PRANDA : Annual Report 2011 thai

Page 1

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี 2 5 5 4


สารบัญ

18 20 23 24 26 28 30 31 32 33 37 42 43 44 45 46

จุดเด่นทางการเงิน สารจากประธานกรรมการ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และคุณค่าร่วมขององค์กร ลักษณะการประกอบธุรกิจ แบรนด์ของเรา คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการบริหาร โครงสร้างกลุ่มบริษัทฯ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ความรับผิดชอบต่อสังคม และคุณค่าร่วมองค์กร การพัฒนา และรางวัลเกียรติคุณของกลุ่มบริษัท ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ทิศทางของแพรนด้า โครงสร้างรายได้ โครงสร้างการถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ

57 72 74 76 77 80 85 87 88 89 141 142 143 151 156

รายงานการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ระบบการควบคุมภายใน นโยบายการจ่ายเงินปันผล รายการระหว่างกัน ปัจจัยความเสี่ยง ค�ำอธิบายและการวิเคราะห์ฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน รายงานการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อ รายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงิน ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี บุคคลอ้างอิง ประวัติกรรมการและผู้บริหาร รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูลทั่วไปของบริษัท


¡ « Ù Ð ªz Þ² §»ÃÐ´Ñ Ö Ø¢ Ý ¬ w ® i} ww x i Ù

xi ¥ h ¤Ùi

D <!#ď!$- )A- ĉ:3@Ċ! :)"9 = ;H+ ĉ53@Ċ!2;3+9"$AĊ ?53@Ċ!

38

`« h|w wh |³ «Ü Ù i }¡ ª ¢²

12

w h

8

¡Ùzi w x | Ùª |« Ý ¡Ùzi ¢®² i ¡ ¡­Ùw } } Ùh

i Ù ¡Ù³ w |w Ú ¡ h `

w h

5,000 }¤ ² ¬ w |} Ùh ¡Ùzi ¢ ² ¡ ª ÒÙª}i x |« Ý® i ¡ ¡­Ùw } Ùh

¬z | i |w ¡ ¢² ¤ x | ¡ aŴ Ċ:! :+$-< Ċ/* /:))@ ĉ )9!L = L 8$-< D +?5L #+8 9"59 ) = )L= = @ (:&E-8 )=+8 9"+: : =DL 3):82) "+<1 9 7 > )= h F+ :!G! e #+8D 0

cŴ Ċ:! :+ Ċ:#-= "+<1 9 7 )="+<1 9 *ĉ5* d "+<1 9 =)L = /:)D =*L / : G! :+"+<3:+ 9 :+ :+ Ċ:#-= 9 M G!#+8D 0H * =! D/=* !:) E-85<!F !=D =*

bŴ Ċ:! :+ 9 ;3!ĉ:* #ď @"!9 "+<1 9 7 )="+<1 9 9 ;3!ĉ:* f 2;!9 :! E-8 9/E ! 9 ;3!ĉ:*G!#+8D 02; 9 +5" -@)5D)+< :D3!?5 *@F+# E-8D5D =*

dŴ Ċ:! :+"+<3:+ +:2<! Ċ: "+<1 9 7 )=3!ĉ/* :! =& L 9 !:E-8"+<3:+ +:2<! Ċ: ="L +<1 9 D#đ! D Ċ: 5 E-8 +:2<! Ċ: =HL Ċ+"9 2< G< ! :+ 9 ;3!ĉ:* G3ĊD Ċ: > -: -@)ĉ D#ą:3):* 9/L F-

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 1


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 2


¾ÅѧáË‹§ºÙóҡÒà ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§áË‹§¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼ÅÔμÀѳ± à¤Ã×èͧ»ÃдѺ Íѹ໚¹àÍ¡Åѡɳ ੾ÒТͧ PRANDA Áըش¡íÒà¹Ô´¨Ò¡¤ÇÒÁࢌÒã¨ã¹¤ÇÒÁ»ÃÒö¹Ò¢Í§¤Ù‹¤ŒÒ áÅÐÅÙ¡¤ŒÒ¢Í§àÃÒ ¨Ò¡¡Ò÷íҧҹËÇÁ¡Ñ¹ àÃÒÃѧÊÃä à¤Ã×Íè §»ÃдѺ·Õàè »‚› Áä»´ŒÇ¨Թμ¹Ò¡Òà ÁÕàÍ¡Åѡɳ ੾ÒÐ áÅÐ໚¹·Õμè ÍŒ §¡ÒâͧÅÙ¡¤ŒÒ·ÑÇè âÅ¡ àÃÒÁا‹ Áѹè ÊÌҧÊÃä ¤ÇÒÁ§ÒÁ à¾×Íè ¶‹Ò·ʹ Ê‹§μ‹Í¤ÇÒÁÊØ¢ä»Âѧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 3


4

| Pranda Jewelry 2010 Annual Report

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 4


àÃÔÁè μŒ¹·Õ¤è ÇÒÁ½˜¹

·Õè PRANDA àÃÒÊÌҧ áÅзíÒ¤ÇÒÁ½˜¹ãËŒÁÕªÕÇÔμ

ในแตละป ตัวแทนของเราเดินทางรอบโลก เพื่อเสาะหาแนวทางหรือกระแสความนิยมใหมๆ ในผลิตภัณฑเครื่องประดับ จากนัน้ เราลงมือทํางานรวมกับคูคาพัฒนาผลงานที่สะทอนถึง สาระแหงความฝนนัน้ ความมุง มัน่ ในการทีจ่ ะสรางความพอใจสูงสุดใหกบั คูค า และความสามารถในการตอบสนอง และทําความปรารถนาใหเปนจริง ทําให PRANDA ไดรับการยอมรับวาเปนหนึง่ ในธุรกิจ การคาเครื่องประดับชั้นนําของโลก

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 5


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 6


·íÒ¤ÇÒÁ½˜¹ãˌ໚¹¨ÃÔ§ ศูนยออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ เปนสถานที่สรางจินตนาการใหปรากฎขึ้นจริง พนักงานกวา 300 ชีวิตของเราลวนเปนชางฝมือทักษะสูง กอปรดวยพรสวรรคที่เปนเอกลักษณเฉพาะในการสรางสรรคผลงานที่ผูออกแบบและผูบริโภคใฝฝนถึง ดวยเทคโนโลยีลํ้ายุค ทําใหภาพราง ผานกระบวนการจนเปนงานตนแบบผลิตภัณฑ และดวยมาตรการควบคุมคุณภาพอยางเขมงวด ผลงาน เหลานีจ้ ึงเปนมากกวาเครื่องประดับชิ้นหนึง่ แตเปนการหลอมรวมกันของแรงสรางสรรคในการแปลงความฝนใหมีชีวิต

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 7



ʋǹ»ÃСͺ¢Í§¤Ø³ÀÒ¾ PRANDA ใชวัตถุดิบคุณภาพสูง และเราทํางานอยางใกลชิดรวมกับผูผลิตวัตถุดิบ เพื่อสรางความเปนเลิศในผลิตภัณฑของเรา สวนประกอบ เครื่องประดับทุกชิ้นของเรา ผานการคัดสรรอยางละเอียดตามมาตรฐาน มีคุณภาพดีตรงตามความตองการของลูกคา เพื่อนํามาผลิตผลงาน ในปริมาณมากและมีคุณภาพสมํ่าเสมอโดยใชวัตถุดิบธรรมชาติที่ผานกระบวนการการคัดสรรอยางเขมงวด

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 9


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 10


ÈÑ¡ÂÀÒ¾ÃдѺâÅ¡ PRANDA เปนเจาแรกๆ ที่บุกเบิกกระบวนการการผลิตเครื่องประดับอัญมณี โดยขณะที่สามารถรักษามาตรฐานสูงสุด ในแตละป เราผลิต เครื่องประดับคุณภาพสูงมากกวา 8 ลานชิ้น ใชทองคํามากกวา 500 กิโลกรัม เนื้อเงินมากกวา 20 ตัน และเพชรพลอยมากกวา 50 ลานเม็ด ผานกระบวนการสรางสรรคของเรา พนักงานทักษะสูงกวา 3,500 คนทีท่ าํ งานอยูใ น 8 โรงงาน ใน 5 ประเทศ มีสว นสําคัญชวยใหเราเปนหนึง่ ในผูผ ลิตเครือ่ งประดับทีม่ คี วามโดดเดน ในแงความสามารถในการผลิตปริมาณมากและคุณภาพในการผลิต

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 11


¤Ø³ÀÒ¾áÅФÇÒÁÊÁºÙó Ẻ งานสรางสรรคของ PRANDA ลวนเปนงานที่ทําจากมือ แตดวยมาตรการควบคุมคุณภาพ อยางเขมงวดทําใหมั่นใจไดวา ทุกชิ้นงานเครื่องประดับที่ผานมือเราออกไป ไดมาตรฐาน ตามที่ ผูออกแบบตองการ เราเขาใจดีวาผูบริโภคลวนคาดหวังคุณภาพที่สมํ่าเสมอของ ผลิตภัณฑ ซึง่ เราเองไดพฒ ั นากระบวนการทีป่ ระกันความสมบูรณแบบในชิน้ งานของเราเชนกัน เมื่องานแตละชิ้นเสร็จสิ้นสมบูรณ บุคลากรฝายควบคุมคุณภาพที่ไดรับการฝกฝนเปน อยางดีจะทําการตรวจสอบอีกครั้งวาผลงานเหลานี้เหมาะสมหรือไมเพียงใดที่จะนําออก จําหนายได ซึง่ กระบวนการนีช้ ว ยใหชอื่ ของ PRANDA ไดรบั การยอมรับและกลาวขานในแง ของความนาเชือ่ ถือและคุณภาพที่สมํ่าเสมอ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 12




à¤Ã×Í¢‹Ò¸ØáԨẺºÙóҡÒà PRANDA สรางกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการจัดสงผลิตภัณฑไปทั่วโลก ไมเพียงแต เปยมไปดวยความสามารถในการผลิตเครื่องประดับเทานัน้ แตเรายังมีการสรางเครือขาย ธุรกิจแบบบูรณาการในหลายประเทศ โดยเครือขายในการจัดจําหนาย และสํานักงานของ เรามีที่ตั้งอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และอินเดีย รวมถึง ยังมีตัวแทนซึ่งเปนคูคาของเราในเอเชีย และตะวันออกกลาง นอกจากนี้ เรามีการสนับสนุนขอมูลตลาดในเชิงลึกแกคูคา เพื่อประกันความมั่นใจและ สรางเสริมประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 15


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 16


¤ÇÒÁ½˜¹·Õàè »š¹¨ÃÔ§ การเดินทางของผลิตภัณฑ PRANDA สิ้นสุดลงที่ผูบริโภค ซึ่งผูบริโภคเองไมรูดวยซํ้าวา เครื่องประดับที่สวมใสอยูนนั้ ผานความพยายามนับหลายชั่วโมง ผนวกกับความใสใจใน ทุกรายละเอียด พลังแหงบูรณาการนี้ ไดสรางใหเกิดผลิตภัณฑเครื่องประดับอันทรงคุณคา ที่จะนํามาซึ่ง ความมุงมาดปรารถนาและสรางสุขใหแกผูบริโภคทั่วโลก

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 17


¨Ø´à´‹¹·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ งบการเงินรวม สําหรับป

2554

ผลการดําเนินงาน รายไดจากการขาย กําไรขั้นตน กําไรจากการดําเนินงานกอนหักคาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย /1 กําไรจากการดําเนินงาน /2 กําไรสําหรับผูถือหุน

4,122 1,379 491 408 456

ฐานะการเงิน สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สวนของผูถือหุน

4,320 1,779 2,541

ขอมูลตอหุน มูลคาหุนตามบัญชี กําไรตอหุนสําหรับผูถือหุน เงินปนผลตอหุน /3 เงินปนผลพิเศษ อัตราสวนทางการเงิน อัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรจากการดําเนินงานกอนหักคาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย อัตรากําไรจากการดําเนินงาน อัตรากําไรสําหรับผูถือหุน อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย อัตราผลตอบแทนตอเงินลงทุน อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน ความสามารถในการจายดอกเบี้ย (เทา) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน (เทา) อัตราสวนทุนหมุนเวียน (เทา)

2553

4,056 1,337 553 470 243

4,022 1,517 2,505

2552

2551

2550

3,664 1,296 402 329 256

4,030 1,303 414 346 184

(ลานบาท) 4,359 1,307 515 449 406

4,268 1,402 2,866

(ลานบาท) 4,244 4,431 1,436 1,552 2,808 2,879

6.39 1.14 0.60 -

6.25 0.61 0.50 0.60

7.20 0.65 0.53 -

7.07 0.46 0.40 -

(บาท) 7.24 1.04 0.55 -

33.46% 11.92% 9.91% 11.07% 10.56% 10.06% 17.76% 10.65 0.70 2.11

32.96% 13.40% 11.59% 6.00% 6.05% 13.19% 9.76% 13.25 0.61 2.15

35.36% 10.98% 8.98% 7.00% 6.01% 8.20% 8.98% 7.53 0.49 2.53

32.33% 10.27% 8.58% 4.56% 4.33% 9.12% 6.57% 6.16 0.51 2.74

29.98% 11.81% 10.08% 9.30% 9.15% 10.90% 14.34% 8.77 0.54 2.84

หมายเหตุ : /1 กําไรจากการดําเนินงานกอนหักคาเสื่อมราคาและตัดจําหนายมาจากกําไรจากการดําเนินงานบวกกลับคาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย /2 กําไรจากการดําเนินงานคํานวณมาจากรายไดจากการขาย หักตนทุนขาย คาใชจายในการขายและบริหาร /3 สําหรับผลการดําเนินงานของป 2554 คณะกรรมการบริษัท ไดมีมติพิจารณาอนุมัติจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.60 บาท หักจายระหวางกาล จากกําไร สําหรับงวด 9 เดือน สิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2554 ในอัตราหุนละ 0.10 บาท ซึ่งจายใหผูถือหุน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2554 ที่ผานมา ดังนัน้ คงเหลือจาย เงินปนผลในอัตราหุนละ 0.50 บาท ใหแกผูถือหุนหากที่ประชุมสามัญผูถือหุนมีมติอนุมัติในวันที่ 19 เมษายน 2555 นี้ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 18


Dividend Yield

9.4%

Profit Margin to Equity

11.1%

EBITDA Margin

11.9%

Gross Profit Margin

33.5%

¤ÇÒÁÊÒÁÒö·íÒ¡íÒäÃ

ÍÑμÃÒ¤ÇÒÁÊÒÁÒö·íÒ¡íÒäÃ

กําไรจากการดําเนินงาน

กําไรสําหรับผูถือหุน

อัตรากําไรขั้นตน

33.5% 9.9% 11.1%

32.9%

4.6%

256

2553

˹ÕéÊÔ¹áÅзع

2552

2553

อัตรากําไรจากการดําเนินงาน

2554 อัตรากําไรสําหรับผูถือหุน

â¤Ã§ÊÌҧ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

13.3

2551 หนี้สินรวม

2552

2553

7.5

2554

2550

สวนของผูถือหุน

2551

อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 19

2552

2553

0.7

0.6

0.5

0.5

2550

0.5

6.2

1,779 1,517

1,402

1,436

1.552

8.8

10.7

2,541

2,505

2,866

(เทา) 2,808

(ลานบาท)

2,879

6.0%

2551

11.6%

2550

8.9% 7.0%

32.3% 8.6%

2554

243

10.1% 9.3%

29.9% กําไรขั้นตน

2552

408 456

470 329

346

2551

184

449 406

2550

35.4%

1,379

1,337

(%)

1,296

1,303

1,307

(ลานบาท)

2554

ความสามารถในการจายดอกเบี้ย


ÊÒèҡ»Ãиҹ¡ÃÃÁ¡Òà เรียนทานผูถือหุน จากสภาวะเศรษฐกิจโลกประจําป 2554 ที่ผานมา พบวาสหภาพยุโรปไดประสบปญหาวิกฤตทาง การเงินที่รุนแรงยิ่งขึ้นเริ่มจากประเทศกรีซที่ตกลงสูภาวะลมละลายเนื่องจากภาระหนี้สนิ ที่สูงมาก เกินกวาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) จนไดเริม่ ลุกลามไปสูป ระเทศอิตาลีซงึ่ มีขนาดเศรษฐกิจ เปนอันดับทีส่ ามในกลุม ยุโรป และอาจตอเนือ่ งไปสูป ระเทศสเปนซึง่ ขณะนีป้ ระสบกับปญหาการวางงาน สูงสุดในกลุมยุโรป อีกทั้งเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาฟนตัวไดชามากกวาที่คาดการณไว และอัตราการวางงานก็ยังคงอยูในระดับที่สูงมาก ประกอบกับยังมีการขาดดุลการคา ดุลงบประมาณ อยางตอเนือ่ งจนในทีส่ ดุ นําไปสูก ารประกาศลดอันดับเครดิต (Credit Rating) ของประเทศ ในขณะเดียวกัน ฝ  ง เศรษฐกิจ เอเชี ย ได ป ระสบกับ ป ญ หาเช น เดี ย วกัน โดยเริ่ม ตั้ ง แต จี น ได เ กิด ภาวะฟองสบู  ใ น อสังหาริมทรัพยและการขยายสินเชื่อจนมีผลกระทบตอหนี้เ สีย และฐานะทางการเงินของระบบ ธนาคาร รวมถึงเกิดภาวะเงินเฟอ จนทําใหภาครัฐตองดําเนินนโยบายทางการเงินที่เขมงวด นอกจาก นี้ยังเกิดแผนดินไหวและสึนามิในประเทศญี่ปุนทําใหเศรษฐกิจหดตัวลงอยางรุนแรงเนื่องจากภาค การสงออกลดลงรวมถึงการชะลอตัวของการบริโภคภายในประเทศ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 20

สําหรับประเทศไทยในปที่ผานมาไดประสบกับ มหาอุทกภัยรุนแรงที่สุดในรอบ 50 ป สงผล ใหอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจหดตัวลงอยาง รุนแรงเนื่องจากการสงออกที่ลดลงเปนอยาง มากในไตรมาสที่ 4 ของป อีกทั้งอาจสงผลลบ ตอเนื่องไปจนถึงกลางป 2555 เนื่องจากอยูใน ชวงฟนฟูกิจการ นอกจากนีก้ ารปรับขึ้นคาแรง ของรัฐบาลยังซํ้าเติมภาคธุรกิจที่แทจริงซึ่งอาจ สงผลลบตอความสามารถในการแขงขันของ ประเทศไทยกับประเทศคูแขงที่เปนผูผลิตสินคา เดียวกันในตลาดโลกได รวมทัง้ อาจทําใหนกั ลงทุน ตางประเทศยายฐานการผลิตและเปลี่ยนฐาน การผลิตจากประเทศไทยอยางถาวร แม ว  า จะมี ป  จ จั ย ลบต อ เศรษฐกิจ โลกและ ในประเทศดังที่กลาวมาแลว แตกลับพบวา อุต สาหกรรมอัญ มณี แ ละเครื่อ งประดั บ ของ ประเทศไทยยัง มี ก ารส ง ออกที่ เ ติ บ โตต อ เนื่ อ งจากป ก  อ นซึ่ ง สะท อ นถึง ความสามารถ ในการแขงขันไดเปนอยางดี สําหรับป 2554 นี้ การสงออกสินคากลุม อัญมณีและเครือ่ งประดับ ยังคงอยูใ นอันดับที่ 4 ของการสงออกของประเทศ ซึ่งมีมูลคาการสงออกถึงประมาณปละ 12,301 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือคิดเปนอัตราการเติบโต รอยละ 5.6 จากการดําเนินธุรกิจมาเปนเวลา 38 ป บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ไดมีการวาง กลยุท ธ ท างธุร กิจ และรากฐานอย า งมั่ น คง นับตัง้ แตการสรางฐานการผลิตทีม่ งุ เนนการผลิต


´ŒÇ¡Ò÷íҧҹ໚¹·ÕÁ ¡ÒþѲ¹ÒÍ‹ҧäÁ‹ËÂØ´ÂÑé§ áÅÐÂÖ´¼ÙŒÁÕ»ÃÐ⪹ ËÇÁ¡Ñ¹ Íѹ¹íÒä»ÊÙ‹ “ºÃÔÉÑ·áºÃ¹´ à¤Ã×èͧ»ÃдѺÍÑÞÁ³ÕÃдѺâÅ¡” สินค า จํ า นวนมากที่ มี คุ ณ ภาพในระดั บ โลก (World Class Mass Brand Production Base) ซึ่ง ประกอบดวย 8 โรงงานใน 5 ประเทศ อันไดแก ประเทศไทย เวียดนาม จีน อินโดนีเซีย และ เยอรมันนี พัฒนาการตอมานําไปสูการสราง ฐานการจัดจําหนายที่หลากหลาย (Global Distribution Base) ครอบคลุมตลาดที่สําคัญใน โลก ซึ่งประกอบดวย 9 แหงใน 9 ประเทศ ไดแก ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมันนี อินเดีย อินโดนีเซีย เวียดนาม และ จีน ในที่สุดบริษัทฯ ไดกาวไปสูการสรางฐาน คาปลีกและบริหารตราสินคาของตนเอง (Retail Base & Brand Management) ซึ่งมีตราสินคา ทั้งหมด 12 ตราสินคา กระจายผานฐานการคา ปลีกของตนเองที่ประเทศไทย อินเดีย จีน เวียดนาม และอินโดนีเซีย บริษทั ฯ มีความเชือ่ มัน่ วาการผลิตสูก ารคาปลีก (Manufacturing to Marketing) ประกอบกับคุณคา รวมขององคกร (Core Values) อันประกอบดวย ทรัพยากรบุคคลที่มีศักยภาพทํางานรวมกัน อยางเปนทีม พัฒนาอยางไมหยุดยั้ง และยึด ผูม ปี ระโยชนรว มกันเปนศูนยกลางจะเปนกุญแจ สําคัญสูการเปน “(World Class Jewelry Brand Company)” ไดในอนาคต ความสําเร็จของผลการดําเนินงานที่ผานมาทํา ใหบริษัทฯ มีกําไรสุทธิตอเนื่อง ฐานะทางการ เงินมั่นคง สงผลใหบริษัทฯ ไดจายปนผลเปนป ที่ 11 ติดตอกัน โดยคิดเปนอัตราผลตอบแทน

จากเงินปนผลเฉลี่ย (Average Dividend Yield) ตลอดระยะเวลา 11 ป เทากับ 10.22% ตอป สําหรับป 2554 มีการจายปนผลจากกําไรสุทธิ ป 2553 รวมจํานวนเงินประมาณ 200 ลาน บาท คิดเปนปนผลหุนละ 0.50 บาท หรือคิด เปนอัตราผลตอบแทนจากเงินปนผล (Dividend Yield) ประมาณ 7.77% ตอป โดยจายปนผล 58.33% ของกําไรสุทธิ สอดคลองตามนโยบาย ปนผลที่กําหนดไววา จายปนผลไมเกิน 60% ของกําไรสุทธิ สําหรับป 2554 คณะกรรมการบริษทั ไดพิจารณา อนุมัติจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.60 บาท ตอหุน รวมเปนเงิน 242 ลานบาท หรือคิดเปน อัตราผลตอบแทนจากเงินปนผล (Dividend Yield) 9.35% ตอป โดยจายปนผล 54.90% ของกําไรสุทธิ สอดคลองตามนโยบายปนผลที่กําหนดไววา จายปนผลไมเกิน 60% ของกําไรสุทธิ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554 คณะกรรมการ บริษัทไดมีมติอนุมัติจายเงินปนผลจายระหวาง กาลจากกําไรสําหรับงวด 9 เดือน สิ้นสุดวัน ที่ 30 กันยายน 2554 ในอัตรา 0.10 บาทตอ หุน รวมเปนเงินประมาณ 40 ลานบาท ดังนัน้ คงเหลือเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.50 บาท ตอหุน หรือเปนเงิน 202 ลานบาท ใหแกผูถือหุน ตอเมื่อที่ประชุมสามัญผูถือหุนมีมติอนุมัติใน วันที่ 19 เมษายน 2555 นี้ จากวิกฤตทางการเงินและเศรษฐกิจโลกที่ยัง ชะลอตัวลงตอเนื่องมากวา 4 ป สงผลใหความ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 21

เชือ่ มัน่ ของผูบ ริโภคลดลงอยางรุนแรง อยางไรก็ดี บริษัทฯ ยังคงรักษายอดขาย 4,122 ลานบาท ใกลเคียงกับปกอ น ในขณะทีค่ า วัตถุดบิ ทัง้ ราคา ทองคําและเนื้อเงินมีความผันผวนเปนอย า ง มาก แตบริษทั ฯ ยังคงมีกําไรขัน้ ตน (Gross Profit) 1,379 ลานบาท กําไรจากการดําเนินงาน (Operating Profit) 408 ลานบาท และกําไรสวน ที่เปนของผูถือหุนบริษัทฯ (Profit to Equity) 456 ลานบาท ซึง่ เติบโตขึน้ จากปกอ น 87.47% แสดงใหเห็นวาบริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยง และรักษาความสามารถในการแขงขันไดเปน อยางดีทามกลางปจจัยลบมากมายดังที่กลาว มาแลวขางตน อีกทั้งบริษัทฯ ยังคงมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง โดยพิจารณาไดจากหนีส้ ินตอทุน (Debt to Equity) เพียง 0.70 เทา และความสามารถในการจาย ดอกเบีย้ (Times Interest Earned) สูงถึง 10.65 เทา รวมทั้งบริษัทฯ ยังสามารถรักษาสภาพคลอง ไดเปนอยางดีโดยพิจารณาไดจากอัตราสวน ทุนหมุนเวียน (Current Ratio) ที่สูงถึง 2.11 เทา สําหรับป 2555 นี้ ยังคงเปนอีกปทมี่ คี วามทาทาย ตอการเติบโตของเศรษฐกิจโลก และยังคงมี ป จ จั ย เสี่ย งอีก มากมายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิจ ทัง้ การแขงขันทีค่ าดวาจะรุนแรงขึน้ เพราะอุปสงค ของตลาดหดตัวลงในขณะเดียวกันอุปทานของ ตลาดก็ยังคงมีอยูอยางเหลือเฟอ ดังนัน้ จากนี้ ต อ ไปการดํ า เนินธุรกิจ ต อ งมี ทิ ศทางที่ชัด เจน และการขยายการลงทุนตองสรางมูลคาเพิ่มแก


ºÃÔÉÑ·Ï ÁÕ¤ÇÒÁàª×èÍÁÑè¹àÊÁÍÁÒÇ‹Ò ¡ÒÃàμÔºâμÍ‹ҧÂÑè§Â×¹¢Í§¡Ô¨¡ÒÃä´Œ¹Ñé¹ μŒÍ§»ÃСͺ´ŒÇ¨ÔμÊíҹ֡㹡ÒÃÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹ÍÊѧ¤Á กิจการ (Economic Value Added) โดยบริษัทฯ มีแผนการดําเนินงานประจําป คือ การรักษาตลาด ในสหรัฐอเมริกา และปรับโครงสรางการบริหาร กิจการในกลุม สหภาพยุโรป โดยมุง ใหความสําคัญ กับตลาดเยอรมันเปนหลัก สวนการเติบโตของ ธุร กิจ มาจากกลุ ม ประเทศที่ มี ก ารพัฒ นา เศรษฐกิจอยางรวดเร็ว อันไดแก อินเดีย จีน เวียดนาม และอินโดนีเซีย โดยใชกลยุทธการ ขยายตลาดแบรนดของตนเองผานเครือขาย ดานคาปลีกเปนหลัก สิ่ง สํา คั ญ อีก ประการหนึ่ง สํา หรับ การดํ า เนิน ธุรกิจคือ การรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility) ซึ่งบริษัทฯ มีความเชื่อมั่น เสมอมาวาการเติบโตอยางยั่งยืนของกิจการได นัน้ ตองประกอบดวยจิตสํานึกในการรับผิดชอบ ตอสังคมทั้งภายนอกองคกรและภายในองคกร โดยบริษัทฯ มุงเนนการสงเสริมเชิงสังคมไว 3 แนวทาง ไดแก 1) การสงเสริมการศึกษาและพัฒนาความรู โดยไดจัดการศึกษาในระบบทวิภาคี รวมกับ สํานักงานโครงการสวนพระองคสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กาญจนา ภิเษกวิทยาลัยชางทองหลวง และวิทยาลัย ศิลปหัตถกรรมกรุงเทพ ในการรับเด็กผูดอย โอกาสในพื้น ที่ ต  า งจั ง หวั ด เข า ศึ ก ษาต อ ใน ระบบทวิ ภ าคี ร ะดั บ ปวช.สาขาเครื่อ งประดั บ อัญมณี โดยดําเนินการตอเนื่องมาเปนปที่ 11 รวมถึงโครงการนํารอง “การสงเสริมอาชีพสําหรับ ผูพ กิ าร” โดยการรวมมือกับโรงเรียนโสตศึกษาที่

จะสรางและพัฒนาทักษะในการเปนชางฝมือสาขาวิชาชีพเครื่องประดับอัญมณี อันเปนการเพิ่ม โอกาสในการประกอบอาชีพใหกับผูพิการทางการไดยิน 2) การสงเสริมจิตอาสาแบงปนตอสังคม โดยบริษัทฯ รณรงคใหผูบริหาร พนักงาน มีจิตอาสาใน การชวยเหลือสังคมในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะในยามที่ประเทศชาติประสบภาวะวิกฤต ทั้งนี้ในปที่ ผานมาบริษัทฯ เขาไปมีสวนรวมชวยเหลือและมอบเครื่องอุปโภคบริโภค พรอมเงินสมทบเขากองทุน ตางๆ เพื่อฟนฟูมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ยังรวมถึงการรวมบริจาคโลหิตใหกับสภากาชาดไทย เปนประจําอยางตอเนื่องอีกดวย 3) การสงเสริมการยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวติ ของพนักงาน ทีด่ าํ เนินมาอยางตอเนือ่ งอันประกอบ ดวย ศูนยการพัฒนาเลีย้ งเด็กและสหกรณออมทรัพยเพือ่ พนักงาน ตลอดจนจัดโครงการตางๆ ทีม่ งุ เนน การพัฒนาชีวิตพนักงาน นอกจากนี้ยังมีอีกหลายโครงการ เชน โครงการลดหนี้และสรางแนวคิดของ ความพอเพียงใหกับพนักงาน ธนาคารขยะใหพนักงานรูคุณคาทรัพยากร โครงการสรางเสริมสุขภาพ เปนตน อีกทัง้ บริษทั ฯ ไดเปนหนึง่ ในองคกรธุรกิจของไทยทีป่ ฎิบัตติ ามพันธสัญญาโลกของสหประชาชาติ (UN Global Compact) วาจะดําเนินธุรกิจโดยยึดหลัก 4 ประการ ทีว่ า ดวยเรือ่ ง สิทธิมนุษยชนมาตรฐาน แรงงาน การปกปองสิ่งแวดลอม และการตอตานคอรัปชั่น สุดทายนี้ในฐานะตัวแทนของคณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหารขอขอบคุณผูถือหุนทุกทาน พนักงานทุกระดับ และผูมีสวนเกี่ยวของในกิจการทั้งหมด ที่มอบความไววางใจในการดําเนินงานและ ใหการสนับสนุนทั้งทางตรงและทางออมมาโดยตลอด ทั้งนีค้ ณะกรรมการบริษัทและคณะผูบริหาร จะยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงอันประกอบดวย การพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการสราง ภูมิคุมกันที่ดี ตามแนวทางพระราชดํารัสเปนบรรทัดฐานในการบริหารงาน และปฏิบัติตามหลัก การกํากับดูแลกิจการที่ดีโดยคํานึงความโปรงใส ตรวจสอบได ความมีจรรยาบรรณในการทําธุรกิจ ตลอดจนหลักความรับผิดชอบทางธุรกิจตอสังคม และหวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับการสนับสนุน อยางยั่งยืนตลอดไป

(นายปรีดา เตียสุวรรณ) ประธานกรรมการบริษัท

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 22


ÇÔÊÑ·Ñȹ

“บริษัทแบรนดเครื่องประดับอัญมณีระดับโลก”

¾Ñ¹¸¡Ô¨

• การพัฒนาแบรนดของตนเองใหกาวสูการเปนแบรนดเครื่องประดับอัญมณีระดับโลก • การสรางความแข็งแกรงของฐานการผลิตเครื่องประดับอัญมณีคุณภาพสูงระดับสากล • การรักษาความไดเปรียบเชิงการแขงขันดานฐานการจัดจําหนายที่กระจายอยูในภูมิภาค ที่สําคัญของโลก • การดํารงไวซึ่งความเขมแข็งทางดานการเงิน และการบริหารความเสี่ยงอยางเหมาะสม • การสรางความมั่นคงใหกับพนักงาน คูคา และสรางผลตอบแทนอยางสมํ่าเสมอใหแกผูถือหุน • การปฎิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และตอพันธะสัญญาโลกของสหประชาชาติ (UN Global Compact) อยางเครงครัด

¤Ø³¤‹ÒËÇÁ¢Í§Í§¤ ¡Ã • การทํางานเปนทีม • การพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง • ยึดผูมีประโยชนรวมกันเปนศูนยกลาง

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 23


UK Germany

China

USA France India

Thailand

Vietnam

Indonesia

Production Distribution Retail Brand management

ÅѡɳСÒûÃСͺ¸ØáԨ บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) (“PRANDA”) กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2516 ในนามของ บริษัท แพรนดา ดีไซน จํากัด ตอมาไดจัดตั้ง บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด ขึ้นอยางเปนทางการเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2527 และไดนําหุนสามัญเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2533 ซึ่งไดแปรสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัด เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2537 ปจจุบันบริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 410 ลานบาท เปนทุนที่ออกและชําระแลว 403.33 ลานบาท โดยมีที่ตั้งสํานักงานใหญเลขที่ 28 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจเปนผูผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแทเปนหลัก ปจจุบันเปนผูนําดานการสงออกเครื่องประดับอัญมณีของไทย ซึ่งมีการกระจาย ฐานลูกคาไปยังภูมิภาคที่สําคัญของโลก อันไดแก อเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 24


บริษัทฯ กําหนดวิสัยทัศนที่จะเปน “บริษัทแบรนดเครื่องประดับอัญมณีระดับโลก (World Class Jewelry Brand Company)” ซึ่งไดวางรากฐาน ที่มั่นคงไวรองรับกับวิสัยทัศนดังกลาว โดยพิจารณาไดจากบริษัทฯ ไดวางโครงสรางการบริหารที่สมดุลซึ่งประกอบดวยรายละเอียดดังนี้

1) ´ŒÒ¹¡ÒüÅÔμ (Production)

ผลิตเครื่องประดับอัญมณีที่มีประสิทธิภาพในดานการประหยัดขนาดการผลิต (Economies of Scale) สงผลใหตน ทุนในการผลิตสินคาเหมาะสมกับคุณภาพของสินคา และไดกระจายความเสีย่ ง ทางดานการผลิตเพื่อใหครอบคลุมแทบทุกระดับราคาสินคา โดยกลุมบริษัทฯ มี 8 โรงงาน ใน 5 ประเทศ ดวยจํานวนโรงงานที่มากเพียงพอตอปริมาณการสั่งผลิต ทําใหปจจุบันบริษัทฯ มีกําลังการผลิตรวมกวา 8 ลานชิ้นตอป

2) ´ŒÒ¹¡ÒèѴ¨íÒ˹‹Ò (Distribution)

โดยบริษัทฯ มีบริษัทจัดจําหนายที่เปนของตนเอง และตัวแทนจําหนาย ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ เพื่อกระจายความเสี่ยงทางการตลาด และการขยายตลาดในเวลาเดียวกัน ฐาน จัดจําหนายเหลานีก้ ระจายตามภูมิภาคที่สําคัญของทั่วโลก ไดแก สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน อินโดนีเซีย ญี่ปุน จีน เวียดนาม อินเดีย และไทย โดยชองทาง การจัดจําหนายจะขายสงใหกับตัวแทนจัดจําหนายรายใหญทั่วโลก โดยปจจุบันมีบริษัทยอย ที่เปนฐานการจัดจําหนายทั้งหมด 6 บริษัท

3) ´ŒÒ¹¡ÒäŒÒ»ÅÕ¡ (Retail)

บริษทั ฯ มีบริษทั ยอยทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการบริหารจัดการการคาปลีก ซึง่ รวมถึงรานคาปลีก ของบริษัทเอง และการจัดจําหนายผานระบบแฟรนซไชส เพื่อเขาถึงกลุมผูบริโภคเครื่องประดับ โดยตรง ปจจุบันมี 4 บริษัท

4) ´ŒÒ¹¡ÒúÃÔËÒÃμÃÒÊÔ¹¤ŒÒ (Brand Management)

บริหารตราสินคาของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย และตราสินคาที่บริษัทฯ หรือบริษัทยอยไดรับ สิทธิในการจัดจําหนายเพือ่ พัฒนาและสรางคุณคาใหกบั ตราสินคาในกลุม บริษทั

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 25


áºÃ¹´ ¢Í§àÃÒ เพื่อสานตอวิสัยทัศนที่จะมุงสูการเปนบริษัทแบรนดเครื่องประดับอัญมณีระดับโลก โดยอาศัยประสบการณและความชํานาญในการผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับ มากกวา 38 ป ผสานกับความเขาใจตลาดเครือ่ งประดับในปจจุบัน กลุมบริษัทแพรนดา ไดมุงเนนการทําตลาดแบรนดของตนเอง (Own Brands) และแบรนดที่บริษัทฯ ไดรับ สิทธิในการผลิตและการจัดจําหนาย (Licensed Brands) มาอยางตอเนื่อง โดยบริษัทฯ และ บริษัทในเครือ ไดรวมพัฒนาแบรนดที่มีเอกลัษณที่แตกตางกัน เพื่อสนองตอบ ความตองการของลูกคาในแตละกลุม

The everlasting essence of the absolute 24K gold jewelry - 99.9% purity in the endless pursuit of unique design and excellent craftsmanship

Superior diamond jewelry with a distinctive statement of luxury through unique and highly concentrated expression for modern working women

International fashion jewelry brand for women of all ages who love to emphasize feminine touch and are fashion conscious, mix and match style

Creative design on 96.5% gold jewelry with an exclusive refinement of both affluence and class of elegance for modern lifestyle

Established in Paris since 1880 and has ever since been the landmark for the finest expressions of designed 18K gold jewelry with premium quality gemstones

The Art of gold, handcrafted from the finest 24K gold - 99.9% purity of superior gold content, created by professional artisans to become an extraordinary artwork ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 26


ปจจุบัน บริษัทฯ มีแบรนดที่เปนที่รูจักในแตละตลาดเปาหมายทั้งสิ้น 12 แบรนด หลัก วางจําหนายในหลายประเทศทั่วโลก โดยในป 2554 บริษัทฯ มีจุดจําหนาย (Point of Sale) ของสินคาแบรนด ในเอเชียแปซิฟก 3,062 แหง ยุโรป 2,577 แหง ตะวันออกกลาง 74 แหง ออสเตรเลีย 41 แหง อเมริกา 11 แหง แอฟริกา 7 แหง รวมทั้งสิ้น 5,772 แหง

International trend-oriented collection in 925 sterling silver for sophisticated women who prefer non-standard, extravagant jewellery, high-class design far from mainstream fashion Timeless collection of marcasite jewelry finely handcrafted for todayʼs women, inspired by well-known design period from Victorian through Art Deco

Timeless jewelry collection inspired by artifacts from Victoria & Albert Museum, London, the worldʼs leading museum of art and design (Licensed Brand)

Exclusive high-end luxury menswear and menʼs accessories brand, for modern smart achievers who are full with passion for individuality and great attention to details (Licensed Brand)

Modern, innovative and sensible 18K gold jewelry with diamond and in distinctive design, highlighting class and taste for casual and todayʼs lifestyle

A unique line of wedding bands in gold and platinum from classic to sophisticated designs, offered for custom-made service-made in Germany

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 27


¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉ·Ñ áÅФ³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒà 1. ¹Ò»ÃÕ´Ò àμÕÂÊØÇÃó ประธานกรรมการบริษัท

2. ¹Ò§»ÃоÕà ÊÃä¡Ã¡ÔμÔ¡ÙÅ

ประธานกรรมการบริหารกลุม / กรรมการการเงิน / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

3. ¹Ò§Êعѹ·Ò àμÕÂÊØÇÃó

ประธานกรรมการการเงินกลุม / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

4. ¹Ò»ÃÒâÁ·Â àμÕÂÊØÇÃó

กรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / ประธานกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม / กรรมการการเงิน / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

5. ¹Ò§»ÃÒ³Õ ¤Ø³»ÃÐàÊÃÔ°

กรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการการเงิน / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

6. ¹Ò§¾¹Ô´Ò àμÕÂÊØÇÃó

กรรมการบริษัท / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

6

5

2

1

3

4


7. àÃ×Íâ·Í¹Ñ¹μ »Ò¹Ð¹¹· Ã.¹.

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

8. ¹ÒÂÇÕÃЪÑ μѹμÔ¡ØÅ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

9. ¹Ò§ÊÃÔμÒ ºØ¹¹Ò¤

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ

10. ¹Ò§ÊÒǾԷÂÒ àμÕÂÊØÇÃó

รองกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการการเงิน

11. ¹ÒÂà´ªÒ ¹Ñ¹·¹à¨ÃÔÞ¡ØÅ

รองกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการการเงิน

12. ¹ÒªÒμÔªÒ ·Õ¦ÇÕáԨ

กรรมการบริหาร / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

9

8

7

10

11

12


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÅØÁ‹ ºÃÔÉ·Ñ Ï

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 30


¡ÃÃÁ¡Òü٨Œ ´Ñ ¡Òà 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

1. ¹Ò»ÃÒâÁ·Â àμÕÂÊØÇÃó

9. ¹Ò§ÊÒÇÃØ‹§¹ÀÒ à§Ò§ÒÁÃÑμ¹

2. ¹Ò§»ÃÒ³Õ ¤Ø³»ÃÐàÊÃÔ°

10.¹ÒÂÇԹѠ¾Ã¾Ô·Ñ¡É ÊÔ·¸

3. ¹ÒªÒμÔªÒ ·Õ¦ÇÕáԨ

11.Mr. Johnny Salmon

4. ¹ÒÂÊѹμÔÀÒ¾ ÃÔÂÒÂ

12.Mr. Vinod Tejwani

5. Ms. Maureen Kelley

13.¹Ò§Êعѹ·Ò àμÕÂÊØÇÃó

6. Mr. Gregor Kroll

14.¹Ò§¾¹Ô´Ò àμÕÂÊØÇÃó

7. Mr. Yvan Le Dour

15.Mr. Jun Ho Kim

กรรมการผูจัดการ (สายผลิต) – บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน)

กรรมการผูจัดการ – บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

กรรมการผูจ ดั การ (สายตลาด) – บริษทั แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน)

กรรมการผูจัดการ – Pranda Guangzhou Co., Ltd.

กรรมการผูจัดการ – บริษัท คริสตอลไลน จํากัด

กรรมการผูจัดการ – P.T. Pranda SCL Indonesia

กรรมการผูจัดการ – Pranda Vietnam Co., Ltd.

กรรมการผูจัดการ – Pranda Jewelry Private Limited

กรรมการผูจัดการ – Pranda North America, Inc.

กรรมการผูจัดการ – Pranda Singapore Pte. Limited

กรรมการผูจัดการ – Pranda & Kroll GmbH & Co. KG

กรรมการผูจัดการ – บริษัท แพรนดา ลอดจิ้ง จํากัด

กรรมการผูจัดการ – H.GRINGOIRE s.a.r.l

กรรมการผูจัดการ – บริษัท เคแซด–แพรนดา จํากัด

8. Mr. Malcolm Pink

กรรมการผูจัดการ – Pranda UK Limited ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 31


¼ÙºŒ ÃÔËÒà 1. ¹Òª¹Ñμ¶ ÊÃä¡Ã¡ÔμÔ¡ÙÅ

5. ¹Ò§©ÇÕ ¨ÒÃØ¡ÃÇÈÔ¹

2. ¹Ò§ÊÒÇÈÈÔâÊÀÒ ÇѲ¡Õà¨ÃÔÞ

6. ¹Ò§ÊÒÇÊؾà ÃØ‹§¾Ô·ÂÒ¸Ã

3. ¹Ò§¹ÔÃÒÃÑμ¹ ¸¹ÒàŢоѲ¹

7. ¹Ò´ØÉÔμ ¨§ÊØ·¸¹ÒÁ³Õ

4. ¹ÒÂÊÁÈÑ¡´Ôì ÈÃÕàÃ×ͧÁ¹μ

8. ¹Ò¸à¹È »˜Þ¨¡ÃÔª

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการการเงิน

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

กรรมการการเงิน / เลขานุการบริษัท

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน

1

2

3

4

5

6

7

8

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 32


¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹ÍÊѧ¤Á áÅФس¤‹ÒËÇÁͧ¤ ¡Ã

ในป 2554 ที่ผานมา คณะกรรมการบริษัท ไดแตงตั้ง คณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม จํานวน 8 คน เพื่อทดแทนชุดเกาที่ครบวาระ เพื่อมีบทบาทในการสนับสนุน สงเสริม การสรางคุณคารวม (Share Value) บนแนวทางความรับผิดชอบตอสังคม ซึ่งหมายรวมทั้งสังคมภายในองคกร และ ภายนอกองคกร ใหเกิดขึ้นในกลุมบริษัทฯ โดยพนักงานมีสวนรวมอยางทั่วถึง ตลอดจนการ ปรับปรุงกิจกรรมการมีสวนรวมอยางเปนระบบตอเนื่อง รวมถึงการประยุกตกิจกรรมโครงการ เขามา สูวิถีการปฏิบัติงานและการดําเนินชีวิตไดอยางกลมกลืนตามคุณคารวมที่ยึดถือรวมกัน การดําเนินงานของคณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม ในป 2554 นี้ มีการแตงตั้งคณะกรรมการ อนุกรรมการชุดใหม โดยมีคุณปราโมทย เตียสุวรรณ กรรมการผูจัดการ (สายผลิต) เปนประธานคณะกรรมการ ยังคงไวซึ่งนโยบายในการสนับสนุน สงเสริม การสรางคุณคารวม (Share Value) ใหเกิดขึ้นใน กลุมบริษัทฯ นั่นก็คือแกนแทของแพรนดา ซึ่งประกอบไปดวยดวงใจ 3 ดวงคือ

Teamwork (การทํางานเปนทีม) การประสานงาน รวมมือ รวมใจ เสริมสรางแรงบันดาลใจซึ่งกันและกันใหเกิดการมีสวนรวมของ พนักงานทุกระดับชั้นเพื่อใหผลการทํางานไปสูเปาหมายของบริษัทฯ Continuous Improvement (การพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง) การสรางโอกาสและเห็นความสําคัญในการปรับปรุง การพัฒนาอยางตอเนื่องนําไปสูสิ่งที่ดีกวาเสมอ ทั้งในระดับบุคคล หนวยงาน และบริษัท เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา และสภาพ แวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป Stakeholder Focus (ยึดผูมีประโยชนรวมกันเปนศูนยกลาง) การใหความสนใจ ใสใจ ยุตธิ รรม โปรงใส ในการทํางาน โดยยึดผูม ผี ลประโยชนรว มกันเปนศูนยกลาง ซึ่งไดแก กลุมตางๆ คือ ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา เจาหนี้ คูแขง ชุมชน และสังคม

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 33


¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹ÍÊѧ¤Á áÅÐ ¤Ø³¤‹ÒËÇÁͧ¤ ¡Ã

เพื่อตอบสนองแกนแทของแพรนดาดังกลาว คณะกรรมการฯ จึงไดจัดใหมีโครงงานและกิจกรรมการมีสวนรวมของพนักงาน ซึ่งในป 2554 นี้ไดพิจารณา ปรับกรอบงานใหม แบงออกเปน 10 โครงการมีดังนี้

â¤Ã§¡ÒÃÀÒÂã¹Í§¤ ¡Ã

ศูนยการเรียนรูกลุมแพรนดา

โครงการสรางสรรคนวัตกรรม

มี วั ต ถุป ระสงค เพิ่ม พู น พัฒ นาทั ก ษะความรู ความสามารถของผูบริหาร พนักงานใหสามารถ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีวิสัยทัศนกาว ไกล กาวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงการ นี้ดําเนินการโดยคณะกรรมการวิชาการ ผลงาน ที่ผานมา ไดจัดใหมีการอบรมหลักสูตร “พัฒนา การจัดการ” ใหผบู ริหารระดับผูจ ดั การฝาย ผูช ว ย กรรมการผูจัดการ จํานวน 35 ทาน จัดอบรม โดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาตร ในระหวาง เดือนมกราคมถึงเมษายน 2554 และมีแผนงาน จะจัดเชนนี้ในปตอๆ ไป

เพื่อ สนั บ สนุ น ให พ นั ก งานเกิด ความคิ ด ใน การสราง ดัดแปลง เครื่องใช เครื่องมือ และ กระบวนการ ใหสามารถเพิ่มผลผลิต ลดตนทุน ในการผลิต ซึ่งในปนี้มีผลงานสงเขาประกวด สูงถึง 44 ผลงาน และไดนําผลงานขยายไปสู บริ ษั ท ในเครือ ทั้ ง สาขาในประเทศไทยและ ตางประเทศ

นอกจากนีม้ กี ารจัดอบรมหลักสูตรอืน่ ๆ ทัง้ ภายใน และภายนอกมากกวา 120 หลักสูตร พนักงานทุก ระดับไดรบั การอบรมอยางทัว่ ถึง ดวยงบประมาณ ฝกอบรมมากกวา 1 ลานบาท และการบริการ หองสมุด ยังคงเปดบริการใหพนักงาน ในปนี้มี หนังสือใหมๆ มากกวา 1,000 เลม มีพนักงานที่ ใชบริการมากกวา 400 คนตอเดือน และไดจัดหา คอมพิวเตอรความเร็วสูงมากกวา 10 เครื่องไว บริการในหองบริการอินเตอรเน็ต

สหกรณฯ ยังไดมอบทุนการศึกษาใหบุตร-ธิดา พนักงานในเครือ ในระดับประถมศึกษา อาชีวศึกษา และปริญญาตรี จํานวน 58 ทุน เปนจํานวนเงิน 79,000 บาท รวมทัง้ ลดอัตราดอกเบีย้ ใหพนักงาน ที่กูเงินจากสหกรณลงอีก 2 % เปนระยะเวลา 6 เดือน เพือ่ แบงเบาภาระจากเหตุการณอทุ กภัย และพักชําระหนี้ใหพนักงานที่เดือดรอนจาก อุทกภัยเปนระยะเวลา 2 เดือน

โครงการศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็กไดดําเนินการอยางตอเนื่อง มาเปนปที่ 23 เพื่อลดภาระการเลี้ยงดูบุตร ของพนักงาน ปจจุบันมีเด็กที่อยูในความดูแล ประมาณ 80 คน

สหกรณ อ อมทรั พ ย พ นั ก งานในเครื อ แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด สหกรณออมทรัพยพนักงานในเครือแพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด ยังคงดําเนินการอยางตอเนื่อง เพื่ อ สนั บ สนุ น ให พ นั ก งานรู จั ก กาออมทรั พ ย และสามารถกูไดในอัตราดอกเบี้ยต่ํา ปจจุบัน มีจํานวนสมาชิก 2,173 ราย มีทุนดําเนินงาน 69 ลานบาท และในป 2554 นี้ สหกรณออมทรัพยฯ ไดรบั การจัดมาตรฐานสหกรณจากสํานักสงเสริม สหกรณ พื้นที่ 2 ป 2554 อยูในระดับ “ดีเลิศ” ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 34

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตพนักงาน จัดใหมีกิจกรรมออกกําลังกายวันละนิดพิชิต โรค ทุกวันเวลา 15.00 น. กิจกรรมฟต & เฟรม (แอโรบิค) ทุกสัปดาห จัดใหมีกิจกรรมตลาดนัด คนกัน เองเพื่อ เปน การเพิ่ม รายได ใ ห ก ับ พนักงาน นอกจากนี้ยัง สงเสริมความผูกพันธ ในครอบครัวโดยการจัดประกวดภาพถายใน วันแมและวันพอ


¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹ÍÊѧ¤Á áÅÐ ¤Ø³¤‹ÒËÇÁͧ¤ ¡Ã

โครงการลดคาใชจายในการเดินทาง บริษัทฯ ยังจัดใหมีการชวยเหลือดานอื่นๆ เชน จัดใหมีรถรับ-สงพนักงาน ในชวงหลังเลิกงาน และบริการสงพนักงานหลังเลิกทํางานลวงเวลา โดยไมคิดคาบริการ นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหพนักงานใชจักรยาน ทั้งเพื่อ ออกกําลังกาย และปลูกจิตสํานึกการลดภาวะโลกรอน โดยจัดสถานทีจ่ อด จักรยาน ตลอดจนสถานที่อาบน้ําเปลี่ยนชุดมีความสะดวกเอื้ออํานวยแก พนักงานที่ใชจักรยาน

โครงการแก ไ ขป ญ หาหนี้ สิ น และให คํ า ปรึกษาดานกฎหมาย บริษัทฯ ไดจัดโครงการแกไขปญหาหนี้สินและ ใหคําปรึกษาดานกฎหมาย จากโครงการนี้ สามารถชวยเหลือพนักงานไดจํานวน 317 ราย คิดเปนเงินจํานวนกวา 55 ลานบาท ทั้งนี้ไดรับ การสนับสนุนจากสถาบันการเงินตางๆ เชน ธนาคารอิสลามฯ

โครงการ 7 ส และการประหยัดพลังงาน มีวัตถุประสงคดานการใชทรัพยากรตลอดจนพลังงานใหคุมคา สงเสริมใหเกิดความปลอดภัย ปองกัน ปญหาดานสิ่งแวดลอม อีกทั้งยังเปนการพัฒนาดานความสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย ของสถานที่ ทํางาน การดําเนินการเริ่มจากการจัดทํามาตรฐาน 7 ส ซึ่งก็คือ สะสาง สะอาด สะดวก สุขลักษณะ สรางนิสัย สิ่งแวดลอม และสวยงาม ไดจัดทําเปน 2 ระดับ คือ คูมือมาตรฐานกลาง และคูมือ มาตรฐานพื้นที่ เผยแพรใหกับบางบริษัทในกลุมแพรนดา เชน แพรนดาโคราช แพรนดาเวียดนาม และจัดใหมีการตรวจประเมินพื้นที่ ทุก 3 เดือน เปนกิจกรรมที่ทําใหเกิดแรงกระตุนในการตรวจเช็ค วินจิ ฉัยปรับปรุงในทุกพืน้ ทีม่ คี วามเปนระเบียบเรียบรอยชวยปองกันและลดความสูญเสียในดานตางๆ ดานการประหยัดพลังงาน ไดมีการจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล ทั้งนี้เพื่อลดภาวะโลกรอน ดําเนินการ โดยการจัดตั้งคณะทํางานเพิ่มเติม ปรับปรุงคูมือธนาคารขยะรีไซเคิล จัดทําการประชาสัมพันธ ธนาคารขยะรีไซเคิลเพิ่มมากขึ้น เพื่อใหพนักงานมีสวนรวมเพิ่มมากขึ้นในป 2554 มีการรับฝาก-ขาย วัสดุรีไซเคิลมากกวา 50,000 กิโลกรัม เปนมูลคามากกวา 500,000 บาท โดยมียอดขายสูงสุด 3 อันดับ ไดแก พลาสติกรวม พลาสติก PET และขวดแกว นอกจากนี้ยังไดมีสวนรวมในการทํากิจกรรมสูสังคมภายนอกองคกร ไดแก การบริจาคกลองเครื่องดื่ม UHT มากกวา 1,500 กิโลกรัม เพื่อใหชมรมผูผลิตกลองเครื่องดื่มนําไปผลิตเปนแผนอีโคบอรด ใชสําหรับทําหลังคา เรือ ชวยเหลือผูประสบภัยตางๆ และในชวงเกิดวิกฤตอุทกภัย ธนาคารขยะฯ ไดมีสวนรวมในการบริจาคขวดเปลาใหกับหนวยงานตางๆ เพื่อใชสําหรับบรรจุน้ําจุลินทรีย แจก ผูประสบภัย ฯลฯ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 35


¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹ÍÊѧ¤Á áÅÐ ¤Ø³¤‹ÒËÇÁͧ¤ ¡Ã

â¤Ã§¡ÒÃÀÒ¹ͧ͡¤ ¡Ã การศึกษาระบบทวิภาคีและสงเสริมอาชีพผูพิการ

• ดานการศึกษาระบบทวิภาคี ยังคงดําเนินการอยางตอเนือ่ ง เปดดําเนินการตัง้ แตป 2543 มีนกั เรียนทัง้ หมด 11 รุน 706 คน จบการศึกษา แลว 8 รุน 513 คนและในปการศึกษา 2554 กําลังจะจบการศึกษา 31 คน การศึกษาระบบทวิภาคี ไดขยายวงกวางเพื่อใหโอกาสทางการศึกษาไปสูโรงเรียนทั่วไป และยังเปดโอกาสใหกับ บุตร หลาน ญาติ ของพนักงาน และโครงการพี่ฝากนอง ของนักเรียนทวิภาคี ใหมีโอกาสเขามาเรียนในสาขา เครื่องประดับอัญมณี และในปการศึกษา 2554 บริษัทฯ ไดลงนามความรวมมือ (MOU) กับกาญจนา ภิเษกวิทยาลัยชางทองหลวง ในโครงการพัฒนาบุคลากรดานเครื่องประดับและอัญมณี สนับสนุน เงินในโครงการ 54 ลานบาท ระยะเวลา 7 ป ใหทุนการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาออกแบบ เครื่องประดับอัญมณี กับนักเรียนทวิภาคี บุตรพนักงาน และโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภของ พระบาทสมเด็จเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดชฯ (ราชประชานุเคราะห) และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ศึกษาสงเคราะห) รวมจํานวน 7 รุน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดสงเสริมการศึกษาใหกับพนักงาน โดยใชสถานที่ในบริษัท เปดการเรียน การสอนระบบเทียบโอน สาขาเครื่องประดับอัญมณี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ สาขาการจัดการ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง ( ปวส.) ซึง่ มีพนักงานสมัครเขาเรียน จํานวน 3 รุน รวม 87 คน จบการศึกษาแลว 57 คน

ชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวม แกมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

มอบเงินบริจาคเขากองทุน “ตลาดหุนรวมใจ ชวยภัยน้ําทวม”

น้ําใจจากพี่นองชาวแพรนดาฯ ชวยเพื่อนพนักงานที่ประสบอุทกภัย

ชวยเหลือคณาจารยและนักเรียนที่ ประสบภัยน้ําทวมที่กาญจนภิเษก วิทยาลัย ชางทองหลวง

รวม Big Cleaning Day ที่ จ. พระนครศรีอยุธยา

รวมบริจาคโลหิตกับสภากาชาดไทย

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 36

• ดานการสงเสริมอาชีพผูพิการ บริษัทฯ เปดโอกาสแกผูพิการเขามารวมทํางาน ในบริษัท มากกวา 30 คน คิดเปนอัตราสวน 60 : 1 ซึ่งสูงกวาที่ กฎหมาย กําหนดคือ 100 : 1 ซึ่งในปนี้ บริษัทฯ ไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติ “องคกรภาคธุรกิจเอกชนสงเสริมอาชีพคนพิการ” จากกระทรวงพัฒ นาสัง คมและความมั่ นคง ของมนุษย แบงปนและสานประโยชนสูสังคม บริษทั ฯ ไดใหความชวยเหลือพนักงานทีป่ ระสบภัย น้าํ ทวม ดวยการจัดทีพ่ กั อาศัยในระหวางน้าํ ทวม ไดจดั ตัง้ ศูนยรบั บริจาคเงินและสิง่ ของ ซึง่ บริษทั ฯ ไดมอบเงินชวยเหลือพนักงานเปนจํานวนเงิน 5,000 และ 10,000 บาท เปนจํานวน 70 ราย พรอมถุงยังชีพมูลคา 700 บาท เปนจํานวน 70 ราย สวนการชวยเหลือภายนอก บริษัทฯ ไดบริจาค เงิ น ช ว ยเหลือ ผู ป ระสบภั ย น้ํ า ท ว มแกมู ล นิ ธิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จํานวน 1 ลานบาท และบริจาคแกสมาคม จดทะเบียนไทย เปนจํานวนเงิน 1 ลานบาท และนําน้ําดื่ม 200 แพ็ค และปจจัยอื่นๆ มูลคา 3,000 บาท ไปชวยเหลือครู นักเรียนที่ประสบภัย น้ําทวม ณ กาญจนาภิเษก วิทยาลัยชางทอง หลวง ศาลายา นครปฐม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได สงพนักงานจิตอาสา เขารวมชวยเหลือน้ําทวมยังสถานที่ตางๆ เชน รวมงาน Big Cleaning Day ณ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และพนักงานบริษทั รวมบริจาคโลหิตแกสภากาชาดไทย 4 ครั้ง เปนจํานวน 391 ยูนิต ประมาณ 175,950 ตอ ลูกบาศกเซ็นติเมตร


¡ÒþѲ¹Ò áÅÐÃÒ§ÇÑÅà¡ÕÂÃμԤس¢Í§¡ÅØ‹ÁºÃÔÉÑ·Ï 2554 • ไดรับการประเมินจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) รวมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียนและสมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย สําหรับผลการประเมินโครงการ ประเมินคุณภาพการจัดประชุมผูถือหุนสามัญประจําป 2554 อยูในระดับ “ดีเยี่ยม+สมควร เปนตัวอยาง” • ไดรับการประกาศผลรายงานผลการประเมินการการกํากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน ประจําป 2554 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2011) อยูในระดับ “ดีมาก” (4 ดาว) ซึ่งจัดโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) • รับโลประกาศเกียรติคุณภาคธุรกิจที่สงเสริมอาชีพผูพิการ จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย สํานักงานสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ รวมกับ สภาคนพิการทุกประเภทแหงประเทศไทย ซึ่งปจจุบัน แพรนดาฯ ไดสงเสริมใหผูพิการทุกประเภท ประมาณ 31 คน หรือเปนสัดสวน 60 ตอ 1 ซึ่งสูงกวาที่กฎหมายกําหนดที่ 100 ตอ 1 • รวมลงนามความรวมมือ (MOU) ใน “โครงการพัฒนาบุคลากรดานเครื่องประดับและอัญมณี” กับ กาญจนาภิเษกวิทยาลัยชางทองหลวง , สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ ในการสนับสนุนเงินทุนในการดําเนินโครงการฯ จํานวน 54 ลานบาท เปนระยะเวลา 7 ป ตั้งแตป 2554 ถึง 2560 เพื่อเปดโอกาสทางการศึกษาใหกับนักเรียน นักศึกษาที่ขาดแคลน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 37

ทุนทรัพย เขาศึกษาตอในระดับปริญญาตรี หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาชางทองหลวง วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับอัญมณี • รับรางวัล CREATIVE AWARD 2011 จาก การรวมสงผลงานเขาประกวด The Extreme colors of Ploi ซึ่งจัดขึ้นโดย กรมสงเสริมการ สงออก กระทรวงพาณิชย สมาคมผูค า อัญมณี ไทยและเครื่องประดับ • PRIMA GOLD รับรางวัล PM’s Creative Award ในสาขางานสรา งสรรค ต ามลัก ษณะงาน (Function Creations) ในฐานะที่ผลิตสินคาที่ เกิดจากความคิดสรางสรรค จากหลากหลาย องคประกอบ รวมไปถึงการนําวัฒนธรรม และนวัตกรรมมาตอยอดเพื่อเพิ่มมูลคาสินคา หรือบริการ พรอมทั้งการพัฒนาความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืน


¡ÒþѲ¹Ò áÅÐÃÒ§ÇÑÅà¡ÕÂÃμÔ¤³ Ø ¢Í§¡ÅØÁ‹ ºÃÔÉ·Ñ

• บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) โรงงานนครราชสีมา ไดรับ รางวัลสถานประกอบกิจการดีเดนดานแรงงานสัมพันธ และสวัสดิการ แรงงานประจําป 2554 โดยในการรับรางวัลในครั้งนี้นับเปนครั้งที่ 2 ที่ทางบริษัทฯ ไดรับ

• ไดรับการเสนอชื่อเขาชิงรางวัล 1 ใน 4 บริษัทของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยที่มีมูลคาตลาดไมเกิน 10,000 ลานบาท (กลุมที่ 2) เพื่อเขาชิงรางวัล Corporate Social Responsibility Awards 2009 (รางวัลบริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเดนในการดําเนินธุรกิจอยาง รับผิดชอบตอสังคม)

• สหกรณออมทรัพยพนักงานในเครือ แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด ไดรับการ ประเมินมาตรฐานการบริหารงาน จากกรมสงเสริมสหกรณอยูใ นเกรด A ตามมาตรฐานชี้วัด 7 ประการ ของกรมสงเสริมสหกรณ

• Pranda & Kroll GmbH บริษัทยอยของบริษัทฯ ไดรวมเปนพันธมิตรรุก ตลาดอัญมณีและเครื่องประดับสําหรับสุภาพบุรุษ กับ บจก. บัลเดส ซารินี่ จีเอ็มบีเอช ผูนําสินคาแฟชั่นสุภาพบุรุษจากเยอรมัน ภายใต แบรนด Baldessarini

2553

• ไดรับการประเมินจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) รวมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียน และสมาคม สงเสริมผูลงทุนไทย สําหรับผลการประเมินโครงการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมผูถือหุนสามัญประจําป 2553 อยูในระดับ “ดีเยี่ยม”

2551

• ไดรับรางวัลโลประกาศเกียรติคุณ จาก พณฯ รองนายกรัฐมนตรี พลต.สนั่น ขจรประศาสน ในโอกาสที่ บริษัทฯ ไดรับการพิจารณาจาก กรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน ใหเปนองคกรทีส่ นองตอบตอนโยบาย รัฐบาล ในการสงเสริมสวัสดิการแรงงาน โดยจัดตั้งสถานที่ดูแลเด็กใน สถานประกอบการ ที่ดําเนินการมาอยางตอเนื่องและมีมาตรฐาน และ เพื่อเปนแบบอยางที่ดีแกสถานประกอบการอื่นๆ

• ไดรับการประกาศผลรายงานผลการประเมินการการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัทจดทะเบียนประจําป 2553 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2010) อยูในระดับ “ดีมาก” (4 ดาว) ซึ่งจัด โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• ไดรับเกียรติบัตรและโลเชิดชูเกียรติในงาน “68 ป อาชีวะไทย กาวไกล สูอนาคต” จากคุณนริศรา ชวาลตันพิพัทธ รัฐมนตรีชวยกระทรวง ศึกษาธิการ ในโอกาสที่ไดรับคัดเลือกใหเปนสถานประกอบการที่ให ความรวมมือ จัดการเรียนการสอน การฝกวิชาชีพ รวมกับ สํานักงาน การอาชีวศึกษาเปนอยางดี

• ไดรบั ตราสัญลักษณโครงการ “ซือ้ ดวยความมัน่ ใจ” (Buy With Condence) จากคณะกรรมการพัฒนาธุรกิจอัญมณีไทยและเครื่องประดับกระทรวง พาณิชย นับเปนการสรางมาตรฐานและความเชื่อมั่นของธุรกิจอัญมณี และเครือ่ งประดับไทยตอผูซ อ้ื ชาวไทยและชาวตางประเทศ

• ที่ประชุมสามัญผูถือหุนไดอนุมัติใหบริษัทฯออกใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ จํานวน 14,251,410 หุน เพื่อจัดสรรให แกกรรมการและพนักงานของบริษัทฯ (ESOP) โดยไมมีราคาเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวมีอายุ 5 ปนับตั้งแตวันที่ออก โดยมีอัตรา การใชสิทธิคือ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย ตอ 1 หุนสามัญ ราคา ใชสิทธิ 3 บาท/หุน

2552

• ไดรับรางวัลโลประกาศเกียรติคุณ ประเภทองคกรภาคธุรกิจเอกชนดาน การสงเสริมอาชีพคนพิการจาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งเปนประธานในงานมหกรรมวันคนพิการสากล • ไดรับการประเมินจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย รวมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียน และสมาคมสงเสริม ผูลงทุนไทย สําหรับผลการประเมินโครงการประเมินคุณภาพการจัด ประชุมผูถือหุนสามัญประจําป 2551 และ 2552 อยูในระดับ “ดีเยี่ยม” ติดตอกัน 2 ป ซอน

• บริษัทฯ ไดจัดตั้งสหกรณออมทรัพยพนักงานในเครือแพรนดา จิวเวลรี่ เพื่อใหบริการทางดานการเงินรูปแบบตางๆ และโดยเฉพาะอยางยิ่ง เปนการสงเสริมใหพนักงานรูจักการออม • บริษัท คริสตอลไลน จํากัด ไดลิขสิทธิ์สินคาเครื่องประดับภายใต เครื่องหมายการคา V&A จากวิลเตอรอัลเบิรต ประเทศอังกฤษมาผลิต ซึ่ง V&A นับเปนชื่อที่รูจักกันดีในฐานะพิพิธภัณฑแฟชั่นจิวเวลรี่ที่ใหญ ที่สุดในโลก

• ไดรับการประกาศผลรายงานผลการประเมินการการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัทจดทะเบียนประจําป 2552 (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2009) อยูในระดับ “ดีมาก” (4 ดาว) ซึ่งจัด โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 38


¡ÒþѲ¹Ò áÅÐÃÒ§ÇÑÅà¡ÕÂÃμÔ¤³ Ø ¢Í§¡ÅØÁ‹ ºÃÔÉ·Ñ

• บริษทั พรีมา โกลด อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด ผูจ ดั จําหนายเครือ่ งประดับ ทองคําบริสุทธิ์ 24K “PRIMA GOLD” ไดรับรางวัล “Hot 2007 Award” ในงาน Bangkok Gems & Jewelry Fair ครั้งที่ 38

• บริษัทฯ ลงทุนเพิ่มใน Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Yiuxian Gongsi จํานวน 1.5 ลานเหรียญสหรัฐ รวมเปนทุนจดทะเบียนและทุน ที่ชําระแลว 2.35 ลานเหรียญสหรัฐ คิดเปนสัดสวนการลงทุน 100%

2550

• บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เปดตัว “สยามพรรณราย” เพื่อความเปนผูนําแหงดีไซน ทั้งนี้ยังไดรับรางวัล Hot Design Award ในงาน Bangkok Gems & Jewelry Fair ครั้งที่ 37 ที่ผานมานี้

• ไดรบั รางวัล “รองชนะเลิศ” จากการเขารวมประกวดผลงานตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงดานธุรกิจขนาดใหญ ซึ่งจัดขึ้นโดยคณะกรรมการ พิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (กปร.) สํานักนายกรัฐมนตรี

• Pranda & Kroll GmbH & Co. KG เปดตัวเครื่องประดับแบรนด “Cai” ในงาน Inhorgenta Fair ที่เมืองมิวนิค ประเทศเยอรมันนี

• ไดรับใบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย (มรท. 8001-2546) ระดับสมบูรณ จากกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

• ไดรับพิจารณาคัดเลือกจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ (สศช.) ใหเปน 1 ใน 4 ขององคกรตัวอยางที่บริหารธุรกิจตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

• บริษัทฯ ลงทุนเพิ่มใน บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด จํานวน 100 ลานบาท รวมเปนทุนจดทะเบียนและทุนที่ชําระแลว 200 ลานบาท คิดเปนสัดสวนการลงทุน 100%

• PRANDA SCL ขยายโรงงานผลิตเพื่อรองรับความตองการของตลาด ตางประเทศ จากเดิมมีพนักงานและชางฝมือประมาณ 450 คน ได เพิ่มเปน 700 คนในปจจุบัน

• บริษัทฯ ลงทุนเพิ่มในบริษัท Pranda & Kroll GmbH & Co. KG จํานวน 2.4 ลานยูโร หรือประมาณ 116 ลานบาท รวมเปนทุนจดทะเบียนและ ชําระแลวทั้งสิ้น 5.34 ลานยูโร คิดเปนสัดสวนการลงทุน 51%

2548

• ไดรับโลประกาศเกียรติคุณ ใหเปนสถานประกอบการดีเดน ดาน สวัสดิการแรงงาน จากกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

• Pranda & Kroll GmbH & Co. KG ซื้อกิจการทั้งหมดของ KSV Brand GmbH ซึ่งเปนบริษัทจัดจําหนายเครื่องประดับอัญมณีภายใตแบรนด Christ, Cai, Merri, Michael Schumacher

• บริษทั ฯ ลงทุนเพิม่ ในบริษทั คริสตอลไลน จํากัด จํานวน 50 ลานบาท รวม เปนทุนจดทะเบียน 100 ลานบาท และถือครองสัดสวนการลงทุนที่ 96%

• บมจ. แพรนดา จิวเวลรี่ รวมทุนกับ Gunjan Jewels Pvt. Ltd. ในสัดสวน การลงทุน 51 : 49 จัดตั้ง “Pranda Jewelry Pvt. Ltd.” ในประเทศอินเดีย เพื่อจัดจําหนายเครื่องประดับทองและเงินภายใตแบรนดของตนเองใน ประเทศอินเดีย

• บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ลงนามในสัญญารวม ดําเนินธุรกิจ กับ Tomei Gold & Jewelry Holding โดยแตงตั้งเปน ตัวแทนจัดจําหนายแบรนด “PRIMA GOLD” ในประเทศมาเลเซีย

• บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ผูจัดจําหนายเครื่อง ประดับทองคําบริสุทธิ์ 24K “PRIMA GOLD” ไดรับรางวัล “Hot 2007 Award” ในงาน Bangkok Gems & Jewelry Fair ครั้งที่ 38

• บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด มีชองทางการจัดจําหนาย ในประเทศ 48 แหง และตางประเทศ 35 แหง รวมชองทางการ จัดจําหนายทั้งสิ้น 83 แหง

2549

• บมจ. แพรนดา จิวเวลรี่ รวมทุนกับ Mr. Kroll ในสัดสวนการลงทุน 51 : 49 จัดตั้ง “Pranda & Kroll GmbH & Co. KG” ในประเทศเยอรมนีเพื่อจัด จําหนายเครื่องประดับทองและเงินในประเทศเยอรมนีและทวีปยุโรป

• ไดรับพิจารณาจากตลาดหลักทรัพยฯ ใหเปนบริษัทที่มีผลการดําเนิน งานที่ดีในป 2548 ชื่อวา “Congratulate PRANDA as a Nominee for Best Performance – Consumer Products“

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 39


¡ÒþѲ¹Ò áÅÐÃÒ§ÇÑÅà¡ÕÂÃμÔ¤³ Ø ¢Í§¡ÅØÁ‹ ºÃÔÉ·Ñ

2547

• บริษทั ฯ มอบใบสําคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน สามัญใหแกผถู อื หุน เดิมจํานวน 200,000,000 หนวย มีอายุ 5 ป (2 พฤษภาคม 2545 – 2 พฤษภาคม 2550)

• ไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติเปนกรณีพิเศษ (Export Honorary Recognition) จากกรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย ในฐานะผูร กั ษามาตรฐาน สินคา และมีมูลคาสงออกอยางตอเนื่องตลอด 10 ป และเปนบริษัทฯ ที่เคยไดรับรางวัลประเภท Best Exporter มาแลว

2544

• พนักงานบริษัทฯ ไดรับรางวัลเหรียญทองแดงสาขาชางเครื่องประดับ จากการแขงขันฝมือแรงงานนานาชาติ ครั้งที่ 36 ณ กรุงโซล ประเทศ เกาหลีใต

• ไดรับวุฒิบัตรรับรองมาตรฐานเครื่องประดับทองคํา 96.5% ภายใต เครื่องหมายการคา “Century Gold” จากสํานักงานคณะกรรมการ คุมครองผูบริโภค (สคบ.)

• ไดรบั เกียรติบตั ร “โรงงานสีขาว” จากกรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน และสวัสดิการสังคม

• บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ไดจัดจําหนายเครื่อง ประดับทองคําบริสุทธิ์ 96.5% ภายใตแบรนด “Century Gold” โดย เปดสาขาแรก ณ หางสรรพสินคาเดอะมอลลบางแค และในปเดียวกัน มีทั้งสิ้น 7 สาขา

• บริษัทฯ มีศูนยโชวรูม ที่ไดรับใบรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 : 2000 ประเภทการจําหนายเครื่องประดับ อัญมณีและบริการ จากบริษัทผูตรวจสอบประเมิน BM TRADA และสาขานครราชสีมา ไดรับใบรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2000 ประเภทการ ผลิตเครื่องประดับอัญมณีในสวนของโรงงาน จากบริษัทผูตรวจสอบ ประเมิน BVQI

2546

• ไดรับโลประกาศเกียรติคุณใหเปนสถานประกอบการที่มีกิจกรรมที่ เปนคุณและประโยชนแกแรงงานสตรี จากกรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงาน

2543

• ไดรับคัดเลือก ใหเปนผูประกอบการคาระหวางประเทศระดับบัตรทอง หรือ (Gold Card) จากกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง ที่แสดงถึงการ เปนบริษัทที่นาเชื่อถือเปนที่ยอมรับ มีความมั่นคงทางการเงิน

• ขยายฐานการผลิตไปยังประเทศจีน ในนาม “Pranda Guangzhou” • บริษัทฯ ลงทุนเพิ่มในบริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด จํานวน 50 ลานบาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 100 ลานบาท สัดสวน การลงทุน 100%

• พนักงานของบริษัทฯ ไดรับรางวัลเหรียญทอง และรางวัลเหรียญเงิน ใน สาขาชางเครื่องประดับ จากการแขงขันฝมือแรงงานแหงชาติ ครั้งที่ 18 จัดโดย กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

2545

• ไดรับใบประกาศเกียรติคุณและตราสัญลักษณใหกับผูประกอบการที่ “รักษาสิทธิผูบริโภคดานฉลาก โฆษณา สัญญา” จากสํานักงานคณะ กรรมการคุมครองผูบริโภค

• บริษัท คริสตอลไลน จํากัด ไดรับรางวัลผูสงออกไทยดีเดนที่มีการ ออกแบบผลิตภัณฑของตนเอง หรือ Prime Minister’s Export Award for The Best Own Design Exporter จากกรมสงเสริมการสงออก

• ไดรับคัดเลือกใหเปนสถานที่ทํางาน “สะอาด ปลอดภัย ไรมลพิษ มีชีวิตชีวา” และไดรับใบรับรองจากสํานักอนามัยกรุงเทพมหานคร

• บริษัทฯ ไดรับเกียรติบัตร “รานอาหารสะอาด” ในฐานะเปนสถาน ประกอบกิจการที่ไดมาตรฐานรานอาหารสะอาด ประเภทที่จําหนาย อาหาร (ดานกายภาพ) ซึ่งจัดโดยฝายสุขาภิบาลอาหาร กองอนามัย สิ่งแวดลอม สํานักอนามัยกรุงเทพมหานคร

• ไดรับคัดเลือกใหเปนประชาคมริมคลอง คลองบางนา ตามโครงการ “คนรักคลอง” จากสํานักงานเขตบางนา บริษัทฯไดรับมอบวุฒิบัตร ผูผ า นการอบรมลักสูตร การสุขาภิบาลอาหารผูป ระกอบการรานอาหาร ตามที่กรุงเทพมหานคร ไดออกบัญญัติเรื่อง “สถานที่จําหนายอาหาร และสถานที่สะสมอาหาร พ.ศ. 2545”

• ไดรับคัดเลือกเปนผูประกอบการคาระหวางประเทศระดับบัตรทองจาก กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 40


¡ÒþѲ¹Ò áÅÐÃÒ§ÇÑÅà¡ÕÂÃμÔ¤³ Ø ¢Í§¡ÅØÁ‹ ºÃÔÉ·Ñ

2542

• ขยายฐานการผลิตในตางประเทศในนาม “Pranda Vietnam Co.,Ltd,” และ “P.T. Pranda SCL Indonesia”

• บริษัทฯ และบริษัทยอย อีก 2 แหง ไดแก บริษัท พรีมา โกลด จํากัด และ บริษัท คริสตอลไลน จํากัด ไดรับอนุมัติใหใชสัญลักษณตราสิน คาไทย (Thailand’s Brand) จากกรมสงเสริมการสงออก กระทรวง พาณิชย ในฐานะที่เปนผูผลิตและสงออกสินคาที่ไดมาตรฐาน

• จัดตั้ง Pranda Singapore Pte. Limited เพื่อลงทุนในมาเลเซียและ อินโดนีเซีย

• ไดรับใบรับรองในฐานะเปนสถานประกอบการสงออกที่ปฏิบัติถูกตอง ตามมาตรฐานการคุมครองแรงงานหญิงและเด็กเชิงรุก จากกระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคม

• บริษัทฯ ไดลงทุนจัดตั้ง บริษัท แพรนดา ลอดจิ้ง จํากัด เพื่อบริการ ดานสวัสดิการใหกับพนักงานสําหรับที่พักอาศัย

2537

• ขยายฐานการผลิตไปที่จังหวัดนครราชสีมา และฐานการจัดจําหนาย ภายในตางประเทศในนาม “Pranda UK Limited”

• พนักงานของบริษัทฯ ไดรับรางวัลเหรียญทองแดง จากการแขงขันฝมือ แรงงานนานาชาติ ครั้งที่ 35 ณ เมืองมอลทรีออล ประเทศแคนาดา ในสาขาชางเครื่องประดับ

2536

• จัดตัง้ พัฒนาศูนยผลิตภัณฑและพัฒนาตราสินคาในนาม “PRIMA GOLD” พรอมจัดจําหนายภายในประเทศ

2541

• ไดรับรางวัลสุดยอดแผนการตลาด ประเภทการทําตลาดสินคาใหม (Best Marketing of New Gold Product) และประเภทการออกแบบหนา รานหรือดิสเพลย (Best Gold Visual Merchandising) จัดโดยสมาพันธ ผูผลิตทองคําแหงโลก

2535

• ขยายธุรกิจโดยการจัดตั้งฐานจําหนายของตนเองในตางประเทศใน นาม Pranda North America, Inc. และ Crystaline North America, Inc. และ H. Gringoire s.a.r.l.

2539

• บริษัท พรีมา โกลด จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย ไดรับรางวัล P.M. Award ดานผูสงออกไทยดีเดนที่มีการออกแบบผลิตภัณฑ (Design) ของตนเอง จากรัฐบาลไทย และชนะการประกวดแขงขัน “Golden Design Award” ที่งาน Vicenza Oro Fair ที่จัดโดย World Gold Council และงานออกแบบ “Prima Gold” จากอินโดนีเซียไดรับการตัดสินใหชนะเลิศถึง 2 รางวัล “The Best International Award” ของอินโดนีเซียและ “The Best Outstanding International Award” จาก 5 ประเทศ ในเอเชียอาคเนย

2533

• เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยใชอักษรยอ “PRANDA” • บริษัทฯ ไดลงทุนจัดตั้งฐานการผลิตในนาม “ Crystaline Co., Ltd.”

2527

• ขยายธุรกิจโดยการตั้งฐานการผลิตเครื่องประดับอัญมณี พรอมเปลี่ยน ชื่อมาเปน “Pranda Jewelry”

• ขยายตลาดสูตางประเทศในนาม “Primagold International Co.,Ltd,” และ รวมลงทุนใน LG Pranda (ปจจุบันเปลี่ยนชื่อเปน KZ-PRANDA) เพื่อนําเขาและจัดจําหนายโลหะเงินและทองคํา

2516

• เริ่มดําเนินธุรกิจสงออกเครื่องประดับอัญมณีในนาม “Pranda Design”

2538

• ไดรับรางวัล Prime Minister’s Export Award หรือ P.M. Award เปน รางวัลที่รัฐบาลไทยมอบใหแกบริษัทในฐานะผูสงออกที่มีผลงานดีเดน ดาน Best Exporter

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 41


ÀÒÇÐÍØμÊÒË¡ÃÃÁáÅСÒÃᢋ§¢Ñ¹ ตลาดสงออกสําคัญของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยคือสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ดังนั้นหากเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา และกลุมยุโรปยังเผชิญกับปญหาเศรษฐกิจที่เรื้อรังอยางตอเนื่องและยาวนานอาจสงผลตออุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับอยางหลีกเลี่ยงมิได อยางไรก็ตามจากตัวเลขการสงออกเปรียบเทียบยอนหลัง 4 ปพบวาตลาดอินเดีย ตลาดฮองกงหรือจีน เติบโตอยางตอเนื่อง นั่นยอมแสดงใหเห็นวาตลาด อินเดียและจีนจะทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้นในอนาคต จากทศวรรษที่ผานมาพบวาราคาโลหะทองคําและเงินมีการปรับตัวเพิ่ม ขึ้นเปนอยางมาก โดยราคาทองคําเพิ่มขึ้นประมาณ 6 เทา ในขณะที่ เงินเพิ่มขึ้นประมาณ 10 เทา สงผลใหเกิดเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญตอ ตลาดเครื่องประดับอัญมณีแท เนื่องจากตลาดเครื่องประดับอัญมณีแท ใชโลหะทองคําและเงินเปนปจจัยหลักในการผลิตสินคา สิ่งที่เห็นได อยางชัดเจนจากขอมูลยอนหลัง 4 ป คือตลาดเครื่องประดับอัญมณีแท มีสัดสวนของเครื่องประดับทองและเงินเปลี่ยนแปลงไปเปนอยางมาก กลาวคือเมื่อ 4 ปกอนพบวาเครื่องประดับทองและเงินมีสัดสวนประมาณ 70% และ 30% ตามลําดับ ปจจุบันมีสัดสวนประมาณ 55% และ 45% ตามลําดับ นั่นยอมแสดงใหเห็นวาตลาดเครื่องประดับเงินจะมีบทบาท มากยิ่งขึ้นในอนาคต แมวาโลหะเงินจะมีราคาการปรับตัวเพิ่มขึ้นมากกวา ทองคํา แตหากคิดราคาเทียบตอน้ําหนักเทากันแลวพบวาโลหะเงินราคา ต่ํากวาถึง 45 เทา

เรื่องการพัฒนาสินคาโดยใชเครื่องจักร ดังนั้นอุตสาหกรรมนี้ไทยตองมุง เนนพัฒนาผลิตสินคาคุณภาพระดับกลางสูงโดยใชแรงงานฝมือเปนหลัก (Skill Labor Intensive) และพัฒนาแบรนดของตนเองใหอยูในระดับสากล มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อรักษาความสามารถในการแขงขันในระยะยาว อยางไรก็ตาม แมมีปจจัยเสี่ยงมากมายที่สงผลกระทบตออุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไมวาจะเปนเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาที่ชะลอตัว วิกฤตทางการเงินของสหภาพยุโรป รวมถึงราคาโลหะทองคําและเงินทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เปนประวัตกิ ารณ แตอตุ สาหกรรมนีย้ งั คงมีอตั ราการเติบโตตอเนือ่ ง จากปกอ นซึง่ สะทอนใหเห็นถึงการปรับตัวในการแขงขันของอุตสาหกรรมฯ นี้ในตลาดโลกได้เป็นอย่างดี โดยพิจารณาได้จากการส่งออกปี 2554 อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับสงออกมีมูลคาการสงออก 12,301 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนอัตราการเติบโต 5.6% จากป 2553 ที่มี มูลคาการสงออก 11,652 ลานเหรียญสหรัฐฯ และเปนสินคาสงออก อันดับที่ 4 ของประเทศไทยรองจากสินคาประเภทเครือ่ งคอมพิวเตอรอปุ กรณ และสวนประกอบ รถยนตอุปกรณและสวนประกอบ และยางพารา ตามลําดับ

การเปดเสรีการคานํามาสูการแขงขันที่รุนแรงเพิ่มขึ้น โดยคูแขงที่สําคัญ ไดแก จีน และอินเดีย ซึ่งผลิตสินคาประเภทแรงงานกับประเทศไทย (Labor Intensive) อยางไรก็ดีในปจจุบันจีนและอินเดียยังคงมีขอจํากัดในเรื่อง คุณภาพสินคาเมื่อเปรียบเทียบกับไทย แตจีนมีการพัฒนาอยางรวดเร็วใน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 42


·ÔÈ·Ò§¢Í§á¾Ã¹´ŒÒ จากความสําเร็จที่ผานมานับตั้งแตการเปนฐานการผลิตสินคาจํานวนมากที่มีคุณภาพในระดับโลก อันนําไปสูการสรางฐาน การจัดจําหนายที่หลากหลายครอบคลุมตลาดที่สําคัญในโลก ในที่สุดสูการสรางฐานคาปลีกและบริหารตราสินคาของตนเอง บริษัทฯมีความเชื่อมั่นวากิจการมีความพรอมทั้งทางดานโครงสรางทางธุรกิจและบุคคลากรที่มีศักยภาพจะนําองคกรไปสูการ เปน “บริษัทแบรนดเครื่องประดับอัญมณีระดับโลก (World Class Jewelry Brand Company)” ซึ่งจากนี้ตอไปกลยุทธการเติบโต ทางธุรกิจจะมุงเนนการพัฒนาแบรนดของตนเองและการคาปลีกใหอยูในระดับสากล สําหรับป 2554 ที่ผานมาบริษัทฯมีสัดสวนของสัดสวนการขายแบรนดของ ตนเอง (Own Brand Manufacturing : OBM) ประมาณ 30% และมีสัดสวนการ ขายการผลิตและออกแบบรวมกับลูกคา (Original Design Manufacturing : ODM) ประมาณ 70% โดยมีบริษัทฯมีเปาหมายเพิ่มสัดสวนการขาย OBM ในอนาคต โดยมุงเนนขยายตลาดในจีน อินเดีย และยุโรป

Merii เปนเครื่องประดับเงินแฟชั่น จัดจําหนายผานการคาสงใหแกรานคา ปลีกที่เปนผูลงทุนเอง (Independent Retailer) และรานคาปลีกเครือขาย (Chain Store) ในเยอรมนี เนเธอรแลนด โดยเฉพาะตลาดเยอรมนีเปนตลาด ที่มีศักยภาพในการเติบโตเปนอยางมาก ปจจุบันมีจุดจําหนายมากกวา 600 แหงในยุโรป

OWN BRAND MANUFACTURING: OBM

Esse เปนเครื่องประดับเงินฝงมารคาไซต จัดจําหนายผานรูปแบบการมี รานคาและเคานเตอรของตนเอง (Own Flagship Shop and Counters) ใน หางสรรพสินคาชั้นนําของจีน ไดขยายจุดจําหนายจากเมืองเซิ่ินเจิ้นไปยัง เมืองปกกิ่ง

บริษัทฯ แบงการพัฒนาแบรนดของตนเอง (Own Brand Manufacturing: OBM) ออกเปน 2 กลุมประกอบดวยกลุมสินคามูลคาสูง (Precious Product) และกลุมสินคาไลฟสไตล (Lifestyle Product) มีการพัฒนาที่สําคัญดังนี้

Baldessarini เปนแบรนดแฟชั่นบุรุษชั้นสูง ซึ่งกลุมบริษัทฯ ไดรับสิทธิใน การผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับ ไดผลตอบรับจากตลาดยุโรปเปน อยางดี ปจจุบันมีจุดจําหนายมากกวา 350 แหง

กลุมสินคามูลคาสูง (Precious Product) Prima Gold เปนเครื่องประดับทองคําแท 99.9% จัดจําหนายผานรูปแบบ การมีรานคาและเคานเตอรของตนเอง (Own Flagship Shop & Counters) การคาสงใหแกรานคาปลีกที่เปนผูลงทุนเอง (Independent Retailer) และ จัดจําหนายผานระบบการใหสิทธิจัดจําหนาย (Franchise) ในตางประเทศ ตลาดสําคัญคือประเทศไทย อินโดนีเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส โอมาน อียิปต ฟลิบปนส มาเลเซีย และอินเดีย โดยเฉพาะตลาดอินโดนีเซียและ อินเดียเปนตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตเปนอยางมาก

สําหรับป 2555 แพรนดาวางแผนจะรุกตลาดแบรนดของตนเองมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในจีน อินเดีย และยุโรป

ORIGINAL DESIGN MANUFACTURING: ODM แพรนดาก็ยังคงรักษาฐานลูกคาเดิมและเปดตลาดใหมอยางตอเนื่องใน สวนการผลิตและการออกแบบสินคารวมกับลูกคา (Original Design Manufacturing: ODM) ซึ่งมีลูกคาในประเทศตางๆ อันไดแก ประเทศเยอรมนี ออสเตรเลีย อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน โดยมี ชองทางการจัดจําหนายที่หลากหลาย ซึ่งประกอบดวย โทรทัศน (TV) หาง สรรพสินคา รานคาปลีกเครือขาย (Chain Store) และ Mail Order / Catalogues

Prima Art เปนงานหัตถศิลปทองคํา 99.9% จัดจําหนายผานเคานเตอร ของตนเองตามหางสรรพสินคาชั้นนําในประเทศไทย และการคาสงใหแก รานคาปลีกที่เปนผูลงทุนเอง (Independent Retailer) ในประเทศอินเดีย โดยในป 2554 ไดเพิ่มจุดจําหนายเปนมากกวา 2,700 แหงในอินเดีย H.Gringoire เปนเครื่องประดับทองคํา 18K ฝงพลอยสี สไตลยุโรป วาง จําหนายในรานคาเครื่องประดับระดับกลาง-สูง ในประเทศฝรั่งเศส ไดมี การปรับรูปลักษณแบรนดใหมีความโดดเดน ทันสมัยยิ่งขึ้น

สําหรับป 2555 แพรนดายังคงนโยบายในการรักษาลูกคาเดิมที่มีศักยภาพ ในการเติบโตทั้งในตลาดสหรัฐอเมริกา กลุมสหภาพยุโรป โดยบริษัทมี ความเชื่อมั่นวาการกระจายความเสี่ยงทางการตลาดไปยังสวนภูมิภาคที่ สําคัญของโลก อันประกอบดวย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และเอเชีย สามารถจะรักษาความมีเสถียรภาพในการเติบโตระยะยาวใหแกกิจการ

กลุมสินคาไลฟสไตล (Lifestyle Product) Ca เปนเครื่องประดับเงินแฟชั่น จัดจําหนายผานการคาสงใหแกรานคา ปลีกที่เปนผูลงทุนเอง (Independent Retailer) และรานคาปลีกเครือขาย (Chain Store) ในยุโรป ปจจุบันมีจุดจําหนายมากกวา 700 แหงในยุโรป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 43


â¤Ã§ÊÌҧÃÒÂä´Œ â¤Ã§ÊÌҧÃÒÂä´Œ¢Í§ ºÁ¨.á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè áÅкÃÔÉѷ‹ÍÂ

โครงสรางรายไดของ บมจ.แพรนดา จิวเวลรี่ และบริษัทยอย แบงตามรายไดจากตลาดตางประเทศและรายไดจากการขายในประเทศ (โดยรายไดเหลานี้ ไดตัดรายการซื้อ / ขายระหวางกันแลว) 2554

2553

2552

2551

2550

ลานบาท

%

ลานบาท

%

ลานบาท

%

ลานบาท

%

ลานบาท

%

รายไดจากตลาดตางประเทศ

3,286

79.72

3,376

83.23

3,018

82.37

3,449

85.58

3,675

84.31

รายไดจากการขายในประเทศ

836

20.28

680

16.77

646

17.63

581

14.42

684

15.69

4,122

100

4,056

100

3,664

100

4,030

100

4,359

100

รวม

โครงสรางรายไดของ บมจ. แพรนดา จิวเวลรี่ และบริษทั ยอย ตามงบการเงินรวม บริษัท

% การ ลักษณะรายได ถือหุน

บมจ.แพรนดา จิวเวลรี่

2554 ลานบาท %

2553 2552 2551 2550 ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % 1,799 42.90 1,545 37.78 1,319 35.63 1,487 36.62 1,589 35.77

ผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแท

บริษัทยอยในประเทศ บจก. พรีมาโกลด อินเตอร เนชั่นแนล

100

จัดจําหนายเครื่องประดับแทใน ประเทศไทย

683 16.29

587 14.36

518 13.99

506 12.46

382

8.60

บจก. คริสตอลไลน

96

ผลิตและจัดจําหนายเครือ่ งประดับแฟชัน่

167

153

141

160

200

4.50

Pranda North America, Inc.

100

จัดจําหนายเครื่องประดับแทและเครื่อง ประดับแฟชั่นในสหรัฐอเมริกาและ แคนาดา

705 16.81

H.Gringoire s.a.r.l.

100

จัดจําหนายเครื่องประดับแทในประเทศ ฝรั่งเศสและยุโรป

156

3.72

144

3.52

129

3.48

170

4.19

168

3.78

Pranda UK Limited

100

จัดจําหนายเครือ่ งประดับแท และเครือ่ ง ประดับแฟชัน่ ในประเทศอังกฤษและยุโรป

147

3.51

184

4.50

204

5.51

301

7.41

322

7.25

Pranda Vietnam Co., Ltd.

100

ผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแท

41

0.98

49

1.20

23

0.62

14

0.34

11

0.25

Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi

100

ผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแท

38

0.91

30

0.73

24

0.65

44

1.08

49

1.10

Pranda & Kroll GmbH & Co. KG

51

ผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแท

217

5.18

242

5.92

222

6.00

235

5.79

245

5.52

Pranda Jewelry Private Ltd.

51

จัดจําหนายเครื่องประดับแทในประเทศ อินเดีย

169

4.03

113

2.76

70

1.89

34

0.84

13

0.29

3.98

3.74

3.81

3.94

บริษัทยอยตางประเทศ

รวมรายไดจากการขาย บจก. แพรนดา ลอดจิ้ง

4,122 98.31 83

ใหบริการเชาอสังหาริมทรัพย / สังหาริมทรัพย

4,056 99.19

1,014 27.39

3,664 98.97

1,079 26.57

4,030 99.24

1,380 31.07

4,359 98.13

10

0.24

14

0.34

14

0.38

14

0.34

14

0.32

61

1.45

19

0.47

24

0.65

17

0.42

69

1.55

4,193

100

4,089

100

3,702

100

4,061

100

4,442

100

รายไดอื่น รวมรายได

1,009 24.68

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 44


â¤Ã§ÊÌҧ¡Òö×ÍËØŒ¹ ผูถือหุน ผูถือหุน ผูถือหุน 10 อันดับแรก ผูถือหุนทั่วไป จํานวนหุนทั้งสิ้น

การกระจายหุนตามสัญชาติ จํานวนหุน 205,955,900 197,375,854

รอยละ 51.06 48.94

ผูถือหุนแบงตามสัญชาติ

403,331,754

100.00

รวมทั้งสิ้น

ผูถือหุนสัญชาติไทย ผูถือหุนสัญชาติตางดาว

จํานวนราย

จํานวนหุน

รอยละ

3,164

308,092,090

76.39

69

95,239,664

23.61

3,233 403,331,754

100.00

* ขอบังคับบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) กําหนดวา “หามมิใหบุคคลที่ ไมมีสัญชาติไทยถือหุนอยูในบริษัทฯ เกินกวารอยละ 45 ของหุนทั้งหมด”

รายชื่อผูถือหุนรายใหญ 10 อันดับแรก (ขอมูลปดสมุดทะเบียน ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554) ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 จํานวนหุน สัดสวน (%) 57,009,800 14.135 24,216,420 6.004 22,110,600 5.482 17,730,960 4.396 17,500,000 4.339 15,808,560 3.919 15,628,000 3.875 12,406,860 3.076 11,900,000 2.950 11,644,700 2.887

รายชื่อผูถือหุน 1. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 2. นายปรีดา เตียสุวรรณ 3. RBC DEXIA INVESTOR SERVICES BANK S.A. 4. นางสาวพิทยา เตียสุวรรณ 5. NORBAX INC.,4 6. นางพนิดา เตียสุวรรณ 7. THE BANK OF NEW YORK MELLON 8. นางประพีร สรไกรกิติกูล 9. บริษัท แพรนดา โฮลดิ้ง จํากัด 10. GOLDMAN SACHS & CO

ที่มา : บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด หมายเหตุ : ผูลงทุนสามารถดูขอมูลผูถือหุนที่เปนปจจุบันไดจากเว็บไซด : www.pranda.co.th ของบริษัทฯ กอนการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป

• กลุมผูถือหุนรายใหญที่โดยพฤติการณมีอิทธิพลตอการกําหนดนโยบายการจัดการอยางมีนัยสําคัญ - ไมมี • ชื่อผูถือหุนที่เปดเผยมิไดแสดงสถานะที่แทจริง ผูถือหุนสามัญ (PRANDA) โดยถือผานบริษัท ไทยเอ็นดีวีอาร จํากัด ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2554

รายชื่อผูถือหุนใหญ 1. RBC DEXIA INVESTOR SERVICES TRUST 2. THE BANK OF NEW YORK MELLOM รวมทั้งสิ้น หมายเหตุ : ขอมูลจาก http://www.set.or.th

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 45

จํานวนหุน

สัดสวน (%)

25,500,000 22,900,000

6.32 5.68

48,400,000

12.00


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡Òà โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวย คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอย ไดแก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการการเงิน และคณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม โดยคณะกรรมการแตละคณะมีหนาทีแ่ ละ ความรับผิดชอบ ดังตอไปนี้

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·

คณะกรรมการบริษทั วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ประกอบดวย กรรมการอิสระ กรรมการทีเ่ ปนผูบ ริหาร และกรรมการทีไ่ มเปนผูบ ริหาร ซึง่ เปนผูท รงคุณวุฒทิ ม่ี คี วามรู ความสามารถ และมีประสบการณทง้ั ดานการเงิน การบัญชี การบริหารจัดการ และอืน่ ๆ ทีเ่ ปนประโยชนตอ บริษทั ทัง้ หมด 9 ทาน ซึง่ องคประกอบสอดคลองกับ หลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ทีม่ กี รรมการอิสระไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทัง้ หมด ดังมีรายชือ่ ดังตอไปนี้ รายชื่อ

ตําแหนง

วันที่ดํารงตําแหนง /1

1.

นายปรีดา

เตียสุวรรณ

ประธานกรรมการบริษัท

20 เมษายน 2553

2.

นางประพีร

สรไกรกิติกูล

กรรมการ

20 เมษายน 2553

3.

นางสุนันทา

เตียสุวรรณ

กรรมการ

20 เมษายน 2554/2

4.

นางปราณี

คุณประเสริฐ

กรรมการ

20 เมษายน 2554/2

5.

นายปราโมทย เตียสุวรรณ

กรรมการ

23 เมษายน 2552

6.

นางพนิดา

เตียสุวรรณ

กรรมการ

20 เมษายน 2554/2

7.

เรือโทอนันต

ปานะนนท ร.น.

กรรมการอิสระ

23 เมษายน 2552

8.

นายวีระชัย

ตันติกุล

กรรมการอิสระ

23 เมษายน 2552

9.

นางสริตา

บุนนาค

กรรมการอิสระ

20 เมษายน 2553

หมายเหตุ : /1 วันทีด่ าํ รงตําแหนง เปนวันทีด่ าํ รงตําแหนงของกรรมการ ทั้งคณะตามวาระที่กําหนดตามขอบังคับบริษัท /2

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2554 มีมติใหดาํ รงตําแหนงตออีกวาระหนึง่ ไดแก นางสุนนั ทา เตียสุวรรณ นางปราณี คุณประเสริฐ และนางพนิดา เตียสุวรรณ

รายนามที่ปรึกษาของคณะกรรมการบริษัท ไดแก นางสาวพิทยา เตียสุวรรณ กรรมการผูมีอํานาจลงนามแทนบริษัท กรรมการผูมีอํานาจลงนามและทําการแทนบริษัท ประกอบดวย นางสุนันทา เตียสุวรรณ หรือ นางประพีร สรไกรกิติกูล หรือ นางพนิดา เตียสุวรรณ ลงลายมือชื่อรวมกับ นายปราโมทย เตียสุวรรณ หรือ นางปราณี คุณประเสริฐ รวมเปนสองคนพรอมประทับตราสําคัญของบริษัทฯ องคประกอบของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริษัทไมจําเปนตองเปนผูถือหุนของบริษัท 2. คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย กรรมการจํานวนไมนอยกวา 5 คนแตไมมากกวา 20 คน และกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการ ทั้งหมดนั้นตองมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร 3. คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย กรรมการอิสระอยางนอย 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด แตตองไมนอยกวา 3 คน 4. คณะกรรมการบริษทั ประกอบดวย กรรมการตรวจสอบไมนอ ยกวา 3 คน 5. ประธานกรรมการบริษัท ตองไมเปนบุคคลคนเดียวกันกับกรรมการผูจัดการ 6. การแตงตัง้ กรรมการใหเปนไปตามขอบังคับบริษทั และขอกําหนดของกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ ทัง้ นีจ้ ะตองมีความโปรงใสและชัดเจน ในการสรรหากรรมการ ใหดําเนินการผานกระบวนการของคณะอนุกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน และการพิจารณาจะตองมีประวัติการศึกษาและประสบการณ การประกอบวิชาชีพของบุคคลนั้นๆ โดยมีรายละเอียดทีเ่ พียงพอ เพือ่ ประโยชนในการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทและผูถือหุน 7. กรรมการมีวาระการดํารงตําแหนงตามที่กําหนดไวในขอบังคับบริษัท กรรมการทีพ่ น จากตําแหนงตามวาระอาจถูกเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมอีกได

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 46


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

(ง) ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม ผูถ อื หุน รายใหญ หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษทั ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยางอิสระของตน รวมทั้ ง ไม เป น หรื อ เคยเป น ผู ถื อ หุ นที่ มี นั ย หรื อ ผู มี อํ า นาจควบคุ ม ของ ผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจาก การมี ลั ก ษณะดั ง กล า วมาแล ว ไม น อ ยกว า สองป ก อ นวั น ที่ ยื่ น คํ า ขออนุญาตตอสํานักงาน ความสัมพันธทางธุรกิจ ใหรวมถึงการทํารายการทางการคาที่กระทํา เปนปกติเพื่อประกอบกิจการ การเชาหรือใหเชาอสังหาริมทรัพย รายการ เกีย่ วกับสินทรัพยหรือบริการ หรือการใหหรือรับความชวยเหลือทางการเงิน ดวยการรับหรือใหกูยืม คํ้าประกัน การใหสินทรัพยเปนหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึงพฤติการณอ่นื ทํานองเดียวกัน ซึ่งเปนผลใหบริษัทหรือคูสัญญามี ภาระหนี้ที่ตองชําระตออีกฝายหนึ่ง ตั้งแตรอยละสามของสินทรัพยที่มี ตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแตยี่สิบลานบาทขึ้นไป แลวแตจํานวนใดจะ ตํ่ากวา ทั้งนี้ การคํานวณภาระหนีด้ ังกลาวใหเปนไปตามวิธีการคํานวณ มูลคาของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาด ทุนวาดวยหลักเกณฑในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แตใน การพิจารณาภาระหนีด้ งั กลาว ใหนบั รวมภาระหนีท้ เี่ กิดขึน้ ในระหวางหนึง่ ป กอนวันทีม่ คี วามสัมพันธทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

คุณสมบัตขิ องกรรมการบริษทั 1. กรรมการตองเปนบุคคลทีม่ คี วามรูค วามสามารถ มีความซือ่ สัตย สุจริต มีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจและมีเวลาเพียงพอที่จะอุทิศความรู ความสามารถและปฏิบตั หิ นาทีใ่ หแกบริษทั ฯ ได 2. มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามที่กําหนดไวในกฎหมายวา ดวยบริษัทมหาชนจํากัด รวมทั้งตองไมมีลักษณะที่แสดงถึงการขาด ความเหมาะสมที่ จ ะได ร ับ ความไว ว างใจให บ ริห ารจั ด การกิจ การ ที่มีมหาชนเปนผูถือหุนตามที่คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยประกาศกําหนด 3. กรรมการไมสามารถประกอบกิจการเขาเปนหุน สวน หรือเขาเปนกรรมการ ในนิติบุคคลอื่นที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันกับกิจการ ของบริษทั ฯ ไมวา จะทําเพือ่ ประโยชนของตนหรือประโยชนของบุคคลอืน่ เวนแตจะแจงใหที่ประชุมผูถือหุนทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้ง 4. กรรมการอิสระตองมีคุณสมบัติตามขอกําหนดของสํานักงานกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย กรรมการอิสระตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (ก) ถือหุนไมเกินรอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด ของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของ กรรมการอิสระรายนั้นๆ ดวย

(จ) ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปน ผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุน รายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยูเวนแตจะไดพนจาก การมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ย่นื คําขออนุญาต ตอสํานักงาน

(ข) ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษทั ใหญ บริษทั ยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลําดับเดียวกัน ผูถ อื หุน รายใหญ หรือของผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอนวันที่ยื่นคําขออนุญาตตอสํานักงาน ทั้งนี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเปน ขาราชการ หรือที่ปรึกษา ของสวนราชการซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัท

(ฉ) ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให บริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการ เกินกวาสองลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุน ที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวาสองปกอน วันที่ยื่นคําขออนุญาตตอสํานักงาน

(ค) ไมเปนบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียน ตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นองและบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือ บุค คลที่ จ ะได ร ับ การเสนอให เปน ผู บ ริห ารหรือ ผู มี อ ํา นาจควบคุ ม ของบริษัท หรือบริษัทยอย

(ช) ไม เ ปน กรรมการที่ ไ ด ร ับ การแต ง ตั้ ง ขึ้ น เพื่อ เปน ตั ว แทนของ กรรมการของบริษัท ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับ ผูถือหุนรายใหญ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 47


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

(ซ) ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่ มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยใน หางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจําหรือถือหุนเกินรอยละหนึ่งของจํานวนหุนที่ มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่นซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยาง เดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทยอย

ทางผลประโยชนอื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทยอย ใหกรรมการซึ่งมีสวน ไดเสียในเรื่องนั้น ไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น 4. พิจารณากําหนด และแกไขเปลี่ยนแปลงกรรมการผูมีอํานาจลงนาม ผูกพันกลุมบริษัท และกําหนดเงื่อนไขตามความจําเปนเพื่อรักษา ประโยชนของบริษัท และไมขัดตอกฎหมายที่เกี่ยวของ

(ฌ) ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระ เกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปนกรรมการอิสระที่มีลักษณะเปนไป ตามวรรคหนึ่ง (ก) ถึง (ฌ) แลว กรรมการอิสระอาจไดรับมอบหมายจาก คณะกรรมการใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององคคณะ (collective decision) ได

5. แตงตั้งที่ปรึกษาบริษัท 6. ใหความเห็นชอบในการแตงตั้งผูบริหารระดับสูง 7. การพิจารณาและติดตามงาน ดังตอไปนี้ 7.1 ติ ด ตามความคื บ หน า ของการดํ า เนิ น การด า นกลยุ ท ธ ข อง กลุม บริษทั ครอบคลุมถึงแผนงานดานตางๆ ซึง่ อาจสงผลกระทบ ที่สําคัญตอความสําเร็จในกลยุทธของกลุมบริษัทหรือกอใหเกิด การเปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญทางกลยุทธของกลุม บริษทั 7.2 ติดตามผลการดําเนินงานเปรียบเทียบกับเปาหมาย และประมาณ การอยางนอยไตรมาสละ 1 ครั้ง ในกรณีที่ผลการดําเนินงาน ไม เปน ไปตามเปา หมายที่ ก ํา หนดจะต อ งมี ก ารหารือ เพื่ อ หา ขอแกไข เปาหมายดังกลาวควรครอบคลุมหลายๆ ดาน ทัง้ เปาหมาย ในระยะสัน้ และระยะยาว รวมถึงดัชนีวดั ประสิทธิภาพของผลปฏิบตั ิ และการเปรียบเทียบกับคูแขงอื่นๆ

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ในการดําเนินการของบริษัทฯ กรรมการบริษัทตองปฏิบัติหนาที่ดวย ความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตยสุจริต รวมทั้ง ตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค ขอบังคับของบริษัท และมติคณะกรรมการ ตลอดจนที่ประชุมผูถือหุน 2. กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ และนโยบายของบริษัท รวมทั้ง ดูแลการดําเนินงานของกลุมบริษัท

8. การบริหารทรัพยากรบุคคล ดังตอไปนี้ 8.1 พิจารณารวมกับฝายจัดการและใหความเห็นชอบกับวิสัยทัศน และกลยุทธทางดานทรัพยากรบุคคลและแผนพัฒนาบุคลากร 8.2 พิจารณารวมกับฝายจัดการและใหความเห็นชอบ กับกลยุทธ ดานคาตอบแทนของกลุม บริษทั พิจารณาและอนุมตั แิ ผนคาตอบแทน ตางๆ ทีอ่ งิ กับผลการปฏิบตั งิ านเพือ่ กอใหเกิดแรงจูงใจในการวาจาง และรักษาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง 8.3 ดูแลใหมีหลักเกณฑ วิธีการ และกระบวนการ ที่ชัดเจนโปรงใส เหมาะสม และเปนประโยชนตอองคกรในการสรรหา ถอดถอน หรือเลิกจาง กรรมการบริหารและผูบริหารระดับสูง เพื่อใหบริษัท มีคณะผูบริหารที่มีคุณสมบัติ ความรู ความสามารถที่เหมาะสม และมีประสบการณในการดําเนินกิจการของกลุมบริษัท ใหมี ประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จ 8.4 ดูแลใหกลุมบริษัทมีกระบวนการที่มีประสิทธิผล ในการประเมิน ผลงานของผูบริหารระดับสูงโดยเปรียบเทียบกับเปาหมายประจํา ไตรมาสและประจําปที่รวมกันกําหนดไว

3. แตงตั้งคณะกรรมการบริหารหรือมอบหมายใหกรรมการคนหนึง่ หรือ หลายคนหรือบุคคลอืน่ กระทําการอยางใดอยางหนึง่ แทนคณะกรรมการ บริษัท ทั้งนีก้ ารมอบอํานาจดังกลาว ผูไดรับมอบอํานาจนัน้ ตองไมมี อํานาจอนุมตั ริ ายการทีบ่ ุคคลดังกลาวหรือบุคคลอืน่ ทีอ่ าจมีความขัดแยง (“บุคคลที่อาจมีความขัดแยง” ใหมีความหมายตามที่กําหนดไวใน ประกาศของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย) มีสวนไดเสียหรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่น ใดกับบริษัทหรือบริษัทยอย เวนแตเรื่องที่กฎหมาย และขอบังคับของบริษัท รวมถึงการทํารายการ ตามหลัก เกณฑข อ กํา หนดของสํา นั ก งานคณะกรรมการกํา กับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนดใหเรื่องที่จะกระทําไดตอเมื่อ ไดรบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ อื หุน กอน ทัง้ นีก้ าํ หนดใหรายการทีก่ รรมการ หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยง

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 48


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

9. การดูแลความครบถวนสมบูรณ ดังตอไปนี้ี 9.1 ทบทวนและใหความเห็นชอบวิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ นโยบาย เปาหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณ ดูแลใหมีการสื่อสารใหกับ ผูปฏิบัติงานทุกระดับของบริษัท 9.2 รายงานความรับผิดชอบทางการเงินประจําป เพือ่ สรางความมัน่ ใจ วาผูถ อื หุน ไดรบั รายงานทางการเงินทีถ่ กู ตอง 9.3 ติดตามการดําเนินกิจการของกลุมบริษัทตลอดเวลาเพื่อใหมั่นใจ วากรรมการบริหารและฝายจัดการดําเนินกิจการ ตามกฎหมาย และนโยบายที่วางไว 9.4 ดูแลกระบวนการการตรวจสอบภายในในบทบาททางดานการ ควบคุมที่สําคัญ 9.5 ดูแลใหมีการบริหารความเสี่ยงที่สําคัญ 9.6 ดูแลใหมีกระบวนการจัดการที่ชัดเจนและโปรงใสเกี่ยวกับการทํา รายการระหวางกิจการที่เกี่ยวของ รวมทั้งดูแลใหมีการรายงาน ตอคณะกรรมการอยางสมํ่าเสมอ 9.7 ดูแลใหมีระบบควบคุมที่มีประสิทธิผล ใหขอมูล ถูกตอง ครบถวน และเชือ่ ถือได การปฏิบตั ทิ ส่ี อดคลองกับนโยบายกฎระเบียบ รวมทัง้ กฎหมายและขอบังคับตางๆ ที่เกี่ยวของ การดูแลทรัพยสิน การใช ทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด 9.8 จัดใหมกี ารถวงดุลอํานาจของฝายจัดการและ/หรือผูถ อื หุน รายใหญ ใหอยูในระดับที่เหมาะสม โดยใหความสําคัญตอสัดสวนหรือ จํานวนของกรรมการอิสระในคณะกรรมการ 9.9 ดูแลใหมีกระบวนการในการจัดสงขอมูลเพื่อใหคณะกรรมการ ได ร ับ ข อ มู ล จากฝา ยจั ด การอยา งเพีย งพอที่ จ ะทํ า ให ส ามารถ ปฏิบัติตามอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบไดอยางสมบูรณ 9.10 ดูแลใหมเี อกสารประกอบการประชุมครบถวน และมีการสงลวงหนา กอนวันประชุม ดูแลการจัดทํารายงานการประชุมใหมรี ายละเอียด ครบถวน และมีระบบการจัดเก็บและควบคุมมิใหมกี ารแกไขรายงาน การประชุมภายหลังรับรองรายงานการประชุมไปแลว 9.11 ติดตามปญหาและสถานการณความขัดแยงทางผลประโยชน ทีอ่ าจเกิดขึน้ 9.12 ดูแลใหบริษทั ฯ มีระบบทีเ่ หมาะสมในการสือ่ สารอยางมีประสิทธิผล กับผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ และสาธารณชน และติดตามการ ปฏิบัติตามระบบนั้น 9.13 ปกปองและสรางชื่อเสียงของบริษัทฯ

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการ การเงิน คณะกรรมการสงเสริมคุณคารวม 10.2 พิจารณาอนุมตั บิ ทบาทหนาทีค่ ณะกรรมการชุดยอยตางๆ ตลอดจน เปลี่ยนแปลงองคประกอบ รวมทั้งเปลี่ยนแปลงที่มีนัยสําคัญตอ การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการชุดยอยทีไ่ ดแตงตัง้ ขึน้ 11. การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ ดังตอไปนี้ 11.1 กําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการและประเมินประสิทธิผลอยางสมํา่ เสมอ 11.2 คณะกรรมการตองประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ของตนเปนประจําทุกป รวมทั้งแถลงผลการปฏิบัติงานการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ ในรายงานประจําป 12. ใหประธานกรรมการบริษัทดําเนินการใหเปนไปตามอํานาจหนาที่และ ความรับผิดชอบทีก่ ลาวขางตน อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 13. จัดใหมเี ลขานุการบริษทั (Corporate Secretary) เพือ่ ชวยดําเนินกิจกรรม ตางๆ ของคณะกรรมการและบริษทั อันไดแก การประชุมคณะกรรมการ และผูถือหุน ตลอดจนการใหคําแนะนําแกกรรมการและบริษัทฯ ในการปฏิบัติและดําเนินการใหถูกตองตามกฎหมายและระเบียบที่ เกีย่ วของตางๆ อยางสม่าํ เสมอ อีกทัง้ ดูแลใหกรรมการและบริษทั ฯ มีการ เปดเผยขอมูลสารสนเทศอยางถูกตอง ครบถวน โปรงใส และสนับสนุน ใหการกํากับดูแลกิจการเปนไปตามมาตรฐานกํากับดูแลกิจการที่ดี การเลือกตั้งและดํารงตําแหนงกรรมการ 1. การประชุ ม ผู ถ ือ หุ น สามั ญ ประจํ า ปทุ ก ครั้ง ให ก รรมการออกจาก ตําแหนง 1 ใน 3 เปนอัตรา ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกให ตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 กรรมการที่จะตองออกจากตําแหนงในปแรก และปที่ 2 ภายหลัง จดทะเบียนบริษัทนั้น ใหใชวิธีจับฉลากกันวาผูใดจะออกสวนปหลัง ๆ ตอไปใหกรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้น เปนผูออกจาก ตํ า แหน ง กรรมการที่ อ อกตามวาระนั้ น อาจถู ก เลือ กเข า มาดํ า รง ตําแหนงใหมก็ได 2. นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมือ่ • ตาย • ลาออก • ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัท มหาชนจํากัด

10. การจัดตัง้ และกําหนดบทบาทหนาทีข่ องคณะกรรมการชุดยอย ดังตอไปนี้ 10.1 จัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยตางๆ ตามความเหมาะสมและ ความจําเปนเพื่อสนับสนุนการบริหารงานของคณะกรรมการ บริษัท ไดแก คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 49


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

• ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออกดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับ รวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่ มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง • ศาลมีคําสั่งใหออก

รายนามทีป่ รึกษาของคณะกรรมการบริหารกลุม ไดแก 1. นางพนิดา เตียสุวรรณ 2. นายชัยณรงค จิตเมตตา 3. นายชนัตถ สรไกรกิตกิ ลู ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารกลุม

3. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหนงใหย่ืนใบลาออกตอบริษัทฯ การลาออกให มี ผ ลตั้ ง แต วั นที่ ใบลาออกไปถึง บริษั ท กรรมการซึ่ ง ลาออกตามวรรคหนึ่ง จะแจงการลาออกของตนใหนายทะเบียนบริษัท มหาชนทราบดวยก็ได

1. พิจารณาและกําหนดเปาหมาย และแผนธุรกิจของบริษัทฯ กํากับดูแล การดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามวิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ และนโยบายของคณะกรรมการบริษัท กฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบ และขอบังคับของบริษัท

4. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออก ตามวาระใหกรรมการเลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติตาม กฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัดกําหนดเขาเปนกรรมการแทน ในการประชุมคณะกรรมการในคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการ จะเหลือนอยกวา 2 เดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาว จะอยู ใ นตํ า แหน ง กรรมการได เ พีย งเท า วาระที่ ย ัง เหลือ อยู ข อง กรรมการที่ตนแทน

2. กําหนดแนวทางการดําเนินกิจการ การพัฒนา และการขยายธุรกิจใหเปนไป ตามแนววิสยั ทัศน พันธกิจ กลยุทธ นโยบาย และมติคณะกรรมการบริษทั 3. แตงตั้งผูบริหารบริษัทเพื่อปฏิบัติหนาที่ทุกตําแหนงเวนแตการแตงตั้ง ผูบริหารระดับสูง ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท รวมทัง้ สามารถมอบอํานาจใหบคุ คลใดๆ ไปดําเนินการแทนในเรือ่ งใดๆ ที่อยูในหนาที่และรับผิดชอบตามที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควร

5. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอน ถึงคราวออกตามวาระไดดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของ จํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียงและมีหุนนับรวมกัน ได ไม น อ ยกว า กึ่ง หนึ่ ง ของจํ า นวนหุ นที่ ถ ือ โดยผู ถ ือ หุ นที่ ม าประชุ ม และมีสิทธิออกเสียงในการประชุมนั้น

4. กําหนดระเบียบปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท โดยไมขัดหรือแยงตอ ขอบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวของ 5. พิจารณาใหความเห็นชอบโครงสรางตําแหนงและโครงสรางเงินเดือน และผลประโยชนตอบแทนอื่นๆ ของพนักงาน ตลอดจนใหความเห็น ชอบโครงสรางการบริหารตั้งแตระดับฝายลงไป

6. กรรมการเกษียณอายุครบ 72 ป ไมรวมถึงกรรมการอิสระของบริษัทฯ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒáÅØ‹Á

6. พิจารณากลั่นกรองผลการปฏิบัติงานและการบริหารงบประมาณและ สินทรัพยประจําไตรมาส / ประจําป กอนนําเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณา

คณะกรรมการบริหาร 7 ทาน ประกอบดวย คณะกรรมการบริษัท จํานวน 4 ทาน สวนอีก 3 ทานคัดสรรจากบุคคลซึ่งมีความรูความชํานาญเฉพาะ ทางในธุรกิจ มีรายนามคณะกรรมการบริหารกลุม ดังตอไปนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

นางประพีร นางสุนันทา นายปราโมทย นางปราณี นางสาวพิทยา นายเดชา นายชาติชาย

สรไกรกิติกูล เตียสุวรรณ เตียสุวรรณ คุณประเสริฐ เตียสุวรรณ นันทนเจริญกุล ทีฆวีรกิจ

7. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนงบประมาณประจํ า ป แ ละกํ า กั บ ดู แ ลและ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานใหเปนไปตามนโยบาย เปาหมาย และแผนงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ และพิจารณาอนุมัติเงินโบนัส และรางวัลพนักงาน และผลประโยชนอยางอื่นเพื่อสรางขวัญกําลังใจ พนักงาน

ประธานกรรมการบริหารกลุม ประธานกรรมการการเงินกลุม กรรมการผูจัดการ (สายผลิต) กรรมการผูจัดการ (สายตลาด) รองกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) รองกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) กรรมการบริหาร

8. ดูแลใหบริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมรัดกุมโดยประสาน งานกับคณะกรรมการตรวจสอบ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 50


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

9. ให ป ระธานกรรมการบริห ารดํ า เนิ นการให เปน ไปตามหน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบทีก่ ลาวมาขางตน อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษทั รวม บริษทั ยอยลําดับเดียวกัน หรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแยง และไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัทยอย ลําดับ เดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสําคัญของระบบการกํากับดูแล กิจการที่ดี จึงไดพิจารณาอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2542 เพื่อเปนเครื่องมือสําคัญของคณะกรรมการบริษัท ในการกํากับดูแล และการบริหารงานใหมีมาตรฐานที่ถูกตอง โปรงใส มี ก ารควบคุ ม ภายในที่ ดี แ ละมี ร ะบบการรายงานที่ น า เชื่ อ ถือ เปน ประโยชนตอผูลงทุนและทุกฝายที่เกี่ยวของ โดยไดปฏิบัติตามหลักเกณฑ และมี คุ ณ สมบัติ ต ามที่ ต ลาดหลัก ทรัพ ยแ ห ง ประเทศไทยกํา หนดซึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเปน อิส ระในการทํ า งานอยา งเต็ ม ที่ และรายงานโดยตรงตอคณะกรรมการบริษัท สําหรับองคประกอบและ คุณสมบัตใิ หเปนไปตามกฎเกณฑ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย สวนขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ ไดกําหนดใหเปนไปตามมาตรฐานที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กําหนดและไดตราเปนกฎบัตรไวอยางชัดเจน โดยมีผตู รวจสอบภายในเปน ผูตรวจสอบถึงความเพียงพอของระบบการตรวจสอบและการควบคุม ภายในของบริษทั ฯ และรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ

3. มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในฐานะ กรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ตองมีกรรมการตรวจสอบ อยางนอย 1 คน ที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการ สอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (internal control) และ วางระบบการตรวจสอบภายใน (internal audit) ที่เหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ

ปจจุบันประกอบดวยกรรมการตรวจสอบ จํานวน 3 ทาน ทุกทานเปน กรรมการอิสระ มีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 1 ป คณะกรรมการบริษัท เปนผูแ ตงตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ และใหผจู ดั การสํานักตรวจสอบภายใน ของบริษัทฯ เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ปจจุบันมีรายนาม คณะกรรมการตรวจสอบ ดังตอไปนี้ ชื่อ 1. เรือโทอนันต ปานะนนท ร.น. 2. นายวีระชัย ตันติกุล 3. นางสริตา บุนนาค

4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตัง้ บุคคลซึง่ มีความเปนอิสระเพือ่ ทําหนาที่ เปนผูส อบบัญชีของบริษทั ฯ และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาว รวมทัง้ เขารวมประชุมกับผูส อบบัญชีโดยไมมฝี า ยจัดการเขารวมประชุม ดวยอยางนอยปละ 1 ครัง้

ตําแหนง ประธาน กรรมการ กรรมการ

5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผล และเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ

หมายเหตุ: กรรมการลําดับที่ 3 เปนผูม คี วามรูด า นบัญชีและการเงิน

คุณสมบัติ

6. จัดทํารายการของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกลาวตองลงนาม โดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้ ก. ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของ รายงานทางการเงินของบริษัทฯ

1. ไดรับแตงตั้งจากคณะกรรมการหรือผูถือหุน 2. กรรมการทัง้ คณะตองเปนกรรมการอิสระ และตองเปนไปตามหลักเกณฑ ของประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย กําหนด และตองไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 51


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

ข. ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ ค. ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ ง. ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี จ. ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ฉ. จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุม ของกรรมการตรวจสอบแตละทาน ช. ความเห็นหรือขอสังเกต โดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับ จากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (charter) ซ. รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใต ขอบเขตหน า ที่ แ ละความรับ ผิด ชอบที่ ไ ด ร ับ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท

ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน

7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการของบริษัทมอบหมาย และ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบดวย

4. ดําเนินการประเมินผลงานของกรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการการเงิน กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม และผูบริหาร ระดับสูงตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

1. เสนอหลัก เกณฑแ ละแนวทางในการคั ด เลือ กกรรมการบริษั ท กรรมการบริหาร กรรมการการเงิน กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม กรรมการอิสระของบริษทั และผูบ ริหารระดับสูง รวมทัง้ เสนอหลักเกณฑ และแนวทางกําหนดคาตอบแทน 2. ดําเนินการสรรหา คัดเลือก และเสนอผูที่มีคุณภาพและคุณสมบัติ เหมาะสมใหดํารงตําแหนงผูบริหารระดับสูงตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาแตงตั้งและกําหนดคาตอบแทน 3. เสนอหลักเกณฑ วิธีการ และขั้นตอนการดําเนินการประเมินผลงาน ผูบริหารระดับสูงตอคณะกรรมการบริษัท

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÃÃËÒáÅСíÒ˹´¤‹Òμͺ᷹

5. พิจารณาการปรับปรุงนโยบายและระเบียบการบริหารคาตอบแทน ของบริษัทฯ ใหสอดคลองกับสภาวะของตลาดแรงงานในขณะนั้น

คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2547 ประกอบดวย กรรมการ 6 ทาน โดย 1 ทานเปนกรรมการอิสระ และดํารงตําแหนงเปนประธาน มีรายชื่อ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ดังตอไปนี้ ชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

เรือโทอนันต นางประพีร นางสุนันทา นายปราโมทย นางปราณี นางพนิดา

6. ใหประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนดําเนินการให เปนไปตามอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบที่กลาวขางตน อยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ตําแหนง ปานะนนท ร.น สรไกรกิติกูล เตียสุวรรณ เตียสุวรรณ คุณประเสริฐ เตียสุวรรณ

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÒÃà§Ô¹ คณะกรรมการบริษัท ไดอนุมัติแตงตั้งคณะกรรมการการเงิน เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2547 และมติคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2551 อนุมตั เิ ปลีย่ นแปลงคณะกรรมการการเงิน โดยประกอบดวยกรรมการ 8 ทาน ประกอบดวยรายนามดังตอไปนี้ ชื่อ

รายชื่ อ ที่ ป รึก ษาของคณะกรรมการสรรหาและกํา หนดค า ตอบแทน ประกอบดวย 1. นายปรีดา 2. นางสาวพิทยา

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

เตียสุวรรณ เตียสุวรรณ

นางสุนันทา นางประพีร นายปราโมทย นางปราณี นางสาวพิทยา นายเดชา นายชนัตถ นายดุษิต

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 52

ตําแหนง เตียสุวรรณ สรไกรกิติกูล เตียสุวรรณ คุณประเสริฐ เตียสุวรรณ นันทนเจริญกุล สรไกรกิติกูล จงสุทธนามณี

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

7. นางสาวสุพร 8. นายกัณชิง

รายนามทีป่ รึกษาของคณะกรรมการการเงิน ไดแก นายปรีดา เตียสุวรรณ ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการการเงิน

รุงพิทยาธร เทพหัสดิน ณ อยุธยา

กรรมการ กรรมการ

รายชื่อที่ปรึกษาของคณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม ประกอบดวย 1. 2. 3. 4.

1. ดําเนินการจัดหาทุนตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ใชในการ ดําเนินกิจการของกลุม บริษทั

นายปรีดา นางพนิดา นายชัยณรงค นางสาวรุงนภา

เตียสุวรรณ เตียสุวรรณ จิตเมตตา เงางามรัตน

2. วิเคราะหโครงการลงทุน ความเสีย่ ง และผลประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั ของกลุมบริษัทเพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ

ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม

3. ควบคุมดูแลและวิเคราะหผลการดําเนินงานของบริษัทในเครือและ โครงการลงทุนเพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัทพิจารณาปรับปรุงแกไข

1. เชื่อมโยงวิสัยทัศนขององคกร สูพฤติกรรมการปฏิบัติ ภายในกรอบ คุณคารวม (Share Value) อยางเปนรูปธรรม เหมาะสม

4. มีหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบขอบังคับ และนโยบายของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

2. ใหการสงเสริมและสนับสนุน การสรางคุณคารวมใหเกิดขึ้นทั่วองคกร 3. สงเสริม การจัดระบบ การบริหาร จัดการ ประเมินผลและพัฒนากิจกรรม หรือโครงการที่ตอบสนองตอคุณคารวมอยางเปนระบบ ตลอดจน การสนับสนุน การนํามาประยุกตใชอยางเหมาะสมม

5. ใหประธานกรรมการการเงินและบริหารความเสี่ยงดําเนินการให เปนไปตามอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบที่กลาวขางตนอยางมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล

4. สงเสริมการสื่อสาร ประสานงาน ใหเกิดการรวมมือ ระหวางพนักงาน ดวยกัน ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยการเสริมสรางความเขาใจ นโยบายองคกร และการจูงใจใหมีวิสัยทัศนรวมกัน ในการมุงไปสู จุดหมายขององคกร

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¤Ø³¤‹ÒËÇÁ¡ÅØ‹Á มติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2552 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2552 อนุมตั แิ ตงตัง้ คณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม ประกอบดวย ประธาน 1 คน กรรมการ 7 คน เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการสรางคุณคารวม (Share Value) ใหเกิดขึ้นในกลุมบริษัท โดยจะตองสรางการมีสวนรวมของ พนักงานอยางทั่วถึง ปรับปรุงกิจกรรมการมีสวนรวมใหเปนระบบ มีการ ดําเนินการอยางตอเนื่อง ตลอดจนการประยุกตกิจกรรม โครงการ เขามา สูวิถีการปฏิบัติงาน และการดําเนินชีวิตอยางสอดคลอง กลมกลืน ตาม คุณคารวมที่ยึดถือรวมกัน โดยวาระการปฏิบัติงานของคณะกรรมการคือ ระยะเวลา 3 ป คณะกรรมการที่ปฏิบัติงานที่ครบวาระอาจถูกเลือกเขามา ดํารงตําแหนงใหมก็ได ดังมีรายนามตอไปนี้ ชื่อ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

นายปราโมทย นายสมศักดิ์ นายชาติชาย นางนิรารัตน นางฉวี นางศศิโสภา

5. สงเสริมการสรางบรรยากาศที่ดี เพื่อใหเกิดการเรียนรู พนักงานมี ขวัญกําลังใจในการทํางานทั่วทั้งองคกร

¼ÙŒºÃÔËÒà ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทมีผูบริหาร /1 ตามนิยามของคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังตอไปนี้ ชื่อ

ตําแหนง เตียสุวรรณ ศรีเรืองมนต ฑีฆวีรกิจ ธนาเลขะพัฒน จารุกรวศิน วัฒกีเจริญ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

นายปราโมทย นางปราณี นางสาวพิทยา นายเดชา นายชนัตถ นางสาวศศิโสภา นางนิรารัตน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 53

ตําแหนง เตียสุวรรณ คุณประเสริฐ เตียสุวรรณ นันทนเจริญกุล สรไกรกิติกูล วัฒกีเจริญ ธนาเลขะพัฒน

กรรมการผูจัดการ (สายผลิต) กรรมการผูจัดการ (สายตลาด) รองกรรมการผูจ ดั การ (สายผลิต) รองกรรมการผูจ ดั การ (สายตลาด) ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด)


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

8. 9. 10. 11.

นางฉวี นายสมศักดิ์ นางสาวสุพร นายธเนศ

หมายเหตุ:

/1

จารุกรวศิน ศรีเรืองมนต รุงพิทยาธร ปญจกริช

ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ (สายผลิต) ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ (สายผลิต) ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ (สายผลิต) ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน

àŢҹءÒúÃÔÉÑ·: นายดุษิต

จงสุทธนามณี

เลขานุการบริษัท คือ ผูที่คณะกรรมการบริษัทแตงตั้ง เพื่อชวยดําเนิน กิจกรรมตางๆ ของคณะกรรมการและบริษัท อันไดแก การประชุม คณะกรรมการและผูถือหุน ตลอดจนการใหคําแนะนําแกกรรมการบริษัท ในการปฏิ บั ติ แ ละดํ า เนิ นการให ถู ก ต อ งตามกฎหมายและระเบี ย บที่ เกี่ยวของตางๆ อยางสม่ําเสมอ อีกทั้งดูแลใหกรรมการบริษัทและบริษัท มีการเปดเผยขอมูลสารสนเทศอยางถูกตอง ครบถวน โปรงใส และ สนั บ สนุ น ให ก ารกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การเป น ไปตามมาตรฐานกํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี

หมายความวา กรรมการ ผูจ ดั การ หรือผูด าํ รงตําแหนงระดับบริหารสีร่ ายแรก นับตอจากผูจ ดั การลงมา (ผูด าํ รงตําแหนงสูงสุดของบริษทั ) ผูซ ง่ึ ดํารงตําแหนง เทียบเทากับผูด าํ รงตําแหนงระดับบริหารรายทีส่ ท่ี กุ รายและใหหมายความ รวมถึงผูดํารงตําแหนงระดับบริหารในสายบัญชีหรือการเงินที่เปนระดับ ผูจ ดั การฝายขึน้ ไปหรือเทียบเทา

กระบวนการสรรหากรรมการและผูบริหาร องคประกอบและคุณสมบัติ 1. ตองมีความรูข้นั พื้นฐานในหลักการของกฎหมายและกฎระเบียบ ของหนวยงานกํากับดูแลที่เกี่ยวกับกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชน จํากัด กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 2. ตองมีความรู ความเขาใจในหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และ ขอพึงปฏิบัติที่ดีในเรื่องการกํากับดูแลกิจการ 3. มีความรูใ นธุรกิจของบริษทั และความสามารถในการสือ่ สารทีด่ ี

1. การสรรหากรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนทําหนาที่พิจารณาคัดเลือก บุคคลที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเหมาะสมเสนอคณะกรรมการบริษัท เพื่อนําเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ในการแตงตั้งกรรมการอิสระของ บริษัทฯ 2. การสรรหากรรมการอิสระ การสรรหากรรมการอิสระนั้น ใหเปนไปตามองคประกอบกรรมการบริษัท และคุณสมบัติของกรรมการอิสระที่บริษัทกําหนด และตามหลักเกณฑที่ กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และนําเสนอใหที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท และ/หรือที่ประชุมผูถือหุน บริษัท พิจารณาแตงตั้งกรรมการอิสระ

หนาที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท 1. จัดทําและเก็บรักษาเอกสารดังตอไปนี้ (ก) ทะเบียนกรรมการ (ข) หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานประชุม คณะกรรมการบริษัท และรายงานประจําปของบริษัท (ค) หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานประชุมผูถือหุน 2. เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการบริษัท หรือผูบริหาร 3. ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด 4. ใหคาํ แนะนําเบือ้ งตนแกกรรมการบริษทั เกีย่ วกับขอกฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับตางๆ ของบริษัทและติดตามใหมีการปฏิบัติตาม อยางถูกตองและสม่ําเสมอ รวมถึงรายงานการเปลี่ยนแปลงที่มี นัยสําคัญแกกรรมการบริษัท 5. ใหคาํ แนะนํากรรมการบริษทั ในการจัดทํารายงานการมีสว นไดเสีย ของกรรมการบริษทั และจัดสงรายงานการมีสว นไดเสียใหประธาน กรรมการบริษัทและประธานกรรมการตรวจสอบ 6. จัดทํารายงานสารสนเทศที่สําคัญและ/หรือสรุปมติการประชุม คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ รายงานต อ ตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7. จัดทํารางนโยบายดานการบริหารตางๆ เชน นโยบายหลักการ กํากับดูแลกิจการ เปนตน

3. การสรรหาผูบริหารระดับสูง/1 คณะกรรมการสรรหาทํ า หน า ที่ พิ จ ารณาคั ด เลื อ กบุ ค คลที่ มี คุ ณ ภาพ และคุณสมบัติเหมาะสม โดยพิจารณาจากความสามารถที่จะเสริมสราง ประสิทธิภาพการดําเนินกิจการของบริษัทฯ และศักยภาพในการแขงขัน ใหแกบริษัทฯ เพื่อเสนอใหที่ประชุมคณะกรรมการบริหารอนุมัติแตงตั้ง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท หมายเหตุ:

/1

ผูบริหารระดับสูง ไดแก ตําแหนงกรรมการผูจัดการ รองกรรมการ ผูจ ดั การ ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ และตําแหนงอืน่ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั กําหนด

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 54


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

8. แจงมติและนโยบายของคณะกรรมการบริษัท และผูถือหุนให ผูบริหารที่เกี่ยวของและติดตามการปฏิบัติตามมติและนโยบาย 9. ติดตอประสานงานกับหนวยงานกํากับดูแล เชน ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย สํานักงานกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกระทรวงพาณิชย 10. ติดตอสื่อสารกับผูถือหุน และดูแลผูถือหุนอยางเหมาะสมใหได รับทราบสิทธิตางๆ ของผูถือหุนและขาวสารของบริษัท 11. ดูแลใหบริษัท และคณะกรรมการบริษัทปฏิบัติตามกฎหมายและ กฎเกณฑของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึงกฎหมายทีเ่ กีย่ วของ 12. ดูแลใหหนวยงานเลขานุการบริษทั เปนศูนยกลางของขอมูลองคกร (Corporate Records) อาทิ หนังสือจดทะเบียนนิตบิ คุ คล บริคณหสนธิ ขอบังคับ ทะเบียนผูถือหุน และใบอนุญาตประกอบธุรกิจตางๆ 13. ดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริษัท

2. คาตอบแทนอื่น 2.1 เงินกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ในป 2554 บริษัทฯ ไดจายสมทบเงินเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ใหแก กรรมการบริษทั กรรมการบริหารและผูบ ริหาร ดังรายละเอียด ตอไปนี้ (ก) ในฐานะกรรมการบริษัท ชื่อ

จํานวนเงิน (ลานบาท)

1.

นายปรีดา เตียสุวรรณ

0.162

2.

นางพนิดา เตียสุวรรณ

0.047

รวม

(ข)

¤‹Òμͺ᷹¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ·áÅмٌºÃÔËÒâͧºÃÔÉÑ·

0.210

ในฐานะกรรมการบริหารและผูบริหาร

กรรมการบริหารและผูบริหาร

จํานวน (คน)

จํานวนเงิน (ลานบาท)

12

0.814

1. คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน สําหรับรอบระยะเวลา ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 – วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (ก) คาตอบแทนเฉพาะในฐานะกรรมการบริษัท

2.2 โครงการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ตอกรรมการ และ/หรือ พนักงานของบริษทั และ/หรือ บริษทั ยอย

หนวย : (ลานบาท)

ตามที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2550 เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ได ม ติ อ นุ มั ติ อ อกและเสนอขายใบสํา คั ญ แสดงสิท ธิที่ จ ะซื้ อ หุ น สามั ญ ของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอย ตามโครงการ Employee Stock Option Plan (ESOP) จํานวน 14,251,410 หนวย และตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ32/2551 เรือ่ งการเสนอ ขายหลักทรัพยทอ่ี อกใหมตอ กรรมการหรือพนักงาน ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2551 ให บ ริษั ท สามารถเสนอขายหลัก ทรัพ ยที่ อ อกใหม แ กก รรมการหรือ พนักงานได โดยถือวาไดรบั อนุญาตจากสํานักงานแลว และใหบริษทั ทีไ่ ดรบั อนุญาตปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตที่กําหนดไวในประกาศ

เงินเดือน เงินประจํา เงินชดเชย / โบนัส ตําแหนง การเกษียณ อายุ + เงินพิเศษ

ชื่อ 1. นายปรีดา เตียสุวรรณ

5.245

รวม จํานวนเงิน

5.245

2. เรือโทอนันต ปานะนนท ร.น.

0.855

0.855

3. นายวีระชัย ตันติกุล

0.747

0.747

4. นางสริตา บุนนาค

0.747

0.747

5. นางพนิดา เตียสุวรรณ

1.547

รวมคาตอบแทนกรรมการ

6.791

หมายเหตุ:

2.349

5.000

6.547

5.000

14.141

ดังนั้นที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2552 ซึ่งประชุม เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552 ไดมีมติอนุมัติการจัดสรรและกําหนดรายละเอียด ของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการและ พนักงานของบริษัท และ/หรือบริษัทยอย ซึ่งบริษัทไดแจงรายละเอียด มติคณะกรรมการบริษัทดังกลาว โดยสงผานระบบอิเล็คทรอนิกส (SET Community Portal : SCP) ของตลาดหลักทรัพยฯ เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ 2552

กรรมการบริษทั ทีเ่ หลือ จํานวน 4 คน มิไดรบั คาตอบแทนในรายการ (ก) แตไดรบั คาตอบแทนในรายการ (ข)

(ข) คาตอบแทนรวมของกรรมการบริหารและผูบริหาร ลักษณะ คาตอบแทน กรรมการบริหาร และผูบริหาร หมายเหตุ:

เงินเดือน และโบนัส

จํานวน (คน)

รวมจํานวนเงิน (ลานบาท)

12

26.097

1) มีกรรมการบริษทั ทีไ่ ดรบั คาตอบแทนในฐานะกรรมการบริหาร จํานวน 5 คน 2) คาตอบแทนดังกลาวไมรวมคาตอบแทนของผูจ ดั การฝายบัญชีและการเงิน ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 55


â¤Ã§ÊÌҧ¡ÒèѴ¡ÒÃ

(ก)

ในฐานะกรรมการบริษัท ชื่อ

ใบสําคัญ คิดเปนรอยละของใบ แสดงสิทธิ สําคัญแสดงสิทธิที่ออก (ลาน และเสนอขายจํานวน หนวย) 14,251,410 หนวย

1.

นายปรีดา เตียสุวรรณ

0.70

4.91

2.

นางพนิดา เตียสุวรรณ

0.70

4.91

1.40

9.82

รวม

(ข)

2554 กรรมการและผูบริหารของบริษัท ไดรายงานการถือครองหลักทรัพย โดยเปรียบเทียบการเพิ่มขึ้น (ลดลง) ระหวางวันที่ 30 ธันวาคม 2554 และ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 ดังนี้ ชื่อ

30 ธันวาคม 2554

กรรมการบริหาร และผูบริหาร

7

ใบสําคัญ แสดงสิทธิ (ลาน หนวย) 4.06

30 ธันวาคม 2553

จํานวนหุน เพิ่ม (ลด) ระหวางป (หุน)

1.

นายปรีดา

เตียสุวรรณ

24,216,420 24,076,420

140,000

2.

นางพนิดา

เตียสุวรรณ

15,808,560 15,668,560

140,000

คิดเปนรอยละของ ใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ออกและเสนอขาย จํานวน 14,251,410 หนวย

3.

นางประพีร

สรไกรกิติกูล

12,406,860 13,505,560

(1,098,700)

4.

นางปราณี

คุณประเสริฐ

10,766,660 12,856,860

(2,090,200)

5.

นายปราโมทย เตียสุวรรณ

10,280,560 10,506,260

(225,700)

6.

นางสุนันทา

เตียสุวรรณ

28.49

7.

เรือโทอนันต

ปานะนนท ร.น

ในฐานะกรรมการบริหารและผูบริหาร จํานวน (คน)

จํานวนหุน (หุน)

2,420,500

2,750,500

(330,000)

70,000

120,000

(50,000)

หมายเหตุ: 1) กรณีเพิ่มขึ้น จากการซื้อหลักทรัพย และจากการใชสิทธิแปลงสภาพ ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (PRANDA-WA) ภายใตโครงการ เสนอขายหลักทรัพยใหแกกรรมการและผูบริหาร (ESOP Warrant) 2) กรณี (ลดลง) จากการจําหนาย และโอนหลักทรัพย

¡ÒôÙáÅàÃ×èͧ¡ÒÃ㪌¢ŒÍÁÙÅÀÒÂã¹ บริษทั ฯ ไดกาํ หนดหลักปฏิบตั แิ ละความรับผิดชอบของผูบ ริหารและการใช ขอมูลภายในของพนักงานเปนลายลักษณอักษรโดยมีสาระสําคัญคือ ไมแสวงหาประโยชนใหตนเองหรือผูอ่ืนจากการปฏิบัติหนาที่การงาน ไมเปดเผยความลับของบริษัท และไมนําขอมูลความลับของบริษัทไปใช เพื่อประโยชนของตนเองหรือบุคคลอื่นโดยมิไดรับอนุญาตจากบริษัทไม ดําเนินการใดๆ ในลักษณะซึ่งอาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน กับบริษัทโดยมิไดแจงใหบริษัททราบ และหามมิใหบุคคลใดที่ลวงรูขอมูล ภายในของบริษัทที่ยังมิไดเปดเผยตอสาธารณชน โดยทําการซื้อขายหุน ของบริษทั เพือ่ ประโยชนตอ ตนเองหรือผูอ น่ื พรอมทัง้ ไดกาํ หนดโทษสําหรับ กรณีที่มีการฝาฝนสําหรับการใชขอมูลภายในในทางมิชอบ ผูฝาฝนจะ ถูกลงโทษทางวินัย และ/หรือ กฎหมายแลวแตกรณี สําหรับการรายงานการซื้อขายหลักทรัพยของคณะกรรมการบริษัทและ ผูบริหาร บริษัทฯ ไดมีหนังสือแจงใหทราบถึงภาระหนาที่ในการรายงาน การถือครองหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 พรอมทั้งจัดสงรายงานตอคณะกรรมการ บริษัททุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย ทั้งนี้ในระหวางป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 56


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºÑμÔμÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷Õè´Õ

บริษัทฯ มุงมั่นดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ดวยการปลูกฝงจิตสํานึกและจริยธรรมใน การทํางานใหแกพนักงาน ตลอดจนการใหความสําคัญอยางยิ่งในการ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงผูถือหุนและผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝายอยาง เปนธรรม โดยไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ เปนลายลักษณอักษร ตั้งแตป 2543 เปนตนมา เพื่อเปนกรอบในการ ปฏิบัติงานใหคณะกรรมการบริษัท ผูบริหาร และพนักงานทุกคน โดยนํา หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ไปใชกับการบริหารจัดการใน ทุกระดับของธุรกิจอยางเปนกิจวัตร จนกลายเปนวัฒนธรรมที่ดีขององคกร ในการสรางคุณคารวมที่ยึดถือปฏิบัติรวมกันไมวาจะเปนการปฎิบตั ิตอ ผูมีสวนไดสวนเสียอยางเทาเทียม การปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชนของ บริษัทฯ อยางเต็มความสามารถ ดวยความสุจริต โปรงใส ตรวจสอบได อีก ทั้ ง ดํ า เนิ นการปรับ ปรุง นโยบายการกํา กับ ดู แ ลกิจ การของบริษั ท ฯ ในป 2550 ใหเปนคูมือหลักการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance: CG Manual) โดยเพิ่มนโยบายที่สําคัญของบริษัทฯ เพื่อใหสอดคลองกับ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนป 2549 ของ ตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงแนวปฏิบัติที่ดีขององคกร เพื่อความรวมมือ ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา ทัง้ นีใ้ นป 2551 คณะกรรมการบริษทั ไดพจิ ารณา ปรับปรุงเนื้อหาในคูมือหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ เปนครั้งที่ 2 โดยการจัดลําดับหัวขอใหเหมาะสม อีกทัง้ มีการเพิม่ เติมเนือ้ หาสาระใหครบถวน ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 หมวด 3/1 “การบริหารกิจการของบริษทั ทีอ่ อกหลักทรัพย” ซึง่ ไดเผยแพร คูม อื การกํากับดูแลกิจการ ฉบับปรับปรุง ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2551 ใหคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานรับทราบและถือปฏิบัติรวมทั้ง เผยแพรใหทุกฝายที่เกี่ยวของผานทางเว็บไซตของบริษัท

จากความมุงมั่นดังกลาวสงผลใหบริษัทฯ ไดรับผลการประเมินการ กํากับดูแลกิจการในระดับ 4 ดาว อยูในกลุม “ดีมาก” (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2011: Very Good) จาก การสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนประจําป 2554 โดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ซึ่งบริษัทฯ เปน 1 ใน 171 บริษัทจดทะเบียนที่ไดรับคะแนนอยูในระดับดีมาก จากบริษัท จดทะเบียนที่ไดรับการประเมินทั้งสิ้น 497 บริษัท และผลการ ประเมินคุณภาพการประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2554 โดยสมาคม สงเสริมผูลงทุนไทย ซึ่งบริษัทฯ ไดรับผลการประเมินในระดับ “ดีเยี่ยม + สมควรเปนตัวอยาง” จากบริษัทจดทะเบียนที่ได รับการประเมินทั้งสิ้น 416 บริษัท จากผลการประเมินดังกลาว สะทอนใหเห็นวาบริษัทฯ ใหความสําคัญและมุงมั่นพัฒนาการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีมาอยางตอเนื่อง ซึ่งถือเปนปจจัยสําคัญที่แสดงถึง การบริหารจัดการองคกรอยางมีประสิทธิภาพสามารถสรางมูลคา เพิ่มใหแกผูถือหุนไดในระยะยาว บริษัทฯ จะยังคงยึดมั่นในการปฎิบัติตามนโยบายกํากับดูแลกิจการที่ดี ที่บริษัทฯ ไดกําหนดขึ้น รวมทั้งปรับปรุงและพัฒนาแนวทางปฎิบัติ โดย การเปดเผยผลการปฏิบัติเปนประจําทุกป สําหรับป 2554 คณะกรรมการ บริษัทไดดูแลใหกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน ปฏิบัติตามนโยบาย กํากับดูแลกิจการโดยเครงครัด จึงไมมีสถานการณใดที่เปนการปฏิบัติที่ ขัดตอนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท และรายงานผลการปฎิบัติ ดังตอไปนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 57


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

¹âºÒ¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡ÒÃ

เปาหมาย และแผนธุรกิจของบริษัทฯ ตามหลักการ “ความพอประมาณ ในการเติบโต” “ความมีเหตุมีผลในการดําเนินธุรกิจ” และ “มีภูมิคุมกัน ที่ดีใหแกธุรกิจ” ซึ่งทั้ง 3 ประการนี้อยูภายใตความเชี่ยวชาญและความมี จรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจเปนหลัก

คณะกรรมการบริษั ท จั ด ทํ า นโยบายการกํา กับ ดู แ ลกิจ การที่ ดี เ ปน ลายลักษณอกั ษร เพือ่ เปนหลักปฏิบตั ใิ หแกกรรมการ ผูบ ริหารและพนักงาน และไดปรับปรุงเปนคูม อื หลักการกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance : CG Manual) จํานวน 2 ครั้ง ซึ่งหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ มีความสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งเปนปรัชญาที่มุงเนนความสมดุลและพรอมตอการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว โดยใหความสําคัญกับการใชความรูอยางรอบคอบ ระมัดระวัง คํานึงถึงหลักคุณธรรม ซึ่งตรงกับหลักการพื้นฐานของบริษัทฯ 8 ประการ อันประกอบดวย

คณะกรรมการบริษทั ไดแตงตัง้ คณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม ซึง่ มี บทบาทในการสนับสนุน สงเสริม การสรางคุณคารวม (Share Value) ให เกิดขึ้นในกลุม บริษทั ฯ โดยพนักงานตองมีสว นรวมอยางทัว่ ถึง ตลอดจนการ ปรับปรุงกิจกรรมการมีสว นรวมอยางเปนระบบตอเนือ่ ง รวมถึงการประยุกต กิจกรรมโครงการ เขามาสูวิถีการปฏิบัติงานและการดําเนินชีวิตไดอยาง กลมกลืนตามคุณคารวมที่ยึดถือรวมกัน

1. ความรับ ผิด ชอบต อ การตั ด สิน ใจและการกระทํ า ของตนเองและ สามารถชี้แจงหรืออธิบายการตัดสินใจนั้นได (Accountability) 2. ความรับ ผิด ชอบต อ การปฏิ บ ัติ ห น า ที่ ด ว ยขี ด ความสามารถและ ประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility) 3. ความซื่อสัตยสุจริต (Integrity) 4. การปฏิบตั ติ อ ผูม สี ว นไดเสียอยางเทาเทียม เปนธรรม (Equitable Treatment) 5. ความโปรงใสในการดําเนินงานที่ตรวจสอบไดและการเปดเผยขอมูล อยางโปรงใสแกผูเกี่ยวของทุกฝาย (Transparency) 6. การมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ (Ethics) 7. การมี วิ ส ัย ทั ศ น ใ นการสรา งมู ล ค า เพิ่ม ให ก ับ องค ก รในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value) 8. การมีความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility)

การดําเนินงานของคณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม ในป 2554 นี้ มีการ แตงตัง้ คณะกรรมการ อนุกรรมการชุดใหม โดยมีคณ ุ ปราโมทย เตียสุวรรณ กรรมการผูจ ดั การ (สายผลิต) เปนประธานคณะกรรมการ ยังคงไวซง่ึ นโยบาย ในการสนับสนุน สงเสริม การสรางคุณคารวม (Share Value) ใหเกิดขึ้น ในกลุมบริษัทฯ นั่นก็คือแกนแทของแพรนดา ซึ่งประกอบไปดวยดวงใจ 3 ดวงคือ • Teamwork (การทํางานเปนทีม) การประสานงาน รวมมือ รวมใจ เสริมสรางแรงบันดาลใจซึ่งกันและกัน ใหเกิดการมีสวนรวมของพนักงานทุกระดับชั้นเพื่อใหผลการทํางาน ไปสูเปาหมายของบริษัท • Continuous Improvement (การพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง) การสรางโอกาสและเห็นความสําคัญในการปรับปรุง การพัฒนาอยาง ตอเนือ่ งนําไปสูส ง่ิ ทีด่ กี วาเสมอ ทัง้ ในระดับบุคคล หนวยงาน และบริษทั เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของลูกคา และสภาพแวดลอมที่ เปลี่ยนแปลงไป • Stakeholder Focus (ยึดผูม ผี ลประโยชนรว มกันเปนศูนยกลาง) การใหความสนใจ ใสใจ ยุติธรรม โปรงใส ในการทํางานโดยยึดผูมี ผลประโยชนรวมกันเปนศูนยกลาง ซึ่งไดแก กลุมตางๆ คือ ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา เจาหนี้ คูแขง ชุมชน และสังคม

อีกทัง้ บริษทั ฯ ไดยดึ ถือแนวปฏิบตั กิ ารกํากับดูแลกิจการทีด่ ตี ามการสงเสริม ของตลาดหลักทรัพยฯ โดยมุงหวังใหคณะกรรมการและฝายจัดการของ บริษัทฯ พัฒนาระดับการกํากับดูแลกิจการใหสามารถเทียบเคียงไดตาม มาตรฐานสากล เพื่อประโยชนตอบริษัทฯ และประโยชนโดยรวมตอ ความสามารถในการแขงขันและการเติบโตของตลาดทุนไทย ตลอดจน สนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศ โดยบริษัทฯ ไดแบงเนื้อหาของหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีออกเปน 5 หมวด ไดแก หมวด 1 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

เพื่อตอบสนองแกนแทของแพรนดาดังกลาว คณะกรรมการบริษัท จึงได จัดใหมีโครงงานและกิจกรรมการมีสวนรวมของพนักงาน ซึ่งในป 2554 นี้ ไดพิจารณาปรับกรอบงานใหม แบงออกเปน 10 โครงการหลัก สามารถ ดูไดใน หัวขอ “ความรับผิดชอบตอสังคมและคุณคารวมองคกร”

1. ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คณะกรรมการบริษทั ในฐานะตัวแทนผูถ อื หุน มีหนาทีก่ าํ กับดูแลการบริหาร จัดการงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามกฎหมาย ตามวัตถุประสงคและ ขอบังคับของบริษัท และนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช ในการดําเนินธุรกิจ โดยการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ นโยบาย

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 58


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

2. โครงสรางคณะกรรมการ ในการกํา หนดโครงสรา งและองค ป ระกอบของคณะกรรมการบริษั ท ไดมีการพิจารณาความเหมาะสมของโครงสรางคณะกรรมการปจจุบันเมื่อ เทียบกับภาระหนาที่ของคณะกรรมการ เพื่อใหสอดคลองตามขอบังคับ บริษทั และระเบียบบริษทั ฯ วาดวย คณะกรรมการบริษทั ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ไดกําหนดขึ้น (สําหรับองคประกอบ คุณสมบัติ และขอบเขตอํานาจหนาที่ ของคณะกรรมการบริษัท เปดเผยรายละเอียดไวใน หัวขอ “โครงสรางการ จัดการ”)

กรรมการผูจัดการ แตไมกาวกายงานประจําหรือธุรกิจประจําวันที่ รับผิดชอบโดยกรรมการผูจัดการ ถึงแมวา ประธานกรรมการบริษทั ไมไดเปนกรรมการอิสระ อยางไรก็ตาม โครงสรา งคณะกรรมการของบริษั ท ประกอบด ว ยกรรมการที่ เป น อิสระคิดเปน 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ ซึ่งทําใหเกิดการถวงดุล อํานาจในการดําเนินงานอยางไดเหมาะสม • กรรมการผูจัดการ มีหนาที่หลักในการกํากับดูแลดานบริหารจัดการ ใหบริษัทฯ เปนไปตามวิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ และนโยบายที่ คณะกรรมการบริษัทกําหนด

ปจจุบันคณะกรรมการบริษัท ประกอบดวย กรรมการจํานวน 9 ทาน ซึ่งมี ขนาดทีเ่ หมาะกับธุรกิจของบริษทั ฯ ซึง่ แตละทานมีคณ ุ สมบัตทิ หี่ ลากหลาย ทั้ ง ด า นความรู ค วามสามารถเฉพาะด า นประสบการณ ในการทํ า งาน ทักษะ ความเชี่ยวชาญ และอายุ ซึ่งเปนประโยชนตอการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการทั้งคณะในการกําหนดทิศทางและนโยบายการกํากับดูแล การบริหารและดําเนินงานของฝายจัดการ โดยสามารถดูประวัตขิ องกรรมการ ที่เปดเผยไวในหัวขอ “ประวัติกรรมการและผูบริหาร” ทั้งนี้ กรรมการบริษัท ทุกทานไมมีประวัติการกระทําความผิดอาญา ในความผิดที่เกี่ยวกับทรัพย ซึง่ ไดกระทําโดยทุจริต และไมมปี ระวัตกิ ารทํารายการทีอ่ าจเกิดความขัดแยง ทางผลประโยชนกับบริษัทฯ

5. คาตอบแทนของกรรมการบริษัท กรรมการบริหารและผูบริหาร การกําหนดคาตอบแทนของกรรมการบริษัท กรรมการบริหารและผูบริหาร มีการดําเนินการทีโ่ ปรงใสชัดเจน และในระดับทีเ่ หมาะสมภายในอุตสาหกรรม เดียวกัน รวมทั้งกําหนดจากภาระหนาที่ ความรับผิดชอบ และเชื่อมโยง กับผลการดําเนินงานของบริษัท โดยคาตอบแทนของกรรมการบริษัทจะ ตองไดรับการพิจารณากลั่นกรองจากคณะกรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน และนําเสนอตอคณะกรรมการบริษทั กอนนําเสนอตอทีป่ ระชุม ผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติ

3. การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทมีจํานวนทั้งสิ้น 9 ทาน ประกอบดวย กรรมการที่เปน ผูบริหาร 4 ทาน และกรรมการที่ไมไดเปนผูบริหาร 5 ทาน โดยกรรมการ ที่ไมไดเปนผูบริหาร ประกอบดวย กรรมการที่เปนอิสระ 3 ทาน หรือ ไมนอยกวา 1 ใน 3 หรือคิดเปนรอยละ 33.33 ของคณะกรรมการทั้งหมด จึ ง มั่ น ใจได ว า กรรมการได ป ฏิ บ ัติ ห น า ที่ ใ นฐานะตั ว แทนผู ถ ือ หุ น และ มีการถวงดุลและสอบทานที่เหมาะสม บริษัทฯ ไดเปลี่ยนแปลง “นิยาม กรรมการอิสระ” ใหสอดคลองกับหลักเกณฑที่คณะกรรมการกํากับตลาด ทุนกําหนด โดยไดกําหนดไวเปนระเบียบบริษัทฯ วาดวย คณะกรรมการ บริษัท ดังที่เปดเผยไวในหัวขอ “โครงสรางการจัดการ”

สวนคาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหารเปนไปตามหลั ก การและ นโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกําหนด ซึ่งเชื่อมโยงกับผลการดําเนิน งานของบริษัทฯ โดยกําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicator: KPI) ไวในแตละปและจายคาตอบแทนในรูปเงินเดือน โดย คาตอบแทนของกรรมการทั้งสองคณะและผูบริหารป 2554 ไดแสดงไวใน หัวขอ “โครงสรางการจัดการ” 6. การประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ มีการกําหนดการประชุมคณะกรรมการไวเปนทางการลวงหนา ตลอดทั้งป โดยกําหนดใหมีการจัดประชุมเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อให กรรมการจัดเวลาเขาประชุมไดทุกครั้งเพื่อรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ ทั้งนี้อาจมีการประชุมวาระพิเศษเฉพาะคราวเพิ่มเติมตามความเหมาะสม และสงหนังสือเชิญประชุมพรอมระเบียบวาระการประชุมและเอกสาร ประกอบการประชุมใหกรรมการแตละทานลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอกอนเขาประชุม ปกติการประชุมแตละครั้งจะใชเวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง โดยมีการจัดทํา รายงานการประชุมทีม่ สี าระสําคัญอยางถูกตอง ครบถวน ภายในระยะเวลา ทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ มีการจัดเก็บรายงานการประชุมของคณะกรรมการบริษทั ที่ผานการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทไวเปนอยางดี เพื่อพรอมสําหรับ

4. การรวมหรือแยกตําแหนง บริษัทฯ ไดแยกตําแหนง ประธานกรรมการบริษัทและกรรมการผูจัดการ ออกจากกัน และไมเปนบุคคลคนเดียวกัน เพื่อใหมีการถวงดุลอํานาจและ ไมใหเกิดการทับซอน โดยการแบงแยกบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบ ไวอยางชัดเจน ดังนี้ • ประธานกรรมการบริษัท มีหนาที่ในฐานะผูนําดานกลยุทธและ สนั บ สนุ น ให ค ณะกรรมการบริษั ท ทุ ก คนมี ส ว นรว มในการประชุ ม กํา กับ ดู แ ลและสนั บ สนุ นการดํ า เนิ น ภารกิจ ของฝา ยจั ด การผา น

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 59


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

การตรวจสอบจากคณะกรรมการ ผูถือหุน ผูที่เกี่ยวของและอางอิงได ทั้งนี้ไดสรุปรายละเอียดการเขารวมประชุมของทั้งกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดยอยในป 2554 ในตาราง 1 ทายบทความนี้

7.5 คณะกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม ประกอบดวย กรรมการ บริษัท 1 ทาน สวนอีก 7 ทาน คัดสรรจากผูบริหารของบริษัทและบริษทั ในเครือ เพื่อสงเสริมและเชื่อมโยงวิสัยทัศนของบริษัทฯ สูพฤติกรรม การปฏิบัติทั่วทั้งองคกร ที่เปนไปในทิศทางเดียวกันภายภายใตกรอบ คุณคารวม (Share Value) อยางเหมาะสมและเปนรูปธรรม

7. คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริษัท ไดแตงตั้งคณะกรรมการชุดยอยที่สําคัญซึ่งเปน ผูมีความรู ความชํานาญ อยางเหมาะสม เพื่อชวยศึกษากลั่นกรอง เรื่องตางๆ ที่ไดรับมอบหมายใหเกิดความถูกตอง ชัดเจน และสมบูรณ ในเบือ้ งตน กอนนําเสนอใหคณะกรรมการบริษทั เปนผูพ จิ ารณาอนุมตั เิ ห็นชอบ หรือรับรองแลวแตกรณี เพือ่ สนับสนุนการบริหารงานของคณะกรรมการบริษทั ที่มีอยูจํานวน 5 คณะประกอบดวย 7.1 คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวย กรรมการบริษทั 4 ทาน จาก จํานวนคณะกรรมการบริหารทัง้ สิน้ 7 ทาน และอีก 3 ทาน ทีม่ ไิ ดดาํ รง ตําแหนงเปนกรรมการบริษทั โดยมีบทบาทหนาทีแ่ ละความรับผิดชอบ ในการพิจารณาอนุมตั กิ าํ กับดูแลการดําเนินงานของบริษทั ฯ ตามขอบเขต ทีไ่ ดรบั มอบอํานาจจากคณะกรรมการบริษทั รวมทัง้ การกลัน่ กรองเรือ่ ง ตางๆ กอนนําเสนอคณะกรรมการบริษทั พิจารณาใหความเห็นชอบ 7.2 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบดวย กรรมการอิสระทั้งคณะ 3 ทาน โดยมี 1 ทาน เปนผูมีความรูดานบัญชีการเงิน ที่แตงตั้งโดย คณะกรรมการบริษทั โดยมีคณ ุ สมบัตคิ รบถวนตามทีต่ ลาดหลักทรัพยฯ กําหนด ซึง่ ภารกิจของคณะกรรมการตรวจสอบโดยสรุปคือ การสอบทาน รายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน และวางระบบ ตรวจสอบภายใน สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยและ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ การพิจารณาคัดเลือก เสนอ แตงตั้งผูสอบบัญชี พิจารณารายการที่เกี่ยวโยง หรือรายการที่อาจ มีความขัดแยงทางผลประโยชน จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการ ของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของ บริษทั ฯ และลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 7.3 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน ประกอบดวย กรรมการบริษัท 6 ทาน โดยมีกรรมการอิสระดํารงตําแหนงเปน ประธาน ถึงแมอีก 5 ทาน จะไมใชกรรมการอิสระ แตมีกระบวนการ และขั้ น ตอนในการสรรหากรรมการและผู บ ริห ารระดั บ สู ง ที่ เปนไปตามแนวปฏิบัติที่ดี ชัดเจน โปรงใส เทียบเคียงไดกับบริษัท จดทะเบียนอืน่ ในอุตสาหกรรมเดียวกัน และสอดคลองกับผลประโยชน ในระยะยาวของบริษัทและผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย 7.4 คณะกรรมการการเงิน ประกอบดวย คณะกรรมการบริษัท 4 ทาน สวนอีก 4 ทาน คัดสรรจากบุคคลซึ่งมีความรู ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ทางในธุรกิจ เพื่อจัดหาทุน และวิเคราะหการลงทุน รวมถึงปองกัน และควบคุมปจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษัทฯ

8. รายงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท เปนผูรับผิดชอบตองบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการ รวมทั้งสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป โดยงบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปใน ประเทศไทย รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีการดํารงรักษาไวซึ่งระบบการควบคุม ภายในที่มีประสิทธิผล เพื่อใหมั่นใจไดอยางมีเหตุผลถึงการบันทึกขอมูล ทางบัญชีอยางถูกตองครบถวน เพียงพอที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสิน เพื่อปองกันไมใหเกิดการดําเนินการที่ผิดปกติอยางมีนัยสําคัญ 9. การเลือกตั้งและดํารงตําแหนงกรรมการ บริษทั ฯ ไดกาํ หนดวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการบริษทั โดยรายละเอียด ปรากฏในสวนนี้ ตามหัวขอ “โครงสรางการจัดการ” 10. แผนการสืบทอดตําแหนง คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหมีแผนการสืบทอดตําแหนงของประธาน กรรมการบริหารและผูบริหารระดับสูงกวาผูจัดการฝายของบริษัท เพื่อ รักษาความเชื่อมั่นใหกับผูมีสวนเกี่ยวของไมวาจะเปน ผูถือหุน ลูกคา ตลอดจนพนักงาน วาการดําเนินงานของบริษัทฯ จะไดรับการสานตอตาม แนวนโยบายการเติ บ โตอยา งมั่ นคงและยั่ง ยืน ภายใต จ รรยาบรรณใน การดําเนินธุรกิจ โดยคณะกรรมการบริษัทไดจัดโครงการพัฒนาความรู เพื่อเพิ่มพูนทักษะใหเหมาะสมกับหนาที่ รวมถึงการมอบหมายงานอยาง เหมาะสม 11. การประเมินผลของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทกําหนดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะ กรรมการบริษัท โดยใชแบบประเมินของตลาดหลักทรัพยฯ เปนแนวทาง ในการจั ด ทํ า แบบประเมิ น และเปนกรอบในการตรวจสอบการปฏิ บ ัติ งานในหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทอยางสม่ําเสมอ การประเมินผลการ ปฏิบตั งิ านในภาพรวมของคณะกรรมการบริษทั โดยแบงหัวขอการประเมิน ใหสอดคลองกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี 10 หัวขอ ไดแก

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 60


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10)

โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัท บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท การประชุมคณะกรรมการบริษัท การทําหนาที่ของกรรมการบริษัท ความสัมพันธกับฝายจัดการ การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการบริษัทและการพัฒนาผูบริหาร การกําหนดกลยุทธและวางแผนธุรกิจ การจัดการความเสี่ยงและการควบคุมภายใน การดูแลไมใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน การติดตามรายงานทางการเงินและผลการดําเนินงาน

13. เลขานุการบริษัท คณะกรรมการไดแตงตั้ง นายดุษิต จงสุทธนามณี เปนเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2551 เพื่อชวยดําเนินกิจกรรมตางๆ ของ คณะกรรมการบริษัทและบริษัทฯ อันไดแก การประชุมคณะกรรมการ และผูถือหุน ตลอดจนการใหคําแนะนํากรรมการและบริษัทในการปฏิบัติ และดําเนินการใหถูกตองตามกฎหมาย ตลอดจนระเบียบที่เกี่ยวของตางๆ อยางสม่าํ เสมอ อีกทัง้ ยังดูแลใหกรรมการบริษทั และบริษทั ฯ มีการเปดเผย ขอมูลสารสนเทศไดอยางถูกตอง ครบถวน โปรงใส เพื่อสนับสนุนการ กํากับดูแลกิจการใหเปนไปตามมาตรฐานกํากับดูแลกิจการที่ดี สามารถดู รายละเอียดขององคประกอบ และคุณสมบัติ พรอมทั้งหนาที่ความรับผิด ชอบของเลขานุการบริษัทในหัวขอ “โครงสรางการจัดการ”

ซึ่งในป 2554 ไดปฏิบัติภาระหนาที่และความรับผิดชอบอยางเหมาะสม ตามแนวทางการปฏิบัติที่ดีของกรรมการ

หมวด 2 สิทธิของผูถือหุน ความเทาเทียมกันของผูถือหุน และ บทบาทผูมีสวนไดสวนเสีย

12. การพัฒนากรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายสําหรับกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งใหม โดยการสรุปลักษณะธุรกิจและโครงสรางของกลุม บริษทั ฯ โครงสรางองคกร การดําเนินงานของกลุมบริษัทฯ ขอบังคับ ระเบียบ นโยบายที่สําคัญ และ จรรยาบรรณธุรกิจ รวมถึงขอพึงปฏิบัติของกรรมการตามขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย เพื่อให สามารถปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการบริษัทจดทะเบียนไดอยางครบถวน นอกจากนี้ไดจัดการบรรยายสรุปภาพรวมของอุตสาหกรรมจิวเวลรี่ ผลการ ดําเนินงาน และแผนงานโครงการที่สําคัญของปจจุบันและในอนาคต

1. สิทธิของผูถือหุน บริษัทฯ ไดยึดถือนโยบายเกี่ยวกับความรับผิดชอบตอผูถือหุน โดยไดจัด ทําเปนลายลักษณอักษรและประกาศใชตั้งแตป 2543 รวมถึงไดปรับปรุงไว ในคูมือหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ โดยเผยแพรผานชองทาง การสื่อสารภายในบริษัทฯ รวมทั้งเว็บไซตของบริษัทฯ เพื่อใชเปนแนวทาง ในการปฏิบัติตอผูถือหุนในฐานะเจาของกิจการ ซึ่งสะทอนถึงการเคารพ ในสิทธิขั้นพื้นฐานของผูถือหุน อันประกอบดวย • สิทธิในการซื้อขายหรือการโอนหุน • สิทธิในการเขารวมประชุมผูถือหุน • สิท ธิใ นการมอบฉันทะให บ ุค คลอื่น เข า ประชุ ม และออกเสีย งลง คะแนนแทน • สิทธิในการกําหนดคาตอบแทนกรรมการบริษัท • สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งหรือถอดถอนกรรมการเปน รายบุคคล • สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนแตงตั้งและกําหนดคาตอบแทนผูสอบ บัญชี • สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนในเรื่องที่ตองขอความเห็นชอบจากที่ ประชุมผูถือหุน • สิทธิในการรับสวนแบงกําไรของบริษัทฯ • สิทธิในการแสดงความคิดเห็นและซักถามในการประชุมผูถือหุน รวม ทั้งเสนอทางเลือกใหผูถือหุนที่ไมสามารถเขาประชุมสามารถมอบ ฉันทะใหกรรมการอิสระเขาประชุมและออกเสียงแทน • สิทธิในการได รับ แจ ง ข อ มู ล และข า วสารที่ มี นั ย สํา คั ญ ของบริษั ท ฯ อยางถูกตอง ครบถวน เพียงพอ ทันเวลา และตรวจสอบได โดยเทา เทียมกัน และใหขอมูลที่สําคัญที่เปนปจจุบันผานเว็บไซต

ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัท ไดสงเสริมใหกรรมการบริษัทไดรับความรูเพื่อ การพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อเสริมสรางความเขาใจในบทบาท หนาที่ และ ความรับผิดชอบ และสงเสริมทักษะในการปฏิบัติหนาที่ในฐานะกรรมการ บริษัทจดทะเบียนไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการเขารวมสัมมนาที่จัดขึ้น โดยหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ดังแสดงรายละเอียดไวในตาราง 2 ของทายบทความนี้ นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ไดสง ผูบ ริหารและผูป ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของเขารับการฝกอบรม ในหลักสูตรเลขานุการบริษัท หลักสูตรเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี หลักสูตรเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน และอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ที่จัดโดย หนวยงานและสถาบันตางๆ เพื่อเปนการตอยอดความรูความเขาใจใน หนาที่ที่รับผิดชอบ และชวยสนับสนุนการทํางานของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดยอยไดอยางเต็มที่

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 61


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

การจัดการประชุมผูถือหุน คณะกรรมการบริษัท ไดใหความสําคัญกับการจัดประชุมสามัญประจําป เพื่อเปดโอกาสใหผูถือหุนซึ่งเปนเจาของกิจการไดรับรู รับทราบ ผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ และมีสวนรวมตัดสินใจในเรื่องสําคัญของบริษัทฯ รวมทั้งตรวจสอบการดําเนินงานของคณะกรรมการบริษัทและฝายจัดการ บริษัทฯ จึงไดจัดใหมีการประชุมผูถือหุนใหเปนไปตามกฎหมายและเปน ไปตามแนวทางในคูมือ AGM Checklist ที่จัดทําขึ้นโดยสมาคมสงเสริม ผูลงทุนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียน และสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ตั้งแต วันที่ 18 มีนาคม 2554 เปนเวลา 1 เดือน กอนวันประชุมผูถือหุน โดยหนังสือเชิญประชุม ประกอบดวย - ขอเท็จจริง เหตุผล และความเห็นคณะกรรมการ - สํา เนารายงานประชุ ม สามั ญ ผู ถ ือ หุ นครั้ง กอ นเพื่อ ให ผู ถ ือ หุ น พิจารณารับรอง - รายงานประจําปของบริษัทฯ ที่มีขอมูลสําคัญเกี่ยวกับบริษัทฯ และผลการดําเนินงานในรอบปที่ผานมา - รายละเอียดขอมูลประกอบการพิจารณาทุกวาระ เชน วาระเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการที่ตองออกตามวาระ โดยมีประวัติยอของ กรรมการซึ่งประกอบดวย อายุ การศึกษา ตําแหนงหนาที่ ในอดีตและปจจุบัน จํานวนหุนที่ถือของบริษัทฯ จํานวนวาระที่ ดํารงตําแหนงในบริษัทฯ ตําแหนงในบริษัทจดทะเบียนและใน กิจ การอื่นที่ อ าจทํ า ให เ กิด ความขั ด แยง ทางผลประโยชน ต อ บริษัทฯ และขอพิพาททางกฎหมาย - คําชี้แจงวิธีการมอบฉันทะ การลงทะเบียน การแสดงเอกสารการ เขาประชุม และการออกเสียงลงคะแนน - ขอมูลกรรมการอิสระที่ผูถือหุนสามารถพิจารณาใหเปนผูรับมอบ ฉันทะ โดยมีประวัติครบถวน - ขั้นตอนการเขารวมประชุม - ขอบังคับบริษัทเฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมผูถือหุน - แผนที่สถานที่จัดประชุม - หนังสือมอบฉันทะทั้ง 3 แบบ ตามที่กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชยกําหนด คือ แบบ ก. เปนแบบหนังสือมอบฉันทะ แบบทั่วไป ซึ่งเปนแบบที่งายไมซับซอน แบบ ข. เปนหนังสือมอบ ฉันทะที่กําหนดรายการตาง ๆ ที่จะมอบฉันทะที่ละเอียดชัดเจน และแบบ ค. เปนแบบหนังสือมอบฉันทะที่ใชเฉพาะกรณีผูถือหุน เปนผูลงทุนตางประเทศ และแตงตั้งใหผูดูแลรักษาทรัพยสิน ในประเทศไทยเปนผูรับฝากและดูแลหุน - ซองธุรกิจตอบรับ เพื่อจัดสงหนังสือมอบฉันทะใหบริษัท (กรณีที่ มอบฉันทะใหกรรมการอิสระเปนผูรับมอบฉันทะ) • ประกาศโฆษณาคําบอกกลาวเชิญประชุมในหนังสือพิมพใน วันที่ 12, 18 และ 19 เมษายน 2554 ตอกัน 3 วัน และไมนอยกวา 3 วัน กอนวันประชุมตามขอบังคับของบริษัทฯ และพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 • บริษัทฯ ไดกําหนดเปนแนวทางปฏิบัติสืบเนื่องกันทุกป เกี่ยวกับผูถือ หุนสวนนอยในเรื่อง - เสนอระเบียบวาระการประชุมผูถือหุน - เสนอชื่อดํารงตําแหนงกรรมการ - สงคําถามกอนการประชุมสามัญผูถือหุน

ในป 2554 บริษัทฯ ไดจัดการประชุมผูถือหุน 1 ครั้ง คือ “การประชุมสามัญ ผูถือหุนประจําป 2553” ในวันพุธที่ 20 เมษายน 2554 เวลา 14.00 น. ณ หองแคทลียา โรงแรมโนโวเทล บางนา กรุงเทพฯ และจัดรถบริษัทฯ บริการรับ-สง ในชวงเวลา 12.00-13.20 น. ณ จุดนัดพบที่ลานจอดรถหาง สรรพสินคาโลตัส สาขาออนนุช ใกลกับสถานีรถไฟฟา บีทีเอส ออนนุช และบริษัทฯ มีการเลี้ยงรับรองอยางเหมาะสมแกผูถือหุนที่เขารวมประชุม ตลอดจนจัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับการประชุม โดยการลงทะเบียน เขารวมประชุม การนับคะแนนเสียงดวยระบบคอมพิวเตอร ทําใหเกิด ความสะดวกรวดเร็ว โดยภายหลังเสร็จสิ้นการประชุมไดเชิญผูถือหุน เยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ กอนวันประชุมผูถือหุน หลังจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหกําหนดวันประชุมสามัญ ผูถือหุนประจําป 2553 บริษัทฯ ไดใหขอมูลที่เกี่ยวของสําหรับการตัดสิน ใจในที่ประชุมแกผูถือหุนเปนการลวงหนาอยางเพียงพอและทันเวลา โดย ไดดําเนินการดังนี้ • แจงกําหนดการประชุมและวาระการประชุมใหผูถือหุนทราบผาน ระบบสื่อสารขอมูลของตลาดหลักทรัพยฯ และเว็บไซตของบริษัทฯ ลวงหนากอนการสงเอกสารใหแกผูถือหุนตั้งแต วันที่ 29 กุมภาพันธ 2554 หรือกอนวันประชุมผูถือหุน 50 วัน • บริษัทฯ ไดมอบใหบริษัทศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนนายทะเบียนของบริษัทฯ เปนผูดําเนินการจัดสงหนังสือเชิญ ประชุมสามัญผูถือหุนพรอมรายละเอียดวาระการประชุม ประจําป 2553 ใหแกผูถือหุนเมื่อ วันที่ 4 เมษายน 2554 ซึ่งเปนไปตามที่ กฎหมายกําหนดใหบริษัทจดทะเบียนจัดสงหนังสือนัดประชุมใหแก ผูถือหุนเปนการลวงหนาอยางนอย 14 วัน กอนการประชุม เพื่อให ผูถือหุนไดศึกษาขอมูลประกอบการประชุมเปนการลวงหนาอยาง เพียงพอ โดยไดเผยแพรหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบทัง้ ชุด ซึ่งเหมือนกับชุดเอกสารที่จัดสงใหผูถือหุนไวบนเว็บไซตของบริษัทฯ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 62


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

โดยเปดโอกาสใหผูถือหุนสามารถสงเรื่องดังกลาวเปนการลวงหนาผาน เว็บไซตของบริษัทฯ www.pranda.co.th หรือ www.pranda.com ในชวง เดือนตุลาคมถึงธันวาคมของทุกปอยางไมเปนทางการ จนกวาจะไดรับ เปนลายลักษณอักษรจากผูถือหุน และบริษัทฯ จะเปดเผยผานชองทาง ของตลาดหลักทรัพยฯ เกี่ยวกับเหตุผลที่คณะกรรมการพิจารณาบรรจุ หรือไมบรรจุเรื่องที่ผูถือหุนเสนอใหเปนวาระในการประชุมผูถือหุนเพื่อให ทราบโดยเทาเทียมกัน

• ดําเนินการประชุมผูถือหุนตามลําดับระเบียบวาระการประชุมที่ได แจงไวในหนังสือเชิญประชุมผูถือหุน • จัดใหมีการนับคะแนนเสียงดวยบัตรลงคะแนนเสียงในวาระที่จะตอง อนุมัติ และสําหรับวาระเลือกตั้งกรรมการนับคะแนนเสียงดวยบัตร ลงคะแนนเสียงเปนรายบุคคล เพื่อความโปรงใสและตรวจสอบได • ใหสิทธิผูถือหุนที่มารวมประชุมผูถือหุนภายหลังจากที่การประชุมเริ่ม แลวมีสิทธิออกเสียงหรือลงคะแนนในระเบียบวาระที่อยูระหวางการ พิจารณาและยังไมไดลงมติ • บันทึกรายงานการประชุมและบันทึกการออกเสียงในแตละวาระไว อยางครบถวน • เมื่อประชุมแลวเสร็จไดเชิญผูถือหุนเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ

สําหรับการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 ที่ผานมา ไมมีผูถือหุน ทานใดเสนอระเบียบวาระการประชุม การเสนอชื่อดํารงตําแหนงกรรมการ และการสงคําถามลวงหนาแตอยางใด นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท ไดจัดใหมีการพิจารณาเรื่องอื่นๆ (ถามี) ไวในระเบียบวาระการประชุม เพื่ อ ให ผู ถ ือ หุ น สามารถเสนอเรื่อ งเข า สู ก ารพิจ ารณาของที่ ป ระชุ ม ได โดยถือปฏิบัติตามขอกําหนดกฎหมายตาม พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 105 กลาวคือ ผูถือหุนซึ่งมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนหุนที่จําหนายไดทั้งหมด จะขอใหที่ประชุมพิจารณา เรื่องอื่นนอกจากที่กําหนดไวในหนังสือนัดประชุมอีกก็ได ซึ่งปรากฎวาไมมี การเสนอเรื่องอื่นๆ เพื่อพิจารณาลงมติ มีเพียงขอเสนอแนะและขอซักถาม ที่ไดบันทึกไวในรายงานประชุมแลวเทานั้น

ทั้งนี้ จํานวนผูเขารวมประชุมผูถือหุนประจําป 2553 มีผูถือหุนที่มาประชุม ดวยตนเองและโดยการมอบฉันทะ จํานวน 76 ราย รวมเปนจํานวน หุน 198,029,400 หุน คิดเปนรอยละ 49.37 ของจํานวนหุนที่จําหนายได ทั้งหมด จํานวน 401,087,854 หุน หลังวันประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ไดแจงมติที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 ระบุผลการออก เสียงลงคะแนนในแตละเรื่องแยกประเภทคะแนนเสียง “เห็นดวย” “ไม เห็นดวย” และ “งดออกเสียง” พรอมแสดงสัดสวนคะแนนเสียงแตละ ประเภท โดยจัดสงในรูปแบบเอกสารไปยังตลาดหลักทรพยฯ พรอมกับสง แบบออนไลนผานระบบอิเล็คทรอนิกส (SCP: SET Community Portal) ใน วันทําการถัดไปหลังจากประชุมเสร็จสิ้น

วันประชุมผูถือหุน บริษัทฯ มีการอํานวยความสะดวกแกผูถือหุนที่เขารวมประชุม และดําเนิน การประชุมอยางโปรงใส สามารถตรวจสอบได รวมทั้งเปดโอกาสใหผูถือ หุนไดซักถามและแสดงความเห็นในแตละวาระอยางเต็มที่ ดังนี้ • ใหความสําคัญในการอํานวยความสะดวกตอผูถือหุน โดยบริษัทฯ ไดจัดรถบริษัทฯ บริการรับ-สง ในชวงเวลา 12.00-13.20 น. จาก จุดนัดพบที่ลานจอดรถหางสรรพสินคาโลตัส สาขาออนนุช ใกลกับ สถานีรถไฟฟา บีทีเอส ออนนุช ไปยังสถานที่ประชุมของบริษัทฯ กรณีผูถือหุนเดินทางโดยรถสวนตัว บริษัทฯ ก็ไดจัดเตรียมสถานที่ จอดรถไวอยางเพียงพอ • จัดการลงทะเบียนและการนับคะแนนเสียงดวยระบบ Barcode โดย ดําเนินการลงทะเบียนลวงหนาอยางนอย 1 ชั่วโมงกอนการประชุม และตอเนื่องจนกวาการประชุมจะแลวเสร็จ รวมถึงมีการมอบที่ระลึก และการเลี้ยงรับรองที่เหมาะสมแกผูถือหุนที่เขารวมประชุม • คณะกรรมการบริษัททั้งคณะ จํานวน 9 ทาน ไดเขารวมประชุมคิดเปน รอยละ 100 ของจํานวนกรรมการทั้งหมด รวมทั้งมีผูบริหารระดับ สูง ผูแทนผูสอบบัญชีเขารวมประชุมผูถือหุนเพื่อตอบคําถามและรับ ทราบความเห็นของผูถือหุน • กอนเขาสูวาระการประชุมประธานที่ประชุมไดใหกรรมการผูจัดการ ใหญชี้แจงวิธีการดําเนินการประชุมและการลงคะแนนเสียง

ในการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 ไมมีการเปลี่ยนลําดับระเบียบ วาระ และไมมีการขอใหที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นที่ไมไดกําหนดไวในที่ ประชุมแตอยางใด การจัดทํารายงานประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2553 ไดจัดทําเปน ลายลักษณอักษร โดยบันทึกสาระสําคัญของแตละเรื่องที่เสนอตอที่ ประชุ มสรุป ประเด็ นข อ ซั ก ถามที่ ส ํา คั ญ ของผู ถ ือ หุ น และคํ า ชี้ แจงของ คณะกรรมการบริษัท ตลอดจนขอเสนอแนะและขอคิดเห็นเพิ่มเติมของที่ ประชุม รวมทั้งมติที่ประชุมพรอมคะแนนเสียงแตละประเภทและสัดสวน คะแนนเสียงของแตละเรื่องไวอยางครบถวน ชัดเจน โดยเลขานุการบริษัท และลงนามรับรองโดยประธานที่ประชุม และกรรมการผูมีอํานาจลงนาม ของบริษัทฯ พรอมนําสงรายงานการประชุมใหทางตลาดหลักทรัพยฯ และ สํานักงาน ก.ล.ต. รวมถึงกรมพัฒนาธุรกิจการคา เพื่อเปนเอกสารตรวจ สอบและอางอิง และเผยแพรบนเว็บไซต www.pranda.co.th ของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กอนเวลาที่กฎหมายกําหนดใหทําการเผยแพร รายงานการประชุมภายใน 14 วันนับจากวันประชุมผูถือหุน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 63


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

จากการดําเนินการดังกลาว สงผลใหบริษัทฯ ไดรับการประเมินคุณภาพ การจัดประชุมผูถือหุนประจําป (Annual General Meeting: AGM) โดย สมาคมสงเสริมผูลงทุนไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียน และสํานักงาน ก.ล.ต. ดวยคะแนน 100 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ซึ่งชวง คะแนนอยูในระดับ “ดีเยี่ยม + สมควรเปนตัวอยาง” โดยบริษัทฯ เปน 1 ใน 416 บริษัทที่ไดคะแนนในระดับดังกลาว จากทั้งหมด 416 บริษัท

60 ของกําไรสุทธิ โดยที่ผานมาระยะ 5 ปหลัง บริษัทฯ ไดจายเงินปนผลตั้งแตรอยละ 52.75-59.97 ของกําไรสุทธิในแตละป รวมทัง้ ไมกระทําการใดๆ อัน เปนการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิของผูถ อื หุน สําหรับป 2554 บริษัทฯ ไดจัดใหผูถือหุนรายยอย เขาเยี่ยมชมกิจการ ณ โรงงานผลิตกรุงเทพ (บางนา) จํานวน 56 คน เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2554 เพือ่ เปดโอกาสใหผถู อื หุน ไดเยีย่ มชมการดําเนินงาน รับทราบขอมูล พบปะคณะผูบริหาร ตลอดจนไมมี ขอรองเรียนใดๆ เกี่ยวกับการไมเคารพในสิทธิขั้น พื้นฐานของผูถือหุน หรือการกระทําความผิดของ กรรมการแลผูบริหารเกี่ยวกับการใชขอมูลภายใน

2. ความเทาเทียมกันของผูถือหุน คณะกรรมการบริษัทและฝายบริหารไดยึดถือหลักการปฏิบัติตอผูถือหุน ทุกรายตามกฎระเบียบ หลักเกณฑ ที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด เพื่อการ ดํารงสถานะการเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ โดยการกํากับ ดู แ ลให ผู ถ ือ หุ น ได ร ับ การปฏิ บ ัติ แ ละปกปอ งสิท ธิขั้ น พื้น ฐานอยา ง เทาเทียมในการไดรับขอมูลขาวสารของกิจการ นอกจากการปฏิบัติตาม ขอกําหนดเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลสารสนเทศของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงาน ก.ล.ต. แลวนั้น บริษัทฯ ยังไดเพิ่มชองทางการเขาถึงขอมูล ของบริษัทฯ ผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ไดมีการพัฒนามาอยางตอ เนื่อง โดยใหขอมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อันไดแก การเผยแพร ขาวบริษัทฯ (Press Release) การจัด Analyst Meeting การใหขอมูลกิจการ ในงานกิจกรรมบริษัทจดทะเบียนพบผูลงทุน (Opportunity Day) ที่จัดโดย ตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงการเปดโอกาสใหผูถือหุนสวนนอยเสนอเรื่อง เพื่อคณะกรรมการบริษัท พิจารณาบรรจุในระเบียบวาระการประชุมผูถือ หุน เปดโอกาสเสนอชื่อบุคคลเพื่อเปนกรรมการบริษัท และสงคําถามเปน การลวงหนา รวมถึงการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับการเก็บรักษาความลับ และการใชขอมูลภายในที่ยังไมสามารถเปดเผยตอบุคคลภายนอก อันจะ นําไปสูการแสวงหาผลประโยชนเพื่อตนเองหรือผูอื่นในทางมิชอบ และ กําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงานทุกระดับ ยึดถือปฏิบัติ

• พนักงาน

3. สิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียกลุมตางๆ บริษัทฯ เคารพสิทธิของผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม และมีนโยบายที่จะให แตละกลุมไดสิทธินั้นอยางเต็มที่ ไมวาจะเปนผูมีสวนไดสวนเสียภายใน ไดแก พนักงาน ผูบริหารบริษัทฯ และบริษัทยอย ผูมีสวนไดสวนเสีย ภายนอก ไดแก ผูถือหุน ลูกคา คูคา เจาหนี้ คูแขง ตลอดจนสาธารณชน และสังคม โดยไดปฏิบัติตอกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ดังนี้ • ผูถือหุน

: บริษัทฯ มีความมุงมั่นที่จะเปนตัวแทนที่ดีของ ผูถือหุนในการดําเนินธุรกิจอยางโปรงใสและสราง ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให แ ก ผูถือ หุน โดยคํ า นึ ง ถึ ง การเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในระยะยาวดวย ผลตอบแทนที่ดีและตอเนื่องโดยในแตละปบริษัทฯ ได จ า ยเงิ น ป น ผลให กั บ ผู ถื อ หุ น ตามนโยบายที่ บริษทั ฯ กําหนด คือ จายเงินปนผลไมเกินรอยละ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 64

: ในป 2554 บริษัทฯ ยังคงรักษานโยบายการให ความสําคัญแกพนักงานอยางตอเนือ่ ง เพราะพนักงาน คือทรัพยากรอันมีคา ขององคกร บริษทั ฯ จึงไดดาํ เนิน กิจ กรรมด า นพัฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของพนัก งาน อยางสมํา่ เสมอ เชน การสงเสริมความรูใ หพนักงาน ด ว ยการจั ด ตั้ ง ศู น ย ก ารเรีย นรู  ก ลุ ม แพรนด า บริหารงานโดยคณะกรรมการวิชาการ ไดจัดตั้ง งบประมาณดานฝกอบรมมากกวา 1 ลานบาท ไดดําเนินการฝกอบรมทั้งภายในและภายนอกให แกพนักงานทุกระดับอยางทั่วถึง ซึ่งผลของการ ฝกอบรมทําใหบริษทั ฯ ไดรับผลผลิตและประสิทธิภาพ ในการที่ดีกลับคืนมา และศูนยพัฒนาเด็กเล็กได ดําเนินการอยางตอเนื่องมาเปนปที่ 23 ทั้งนี้เพื่อลด ภาระการเลี้ยงดูบุตรของพนักงาน และยังมีการให ความชวยเหลือดานความมั่นคงทางทรัพยสินของ พนักงาน เชน การดําเนินการสหกรณออมทรัพย กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ จัดตั้งโครงการการแกไข ปญหาหนี้สินและการใหคําปรึกษาดานกฎหมาย นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดปรับปรุงหอพักใหมีความนา อยูมากขึ้น ซึ่งปจจุบันมี 3 อาคาร ๆ ละ 100 หอง การปรับปรุงโรงอาหารใหมีคุณภาพที่ดี ราคาถูก การเพิ่มเงินชวยเหลือดานสวัสดิการตางๆ เชน เงิน ชวยเหลือกรณีสมรส อุปสมบท กรณีบิดา มารดาเสีย ชีวิต การรักษาพยาบาลเมื่อเปนผูปวยใน เปนตน ผลการดําเนินการดังกลาวสงผลใหบริษัทฯ มีอัตรา การหมุนเวียนของพนักงานตํ่าลงมาก ซึ่งในปนี้ มีอัตราการหมุนเวียนในกลุมของพนักงานทักษะ ฝมือนอยกวา 2 % และการปฏิบัติตามมาตรฐาน


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

แรงงานไทย ( มรท. ) ไมสนับสนุนใหมีการละเมิด สิทธิมนุษยชน ไมใชแรงงานเด็ก แรงงานบังคับจัด สถานที่ทํางานใหนาอยูมีความปลอดภัยและถูก ตองตามหลักอาชีวอนามัย ไมเลือกปฏิบัติ เคารพ ในความเทาเทียมเสมอภาค จายคาตอบแทนไม นอยกวาอัตราที่กฎหมายกําหนด

• สังคมและสิง่ แวดลอม : บริษทั ฯ ยังคงรักษาการปฏิบัตติ ามหลักการของ UN Global Compact และยังไดใหความชวยเหลือแกสงั คม ทั้งภายในและภายนอกเชนการจัดมาตรการชวย เหลือผูบ ริหาร พนักงานทีป่ ระสบภัยนํา้ ทวม สวนการ ชวยเหลือภายนอก บริษทั ฯ ไดบริจาคเงินชวยเหลือ ผูป ระสบภัยนํา้ ทวมแกมลู นิธิ สถาบันตางๆ สงพนักงาน จิตอาสาเขารวมชวยเหลือนํ้าทวมยังสถานที่ตางๆ การใหโอกาสผูพิการเขามารวมทํางานในบริษัท มากกวา 30 คน ซึง่ ในปนี้ บริษทั ฯ ไดรับรางวัลเชิดชู เกียรติ “องคกรภาคธุรกิจเอกชนสงเสริมอาชีพคน พิการ” จากกระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย

สําหรับป 2554 บริษัทฯ ไมมีขอพิพาทฟองรอง ระหวางบริษัทฯ และพนักงาน • ลูกคา

: บริษทั ฯ ไดขยายฐานลูกคาใหม และรักษาฐานลูกคา เดิมไดอยางมีประสิทธิภาพ ดวยคุณภาพของสินคา ในระดับสากล ราคาที่เหมาะสมและการบริการที่ ประทับใจ

นอกจากนี้ ย ัง ให ค วามสํา คั ญ กับ การอนุ ร ัก ษ ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ อี ยูอ ยางจํากัด โดยการใชให เกิดประโยชนสูงสุด เพื่อความอุดมสมบูรณอยาง ยัง่ ยืนจึงไดมีการจัดตั้งคณะทํางานดานสิ่งแวดลอม ชือ่ โครงการ 7 ส และการประหยัดพลังงาน มุง เนนการ รักษาความสะอาดและการอนุรักษพลังอยางยั่งยืน จึงไดจัดทํามาตรฐานความสะอาดขึ้น และจัดตั้ง ธนาคารขยะรีไซเคิล และในชวงเกิดวิกฤตอุทกภัย ธนาคารขยะฯ ไดมีสวนรวมในการบริจาคขวดเปลา ใหกับหนวยงานตางๆ เพือ่ ใชสําหรับบรรจุนาํ้ จุลินทรีย แจกผูประสบภัย นอกจากนี้ยังไดมีสวนรวมในการ ทํากิจกรรมสูส ังคมภายนอกองคกร ไดแก การบริจาค กลองเครื่องดื่ม UHT เพื่อใหชมรมผูผลิตกลอง เครื่องดื่มนําไปผลิตเปนแผนอีโคบอรดใชสําหรับ ทําหลังคา เรือ ชวยเหลือผูประสบภัย และได สรางสรรคกิจกรรมสาธารณประโยชนตางๆ อยาง ตอเนื่อง โดยมีวัตถุประสงคในการสรางจิตสํานึก รับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ใหเกิดมีขึ้น กับพนักงานทุกระดับ โดยรายละเอียดของกิจกรรม ตางๆ ในระหวางป 2554 สามารถดูไดใน หัวขอ “ความรับผิดชอบตอสังคมและคุณคารวมองคกร”

สําหรับป 2554 บริษัทฯ ไมมีขอพิพาทฟองรอง ระหวางบริษัทฯ และลูกคา • คูค า และเจาหนี้ : บริษทั ฯ ไดกําหนดนโยบายในการจัดซือ้ จัดจาง เพือ่ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ กั บ คู  ค  า ได อ ย า งอย า งเหมาะสม ยุตธิ รรม มีประสิทธิภาพ โดยปฏิบัตติ ามขอตกลงทีม่ ี ตอคูค า และเจาหนี้ ในการใหขอ มูลทางการเงินทีค่ รบ ถวนตามจริง และการสรางความสัมพันธที่ดี จึงได รับความเชื่อมั่นในฐานะทางการเงินของบริษัทฯ จากคูคาและเจาหนีด้ วยดีเสมอมา สําหรับป 2554 บริษทั ฯ ไมมขี อ พิพาทฟองรองระหวาง บริษทั ฯ กับคูค า และเจาหนี้ • คูแ ขง

: บริษทั ฯ กําหนดนโยบายและการปฏิบัตติ อ คูแ ขงไวใน คูม อื หลักการกํากับดูแลกิจการหมวด“จรรยาบรรณ” ทีจ่ ะปฏิบัตติ อ คูแ ขงทางการคาใหสอดคลองกับหลัก สากล ภายใตกรอบกฎหมายเกีย่ วกับหลักปฏิบัตกิ าร แขงขันทางการคา โดยไมละเมิดหรือลวงรูค วามลับ ทางการคาของคูแ ขงดวยวิธีอันฉอฉล ซึง่ บริษทั ฯ ก็ได ปฏิบัติตามอยางเครงครัดเสมอมา

สําหรับป 2554 บริษทั ฯ ไมมขี อ พิพาทฟองรองระหวาง บริษทั ฯ ในเรือ่ งเกีย่ วกับสังคมและสิง่ แวดลอม

สําหรับป 2554 บริษทั ฯ ไมมขี อ พิพาทใดๆ ในเรือ่ งที่ เกีย่ วกับคูแ ขงทางการคา

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 65


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

ชองทางการสื่อสารกับผูมีสวนไดสวนเสีย

ระเบียบวาระการประชุมและวันปดสมุดทะเบียนพักการโอนหุนเพื่อสิทธิ ในการเขารวมประชุม และสิทธิในการรับเงินปนผล รายละเอียดการจาย เงินปนผลประจําป รวมถึงการจายเงินปนผลระหวางกาล แจงมติที่ประชุม สามัญผูถ อื หุน ประจําป การแจงการดําเนินการกอนวันประชุมสามัญผูถ อื หุน การแจงเปลี่ยนแปลงกรรมการผูจัดการ การแตงตั้งกรรมการตรวจสอบที่ ครบกําหนดวาระกลับเขาดํารงตําแหนง การแจงการจัดสรรและกําหนด รายละเอียดของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแก กรรมการและพนักงานของบริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอย และการแจงผล การใชสทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิของกรรมการและพนักงาน และการแจง รายการที่เกี่ยวโยง เปนตน รวมจํานวน 9 ครั้ง

ผูมีสวนไดสวนเสียสามารถติดตอกับบริษัทฯ โดยตรงไดที่กรรมการบริษัท หรือกรรมการตรวจสอบ เลขที่ 28 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 หรือใชชองทางที่บริษัทฯ จัดใหไดแก เว็บไซต ของบริษัทฯ www.pranda.co.th หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส ดังนี้ คณะกรรมการบริษัท สํานักงานเลขานุการบริษัท นักลงทุนสัมพันธ ฝายประชาสัมพนธ

board@pranda.co.th corporatesecretary@pranda.co.th ir@pranda.co.th pr@pranda.co.th

ทั้งนี้บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามขอกําหนดในการเปดเผยสารสนเทศอยาง ถูกตองมาโดยตลอด และไมมกี รณีถกู ลงโทษกรณีบริษทั จดทะเบียนไมนาํ สง หรือนําสงรายงานตามที่กฎหมายกําหนดลาชาแตอยางใด เนื่องจาก คณะกรรมการบริษัท ไดใหความสําคัญในการปฏิบัติและการกระทําใดๆ ทีจ่ ะไมเปนการจํากัดโอกาสของผูถ อื หุน ในการศึกษาสารสนเทศของบริษทั ฯ จึงไดกาํ หนดใหมชี อ งทางในการสือ่ สารกับผูถ อื หุน รวมถึงนักลงทุน ผูส นใจ ทั่วไปและสาธารณชน นอกเหนือจากชองทางในการเปดเผยขอมูลตาม ประกาศขอกําหนด ระเบียบ และกฎเกณฑ ตามที่กฎหมายที่เกี่ยวของ กําหนดแลวขางตน เพื่อใหสามารถเขาถึงขอมูลของบริษัทฯ ไดอยาง สะดวกทัว่ ถึงเปนปจจุบนั จึงไดจดั ใหมเี ว็บไซต www.pranda.co.th เผยแพร ขอมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ไวใน หมวด ”นักลงทุนสัมพันธ”

หรืออาจใชชองทางอื่นที่ผูมีสวนไดสวนเสียเห็นวาเหมาะสมก็ได รวมถึง ผูมีสวนไดสวนเสียสามารถแจงเบาะแสหรือขอรองเรียนการกระทําผิด กฎหมาย การผิดจรรยาบรรณ รายงานทางการเงินที่ไมถูกตอง หรือระบบ ควบคุมภายในที่บกพรอง มายังคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อสั่งการให มีการตรวจสอบขอมูลและรายงานตอคณะกรรมการบริษัทได สําหรับ พนักงานซึ่งเปนผูมีสวนไดสวนเสียที่สําคัญกลุมหนึ่งนั้น คณะกรรมการ บริษัทไดจัดใหมีแนวทางและกระบวนการรองทุกขไวในระเบียบบริษัทฯ วาดวยการบริหารทรัพยากรบุคคล หมวด 3 การเปดเผยสารสนเทศและความโปรงใส 1. การเปดเผยขอมูล

นอกจากการเปดเผยสารสนเทศตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ และ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขางตนใน ป 2554 บริษัทฯ ไดสื่อสารขอมูลและมีกิจกรรมที่สําคัญ ดังนี้ • การจัดทําบทรายงานและการวิเคราะหของฝายบริหาร (Management Discussion and Analysis: MD&A) เพื่ออธิบายเชิงวิเคราะหเกี่ยวกับ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญใหกับ นักลงทุนและนักวิเคราะหหลักทรัพยเปนรายไตรมาส โดยจัดสงผาน ระบบอิเล็คทรอนิกส (SCP : SET Community Portal) ของตลาดหลักทรัพยฯ พรอมงบการเงิน • การเผยแพรขอมูลผานกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ ไดแก การเยี่ยมชม กิจการ (Company Visit) จากนักลงทุน และกลุมผูสนใจรวม 4 ครั้ง การพบปะนักลงทุน (Opportunity Day) จัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพยฯ ในวันที่ 17 มีนาคม 2554 และ วันที่ 24 สิงหาคม 2554 ณ อาคาร ตลาดหลักทรัพยฯ เพื่อเปดโอกาสใหบริษัทจดทะเบียนไดพบปะ ผูลงทุน นักวิเคราะหและสื่อมวลชน เพื่อแจงขอมูล ความเคลื่อนไหว การดําเนินธุรกิจ ตลอดจนแผนงานในอนาคต และมีการเผยแพร Newsletter รายไตรมาส ของกลุมบริษัทแพรนดา ทั้งภาคภาษาไทย และอังกฤษ

คณะกรรมการบริษั ท ได ดู แ ลให มี ก ารเปด เผยข อ มู ล และสารสนเทศที่ สําคัญของบริษัทฯ อยางถูกตอง ครบถวน เพียงพอ เปนปจจุบัน ทันเวลา โปรงใส สามารถตรวจสอบได โดยตลอดป 2554 บริษทั ฯ ไดทาํ การเปดเผย สารสนเทศตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ เกี่ยวกับการเปดเผย สารสนเทศของบริษั ท จดทะเบีย นอยา งครบถว นภายในระยะเวลา ที่กําหนด โดยนําสงตอตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และสงในแบบออนไลนผานระบบ อิเล็คทรอนิกส (SCP: SET Community Portal) โดยสารสนเทศของบริษัทฯ จะถู ก เผยแพรต อ ไปยัง ผู ล งทุ น ผา นทางเว็ บ ไซต ต ลาดหลัก ทรัพ ยฯ ที่ www.set.or.th และผานระบบอื่นๆ ของตลาดหลักทรัพยฯ โดยเปน การเปดเผยขอมูลประเภทสารสนเทศที่ตองรายงานตามรอบระยะเวลา บัญชี (Periodic Reports) เชน งบการเงิน แบบแสดงรายการขอมูลประจําป (แบบ 56-1) รายงานประจําป (แบบ 56-2) เปนตน รวมจํานวน 16 ครั้ง และประเภทสารสนเทศสําคัญตามเหตุการณ (Non-Periodic Reports) เชน กําหนดวัน เวลา และสถานที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป รวมถึง

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 66


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

• การเผยแพรขอมูลผานสื่อมวลชน ในป 2554 ไดเผยแพรขาวสาร ผานสื่อหนังสือพิมพ 32 ครั้ง

หมวด 4 การควบคุมและบริหารความเสี่ยง 1. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน

2. การจัดทํารายงานทางการเงิน บริษัทฯ ใหความสําคัญตอประสิทธิภาพของระบบควบคุมภายในทั้งใน ระดับบริหารและระดับปฏิบัติงาน จึงไดกําหนดขอบเขตหนาที่และอํานาจ การดํ า เนิ น การของผู ป ฏิ บ ัติ ง านระดั บ ผู บ ริห ารไว อ ยา งชั ด เจนเป น ลายลักษณอักษร มีการควบคุมดูแลการใชทรัพยสินของบริษัทฯ ใหเกิด ประโยชนสูงสุด มีระบบงบประมาณและการศึกษาความเปนไปไดของ โครงการลงทุน (Feasibility Study) กอนตัดสินใจลงทุน ตลอดจนมีการ แบงแยกหนาที่ผูปฏิบัติงาน ผูติดตามควบคุมและประเมินผลออกจากกัน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม

คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการตรวจสอบทําหนาที่ สอบทานรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ ใหมคี วามถูกตอง ครบถวน โปรงใส และเพียงพอทีจ่ ะดํารงรักษาไวซง่ึ ทรัพยสนิ รวมทัง้ ปองกันไมใหเกิดการทุจริต หรือการดําเนินการทีผ่ ดิ ปกติ เปนไปตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป และปฏิบตั ถิ กู ตองตามกฎหมายและประกาศทีเ่ กีย่ วของ อันจะทําใหผมู สี ว นได สวนเสียมีความเชือ่ มัน่ ในรายงานทางการเงิน ในการนีค้ ณะกรรมการตรวจ สอบกําหนดใหมีการประชุมรวมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีผายบริหารเขารวม ประชุมดวยอยางนอยปละ 4 ครัง้ เพือ่ สอบถามความเห็นจากผูส อบบัญชีใน ประเด็นตางๆ นอกจากนี้ คณะกรรมการยังจัดทํารายงานความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตอรายงานทางการเงิน ซึ่งครอบคลุมเรื่องสําคัญตาม ข อ พึ ง ปฏิ บั ติ สํ า หรั บ กรรมการบริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ ไดเสนอแนะไว โดยแสดงควบคูก บั รายงานผูส อบบัญชี ในป 2554 บริษทั ฯ ไดใหผสู อบบัญชีจาก สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด เปนผูส อบ บัญชีของบริษทั ฯ ซึง่ มีความรูค วามชํานาญในวิชาชีพ ไมมคี วามขัดแยง แหงผลประโยชนทจ่ี ะทําใหขาดความเปนอิสระ และความเปนกลาง และ มีคุณสมบัติครบถวนตามที่กําหนด เพื่อสรางความมั่นใจแกกรรมการและ ผูถ อื หุน วา รายงานทางการเงินของบริษทั ฯ สะทอนใหเห็นฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินการของบริษทั ฯ ทีถ่ กู ตอง และเชือ่ ถือไดในทุกแงมมุ ตามจริง

เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 คณะกรรมการบริษัทไดตอบแบบประเมิน ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทยอย โดยรายละเอียดของแบบประเมิน ประกอบดวย 5 หัวขอ ไดแก 1) องคกร และสภาพแวดลอม 2) การบริหารความเสี่ยง 3) การควบคุมการปฏิบัติ งานของฝายจัดการ 4) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล และ 5) ระบบการติดตาม โดยสรุปใจความสําคัญของแบบประเมินที่ครอบคลุม ทั้ง 5 ขอดังกลาว ไวใน หัวขอ “โครงสรางการจัดการ” 2. การบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัท ไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง โดย คณะกรรมการบริษัทมอบหมายใหคณะกรรมการการเงินทําหนาที่กําหนด ขอบเขตและนโยบายการบริหารความเสี่ยง โดยมีการจัดประชุมรวมกับ คณะกรรมการบริหารเพื่อกําหนดและประเมินความเสี่ยงตางๆ ทั้งที่เกิด จากปจจัยภายในและภายนอกของกิจการทุก 6 เดือนทั้งองคกร โดยใน เดือนมิถุนายนและเดือนธันวาคม 2554 ไดมีการจัดทํารายงานผลการ ประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงานทั้งบริษัทฯ เพื่อกําหนดมาตราการ ปองกันและจัดการความเสี่ยง รวมทั้งกําหนดแนวทางในการบริหารและ จัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได โดยไดกําหนดความเสี่ยงที่ สงผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษทั ฯ เชน ความเสีย่ งดานการกลยุทธ ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน และความเสี่ยงดานการเงิน ซึ่งสามารถ ดูรายละเอียดไดในหัวขอ “ปจจัยความเสี่ยง”

3. นักลงทุนสัมพันธ บริษัทฯ ไดจัดใหมีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ เปนหนวยงานที่มีหนาที่ รับผิดชอบในการสื่อสาร สําหรับใหขอมูลขาวสารในกิจกรรมตางๆ ของ บริษัทฯ ที่เปนประโยชนใหกับนักลงทุน เพื่อสรางสัมพันธอันดีระหวาง บริษัทฯ กับผูถือหุน ผูลงทุนสถาบัน ผูลงทุนทั่วไป นักวิเคราะหหลักทรัพย และภาครัฐที่เกี่ยวของอยางเทาเทียมกัน รวมถึงการจัดทําแผนนักลงทุน สัมพันธประจําป ซึ่งผูบริหารระดับสูงของบริษัทฯ เขารวมในการดําเนินงาน อยางสม่ําเสมอ โดยมีกรรมการผูจัดการและผูบริหารระดับสูงที่เกี่ยวของ เปนผูแ ถลงผลการดําเนินงาน รวมถึงการใหขอ มูลเพิม่ เติมและตอบซักถาม ในการประชุมนักวิเคราะหหลักทรัพย ผูลงทุนและสื่อมวลชน โดยสามารถ ติดตอไดที่ คุณดุษิต จงสุทธนามณี ทางโทรศัพทหมายเลข 02-361-3311 ตอ 431 ทางเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.pranda.co.th ทางจดหมาย อิเล็กทรอนิกสท่ี ir@pranda.co.th หรือสงเอกสารมาตามทีอ่ ยูข องบริษทั

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 67


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

หมวด 5 จรรยาบรรณ

• ผูบังคับบัญชาในระดับตางๆ ตองรับผิดชอบในการควบคุมไมใหมี การรั่วไหลของขอมูลและขาวสารที่สําคัญของบริษัทฯ กอนการเผย แพรอยางเปนทางการ ถามีฝาฝนจะพิจารณามาตรการทางวินัยตาม ระเบียบของบริษัทฯ

1. จรรยาบรรณ บริษทั ฯ ไดกาํ หนด “หลักปฏิบตั คิ วามรับผิดชอบของผูบ ริหารและพนักงาน ของบริษทั ฯ” ไวเปนลายลักษณอักษร เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2543 ซึ่งเปน สวนหนึ่งของนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เพื่อเปนแนวทางและขอพึง ปฏิบัติที่ดีใหกรรมการบริษัทกรรมการบริหาร ผูบริหาร และพนักงาน ทุกคนถือปฏิบัติอยางเครงครัด โดยยึดหลักพื้นฐานในการดําเนินธุรกิจ ที่เนนประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความโปรงใส ยึดมั่นในความรับผิดชอบ ตอผูมีสวนไดสวนเสีย และการสรางผลตอบแทนที่เหมาะสมแกผูลงทุน ตลอดจนการสรางความกาวหนาและเติบโตอยางมั่นคง โดยมีการติดตาม การปฏิบัติดังกลาวเปนประจํา ทั้งนี้จรรยาบรรณของบริษัทฯ มีเนื้อหา ครอบคลุมในเรือ่ งความรับผิดชอบของผูบ ริหารตอ ผูถ อื หุน ลูกคา พนักงาน คูคาและเจาหนี้ การแขงขันทางการคา สังคมสวนรวมและความรับผิดชอบ ของพนักงานตอบริษัทฯ

2.2 การซื้อและขายหลักทรัพย • คณะกรรมการบริษัท และผูบริหาร มีหนาที่ตองรายงานการถือครอง หลักทรัพย ตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 พรอมทัง้ จัดสงรายงานตอคณะกรรมการบริษทั ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย สามารถดูจํานวน หุนเพิ่มขึ้น(ลดลง) ป 2554 ของกรรมการและผูบริหารไดใน หัวขอ “โครงสรางการจัดการ” • ดําเนินการสงหนังสือเวียนแจงกรรมการ และผูบริหารทราบวา กรรมการและผูบริหารที่ไดทราบขอมูลภายในที่เปนสาระสําคัญ รวม ถึงงบการเงินของบริษัทฯ ซึ่งมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงราคา หลักทรัพย ควรหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทฯ ในชวงระยะเวลากอนที่จะมีการเผยแพรขอมูลดังกลาว • บุคคลากรทุกระดับของบริษัทฯ และครอบครัว หามทําการซื้อขายหุน หรือชักชวนใหบคุ คลอืน่ ซือ้ ขาย เสนอซือ้ หรือเสนอขายหุน ของบริษทั ฯ ไมวาดวยตนเองหรือผานนายหนา ในขณะที่ยังครอบครองขอมูลที่ ยังไมเปดเผยตอสาธารณชน

2. การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน และการซื้อขายหลักทรัพย บริษัทฯ ใหความสําคัญในการเปดเผยสารสนเทศทางการเงินและอื่นๆ ที่ เกี่ยวของกับธุรกิจและผลประกอบการของบริษัทฯ ที่ถูกตอง ครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได ทันเวลา สมํ่าเสมอ ใหกับผูถือหุน นักลงทุน นักวิเคราะห หลักทรัพย ตลอดจนบุคคลทั่วไป คณะกรรมการบริษัทมุงมั่นในการดูแล ใหมกี ารปฏิบัตติ ามกฎหมายขอบังคับอยางเครงครัด ตามระเบียบทีเ่ กีย่ วของ เกีย่ วกับการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส เมือ่ กรรมการบริษทั หรือผูบ ริหาร มี ก ารเปลี่ย นแปลงการซื้ อ ขายหุ  นตามข อ กํา หนดของสํา นัก งานคณะ กรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ จะรายงานขอมูลใหกับ หนวยงานกํากับดูแลทราบตลอดเวลา และบริษัทฯ ไดกําหนดนโยบาย การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน และการซื้อขายหลักทรัพย ไวในคูมือ หลักการกํากับกิจการ ในหมวดจรรยาบรรณ หัวขอ การใชขอมูลภายใน และการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทฯ ดังนี้

ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดกําหนดโทษกรณีที่มีการฝาฝนสําหรับการใชขอมูลภายใน ในทางมิชอบ ผูฝ า ฝนจะถูกลงโทษทางวินยั และ/หรือ กฎหมายแลวแตกรณี 3. รายการที่เกีย่ วของกัน บริษัทฯ และบริษัทยอย ยึดถือนโยบายที่จะดําเนินการใหรายการระหวาง กัน เปนไปตามลักษณะธุรกิจการคาปกติทั่วไป และเปนประโยชนสูงสุด ตอบริษัทฯ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบ หรือผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูพิจารณาตรวจสอบถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุ สมผลของการทํารายการ สวนคณะกรรมการบริษทั จะตองปฏิบตั ใิ หเปนไป ตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยฯ ขอบังคับ ประกาศ คําสัง่ หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย รวมถึงการปฏิบัตติ ามขอกําหนด เกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน การไดมาหรือ จําหนายทรัพยสินที่สําคัญของบริษัทฯ ตามมาตรฐานบัญชีที่กําหนดโดย สภาวิชาชีพบัญชี

2.1 การใชขอมูลภายใน • คณะกรรมการบริษัท คณะอนุกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานทุก ระดั บพึง รัก ษาข อ มู ล ภายในและเอกสารที่ ไม ส ามารถเปด เผยต อ บุคคลภายนอก อันจะนําไปสูก ารแสวงหาประโยชนเพือ่ ตนเองหรือผูอ น่ื • ไมนําขอมูลความลับของบริษัทฯ เชน ขอมูลที่เกี่ยวของกับคูสัญญา เปดเผยใหบคุ คลอืน่ เวนแตจะไดรบั อนุญาตจากบริษทั ฯ และคูส ญ ั ญา

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 68


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

สําหรับการทําธุรกรรมตามมาตรา 89/12 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ระหวางบริษัทฯ หรือบริษัทยอย กับกรรมการ ผูบริหารหรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติหลักการใหฝายจัดการสามารถ อนุมัติการทําธุรกรรม ดังกลาว ได ต  อ เมื่ อ ธุร กรรมเหล า นั้ น มี ข  อ ตกลงทางการค า ในลัก ษณะเดี ย ว กั บ วิ ญ ู ช นจะพึง กระทํ า ในสัญ ญาทั่ ว ไปในสถานการณ เ ดี ย วกัน ดวยอํานาจตอรองทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปน กรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ เมื่อมีการทําธุรกรรมที่มี ขนาดรายการเกินกวารอยละ 1 ของรายไดรวม สิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ลาสุด ตอครัง้ ของการทํารายการ เพือ่ รายงานในการประชุมคณะกรรมการ ตามความประสงคของคณะกรรมการบริษัท

• เปดเผยขอมูลการทํารายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน หรือรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือรายการระหวางกันเปนไปตามหลักเกณฑ ที่ทางการกําหนด • กําหนดใหมีการเปดเผยขอมูลความเกี่ยวพันทางธุรกิจ หรือกิจการที่มี ผลประโยชนเกี่ยวของกับกรรมการและผูบริหารระดับสูงทุก 3 เดือน เพื่อเปนขอมูลในการควบคุมดูแลรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผล ประโยชน และเปนฐานรายชื่อในการเปดเผยรายการธุรกิจกับกิจการ ที่เกี่ยวของกันในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

4. ความขัดแยงของผลประโยชน บริษัทฯ ขจัดรายการที่มีความขัดแยงทางผลประโยชนดวยการปฏิบัติตาม “หลักปฏิบัติความรับผิดชอบของผูบริหารและพนักงานของบริษัท” ที่เนน เรื่องการควบคุมไมใหเกิดผลกระทบทางลบกับผูถือหุนและเพื่อปองกัน ความขัดแยงทางผลประโยชน นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทไดดูแล อยางรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน โดย กําหนดนโยบายและขั้นตอนการอนุมัติรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตลอดจน มีการเปดเผยขอมูลอยางครบถวน รวมทั้งกําหนดนโยบายและวิธีการ ดูแลไมใหผูบริหารและผูเกี่ยวของนําขอมูลภายในของบริษัทฯ ไปใชเพื่อ ประโยชนสวนตน ดังนี้ • กรณีรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน รายการที่เกี่ยวโยง กันหรือรายการระหวางกัน จะสงเรื่องใหคณะกรรมการตรวจสอบ ใหความเห็นตามหลักเกณฑของตลาดหลักทรัพยฯ สํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย กอนนําเสนอ กรรมการบริษัทอนุมัติ • บริษัทฯ มีการกําหนดวารายการใดที่กรรมการ ผูบริหาร หรือบุคคล ที่เกี่ยวของกันมีผลประโยชนในการทํารายการกับบริษัทฯ ตองแถลง การมีสวนไดสวนเสียเกี่ยวกับเรื่องที่จะพิจารณา และหามกรรมการ ผูบริหารที่เกี่ยวของเขารวมประชุมในชวงการพิจารณานั้นๆ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 69


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

ตาราง 1 : การเขารวมประชุมของคณะกรรมการ การเขารวมประชุม / การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) รายชื่อกรรมการ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัท บริหาร ตรวจสอบ สรรหาและ การเงิน สงเสริม รวม 16 ครั้ง รวม 9 ครั้ง รวม 4 ครั้ง กําหนด รวม 4 ครั้ง คุณคารวมกลุม คาตอบแทน รวม 4 ครั้ง รวม 1 ครั้ง

1. นายปรีดา

เตียสุวรรณ

16/16

2. นางประพีร

สรไกรกิติกูล

16/16

9/9

1/1

4/4

3. นางสุนันทา

เตียสุวรรณ

16/16

9/9

1/1

4/4

4. นายปราโมทย

เตียสุวรรณ

15/16

9/9

1/1

3/4

5. นางปราณี

คุณประเสริฐ

16/16

9/9

1/1

4/4

6. นางพนิดา

เตียสุวรรณ

15/16

7. เรือโทอนันต

ปานะนนท ร.น.

16/16

4/4

8. นายวีระชัย

ตันติกุล

15/16

3/4

9. นางสริตา

บุนนาค

16/16

4/4

4/4

1/1 1/1

10. นางสาวพิทยา เตียสุวรรณ

9/9

4/4

11. นายเดชา

นันทนเจริญกุล

9/9

4/4

12. นายชาติขาย

ฑีฆวีรกิจ

8/9

13. นายชนัตถ

สรไกรกิติกูล

4/4

14. นายดุษิต

จงสุทธนามณี

4/4

15. นายสมศักดิ์

ศรีเรืองมนต

3/4

16. นางนิรารัตน

ธนาเลขะพัฒน

4/4

17. นางฉวี

จารุกรวศิน

4/4

18. นางศศิโสภา

วัฒกีเจริญ

4/4

19. นางสาวสุพร

รุงพิทยาธร

4/4

20. นายกัณชิง

เทพหัสดิน ณ อยุธยา

4/4

หมายเหตุ :

3/4

1) คณะกรรมการบริหาร จํานวน 7 ทาน ไดแก ลําดับที่ 2-5 และ 10-12 2) คณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 3 ทาน ไดแก ลําดับที่ 7-9 3) คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน จํานวน 6 ทาน ไดแก ลําดับที่ 2 - 7 4) คณะกรรมการการเงิน จํานวน 8 ทาน ไดแก ลําดับที่ 2 - 5 และ 10 - 11 และลําดับที่ 13-14 5) คณะกรรมการการสงเสริมคุณคารวมกลุม จํานวน 8 ทาน ไดแก ลําดับที่ 4, 12 และ 15 – 20 6) ตัวเลขในตาราง หมายถึง จํานวนครั้งที่มาประชุม / จํานวนครั้งที่มีการประชุมระหวางที่กรรมการอยูในตําแหนง ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 70


ÃÒ§ҹ¡Òû¯ÔºμÑ μÔ ÒÁËÅÑ¡¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Ò÷մè Õ

ตาราง 2 : การเขารับการอบรมของกรรมการบริษัท หลักสูตร รายชื่อกรรมการบริษัท

Director Director Audit Finance for DCP Monitoring Monitoring the Certification Accreditation Committee Non-Finance Refresher the Quality Internal Audit Program Program Program Program Course of Financial Function (DCP) (DAP) (ACP) (FN) Report (MFR) (MIA)

1. นายปรีดา

เตียสุวรรณ

รุน 37/2548

2. นางประพีร

สรไกรกิติกูล

รุน 17/2545

3. นางสุนันทา

เตียสุวรรณ

รุน 22/2545

4. นางปราณี

คุณประเสริฐ

5. นายปราโมทย

เตียสุวรรณ

6. นางพนิดา

เตียสุวรรณ

รุน 25/2547

7. เรือโทอนันต

ปานะนนท ร.น.

รุน 23/2547

8. นายวีระชัย

ตันติกุล

รุน 37/2546

9. นางสริตา

บุนนาค

รุน 22/2545

รุน 26/2547 รุน 46/2547

รุน 16/2547

รุน 12/2547

รุน 1/2547

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 71

รุน 1/2548

รุน 5/2550

รุน 2/2551


Ãкº¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹

¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹

จากการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบทั้ง 3 ทาน เขารวมประชุม เพื่อใหความ เห็นเกี่ยวกับความเพียงพอ และเหมาะสมของระบบการควบคุมภายใน โดยอางอิง “แบบประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน” ของ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คณะกรรมการตรวจสอบไดปฎิบัติหนาที่ตามขอบเขตที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายตามขอบังคับวาดวยกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee Charter) ทบทวนระบบการควบคุมภายใน มุงเนนการตรวจสอบเชิงปฎิบัติการอยางมีประสิทธิภาพใหพัฒนาอยางตอเนื่อง มีประสิทธิผล และรายงานผลการปฏิบัติงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ จึงมีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ และเหมาะสม มี การใชทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพยสิน การปองกันหรือลดความผิดพลาด ระบบบัญชีและรายงานทางการเงินมีความถูกตองเชื่อถือได ผลการสอบ ทานเปนไปตามขั้นตอนที่กําหนดไว สอดคลองกับขอกําหนดกฎหมายของภาครัฐและนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ในสวนการหารือกับผูสอบบัญชีเพื่อ ประเมินระบบการควบคุมภายใน เห็นวาเปนไปตามมาตรฐานการบัญชี ไมมีขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ โดยปฎิบัติตามกรอบงานการควบคุมภายใน ซึ่งอางอิงตามมาตรฐานสากล COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นตอระบบการควบคุมภายในเชนเดียวกับคณะกรรมการตรวจสอบ สรุปสาระสําคัญได ดังนี้ 1. องคกรและสภาพแวดลอมการควบคุม บริษัทฯ สนับสนุนใหมีสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี มีการจัดโครงสราง การบริหารที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสมตามขนาดและการดําเนินงาน มีการ ปฎิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยจัดใหมีจริยธรรมธุรกิจ (Code of Conducts) สําหรับผูบ ริหารและพนักงานทุกคน เปนลายลักษณอกั ษร ใหมีความชัดเจนโปรงใส มีการกําหนดนโยบายและแผนการปฎิบัติงาน คํานึงถึงความเปนธรรมตอพนักงาน ลูกคา คูคา รวมถึงความรับผิดชอบ ตอผูถือหุน ใหความสําคัญกับการรักษาผลประโยชนของนักลงทุนและ ผูม สี ว นไดสว นเสียทุกฝายอยางเทาเทียมกัน การเปดเผยขอมูลทีม่ คี วามถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทันเวลา การมีระบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเพียงพอ

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังใหความสําคัญในเรือ่ งบุคลากร โดยมีคณะกรรมการ สงเสริมคุณคารวมกลุม (Group Corporate Values Committee) เปนผูส ง เสริม และสนับสนุนการสรางคุณคารวมใหเกิดขึ้นในกลุมบริษัทโดยสรางการ มีสวนรวมของพนักงานอยางทั่วถึง ปรับปรุงกิจกรรม การมีสวนรวมให เปนระบบ มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง ตลอดจนการประยุกตกิจกรรม เขามาสูวิถีการปฏิบัติงาน และการดําเนินชีวิตอยางสอดคลอง กลมกลืน ตามคุณคารวมที่ยึดถือรวมกัน พรอมทั้งจัดใหพนักงานไดรับการพัฒนา ฝกอบรม ความรู ทักษะความสามารถใหเหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบ หมาย เพื่อสงเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรของบริษัทฯ สูความ เปนเลิศและความเปนมาตรฐานอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 72


Ãкº¡ÒäǺ¤ØÁÀÒÂã¹

2. การบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ มีการกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายการดําเนินงานขององคกร อยางชัดเจนและวัดผลได บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ โดยมีกระบวนการบงชี้และประเมินความเสี่ยงตางๆ ทั้งที่เกิดจากปจจัย ภายในและปจจัยภายนอกของกิจการบริษัทฯ มีการจัดทําการวิเคราะห และประเมินความเสีย่ ง เพือ่ กําหนดมาตรการปองกันและจัดการความเสีย่ ง นั้น จัดทํากระบวนการติดตามการบริหารความเสี่ยง เพื่อทําใหมั่นใจวาการ บริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพและไดประสิทธิผลสูงสุด

ประสิทธิภาพเพียงพอ นอกจากนี้บริษัทฯ มีชองทางการติดตอสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ สามารถติดตอสื่อสารกันไดทั่วถึงทั้งองคกรโดยขอมูลที่ สําคัญจะถูกถายทอดจากผูบริหารระดับสูงสงตรงถึงพนักงานและจาก พนักงานขึ้นตรงสูผูบริหารระดับสูงไดดวยเชนกัน อีกทั้งยังมีชองทางและ การติดตอสื่อสารกับผูมีสวนไดเสียอยางมีประสิทธิภาพทันเวลา ทั้งนี้จัด ใหมีการเผยแพรขอมูลผานทางเว็บไซต www.pranda.co.th 5. ระบบการติดตาม บริษัทฯ มีขั้นตอนการติดตามและการกํากับดูแลการปฏิบัติงานในแตละ ระดับอยางตอเนื่อง เหมาะสม มีระบบการประเมินและติดตามผลการ ดําเนินงานที่ดี โดยบริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ในป 2554 รวม 15 ครั้ง ฝายบริหารของบริษัทฯ และบริษัทยอย มีระบบการติดตามผล การดําเนินธุรกิจ เปรียบเทียบกับเปาหมายและแผนงาน หรืองบประมาณ ในดานตางๆ เปนประจํา มีการแกไขปรับปรุงใหเหมาะสมอยูตลอดเวลา และเพือ่ ใหมน่ั ใจไดวา มาตรการและระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิผล อยูเ สมอ สามารถตอบสนองตอการเปลีย่ นแปลงไดอยางเหมาะสมทันเวลา บริษทั ฯ จัดใหมกี ารตรวจสอบการปฎิบัตติ ามระบบการควบคุมภายในอยาง สมํา่ เสมอ โดยใหพนักงานระดับหัวหนางานมีการติดตามผลการปฏิบตั งิ าน ของผูใ ตบังคับบัญชาอยางใกลชดิ และรายงานตอหัวหนางานระดับสูงตอไป และมีฝายตรวจสอบภายในทําการตรวจสอบอยางเปนอิสระ ทําการตรวจ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ในป 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมีการ ประชุมรวม 4 ครั้ง เพื่อสอบทานระบบการควบคุมภายใน และติดตาม การปฎิบัติงานพรอมทั้งรับทราบรายงานขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญที่ ตรวจพบอยางตอเนื่อง และรายงานสรุปตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อ พิจารณาสั่งการใหมีการแกไขภายในเวลาที่เหมาะสม

3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายจัดการ ในป 2554 บริษัทฯ มีการปรับปรุงขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจ อนุมัติของฝายจัดการในแตละระดับใหเหมาะสมกับโครงสรางองคกร เพือ่ ใหการบริหารงานเปนไปอยางรัดกุมชัดเจนเปนลายลักษณอกั ษร มีการ แบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับหนาที่อนุมัติ หนาที่บันทึกรายการ บัญชีและขอมูลสารสนเทศ และหนาทีใ่ นการดูแลจัดเก็บทรัพยสนิ ออกจากกัน สําหรับการทําธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลผูเกี่ยวของกัน บริษัทฯ ใหมี การดําเนินการตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (ตลท.) ตามหลักการที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ ซึ่งไมมีผูที่มีสวนได สวนเสียรวมพิจารณาอนุมัติ โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ และ ผูถือหุน 4. ขอมูลสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษัทฯ ใหความสําคัญเกี่ยวกับความถูกตอง เชื่อถือไดและทันเวลาของ ขอมูลสารสนเทศตางๆ รวมถึงการพัฒนาระบบสารสนเทศอยางตอเนื่อง ซึ่งรวมถึงระบบขอมูลดานการเงิน ดานการปฎิบัติงาน นโยบาย ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหการตัดสินใจเปนไปอยางถูกตอง แมนยํา รวดเร็ว โดยมี ร ะบบรัก ษาความปลอดภั ย ของระบบสารสนเทศและข อ มู ล ที่ มี

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 73


¹âºÒ¡Òè‹ÒÂà§Ô¹»˜¹¼Å บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจายเงินปนผลในอัตราไมเกินรอยละ 60 ของกําไรสุทธิประจําปจากงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยคณะกรรมการบริษัท จะพิจารณา ถึงกําไรจากการดําเนินงาน เงินทุนหมุนเวียน เงินลงทุนในสินทรัพยถาวร เงื่อนไขทางการเงิน และการตั้งสํารองทุนตามที่กฎหมายกําหนด ทั้งในปจจุบัน และในอนาคต บริษัทยอยมีนโยบายจายเงินปนผลจากผลประกอบการหลังหักสํารองตามที่กฎหมายกําหนด โดยคณะกรรมการจะพิจารณาถึงกําไรจากการดําเนินงาน เงื่อนไขทางการเงิน และความตองการเงินทุน และจะเสนอผูถือหุนเพื่ออนุมัติเงินปนผลที่บริษัทฯ จายใหแกผูถือหุนยอนหลังตั้งแตป 2544 -2554 เปนดังนี้ ประจําป

กําไรสุทธิ (ลานบาท)

รอยละ การจายเงินปนผล

เงินปนผลจาย (ลานบาท)

จํานวนหุน (ลานหุน)

เงินปนผลตอหุน (บาท)

2544

364.72

13.71

50.00

20.00

2.50/1

2545

370.42

27.80

105.36

210.73

0.50

-

-

66.28

200.96

0.30

2546

312.06

46.05

143.70

261.27

0.55

2547

361.76

57.35

207.46

319.18

0.65

2548

356.59

59.63

212.65

327.15

0.65

-

-

111.84

372.79

0.30

432.27

58.36

252.28

388.13

0.65

396.49

54.90

217.66

395.75

0.55

2551

300.07

52.75

158.29

395.75

0.40

เงินปนผลระหวางกาลของ กําไรสุทธิ งวดวันที่ 30 มิ.ย. 2552

169.00

11.12

39.81

398.16

0.10

2552

357.90

47.85

171.25

398.25

0.43

เงินปนผลพิเศษจากกําไรสะสม ซึ่งเปนกําไรสุทธิของป 2551

-

-

119.48

398.25

0.30

เงินปนผลพิเศษจากกําไรสะสม ซึ่งเปนกําไรสุทธิของป 2550

-

-

120.20

400.67

0.30

2553

343.79

58.33

200.54

401.09

0.50

เงินปนผลระหวางกาลจากกําไร สําหรับงวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554

408.03

9.88

40.33

403.33

0.10

2554/3

441.14

45.76

201.86

403.71

0.50

เงินปนผลพิเศษจากกําไร สะสมซึ่งเปนกําไรสุทธิของป 2545

เงินปนผลพิเศษจากกําไรสะสม ซึ่งเปนกําไรสุทธิของป 2548 2549 2550

/2

หมายเหตุ:

/1 /2

/3

ราคาพารเทากับ 10 บาท และหลังจากป 2544 เปนตนไป ราคาพารเทากับ 1 บาท ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 14/2550 ซึ่งประชุมเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2550 มีมติเกี่ยวกับนโยบายการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมเกินรอยละ 60 ของกําไรสุทธิ จากงบการเงินเฉพาะกิจการ ทั้งนี้เนื่องจากป 2550 เปนตนไปบริษัทฯ ไดเปลี่ยนแปลงการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการจาก “สวนไดเสีย” เปน “วิธีราคาทุน” สงผลทําใหกําไรสุทธิของงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการไมเทากัน สําหรับผลการดําเนินงานของป 2554 คณะกรรมการบริษัท ไดมีมติพิจารณาอนุมัติจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.60 บาท หักจายระหวางกาล จากกําไรสําหรับงวด 9 เดือน สิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2554 ในอัตราหุนละ 0.10 บาท ซึ่งจายใหผูถือหุน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2554 ที่ผานมา ดังนั้นคงเหลือจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.50 บาท ใหแกผูถือหุนหากที่ประชุม สามัญผูถือหุนมีมติอนุมัติในวันที่ 19 เมษายน 2555 นี้ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 74


¹âºÒ¡Òè‹ÒÂà§Ô¹»˜¹¼Å

¡Òè‹ÒÂà§Ô¹»˜¹¼Åμ‹Í¡íÒäÃÊØ·¸Ô

57.35%

59.63%

59.36%

46.50%

54.90%

52.75%

2550

2551

58.97%

58.33%

54.90%

2552

2553

2554

27.80% 13.71%

2544

2545

2546

2547

2548

2549

แผนภาพแสดงการจายเงินปนผลตอกําไรสุทธิยอนหลัง 11 ป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 75


ÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ บริษัทฯ และบริษัทยอย ไดมีการตกลงเขาทํารายการกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยรายการดังกลาวเปนรายการตามธุรกิจปกติของบริษัทฯ และบริษัทยอย ซึ่งเปนไปตามเงื่อนไขการคาทั่วไปและเพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) 2551 มาตรา 89/12 (1) คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติในหลักการเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 ใหฝายจัดการมีอํานาจเขาทํารายการระหวางกันที่มีเงื่อนไขการคาทั่วไป โดย ฝายจัดการสามารถทําธุรกรรมดังกลาวหากธุรกรรมเหลานั้นมีขอตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่วิญูชนจะพึงกระทํากับคูสัญญาทั่วไปใน สถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรองทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเปนกรรมการ ผูบริหารหรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ ทั้งนี้งวดบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ ไมมีรายการที่เกี่ยวโยงกันที่เขาขายตามประกาศตลาดหลักทรัพยฯ แตอยางใด สําหรับรายการที่เปนปกติทางการคาทั่วไประหวาง บริษัทฯ กับบริษัทยอย บริษัทรวมและบริษัทที่เกี่ยวของ ที่มีผูบริหารและกรรมการรวมกันซึ่งเปน ลักษณะปกติทางการคาทั่วไป (โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอที่ 8)

¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹áÅФÇÒÁÊÁàËμØÊÁ¼Å¢Í§ÃÒ¡ÒÃ

นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายวา ดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยและขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย รวมถึงการปฏิบัติตาม ขอกําหนดเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลการทํารายการเกี่ยวโยง และการ ไดมาหรือจําหนายทรัพยสินที่สําคัญของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ตาม มาตรฐานการบัญ ชี ที่ ก ํา หนดโดยสมาคมนั ก บัญ ชี แ ละผู ส อบบัญ ชี ร ับ อนุญาตแหงประเทศไทย

รายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ ระหวางบริษทั ฯ บริษทั ยอยและบริษทั รวม เปน รายการที่ดําเนินการทางธุรกิจตามปกติ และไดผานการพิจารณาอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหารของบริษัท ซึ่งเปนไป ตามขั้ นตอนการอนุ มั ติ ที่ เหมาะสมตามระเบีย บข อ บัง คั บ ของบริษั ท ฯ ทุกประการ

¹âºÒÂáÅÐá¹Ç⹌Á¡Ò÷íÒÃÒ¡ÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ã¹ ͹Ҥμ

ทั้งนี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษัทฯ หรือบริษัทยอยเกิดขึ้นกับ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนมีสวนไดสวนเสียหรืออาจมี ความขัดแยงทางผลประโยชนในอนาคต คณะกรรมการตรวจสอบจะเปน ผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการนั้น ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบไม มี ค วามชํ า นาญในการพิจ ารณา รายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้น จะใหผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชี ของบริษั ท เปน ผู ใ ห ค วามเห็ น เกี่ย วกับ รายการระหว า งกัน ดั ง กลา ว เพื่อนําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือผูถือหุนตาม แตกรณี ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะเปดเผยรายการระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงินที่ไดรับการตรวจสอบจากผูสอบบัญชี

รายการระหวางกันของบริษัทฯ ในอนาคตจะเปนรายการที่ดําเนินการทาง ธุรกิจตามปกติเชนเดิม ไมมรี ายการใดเปนพิเศษ ไมมกี ารถายเทผลประโยชน ระหวางบริษัทฯ บริษัทยอย กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยง สวนนโยบาย การกําหนดราคาระหวางบริษทั ฯ กับบริษทั ฯ หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วของกัน ก็จะ กําหนดราคาตามปกติของธุรกิจเชนเดียวกับที่กําหนดใหแกบริษัทฯ หรือ บุคคลอื่นที่ไมเกี่ยวของกัน ทั้งนี้ราคาสินคาหรือวัตถุดิบที่ซื้อจากบริษัทฯ หรือบุคคลที่เกี่ยวของกันก็จะเปนไปตามที่ตกลงกันไวในสัญญาหรือเปน ราคาที่อิงกับราคาตลาดสําหรับวัตถุดิบชนิดนั้นๆ ทั้งนี้คณะกรรมการ ตรวจสอบหรือผูสอบบัญชีของบริษัทฯ หรือผูเชี่ยวชาญอิสระจะทําการ พิจารณาตรวจสอบและใหความเห็นถึงความเหมาะสมของราคาและ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการ พรอมทัง้ เปดเผยประเภทและมูลคา ของรายการดังกลาว พรอมทัง้ เหตุผลในการทํารายการตอทีป่ ระชุมผูถ อื หุน ในรายงานประจําป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 76


»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕè§ »˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕ觷ÕèÁռšÃзºμ‹ÍÍØμÊÒË¡ÃÃÁÍÑÞÁ³ÕáÅÐà¤Ã×èͧ»ÃдѺ สําหรับป 2554 ทีผ่ า นมาเปนชวงเวลาทีม่ ปี ญ  หารุมเราจากวิกฤตทางการเงินจากกลุม สหภาพยุโรป และปญหาการวางงานในสหรัฐอเมริกาทีอ่ ยูใ นระดับสูง จึงสงผลใหการเติบโตของเศรษฐกิจในสหรัฐฯมีการเติบในระดับต่ํามาก ในขณะเดียวกันเศรษฐกิจโลกก็ไดรับผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติทั้งจาก ประเทศญี่ปุนและภายในประเทศสงผลใหเกิดการขาดแคลนทางดานอุปทานของสินคา รวมทั้งปญหาเงินเฟอที่สูงมากทั้งในประเทศจีนและอินเดีย ดวยเหตุทก่ี ลาวมาขางตนสงผลใหราคาทองคําและโลหะเงินมีการปรับตัวขึน้ สูงเปนประวัตกิ ารณ โดยราคาทองคําขึน้ ไประดับเกือบ 1,900 เหรียญตอออนซ ในขณะที่ราคาโลหะเงินขึ้นไประดับเกือบ 50 เหรียญตอออนซ ซึ่งเปนสถานการณที่สะทอนถึงการขาดความเชื่อมั่นตอเศรษฐกิจโลก และตอเงินสกุลหลัก ของโลกอันไดแก เงินดอลลารสหรัฐฯ และเงินยูโร อีกทั้งเปนปจจัยลบตออุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับอัญมณี เนื่องจากโลหะทองและเงินเปน วัตถุดิบหลักในการผลิตสินคา สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งคือการแขงขันที่รุนแรงยิ่งขึ้นภายในอุตสาหกรรมฯ ทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อรักษาธุรกิจใหอยูรอดจากการระมัดระวัง คาใชจายของผูบริโภคเนื่องจากขาดความเชื่อมั่นในเศรษฐกิจ บมจ. แพรนดา จิวเวลรี่ ตระหนักถึงความเสี่ยงทั้งภายในและภายนอกขององคกรเปนอยางดี บริษัทฯ จึงไดมอบหมายหนาที่การบริหารความเสี่ยงใหแก คณะกรรมการการเงินเปนผูดูแลและควบคุมความเสี่ยงขององคกร โดยรายละเอียดของปจจัยเสี่ยงหลักและการบริหารจัดการความเสี่ยงสามารถ จําแนกไดดังนี้ ปจจัยความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานของบริษัท 1. ความเสี่ยงทางดานกลยุทธ (Strategic Risk) จากวิกฤตทางการเงินที่เกิดขึ้นอยางรุนแรงในกลุมสหภาพยุโรป และ มาตรการเขมงวดทางการเงินเพื่อรักษาระดับเงินเฟอในประเทศจีนสงผล ใหการขยายตลาดแบรนดของตนเองในยุโรปและคาปลีกในประเทศจีน อาจไมเปนไปตามเปาหมายที่วางไว และการคาดการณผลกําไรแตกตาง ไปจากงบประมาณทีต่ ง้ั ไว เนือ่ งจากความเชือ่ มัน่ ของผูบ ริโภคลดลงประกอบ กับการแขงขันดานราคาสินคาจากคูแขงจะรุนแรงเพิ่มขึ้นเพื่อรักษาสภาพ คลองของกิจการ

นอกจากนี้ในป 2554 บริษัทฯ ไดปรับโครงสรางการบริหารจัดการเพื่อให สอดคลองกับแผนกลยุทธ ซึ่งจะมีผลบังคับใชอยางเปนทางการแลว โดยการปรับโครงสรางครั้งนี้จะทําใหมีการประเมินผลการลงทุนอยาง เปน ระบบและแกไขปญ หาที่ เ กิด ขึ้ น อยา งทั น ท ว งที ก ับ เศรษฐกิจ ที่ มี เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ซึ่งการดําเนินการในนี้มีเปาหมายสําคัญคือ การลดความเสี่ยงของกลุมบริษัทและเพิ่มผลตอบแทนจากการลงทุน

อยางไรก็ตาม บริษทั ฯ ไดจดั ประชุมสัมมนาผูบ ริหารระดับสูงของกลุม บริษทั แพรนดาทีเ่ รียกวา World Strategic Meeting ขึน้ มาทุกปเพือ่ ทบทวน ทิศทางและกลยุทธในการดําเนินธุรกิจของกลุม บริษทั แพรนดาใหสอดคลอง กับสถานการณทางเศรษฐกิ จ โลกและตลาดในแต ล ะประเทศอี ก ทั้ง ได มีการจัดประชุมคณะกรรมการการเงินเพื่อรายงานผลการดําเนินงานของ กลุม บริษทั แพรนดาอยางนอยทุกไตรมาส ทั้งนี้เพื่อทราบ และปรับปรุง แผนธุรกิจรวมทัง้ ติดตามผลการดําเนินงานของกลุม บริษทั ฯ ใหเปนไปตาม เปาหมายที่กําหนดไว

2.1 ความเสี่ยงจากขาดแคลนทรัพยากรบุคคล จากการที่บริษัทฯ มุงขยายตลาดแบรนดและคาปลีกของตนเองทั้งใน กลุมยุโรปและเอเชียซึ่งในแตละประเทศมีรูปแบบการออกแบบและ รสนิยมที่หลากหลายแตกตางกันเปนอยางมากอาจทําใหบริษัทฯ เกิด ภาวะขาดแคลนบุคคลากรที่มีประสบการณทั้งทางดานการตลาด ดานการออกแบบ ดานการผลิต และการสรางนวัตกรรมใหม

2. ความเสี่ยงทางดานการดําเนินงาน (Operational Risk)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 77


»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕÂè §

อยางไรก็ตาม บริษทั ฯ ดําเนินนโยบายปองกันความเสีย่ งดานทรัพยากร บุคคลดังตอไปนี้

• บริษทั ฯ พัฒนาบุคคลใหมเขาสูอ ตุ สาหกรรมเครือ่ งประดับอัญมณี ดวยการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรของบริษัทฯ เพื่อ สนั บ สนุ นการพัฒนาแรงงานฝมือรวมกับกาญจนภิเษกวิทยาลัย ชางทองหลวง สาขาเครือ่ งประดับอัญมณี โดยดําเนินการตอเนื่อง มาเปนปที่ 11

• บริษัทฯ มีฝายทรัพยากรบุคคลที่ดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ นับตัง้ แตกระบวนการสรรหาเพือ่ คัดเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสมกับตําแหนง งาน มีการพัฒนาความรูอ ยางตอเนือ่ งดวยการทํางานในภาคปฏิบตั ิ (On the Job Training) และภาคทฤษฎีผา นศูนยพฒ ั นาบุคคล รวมทัง้ การประเมินผลงานของพนักงานและผูบริหารดวยตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPI)

• บริษัทฯ ไดใหความสําคัญกับคุณภาพชีวิตของพนักงาน โดย การใชหลักการของมาตรฐานแรงงานไทยเขามาพัฒนาระบบงาน เชน การจัดสถานที่ทํางานใหมีความปลอดภัย มีสุขอนามัยที่ดี มีมาตรการปองกันมิใหมกี ารละเมิดสิทธิมนุษยชน ใหความเสมอภาค แกทุกคน

• บริษัทฯ ไดสรางคานิยมในองคกรซึ่งเราเรียกวาแกนแทของ แพรนดา ประกอบดวยดวงใจ 3 ดวงคือ ทํางานเปนทีม พัฒนา อยางไมหยุดยั้ง และยึดผูม ปี ระโยชนรว มกันเปนศูนยกลาง ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหพนักงานยึดถือเปน หลักในการปฏิบัติงานเพื่อใหทํางานอยาง มีความสุข มีการพัฒนา และเปนที่ไวเนื้อเชื่อใจแกคนรอบขาง บริษทั ฯ เชือ่ วานีค่ อื รากฐานทีจ่ ะทําใหองคกรสามารถดําเนินธุรกิจ ไดอยางยืนยาว

• บริษัทฯ และพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพขึ้น ตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 บริหาร กองทุนโดยธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) เพือ่ ใหความมัน่ คง ทางการเงินแก พ นั ก งานในกรณี ล าออกหรื อ ปลดเกษี ย ณอายุ และเปนสรางความสัมพันธที่ดีในองคกร รวมทั้งเพิ่มแรงจูงใจ ในการทํางานใหกับพนักงาน

• บริษัทฯ รักษาบุคลากรที่มีความสําคัญกับองคกรดวยระบบผล ตอบแทนที่ เหมาะสมทั้ ง รายได แ ละสวั ส ดิ ก ารทั้ ง ที่ พั ก อาศั ย อาหาร สถานพยาบาล สถานออกกําลังกาย หองสมุด และ ศูนยพฒ ั นาการเลีย้ งเด็กสําหรับ พนักงาน อีกทั้งใหผลตอบแทน ในรูปแบบของใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant) ผานโครงการ ESOP รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบ งบการเงิน นอกจากนี้ได สงเสริมใหบุคลากรมีการเติบโตตามสายงาน อยางชัดเจน (Career Path) โดยมุง สงเสริมความกาวหนาจากบุคลากรภายในกิจการกอน เปนอันดับแรก

• บริษัทฯ ไดจัดตั้งสหกรณออมทรัพยเพื่อใหการชวยเหลือดานการ เงินกับพนักงานในเครือแพรนดาฯ และไดรวมสรางวัฒนธรรม ที่ดีกับพนักงานในองคกร อันไดแก โครงการรักษสิ่งแวดลอม โครงการลดหนี้ โครงการลดคาใชจายในการเดินทาง โครงการ เสริมสรางสุขภาพ โครงการรณรงคสรางสรรคนวัตกรรม โครงการ พัฒนาความรู และเพลงแกนแทแพรนดา 2.2 ความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบ จากสภาวะเศรษฐกิจ โลกที่ มี ค วามเสี่ย งเพิ่ม ขึ้ น สง ผลราคาโลหะ ทองคํ า และเงิ น มี ก ารปรับ ตั ว ขึ้ นต อ เนื่ อ งและผัน ผวนอย า งรุน แรง โดยวัตถุดิบ อันไดแก โลหะทองคําและเงินเปนตนทุนหลักในการผลิต สินคาเครื่องประดับอัญมณีแท สําหรับป 2554 ที่ผานมา ราคาวัตถุดิบ อันไดแกราคาทองคํามีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเฉลี่ย 1,356 เหรียญตอ ออนซ ขึ้นเปน 1,652 เหรียญตอออนซ คิดเปนการปรับตัวเพิ่มขึ้นถึง 22% อีกทั้งมีความผันผวนอยางรุนแรงราคาสูงสุด 1,895 เหรียญตอ ออนซ และต่ําสุดที่ 1,319 เหรียญตอออนซ ในขณะที่ราคาโลหะเงินก็มี

• บริษัทฯ ไดเพิ่มศักยภาพของผูบริหารใหมีวิสัยทัศน ความรู ความสามารถ และสามารถปรับตัวใหเทาทันการเปลี่ยนแปลง ของโลก โดยการจัดอบรมหลักสูตร “พัฒนาการจัดการ” (MINI MASTER OF MANAGEMENT PROGRAM) ใหกับผูบริหารจํานวน ทั้งสิ้น 35 คนหลักสูตรนี้จัดโดยสถาบันบัณทิตพัฒนาบริหาร ศาสตร (NIDA)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 78


»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁàÊÕÂè §

ความผันผวนอยางรุนแรงตั้งแต 27 เหรียญตอออนซ จนถึง 49 เหรียญ ตอออนซ ดวยความราคาที่ปรับขึ้นและความผันผวนอยางรุนแรง ดังกลาวสงผลใหเกิดการชะลอคําสัง่ ซือ้ และการบริโภคสินคาเครือ่ งประดับ อัญมณี

อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดดําเนินนโยบายปองกันความเสี่ยงดานการเงิน ดังตอไปนี้ • บริษัทฯ ไดทําการปองกันความเสี่ยงโดยการใชสัญญาซื้อขายเงิน ลวงหนา (Forward Contract) รวมทัง้ การใชวธิ ที าํ ธุรกรรมในสกุลเงิน เดียวกัน (Natural Hedge)

อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ดําเนินนโยบายปองกันความเสี่ยงดานความ ผันผวนของราคาวัตถุดิบดังตอไปนี้

• บริษทั ฯ ไดตรวจสอบเครดิตของลูกคาเดิม และลูกคารายใหมโดย มีการพิจารณาจากผลประกอบการ ฐานะทางการเงินอยางละเอียด อีกทัง้ บริษทั ฯ มีกระบวนการติดตามหนีอ้ ยางใกลชดิ และการทบทวน วงเงินที่ใหกับลูกคาอยางสม่ําเสมอ สําหรับลูกคาบางรายอาจมี การขอมัดจําคาสินคากอนรับคําสัง่ ซือ้

• ดานราคาวัตถุดิบ บริษัทฯ ใชวิธีสงตอราคาวัตถุดิบใหกับลูกคา (Pass Thru) ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงไมมกี าํ ไรหรือขาดทุนจากราคาวัตถุดบิ ปรับตัวเพิม่ ขึน้ หรือลดลง • ประกันราคาวัตถุดบิ ลวงหนา (Forward Rate) ดวยการทําธุรกรรม กับสถาบันการเงิน

• บริษทั ฯ ไดกระจายการใชวงเงินกูป ระเภทหมุนเวียนกับหลายธนาคาร เพือ่ ปองกันการยกเลิกวงเงินกู และมีการรักษาสัดสวนหนีส้ นิ ตอทุน (D/E) ของบริษทั ฯ ใหไมเกิน 1 เทา เพือ่ ลดภาระการจายดอกเบีย้ และความผันผวนทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ไดในอนาคต

3. ความเสี่ยงทางดานการเงิน (Financial Risk) รายไดของบริษัทฯ สวนใหญเปนเงินตราตางประเทศ คือ เงินดอลลารสหรัฐ รองลงมาเปนเงินยูโร ซึง่ การผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นอาจสงผลกระทบ ตอรายได และผลการดําเนินงานของบริษัท อีกทั้งความเสี่ยงจากการเก็บ หนี้ใหไดตามกําหนดระยะเวลาในสภาพวิกฤตเศรษฐกิจอยางในปจจุบัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยตาม ภาวะตลาด และการยกเลิกวงเงินจากธนาคารพาณิชย

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 79


¤íÒ͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔà¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹ บริษัทฯ ขออธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของ “งบการเงินรวม” ดังตอไปนี้ 1. ผลการดําเนินงาน 1.1 การวิเคราะหผลการดําเนินงาน บริษัทฯ และบริษัทยอยมีรายไดจากการขายสําหรับป 2554 จํานวน 4,122 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 66 ลานบาท หรือคิดเปนการเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 1.63 เนื่องจากการการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา และการขาดความเชื่อมั่นของผูบริโภคในภาวะวิกฤตทางการเงินของกลุมประเทศยุโรป ขณะที่อัตรากําไรขั้นตน (Gross Profit Margin) ใกลเคียงกับปกอนที่ระดับ 33.5% อยางไรก็ดี บริษัทฯ ไดมีการพัฒนาตลาดแบรนดของตนเองในยุโรป และเอเชียทําใหมีคาใชจายในการขายและบริหารเพิ่มขึ้นรอยละ 12.01 จากปกอน สงผลใหกําไรจากการดําเนินงานลดลงจาก 469.91 ลานบาท เปน 408.31 ลานบาท คิดเปนการลดลงรอยละ 13.11 อยางไรก็ตาม จากการบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นประกอบกับคาเงินบาทเทียบกับสกุลเงินตางประเทศมีการออนคาลง สงผลใหบริษทั ฯ มีกาํ ไร จากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 32.65 ลานบาท ในขณะที่ปกอนมีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 149.68 ลานบาท นอกจากนี้บริษัทฯ ไดจัดให ผูประเมินราคาอิสระทําการประเมินมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนที่เปนที่ดินรอการพัฒนา สงผลใหคาเผื่อการดอยคาของที่ดินรอการ พัฒนาลดลง 57.64 ลานบาท จึงถูกบันทึกโอนกลับคาเผื่อการดอยคาของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในงบกําไรขาดทุน ทําใหบริษัทฯ มีกําไรสวนที่ เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจาก 243.43 ลานบาท เปน 456.35 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 87.47 จากฐานะทางการเงิน บริษัทฯ ยังมีโครงสรางทางการเงินที่แข็งแกรงโดยมีหนี้สินเพียง 1,779.18 ลานบาท ขณะที่มีทุนถึง 2,540.47 ลานบาท หรือคิดเปน หนีส้ นิ ตอทุน (D/E) เพียง 0.70 เทา รวมทัง้ มีความเสีย่ งทางการเงินในระดับต่าํ โดยพิจารณาไดจากความสามารถในการจายดอกเบีย้ (TIE) สูงถึง 13.72 เทา 1.2 ผลการดําเนินงานที่ผานมา • รายไดรวม บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายไดรวมทั้งสิ้น ในป 2554 และ 2553 จํานวน 4,193.37 ลานบาท และ 4,088.96 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งเพิ่มขึ้นจํานวน 104.41 ลานบาท หรือคิดเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 2.55 เนื่องจากรายไดจากการขายเพิ่มขึ้นจํานวน 66.06 ลานบาท รายไดรวมแบงเปนรายไดจากการ ขาย และรายไดอื่นดังนี้ •

รายไดจากการขาย บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายไดจากการขายของป 2554 จํานวน 4,121.82 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2553 จํานวน 66.06 ลานบาท หรือคิด เปนเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 1.63 ดวยเหตุผลที่กลาวโดยสรุปจากการวิเคราะหผลการดําเนินงานขางตน

รายไดอื่น บริษัทฯ และบริษัทยอย มีรายไดอื่นรวมทั้งสิ้น 71.55 ลานบาท ประกอบดวย ดอกเบี้ยรับ จํานวน 8.69 ลานบาท ซึ่งเปนดอกเบี้ยรับจากเงิน ฝากธนาคารและดอกเบี้ยจากเงินใหกูยืมแกบริษัทที่เกี่ยวของกัน กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจํานวน 32.65 ลานบาท และรายไดอื่นๆ จํานวน 30.21 ลานบาท จากการใหเชาทรัพยสิน และรายไดจากการใหบริการอื่นๆ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 80


¤íÒ͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔ¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹

• ตนทุนขายและคาใชจายขายและบริหาร บริษัทฯ และบริษัทยอย มีตนทุนขายจํานวน 2,742.72 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2553 จํานวน 23.60 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 0.87 ซึ่งเพิ่มขึ้น ตามรายไดจากการขาย และคาใชจายขายและบริหารจํานวน 970.79 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากป 2553 จํานวน 104.06 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 12.01 ดวยเหตุผลที่กลาวโดยสรุปจากการวิเคราะหผลการดําเนินงานขางตน •

กําไร รายการ รายไดจากการขาย กําไรขั้นตน กําไรจากการดําเนินงาน กําไร(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยน โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ

ป 2554

ป 2553

ลานบาท 4,121.82 1,379.11 408.31 32.65 (57.64)

% 100.00 33.46 9.91 0.79 (1.40)

ลานบาท 4,055.77 1,336.65 469.91 (149.68) -

% 100.00 32.95 11.59 (3.69) -

456.35

11.07

243.43

6.00

เพิ่ม / (ลด) ลานบาท % 66.06 1.63 42.84 3.18 (61.60) (13.11) 182.33 121.81 212.92

87.47

บริษัทฯ และบริษัทยอย มีกําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจาก 243.43 ลานบาท เปน 456.35 ลานบาท หรือคิดเปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 87.47 ดวยเหตุผลที่กลาวโดยสรุปจากการวิเคราะหผลการดําเนินงานขางตน • อัตราผลตอบแทนตอผูถือหุน บริษัทฯ และบริษัทยอย มีอัตราผลตอบแทนตอผูถือหุน (ROE) รอบ 12 เดือนเพิ่มขึ้นจากรอยละ 9.06 เปนรอยละ 18.09 เนื่องจากกําไรเพิ่มขึ้น สําหรับการ จายเงินปนผล บริษัทฯ ไดพิจารณาจายเงินปนผลเปนไปตามนโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท โดยกําหนดใหจายปนผลไมเกินรอยละ 60 ของกําไร จากงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับผลการดําเนินงานของป 2554 คณะกรรมการบริษัทไดมีมติพิจารณาอนุมัติการจายเงินปนผล และเพื่อนําเสนอใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนอนุมัติ ในวันที่ 19 เมษายน 2555 ในอัตราหุนละ 0.60 บาท/หุน หรือคิดเปนอัตราผลตอบแทนจากเงินปนผล (Dividend Yield) ) ประมาณ 9.35 % ตอป (อัตรา ปนผลหุนละ 0.60 บาทตอหุน / ราคาหุนเฉลี่ยทั้งปเทากับ 6.42 บาทตอหุน) และคิดเปนเงินปนผลรอยละ 54.90 ของกําไรสุทธิของงบการเงินเฉพาะกิจการ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติการจายเงินปนผลระหวางกาลจากกําไรงวด 9 เดือน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 ในอัตราหุนละ 0.10 บาท ซี่งจาย เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2554 ที่ผานมา ดังนั้นคงเหลือจายเงินปนผลในอัตราหุนละ 0.50 บาท ใหแกผูถือหุนที่มีสิทธิรับเงินปนผลในวันที่ 15 มีนาคม 2555 และใหรวบรวมรายชื่อตามมาตรา 225 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยวิธีปดสมุดทะเบียนในที่ 16 มีนาคม 2555 และกําหนด จายเงินปนผลในวันที่ 11 พฤษภาคม 2555

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 81


¤íÒ͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔ¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹

2. ฐานะการเงิน 2.1 สินทรัพย •

สวนประกอบของสินทรัพย ตารางงบแสดงฐานะทางการเงินเปรียบเทียบ ประจําป 2554 และ 2553 งบแสดงฐานะการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันทางการเงิน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือสุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

31 ธันวาคม 2554 437.25 0.89 879.28 16.00 1,817.19 67.74 3,218.35 1,101.30 4,319.65

% 10.12% 0.02% 20.36% 0.37% 42.07% 1.57% 74.51% 25.49% 100.00%

31 ธันวาคม 2553 (ปรับปรุงใหม) 385.71 0.40 935.29 16.00 1,616.01 54.43 3007.84 1,014.13 4,021.97

หนวย : ลานบาท % 9.59% 0.01% 23.26% 0.40% 40.18% 1.35% 74.79% 25.21% 100.00%

• คุณภาพของสินทรัพย บริษัทฯ และบริษัทยอยมีสินทรัพยรวมทั้งสิ้น 4,319.65 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอน 297.68 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 7.40 โดยสินทรัพยหมุนเวียน เพิม่ ขึน้ จํานวน 210.50 ลานบาท ซึง่ สวนใหญมาจากการเพิม่ ขึน้ ของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 52.03 ลานบาท และสินคาคงเหลือ 201.18 ลานบาท 2.2 สภาพคลอง • สวนประกอบงบกระแสเงินสด บริษัทฯ และบริษัทยอย มีกระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงานลดลงจาก 445.01 ลานบาท เปน 408.42 ลานบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสินคา คงเหลือ และจายภาษีเงินได จากกระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน บริษัทฯ และบริษัทยอย ไดลงทุนซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ เพื่อทดแทนและเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต โดย มีรายละเอียดในขอ 2.3 รายจายการลงทุน จากกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน บริษทั ฯ และบริษทั ยอย ไดชาํ ระคืนเงินกูย มื ระยะยาว 64.58 ลานบาท และจายเงินปนผลจํานวน 240.88 ลานบาท จากทั้งกิจกรรมดําเนินงาน ลงทุน และจัดหาเงิน บริษัทฯ และบริษัทยอย มีเงินสดสุทธิประจําป 2554 เพิ่มขึ้นจํานวน 51.54 ลานบาท และเมื่อรวมกับ เงินสดตนงวด 385.71 ลานบาท ทําใหมีเงินสด ณ วันสิ้นงวด เทากับ 437.25 ลานบาท

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 82


¤íÒ͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔ¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹

ตารางงบกระแสเงินสดเปรียบเทียบ ประจําป 2554 และ 2553

งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน กระแสเงินสดจากการลงทุน กระแสเงินสดจากการจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กระแสเงินสดสุทธิ เงินสด ณ วันตนงวด เงินสด ณ วันสิ้นงวด

31 ธันวาคม 2554 408.42 (110.52) (245.54) (0.82) 51.54 385.71 437.25

หนวย : ลานบาท 31 ธันวาคม 2553 445.01 (126.78) (403.59) 10.81 (74.54) 460.25 385.71

• อัตราสวนสภาพคลอง บริษัทฯ และบริษัทยอย มีอัตราสวนสภาพคลองลดลงจาก 2.15 เทา เปน 2.11 เทา เนื่องจากเงินกูยืมระยะสั้นและเจาหนี้การคาที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับกับ การซือ้ วัตดุ บิ ในการผลิตเพือ่ สงมอบในอนาคต อยางไรก็ตามอัตราสวนทีร่ ะดับ 2.11 เทา บริษทั ฯ ยังคงมีสภาพคลองในระดับทีส่ งู ทีเ่ พียงพอในการชําระหนี้ • ความสามารถของการชําระคืนหนี้สินระยะสั้น บริษัทฯ และบริษัทยอยมีภาระหนี้สินระยะสั้นจํานวน 1,526.89 ลานบาท ในขณะที่มีสินทรัพยระยะสั้นจํานวน 3,218.34 ลานบาท ซึ่งสรุปไดวา บริษัทฯ และบริษัทยอยมีความสามารถในการจายคืนหนี้สินระยะสั้นไดทั้งหมด 2.3 รายจายการลงทุน • รายจายการลงทุนที่ผานมา บริษัทฯ และบริษัทยอย ลงทุนทั้งสิ้นจํานวน 109.39 ลานบาท แบงออก 2 ประเภท ดังนี้ 1.) การลงทุนของฐานการผลิตประมาณ 93.75 ลานบาท ไดแก การปรับปรุงพื้นที่โรงงานของ 1.1) บมจ.แพรนดา จิวเวลรี่ 1.2) บจก. คริสตอล ไลน 1.3) บจก. แพรนดา เวียดนาม และ 1.4) บจก. แพรนดา Guangzhou รวมถึงเพื่อทดแทนเครื่องจักรและอุปกรณเดิม 2.) การลงทุนของฐานการจัดจําหนายจํานวนประมาณ 15.64 ลานบาท ไดแก 2.1) บจก. พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล 2.2) H.Gringoire s.a.r.l 2.3) Pranda & Kroll 2.4) Pranda UK และ 2.5) Pranda Jewelry Pvt. Ltd. เพื่อบริการลูกคาและกระจายสินคาอยางทั่วถึง • แผนการจายเงินลงทุน บริษัทฯ ไดปรับงบประมาณการลงทุนใหมโดยมีรายจายเพื่อการลงทุนในประจําป 2554 รวมทั้งสิ้น 380 ลานบาท ประกอบดวย เงินลงทุนในประเทศจีน 50 ลานบาท เงินลงทุนในประเทศอินเดีย 50 ลานบาท ซื้อเครื่องจักรและอุปกรณเพื่อทดแทน 80 ลานบาท รวมทั้งเงินลงทุนอาคารสํานักงาน 5 ชั้น แหง ใหม 200 ลานบาท

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 83


¤íÒ͸ԺÒÂáÅСÒÃÇÔ¤ÃÒÐË °Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹áÅмšÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹

2.4 แหลงที่มาของเงินทุน • โครงสรางเงินทุน จากผลประกอบการที่มีกําไรอยางตอเนื่อง ถึงแมบริษัทฯ ไดมีการจายเงินปนผลใหแกผูถือหุน บริษัทยังคงมีกําไรสะสมเพิ่มขึ้นจาก แตในขณะเดียวกัน บริษทั ไดจา ยเงินปนผลใหแกผถู อื หุน จากกําไรสวนทีเ่ ปนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯจากงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษทั ฯ และบริษทั ยอยยังคงมีกาํ ไรสะสม เพิ่มขึ้นจาก 1,310.98 ลานบาท เปน 1,374.42 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 4.84 ในขณะที่เงินกูยืมระยะยาวลดลงจาก 182.30 ลานบาท เปน 117.72 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 35.42 สงใหหนี้สินตอทุน (D/E) เหลือเพียง 0.70 เทา • สวนของผูถือหุน บริษัทและบริษัทยอย มีสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้นจาก 2,504.96 ลานบาท เปน 2,540.47 ลานบาท จากกําไรสะสมที่เพิ่มขึ้น • หนี้สิน บริษัทฯ และบริษัทยอยมีหนี้สินรวมทั้งสิ้น 1,779.18 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปกอนจํานวน 262.17 ลานบาท หรือ เพิ่มขึ้นรอยละ 17.28 โดยหนี้สินหมุนเวียน เพิ่มขึ้นจํานวน 128.75 ลานบาท สวนใหญมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินจํานวน 51.98 ลานบาท เจาหนี้ การคาและเจาหนี้อื่นจํานวน 106.07 ลานบาท สวนหนี้สินไมหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 133.42 ลานบาท เนื่องจากการสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน 3. ปจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลตอการดําเนินงานหรือฐานะการเงินในอนาคต อัตราแลกเปลี่ยน หากเงินบาทตอดอลลารสหรัฐ, ยูโร และปอนดสเตอริง ยังคงแข็ง(ออน)คาอยางตอเนื่อง จะสงผลใหบริษัทฯ อาจมียอดขายลดลง(เพิ่มขึ้น) และมีผล ขาดทุน(กําไร)จากอัตราแลกเปลี่ยน อยางมีนัยสําคัญตอกําไรสุทธิ ราคาวัตถุดิบ ทองคําและเนื้อเงินเปนวัตถุดิบที่มีสัดสวนอยางมีนัยสําคัญในตนทุนสินคา ดังนั้นหากราคาทองคําและเนื้อเงินมีความผันผวนสูง(ตํา) หรือมีการปรับราคา ขึ้น(ลง) อยางรวดเร็ว จะสงผลตอการชะลอ(เพิ่ม)คําสั่งซื้อ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 84


ÃÒ§ҹ¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òâͧ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ

เรียน ทานผูถือหุน บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ประกอบดวยกรรมการ 3 ทาน ไดแก เรือโทอนันต ปานะนนท ร.น. เปนประธานกรรมการตรวจสอบ นายวีระชัย ตันติกุล และรศ. สริตา บุนนาค เปนกรรมการตรวจสอบ ซึ่งเปนผูมีคุณสมบัติ ครบถวนตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสํานักคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยกําหนด รวมทั้งมีความรู ความสามารถ มีประสบการณ และมีวิสัยทัศน ซึ่งจะเปนประโยชนตอการทํางานของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได ปฏิบตั หิ นาทีต่ ามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั และตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย การปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหบริษทั ฯ มีระบบการกํากับดูแลกิจการทีด่ แี ละเปน การเสริมสรางประสิทธิภาพในการดําเนินการและเพิม่ มูลคาใหกบั บริษทั ฯ ซึง่ จะกอใหเกิดประสิทธิผลตอวัตถุประสงคและเปาหมายในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ ในป 2554 คณะกรรมการตรวจสอบไดจัดใหมีการประชุมรวม 4 ครั้ง โดยประชุมรวมกับผูส อบบัญชีภายนอกและผูต รวจสอบภายในของบริษทั ฯ เพือ่ พิจารณาสอบทานขอมูลจากงบการเงิน รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ และบริษทั ยอย รับฟงคําชีแ้ จง และใหขอ เสนอแนะทีเ่ ปนประโยชนตอ ความถูกตอง ความครบถวนและเชื่อถือไดของรายงานทางการเงินรวมถึง การปรับปรุงประสิทธิภาพของการควบคุมภายใน ในองคกร ซึ่งการประชุมดังกลาวไมมีฝาย บริหารของบริษัทฯ เขารวมประชุมดวย ผลจากการประชุมในแตละครัง้ ไดนาํ สรุปประเด็นทีส่ าํ คัญเสนอตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อรับทราบและดําเนิน การปรับปรุง ซึ่งผลการปฏิบัติงานและการดําเนินการของคณะกรรมการตรวจสอบมีสาระสําคัญ สรุปไดดังนี้ 1. ความถูกตอง ครบถวน และเชื่อถือไดของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาสอบทานรายงานทางการเงินรายไตรมาสและ รายงานทางการเงินสําหรับป พ.ศ. 2554 รวมกับผูสอบบัญชี เพื่อใหมั่นใจวารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ไดจัดทําอยางถูกตอง ตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ ครบถวน และเชื่อถือได พรอมทั้งใหขอสังเกตและรับทราบ แนวทางแกไขปญหาใหเกิดประโยชนแกบริษัทฯ รวมทั้งไดสนับสนุนการนํามาตรฐานบัญชีสากล (IFRS) มาปฏิบัติ ตามที่สภาวิชาชีพบัญชี และ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) ไดใหแนวทางไว 2. ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน กํากับดูแลงานตรวจสอบภายใน ใหปฏิบตั สิ อดคลองกับมาตรฐานวิชาชีพ โดยใชวธิ กี ารประเมินความเสีย่ ง และระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานสากลของ COSO และใชหลัก Risk-Based Management ตลอดจนพิจารณา แผนงานตรวจสอบประจําป รายงานผลการตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายใน ติดตามการดําเนินการแกไขอยางตอเนื่อง ใหขอเสนอแนะทั้งตอ สํานักตรวจสอบภายในและฝายบริหารเพือ่ ปรับปรุงการปฏิบัตงิ าน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวาระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มีความเพียงพอ โดยใหความเห็นชอบตอแผนงานตรวจสอบประจําป รายงานผลการตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายใน และรายงานผลการติดตาม กระบวนการและระบบงานตางๆ นําเสนอใหฝายบริหารปรับปรุงการปฏิบัติงานตามประเด็นที่ผูตรวจสอบภายในตรวจพบ 3. การบริหารความเสี่ยง ในปที่ผานมาคณะกรรมการตรวจสอบไดใหความสําคัญในประเด็นความเสี่ยงตางๆ ขององคกรโดยไดพิจารณาและทบทวน ปจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบตอการดําเนินงานและเปาหมายขององคกร 4. การปฏิบัติตามขอกําหนดและกฎหมายที่เกี่ยวของ คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และกฎหมายเกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ อยางสมํ่าเสมอ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 85


ÃÒ§ҹ¡ÒáíҡѺ´ÙáÅ¡Ô¨¡Òâͧ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ

5. รายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการตรวจสอบไดพจิ ารณาและสอบทานรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ของบริษัทฯ กับบริษัทยอย และบริษัทรวม รวมทั้งรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ การเปดเผยขอมูลของรายการดังกลาว ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน วาเปนรายการจริงทางการคาอันเปนธุรกิจปกติทั่วไป เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ ไดดําเนินการตามเงื่อนไขทางธุรกิจและ หลักเกณฑของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 6. การพิจารณาคัดเลือกและเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชี และเสนอคาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ประจําป 2555 ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบ จะพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความเปนอิสระ และความเหมาะสมของคาตอบแทน โดยจะนํารายชื่อของผูสอบบัญชีเสนอเพื่อขออนุมัติตอที่ประชุม สามัญผูถือหุนตอไป คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาแลวเห็นวา บริษัทฯ มีกระบวนการจัดทําและการเปดเผยขอมูลในรายงานทางการเงินอยางถูกตอง เหมาะสมและเชื่อถือ ไดมีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีการปฏิบัติตามกฎหมาย ขอกําหนด และขอผูกพันตางๆ มีการพิจารณาการเขาทํารายการที่เกี่ยวโยงกันอยางรัดกุม มีการปฏิบัติที่สอดคลองกับการกํากับดูแลกิจการที่ดีอยางเพียงพอ โปรงใส เชื่อถือได รวมทั้งมีการพัฒนาปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพดีขึ้น และเหมาะสมกับสภาพแวดลอมทางธุรกิจอยางตอเนื่อง

(เรือโทอนันต ปานะนนท ร.น. ) ประธานกรรมการตรวจสอบ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 86


ÃÒ§ҹ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔÉÑ· μ‹ÍÃÒ§ҹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

คณะกรรมการบริษทั เปนผูร ับผิดชอบตองบการเงินเฉพาะบริษทั และงบการเงินรวมของบริษทั ฯ และบริษทั ยอยรวมถึงขอมูลสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏ ในรายงานประจําป งบการเงินดังกลาวจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีไทยและหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปของประเทศไทย โดยเลือกใชนโยบายบัญชี ที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอและใชดุลพินจิ อยางระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทํา รวมทั้งการเปดเผย ขอมูลสําคัญเพียงพอ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อใหงบการเงินมีความนาเชื่อถือ และเปนประโยชนตอผูถือหุนและนักลงทุนทั่วไป คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีและดํารงรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและประสิทธิผล เพื่อใหเกิดความมั่นใจอยางมีเหตุผลวาขอมูลทาง บัญชีมีความถูกตอง ครบถวน และเพียงพอ ที่จะดํารงรักษาไวซึ่งทรัพยสินตลอดจนเพื่อปองกันไมใหเกิดการทุจริตหรือการดําเนินการที่ผิดปกติอยาง มีสาระสําคัญ ในการนี้ คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งเปนกรรมการที่เปนอิสระ เปนผูสอบทานเกี่ยวกับคุณภาพของรายงานทางการ เงิน และระบบการควบคุมภายใน และรายงานผลการสอบทานดังกลาวตอคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นวา ระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมมีประสิทธิผลอยูใ นระดับทีน่ า พอใจและสามารถสรางความเชือ่ มัน่ อยางมี เหตุผลตอความเชื่อถือไดของงบการเงินเฉพาะบริษัท และงบการเงินรวมของบริษัทยอย สําหรับปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

(นายปรีดา เตียสุวรรณ) ประธานกรรมการ

(นางประพีร สรไกรกิติกูล) ประธานกรรมการบริหาร

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 87


ÃÒ§ҹ¢Í§¼ÙŒÊͺºÑÞªÕÃѺ͹ØÞÒμ เสนอตอผูถือหุนของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบกําไรขาดทุนรวม งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบกระแสเงินสดรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) และ บริษัทยอยและไดตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ดวยเชนกัน ซึ่งผูบริหารของกิจการเปนผูรับผิดชอบ ตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจ สอบของขาพเจา ขาพเจาไมไดตรวจสอบงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ของบริษัทยอยในประเทศ 1 แหง และบริษัท ยอยในตางประเทศ 7 แหง งบการเงินของบริษัทยอยดังกลาวขางตนไดรวมอยูในงบการเงินรวมนี้โดยมียอดสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เปนจํานวน 1,174 ลานบาท ยอดรายไดรวมและขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันเปนจํานวน 1,513 ลานบาท และ 115 ลานบาท ตามลําดับ (31 ธันวาคม 2553: ยอดสินทรัพยรวมเปนจํานวนเงิน 1,244 ลานบาท ยอดรายไดรวมและขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันเปนจํานวน 1,792 ลานบาท และ 108 ลานบาท ตามลําดับ) งบการเงินของบริษัทยอยดังกลาวตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่น ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 2.2 ข และขาพเจาไดรับรายงานจากผูสอบบัญชีของบริษัทยอยดังกลาวแลว การแสดงความเห็นของขาพเจาในสวนที่เกี่ยวของกับจํานวนเงินของรายการตาง ๆ ของบริษัทยอยดังกลาวซึ่งรวมอยูในงบการเงินรวมจึงถือตามรายงานของผูสอบบัญชีอื่นนัน้ ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไปซึ่งกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยาง มีเหตุผลวางบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่ เปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการ เงินที่เปนสาระสําคัญ ซึ่งผูบริหารเปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจา เชื่อวาการตรวจสอบดังกลาวประกอบกับรายงานของผูสอบบัญชีอื่นที่กลาวถึงในวรรคกอนใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็น ของขาพเจา จากการตรวจสอบของขาพเจาและจากรายงานของผูสอบบัญชีอื่น ขาพเจาเห็นวา งบการเงินขางตนนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอยและ เฉพาะของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิไดเปนการแสดงความเห็นอยางมีเงื่อนไขตองบการเงินขางตน ขาพเจาขอใหสังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 และ ขอ 5 ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีเพื่อจัดทําและนําเสนองบการเงินนี้ และบริษัทฯไดมีการปรับยอนหลังงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพื่อสะทอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดินจาก วิธีราคาที่ตีใหมเปนวิธีราคาทุน

ชลรส สันติอัศวราภรณ ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 4523 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด กรุงเทพฯ: 28 กุมภาพันธ 2555

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 88


§º¡ÒÃà§Ô¹ ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

หมายเหตุ สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ําประกัน เงินลงทุนในหุนกูแปลงสภาพที่ออกโดยบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินทดรองจายเพื่อการลงทุน ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สิทธิการเชา คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

9

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

437,253,918 885,000 879,279,828 16,000,000

385,710,828 398,187 935,292,790 16,000,000

207,069,570 1,194,827,620 52,415,660

207,378,912 1,064,583,210 51,154,750

8 11

1,817,190,175 67,734,458 3,218,343,379

1,616,008,313 54,431,459 3,007,841,577

43,866,780 838,910,318 19,375,521 2,356,465,469

13,932,390 740,256,200 12,610,745 2,089,916,207

12 13 14 15 16 8 8 8 17 5.1,18 19 20 21

4,089,880 59,330,475 9,778,398 7,822,500 509,820,574 434,788,241 33,074,875 31,293,238 11,304,876 1,101,303,057 4,319,646,436

2,952,302 59,967,184 14,935,475 455,042,728 399,115,439 35,744,223 34,681,022 11,691,292 1,014,129,665 4,021,971,242

36,949,500 687,348,431 9,778,398 5,118,431 49,247,925 277,934,440 490,858,481 300,703,127 13,790,190 1,964,695 1,873,693,618 4,230,159,087

43,062,900 687,348,431 14,935,475 4,867,916 45,333,997 309,987,130 433,849,621 267,090,548 16,557,253 2,384,324 1,825,417,595 3,915,333,802

10 8

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 89


§º¡ÒÃà§Ô¹

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §ºáÊ´§°Ò¹Ð¡ÒÃà§Ô¹ (μ‹Í) ³ Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

หมายเหตุ หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 410,000,000 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 403,331,754 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท (2553: หุน สามัญ 400,668,354 หุน มูลคาหุน ละ 1 บาท) สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 (ปรับปรุงใหม)

22 23 24

398,132,419 1,001,418,762 32,156,281 47,101,608 48,087,847 1,526,896,917

346,150,701 895,345,818 65,184,740 45,845,459 45,622,879 1,398,149,597

270,000,000 855,781,462 25,000,000 18,076,797 15,443,852 1,184,302,111

270,762,958 693,653,094 58,230,000 23,629,218 16,145,510 1,062,420,780

24 5.2,25

85,568,231 165,416,492 1,296,823 252,281,546 1,779,178,463

117,118,716 1,741,791 118,860,507 1,517,010,104

50,110,000 137,763,155 187,873,155 1,372,175,266

75,110,000 75,110,000 1,137,530,780

410,000,000

410,000,000

410,000,000

410,000,000

27 27

403,331,754 774,460,551

400,668,354 769,133,751

403,331,754 774,460,551

400,668,354 769,133,751

28

41,000,000 1,333,418,708 16,711,751 2,568,922,764 (28,454,791) 2,540,467,973 4,319,646,436

41,000,000 1,269,980,603 13,388,103 2,494,170,811 10,790,327 2,504,961,138 4,021,971,242

41,000,000 1,639,191,516 2,857,983,821 2,857,983,821 4,230,159,087

41,000,000 1,567,000,917 2,777,803,022 2,777,803,022 3,915,333,802

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ กรรมการ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 90


§º¡ÒÃà§Ô¹

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡íÒäâҴ·Ø¹ ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2554 2553

หมายเหตุ รายได รายไดจากการขาย รายไดอื่น ดอกเบี้ยรับ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน อื่น ๆ รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขาย คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร คาใชจายอื่น ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน โอนกลับคาเผือ่ การดอยคาของอสังหาริมทรัพยเพือ่ การลงทุน รวมคาใชจาย กําไรกอนสวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายทางการเงินและภาษีเงินไดนิติบุคคล สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรกอนคาใชจายทางการเงินและภาษีเงินไดนิติบุคคล คาใชจายทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล กําไรสําหรับป

17

15.2

30

การแบงปนกําไร สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ของบริษัทยอย (ขาดทุน) กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ กําไรตอหุนปรับลด กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

4,121,823,320

4,055,765,470

3,133,546,826

3,067,361,950

8,688,741 32,648,777 30,208,824 4,193,369,662

5,641,015 27,556,076 4,088,962,561

36,320,584 30,152,236 63,361,167 3,263,380,813

37,712,902 56,992,233 3,162,067,085

2,742,715,870 454,235,864 516,560,856

2,719,115,780 413,494,385 453,241,935

2,326,286,920 75,519,186 400,131,453

2,335,487,369 79,953,082 199,792,911

(57,635,692) 3,655,876,898

149,684,312 3,735,536,412

(57,635,692) 2,744,301,867

148,411,927 2,763,645,289

537,492,764 (3,174,070) 534,318,694 (38,356,313) 495,962,381 (79,366,227) 416,596,154

353,426,149 (10,359,758) 343,066,391 (35,463,563) 307,602,828 (63,406,629) 244,196,199

519,078,946 519,078,946 (25,740,644) 493,338,302 (52,199,379) 441,138,923

398,421,796 398,421,796 (23,623,190) 374,798,606 (31,001,854) 343,796,752

456,345,499

243,424,800

441,138,923

343,796,752

(39,749,345) 416,596,154

771,399 244,196,199

1.14

0.61

1.10

0.86

1.12

0.60

1.09

0.85

32

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 91


§º¡ÒÃà§Ô¹

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡íÒäâҴ·Ø¹àºç´àÊÃç¨ ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2554 2553

กําไรสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลตางของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคางบการเงิน ที่เปนเงินตราตางประเทศ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี การแบงปนกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย (ขาดทุน)

416,596,154

244,196,199

441,138,923

343,796,752

4,402,024 4,402,024

7,165,358 7,165,358

-

-

420,998,178

251,361,557

441,138,923

343,796,752

459,669,147 (38,670,969) 420,998,178

250,840,420 521,137 251,361,557

441,138,923 441,138,923

343,796,752 343,796,752

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 92

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

93

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ตามทีร่ ายงานไวเดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดิน (หมายเหตุ 5.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับ ผลประโยชนของพนักงาน (หมายเหตุ 5.2) ออกหุนสามัญเพิ่มจากใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 27) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 35) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยลดลง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

งบการเงินรวม

13,388,103 3,323,648 16,711,751

- (209,302,882) 400,668,354 769,133,751 41,000,000 1,269,980,603 - (152,031,792) 2,663,400 5,326,800 - (240,875,602) - 456,345,499 403,331,754 774,460,551 41,000,000 1,333,418,708

-

13,388,103

5,972,483 7,415,620 13,388,103 209,302,882

- (209,302,882) 41,000,000 1,437,478,042 - (410,922,239) - 243,424,800 41,000,000 1,269,980,603 -

กําไรสะสม ยังไมได จัดสรรแลว จัดสรร 41,000,000 1,437,478,042

(หนวย: บาท)

- (152,031,792) 7,990,200 - (240,875,602) 3,323,648 459,669,147 16,711,751 2,568,922,764

(209,302,882) (209,302,882) 13,388,103 2,494,170,811

222,690,985 2,703,473,693

(209,302,882) (209,302,882) 5,972,483 2,646,722,984 7,529,646 - (410,922,239) 7,415,620 250,840,420 13,388,103 2,494,170,811

(209,302,882) 2,657,041,756 7,529,646 (410,922,239) 251,361,557 (49,582) 2,504,961,138

(520,148) (152,551,940) 7,990,200 - (240,875,602) (38,670,969) 420,998,178 (54,001) (54,001) (28,454,791) 2,540,467,973

- (209,302,882) 10,790,327 2,504,961,138

10,790,327 2,714,264,020

10,318,772 521,137 (49,582) 10,790,327

สวนของ ผูมีสวนได ผลตางจากการ เสียที่ สวนเกิน แปลงคา รวม รวม ไมมีอํานาจ รวม ทุนจาก องคประกอบอืน่ สวนของ งบการเงิน ควบคุม สวนของ การตีราคา ที่เปนเงินตรา ของสวนของ ผูถือหุน ผูถือหุน ที่ดิน ตางประเทศ ผูถ อื หุน ของบริษัทฯ ของบริษัทยอย 209,302,882 5,972,483 215,275,365 2,856,025,866 10,318,772 2,866,344,638

สวนของผูถือหุนของบริษัทฯ องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

400,668,354 769,133,751 41,000,000 1,269,980,603

ทุนเรือนหุน สวนเกิน ที่ออกและ มูลคาหุน ชําระแลว สามัญ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามทีร่ ายงานไวเดิม 398,158,472 764,113,987 ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดิน (หมายเหตุ 5.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง 398,158,472 764,113,987 ออกหุนสามัญเพิ่มจากใบสําคัญแสดงสิทธิ 2,509,882 5,019,764 เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 35) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยลดลง ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง 400,668,354 769,133,751

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

94

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - ตามทีร่ ายงานไวเดิม ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดิน (หมายเหตุ 5.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง ผลสะสมจากการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีเกีย่ วกับ ผลประโยชนของพนักงาน (หมายเหตุ 5.2) ออกหุนสามัญเพิ่มจากใบสําคัญแสดงสิทธิ (หมายเหตุ 27) เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 35) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - ตามทีร่ ายงานไวเดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดิน (หมายเหตุ 5.1) ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 - หลังการปรับปรุง ออกหุนสามัญเพิ่มจากใบสําคัญแสดงสิทธิ เงินปนผลจาย (หมายเหตุ 35) กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 - หลังการปรับปรุง 769,133,751 769,133,751 5,326,800 774,460,551

400,668,354 2,663,400 403,331,754

764,113,987 5,019,764 769,133,751

398,158,472 2,509,882 400,668,354 400,668,354

764,113,987

สวนเกิน มูลคาหุนสามัญ

398,158,472

ทุนเรือนหุน ที่ออกและชําระแลว

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §ºáÊ´§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Ê‹Ç¹¢Í§¼ÙŒ¶×ÍËØŒ¹ (μ‹Í) ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

41,000,000

41,000,000

41,000,000

41,000,000 41,000,000

41,000,000

(128,072,722) (240,875,602) 441,138,923 1,639,191,516

1,567,000,917

1,567,000,917

1,634,126,404 (410,922,239) 343,796,752 1,567,000,917

1,634,126,404

กําไรสะสม จัดสรรแลว ยังไมไดจัดสรร

งบการเงินเฉพาะกิจการ

-

(209,302,882) -

209,302,882

(209,302,882) -

209,302,882

องคประกอบอื่นของสวน ของผูถือหุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สวนเกินทุนจาก การตีราคาที่ดิน

(128,072,722) 7,990,200 (240,875,602) 441,138,923 2,857,983,821

(209,302,882) 2,777,803,022

2,987,105,904

(209,302,882) 2,837,398,863 7,529,646 (410,922,239) 343,796,752 2,777,803,022

3,046,701,745

รวมสวนของผูถือหุน

(หนวย: บาท)


§º¡ÒÃà§Ô¹

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

(หนวย: บาท)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรกอนภาษีเปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ตัดจําหนายสิทธิการเชา ตัดจําหนายเครื่องจักรและอุปกรณ คาเผื่อการดอยคาของอุปกรณ คาตัดจําหนายสวนลดมูลคาตราสารหนี้พันธบัตรรัฐบาล คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) ตัดจําหนายหนี้สูญ การปรับลดสินคาคงเหลือเปนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ (โอนกลับ) กําไรจากการจําหนายเครื่องจักรและอุปกรณ สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายเกี่ยวกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ขาดทุน (กําไร) จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ดอกเบี้ยรับ คาใชจายดอกเบี้ย กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได เงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

งบการเงินรวม 2554 2553

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

495,962,381

307,602,828

493,338,302

374,798,606

82,816,874 2,484,401 2,397,529 (64,524) (15,565,554) 35,348,792 (8,167,409) (1,181,369) 3,174,070 17,491,466 (57,635,692) 19,340,100 (8,688,741) 35,068,333

73,648,449 2,484,399 1,671,131 584,628 (64,524) (11,474,791) 2,823,979 22,151,415 (669,239) 10,359,758 31,298,586 (5,641,015) 33,818,454

48,098,329 1,619,555 (64,524) 141,871,433 29,324,008 500,000 (958,814) 14,077,200 (57,635,692) (13,664,182) (36,320,584) 25,740,644

42,508,035 172,916 584,628 (64,524) (1,697,603) 2,823,979 15,000,000 (482,923) 159,329,537 (37,712,902) 23,623,190

602,780,657

468,594,058

645,925,675

578,882,939

51,396,188 (193,014,453) (13,302,999) 386,416

(40,755,724) (8,321,737) (11,884,045) 6,273,787

(266,289,309) (99,154,118) (6,764,776) 419,629

(273,044,235) 17,385,147 (4,388,088) 4,423,448

83,779,177 (2,367,268) (4,626,914) (444,968) 524,585,836 (38,051,674) (78,110,078) 408,424,084

121,382,195 (13,529,106) (742,229) 521,017,199 (36,119,029) (39,889,386) 445,008,784

140,011,026 (5,105,459) (4,386,768) 404,655,900 (28,900,410) (57,751,800) 318,003,690

160,621,179 (13,514,973) 470,365,417 (26,035,885) (21,818,457) 422,511,075

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 95


§º¡ÒÃà§Ô¹

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í §º¡ÃÐáÊà§Ô¹Ê´ (μ‹Í) ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553

(หนวย: บาท) งบการเงินรวม 2554 2553

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินทดรองจายเพื่อการลงทุนลดลง เงินสดรับจากตราสารหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ถือจนครบกําหนด จายเงินลงทุนในตราสารหนี้พันธบัตรรัฐบาล จายเงินลงทุนในหุนกูแปลงสภาพที่ออกโดยบริษัทยอย ซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตนอื่น เงินสดรับจากการจําหนายเครื่องจักรและอุปกรณ เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) ชําระคืนเงินกูยืมระยะยาว เงินสดรับจากการออกหุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิ จายเงินปนผล เงินสดจายคืนใหแกผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

(486,813) (1,137,578) (7,822,500) 10,726,000 (9,778,398) (109,390,833) (2,610,469) 1,414,478 8,565,520 (110,520,593)

(398,187) (1,949,281) (2,265,675) (112,990,996) (15,310,724) 676,528 5,461,734 (126,776,601)

(1,200,000) 16,497,510 10,726,000 (9,778,398) (79,199,189) (879,455) 1,100,890 36,297,970 (26,434,672)

69,148 12,734,325 15,907,280 7,263,661 (24,810,000) (86,255,433) (9,032,046) 483,622 34,761,776 (48,877,667)

51,981,718 (64,578,944) 7,990,200 (240,875,602) (54,001) (245,536,629) (823,772) 51,543,090 385,710,828 437,253,918

164,025,020 (164,170,229) 7,529,646 (410,922,239) (49,582) (403,587,384) 10,813,310 (74,541,891) 460,252,719 385,710,828

(762,958) (58,230,000) 7,990,200 (240,875,602) (291,878,360) (309,342) 207,378,912 207,069,570

118,470,131 (157,560,000) 7,529,646 (410,922,239) (442,482,462) (68,849,054) 276,227,966 207,378,912

-

-

-

127,188,152

ขอมูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิม่ เติม รายการที่มิใชเงินสด การแปลงลูกหนี้การคาและลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกันของบริษัทฯ เปนเงินลงทุนในบริษัทยอย

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 96

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553


§º¡ÒÃà§Ô¹

ºÃÔÉÑ· á¾Ã¹´ŒÒ ¨ÔÇàÇÅÃÕè ¨íÒ¡Ñ´ (ÁËÒª¹) áÅкÃÔÉѷ‹Í ËÁÒÂàËμØ»ÃСͺ§º¡ÒÃà§Ô¹ÃÇÁ ÊíÒËÃѺ»‚ÊÔé¹ÊØ´Çѹ·Õè 31 ¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2554 áÅÐ 2553 1. ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇ仢ͧºÃÔÉÑ·Ï บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เปนบริษัทมหาชนซึ่งจัดตั้งและมีภูมิลําเนาในประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯคือการผลิต และจําหนายเครื่องประดับ ที่อยูตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯอยูที่ 28 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ โดยมีโรงงานตั้งอยู ที่จังหวัดกรุงเทพฯและจังหวัดนครราชสีมา

2. ࡳ± 㹡ÒèѴ·íÒ§º¡ÒÃà§Ô¹ 2.1 งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามขอกําหนดใน ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 งบการเงินฉบับภาษาไทยเปนงบการเงินฉบับทีบ่ ริษทั ฯใชเปนทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้ งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมเวนแตจะไดเปดเผยเปนอยางอื่นในนโยบายการบัญชี 2.2 เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม ก) งบการเงินรวมนี้ไดจัดทําขึ้นโดยรวมงบการเงินของบริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทฯ”) และบริษัทยอย (ซึ่งตอไปนี้เรียกวา “บริษัทยอย”) ดังตอไปนี้ ชื่อบริษัท

ถือหุนโดยบริษัทฯ บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท คริสตอลไลน จํากัด บริษัท แพรนดา ลอดจิ้ง จํากัด Pranda North America, Inc. H.GRINGOIRE s.a.r.l. Pranda UK Ltd. Pranda Singapore Pte. Limited Pranda Vietnam Co., Ltd. Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi Pranda & Kroll GmbH & Co. KG Pranda Jewelry Private Limited

ลักษณะธุรกิจ

จําหนายเครื่องประดับ ผลิตและจําหนายเครื่องประดับ ใหเชาหอพัก จําหนายเครื่องประดับ จําหนายเครื่องประดับ จําหนายเครื่องประดับ บริษัทลงทุน ผลิตและจําหนายเครื่องประดับ ผลิตและจําหนายเครื่องประดับ ผลิตและจําหนายเครื่องประดับ จําหนายเครื่องประดับ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 97

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

ไทย ไทย ไทย สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ สิงคโปร เวียดนาม จีน เยอรมัน อินเดีย

อัตรารอยละของการถือหุน 2554 2553 รอยละ รอยละ 100 96 83 100 100 100 100 100 100 51 51

100 96 83 100 100 100 100 100 100 51 51


§º¡ÒÃà§Ô¹

ชื่อบริษัท

ถือหุนโดยบริษัทยอยของบริษัทฯ Pranda Acceptance Sdn. Bhd. (ถือหุนโดย Pranda Singapore Pte. Limited) KSV Brand GmbH (ถือหุน โดย Pranda & Kroll GmbH & Co., KG)

ลักษณะธุรกิจ

จัดตั้งขึ้นในประเทศ

อัตรารอยละ ของการถือหุน (โดยทางออม) 2554 2553 รอยละ รอยละ

หยุดดําเนินงานในป 2543

มาเลเซีย

100

100

จําหนายเครื่องประดับ

เยอรมัน

51

51

ข) งบการเงินของบริษัทยอยในประเทศ 1 แหง คือบริษัท แพรนดา ลอดจิ้ง จํากัด และงบการเงินของบริษัทยอยในตางประเทศ 7 แหง คือ Pranda Vietnam Co., Ltd., Pranda UK Ltd., H.GRINGOIRE s.a.r.l, Pranda North America, Inc., Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi, Pranda & Kroll GmbH & Co. KG (ซึ่งรวมงบการเงินของ KSV Brand GmbH) และ Pranda Jewelry Private Limited ที่รวมอยูในงบการเงินรวม นี้ มียอดสินทรัพยรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เปนจํานวนเงิน 1,174 ลานบาท (31 ธันวาคม 2553: 1,244 ลานบาท) ยอดรายไดรวมและ ขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันเปนจํานวนเงิน 1,513 ลานบาท และ 115 ลานบาท ตามลําดับ (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553: ยอดรายไดรวมและขาดทุนรวมเปนจํานวนเงิน 1,792 ลานบาท และ 108 ลานบาท ตามลําดับ) เปนงบการเงินที่ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีของ บริษัทยอย ซึ่งไดแสดงความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขตองบการเงิน ค) งบการเงินรวมของบริษัทยอยแหงหนึ่งในตางประเทศคือ Pranda Singapore Pte. Limited (ซึ่งรวมงบการเงินของบริษัทยอยอีกแหงหนึ่งคือ Pranda Acceptance Sdn. Bhd.) ที่รวมอยูในงบการเงินรวมนี้มียอดสินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เปนจํานวนเงิน 61 ลานบาท (31 ธันวาคม 2553: 56 ลานบาท) ไมมียอดรายไดและมีขาดทุนสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันเปนจํานวน 0.5 ลานบาท (สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553: ไมมียอดรายไดและมีขาดทุนเปนจํานวน 13 ลานบาท) เปนงบการเงินจัดทําขึ้นโดยฝายบริหารของบริษัทยอย โดยยังไม ไดผานการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีของบริษัทยอยนั้น อยางไรก็ตาม ฝายบริหารของบริษัทฯ เชื่อวางบการเงินดังกลาวไมมีความแตกตาง อยางมีสาระสําคัญหากไดถูกตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีของบริษัทยอย ง)

บริษัทฯนํางบการเงินของบริษัทยอยมารวมในการจัดทํางบการเงินรวมตั้งแตวันที่บริษัทฯมีอํานาจในการควบคุมบริษัทยอยจนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทยอยนั้น

จ) งบการเงินของบริษัทยอยไดจัดทําขึ้นโดยใชนโยบายการบัญชีที่สําคัญเชนเดียวกันกับของบริษัทฯ ฉ) สินทรัพยและหนีส้ นิ ตามงบการเงินของบริษทั ยอยซึง่ จัดตัง้ ในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันสิน้ รอบระยะเวลา รายงาน สวนรายไดและคาใชจายแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลตางซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงคาดังกลาว ไดแสดงไวเปนรายการ “ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน ช) ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและบริษัทยอย รายการคาระหวางกันที่มีสาระสําคัญไดถูกตัดออกจากงบการเงินรวมนี้แลว ซ) สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม คือ จํานวนกําไรหรือขาดทุนและสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอยสวนที่ไมไดเปนของบริษัทฯ และ แสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและสวนของผูถือหุนในงบแสดงฐานะการเงินรวม 2.3 บริษัทฯจัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการเพื่อประโยชนตอสาธารณะ โดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมตามวิธีราคาทุน ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 98


§º¡ÒÃà§Ô¹

3. ¡Òû¯ÔºÑμÔμÒÁÁÒμðҹ¡ÒúÑÞªÕãËÁ‹ã¹ÃÐËÇ‹Ò§»ี ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีดังนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) การนําเสนองบการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2552) สินคาคงเหลือ ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2552) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2552) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และขอผิดพลาด ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2552) เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2552) สัญญากอสราง ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) สัญญาเชา ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2552) รายได ฉบับที่ 19 ผลประโยชนของพนักงาน ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) ตนทุนการกูยืม ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2552) การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ฉบับที่ 26 การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อออกจากงาน ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2552) เงินลงทุนในบริษัทรวม ฉบับที่ 29 การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2552) สวนไดเสียในการรวมคา ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2552) กําไรตอหุน ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2552) งบการเงินระหวางกาล ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) การดอยคาของสินทรัพย ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2552) ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพยไมมีตัวตน ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2552) อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 6 การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 99


§º¡ÒÃà§Ô¹

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 สัญญาการกอสรางอสังหาริมทรัพย การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 รายได - รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา มาตรฐานการบัญชีขางตนไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินนี้ ยกเวนมาตรฐานการบัญชีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนีก้ าํ หนดใหกจิ การรับรูผ ลประโยชนทใ่ี หกบั พนักงานเปนคาใชจา ยเมือ่ กิจการไดรบั บริการจางงานจากพนักงานแลว โดยเฉพาะ อยางยิ่งกิจการจะตองประเมินและบันทึกหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงานเนื่องจากเกษียณอายุ หรือจากโครงการผลประโยชนระยะยาว อื่นที่ใหกับพนักงาน โดยใชการคํานวณตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ซึ่งเดิมบริษัทฯและบริษัทยอยรับรูผลประโยชนที่ใหกับพนักงานดังกลาว เมื่อเกิดรายการ บริษัทฯและบริษัทยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวในปปจจุบันและรับรูหนี้สินในชวงที่เปลี่ยนแปลงโดยบันทึกปรับกับกําไรสะสม ณ วันตนงวดของปปจจุบัน ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวแสดงอยูในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5.2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการตองปนสวนกําไรหรือขาดทุน และแตละสวนประกอบในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จไปยังสวนที่เปนของ ผูถือหุนของบริษัทฯและสวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอย แมวาจะทําใหสวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของ บริษัทยอยมียอดคงเหลือติดลบ บริษัทฯไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวโดยเริ่มถือปฏิบัติในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 การเปลี่ยน แปลงนี้ทําใหบริษัทฯและบริษัทยอยมีกําไรรวมสําหรับ ป 2554 เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 40 ลานบาท (กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น 0.10 บาท ตอหุน)

4. ÁÒμðҹ¡ÒúÑÞªÕãËÁ‹·ÕèÂѧäÁ‹Áռźѧ¤ÑºãªŒ สภาวิชาชีพบัญชีไดออกมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงและมาตรฐานการบัญชีใหมซึ่งมีผลบังคับใชสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2556 ตามรายละเอียดขางลางนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2552) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2552) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 21 ฉบับที่ 25

ภาษีเงินได การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาล และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับความชวยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ความชวยเหลือจากรัฐบาล - กรณีที่ไมมีความเกี่ยวของอยางเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน ภาษีเงินได - การไดรับประโยชนจากสินทรัพยที่ไมไดคิดคาเสื่อมราคาที่ตีราคาใหม ภาษีเงินได - การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการหรือของผูถือหุน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 100


§º¡ÒÃà§Ô¹

ฝายบริหารของบริษัทฯเชื่อวามาตรฐานการบัญชีขางตนจะไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงินเมื่อนํามาถือปฏิบัติ ยกเวนมาตรฐาน การบัญชีดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการระบุผลแตกตางชั่วคราวที่เกิดจากความแตกตางของมูลคาสินทรัพยและหนี้สินระหวางเกณฑทางบัญชี และภาษีอากร เพื่อรับรูผลกระทบทางภาษีเปนสินทรัพยหรือหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีตามหลักเกณฑที่กําหนด ปจจุบันฝายบริหารของบริษัทฯอยูระหวางการประเมินผลกระทบที่อาจมีตองบการเงินในปที่เริ่มนํามาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาถือปฏิบัติ

5. ¼ÅÊÐÊÁ¨Ò¡¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¹âºÒ¡ÒúÑÞªÕ 5.1 ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดินจากวิธีราคาที่ตีใหมเปนวิธีราคาทุน บริษัทฯบันทึกผล จากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวโดยปรับยอนหลังงบการเงินที่แสดงเปรียบเทียบไว ณ ที่นี้ โดยถือเสมือนวาบริษัทฯไดบันทึกบัญชี ที่ดินตามวิธีราคาทุนมาโดยตลอด การปรับปรุงนี้ไมมีผลกระทบตอกําไรหรือขาดทุนในงบการเงินรวมและเฉพาะกิจการสําหรับป 2554 และ 2553 ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวไดแสดงไวในหัวขอ “ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึก บัญชีที่ดิน” ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและเฉพาะกิจการแลว ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวขางตนที่มีผลตองบแสดงฐานะการเงินรวมและเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 มีดังนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณลดลง (209) องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน - สวนเกินทุน จากการตีราคาที่ดินลดลง (209) 5.2 ในระหวางปปจจุบัน บริษัทฯและบริษัทยอยไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงาน ซึ่งเปนการนํามาตรฐานการบัญชี ใหมมาถือปฏิบตั ิ ผลสะสมของการเปลีย่ นแปลงนโยบายการบัญชีดงั กลาวแสดงเปนรายการแยกตางหากในงบแสดงการเปลีย่ นแปลงสวนของผูถ อื หุน รวมและเฉพาะกิจการแลว โดยปรับปรุงกับกําไรสะสมตนป 2554 ของงบการเงินรวมเปนจํานวน 153 ลานบาท และงบการเงินเฉพาะกิจการเปน จํานวน 128 ลานบาท การเปลี่ยนแปลงนี้ทําใหบริษัทฯและบริษัทยอยมีกําไรรวมสําหรับป 2554 ลดลงเปนจํานวน 17 ลานบาท (กําไรตอหุนขั้น พื้นฐานลดลง: 0.04 บาทตอหุน) (เฉพาะของบริษัทฯ: กําไรลดลงเปนจํานวน 14 ลานบาท กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานลดลง 0.03 บาทตอหุน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูหนี้สินเกี่ยวกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงานดังกลาวแลวเปนจํานวน 165 ลานบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 138 ลานบาท)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 101


§º¡ÒÃà§Ô¹

6. ¹âºÒ¡ÒúÑÞªÕ·ÕèÊíÒ¤ÑÞ 6.1 การรับรูรายได ขายสินคา รายไดจากการขายสินคารับรูเ มือ่ ไดโอนความเสีย่ งและผลตอบแทนทีม่ นี ยั สําคัญของความเปนเจาของสินคาใหกบั ผูซ อ้ื แลว รายไดจากการขายแสดง มูลคาตามราคาในใบกํากับสินคาโดยไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับสินคาที่ไดสงมอบหลังจากหักสวนลดแลว รายไดคาเชาและคาบริการ รายไดคาเชารับรูตามเกณฑคงคาง รายไดคาบริการรับรูเมื่อไดใหบริการแลวโดยพิจารณาถึงขั้นความสําเร็จของงาน ดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยรับถือเปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนที่แทจริง 6.2 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลองสูง ซึ่งถึงกําหนดจายคืนภายใน ระยะเวลาไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอจํากัดในการเบิกใช 6.3 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ โดยจะบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนโดยประมาณที่อาจเกิดขึ้นจากการ เก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่งโดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการเก็บเงินและการวิเคราะหอายุหนี้ 6.4 สินคาคงเหลือ สินคาสําเร็จรูปและงานระหวางทําแสดงมูลคาตามราคาทุนมาตรฐาน (ซึ่งใกลเคียงกับตนทุนจริง) หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนดังกลาวหมายถึง ตนทุนในการผลิตทั้งหมดรวมทั้งคาโสหุยโรงงานดวย วัตถุดิบและวัสดุโรงงานแสดงมูลคาตามราคาทุนถัวเฉลี่ยหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา และจะถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการ ผลิตเมื่อมีการเบิกใช 6.5 เงินลงทุน ก) เงินลงทุนในตราสารหนีท้ จ่ี ะถือจนครบกําหนดแสดงมูลคาตามวิธรี าคาทุนตัดจําหนาย บริษทั ฯ ตัดบัญชีสว นเกิน/รับรูส ว นต่าํ กวามูลคาตราสารหนี้ ตามอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ซึ่งจํานวนที่ตัดจําหนาย/รับรูนี้จะแสดงเปนรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 102


§º¡ÒÃà§Ô¹

ข) เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินรวมแสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย ค) เงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุน บริษัทฯใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน เมือ่ มีการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิง่ ตอบแทนสุทธิทไ่ี ดรบั กับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุน สวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของบริษทั ยอยถูกแสดงในงบแสดงฐานะการเงินรวมในสวนของผูถ อื หุน โดยแสดงแยกตางหากจากสวนที่ เปนของผูถ อื หุน ของบริษทั ฯ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม ตองถูกจัดสรรใหแกผถู อื หุน ของบริษทั ฯ และสวนของผูม สี ว นไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุมของ บริษัทยอย แมวาจะทําใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของบริษัทยอยมียอดคงเหลือติดลบ 6.6 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษัทฯ และบริษัทยอยบันทึกมูลคาเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่งรวมตนทุนการทํารายการ หลังจากนั้น บริษัทฯ และ บริษัทยอยจะบันทึกอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนโดยประมาณ 20 ป คาเสื่อมราคาของ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน บริษัทฯ และบริษัทยอยรับรูผลตางระหวางจํานวนเงินที่ไดรับสุทธิจากการจําหนายกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยในสวนของกําไรหรือขาดทุนใน งวดที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนออกจากบัญชี 6.7 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสม และคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชนโดยประมาณดังนี้ สวนปรับปรุงที่ดิน อาคารและสวนปรับปรุงอาคาร สวนปรับปรุงสินทรัพยเชา เครื่องจักรและอุปกรณ เครื่องตกแตง ติดตั้งและเครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ

20 14-40 ตามอายุสัญญาเชา (2-40 3-10 2-10 5-6

คาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 103

ป ป ป) ป ป ป


§º¡ÒÃà§Ô¹

ไมมีการคิดคาเสื่อมราคาสําหรับที่ดินและสินทรัพยระหวางติดตั้งและกอสราง บริษัทฯตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ออกจากบัญชี เมื่อจําหนายสินทรัพยหรือคาดวาจะไมไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจาก การใชหรือการจําหนายสินทรัพย รายการผลกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยจะรับรูในสวนของกําไรหรือขาดทุนเมื่อบริษัทฯตัดรายการ สินทรัพยนั้นออกจากบัญชี 6.8 สิทธิการเชา สิทธิการเชาแสดงตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม โดยตัดจําหนายโดยวิธีเสนตรงตามอายุของระยะเวลาเชา (25-30 ป) คาตัดจําหนายรวมอยู ในการคํานวณผลการดําเนินงาน 6.9 คาความนิยม ณ วันที่ไดมา บริษัทยอยในตางประเทศบันทึกคาความนิยมดวยราคาทุน ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทยอยไดรับโอนกิจการเดิมของผูเปนหุนสวนราย หนึ่งในมูลคาที่สูงกวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่รับโอนมา คาความนิยมแสดงตามราคาทุนหักคาเผื่อการดอยคาสะสม และจะทดสอบการดอยคาของคาความนิยมทุกปหรือเมื่อใดก็ตามที่มีขอบงชี้ของการ ดอยคาเกิดขึ้น เพื่อวัตถุประสงคในการทดสอบการดอยคา จะตองมีการปนสวนคาความนิยมที่เกิดขึ้นใหกับหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดที่คาดวาจะไดรับ ประโยชนเพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และจะทําการประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของหนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดแตละรายการ หาก มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของหนวยของสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดต่ํากวามูลคาตามบัญชี จะบันทึกรับรูขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกําไร หรือขาดทุนและไมสามารถกลับบัญชีขาดทุนจากการดอยคาไดในอนาคต 6.10 สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคาสะสม (ถามี) ของสินทรัพยนั้น บริษัทฯตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหประโยชนจํากัดอยางมีระบบตลอดอายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพยนั้น และจะ ประเมินการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวเมื่อมีขอบงชี้วาสินทรัพยนั้นเกิดการดอยคา บริษัทฯจะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหนายและวิธีการตัด จําหนายของสินทรัพยไมมีตัวตนดังกลาวทุกสิ้นปเปนอยางนอย คาตัดจําหนายรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือขาดทุน สินทรัพยไมมีตัวตนไดแกซอฟทแวรคอมพิวเตอรซึ่งมีอายุการใหประโยชน 3-10 ป 6.11 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูกบริษัทฯควบคุมไมวาจะเปนโดยทางตรง หรือทางออม หรืออยูภายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 104


§º¡ÒÃà§Ô¹

นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันยังหมายรวมถึงบริษัทรวมและบุคคลที่มีสิทธิออกเสียงโดยทางตรงหรือทางออมซึ่งทําใหมีอิทธิพลอยาง เปนสาระสําคัญกับบริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือพนักงานของบริษัทฯที่มีอํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ 6.12 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงิน จะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชาหรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใด จะต่ํากวาภาระผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในสวนของกําไรหรือขาดทุน ตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตลอดอายุการใชงานของสินทรัพยที่เชา จํานวนเงินที่จายตามสัญญาเชาดําเนินงานรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือขาดทุนตามวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชา 6.13 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงิน ตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 6.14 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯ จะทําการประเมินการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณหรือสินทรัพยที่ไมมีตัวตนอื่นของบริษัทฯ หาก มีขอบงชี้วาสินทรัพยดังกลาวอาจดอยคา และจะทําการประเมินการดอยคาของคาความนิยมเปนรายป บริษัทฯ รับรูขาดทุนจากการดอยคาเมื่อ มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยมีมูลคาต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ทั้งนี้มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนหมายถึงมูลคายุติธรรมหัก ตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือมูลคาจากการใชสินทรัพยแลวแตราคาใดจะสูงกวา ในการประเมินมูลคาจากการใชสินทรัพย บริษัทฯประมาณ การกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดวาจะไดรับจากสินทรัพยและคํานวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีที่สะทอนถึงการ ประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของสินทรัพยที่กําลังพิจารณาอยู ในการ ประเมินมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย บริษัทฯใชแบบจําลองการประเมินมูลคาที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย ซึ่งสะทอนถึงจํานวนเงินที่ กิจการสามารถจะไดมาจากการจําหนายสินทรัพยหักดวยตนทุนในการจําหนาย โดยการจําหนายนั้นผูซื้อกับผูขายมีความรอบรูและเต็มใจในการ แลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวของกัน บริษัทฯ จะรับรูรายการขาดทุนจากการดอยคาในสวนของกําไรหรือขาดทุน หากในการประเมินการดอยคาของสินทรัพย มีขอ บงชีท้ แ่ี สดงใหเห็นวาผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทร่ี บั รูใ นงวดกอนไดหมดไปหรือลดลง บริษทั ฯจะประมาณมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนของสินทรัพยนน้ั และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาทีร่ บั รูใ นงวดกอนก็ตอ เมือ่ มีการเปลีย่ น แปลงประมาณการทีใ่ ชกาํ หนดมูลคาทีค่ าดวาจะไดรบั คืนภายหลังจากการรับรูผ ลขาดทุนจากการดอยคาครัง้ ลาสุด โดยมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาตองไมสูงกวามูลคาตามบัญชีท่คี วรจะเปนหากกิจการไมเคยรับรูผลขาดทุนจากการดอยคา ของสินทรัพยในงวดกอนๆ บริษัทฯจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยโดยรับรูไปยังสวนของกําไรหรือขาดทุนทันที

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 105


§º¡ÒÃà§Ô¹

6.15 ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯรับรู เงินเดือน คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานและผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯและพนักงานไดรวมกันจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและเงินที่บริษัทฯจายสมทบใหเปนรายเดือน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกจากสินทรัพยของบริษัทฯ เงินที่บริษัทฯจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่ เกิดรายการ โครงการผลประโยชนหลังออกจากงานและผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยมีภาระสําหรับเงินชดเชยที่ตองจายใหแกพนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงานของแตละประเทศ ซึ่งบริษัทฯและ บริษัทยอยถือวาเงินชดเชยดังกลาวเปนโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานสําหรับพนักงาน นอกจากนั้น บริษัทฯและบริษัทยอยในประเทศไทย จัดใหมีโครงการผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน บริษัทฯและบริษัทยอยคํานวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานและโครงการผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน โดยใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเชี่ยวชาญอิสระไดทําการประเมินภาระผูกพันดังกลาวตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัย ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน เปนครั้งแรก บริษัทฯและบริษัทยอยเลือกรับรูหนี้สินในชวงการ เปลี่ยนแปลงที่มากกวาหนี้สินที่รับรู ณ วันเดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยบันทึกปรับกับกําไรสะสม ณ วันตนงวดของปปจจุบัน 6.16 ประมาณการหนี้สิน บริษทั ฯจะบันทึกประมาณการหนีส้ นิ ไวในบัญชีเมือ่ ภาระผูกพันซึง่ เปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิดขึน้ แลว และมีความเปนไปไดคอ นขางแนนอน วาบริษัทฯจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และบริษัทฯสามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอยางนาเชื่อถือ 6.17 ภาษีเงินได บริษทั ฯและบริษทั ยอยในประเทศไทยบันทึกภาษีเงินไดตามจํานวนทีค่ าดวาจะจายใหกบั หนวยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณจากกําไรทางภาษี ตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร บริษัทยอยในตางประเทศคํานวณภาษีเงินไดตามอัตราภาษีที่ระบุในกฎหมายภาษีอากรของประเทศนั้น

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 106


§º¡ÒÃà§Ô¹

7. ¡ÒÃ㪌´ØžԹԨáÅлÃÐÁÒ³¡Ò÷ҧºÑÞªÕ·ÕèÊíÒ¤ÑÞ ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีทร่ี บั รองทัว่ ไป ฝายบริหารจําเปนตองใชดลุ ยพินจิ และการประมาณการในเรือ่ งทีม่ คี วามไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอจํานวนเงินที่แสดงในงบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ประมาณการไว การใชดุลยพินิจและการประมาณการที่สําคัญมีดังนี้ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ในการประมาณคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้ ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ แตละราย โดยคํานึงถึงประสบการณการเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงคางและสภาวะเศรษฐกิจที่เปนอยูในขณะนั้น เปนตน ที่ดิน อาคารและอุปกรณและคาเสื่อมราคา ในการคํานวณคาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ ฝายบริหารจําเปนตองทําการประมาณอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือเมื่อเลิกใชงาน ของอาคารและอุปกรณ และตองทบทวนอายุการใหประโยชนและมูลคาคงเหลือใหมหากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น นอกจากนี้ฝายบริหารจําเปนตองสอบทานการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณในแตละชวงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการดอยคาหากคาดวา มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ในการนี้ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจที่เกี่ยวของกับการคาดการณรายได และคาใชจายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพยนั้น ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชนและผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน หนี้สินตามโครงการผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงานและตามโครงการผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน ประมาณขึ้นตามหลัก คณิตศาสตรประกันภัย ซึ่งตองอาศัยขอสมมติฐานตางๆ ในการประมาณการนั้น เชน อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน เปนตน

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 107


§º¡ÒÃà§Ô¹

8. ÃÒ¡ÒøØáԨ¡Ñº¡Ô¨¡Ò÷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñ¹ ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยมีรายการธุรกิจที่สําคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน รายการธุรกิจดังกลาวเปนไปตามเงื่อนไขทางการคา และเกณฑที่ตกลงกันระหวางบริษัทฯและบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกันเหลานั้น ซึ่งเปนไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปไดดังนี้

งบการเงินรวม 2554 2553 รายการธุรกิจกับบริษัทยอย (ตัดออกจากงบการเงินรวมแลว) ขายสินคา ซื้อสินคาและวัตถุดิบ ดอกเบี้ยรับเงินใหกูยืม ดอกเบีย้ รับจากการชําระคาสินคาลาชา รายไดคาธรรมเนียมการค้ําประกัน คาบริการรับ คาจัดการรับ คาบริการจาย คานายหนาจาย

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

(หนวย: ลานบาท) นโยบายการกําหนดราคา

-

-

1,335 348 32 2 2 31 12 2 1

1,474 290 32 2 2 33 16 2 1

ราคาปกติธุรกิจใกลเคียงกับที่กิจการคิดกับลูกคารายอื่น ราคาตลาด อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5 ถึง 7.5 ตอป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป อัตรารอยละ 1 ตอป เกณฑที่ตกลงรวมกัน เกณฑที่ตกลงรวมกัน เกณฑที่ตกลงรวมกัน เกณฑที่ตกลงรวมกัน

9 610

16 501

9 603

16 494

ราคาปกติธุรกิจใกลเคียงกับที่กิจการคิดกับลูกคารายอื่น ราคาตลาด

รายการธุรกิจกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน ขายสินคา ซื้อสินคา ดอกเบี้ยรับเงินใหกูยืม คาบริการจาย

41 85 1 6

55 75 1 3

28 6

50 1 1 3

ราคาปกติธุรกิจใกลเคียงกับที่กิจการคิดกับลูกคารายอื่น ราคาตลาด อัตราดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป เกณฑที่ตกลงรวมกัน

รายการธุรกิจกับผูบริหารและกรรมการ ขายสินคา คานายหนาจาย

2

6 2

2

6 2

ราคาปกติธุรกิจใกลเคียงกับที่กิจการคิดกับลูกคารายอื่น เกณฑที่ตกลงรวมกัน

รายการธุรกิจกับบริษัทรวม ขายสินคา ซื้อสินคาและวัตถุดิบ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 108


§º¡ÒÃà§Ô¹

ยอดคงคางระหวางบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553

(หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 10) บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ

24 9 33 33

16 16 32 32

813 24 5 842 (124) 718

633 16 12 661 (51) 610

ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 10) บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) กรรมการของบริษัทยอย รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ

1 3 11 15 15

1 10 11 11

215 1 216 (103) 113

177 177 (17) 160

เงินทดรองจายเพื่อการลงทุน บริษัทยอย

-

-

5

5

ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย

-

-

49

45

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน (หมายเหตุ 23) บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) กรรมการของบริษัทยอย รวมเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นกิจการที่เกี่ยวของกัน

1 1

2 6 1 9

8 8

9 9

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 109


§º¡ÒÃà§Ô¹

ในระหวางป 2554 บริษัทฯไดบันทึกคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญที่เกิดจากลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - บริษัทยอยในกําไรหรือขาดทุนสําหรับป 2554 เปนจํานวนเงิน 158 ลานบาท (2553: 9 ลานบาท) ยอดคงคางของเงินใหกูยืมระหวางบริษัทฯและกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และการเคลื่อนไหวของเงินใหกูยืม ดังกลาวมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

งบการเงินรวม 2554 2553 เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมเงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ

16 16 16

16 16 16

53 53 (1) 52

52 52 (1) 51

เงินใหกยู มื ระยะยาวแกกจิ การทีเ่ กีย่ วของกันทีถ่ งึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ป บริษัทยอย

-

-

44

14

เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทยอย (สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป) บริษัทที่เกี่ยวของกัน (มีกรรมการรวมกัน) รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมเงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ

8 8 8

-

284 284 (6) 278

316 316 (6) 310

ในระหวางป 2554 เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันมีการเคลื่อนไหวดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินรวม

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท เอ-ลิส คอรปอเรท จํากัด บริษัท สุปรี โฮลดิ้ง จํากัด PT Pranda Marketing Indonesia

ลักษณะ ความสัมพันธ บริษัทที่เกี่ยวของกันโดยมีกรรมการ รวมกัน บริษัทที่เกี่ยวของกันโดยมีกรรมการ รวมกัน บริษัทที่เกี่ยวของกันโดยมีกรรมการ รวมกันกับบริษัทรวม

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 110

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 13

เพิ่มขึ้น ระหวางป -

ลดลง ระหวางป -

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 13

3

-

-

3

-

8

-

8


§º¡ÒÃà§Ô¹

(หนวย: ลานบาท)

เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด Pranda & Kroll GmbH & Co. KG Pranda UK Ltd. Pranda Singapore Pte. Limited

ลักษณะ ความสัมพันธ บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย บริษัทยอย

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 50

เพิ่มขึ้น ระหวางป -

115 209 8

1

งบการเงินเฉพาะกิจการ กําไรที่ ยังไมเกิดขึ้นจริง ลดลง จากการแปลงคา ระหวางป อัตราแลกเปลี่ยน (16) -

3 11 1

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 50 118 204 10

เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวม บริษัทยอยในประเทศแหงหนึ่งไดใหเงินกูยืมระยะสั้นแกบริษัท เอ-ลิส คอรปอเรท จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่เกี่ยวของกัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป มีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถามและค้ําประกันโดยกรรมการของบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาว นอกจากนี้ บริษัทยอยดังกลาวใหเงินกูยืมระยะ สั้นแกบริษัท สุปรี โฮลดิ้ง จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่เกี่ยวของกัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7 ตอป มีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถามและไมมีหลักทรัพย ค้ําประกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินใหกูยืมระยะสั้นแกบริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด และ Pranda Singapore Pte. Limited ซึ่งเปนบริษัทยอย คิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 6.5 ตอป และรอยละ 5 ตอป ตามลําดับ โดยมีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถามและไมมีหลักทรัพย์ค้ําประกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน งบการเงินรวม ในป 2554 บริษัทยอยในประเทศแหงหนึ่งไดใหเงินกูยืมระยะยาวแก PT Pranda Marketing Indonesia ซึ่งเปนบริษัทที่เกี่ยวของกัน เปนจํานวนเงิน 0.25 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือเปนจํานวนเงินประมาณ 8 ลานบาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป เงินใหกูยืมดังกลาวมีกําหนดชําระคืนเมื่อ ครบ 5 ปและค้ําประกันโดยใบหุนทั้งหมดของบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาว ภายใตสัญญาเงินใหกูยืมดังกลาว ไดกําหนดใหบริษัทยอยมีสิทธิเลือกที่จะใหบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาวชําระเงินกูคืนดวยเงินสดหรือใหสิทธิ บริษัทยอยแปลงเงินใหกูยืมบางสวนหรือทั้งหมดเปนหุนทุนที่ออกใหมของบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาว แตไมเกินรอยละ 55 ของจํานวนหุนทั้งหมด โดยกําหนดอัตราแปลงสภาพเทากับมูลคาที่ตราไวของหุนของบริษัทที่เกี่ยวของกันดังกลาว

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 111


§º¡ÒÃà§Ô¹

งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย Pranda Singapore Pte. Limited มีกําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม ไมมีหลักทรัพย์ค้ําประกันและไมคิดดอกเบี้ย เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย Pranda & Kroll GmbH & Co. KG มีกําหนดใหชําระคืนเงินตนเปนรายไตรมาสตั้งแตเดือนมีนาคม 2555 ถึง ธันวาคม 2557 ไมมีหลักทรัพยค้ําประกันและมีกําหนดชําระดอกเบี้ยทุกไตรมาส โดยคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป เงินใหกูยืมระยะยาวแกบริษัทยอย Pranda UK Ltd. มีกําหนดชําระคืนภายในระยะเวลา 10 ป โดยจายชําระคืนเงินตนทุกไตรมาสตั้งแตเดือนมีนาคม 2553 ถึง ธันวาคม 2562 ไมมีหลักทรัพย์ค้ําประกัน และมีกําหนดชําระดอกเบี้ยทุกไตรมาส โดยคิดอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร ในระหวางปสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีคา ใชจา ยผลประโยชนพนักงานของกรรมการและผูบ ริหาร ดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 38 29 1 39 29

งบการเงินรวม 2554 2553 86 78 2 1 89 78

ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน ผลประโยชนระยะยาวอื่น รวม

ภาระค้ําประกันกับกิจการที่เกี่ยวของกัน บริษัทฯมีภาระจากการค้ําประกันใหกับกิจการที่เกี่ยวของกันตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 36.3 ก)

9. à§Ô¹Ê´áÅÐÃÒ¡ÒÃà·Õº෋Òà§Ô¹Ê´ งบการเงินรวม 2554 2553 3,235 3,311 344,019 302,400 90,000 80,000 437,254 385,711

เงินสดในมือ เงินฝากธนาคาร ตั๋วแลกเงิน รวม

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 366 361 116,704 127,018 90,000 80,000 207,070 207,379

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เงินฝากธนาคารและตั๋วแลกเงินมีอัตราดอกเบี้ยระหวางรอยละ 0.05 ถึง 3.15 ตอป (2553: รอยละ 0.01 ถึง 1.9 ตอป)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 112


§º¡ÒÃà§Ô¹

10. Å١˹Õé¡ÒäŒÒáÅÐÅ١˹ÕéÍ×è¹ งบการเงินรวม 2554 2553 ลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถึงกําหนดชําระ ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ ลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน อายุหนี้คงคางนับจากวันที่ถึงกําหนดชําระ ยังไมถึงกําหนดชําระ คางชําระ ไมเกิน 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน - สุทธิ รวมลูกหนี้การคา - สุทธิ ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน ลูกหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน ดอกเบี้ยคางรับ รายไดคางรับ รวม หัก: คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รวมลูกหนี้อื่น - สุทธิ รวมลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น - สุทธิ

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553

1,842

13,365

216,751

215,484

3,957 9,557 10,639 7,376 33,371 33,371

16,277 1,995 9 208 31,854 31,854

138,708 75,376 140,904 269,814 841,553 (123,748) 717,805

178,488 75,090 118,790 73,584 661,436 (51,044) 610,392

364,373

300,641

183,497

102,700

243,807 32,885 28,023 256,576 925,664 (120,456) 805,208 838,579

351,578 38,461 31,041 277,461 999,182 (136,021) 863,161 895,015

73,775 4,494 2,085 173,286 437,137 (79,046) 358,091 1,075,896

67,251 2,270 2,101 202,264 376,586 (95,427) 281,159 891,551

14,760 21,002 1,043 5,038 41,843 (1,142) 40,701 879,280

10,791 27,347 1,025 2,257 41,420 (1,142) 40,278 935,293

215,929 4,495 1,043 221,467 (102,535) 118,932 1,194,828

177,319 11,675 1,025 190,019 (16,987) 173,032 1,064,583

ในระหวางป 2554 บริษัทยอยในตางประเทศแหงหนึ่ง คือ Pranda North America, Inc. มีรายการขายใหแกลูกคารายใหญรายหนึ่งเปนจํานวนเงิน 21 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 631 ลานบาท คิดเปนรอยละ 90 ของยอดขายสุทธิของบริษัทยอย (2553: จํานวนเงิน 27 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 872 ลานบาท คิดเปนรอยละ 86 ของยอดขายสุทธิของบริษัทยอย) ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 113


§º¡ÒÃà§Ô¹

11. ÊÔ¹¤ŒÒ¤§àËÅ×Í (หนวย: พันบาท)

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน สินคาระหวางทาง รวม

2554 1,175,139 249,030 595,392 11,994 1,180 2,032,735

2553 1,055,196 225,178 539,215 9,171 10,960 1,839,720

งบการเงินรวม รายการปรับลดราคาทุนเปน มูลคาสุทธิที่จะไดรับ 2554 2553 (127,292) (133,768) (88,253) (89,944) (215,545) (223,712)

สินคาคงเหลือ-สุทธิ 2554 2553 1,047,847 921,428 249,030 225,178 507,139 449,271 11,994 9,171 1,180 10,960 1,817,190 1,616,008 (หนวย: พันบาท)

ราคาทุน สินคาสําเร็จรูป งานระหวางทํา วัตถุดิบ วัสดุโรงงาน สินคาระหวางทาง รวม

2554 244,011 240,614 512,766 6,915 814 1,005,120

2553 219,734 217,590 462,543 5,957 142 905,966

งบการเงินเฉพาะกิจการ รายการปรับลดราคาทุนเปน มูลคาสุทธิที่จะไดรับ 2554 2553 (81,884) (80,684) (84,326) (85,026) (166,210) (165,710)

สินคาคงเหลือ-สุทธิ 2554 2553 162,127 139,050 240,614 217,590 428,440 377,517 6,915 5,957 814 142 838,910 740,256

12. à§Ô¹½Ò¡¸¹Ò¤Ò÷ÕèÁÕÀÒÃФéíÒ»ÃСѹ ยอดคงเหลือนี้เปนเงินฝากธนาคารของบริษัทยอยที่นําไปค้ําประกันวงเงินสินเชื่อสําหรับสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาและหนังสือค้ํา ประกันที่ออกโดยธนาคารในนามของบริษัทยอย เพื่อวัตถุประสงคในการค้ําประกันการใชไฟฟา

13. à§Ô¹Å§·Ø¹ã¹ËØŒ¹¡ÙŒá»Å§ÊÀÒ¾·ÕèÍÍ¡â´ÂºÃÔÉѷ‹Í ในป 2552 บริษัทยอยในประเทศอินเดีย Pranda Jewelry Private Limited ไดออกและเสนอขายหุนกูแปลงสภาพ (Fully Compulsorily Convertible Debentures) ชนิดไมดอยสิทธิและไมมีหลักประกันจํานวน 69,000 หนวย มูลคาหนวยละ 1,000 รูปอินเดีย มูลคารวม 69 ลานรูปอินเดีย ใหกับ บริษัทฯ โดยหุนกูดังกลาวทั้งหมดจะถูกแปลงสภาพเปนหุนทุนที่ชําระเต็มมูลคาแลวของบริษัทยอยดังกลาวไดตั้งแตวันที่ที่ตกลงรวมกันภายหลัง จากวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และจะครบกําหนดในวันที่ 31 ธันวาคม 2559 ทั้งนี้ อัตราการแปลงสภาพหุนกูเปนหุนทุนจะถูกคํานวณ ณ วันที่ทําการ แปลงสภาพตามกฎหมายที่เกี่ยวของในประเทศอินเดีย ภายใตสัญญาหุนกูดังกลาว กําหนดใหบริษัทยอยจายชําระดอกเบี้ยเปนรายไตรมาส อัตราดอกเบี้ยอยูระหวางรอยละ 7.5 ถึง 15 ตอป นอกจากนี้ ภายใตสัญญาหุนกูดังกลาวไดกําหนดเงื่อนไขใหบริษัทยอยมีสิทธิซื้อหุนทุนจากการแปลงสภาพคืนจากบริษัทฯ ในวันที่หรือภายหลังจากวันที่มีการ ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 114


§º¡ÒÃà§Ô¹

แปลงสภาพ และในกรณีที่บริษัทยอยดังกลาวไมสามารถซื้อหุนทุนจากการแปลงสภาพคืนจากบริษัทฯ ได บริษัทฯจะเสนอขายหุนทุนจากการแปลง สภาพสว นหนึ่ ง ให แ กผู ถ ือ หุ น สว นน อ ยของบริษั ท ยอ ยเพื่อ ให ส ัด สว นการถือ หุ นของบริษั ท ฯและผู ถ ือ หุ น สว นน อ ยในบริษั ท ยอ ยดั ง กลา วไม เปลี่ยนแปลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมียอดคงเหลือของหุนกูแปลงสภาพเปนจํานวน 69,000 หนวย มูลคาหนวยละ 1,000 รูปอินเดีย มูลคารวม 69 ลานรูปอินเดีย หรือเปนจํานวนเงินประมาณ 37 ลานบาท (2553: 43 ลานบาท) โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 7.5 ตอป

14. à§Ô¹Å§·Ø¹ã¹ºÃÔÉѷ‹Í เงินลงทุนในบริษัทยอยตามที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท) บริษัท

ทุนเรียกชําระแลว 2554 2553

Pranda North America, Inc.

2

H.GRINGOIRE s.a.r.l. Pranda UK Ltd. Pranda Vietnam Co., Ltd.

5 0.5 1.5

Pranda Singapore Pte. Limited Pranda Acceptance Sdn. Bhd. (ถือหุนโดย Pranda Singapore Pte. Limited) บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท คริสตอลไลน จํากัด บริษัท แพรนดา ลอดจิ้ง จํากัด Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi Pranda & Kroll GmbH & Co. KG KSV Brand GmbH (ถือหุนโดย Pranda & Kroll GmbH & Co. KG ) Pranda Jewelry Private Limited รวม หัก: คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย - สุทธิ

3 200 100 50 2.35

5.34 1

หนวย เงินตรา

2 พันเหรียญ สหรัฐฯ 5 ลานยูโร 0.5 ลานปอนด 1.5 ลานเหรียญ สหรัฐฯ

3 ลานเหรียญ สิงคโปร 200 ลานบาท 100 ลานบาท 50 ลานบาท 2.35 ลานเหรียญ สหรัฐฯ

5.34 ลานยูโร 1 ลานรูปอินเดีย

บริษัทฯไมมีเงินปนผลรับจากการลงทุนในบริษัทยอยในระหวางป 2554 และ 2553

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 115

อัตรารอยละของ การถือหุน 2554 2553 รอยละ รอยละ 100 100

ราคาทุน 2554

2553

120,283

120,283

100 100 100

100 100 100

344,423 28,973 48,180

344,423 28,973 48,180

100

100

53,681

53,681

100 96 83 100

100 96 83 100

200,000 96,000 41,125 81,396

200,000 96,000 41,125 81,396

51 51

51 51

164,341 436 1,178,838 (491,490) 687,348

164,341 436 1,178,838 (491,490) 687,348


§º¡ÒÃà§Ô¹

ในเดือนธันวาคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 15/2554 มีมติอนุมัติใหบริษัทฯเพิ่มทุนในบริษัทยอยในตางประเทศ คือ Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi เปนจํานวนเงิน 1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 31 ลานบาท จากเดิมมีทุนจดทะเบียน 2.35 ลาน เหรียญสหรัฐอเมริกา เพิ่มขึ้นเปน 3.35 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ตอมา บริษัทฯไดจายเงินเพิ่มทุนบางสวนเปนจํานวน 0.3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 9 ลานบาท ในบริษัทยอยดังกลาวและบันทึก บัญชีเงินลงทุนแลวในเดือนมกราคม 2555 ผลจากการเพิ่มทุนดังกลาวทําใหบริษัทฯมีเงินลงทุนในบริษัทยอยดังกลาวรวมเปนจํานวน 2.65 ลาน เหรียญสหรัฐอเมริกาหรือประมาณ 90 ลานบาท โดยที่บริษัทฯยังคงมีสัดสวนการถือหุนคิดเปนรอยละ 100

15. à§Ô¹Å§·Ø¹ã¹ºÃÔÉѷËÇÁ 15.1 รายละเอียดของบริษัทรวม (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม บริษัท

จัดตั้งขึ้นใน ประเทศ

ลักษณะธุรกิจ

บริษัท เคแซด-แพรนดา จํากัด

นําเขาและจําหนายวัตถุดิบ โลหะมีคา

สัดสวนเงินลงทุน 2554 2553 รอยละ รอยละ

เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย 2554 2553

ไทย

- ราคาทุน - สวนแบงกําไร (ขาดทุน) สะสม PT. Sumberkreasi Ciptalogam ผลิตและจําหนายเครื่องประดับ (เดิมชื่อ P.T. Pranda SCL Indonesia) (ถือหุนโดยบริษัทยอย) - ราคาทุน - สวนแบงกําไรสะสม - ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปน เงินตราตางประเทศ

40

40

3,600 (3,600) -

3,600 648 4,248

50

50

39,409 26,118

39,409 25,044

(6,197) 59,330 59,330

(8,734) 55,719 59,967

อินโดนีเซีย

รวมมูลคาตามบัญชีตามวิธีสวนไดเสีย

(หนวย: พันบาท)

บริษัท

บริษัท เคแซด-แพรนดา จํากัด

จัดตั้งขึ้น ในประเทศ สัดสวนเงินลงทุน 2554 2553 รอยละ รอยละ นําเขาและจําหนาย ไทย 40 40 วัตถุดิบโลหะมีคา ลักษณะธุรกิจ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 116

งบการเงินเฉพาะกิจการ คาเผื่อการดอยคา ราคาทุน ของเงินลงทุน 2554 2553 2554 2553 3,600

3,600

(3,600)

(3,600)

มูลคาตามบัญชี ตามวิธีราคาทุน - สุทธิ 2554 2553 -

-


§º¡ÒÃà§Ô¹

15.2 สวนแบงกําไร (ขาดทุน) ในระหวางป บริษัทฯและบริษัทยอยรับรูสวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากการลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินรวม ดังนี้ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวมในระหวางป 2554 2553 1,074 (12,654) (4,248) 2,294 (3,174) (10,360)

บริษัท PT. Sumberkreasi Ciptalogam (เดิมชื่อ P.T. Pranda SCL Indonesia) บริษัท เคแซด-แพรนดา จํากัด รวม

บริษัทฯและบริษัทยอยไมมีเงินปนผลรับจากการลงทุนในบริษัทรวมในระหวางป 2554 และ 2553 15.3 ขอมูลทางการเงินของบริษัทรวม ขอมูลทางการเงินตามที่แสดงอยูในงบการเงินของบริษัทรวมโดยสรุปมีดังนี้ (หนวย: ลานบาท) กําไร รายไดรวม (ขาดทุน) ทุนเรียกชําระ สินทรัพยรวม หนี้สินรวม สําหรับป สําหรับป ณ วันที่ ณ วันที่ ณ วันที่ สิ้นสุดวันที่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม หนวยเงินตรา 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 9 9 ลานบาท 306 194 311 184 2,513 1,729 (15) 6 4,000 4,000 ลานรูเปยอินโดนีเซีย 270 220 193 145 190 159 2 (23)

บริษัท บริษัท เคแซด-แพรนดา จํากัด PT. Sumberkreasi Ciptalogam (เดิมชื่อ P.T. Pranda SCL Indonesia)

15.4 เงินลงทุนในบริษัทรวมที่ขาดทุนเกินทุน บริษัทฯมีเงินลงทุนในบริษัทรวมแหงหนึ่ง ซึ่งบริษัทไดรับรูสวนแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวมดังกลาวจนมูลคาตามบัญชีตามวิธีสวนได เสียเทากับศูนย บริษัทฯไดหยุดรับรูสวนแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวมเนื่องจากบริษัทฯไมไดมีภาระผูกพันตามกฎหมายหรือทางพฤตินัย ที่ตองจายเงินเพื่อชําระภาระผูกพันของบริษัทรวมดังกลาว โดยมีรายละเอียดดังนี้ (หนวย: ลานบาท) สวนแบงผลขาดทุนที่หยุดรับรู สวนแบงผลขาดทุน ในระหวางป สําหรับปสิ้นสุด สวนแบงผลขาดทุนสะสม วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2 2

บริษัท บริษัท เคแซด-แพรนดา จํากัด

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 117


§º¡ÒÃà§Ô¹

16. à§Ô¹Å§·Ø¹ÃÐÂÐÂÒÇÍ×è¹ ยอดคงเหลือนี้ คือ เงินลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลโดยจัดเปนตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด บริษัทฯไดนําพันธบัตรรัฐบาลบางสวนไปค้ําประกันภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯ

17. ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ à¾×èÍ¡ÒÃŧ·Ø¹ มูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม ที่ดินและ ที่ดิน อาคาร รอการพัฒนา ใหเชา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554: ราคาทุน หัก: คาเสื่อมราคาสะสม หัก: คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553: ราคาทุน หัก: คาเสื่อมราคาสะสม หัก: คาเผื่อการดอยคา มูลคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ ที่ดินและ ที่ดิน อาคาร รอการพัฒนา ใหเชา รวม

667,381 (188,016) 479,365

66,852 (36,396) 30,456

734,233 (36,396) (188,016) 509,821

667,381 (188,016) 479,365

20,245 (8,752) 11,493

687,626 (8,752) (188,016) 490,858

667,381 (245,652) 421,729

66,852 (33,538) 33,314

734,233 (33,538) (245,652) 455,043

667,381 (245,652) 421,729

20,245 (8,124) 12,121

687,626 (8,124) (245,652) 433,850

การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนสําหรับป 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 455,043 456,364 1,537 (2,858) (2,858) 57,636 509,821 455,043

มูลคาสุทธิตามบัญชีตนป - ตามที่จัดประเภทใหม ซื้อสินทรัพย - ราคาทุน คาเสื่อมราคา โอนกลับคาเผื่อการดอยคา มูลคาสุทธิตามบัญชีปลายป

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 433,850 434,476 (628) (626) 57,636 490,858 433,850

ในเดือนมีนาคม 2554 บริษัทฯไดจัดใหผูประเมินราคาอิสระทําการประเมินมูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนที่เปนที่ดินรอการพัฒนา สําหรับโครงการในอนาคต โดยใชเกณฑราคาตลาด (“Market Approach”) มูลคายุติธรรมที่ประเมินใหมของที่ดินรอการพัฒนาบางสวนมีมูลคาสูง กวามูลคาสุทธิตามบัญชี บริษัทฯจึงไดบันทึกโอนกลับรายการขาดทุนจากการดอยคาสุทธิที่เคยรับรูในงวดกอนเปนจํานวนเงิน 58 ลานบาท ในกําไร หรือขาดทุนรวมและเฉพาะกิจการสําหรับป 2554

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 118


§º¡ÒÃà§Ô¹

มูลคายุติธรรมของอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม 524,120 63,390

ที่ดินรอการพัฒนา ที่ดินและอาคารใหเชา

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 524,120 58,949

มูลคายุตธิ รรมของทีด่ นิ รอการพัฒนาใชเกณฑราคาตลาดทีป่ ระเมินโดยผูป ระเมินราคาอิสระ และสําหรับทีด่ นิ และอาคารใหเชาประเมินมูลคายุตธิ รรม โดยใชเกณฑราคาตลาด บริษัทฯ และบริษัทยอยไดนําอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนประมาณ 487 ลานบาท (2553: 429 ลานบาท) ไปจดจํานองเพือ่ ค้าํ ประกันวงเงินสินเชือ่ ทีไ่ ดรบั จากธนาคารพาณิชย (งบการเงินเฉพาะบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554: 490 ลานบาท, 2553: 433 ลานบาท)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 119


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

120

1 มกราคม 2553 ซือ้ เพิม่ จําหนาย โอน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม จําหนาย โอน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินทีเ่ ปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2554 คาเสือ่ มราคาสะสม - ปรับปรุงใหม / จัดประเภทใหม 1 มกราคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2554

ราคาทุน - ปรับปรุงใหม / จัดประเภทใหม

18. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³

-

76,457 22,291 (296) 98,452 142 98,594

ที่ดิน

5,937 255 6,192 339 6,531

7,576 17 7,593 2,065 9,658

สวนปรับปรุง ที่ดิน

241,201 19,547 (2,376) 258,372 19,684 1,421 279,477

393,695 19,534 1,954 (5,327) 409,856 70 9,137 2,717 421,780

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร

25,687 1,541 (6,371) (1,720) 19,137 4,908 349 24,394

32,152 6,232 (6,378) (2,262) 29,744 6,343 530 36,617

สวนปรับปรุง สินทรัพยเชา

122,756 15,298 (461) (1,743) 135,850 17,691 (2,861) 801 151,481

171,162 7,705 (461) 800 (2,924) 176,282 11,970 (3,129) 21,407 1,181 207,711 346,494 27,043 (34,238) (7,376) 331,923 26,950 (19,132) 1,305 341,046

427,452 22,725 (36,288) 1,662 (10,797) 404,754 29,524 (19,730) 12,823 1,545 428,916

งบการเงินรวม เครื่องตกแตงติด เครื่องจักร ตั้งและเครื่องใช และอุปกรณ สํานักงาน

19,317 2,900 (932) (412) 20,873 3,774 (4,175) 186 20,658

26,205 5,668 (933) 24 (716) 30,248 5,827 (4,175) 206 32,106

-

2,132 28,683 (9) (4,440) 26,366 55,657 (1,765) (45,432) 34,826

สินทรัพยระหวาง ยานพาหนะ ติดตั้งและกอสราง

761,392 66,584 (42,002) (13,627) 772,347 73,346 (26,168) 4,062 823,587

1,136,831 112,855 (44,069) (22,322) 1,183,295 109,391 (28,799) 6,321 1,270,208

รวม

(หนวย: พันบาท)


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

121

ที่ดิน

สวนปรับปรุง ที่ดิน 10,607 12,223

151,484 142,303

สวนปรับปรุง สินทรัพยเชา

-

อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร

1 มกราคม 2553 บันทึกเพิ่มขึ้นระหวางป คาเผื่อการดอยคาสําหรับสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554 มูลคาสุทธิตามบัญชี - ปรับปรุงใหม / จัดประเภทใหม 31 ธันวาคม 2553 98,452 1,401 31 ธันวาคม 2554 98,594 3,127 คาเสื่อมราคาสําหรับปี 2553 (34 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 2554 (37 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

คาเผือ่ การดอยคา

18. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³ (μ‹Í)

40,432 56,230

60,998 76,037

11,637 585 (389) 11,833 11,833

งบการเงินรวม เครื่องตกแตงติด เครื่องจักร ตั้งและเครื่องใช และอุปกรณ สํานักงาน

9,375 11,448

-

26,366 34,826

-

สินทรัพยระหวาง ยานพาหนะ ติดตั้งและกอสราง

66,584 73,346

399,115 434,788

11,637 585 (389) 11,833 11,833

รวม

(หนวย: พันบาท)


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

122

1 มกราคม 2553 ซือ้ เพิม่ จําหนาย โอน 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม จําหนาย โอน 31 ธันวาคม 2554 คาเสือ่ มราคาสะสม - ปรับปรุงใหม / จัดประเภทใหม 1 มกราคม 2553 คาเสือ่ มราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคาสําหรับป คาเสื่อมราคาสําหรับสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2554

ราคาทุน - ปรับปรุงใหม / จัดประเภทใหม

18. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³ (μ‹Í)

-

66,279 22,291 88,570 88,570

ที่ดิน

5,937 255 6,192 339 6,531

7,576 17 7,593 2,065 9,658

สวนปรับปรุง ที่ดิน

210,270 13,731 224,001 14,269 238,270

293,387 19,534 1,954 314,875 70 9,138 324,083

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร

104,689 13,758 (461) 117,986 16,053 (2,729) 131,310

144,957 5,074 (461) 800 150,370 11,145 (2,871) 21,406 180,050 212,692 10,278 (11,452) 211,518 10,572 (15,173) 206,917

249,160 6,372 (12,005) 1,171 244,698 9,155 (15,456) 12,574 250,971 12,241 1,712 (444) 13,509 2,592 (2,913) 13,188

15,303 5,226 (444) 20,085 3,422 (2,913) 20,594

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแตง เครื่องจักรและ ติดตั้งและเครื่องใช อุปกรณ สํานักงาน ยานพาหนะ

-

2,132 27,741 (9) (3,925) 25,939 55,407 (1,337) (45,183) 34,826

สินทรัพยระหวาง ติดตั้งและกอสราง

545,829 39,734 (12,357) 573,206 43,825 (20,815) 596,216

778,794 86,255 (12,919) 852,130 79,199 (22,577) 908,752

รวม

(หนวย: พันบาท)


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

123

ที่ดิน

สวนปรับปรุง ที่ดิน

1 มกราคม 2553 บันทึกเพิ่มขึ้นระหวางป คาเผื่อการดอยคาสําหรับสวนที่จําหนาย 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554 มูลคาสุทธิตามบัญชี - ปรับปรุงใหม / จัดประเภทใหม 31 ธันวาคม 2553 88,570 1,401 31 ธันวาคม 2554 88,570 3,127 คาเสื่อมราคาสําหรับป 2553 (28 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร) 2554 (32 ลานบาท รวมอยูในตนทุนการผลิต สวนที่เหลือรวมอยูในคาใชจายในการขายและบริหาร)

คาเผื่อการดอยคา

18. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³ (μ‹Í)

32,384 48,740

90,874 85,813

อาคารและสวน ปรับปรุงอาคาร

21,347 32,221

11,637 585 (389) 11,833 11,833

6,576 7,406

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่องตกแตง เครื่องจักรและ ติดตั้งและเครื่องใช อุปกรณ สํานักงาน ยานพาหนะ

25,939 34,826

-

สินทรัพยระหวาง ติดตั้งและกอสราง

39,734 43,825

267,091 300,703

11,637 585 (389) 11,833 11,833

รวม

(หนวย: พันบาท)


§º¡ÒÃà§Ô¹

18. ·Õè´Ô¹ ÍÒ¤ÒÃáÅÐÍØ»¡Ã³ (μ‹Í) การกระทบยอดมูลคาตามบัญชีของที่ดิน อาคารและอุปกรณสําหรับป 2554 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 - ตามที่รายงานไวเดิม ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี (หมายเหตุ 5.1) โอนจัดประเภทรายการใหม มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 - ปรับปรุงใหม ซื้อเพิ่มระหวางป - ราคาทุน จําหนายระหวางป - มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่จําหนาย คาเสื่อมราคาสําหรับป ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศในระหวางป มูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

642,692

488,515

(209,303) (34,274) 399,115 109,391 (2,631) (73,346) 2,259 434,788

(209,303) (12,121) 267,091 79,199 (1,762) (43,825) 300,703

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯ และบริษัทยอยมีอาคารและอุปกรณจํานวนหนึ่งซึ่งตัดคาเสื่อมราคาหมดแลวแตยังใชงานอยู มูลคาตามบัญชี กอนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยดังกลาวมีจํานวนเงินประมาณ 450 ลานบาท (2553: 431 ลานบาท) (งบการเงินเฉพาะ บริษัทฯ 2554: 324 ลานบาท, 2553: 311 ลานบาท) บริษัทฯ และบริษัทยอยไดนําที่ดิน อาคารและอุปกรณมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนประมาณ 148 ลานบาท (2553: 168 ลานบาท) ไปค้ําประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชย (งบการเงินเฉพาะบริษัทฯ 2554: 97 ลานบาท, 2553: 115 ลานบาท)

19. ÊÔ·¸Ô¡ÒÃàª‹Ò งบการเงินรวม 2554 2553 62,830 69,756 (29,755) (33,976) (36) 33,075 35,744 2,484 2,484

สิทธิการเชา - ราคาทุน หัก: คาตัดจําหนายสะสม ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ สิทธิการเชา - สุทธิ คาตัดจําหนายที่รวมอยูในกําไรหรือขาดทุนสําหรับป

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 -

บริษัทยอยในประเทศแหงหนึ่งไดนําสิทธิการเชาซึ่งมีมูลคาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนประมาณ 25 ลานบาท (2553: 27 ลาน บาท) ไปค้ําประกันวงเงินสินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชย

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 124


§º¡ÒÃà§Ô¹

20. ¤‹Ò¤ÇÒÁ¹ÔÂÁ (หนวย: พันบาท) งบการเงินรวม

คาความนิยม หัก: คาตัดจําหนายสะสม ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ รวม หัก: คาเผื่อการดอยคาของคาความนิยม คาความนิยม - สุทธิ

2554

2553

90,278 (26,169) (1,761) 62,348 (62,348) -

90,278 (26,169) (1,761) 62,348 (62,348) -

21. ÊÔ¹·ÃѾ äÁ‹ÁÕμÑÇμ¹Í×è¹ มูลคาตามบัญชีของสินทรัพยไมมีตัวตนอื่น คือซอฟทแวรคอมพิวเตอร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม ราคาทุน : 1 มกราคม 2553 ซื้อเพิ่ม ตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อเพิ่ม ตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2554 คาตัดจําหนายสะสม: 1 มกราคม 2553 คาตัดจําหนายระหวางป คาตัดจําหนายสะสมสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2553 คาตัดจําหนายระหวางป คาตัดจําหนายสะสมสําหรับสวนที่ตัดจําหนาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงินที่เปนเงินตราตางประเทศ 31 ธันวาคม 2554 มูลคาตามบัญชี : 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554 ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 125

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ

33,661 15,577 (1,063) (3,004) 45,171 2,610 (485) 842 48,138

10,729 9,032 19,761 879 20,640

7,973 4,875 (1,009) (1,349) 10,490 6,613 (485) 227 16,845

1,056 2,148 3,204 3,646 6,850

34,681 31,293

16,557 13,790


§º¡ÒÃà§Ô¹

22. à§Ô¹àºÔ¡à¡Ô¹ºÑÞªÕáÅÐà§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÊÑ鹨ҡʶҺѹ¡ÒÃà§Ô¹ (หนวย: พันบาท) อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป) เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน รวม

MOR MMR, MLR

งบการเงินรวม 2554 2553 3,953 6,355 394,179 339,796 398,132 346,151

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 270,000 270,763 270,000 270,763

วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริษัทฯ ค้ําประกันโดยการจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางและอสังหาริมทรัพยเพื่อ การลงทุน รวมทั้งการค้ําประกันโดยกรรมการของบริษัทฯ วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินของบริษทั ยอยในประเทศแหงหนึง่ ค้าํ ประกันโดยการจดจํานองสิทธิการเชาในศูนยการคา บางแหงของบริษัทยอยและค้ําประกันโดยบริษัทฯและกรรมการของบริษัทฯและบริษัทยอยดังกลาว วงเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินของบริษทั ยอยในตางประเทศแหงหนึง่ ค้าํ ประกันโดยบริษทั ฯและกรรมการของบริษทั ยอย

23. ਌Ò˹Õé¡ÒäŒÒáÅÐ਌Ò˹ÕéÍ×è¹ งบการเงินรวม 2554 2553 1,187 8,588 880,718 773,079 208 154 35,103 16,431 84,203 97,094 1,001,419 895,346

เจาหนี้การคา - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้อื่น - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน คาใชจายคางจาย รวมเจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 126

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 7,593 7,669 799,635 638,073 765 1,404 10,831 9,156 36,957 37,351 855,781 693,653


§º¡ÒÃà§Ô¹

24. à§Ô¹¡ÙŒÂ×ÁÃÐÂÐÂÒÇ (หนวย: พันบาท) เงินกู

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

1 2 3 4 5 6

MLR MLR ลบ 0.5 MLR MLR บวก 0.5 MLR 7.25

กําหนดชําระคืน เปนรายไตรมาสตั้งแตเดือนตุลาคม 2545 ถึงมกราคม 2554 เปนรายไตรมาสตั้งแตเดือนมิถุนายน 2550 ถึงธันวาคม 2557 เปนรายเดือนตั้งแตเดือนมกราคม 2550 ถึงธันวาคม 2560 เปนรายเดือนตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2552 ถึงธันวาคม 2558 เปนรายเดือนตั้งแตตุลาคม 2552 ถึง มิถุนายน 2559 เปนรายเดือนตั้งแตกรกฎาคม 2550 ถึงมิถุนายน 2565 (เงินกู ยืมสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา)

รวม หัก: สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป

งบการเงินรวม 2554 2553 33,230 75,110 100,110 5,452 6,362 6,029 7,244 22,915 27,060 8,218 8,298 117,724 (32,156) 85,568

182,304 (65,185) 117,119

งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 33,230 75,110 100,110 75,110 (25,000) 50,110

133,340 (58,230) 75,110

เงินกูยืมระยะยาวของบริษัทฯค้ําประกันโดยการจํานองที่ดินพรอมสิ่งปลูกสรางและอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนรวมทั้งการค้ําประกันโดย กรรมการของบริษัทฯ นอกจากนี้ ภายใตสัญญาเงินกู บริษัทฯ ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการ เชน การดํารงอัตราสวนหนี้สินตอ สวนของผูถือหุนใหเปนไปตามสัญญา เปนตน เงินกูย มื ระยะยาวของบริษทั ยอยในประเทศเปนเงินกูย มื จากธนาคารพาณิชยในประเทศ ซึง่ ค้าํ ประกันโดยการจดจํานองหองชุดสํานักงาน อสังหาริมทรัพย เพื่อการลงทุนและสิทธิการเชาบางแหงของบริษัทยอยและค้ําประกันโดย บริษัทฯและกรรมการของบริษัทยอยดังกลาว นอกจากนี้ ภายใตสัญญา เงินกู บริษัทยอยตองปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินบางประการ เชน การดํารงอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุนใหเปนไปตามสัญญา เปนตน เงินกูยืมระยะยาวของบริษัทยอยในตางประเทศ Pranda North America Inc. เปนเงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง ค้ําประกันโดยที่ดินและอาคารของบริษัทยอยดังกลาว

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 127


10,899 5,223 (3,231) 156,947

8,422 4,498 (3,231) 130,245

1,044 325 (1,396) 8,469

867 290 (1,156) 7,518

11,943 5,548 (4,627) 165,416

อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือนในอนาคต อัตราการเปลี่ยนแปลงในจํานวนพนักงาน (ขึ้นกับชวงอายุของพนักงาน)

งบการเงินรวม (รอยละตอป) 1-4 2-7 1 - 55

สมมติฐานที่สําคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันประเมินสรุปไดดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ (รอยละตอป) 3.86 3-7 1 - 55

(หนวย: พันบาท)

9,289 4,788 (4,387) 137,763

รวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 128,073

คาใชจายเกี่ยวกับผลประโยชนระยะยาวของพนักงานรวมอยูในกําไรหรือขาดทุนรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 17 ลานบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 14 ลานบาท)

ผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชน ของพนักงานโดยปรับกับกําไรสะสมตนป (หมายเหตุ 5.2) ตนทุนบริการในปจจุบัน ตนทุนดอกเบี้ย ผลประโยชนที่จายในระหวางป ยอดคงเหลือปลายป

โครงการเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน โครงการผลประโยชนระยะยาวอื่นของพนักงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินรวม 144,056 120,556 8,496 7,517 152,552

จํานวนเงินสํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แสดงไดดังนี้

25.ÊíÒÃͧ¼Å»ÃÐ⪹ ÃÐÂÐÂÒǢͧ¾¹Ñ¡§Ò¹

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

128


§º¡ÒÃà§Ô¹

26. ãºÊíÒ¤ÑÞáÊ´§ÊÔ·¸Ô·Õè¨Ð«×éÍËØŒ¹ÊÒÁÑޢͧºÃÔÉÑ·Ï เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2551 ที่ประชุมสามัญประจําปผูถือหุนของบริษัทฯไดมีมติอนุมัติการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ ของบริษทั ฯชนิดระบุชอ่ื ผูถ อื และไมสามารถเปลีย่ นมือได เพือ่ จัดสรรใหแกกรรมการและพนักงานของบริษทั ฯและ/หรือบริษทั ยอยตามโครงการ ESOP จํานวน 14,251,410 หนวย โดยไมคิดมูลคาใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯและกําหนดราคาใชสิทธิเทากับ 3 บาทตอหนวย ใน อัตราสวน 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิตอ 1 หุนสามัญ ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวมีอายุ 5 ปนับตั้งแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ และมีระยะเวลาใช สิทธิทุก 6 เดือน ตอมา เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2552 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 2/2552 ไดมีมติอนุมัติจัดสรรและกําหนดวันออกใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อหุนสามัญในวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 โดยเริ่มใชสิทธิครั้งแรกในวันที่ 28 สิงหาคม 2552 การเปลี่ยนแปลงในจํานวนหนวยของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญแสดงดังนี้ (จํานวนหนวย) 1,4251,410 (4,919,764) (283,000) 9,048,646 (2,663,400) (200,000) 12,000 6,197,246

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญทั้งหมด จํานวนใชสิทธิในระหวางป 2552 - 2553 ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิของผูถือที่พนสภาพการเปนพนักงานในระหวางป 2552 - 2553 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จํานวนใชสิทธิในระหวางป 2554 ยกเลิกใบสําคัญแสดงสิทธิของผูถือที่พนสภาพการเปนพนักงานในระหวางป 2554 โอนกลับใบสําคัญแสดงสิทธิที่ถูกยกเลิกในระหวางป 2554 ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

27. ·Ø¹àÃ×͹ËØŒ¹/ʋǹà¡Ô¹ÁÙŤ‹ÒËØŒ¹ÊÒÁÑÞ การเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุนสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีรายละเอียดดังนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 หุนสามัญเพิ่มขึ้นจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ในเดือนกุมภาพันธ 2554 หุนสามัญเพิ่มขึ้นจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ในเดือนสิงหาคม 2554 รวม ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554

ทุนออกจําหนาย และชําระ เต็มมูลคาแลว (พันบาท) 400,668

สวนเกินมูลคา หุนสามัญ (พันบาท) 769,134

วันที่จดทะเบียน เพิ่มทุนกับ กระทรวงพาณิชย

วันที่ ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย รับเปนหลักทรัพย จดทะเบียน

420

839

7 มีนาคม 2554

9 มีนาคม 2554

2,244 2,664 403,332

4,488 5,327 774,461

8 กันยายน 2554

12 กันยายน 2554

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 129


§º¡ÒÃà§Ô¹

28. ÊíÒÃͧμÒÁ¡®ËÁÒ ภายใตบทบัญญัติของมาตรา 116 แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯตองจัดสรรกําไรสุทธิประจําปสวนหนึ่งไวเปน ทุนสํารองไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาทุนสํารองนี้จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของ ทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเงินปนผลได

29. ¤‹Ò㪌¨‹ÒÂμÒÁÅѡɳРรายการคาใชจายแบงตามลักษณะประกอบดวยรายการคาใชจายที่สําคัญดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 922,717 887,810 82,817 69,687 149,684 2,234,756 2,043,549 (143,795) 52,250 (8,167) 22,151 (15,566) (11,475) 100,130 95,163 64,470 54,471

เงินเดือน คาแรงและผลประโยชนอื่นของพนักงาน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใชไปและซื้อสินคาสําเร็จรูป การเปลี่ยนแปลงในสินคาสําเร็จรูปและงานระหวางทํา การปรับลดสินคาคงเหลือเปนมูลคาสุทธิที่จะไดรับ (โอนกลับ) หนี้สงสัยจะสูญ (โอนกลับ) คานายหนาและคาใชจายสงเสริมการขาย คาเชาจายตามสัญญาเชาดําเนินงาน

(หนวย: พันบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 547,302 529,946 48,098 40,360 148,412 1,847,977 1,751,709 (47,301) 58,413 500 15,000 141,871 (1,698) 14,534 21,920 254 300

30. ÀÒÉÕà§Ô¹ä´Œ¹ÔμԺؤ¤Å สวนงานสวนหนึ่งของบริษัทฯไดรับสิทธิพิเศษจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนซึ่งรวมถึงการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล สําหรับกําไรเปน ระยะเวลาแปดปนบั จากวันเริม่ มีรายไดจากการประกอบกิจการ บริษทั ฯไดเริม่ ใชสทิ ธิตามบัตรสงเสริมเลขที่ 1616 (2)/2553 ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2554 ภาษีเงินไดนิติบุคคลของบริษัทฯคํานวณขึ้นจากกําไรสุทธิกอนภาษีเงินไดของสวนงานที่ไมไดรับสิทธิพิเศษยกเวนภาษีเงินไดสําหรับปหลังจากบวก กลับและหักออกดวยคาใชจายและรายไดตาง ๆ ที่ไมอนุญาตใหถือเปนรายจายและรายไดในการคํานวณภาษี ภาษีเงินไดนิติบุคคลของบริษัทยอยในประเทศคํานวณขึ้นจากกําไรสุทธิกอนภาษีเงินไดสําหรับปหลังจากบวกกลับและหักออกดวยคาใชจายและ รายไดตาง ๆ ที่ไมอนุญาตใหถือเปนรายจายและรายไดในการคํานวณภาษี ภาษีเงินไดนิติบุคคลของบริษัทยอยในตางประเทศคํานวณขึ้นตามเกณฑที่ระบุไวในมาตรฐานการบัญชีและ/หรือกฎหมายภาษีอากรของประเทศนั้น

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 130


§º¡ÒÃà§Ô¹

31. ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃŧ·Ø¹ 31.1 บริษัทฯไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนภายใตเงื่อนไขที่กําหนดบางประการ สิทธิพิเศษดังกลาวไดแก รายละเอียด 1. บัตรสงเสริมเลขที่ 1010/2544 1616(2)/2553 2. เพื่อสงเสริมการลงทุนในกิจการ ผลิตเครื่องประดับจาก ผลิตเครื่องประดับจาก โรงงานของบริษัทในเขต โรงงานของบริษัทในเขต อุตสาหกรรมของบริษัท อุตสาหกรรมของบริษัท เขตอุตสาหกรรมสุรนารี เขตอุตสาหกรรมสุรนารี จํากัด จังหวัดนครราชสีมา จํากัด จังหวัดนครราชสีมา 3 สิทธิประโยชนสําคัญที่ไดรับ 3.1 ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการ 8 ป (สิ้นสุดวันที่ 8 ป ที่ไดรับการสงเสริม 31 ธันวาคม 2553) 3.2 ไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิจากกิจการที่ไดรับการสง ไดรับ ไดรับ เสริมการลงทุนในอัตรารอยละหาสิบของอัตราปกติมีกําหนดหาป นับจากวันที่ พนกําหนดไดรับยกเวนภาษี 3.3 ไดรับอนุญาตใหหักเงินไดพึงประเมินจํานวนเทากับรอยละหาของรายไดจาก ไดรับ ไมไดรับ การสงออกที่เพิ่มขึ้นจากปกอนเปนระยะเวลาสิบปนับแตวันที่มีรายไดจากการ ประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริม 4. วันที่เริ่มใชสิทธิตามบัตรสงเสริม 1 มกราคม 2546 1 มกราคม 2554 รายไดของบริษัทฯสําหรับปจําแนกตามกิจการที่ไดรับการสงเสริมการลงทุนและไมไดรับการสงเสริมการลงทุนสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ (หนวย: พันบาท) กิจการที่ไดรับการ สงเสริมการลงทุน 2554 2553 รายไดจากการขาย รายไดจากการขายในประเทศ รายไดจากการขายสงออก รวมรายไดจากการขาย

1,507,153 1,507,153

1,757,798 1,757,798

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 131

กิจการที่ไมไดรับการ สงเสริมการลงทุน 2554 2553 610,501 1,015,893 1,626,394

443,571 865,993 1,309,564

รวม 2554

2553

610,501 2,523,046 3,133,547

443,571 2,623,791 3,067,362


§º¡ÒÃà§Ô¹

31.2 บริษัทยอยแหงหนึ่ง (บริษัท คริสตอลไลน จํากัด) ไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ภายใตเงื่อนไขที่กําหนดบาง ประการ สิทธิพิเศษดังกลาวไดแก รายละเอียด 1. บัตรสงเสริมเลขที่ 5036/2547 1384(4)/2549 2. เพื่อสงเสริมการลงทุนในกิจการ ผลิตเครื่องประดับอัญมณี ผลิตเครื่องประดับ อัญมณีจากโรงงานในเขต อุตสาหกรรมของบริษัท เขตอุตสาหกรรมสุรนารี จํากัด จังหวัดนครราชสีมา 3. สิทธิประโยชนสําคัญที่ไดรับ 3.1 ไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการ ไมไดรับ 8 ป ที่ไดรับการสงเสริม 3.2 ไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิจากกิจการที่ไดรับการสง ไมไดรับ ไดรับ เสริมการลงทุนในอัตรารอยละหาสิบของอัตราปกติมีกําหนดหาป นับจากวันที่ พนกําหนดไดรับยกเวนภาษี 3.3 ไดรับยกเวนอากรขาเขาสําหรับวัตถุดิบและวัสดุจําเปนที่ตองนําเขาจากตาง ไดรับสิทธิจนถึง 20 ไดรับเปนระยะเวลา 5 ป ประเทศเพื่อใชในการผลิตเพื่อการสงออก กรกฎาคม 2555 นับตั้งแตวันนําเขาวันแรก 4. วันที่เริ่มใชสิทธิตามบัตรสงเสริม 25 พฤษภาคม 2547 ยังไมไดขอเปดดําเนินการ

32. ¡íÒäÃμ‹ÍËØŒ¹ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสําหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ํา หนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางป กําไรตอหุนปรับลดคํานวณโดยการหารกําไรสําหรับปที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ (ไมรวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ดวยผลรวมของจํานวนถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ออกอยูในระหวางปกับจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทฯอาจตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทา ปรับลดทั้งสิ้นใหเปนหุนสามัญ โดยสมมติวาไดมีการแปลงเปนหุนสามัญ ณ วันตนป หรือ ณ วันออกหุนสามัญเทียบเทา

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 132


§º¡ÒÃà§Ô¹

การกระทบยอดระหวางกําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดแสดงไดดังนี้

กําไรสําหรับป 2554 2553 (พันบาท) (พันบาท) กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ ผลกระทบของหุน สามัญเทียบเทาปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ กําไรตอหุนปรับลด กําไรที่เปนของผูถือหุนสามัญสมมติวา มีการใชสิทธิซื้อหุนสามัญ จากใบสําคัญแสดงสิทธิ

456,345

243,425

401,779

399,073

-

-

4,183

5,132

456,345

243,425

405,962

404,205

กําไรสําหรับป 2554 2553 (พันบาท) (พันบาท) กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ ผลกระทบของหุน สามัญเทียบเทาปรับลด ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ กําไรตอหุนปรับลด กําไรที่เปนของผูถือหุนสามัญสมมติวา มีการใชสิทธิซื้อหุนสามัญจาก ใบสําคัญแสดงสิทธิ

งบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนัก 2554 2553 (พันหุน) (พันหุน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ย ถวงน้ําหนัก 2554 2553 (พันหุน) (พันหุน)

441,139

343,797

401,779

399,073

-

-

4,183

5,132

441,139

343,797

405,962

404,205

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 133

กําไรตอหุน 2554 (บาท)

2553 (บาท)

1.14

0.61

1.12

0.60

กําไรตอหุน 2554 (บาท)

2553 (บาท)

1.10

0.86

1.09

0.85


§º¡ÒÃà§Ô¹

33. ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹¨íÒṡμÒÁʋǹ§Ò¹ บริษัทฯและบริษัทยอยดําเนินกิจการในสวนงานหลักคือ ธุรกิจผลิตและจําหนายเครื่องประดับอัญมณี ซึ่งมีสวนงานทางภูมิศาสตรทั้งในประเทศและ ตางประเทศและมีบริษัทยอยแหงหนึ่งดําเนินธุรกิจใหเชาหอพักในประเทศ ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานของบริษัทฯและบริษัทยอยสําหรับ ปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังตอไปนี้ (หนวย: ลานบาท) ธุรกิจผลิตและจําหนายเครื่องประดับ ในประเทศ ตางประเทศ 2554 2553 2554 2553 รายไดจากภายนอก รายไดระหวางสวนงาน รายไดทง้ั สิน้ กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานตามสวนงาน รายไดและคาใชจายที่ไมไดปนสวน: ดอกเบี้ยรับ สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของ อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน คาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินไดนิติบุคคล สวนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของ บริษัทยอย กําไรสวนที่เปนของผูถือหุนของบริษัทฯ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สินทรัพยอื่น สินทรัพยรวม

ธุรกิจใหเชาหอพัก ในประเทศ 2554 2553

2,625 1,682 4,307

2,285 1,775 4,060

1,497 92 1,589

1,771 80 1,851

-

-

461

570

(158)

(172)

(1)

(1)

368 4,727 5,095

304 4,358 4,662

67 1,210 1,277

71 1,252 1,323

44 44

45 45

รายการตัดบัญชี ระหวางกัน 2554 2553

งบการเงินรวม 2554 2553

(1,774) (1,855) (1,774) (1,855)

4,122 4,122

4,056 4,056

436

496

9 (3) 33

6 (10) (150)

58 (38) (79)

(35) (63)

40 456

(1) 243

435 3,885 4,320

375 3,647 4,022

134

99

(2,096) (2,008) (2,096) (2,008)

บริษัทฯและบริษัทยอยใชเกณฑในการกําหนดราคาระหวางกันตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 8

34. ¡Í§·Ø¹ÊíÒÃͧàÅÕ駪վ บริษทั ฯและพนักงานบริษทั ฯไดรว มกันจัดตัง้ กองทุนสํารองเลีย้ งชีพขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ องทุนสํารองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษทั ฯและพนักงาน จะจายสมทบกองทุนดังกลาวเปนรายเดือนในอัตรารอยละ 3 ของเงินเดือน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน) และจะถูกจายใหแกพนักงานในกรณีที่ออกจากงานตามระเบียบวาดวยกองทุนของบริษัทฯ ในระหวางป 2554 บริษัทฯไดจายเงินสมทบกองทุนเปน จํานวนเงิน 9 ลานบาท (2553: 7 ลานบาท)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 134


§º¡ÒÃà§Ô¹

35. à§Ô¹»˜¹¼Å เงินปนผล เงินปนผลงวดสุดทายจายจากกําไรป 2552 เงินปนผลจายจากกําไรสะสม เงินปนผลจายจากกําไรสะสม

อนุมัติโดย

จํานวนเงิน (พันบาท) 171,248

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 13/2553 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 15/2553 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2553

รวมเงินปนผลจายสําหรับป 2553 เงินปนผลจายจากกําไรป 2553 เงินปนผลระหวางกาลจากกําไรสําหรับงวด เกาเดือนสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2554 รวมเงินปนผลจายสําหรับป 2554

ที่ประชุมสามัญผูถือหุนเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯครั้งที่ 13/2554 เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2554

เงินปนผลจายตอหุน (บาทตอหุน) 0.43

119,474

0.30

120,200 410,922

0.30 1.03

200,543

0.50

40,333 240,876

0.10 0.60

36. ÀÒÃм١¾Ñ¹áÅÐ˹ÕéÊÔ¹·ÕèÍÒ¨à¡Ô´¢Öé¹ 36.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯมีรายจายฝายทุนรวมเปนจํานวนเงินประมาณ 19 ลานบาท ที่เกี่ยวของกับการซื้อซอฟทแวรคอมพิวเตอร การกอสรางอาคารและสวนปรับปรุงอาคาร 36.2 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเชาดําเนินงาน บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดเขาทําสัญญาเชาดําเนินงานและบริการทีเ่ กีย่ วของกับการเชาพืน้ ทีใ่ นอาคารสํานักงาน โรงงาน หางสรรพสินคา ยานพาหนะ และอุปกรณ อายุของสัญญามีระยะเวลาอยูระหวาง 1 ถึง 30 ป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตทั้งสิ้นภายใตสัญญาเชาดําเนินงานดังนี้ ลานบาท จายชําระภายใน ภายใน 1 ป 1 ถึง 5 ป มากกวา 5 ป

38 66 38

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 135


§º¡ÒÃà§Ô¹

36.3 การค้าํ ประกัน ก)

บริษทั ฯ ค้าํ ประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีและวงเงินสินเชือ่ ใหแกบริษทั ยอยซึง่ มียอดคงคางอยู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เปนจํานวนเงิน 311 ลานบาท และ 0.3 ลานยูโร รวมเปนเงินทัง้ สิน้ 325 ลานบาท

ข)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั ฯและบริษทั ยอยมีหนังสือค้าํ ประกันซึง่ ออกโดยธนาคาร ในนามบริษทั ฯ และบริษทั ยอยเหลืออยูเ ปนจํานวน 2 ลานบาท 20,000 ปอนดสเตอรลงิ และ 2 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา รวมเปนจํานวนเงินทั้งสิ้นประมาณ 66 ลานบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 2 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือ 64 ลานบาท) ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของบริษัทฯและบริษัทยอย

ค)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมีแสตนดบายเลตเตอรออฟเครดิตเหลืออยูรวมเปนจํานวน 22 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 694 ลานบาท (เฉพาะของบริษัทฯ: 19 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาหรือ 602 ลานบาท)

36.4 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาใหบริการระยะยาว บริษัทยอยในประเทศแหงหนึ่งไดทําสัญญาคาสิทธิกับบริษัทแหงหนึ่งในตางประเทศเพื่อรับอนุญาตใหใชเครื่องหมายการคา โดยภายใตเงื่อนไขตาม สัญญาคาสิทธิ บริษัทยอยตองจายคาสิทธิรายปตามอัตราที่ระบุในสัญญา อายุของสัญญาตั้งแตเดือนตุลาคม 2553 จนถึงเดือนธันวาคม 2558 โดยสามารถตออายุไดอีก 5 ป ภายใตเงื่อนไขที่สัญญากําหนด นอกจากนี้ บริษัทยอยยังมีภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อสินคาจากบริษัทดังกลาวตาม จํานวนเงินขั้นต่ําที่ระบุในสัญญา 36.5 ภาระผูกพันตามบัตรสงเสริมการลงทุน บริษัทฯมีภาระผูกพันตามบัตรสงเสริมการลงทุนเลขที่ 1616(2)/2553 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2553 ซึ่งเกี่ยวของกับคาใชจายในการวิจัยและพัฒนาหรือ ออกแบบคาใชจายในการฝกอบรมดานเทคโนโลยีขั้นสูง (Advance Technology Training) และคาใชจายในการสนับสนุนสถาบันการศึกษาหรือการ วิจัย โดยบริษัทฯมีภาระผูกพันที่จะตองจายคาใชจายดังกลาวภายในระยะเวลา 8 ป รวมกันไมนอยกวา รอยละ 1 ของยอดขายรวมในสามปแรก หรือมีคาใชจายรวมกันไมนอยกวา 150 ลานบาท แลวแตมูลคาใดต่ํากวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯไดบันทึกคาใชจายดังกลาวไปแลวเปน จํานวนเงินรวมประมาณ 6 ลานบาท

37. à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§¡ÒÃà§Ô¹ 37.1 นโยบายการบริหารความเสี่ยง เครื่องมือทางการเงินที่สําคัญของบริษัทฯและบริษัทยอยตามที่นิยามอยูในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 107 “การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูล สําหรับเครื่องมือทางการเงิน” ประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืม เงินลงทุน เงินกูยืมระยะสั้น และเงินกูยืมระยะยาว บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับเครื่องมือทางการเงินดังกลาว และมีนโยบายการบริหารความเสี่ยงดังนี้

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 136


§º¡ÒÃà§Ô¹

ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น และเงินใหกูยืม ฝายบริหารควบคุมความเสี่ยงนี้ โดยการกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการในการควบคุมสินเชื่อที่เหมาะสม ดังนั้นบริษัทฯและบริษัทยอยจึงไมคาดวาจะไดรับความเสียหายที่เปน สาระสําคัญจากการใหสินเชื่อ นอกจากนี้การใหสินเชื่อของบริษัทฯและบริษัทยอยไมมีการกระจุกตัว เนื่องจากบริษัทฯและบริษัทยอยมีฐานของ ลูกคาที่หลากหลายและมีอยูจํานวนมากราย จํานวนเงินสูงสุดที่บริษัทฯและบริษัทยอยอาจตองสูญเสียจากการใหสินเชื่อคือมูลคาตามบัญชีของ ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น และเงินใหกูยืมที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงิน ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯและบริษัทยอยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สําคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินลงทุน เงินใหกูยืม แกกิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา เงินเบิกเกินบัญชี เงินกูยืมระยะสั้นและเงินกูยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ย อยางไรก็ตาม เนื่องจากสินทรัพยและ หนี้สินทางการเงินสวนใหญมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกลเคียงกับอัตราตลาดในปจจุบัน บริษัทฯและ บริษัทยอยจึงมิไดใชตราสารอนุพันธเพื่อบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยดังกลาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่สําคัญสามารถจัดตามประเภทอัตราดอกเบี้ยและสําหรับสินทรัพยและหนี้สินทางการ เงินที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่สามารถแยกตามวันที่ครบกําหนด หรือวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหม (หากวันที่มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยใหมถึง กอน) ไดดังนี้ งบการเงินรวม อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว - เงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ําประกัน เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รวม หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว รวม (1) MOR, MMR, MLR (2) 7.25, MLR, MLR + 0.5, MLR - 0.5

มากกวา 1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด (ลานบาท)

ไมมีอัตรา ดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

98 1 16 115

8 8

10 10

124 3 127

215 879 1 1,095

437 1 879 16 4 10 8 1,355

0.05 - 3.15 9.5 7.0 0.25 - 1.8 2.8 7.5

708 1 709

3 3

4 4

398 110 508

293 293

398 1,001 118 1,517

(1) 2.0, 3.4 (2)

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 137


§º¡ÒÃà§Ô¹

งบการเงินเฉพาะกิจการ อัตราดอกเบี้ยคงที่ ภายใน 1 ป

มากกวา 1 ถึง 5 ป

มากกวา 5 ป

อัตราดอกเบี้ย ปรับขึ้นลงตาม ราคาตลาด (ลานบาท)

ไมมีอัตรา ดอกเบี้ย

รวม

อัตราดอกเบี้ย (รอยละตอป)

สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น เงินใหกยู มื ระยะสัน้ แกกจิ การทีเ่ กีย่ วของกัน ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะยาวแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในหุนกูแปลงสภาพที่ออกโดย บริษัทยอย เงินลงทุนระยะยาวอื่น รวม

90 52 44

183

95

92 -

25 1,195 49 -

207 1,195 52 49 322

0.45 - 3.15 5.0, 6.5 7.5

186

37 220

10 105

92

1,269

37 10 1,872

7.5 2.8

หนี้สินทางการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมระยะสั้นจาก สถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินกูยืมระยะยาว รวม

708 708

-

-

270 75 345

148 148

270 856 75 1,201

MMR 2.0, 3.4 MLR - 0.5

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษั ท ฯและบริษั ท ยอ ยมี ค วามเสี่ย งจากอัต ราแลกเปลี่ย นที่ ส ํา คั ญ อัน เกี่ย วเนื่ อ งจากการซื้ อ หรือ ขายสินค า และการให กูย ืม เงิ น เปน เงิ นตรา ตางประเทศ บริษทั ฯและบริษทั ยอยไดตกลงทําสัญญาซือ้ ขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ซึ่งสวนใหญมีอายุสัญญาไมเกินหนึ่งปเพื่อใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารความเสี่ยง

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 138


§º¡ÒÃà§Ô¹

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมียอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สินทางการเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ดังนี้ สกุลเงิน

เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร ปอนดสเตอรลิง รูปอินเดีย

งบการเงินรวม สินทรัพย หนี้สิน ทางการเงิน ทางการเงิน (ลาน) (ลาน) 16 1 -

งบการเงินเฉพาะกิจการ สินทรัพย หนี้สิน ทางการเงิน ทางการเงิน (ลาน) (ลาน)

25 -

26 13 7 69

24 -

อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 (บาทตอหนวยเงินตราตาง ประเทศ) 31.69 41.03 48.86 0.59

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัทฯและบริษัทยอยมียอดคงเหลือของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาเพื่อปองกันความเสี่ยงทางดาน อัตราแลกเปลี่ยน โดยมีรายละเอียดดังนี้

สกุลเงิน สัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนา เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร ปอนดสเตอรลิง สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร

สกุลเงิน สัญญาขายเงินตราตางประเทศลวงหนา เหรียญสหรัฐอเมริกา ยูโร ปอนดสเตอรลิง สัญญาซื้อเงินตราตางประเทศลวงหนา ยูโร

งบการเงินรวม จํานวนเงิน 19,214,992 100,000 138,152 492,693 139,500

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา 30.11 - 32.02 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา 41.41 - 41.44 บาทตอยูโร 49.35 - 49.72 บาทตอปอนดสเตอรลิง 0.74 - 0.79 ยูโรตอเหรียญสหรัฐอเมริกา 42.61 - 44.32 บาทตอยูโร

งบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนเงิน 18,889,803 100,000 138,152 139,500

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 139

อัตราแลกเปลี่ยนตามสัญญา

30.64 - 32.02 บาทตอเหรียญสหรัฐอเมริกา 41.41 - 41.44 บาทตอยูโร 49.35 - 49.72 บาทตอปอนดสเตอรลิง 42.61 - 44.32 บาทตอยูโร


§º¡ÒÃà§Ô¹

37.2 มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินสวนใหญของบริษัทฯและบริษัทยอยจัดอยูในประเภทระยะสั้น เงินใหกูยืมและเงินกูยืมมีอัตราดอกเบี้ยใกลเคียงกับ อัตราดอกเบี้ยในตลาด บริษัทฯและบริษัทยอยจึงประมาณมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินใกลเคียงกับมูลคาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดง ฐานะการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยกันหรือจายชําระหนี้สินในขณะที่ทั้งสองฝายมีความรอบรู และ เต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะที่ไมมีความเกี่ยวของกัน วิธีการกําหนดมูลคายุติธรรมขึ้นอยูกับ ลักษณะของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรมจะกําหนดจากราคาตลาดลาสุด หรือกําหนดขึ้นโดยใชเกณฑการวัดมูลคาที่เหมาะสม

38. ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Ò÷ع วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนที่สําคัญของบริษัทฯ คือการจัดใหมีซึ่งโครงสรางทุน ที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯและ เสริมสรางมูลคาการถือหุนใหกับผูถือหุน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมบริษัทฯมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 0.70:1 (2553: 0.61:1) และ บริษัทฯมีอัตราสวนหนี้สินตอทุนเทากับ 0.48:1 (2553: 0.41:1)

39. ¡ÒèѴ»ÃÐàÀ·ÃÒ¡ÒÃ㹧º¡ÒÃà§Ô¹ เพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดในประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการคาเกี่ยวกับการจัดประเภทรายการในงบการเงินตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 2.1 และ ผลจากการนํามาตรฐานการบัญชีฉบับใหมและฉบับปรับปรุงมาถือปฏิบัติและการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีที่ดินตาม ที่กลาวในหมายเหตุ 3 และ 5 บริษัทฯไดจัดประเภทรายการบัญชีบางรายการในงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ใหม เพื่อให สอดคลองกับการจัดประเภทรายการบัญชีในปปจจุบัน โดยไมมีผลกระทบตอกําไรหรือสวนของผูถือหุนตามที่ไดรายงานไว ยกเวนการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกที่ดินจากวิธีราคาที่ตีใหมเปนวิธีราคาทุนตามที่กลาวไวในหมายเหตุ 5.1

40. àËμØ¡Òó ÀÒÂËÅѧÃͺÃÐÂÐàÇÅÒÃÒ§ҹ ในเดือนกุมภาพันธ 2555 บริษัทฯไดทําสัญญาค้ําประกันวงเงินสินเชื่อเพิ่มเติมใหแกบริษัทยอยในประเทศแหงหนึ่งเปนจํานวนเงิน 100 ลานบาท

41. ¡ÒÃ͹ØÁÑμÔ§º¡ÒÃà§Ô¹ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 140


¤‹Òμͺ᷹¼ÙŒÊͺºÑÞªÕ ผูส อบบัญชี ของบริษทั แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) ไดแก นายณรงค พันตาวงษ ผูส อบบัญชีรับ อนุญาตทะเบียนเลขที่ 3315 และ/หรือ นางชลรส สันติอัศวราภรณ ผูส อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4523 และ/หรือ และนายศุภชัย ปญญาวัฒโน ผูส อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3930 แหงบริษทั สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด คาตอบแทนทีบ่ ริษทั ฯ และบริษทั ยอย ตองจายใหแก บริษทั สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ในป 2554 มีรายละเอียดดังนี้ หนวย : บาท 1. คาตอบแทนจากการสอบบัญชีบริษัท 2. คาตอบแทนจากการสอบบัตรสงเสริมการลงทุน 3. คาบริการอื่น

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 141

บริษัทฯ 2,400,000 120,000 -

บริษัทยอย 935,000 -


ºØ¤¤Å͌ҧÍÔ§

นายทะเบียนหลักทรัพย

ผูส อบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษทั ศูนยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : +66 2229 2800 โทรสาร : +66 2654 5427 TSD Call center : +66 229 2888 Email: TSDCallCENTER@set.or.th www.tsd.co.th

บริษทั สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136–137 ถนนรัชดาภิเษก คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 กรุงเทพฯ 10501 โทรศัพท : +66 2264 0777 โทรสาร : +66 2264 0789-90 www.ey.com

บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด ชั้น 22 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร เลขที่ 540 ถนนเพลินจิต ลุมพินี กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท : +66 2264 8000 โทรสาร : +66 2657 2222 www.weerawongcp.com

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 142


»ÃÐÇÑμÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒà ¹Ò»ÃÕ´Ò àμÕÂÊØÇÃó ประธานกรรมการบริษัท

คุณวุฒิการศึกษา • Higher National Diploma in Business Studies - Thames Valley University, England • Distinguished Senior Executive Program in Government and Business, Harvard University, U.S.A.

• รองประธาน International Coloured Gemstone Association (ICA) • ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาธุรกิจอัญมณีและเครือ่ งประดับทอง การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการในกลุมแพรนดาฯ 7 บริษัท - กรรมการในกลุมแพรนดาฯ 4 บริษัท - ที่ปรึกษาสมาคมผูคาอัญมณีไทยและเครื่องประดับ - ที่ปรึกษาเครือขายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม หรือ SVN Asia (Thailand) - กรรมการมูลนิธิดวงประทีป - คณะกรรมการพัฒนาธุรกิจอัญมณีไทยและเครื่องประดับ - กรรมการสมัชชาปฏิรูป - กรรมการมูลนิธิพฤษภาประชาธรรม - กรรมการมูลนิธิเสฐียรโกเศศ-นาคะประทีบ

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ Director Accreditation Program (DAP) รุน 37/2548 ประสบการณการทํางาน • อุปนายกสมาคมผูคาอัญมณีไทยและเครื่องประดับ 2 สมัย • กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน • กรรมการ Thailand – US Business Council • กรรมการหอการคาไทย 2 สมัย • ประธานกรรมการเครือขายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอม หรือ SVN Asia (Thailand) • รองประธานมูลนิธิ เอฟ เอ็กซ บี (ประเทศไทย) • กรรมการคณะกรรมการปฏิรูปกฏหมาย

¹Ò§»ÃоÕà ÊÃä¡Ã¡ÔμÔ¡ÙÅ

กรรมการบริษัท / ประธานกรรมการบริหารกลุม / กรรมการการเงิน /กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการในกลุมแพรนดาฯ 3 บริษัท - กรรมการในกลุมแพรนดาฯ 6 บริษัท - ที่ปรึกษาสมาคมผูคาอัญมณีไทยและเครื่องประดับ - ประธานคณะกรรมการธุร กิจ อัญ มณี แ ละเครื่อ งประดั บ หอการคาไทย - คณะกรรมการนักธุรกิจสตรี หอการคาไทย - คณะกรรมการพัฒ นาธุร กิจ อัญ มณี แ ละเครื่อ งประดั บ ไทย กระทรวงพาณิชย

คุณวุฒิการศึกษา B.S.C. Accounting Woodberry University Major Accounting, Los Angeles, California, U.S.A. การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ Director Certification Program (DCP) รุน 17/2545 ประสบการณการทํางาน • กรรมการสมาคมผูนําเขาและสงออกระดับบัตรทอง • กรรมการสมาคมผูคาอัญมณีและเครื่องประดับ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 143


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹Ò§Êعѹ·Ò àμÕÂÊØÇÃó

กรรมการบริษัท / ประธานกรรมการการเงินกลุม / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการตรวจสอบ บมจ. อีสเทอรน สตาร เรียล เอสเตท • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการในกลุมแพรนดาฯ 2 บริษัท - กรรมการในกลุมแพรนดาฯ 10 บริษัท - กรรมการ บริษัท บริจวิว จํากัด

คุณวุฒิการศึกษา Ordinary National Diploma in Business Studies from Westminster University, England การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Certification Program (DCP) รุน 22/2545 • สถาบันวิทยาการตลาดทุนรุนที่ 11 (วตท. 11) ประสบการณการทํางาน • อุปนายกสมาคมบริษัทจดทะเบียน • กรรมการสมาคมบริษัทจดทะเบียน

¹Ò»ÃÒâÁ·Â àμÕÂÊØÇÃó

กรรมการบริษัท / กรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / ประธานกรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม / กรรมการการเงิน / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คุณวุฒิการศึกษา Ordinary National Diploma in Technology (Mechanical Engineers) From Willesden College of Technology, London, England

ประสบการณการทํางาน • กรรมการกลุม อุตสาหกรรมอัญมณีและเครือ่ งประดับ สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - กรรมการในกลุมแพรนดาฯ 5 บริษัท

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Certification Program (DCP) รุน 46/2547 • Director Accreditation Program (DAP) รุน 16/2547 • Finance for Non-Finance Program (FN) รุน 12/2547

¹Ò§»ÃÒ³Õ ¤Ø³»ÃÐàÊÃÔ°

กรรมการบริษัท / กรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการการเงิน / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คุณวุฒิการศึกษา Business Studies Course from Ealing Technical College, London, England

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการบริษัทในกลุมแพรนดาฯ 1 บริษัท - กรรมการในกลุมแพรนดาฯ 3 บริษัท

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) รุน 26/2547

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 144


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹Ò§¾¹Ô´Ò àμÕÂÊØÇÃó

กรรมการบริษัท / กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คุณวุฒิการศึกษา • มั ธ ยมศึ ก ษาโรงเรีย นอมาตยนุ กู ล และศึ ก ษาต อ ด า นภาษาจาก ประเทศอังกฤษ • หลักสูตร “พัฒนาการจัดการ” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ประธานกรรมการในกลุมแพรนดาฯ 1 บริษัท - กรรมการบริษัทในกลุมแพรนดาฯ 1 บริษัท

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) รุน 25/2547

àÃ×Íâ·Í¹Ñ¹μ »Ò¹Ð¹¹· Ã.¹.

กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คุณวุฒิการศึกษา • BS. In Civil Engineering, W.P.I., Masschusetts., U.S.A. • Certificate of Special Course in project Analysis, U.N. Asian Institute for Economic Development and Planning • หลักสูตรนักบริหารระดับผูอ าํ นวยการกอง รุน 10 สํานักงานขาราชการ พลเรือน • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง นบส.1 รุน 6 สํานักขาราชการพลเรือน • หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุน 34

• • • • • • •

กรรมการบริษทั หลักทรัพยกองทุนรวม กรรมการ บมจ. เงินทุนหลักทรัพยสนิ เอเซีย ทีป่ รึกษารัฐมนตรีชว ยกระทรวงการคลัง ทีป่ รึกษารัฐมนตรีกระทรวงการคลัง ทีป่ รึกษารองนายกรัฐมนตรี กรรมการ บมจ. ไทยเยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี ทีป่ รึกษา บมจ. เอ.เจ. พลัสท

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) รุน 23/2547 ประสบการณการทํางาน • รองอธิบดีกรมศุลกากร • กรรมการกีฬาแหงประเทศไทย • กรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 145


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹ÒÂÇÕÃЪÑ μѹμÔ¡ØÅ

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ • รองปลัดกระทรวงการคลัง • ผูตรวจราชการกระทรวงการคลัง • รองอธิบดีกรมสรรพากร

คุณวุฒิการศึกษา • LL.M., The University of California, at Berkely, U.S.A. • เนติบัณฑิตสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา • นิติศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร • หลักสูตรวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร รุน 37 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สํานักงาน ก.พ. หลักสูตร 1 รุน 13

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการบริษัทไทยพาณิชยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) - ที่ปรึกษาภาษีอากร ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ที่ปรึกษากฎหมาย บริษัท กฎหมาย เอส ซี จี จํากัด - กรรมการในคณะกรรมการตรวจสอบและประเมิ น ผลประจํ า กระทรวงการคลัง - กรรมการในคณะกรรมการปโ ตรเลีย มตามกฎหมายว า ด ว ย ปโตรเลียม

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Certification Program (DCP) รุน 37/2546 ประสบการณการทํางาน • สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ • อธิบดีกรมธนารักษ • อธิบดีกรมสรรพสามิต

¹Ò§ÊÃÔμÒ ºØ¹¹Ò¤

กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี บัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • ปริญญาโท การเงิน Western New Maxico University, U.S.A.

ประสบการณการทํางาน • รองศาสตราจารย ระดับ 9 คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ - บมจ. ไอทีวี - บมจ. หองเย็นเอเซียนซีฟูดส - ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Certification Program (DCP) รุน 22/2545 • Audit Committee Program (ACP) รุน 1/2547 • DCP Refresher Course รุน 1/2548 • Monitoring the Quality of Financial Report (MFR) รุน 5/2550 • Monitoring the Internal Audit Function (MIA) รุน 2/2551 • สัมมนาเรือ่ ง “การควบคุมภายในเกีย่ วกับรายงานทางการเงิน : กลยุทธ การเพิม่ มูลคากิจการ” โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษัท อะมานะฮ ลิสซิ่ง จํากัด (มหาชน) • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ผูช าํ นาญการคณะกรรมการธนาคาร ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 146


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹Ò§ÊÒǾԷÂÒ àμÕÂÊØÇÃó

รองกรรมการผูจัดการ(สายผลิต) / กรรมการการเงิน คุณวุฒิการศึกษา • Kilburn - Polytechnic - London, England City and Guilds of London Institute • อบรมหลักสูตรอัญมณีศาสตร สถาบันอัญมณีศาสตรแหงเอเชีย (AIGS)

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - กรรมการในกลุมแพรนดาฯ 1 บริษัท

การอบรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่และทักษะการเปนกรรมการ • Director Accreditation Program (DAP) รุน 26/2547

¹ÒÂà´ªÒ ¹Ñ¹·¹à¨ÃÔÞ¡ØÅ

รองกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการการเงิน คุณวุฒิการศึกษา • MBA in Marketing Memphis State University, Tennessee, U.S.A.

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

ประสบการณการทํางาน • อาจารยพเิ ศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร คณะวิทยาศาสตร ภาควิชาวัสดุศาสตรอญ ั มณีและเครือ่ งประดับ ป 2539-2540

¹ÒªÒμÔªÒ ·Õ¦ÇÕáԨ

กรรมการบริหาร / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม / กรรมการผูจัดการ – บจก. คริสตอลไลน คุณวุฒิการศึกษา • BA. George Mason University, Virginia, U.S.A. • MBA – South Eastern University, Washington D.C., U.S.A.

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - กรรมการบริษัทในกลุมแพรนดาฯ 1 บริษัท

ประสบการณการทํางาน • Account Executive – Pentsu Young & Rubican • Product Manager – Bristal Myer • Marketing Manager - Kmcc

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 147


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹Ò´ØÉÔμ ¨§ÊØ·¸¹ÒÁ³Õ

กรรมการการเงิน / เลขานุการบริษัท • วิทยากรหลักสูตร “Certificate of Intelligent Investor“ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร (เกียรตินยิ มอันดับสอง) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร • ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - กรรมการบริหาร บจก. ทรัพยสินสิริ - กรรมการ บจก. คิน ออเทอร

ประสบการณการทํางาน • ประธานกรรมการ บจก. ทรัพยสินสิริ • กรรมการผูจัดการ บจก. คิน ออเทอร • ที่ปรึกษาทางการเงิน บจก. เอฟ พี เอ็ม คอนซัลแทนท • วิทยากรหลักสูตร “Certification of Business Advisor” มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร

¹Òª¹Ñμ¶ ÊÃä¡Ã¡ÔμÔ¡ÙÅ

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการการเงิน คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี Business Administration, Babson College, U.S.A. • ปริญญาโท Accounting, University of Virginia, U.S.A. • ประกาศนียบัตรหลักสูตร TLCA Executive Development Program รุน ที่ 6 โดยสมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - กรรมการบริษัทในกลุมแพรนดาฯ 1 บริษัท

ประสบการณการทํางาน • Vice President - Forever Living Products, Vietnam • Senior Auditor - Ernst & Young, U.S.A.

¹Ò§ÊÒÇÈÈÔâÊÀÒ ÇѲ¡Õà¨ÃÔÞ

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย • หลักสูตร “พัฒนาการจัดการ” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร ประสบการณการทํางาน • ประสบการณผา นการรับผิดชอบดานบริหารการผลิตมากวา 25 ป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 148


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹Ò§¹ÔÃÒÃÑμ¹ ¸¹ÒàŢоѲ¹

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี ครุศาสตรบณ ั ฑิต (ศิลปกรรม) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

ประสบการณการทํางาน • ผูจัดการฝายพัฒนาผลิตภัณฑ บจก. วายเค เน็ทเวิรค คอรปอเรชั่น • ผูจัดการฝายพัฒนาผลิตภัณฑและบริหารธุรกิจ บมจ. บีจูส โฮลดิ้ง • ผูช ว ยผูจ ดั การฝายเครือ่ งประดับอัญมณีและออกแบบ บจก.บิวตีเ้ จมส

¹Ò§©ÇÕ ¨ÒÃØ¡ÃÇÈÔ¹

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม คุณวุฒิการศึกษา • ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (คหกรรม) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม • หลักสูตร “พัฒนาการจัดการ” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

ประสบการณการทํางาน • มีประสบการณบริหารงานดานการผลิตมากกวา 20 ป

¹Ò§ÊÒÇÊؾà ÃØ‹§¾Ô·ÂÒ¸Ã

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม คุณวุฒิการศึกษา • บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธบ.) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง สาขาบัญชี วิทยาเขตพาณิชยการพระนคร • หลักสูตร “พัฒนาการจัดการ” จากสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

ประสบการณการทํางาน • มีประสบการณบริหารตนทุนและราคามากกวา 20 ป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 149


»ÃÐÇÑμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٺŒ ÃÔËÒÃ

¹ÒÂÊÁÈÑ¡´Ôì ÈÃÕàÃ×ͧÁ¹μ

ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายผลิต) / กรรมการสงเสริมคุณคารวมกลุม คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธรุ กิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ บริหารธุรกิจ • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการ จัดการภาครัฐและเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา )

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

ประสบการณการทํางาน • มีประสบการณผา นการรับผิดชอบงานดานการบริหารการผลิตมา 23 ป

¹Ò¸à¹È »˜Þ¨¡ÃÔª

ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน คุณวุฒิการศึกษา • ปริญญาตรี บัญชีบณ ั ฑิต สาขาการบัญชีตน ทุน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร (นิดา)

การดํารงตําแหนงกรรมการ/อื่นๆ ในปจจุบัน • บริษัทจดทะเบียนอื่น - ไมมี • กิจการที่ไมใชบริษัทจดทะเบียน - ไมมี -

ประสบการณการทํางาน • มีประสบการณผา นการรับผิดชอบงานดานบัญชีมา 24 ป

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 150


ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554

151

เตียสุวรรณ สรไกรกิติกูล เตียสุวรรณ เตียสุวรรณ คุณประเสริฐ เตียสุวรรณ ปานะนนท ร.น. ตันติกุล บุนนาค เตียสุวรรณ นันทนเจริญกุล ทีฆวีรกิจ เงางามรัตน ศุทธภาวงษ ปานเจริญ สรไกรกิติกูล Kelley

x / +•+ // /+ +// +/+// +/+// / / / / // // // /+ / // //

x+

/+//

/

*PMG

/+

x+ /+// /+// /+// /+//

CTL

ในประเทศ

/+//

x+

/+//

/+//

PLG

/+

//

/+// x+ /+//

*P.NA

//

//

x

HGG

/ x+// /+//

P.UK

// //

x /+ / /+// //

P.VN

บริษัทยอย

/ / x+

PRANDA PMG CTL PLG P.NA HGG P.UK P.VN P.Sing

= = = = = = = = =

บมจ. แพรนดา จิวเวลรี่ บจก. พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล บจก. คริสตอลไลน บจก. แพรนดา ลอดจิ้ง Pranda North America, Inc. H.Gringoire s.a.r.l. Pranda UK Ltd. Pranda Vietnam Co.,Ltd. Pranda Singapore Pte Ltd.

P.Guangzhou Pranda & Kroll P.India KZ – PRANDA P.SCL P.Holding Forward Freeland A-list

= = = = = = = =

P.Sing

//

//

x+//

P.&Kroll

/+//

//

//

/

x+

P.India

//

//

/+//

x+

= ประธานกรรมการบริหาร

x+// /+//

P.SCL

/ /

/

Forward Freeland

/

A-List

= กรรมการผูจัดการ (สายผลิต)

/

/

/ / /

x+ /

P. Holding

ในประเทศ

KZPRANDA

บริษัทที่เกี่ยวของ

บริษัทรวม ในประเทศ ตางประเทศ

Guangzhou Pandgda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi Pranda & Kroll GmbH Co. KG Pranda Jewelry Pvt Ltd. บจก. เคแซด - แพรนดา P.T. Pranda SCL Indonesia Pranda Holding Co.,Ltd. Forward Freeland Co., Ltd. A-list Corporate Co., Ltd.

= ประธานกรรมการการเงินกลุม

//

x+ /+// /+// / //

P. Guangzhou

ตางประเทศ

หมายเหตุ : 1. x = ประธานกรรมการ / = กรรมการบริษัท // = กรรมการบริหาร = ประธานกรรมการบริหารกลุม = กรรมการผูจัดการ (สายตลาด) ■ = ผูชวยกรรมการผูจัดการ (สายตลาด) = กรรมการผูจัดการ 2. รายงานเฉพาะกรรมการของบริษัทยอยที่มีรายไดเกินกวารอยละ 10 ของรายไดรวม ไดแก * PMG, P.NA

1. นายปรีดา 2. นางประพีร 3. นางสุนันทา 4. นายปราโมทย 5. นางปราณี 6. นางพนิดา 7. เรือโทอนันต 8. นายวีระชัย 9. นางสริตา 10. นางสาวพิทยา 11. นายเดชา 12. นายชาติชาย 13. นางสาวรุงนภา 14. นายศุทธา 15. นางสาวละเมียด 16. นายชนัตถ 17. Ms. Maureen

รายชื่อกรรมการ และผูบริหาร

รายชื่อบริษัทยอย PRANDA

ÃÒÂÅÐàÍÕ´à¡ÕèÂǡѺ¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒÃ


¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇ仢ͧºÃÔÉÑ·

ชื่อบริษัท ชื่อยอหลักทรัพย ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสํานักงานใหญ

บริษัท แพรนดา จิวเวลรี่ จํากัด (มหาชน) PRANDA ผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแท เลขที่ 28 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260

เลขทะเบียนบริษัท โทรศัพท โทรสาร ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว Home Page Responsible Person

0107537001986 +66 2769 9999, +66 2361 3311 +66 2399 4872, +66 2746 9996 410,000,000 บาท 403,331,754 บาท www.pranda.com • Mrs. Prapee Sorakraikitikul Email : prapee@pranda.co.th • Mr. Pramote Tiasuwan Email : pramote@pranda.co.th • Mrs. Pranee Khunprasert Email : pranee@pranda.co.th

ที่ตั้งสํานักงานสาขา ประเภทธุรกิจ โทรศัพท โทรสาร Responsible Person Email

เลขที่ 332-333 เขตอุตสาหกรรมสุรนารี อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 ผลิตและจัดจําหนายเครื่องประดับแท +66 44 212 593-4 +66 44 212 685 Mr. Somsak Sriruengmon Somsak_s@pranda.co.th

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 152


¢ŒÍÁÙÅ·ÑÇè 仢ͧºÃÔÉ·Ñ

นิติบุคคลที่บริษัทถือหุนตั้งแตรอยละ 10 ขึ้นไป (ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554) ชื่อนิติบุคคล / ที่อยู บริษัท คริสตอลไลน จํากัด 22 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท +66 2746 9580-5 โทรสาร +66 2399 4878 Home Page www.crystaline.com Responsible Person Mr. Chartchai Teekaveerakit Email: chartchai@crystaline.com Pranda Vietnam Co., Ltd. No.16, 2A Street, Bien Hoa II Industrial Zone, Bien Hoa City, Dong Nai Province, Vietnam โทรศัพท +84 613 836 627, +84 613 836 739 โทรสาร +84 613 991 798 Responsible Person Mr. Santiparp Riyai Email: santiparp@pranda.com.vn

ประเภทธุรกิจ ผลิตและจัดจําหนาย เครื่องประดับแฟชั่น

สัดสวนการถือหุน (%) ทุนจดทะเบียน 96 100 ลานบาท

ผลิตและจัดจําหนาย เครื่องประดับแท

100

1.5 ลานเหรียญ สหรัฐฯ

1.5 ลานเหรียญ สหรัฐฯ

Guangzhou Pangda Zhubao Shoushi Youxian Gongsi หรือ Pranda (Guangzhou) Co., Ltd. No.22nd Chao YangShang Ave, DaPing, ShaTou, Panyu, Guangzhou, Guangdong, China 51140 โทรศัพท +86 20 3481 1060 Ext. 219 โทรสาร +86 20 3451 1962 Responsible Person Mr. Winai Pornpitaksit Email: winai_p@prandacn.com

ผลิตและจัดจําหนาย เครื่องประดับแท

100

2.35 ลานเหรียญ สหรัฐฯ

2.35 ลานเหรียญ สหรัฐฯ

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 153

ทุนชําระแลว 100 ลานบาท


¢ŒÍÁÙÅ·ÑÇè 仢ͧºÃÔÉ·Ñ

ชื่อนิติบุคคล / ที่อยู P.T.Sumberkreasi Ciptalogam (เดิมชื่อ P.T. Pranda SCL Indonesia) JL.I Gusti Ngurah Rai No.1, Jakarta 13420, Indonesia โทรศัพท +62 21 819 9280-2 โทรสาร +62 21 819 9223 Responsible Person Mr. Johnny Salmon Email: pranscl@cbn.net.id บริษัท พรีมาโกลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขที่ 1093/64 ชั้น 12 อาคารเซ็นทรัลซิตี้ บางนา ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท +66 2745 6111 โทรสาร +66 2745 6117 Home Page www.primagold.co.th Responsible Person Ms. Rungnapa Ngowngamratana Email: rungnapa@primagold.co.th

ประเภทธุรกิจ ผลิตและจัดจําหนาย เครื่องประดับแท

สัดสวนการถือหุน (%) ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว 50 4 พันลานอินโดนีเซีย 4 พันลานอินโดนีเซีย รูเปยส รูเปยส

จัดจําหนายเครื่องประดับ แทในประเทศไทย

100

200 ลานบาท

Pranda North America, Inc. No.1 Wholesale Way, Cranston, RI 02920, U.S.A. โทรศัพท +1 401 946 2104 โทรสาร +1 401 946 2109 Responsible Person Ms. Maureen Kelley Email: maureen@cna-corp.com

จัดจําหนายเครือ่ งประดับ แทและเครือ่ งประดับแฟชัน่ ในประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา

100

2 พันเหรียญสหรัฐฯ 2 พันเหรียญสหรัฐฯ

H.GRINGOIRE s.a.r.l No.79 Rue De Turbigo F-75003, Paris, France โทรศัพท +33 1 5301 9530 โทรสาร +33 1 5301 9540 Home Page www.h-gringoire.fr Responsible Person Mr. Yvan Le Dour Email: y.ledour@h.gringoire.fr

จัดจําหนายเครือ่ งประดับ แทในประเทศฝรัง่ เศสและ ยุโรป

100

1.893 ลานยูโร

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 154

200 ลานบาท

1.893 ลานยูโร


¢ŒÍÁÙÅ·ÑÇè 仢ͧºÃÔÉ·Ñ

ชื่อนิติบุคคล / ที่อยู Pranda UK Limited PO Box 59 West Molesey, Surrey KT8 8AY, United Kingdom โทรศัพท +44 1 0208 783 2024 โทรสาร +44 1 0208 783 2010 Home Page www.prandaonline.co.uk Responsible Person Mr. Malcolm Pink Email: malcolmpink@pranda.co.uk Pranda Singapore Pte. Limited No.163 Penang Road # 02-03 Winsland HouseII, Singapore 238463 โทรศัพท +65 6533 2611 โทรสาร +65 6532 5092 Responsible Person Mrs. Sunanta Tiasuwan Email: sunanta@pranda.co.th

ประเภทธุรกิจ สัดสวนการถือหุน (%) ทุนจดทะเบียน จัดจําหนายเครื่องประดับ 100 0.5 ลานปอนดฯ แทและเครื่องประดับแฟชั่น ในประเทศอังกฤษและยุโรป

ทุนชําระแลว 0.5 ลานปอนดฯ

บริษัทลงทุนในประเทศ อินโดนีเซีย

100

3 ลานเหรียญ สิงคโปร

3 ลานเหรียญ สิงคโปร

Pranda & Kroll GmbH & Co. KG Ebereschenweg 3 – 75180 Pforzheim Germany โทรศัพท +49 7231 154 47 0 โทรสาร +49 7231 154 47 25 Home Page www.kroll-schmuck.de www.cai-jewels.com Responsible Person: Mr. Gregor Kroll Email: gregor.kroll@pranda-kroll.de

ผลิตและจัดจําหนาย เครื่องประดับแท

51

5.34 ลานยูโร

5.34 ลานยูโร

KSV Brand GmbH (ถือหุนโดย Pranda & Kroll GmbH & Co. KG) Ebereschenweg 3 – 75180 Pforzheim Germany โทรศัพท +49 7231 566 15 0 โทรสาร +49 7231 566 15 25 Home Page www.ksv-brand.de Responsible Person Mr. Gregor Kroll Email: gregor.kroll@pranda-kroll.de

จัดจําหนายเครื่องประดับ แทในประเทศเยอรมันนี

51

25,000 ยูโร

25,000 ยูโร

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 155


¢ŒÍÁÙÅ·ÑÇè 仢ͧºÃÔÉ·Ñ

ชื่อนิติบุคคล / ที่อยู Pranda Jewelry Private Limited Pranda House, Rewa State, 512, M.G. Road, Mulund (West) Mumbai 400080, Maharashtra, India โทรศัพท +91 22 2568 2121, +91 22 2569 2121 โทรสาร +91 22 2592 2121 Responsible Person Mr. Vinod Tejwani Email: vinod@pranda.co.in บริษัท เคแซด - แพรนดา จํากัด 75/51 อาคารโอเชี่ยนทาวเวอร 2 ชั้น 24 ซอยสุขุมวิท 19 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท +66 2204 1441-3 โทรสาร +66 2204 1444 Responsible Person Mr. Jun Ho Kim Email: jokim@koreazinc.co.kr บริษัท แพรนดา ลอดจิ้ง จํากัด เลขที่ 28 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท +66 2361 3311 +66 2393 8779 โทรสาร +66 2361 3088 +66 2398 2143 Responsible Person Mrs. Panidda Tiasuwan Email: panidda@pranda.co.th

ประเภทธุรกิจ จัดจําหนายเครื่องประดับ แทในประเทศอินเดีย

สัดสวนการถือหุน (%) ทุนจดทะเบียน 51 1 ลานรูป

ทุนชําระแลว 1 ลานรูป

นําเขาและจัดจําหนาย โลหะเนื้อเงินบริสุทธิ์และ ทองคําบริสุทธิ์ในรูปเม็ด และแทง

40

30 ลานบาท

9 ลานบาท

ใหบริการเชา อสังหาริมทรัพย /สังหาริมทรัพย

83

50 ลานบาท

50 ลานบาท

ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ 2554 156


28 ซอยบางนา-ตราด 28 แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทรศัพท : (66) 2 769 9999 โทรสาร : (66) 2 769 9998


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.