเนคชั คอนเนคชัน่ น่ จจากั ากัดด (มหาชน) (มหาชน) ประกอบด้ ประกอบด้ววยย

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ปี 2559 (ล้านบาท) ปี 2558 (ล้านบาท) ประมาณการหนี้สินระยะสั้น 76.33 เงินกูย้ มื ระยะยาวกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 676.78 หุน้ กู้ (ROJANA+TICON) 2,100.00 16,220.00 หนี้สินอื่น-เงินมัดจารับ 31.61 339.65 รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า 1,382.49 หนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 728.13 หนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย 25,347.94 6. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น มีดงั นี้ สัญญาเช่าระยะยาว บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญาเช่าสานักงานและบริ การสาธารณูปโภค โดยสัญญาเช่าจะมี อายุ 3 ปี ซึ่งจะครบกาหนดในปี 2561-2562 ภาระผูกพันจากสัญญาระยะยาว 1. สัญญาขายกระแสไฟฟ้ากับการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย มีอายุสญ ั ญา 25 ปี ซึ่งจะ ครบกาหนดในปี 2567 2. สัญญาซื้อก๊าซกับบริ ษทั ปตท. จากัด (มหาชน) สัญญามีระยะเวลา 21 ปี ซึ่งสามารถต่อ อายุสญ ั ญาออกไปได้อีก 4 ปี ซึ่งจะครบกาหนดในปี 2567

สภาพคล่อง

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมการดาเนินงานของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในปี 2559 เท่ากับ 2,176.63 ล้าน บาท ลดลงจาก 2,733.28 ล้านบาท ในปี 2558 สาเหตุมาจากรายการค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย, กาไรจากการ ขายที่ดินรอการพัฒนา, ต้นทุนขายอสังหาริ มทรัพย์ส่วนที่ขาย, ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน, สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น, ค่างวดที่ยงั ไม่รับรู ้รายได้ และดอกเบี้ยจ่าย กระแสเงินสดใช้ไปในกิจกรรมการลงทุนของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย ในปี 2559 เท่ากับ (3,894.45) ล้าน บาท ลดลงจาก (7,435.24) ล้านบาท ในปี 2558 เนื่องจากรายการเงินฝากธนาคารที่มีขอ้ จากัดในการใช้, เงินสดรับ จากการจาหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม, เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม, เงินสดรับจากการขายที่ดินรอการ พัฒนา, เงินสดจ่ายซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนและเงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของบริ ษทั ย่อย กระแสเงินสดจาก(ใช้ไปใน)กิจกรรมการจัดหาเงินของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในปี 2559 เท่ากับ 981.41 ล้านบาท ลดลงจาก 5,403.86 ล้านบาท ในปี 2558 อันเป็ นผลมาจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบัน การเงินและจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน, เงินสดรับและจ่ายจากการออกหุน้ กูข้ องบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย, เงินสดรับจาก การเพิ่มทุนหุน้ สามัญ นอกจากนี้ยงั ได้มีการจ่ายเงินปั นผลแก่ผถู ้ ือหุน้ หากพิจารณาอัตราส่วนสภาพคล่องของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในปี 2559 และ 2558 ซึ่งเท่ากับ คือ 1.51 เท่า และ 0.76 เท่า ตามลาดับโดยอัตราส่วนสภาพคล่อง เกิดจากรายการสิ นทรัพย์หมุนเวียนหารด้วยหนี้สิน หมุนเวียน จากปั จจัยต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นว่าบริ ษทั มีสภาพคล่องเพียงพอสาหรับการดาเนิน ธุรกิจและการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยมีการพัฒนาที่ดินและให้บริ การเพิ่มขึ้นตามความต้องการของลูกค้า อย่างไรก็ดีหากบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยคาดว่ามีปัจจัยใดเป็ นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ ยง หรื อมีแนวโน้มที่จะมี

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

97


ผลกระทบต่อบริ ษทั บริ ษทั จะดาเนินการหาทางป้ องกันและแก้ไขปรับปรุ งเพื่อลดความเสี่ ยงจากปั จจัยดังกล่าวให้ น้อยลงหรื อหมดไป เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย ส่ วนของผู้ถือหุ้น บริ ษทั มีส่วนของผูถ้ ือหุ ้นรวม 25,175.32 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ลดลงเล็กน้อยจากปี 2558 ซึ่ งมี จานวน 25,358.00 ล้านบาท เป็ นผลมาจากกาไรสุทธิประจาปี ลดลงจากปี ก่อน และมีการจ่ายเงินปั นผล อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในปี 2559 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2558 อัน เนื่องมาจากบริ ษทั มีกาไรสุทธิลดลง นอกจากนี้บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีการชาระคืนเงินกูต้ ามกาหนดทั้งระยะสั้นและระยะ ยาวจากสถาบันการเงินตรงตามเวลาและไม่เคยผิดนัดชาระหนี้ท้ งั ดอกเบี้ยและเงินต้น ความเหมาะสมของโครงสร้ างเงินทุน บริ ษทั มีแหล่งเงินทุนหลักเพื่อใช้ในการขยายธุรกิจการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ และตลอดจนระบบสาธารณูปโภค ต่า ง ๆ คื อ เงิ น ทุ นจากการดาเนิ น งาน และเงิ น กู้ยืม จากสถาบัน การเงิ น อย่า งไรก็ ดี ในช่ ว ง 3 ปี ที่ ผ่านมาธุ ร กิ จพัฒ นา อสังหาริ มทรัพย์และการขายไฟฟ้า ยังมีผลการดาเนินงานที่น่าพอใจและให้ผลตอบแทนที่ดี นอกจากนี้ ในปี 2559 ที่ผ่านมา บริ ษทั มีการกูย้ ืมโดยการออกหุ ้นกู้ อายุ 3 ปี และ 5 ปี อัตราดอกเบี้ ยค่อนข้างต่า ซึ่ ง ถือเป็ นแหล่งเงินทุนที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่ง

2.

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริ ษทั ย่อย บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด จานวนเงิน บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด จานวนเงิน บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด จานวนเงิน บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด จานวนเงิน บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด จานวนเงิน บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัดจานวนเงิน บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด จานวนเงิน บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิต้ ี จากัด จานวนเงิน

3.

ค่าตอบแทนอื่น

440,000 250,000 100,000 200,000 150,000 300,000 20,000 20,000

บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท บาท

ค่าตรวจสอบผลการดาเนินงานเพือ่ การใช้สิทธิและประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประกาศสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริ มการลงทุนที่ ป.4/2544 ของบริ ษทั ย่อย รวมเป็ นเงิน 190,000 บาท

ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่ อผลการดาเนินงานหรื อฐานะการเงินในอนาคต บริ ษทั มีแผนการขยายธุรกิจในอนาคต ซึ่งประกอบด้วยการขยายการลงทุนในธุรกิจด้านพัฒนาเขต/สวน อุตสาหกรรมในภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี จานวน 2 แห่ง ประกอบกับกาลังพิจารณาหาทาเลที่ดี สาหรับขยายธุรกิจใน ต่างประเทศแถบภูมิภาคเอเชีย ซึ่ งในภูมิภาคนี้รัฐบาลกาลังพิจาณาร่ าง พ.ร.บ. พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก เพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจอย่างเป็ นระบบ และมีประสิ ทธิภาพ มีแผนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์ท้ งั ระบบ สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งอนาคต เพื่อรองรับการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้ าหมายที่รัฐบาลกาหนดไว้ ค่ าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยจ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชีให้แก่ บริ ษทั สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด ซึ่ง เป็ นสานักงานสอบบัญชีที่ผสู ้ อบบัญชีสงั กัดประจาปี 2559 ดังนี้ 1.

ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริ ษทั งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม

98

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

จานวนเงิน จานวนเงิน รวมเป็ นเงิน

860,000 บาท 650,000 บาท 1,510,000 บาท

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

99


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ความเห็น

บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย รายงานของผูส้ อบบัญชีและงบการเงิน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริ ษ ัท ย่อ ย (“กลุ่ ม บริ ษ ทั ”) และของเฉพาะบริ ษ ัท สวนอุ ต สาหกรรมโรจนะ จ ากัด (มหาชน) (“บริ ษทั ”) ซึ่ งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะการเงิ นเฉพาะกิ จการ ณ วันที่ 31 ธัน วาคมพ.ศ. 2559 งบก าไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ รวมและงบก าไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ เฉพาะกิ จ การ งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ รวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงิ น สดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดี ยวกันและหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและ เฉพาะกิจการ รวมถึงหมายเหตุสรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ ข้า พเจ้า เห็ นว่า งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการข้า งต้นนี้ แ สดงฐานะการเงิ นรวมและฐานะการเงิ น เฉพาะกิ จการของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของเฉพาะบริ ษทั สวน อุต สาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และผลการด าเนิ นงานรวม และผลการ ดาเนิ นงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงิ นสดรวมและกระแสเงิ นสดเฉพาะกิ จการ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันเดี ยวกันโดย ถูกต้องตามที่ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เกณฑ์ ในการแสดงความเห็น ข้าพเจ้าได้ปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในส่ วนของ ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็ นอิสระจากกลุ่มบริ ษทั ตามข้อกาหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชี พที่กาหนดโดยสภาวิชาชี พ บัญชี ในพระบรมราชู ปถัมภ์ในส่ วนที่ เกี่ ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ และ ข้า พเจ้าได้ป ฏิ บตั ิ ต ามความรั บผิ ด ชอบด้า นจรรยาบรรณอื่ นๆ ซึ่ งเป็ นไปตามข้อ กาหนดเหล่ า นี้ ข้า พเจ้า เชื่ อ ว่า หลักฐานการสอบบัญชีที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

100

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

101


-3-

-2เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ

การรั บรู้ต้นทุนขายที่ดนิ จากการพัฒนาอสังหาริ มทรั พย์ เพือ่ ขาย (งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ)

เรื่ องสาคัญในการตรวจสอบคือเรื่ องต่างๆ ที่มีนยั สาคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผูป้ ระกอบวิชาชี พของข้าพเจ้าในการ ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการสาหรับงวดปั จจุบนั ข้าพเจ้าได้นาเรื่ องเหล่านี้ มาพิจารณาใน บริ บทของการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ทั้งนี้ขา้ พเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากสาหรับเรื่ องเหล่านี้

กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีตน้ ทุนขายจานวน 704.80 ล้านบาท และ 564.90 ล้านบาท ตามลาดับ เนื่ องจากกลุ่มบริ ษทั พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทนิ คมอุตสาหกรรม ซึ่ งแต่ละโครงการมีเนื้ อที่พฒั นาจานวนมาก และมีตน้ ทุนในการ พัฒนาสาธารณู ปโภคสู ง และแต่ละโครงการจะจัดสรรเนื้อที่ขนาดต่างๆตามความต้องการของลูกค้า กลุ่มบริ ษทั จะมี การทยอยขาย และทยอยพัฒนาสาธารณู ปโภคโดยการขายจะเกิดขึ้นทั้งที่ตน้ ทุนสาธารณู ปโภคยังพัฒนาไม่แล้วเสร็ จ ดังนั้นการรับรู ้รายได้จากการขายแต่ละแปลงจึงต้องประมาณการต้นทุนสาธารณู ปโภคของโครงการตามอัตราส่ วน พื้นที่ ขายผูบ้ ริ หารจึ งต้องใช้ดุลยพินิจที่สาคัญในการประมาณการต้นทุนพัฒนาสาธารณู ปโภคที่ จาเป็ น และต้องมี การปรับเปลี่ยนประมาณการต้นทุนในการก่อสร้างสาธารณู ปโภคโครงการแต่ละนิ คมจนจบโครงการให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปแต่ละปี ดังนั้นการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารในเรื่ องดังกล่าวเป็ นเรื่ องสาคัญ

การแสดงมูลค่ าต้ นทุนการพัฒนาที่ดนิ (งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ) ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมข้อ 9 บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยมีตน้ ทุนการพัฒนาที่ดิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จานวน 7,281.75 ล้านบาท ซึ่ งเป็ นจานวนที่มีนยั สาคัญในงบการเงิน โดยแสดงมูลค่าตามวิธี ราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับสุ ทธิ แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ ากว่า การชะลอตัวของการก่อสร้างโรงงานใน นิคมอุตสาหกรรม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบนั ทาให้สถาบันการเงินมีความระมัดระวังมากขึ้นในการปล่อย สิ นเชื่ อ และการได้เปรี ยบของสิ ทธิ ประโยชน์โรงงานที่ สร้ างในนิ ค มอุต สาหกรรมและนอกนิ ค มอุตสาหกรรม แตกต่ า งไปจากเดิ ม ท าให้ กิ จ การบางแห่ ง เลื อ กลงทุ น นอกนิ ค มอุ ต สาหกรรมแทน ท าให้ โ ครงการพัฒ นา อสังหาริ มทรัพย์เพื่อขายแต่ละโครงการมีแปลงที่คา้ งนาน ผูบ้ ริ หารจึงต้องใช้การประมาณการเพื่อให้ได้มาซึ่ งมูลค่า สุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับ ข้าพเจ้าจึงเห็นว่าเรื่ องดังกล่าวมีความสาคัญเนื่ องจากต้องมีการใช้ประมาณการและจานวนมี นัยสาคัญ ข้าพเจ้าได้รับความเชื่อมัน่ เกี่ยวกับการแสดงมูลค่าของต้นทุนการพัฒนาที่ดินคงเหลือ โดย  ทาความเข้าใจเกี่ ยวกับแผนการขายและนโยบายการตั้งราคาขายของฝ่ ายบริ หาร และนโยบายส่ งเสริ ม การขายที่จะผลักดันการขายให้เป็ นไปตามเป้าหมายที่ฝ่ายบริ หารได้คาดการณ์ไว้  ประเมินดุลยพินิจที่สาคัญของฝ่ ายบริ หารเกี่ยวกับราคาที่คาดว่าจะขายในอนาคต  เปรี ยบเทียบราคาขายของกลุ่มบริ ษทั ฯ กับราคาขายของคู่แข่งที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันหรื อใกล้เคียงกันซึ่ งเชื่ อ ได้วา่ พื้นที่ใกล้เคียงดังกล่าวมีผลต่อการตัดสิ นใจของผูซ้ ้ื อ  ตรวจสอบราคาขายจริ งในอดีตของโครงการดังกล่าวแล้วนามาเปรี ยบเทียบกับราคาขายในปัจจุบนั  ตรวจสอบราคาขายของที่ดินที่ขายได้แล้วที่เกิดขึ้ นภายหลังวันที่ในงบการเงินรวมถึงการส่ งเสริ มการขาย ที่เกี่ยวข้อง

ข้าพเจ้าได้รับความเชื่อมัน่ เกี่ยวกับการรับรู ้ตน้ ทุนพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อขาย โดย  ท าความเข้า ใจและประเมิ น การออกแบบการควบคุ ม ในการประมาณการต้น ทุ น ในการก่ อ สร้ า ง สาธารณู ปโภคโครงการที่ ใ ช้แ ละการทบทวนประมาณการต้นทุ นที่ มีการเปลี่ ย นแปลง พร้ อมทั้งสุ่ ม ทดสอบการควบคุมเพื่อพิจารณาความมีประสิ ทธิ ผลของระบบดังกล่าว  สอบถามกับฝ่ ายบริ หารถึ งเหตุผลและข้อสมมติ ฐานต่ างๆ ที่ ใช้ในการจัดทาประมาณการต้นทุ นในการ ก่ อสร้ า งสาธารณู ป โภคโครงการ และการเสนอรั บเหมาก่ อ สร้ างและในทุ กประเด็นที่ เกี่ ยวข้องกับข้อ สมมติฐาน  พิจารณาความเหมาะสมของเหตุผลและข้อสมมติฐานที่ผบู ้ ริ หารใช้ในการจัดทาประมาณการ  เปรี ย บเที ย บต้นทุ น จริ งกับต้นทุ นประมาณการที่ มีอ ยู่ท้ งั หมด ติ ด ตามผลแตกต่ า ง ถามหาสาเหตุ เพื่ อ พิจารณาถึงความครบถ้วนถูกต้องของต้นทุน และเปรี ยบเทียบกับการประมาณการ เรื่ องอื่น งบการเงิ นรวมของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด(มหาชน) และบริ ษทั ย่อย(กลุ่มบริ ษทั ) และงบการเงิ น เฉพาะกิจการของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) (บริ ษทั ) สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีท่านอื่น ซึ่ งแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไขตามรายงานลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2559 ข้ อมูลอื่น ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบต่อข้อมูลอื่ น ซึ่ งรวมถึงข้อมูลที่ รวมอยู่ในรายงานประจาปี ของบริ ษทั ฯ (แต่ไม่รวมถึ ง งบการเงินและรายงานของผูส้ อบบัญชี ที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น) ซึ่ งคาดว่าจะถูกจัดเตรี ยมให้ขา้ พเจ้าภายหลังวันที่ ในรายงานของผูส้ อบบัญชีน้ ี

102

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

103


-4ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ความเชื่อมัน่ ต่อข้อมูลอื่น ความรั บผิ ดชอบของข้า พเจ้าที่ เ กี่ ยวเนื่ องกับการตรวจสอบงบการเงิ นคื อ การอ่านและพิ จารณาว่าข้อมูลอื่ นนั้น มีความขัดแย้งที่ มีสาระสาคัญกับงบการเงิ นหรื อกับความรู ้ ที่ได้รับจากการตรวจสอบของข้าพเจ้า หรื อปรากฎว่า ข้อมูลอื่นมีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจาปี หากข้าพเจ้าสรุ ปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ ข้าพเจ้าต้องสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวถึงผูม้ ีหน้าที่กากับดูแลทราบ ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มหี น้ าที่ในการกากับดูแลต่ องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริ หารมีหน้าที่ รับผิดชอบในการจัดทาและการนาเสนองบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการเหล่านี้ โดย ถูกต้อ งตามที่ ควร ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นและรั บผิด ชอบเกี่ ย วกับการควบคุ มภายในที่ ผูบ้ ริ หาร พิจารณาว่าจาเป็ นเพื่อให้สามารถจัดทางบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการที่ ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ในการจัดทางบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผูบ้ ริ หารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในการดาเนินงานต่อเนื่อง เปิ ดเผยเรื่ องที่เกี่ยวกับการดาเนิ นงานต่อเนื่ องตามความเหมาะสม และการ ใช้เกณฑ์การบัญชีสาหรับการดาเนินงานต่อเนื่องเว้นแต่ผบู ้ ริ หารมีความตั้งใจที่จะเลิกบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยหรื อหยุด ดาเนินงานหรื อไม่สามารถดาเนินงานต่อเนื่องต่อไปได้ ผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่ องดูแลกระบวนการในการจัดทารายงานทางการเงินของกลุ่มบริ ษทั ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่า งบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการโดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญหรื อไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการ ทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด และเสนอรายงานของผูส้ อบบัญชี ซ่ ึ งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ดว้ ย ความเชื่ อมัน่ อย่าง สมเหตุสมผลคือความเชื่ อมัน่ ในระดับสู งแต่ไม่ได้เป็ นการรับประกันว่าการปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการ สอบบัญ ชี จะสามารถตรวจพบข้อ มู ลที่ ข ัด ต่ อ ข้อเท็จ จริ งอันเป็ นสาระส าคัญที่ มีอ ยู่ไ ด้เ สมอไป ข้อมู ลที่ ข ัด ต่ อ ข้อเท็จจริ งอาจเกิ ดจากการทุ จริ ตหรื อข้อผิดพลาด และถือว่ามี สาระสาคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่า รายการที่ ขดั ต่ อข้อเท็จจริ งแต่ ละรายการหรื อทุ กรายการรวมกันจะมี ผลต่ อการตัด สิ นใจทางเศรษฐกิ จของผูใ้ ช้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการจากการใช้งบการเงินเหล่านี้

104

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

-5ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ขา้ พเจ้าได้ใช้ดุลยพิ นิ จและการสังเกตและสงสัยเยี่ยง ผูป้ ระกอบวิชาชีพตลอดการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานของข้าพเจ้ารวมถึง  ระบุและประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญในงบการเงิ น รวม และงบการเงิ นเฉพาะกิ จการ ไม่ว่าจะเกิ ดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิ บตั ิ งานตาม วิธีการตรวจสอบเพื่ อตอบสนองต่ อ ความเสี่ ย งเหล่า นั้น และได้หลักฐานการสอบบัญชี ที่เพี ย งพอและ เหมาะสมเพื่อเป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอัน เป็ นสาระสาคัญ ซึ่ งเป็ นผลมาจากการทุจริ ตจะสู งกว่าความเสี่ ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริ ต อาจเกี่ยวกับการสมรู ้ร่วมคิด การปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดง ข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริ งหรื อการแทรกแซงการควบคุมภายใน  ทาความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในซึ่ งมีผลกระทบต่อการสอบบัญชี เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิ ทธิ ผลของ การควบคุมภายในของกลุ่มบริ ษทั  ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ที่ผบู ้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทาง บัญชี และการเปิ ดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องซึ่ งจัดทาโดยผูบ้ ริ หาร  สรุ ปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชี สาหรับการดาเนิ นงานต่อเนื่ องของผูบ้ ริ หาร และ จากหลักฐานการสอบบัญ ชี ที่ไ ด้รั บ ว่า มี ค วามไม่ แ น่ นอนที่ มีส าระส าคัญที่ เ กี่ ย วกับ เหตุ การณ์ หรื อ สถานการณ์ ที่ อ าจเป็ นเหตุ ใ ห้เ กิ ด ข้อ สงสั ย อย่ า งมี นัย ส าคัญ ต่ อ ความสามารถของกลุ่ ม บริ ษ ัท ในการ ดาเนิ นงานต่อเนื่ องหรื อไม่ ถ้าข้าพเจ้าได้ขอ้ สรุ ปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสาคัญ ข้าพเจ้าต้องกล่าวไว้ ในรายงานของผูส้ อบบัญชี ของข้าพเจ้าถึงการเปิ ดเผยที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรื อถ้าการเปิ ดเผยดังกล่าว ไม่เพียงพอ ความเห็นของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุ ปของข้าพเจ้าขึ้นอยูก่ บั หลักฐานการสอบบัญชี ที่ ได้รับจนถึงวันที่ในรายงานของผูส้ อบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรื อสถานการณ์ในอนาคต อาจเป็ นเหตุให้บริ ษทั ต้องหยุดการดาเนินงานต่อเนื่อง  ประเมินการนาเสนอ โครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการโดยรวม รวมถึง การเปิ ดเผยว่างบการเงินรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการแสดงรายการและเหตุการณ์ในรู ปแบบที่ ทาให้ มีการนาเสนอข้อมูลโดยถูกต้องตามที่ควร  ได้รับหลักฐานการสอบบัญชี ที่เหมาะสมอย่างเพียงพอ เกี่ ยวกับข้อมูลทางการเงิ นของกิ จการภายในกลุ่ม หรื อกิจกรรมทางธุ รกิจภายในกลุ่มบริ ษทั เพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการ กาหนดแนวทางการควบคุ มดู แ ล และการปฏิ บ ัติ ง านตรวจสอบกลุ่ มบริ ษ ทั ข้า พเจ้า เป็ นผูร้ ั บ ผิ ด ชอบ แต่เพียงผูเ้ ดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

105


-6ข้าพเจ้าได้สื่อสารกับผูม้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลเกี่ยวกับขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้ ประเด็นที่มีนยั สาคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่ องที่มีนยั สาคัญในระบบการควบคุมภายในซึ่ งข้าพเจ้า พบในระหว่างการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ให้คารับรองแก่ผมู ้ ีหน้าที่ในการกากับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิตามข้อกาหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับ ความเป็ นอิ ส ระและได้สื่ อ สารกับ ผู ม้ ี หน้า ที่ ในการกากับดู แ ลเกี่ ย วกับความสัม พันธ์ ท้ งั หมดตลอดจนเรื่ องอื่ น ซึ่ งข้าพเจ้าเชื่ อว่ามีเหตุผลที่ บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่ากระทบต่ อความเป็ นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ขา้ พเจ้าขาดความเป็ นอิสระ จากเรื่ องที่ สื่ อสารกับผูม้ ี หน้า ที่ ในการกากับ ดู แ ล ข้า พเจ้าได้พิ จารณาเรื่ องต่ า ง ๆ ที่ มีนัยส าคัญมากที่ สุ ด ในการ ตรวจสอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิ จการในงวดปั จจุบนั และกาหนดเป็ นเรื่ องสาคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิ บายเรื่ องเหล่านี้ ไว้ในรายงานของผูส้ อบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรื อข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิ ดเผยเกี่ยวกับ เรื่ องดังกล่าวต่อสาธารณะ หรื อในสถานการณ์ที่ยากที่ จะเกิดขึ้ น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่ อสารเรื่ องดังกล่าวใน รายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระทาดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบ มากกว่าผลประโยชน์ต่อส่ วนได้เสี ยสาธารณะจากการสื่ อสารดังกล่าว

บริ ษทั สอบบัญชี ดี ไอ เอ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด

(นางสุ วิมล กฤตยาเกียรณ์) ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว เงินฝากธนาคารที่มีขอ้ จากัดในการใช้ ลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น เงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน สิ นค้าคงเหลือ อะไหล่ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขาย

สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้ ตามสัญญาเช่าดาเนิ นงานที่ยงั ไม่เรี ยกชาระ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในการร่ วมค้า เงินลงทุนในบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ที่ดินรอการพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าความนิ ยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี เงินจ่ายล่วงหน้าสาหรับซื้อที่ดินและก่อสร้าง ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

6 7 8 5 9

10 17

11 12 13

14 15 16 32

2559

2558

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

410,498,000 634,854,123 1,207,605,048 7,281,746,785 448,889 285,010,333 492,471,887 10,312,635,065 42,280,468,437 52,593,103,502

1,438,603,377 22,183,200 764,673,625 1,400,968,314 7,321,968,162 605,511 267,600,982 1,090,983,800 12,307,586,971 12,307,586,971

218,271,035 49,013,788 1,094,501,756 5,638,301,593 103,578,627 7,103,666,799 6,829,407,097 13,933,073,896

176,978,449 49,254,796 846,401,756 5,848,780,303 98,688,478 7,020,103,782 7,020,103,782

5,521,142 107,433,776 2,020,397,389 22,173,821,539 78,354,585 20,273,789 8,381,727 24,414,183,947 77,007,287,449

63,048,112 80,315,732 6,032,872,410 4,068,278 256,500 1,942,928,023 33,015,925,853 20,092,955,409 1,171,358,203 92,794,496 306,177,978 128,159,283 714,983,875 69,847,631 63,715,691,783 76,023,278,754

100,000 24,071,000 4,641,084,269 1,160,935,817 226,842,147 1,451,934,952 3,755,615 7,508,723,800 21,441,797,696

100,000 24,071,000 11,356,241,366 1,083,466,450 226,842,147 1,471,940,419 4,000 7,504,100 14,170,169,482 21,190,273,264

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่งของงบการเงินนี้

106

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

107


บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่ อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินรวม หมายเหตุ หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น หนีส้ ิ นหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ การค้าและเจ้าหนี้ อื่น เจ้าหนี้ ซ้ื อสิ นทรัพย์ เงินประกันผลงานค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า หนี้ สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี หุน้ กูท้ ี่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่ งปี เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ค่างวดที่ยงั ไม่รับรู ้ รายได้ ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ประมาณการหนี้ สินระยะสั้น หนี้ สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้ สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ถือไว้เพื่อขาย

หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน หนี้ สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี้ สินอื่น - เงินมัดจารับ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน ประมาณการหนี้ สินระยะยาว รายได้คา่ เช่าที่ดินรับล่วงหน้า หนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี รวมหนี้สินไม่ หมุนเวียน รวมหนีส้ ิน

18 19

2559

2558

6,157,723,532 512,281,363 189,729,909 262,142,106 176,513,653 5,043,182

7,540,823,912 1,092,498,138 332,313,786 219,953,877 199,609,485 76,086,338

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

6,157,723,532 21,650,669 3,266,207 60,597,944 3,668,374

งบการเงินรวม หมายเหตุ

5,500,823,912 14,315,890 388,092 63,516,661 63,512,474

1,515,039,238 180,000,000 138,436,144 5,107,368 283,156,399 9,425,172,894

2,018,242,403 3,962,000,000 327,070,333 36,736,525 76,327,864 219,747,656 16,174,160,086

821,884,411 180,000,000 15,192,895 42,356,375 3,058,622 7,309,399,029

903,896,364 712,000,000 126,192,895 184,735,006 2,479,592 7,571,860,886

25,347,943,428 34,773,116,322

16,174,160,086

7,309,399,029

7,571,860,886

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

14,900,257,795 2,100,000,000 31,614,219 26,978,885 17,058,850,899 51,831,967,221

2,910,640 676,780,000 15,022,580,865 16,220,000,000 339,653,917 58,881,823 59,690,523 1,382,486,942 728,129,912 34,491,114,622 50,665,274,708

3,359,655,894 2,100,000,000 38,254,482 10,878,997 5,508,789,373 12,818,188,402

3,680,243,202 1,280,000,000 40,336,407 11,406,785 5,011,986,394 12,583,847,280

-

1,149,769

-

-

5

-

71,600,000

-

-

24

17

20 5 21 22 23 24 32

2558

25

(ปี 2558 หุน้ สามัญ 2,036,579,204 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) ทุนออกจาหน่ายและชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ 2,020,461,863 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท (ปี 2558 หุน้ สามัญ 1,967,256,174 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท) เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ 25 กาไรสะสม จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย 27 ยังไม่ได้จดั สรร องค์ประกอบอื่นของส่ วนของเจ้าของ จานวนที่รับรู้ในส่ วนของเจ้าของที่เกี่วข้องกับสิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้นบริษัทใหญ่ ส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม รวมส่ วนของผู้ถอื หุ้น รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถือหุ้น

20

21 22 5

ส่ วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 2,035,588,788 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท

2559

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

2,035,588,788

2,036,579,204

2,035,588,788

2,036,579,204

2,020,461,863

1,967,256,174

2,020,461,863

1,967,256,174

5,621,975,851

4,597,382 5,470,700,457

5,621,975,851

4,597,382 5,470,700,457

203,558,878 3,883,672,998 -

199,703,849 4,264,801,071 (1,730,066)

203,558,878 777,612,702 -

199,703,849 964,168,122 -

(562,241) 11,729,107,349 13,446,212,879 25,175,320,228 77,007,287,449

11,905,328,867 13,452,675,179 25,358,004,046 76,023,278,754

8,623,609,294 8,623,609,294 21,441,797,696

8,606,425,984 8,606,425,984 21,190,273,264

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

108

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

109


บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ต่ อ) สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 งบการเงินรวม หมายเหตุ

การดาเนินงานต่ อเนื่อง รายได้ รายได้จากการขายที่ดิน รายได้จากการขายไฟฟ้ า รายได้จากการให้บริ การ รายได้จากการให้เช่า รายได้เงินปั นผล รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้ จ่าย ต้นทุนขายที่ดิน ต้นทุนขายไฟฟ้ า ต้นทุนการให้บริ การ ต้นทุนการให้เช่า ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวมค่ าใช้ จ่าย กาไร(ขาดทุน) ก่ อนส่ วนแบ่ งกาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่ วม และการร่ วมค้ า ต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ส่ วนแบ่งผลกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กาไร(ขาดทุน) ก่ อนต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน กาไร(ขาดทุน) ก่ อนภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนินงานต่ อเนื่อง กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี

32 17

กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: รายการที่จะถูกจัดประเภทรายการใหม่ เข้าไปไว้ ในกาไรหรื อขาดทุน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ ส่ วนขาดจากการเปลี่ยนสัดส่ วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ย่อย

2559

2558

หน่ วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

งบการเงินรวม หมายเหตุ

1,266,308,667 7,879,764,365 581,744,399 32,392,727 54,591,453 9,814,801,611

2,215,106,225 9,177,364,715 457,428,558 33,837,180 6,521,222 11,890,257,900

943,089,700 413,782,857 66,916,447 450,349,810 36,684,368 1,910,823,182

1,203,248,500 344,084,978 68,360,900 1,011,308,772 21,365,390 2,648,368,540

704,795,785 6,525,210,466 478,470,051 66,500,142 75,941,321 369,057,845 8,219,975,610

882,195,703 7,767,502,974 435,323,391 48,312,239 87,143,353 514,830,607 9,735,308,267

564,895,980 337,313,201 66,500,142 57,380,250 132,645,515 1,158,735,088

516,315,151 365,738,460 48,312,239 66,402,278 196,660,309 1,193,428,437

1,594,826,001 33,313,839 1,628,139,840 (1,000,015,369) 628,124,471 (5,067,127) 623,057,344 (204,760,469) 418,296,875

2,154,949,633 27,553,813 2,182,503,446 (1,074,988,014) 1,107,515,432 (55,553,458) 1,051,961,974 (138,632,377) 913,329,597

752,088,094 752,088,094 (442,682,860) 309,405,234 309,405,234 309,405,234

1,454,940,103 1,454,940,103 (454,144,749) 1,000,795,354 1,000,795,354 1,000,795,354

การแบ่ งปันกาไร(ขาดทุน) ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่ กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนิ นงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนิ นงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก

การแบ่ งปันกาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่ กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมจากการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมจากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมจากการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง กาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จรวมจากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก

กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้น กาไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท/ หุ้น) กาไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด (บาท/ หุ้น)

33

กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นจากการดาเนินงานต่ อเนื่อง กาไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท/ หุ้น) กาไร(ขาดทุน) ต่อหุน้ ปรับลด (บาท/ หุ้น)

33

2559

2558

370,191,799 (253,937,958) 116,253,841

812,912,419 (115,372,803) 697,539,616

309,405,234 309,405,234

1,000,795,354 1,000,795,354

252,865,545 49,177,489 302,043,034 418,296,875

239,049,555 (23,259,574) 215,789,981 913,329,597

371,675,753 (254,106,080) 117,569,673

812,912,419 (115,371,733) 697,540,686

310,974,502 310,974,502

1,000,795,354 1,000,795,354

252,770,662 48,959,568 301,730,230 419,299,903

239,049,555 (23,258,188) 215,791,367 913,332,053

0.06

0.36 0.36

0.16

0.52 0.51

0.19

0.42 0.41

0.16

0.52 0.51

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้ 2,681,572 2,681,572

1,651,151 (2,449,142) (797,991)

กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสาหรับปี

(2,445,448) 766,904 (1,678,544) 1,003,028

1,000,559 (200,112) 800,447 2,456

1,569,268 1,569,268 1,569,268

กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี

419,299,903

913,332,053

310,974,502

รายการที่จะไม่ ถกู จัดประเภทรายการใหม่ เข้ าไปไว้ ในกาไรหรื อขาดทุน ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย - สุ ทธิภาษีเงินได้ หัก ผลกระทบภาษีเงินได้

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

-

1,000,795,354

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

110

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

111


112 ROJANA ANNUAL REPORT 2016 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

113

28

25 25 25

28 28

1,967,256,174 53,205,689 2,020,461,863

1,755,087,815 173,618,005 38,550,354 1,967,256,174

ทุนเรื อนหุน้ ที่ออกและ ชาระแล้ว

4,597,382 (4,597,382) -

2,863,952 (2,863,952) 4,597,382 4,597,382

เงินรับล่วงหน้า ค่าหุน้

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่ วนหนึ่ งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 หุ้นสามัญเพิ่มทุน เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นที่โอนเป็ นหุ ้นสามัญในระหว่างงวด กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี เงินปั นผลจ่าย สารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 หุ้นสามัญเพิ่มทุน เงินรับล่วงหน้าค่าหุ้นที่โอนเป็ นหุ ้นสามัญในระหว่างงวด เงินรับล่วงหน้าจากการใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสาหรับปี สารองตามกฎหมาย หุ้นปั นผลจ่าย เงินปั นผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 หุน้ สามัญเพิม่ ทุน เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ที่โอนเป็ นหุน้ สามัญในระหว่างปี เงินรับล่วงหน้าจากการใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี สารองตามกฎหมาย เงินปันผลจ่าย เพิ่มทุนในบริ ษทั ย่อย การดาเนินงานที่ยกเลิก ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 หุน้ สามัญเพิ่มทุน เงินรับล่วงหน้าค่าหุน้ ที่โอนเป็ นหุน้ สามัญในระหว่างปี เงินรับล่วงหน้าจากการใช้ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ กาไร(ขาดทุน) สาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จอื่นสาหรับปี กาไร(ขาดทุน) เบ็ดเสร็ จรวมสาหรับปี สารองตามกฎหมาย หุน้ ปันผลจ่าย เงินปันผลจ่าย เพิ่มทุนในบริ ษทั ย่อย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

หมายเหตุ

บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

28

25 25

28 28

25 25 25

หมายเหตุ

5,470,700,457 151,275,394 5,621,975,851

4,686,062,103 784,638,354 5,470,700,457

ส่วนเกินมูลค่า หุน้ สามัญ

4,264,801,071 116,253,841 148,008 116,401,849 (3,855,029) (493,674,893) 3,883,672,998

4,068,273,525 697,539,616 348,595 697,888,211 (30,883,813) (38,550,354) (431,926,498) 4,264,801,071

ยังไม่ได้จดั สรร

1,967,256,174 53,205,689 2,020,461,863

1,755,087,815 173,618,005 38,550,354 1,967,256,174

ทุนเรื อนหุ ้น ที่ออกและ ชาระแล้ว

3,855,029 203,558,878

199,703,849 -

168,820,036 30,883,813 199,703,849

จัดสรรแล้ว สารอง ตามกฎหมาย

กาไรสะสม

4,597,382 (4,597,382) -

2,863,952 (2,863,952) 4,597,382 4,597,382

เงินรับ ล่วงหน้าค่าหุ ้น

(2,449,142) 2,449,142 -

(2,449,142) (2,449,142) (2,449,142) (1,730,066) 1,167,825 1,167,825 562,241 -

(1,730,066) (1,730,066) (1,730,066)

5,470,700,457 151,275,394 5,621,975,851

4,686,062,103 784,638,354 5,470,700,457

ส่ วนเกินมูลค่า หุ ้นสามัญ

(562,241) (562,241)

-

199,703,849 3,855,029 203,558,878

168,820,036 30,883,813 199,703,849

11,905,328,867 204,481,083 (4,597,382) 116,253,841 1,315,833 117,569,674 (493,674,893) 11,729,107,349

10,681,107,431 958,256,359 (2,863,952) 4,597,382 697,539,616 (1,381,471) 696,158,145 (431,926,498) 11,905,328,867

รวมส่ วนของ บริ ษทั ใหญ่

964,168,122 309,405,234 1,569,268 310,974,502 (493,674,893) (3,855,029) 777,612,702

464,733,246 1,000,795,354 1,000,795,354 (30,883,813) (38,550,354) (431,926,311) 964,168,122

กาไรสะสม ยังไม่ได้จดั สรร

กาไรสะสม จัดสรรแล้ว สารอง ตามกฎหมาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ

1,167,825 1,167,825 (1,886,901) -

719,076 -

719,076 719,076 719,076

งบการเงินรวม ส่วนของบริ ษทั ใหญ่ องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ ส่วนขาดจากการ (กาไร) ขาดทุน รวม จานวนที่รับรู ้ในส่วน เปลี่ยนสัดส่วน จากการแปลงค่า องค์ประกอบอื่น ของเจ้าของที่เกี่ยวกับ การถือหุน้ งบการเงินของ ของส่ วนของ สิ นทรพย์ที่จดั ประเภทเป็ น ในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ย่อย เจ้าของ สิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย

8,606,425,984 204,481,083 (4,597,382) 309,405,234 1,569,268 310,974,502 (493,674,893) 8,623,609,294

7,077,567,152 958,256,359 (2,863,952) 4,597,382 1,000,795,354 1,000,795,354 (431,926,311) 8,606,425,984

รวม

หน่วย : บาท

13,452,675,179 302,043,034 (312,805) 301,730,229 (429,192,529) 121,000,000 13,446,212,879

13,320,931,438 215,789,980 1,383,927 217,173,907 (310,729,262) 225,299,096 13,452,675,179

ส่ วนของผูม้ ี ส่วนได้เสี ยที่ไม่มี อานาจควบคุม

25,358,004,046 204,481,083 (4,597,382) 418,296,875 1,003,028 419,299,903 (922,867,422) 121,000,000 25,175,320,228

24,002,038,869 958,256,359 (2,863,952) 4,597,382 913,329,596 2,456 913,332,052 (742,655,760) 225,299,096 25,358,004,046

รวม

หน่วย : บาท


บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินรวม กระแสเงินสดจากกิจกรรมดาเนินงาน: กาไร(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้จากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้จากการดาเนินงานที่ยกเลิก กาไร(ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรั บกระทบกาไรก่ อนภาษีเงินได้ เป็ นเงินสดรั บ(จ่ าย) จากกิ จกรรมดาเนินงาน ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย รายการปรับปรุ งค่าเสื่อมราคาปี ก่อน ค่าตัดจาหน่ายทรัพย์สินไม่มีตวั ตน (กลับรายการ) ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กาไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ้น ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย ที่จ่ายตัดบัญชี รายได้เงินปันผลรับจากบริ ษทั ย่อย ขาดทุนจากการตัดจาหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่เลิกกิจการ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินจากการเลิกกิจการบริ ษทั ย่อย กาไรจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ให้บริ ษทั ร่ วม รายได้เงินปันผลรับจากบริ ษทั ร่ วม ส่วนแบ่ง(กาไร)ขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่ วมค้า กาไรจากการขายที่ดินรอการพัฒนา ต้นทุนขายอสังหาริ มทรัพย์ส่วนที่ขาย โอนกลับประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริ มทรัพย์ (กาไร) ขาดทุนจากการจาหน่ายทรัพย์สิน ประมาณการภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน รายได้ดอกเบี้ย ปรับปรุ งค่าเสื่อมราคากับดอกเบี้ยจ่าย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยจ่าย กาไรจากการดาเนิ นงานก่ อนการเปลีย่ นแปลง ในสิ นทรั พย์และหนีส้ ิ นดาเนินงาน การเปลีย่ นแปลงในสิ นทรั พย์ ดาเนินงาน(เพิ่มขึน้ )ลดลง ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน สิ นค้าคงเหลือ อะไหล่ เงินจ่ายล่วงหน้าซื้อที่ดินและก่อสร้าง สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

2559

2558

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

628,124,471 (120,170,783) 507,953,688

1,107,515,432 (129,960,011) 977,555,421

309,405,234 309,405,234

1,000,795,354 1,000,795,354

1,550,409,448 (2,531,050) 10,978,612 (14,191,224) (31,232,985) (285,530,729) (172,207) 150,510,666 (59,325,829) (7,153,726) 11,572,475 (11,954,661) 23,069,043 1,811,973,055

2,318,494,187 (1,907,915) 13,828,444 21,933,508 5,150,496 (12,722,177) (18,542,140) (276,021,013) 18,220,881 136,303 (502,597,093) 2,678,863,857 33,316,822 32,159,849 8,083,452 (7,466,039) 22,117,373 1,826,315,958

28,009,449 (956,936) (420,349,810) (30,000,000) (3,913,961) 1,041,480 (28,672,820) 23,069,043 442,682,860

57,118,777 21,933,508 (988,808,772) (22,500,000) 4,245,119 1,129,830 (16,966,631) 22,117,373 454,144,749

3,654,374,576

7,136,920,174

320,314,539

533,209,307

29,317,196 40,221,377 156,622 (17,083,851) (5,382,214) 476,297,593 30,791,814 38,159,651

(15,701,712) (1,743,396,957) (376,134) (9,205,171) (10,035,504) 43,285,564 4,901,122

1,197,944 210,478,711 4,000 20,112,175 3,748,485

(7,827,668) (1,876,784,821) 4,628,740 (18,209,852)

งบการเงินรวม 2559

2558

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

การเปลีย่ นแปลงในหนีส้ ิ นดาเนิ นงานเพิ่มขึน้ (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น เงินประกันผลงานค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้า ค่างวดที่ยงั ไม่รับรู ้รายได้ หนี้สินหมุนเวียนอื่น ประมาณการหนี้สิน รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า หนี้สินอื่น - เงินมัดจารับ เงินสดรั บ(จ่ าย)จากกิจกรรมดาเนินงาน จ่ายชาระภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เงินสดรับดอกเบี้ย จ่ายดอกเบี้ยจ่าย จ่ายภาษีเงินได้ เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมดาเนินงาน

34,409,657 42,188,229 (15,435,963) (71,043,156) (188,634,189) 203,376,861 (63,387,623) (63,728,580) 59,905,772 4,184,503,772 (1,758,200) 11,307,574 (1,848,276,198) (169,143,430) 2,176,633,518

(563,868,849) 34,190,570 3,396,495 63,032,474 (431,531,293) (6,383,808) (39,388,347) 196,725,161 24,934,379 4,687,498,164 (1,117,000) 7,459,184 (1,782,526,086) (178,038,462) 2,733,275,800

7,334,778 2,878,115 4,741,152 (59,844,100) (142,378,631) 579,030 (2,081,925) 367,084,273 28,672,820 (458,443,109) (16,901,945) (79,587,961)

(5,116,256) (6,097,303) 63,032,474 (324,101,994) (14,749) 3,118,643 (1,634,163,479) 16,966,631 (440,021,877) (15,568,901) (2,072,787,626)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน: เงินลงทุนชัว่ คราว (เพิ่มขึ้น) ลดลง เงินฝากธนาคารที่มีขอ้ จากัดในการใช้(เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินสดรับคืนจากเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายเงินให้กยู้ มื ระยะสั้นแก่บุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพันลดลง เงินสดจ่ายลงทุนในการร่ วมค้า เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินสดรับจากการขายคืนหน่วยทรัสต์จากการลดทุน เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินปันผลรับ เงินสดจ่ายลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดรับจากการเลิกกิจการของบริ ษทั ย่อย ส่ วนขาดจากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินสดจ่ายซื้อที่ดินรอการพัฒนา เงินสดรับจากการขายที่ดินรอการพัฒนา เงินสดจ่ายซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการขายสิ นทรัพย์ เงินสดจ่ายซื้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เงินจ่ายล่วงหน้าซื้อที่ดินและก่อสร้าง เงินสดสุ ทธิได้ มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมลงทุน

39,060 129,819,502 (108,668,574) 57,286,970 (599,990) 1,013,520,985 (33,698,244) 353,866,663 (77,469,366) (1,845,274,907) (3,393,101,215) 9,824,697 (3,894,454,419)

235,501,396 (589,355,864) 1,600,000,000 (1,600,000,000) 13,193,411 955,472,500 15,786,399 (1,136,478,850) 399,442,736 7,571,681 (2,449,142) 787,500,000 (7,024,035,468) (1,091,970,109) 21,103,270 (2,427,543) (24,094,548) (7,435,240,131)

(248,100,000) 450,349,810 (114,250,000) (77,469,366) (32,400,653) 5,241,589 (16,628,620)

755,906,000 (679,685,201) 1,881 1,011,308,772 (177,150,046) (31,748,375) 15,060,000 893,693,031

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

114

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

115


บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินรวม 2559 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน: เงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินสดรับจากเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจากการออกหุน้ กู้ เงินสดจ่ายชาระคืนหุน้ กู้ เงินสดรับจากเงินล่วงหน้าค่าหุน้ เงินสดรับจากการเพิ่มทุนหุน้ สามัญ เงินปั นผลจ่าย เงินสดรับค่าหุน้ สามัญเพิ่มทุน จากส่ วนของผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ไม่มีอานาจควบคุม เงินสดสุ ทธิได้ มาจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่าในงบการเงินในบริ ษทั ย่อย เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง) สุ ทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันต้ นงวด หัก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริ ษทั ย่อย ซึ่งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันสิ้นงวด

17

ข้ อมูลเพิม่ เติมสาหรับงบกระแสเงินสด เงินสดจ่ ายระหว่างงวด : ดอกเบี้ยรวมเป็ นต้นทุนของทรัพย์สิน รายการทีไ่ ม่ ใช่ เงินสด : โอนอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่อยูใ่ นระหว่างการพัฒนาและสิ นทรัพย์ พร้อมให้เช่า/ขายและอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่าเป็ น ต้นทุนขายอสังหาริ มทรัพย์ เจ้าหนี้ซ้ือทรัพย์สิน รายการซื้ออสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน และที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ที่ยงั ไม่ได้จ่ายชาระ เงินมัดจาค่าที่ดินที่บนั ทึกเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ จ่ายหุน้ ปันผล

2558

หน่วย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) และบริษทั ย่ อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 1.

ข้ อมูลทั่วไป

643,147,283 1,060,000,000 1,513,386,532 430,000,000 (1,501,136,015) 3,400,000,000 (3,962,000,000) 199,883,701 (922,867,421)

1,008,012,074 71,600,000 (71,600,000) 983,783,393 (1,911,495,908) 7,050,000,000 (2,170,000,000) 4,597,382 955,392,407 (741,723,685)

656,899,620 (111,000,000) (402,599,261) 1,000,000,000 (712,000,000) 199,883,701 (493,674,893)

(370,746,445) 2,118,430,000 (2,320,592,226) (237,180,379) 1,500,000,000 4,597,382 955,392,407 (431,926,311)

121,000,000 981,414,080 (7,430,305) (743,837,126) 1,438,603,377

225,299,096 5,403,864,759 (6,567,058) 695,333,370 743,270,007

137,509,167 41,292,586 176,978,449

1,217,974,428 38,879,833 138,098,616

(284,268,251) 410,498,000

1,438,603,377

218,271,035

176,978,449

งบการเงินของบริ ษทั ฯ จัดทาขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของรายการ ในงบการเงิน ยกเว้นรายการที่เปิ ดเผยไว้ในนโยบายการบัญชีที่เกี่ยวข้อง งบการเงินของบริ ษทั ฯ ได้จดั ทาเป็ นภาษาไทย และมีหน่วยเงินตราเป็ นบาท เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ซึ่ งการจัดทางบการเงิ นดังกล่าวเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดทารายงานในประเทศ ดังนั้นเพื่ อ ความสะดวกของผูอ้ ่านงบการเงินที่ไม่คุน้ เคยกับภาษาไทย บริ ษทั ฯ ได้จดั ทางบการเงินฉบับภาษาอังกฤษ ขึ้นโดยแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทย

20,542,895

60,482,762

-

25,363,825

150,571,004 -

2,280,414,365 309,273,390

-

323,331,160 -

230,307,866 -

349,288,052 647,848,590 38,550,354

-

29,797,124 100,117,550 38,550,354

บริ ษัท สวนอุ ต สาหกรรมโรจนะ จ ากัด (มหาชน) (“บริ ษ ัท ฯ”) เป็ นบริ ษัท ที่ จ ดทะเบี ย นในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกอบธุ รกิจพัฒนาสวนอุตสาหกรรม ที่จงั หวัดพระนครศรี อยุธยา ระยอง และปราจีนบุรี โดยมีสานักงานใหญ่ต้ งั อยูเ่ ลขที่ 2034/115 ชั้น 26 อาคารอิตลั ไทย ทาวเวอร์ ถนนเพชรบุรี ตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯ มีผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ คือกลุ่มวินิชบุตร ถือหุ ้นร้อยละ 29.97 และกลุ่ม Nippon Steel & Sumikin Bussan Corporation ถือหุน้ ร้อยละ 20.73 2.

เกณฑ์ การนาเสนองบการเงิน งบการเงินนี้ ได้จดั ทาขึ้ นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชี พบัญชี พ.ศ. 2547 และแสดงรายการตามประกาศกรมพัฒนาธุ รกิ จการค้าโดยกระทรวงพาณิ ชย์ ลงวันที่ 28 กันยายน 2554 เรื่ องกาหนดรายการย่อที่ตอ้ งมีในงบการเงิน พ.ศ. 2554 และตามข้อกาหนดของคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทาและนาเสนอรายงานทางการเงิ นภายใต้พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535

เกณฑ์ การจัดทางบการเงินรวม งบการเงินรวมนี้ได้จดั ทาขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) ซึ่ ง ต่อไปนี้เรี ยกว่า “บริ ษทั ฯ” และบริ ษทั ย่อย ซึ่ งต่อไปนี้ เรี ยกว่า “บริ ษทั ย่อย” ทั้งนี้ บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย รวมเรี ยกว่า “กลุ่มบริ ษทั ”

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

116

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

1

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

117


บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ บริ ษทั

บริษัทย่ อยที่ถือหุ้นโดยบริษัทโดยตรง บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด บริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) (“TICON”) บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิต้ ี จากัด บริษัทย่ อยที่ถือหุ้นโดยบริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จากัด (มหาชน) บริ ษทั อีโค อินดัสเทรี ยล เซอร์วสิ เซส จากัด บริ ษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด บริ ษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited TICON (HK) Limited

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ผลิตและจาหน่ายน้ าเพื่อ อุตสาหกรรม ผลิตกระแสไฟฟ้า พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย

41.00 100.00 70.00 100.00

41.00 100.00 70.00 100.00

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ไทย

100.00

100.00

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ และธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ให้บริ การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ไทย

43.55

ไทย ไทย

100.00 100.00

-

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์

ไทย

99.99

99.99

พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ผูจ้ ดั การกองทรัสต์เพื่อการ ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจบริ หารการลงทุน

ไทย ไทย

99.99 69.99

99.99 69.99

จีน

100.00

100.00

ฮ่องกง

100.00

100.00

ลงทุนในกิจการในต่างประเทศ

90.00

90.00 (1)

43.55(2)

งบการเงิ นสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ของ บริ ษทั ไทคอน อิ นดัสเทรี ยล คอน เน็คชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย ซึ่ งรวมในงบการเงินรวมของบริ ษทั ฯ ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี อื่น งบการเงิ นส าหรั บ ปี สิ้ นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ของ Shanghai TICON Investment Management Company Limited (“บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON”) ซึ่ งรวมในงบการเงินรวมของบริ ษทั ฯ ตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีอื่น) งบการเงินสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และสาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ต้ งั แต่วนั ที่ 16 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ของ TICON (HK) Limited (“บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON”) ซึ่ งรวมใน งบการเงินรวมของบริ ษทั ฯ จัดทาขึ้นโดยฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ย่อย - บริ ษทั ฯจะถือว่ามีการควบคุมกิจการที่เข้าไปลงทุนหรื อบริ ษทั ย่อยได้ หากบริ ษทั ฯมีสิทธิ ได้รับหรื อมี ส่ วนได้เสี ยในผลตอบแทนของกิจการที่เข้าไปลงทุน และสามารถใช้อานาจในการสั่งการกิจกรรมที่ ส่ งผลกระทบอย่างมีนยั สาคัญต่อจานวนเงินผลตอบแทนนั้นได้ - บริ ษทั ฯนางบการเงินของบริ ษทั ย่อยมารวมในการจัดทางบการเงินรวมตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯมีอานาจใน การควบคุมบริ ษทั ย่อยจนถึงวันที่บริ ษทั ฯสิ้ นสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนั้น - งบการเงินของบริ ษทั ย่อยได้จดั ทาขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีที่สาคัญเช่นเดียวกันกับของบริ ษทั ฯ - สิ นทรัพย์และหนี้ สินตามงบการเงินของบริ ษทั ย่อยซึ่ งจัดตั้งในต่างประเทศแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดย ใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ส่ วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็ นเงิ นบาท โดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดื อน ผลต่างซึ่ งเกิดขึ้นจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็ น รายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิ นที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลง ส่ วนของผูถ้ ือหุน้

(1)

- ยอดคงค้างระหว่างบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย รายการค้าระหว่างกันที่มีสาระสาคัญได้ถูกตัดออกจากงบ การเงินรวมนี้แล้ว

(2)

- ส่ วนของผูม้ ี ส่วนได้เสี ยที่ ไม่มีอานาจควบคุ มคื อ จานวนกาไรหรื อขาดทุ นและสิ นทรั พย์สุทธิ ของ บริ ษ ทั ย่อ ยส่ ว นที่ ไ ม่ ไ ด้เ ป็ นของบริ ษ ทั ฯ และแสดงเป็ นรายการแยกต่ า งหากในงบกาไรขาดทุ น เบ็ดเสร็ จรวม และส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ในงบแสดงฐานะการเงินรวม

บริ ษทั ฯและผูถ้ ือหุน้ รายหนึ่ง ถือหุ น้ รวมกันเกินกว่าร้อยละ 60 และมีนโยบายในการบริ หารงานไปใน ทิศทางเดียวกัน ทาให้บริ ษทั มีอานาจในการควบคุม ดังนั้นงบการเงินรวมจึงได้รวมงบการเงินของบริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั ฯ มีตวั แทนของบริ ษทั ฯ เป็ นกรรมการของบริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) จานวน 2 ท่าน จากคณะกรรมการ ทั้งหมด 5 ท่าน (ไม่รวมกรรมการอิสระ) และในหนังสื อ รับรองของบริ ษทั ดังกล่าวกาหนดให้กรรมการสองในห้าคนนี้ ลงลายมือชื่ อร่ วมกันและประทับตราสาคัญ ของบริ ษทั ในการลงชื่ อผูกพันบริ ษทั บริ ษทั ฯ มี สิทธิ ในการออกเสี ยงส่ วนใหญ่ในการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น 2

118

เป็ นผลให้บริ ษทั ฯ มีอานาจควบคุมบริ ษทั ดังกล่าว ดังนั้น จึงได้นางบการเงินของบริ ษทั ไทคอน อินดัสเท รี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) มาจัดทางบการเงินรวม

อัตราร้อยละ ของการถือหุน้ 2559 2558 ร้ อยละ ร้ อยละ

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

- บริ ษทั ฯจัดทางบการเงิ นเฉพาะกิ จการเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วมตามวิธีราคาทุน

3

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

119


3.

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่

3.1

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ ที่ได้ ใช้ ในระหว่ างปี สภาวิชาชี พบัญชี ได้ออกมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน การตีความมาตรฐานการ บัญชีและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ซึ่ งมีผลบังคับสาหรับงบการเงินที่เริ่ มในหรื อหลัง วันที่ 1 มกราคม 2559 ตามรายละเอียดข้างล่างนี้ เรื่ อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) การนาเสนองบการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) สิ นค้าคงเหลือ ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) สัญญาเช่า ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) รายได้ ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) ผลประโยชน์พนักงาน ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558) การบัญชีสาหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2558) ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2558) ต้นทุนการกูย้ ืม ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2558) การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2558) การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) งบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2558) เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2558) กาไรต่อหุน้ ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2558) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2558) การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2558) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น 4

120

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 41 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558)

เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เกษตรกรรม การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานที่ยกเลิก การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ ส่ วนงานดาเนิ นงาน งบการเงินรวม การร่ วมการงาน การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื่น การวัดมูลค่ายุติธรรม

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล-กรณี ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดาเนิ นงาน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) สัญญาเช่าดาเนินงาน-สิ่ งจูงใจให้แก่ผเู ้ ช่า ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2558) ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรื อของผูถ้ ือหุน้ ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทาขึ้นตามรู ปแบบกฎหมาย ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2558) รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2558) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะและ ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การรายงานทางการเงิน ในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า 5 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

121


ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2558)

ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558) ฉบับที่ 21

เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้า ข้อจากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ขอ้ กาหนดเงินทุน ขั้นต่าและปฏิสมั พันธ์ของรายการเหล่านี้สาหรับมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ผลประโยชน์ ของพนักงาน สัญญาการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของของพนักงาน การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสาหรับเหมืองผิวดิน เงินที่นาส่ งรัฐ

ในระหว่างปี บริ ษทั ฯ ได้นามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับปรับปรุ งและฉบับใหม่รวมถึงแนวปฏิ บตั ิ ทางบัญชี ที่ออกโดยสภาวิชาชี พ ตามที่ กล่าวข้างต้นมาถือปฏิ บตั ิ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าว ได้รับการปรั บปรุ งหรื อจัดให้มีข้ ึ น เพื่ อให้มีเนื้ อหาเท่ าเที ยมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นระหว่าง ประเทศ โดยส่ วนใหญ่เป็ นการปรับปรุ งถ้อยคา และคาศัพท์ การตี ความและการให้แนวปฏิ บตั ิทางการบัญชี กับผูใ้ ช้มาตรฐาน การนามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าวมาถือปฏิ บตั ิ น้ ี ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ น สาระสาคัญต่องบการเงินของบริ ษทั 3.2

122

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุ งใหม่ ซึ่งมีผลบังคับใช้ ในอนาคต มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นซึ่ งได้ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษาแล้ว แต่ ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ สภา วิช าชี พบัญชี ได้ออกประกาศที่ เกี่ ยวกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ มีผลบังคับใช้ ส าหรั บ งบ การเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2560 เป็ นต้นไป ดังต่อไปนี้ เรื่ อง มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) การนาเสนองบการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2559) สิ นค้าคงเหลือ ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ข้อผิดพลาด ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) ภาษีเงินได้ ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2559) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) สัญญาเช่า 6

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

เรื่ อง ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2599) ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 41 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 104 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 105 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 107 (ปรับปรุ ง 2559) มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2559)

รายได้ ผลประโยชน์ของพนักงาน การบัญชีสาหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ ต้นทุนการกูย้ ืม การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและการร่ วมค้า การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟ้อรุ นแรง กาไรต่อหุน้ งบการเงินระหว่างกาล การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เกษตรกรรม การบัญชีสาหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา การบัญชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้อมูลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิน การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ การรวมธุรกิจ สัญญาประกันภัย สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดาเนินงานที่ยกเลิก การสารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ ส่ วนงานดาเนิ นงาน งบการเงินรวม การร่ วมการงาน การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื่น การวัดมูลค่ายุติธรรม

7 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

123


เรื่ อง

4.

การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559)

4.1. การรับรู้ รายได้

ความช่วยเหลือจากรัฐบาล-กรณี ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องอย่าง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดาเนิ นงาน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2559) สัญญาเช่าดาเนินงาน-สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2559) ภาษีเงินได้ - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรื อของผูถ้ ือหุน้ ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2559) การประเมินเนื้อหาสัญญาเช่าที่ทาขึ้นตามรู ปแบบกฎหมาย ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2559) การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2559) รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2559) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2559) การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2559) การประเมินว่าข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2559) สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะและ การปรับปรุ งสภาพแวดล้อม ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2559) การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจ ที่มเี งินเฟ้ อรุ นแรง ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2559) งบการเงินระหว่างกาลและการด้อยค่า ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2559) ข้อตกลงสัมปทานบริ การ ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2559) โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้า ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2559) ข้อจากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ขอ้ กาหนดเงินทุน ขั้นต่าและปฏิสมั พันธ์ของรายการเหล่านี้ สาหรับมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง ผลประโยชน์ ของ พนักงาน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2559) สัญญาสาหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2559) การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงินสดให้เจ้าของ ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2559) การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2559) ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสาหรับเหมืองผิวดิน ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2559) เงินที่นาส่ งรัฐ

รายได้ จากการขายที่ดนิ รับรู ้เป็ นรายได้เมื่อได้โอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินหรื อโอนความเสี่ ยงแล้ว รายได้ จากการขายอาคารชุด รับรู ้เป็ นรายได้เมื่ อได้โอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่ เป็ นสาระสาคัญของความเป็ นเจ้าของห้องชุ ด ให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว โดยกิจการไม่เกี่ ยวข้องในการบริ หาร หรื อควบคุมห้องชุ ดที่ขายไปแล้วทั้งทางตรงและ ทางอ้อม รายได้ จากการขายไฟฟ้ า รายได้จากการขายเป็ นจานวนที่สุทธิ จากภาษีขายและส่ วนลด รายได้จากการขายตามสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ า ประกอบด้วย รายได้ค่าความพร้อมจ่ายและค่าพลังงานไฟฟ้ า รายได้ค่าความพร้อมจ่ายจะรับรู ้ตามอัตราที่ กาหนดในสัญญาซื้ อขายไฟฟ้า ส่ วนรายได้ค่าพลังงานไฟฟ้ าคานวณจากปริ มาณไฟฟ้ าที่ จ่ายจริ ง รายได้ ตามสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ าและไอน้ ากับภาคอุตสาหกรรมรับรู ้เมื่อส่ งมอบและลูกค้ายอมรับการส่ งมอบ นั้น รายได้ จากการขายนา้ เพื่ ออุตสาหกรรมและนา้ ดิบ รายได้จากการขายน้ าเพื่ออุตสาหกรรมและน้ าดิ บ ซึ่ งรวมอยู่ในรายได้ค่าบริ การรับรู ้เป็ นรายได้เมื่อได้ ส่ งน้ าให้กบั ลูกค้า รายได้ จากการบริ การ รายได้จากการบริ การ ประกอบด้วย ค่าบริ การบาบัดน้ าเสี ยและค่าบริ การดูแลรักษาพื้นที่ ส่วนกลางใน นิ คมอุตสาหกรรม ซึ่ งรวมอยู่ในรายได้ค่าบริ การรับรู ้เป็ นรายได้เมื่อได้ให้บริ การแล้วโดยพิจารณาถึง ขั้นความสาเร็ จของงาน รายได้ จากการให้ เช่ า รายได้จากการให้เช่ า ประกอบด้วยค่าเช่ าที่ ดิน ค่าเช่ าพื้ นที่ อาคาร ห้องพักให้เช่ า รับรู ้เป็ นรายได้ตาม วิธีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่ า รายได้ที่รับรู ้ แล้วแต่ยงั ไม่ถึงกาหนดชาระตามสัญญาเช่ าดาเนิ นงาน แสดงไว้เป็ น “ลูกหนี้ ตามสัญญาเช่ าดาเนิ นงานที่ ยงั ไม่เรี ยกชาระ” ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน เงินปันผลรับ เงินปันผลรับ บันทึกเป็ นรายได้เมื่อมีสิทธิ ในการรับเงินปันผล

บริ ษทั ฯ ไม่มีแผนที่จะนามาตรฐานรายงานทางการเงินดังกล่าวมาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ และคาดว่าไม่มี ผลกระทบที่มีสาระสาคัญต่องบการเงินในงวดที่ถือปฏิบตั ิ

8

124

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

นโยบายการบัญชีที่สาคัญ

ดอกเบีย้ รับ ดอกเบี้ยรับถือเป็ นรายได้ตามเกณฑ์คงค้างโดยคานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ ง

9 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

125


4.2. เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด

4.6. ต้ นทุนการพัฒนาที่ดนิ

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากสถาบันการเงิน และเงินลงทุนระยะ สั้นที่มีสภาพคล่องสู ง ซึ่ งมีกาหนดรับคืนภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน และไม่มีขอ้ จากัดในการใช้ 4.3. ลูกหนีก้ ารค้ า ลูกหนี้ การค้าแสดงมูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับ บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญจาก จานวนเงินที่คาดว่าจะเรี ยกเก็บเงินไม่ได้จากประสบการณ์ในอดีต สภาวะเศรษฐกิจและความสามารถใน การชาระหนี้ของลูกหนี้ 4.4. เงินลงทุน เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้าแสดงตามมูลค่ายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์ บันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน เงินลงทุนในตราสารหนี้ ที่จะครบกาหนดชาระในหนึ่ งปี รวมทั้งที่ จะถือจนครบกาหนดแสดงมูลค่าตาม วิธีราคาทุนตัดจาหน่ าย บริ ษทั ฯตัดบัญชี ส่วนเกิ น/รับรู ้ส่วนต่ ากว่ามูลค่าตราสารหนี้ ตามอัตราดอกเบี้ ยที่ แท้จริ ง ซึ่ งจานวนที่ตดั จาหน่าย/รับรู ้น้ ีจะแสดงเป็ นรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ ไม่อยู่ในความต้องการของตลาดถือเป็ นเงินลงทุนทัว่ ไป ซึ่ งแสดงในราคาทุน สุ ทธิ จากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) เงินลงทุนในการร่ วมค้า และบริ ษทั ร่ วมที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินรวมแสดงมูลค่าตามวิธีส่วนได้เสี ย

ต้นทุนการพัฒนาที่ดินแสดงในราคาทุนหรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า ราคา ทุนประกอบด้วยต้นทุนในการได้มาซึ่ งที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดินและค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงการ รวมทั้งต้นทุนการกูย้ ืม บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยบันทึ กต้นทุนการกูย้ ืมเป็ นต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ตั้งแต่วนั เริ่ มโครงการจนถึงวันที่การพัฒนาแล้วเสร็ จอยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะขาย 4.7. อสั งหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบันทึกมูลค่าเริ่ มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่ งรวมต้นทุน การทารายการ หลังจากนั้น บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะบันทึกอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนด้วยราคาทุน หักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) ค่ าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรั พ ย์เพื่ อ การลงทุ นคานวณจากราคาทุ นโดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณ 20 - 50 ปี ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนรวมอยู่ในการคานวณ ผลการดาเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยรับรู ้ผลต่างระหว่างจานวนเงินที่ได้รับสุ ทธิ จากการจาหน่ายกับมูลค่าตามบัญชี ของ สิ นทรัพย์ในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนในงวดที่ตดั รายการอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 4.8. ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วมที่แสดงอยู่ในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลค่าตามวิธีราคาทุน สุ ทธิ จากค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)

ที่ดินแสดงมูลค่าตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสมและค่า เผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี)

บริ ษทั ฯใช้วิธีถวั เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักในการคานวณต้นทุนของเงินลงทุน

ค่าเสื่ อมราคาของอาคารและอุปกรณ์คานวณจากราคาทุนของสิ นทรัพย์โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการให้ ประโยชน์โดยประมาณดังนี้ จานวนปี โรงไฟฟ้า 5-25 ระบบผลิตน้ าและบาบัดน้ าเสี ยเพื่ออุตสาหกรรม 5-20 เขื่อนป้องกันน้ าท่วม 50 อาคารและสิ่ งปลูกสร้างอื่น 5-25 อาคารห้องพักให้เช่า 20 เครื่ องมือและอุปกรณ์ 5-20 เครื่ องตกแต่งและอุปกรณ์สานักงาน 3-5 ยานพาหนะ 5

เมื่อมีการจาหน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับกับมูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุนจะ ถูกบันทึกในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน 4.5. สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลือแสดงในราคาทุน หรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ากว่า มูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ ประมาณการจากราคาขายที่คาดว่าจะขายได้ตามปกติ ของธุ รกิจหักด้วยประมาณการค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งจ่าย ไปเพื่อให้ขายสิ นค้านั้นได้ ราคาทุนคานวณโดยวิธีดงั นี้ - วัตถุดิบและอะไหล่คานวณโดยวิธีเข้าก่อน-ออกก่อน

ค่าเสื่ อมราคารวมอยูใ่ นการคานวณผลการดาเนินงาน ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสาหรับที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง 10

126

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

11 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

127


4.13. ค่ าความนิยม บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมื่อจาหน่ายสิ นทรัพย์หรื อคาด ว่าจะไม่ได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตจากการใช้หรื อการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ รายการผลกาไร หรื อ ขาดทุ นจากการจาหน่ า ยสิ นทรั พ ย์จะรั บรู ้ ในส่ ว นของกาไรหรื อขาดทุ นเมื่ อบริ ษทั ฯตัด รายการ สิ นทรัพย์น้ นั ออกจากบัญชี 4.9. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล เงินอุดหนุ นจากรัฐบาลที่ เกี่ ยวข้องกับสิ นทรัพย์วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมโดยบันทึกเป็ นรายได้รอการ รับรู ้และแสดงหักจากมูลค่าของสิ นทรัพย์ที่เกี่ ยวข้องในงบแสดงฐานะการเงิ นโดยรับรู ้เงิ นอุดหนุนจาก รัฐบาลในกาไรหรื อขาดทุนตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์เสื่ อมสภาพในรู ปของค่าเสื่ อมราคาที่ลดลง เป็ นเวลา 50 ปี 4.10. ต้ นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ ืมของเงินกูท้ ี่ใช้ในการได้มา หรื อการก่อสร้างสิ นทรัพย์ที่ตอ้ งใช้ระยะเวลานานในการทาให้ อยู่ในสภาพพร้อมใช้หรื อขาย ได้ถูกนาไปรวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์จนกว่าสิ นทรัพย์น้ นั จะอยู่ใน สภาพพร้อมที่ จะใช้ได้ตามที่ มุ่งประสงค์ ส่ วนต้นทุนการกูย้ ืมอื่นถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที่ เกิ ดรายการ ต้นทุนการกูย้ ืมประกอบด้วยดอกเบี้ยและต้นทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูย้ ืมนั้น 4.11. ที่ดนิ รอการพัฒนาในอนาคต ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตแสดงในราคาทุนเฉพาะเจาะจง หรื อมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะ ต่ากว่าราคาทุนประกอบด้วยต้นทุนในการได้มาซึ่ งที่ดิน 4.12. สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อ ยบันทึ กมู ลค่ าเริ่ มแรกของสิ นทรั พ ย์ไม่ มีต ัวตนตามราคาทุ น ภายหลังการรั บ รู ้ รายการเริ่ มแรก สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนแสดงมูลค่าตามราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสมและค่าเผื่อการด้อย ค่าสะสม (ถ้ามี) ของสิ นทรัพย์น้ นั บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยตัดจาหน่ายสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดอย่างมีระบบตลอด อายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจของสิ นทรัพย์น้ นั และจะประเมินการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ดงั กล่าวเมื่อ มีขอ้ บ่งชี้วา่ สิ นทรัพย์น้ นั เกิดการด้อยค่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะทบทวนระยะเวลาการตัดจาหน่ายและ วิ ธีก ารตัด จาหน่ า ยของสิ นทรั พ ย์ไ ม่ มี ต ัวตนดัง กล่ า วทุ กสิ้ น ปี เป็ นอย่า งน้อย ค่ า ตัด จาหน่ า ยรั บ รู ้ เ ป็ น ค่าใช้จ่ายในส่ วนของกาไรหรื อขาดทุน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จากัดมีดงั นี้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สิ ทธิ การใช้ระบบท่อส่ งก๊าซ

128

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

จานวนปี 3 , 5 และ 10 19

ค่าความนิยมแสดงถึงส่ วนของต้นทุนการได้มาที่มีมูลค่าสู งกว่ามูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่กลุ่มบริ ษทั มี ในส่ วนแบ่ งในสิ นทรั พ ย์สุ ทธิ ของบริ ษ ทั ย่อย บริ ษ ทั ร่ วม หรื อกิ จการร่ วมค้า ณ วันที่ ซ้ื อบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อกิจการร่ วมค้า ค่าความนิ ยมที่เกิดจากการซื้ อบริ ษทั ย่อยแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากใน งบแสดงฐานะการเงินรวม และค่าความนิ ยมที่เกิดจากการซื้ อบริ ษทั ร่ วมและกิจการร่ วมค้าแสดงรวมอยู่ ในเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้าในงบแสดงฐานะการเงินรวม ค่าความนิยมที่รับรู ้จะต้องถูกทดสอบการด้อยค่าทุกปี และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่าสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่าของค่าความนิยมที่รับรู ้แล้วจะไม่มีการกลับรายการ ทั้งนี้ มูลค่าคงเหลือตามบัญชี ของค่า ความนิยมจะถูกรวมคานวณในกาไรหรื อขาดทุนเมื่อมีการขายบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อกิจการร่ วมค้า ในการทดสอบการด้อยค่าของค่าความนิยม ค่าความนิยมจะถูกปันส่ วนไปยังหน่วยที่ก่อให้เกิดกระแสเงิน สด โดยที่ หน่ วยนั้นอาจจะเป็ นหน่ วยเดี ยวหรื อหลายหน่ วยรวมกันซึ่ งคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากค่ า ความนิยมที่เกิดจากการรวมธุรกิจ 4.14. สิ นทรัพย์ ที่ถือไว้ เพื่อขายและการดาเนินงานที่ยกเลิก บริ ษทั ฯจัดประเภทสิ นทรัพย์ (หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที่ยกเลิก) เป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายหากมูลค่าตาม บัญชีที่จะได้รับคืนส่ วนใหญ่มาจากการขาย มิใช่มาจากการใช้สินทรัพย์น้ นั ต่อไป และจะต้องมีไว้เพื่อขาย ในทันที ในสภาพปั จจุบนั และการขายต้องมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสู งมากการขายดังกล่าว ต้องคาดว่าจะเข้าเงื่ อนไขในการรับรู ้รายการเป็ นการขายที่ เสร็ จสมบูรณ์ภายใน 1 ปี นับจากวันที่ จดั ประเภทสิ นทรัพย์ บริ ษทั ฯ วัดมูลค่าสิ นทรัพย์ (หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที่ยกเลิก) ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขายด้วย จานวนที่ ต่ ากว่าระหว่างมูลค่ าตามบัญชี กบั มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย ในการพิจารณาการจัด ประเภทสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย สิ นทรัพย์ (หรื อกลุ่มสิ นทรัพย์ที่ยกเลิก) ผลกาไรขาดทุนจากการดาเนิ นงานที่ยกเลิกแยกแสดงเป็ นรายการต่างหากจากการดาเนิ นงานต่อเนื่ องใน ส่ วนของกาไรขาดทุน 4.15. หุ้นทุนซื้ อคืน หุ ้นทุ นซื้ อคื นแสดงมูลค่ าในงบแสดงฐานะการเงิ นด้วยราคาทุ นเป็ นรายการหักจากส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น ทั้งหมด หากราคาขายของหุ ้นทุ นซื้ อคื นสู งกว่าราคาซื้ อหุ ้นทุนซื้ อคื น บริ ษทั ฯจะรั บรู ้ ผลต่ างเข้าบัญชี ส่ วนเกินมูลค่าหุน้ ทุนซื้ อคืน และหากราคาขายของหุน้ ทุนซื้ อคืนต่ากว่าราคาซื้ อหุ น้ ทุนซื้ อคืน บริ ษทั ฯ จะ นาผลต่างหักจากส่ วนเกินมูลค่าหุ น้ ทุนซื้ อคืนให้หมดไปก่อน แล้วจึงนาผลต่างที่เหลืออยู่ไปหักจากบัญชี กาไรสะสม

13

12

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

129


4.16. รายการธุรกิจกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน

บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยจะรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน

บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริ ษทั ฯ หมายถึง บุคคลหรื อกิจการที่มีอานาจควบคุมบริ ษทั ฯ หรื อถูก บริ ษทั ฯควบคุมไม่วา่ จะเป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกันกับบริ ษทั ฯ นอกจากนี้ บุคคลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันยังหมายรวมถึ งบริ ษทั ร่ วมและบุ คคลที่ มีสิทธิ ออกเสี ยงโดย ทางตรงหรื อทางอ้อมซึ่ งทาให้มีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสาคัญต่อบริ ษทั ฯ ผูบ้ ริ หารสาคัญ กรรมการหรื อ พนักงานของบริ ษทั ฯ ที่มีอานาจในการวางแผนและควบคุมการดาเนินงานของ บริ ษทั 4.17. สั ญญาเช่ าระยะยาว สัญญาเช่าที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ได้โอน ไปให้กบั ผูเ้ ช่าถือเป็ นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรม ของสิ นทรัพย์ที่เช่าหรื อมูลค่าปั จจุบนั สุ ทธิ ของจานวนเงิ นที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ า กว่า ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จ่ายทางการเงินจะบันทึกเป็ นหนี้สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ยจ่ายจะ บันทึกในงบกาไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่ อม ราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที่เช่า สัญญาเช่ าที่ ดิน อาคาร และอุปกรณ์ที่ความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของส่ วนใหญ่ไม่ได้ โอนไปให้กับผูเ้ ช่ า ถื อเป็ นสัญญาเช่ า ด าเนิ นงาน จานวนเงิ นที่ จ่า ยตามสัญญาเช่ าด าเนิ นงานรั บรู ้ เ ป็ น ค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่า 4.18. เงินตราต่ างประเทศ บริ ษทั ฯแสดงงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะกิจการเป็ นสกุลเงิ นบาท ซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในการ ดาเนินงานของบริ ษทั ฯ รายการต่าง ๆ ของแต่ละกิจการที่รวมอยูใ่ นงบการเงินรวมวัดมูลค่าด้วยสกุลเงินที่ ใช้ในการดาเนินงานของแต่ละกิจการนั้น รายการที่ เป็ นเงิ นตราต่างประเทศแปลงค่ าเป็ นเงิ นบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ ยน ณ วันที่ ที่เกิ ดรายการ สิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ เป็ นตัวเงินซึ่ งอยู่ในสกุลเงินตราต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั รา แลกเปลี่ยน ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กาไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนรวมอยูใ่ นงบกาไรขาดทุน 4.19. การด้ อยค่ าของสิ นทรัพย์ ทุกวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะทาการประเมินการด้อยค่าสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย หากมีขอ้ บ่งชี้วา่ สิ นทรัพย์ดงั กล่าวอาจด้อยค่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะรับรู ้ขาดทุนจาก การด้อยค่าเมื่อมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคื นของสิ นทรัพย์มีมูลค่าต่ ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ นั ทั้งนี้ มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคื นหมายถึงมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายของสิ นทรัพย์หรื อมูลค่าจาก การใช้สินทรัพย์แล้วแต่ราคาใดจะสู งกว่า

130

14 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

หากในการประเมินการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ มีขอ้ บ่งชี้ ที่แสดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของ สิ นทรัพย์ที่รับรู ้ในงวดก่อนได้หมดไปหรื อลดลง บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะ ได้รับคืนของสิ นทรัพย์น้ นั และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าที่รับรู ้ในงวดก่อนก็ต่อเมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช้กาหนดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนภายหลังจากการรับรู ้ผลขาดทุนจากการ ด้อยค่าครั้งล่าสุ ด โดยมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อย ค่ า ต้อ งไม่ สู งกว่า มู ลค่ า ตามบัญชี ที่ ค วรจะเป็ นหากกิ จการไม่ เ คยรั บรู ้ ผ ลขาดทุ นจากการด้อ ยค่ า ของ สิ นทรัพย์ในงวดก่ อนๆ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะบันทึ กกลับรายการผลขาดทุ นจากการด้อยค่าของ สิ นทรัพย์โดยรับรู ้ไปยังส่ วนของกาไรหรื อขาดทุนทันที 4.20. ผลประโยชน์ ของพนักงาน ผลประโยชน์ ระยะสั้นของพนักงาน บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยรับรู ้เงินเดือน ค่าจ้าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อ เกิดรายการ ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พ ซึ่ งประกอบด้วยเงิ นที่พนักงาน จ่ายสะสมและเงินที่บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจ่ายสมทบให้เป็ นรายเดือน สิ นทรัพย์ของกองทุนสารองเลี้ยง ชี พได้แยกออกจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย เงินที่บริ ษทั ฯและย่อยจ่ายสมทบกองทุนสารอง เลี้ยงชีพบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในปี ที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงาน บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีภาระสาหรับเงินชดเชยที่ตอ้ งจ่ายให้แก่พนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมาย แรงงาน ซึ่ งบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยถือว่าเงิ นชดเชยดังกล่าวเป็ นโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน สาหรับพนักงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยคานวณหนี้ สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้ วิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method) โดยผูเ้ ชี่ ยวชาญอิสระได้ทาการ ประเมินภาระผูกพันดังกล่าวตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ผลกาไรหรื อขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย สาหรับโครงการผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู ้ทนั ทีในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น

15

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

131


4.21. ประมาณการหนีส้ ิ น

4.23. กาไรต่ อหุ้นขั้นพื้นฐานและกาไรต่ อหุ้นปรับลด

บริ ษ ัท ฯและบริ ษ ัท ย่ อ ยจะบัน ทึ ก ประมาณการหนี้ สิ น ไว้ใ นบัญ ชี เ มื่ อ ภาระผู ก พัน ซึ่ งเป็ นผลมาจาก เหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้ นแล้ว และมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่าบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะเสี ย ทรัพยากรเชิ งเศรษฐกิ จไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยสามารถประมาณ มูลค่าภาระผูกพันนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ 4.22. ภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้ประกอบด้วยภาษีเงินได้ปัจจุบนั และภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้ปัจจุบนั ตามจานวนที่คาดว่าจะจ่ายให้กบั หน่วยงานจัดเก็บภาษี ของรัฐ โดยคานวณจากกาไรทางภาษีตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ของผลแตกต่างชัว่ คราวระหว่างราคาตามบัญชี ของสิ น ทรั พ ย์แ ละหนี้ สิ น ณ วัน สิ้ น รอบระยะเวลารายงานกับ ฐานภาษี ข องสิ น ทรั พ ย์แ ละหนี้ สิ น ที่ เกี่ยวข้องนั้น โดยใช้อตั ราภาษีที่มีผลบังคับใช้ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยรับรู ้หนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ของผลแตกต่างชัว่ คราวที่ ตอ้ งเสี ยภาษีทุก รายการ แต่รับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษี รวมทั้งผลขาดทุน ทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ในจานวนเท่าที่มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะมีกาไรทาง ภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้น้ นั บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะทบทวนมูลค่ าตามบัญชี ของสิ นทรั พย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ทุกสิ้ นรอบ ระยะเวลารายงาน และจะทาการปรับลดมูลค่ าตามบัญชี ดงั กล่าว หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะไม่มีกาไรทางภาษีเพียงพอต่อการนาสิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอตัดบัญชี ท้ งั หมด หรื อบางส่ วนมาใช้ประโยชน์ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะบันทึ กภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี โดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นหากภาษี ที่ เกิดขึ้นเกี่ยวข้องกับรายการที่ได้บนั ทึกโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุน้

16 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

กาไรต่อหุ น้ ปรับลดคานวณโดยหารกาไรสาหรับปี ที่ เป็ นของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ฯ (ไม่รวมกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยผลรวมของจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี กับจานวน ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ ้นสามัญที่บริ ษทั ฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ น้ สามัญเที ยบเท่าปรับลดทั้งสิ้ นให้ เป็ นหุน้ สามัญ โดยสมมติวา่ ได้มีการแปลงเป็ นหุน้ สามัญ ณ วันต้นปี หรื อ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า 4.24. การวัดมูลค่ ายุตธิ รรม

ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน

132

กาไรต่ อ หุ ้นขั้นพื้ นฐานค านวณโดยหารกาไรสาหรั บ ปี ที่ เป็ นของผูถ้ ื อ หุ ้นของบริ ษ ทั ฯ (ไม่ ร วมกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่ออกอยูใ่ นระหว่างปี

มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดว่าจะได้รับจากจากการขายสิ นทรัพย์หรื อเป็ นราคาที่ จะต้องจ่ายเพื่อ โอนหนี้สินให้ผอู ้ ื่นโดยรายการดังกล่าวเป็ นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหว่างผูซ้ ้ื อและผูข้ าย (ผูร้ ่ วม ในตลาด) ณ วันที่วดั มูลค่า บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยใช้ราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องในการวัด มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์และหนี้สินซึ่ งมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้องกาหนดให้ตอ้ งวัด มูลค่ าด้ว ยมูลค่ า ยุติธรรม ยกเว้นในกรณี ที่ไ ม่มีต ลาดที่ มีสภาพคล่ องส าหรั บสิ นทรั พย์หรื อ หนี้ สิ นที่ มี ลักษณะเดียวกันหรื อไม่สามารถหาราคาเสนอซื้ อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องได้ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย จะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายาม ใช้ขอ้ มูลที่สามารถสังเกตได้ที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินที่จะวัดมูลค่ายุติธรรมนั้นให้มากที่สุด ลาดับชั้นของมูลค่ า ยุติ ธรรมที่ ใช้ว ดั มู ลค่ า และเปิ ดเผยมู ลค่ า ยุติธรรมของสิ นทรั พ ย์และหนี้ สิ นในงบ การเงินแบ่งออกเป็ นสามระดับตามประเภทของข้อมูลที่นามาใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ ระดับ 1 ใช้ขอ้ มูลราคาเสนอซื้ อขายของสิ นทรัพย์หรื อหนี้สินอย่างเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคล่อง ระดับ 2 ใช้ขอ้ มูลอื่ นที่ สามารถสังเกตได้ของสิ นทรั พย์หรื อหนี้ สิน ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลทางตรงหรื อ ทางอ้อม ระดับ 3 ใช้ขอ้ มูลที่ไม่สามารถสังเกตได้เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินในอนาคตที่กิจการประมาณขึ้น ทุ กวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะประเมิ นความจาเป็ นในการโอนรายการ ระหว่างลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมสาหรับสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่ถืออยู่ ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ที่มีการวัดมูลค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจา

17 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

133


ค่ าเผื่อการด้ อยค่ าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์

4.25. การใช้ ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สาคัญ ในการจัดทางบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรื่ องที่ มีความไม่แน่ นอนเสมอ การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการดังกล่าวนี้ ส่งผล กระทบต่อจานวนเงิ นที่ แสดงในงบการเงิ นและต่อข้อมูลที่ แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิ น ผลที่ เกิ ดขึ้ นจริ งอาจแตกต่างไปจากจานวนที่ประมาณการไว้การใช้ดุลยพินิจและการประมาณการที่สาคัญมี ดังนี้

บริ ษทั ฯจะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผื่อขายและเงินลงทุนทัว่ ไปเมื่อมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสาคัญและเป็ นระยะเวลานานหรื อเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ ของการด้อย ค่ า การที่ จะสรุ ปว่าเงิ นลงทุ นดังกล่ าวได้ลดลงอย่างมี สาระสาคัญหรื อเป็ นระยะเวลานานหรื อไม่น้ ัน จาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริ หาร

การรั บรู้ เงินลงทุนในการร่ วมค้ าตามวิธีส่วนได้ เสี ยในงบการเงินรวมของการร่ วมค้ าที่บริ ษัท TICON มี สั ดส่ วนการถือหุ้นเกินกว่ ากึง่ หนึ่ง

บริ ษทั ฯจะตั้งค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย การร่ วมค้า และบริ ษทั ร่ วม เมื่อมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสาคัญและเป็ นระยะเวลานานหรื อเมื่อมีขอ้ บ่งชี้ ของการด้อย ค่ า การที่ จะสรุ ปว่าเงิ นลงทุ นดังกล่ าวได้ลดลงอย่างมี สาระสาคัญหรื อ เป็ นระยะเวลานานหรื อไม่น้ ัน จาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของฝ่ ายบริ หาร

ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั TICON พิจารณาว่าบริ ษทั TICON และบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICONไม่มีอานาจ ควบคุมในบริ ษทั ไทคอนเด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด และบริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด ถึงแม้ว่า บริ ษทั ย่อยจะถือหุน้ และมีสิทธิ ออกเสี ยงในบริ ษทั ดังกล่าวในสัดส่ วนร้อยละ 51 ซึ่ งเป็ นสัดส่ วนที่เกินกว่า กึ่งหนึ่ ง ทั้งนี้ เนื่ องจากบริ ษทั ย่อยและผูถ้ ือหุ น้ อีกฝ่ ายหนึ่ งมีอานาจในการควบคุมบริ ษทั ดังกล่าวร่ วมกัน โดยผูถ้ ื อหุ ้นฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งไม่ สามารถสั่งการกิ จกรรมที่ ส าคัญของบริ ษทั ดังกล่า วได้โดยปราศจาก ความเห็นสนับสนุนจากผูถ้ ือหุน้ อีกฝ่ ายหนึ่ง สั ญญาเช่ า ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเช่าว่าเป็ นสัญญาเช่าดาเนิ นงานหรื อสัญญาเช่าทางการเงิน ฝ่ ายบริ หาร ได้ใช้ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาว่าบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อย ได้โอนหรื อรับโอนความเสี่ ยงและผลประโยชน์ในสิ นทรัพย์ที่ให้เช่าหรื อเช่าดังกล่าวแล้วหรื อไม่ ค่ าเผื่อหนีส้ งสั ยจะสู ญของลูกหนี้ ในการประมาณค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญของลูกหนี้ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการ ผลขาดทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ แต่ละราย โดยคานึ งถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของ หนี้ที่คงค้างและสภาวะเศรษฐกิจที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น เป็ นต้น มูลค่ ายุตธิ รรมของเครื่ องมือทางการเงิน ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงินที่ไม่มีการซื้ อขายในตลาดและไม่สามารถหาราคา ได้ในตลาดซื้ อขายคล่อง ฝ่ ายบริ หารต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่ องมื อทาง การเงินดังกล่าว โดยใช้เทคนิคและแบบจาลองการประเมินมูลค่า ซึ่ งตัวแปรที่ใช้ในแบบจาลองได้มาจาก การเที ยบเคี ยงกับตัวแปรที่ มีอยู่ในตลาด โดยคานึ งถึงความเสี่ ยงทางด้านเครดิ ต (ทั้งของธนาคาร และ คู่สัญญา) สภาพคล่อง ข้อมูลความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าของเครื่ องมือทางการเงิ นใน ระยะยาว การเปลี่ยนแปลงของสมมติ ฐานที่ เกี่ ยวข้องกับตัวแปรที่ใช้ในการคานวณ อาจมีผลกระทบต่อ มูลค่ายุติธรรมที่แสดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน และการเปิ ดเผยลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม

134

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

18

ค่ าเผื่อการด้ อยค่ าของเงินลงทุนในบริษทั ย่ อย การร่ วมค้ า และบริษทั ร่ วม

อสั งหาริ มทรั พย์ เพื่ อการลงทุนพร้ อมให้ เช่ า/ขาย อสั งหาริ มทรั พย์ เพื่อการลงทุนให้ เช่ า และที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และค่ าเสื่ อมราคา ในการคานวณค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการ ลงทุนให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องทาการประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่า คงเหลื อเมื่อเลิ กใช้งานของอสังหาริ มทรั พย์เพื่ อการลงทุนพร้ อมให้เช่ า/ขาย อสังหาริ มทรัพย์เพื่ อการ ลงทุนให้เช่า อาคารและอุปกรณ์ และต้องทบทวนอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือใหม่หากมีการ เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องสอบทานการด้อยค่าของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนพร้อมให้เช่ า/ ขาย อสังหาริ มทรัพย์เพื่ อการลงทุนให้เช่ า และที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ ละช่ วงเวลา และบันทึ ก ขาดทุนจากการด้อยค่าหากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคื นต่ากว่ามูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์น้ นั ใน การนี้ ฝ่ายบริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจที่ เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายในอนาคตซึ่ ง เกี่ยวเนื่องกับสิ นทรัพย์น้ นั สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะรับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสาหรับผลแตกต่างชัว่ คราวที่ใช้หกั ภาษี และขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้ใช้เมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจะมีกาไรทาง ภาษี ในอนาคตเพียงพอที่ จะใช้ประโยชน์จากผลแตกต่างชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ ฝ่ายบริ หาร จาเป็ นต้องประมาณการว่าบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยควรรับรู ้จานวนสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี เป็ น จานวนเท่าใด โดยพิจารณาถึงจานวนกาไรทางภาษีที่คาดว่าจะเกิดในอนาคตในแต่ละช่วงเวลา

19

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

135


ผลประโยชน์ หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน์ หนี้ สินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน ประมาณขึ้ นตามหลักคณิ ต ศาสตร์ ประกันภัย ซึ่ งต้องอาศัย ข้อสมมติ ฐานต่ า ง ๆในการประมาณการนั้น เช่ น อัตราคิ ดลด อัต ราการขึ้ น เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจานวนพนักงาน เป็ นต้น

บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด

ประมาณการหนีส้ ิ นที่เกี่ยวข้ องกับการขายอสั งหาริมทรัพย์ ในการบันทึ กประมาณการหนี้ สินที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริ มทรัพย์ ฝ่ ายบริ หารได้ใช้ดุลยพินิจใน การประมาณผลประกอบการของอสังหาริ มทรัพย์ โดยพิจารณาจากข้อมูลรายได้ค่าเช่ าและค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องกับอสังหาริ มทรัพย์ในอดีตประกอบกับข้อมูลที่ มีอยู่ในปั จจุบนั รวมถึงการประมาณเงินชดเชย ส่ วนต่างระหว่างราคายุติธรรมกับราคาใช้สิทธิ สุทธิ แก่ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์และสิ ทธิ การเช่ าอสังหาริ มทรัพย์ไทคอน (“กองทรัสต์ฯ”) สาหรับกรณี ที่ผูเ้ ช่ ารายย่อยใช้สิทธิ เลือกซื้ อทรัพย์สิน (Option to buy) ดังกล่าวโดยใช้ขอ้ มูลการประเมินมูลค่าอสังหาริ มทรัพย์ โดยผูป้ ระเมินอิสระ และบันทึก ประมาณการหนี้สินตามจานวนเงินที่คาดว่าจะจ่ายให้แก่กองทรัสต์ฯ 5.

รายการกับบุคคลหรื อบริษทั ที่เกีย่ วข้ องกัน รายละเอียดความสัมพันธ์ที่บริ ษทั ฯมีกบั บุคคลหรื อกิจการที่มีอานาจควบคุมบริ ษทั ฯหรื อถูกควบคุมโดย บริ ษทั ฯไม่วา่ จะเป็ นโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หรื อมีผถู ้ ือหุน้ หรื อกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั ฯมีดงั นี้ ชื่ อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิ ต้ ี จากัด บริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ยี่ กรุ๊ ป จากัด บริ ษทั อีโค อินดัสเทรี ยล เซอร์ วิสเซส จากัด บริ ษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จากัด บริ ษทั ไทคอน แมนเนจเม้นท์ จากัด Shanghai TICON Investment Management Company Limited

ลักษณะความสั มพันธ์ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

บริ ษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ไทคอน กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ทีพาร์คโลจิสติคส์ กองทุนรวมสิ ทธิ การเช่าอสังหาริ มทรัพย์ไทคอน อินดัสเทรี ยล โกรท ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์และสิ ทธิ การเช่า อสังหาริ มทรัพย์ไทคอน PT SLP Surya TICON Internusa PT SLP Internusa Karawang PT Surya Semesta Internusa Tbk PT Surya Internusa Timur บริ ษทั หลักทรัพย์ เอเซี ย พลัส จากัด (มหาชน) บริ ษทั นิคมอุตสาหกรรมเอเซี ย จากัด บริ ษทั เอสวีไอ จากัด (มหาชน) กองทุนรวมสาธรซิ ต้ ีทาวเวอร์ ธนาคารกรุ งเทพ จากัด (มหาชน) บริ ษทั นิปปอน สตีล & สึ มิกิน บูสซัน คอร์ปอเรชัน่ จากัด บริ ษทั โรจนะดิสทริ บิวชัน่ เซ็นเตอร์ จากัด บริ ษทั บางกอกออฟฟิ ศ 3 จากัด บริ ษทั บางกอกออฟฟิ ศ 4 จากัด

20

136

ชื่ อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน TICON (HK) Limited บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด

ลักษณะความสั มพันธ์ บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON การร่ วมค้า (ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั TICON) การร่ วมค้า (ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั TICON) การร่ วมค้า (ถือหุน้ โดยบริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั TICON) บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON บริ ษทั ร่ วม (ถือหุ น้ โดยบริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั TICON) บริ ษทั ร่ วม (ถือหุ น้ โดยบริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั TICON) ถือหุ น้ โดยบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON ผูถ้ ือหุน้ ในบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON บริ ษทั ย่อยของผูถ้ ือหุน้ ในบริ ษทั ร่ วม ของบริ ษทั TICON มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั TICON มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั TICON มีกรรมการร่ วมกันกับบริ ษทั TICON ผูถ้ ือหุน้ ร่ วมกันกับบริ ษทั TICON มีกรรมการของบริ ษทั TICON เป็ น สมาชิกในครอบครัวเดียวกัน ผูถ้ ือหุน้ และมีกรรมการร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ และมีกรรมการร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ และมีกรรมการร่ วมกัน ผูถ้ ือหุน้ และมีกรรมการร่ วมกัน

21 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

137


บริ ษทั ฯ มีรายการธุรกิจที่สาคัญกับบุคคลและบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกันทั้งโดยทางตรง และโดยทางอ้อมในหุ น้ สามัญและ/หรื อเป็ นกรรมการชุดเดียวกัน ผลของรายการดังกล่าวได้แสดงไว้ใน งบการเงินตามมูลฐานที่ตกลงร่ วมกันโดยบริ ษทั ฯ และบุคคลและบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันเหล่านี้ บริ ษทั ฯ มี รายการสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ที่มีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ หน่วย : พันบาท

รายการระหว่ างบริษัทฯกับบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม รายได้จากการขายที่ดิน รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่า รายได้เงินปันผล รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนขายที่ดิน ต้นทุนค่าน้ าและบริ การบาบัดน้ าเสี ย ดอกเบี้ยจ่าย

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 -

-

รายการระหว่ างกลุ่มบริษัทกับบริษัทร่ วม รายได้จากการขายที่ดินและอาคารโรงงาน รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่าที่ดิน รายได้ค่าบริ หารจัดการบริ ษทั ร่ วม เงินประกันรายได้ค่าเช่าและค่าบริ การ ค่าบริ การส่ วนกลาง ค่าบริ การอื่น ต้นทุนค่าบริ การ - ค่าบริ หารจัดการ ต้นทุนค่าบริ การ - ค่าเช่าเครื่ องจักร รายได้ค่าบริ หารจัดการ

4,974 61,997 114,692 772 22,354 21,243 220,900 130,803 86,159

3,037,000 8,275 54,000 128,000 50,000 5,000 32,812 221,641 87,010 76,000

รายการระหว่ างกลุ่มบริษัทกับบริษัทที่เกีย่ วข้ องกัน รายได้จากการขายที่ดิน รายได้ค่าบริ การ ค่านายหน้า ค่าบริ การ ค่าเช่าสานักงานและค่าบริ การที่เกี่ยวข้อง ดอกเบี้ยรับ ต้นทุนขายที่ดิน ดอกเบี้ยจ่าย ค่าบริ การสาธารณูปโภค

128,577 429 13,798 61,716 29,052 1,573 105,410 31,347 2,849

380 7,873 1,500 26,190 3,000 37,280 4,000

81,995 34,523 450,349 2,400 27,775 175,889 2,676 128,577 429 8,892 3,432 105,410 -

91,037 63,726 34,524 1,011,309 2,400 15,538 31,170 174,697 4,828 -

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

รายการบัญชีกบั กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน รายได้จากการขายที่ดิน รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่า รายได้จากการรับเหมาก่อสร้าง รายได้ค่าบริ หารจัดการ ดอกเบี้ยรับ รายได้อื่น ต้นทุนค่าน้ าและการบาบัดน้ าเสี ย

ค่าบริ การ ค่านายหน้า ดอกเบี้ยจ่าย - เงินกูย้ ืมระยะสั้น - เงินกูย้ ืมระยะยาว

นโยบายการกาหนดราคา ราคาตลาดที่กาหนด ราคาตามที่ตกลงร่ วมกัน ราคาที่ตกลงร่ วมกัน (32,000 บาท/ไร่ /เดือน และ 40,000 บาท/ไร่ /ปี ) มูลค่าตามสัญญารับเหมา กาหนดเป็ นอัตราร้อยละผันแปรตามที่กาหนด ไว้ในสัญญา อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 6 เดือน ถัวเฉลี่ย สถาบันการเงินไทยบวกร้อยละ 1 ต่อปี (ตั้งแต่วนั ที่ 4 กรกฎาคม 2559 เป็ นบวกร้อยละ 2 ต่อปี ) ราคาที่ตกลงร่ วมกัน (200,000 บาท/เดือน) ราคาตลาดหรื อราคาที่ตกลงร่ วมกัน (ต้นทุนค่าน้ า 15-22 บาท/ลูกบาศก์เมตร) (ต้นทุนการบาบัดน้ าเสี ยตามประกาศของการ นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) ราคาตามสัญญา ร้อยละ 4 อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 6 เดือน ถัวเฉลี่ย สถาบันการเงินไทยบวกร้อยละ 1 ต่อปี (ตั้งแต่วนั ที่ 4 กรกฎาคม 2559 เป็ นบวกร้อยละ 2 ต่อปี ) MLR ลบอัตราคงที่และอัตราตลาด

380 5,653 3,130 4,280 -

22

138

รายการบัญชีดงั กล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้าและเกณฑ์ตามที่ตกลงกันระหว่างบริ ษทั ฯและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกันเหล่านั้นซึ่ งเป็ นไปตามปกติธุรกิจโดยสรุ ปดังนี้

23 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

139


ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารสาคัญ ค่ า ตอบแทนกรรมการและผู ้บ ริ หารส าคัญ ส าหรั บ ปี สิ้ น สุ ด วัน ที่ 31 ธั น วาคม 2559 และ 2558 ประกอบด้วย: หน่วย : พันบาท

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 ผลประโยชน์ระยะสั้น ผลประโยชน์เมื่อถูกเลิกจ้าง รวม

100,265 4,610 104,875

109,034 3,929 112,963

16,225 355 16,580

21,691 250 21,941

ยอดคงค้างระหว่างบริ ษทั ฯและบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียด ดังนี้

เงินฝากธนาคาร บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON ลูกหนี้การค้ าและลูกหนี้อื่น บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON การร่ วมค้าของบริ ษทั TICON เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ นแก่กิจการที่เกี่ยวข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON การร่ วมค้าของบริ ษทั TICON ค่ านายหน้ าจ่ ายล่วงหน้ า บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON เงินประกันค่ าเช่ าและค่ าบริการ บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน เงินมัดจาอื่น บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON เงินกู้ยืมระยะสั้ นจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

งบการเงินรวม 2559 2558 96,365

96,210

30,946 37

11 33,114 -

106,269 2,400

-

-

-

19,034 94 -

18,522 11 89 -

1,094,501 -

846,402 -

2,404

8,249

-

240

57,431

-

-

2,731

2,291

739

740

6,934

7,494

-

-

1,060,000

-

15,193 -

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

งบการเงินรวม 2559 2558

เจ้ าหนี้การค้ า บริ ษทั ย่อย เจ้ าหนี้อื่น บริ ษทั ร่ วม 68,799 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน 61,716 บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON 4,239 ค่ างวดที่ยังไม่ รับรู้ รายได้ บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบีย้ ค้ างจ่ าย บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON 159 ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน 2,304 บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON 126 ค่ าเช่ าที่ดนิ รับล่วงหน้ า (แสดงภายใต้ หนี้สินหมุนเวียนอื่น) บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON 50,425 หนี้สินอื่น-เงินมัดจารับ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON 15 เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON 783,766 รายได้ค่าเช่ าที่ดนิ ที่รับล่วงหน้ า บริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั TICON 1,318,758

-

11,502

8,969

43,068 2,490 6,364

2,867 -

990 -

101,683

-

101,683

82

-

-

45,758 133

45 -

-

50,918

-

-

45

10,462 -

748,380

-

-

1,382,487

-

-

10,462 -

6,329

126,193 -

24

140

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

141


กลุ่มบริ ษทั มีรายการเคลื่อนไหวเงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกันในระหว่างปี และยอดคงเหลือที่มีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ หน่วย : พันบาท

งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ น บริ ษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด PT Surya Internusa Timur เงินกู้ยืมระยะสั้ น ธนาคารกรุ งเทพ จากัด (มหาชน)

เพิม่ ขึ้น ระหว่างปี

-

2,400 106,269 108,669

-

(2,400) (106,269) (108,669)

-

-

1,060,000

-

(1,060,000)

-

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันของบริ ษทั TICON จานวน 1,060 ล้านบาท เป็ นเงิ นกูย้ ืมจากสถาบันการเงิ นแห่ งหนึ่ งซึ่ งเป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีอตั ราดอกเบี้ยร้อย ละ 2.48 ต่อปี หน่วย : พันบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ น บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ต้ ี จากัด เงินกู้ยืมระยะสั้ น บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด

เพิ่มขึ้น ระหว่างปี

งบการเงินรวม

โอนเป็ นหนี้สินที่ เกี่ยวข้องโดยตรง ยอดคงเหลือ กับสิ นทรัพย์ ณ วันที่ ที่ถือไว้เพื่อขาย 31 ธันวาคม 2559

ลดลง ระหว่างปี

ลดลง ระหว่างปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 เงินกู้ยืมระยะยาว

154,000

(10,000)

695,435

27,967 267,000 846,402

33,700 70,400 258,100

(10,000)

61,667 337,400 1,094,502

-

50,000

(50,000)

-

126,193 126,193

40,000 90,000

(151,000) (201,000)

15,193 15,193

748,380

ธนาคารกรุ งเทพ จากัด (มหาชน)

เพิ่มขึ้น ระหว่างปี 106,986

ลดลง ระหว่างปี (71,600)

โอนเป็ นหนี้ สินที่ เกี่ยวข้องโดยตรง กับสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

(783,766)

-

ยอดคงเหลือของเงินกูย้ ืมระยะยาวที่ได้รับจากสถาบันการเงินแห่งหนึ่งซึ่ งเป็ นกิจการที่เกี่ยวข้องกันมี รายละเอียดดังนี้

ลาดับ ที่ วันที่ทาสัญญา 1. 23 เมษายน 2556 2. 3 เมษายน 2557 3. 3 เมษายน 2557 รวมเงินกูย้ มื

หัก โอนเป็ นหนี้ สินที่ เกี่ ยวข้อง โดยตรงกับสิ นทรั พย์ที่ถือ ไว้เพื่อขาย

รวมเงินกูย้ มื ระยะยาว-สุทธิ 551,435

หน่วย : พันบาท

งบการเงินรวม 2559 636 20 128 784

ระยะเวลา เงินกู้ 9 ปี 9 ปี 9 ปี

งวดชาระคืน เงินต้น ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 6 เดือน

หน่วย: ล้านบาท

เงื่อนไขที่สาคัญของสัญญาเงินกูย้ มื ระยะเวลาชาระคืนเงินต้น พฤศจิกายน 2559 - พฤษภาคม 2565 พฤศจิกายน 2560 - พฤษภาคม 2566 พฤศจิกายน 2560 - พฤศจิกายน 2565

อัตราดอกเบี้ย MLR ลบอัตราคงที่ MLR ลบอัตราคงที่ MLR ลบอัตราคงที่

(784) -

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่อยู่ในระหว่างการพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่าที่ดินและอาคารของบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งของบริ ษทั TICON ถูกจด จานองเป็ นประกันการกูย้ ืมดังกล่าวข้างต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON คงเหลือจานวนเงิ นที่ยงั มิได้เบิกใช้ของวงเงิ น กูย้ ืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวเป็ นจานวนรวมประมาณ 4,065 ล้านบาท

26

142

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL 27 REPORT 2016

143


6.

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด

เงินสด เงินฝากธนาคาร รวม

8. งบการเงินรวม 2559 2558

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

295 410,203 410,498

110 218,161 218,271

1,032 1,437,571 1,438,603

110 176,868 176,978

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจาและเงินลงทุนชัว่ คราวซึ่ งถึงกาหนดจ่ายคืน ในระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน มีอตั ราดอกเบี้ยร้อยละ 0.10 ถึง 1.70 ต่อปี (2558: ร้อยละ 0.10 ถึง 1.70 ต่อปี ) 7.

เงินฝากธนาคารที่มขี ้ อจากัดในการใช้ บริ ษทั ย่อยสองแห่ งได้นาเงินฝากสถาบันการเงินเป็ นหลักประกันวงเงินสิ นเชื่ อจากธนาคารพาณิ ชย์และ สถาบันการเงิน ตามสัญญาวงเงินสิ นเชื่อ บริ ษทั ย่อยไม่สามารถนาเงินฝากธนาคารในบัญชี บางบัญชี ไปใช้ เพื่ อวัตถุประสงค์อื่น นอกเหนื อจากการใช้ชาระเงิ นกูย้ ืมและดอกเบี้ ยจ่ ายซึ่ งต้องได้รับการอนุ มตั ิ จาก ธนาคารพาณิ ชย์และสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 21)

ลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ ื่น งบการเงินรวม 2559 2558 ลูกหนีก้ ารค้ า ลูกหนี้จากการจาหน่ายอสังหาริ มทรัพย์ ลูกหนี้ค่าบริ การและค่าเช่า ลูกหนี้ค่าน้ า ลูกหนี้ค่าบริ การไฟฟ้า รวมลูกหนี้การค้ า ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดาเนินงาน ที่ยงั ไม่ได้เรี ยกชาระ หัก: ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ รวมลูกหนี้การค้ า - สุ ทธิ ลูกหนี้อื่น รวมลูกหนีก้ ารค้ าและลูกหนีอ้ ื่น - สุ ทธิ

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

21,261 91,308 1,097,283 1,209,852

79,847 52,840 1,239,128 1,371,815

12,480 38,781 51,261

12,480 39,979 52,459

(2,247) 1,207,605 1,207,605

14,274 (25,018) 1,361,071 39,897 1,400,968

(2,247) 49,014 49,014

(3,204) 49,255 49,255

ยอดลูกหนี้การค้าคงเหลือ โดยจาแนกตามอายุที่คา้ งชาระได้ดงั นี้ งบการเงินรวม 2559 2558 น้อยกว่า 3 เดือน ค้างชาระ 3 เดือน ถึง 6 เดือน ค้างชาระ 6 เดือน ถึง 12 เดือน เกิน 12 เดือน ขึ้นไป รวม

144

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

28

1,054 151 3 2 1,210

1,292 41 3 36 1,372

หน่วย : ล้านบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 36 15 51

36 16 52

29 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

145


9.

ต้ นทุนการพัฒนาที่ดนิ

10. สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอื่น งบการเงินรวม

ที่ดิน ส่ วนของมูลค่ายุติธรรมที่สูงกว่า ราคาตามบัญชีของที่ดิน ต้นทุนการพัฒนา ต้นทุนการกูย้ ืม หัก: จานวนที่โอนเป็ น : ต้นทุนขายแล้วจนถึงปัจจุบนั อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน รวมต้ นทุนการพัฒนา

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

12,456,868

12,212,723

10,356,467

10,112,322

104,023 6,737,246 543,953 19,842,090

104,023 6,316,832 543,953 19,177,531

3,854,107 384,113 14,594,687

3,743,835 384,113 14,240,270

(12,540,706) (11,835,926) (19,637) (19,637) 7,281,747 7,321,968

(8,956,386) 5,638,301

(8,391,490) 5,848,780

งบการเงินรวม 2559 2558 ลูกหนี้กรมสรรพากร ภาษีซ้ื อรอขอคืน ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย เงินล่วงหน้าค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า อื่น ๆ รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียนอื่น

264,841 40,973 80,658 11,435 84,065 10,500 492,472

634,367 39,539 232,363 22,923 125,550 36,242 1,090,984

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 52,675 27 16,902 6,990 21,109 5,876 103,579

56,662 15,569 10,819 13,035 2,604 98,689

บริ ษทั ฯ ได้ซ้ื อกิจการของบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งในราคาที่สูงกว่ามูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี เนื่ องจากบริ ษทั ย่อย ดังกล่าวมีที่ดินเพื่อพัฒนาเป็ นสวนอุตสาหกรรมเพื่อขายที่จงั หวัดปราจีนบุรี ซึ่ งมีมูลค่ายุติธรรมที่ประเมิน โดยผูป้ ระเมินอิสระ ดังนั้น บริ ษทั จึ งได้แสดงส่ วนของมูลค่ายุติธรรมที่ สูงกว่าราคาตามบัญชี ของที่ ดิน ของบริ ษทั ย่อยดังกล่าว รวมอยูใ่ นต้นทุนการพัฒนาที่ดิน กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ฯได้จานองที่ดินที่แสดงในต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ในอัตราร้อยละ 85 ของพื้นที่รวม และที่ ดินที่ แสดงรวมอยู่ในที่ ดินอาคารและอุปกรณ์ไว้กบั สถาบันการเงินเพื่อเป็ นหลักทรัพย์ค้ าประกัน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ ืมระยะสั้นและเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 18 และ 21)

146

30 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

31

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

147


148 ROJANA ANNUAL REPORT 2016 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

149

ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์และ/หรื อ สิ ทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์และ/หรื อ สิ ทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์โรงงานและ คลังสิ นค้าโดยให้เช่า/ขาย

ให้บริ การบารุ งรักษาการจัดการ และดาเนินงานโรงไฟฟ้า ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ ลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์

ประเภทกิจการ

5,555 5,542 1,657

5,542 1,657

11,825 4,469

11,825 4,469 5,555

30

30

ทุนชาระแล้ว (ล้ านบาท) 2559 2558

25.00

12.08

23.95

15.00 16.05

25.00

ชื่อบริ ษทั

ให้บริ การบารุ งรักษาการ จัดการและดาเนินงานโรงไฟฟ้า

ประเภทกิจการ

30

30

ทุนชาระแล้ว (ล้ านบาท) 2559 2558

25.00

สัดส่ วนเงินลงทุน (%) 2559 2558 25.00

421,608 6,032,872

107,434

1,101,913

1,493,367

2,147,576 764,288

104,120

-

-

-

-

107,434

24,071 24,071

24,071 24,071

มูลค่าเงินลงทุนตาม วิธีราคาทุน 2559 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

25.00

19.62

25.48

18.46 16.21

25.00

มูลค่าเงินลงทุนตาม วิธีส่วนได้เสี ย 2559 2558

งบการเงินรวม

สัดส่ วนเงินลงทุน (%) 2559 2558

ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 17 บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย

บริ ษทั ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ ป จากัด รวมเงินลงทุนในบริษัทร่ วม

(1)

รวมเงินลงทุนในบริษัทร่ วม

บริ ษทั ออปอเรชัน่ นอล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ ป จากัด กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ ไทคอน(1) กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ ทีพาร์ ค โลจิสติคส์ (1) กองทุนรวมสิ ทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ไท คอนอินดัสเทรี ยลโกรท(1) ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์และ สิ ทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ไทคอน(1) PT SLP Surya TICON Internusa(1)

ชื่อบริ ษทั

11.1 เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ประกอบด้วย:

11. เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม

32

276,021

1,790

19,487

75,236

115,812 36,142

27,554

30,000

30,000

22,500

22,500

รายได้เงินปั นผล สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

หน่วย : พันบาท

285,532

1,899

32,987

83,270

98,517 35,545

33,314

ส่ วนแบ่งกาไรจาก เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558

หน่วย : พันบาท


ข้ อมูลทางการเงินของบริษทั ร่ วม

11.2 การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม

เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม ยอดยกมาต้นปี ซื้ อเงินลงทุน ขายเงินลงทุน รับคืนเงินจากการลดมูลค่าหน่วยทรัสต์ ส่ วนแบ่งกาไรในเงินลงทุน เงินปั นผลรับ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน ยอดคงเหลือปลายปี

งบการเงินรวม 2559 2558 6,042,194 33,698 (986,694) 285,532 (353,867) 6,982 5,027,845

5,976,196 1,136,479 (936,932) (15,786) 276,021 (399,443) 5,659 6,042,194

หัก: กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ ยอดยกมาต้นปี 18,221 เพิ่มขึ้นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี 18,221 ยอดคงเหลือปลายปี

18,221 18,221

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 24,071 24,071

24,071 24,071

สรุ ปรายการฐานะทางการเงิน

สิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน สิ นทรัพย์ - สุ ทธิ สัดส่ วนเงินลงทุน (ร้อยละ) สัดส่ วนตามส่ วนได้เสี ยของกิจการในสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ การตัดรายการระหว่างกัน มูลค่ าตามบัญชีของส่ วนได้ เสี ยของกิจการในบริษทั ร่ วม

รายได้ กาไร กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น กาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม

34 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

บริษทั ออปอเรชั่นนอล เอ็นเนอร์ ยี่ กรุ๊ป จากัด

สรุ ปรายการกาไรขาดทุนและกาไร(ขาดทุน)เบ็ดเสร็ จอื่น

บวก: ค่าใช้จ่ายที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับการขายอสังหาริ มทรัพย์ ยอดยกมาต้นปี 8,899 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 9,863 ลดลงระหว่างปี (8,899) (964) ยอดคงเหลือปลายปี 8,899 จัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย (4,902,190) เงินลงทุนในบริษทั ร่ วม - สุ ทธิ 107,434 6,032,872

150

ข้อมูลทางการเงินตามที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินของบริ ษทั ร่ วม โดยสรุ ปมีดงั นี้

หน่วย: ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 349 213 (68) (64) 430 25.00% 107 107

288 237 (54) (54) 417 25.00% 104 104

หน่วย: ล้านบาท สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 614 554 133 110 133 110

35 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

151


ROJANA ANNUAL REPORT 2016

36

988,809 420,350 11,356,241 4,641,083

250,000 500,000 238,809 140,000 239,350 399,999 499,800 500,733 1,074,537 6,829,408 399,999 499,800 500,733 1,074,537 250 5,000 100 70 100 100 44

41,000 1,898,764 153,000 1,980,764 180,000 41 90

บริ ษทั ฯจ่ายชาระค่าหุน้ เพิ่มทุนครั้งที่ 1 แล้ว จานวน 160 ล้านบาท ตามสัดส่ วนการถือหุ น้ และบริ ษทั ย่อยได้จดทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2558 และเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2559 บริ ษทั ฯได้ชาระค่าหุน้ เพิ่มทุน ครั้งที่ 2 แล้ว ตามสัดส่ วนการถือหุน้ จานวน 82 ล้านบาท

ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุขอ้ 17 บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย

รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่ อย

บริษทั โรจนะ อินดัสเตรียล แมเนจเม้ นท์ จากัด เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 ของบริ ษทั ย่อย มีมติอนุมตั ิให้เพิ่มทุน จดทะเบียน จานวน 30 ล้านบาท เป็ นหุ น้ สามัญ 3 ล้านหุ น้ มูลค่าหุ ้นละ 10 บาท เป็ นทุนจดทะเบี ยนใหม่ 200 ล้านบาท บริ ษทั ฯได้จ่ายชาระค่าหุ ้นสามัญเพิ่มทุนแล้ว จานวน 27 ล้านบาท และบริ ษทั ย่อยได้จด ทะเบียนเพิ่มทุนกับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2559 บริษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด - เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2559 ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 ของบริ ษทั ย่อย มีมติอนุมตั ิจ่ายเงิน ปันผลให้กบั ผูถ้ ือหุน้ เป็ นจานวนเงิน 100 ล้านบาท (เป็ นส่ วนของบริ ษทั ฯ 70 ล้านบาท) - เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2559 ของบริ ษทั ย่อย มีมติอนุมตั ิจ่ายเงิน ปันผลให้กบั ผูถ้ ือหุน้ เป็ นจานวนเงิน 100 ล้านบาท (เป็ นส่ วนของบริ ษทั ฯ 70 ล้านบาท) บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จากัด (มหาชน) (“TICON”) - เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือประจาปี 2559 ของบริ ษทั ย่อย มีมติอนุมตั ิจ่ายเงินปั น ผลให้กบั ผูถ้ ือหุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.50 บาท (เป็ นส่ วนของบริ ษทั ฯ 70 ล้านบาท)

(1)

100 70 100 100 100 100 44 400 714 327 557 1,099 400 714 327 557 1 5 1,099

41 90 4,700 200

4,500 170

บริ ษทั โรจนะ พร็ อพเพอร์ ต้ ี จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จากัด บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิ ต้ ี จากัด บริ ษทั โรจนะ อีทชั จากัด บริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย (1)

ประเภทกิจการ ชื่อบริ ษทั

ครั้งที่ 1 ภายในเดือน ธันวาคม 2558 มูลค่าหุน้ ละ 4.88 บาท เป็ นจานวนเงิน 400 ล้านบาท ครั้งที่ 2 ภายในเดือน มิถุนายน 2559 มูลค่าหุน้ ละ 2.44 บาท เป็ นจานวนเงิน 200 ล้านบาท ครั้งที่ 3 ภายในเดือน ธันวาคม 2559 มูลค่าหุน้ ละ 2.68 บาท เป็ นจานวนเงิน 220 ล้านบาท

- เมื่อวันที่ 28 พฤศจิ กายน 2559 ที่ ประชุ มคณะกรรมการครั้งที่ 2/2559 ของบริ ษทั ย่อย มีมติ อนุ มตั ิ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ให้กบั ผูถ้ ือหุ น้ เป็ นจานวนเงิน 100 ล้านบาท (เป็ นส่ วนของบริ ษทั ฯจานวน 41 ล้านบาท)

ผลิตกระแสไฟฟ้า ผลิตและจาหน่ายน้ าเพื่อ อุตสาหกรรม พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ให้บริ การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์และ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง

สัดส่ วนเงินลงทุน (%) 2559 2558 ทุนชาระแล้ว (ล้ านบาท) 2559 2558

- เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2558 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ของย่อย ครั้งที่ 2/2558 มีมติอนุมตั ิให้เพิ่มทุนจด ทะเบี ยน จานวน 820 ล้านบาท เป็ นหุ น้ สามัญ 82 ล้านหุ น้ มูลค่าหุ ้นละ 10 บาท เป็ นทุนจดทะเบี ยน ใหม่ 4,920 ล้านบาท โดยกาหนดเรี ยกชาระหุน้ เพิ่มทุนดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ย่อยยังไม่ได้เรี ยกชาระค่าหุน้ สามัญเพิ่มทุนครั้งที่ 3 ตามมติขา้ งต้น

บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด

รายได้เงินปันผล สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 มูลค่าเงินลงทุนตาม วิธีราคาทุน 2559 2558

งบการเงินเฉพาะกิจการ

หน่วย : พันบาท

เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยตามที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

12. เงินลงทุนในบริษทั ย่ อย

152

บริษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด

37 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

153


- เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุน้ ครั้งที่ 1/2559 ของบริ ษทั ย่อย มีมติที่สาคัญดังนี้ 1) อนุมตั ิลดทุนจดทะเบียนจาก 1,115.9 ล้านบาท เป็ น 1,099.1 ล้านบาท โดยการยกเลิกหุ น้ สามัญที่ ยังมิได้นาออกจาหน่ายจานวน 16.8 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท รวมเป็ นเงิน 16.8 ล้าน บาท 2) อนุ มตั ิ เพิ่มทุนจดทะเบี ยนจาก 1,099.1 ล้านบาท เป็ น 1,834.1 ล้านบาท โดยการออกหุ ้นสามัญ จานวน 735 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท เพื่อรองรับการจองซื้ อหุ ้นสามัญเพิ่มทุน โดย บริ ษทั เฟรเซอร์ ส พร็ อพเพอร์ ต้ ี โ ฮลดิ้ ง (ประเทศไทย) จากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของ Frasers Centrepoint Limited ซึ่ งเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ 3) อนุมตั ิเสนอขายและจัดสรรหุ น้ สามัญเพิ่มทุน จานวนไม่เกินจานวน 735 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้ หุน้ ละ 1 บาท ให้แก่ บริ ษทั เฟรเซอร์ส พร็ อพเพอร์ ต้ ี โฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จากัด(“FPHT”) โดย เป็ นการเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ในราคาเสนอขายหุ น้ ละ 18 บาท รวมเป็ นมูลค่าทั้งสิ้ นไม่เกิ น 13,230 ล้านบาท ซึ่ งคิ ดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 40 ของทุนจด ทะเบียนทั้งหมดของบริ ษทั หลังการเพิ่มทุน บริ ษทั ย่อยได้จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงในทุนจดทะเบียนกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2559 การจัดตั้งบริ ษทั ย่อย เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ครั้งที่ 4/ 2559 มีมติอนุมตั ิจดั ตั้งบริ ษทั ย่อย ดังนี้ 1) บริ ษทั เป๋ ยโต่ว โรจนะ อินดัสเตรี ยล ซิ ต้ ี จากัด เพื่อพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ โดยมีทุนจดทะเบี ยน 1 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ น้ สามัญจานวน 100,000 หุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 10 บาท และถือหุ น้ โดย บริ ษทั ฯ ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบียน โดยบริ ษทั ดังกล่าวได้จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั กับกระทรวง พาณิ ชย์เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 2) บริ ษัท โรจนะ อี ทัช จ ากัด เพื่ อ ประกอบธุ ร กิ จ ซื้ อ ขายสิ น ค้า หรื อบริ การ ผ่ า นระบบเครื อข่ า ย อินเตอร์เน็ต โดยมีทุนจดทะเบียน 5 ล้านบาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญจานวน 500,000 หุน้ มูลค่าที่ตรา ไว้หุ้นละ 10 บาท และถือหุ ้นโดยบริ ษทั ฯ ร้อยละ 100 ของทุนจดทะเบี ยน โดยบริ ษทั ดังกล่าวได้จด ทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั กับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559

บริ ษทั ฯ ได้นาหุน้ สามัญทั้งหมดของบริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์จี จากัดและหุน้ สามัญบางส่ วนของบริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ระยอง 2 จากัด และหุน้ สามัญบางส่ วนของบริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอน เน็คชัน่ จากัด (มหาชน) ไปจานาไว้กบั สถาบันการเงินเพื่อเป็ นหลักทรัพย์ค้ าประกันเงินกูย้ ืมระยะยาวจาก สถาบันการเงิน (หมายเหตุ 21) 38

154

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

13. เงินลงทุนในการร่ วมค้ า รายละเอียดของการร่ วมค้า เงินลงทุนในการร่ วมค้าเป็ นเงินลงทุนในกิจการที่บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON ควบคุมร่ วมกันกับบริ ษทั อื่น มีรายละเอียดดังนี้ กิจการที่ควบคุม ร่ วมกัน

ประเภทกิจการ

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ

ทุนจดทะเบียน 2559

บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด บริ ษทั ทีพาร์ค บีเอฟที แซด จากัด

ผลิตและจาหน่าย กระแสไฟฟ้า ผลิตและจาหน่าย กระแสไฟฟ้า พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ โดยการสร้าคลังสิ นค้า ให้เช่า/ขาย

ไทย

2558

งบการเงินรวม ทุนเรี ยกชาระ แล้ว

2559

สัดส่วน เงินลงทุน

2558

2559

(ล้ านบาท) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท) (ร้ อยละ) 5.00 5.00 5.00 5.00 51.00

2558 (ร้ อยละ) 51.00

ไทย

4.00

4.00

4.00

4.00

51.00

51.00

ไทย

1.00

-

1.00

-

59.99

-

เมื่อวันที่ 10 สิ งหาคม 2559 ที่ ประชุ มคณะกรรมการครั้งที่ 3/2559 ของบริ ษทั ไทคอน โลจิ สติคส์ พาร์ ค จากัด (“บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั TICON”) ได้มีมติให้ร่วมกับบริ ษทั พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท์ จากัด จัดตั้ง บริ ษทั ทีพาร์ ค บีเอฟทีแซด จากัด (“บริ ษทั ร่ วมทุน”) เพื่อพัฒนาคลังสิ นค้าเพื่อให้เช่าและ/หรื อขาย โดยมี ทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท ประกอบด้วยหุน้ สามัญจานวน 100,000 หุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 10 บาท และ ถือโดยบริ ษทั ย่อยร้อยละ 59.99 ของทุนจดทะเบียน โดยบริ ษทั ร่ วมทุนดังกล่าวได้ จดทะเบียนจัดตั้งบริ ษทั กับกระทรวงพาณิ ชย์เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2559 รายละเอียดของเงินลงทุนในการร่ วมค้า (ก) มูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนในการร่ วมค้า

กิจการที่ควบคุมร่ วมกัน บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด (1) บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด(1) บริ ษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด(1) รวม (1)

หน่วย:พันบาท

งบการเงินรวม ราคาทุน มูลค่าตามวิธีส่วนได้เสี ย 2559 2558 2559 2558 2,550 2,040 600 5,190

2,550 2,040 4,590

-

2,218 1,850 4,068

ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุขอ้ 17 บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย 39 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

155


รวม

(1)

156 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

-

(1)

(1)

22,680,977 10,334,949 33,015,926 226,842 226,842 226,842 226,842

ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุขอ้ 17 บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็ นสิ นทรัพย์ที่ ถือไว้เพื่อขาย

40 ราคาทุน 1 มกราคม 2558 ซื้ อเพิ่ม จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน 31 ธันวาคม 2558 ซื้ อเพิ่ม จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก ดอกเบี้ยจ่ายที่ถือเป็ นต้นทุน จัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย 31 ธันวาคม 2559

10,840,639 2,631,778 (158,558) (1,954,179) 11,359,680 82,350 (91,599) (1,069,857) 10,280,574 -

2,661,558 4,877,124 (3,275,962) 60,843 4,323,563 1,641,775 (4,498,151) 20,543 1,487,730 -

(4,841) 215,554 210,713 -

สิ นทรัพย์ ส่ วนกลาง

13,502,197 7,508,902 (158,558) (5,230,141) 60,843 15,683,243 1,724,125 (96,440) (5,352,454) 20,543 11,979,017 -

หน่วย:พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 1,381,685 (27,798) 252,668 1,606,555 (471) 368,208 1,974,292 -

ที่ดินและ ส่วนปรับปรุ ง ที่ดิน

6,114,043 (173,727) 408,165 6,348,481 (66) 797,665 7,146,080 -

อาคารโรงงาน และคลังสิ นค้า

19,637 19,637 (19,637) -

อาคารชุด ให้เช่า

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย

ในระหว่างปี กลุ่มบริ ษทั ไม่ได้รับเงินปันผลจากการร่ วมค้า

งานระหว่าง ก่อสร้าง

รวม

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่อยูใ่ นระหว่างการพัฒนาและ พร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่า 7,515,365 (201,525) 660,833 7,974,673 (537) 1,146,236 9,120,372 -

รวม

41

21,017,562 7,508,902 (360,083) (4,569,308) 60,843 23,657,916 1,724,125 (96,977) (4,206,218) 20,543 21,099,389 -

รวมทั้งสิ้ น

หน่วย: พันบาท

หน่วย:พันบาท งบการเงินรวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2558 273 (64) 176 (72) (277) 172 (136)

ที่ดินและ ส่ วนปรับปรุ ง ที่ดิน

งบการเงินรวม 2559 2558

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่อยูใ่ นระหว่างการพัฒนา

14. อสั งหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน งบการเงินรวม

บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 6 จากัด บริ ษทั ไทคอน เด็มโก้ เพาเวอร์ 11 จากัด บริ ษทั ทีพาร์ค บีเอฟทีแซด จากัด รวม

14.1.1 การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี

กิจการที่ควบคุมร่ วมกัน

14.1 อสั งหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนที่อยู่ในระหว่ างการพัฒนาและพร้ อมให้ เช่ า/ขาย

(ข) ส่ วนแบ่งกาไร(ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่ วมค้า

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

157


42

-

1,175,289 -

22,680,977 7,037,782

14.2.1 การเปลี่ยนแปลงของมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

-

ราคาทุน 1 มกราคม 2558 จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก จัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย 31 ธันวาคม 2559 ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่จดั ประเภท เป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559

ที่ดินและ ส่ วนปรับปรุ งที่ดิน

งบการเงินรวม อาคารโรงงาน และคลังสิ นค้า

หน่วย: พันบาท

รวม

2,379,691 (298,091) 1,987,225 4,068,825 (46,025) 761,658 (4,784,458) -

6,973,322 (1,766,752) 2,660,995 7,867,565 (2,658) 3,408,095 (11,273,002) -

9,353,013 (2,064,843) 4,648,220 11,936,390 (48,683) 4,169,753 (16,057,460) -

84,949 (4,673) 34,752 115,028 18,659 (6,158) 8,867

782,442 764,815 (113,221) 52,377 1,486,413 299,484 (265) 27,327

867,391 764,815 (117,894) 87,129 1,601,441 318,143 (6,423) 36,194

(136,396) -

(1,812,959) -

(1,949,355) -

3,953,797 -

6,381,152 -

10,334,949 -

31 ธันวาคม 2559

4,318,260 11,324,935

ค่าเสื่ อมราคาสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่จดั ประเภท เป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย 31 ธันวาคม 2559 มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2558

158

-

18,703 1,592,428 15,643,195

5,398,397

(1,586) 5,303 34,745 -

(3,636) -

36,412 -

1,140,463 -

467 467 934 194 (1,128) 528,664 490,295 (10,533) (58,342) 950,084 220,373 (6) (29,988) 5,504 (28,132) 8,501 (14,127) 4,565 (154) 8,130 27,279 12,769 40,048 12,118 (1,445) (14,309) 3,371 1,932 5,303 23,908 10,837 34,745 -

รวม สิ นทรัพย์ ส่ วนกลาง งานระหว่าง ก่อสร้าง ที่ดินและ ส่วนปรับปรุ ง ที่ดิน

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่อยูใ่ นระหว่างการพัฒนา

12,118 (1,445) (14,309)

อาคารชุด ให้เช่า อาคารโรงงาน และคลังสิ นค้า ที่ดินและ ส่ วนปรับปรุ ง ที่ดิน

งบการเงินรวม

อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน พร้อมให้เช่า/ขาย

-

1,138,877 -

561,914 490,762 (38,665) (37,072) 976,939 237,250 (1,605) (37,295) 534,635 490,762 (38,665) (49,841) 936,891 225,132 (160) (22,986)

รวม

รวมทั้งสิ้ น

หน่วย: พันบาท

14.2 อสั งหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุนให้ เช่ า

43

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

159


ที่ดิน 1 มกราคม 2558 ไม่เคลื่อนไหวระหว่างปี 31 ธันวาคม 2558 ไม่เคลื่อนไหวระหว่างปี 31 ธันวาคม 2559

งบการเงินเฉพาะกิจการ ต้นทุนการพัฒนา ต้นทุนการ ที่ดินเพื่อขาย กูย้ ืม

181,622 181,622 181,622

43,721 43,721 43,721

หน่วย: พันบาท

1,499 1,499 1,499

รวม 226,842 226,842 226,842

14.2.4 ภาระค้ าประกันของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่า

14.2.2 มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน งบการเงินรวม 2559 2558 ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดิน พร้อมอาคารโรงงานและ คลังสิ นค้าให้เช่า (1)

254,934 (1)

โดยอสังหาริ มทรั พ ย์เพื่ อ การลงทุ นที่ ใ ห้เ ช่ า ตามสัญญาเช่ า ด าเนิ นงานดังกล่ าว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 จะก่อให้เกิดรายได้ค่าเช่าขั้นต่าในอนาคตดังนี้ หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 ภายใน 1 ปี 18 863 18 18 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 71 2,123 71 71 มากกว่า 5 ปี 54 789 54 72

13,757,244

หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

254,934

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่าของบริ ษทั ฯบางส่ วนได้ใช้เป็ น หลักประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกูย้ ืมระยะสั้น และเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน (หมาย เหตุ 18 และ 21)

254,934

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่ จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย จานวน 18,790 ล้านบาท ในปี 2559 และ 2558 มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนใช้ราคาประเมินโดยผู ้ ประเมินราคาอิสระ ทั้งนี้ การประเมินมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวจะใช้เกณฑ์ราคาตลาดสาหรับ ที่ดินรอการพัฒนาและ/หรื อที่ ดินอยู่ระหว่างการพัฒนา และใช้เกณฑ์วิธีพิจารณาจากรายได้ (Income Approach) สาหรับอาคารโรงงานและคลังสิ นค้าพร้อมให้เช่า/ขาย ข้อสมมติฐาน หลักที่ ใช้ในการประเมิ นราคาอาคารโรงงานและคลังสิ นค้า ดังกล่ าวประกอบด้วย อัต รา ผลตอบแทน อัตราพื้นที่วา่ ง และอัตราการเติบโตระยะยาวของค่าเช่า

14.2.3 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่าตามสัญญาเช่าดาเนินงาน บริ ษทั ฯ มีสัญญาเช่ าดาเนิ นงานที่เกี่ ยวข้องกับการให้เช่าที่ ดินกับบริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ ง จานวน 3 สัญญา มีระยะเวลาเช่า 12 ปี โดยกาหนดอัตราค่าเช่าไร่ ละ 40,000 บาทต่อปี และให้ชาระค่าเช่า เป็ นรายเดือนๆละ 1.5 ล้านบาท รวมเป็ นเงินค่าเช่าตลอดอายุสญ ั ญาจานวนรวม 211.6 ล้านบาท

44

160

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

161


162 ROJANA ANNUAL REPORT 2016 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

163

อาคารและสิ่ ง ปลูกสร้าง

ที่ดินและส่วน ปรับปรุ งที่ดิน

992,102

31 ธันวาคม 2559

429,462

475,604

(17,985) (171) (573) 278,110 -

382 1,008,639

276,168 22,519 (1,848)

86 296 -

251,259 45,281 (15,728) (4,910) 266

(96,679) (3,050) 707,572

(34,234) 992,484

49,059 (48,973) -

661,647 3,607 (51,969) 136,592 1,895 751,772 24,497 (3,100) 34,132

อาคารและสิ่ ง ปลูกสร้าง

1,140,882 3,591 (8,284) (127,464) 1,008,725 14,609 3,384

31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ส่วนที่จาหน่าย/ตัดจาหน่าย ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วน ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย โอนเข้า/โอนออก ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2559 หัก เงินอุดหนุนรัฐบาล มูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชี 31 ธันวาคม 2558

ค่ าเสื่ อมราคาสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่วนที่จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน

ราคาทุน 1 มกราคม 2558 ซื้อเพิ่ม จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2558 ซื้อเพิ่ม จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้า/โอนออก จัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้เพื่อขาย ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน 31 ธันวาคม 2559

ที่ดินและส่วน ปรับปรุ งที่ดิน

15. ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์

217,120

127,862

(87,184) (2,740) 262,508 -

348,131 4,301 -

335,711 12,420 -

อาคารห้องพัก ให้เช่า

479,628

474,143 1,850 475,993 3,635 -

อาคารห้องพัก ให้เช่า

831,220

849,194

67,463 (1,329,957)

49,489 17,974 -

31,515 17,974 -

เขื่อน ป้องกันน้ าท่วม

2,228,640

2,228,640 2,228,640 -

เขื่อน ป้องกันน้ าท่วม

1,770,293

1,630,877

(4) 588,191 -

483,716 104,619 (140)

394,670 93,056 (4,010) -

ระบบผลิตน้ าและ บาบัดน้ าเสี ยเพื่อ อุตสาหกรรม

2,358,484

1,686,269 (5,080) 433,404 2,114,593 3,566 (310) 240,635

ระบบผลิตน้ าและ บาบัดน้ าเสี ยเพื่อ อุตสาหกรรม

13,679,059

14,365,821

5,841,049 -

5,055,693 785,356 -

4,265,797 789,896 -

โรงไฟฟ้า

งบการเงินรวม

19,520,108

19,389,173 8,936 23,405 19,421,514 47 98,547

โรงไฟฟ้า

งบการเงินรวม

25,383

173,854

948 (9) 150,781 -

112,722 42,136 (5,016)

95,543 19,874 (2,747) 52

เครื่ องจักร อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้

(130,235) 176,164

261,118 9,763 (6,019) 21,714 286,576 12,692 (5,173) 12,304

เครื่ องจักร อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องใช้

13,208

29,244

(57,284) (565) (60) 104,514 -

142,184 20,964 (725)

118,218 24,503 (4,125) 3,588 -

เครื่ องตกแต่ง และอุปกรณ์ สานักงาน

(67,552) (82) 117,722

157,415 12,455 (1,631) 3,112 77 171,428 14,228 (805) 505

เครื่ องตกแต่ง และอุปกรณ์ สานักงาน

41,847

59,701

(18,870) 119,930 -

127,132 21,739 (10,071)

109,758 20,799 (3,384) (41)

ยานพาหนะ

(33,185) (33) 161,777

157,702 36,040 (6,842) (67) 186,833 19,246 (11,084) -

ยานพาหนะ

4,174,128

1,372,159

-

-

-

(361,885) (3,165) 30,916,707

26,735,718 1,443,537 (83,256) (79,671) 1,905 28,018,233 3,242,506 (20,472) 41,490

รวม

22,173,822

20,092,955

(181,323) (2,532) (642) 7,412,928 (1,329,957)

6,595,321 1,019,904 (17,800)

5,602,471 1,072,862 (29,994) (50,295) 277

รวม

หน่วย: พันบาท

46

47

-

-

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

4,174,128

578,729 1,367,295 (3,431) (570,434) 1,372,159 3,149,986 (348,017)

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

หน่วย: พันบาท


164 ROJANA ANNUAL REPORT 2016 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

165

ค่าเสื่ อมราคาสะสม 1 มกราคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับ ส่ วนที่จาหน่าย 31 ธันวาคม 2558 ค่าเสื่ อมราคาสาหรับปี ค่าเสื่ อมราคาสาหรับส่ วนที่ จาหน่าย/ตัดจาหน่ าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2559 หัก เงินอุดหนุนรัฐบาล มูลค่ าสุ ทธิตามบัญชี 31 ธันวาคม 2558 31 ธันวาคม 2559

ราคาทุน 1 มกราคม 2558 ซื้ อเพิ่ม จาหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2558 ซื้ อเพิม่ จาหน่าย/ตัดจาหน่าย โอนเข้า/โอนออก 31 ธันวาคม 2559

(2,603) 244,779 8,589 (1,848) (171) 251,349 232,898 236,705

138,194 138,194

อาคารและ สิ่ งปลูกสร้าง

ที่ดินและส่ วน ปรับปรุ งที่ดิน

220,417 26,965

435,140 2,349 (12,518) 52,706 477,677 13,201 (3,100) 276 488,054

145,253 (7,059) 138,194 138,194

-

อาคารและ สิ่ งปลูกสร้าง

ที่ดินและส่ วน ปรับปรุ งที่ดิน

127,862 129,936

(2,740) 349,692 -

348,131 4,301

335,711 12,420

อาคารห้องพัก ให้เช่า

474,143 1,850 475,993 3,635 479,628

อาคารห้องพัก ให้เช่า

849,195 831,221

67,462 (1,329,957)

49,488 17,974

31,515 17,973

เขื่อนป้ องกัน น้ าท่วม

2,228,640 2,228,640 2,228,640

เขื่อนป้ องกัน น้ าท่วม

90,291 87,357

(605) 946 64,892 -

(1,394) 54,024 10,527

3,419 6,420

(5) (565) 9,134 -

8,553 1,151

7,583 970

29,932 22,102

(390) 91,767 -

81,090 11,067

69,980 11,110

ยานพาหนะ

งบการเงินเฉพาะกิจการ อุปกรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องตกแต่งและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์สานักงาน 45,621 9,797

90,155 20,867 111,022 3,297 (450) 113,869

ยานพาหนะ

9,667 2,305 11,972 3,587 (5) 15,554

141,481 4,228 (1,394) 144,315 8,554 (620) 152,249

งบการเงินเฉพาะกิจการ อุปกรณ์เครื่ องมือ เครื่ องตกแต่งและ เครื่ องใช้ อุปกรณ์สานักงาน

149 -

-

-

-

สิ นทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง

55,038 148 (2,331) (52,706) 149 127 (276) -

สิ นทรัพย์ระหว่าง ก่อสร้าง

1,471,940 1,451,935

(2,848) (2,530) 834,296 (1,329,957)

(3,997) 786,065 53,609

710,827 79,235

รวม

หน่วย: พันบาท

48

3,579,517 31,747 (23,302) 3,587,962 32,401 (4,175) 3,616,188

รวม

หน่วย: พันบาท


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ที่ ดิน ส่ วนปรั บปรุ งที่ ดินและอาคารบางส่ วนของกลุ่มบริ ษทั ได้ใช้เป็ น หลักประกันเงิ นเบิกเกิ นบัญชี เงิ นกูย้ ืมระยะสั้น และเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น (หมายเหตุ 18 และ 21) ตามงบการเงิ นรวมมี สินทรัพย์ที่หักค่ าเสื่ อมราคาหมดแล้ว แต่ยงั ใช้งานอยู่มีราคาตามบัญชี ก่อนหักค่ า เสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 จานวน 427 ล้านบาท และ 481.6 ล้านบาท ตามลาดับ 16. สิ นทรัพย์ ไม่ มตี วั ตน งบการเงินรวม

ราคาทุน ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ซื้อเพิ่มระหว่างปี ตัดจาหน่ายระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ซื้อเพิ่มระหว่างปี จัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ค่าตัดจาหน่ ายสะสม ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 ค่าตัดจาหน่ายระหว่างปี ตัดจาหน่ายระหว่างปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ค่าตัดจาหน่ายระหว่างปี ค่าตัดจาหน่ายสาหรับส่ วนที่จดั ประเภท เป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มูลค่าสุ ทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

สิ ทธิในการใช้ ท่อส่ งก๊าซ

โปรแกรมสาเร็ จรู ป

หน่วย: พันบาท

รวม

192,951 192,951 192,951

31,094 2,427 (168) 33,353 1,374 (31,954) 2,773

224,045 2,427 (168) 226,304 1,374 (31,954) 195,724

96,044 10,155 106,199 10,156

25,461 1,876 (26) 27,311 2,132

121,505 12,031 (26) 133,510 12,288

116,355

(28,428) 1,015

(28,428) 117,370

86,752 76,596

6,042 1,758

92,794 78,354

17. สิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้ เพื่อขาย/การดาเนินงานที่ยกเลิก ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุขอ้ 12 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2559 ที่ประชุมวิสามัญผูถ้ ือหุ น้ ครั้งที่ 1/2559 ของบริ ษทั TICON มีมติอนุมตั ิ เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 1,099.1 ล้านบาท เป็ น 1,834.1 ล้านบาท โดยการ ออกหุ ้นสามัญจานวน 735.0 ล้านหุ ้น มูลค่าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาทเป็ นจานวนเงิ น 735 .0 ล้านบาท และ อนุ มตั ิ เสนอขายและจัดสรรหุ น้ สามัญเพิ่มทุน ให้แก่ บริ ษทั เฟรเซอร์ ส พร็ อพเพอร์ ต้ ี โฮลดิ้ง (ประเทศ ไทย) จากัด(“FPHT”) โดยเป็ นการเสนอขายให้แก่บุคคลในวงจากัด (Private Placement) ในราคาเสนอ ขายหุน้ ละ 18 บาท รวมเป็ นมูลค่าทั้งสิ้ นไม่เกิน 13,230.0 ล้านบาท ซึ่ งคิดเป็ นสัดส่ วนประมาณร้อยละ 40 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมดของบริ ษทั TICON หลังการเพิ่มทุน มีผลทาให้ภายหลังการเพิ่มทุนสัดส่ วนการ ถือหุ ้นของบริ ษทั ฯ ลดลงจากร้อยละ 43.55 เป็ นร้อยละ 26.10 บริ ษทั ฯได้ทาการประเมินเรื่ องการควบคุม บริ ษทั TICON และสรุ ปว่าบริ ษทั ฯ สู ญเสี ยการควบคุมในบริ ษทั TICON และจะปรับเปลี่ยนสถานะเงิ น ลงทุนในบริ ษทั TICON จากเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยเป็ นเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ซึ่ งภายหลังการเพิ่มทุน เสร็ จสมบูรณ์ จะมีผลให้บริ ษทั ฯ หมดอานาจควบคุมในบริ ษทั TICON และไม่นางบการเงิ นของบริ ษทั TICON มาจัดทางบการเงินรวม และเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 บริ ษทั FPHT ได้ชาระค่าหุ น้ สามัญเพิ่ม ทุนให้กบั TICON แล้ว โดยบริ ษทั TICON ได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชาระแล้วกับกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ ถือไว้เพื่อขายและการดาเนิ นงานที่ยกเลิก บริ ษทั ฯแสดงสิ นทรัพย์ หนี้ สิน และส่ วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั TICON เป็ นรายการแยกต่างหาก ภายใต้หวั ข้อ “สิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรั พย์ที่ถือไว้เพื่ อขาย” “หนี้ สินที่ เกี่ ย วข้องโดยตรงกับสิ นทรั พย์ที่จดั ประเภทเป็ น สิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” และ “จานวนที่รับรู ้ในส่ วนของเจ้าของที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์ที่จดั ประเภท เป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย” ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และแยกแสดงผลการ ดาเนิ นงานของ TICON เป็ น “กาไรสาหรับปี จากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก ” ในส่ วนของกาไรขาดทุนรวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ที่แสดงเปรี ยบเทียบ

ในปี 2548 บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งได้ทาหนังสื อมอบโอนกรรมสิ ทธิ์ ในระบบท่อส่ งก๊าซที่เชื่ อมต่อกับระบบ ท่อของ ปตท. ให้กบั บริ ษทั ปตท. จากัด (มหาชน) เพื่ อรับก๊าซจากบริ ษทั ปตท. จากัด (มหาชน) ตาม เงื่อนไขในสัญญาซื้ อขายก๊าซ โดยบริ ษทั ย่อยยังคงมีสิทธิ ในการใช้ท่อส่ งก๊าซดังกล่าวตามระยะเวลาของ สัญญาซื้ อขายก๊าซธรรมชาติ ซึ่ งมีอายุ 21 ปี และสามารถต่ออายุสญ ั ญาออกไปได้อีก 4 ปี 50

166

51 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

167


สิ นทรัพย์ หนี้ สิน และส่ วนของเจ้าของที่ เกี่ ยวข้องกับ TICON ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และผลการ ดาเนินงานสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ของ TICON มีรายละเอียดดังนี้

งบการเงินรวม งบแสดงฐานะการเงิน สิ นทรัพย์ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราว ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น เงินให้กยู้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินฝากสถาบันการเงินที่มีภาระผูกพัน ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดาเนินงานที่ยงั ไม่เรี ยกชาระ เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในการร่ วมค้า เงินลงทุนในบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่อยูใ่ นระหว่าง การพัฒนาและพร้อมให้เช่า/ขาย อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนให้เช่า ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ค่าความนิยม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ค่าเช่าที่ดินจ่ายล่วงหน้า เงินจ่ายล่วงหน้าค่าที่ดินและก่อสร้าง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอิ่น สิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้ เพื่อขาย

168

หน่วย: พันบาท งบการเงิน เฉพาะกิจการ

284,268 22,144 138,030 108,669 249,377 240 121,171 4,902,190 4,840 257

6,829,407 -

19,924,101 14,108,105 180,562 1,171,358 3,526 244,365 684,192 109,767 23,306 42,280,468

6,829,407

งบการเงินรวม หนีส้ ิ น เงินกูย้ ืมระยะสั้น เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน เงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กู้ หนี้สินอื่น - เงินมัดจารับ ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รายได้ค่าเช่าที่ดินรับล่วงหน้า หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี หนีส้ ิ นที่เกีย่ วข้ องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้ เพื่อขาย ส่ วนของผู้ถือหุ้น ส่ วนขาดจากการเปลี่ยนสัดส่ วนการถือหุ น้ ในบริ ษทั ย่อย (กาไร) ขาดทุน จากการแปลงค่า งบการเงินของ บริ ษทั ย่อย จานวนที่รับรู้ ในส่ วนของเจ้ าของที่เกีย่ วข้ องกับ สิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ ที่ถือไว้ เพื่อขาย

หน่วย: พันบาท งบการเงิน เฉพาะกิจการ

2,026,248 1,060,000 493,477 1,319 139,968 6,204 783,766 1,032,391 17,340,000 367,945 41,998 1,318,758 735,869

-

25,347,943

-

2,449 (1,887)

-

562

-

52 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

169


ข้อมูลกระแสเงินสดของ TICON สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีดงั ต่อไปนี้

งบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้จากการขายที่ดินและอาคารโรงงาน รายได้จากการให้บริ การ รายได้จากการให้เช่า รายได้ค่าบริ หารจัดการจากบริ ษทั ร่ วม กาไรจากการขายเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม รายได้อื่น รวมรายได้ ค่ าใช้ จ่าย ต้นทุนขายที่ดินและอาคารโรงงาน ต้นทุนการให้บริ การ ต้นทุนการให้เช่า ประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้องกับ การขายอสังหาริ มทรัพย์ (โอนกลับรายการ) ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวมค่ าใช้ จ่าย กาไรก่ อนส่ วนแบ่ งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษทั ร่ วม และการร่ วมค้ า กาไรที่ยงั ไม่ เกิดขึน้ จากการขาย อสั งหาริมทรัพย์ ให้ บริษทั ร่ วม ค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและ ค่ าใช้ จ่าย ภาษีเงินได้ จากการดาเนินงานที่ยกเลิก ส่ วนแบ่งกาไร(ขาดทุน)จากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ส่ วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่ วมค้า กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ให้บริ ษทั ร่ วม กาไรก่ อนค่ าใช้ จ่ายทางการเงินและค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ จากการดาเนินงานที่ยกเลิก ต้นทุนทางการเงิน ขาดทุนก่ อนค่ าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ จากการดาเนินงานที่ยกเลิก ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ขาดทุนสาหรับปี จากการดาเนินงานที่ยกเลิก

170

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม 2559 2558 250,676 606,352 644,660 201,121 31,233 66,075 1,800,117

3,345,606 532,798 581,531 204,123 82,114 4,746,172

174,733 106,129 342,936

2,799,865 90,393 485,569

(59,326) 43,330 752,916 1,360,718

33,317 36,437 898,448 4,344,029

439,399 252,217 172 -

402,143 248,467 (136) (18,221)

691,788 (811,958) (120,170) (84,590) (204,760)

632,253 (762,212) (129,959) (8,672) (138,631)

กระแสเงินสดสุ ทธิ จากกิจกรรมดาเนินงาน กระแสเงินสดสุ ทธิ ใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดสุ ทธิ ใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน

หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม 2559 2558 87,143 3,247,265 (626,233) (6,672,438) (308,754) 4,230,118

กาไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ของการดาเนินงานที่ยกเลิก มีรายละเอียดดังนี้

กาไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐาน (บาท) กาไร(ขาดทุน)ต่อหุน้ ปรับลด (บาท)

54

งบการเงินรวม 2559 2558 (0.13) (0.06) (0.06)

55

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

171


18. เงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน

19.

เงินกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ประกอบด้วย:

เงินกูย้ ืมระยะสั้น ตัว๋ แลกเงิน หัก: ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี ตัว๋ แลกเงิน -สุ ทธิ รวม

งบการเงินรวม 2559 2558 1,230,000 3,550,000 4,950,000 4,005,000 (22,277) (14,176) 4,927,723 3,990,824 6,157,723 7,540,824

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 1,230,000 1,510,000 4,950,000 4,005,000 (22,277) (14,176) 4,927,723 3,990,824 6,157,723 5,500,824

เงินกูย้ ืมระยะสั้นดังกล่าวค้ าประกันโดยทรัพย์สินร่ วมกับเงินกูย้ ืมระยะยาว โดยการจดจานองต้นทุนการ พัฒนาที่ดิน ที่ดินรอการพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ที่ดินอาคารพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง เครื่ องจักร งานระหว่างก่อสร้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มี วงเงิ นเบิ กเกิ นบัญชี และเงิ นกูย้ ืมระยะสั้นที่ ยงั มิ ได้เบิ กใช้เป็ น จานวน 2,440 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2558: 2,230 ล้านบาท)

เจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่น

เจ้ าหนีก้ ารค้ า กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวมเจ้ าหนี้การค้ า เจ้ าหนีอ้ ื่น กิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการอื่น รวมเจ้ าหนี้อื่น รวมเจ้ าหนีก้ ารค้ าและเจ้ าหนีอ้ ื่น

หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

งบการเงินรวม 2559 2558 377,527 377,527

785,421 785,421

11,502 7,282 18,784

8,969 4,357 13,326

134,754 134,754 512,281

52,547 254,530 307,077 1,092,498

2,867 2,867 21,651

990 990 14,316

20. หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หัก : ดอกเบี้ยรอตัดจาหน่าย รวม หัก : ส่ วนที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน-สุ ทธิ

หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม 2559 2558 4,727 (666) 4,061 (1,150) 2,911

บริ ษทั ย่อยได้ทาสัญญาเช่ าการเงินเพื่อเช่ายานพาหนะใช้ในการดาเนิ นงานของกิจการโดยมีกาหนดการ ชาระค่าเช่าเป็ นรายเดือน และอายุของสัญญามีระยะเวลา 4 ปี บริ ษทั ฯได้จดั ประเภทหนี้ สินตามสัญญาเช่ าทางการเงินเป็ นหนี้ สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย

172

56 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

57

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

173


บริษทั ย่ อย

21. เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน งบการเงินรวม 2559 2558 เงินกูย้ มื ระยะยาว: บริ ษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จากัด (มหาชน) บริ ษทั โรจนะเพาเวอร์ จากัด บริ ษทั โรจนะ อินดัสเตรี ยล แมเนจเม้นท์ จากัด บริ ษทั โรจนะ เอ็นเนอร์ จี จากัด บริ ษทั ไทคอน อินดัสเทรี ยล คอนเน็คชัน่ จากัด (มหาชน) รวม หัก: ดอกเบี้ยจ่ายรอตัดบัญชี คงเหลือ หัก: เงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกู้ยืมระยะยาว - สุ ทธิ

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

4,189,847 10,150,357 399,900 1,683,500

4,593,744 9,036,957 519,900 1,872,947

4,189,847 -

4,593,744 -

16,423,604 (8,307) 16,415,297 (1,515,039) 14,900,258

1,026,880 17,050,428 (9,605) 17,040,823 (2,018,242) 15,022,581

4,189,847 (8,307) 4,181,540 (821,884) 3,359,656

4,593,744 (9,605) 4,584,139 (903,896) 3,680,243

การเปลี่ยนแปลงของเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 กูเ้ พิ่มระหว่างปี จ่ายคืนระหว่างปี โอนเป็ นหนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

17,040,823 2,730,000 (2,323,135)

4,584,139 500,000 (902,599)

(1,032,391) 16,415,297

4,181,540

บริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินกูย้ ืมระยะยาวส่ วนใหญ่คิดดอกเบี้ยในอัตราที่อา้ งอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้ กูย้ ืมขั้นต่าของธนาคาร (MLR) ลบอัตราที่กาหนดในสัญญา และมีกาหนดชาระเงินต้นเป็ นรายเดือน หรื อ ราย 6 เดื อน หรื อรายไตรมาสและชาระดอกเบี้ ยเป็ นประจาทุ กเดื อน และต้องชาระคื นเงิ นต้นทั้งหมด ภายในเดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2570 (2558 : เดือนธันวาคม 2559 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2570) 58

174

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 เงินกูย้ ืมระยะยาวส่ วนใหญ่คิดดอกเบี้ยในอัตราที่อา้ งอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้ กูย้ ืมขั้นต่าของธนาคาร (MLR) ลบอัตราที่กาหนดในสัญญา และมีกาหนดชาระเงินต้นเป็ นรายเดือน หรื อ ราย 6 เดื อน หรื อรายไตรมาส และชาระดอกเบี้ ยเป็ นประจาทุ กเดื อน และต้องชาระคื นเงิ นต้นทั้งหมด ภายในเดือนมิถุนายน 2559 ถึงเดือนกรกฎาคม 2569 (2558: เดือนธันวาคม 2558 ถึงเดือนกรกฎาคม 2569) ภายใต้สัญญาเงินกู้ กลุ่มบริ ษทั ต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขทางการเงิ นบางประการ เช่น การดารงอัตราส่ วน หนี้ สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น อัตราส่ วนความสามารถในการชาระหนี้ ในอัตราที่กาหนดไว้ในสัญญา เป็ น ต้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีวงเงินกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินที่ยงั มิได้เบิกใช้เป็ นจานวน รวมประมาณ 1,800 ล้านบาท (31 ธันวาคม 2558: 8,533 ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ต้นทุนการพัฒนาที่ดิน ที่ดินรอการพัฒนา ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์บางส่ วน ของกลุ่มบริ ษทั และใบหุน้ ของบริ ษทั ย่อยบางส่ วนถูกจดจานองเป็ นประกันเงินกูย้ ืมระยะยาว 22. หุ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั มีหุน้ กูช้ นิ ดระบุชื่อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ และไม่มี หลักประกัน มีมูลค่าที่ตราไว้หน่วยละ 1,000 บาท และมีราคาเสนอขายหน่วยละ 1,000 บาท ทั้งนี้ หุน้ กู้ ดังกล่าวมีขอ้ กาหนดที่สาคัญบางประการ เช่น การดารงอัตราส่ วนหนี้สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุน้ เป็ นต้น ครั้งที่ บริษทั ฯ 1/2554 1/2554 1/2557 2/2557 1/2558 2/2558 2/2558 1/2559 1/2559

วันที่ออก

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม จานวนหน่ วย จานวน 2559 2558 2559 2558 (ล้ านหน่ วย) (ล้ านหน่ วย) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท)

อัตราดอกเบี้ย

อายุหุ้นกู้

วันครบกาหนด ไถ่ถอน

(ร้ อยละต่ อปี )

13 พฤษภาคม 2554 13 พฤษภาคม 2554 30 เมษายน 2557 23 กรกฎาคม 2557 27 เมษายน 2558

0.10 0.08 0.10 -

0.21 0.10 0.08 0.10 0.50

100 80 100 -

212 100 80 100 500

4.35 4.75 4.27 4.27 2.85

29 พฤษภาคม 2558 29 พฤษภาคม 2558 19 พฤษภาคม 2559 19 พฤษภาคม 2559 รวมบริษทั ฯ

0.38 0.62 0.37 0.63 2.28

0.38 0.62 1.99

382 618 374 626 2,280

382 618 1,992

4.00 4.40 3.40 4.10

5 ปี 7 ปี 3 ปี 3 ปี 11 เดือน 30 วัน 3 ปี 5 ปี 3 ปี 5 ปี

13 พฤษภาคม 2559 13 พฤษภาคม 2561 28 เมษายน 2560 23 กรกฎาคม 2560 27 เมษายน 2559 29 พฤษภาคม 2561 29 พฤษภาคม 2563 19 พฤษภาคม 2562 19 พฤษภาคม 2564

59 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

175


ครั้งที่ บริษทั ย่อย 1/2554 2/2554 3/2554 4/2554 1/2555 3/2555 4/2555 5/2555 5/2555 6/2555 1/2556 2/2556 2/2556 2/2556 3/2556 3/2556 4/2556 5/2556 1/2557 1/2557 2/2557 2/2557 3/2557 4/2557 1/2558 2/2558 2/2558 3/2558 3/2558 3/2558

วันที่ออก

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม จานวนหน่ วย จานวน 2559 2558 2559 2558 (ล้ านหน่ วย) (ล้ านหน่ วย) (ล้ านบาท) (ล้ านบาท)

อัตราดอกเบี้ย

-

0.65 0.35 0.65 0.35 0.10 0.50 0.30 1.00 0.50 0.30 1.20 0.50 0.60 0.30 0.44

-

650 350 650 350 100 500 300 1,000 500 300 1,200 500 600 300 440

4.23 4.78 4.60 4.60 4.60 4.28 4.49 4.05 4.17 4.90 3.62 3.60 4.00 4.30 4.13 4.73 4.49

18 ตุลาคม 2556 17 มกราคม 2557 17 มกราคม 2557 18 กรกฎาคม 2557 18 กรกฎาคม 2557 21 กรกฎาคม 2557 3 ธันวาคม 2557 19 มกราคม 2558 15 พฤษภาคม 2558 15 พฤษภาคม 2558 14 สิ งหาคม 2558 14 สิ งหาคม 2558 14 สิ งหาคม 2558 รวมบริษทั ย่อย รวมทั้งสิ้น

2.28

0.62 1.00 0.60 1.15 0.80 0.53 0.20 1.55 1.00 1.00 0.70 0.60 0.70 18.19 20.18

-

620 1,000 600 1,150 800 530 200 1,550 1,000 1,000 700 600 700 18,190 20,182

4.85 3.89 4.71 3.82 4.80 3.82 2.90 3.08 2.91 3.69 2.44 3.22 4.03

5 ปี 20 พฤษภาคม 2559 7 ปี 8 กรกฎาคม 2561 5 ปี 28 ธันวาคม 2559 5 ปี 30 ธันวาคม 2559 5ปี 10 มกราคม 2560 3 ปี 18 พฤษภาคม 2558 5 ปี 5 กรกฎาคม 2560 3 ปี 17 สิ งหาคม 2558 5 ปี 17 สิ งหาคม 2560 10 ปี 26 กันยายน 2565 3 ปี 11 กุมภาพันธ์ 2559 3 ปี 15 พฤษภาคม 2559 5 ปี 15 พฤษภาคม 2561 7 ปี 15 พฤษภาคม 2563 3 ปี 12 กันยายน 2559 5 ปี 12 กันยายน 2561 3 ปี 11 เดือน 20 กันยายน 2560 12 วัน 6 ปี 18 ตุลาคม 2562 3 ปี 17 มกราคม 2560 5 ปี 17 มกราคม 2562 3 ปี 18 กรกฎาคม 2560 7 ปี 18 กรกฎาคม 2564 3 ปี 4 วัน 25 กรกฎาคม 2560 2 ปี 4 วัน 7 ธันวาคม 2559 3 ปี 19 มกราคม 2561 4 ปี 15 พฤษภาคม 2562 7 ปี 15 พฤษภาคม 2565 3 ปี 14 สิ งหาคม 2561 5 ปี 14 สิ งหาคม 2563 8 ปี 14 สิ งหาคม 2566

60

176

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ยอดคงเหลือของหุน้ กู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2559 2558

(ร้ อยละต่ อปี )

20 พฤษภาคม 2554 8 กรกฎาคม 2554 28 ธันวาคม 2554 30 ธันวาคม 2554 10 มกราคม 2555 18 พฤษภาคม 2555 5 กรกฎาคม 2555 17 สิ งหาคม 2555 17 สิ งหาคม 2555 26 กันยายน 2555 11กุมภาพันธ์ 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 15 พฤษภาคม 2556 12 กันยายน 2556 12 กันยายน 2556 8 ตุลาคม 2556

2,280

อายุหุ้นกู้

วันครบกาหนด ไถ่ถอน

หุน้ กู้ หัก: หุน้ กูท้ ี่ถึงกาหนดชาระภายในหนึ่งปี หุ้นกู้ - สุ ทธิ

2,280,000 (180,000) 2,100,000

20,182,000 (3,962,000) 16,220,000

หน่วย : พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2,280,000 (180,000) 2,100,000

การเปลี่ยนแปลงในหุน้ กู้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ออกเพิ่มระหว่างปี ไถ่ถอนระหว่างปี โอนเป็ นหนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

1,992,000 (712,000) 1,280,000

หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ

20,182,000 3,400,000 (3,962,000)

1,992,000 1,000,000 (712,000)

(17,340,000) 2,280,000

2,280,000

61 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

177


23.

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน กลุ่มบริ ษ ทั ฯ กาหนดโครงการผลประโยชน์ที่กาหนดไว้เป็ นไปตามการจ่ ายเงิ นชดเชยตามกฎหมาย แรงงานซึ่ งให้สิทธิ แก่พนักงานที่เกษียณอายุและทางานครบระยะเวลาที่ กาหนด เช่น 10 ปี ขึ้นไป ได้รับ เงินชดเชยไม่นอ้ ยกว่าอัตราเงินเดือนเดือนสุ ดท้าย 300 วัน หรื อ 10 เดือน การเปลี่ยนแปลงมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม มีดงั นี้ หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ต้นปี 58,882 52,916 11,407 10,277 ส่ วนที่รับรู้ ในกาไรหรื อขาดทุน : ต้นทุนบริ การในปั จจุบนั 8,261 7,003 745 1,002 ต้นทุนดอกเบี้ย 1,147 1,080 296 128 ส่ วนที่รับรู้ ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น : (กาไร) ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก 2,445 (1,000) (1,569) คณิ ตศาสตร์ประกันภัย ผลประโยชน์ที่จ่ายในระหว่างปี (1,758) (1,117) โอนเป็ นหนี้สินที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับสิ นทรัพย์ (41,998) ที่จดั ประเภทเป็ นสิ นทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อขาย ภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ ปลายปี 26,979 58,882 10,879 11,407 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน รับรู ้ในรายการค่าใช้จ่าย ดังนี้

จากการดาเนินงานต่อเนื่ อง จากการดาเนินงานที่ยกเลิก รวม

178

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

งบการเงินรวม 2559 2558 1,691 2,166 7,717 5,917 9,408 8,083

หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 1,041 1,130 1,041 1,130

62

(กาไร) ขาดทุ นจากการประมาณตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่ รับรู ้ ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่ น เกิดขึ้นจาก หน่วย: พันบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 สมมติฐานด้านประชากรศาสตร์ (2) (4,164) สมมติฐานทางการเงิน 3,977 1,978 52 การปรับปรุ งจากประสบการณ์ (1,530) 1,186 1,517 รวม 2,445 (1,000) 1,569 สมมติฐานที่สาคัญในการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัย ณ วันประเมินสรุ ปได้ดงั นี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 (ร้ อยละต่ อปี ) (ร้ อยละต่ อปี ) (ร้ อยละต่ อปี ) (ร้ อยละต่ อปี ) อัตราคิดลด 1.83 - 3.48 2.92 - 3.74 3.48 2.92 – 3.74 อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต 3.00 - 5.00 4.00 - 5.00 5.00 4.00 – 5.00 อัตราการเปลี่ยนแปลงในจานวน พนักงาน (ขึ้นกับช่วงอายุ) 0.00 - 55.00 0.00- 40.00 0.00 - 45.00 0.00 - 40.00 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สาคัญต่อมูลค่าปั จจุบนั ของภาระ ผูกพันผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน สรุ ปได้ดงั นี้

อัตราคิดลด (ร้ อยละ 0.50) อัตราการขึ้นเงินเดือน (ร้ อยละ 0.50) อัตราการเปลี่ยนแปลงในจานวน พนักงาน (ขึ้นกับช่วงอายุ) (ร้ อย ละ 10.00)

งบการเงินรวม เพิ่มขึ้น ลดลง (606) 653 640 (600)

หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ เพิ่มขึ้น ลดลง (327) 350 343 (324)

(357)

(661)

381

711

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

63

179


24.

ประมาณการหนีส้ ิ น

ยอดคงเหลือต้นปี เพิ่มขึ้นในระหว่างปี ลดลงจากรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริ ง ลดลงจากการโอนกลับรายการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 25.

หน่วย: พันบาท

งบการเงินรวม ประกันราคาซื้ อจาก การใช้สิทธิ เลือกซื้ อ ประกันรายได้ จากผูเ้ ช่ารายย่อย ค่าเช่าและค่าบริ การ ด้วยราคาตลาด 78,828 57,191 1,036 (64,064) (15,800) (57,191) -

รวม 136,019 1,036 (64,064) (72,991) -

ทุนเรื อนหุ้น การเปลีย่ นแปลงทุนจดทะเบียน

การกระทบยอดทุนที่ออกและเรียกชาระแล้ วในปี 2559

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 การใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซื้อหุน้ สามัญ - ROJNA - W3 ครั้งที่ 17 - ROJNA - W3 ครั้งที่ 18 - ROJNA - W3 ครั้งที่ 19 - ROJNA - W3 ครั้งที่ 20 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

2559

2558

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม ลดทุน เพิ่มทุน

จานวนหุน้ (หุ้น) 2,036,579,204 (990,416) -

จานวนเงิน (พันบาท) 2,036,579 (990) -

จานวนหุน้ (หุ้น) 1,997,038,492 (58) 39,540,770

จานวนเงิน (พันบาท) 1,997,039 (1) 39,541

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2,035,588,788

2,035,589

2,036,579,204

2,036,579

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2558 การใช้สิทธิตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซื้อหุน้ สามัญ - ROJNA - W3 ครั้งที่ 13 - ROJNA - W3 ครั้งที่ 14 - ROJNA - W3 ครั้งที่ 15 หุน้ สามัญเพิ่มทุน - ให้แก่บุคคลในวงจากัด - ค่าธรรมเนียมการจัดจาหน่าย หุน้ สามัญเพิ่มทุน - จ่ายหุน้ ปันผล ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558

64 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ทุนชาระแล้ว

(หุ้น)

(พันบาท)

(พันบาท)

1,967,256,174

1,967,256

5,470,701

1,172,802 6,643,726 497,066 44,892,095 2,020,461,863

1,173 6,644 497 44,892 2,020,462

3,424 19,400 1,407 127,044 5,621,976

การกระทบยอดทุนที่ออกและเรียกชาระแล้ วในปี 2558

เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 มีมติอนุมตั ิลดทุนจดทะเบียน จานวน 990,416 บาท จากทุนจดทะเบี ยน 2,036 ล้านบาท เป็ น 2,035 ล้านบาท โดยตัดหุ น้ สามัญคงเหลือที่ ออก เพื่ อ รองรั บ การจ่ า ยหุ ้ น ปั น ผล บริ ษ ัท ได้จ ดทะเบี ย นลดทุ น กับ กระทรวงพาณิ ช ย์แ ล้ว เมื่ อ วัน ที่ 11 พฤษภาคม 2559

180

จานวนหุน้

ส่ วนเกิน มูลค่าหุน้

จานวนหุน้

ทุนชาระแล้ว

ส่ วนเกิน มูลค่าหุน้

(หุ้น)

(พันบาท)

(พันบาท)

วันที่จดทะเบียน กับกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า

8 มกราคม 2559 5 เมษายน 2559 5 กรกฎาคม 2559 22 กรกฎาคม 2559

วันที่จดทะเบียน กับกรมพัฒนา ธุรกิจการค้า

1,755,087,815

1,755,088

4,686,062

715,988 84,268,571 773,546

716 84,269 774

2,148 252,806 2,258

9 มกราคม 2558 7 เมษายน 2558 7 กรกฎาคม 2558

87,859,900

87,860

557,911

3 กุมภาพันธ์ 2558

38,550,354 1,967,256,174

38,550 1,967,257

(30,484) - 22 พฤษภาคม 2558 5,470,701

65 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

181


การจัดการส่ วนทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริ ษทั ในการบริ หารทุนของกลุ่มบริ ษทั นั้นเพื่อดารงไว้ซ่ ึ งความสามารถในการ ดาเนินงานอย่างต่อเนื่องของกลุ่มบริ ษทั เพื่อสร้างผลตอบแทนต่อ ผูถ้ ือหุน้ และเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่มีส่วน ได้เสี ยอื่นและเพื่อดารงไว้ซ่ ึ งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนทางการเงินของทุน

ตามจดหมายของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ ก.ล.ต. ชส. (ว) 2/2548 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2548 เกี่ ยวกับการซื้ อหุ ้นคื นว่าบริ ษทั มหาชนจากัดจะซื้ อหุ ้นคื นได้ไม่เกิ นวงเงิ น กาไรสะสม และให้บริ ษทั ฯต้องกันกาไรสะสมไว้เป็ นเงิ นสารองเท่ากับจานวนเงิ นที่ ได้จ่ายซื้ อหุ ้นคื น จนกว่าจะมีการจาหน่ ายหุ ้นซื้ อคื นได้หมด หรื อลดทุนที่ ชาระแล้วโดยวิธีตดั หุ ้นทุนซื้ อคื นที่ จาหน่ ายไม่ หมดแล้วแต่กรณี

ในการดารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริ ษทั อาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปั นผล ให้กบั ผูถ้ ือหุ น้ การคืนทุนให้แก่ผถู ้ ือหุน้ การออกหุน้ ใหม่ หรื อการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้ 27.

ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ

ภายใต้บทบัญญัติของมาตรา 116 แห่งพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 บริ ษทั ฯต้องจัดสรร กาไรสุ ทธิ ประจาปี ส่ วนหนึ่ งไว้เป็ นทุนสารองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกาไรสุ ทธิ ประจาปี หักด้วยยอด ขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี ) จนกว่าทุ นสารองนี้ จะมีจานวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุ นจดทะเบี ยน สารองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนาไปจ่ายเงินปันผลได้

ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุน้ สามัญของบริ ษทั ฯในระหว่างปี มีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ ณ วันที่ 1 มกราคม 2559 ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ซ้ื อหุ ้นสามัญ - ROJNA - W3 รวม

54,829 54,829

รายการเคลื่อนไหวระหว่างปี เพิ่มขึ้น

ลดลง -

(49,969) (49,969)

ยกเลิก (4,860) (4,860)

หน่วย : พันหน่วย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 -

- เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2559 บริ ษทั ฯได้ทาการปรับอัตราและราคาการใช้สิทธิ ตามใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่ จะซื้ อหุ น้ สามัญของบริ ษทั ครั้งที่ 3 (ROJNA-W3) จากเดิมใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่ วย ใช้สิทธิ ซ้ื อ หุ น้ สามัญได้ 1.02051 หุ ้น ราคาการใช้สิทธิ 3.920 บาทต่อหุ ้น เป็ นใบสาคัญแสดงสิ ทธิ 1 หน่วย ใช้ สิ ทธิ ซ้ื อหุ น้ สามัญได้ 1.04441 หุ น้ ราคาใช้สิทธิ 3.830 บาทต่อหุ น้ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ไม่ให้ดอ้ ยไปกว่าเดิม เนื่ องจากบริ ษทั ฯมีการจ่ายเงินปั นผลเกินกว่าอัตราที่ระบุไว้ ในข้อกาหนดสิ ทธิ *

26.

เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2559 ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ ้นสามัญ (ROJNA-W3) พ้นสภาพเป็ น หลักทรัพย์จดทะเบียน

หุ้นทุนซื้ อคืน/กาไรสะสมจัดสรรสาหรับหุ้นทุนซื้ อคืน เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ มีมติอนุมตั ิโครงการซื้ อหุ น้ คืนเพื่อบริ หาร การเงิน จานวน 22 ล้านหุ น้ (มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) คิดเป็ นร้อยละ 1.09 ของหุ น้ ที่จาหน่ายทั้งหมด และมีราคาที่จะซื้ อคืนไม่เกินราคาปิ ดของหุ น้ เฉลี่ย 5 วันทาการซื้ อขายล่วงหน้าก่อนหน้าวันที่ทารายการ ซื้ อขายแต่ละครั้งบวกด้วยร้อยละ 15 ของราคาปิ ดเฉลี่ยดังกล่าว โดยมีวงเงินสู งสุ ด ไม่เกิน 100 ล้านบาท บริ ษทั ฯจะดาเนิ นการเสนอซื้ อหุ ้นคื นจากผูถ้ ือหุ ้นทัว่ ไปโดยซื้ อผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ภายในระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 21 พฤศจิ กายน 2559 ถึงวันที่ 19 พฤษภาคม 2560 และมีกาหนดระยะเวลา จาหน่ายหุน้ ซื้ อคืนภายใน 6 เดือน นับแต่วนั ที่ซ้ื อหุน้ คืนเสร็ จสิ้ นแต่ตอ้ งไม่เกิน 3 ปี

ทุนสารองตามกฎหมาย

28.

เงินปันผล 28.1 เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ประจาปี 2559 มีมติอนุมตั ิจ่ายเงินปั นผล จาก ผลการดาเนินงานของปี 2558 และกาไรสะสม ให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 0.45 บาท ซึ่ งบริ ษทั ฯ ได้จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลแล้ว ในอัตราหุ น้ ละ 0.20 บาท เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2558 คงเหลือ เงิ นปั นผลที่ จะต้องจ่ ายอีกในอัตราหุ ้นละ 0.25 บาท รวมเป็ นเงิ นปั นผลจ่าย 494 ล้านบาทและ บริ ษทั ฯได้จ่ายเงินปันผลส่ วนที่เหลือแล้วเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2559 28.2 ตามมติ ที่ประชุ มสามัญผูถ้ ื อหุ ้น ประจาปี 2558 เมื่ อวันที่ 22 เมษายน 2558 ผูถ้ ื อหุ ้นได้อนุ มตั ิ จ่ายเงินปันผล จากกาไรสุ ทธิ ของปี 2557 และกาไรสะสม ให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ น้ ละ 0.20 บาท โดยจ่ า ยเป็ นเงิ นสด ในอัต ราหุ ้นละ 0.02 บาท และจ่ า ยหุ ้นสามัญปั นผล จานวนรวมไม่ เ กิ น 39,540,770 หุ น้ ในอัตรา 50 หุ น้ สามัญเดิม ต่อ 1 หุ น้ สามัญใหม่ (50:1) หรื อเท่ากับ 0.18 บาทต่อ หุ น้ (กาหนดจากราคาตลาดพร้อมส่ วนลดในราคาหุ น้ ละ 9 บาท ตามวัตถุประสงค์ และมติของผู ้ ถือหุน้ ) กาหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 22 พฤษภาคม 2558 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ครั้งที่ 7/2558 เมื่อวันที่ 14 สิ งหาคม 2558 ได้อนุมตั ิจ่ายเงิน ปันผลระหว่างกาล จากกาไรสาหรับงวด 6 เดือน ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ในอัตราหุน้ ละ 0.20 บาท กาหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 14 กันยายน 2558

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯยังไม่ได้ดาเนินการซื้ อหุน้ คืน 66

182

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

67 2016 ROJANA ANNUAL REPORT

183


29.

30.

เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ในปี 2556 บริ ษทั ได้รับเงิ นอุดหนุ นจากรัฐบาลเพื่อใช้ในการก่อสร้างเขื่ อนป้ องกันน้ าท่วมภายในนิ คม อุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดอยุธยา จานวนเงิ นรวม 1,330 ล้านบาท โดยได้รับเงิ นครบถ้วนแล้วใน ระหว่างปี 2556 ซึ่ งบันทึกรายการดังกล่าวในบัญชี รายได้รอการรับรู ้ โดยแสดงสุ ทธิ ในบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และตัดจาหน่ายโดยวิธีเส้นตรงเป็ นเวลา 50 ปี ตามอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ โดยแสดงค่า ตัดจาหน่ายสุ ทธิ กบั ค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ ในปี 2555 บริ ษทั ได้ทาสัญญาเงินกูย้ ืมระยะยาวกับธนาคารพาณิ ชย์แห่ งหนึ่ ง วงเงิน 752.9 ล้านบาท อัตรา ดอกเบี้ ยร้อยละ 0.01 ต่อปี ซึ่ งเป็ นอัตราดอกเบี้ ยที่ ต่ ากว่าอัตราตลาด เนื่ องจากเป็ นนโยบายที่ รัฐบาลให้ ความช่ วยเหลือผูป้ ระสบภัยจากเหตุการณ์น้ าท่วมในปี 2554 ต่อมาในเดื อนกันยายน 2556 บริ ษทั ได้เบิ ก รับเงิ นกูท้ ้ งั จานวน และได้บนั ทึ กผลต่ างของดอกเบี้ ยที่ ตอ้ งชาระตลอดอายุสัญญาเงิ นกูข้ องอัตราตาม สัญญากับอัตราตลาดที่ตามสัญญาเงินกูอ้ า้ งอิงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 12 เดือน สาหรับผูฝ้ ากทัว่ ไป สู งสุ ดของธนาคารออมสิ น (ปั จจุบนั เท่ากับร้อยละ 3 ต่อปี ) บวกต้นทุนการดาเนิ นงานอัตราร้อยละ 0.98 ต่อปี เป็ นจานวนเงิ นรวม 247.1 ล้านบาท บริ ษทั ได้บนั ทึกเงินกูย้ ืมด้วยมูลค่ายุติธรรม (หมายเหตุ 21) ซึ่ ง คานวณมาจากมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงิ นสดจ่ายในอนาคตคิ ดลดโดยใช้อตั ราดอกเบี้ ยตลาดและตัด จาหน่ายเป็ นค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยของเงินกูย้ ืมด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ งตามระยะเวลาของสัญญาเงินกู้ สุ ทธิ กับค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์

68

184

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะ รายการค่าใช้จ่ายแบ่งตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใช้จ่ายที่สาคัญดังต่อไปนี้

จากการดาเนินงานต่ อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงในต้นทุนการพัฒนาที่ดิน วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป ซื้ อที่ดินและจ่ายค่าพัฒนา ค่าเสื่ อมราคาและตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ ค่านายหน้า ค่าซ่อมแซม จากการดาเนินงานที่ยกเลิก ค่าเสื่ อมราคาและตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าซ่อมแซมและบารุ งรักษา ค่าเช่าตามสัญญาเช่าดาเนินงาน

งบการเงินรวม 2559 2558

หน่วย: พันบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558

21,954 4,967,612 664,559 1,001,083 107,297 34,641 44,265 21,716 322,990

4,059,363 6,297,937 4,698,852 1,000,950 89,900 41,386 83,857 23,719 253,025

210,479 354,418 48,991 62,082 16,580 33,599 14,607 44,984

4,114,243 4,630,558 57,119 50,710 21,942 40,202 16,499 50,950

586,502 236,972 56,184 70,344

1,339,520 212,585 44,415 65,682

-

-

69 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

185


31.

กองทุนสารองเลีย้ งชีพ

รายการกระทบยอดจานวนเงินระหว่างกาไรทางบัญชีกบั ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ มีดงั นี้

บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและพนักงานได้ร่วมกันจัดตั้งกองทุนสารองเลี้ยงชี พ ซึ่ งประกอบด้วยเงิ นที่พนักงาน จ่ายสะสม และเงินที่บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจ่ายสมทบให้ในอัตราร้อยละ 2 - 5 ของค่าจ้างกองทุนสารอง เลี้ยงชีพนี้บริ หารโดยบริ ษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนไทยพาณิ ชย์ จากัด และธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จากัด (มหาชน) ในระหว่างปี 2559 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเป็ นจานวน 7.54 ล้านบาท (2558: 7.26 ล้านบาท) 32.

ภาษีเงินได้ 32.1 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สรุ ปได้ดงั นี้

หน่วย : พันบาท

สาหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม

2559 ภาษีเงินได้ที่รับรู้ในกาไรหรื อขาดทุน : ภาษีเงินได้ ปัจจุบัน ภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับปี

งบการเงินเฉพาะกิจการ

2558

2559

2558

5,067

55,553

-

-

ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจากการเกิดผลแตกต่างชัว่ คราว และการกลับรายการผลแตกต่างชัว่ คราว

-

-

-

-

(รายได้)ค่าใช้ จ่ายภาษีเงินได้ ที่แสดงอยู่ในงบกาไรขาดทุน

5,067

55,553

-

-

767

200

-

-

ภาษีเงินได้ที่รับรู้ในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น : ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ที่เกี่ยวข้องกับ ขาดทุน จากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย

70

186

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

หน่วย : พันบาท

สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

2559

2558

2559

2558

กาไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จากการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง ขาดทุนก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก กาไรทางบัญชี ก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล

628,124 (120,170) 507,954

1,107,515 (129,960) 977,555

310,974 310,974

1,000,795 1,000,795

อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล: กาไรทางบัญชี ก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลคูณอัตราภาษี ผลกระทบทางภาษีสาหรับ: การส่ งเสริ มการลงทุน เงินปันผลรับจากบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ผลต่างมูลค่ายุติธรรมจากการรวมธุรกิจ ตัดรายการระหว่างกันอื่นๆ ค่าใช้จ่ายและรายได้ที่ไม่สามารถนามา (หัก) บวกทางภาษีได้ ขาดทุนทางภาษีที่คาดว่าจะไม่ได้ใช้ประโยชน์ และใช้ประโยชน์ขาดทุนทางภาษีที่ไม่ได้บนั ทึกบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ที่แสดงอยูใ่ นงบกาไรขาดทุน

20% 101,591

20% 195,511

20% 62,195

20% 200,159

(40,567) 21,730 29,436

(249,090) 81,090 101,057 (21,922)

(90,069) 43,991

(202,262) 14,989

(22,533) 89,657

(42,420) 64,226

(16,117) -

(12,886) -

5,067 84,590 89,657

55,553 8,672 64,225

-

-

ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จากการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้จากการดาเนิ นงานที่ยกเลิก

71

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

187


33. 32.2 สิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และหนี้ สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ หน่วย : พันบาท งบการเงินรวม 2559 2558 สิ นทรัพย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี กาไรที่ยงั ไม่เกิดขึ้นจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ให้บริ ษทั ร่ วม 229,372 สารองผลประโยชน์ของพนักงาน 6,374 หนี้สงสัยจะสู ญ 903 ประมาณการหนี้สิน 28,623 เงินมัดจาจากลูกค้า 16,158 การตัดจาหน่ายที่ดินและอาคาร 1,811 ต้นทุนขายอสังหาริ มทรัพย์ 22,640 297 ขาดทุนทางภาษี 306,178 รวม หนีส้ ิ นภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าดาเนินงาน 4,301 รายได้จากการขายอาคารตามสัญญาเช่าการเงิน 273,580 450,249 กาไรจากการตีราคาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน 728,130 รวม (421,952) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย จานวน 4 แห่ ง มีรายการขาดทุนทางภาษีที่ยงั ไม่ได้ใช้ จานวน 1,448 ล้านบาท และ 2,915 ล้านบาท ตามลาดับ ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ไม่ได้บนั ทึกสิ นทรัพย์ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี เนื่ องจากบริ ษทั ฯเห็นว่า อาจมีกาไรทางภาษีในส่ วนของรายการที่ไม่ได้รับการส่ งเสริ ม การลงทุนไม่เพียงพอในอนาคตที่ จะนาผลขาดทุนทางภาษีดงั กล่าวมาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่ งราคาทุนของ ภาษีดงั กล่าวจะทยอยสิ้ นสุ ดระยะเวลาการให้ประโยชน์ภายในปี 2564

กาไรต่ อหุ้นขั้นพื้นฐานและกาไรต่ อหุ้นปรับลด กาไรต่ อ หุ ้นขั้นพื้ นฐานค านวณโดยหารกาไรสาหรั บปี ที่ เป็ นของผูถ้ ื อหุ ้นของบริ ษ ทั ฯ (ไม่ ร วมกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยจานวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่ออกอยูใ่ นระหว่างปี กาไรต่อหุ น้ ปรับลดคานวณโดยหารกาไรสาหรับปี ที่ เป็ นของผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ฯ (ไม่รวมกาไรขาดทุน เบ็ดเสร็ จอื่น) ด้วยผลรวมของจานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักที่ ออกอยู่ในระหว่างปี กับจานวนถัว เฉลี่ยถ่วงน้ าหนักของหุ น้ สามัญที่บริ ษทั ฯอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ น้ สามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้ นให้เป็ น หุน้ สามัญ โดยสมมติวา่ ได้มีการแปลงเป็ นหุน้ สามัญ ณ วันต้นงวดหรื อ ณ วันออกหุน้ สามัญเทียบเท่า กาไรต่อหุน้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียดการคานวณดังนี้ สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 กาไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กาไร(ขาดทุน)สาหรับปี ส่ วนที่เป็ นของ จานวนหุ้นสามัญที่ออก ณ ต้นปี ผลกระทบจากการออกหุ้นปันผล ผลกระทบจากหุ ้นที่ออกระหว่างปี ผลกระทบจากการแปลงใบสาคัญแสดง สิ ทธิ ที่จะซื้อหุ ้นเป็ นหุ ้นสามัญ จานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก ระหว่างปี (ขั้นพื้นฐาน) (พันหุ้น)

188

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

697,540

309,405

1,000,795

1,967,256 -

1,755,088 38,550 79,916

1,967,256 -

1,755,088 38,550 79,916

26,376

63,196

26,376

63,196

1,993,632

1,936,750

1,993,632

1,936,750

กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท)

0.06

กาไรต่ อหุ้นปรับลด กาไร(ขาดทุน)สาหรับปี ส่ วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ (พันบาท) จานวนหุ้นสามัญ (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการแปลงใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้อหุ ้นเป็ นหุ ้นสามัญ จานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักระหว่างปี (ปรับลด) (พันหุ้น) กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นปรับลด (บาท)

72

116,254

บริ ษทั ใหญ่ (พันบาท)

0.36

0.16

0.52

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 697,540

1,000,795

1,936,750 26,188 1,962,938

1,936,750 26,188 1,962,938

0.36

0.51

73 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

189


กาไรต่อหุน้ จากการดาเนินงานต่อเนื่องสาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มีรายละเอียด การคานวณดังนี้

34.

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 กาไรต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน กาไร(ขาดทุน)สาหรับปี ส่ วนที่เป็ นของ บริ ษทั ใหญ่ (พันบาท) จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก ระหว่างปี (ขั้นพื้นฐาน) (พันหุ้น) กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นขั้นพืน้ ฐาน (บาท)

ข้อมูลส่ วนงานดาเนิ นงานที่นาเสนอนี้ สอดคล้องกับรายงานภายในของบริ ษทั ฯที่ผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ด ด้านการดาเนินงานได้รับและสอบทานอย่างสม่าเสมอเพื่อใช้ในการตัดสิ นใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กบั ส่ วนงานและประเมินผลการดาเนิ นงานของส่ วนงานทั้งนี้ ผมู ้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดาเนิ นงานของ บริ ษทั คือ กรรมการผูจ้ ดั การ

370,192

812,912

309,405

1,000,795

เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริ หารงานบริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยจัดโครงสร้างองค์กรเป็ นหน่วยธุ รกิจตามประเภท ของผลิตภัณฑ์และบริ การ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีส่วนงานที่รายงานทั้งสิ้ น ดังนี้

1,993,632

1,936,750

1,993,632

1,936,750

0.19

0.42

0.16

0.52

ส่ วนงานพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อขายและบริ การเกี่ยวเนื่อง

ส่ วนงานธุรกิจผลิตไฟฟ้า

ส่ วนงานธุรกิจผลิตน้ าเพื่ออุตสาหกรรม

กาไรต่ อหุ้นปรับลด กาไร(ขาดทุน)สาหรับปี ส่ วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ (พันบาท) จานวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ าหนักระหว่างปี (ปรับลด) (พันหุ้น) กาไร(ขาดทุน)ต่ อหุ้นปรับลด (บาท)

ข้ อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน

สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 812,912

1,000,795

1,962,938

1,962,938

0.41

0.51

ผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจสู งสุ ดสอบทานผลการดาเนิ นงานของแต่ละหน่วยธุ รกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค์ใน การตัดสิ นใจเกี่ ยวกับการจัด สรรทรั พยากรและการประเมิ นผลการปฏิ บ ัติงาน บริ ษทั ฯประเมิ นผลการ ปฏิบตั ิงานของส่ วนงานโดยพิจารณาจากกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนิ นงานและสิ นทรัพย์รวมซึ่ งวัดมูลค่า โดยใช้เกณฑ์เดียวกับที่ใช้ในการวัดกาไรหรื อขาดทุนจากการดาเนินงานและสิ นทรัพย์รวมในงบการเงิน การบันทึ กบัญชี ส าหรั บรายการระหว่า งส่ ว นงานที่ ร ายงานเป็ นไปในลักษณะเดี ย วกับ การบันทึ กบัญ ชี สาหรับรายการธุรกิจกับบุคคลภายนอก ข้ อมูลเกีย่ วกับเขตภูมศิ าสตร์ บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยดาเนิ นธุ รกิ จในเขตภูมิศาสตร์ เดี ยว คื อประเทศไทย ดังนั้นรายได้และสิ นทรัพย์ที่ แสดงอยูใ่ นงบการเงิน จึงถือเป็ นการรายงานตามเขตภูมิศาสตร์แล้ว ข้ อมูลเกีย่ วกับลูกค้ ารายใหญ่ ในปี 2559 กลุ่มบริ ษทั มีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จานวนหนึ่ งราย เป็ นจานวนเงิ นประมาณ 3,955.2 ล้าน บาท ซึ่ งมาจากส่ วนงานธุรกิจผลิตไฟฟ้า

190

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

74

75 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

191


76 76,023

239 813

11,884 2,750 (21) 27 (1,704) 1,052 (139) 913

2558

77,007

รายได้ที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 สามารถสรุ ปได้ดงั นี้

253 370

ตามประกาศของสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุน ที่ 14/2541 เรื่ องกาหนดวิธีการรายงานรายได้ สาหรับผูท้ ี่ ได้รับการส่ งเสริ ม ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2541 โดยให้บริ ษทั แสดงยอดรายได้แยกเป็ นส่ วนที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน

9,761 1,986 54 33 (1,450) 623 (205) 418 187

บริ ษัท ฯและบริ ษัท ย่ อ ยได้รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี จ ากคณะกรรมการส่ ง เสริ มการลงทุ น ตาม พระราชบัญญัติส่งเสริ มการลงทุน สิ ทธิ ประโยชน์ที่ได้รับรวมถึงการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ กาไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ งเสริ ม

(315)

ตัดรายการบัญชี 2559 2558

การส่ งเสริมการลงทุน

360 428 7,880

9,177

รายได้ รายได้จากการขายที่ดิน รายได้จากการขายที่ดินและ อาคารโรงงาน รายได้จากการขายไฟฟ้า รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่า รายได้ค่าบริ หารจัดการบริ ษทั ร่ วม รายได้อื่น

2,160

รวมรายได้

รวม 2559

2558

346,582

320,564

919,729

1,894,542

1,266,311

2,215,106

4,645,786 262,831 1,457 5,256,656

1,490,022 6,170,893 489,523 480 8,471,482

3,233,979 318,909 32,393 53,136 4,558,146

1,855,584 3,006,472 500,704 615,369 204,123 60,221 8,137,015

7,879,765 581,740 32,393 54,593 9,814,802

3,345,606 9,177,365 990,227 615,369 204,123 60,701 16,608,497

สิ นทรัพย์ดาเนินงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ธุ รกิจที่ได้รับการส่งเสริ ม 2559 2558

กาไรสาหรับปี ส่ วนที่เป็ นของส่ วนได้เสี ย ที่ไม่มีอานาจควบคุม ส่ วนที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ใหญ่

ขายอสังหาริ มทรัพย์และ บริ การเกี่ยวเนื่อง 2559 2558

ธุ รกิจที่ได้รับการส่งเสริ ม 2559 2558

งบการเงินรวม ธุ รกิจที่ไม่ได้รับการส่งเสริ ม 2559 2558

1,768 รายได้ กาไร(ขาดทุน)จากการดาเนิ นงานตามส่ วนงาน รายได้อื่น ส่ วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ต้นทุนที่ไม่สามารถปั นส่วนได้ กาไรสาหรับจากการดาเนิ นงานต่อเนื่ อง ขาดทุนจากการดาเนินงานที่ยกเลิก

โรงงานผลิตน้ า 2559 2558

หน่วย: พันบาท

โรงงานผลิตไฟฟ้า 2559 2558

งบการเงินรวม สาหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม

2559

รวม

หน่วย : ล้านบาท ส่ วนงานธุ รกิจ

กลุ่มบริ ษทั ดาเนินกิจการในส่ วนงานหลักคือส่ วนงานอสังหาริ มทรัพย์ ส่ วนงานโรงผลิตไฟฟ้ า ส่ วนงานโรงงานผลิตน้ า ข้อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงานของบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย ประกอบด้วย

35.

รายได้ รายได้จากการขายที่ดิน รายได้ค่าบริ การ รายได้ค่าเช่า รายได้เงินปันผล รายได้อื่น รวมรายได้

98,985 1,863 100,848

315,692 10,341 326,033

งบการเงินเฉพาะกิจการ ธุ รกิจที่ไม่ได้รับการส่งเสริ ม 2559 2558 844,105 411,920 66,916 450,350 36,684 1,809,975

887,557 333,744 68,361 1,011,309 21,365 2,322,336

หน่วย: พันบาท รวม 2559

2558

943,090 413,783 66,916 450,350 36,684 1,910,823

1,203,249 344,085 68,361 1,011,309 21,365 2,648,369

77

192

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

193


36.

ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นที่อาจเกิดขึน้ ภายหน้ า

36.1 สัญญาเช่าระยะยาว 1)

36.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจ่ายฝ่ ายทุน

บริ ษทั ฯ ได้ทาสัญญาเช่ าสานักงานและบริ การสาธารณู ปโภคกับบริ ษทั ที่ เกี่ ยวข้องกันแห่ งหนึ่ ง ระยะเวลา 3 ปี โดยมีค่าเช่าและค่าบริ การเดือนละ 0.25 ล้านบาท และได้จ่ายเงินประกันเป็ นจานวน เงิน 0.74 ล้านบาท

บริ ษทั ย่อยสองแห่ ง ได้ทาสัญญาเช่าสานักงานและบริ การสาธารณู ปโภคกับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกัน แห่งหนึ่งระยะเวลา 3 ปี โดยมีค่าเช่าและค่าบริ การเดือนละ 0.52 ล้านบาท และได้จ่ายเงินประกัน เป็ นจานวนเงิน 1.54 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ฯมีจานวนเงินขั้นต่าที่ตอ้ งจ่ายในอนาคตทั้งสิ้ นภายใต้ สัญญาเช่าดาเนินงานดังนี้ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 จ่ายชาระ ภายใน 1 ปี 47 46 3 3 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 66 98 3 7 มากกว่า 5 ปี 40 49 -

1)

2)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ฯมี ภาระผูกพันในด้านการพัฒนา โครงการและก่อสร้าง ดังนี้ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สกุลเงิน 2559 2558 2559 2558 ล้านบาท ล้านเหรี ยญสหรัฐ

2)

บริ ษัทย่ อย

2,700 43

244 -

-

บริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ งได้มีขอ้ ตกลงจ้างบริ หารจัดการโรงไฟฟ้ากับบริ ษทั ที่เกี่ยวข้อง จานวน 351.53 ล้านบาท โดยข้อตกลงจะพิจารณาเป็ นรายปี

36.4 หนังสื อค้ าประกันธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 กลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ฯมียอดคงเหลือของหนังสื อค้ าประกันที่ออก โดยธนาคารดังนี้ หน่วย : ล้านบาท งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2559 2558 2559 2558 หนังสื อค้ าประกัน

36.2 ภาระผูกพันจากสัญญาระยะยาว

1,579 11

1,816

1,973

642

642

36.5 สิ นทรัพย์ที่ติดภาระจายอม

1)

สัญญาขายกระแสไฟฟ้ ากับการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่ งประเทศไทย โดยมีอายุสัญญา 25 ปี เริ่ มตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2542 โดยเงื่อนไขในสัญญากาหนดให้บริ ษทั ย่อยต้องยื่นหลักประกันในรู ปของ หนังสื อค้ าประกันจากธนาคารเป็ นจานวนเงิน 163.08 ล้านบาท เพื่อเป็ นหลักประกัน

2)

สัญญาซื้ อก๊าซกับบริ ษทั ปตท. จากัด (มหาชน) สัญญามีระยะเวลา 21 ปี โดยปริ มาณการซื้ อขาย และราคาก๊าซให้เป็ นไปตามที่ ระบุไว้ในสัญญา ซึ่ งคู่สัญญาสามารถต่ออายุสัญญาออกไปได้อีก 4 ปี

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 กลุ่มบริ ษทั มีที่ดินบางส่ วนที่ ติดภาระจายอม แสดงภายใต้หัวข้อ ต้นทุนการ พัฒนาที่ดิน ที่ดินรอการพัฒนา อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน และ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 36.6 ภาระการค้ าประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯ มีภาระค้ าประกันวงเงิ นสิ นเชื่ อจากสถาบันการเงิ นของบริ ษทั ย่อย จานวน 345 ล้านบาท

78

194

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

79

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

195


37.

การแสดงรายการและการเปิ ดเผยข้ อมูลสาหรับเครื่ องมือทางการเงิน

- เงิ นเบิ กเกิ นบัญชี และเงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น และเงิ นกูย้ ืมระยะยาว ซึ่ งมี อตั รา ดอกเบี้ยลอยตัว มีมูลค่าตามบัญชีเท่ากับมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ ยกเว้นเงินกูย้ ืมจากกิจการที่ เกี่ยวข้องกันมีอตั ราดอกเบี้ยคงที่

ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบีย้ ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ ย เกิ ด จากการที่ อตั ราดอกเบี้ ย ในตลาดเปลี่ ย นแปลงไป ซึ่ งมี ผ ลให้เกิ ด ผล เสี ยหายแก่บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในงวดปั จจุบนั และงวดต่อๆ ไป บริ ษทั ย่อยแห่ งหนึ่ งมีการบริ หารความ เสี่ ยงเพื่อป้องกันความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบี้ย โดยการทาสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจา 3 เดือน บวกร้อยละ 1.80 ต่อปี เป็ นอัตราดอกเบี้ย THBFIX-REUTERS 3 Months ของวงเงินกู้ 600 ล้าน บาท โดยมีมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 จานวน 18.9 ล้านบาท และ 9.9 ล้านบาท ตามลาดับ ความเสี่ ยงจากเงินลงทุนและลูกหนีก้ ารค้ า บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยไม่มีความเสี่ ยงจากการกระจุกตัวของเงิ นลงทุนและลูกหนี้ การค้าที่ เกิ ดจากเงินสด และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีนยั สาคัญ เนื่องจากบริ ษทั ย่อยได้นาเงินสดไปลงทุนในเงินลงทุนที่มีความเสี่ ยง ต่ากับธนาคารพาณิ ชย์และสถาบันการเงินที่มีความน่าเชื่ อถือและบริ ษทั มีนโยบายโอนกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดิน ที่ขายเมื่อลูกค้าชาระเงินครบถ้วนแล้ว ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยไม่มีสญ ั ญาซื้ อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าคงเหลือ และมีหนี้สินที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 ดังนี้ งบการเงินรวม หน่วย 2559 2558 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา 5.27 48.35

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 และ 2558 มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงิ นไม่แตกต่างจาก มูลค่าตาม บัญ ชี อ ย่ า งมี นัย ส าคัญ ส่ ว นหนี้ สิ น ทางการเงิ น แสดงด้ว ยราคาตามบัญ ชี ซึ่ งเท่ า กับ มู ล ค่ า ยุ ติ ธ รรม โดยประมาณอนึ่ งมูลค่ายุติธรรมดังกล่าวใช้วิธีการและข้อสมมติฐานข้างต้น มูลค่ายุติธรรมที่ เกิดขึ้ นจริ ง อาจแตกต่างไป 38.

ลาดับชั้นของมูลค่ ายุตธิ รรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริ ษทั ฯและบริ ษทั ย่อยมีสินทรัพย์และหนี้ สินที่วดั มูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อ เปิ ดเผยมูลค่ายุติธรรมแยกแสดงตามลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรม ดังนี้ งบการเงินรวม ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 1 สิ นทรัพย์ ที่เปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม เงินลงทุนในบริ ษทั ร่ วม อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน หนีส้ ิ นที่เปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม หุน้ กู้

-

33,145

5,723 33,145

-

20,728

-

20,728

- เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัว่ คราวและลูกหนี้ การค้าและลูกหนี้ อื่น และเงิ น ให้กูย้ ืมระยะสั้นแก่กิจการที่ เกี่ ยวข้องกันเป็ นสิ นทรัพย์ทางการเงิ นระยะสั้น ดังนั้นมูลค่าตาม บัญชี มีจานวนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ

หน่วย: ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะกิจการ ระดับ 2 ระดับ 3

ระดับ 1 สิ นทรัพย์ ที่เปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน หนีส้ ิ นที่เปิ ดเผยมูลค่ ายุตธิ รรม หุน้ กู้

รวม

5,723 -

มูลค่ ายุตธิ รรมของสิ นทรัพย์ ทางการเงินและหนีส้ ิ นทางการเงิน บริ ษ ทั และบริ ษ ทั ย่อยใช้วิธีการและข้อสมมติ ฐานดังต่ อไปนี้ ในการประมาณราคาตลาดหรื อมู ลค่ า ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน

หน่วย: ล้านบาท

-

-

-

2,009

รวม

255 -

255 2,009

- เจ้าหนี้ การค้า เจ้าหนี้ ซ้ื อสิ นทรัพย์ เจ้าหนี้ บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันและหนี้ สินหมุนเวียนอื่น มีมูลค่า ตามบัญชีเท่ากับมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ

80

196

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

81 ROJANA ANNUAL REPORT 2016

197


39.

เหตุการณ์ ภายหลังวันที่รอบระยะเวลารายงาน

39.1 เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 บริ ษทั TICON ได้รับชาระค่าหุน้ สามัญเพิ่มทุนจานวน 735.0 ล้านหุ น้ ในราคา หุ น้ ละ 18 บาท รวมเป็ นเงิ น 13,230.0 ล้านบาท จากบริ ษทั เฟรเซอร์ ส พร็ อพเพอร์ ต้ ี โฮลดิ้งส์ (ประเทศ ไทย) จากัด โดยบริ ษทั ฯได้จดทะเบียนเพิ่มทุนชาระแล้วจาก 1,099.1 ล้านบาท เป็ น 1,834.1 ล้านบาท กับ กระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 39.2 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริ ษทั TICON ครั้งที่ 3/2560 ได้มีมติอนุมตั ิให้ นาเสนอต่อที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2560 ซึ่ งจะจัดขึ้นในวันที่ 24 เมษายน 2560 เพื่อพิจารณาและ อนุมตั ิ ดังนี้ - การจ่ายเงินปั นผลจากกาไรสะสมของบริ ษทั TICON ให้แก่ผูถ้ ือหุ น้ ในอัตราหุ ้นละ 0.08 บาท โดย กาหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 19 พฤษภาคม 2560 - การเพิ่มทุนจดทะเบี ยนจาก 1,834.1 ล้านบาท เป็ น 2,384.4 ล้านบาท โดยการออกหุ ้นสามัญเพิ่มทุ น จานวน 550.3 ล้า นหุ ้น มู ลค่ า หุ ้นละ 1 บาท และจัด สรรหุ ้นสามัญ เพิ่ มทุ นแบบมอบอานาจทั่วไป (General Mandate) 39.3 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯครั้งที่ 1/2560 ได้มีมติอนุมตั ิให้นาเสนอต่อ ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจาปี 2560 ซึ่ งจะจัดขึ้นในวันที่ 25 เมษายน 2560 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ ดังนี้ - การลดทุนจดทะเบียนจาก 2,035.6 ล้านบาท เป็ น 2,020.5 ล้านบาท โดยลดทุนหุ น้ สามัญ จานวน 15.1 ล้านหุ น้ มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท เป็ นการตัดหุ น้ สามัญคงเหลือที่ออกเพื่อรองรับการใช้สิทธิ ของ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุน้ สามัญ -

40.

การออกหุ น้ กูเ้ พื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียน การขยายธุ รกิจ และหรื อเพื่อชาระคืนหนี้ คงค้าง โดยมี วงเงินมูลค่ารวมของหุ ้นกูท้ ี่เสนอขายในแต่ละครั้ง เมื่อนับรวมกับมูลค่ารวมของหุ น้ กูข้ องบริ ษทั ที่ยงั ไม่ได้ไถ่ถอนทั้งหมดทุกประเภท ณ ขณะใดขณะหนึ่งจะต้องมีจานวนไม่เกิน 6,000 ล้านบาท

การอนุมตั งิ บการเงิน งบการเงินนี้ได้รับอนุมตั ิให้ออกโดยคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560

82

198

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

ROJANA ANNUAL REPORT 2016

199


200

ROJANA ANNUAL REPORT 2016



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.