IRPC : Annual Report 2009

Page 1


รายงาน ประจำปี 2552 บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)


วิสัยทัศน์ “บริษัทปิโตรเคมีครบวงจรชั้นนำ� ของเอเชียภายในปี 2557”


สารบัญ


สารบัญ สารจากประธานกรรมการ

07

สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่

09

011 ข้อมูลทั่วไป 013 ประวัติกรรมการ 017 ประวัติผู้บริหาร 031 โครงการฟีนิกซ์

การดำ�เนินงานที่สำ�คัญในรอบปี แผนผังองค์กร

047

049

051 โครงสร้างผู้ถือหุ้น 063 ลักษณะการประกอบธุรกิจ 065 โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น 072 โครงสร้างการจัดการ

คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน ปัจจัยความเสี่ยง

075

079

081

การบริหารทรัพยากรบุคคล

083

ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

085

093 รายการระหว่างกัน 111 การกำ�กับดูแลกิจการ

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

113

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานของผู้สอบบัญชี

115

05

114


ไออาร์พีซียึดถือหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นส่วนหนึ่งของ นโยบายการดำ�เนินธุรกิจ ทั้งนี้การมุ่งพัฒนากิจการให้มีการเติบโต อย่างยั่งยืนนั้น จะต้องมีการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ เป็นที่น่าเชื่อถือแก่บุคคลทั่วไป

สารจาก ประธานกรรมการ 06


สารจากประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ความสำ�เร็จในการดำ�เนินธุรกิจของ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ในปี 2552 เป็นบทพิสูจน์ความมั่นคง แข็งแกร่ง ของบริษัทฯ ที่สามารถยืนหยัดอยู่ได้ในท่ามกลางปัญหาต่างๆ ทั้งความผันผวนของราคาผลิตภัณฑ์ และความตกต่ำ�ของ ดัชนีความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจ ไออาร์พีซีจึงต้องทบทวน ปรับกลยุทธ์ในการดำ�เนินงาน รวมทั้งปรับโครงสร้างองค์กร เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพ พร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และผลักดันให้บริษัทฯ ก้าวเข้าสู่ความเป็นเลิศในระดับสากล บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะดำ�เนินธุรกิจให้เจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง โดยการพัฒนามาตรฐานกระบวนการผลิต และ ผลิตภัณฑ์ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมถึงขยายการลงทุน เพิ่มกำ�ลังการผลิต และพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดทางธุรกิจ ทั้งยังแสวงหาโอกาส และนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อการเจริญเติบโตอย่างมั่นคง ด้วยการบริหารงานอย่างรอบคอบ มุง่ มัน่ และทุม่ เทของผูบ้ ริหารและพนักงานทุกคนทีร่ ว่ มกันทำ�งานด้วยความเข้มแข็งอย่างเต็ม ขีดความสามารถ ทำ�ให้มั่นใจได้ว่าไออาร์พีซีจะสามารถก้าวผ่านวิกฤตต่างๆ และพร้อมก้าวไปสู่การเป็น “บริษัทปิโตรเคมี ครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชีย ภายในปี 2557” ตามวิสัยทัศน์ขององค์กร ภายใต้ภาวะการแข่งขันทางธุรกิจที่รุนแรงยิ่งขึ้นในปัจจุบัน บริษัทฯ เชื่อว่าปัจจัยสำ�คัญที่จะนำ�พาองค์กรไปสู่ความสำ�เร็จนั้น คือ การมีบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ บริษัทฯ เชื่อมั่นในคุณค่าของสินทรัพย์ทางปัญญาที่มีอยู่ในพนักงานทุกคน บริษัทฯ จึง ถือเป็นหน้าที่ที่ต้องพัฒนาและเพิ่มศักยภาพพนักงานให้มีความพร้อม และสามารถปรับตัวได้ทันต่อภาวะการเปลี่ยนแปลง ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น รวมทั้งเสริมสร้างจิตสำ�นึกและจรรยาบรรณที่ดีในการทำ�งาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังยึดถือหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการดำ�เนินธุรกิจ ทั้งนี้การมุ่งพัฒนา กิจการให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืนนั้น จะต้องมีการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ เป็นที่น่าเชื่อถือ แก่บุคคลทั่วไป มุ่งเน้นการสร้างผลประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นโดยคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมทั้งมีจิตสำ�นึกในการรับ ผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน โดยมีการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของสังคม และชุมชน ตามนโยบายด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม (Corporate Social Responsibility) ของบริษัทฯ ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การพัฒนาและเสริมสร้างความเข้ม แข็งของชุมชน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี บริษัทฯ ตระหนักถึงภารกิจที่ได้รับความไว้วางใจจากผู้ถือหุ้นที่มอบให้ดูแลผลประโยชน์แทน จึงพร้อมที่จะทุ่มเทพัฒนา ศักยภาพทางธุรกิจให้เข้มแข็ง มั่นคง และประสบความสำ�เร็จตามเป้าหมาย ควบคู่ไปกับการสร้างความสมดุลทางด้าน สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน เคียงคู่กับสังคมไทยตลอดไป

(นายณอคุณ สิทธิพงศ์)

ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

07


“เรา” จะก้าวสู่ความมั่นคงแข็งแกร่งทาธุรกิจ โดยไม่ทอดทิ้งจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน และมุ่งสู่การเป็น “บริษัทปิโตรเคมีครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชีย”

สารจาก กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 08


สารจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ในภาวะความผันผวนของเศรษฐกิจโลกตลอดจนเศรษฐกิจไทยในปี 2552 ที่ผ่านมา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้ ดำ�เนินธุรกิจด้วยความระมัดระวังอย่างรอบคอบ บริษัทฯ ได้ปรับกลยุทธ์การดำ�เนินงาน โดยมุ่งเน้นให้ความสำ�คัญกับการ วางรากฐาน สร้างความเข้มแข็งจากปัจจัยภายใน เพื่อความมั่นคงขององค์กรในระยะยาว และสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ บริษัทฯ ได้ประกาศวิสัยทัศน์ใหม่ และดำ�เนินการปรับโครงสร้างองค์กร เพื่อเตรียมพร้อมสู่การเติบโตเป็นผู้นำ�ทางธุรกิจ ปิโตรเคมีครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชีย ตลอดจนสามารถดำ�เนินงานพัฒนาเชิงรุก ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างมี ประสิทธิภาพ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สร้างมูลค่าทางธุรกิจ และผลิตภัณฑ์ให้มีความครบถ้วนและหลากหลายยิ่งขึ้น รวมทั้งมุ่งเน้นการพัฒนาธุรกิจสู่นวัตกรรมใหม่ เพื่อสนับสนุนให้การดำ�เนินธุรกิจมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ไออาร์พีซีจึงมีแผนดำ�เนินงานโครงการต่างๆ เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถทางธุรกิจ เช่น โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงกลั่น โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก ABS การขยาย กำ�ลังการผลิตโพรพิลนี และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้วตั ถุดบิ จากธรรมชาติเป็นส่วนผสมเพือ่ ลดมลภาวะทางสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ ยังมีแผนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และท่าเรือน้ำ�ลึก เพื่อใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด นอกเหนือจากการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางด้านธุรกิจแล้ว บริษัทฯ เชื่อว่าปัจจัยสำ�คัญของความสำ�เร็จในการดำ�เนิน ธุรกิจมาจากบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ไออาร์พีซีจึงได้ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรตามแนวทางสากลที่เหมาะกับการดำ�เนิน งาน เพื่อเตรียมบุคลากรให้มีศักยภาพพร้อมรองรับการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ในอนาคต ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ไออาร์พีซียึดหลักการดำ�เนินธุรกิจที่เติบโตอย่างมั่นคงและต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการให้ความ สำ�คัญในการดูแลรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน โดยได้สานต่อโครงการด้านการดูแลสิ่งแวดล้อม การพัฒนา ด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และสาธารณสุข อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนได้ริเริ่มโครงการใหม่ๆ เช่น การเปิด “ศูนย์ การเรียนรู้เครือข่ายชุมชน” ในพื้นที่จังหวัดระยอง ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมและยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีแก่ชุมชนใน พื้นที่ ด้วยการขยายองค์ความรู้ และผสานกับคุณค่าทางธุรกิจ ร่วมกับชุมชน และสังคม ที่เน้นการเติบโตร่วมกันอย่างยั่งยืน สุดท้ายนี้ ในนามผู้บริหารและพนักงานไออาร์พีซี ขอขอบคุณท่านผู้ถือหุ้น และผู้สนับสนุนทุกท่าน ที่ให้ความไว้วางใจและ สนับสนุนการดำ�เนินงานของไออาร์พีซีด้วยดีตลอดมา และขอให้ทุกท่านเชื่อมั่นว่าไออาร์พีซีจะทุ่มเทพลังทั้งหมด เพื่อ ดำ�เนินงานด้วยจรรยาบรรณและธรรมาภิบาลให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย “เรา” จะก้าวสู่ความมั่นคง แข็งแกร่งทางธุรกิจโดยไม่ทอดทิ้งจิตสำ�นึกความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน และมุ่งสู่การเป็น “บริษัท ปิโตรเคมีครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชีย” ตามวิสัยทัศน์ที่กำ�หนด

(นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร)

กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

09


โครงการฟีนิกซ์ 010


โครงการฟีนิกซ์

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

โครงการฟีนิกซ์: ก้าวต่อไปของไออาร์พีซี สู่การเป็นองค์กรชั้นนำ�ทางด้านปิโตรเคมี

จากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั ทีส่ ง่ ผลกระทบเชือ่ มโยงกันทุกภูมภิ าคทัว่ โลก นำ�ไปสูภ่ าวะการแข่งขันที่ ทวีความรุนแรงขึ้น ก้าวต่อไปของเรา เพื่อให้ไออาร์พีซีเติบโตอย่างมั่นคงท่ามกลางปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว และมุ่งหน้าสู่การเป็นองค์กรชั้นนำ�ทางด้านปิโตรเคมี1 บริษัทฯ จึงได้ริเริ่มดำ�เนินโครงการฟีนิกซ์ ซึ่งถูก จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและนำ�ทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย ใช้วธิ บี ริหารจัดการรูปแบบใหม่ท่ใี ห้ผลตอบแทนของเงินลงทุนเพิม่ ขึน้ รวมทัง้ กำ�หนดทิศทางการเติบโตของบริษทั ฯ โดย การเพิ่มกำ�ลังการผลิตในสายผลิตภัณฑ์ที่ให้อัตราผลตอบแทนสูง โครงการฟีนิกซ์นี้จะช่วยเพิ่มมูลค่าในเชิงเศษฐกิจ ให้แก่บริษัทฯ เพิ่มพูนผลตอบแทนจากเงินลงทุนในทรัพย์สินให้สูงขึ้นกว่าปัจจุบัน โครงการฟีนิกซ์ประกอบด้วยโครงการย่อยต่างๆ ครอบคลุมทุกธุรกิจของบริษัทฯ ที่สามารถนำ�ไปสู่เป้าหมายการเป็น “บริษัทปิโครเคมีครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชียภายในปี 2557 (Top Quartile Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2014)” “ฟีนิกซ์ - สัญลักษณ์แห่งความเป็นอมตะ การเกิดใหม่ และการมีชีวิตยั่งยืนนิรันดร์” นกฟีนิกซ์เป็นสัตว์ใน ตำ�นานที่เล่าขานในหลายพื้นที่ทั่วโลก โดยนกฟีนิกซ์จะมีลักษณะพิเศษ คือ ความเป็นอมตะ เมื่อถึงกาลอวสานของ ชีวติ จะแผดเผาตัวเองกลายเป็นเถ้าธุลี และจากเถ้าธุลนี น้ั ก็สามารถฟืน้ คืนชีพกลับมาเป็นนกฟีนกิ ซ์ทส่ี ง่างามได้อกี ครัง้ เฉกเช่นพวกเราชาว IRPC ที่ผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่างๆ สามารถฟื้นคืนชีพได้ด้วยพลังในตัวเอง จนมาเป็น IRPC ที่ ยืนหยัดอย่างสง่างามอีกครั้ง

บริษัทปิโตรเคมีครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชียภายในปี 2557

2553 - 2554 เตรียมพร้อมสู่ปฏิบัติการเป็น เลิศ

• เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ การประหยัดพลังงาน • บริหารกระบวนการผลิตและการ ขายให้ได้กำ�ไรสูงสุด • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร สินค้าคงคลัง

1องค์กรชั้นนำ�ทางด้านปิโตรเคมี (Top Quartile)

2554 - 2557 พัฒนาทรัพย์สินที่มีอยู่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด

• พัฒนาท่าเรือน้ำ�ลึกเพื่อการ พาณิชย์ • เพิ่มรายได้จากการบริหารจัดการ ถังเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ • ดำ�เนินโครงการพัฒนาที่ดินว่าง เปล่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด

2558 เป็นต้นไป ขยายการลงทุนในผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่มสูง

• ขยายการลงทุนในผลิตภัณฑ์การ เติบโตสูง • พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความพิเศษ มากขึ้น (Specialty Grade) เพื่อ เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

วัดจากอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน (ROIC) มากกว่าร้อยละ 20 ต่อปี

011


ข้อมูลทั่วไป 012


ข้อมูลทั่วไป ชื่อบริษัท : บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ชื่อย่อหลักทรัพย์ : IRPC เลขทะเบียนบริษัท : 0107537002567 ประเภทธุรกิจ : ธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมี กลุ่มอุตสาหกรรม : ทรัพยากร หมวดธุรกิจ : พลังงานและสาธารณูปโภค ทุนจดทะเบียน : 20,475,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 20,475,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (ณ วันที่ 8 ม.ค. 2553) ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว : 19,900,262,400 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 19,900,262,400 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท (ณ วันที่ 8 ม.ค. 2553) ที่ตั้งบริษัท : สำ�นักงานใหญ่และโรงงาน เลขที่ 299 หมู่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โทรศัพท์ (038) 611-333 โทรสาร (038) 612-813 สำ�นักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 12 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ (662) 649-7000 โทรสาร (662) 649-7001 เว็บไซต์ : www.irpc.co.th

บุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (662) 229-2800 โทรสาร (662) 359-1259 ผู้สอบบัญชี : นางสาวแน่งน้อย เจริญทวีทรัพย์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3044 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด 179/74-80 อาคารบางกอก ซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ (662) 344-1000 โทรสาร (662) 286-5050 นายทะเบียนหุ้นกู้ สกุลเงินบาท : ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 3000 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ (662) 299-1111

013


นิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 บริษัท 1. บริษัท : อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย (เคย์แมน) จำ�กัด ที่อยู่ : Caledonian House P.O.Box 1043, Geoge Town Grand Cayman KY1-1102, Cayman Island ประเภทธุรกิจ : กิจการเพื่อลงทุนในธุรกิจอื่น 2. บริษัท : ไทย เอ บี เอส จำ�กัด ที่อยู่ : 333 อาคารเล้าเป้งง้วน 1 ชั้น 18 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-646-6700 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายเม็ดพลาสติก 3. บริษัท : บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 333 อาคารเล้าเป้งง้วน 1 ชั้น 18 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-646-6666 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มัน 4. บริษัท : บริษัท น้ำ�มันทีพีไอ (2001) จำ�กัด ที่อยู่ : 333 อาคารเล้าเป้งง้วน 1 ชั้น 18 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-646-6666 ประเภทธุรกิจ : บริการขนส่งทางทะเล 5. บริษัท : บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ที่อยู่ : 333 อาคารเล้าเป้งง้วน 1 ชั้น 18 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-646-6700 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายโพลีออล 6. บริษัท : บริษัท อุตสาหกรรมโพลียูรีเทนไทย จำ�กัด ที่อยู่ : 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 12 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายโพลียูรีเทน 7. บริษัท : บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 309 หมู่ที่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โทรศัพท์ 038-899-130-2 ประเภทธุรกิจ : โรงเรียนอาชีวะ 8. บริษัท : บริษัท ไออาร์พีซี พลังงาน จำ�กัด ที่อยู่ : 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 12 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า 9. บริษัท : บริษัท ระยอง แท้งค์ เทอร์มินัล จำ�กัด ที่อยู่ : 123 อาคารซันทาวเวอร์ส เอ ชั้น 31 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ประเภทธุรกิจ : ให้บริการเช่าถังบรรจุสารเคมี 10. บริษัท : บริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ : 26/56 ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 11. บริษัท : บริษัท ทีพีไอ ฟิลิปปินส์ ไวนิล จำ�กัด ที่อยู่ : 2 Floor Room 200, Dona Guadalupe Bldg., 7462 Bagtikan St.San Antonio Village, Makati City, Philippines ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายพลาสติกพีวีซี

014

สัดส่วน การถือหุ้น 100.00%

ทุนชำ�ระแล้ว 352 ล้านบาท

99.99%

2,500 ล้านบาท

99.99%

2,000 ล้านบาท

99.99%

110 ล้านบาท

99.99%

300 ล้านบาท

99.99%

37 ล้านบาท

99.99%

750 ล้านบาท

99.99%

3,342 ล้านบาท

99.99%

1,000 ล้านบาท

99.99%

4,100 ล้านบาท

99.99%

17 ล้านเปโซ


บริษัท 12. บริษัท : บริษัท อาเชียน ดราก้อน ออยล์ รีไฟเนอรี่ จำ�กัด ที่อยู่ : Unit 6, Ground Floor, San Antonio Bldg., 7464 Bagtikan St.San Antonio Village, Makati City, Philippines ประเภทธุรกิจ : โครงการร่วมลงทุนในโรงกลั่นน้ำ�มันในประเทศฟิลิปปินส์ 13. บริษัท : บริษัท ทีพีไอ อินเตอร์เน็ต พอร์ทัล จำ�กัด ที่อยู่ : 333 อาคารเล้าเป้งง้วน 1 ชั้น 18 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มัน 14. บริษัท : บริษัท ไออาร์พีซี เซอร์วิส จำ�กัด ที่อยู่ : 299 หมู่ที่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเภทธุรกิจ : ให้บริการรักษาความปลอดภัย 15. บริษัท : บริษัท ไออาร์พีซี เอแอนด์แอล จำ�กัด ที่อยู่ : 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 14 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ 02-649-7508 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก 16. บริษัท : บริษัท ไทยอินเตอร์เนชั่นแนล แท็งเกอร์ จำ�กัด ที่อยู่ : 610/5-6 ถนนทรงวาด แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-622-6375 ประเภทธุรกิจ : บริการขนส่งทางทะเล 17. บริษัท : บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด ที่อยู่ : Unit 6, Ground Floor, San Antonio Bldg., 7464 Bagtikan St.San Antonio Village, Makati City, Philippines ประเภทธุรกิจ : กิจการเพื่อลงทุนในธุรกิจอื่น 18. บริษัท : บริษัท ฟิลไทย โฮลดิ้ง จำ�กัด ที่อยู่ : Unit 6, Ground Floor, San Antonio Bldg., 7464 Bagtikan St.San Antonio Village, Makati City, Philippines ประเภทธุรกิจ : กิจการเพื่อลงทุนในธุรกิจอื่น 19. บริษัท : บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด ที่อยู่ : 555 ถนนอาจณรงค์ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-348-6399 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายเม็ดพลาสติก 20. บริษัท : บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด ที่อยู่ : 26/56 ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-678-6790-3 ประเภทธุรกิจ : อสังหาริมทรัพย์ 21. บริษัท : บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด ที่อยู่ : 26/56 ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 22. บริษัท : บริษัท อุตสาหกรรมสหธัญพืช จำ�กัด ที่อยู่ : 26/56 อาคารทีพีไอทาวเวอร์ ชั้น 27 ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-678-6988 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ 23. บริษัท : บริษัท อุตสาหกรรมเหล็กกล้าไทย จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ : 26/56 อาคารทีพีไอ ชั้น 19 ถนนจันทน์ตัดใหม่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-678-6500-10 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายเหล็ก 24. บริษัท : บริษัท ระยองอะเซททีลีน จำ�กัด ที่อยู่ : 2/3 หมู่ที่ 14 ถนนบางนา-ตราด กม.6.5 ตำ�บลบางแก้ว อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ 02-338-6100 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายแก๊สอะเซททีลีน

015

สัดส่วน การถือหุ้น 99.99%

ทุนชำ�ระแล้ว 0.2 ล้านบาท

99.89%

0.1 ล้านบาท

99.50%

0.2 ล้านบาท

59.94%

10 ล้านบาท

49.99%

281 ล้านบาท

39.99%

0.5 ล้านเปโซ

39.99%

0.1 ล้านเปโซ

25.00%

40 ล้านบาท

25.00%

180 ล้านบาท

25.00%

1 ล้านบาท

18.05%

550 ล้านบาท

16.24%

4,220 ล้านบาท

13.04%

115 ล้านบาท


016


ประวัติกรรมการ 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

ประธานคณะกรรมการ/ประธานคณะกรรมการบริหาร ประวัติการศึกษา > วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) เครื่องกล, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > M.Sc. (Mechanical Engineering), Oregon State University, USA > Ph.D. (Mechanical Engineering), Oregon State University, USA > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 47 > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 4 การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 21/2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำ�งาน ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) 2546 - ปัจจุบัน รองปลัดกระทรวง กระทรวงพลังงาน 2544 - 2546 รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2541 - 2543 รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

017

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)


1

2

018


ประวัติกรรมการ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

รองประธานกรรมการ คนที่ 1/ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท บริหารธุรกิจ (MBA.), Utah State University, USA > ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ > ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการทัว่ ไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ. 4010) รุ่นที่ 10 > Certificate in Advanced Management Program Harvard Business School, USA > หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารชั้นสูง สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 6 > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 3/2549

ประวัติการทำ�งาน 2546 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) 2544 - 2546 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 26/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

รองประธานกรรมการ คนที่ 2/กรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา > รัฐศาสตร์บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Master of Science (Community Development) University of Philippines. > Master of Science Public Administration University of Missouri, USA > หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 27

ประวัติการทำ�งาน 2549 - 2550 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย 2549 กรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2549 ที่ปรึกษาคณะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษาทางการเมืองการปกครอง สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

019


1

2

020


ประวัติกรรมการ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

1. นายพละ สุขเวช

กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > M.S. in Industrial Engineering (Operation Research) Oregon State University, USA > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ. 333) > Cert. in System Analysis in Water Resource Planning, USA Army. Corp. Of Engineers, USA > Cert. in Advanced Management Program, Hardvard Business School, Harvard University, USA > วิศวกรรมศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งาน 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ราชบุรีเพาเวอร์ จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททิลีน จำ�กัด กรรมการ บริษัท ไทยออยล์เพาเวอร์ จำ�กัด 2544 - ปัจจุบัน ประธาน มูลนิธิส่งเสริมการจัดหาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมไทย 2543 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 2528 - ปัจจุบัน กรรมการ มูลนิธิเพื่อสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 2/2544 > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 14/2547 > หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่น 3/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นายวุฒิสาร ตันไชย

กรรมการอิสระ/กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประวัติการทำ�งาน ปัจจุบัน รองเลขาธิการ สถาบันพระปกเกล้า รองศาสตราจารย์ระดับ 9 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการสภา สภาการศึกษาแห่งชาติ ที่ปรึกษา คณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคม

ประวัติการศึกษา > วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) มหาวิทยาลัยขอนแก่น > พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิตทางรัฐประศาสนศาสตร์ (พบ.ม.) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ > Master of Policy Science (M.P.S.) International Program, Saitama University, Japan > ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

021


1

2

3

022


ประวัติกรรมการ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

1. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการบริหาร/กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ประวัติการศึกษา > วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > M.S. (Civil Engineering), Stanford Universtiy, USA > Ph.D. (Civil Engineering), University of Texas at Austin, USA

ประวัติการทำ�งาน 2551 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย และ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) 2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) 2549 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอร์ จำ�กัด 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 14/2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ

ประธานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี/กรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา > บัญชีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง > บัญชีมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > The Management Development Programs, สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Advanced Management Program, Havard Business School, USA > นักบริหารระดับสูงหลักสูตรที่ 1 (นบส.1) รุ่นที่ 29 > ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง รุ่นที่ 19 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำ�นักงาน ก.พ. > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 43 > Leading High-Impact Team, Kellogg School of Management, USA > Advance Management Program, INSEAD, Fontainebleau, France > หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 2 > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 8

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 22/2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำ�งาน 2552 - ปัจจุบัน รองประธาน สภาซีไอโอระหว่างประเทศ 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยแลนด์ พริวิเลจ คาร์ด จำ�กัด ประธานกรรมการอำ�นวยการ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ที่ปรึกษา ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมสรรพากร 2550 - 2551 รองปลัดกระทรวง กระทรวงการคลัง 2548 - 2551 กรรมการอำ�นวยการ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง

3. นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ กรรมการบริหาร/กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

ประวัติการศึกษา > Bachelor of Business Administration, University of The East, Philippines. > Master of Business Administration, Long Island University, New York, USA การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 4/2548 > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 27/2546 > หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) รุ่น 5/2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

023

ประวัติการทำ�งาน 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท วังทอง กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน) 2551 กรรมการ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน)


1

2

024

3


ประวัติกรรมการ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

1. ม.ร.ว.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ

ประวัติการศึกษา การอบรมหลักสูตรกรรมการ > B.S. (Computer Science) Southeast Missouri University, USA > หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 5/2548 > M.S. (Industrial Management) University of Central Missouri, USA> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 15/2547 > M.P.A. (Public Policy and Management) > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 44/2547 Harvard University, USA สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) > หลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง ประวัติการทำ�งาน ของภาครัฐ รุ่นที่ 9 สำ�นักงาน ก.พ. และ NECTEC ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ/กรรมการอิสระ บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำ�กัด (มหาชน) คณะบดีวิทยาลัยนวัตกรรมและรองศาสตราจารย์ประจำ�สาขาวิชาบริหาร อุตสาหการและปฏิบตั กิ าร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543 - 2547 รองอธิการบดี ฝ่ายวางแผนพัฒนาและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2. นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ

ประวัติการทำ�งาน 2550 - 2551 อธิบดีกรมธนารักษ์ กรมธนารักษ์ ประธานกรรมการ บริษัท ธนรักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำ�กัด 2547 - 2551 กรรมการ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2550 กรรมการและกรรมการสรรหา บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2550 รองปลัดกระทรวง กระทรวงการคลัง

ประวัติการศึกษา > M.A. (Business Administration), Fort Hays Kansas State College, USA > บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2), คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 40 การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 27/2552 > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 5/2544 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

3. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์

กรรมการอิสระ/ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ประวัติการศึกษา > M.A.Economics Georgetown University, USA > เศรษฐศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ > หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 40 > หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 5 สถาบันพระปกเกล้า > หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (นปส.1) รุ่นที่ 13 สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 27/2552 > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 104/2551 > หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) รุ่น 13/2547 > หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 10/2547

> หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 8/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 5 ประวัติการทำ�งาน 2552 - ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการตรวจสอบ บริษัทเงินทุน แอ๊ดวานซ์ จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2552 กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ/กรรมการสรรหา บริษัท ปตท.เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

025


1

2

026

3


ประวัติกรรมการ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

1. นายวีรพงษ์ รามางกูร กรรมการอิสระ

ประวัติการศึกษา > รัฐศาสตร์บัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา > ดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา > นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเวบสเตอร์ เซ็นหลุยส์ สหรัฐอเมริกา

ประวัติการทำ�งาน 2548 - ปัจจุบัน ประธาน บริษัท ฟีนันซ่า จำ�กัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน นายกสมาคม สมาคมไทย - ลาวเพื่อมิตรภาพ (กระทรวงการต่างประเทศ) 2538 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท แอ็ดวานซ์ อะโกร จำ�กัด (มหาชน) 2537 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 43/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นายเลอศักดิ์ จุลเทศ กรรมการ

ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี พาณิชยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 17/2547 > Mini MBA รุ่นที่ 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ > Management Development Program for Middle Manager ของ Standard Chartered ประเทศสิงคโปร์ > วุฒิบัตรโครงการพัฒนาผู้บริหารธนาคารและสถาบันการเงิน สมาคมสถาบันการศึกษาการธนาคารและการเงินไทย > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 9

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 63/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำ�งาน ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการ ธนาคารออมสิน 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน) 2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท บริษัท แอ๊ดวานซ์ อะโกร จำ�กัด (มหาชน) ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท บริษัท สยามซิตี้ประกันภัย จำ�กัด

3. นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ กรรมการ

ประวัติการศึกษา > วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > M.Eng.(Industrial Engineering) Lamar University, Texas, USA > Dr.Eng (Industrial Engineering) Lamar University, Texas, USA > Stanford Executive Program, Stanford University, USA > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 12

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 42/2547 > หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) รุ่น 9/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำ�งาน ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 2551 - 2552 กรรมการ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2552 ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นต้นและก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน)

027


1

2

028


ประวัติกรรมการ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

1. นายพิชัย ชุณหวชิร กรรมการ

ประวัติการศึกษา > ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารการเงิน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม > ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ > ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Indiana University of Pennsylvania, USA > ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ > หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 13 > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 5 การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 49/2549 > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 110/2551 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทำ�งาน 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) 2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทยลู้บเบส จำ�กัด (มหาชน) 2544 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) 2541 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

2. น.ส.วริยา ว่องปรีชา กรรมการ

ประวัติการศึกษา > MBA Finance, Indiana University (Bloomington), Indiana ประเทศสหรัฐอเมริกา > อักษรศาสตร์บัณฑิต เอกภาษาอังกฤษ เกียรตินิยม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 101/2551 > หลักสูตร The Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 21/2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทำ�งาน ปัจจุบัน รองเลขาธิการ สายบริหารงานสมาชิก รักษาการในตำ�แหน่ง เลขาธิการคณะกรรมการ กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท รอยัลปอร์เลนซ์ จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท สายการบินนกแอร์ จำ�กัด 2551 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทย แอดมินิสเทรชั่น เซอร์วิสเซส จำ�กัด

3. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร กรรมการบริหาร/กรรมการผู้จัดการใหญ่

ประวัติการศึกษา > วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > มหาบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ Tokyo Inst. of Tech., Japan > ดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์ Tokyo Inst. of Tech., Japan การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 51/2547 > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 24/2547 > หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) รุ่น 14/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

029

ประวัติการทำ�งาน 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พีทีที เมนเทนเนอร์ แอนด์ เอนจิเนียริ่ง จำ�กัด 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พีทีที อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด กรรมการ บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำ�กัด (มหาชน)


1

2

3

ประวัติผู้บริหาร 030


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นายบรรลือ ฉันทาดิศัย

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน ประวัติการศึกษา > B.Sc., Massachusetts Institute of Technology > M.B.A., University of Chicago Business School > หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ. 4515) > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 5

ประวัติการทำ�งาน 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอแอนด์แอล จำ�กัด 2541 - 2549 ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ สายงานวานิชธนกิจ ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 9/2544 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นายอธิคม เติบศิริ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายแผนธุรกิจองค์กร/รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจท่าเรือและบริหารจัดการทรัพย์สิน ประวัติการศึกษา > Executive Education Program, Harvard Business School, Harvard University สหรัฐอเมริกา > Doctoral Course in Human Resources Management and Managerial Economics, Golden Gate University, สหรัฐอเมริกา > ปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการค้าระหว่างประเทศ เกียรตินิยมระดับ High Distinction, Amstrong University, สหรัฐอเมริกา > ปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ สาขาบัญชี (วิชาเอก บัญชีต้นทุนและ การบริหารการเงิน) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 125/2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทำ�งาน 2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนพาณิชย์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) 2551 - 2552 กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชันส์ จำ�กัด 2547 - 2552 กรรมการ บริษัท พีทีที ฟีนอล จำ�กัด 2545 - 2550 รองผู้จัดการใหญ่แผนธุรกิจและการเงิน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน)

3. นายสหัสชัย พาณิชย์พงศ์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ประวัติการศึกษา > วศ.บ.(เครื่องกล) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > M. Eng. (Mechanical) Lamar University, Beaumont, Texas, USA การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 56/2549 > หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) รุ่น 14/2547 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

031

ประวัติการทำ�งาน 2552 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายปฏิบัติการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2551 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส สายปฏิบัติการ บริษัท ปตท.เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) 2547 - 2549 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายปฏิบัติการ บริษัท ไทยโอเลฟินส์ จำ�กัด (มหาชน)


1

2

ประวัติผู้บริหาร 032


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นายนันทชัย ประภาวัฒน์เวช

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ > หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสำ�หรับผู้บริหาร สถาบันพระปกเกล้า > การบริหารงานภาครัฐและกฏหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า > Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 125/2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

ประวัติการทำ�งาน 2551 - 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการคลัง บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2551 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่จัดหาและจัดส่งปิโตรเลียม บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2549 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ปฏิบัติการคลัง บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2544 - 2547 ผู้จัดการฝ่ายแผนจัดหาและจัดส่งปิโตรเลียม บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

2. นายมานิตย์ สุธาพร

ที่ปรึกษาทำ�หน้าที่รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบุคคลและบริหาร/ ที่ปรึกษาทำ�หน้าที่รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ กำ�กับดูแลสำ�นักกฎหมาย ประวัติการศึกษา > นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งาน 2552 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาทำ�หน้าที่รักษาการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2551 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาทำ�หน้าที่รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กำ�กับดูแลสำ�นักกฎหมาย บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

033


1

2

3

ประวัติผู้บริหาร 034


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน

ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี สาขาการเงินการธนาคาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) รุ่นที่ 9 การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 31/2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) > หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) รุ่นที่ 2 สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย

ประวัติการทำ�งาน 2550 - 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2550 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ด้านบัญชีและการเงิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2549 คณะทำ�งานสายงานการเงินของคณะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

2. นางสาวอรวรรณ ลีลารัศมี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชี

ประวัติการทำ�งาน 2546 - 2551 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี สาขาการบัญชีต้นทุน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท พาณิชยศาสตร์ สาขาการจัดการทั่วไป จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์ /1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารและจัดซื้อ

ประวัติการทำ�งาน 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เทคโนโลยีไออาร์พีซี จำ�กัด 2550 - 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคลและบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2550 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจและบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2535 - 2549 รองผู้จัดการใหญ่ สายจัดซื้อ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท MM (Executive MBA) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

035


1

2

3

ประวัติผู้บริหาร 036


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นางจิตรา ถาวระ /1

รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ ประวัติการศึกษา > พาณิชยศาสตร์การบัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการทำ�งาน 2553 - ปัจจุบัน ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยเอบีเอส จำ�กัด 2549 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี พลังงาน จำ�กัด กรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมโพลียูรีเทนไทย จำ�กัด กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เซอร์วิส จำ�กัด กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ทีพีไอ (2001) จำ�กัด กรรมการ บริษัท ทีพีไอ อินเตอร์เน็ตพอร์ทัล จำ�กัด กรรมการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด 2546 - 2549 คณะทำ�งานของคณะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่น 56/2549 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ /1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคล ประวัติการศึกษา > รัฐศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ > Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการทำ�งาน 2552 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบุคคล บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2550 - 2552 ผู้จัดการฝ่ายงานบริหารทั่วไป บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2549 - 2550 ผู้จัดการฝ่ายงานบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2546 - 2548 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายงานบริหารทั่วไป บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

3. นางสุมณฑ์ รังคสิริ /1

รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร ประวัติการศึกษา > พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สาขานโยบายสาธารณะและการบริหารโครงการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) > รัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการทำ�งาน 2549 - 2552 ผู้จัดการสำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2548 - 2549 ผู้จัดการส่วน ประจำ�รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน)

037


1

2

3

ประวัติผู้บริหาร 038


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นายก้อง รุ่งสว่าง /1

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยม) > ปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย > ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์, University of Hawaii (UH), USA > การจัดการด้านการตลาดสมัยใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Advance Senior Executive Program (ASEP) Kellogg School of Business > TrailBrazer (Leadership) Program London Business School (LBS) > Washington Campus Program (Government training) Georgetown, Washington DC

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 30/2546 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประวัติการทำ�งาน 2552 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2541 - 2551 กรรมการบริหาร บริษัท คอนอโค ฟิลิปปินส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด กรรมการบริหาร บริษัท ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด

2. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร /1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผน

ประวัติการศึกษา > ปริญญาโท เศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) รุ่น 35/2549 > Senior Executive Program รุ่น 20 (SEP-20) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งาน 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) 2551 - 2552 กรรมการและรักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท พีทีที จีอี (สิงคโปร์) จำ�กัด (มหาชน) 2545 - 2549 ผู้จัดการฝ่าย บริษัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน)

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 85/2550 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

3. นายประเวศ อัศวดากร /1

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี, Chemical Engineering University of Tokyo > ปริญญาโท, Chemical Energy Engineering University of Tokyo

039

ประวัติการทำ�งาน 2552 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2547-2550 กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีพีไอ โพลีออล จำ�กัด 2542 - 2550 ผู้จัดการทั่วไปและกรรมการ บริษัท ทีพีไอ โพลีออล จำ�กัด


1

2

ประวัติผู้บริหาร 040


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นายชลอ ภาณุตระกูล /1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานท่าเรือ

ประวัติการศึกษา > ปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งาน 2551 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด 2539 - 2551 Business Operation Manager บริษัท เอ็มเอ็มซี โปลีเมอร์ส จำ�กัด

การอบรมหลักสูตรกรรมการ > หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 61/ 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

2. นายณัฐพงศ์ พรประยุทธ /1

รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบริหารจัดการ ทรัพย์สิน ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรี สาขาการบัญชีต้นทุน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) (นโยบายสาธารณะการบริหารโครงการ) > Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

041

ประวัติการทำ�งาน 2552 ผู้จัดการฝ่ายบริหารทั่วไป บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2550 ผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)


1

2

3

ประวัติผู้บริหาร 042


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. พลเรือโท สัญชัย ปานแย้ม /1 ที่ปรึกษากรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 2 ประวัติการศึกษา > วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งาน 2552 - ปัจจุบัน รักษาการผู้จัดการใหญ่ บริษัท น้ำ�มันไออาร์พีซี จำ�กัด 2548 - 2549 ที่ปรึกษาคณะผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

2. นายประทีป วัฒนาศรีโรจน์ /1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 3 ประวัติการศึกษา > วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ประวัติการทำ�งาน 2524 - 2549 ผู้จัดการคอมเพล็กซ์ 1 บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

3. นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ /1 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 1 ประวัติการศึกษา > วิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น > Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ > ผู้บริหารระดับสูงในยุคโลกาภิวัฒน์ ปี 2552 สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง

ประวัติการทำ�งาน 2552 รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 4 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2550 ผู้จัดการคอมเพล็กซ์ 4 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2542 ผู้จัดการคอมเพล็กซ์ 3 บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

043


1

2

ประวัติผู้บริหาร 044


ประวัติผู้บริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. นายทฤษฎี วัฒนางกูร /1

รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประวัติการศึกษา > วิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติการทำ�งาน 2553 - ปัจจุบัน ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด 2552 รักษาการกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด 2543 ผู้จัดการคอมเพล็กซ์ 2 บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

2. นายวสันต์ เสรีสงแสง /1

รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 4 ประวัติการศึกษา > ปริญญาตรีวิศวกรรมเครื่องกล The National ChengKung University, Taiwan > ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

ประวัติการทำ�งาน 2542 ผู้จัดการคอมเพล็กซ์ โรงไฟฟ้า บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำ�กัด (มหาชน)

หมายเหตุ /1 ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯซึ่งไม่เข้าข่ายเป็นผู้บริหารตามนิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. มีดังนี้ 1) นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์ 2) นางจิตรา ถาวระ 3) นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ 4) นางสุมณฑ์ รังคสิริ 5) นายก้อง รุ่งสว่าง 6) นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 7) นายประเวศ อัศวดากร

8) นายชลอ ภาณุตระกูล 9) นายณัฐพงศ์ พรประยุทธ 10) พลเรือโทสัญชัย ปานแย้ม 11) นายประทีป วัฒนาศรีโรจน์ 12) นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ 13) นายทฤษฎี วัฒนางกูร 14) นายวสันต์ เสรีสงแสง

045


การดำ�เนินงาน ที่สำ�คัญในรอบปี 046


การดำ�เนินงานที่สำ�คัญในรอบปี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เมือ่ วันที่ 2 มกราคม 2552 ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร เข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แทน ดร.ปิติ ยิม้ ประเสริฐ ซึ่งสิ้นสุดการดำ�รงตำ�แหน่งตามวาระ เมือ่ วันที่ 7 มกราคม 2552 บริษทั ฯ ลงนามในสัญญาเงินกูร้ ะยะยาวจำ�นวน 10,000 ล้านบาท กับสถาบันการเงิน ในประเทศ 5 แห่ง เพื่อใช้สำ�หรับ โครงการลงทุน 5 โครงการ คือ 1) โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก ABS เกรดพิเศษ (CCM) 2) โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก HDPE Pipe Grade 3) โครงการผลิตไอน้ำ�และไฟฟ้าร่วม 4) โครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพรพิลีน 5) โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก ABS/SAN กุมภาพันธ์ 2552 บริษัทฯ ปิดซ่อมบำ�รุงโรงงานตามแผนประจำ�ปีประมาณ 3 สัปดาห์ โดยโรงกลั่นน้ำ�มันใช้กำ�ลัง การกลั่นในเดือนกุมภาพันธ์อยู่ที่ร้อยละ 29 เมษายน 2552 โครงการลงทุนเพื่อปรับปรุงและขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกแล้วเสร็จ ประกอบด้วย โครงการ ขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก HDPE Pipe Grade เพิ่มขึ้น 40,000 ตันต่อปี และโครงการขยายกำ�ลังการผลิต เม็ดพลาสติก ABS เกรดพิเศษ (CCM) เพิ่มขึ้น 21,000 ตันต่อปี เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2552 โครงการผลิตพลังไอน้ำ�และไฟฟ้าร่วม ได้รับอนุมัติรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โดยมีกำ�ลังการผลิตไฟฟ้า 216 เมกะวัตต์ และผลิตไอน้ำ� 420 ตันต่อชั่วโมง ซึ่งใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง เพื่อลดมลภาวะและสิ่งแวดล้อม โครงการดังกล่าวคาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2554 เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุมัติวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ เป็น “บริษัทปิโตรเคมีครบ วงจรชั้นนำ�ของเอเชียภายในปี 2557” และอนุมัติหลักการในการดำ�เนินกลยุทธ์ใหม่ สำ�หรับโครงการปรับโครงสร้าง การดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ (โครงการฟีนิกซ์) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในการดำ�เนินธุรกิจ ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติงบประมาณสำ�หรับโครงการฟีนิกซ์ ดังนี้ • อนุมัติกรอบงบประมาณสำ�หรับปี 2553-2557 จำ�นวน 1,412 ล้านเหรียญสหรัฐ (เทียบเท่า 48,008 ล้านบาท ณ อัตราแลกเปลี่ยน 34 บาทต่อเหรียญสหรัฐ) ทั้งนี้เป็นกรอบงบประมาณ สำ�หรับปี 2553 จำ�นวน 6,173 ล้านบาท • อนุมัติใช้งบประมาณลงทุนจำ�นวน 135.2 ล้านเหรียญสหรัฐ (เทียบเท่า 4,597 ล้านบาท ณ อัตราแลกเปลี่ยน 34 บาทต่อเหรียญสหรัฐ) สำ�หรับโครงการย่อย 4 โครงการ คือ 1. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและ การประหยัดพลังงาน 2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและการ ประหยัดพลังงาน 3. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ถังบรรจุวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ 4. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพและเพิ่มกำ�ลังการผลิต EBSM เพื่อผลิต ABS เกรดพิเศษ

047


เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2552 ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร แถลงข่าวโครงการ พัฒนาระบบ ideal solution (IRPC Digital E-Commerce Account and Logistic) โดยพัฒนาในส่วนของระบบส่งออก (Pro-Export System) ร่วมกับธนาคารกสิกรไทย เพือ่ อำ�นวยความสะดวกรวดเร็วในด้านการจัดทำ� เอกสารเพื่อการส่งออกสำ�หรับธุรกิจปิโตรเคมีของไออาร์พีซี

เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม 2552 บริษทั ฯ ลงนามในสัญญากับบริษทั ทีป่ รึกษา 2 แห่ง คือ จีอี เอนเนอยี่ และเจอเนอรัล คาร์บอนด์ เพือ่ นำ�โครงการผลิตพลังไอน�ำ้ และไฟฟ้าร่วม ยืน่ ขอใบรับรองการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Certified Emissions Reductions) หรือคาร์บอนเครดิต ต่อองค์การสหประชาชาติ เนื่องจากโครงการดังกล่าวสามารถลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอน ไดออกไซค์ประมาณ 400,000 ตันต่อปี ซึง่ เป็นผลจากการเปลีย่ นเชือ้ เพลิง จากน�ำ้ มันเตามาใช้กา๊ ซธรรมชาติ ซึง่ มีการเผาไหม้ทส่ี ะอาดกว่า ระหว่างวันที่ 19-22 ตุลาคม 2552 บริษทั ฯ เป็นเจ้าภาพจัดประชุมผูผ้ ลิต โอเลฟินส์ในระดับอาเซียน (Regional Olefins Producers Technical Committee : ROPTC) ครั้งที่ 14 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้าน การผลิตควบคูก่ บั การรักษาสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ประกอบด้วยบริษทั ต่างๆ 8 บริษทั จาก 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย สิงค์โปร์ อินโดนีเซีย และไทย ภายใต้หัวข้อการประชุม “Best Efficiency & Optimization Key to Success” เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2553 ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร แถลงข่าวเปิดตัว ระบบ “IRON” (IRPC Oil On Net) ซึ่งเป็นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เชื่อมโยงเครือข่ายการทำ�ธุรกรรมแบบออนไลน์ของธุรกิจปิโตรเลียม โดยรวมศักยภาพของระบบจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เข้า กับระบบ Total Business Solution ซึ่งบริษัทฯ พัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อตอบ สนองความต้องการในการทำ�ธุรกรรมของลูกค้าและเพิ่มประสิทธิภาพ การดำ�เนินธุรกิจ เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2553 บริษัทฯ ได้เปิด “ศูนย์การเรียนรู้เครือข่าย ชุมชน (Community Center)” เพื่อให้ประชาชนในจังหวัดระยองใช้เป็น ศูนย์รวมการเรียนรู้และส่งเสริมด้านการเกษตรและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตลอดจนใช้เป็นทีพ่ บปะสังสรรค์เพือ่ กระชับความสัมพันธ์ระหว่างบริษทั ฯ กับชุมชน เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2553 ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร แถลงข่าวโครงการ “IRPC Styrenic Imagination World” เพื่อ เปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่กลุม่ สไตรีนคิ โดยฝ่ายวิจยั และพัฒนาของบริษทั ฯ ประสบความสำ�เร็จในการพัฒนาเม็ดพลาสติก ABS เกรดพิเศษ หรือ Green ABS โดยใช้ยางพาราเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตแทนยางสังเคราะห์ ซึง่ ช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม รวมถึงผลิตสารเติมแต่งสำ�หรับโพลิเมอร์ที่มีอนุภาคขนาดเล็กระดับนาโน ซึ่งถือเป็นผู้ผลิตรายแรกของโลก

048


049

สายงานการตลาด ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายกอง รุงสวาง

สายงานการเงนิ ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ น.ส. ไตรทิพย ศิวะกฤษณกุล

สายงานพัฒนาธุรกิจ ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายประเวศ อัศวดากร

สายงานแผน ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายชาญศิลป ตรีนุชกร

สายแผนธุรกิจองคกร รองกรรมการผูจัดการใหญ นายอธิคม เติบศิริ

หมายเหตุ: นายทฤษฏี วัฒนางกูร รักษาการผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไออารพีซี จำกัด (มหาชน) ปฏิบัติหนาที่ ผูจัดการใหญ บริษัท ไออารพีซี โพลีออล จำกัด

สายงานวางแผนจัดหาและคาวัตถุดบิ ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นางจิตรา ถาวระ (ร.ก.)

สายพาณิชยกิจและการตลาด รองกรรมการผูจัดการใหญ นายนันทชัย ประภาวัฒนเวช

สายงานบุคคล ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ

สายงานบริหารและจัดซือ้ ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค

สายบุคคลและบริหาร รองกรรมการผูจัดการใหญ นายมานิตย สุธาพร (ร.ก.)

สายงานปฏิบตั กิ าร 4 ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายวสันต เสรีสงแสง (ร.ก.)

ณ วันที่ 19 มกราคม 2553

สายงานบริหารจัดการทรัพยสิน ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ นายณัฐพงศ พรประยุทธ (ร.ก.)

สายงานปฏิบตั กิ าร 2 ทีป่ รึกษากรรมการผูจ ดั การใหญ พลเรือโท สัญชัย ปานแยม สายงานปฏิบตั กิ าร 3 ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายประทีป วัฒนาศรีโรจน

สายงานทาเรอื ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายชลอ ภาณุตระกูล

กลุม ธุรกิจทาเรอื และ บริหารจัดการทรัพยสนิ รองกรรมการผูจัดการใหญ นายอธิคม เติบศิริ (ร.ก.) สายงานปฏิบตั กิ าร 1 ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ นายพงศประพันธ ฐิตทวีวัฒน

กลุมธุรกิจปโตรเคมีและการกลั่น รองกรรมการผูจัดการใหญ นายสหัสชัย พาณิชยพงศ

สำนักวิจัยและพัฒนา ผูจัดการสำนัก Mr.Roman Helmuth Adam Strauss

สายงานกิจการองคกร ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ นางสุมณฑ รังคสิริ (ร.ก.)

สายงานบัญชี ผูช ว ยกรรมการผูจัดการใหญ น.ส. อรวรรณ ลีลารัศมี

สายบัญชีและการเงิน รองกรรมการผูจัดการใหญ นายบรรลือ ฉันทาดิศัย

สำนักกฏหมาย ผูจัดการสำนัก นายเฉลิมชัย สมบูรณปกรณ

กรรมการผูจัดการใหญ นายไพรินทร ชูโชติถาวร

คณะกรรมการสรรหาและกำหนดคาตอบแทน

คณะกรรมการบริหาร

สำนักตรวจสอบภายใน ผูจัดการสำนัก น.ส.ขนิษฐา ทรัพยสุนทร

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการ

แผนผังองค์กร


โครงสร้าง การจัดการ 050


โครงสร้างการจัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

โครงสร้างองค์กรของบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี องค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการ 1. คณะกรรมการของบริษทั ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวนไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 17 คน โดยกรรมการไม่นอ้ ย กว่ากึง่ หนึง่ ของกรรมการจำ�นวนทัง้ หมดต้องมีถน่ิ ทีอ่ ยู่ในราชอาณาจักร และกรรมการต้องเป็นผูม้ คี ณุ สมบัตติ ามที่ กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัตมิ หาชนจำ�กัด 2. มีกรรมการอิสระที่มีความเป็นมืออาชีพไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด และต้องมีจำ�นวน กรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน 3. กรรมการต้องมีอายุไม่เกิน 70 ปี เว้นแต่กรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งในปัจจุบัน ให้คงความเป็นกรรมการ บริษัทจนครบวาระ 4. เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ เพื่อผสมผสานความรู้ความสามารถที่จำ�เป็น โดยควรประกอบด้วยผู้ที่มี ความรู้ด้านธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมีอย่างน้อย 3 คน ผู้มีความรู้ด้านกฎหมายอย่างน้อย 1 คน และ ผู้มีความรู้ด้านบัญชีและการเงินอย่างน้อย 1 คน 5. มีคณุ สมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจำ�กัด และพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ ไม่มลี กั ษณะทีแ่ สดงถึงการขาดความเหมาะสมทีจ่ ะได้รบั ความไว้วางใจให้บริหาร จัดการกิจการ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามแทนบริษัท กรรมการซึ่งมีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัท ตามหนังสือรับรองบริษัท ณ 8 มกราคม 2553 คือ นายพละ สุขเวช นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายวีรพงษ์ รามางกูร นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายอารีย์ วงศ์อารยะ นายวุฒิสาร ตันไชย นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ นายพิชัย ชุณหวชิร กรรมการสองในสิบสองคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษัท วาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการจำ�นวน 1 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมี ออกจากตำ�แหน่ง ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรงเป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 กรรมการที่จะ ต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัท ให้ใช้วิธีจับฉลากกันและปีต่อๆ ไป ให้กรรมการ คนที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง กรรมการซึ่งพ้นจากตำ�แหน่งจะเลือกเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้ การแต่งตั้งและพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท ข้อบังคับบริษัทมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการแต่งตั้ง และพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท สรุปได้ดังนี้ การแต่งตั้งกรรมการ 1. ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการสรรหาเป็นผู้คัดเลือกและเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหุ้นรายหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง (2) การเลือกตัง้ กรรมการจะลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ เป็นรายบุคคล หรือเป็นครัง้ เดียวเต็มตามจำ�นวนกรรมการ ทัง้ หมดทีจ่ ะต้องเลือกตัง้ ในคราวนัน้ ก็ได้ ทัง้ นีต้ ามแต่ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ จะเห็นสมควร โดยในการออกเสียง ลงคะแนนไม่วา่ จะเป็นการเลือกตัง้ เป็นรายบุคคล หรือเป็นคณะบุคคล แต่ละคนทีผ่ ถู้ อื หุน้ ออกเสียงเลือก ตัง้ จะได้รบั คะแนนเสียงจากผูถ้ อื หุน้ ตามจำ�นวนหุน้ ทีผ่ ถู้ อื หุน้ นัน้ มีอยูท่ ง้ั หมดตาม (1) โดยผูถ้ อื หุน้ ดังกล่าว จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้หนึ่งผู้ใดมากหรือน้อยเพียงใดไม่ได้

051


(3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการเลือกตั้งในลำ�ดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานในที่ ประชุมนั้นเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการของบริษัท ประธานกรรมการมีสิทธิ ออกเสียงชี้ขาดในกรณีที่คะแนนเสียงของคณะกรรมการในที่ประชุมมีจำ�นวนเท่ากัน และให้คณะกรรมการ พิจารณาเลือกและแต่งตั้งกรรมการอีกคนหนึ่งเป็นรองประธานกรรมการ และให้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธาน กรรมการ ในกรณีทป่ี ระธานกรรมการไม่สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้เป็นการชัว่ คราว หรือเมือ่ ตำ�แหน่งประธาน กรรมการว่างลง 3. ในกรณีที่ตำ�แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือก บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระ ของกรรมการจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึ่งเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมการ ได้เพียงเท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการที่ตนแทน มติของคณะกรรมการในกรณีนี้ต้องประกอบด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำ�นวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ 4. กรณีทต่ี �ำ แหน่งกรรมการว่างลงจนเหลือน้อยกว่าจำ�นวนทีจ่ ะเป็นองค์ประชุม ให้กรรมการทีเ่ หลืออยูก่ ระทำ�การ ในนามของคณะกรรมการได้แต่เฉพาะการจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อเลือกตั้งกรรมการแทนตำ�แหน่ง ที่ว่างทั้งหมดเท่านั้น โดยให้กระทำ�ภายหนึ่งเดือนนับแต่วันที่จำ�นวนกรรมการว่างลงเหลือน้อยกว่าจำ�นวน ที่จะเป็นองค์ประชุม และบุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนตามวรรคแรกอยู่ในตำ�แหน่งได้เพียงเท่าวาระที่ ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน การพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการ 1. ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งหนึ่งในสาม กรรมการที่ออกตามวาระ นั้นอาจถูกเลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ก็ได้ 2. นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจากตำ�แหน่งเมือ่ ตาย หรือลาออก หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลกั ษณะต้องห้ามตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด หรือทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ลงมติให้ออก หรือศาล มีค�ำ สัง่ ให้ออก 3. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำ�แหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อบริษัท การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึง บริษัท ทั้งนี้ กรรมการซึ่งลาออกจะแจ้งการลาออกของตนให้นายทะเบียนทราบด้วยก็ได้ 4. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตำ�แหน่งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วยคะแนน เสียงไม่นอ้ ยกว่าสามในสี่ ของจำ�นวนผูถ้ อื หุน้ ซึง่ มาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหนุ้ นับรวมกันได้ไม่นอ้ ย กว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง อำ�นาจหน้าที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่จัดการกิจการของบริษัท ทั้งปวงให้เป็นไปตามกฏหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของ บริษัท และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น การดำ�เนินการของคณะกรรมการบริษัท ที่ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำ�นวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้น ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนก่อนดำ�เนินการในเรื่องต่างๆ มีดังต่อไปนี้ 1. การขายหรือโอนกิจการของบริษัท ทั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ�คัญให้แก่บุคคลอื่น 2. การซื้อหรือรับโอนกิจการของบริษัทอื่นหรือบริษัทเอกชนมาเป็นของบริษัท 3. การทำ� แก้ไข หรือการเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่ากิจการของบริษัททั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ�คัญ 4. การมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าจัดการธุรกิจของบริษัท 5. การรวมกิจการกับบุคคลอื่น โดยมีวัตถุประสงค์จะแบ่งกำ�ไร ขาดทุนกัน 6. การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ 7. การเพิ่มทุนหรือลดทุนของบริษัท หรือการออกหุ้นกู้ 8. การควบบริษัทหรือเลิกบริษัท

052


กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีความเป็นอิสระจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือกลุ่มของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และ ผู้บริหารของบริษัท มีอำ�นาจหน้าที่แสดงความเห็นอย่างเสรีตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายในการปกป้องผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นรายย่อย และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ มีกรรมการที่มีคุณสมบัติความเป็นอิสระ ตามเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนและหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จำ�นวน 8 ท่าน ซึ่งมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ บริษทั ฯ กำ�หนดคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระทีเ่ ข้มกว่าข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกิน 0.5 % ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระ รายนั้นๆ ด้วย 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษาของส่วน ราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ขออนุญาต 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดา มารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็น หรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุมของบริษทั ใหญ่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทำ�รายการทางการค้าที่กระทำ�เป็นปกติเพื่อประกอบ กิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความ ช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กยู้ มื ค�ำ้ ประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็นหลักประกันหนีส้ นิ รวมถึง พฤติการณ์อน่ื ทำ�นองเดียวกัน ซึง่ เป็นผลให้ผขู้ ออนุญาตหรือคูส่ ญั ญามีภาระหนีท้ ต่ี อ้ งชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึง่ ตัง้ แต่รอ้ ยละสามของสินทรัพย์ทม่ี ตี วั ตนสุทธิของผูข้ ออนุญาตหรือตัง้ แต่ยส่ี บิ ล้านบาทขึน้ ไป แล้วแต่จ�ำ นวนใด จะต่ำ�กว่า ทั้งนี้ การคำ�นวณภาระหนี้ดังกล่าวให้เป็นไปตามวิธีการคำ�นวณมูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามประกาศคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการที่เกีย่ วโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษา ทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของ ผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่

053


8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีร่ บั เงินเดือนประจำ� หรือถือหุน้ เกินร้อยละหนึง่ ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั อืน่ ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัท หรือบริษัทย่อย 9. ไม่มีลักษณะอื่นที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท ทั้งนี้ หากมีกรรมการอิสระพ้นจากตำ�แหน่ง บริษัทฯ จะสรรหาผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและมีคุณสมบัติเป็นกรรมการ อิสระมาทดแทนเป็นอันดับแรก รวมทั้งรักษาจำ�นวนกรรมการอิสระให้ครบถ้วนตามเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุนและหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อย่างไรก็ตาม กรรมการคนอื่นๆ หากต่อมามีคุณสมบัติกรรมการอิสระ ตามที่กำ�หนดเมื่อใด กรรมการคนนั้นๆ ก็มีฐานะเป็นกรรมการอิสระของบริษัท โดยทันที คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี และได้มอบหมายภาระหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองการดำ�เนินงานที่สำ�คัญเป็นการ เฉพาะเรื่องด้วยความรอบคอบและมีประสิทธิภาพ เพื่อนำ�เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัทโครงสร้างของคณะ กรรมการชุดย่อย มีดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการบริหาร แต่งตั้งขึ้นเพื่อให้การบริหารงานของบริษัท ดำ�เนินไปอย่างคล่องตัว มีผลการดำ�เนินงานที่เป็นเลิศ และดำ�เนินไปตาม นโยบายที่คณะกรรมการบริษัทกำ�หนด โดยคำ�นึงถึงสภาวะความเสี่ยงทั้งในปัจจุบันและอนาคต และให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ ภารกิจ และจรรยาบรรณทางธุรกิจรวมทั้งหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย 1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์ ประธานกรรมการบริหาร 2. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการบริหาร 3. นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ กรรมการบริหาร 4. นายวุฒิสาร ตันไชย กรรมการบริหาร 5. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร กรรมการบริหาร นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร กรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการบริหาร อำ�นาจและหน้าที่ คณะกรรมการบริหาร มีอำ�นาจและหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากกรรมการบริษัท มีดังนี้ 1. พิจารณากลั่นกรองแผนธุรกิจ และงบประมาณประจำ�ปีเพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 2. กำ�หนดนโยบายการเงินการลงทุนของบริษทั และกำ�หนดทิศทางนโยบายการลงทุนให้สอดคล้องกับนโยบายของ บริษัท และอนุมัติหลักเกณฑ์การลงทุน และข้อเสนอการลงทุนตามระเบียบบริษัท 3. พิจารณาและดำ�เนินการในประเด็นที่สำ�คัญซึ่งเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัท 4. พิจารณากลั่นกรองและให้ข้อเสนอแนะงานทุกประเภทที่เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท 5. พิจารณาแต่งตั้งกรรมการของบริษัทในเครือ หรือบริษัทร่วมทุนตามจำ�นวนสัดส่วนการถือหุ้น หรือตามข้อ ตกลงในสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้น 6. พิจารณาเรื่องอื่นใดที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. ม.ร.ว.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ กรรมการตรวจสอบ 3. นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ กรรมการตรวจสอบ กรรมการทั้ง 3 ท่าน เป็นกรรมการที่มีความรู้ ความเข้าใจ หรือมีประสบการณ์ด้านบัญชีหรือการเงิน นางสาวขนิษฐา ทรัพย์สุนทร ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ

054


อำ�นาจและหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบมีอำ�นาจและหน้าที่ตามที่กำ�หนดในประกาศตลาดหลักทรัพย์ฯ เรื่อง คุณสมบัติและขอบเขตการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. 2551 และหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจาก กรรมการบริษัท ดังนี้ 1. สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเปิดเผยอย่างเพียงพอ โดยการประสานงาน กับผู้สอบบัญชีภายนอกและผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดทำ�รายงานทางการเงินทั้งรายไตรมาส และประจำ�ปี 2. สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน 3. สอบทานการปฏิบัติของบริษัท ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่ผู้สอบบัญชีของบริษัท และ พิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี รวมทั้งเข้าประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่าง น้อยปีละหนึ่งครั้ง 5. พิจารณาสอบทานรายการเกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตาม กฎหมายและข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็น ประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท 6. จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษทั ซึง่ รายงานดังกล่าว ลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความพอเพียงของระบบควบคุมภายในของบริษัท 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 6.6 จำ�นวนการประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการตรวจสอบ แต่ละท่าน 6.7 ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบได้รบั การปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตร (Charter) 6.8 รายการอื่นที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นหรือผู้ลงทุนทั่วไปควรทราบภายใต้ขอบเขตหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 1. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 2. นายพละ สุขเวช กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นายวุฒิสาร ตันไชย กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นางสาวไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการเงิน ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน อำ�นาจและหน้าที่ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอรายชื่อเป็นกรรมการใหม่ หรือสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ และ เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท ซึ่งจะนำ�เสนอรายชื่อกรรมการใหม่ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้ง ต่อไป 2. กำ�หนดวิธกี ารและหลักเกณฑ์การสรรหาบุคคลเพือ่ ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั หรือกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ 3. กำ�หนดค่าตอบแทนของกรรมการ เพื่อนำ�เสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาต่อไป 4. กำ�หนดค่าตอบแทน รวมทั้งพิจารณาเพิ่มค่าตอบแทนให้แก่กรรมการผู้จัดการใหญ่

055


4. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 1. นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3. นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นางสุมณฑ์ รังคสิริ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการคณะ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อำ�นาจและหน้าที่ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ต่อคณะทำ�งานพัฒนาระบบกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. เสนอแนวปฏิบัติด้านกำ�กับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัท 3. กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทและฝ่ายจัดการเพื่อให้เป็นไปตามหลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี 4. ให้คำ�แนะนำ�แก่คณะกรรมการบริษัทในเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 5. ทบทวนแนวทางหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั โดยเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั สิ ากลและเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการบริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท ยังกำ�หนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัท ในระดับจัดการ เพื่อทำ�หน้าที่ตรวจสอบและดูแลการบริหารความเสี่ยงโดยตรง เช่น ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks) ความ เสี่ยงในการปฏิบัติงาน (Operation Risks) ความเสี่ยงในธุรกิจ (Business Risks) หรือความเสี่ยงในเหตุการณ์ (Event Risks) เป็นต้น โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงดังกล่าวจะต้องจัดให้มีการจัดทำ�การวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ้น แนวโน้มซึ่งมีผลกระทบต่อบริษัท ทั้งภายในและภายนอก และจะต้องมีการจัดทำ�รายงานประเมินผล ความเสี่ยง (Risk Management Report) รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อพิจารณากลั่นกรองก่อนนำ�เสนอ คณะกรรมการบริษัท ต่อไป การสรรหากรรมการและผู้บริหาร บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาคัดเลือก กลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมและสมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัท และที่ปรึกษาคณะกรรมการบริษัท โดยพิจารณาจาก บุคคลที่มีคุณสมบัติเบื้องต้นตามที่บริษัทกำ�หนด ดังนี้ 1. มีคุณสมบัติสอดคล้องตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน กฎของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ กฎของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท 2. มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่หลากหลายในสาขาวิชาชีพต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์และเพิ่ม มูลค่าให้แก่บริษัท 3. มีคุณลักษณะที่สนับสนุนและส่งเสริมการดำ�เนินงานด้านกำ�กับดูแลกิจการ เพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ บริษัท อาทิ คุณธรรมจริยธรรม ความเป็นอิสระ กล้าแสดงความคิดเห็น ความคิดสร้างสรรค์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความระมัดระวังและความซือ่ สัตย์ (Duty of Care and Duty of Loyalty) ทุม่ เทอุทศิ เวลา อายุทเ่ี หมาะสม สุขภาพร่างกายแข็งแรงและจิตใจที่สมบูรณ์ เตรียมตัวล่วงหน้าก่อนการประชุม และเป็นที่ยอมรับของ สังคม เป็นต้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่มีนโยบายปิดกั้นผู้ถือหุ้นในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตั้งเป็นกรรมการ

056


การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ในปี 2552 คณะ กรรมการ บริษัท

คณะ กรรมการ บริหาร

(หน่วย : ครั้ง)

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ ตรวจสอบ กำ�กับดูแล สรรหาและ กิจการที่ดี กำ�หนด ค่าตอบแทน

3 คน) (จำ�นวน 3 คน) (จำ�นวน 3 คน) (จำ�นวน 17 คน) (จำ�นวน 5 คน) (จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน การประชุม การประชุ ม การประชุ ม การประชุม การประชุม ทั้งปี 4 ครั้ง ทั้งปี 4 ครั้ง ทั้งปี 11 ครั้ง ทั้งปี 13 ครั้ง ทั้งปี 12 ครั้ง 1 นายณอคุณ สิทธิพงศ์ 9/9 8/8 2 นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 11/13 4/4 3 นายอารีย์ วงศ์อารยะ 12/13 4 นายพละ สุขเวช 12/13 4/4 2/2 5 นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ 13/13 12/12 4/4 6 นายวีรพงษ์ รามางกูร 13/13 7 นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ 13/13 4/4 8 นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ 13/13 9/9 9 นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ 13/13 7/7 3/3 10 นายเลอศักดิ์ จุลเทศ 11/13 11 ม.ร.ว.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ 9/9 9/9 12 นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ 9/9 9/9 13 นายวุฒิสาร ตันไชย 9/9 7/8 2/2 14 นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ 8/9 15 นายพิชัย ชุณหวชิร 5/6 16 นางสาววริยา ว่องปรีชา 5/6 17 นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร 13/13 12/12 1 18 พลเอกมงคล อัมพรพิสิฏฐ์ 5/5 4/4 19 นายวิสิฐ ตันติสุนทร2 4/6 3/4 3 20 พลตำ�รวจเอกเสรีพศิ ทุ ธ์ เตมียาเวส 4/4 2/2 21 นายเสงี่ยม สันทัด3 4/4 2/2 3 22 นายรัตน์ พานิชพันธ์ 4/4 2/2 23 นายชัยวัฒน์ ชูฤทธิ3์ 4/4 2/2 3 24 นายเทียนไชย จงพีร์เพียง 4/4 1/1 หมายเหตุ 1. พลเอกมงคล อัมพรพิสิฏฐ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2552 2. นายวิสิฐ ตันติสุนทร ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน 2552 3. พลตำ�รวจเอกเสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส, นายเสงี่ยม สันทัด, นายรัตน์ พานิชพันธ์, นายชัยวัฒน์ ชูฤทธิ์, นายเทียนไชย จงพีร์เพียง ออกจากตำ�แหน่งกรรมการตามวาระ ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2552 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552 รายชื่อคณะกรรมการ

ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพือ่ พิจารณาแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทน ของกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท โดยมีแนวทางกำ�หนดค่าตอบแทน ดังนี้ 1. กำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน และเบี้ยประชุม 2. กำ�หนดฐานค่าตอบแทนกรรมการบริษัท โดยคำ�นึงถึงขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ ความเหมาะสมและ สอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน ผลการดำ�เนินงานของบริษัท โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับแนวปฏิบัติของ บริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันซึ่งมีขนาดของธุรกิจใกล้เคียงกัน รวมถึงความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจ 3. ตำ�แหน่งประธานกรรมการบริษทั และประธานคณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ๆ กำ�หนดอัตราค่าตอบแทนเพิม่ เติม จากอัตราของกรรมการ ประมาณร้อยละ 30

057


4. กรณีคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงคณะกรรมการชุดย่อยอื่นที่อาจมีการ แต่งตั้งขึ้นในอนาคต กำ�หนดให้ได้รับค่าตอบแทนเฉพาะเบี้ยประชุมตามครั้งประชุม โดยอัตราที่กำ�หนดจะ พิจารณาจากขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมถึงแนวปฏิบัติของบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกันซึ่งมี ขนาดของธุรกิจใกล้เคียงกัน ทั้งนี้ บริษัทฯได้นำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2552 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552 และที่ประชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ มีมติอนุมตั คิ า่ ตอบแทนคณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการชุดย่อย ในอัตราเท่ากับค่าตอบแทน ปี 2551 ดังนี้ 1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2552 คณะกรรมการ

ค่าตอบแทนรายเดือน/คน

เบี้ยประชุมต่อครั้ง/คน

60,000 บาท 45,000 บาท

60,000 บาท 45,000 บาท

1) คณะกรรมการบริษัทฯ ประธานกรรมการ กรรมการ

2) คณะกรรมการชุดย่อยได้แก่ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประธานกรรมการ กรรมการ

-

60,000 บาท 45,000 บาท

2. โบนัสกรรมการ : การจ่ายโบนัสให้คณะกรรมการของบริษทั พิจารณาเปรียบเทียบโดยอ้างอิงจากอุตสาหกรรม เดียวกัน รวมถึงพิจารณาจากการขยายตัวทางธุรกิจและการเติบโตของผลกำ�ไรของบริษัท เนือ่ งจากผลประกอบการของบริษทั ในปี 2551 ไม่เป็นไปตามเป้าหมายและประสบผลขาดทุนจากการได้รบั ผลกระทบ จากความผันผวนของราคาน�ำ้ มันดิบและปัญหาเศรษฐกิจตกต�ำ่ ทัว่ โลก คณะกรรมการบริษทั จึงมีมติงดจ่ายโบนัสกรรมการ ในปี 2551 และบริษัทฯได้นำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2552 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552 ที่ประชุม สามัญผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติงดจ่ายโบนัสกรรมการ

058


ในปี 2552 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท สรุปได้ดังนี้

ลำ�ดับ ที่

รายชื่อกรรมการ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายอารีย์ วงศ์อารยะ นายพละ สุขเวช นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายวีรพงษ์ รามางกูร นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ นายเลอศักดิ์ จุลเทศ ม.ร.ว.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายวุฒิสาร ตันไชย นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ นายพิชัย ชุณหวชิร นางสาววริยา ว่องปรีชา นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

เบี้ยประชุม กรรมการ ชุดย่อย

(หน่วย: บาท)

ค่าตอบแทน

เบี้ยประชุม คณะกรรมการ บริษัท

509,177 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 394,500 394,500 394,500 394,500 279,000 279,000 540,000

540,000 495,000 540,000 540,000 585,000 585,000 585,000 585,000 585,000 495,000 405,000 405,000 405,000 360,000 225,000 225,000 585,000

480,000 240,000 270,000 720,000 240,000 405,000 450,000 405,000 540,000 405,000 540,000

1,529,177 1,275,000 1,080,000 1,350,000 1,845,000 1,125,000 1,365,000 1,530,000 1,575,000 1,035,000 1,204,500 1,339,500 1,204,500 754,500 504,000 504,000 1,665,000

263,226 226,500

300,000 180,000

240,000 135,000

803,226 541,500

145,500

180,000

120,000

445,500

145,500 145,500 145,500 145,500 9,262,403

180,000 180,000 180,000 180,000 9,525,000

90,000 90,000 90,000 45,000 5,505,000

415,500 415,500 415,500 370,500 24,292,403

รวม

กรรมการครบวาระและลาออกระหว่างปี 18 19 20 21 22 23 24

พลเอกมงคล อัมพรพิสิฏฐ์ นายวิสิฐ ตันติสุนทร พลตำ�รวจเอกเสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส นายเสงี่ยม สันทัด นายรัตน์ พานิชพันธ์ นายชัยวัฒน์ ชูฤทธิ์ นายเทียนไชย จงพีร์เพียง รวม

กรรมการครบวาระและลาออกระหว่างปี 2552

1. พลเอกมงคล อัมพรพิสิฎฐ์ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2552 2. นายวิสิฐ ตันติสุนทร ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่วันที่ 2 มิถุนายน 2552 3. พลตำ�รวจเอกเสรีพิศุทธ์ เตมียาเวส, นายเสงี่ยม สันทัด, นายรัตน์ พานิชพันธ์, นายชัยวัฒน์ ชูฤทธิ์, นายเทียนไชย จงพีร์เพียง ออกจากตำ�แหน่งกรรมการตามวาระ ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2552 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552

059


ค่าตอบแทนผู้บริหาร ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ จำ�นวน 6 ท่าน ได้รับค่าตอบแทนสำ�หรับปี 2552 ประกอบด้วย เงินเดือน โบนัส และ เงินสบทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ รวม 59,263,552 บาท มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท) ค่าตอบแทน

เงินเดือน โบนัส เงินสบทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ รวม

2551

2552

จำ�นวนราย

จำ�นวนเงิน

จำ�นวนราย

จำ�นวนเงิน

12 12 8

73,024,536 17,085,662 3,123,984 93,234,182

6 6 2

43,993,519 14,275,024 995,009 59,263,552

การถือหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัท ในปี 2552 มีดังนี้ ณ 31 ธ.ค.2551

ลำ�ดับที่

รายชื่อ

1 2 3 4 5

นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายอารีย์ วงศ์อารยะ นายพละ สุขเวช นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

6 7

นายวีรพงษ์ รามางกูร นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ

8 9 10

นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ นายเลอศักดิ์ จุลเทศ

11 12 13 14 15

ม.ร.ว.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายวุฒิสาร ตันไชย นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ นายพิชัย ชุณหวชิร

16 17

นางสาววริยา ว่องปรีชา นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

ณ 31 ธ.ค.2552

ทุนชำ�ระแล้ว ทุนชำ�ระแล้ว 19,705,570,300 บาท 19,829,150,400 บาท

สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น

0.000041 8,000 0.000806 158,742 0.000002 375 0.000001 100 0.000507 100,000

สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น

060

0.000040 8,000 0.000801 158,742 0.000002 375 0.000504 100,000

จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี

(100) -


การถือหลักทรัพย์ของผู้บริหาร ณ 31 ธ.ค.2551

ลำ�ดับที่

รายชื่อ

1 2 3 4

นายบรรลือ ฉันทาดิศัย นายอธิคม เติบศิริ นายสหัสชัย พาณิชย์พงศ์ นายมานิตย์ สุธาพร

5

นายนันทชัย ประภาวัฒน์เวช*

6 7

น.ส.อรวรรณ ลีลารัศมี น.ส.ไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล

ณ 31 ธ.ค.2552

ทุนชำ�ระแล้ว ทุนชำ�ระแล้ว 19,705,570,300 บาท 19,829,150,400 บาท

สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น

0.000000 50 -

สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น

0.000000 50 0.000756 150,000 -

*นายนันทชัย ประภาวัฒน์เวช ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารของบริษัท เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2552

061

จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี

-


โครงสร้าง ผู้ถือหุ้น 062


โครงสร้างผู้ถือหุ้น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรกของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ณ วันปิดสมุดทะเบียนเพื่อจ่ายเงินปันผล วันที่ 8 กันยายน 2552 มีดังนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้น

จำ�นวนหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น

1. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

7,273,466,200

36.89%

2. ธนาคารออมสิน

1,950,000,000

9.89%

3. กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ

1,386,289,170

7.03%

4. กองทุนรวมวายุภกั ษ์หนึง่ โดย บลจ.เอ็มเอฟซี จำ�กัด (มหาชน)

890,204,100

4.51%

5. กองทุนรวมวายุภกั ษ์หนึง่ โดย บลจ.กรุงไทย จำ�กัด (มหาชน)

890,204,100

4.51%

6. ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)

504,906,708

2.56%

7. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด

280,709,524

1.42%

8. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

271,173,524

1.38%

9. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

258,951,008

1.31%

10. กองทุนเปิด ไทยทวีทุน

243,000,000

1.23%

36.89%

37.16% 9.03%

7.03%

9.89%

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ธนาคารออมสิน กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ กองทุนรวมวายุภักษ์ ผู้ถือหุ้นรายย่อย

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี หลังหักภาษีและทุนสำ�รอง ต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับ แผนการลงทุน ความจำ�เป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ เห็นสมควร บริษัทย่อย ไม่มีการกำ�หนดนโยบายจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย

063


ลักษณะ การประกอบ ธุรกิจ 064


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

“ไออาร์พีซี” เป็นผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมปิโตรเคมีครบวงจรแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีโรงกลั่นน้ำ�มัน และโรงงานปิโตรเคมีตั้งอยู่ย่านชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ซึ่งเป็น เขตประกอบการอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ พร้อมสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจ ทั้งท่าเรือน้ำ�ลึก คลังน้ำ�มัน และโรงไฟฟ้า โรงกลั่นน้ำ�มันของบริษัทฯ มีกำ�ลังการกลั่น 215,000 บาร์เรลต่อวัน จัดอยู่ในอันดับ 3 ของกำ�ลังการกลั่นน้ำ�มันภายใน ประเทศ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์น้ำ�มันที่หลากหลาย ประกอบด้วย น้ำ�มันเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน ยางมะตอย และผลิตภัณฑ์พลอยได้ต่างๆ นอกจากนี้ แนฟทาซึ่งได้จากกระบวนการกลั่น ยังนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบ สำ�หรับผลิตโอเลฟินส์และอะโรเมติกส์ ซึ่งใช้เป็นสารตั้งต้นสำ�หรับการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นปลาย และจำ�หน่าย ให้กับโรงงานผลิตพลาสติกสำ�เร็จรูปต่างๆ โครงสร้างรายได้ รายได้ 1. ธุรกิจปิโตรเลียม 2. ธุรกิจปิโตรเคมี 3. ค่าไฟฟ้าและอื่นๆ

ดำ�เนินการโดย บมจ.ไออาร์พีซี, บจ.น้ำ�มัน ไออาร์พีซี บมจ.ไออาร์พซี ,ี บจ.ไทย เอบีเอส, บจ.ไออาร์พีซี โพลีออล บมจ.ไออาร์พีซี

รวมรายได้จากการขาย 4. ส่วนแบ่งกำ�ไร (ขาดทุน) เงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย 5. รายได้อื่น (1)

รวมรายได้ สัดส่วนรายได้จากการขายภายในประเทศ : ต่าง ประเทศ

2550 2551 2552 ล้านบาท สัดส่วน ล้านบาท สัดส่วน ล้านบาท สัดส่วน 162,702 72% 180,294 74% 118,819 71% 61,968

27%

61,488

25%

44,511

27%

2,848

1%

2,912

1%

2,706

2%

227,518

100%

244,694

100%

166,036

100%

-

(31)

17

4,292

954

165

231,810

245,617

166,218

69 : 31

62 : 38

67 : 33

หมายเหตุ : (1) รายได้อื่น ประกอบด้วย กำ�ไร (ขาดทุน) จากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์, กำ�ไร (ขาดทุน) จากการจำ�หน่าย เงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า, กำ�ไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน, กำ�ไร (ขาดทุน) จากสัญญาแลกเปลี่ยนส่วน ต่างราคาน้ำ�มัน, ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร, ดอกเบี้ยรับ, เงินปันผลรับ

065


ธุรกิจปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมของไออาร์พีซี ประกอบด้วย 1. น้ำ�มันเชื้อเพลิง ประกอบด้วย น้ำ�มันเบนซิน น้ำ�มันดีเซล ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) 2. น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตน้ำ�มันหล่อลื่นเกรดต่างๆ 3. แนฟทา ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันชนิดเบา ใช้เป็นวัตถุดิบหลักสำ�หรับโรงงานปิโตรเคมี 4. ลองเรสซิดิว หรือ ATB ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันชนิดหนัก ใช้เป็นวัตถุดิบหลักสำ�หรับผลิตน้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน 5. ยางมะตอย ผลิตภัณฑน้ำ�มันชนิดหนักที่สุดที่ได้จากกระบวนการกลั่น ใช้สำ�หรับงานก่อสร้างถนน สัดส่วนยอดขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปี 2552

7%

7% 4% 2% 52%

11% 17%

น้ำ�มันดีเซล น้ำ�มันเบนซิน ลองเรสซิดิว น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน ยางมะตอยและผลิตภัณฑ์พลอยได้ แนฟทา อื่นๆ

ธุรกิจปิโตรเคมี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีของไออาร์พีซี ประกอบด้วย 1. โอเลฟินส์ ประกอบด้วย เอทิลีน, โพรพิลีน และบิวทาไดอีน ใช้เป็นวัตถุดิบหลักสำ�หรับโรงงานปิโตรเคมีภายในของ บริษัทฯ โดยจำ�หน่ายภายนอกบางส่วน 2. อะโรเมติกส์ ประกอบด้วย เบนซีน, โทลูอีน และไซลีน โดยเบนซีนใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโรงงานปิโตรเคมีขั้นกลาง ของบริษัทฯ ส่วนโทลูอีนและไซลีน บริษัทฯ จำ�หน่ายให้บริษัทภายนอก 3. โพลีเมอร์ ประกอบด้วยเม็ดพลาสติกชนิด HDPE, PP, ABS/SAN, PS, EPS เพื่อจำ�หน่ายให้โรงงานผลิตพลาสติก สำ�เร็จรูปต่างๆ 4. โพลีออล ประกอบด้วย โพลีเอสเทอร์ และโพลีอีเทอร์โพลีออล ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิตโพลียูรีเทน ซึ่งนำ�ไปผลิต เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ เช่น โฟมที่ใช้ในการทำ�เฟอร์นิเจอร์ พื้นรองเท้า และโฟมที่ใช้เป็นฉนวนกันความร้อน เป็นต้น สัดส่วนยอดขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ปี 2552 13%

2%

14% 71%

066

โพลีเมอร์ โอเลฟินส์ อะโรเมติกส์ โพลีออล


ธุรกิจท่าเรือ ท่าเรือไออาร์พีซีตั้งอยู่บริเวณพื้นที่เดียวกันกับโรงกลั่นน้ำ�มันของบริษัทฯ จังหวัดระยอง โดยให้บริการเทียบเรือเพื่อ ขนถ่ายสินค้า พร้อมสิ่งอำ�นวยความสะดวกเพื่อให้บริการลูกค้าในการเทียบท่า เช่น เรือลากจูง, บริการนำ�ร่อง, เรือ บริการ, เครื่องชั่ง, ลานตู้สินค้าคอนเทนเนอร์, โกดังเก็บสินค้า, เครื่องจักรและอุปกรณ์ในการขนถ่ายสินค้า เป็นต้น ท่าเรือหลักประกอบด้วย • ท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียม (Liquid & Chemical Terminal) ให้บริการขนถ่ายสินค้าปิโตรเคมี ปิโตรเลียมและ ก๊าซ ท่าเรือมีความยาวทั้งสิ้น 1,623 เมตร แบ่งออกเป็น 8 ท่าย่อย มีร่องน้ำ�ลึกตั้งแต่ 6-19 เมตร สามารถรองรับ เรือขนาด 1,000 - 250,000 DWT. (Deadweight tonnage) • ท่าเรือคอนเทนเนอร์ และสินค้าทั่วไป (Bulk & Container Terminal) ให้บริการขนถ่ายสินค้าเทกอง และสินค้า บรรจุตู้คอนเทนเนอร์ ตัวท่ามีความยาวทั้งสิ้น 900 เมตร กว้าง 48 เมตร แบ่งออกเป็น 8 ท่าย่อย มีร่องน้ำ�ลึก ตั้งแต่ 5-17 เมตร สามารถรองรับเรือขนาด 800-150,000 DWT. (Deadweight tonnage) ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน เป็นหน่วยธุรกิจทีด่ �ำ เนินการบริหารจัดการทรัพย์สนิ ในส่วนทีเ่ ป็นทีด่ นิ เปล่า ซึง่ มีทง้ั ทีต่ ง้ั อยูใ่ นจังหวัดระยองและจังหวัดอืน่ ๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 10,000 ไร่ เพื่อพัฒนาเป็นธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน ประเภทนิคมอุตสาหกรรม หรือเขต ประกอบการอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนธุรกิจหลักในกลุ่มไออาร์พีซี และในกลุ่ม ปตท. รวมถึง ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมภายนอก โดยเน้นการดำ�เนินธุรกิจที่เป็นมิตรต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน

ภาวะอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ในปี 2552 สถิติความต้องการใช้น้ำ�มันของโลกเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 84.08 ล้านบาร์เรลต่อวัน ต่ำ�กว่ากำ�ลังการผลิตน้ำ� มันดิบซึ่งอยู่ที่ระดับ 84.3 ล้านบาร์เรลต่อวัน ราคาน้ำ�มันดิบปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปี โดยน้ำ�มันดิบดูไบ เฉลี่ยในปี 2552 อยู่ที่ระดับ 61.7 $/bbl โดยมีผลต่างระหว่างราคาผลิตภัณฑ์น้ำ�มันและน้ำ�มันดิบ (Product Spread) แสดงในตารางดังนี้ หน่วย : $/bbl ส่วนต่างราคา

2551

2552

เปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)

ราคาน้ำ�มันดิบดูไบเฉลี่ย น้ำ�มันเบนซิน 95 - น้ำ�มันดิบดูไบ น้ำ�มันดีเซล - น้ำ�มันดิบดูไบ น้ำ�มันเตา - น้ำ�มันดิบดูไบ

93.57 9.07 25.96 -16.39

61.69 8.52 7.22 -5.7

-34.1 -6.1 -72.2 65.2

ส่วนต่างราคาของน้ำ�มันเบนซิน 95 และน้ำ�มันดีเซลปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 8.52 $/bbl และ 7.22 $/bbl ตามลำ�ดับ ขณะที่ส่วนต่างราคาของน้ำ�มันเตาปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ -5.7 $/bbl ส่วนค่าเงินบาทแข็งค่าเมื่อ เทียบกับปีที่ผ่านมาอยู่ที่ระดับ 34.47 บาทต่อเหรียญสหรัฐ

067


ราคาน้ำ�มันดิบและน้ำ�มันสำ�เร็จรูป 200 180 160 140 120 100 80 60 40 20 0

น้ำ�มันดิบดูไบ น้ำ�มันเบนซิน น้ำ�มันดีเซล น้ำ�มันเตา

มี.ค.​51 มิ.ย.​51 ก.ย. 51 ธ.ค. 51 มี.ค.​52 มิ.ย.​52 ก.ย. 52 ธ.ค. 52

สำ�หรับการบริโภคน�ำ้ มันสำ�เร็จรูปภายในประเทศในปี 2552 เพิม่ ขึน้ จากปี 2551 ร้อยละ 1 เนือ่ งจากราคาขายปลีก โดยเฉลี่ยลดลงจากที่ปีผ่านมา ประกอบกับผู้บริโภคเริ่มเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้พลังงานทางเลือกทดแทนเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การบริโภคน้ำ�มันเบนซินในแต่ละเดือนมีปริมาณค่อนข้างคงที่เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 20.8 ล้านลิตรต่อวัน หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.4 เนือ่ งจากราคาขายปลีกโดยเฉลีย่ ในปีนท้ี ต่ี �ำ่ กว่าปี 2551 ส่วนปริมาณการใช้แก๊สโซฮอล์เพิม่ ขึน้ จาก 9.2 ล้าน ลิตรต่อวันในปี 2551 เป็น 12.2 ล้านลิตรต่อวันในปีนี้ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 32.2 โดยเป็นการใช้แก๊สโซฮอล์ 95 อยูท่ ร่ี ะดับ 8.1 ล้านลิตรต่อวัน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 25.5 ส่วนการใช้แก๊สโซฮอล์ 91 เพิม่ ขึน้ สูงมากเนือ่ งจากรัฐบาลได้มี นโยบายส่งเสริมการใช้แก๊สโซฮอล์ 91 ด้วยการสร้างความมั่นใจในกลุ่มผู้ใช้รถจักรยานยนต์ ทั้งนี้รัฐบาลมีนโยบาย ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพือ่ ลดการนำ�เข้า โดยลดอัตราเงินส่งเข้ากองทุนน�ำ้ มันฯ สำ�หรับแก๊สโซฮอล์ประมาณ 4 - 6 บาทต่อลิตร เพื่อให้ราคาขายปลีกแก๊สโซฮอล์ต่ำ�กว่าเบนซิน สำ�หรับการใช้ก๊าซแอลพีจีในรถยนต์ลดลงร้อยละ 14.1 เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการใช้ NGV ทดแทนประกอบกับระดับราคาน้ำ�มันในปีนต่ำ�กว่าปีที่ผ่านมา และก๊าซธรรมชาติสำ�หรับรถยนต์เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.0 อยู่ที่ระดับ 3,579 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน อุปสงค์และอุปทานของน้ำ�มันสำ�เร็จรูปภายในประเทศปี 2552 ล้านลิตร 25,000 20,000

ผลิต

15,000

จำ�หน่าย

10,000

ส่งออก

5,000

นำ�เข้า

0

น้ำ�มันเบนซิน

น้ำ�มันดีเซล

น้ำ�มันเตา

ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงการพลังงาน

068

ก๊าซแอลพีจี


แนวโน้มเศรษฐกิจและสถานการณ์ปิโตรเลียมปี 2553 จากการประมาณการภาวะเศรษฐกิจของไทย โดยสำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) คาดว่าในปี 2553 ราคาน้ำ�มันจะอยู่ในระดับ 75 - 85 $/bbl และได้ประมาณการความต้องการพลังงานของประเทศ ในปี 2553 ดังนี้ น้ำ�มันสำ�เร็จรูป ประมาณการว่าความต้องการใช้น้ำ�มันเบนซินและดีเซลเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากคาดว่าปี 2553 ราคาน้ำ�มันยังคงทรงตัวอยู่ในระดับ 75 - 85 $/bbl โดยการใช้น้ำ�มันเบนซินจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 และการใช้น้ำ�มัน ดีเซลเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 3.0 ในขณะทีก่ ารใช้น�ำ้ มันเครือ่ งบินคาดว่าจะเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7.7 จากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลก ที่ส่งผลด้านบวกต่อการส่งออกและการท่องเที่ยว ในขณะที่ LPG คาดว่าจะมีการใช้ลดลงร้อยละ 2.1 และการใช้ น้ำ�มันเตาคาดว่ายังคงลดลงร้อยละ 5.4 โดยส่วนหนึ่งลดลงตามแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (Power Development Plan : PDP) ฉบับใหม่ หรือ PDP 2010 ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ส่งผลให้ทั้งปีคาด ว่าจะมีปริมาณการใช้น้ำ�มันเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.7 LPG ในปี 2553 คาดว่าปริมาณการใช้มีจำ�นวน 5,976 พันตัน เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 15.0 เนื่องจากนำ�ไปใช้เป็น วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 57.6 โดยการใช้เพิ่มจากระดับ 1,311 พันตัน ในปี 2552 เป็น 2,066 พันตัน ในปี 2553 ขณะที่การใช้ของภาคครัวเรือนและใช้เป็นเชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ตามการใช้ในภาคขนส่งจะลดลงร้อยละ 14.9 เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมให้รถแท็กซี่ที่ใช้ LPG จำ�นวน 30,000 คัน เปลี่ยนเป็น NGV แทน โดยโครงการนี้จะเริ่มดำ�เนินการในต้นปี 2553 ซึ่งจะทำ�ให้ความต้องการ LPG ในรถแท็กซี่ลดลงประมาณเดือนละ 15 - 20 พันตัน ทั้งนี้ จากอุปสงค์ภายในประเทศสูงขึ้นมาก เป็นผลให้การ ผลิต LPG ไม่เพียงพอ (กรณีที่โรงแยกก๊าซที่ 6 ของ ปตท. ที่มาบตาพุดไม่สามารถดำ�เนินการผลิตได้) จึงคาดว่าจะมี การนำ�เข้า LPG ประมาณเดือนละ 120 -140 พันตัน ส่วนแบ่งการตลาดน้ำ�มันเชื้อเพลิงภายในประเทศ ปี 2552 18% 34%

5% 8% 11%

11%

13%

ปตท. เอสโซ่ เชฟรอน เชลล์ บางจาก ไออาร์พีซี อื่นๆ

ที่มา: กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงการพลังงาน

ภาวะอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ภาวะอุตสาหกรรมปิโตรเคมีสำ�หรับปี 2552 ปรับตัวดีขึ้นกว่าช่วงปลายปี 2551 ที่ผ่านมา และปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยราคาวัตถุดิบสำ�หรับผลิตโพลิเมอร์ คือ ราคาเอทิลีนปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 626 เหรียญสหรัฐต่อตัน ใน ไตรมาสแรก เป็น 1,056 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในไตรมาสที่สี่ คิดเป็นร้อยละ 69 และโพรพิลีนปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 672 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในไตรมาสแรกเป็น 1,018 เหรียญสหรัฐต่อตันในไตรมาสทีส่ ่ี คิดเป็นร้อยละ 51 ตามทิศทางของราคา น้ำ�มันดิบ และผลจากมาตรการการกระตุ้นเศรษฐกิจจากประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศจีน ประกอบกับอุปทานที่ ลดลงจากการลดกำ�ลังการผลิตตัง้ แต่ปลายปี 2551 และการเลือ่ นการเริม่ เดินเครือ่ งผลิตของโรงงานใหม่จากผลกระทบ ของวิกฤติเศรษฐกิจโลก อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยยังได้รบั ภาวะกดดันจากความผันผวนของราคาน�ำ้ มัน และกำ�ลังการผลิตใหม่ๆ จากตะวันออกกลาง, จีน, อินเดีย รวมทั้งไทยประมาณเกือบ 10 ล้านตัน ซึ่งบางส่วนทยอย เข้ามาสู่ตลาดเอเชียตั้งแต่ปลายปี 2552 เป็นต้นมา

069


สำ�หรับราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในสายโอเลฟินส์ ราคาเอทิลีนตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ICIS SEA) เฉลี่ยในปี 2552 อยู่ที่ 864 เหรียญสหรัฐฯต่อตันลดลงร้อยละ 24 เมื่อเทียบกับปี 2551 ส่วนราคาโพรพิลีน (ICIS SEA) เฉลี่ย ในปี 2552 อยู่ที่ 883 เหรียญสหรัฐฯต่อตันลดลงร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับปี 2551 ทั้งนี้ราคาผลิตภัณฑ์ปรับขึ้นลงตาม ทิศทางของราคาน�ำ้ มันในตลาดโลก รวมถึงผูผ้ ลิตหลายรายในภูมภิ าคใช้ก�ำ ลังการผลิตในอัตราประมาณร้อยละ 80-85 เนื่องจากตลาดปลายทางยังเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจโลกต่อเนื่องจากช่วงปลายปี 2551 ถึงประมาณ ไตรมาส 2 ปี 2552 สำ�หรับราคาเม็ดพลาสติก HDPE Film (ICIS SEA) ปี 2552 เฉลี่ยอยู่ที่ 1,113 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลดลงร้อยละ 23 เมื่อเทียบกับปี 2551 ในขณะที่ราคาเม็ดพลาสติก PP Film (ICIS SEA) เฉลี่ยอยู่ที่ 1,081 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ลด ลงร้อยละ 26 เมื่อเทียบกับปี 2551 ในส่วนของราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์ เช่น ราคาเบนซิน ก็ปรับตัวขึ้นลงตามราคาน้ำ�มันดิบและความ ต้องการในตลาด โดยปี 2552 ราคาเบนซิน (FOB Korea) เฉลี่ยอยู่ที่ 684 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตันลดลงจากปี 2551 ร้อยละ 30 และราคาสไตรีนโมโนเมอร์ปี 2552 ปรับลดลงจากปี 2551 ร้อยละ 25 โดยราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 979 เหรียญ สหรัฐฯต่อตัน แนวโน้มเศรษฐกิจและสถานการณ์ปิโตรเคมีปี 2553 นักวิเคราะห์คาดการณ์เศรษฐกิจทั่วโลกในปี 2553 จะปรับไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF คาดว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.9 ส่วนจีน, ญีป่ นุ่ และอินเดีย ขยายตัวร้อยละ 10, 1.7, และ 7.7 ตามลำ�ดับ โดยกลุม่ อาเซียนมีอตั ราการขยายตัวร้อยละ 4.7 จากอัตราการเติบโตของกลุม่ ประเทศดังกล่าว ประกอบกับ ผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีสว่ นใหญ่มอี ตั ราภาษีทร่ี อ้ ยละ 0 จึงคาดว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีตลอดจนถึงอุตสาหกรรมพลาสติก จะเกิดปริมาณและมูลค่าทางการค้ามากขึน้ อย่างไรก็ตาม แม้วา่ เศรษฐกิจโลกจะเริม่ ฟืน้ ตัวมาตัง้ แต่ประมาณไตรมาส 3 ปี 2552 แต่ก็ยังมีปัจจัยเสี่ยงบางประการที่อาจส่งผลกระทบได้ เช่น ประเทศจีนประกาศเพิ่มสัดส่วนการกันสำ�รอง เงินสด หรือการดำ�รงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในจีนอีกร้อยละ 0.5 เป็นร้อยละ 16 โดยให้มีผลบังคับ ใช้ในวันที่ 18 มกราคม 2553 ประกาศนี้จะส่งผลให้เงินสกุลหยวนแข็งค่าขึ้น ส่วนประเทศในสหภาพยุโรป เช่น สเปน และโปรตุเกส ประสบปัญหาหนีส้ าธารณะทีป่ รับสูงขึน้ นอกจากนี้ อัตราการว่างงานในประเทศอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐฯ ยังอยูใ่ นระดับสูง ราคาน�ำ้ มันและการอ่อนตัวของค่าเงินเหรียญสหรัฐฯ ล้วนเป็นปัจจัยทีส่ ง่ ผลกระทบในเชิงลบ ต่ออัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกทั้งสิ้น สำ�หรับแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2553 สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจจะกลับมาขยายตัวทีร่ อ้ ยละ 3.5 - 4.5 ซึง่ ได้สะท้อนผลกระทบของปัญหาการระงับการลงทุนในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุดไว้แล้ว หากรัฐบาลสามารถแก้ปํญหาเกี่ยวกับโครงการดังกล่าวได้อย่างเร็ว และสามารถเบิกจ่ายเงิน โครงการลงทุนตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งได้ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 80 ของวงเงินอนุมัติ รวมทั้งสามารถแก้ไขปัญหา เสถียรภาพทางการเมืองได้ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยอาจปรับตัวสูงขึ้นถึงร้อยละ 4 ส่วนความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและพลาสติก คาดว่าขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจโลกที่กำ�ลังเริ่มฟื้นตัว และส่งผลต่อ อุปสงค์ในผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ทั้งนี้ราคาน้ำ�มันในตลาดโลกนับเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อราคาของผลิตภัณฑ์ โดยคาดว่า ประเทศจีนน่าจะเป็นประเทศที่นำ�เข้าเม็ดพลาสติกในปริมาณสูงอยู่ เพื่อรองรับงานเซี่ยงไฮ ไชนา เอ็กส์โปที่จะจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม - 31 ตุลาคม 2553 และงานเอเชียนเกมส์ระหว่างวันที่ 12-27 พฤศจิกายน 2553 นอกจาก นี้ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจีนในช่วงปี 2552-2553 ที่ให้เงินอุดหนุนเกษตรกรในการซื้ออุปกรณ์ ไฟฟ้าและเครื่องใช้ ต่างๆ เช่น โทรทัศน์ ตู้เย็น โทรศัพท์มือถือ เครื่องซักผ้า รวม 197 รายการ ส่งผลให้ปริมาณการบริโภคเม็ดพลาสติก เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มสไตรีนิค อนึ่ง หากมีกำ�ลังการผลิตใหม่ๆ จากด้านตะวันออกกลาง เช่น ซาอุดิอาระเบีย, อิหร่าน และประเทศในเอเชียเกิดขึน้ ทัง้ หมดตามแผนอาจจะส่งผลกดดันต่อราคาผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีในระยะยาวด้วย

070


รายชื่อผู้ผลิตและกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกภายในประเทศ ผลิตภัณฑ์

บริษัท

HDPE

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จำ�กัด บริษัท บางกอกโพลีเอททีลีน จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ปตท.เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) รวม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จำ�กัด รวม บริษัท ไทยเอบีเอส จำ�กัด บริษัท สยามโพลีสไตรีน จำ�กัด บริษัท ไทยสไตรีนิคส์ จำ�กัด รวม บริษัท ไทยเอบีเอส จำ�กัด บริษัท อินนิออส เอบีเอส (ประเทศไทย) จำ�กัด รวม บริษัท ไทยเอบีเอส จำ�กัด บริษัท หมิงตี้ เคมิคอล จำ�กัด รวม

PP

PS

ABS/SAN

EPS

071

(หน่วย : พันตันต่อปี)

กำ�ลังการผลิต

ร้อยละ

140 580 500 300 1,520 475 755 720 1,950 100 150 90 340 117 95 212 30 14 44

9% 38% 33% 20% 100% 24% 39% 37% 100% 29% 44% 26% 100% 55% 45% 100% 68% 32% 100%


โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น กองทุนบำเหน็จบำนาญขาราชการ

บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

ผูถือหุนใหญ และบริษัทที่เกี่ยวของ★

7.03%

กองทุนวายุภักษ

36.89%

ธนาคารออมสิน

9.03%

บมจ. ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น

48.66%

36.00%

บริษัท สตารปโตรเลียมรีไฟนนิ่ง จำกัด

บมจ. บางจากปโตรเลียม

28.46%

41.44%

บริษัท เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส จำกัด

บมจ. ปตท. เคมิคอล

49.16%

49.10% บริษัท ไทยออยล จำกัด

9.89%

99.99% บมจ. ไทยลูบเบส 99.99%

บมจ. ไทยพาราไซลีน

ธุรกิจหลัก

บริษัท ไออารพีซี จำกัด (มหาชน)

ธุรกิจปโตรเคมี

ธุ​ุรกิจปโตรเลียม

ธุรกิจอื่นๆ

ธุรกิจปโตรเคมีขั้นตนและขั้นกลาง ธุรกิจโพลีเมอร

ธุรกิจการกลั่น ธุรกิจน้ำมันหลอลื่นพื้นฐาน

ธุรกิจทาเรือ ธุรกิจบริหารจัดการทรัพยสิน

99.99% 99.99%

บริษัท ไออารพีซี โพลีออล จำกัด (ผลิตและจำหนายโพลีออล)

99.99%

บริษัท ไทยเอบีเอส จำกัด (ผลิตเม็ดพลาสติกชนิดสไตเรนิก)

59.94%

99.99%

บริษัท เทคโนโลยีไออารพีซี จำกัด (สถานศึกษา)

บริษัท น้ำมัน ไออารพีซี จำกัด (จำหนายผลิตภัณฑน้ำมัน)

49.99%

บริษัท ไออารพีซี เอ แอนด แอล จำกัด (จำหนายเม็ดพลาสติก ABS)

บริษัท ไทยอินเตอรเนชั่นแนล แท็งเกอร จำกัด (บริษัทขนสงทางทะเล)

25.00% 25.00% บริษัท พีทีที โพลิเมอร มารเก็ตติ้ง จำกัด

ธุรกิจที่ไม่ ใช่ธุรกิจหลัก

(จำหนายเม็ดพลาสติก)

50.00%

บริษัทย่อยทางตรง บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย (เคย์แมน) จำ�กัด (100%)# บริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) (99.99%)# บริษัท ทีพีไอ ฟิลิปปินส์ ไวนิล จำ�กัด (99.99%)# บริษัท อาเชียน ดราก้อนออยล์ รีไฟเนอรี่ จำ�กัด (99.99%)# บริษัท ไออาร์พีซี พลังงาน จำ�กัด (99.99%) บริษัท อุตสาหกรรมโพลียูรีเทนไทย จำ�กัด (99.99%) บริษัท ระยองแท้งค์เทอร์มินัล จำ�กัด (99.99%) บริษัท ไออาร์พีซีเซอร์วิส จำ�กัด (99.50%)

บริษัทย่อยทางอ้อม บริษัทย่อยของบริษัท น้ำ�มันไออาร์พีซี จำ�กัด: บริษัท ทีพีไอ อินเตอร์เน็ต พอร์ทัล จำ�กัด (99.89%) บริษัท น้ำ�มันทีพีไอ (2001) จากัด (99.99%) บริษัทร่วม บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด (39.99%) บริษัท ฟิลไทย โฮลดิ้ง จำ�กัด (39.99%)

เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหาร เดิม บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จากัด (25.00%) บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จากัด (25.00%)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

หมายเหตุ: #บริษัทย่อยซึ่งไม่ได้ดำ�เนินธุรกิจและ บมจ.ไออาร์พีซี ไม่มีอานาจควบคุม ★บริษัทที่เกี่ยวข้องซึ่งดาเนินธุรกิจคล้ายหรือเกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯ (สัดส่วนการถือหุ้น ณ กันยายน 2552)

072


น้ำมันดิบ

วัตถุดิบ

โรง กลั่น น้ำมัน

073 โรงงานโอเลฟนส

ไพโรไลซิส แก็สโซลีน

โรงงานอะโรเมติกส

ถานหิน

น้ำมันเตา

ปโตรเคมี

โรงงานน้ำมัน หลอลื่นพื้นฐาน

VGO

โรงงาน DCC (Deep Catalytic Cracking)

เอธีลีนริสแกส

ปโตรเลียม

ลองเลสซิดิว

LS ATB

แนฟทา

รีฟอรเมท

เอทิลีน

โรงไฟฟา

โพนพิลีน

บิวทาไดอีน

Ethylbenzene Styrene Monomer (EBSM)

เบนซิน

ไซค์ลีน

โทลูอีน

อะเซททีลีน

ยางมะตอย

น้ำมันหลอลื่น พื้นฐาน

PP

Acetylene Black

HDPE

ABS

EPS

เทลาดถนน

น้ำมันหลอลื่นเครื่องยนต

ถุงใสบรรจุอาหาร, ขวดน้ำผลไม

ถานไฟฉาย ยางยนต

ถุงหิ้วบรรจุสินคา, ขวดบรรจุน้ำดื่ม (ขุน), ทอน้ำ, เชือก, แห, อวน

ของเด็กเลน, เครื่องใชไฟฟา, ขิ้นสวนยานยนต เครื่องใช้ ในครัวเรือน

โฟมกันกระแทก ฉนวนกันความรอน

ตลับซีดี ตลับเทป เครื่องใชไฟฟา

น้ำมันเชื้อเพลิงชนิดตางๆ ไดแก น้ำมันเบนซิน, น้ำมันดีเซล หมุนเร็ว, น้ำมันกาด, น้ำมันเตา, กาซหุงตม, แกสโซฮอล

น้ำมันเชื้อเพลิง

PS

การนำไปใชงาน

ผลิตภัณฑเพื่อจำหนาย

แผนภูมิแสดงกระบวนการผลิต


คำ�อธิบายและ การวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ 074


คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ ของฝ่ายจัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 1. ผลการดำ�เนินงาน ภาวะเศรษฐกิจทีถ่ ดถอยอย่างมากในปี 2551 และยังชะลอตัวในช่วงครึง่ ปีแรกของปี 2552 ในช่วงครึง่ ปีหลังดัชนีชว้ี ดั ทาง เศรษฐกิจเริม่ ปรับตัวดีขน้ึ ซึง่ เป็นผลจากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลกและมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของภาครัฐ ในขณะที่ ราคาน้ำ�มันดิบดูไบโดยเฉลี่ยปี 2551 และ 2552 อยู่ที่ 93 $/bbl และ 62 $/bbl ตามลำ�ดับ ปรับตัวลดลงร้อยละ 34 ส่ง ผลให้ยอดขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีปรับตัวลดลงร้อยละ 32 โดยผลการดำ�เนินงานของ บริษัทฯ สำ�หรับ ปี 2552 มีกำ�ไรสุทธิ 5,415 ล้านบาท คิดเป็น 0.27 บาทต่อหุ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 130 เมื่อเทียบกับปีก่อนซึ่งมีผลขาดทุน สุทธิ 18,262 ล้านบาท โดยบริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการบริหารลดลงร้อยละ 20 และต้นทุนทางการเงินลดลงร้อยละ 29 ปี 2552 ราคาขายผลิตภัณฑ์โดยเฉลี่ยปรับตัวลดลงตามทิศทางของราคาน้ำ�มันดิบ ส่วนปริมาณขายปรับตัวลดลง เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจยังไม่ฟื้นตัวเต็มที่ โดยบริษัทฯ ได้ปรับกลยุทธ์ในการผลิตให้อยู่ในระดับที่ได้ผลผลิตที่มีกำ�ไร สูงสุด (optimum level) ตามสภาวะราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ที่ผันผวน ทั้งนี้ บริษัทฯ มีรายได้จากขายในปี 2552 จำ�นวน 166,036 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 32 ประกอบด้วย ธุรกิจปิโตรเลียม : ยอดขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม มีจำ�นวน 118,819 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 34 เป็นผลจากราคา ขายเฉลี่ยลดลงร้อยละ 24 และปริมาณขายลดลงร้อยละ 14 ทั้งนี้ น้ำ�มันดีเซลซึ่งมีสัดส่วนยอดขายสูงสุด มียอดขาย ลดลงร้อยละ 42 จากราคาขายลดลงร้อยละ 31 และปริมาณขายลดลงร้อยละ 16 ในขณะที่ยอดขายน้ำ�มันเบนซินเพิ่ม ขึ้นร้อยละ 10 เนื่องจากปริมาณขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 16 ส่วนราคาขายปรับตัวลดลงเพียงร้อยละ 6 ซึ่งเป็นผลจากการ ปรับสัดส่วนการผลิตเพื่อให้ได้ปริมาณน้ำ�มันเบนซินเพิ่มขึ้น เนื่องจากส่วนต่างกำ�ไรของน้ำ�มันเบนซินอยู่ในระดับที่ดี กว่าผลิตภัณฑ์น้ำ�มันสำ�เร็จรูปชนิดอื่น ธุรกิจปิโตรเคมี : ยอดขายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี มีจ�ำ นวน 44,511 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 28 โดยผลิตภัณฑ์โพลีเมอร์มี ยอดขาย 31,916 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 22 เป็นผลจากราคาขายปรับตัวลดลง ในขณะที่ปริมาณขายทรงตัวในระดับ เดียวกับปีก่อน และผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์มียอดขาย 6,109 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 37 เป็นผลจากราคาขายปรับตัวลด ลงตามราคาน้ำ�มันดิบ ในขณะที่ปริมาณขายเพิ่มขึ้น เนื่องจากอุปทานที่จำ�กัด จากการปิดซ่อมบำ�รุงโรงงานปิโตรเคมี หลายแห่งภายในประเทศ และการเลื่อนเปิดดำ�เนินการของโรงงานใหม่ในตะวันออกกลางและประเทศจีน บริษัทฯ มีกำ�ไรขั้นต้น 10,016 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 177 โดยมีอัตรากำ�ไรขั้นต้นร้อยละ 6 ทั้งนี้บริษัทฯ ได้บันทึก ล้างขาดทุนจากการปรับมูลค่าสินค้าคงเหลือจำ�นวน 5,045 ล้านบาท ตามราคาตลาดของน้ำ�มันดิบที่ปรับตัวสูงขึ้น โดย ณ สิ้นปี 2551 อยู่ที่ 36 $/bbl ในขณะที่ ณ สิ้นปี 2552 ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ 76 $/bbl รายได้อน่ื มีจ�ำ นวน 165 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 83 ประกอบด้วยรายการหลัก ดังนี้ กำ�ไรจากมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์ เพื่อค้า (mark to market) 361 ล้านบาท กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง 265 ล้านบาท ในขณะที่ขาดทุนจาก สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำ�มันที่เกิดขึ้นจริง 231 ล้านบาท ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำ�มัน ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 339 ล้านบาท ขาดทุนจากการด้อยค่าของที่ดินที่ยังไม่ใช้ดำ�เนินงาน 255 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขายมีจำ�นวน 1,068 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 15 เนื่องจากปริมาณขายปรับตัวลดลง ค่าใช้จ่ายในการ บริหารมีจำ�นวน 2,571 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 20 เป็นผลจากจำ�นวนพนักงานลดลง ทำ�ให้ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน ลดลง ค่าตอบแทนกรรมการมีจำ�นวน 32 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 67 เนื่องจากงดจ่ายโบนัสกรรมการ จากผลดำ�เนิน งานขาดทุนในปี 2551 ค่าตอบแทนผู้บริหารมีจำ�นวน 60 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 35 เนื่องจากการปรับโครงสร้าง องค์กร ทำ�ให้จำ�นวนผู้บริหารตามนิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. ลดลงจากปีก่อน ต้นทุนทางการเงิน มีจ�ำ นวน 991 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 29 ประกอบด้วยรายการหลัก ดังนี้ ดอกเบีย้ จ่าย 1,306 ล้านบาท ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 224 ล้านบาท ในขณะที่มีกำ�ไรจากสัญญาแลก เปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่เกิดขึ้นจริง 113 ล้านบาท กำ�ไรจากการซื้อหุ้นกู้คืน 86 ล้านบาท และกำ�ไรจากอัตราแลก เปลี่ยนจากหุ้นกู้ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 373 ล้านบาท

075


ส่วนแบ่งกำ�ไรเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียมีจ�ำ นวน 17 ล้านบาท ซึง่ เป็นเงินลงทุนในบริษทั พีทที ี โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด เนื่องจากบริษัทฯ มีขาดทุนสะสมยกมาซึ่งสามารถใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้ จึงทำ�ให้ภาษีเงินได้ตามงบการเงิน รวมสำ�หรับปี 2552 มีจำ�นวนเพียง 51 ล้านบาท ซึ่งเป็นภาษีเงินได้ของบริษัทย่อย การใช้กำ�ลังการผลิต น้ำ�มันดิบนำ�เข้ากลั่น อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต โรงกลั่นน้ำ�มัน โอเลฟินส์ โพลีเมอร์

หน่วย

ไตรมาส 1/2552

ไตรมาส 2/2552

ไตรมาส 3/2552

ไตรมาส 4/2552

ปี 2552

KBD

111

151

153

151

142

% % %

52 88 81

70 102 99

71 105 104

70 99 97

66 99 95

อัตราการใช้กำ�ลังการกลั่นในปี 2552 โดยเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 66 ลดจากปีก่อนซึ่งอยู่ที่ร้อยละ 80 เนื่องจากบริษัทฯ ได้ ปิดซ่อมบำ�รุงโรงงานตามแผนประมาณ 3 สัปดาห์ ในไตรมาส 1/2552 ในขณะที่โรงโอเลฟินส์ใช้กำ�ลังการผลิตอยู่ที่ ร้อยละ 99 และโรงงานกลุ่มโพลีเมอร์ใช้กำ�ลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 95 2. ฐานะทางการเงิน สินทรัพย์ สินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2552 มีจำ�นวน 114,194 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 10 โดยมีสาเหตุหลักจาก - สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 10,904 ล้านบาท หรือร้อยละ 55 สาเหตุหลักเกิดจากราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ปรับตัวสูงขึ้นตามราคาตลาดโลก และปริมาณน้ำ�มันดิบที่เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับสิ้นปี 2551 เนื่องจาก ในช่วงปลายปี 2551 บริษัทฯ ลดปริมาณการสั่งซื้อน้ำ�มันดิบเพื่อเตรียมปิดซ่อมบำ�รุงโรงงานตามแผนในเดือน กุมภาพันธ์ 2552 - ลูกหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 1,990 ล้านบาท หรือร้อยละ 33 เนื่องจากมูลค่าสินค้าปรับตัวสูงขึ้น - เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น 332 ล้านบาท หรือร้อยละ 76 เนื่องจากมูลค่าหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ฯ ปรับตัวสูง ขึ้นตามภาวะตลาดทุน - ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เพิ่มขึ้น 4 ล้านบาท โดยสินทรัพย์เพิ่มขึ้น 3,485 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากงาน ระหว่างก่อสร้างของโครงการลงทุนต่างๆ ในขณะที่มีค่าเสื่อมราคา 3,160 ล้านบาท ค่าเผื่อการด้อยค่าที่ดิน 255 ล้านบาท และมีรายการจำ�หน่ายสินทรัพย์รวมทั้งสิ้น 66 ล้านบาท หนี้สิน หนี้สินรวม ณ สิ้นปี 2552 มีจำ�นวน 42,294 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสิ้นปีก่อนร้อยละ 21 โดยมีสาเหตุหลักจาก - เจ้าหนี้การค้าเพิ่มขึ้น 4,562 ล้านบาท หรือร้อยละ 103 เป็นผลจากราคาน้ำ�มันดิบปรับตัวสูงขึ้นตามราคา ตลาดโลก - เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น 4,007 ล้านบาท หรือร้อยละ 22 เป็นผลจากการเบิกเงินกู้ระยะยาวเพื่อใช้สำ�หรับ โครงการลงทุนของบริษัทฯ - เจ้าหนี้อื่นค่าภาษีสรรพสามิตเพิ่มขึ้น 703 ล้านบาท เนื่องจากระหว่างปี 2552 รัฐบาลมีการปรับอัตราภาษี สรรพสามิตเพิ่มขึ้นประมาณ 3.6 - 6.8 บาทต่อลิตร

076


เงินกู้ยืมระยะยาวสุทธิ ณ สิ้นปี 2552 มีจำ�นวน 22,371 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 22 ประกอบด้วยหุ้นกู้ และเงินกู้ยืม ระยะยาวเพื่อใช้สำ�หรับโครงการลงทุนต่างๆ รายละเอียดมีดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) หุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐ หุ้นกู้สกุลเงินบาท เงินกู้ยืมระยะยาว (*) รวม

2552

2551

อัตราดอกเบี้ย

7,939 9,640 4,792 22,371

8,724 6.375% 9,640 5.05% - 5.29% - อัตราดอกเบี้ยลอยตัว 18,364

หมายเหตุ : (*) บริษัทฯ มีวงเงินกู้ยืมระยะยาวจำ�นวน 10,000 ล้านบาท เพื่อใช้สำ�หรับโครงการลงทุน โดยใช้อัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ�สูงสุด 6 เดือน บวกส่วนเพิ่มคงที่ และอัตราดอกเบี้ย THBFIX 6 เดือน บวกส่วนเพิ่มคงที่ ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถเบิกถอนวงเงินได้ตามความคืบหน้าของโครงการ ปี 2550 บริษัทฯ ได้ออกและเสนอขายหุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐ จำ�นวน 250 ล้านเหรียญสหรัฐ ครบกำ�หนดไถ่ถอน ปี 2560 ระหว่างปี 2552 บริษัทฯ ได้ซื้อหุ้นกู้คืนจำ�นวน12 ล้านเหรียญสหรัฐ ดังนั้น หุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐ คง เหลือ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552 จำ�นวน 238 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นปี 2552 มีจำ�นวน 71,853 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 เนื่องจาก - บริษัทฯ มีกำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี 2552 จำ�นวน 5,415 ล้านบาท - ทุนที่ออกและชำ�ระแล้วเพิ่มขึ้น 124 ล้านบาท โดยมีส่วนเกินมูลค่าหุ้น 232 ล้านบาท เนื่องจากการแปลง สภาพใบสำ�คัญแสดงสิทธิของพนักงานโครงการ ESOP ในปี 2552 - กำ�ไรจากการบันทึกมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขายตามราคาตลาด (mark to market) 82 ล้านบาท - บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลสำ�หรับผลการดำ�เนินงานครึ่งปีหลังของปี 2551 ในอัตราหุ้นละ 0.08 บาท และจ่าย เงินปันผลระหว่างกาลสำ�หรับผลการดำ�เนินงานครึ่งปีแรกของปี 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.08 บาท รวมเป็นเงิน จำ�นวน 3,147 ล้านบาท 3. สภาพคล่อง บริษทั ฯ มีเงินสดต้นงวด ณ สิน้ ปี 2551 จำ�นวน 8,550 ล้านบาท ระหว่างปี 2552 เงินสดลดลง 3,387 ล้านบาท ประกอบด้วย กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 2,025 ล้านบาท ในขณะที่เงินสดใช้ไปในกิจกรรมลงทุนมีจำ�นวน 3,055 ล้านบาท โดยมีเงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์จำ�นวน 3,084 ล้านบาท ซึ่งเป็นเงินสดจ่ายสำ�หรับโครงการ ลงทุนต่างๆ โดยโครงการลงทุนที่สำ�คัญประกอบด้วย โครงการผลิตพลังไอน้ำ�และไฟฟ้าร่วม, โครงการขยายกำ�ลังการ ผลิตเม็ดพลาสติก ABS เกรดพิเศษ, โครงการปรับปรุงธุรกิจสายปฏิบัติการ (RaBIP), โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์และ ความปลอดภัย ทั้งนี้บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิได้มาในกิจกรรมลงทุนอื่นๆ จำ�นวน 29 ล้านบาท เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงินมีจำ�นวน 2,357 ล้านบาท ประกอบด้วยรายการที่สำ�คัญคือ จ่ายเงินปันผลให้ผู้ ถือหุ้น 3,147 ล้านบาท จ่ายคืนเงินกู้ระยะสั้น 2,750 ล้านบาท จ่ายดอกเบี้ย 1,378 ล้านบาท ในขณะที่บริษัทฯ มี เงินสดได้มาจากกิจกรรมจัดหาเงินทีส่ �ำ คัญคือการเบิกเงินกูร้ ะยะยาวเพือ่ ใช้ส�ำ หรับโครงการลงทุน 4,792 ล้านบาท และ เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญจากการแปลงสภาพใบสำ�คัญแสดงสิทธิของพนักงานตามโครงการ ESOP จำ�นวน 356 ล้านบาท ดังนั้น บริษัทฯ มีเงินสดคงเหลือ ณ สิ้นปี 2552 จำ�นวน 5,163 ล้านบาท

077


รายได้รวม (ล้านบาท) 250,000

กำ�ไรสุทธิ

244,694

227,518

200,000

166,036

150,000 100,000 50,000 0 -50,000

13,683 2550

2551

สินทรัพย์รวม

(ล้านบาท) 150,000 120,000

104,112 92,776 69,194

60,000 30,000 0

(เท่า) 0.70 0.60 0.50 0.40 0.30 0.20 0.10 0

หนี้สินรวม

133,175

90,000

40,399 2550

5,415

(-18,262)

34,918 2551

2552

ส่วนของผู้ถือหุ้น

114,194

71,901

42,293 2552

อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น

0.44

0.50

2550

2551

0.59

2552

อัตรากำ�ไรขั้นต้น 8.00% 6.00% 4.00% 2.00% 0.00% -2.00% -4.00% -6.00%

6.03%

2550

6.81% -5.34% 2551

078

2552


ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) 2550

2551

(หน่วย : ล้านบาท) 2552

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์รวม หนี้สินหมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว

68,331 133,175 21,776 40,399 92,777 20,475 19,500

37,919 104,112 16,370 34,918 69,195 20,475 19,706

48,155 114,194 19,813 42,294 71,901 20,475 19,829

ยอดขาย ต้นทุนขาย กำ�ไร (ขาดทุน) ขั้นต้น EBITDA กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ

227,518 212,013 15,505 14,132 13,683

244,694 257,766 -13,072 -13,234 -18,262

166,036 156,021 10,016 9,728 5,415

อัตรากำ�ไรสุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (%) อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (%) อัตราการจ่ายเงินปันผล (%) เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (บาท) อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) กำ�ไรสุทธิต่อหุ้น (บาท)

5.90% 10.49% 15.57% 42.75% 0.30 0.44 4.76 0.70

-7.43% N.A. N.A. N.A. 0.18 0.50 3.51 -0.93

3.26% 4.96% 7.68% 67.17% 0.18 0.59 3.63 0.27

079


ปัจจัยความเสี่ยง 080


ปัจจัยความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง จากการบริหารความเสี่ยงในระดับ องค์กร (Corporate Risk Management) สูก่ ารบริหารความเสีย่ งของระดับปฏิบตั กิ าร (Functional Risk Management) ตามนโยบายบริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เกิดการบริหารความเสีย่ งอย่างเป็นระบบและครอบคลุม ทั่วทั้งองค์กร ผู้บริหารของบริษัทฯ ตระหนักถึงความสำ�คัญในการประเมินและบริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น จึงกำ�หนดให้ มีหน่วยงานบริหารความเสี่ยงเป็นผู้ถ่ายทอดนโยบายการบริหารความเสี่ยงจากผู้บริหารระดับสูงสู่ระดับปฏิบัติการ โดยกำ�หนดผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการความเสี่ยงแต่ละประเภทอย่างชัดเจน มีการรวบรวมการวิเคราะห์ความ เสี่ยงจากทุกสายงานทั่วทั้งองค์กร รวมถึงติดตาม ทบทวน และวิเคราะห์แผนบรรเทาความเสี่ยงระดับองค์กร และ นำ�เสนอผลการดำ�เนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นรายไตรมาส ในปี 2552 ที่ผ่านมา บริษัทฯได้ปรับปรุงระบบการวิเคราะห์ความเสี่ยงให้มีความรัดกุมมากยิ่งขึ้น โดยมีการแต่งตั้ง แทนบริหารความเสี่ยง (Risk Agent) ในแต่ละหน่วยงานเป็นผู้ทำ�หน้าที่วิเคราะห์ ประเมิน และติดตามความเสี่ยง ระดับปฏิบัติการ และรายงานต่อผู้บริหารในหน่วยงานนั้นๆ โดยให้ถือเป็นหน้าที่รับผิดชอบของหน่วยงานในการ จัดการและควบคุมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) เพื่อให้การบริหารจัดการความเสี่ยงเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามการลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทฯ ยังคงมีความเสี่ยง ทั้งนี้อาจมีความเสี่ยงอื่นๆ ที่บริษัทฯ ไม่อาจ ทราบได้ในขณะนี้ หรือเป็นความเสี่ยงที่บริษัทฯ พิจารณาในขณะนี้ว่าไม่เป็นสาระสำ�คัญ ซึ่งอาจกลายเป็นปัจจัยความ เสี่ยงที่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ได้ในอนาคต ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาข้อมูลใน รายงานประจำ�ปีฉบับนี้โดยรอบคอบ ปัจจัยความเสี่ยงที่สำ�คัญของบริษัทฯ มีดังนี้ 1. ความเสี่ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์เพื่อจำ�หน่าย น้ำ�มันดิบซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักที่ใช้ในกระบวนการกลั่นและยังเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ซึ่งการ เคลื่อนไหวของราคาน้ำ�มันดิบเป็นไปตามราคาตลาดโลก โดยช่วงครึ่งแรกของปี 2552 ที่ผ่านมานั้นราคาน้ำ�มันดิบ ดูไบได้ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากประมาณ 40 เหรียญต่อบาร์เรลในช่วงปลายปี 2551 มาอยู่ที่ระดับ 70 เหรียญ ต่อบาร์เรลในช่วงกลางปี จากนั้นในช่วงไตรมาสที่ 3 และ 4 ราคาค่อนข้างทรงตัวอยู่ในระดับ 75 เหรียญต่อบาร์เรล การเคลือ่ นไหวของราคาน�ำ้ มันดิบดังกล่าวเป็นผลมาจากเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสหรัฐและสหภาพยุโรป อีกทัง้ มีผผู้ ลิตรายใหม่จากภูมภิ าคตะวันออกกลางทีเ่ ป็นผูผ้ ลิตและส่งออกรายใหญ่เข้ามาแข่งขันในตลาดเพิม่ ขึน้ ปัจจัยเหล่านี้ ล้วนเป็นปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ ทำ�ให้บริษัทฯ เกิดความเสี่ยงด้านการประมาณการราคาวัตถุดิบ และสินค้าเพื่อจำ�หน่าย รวมถึงการบริหารจัดการสินค้าคงเหลือ ซึ่งส่งผลต่อสถานะทางการเงินและผลประกอบการ ของบริษัทฯ อย่างมีนัยสำ�คัญ แนวทางลดความเสี่ยง : บริษัทฯ มีนโยบายลดต้นทุนการซื้อน้ำ�มันดิบโดยร่วมมือกับกลุ่มบริษัทในเครือ ปตท.ในการ ซื้อน้ำ�มันดิบร่วมกัน เพื่อลดต้นทุนด้านการขนส่งเพื่อ เพิ่มอำ�นาจการต่อรอง และเพิ่มช่องทางการขายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี อย่างไรก็ตามเนื่องจากราคาน้ำ�มันดิบและน้ำ�มันสำ�เร็จรูปมีความผันผวนอย่างมาก เพื่อป้องกันและลดผลก ระทบที่อาจเกิดขึ้น กลุ่มบริษัทในเครือจึงได้จัดตั้งคณะทำ�งานบริหารความเสี่ยงด้านราคา เพื่อบริหารความเสี่ยงด้าน ราคาวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์รว่ มกันภายในกลุม่ บริษทั ในเครือ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดภายใต้โครงการ Oil Supply Chain Integration Management (OIM) และ Petrochemical Integration Management (PIM) เพื่อทำ�หน้าที่ติดตาม สถานการณ์ตลาดอย่างใกล้ชิด วิเคราะห์ราคา เพื่อลดผลกระทบต่อองค์กรจากความผันผวนดังกล่าว 2. ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึ้น ในปี 2552 มีผู้ผลิตจากภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ซึ่งมีความได้เปรียบทางด้านกำ�ลังการผลิตและ ต้นทุนวัตถุดิบที่ต่ำ�กว่า ได้เริ่มดำ�เนินการผลิตผลิตภัณฑ์ทั้งด้านปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเข้ามาสู่ตลาด ประกอบกับ ความต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีลดลงจากสภาวะเศรษฐกิจถดถอย ทำ�ให้เกิดภาวะการแข่งขัน ที่รุนแรงขึ้นในอุตสาหกรรม ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของบริษัทฯ ทั้งสิ้น

081


แนวทางลดความเสี่ยง: เพื่อให้บริษัทฯ เติบโตอย่างมั่นคงท่ามกลางภาวะการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงขึ้น บริษัทฯ จึงได้ริเริ่มดำ�เนิน “โครงการฟีนิกซ์” ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน และนำ� ทรัพยากรทีม่ อี ยูม่ าใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยใช้วธิ บี ริหารจัดการรูปแบบใหม่ท่ีให้ผลตอบแทนของเงินลงทุนเพิม่ ขึน้ รวมทั้งกำ�หนดทิศทางการเติบโตของบริษัทฯ โดยการเพิ่มกำ�ลังการผลิตในสายผลิตภัณฑ์ที่ให้อัตราผลตอบแทนสูง รวมถึงการพัฒนาคุณสมบัตขิ องสินค้าให้สามารถตอบสนองตามความต้องการของตลาดได้มากยิง่ ขึน้ เช่น การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้มีความพิเศษ (Specialty Grade) และเป็น Hi-end Product มากขึ้น 3. ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากบริษัทฯ ซื้อวัตถุดิบส่วนใหญ่จากต่างประเทศ และมีรายได้ส่วนหนึ่งมาจากขายต่างประเทศโดยอ้างอิงเงิน สกุลเหรียญสหรัฐเป็นหลัก ดังนั้นบริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งเกิดจากการ แปลงค่าของรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์ในรูปของเงินสกุลเหรียญสหรัฐกลับมาเป็นสกุลเงินบาท ทั้งนี้ความเสี่ยงดัง กล่าวจะเกิดขึ้นเมื่อเงินสกุลเหรียญสหรัฐอ่อนค่าลงเมื่อเปรียบเทียบกับเงินบาท รายได้ในรูปของเงินบาทที่บริษัทฯได้ รับจึงน้อยลง ในทางกลับกันบริษัทฯ อาจต้องจ่ายเงินในการซื้อวัตถุดิบจากต่างประเทศมากกว่าที่คาดการณ์ ไว้หาก เงินสกุลเหรียญสหรัฐแข็งค่าขึ้น สำ�หรับความเสี่ยงจากภาระเงินกู้ต่างประเทศจำ�นวน 250 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งเป็นเงินกู้ระยะยาวถึงกำ�หนดชำ�ระใน ปี 2560 ในระหว่างที่เงินกู้ยังไม่ถึงกำ�หนดชำ�ระ บริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน ซึ่ง เป็นการบันทึกกำ�ไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่าหนี้สินสกุลต่างประเทศเป็นเงินบาท (Translation Cost) ซึ่ง ไม่มีผลกระทบต่อกระแสเงินสดของบริษัทฯ แนวทางลดความเสี่ยง : บริษัทฯ บริหารจัดการความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยใช้วิธีบริหารกระแสเงินสดรับและ จ่ายสำ�หรับเงินสกุลต่างประเทศให้มีความสมดุล (Natural Hedge) จากการทำ�ธุรกรรมปกติของบริษัทฯ ทั้งรายได้ และรายจ่ายซื้อวัตถุดิบเป็นเงินสกุลเหรียญสหรัฐ จึงเป็นการลดความเสี่ยงได้ส่วนหนึ่ง อีกทั้งบริษัทฯ ได้ซื้อขายเงิน ตราต่างประเทศล่วงหน้าและใช้เครื่องมือทางการเงินอื่นที่เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงดังกล่าว 4. ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบข้อบังคับ บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจโดยตระหนักถึงความสำ�คัญของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และใส่ใจในความเป็นอยู่ของ คนในชุมชน การปฏิบัติการเชิงอุตสาหกรรมและการดำ�เนินโครงการต่างๆ จึงเป็นไปตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ทางกฎหมาย โดยมุ่งให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยเป็นหลักเรื่อยมา แต่จากเหตุการณ์ที่เกิดในพื้นที่ บริเวณมาบตาพุดซึ่งมีผลกระทบที่รุนแรงต่อสังคมในหลายๆ ด้าน รัฐบาลจึงได้ออกมาตรการและข้อบังคับต่างๆ ที่มี ความเข้มงวด รัดกุมมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดเหตุในลักษณะเช่นนีข้ น้ึ อีก เช่น ให้มกี ารทำ�แบบประเมินผลกระทบ สิง่ แวดล้อม หรืออีไอเอ (Environmental Impact Assessment : EIA) และประเมินผลกระทบทางสุขภาพ หรือเอชไอเอ (Health Impact Assessment : HIA) ก่อนการดำ�เนินโครงการใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัย แนวทางลดความเสี่ยง: เพื่อเป็นการป้องกันความเสี่ยงในการลงทุนในโครงการใหม่ๆ ซึ่งจะต้องดำ�เนินการตามกฏ หมายด้านอีไอเอและเอชไอเอ เพื่อประเมินผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและด้านสุขภาพ สำ�หรับการริเริ่มใน โครงการลงทุนต่างๆ ของบริษัทฯ อย่างถูกต้องและเป็นไปตามกระบวนการทางกฏหมาย บริษัทฯ ได้เตรียมพร้อม ในการจัดทำ�รายละเอียดด้านอีไอเอและเอชไอเอ และการประสานกับชุมชนอย่างต่อเนื่องและสื่อสารล่วงหน้าแบบ Pro-Active สำ�หรับโครงการอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นต่อไป ทั้งนี้ด้วยวัตถุประสงค์ของบริษัทฯ ที่ต้องการให้ทุกขั้นตอนใน การดำ�เนินโครงการเป็นไปตามนโยบายบริษัทฯ ที่ยึดถือการคำ�นึงถึงชุมชนและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งข้อกฎหมายทุก ประการ

082


การบริหารและ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ในปี 2552 บริษทั ฯ ได้น�ำ ระบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลมาใช้ เพือ่ สนับสนุนกลยุทธ์และเป้าหมายของบริษัทฯ และทำ�ให้บริษัทฯ เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน และสามารถแข่งขันได้ โดยบริษัทฯ ได้ดำ�เนินการปรับโครงสร้าง องค์กร ตำ�แหน่งงาน และอัตรากำ�ลังอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพธุรกิจ วิสัยทัศน์ และการบริหารจัดการ โดย ทบทวนและปรับปรุงหน้าที่ความรับผิดชอบงาน วิเคราะห์งาน และการจัดทำ�อัตรากำ�ลังคนให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ และโครงสร้างองค์กร เพื่อเป็นพื้นฐานในการบริหารจัดการและพัฒนาพนักงาน รวมถึงดำ�เนินการประเมินค่างาน โดยจัดตั้งคณะกรรมการประเมินค่างาน เพื่อกำ�หนดระดับตำ�แหน่งในหน้าที่ความรับผิดชอบการปฏิบัติงานที่มีผลต่อ ความสำ�เร็จตามเป้าหมายของบริษัทฯ และกำ�หนดอัตราค่าตอบแทนให้มีความชัดเจนและเป็นธรรม บริษทั ฯ ได้สง่ เสริมและพัฒนาพนักงานอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ งเพือ่ ให้พนักงานได้เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และเสริมสร้างพนักงานให้เป็นทุนมนุษย์ที่มีคุณค่าแก่บริษัทฯ มากยิ่งขึ้น เพื่อสนองนโยบายการเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้ และมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศ (High Performance Organization) ซึ่งบริษัทฯ ได้จัดทำ�แผนหลัก ในการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรประจำ�ปี พร้อมกำ�หนดหลักสูตรฝึกอบรมพืน้ ฐานตามทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ นโยบาย แผนงานและกลยุทธ์ของบริษัทฯ เพื่อพัฒนาสมรรถนะของพนักงานให้พร้อมปฏิบัติงานตามตำ�แหน่งงาน รวมทัง้ ส่ง พนักงานเข้ารับการฝึกอบรมกับสถาบันภายนอกทัง้ ในประเทศและต่างประเทศอย่างสม�ำ่ เสมอ ในปี 2552 บริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้ทุนการศึกษาแก่พนักงาน เพื่อสนับสนุนทุนการศึกษาให้กับ พนักงานได้รับการศึกษาต่อระดับปริญญาโทและปริญญาเอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งสนับสนุนทุนการ ศึกษาให้แก่บุคคลทั่วไปศึกษาต่อในสาขาที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อวางรากฐานสำ�หรับการคัดสรรผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถที่โดดเด่นเข้าปฏิบัติงานในบริษัทฯ เมื่อจบการศึกษา นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังดำ�เนินการนำ�ระบบการบริหารและการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System “PMS”) มาใช้วางแผนการปฏิบัติงาน ติดตามผลการปฏิบัติงาน ประเมินผลการปฏิบัติงาน และพัฒนาการ ปฏิบัติงานของพนักงานอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับดัชนีชี้วัดผลงานหลักของบริษัทฯ เพื่อให้ผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานเป็นไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายของบริษัทฯ และการบริหารค่าตอบแทนอย่างเป็นธรรม ซึ่งคำ�นึง ถึงประสิทธิภาพและความสำ�เร็จของงาน รวมถึงบริษัทฯ ได้มีการดำ�เนินการทบทวนและปรับอัตราจ้างเริ่มต้นใหม่ ให้เทียบเคียงกับบริษัทที่อยู่ในธุรกิจอุตสาหกรรมเดียวกัน อีกทั้งจัดให้พนักงานมีสวัสดิการที่ดีขึ้น โดยการปรับปรุง สิทธิประโยชน์และเงื่อนไขการใช้สวัสดิการการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก โดยขยายวงเงินในการเบิกสวัสดิการรักษา พยาบาลผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้น และส่งเสริมให้พนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยเน้นความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การ รักษาสิ่งแวดล้อมและช่วยเหลือสังคม ด้านการสื่อสารภายในและค่านิยมหลักขององค์กรเป็นสิ่งที่บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งโดยบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะ ทำ�งานโครงการพัฒนาวัฒนธรรมและค่านิยมองค์กรเพื่อสื่อสาร สร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่องวิสัยทัศน์และค่านิยม และส่งเสริมการสร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร เพื่อให้พนักงานมีความรัก และความผูกพันต่อบริษัทฯ โดยจัดให้ พนักงานทุกระดับมีโอกาสพบปะกับผู้บริหารระดับสูงอย่างสม่ำ�เสมอ ร่วมกับการนำ�ระบบสารสนเทศที่ทันสมัยมาใช้ โดยเพิ่มช่องทางการสื่อสารผ่านระบบ Intranet ภายในสำ�นักงานของบริษัทฯ ทั่วประเทศ ตลอดจนมีการนำ�ระบบ System Application and Product in Data Processing (SAP) และระบบ Employee Self Services (ESS) มา ใช้เพื่อบริหารจัดการข้อมูลงานบุคคลทั้งองค์กร เพื่ออำ�นวยความสะดวกและรวดเร็ว มีความปลอดภัย สามารถตรวจ สอบแหล่งที่มาและเชื่อมโยงข้อมูลได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ด้านแรงงานสัมพันธ์ บริษัทฯ ได้ส่งเสริมให้มีระบบแรงงานสัมพันธ์ภายที่ดีภายในองค์กร โดยมีการหารือแบบทวิภาคี ร่วมกับสหภาพแรงงานพนักงานไออาร์พีซีและสหภาพแรงงานผู้บริหารไออาร์พีซีอย่างใกล้ชิด ดำ�เนินการจัดประชุม ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการตัวแทนนายจ้างกับคณะกรรมการลูกจ้างเป็นประจำ� เพือ่ ปรึกษาหารือเกีย่ วกับสิทธิประโยชน์ ต่างๆ ของพนักงาน ภายใต้ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ส่งผลให้บริษัทฯ ไม่มีปัญหาข้อพิพาททางด้านแรงงานเกิด ขึ้น ทั้งนี้จากการที่บริษัทฯ ได้ส่งเสริมระบบแรงงานสัมพันธ์ที่ดี ทำ�ให้บริษัทฯ ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่น ด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงานประจำ�ปี 2552 จากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ต่อเนื่องติดต่อกันเป็นปีที่ 3

083


ความรับผิดชอบ ต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม 084


ความรับผิดชอบต่อสังคมและ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) สิ่งแวดล้อม การจัดการด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

บมจ.ไออาร์พีซีตระหนักถึงความสำ�คัญในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ควบคู่กับการพัฒนาธุรกิจ ตลอดจนมุ่งมั่นรักษาคุณภาพของสิ่งแวดล้อมบริเวณโรงงานและชุมชนโดยรอบให้อยู่ใน ระดับมาตรฐาน ควบคู่กับการปฏิบัติตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ด้วยนโยบายใน การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดดุลยภาพต่อพื้นที่อุตสาหกรรมและสังคม (Eco Industrial Complex) และพัฒนาองค์กรไปสู่ “ธุรกิจไร้มลพิษ” ภายในปี 2555

การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

ไออาร์พซี มี งุ่ มัน่ ในการพัฒนาสิง่ แวดล้อม เพราะระยองคือบ้านของเรา เราเติบโตทีน่ แ่ี ละจะสร้างทีน่ ใ่ี ห้เป็นสังคมทีม่ ี คุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมทีด่ ี เราจึงให้ความสำ�คัญในการพัฒนาสิง่ แวดล้อมเป็นลำ�ดับต้นๆ บริษทั ฯ ได้วางรากฐาน การจัดการด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ หมาะสมไว้ตง้ั แต่ชว่ งการดำ�เนินศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ รวมถึงจัดงบประมาณ สำ�หรับระบบบำ�บัดและควบคุมมลสารไว้อย่างเพียงพอ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจได้วา่ มลสารทีเ่ กิดขึน้ จะต้องอยู่ในระดับที่ เทคโนโลยีปจั จุบนั สามารถควบคุมได้ ด้วยกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมและปิโตรเคมีทค่ี รบวงจรของบริษทั ฯ ซึง่ เริ่มต้นตั้งแต่กระบวนการกลั่นน้ำ�มัน ไปสู่การผลิตปิโตรเคมีขั้นต้น จนกระทั่งถึงปิโตรเคมีขั้นปลาย ซึ่งมีวัตถุดิบหลัก คือน้ำ�มันดิบ เมือ่ นำ�น้ำ�มันดิบมาผ่านกระบวนการกลัน่ จะได้ผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันและผลิตภัณฑ์พลอยได้ รวมถึงผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีขน้ั ต้นชนิดต่างๆ ทีส่ ามารถนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดบิ สำ�หรับปิโตรเคมีขน้ั กลางและขัน้ ปลายได้ ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีทห่ี ลากหลาย อีกทัง้ ยังเป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน�ำ้ มันดิบให้เกิดมูลค่าสูงสุด บริษัทฯ ได้นำ�ระบบการจัดการคุณภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมมาใช้หลายประเภท เช่น ISO9001 ISO14001 OHSAS18001 ISO/TS16949 ISO/IEC17025 และระบบมาตรฐานสากลอื่นๆ โดยมีการพัฒนาระบบ ติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าการดำ�เนินงานของบริษัทฯ จะไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อม ด้วยประสบการณ์ในการบริหารจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ระยองมากว่า 30 ปี บริษัทฯ ได้พัฒนา ระบบบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงสองทศวรรษแรกบริษัทฯ ได้เริ่มพัฒนาเทคโนโลยี ด้านระบบควบคุมและลดมลภาวะควบคู่ไปกับการพัฒนาโครงการ ต่อมาได้มีการนำ�ระบบการควบคุมมลสารที่แหล่ง กำ�เนิดและแนวทางการพัฒนาปิโตรเคมีครบวงจรมาใช้ มาถึงปัจจุบันบริษัทฯ ได้เพิ่มนโยบายการพัฒนาเป็นธุรกิจ ไร้มลพิษ เพื่อให้เกิดดุลยภาพต่อพื้นที่อุตสาหกรรมและสังคม ตลอดจนการพัฒนาระบบการมีส่วนร่วมของชุมชนมา ใช้เป็นแนวทางในการดำ�เนินการ

การบริหารจัดการคุณภาพอากาศ

บริษัทฯ ดำ�เนินการบริหารจัดการด้านคุณภาพอากาศทั้งในด้านภาพรวมและการจัดการรายโรงงาน โดยควบคุมอัตรา การระบายอากาศของโรงงานให้เป็นไปตามมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและข้อกำ�หนดต่างๆ ในปี 2552 บริษัทฯ จัดให้ มีการติดตามตรวจวัดคุณภาพอากาศสิ่งแวดล้อมในพื้นที่โดยรอบเขตประกอบการ โดยมีจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศ ประมาณ 82 จุด และได้พัฒนาระบบตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง พร้อมระบบรายงานผลแบบ อัตโนมัติไปยังศูนย์รับเรื่องร้องเรียน เพื่อช่วยในการติดตามตรวจสอบสาเหตุของปัญหาที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน โดยมีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบถาวรจำ�นวน 3 สถานีตั้งอยู่ที่บริเวณวัดปลวกเกตุ ชุมชนบ้านแลง และ โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดให้มีรถตรวจวัดคุณภาพอากาศพร้อมอุปกรณ์ตรวจวัดที่ทันสมัย จำ�นวน 1 คัน และอุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพอากาศเคลื่อนที่จำ�นวน 2 ชุด สำ�หรับปี 2553 บริษัทฯ มีโครงการติดตั้ง สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศแบบถาวรจำ�นวน 2 สถานี พร้อมบอร์ดแสดงข้อมูล ซึ่งจะทำ�ให้ระบบติดตามตรวจสอบ คุณภาพอากาศมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การดำ�เนินโครงการผลิตพลังไอน�ำ้ และไฟฟ้าร่วม ขนาด 216 เมกกะวัตต์ โดยใช้ก๊าซธรรมชาติซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่ สะอาดไม่สร้างมลพิษให้สิ่งแวดล้อม ทดแทนโรงไฟฟ้าปัจจุบันซึ่งใช้น้ำ�มันเตา นอกจากลดความเสี่ยงด้านแหล่งที่มา ของเชื้อเพลิงและประเภทการเชื้อเพลิงใช้ได้แล้ว ยังช่วยลดปริมาณการระบายก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ลงมากกว่า ร้อยละ 40 และลดผลกระทบด้านคุณภาพอากาศในพื้นที่ได้ร้อยละ 23 อีกด้วย

085


แผนภูมิแสดงปริมาณการระบายและความเข้มข้นของก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ ก่อนและหลังการ สร้างโรงงานผลิตพลั้ งไอนำ�และไฟฟ้าร่วมโดยใช้ก๊าซธรรมชาติ

เนื่องจากโรงงานปิโตรเคมีมีความจำ�เป็นต้องใช้สารประกอบอินทรีย์ระเหย (VOCs : Volatile Organic Compounds) การระบายก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์

1000 900 800 700 600 500 400 300 200 100 0

ความเข้มข้นของก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์

70% 60% -40%

-23%

50% 40% 30% 20% 10%

ก่อน

หลัง

0

ก่อน

หลัง

ในกระบวนการผลิต ซึ่งสารดังกล่าวจัดเป็นสารที่ต้องควบคุมไม่ให้มีการแพร่กระจายออกสู่บรรยากาศหรือให้มีการ ระเหยสู่บรรยากาศน้อยที่สุด ดังนั้น เพื่อควบคุมและลดอัตราการระบายสารอินทรีย์ระเหย บริษัทฯ ได้จัดทำ�บัญชีการ ระบายสารประกอบอินทรีย์ระเหย (VOCs Inventory) ของโรงงานต่างๆ ภายในพื้นที่ของบริษัทฯ เมื่อปลายปี 2552 ผลจากการดำ�เนินการทำ�ให้บริษัทฯ มีข้อมูลพื้นฐาน เพื่อใช้บริหารจัดการคุณภาพอากาศและเป็นแนวทางในการ ติดตามตรวจสอบและลดอัตราการระบาย VOCs ในอนาคต

การบริหารจัดการคุณภาพนำ้ �

บริษัทฯ เน้นการบริหารจัดการน้ำ�อย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพน้ำ�ที่ออกจากระบบบำ�บัดน้ำ�เสียของบริษัทฯ มีค่า อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานมาโดยตลอด ดังนั้นแนวทางการบริหารจัดการคุณภาพน้ำ�ของบริษัทฯ ในปัจจุบัน จึงเน้นที่ ระบบป้องกันเหตุฉุกเฉินที่อาจส่งผลต่อระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย โดยจัดตั้งคณะกรรมการปรับปรุงท่อระบายน้ำ�ทิ้งรวม เพื่อ ป้องกันเหตุฉุกเฉินต่างๆ รวมทั้งปรับปรุง บ่อพักน้ำ� และระบบระบายน้ำ�ภายในพื้นที่เขตประกอบการและโรงงาน ต่างๆ ของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีโครงการป้องกันกลิ่นที่เกิดจากบ่อพักน้ำ�เสียในระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย โดยสร้าง ระบบควบคุมกลิ่นจากระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย ซึ่งได้เปิดดำ�เนินการเมื่อปลายปี 2552

การบริหารจัดการกากของเสีย

บริษัทฯ บริหารจัดการกากของเสียที่เกิดขึ้นภายในโรงงานในพื้นที่เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี โดยนำ� กากของเสียมาผ่านกระบวนนำ�กลับมาใช้ใหม่ (Reuse และ Recycle) และผลิตเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ ในปี 2552 กากของเสียที่ถูกนำ�มาใช้ประโยชน์มีปริมาณ 5,800 ตัน สามารถสร้างรายได้ให้แก่บริษัทฯ จำ�นวน 40 ล้านบาท การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

ไออาร์พซี ีให้ความสำ�คัญกับการจัดการสภาพแวดล้อมและสุขภาพของพนักงาน โดยจัดให้มกี ารตรวจวัดทางสุขศาสตร์ อุตสาหกรรม (Industrial Hygiene) หรือการตรวจวัดสภาวะแวดล้อมในการทำ�งานในทุกพื้นที่การปฏิบัติงานตามข้อ กำ�หนดกฎหมาย และจัดทำ�รายงานการประเมินผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม (EIA : Environmental Impact Assessment) ตามปัจจัยเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ ประกอบด้วย การตรวจวัดเสียง แสงสว่าง สารเคมี อนุภาค รังสี และความร้อน อีก ทั้งบริษัทฯ ยังจัดให้มีการตรวจสุขภาพพนักงานประจำ�ปี ทั้งการตรวจสุขภาพทั่วไปและตามปัจจัยเสี่ยง เช่น การ ทดสอบสมรรถภาพ การได้ยิน การมองเห็น ปอด และการตรวจทางชีวภาพ หรือการเฝ้าระวังสารเคมีในร่างกาย โดย ผ่านการวินิจฉัยของแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ (Occupational Medicine) นอกจากนี้บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการด้านความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ได้แก่ • การจัดทำ�ฉลากและข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีตามระบบ GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) เพื่อให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดขององค์การสหประชาชาติและกฎหมายไทย ซึ่งระบุต้องจัดทำ�ฉลากและข้อมูล ความปลอดภัยให้สารเคมีหรือผลิตภัณฑ์ตามระบบ GHS ภายในปี 2553 สำ�หรับสารเดี่ยว (Single Substance) และปี 2555 สำ�หรับสารผสม (Mixture Substance) บริษัทฯ จึงเตรียมความพร้อมในการรองรับระบบดังกล่าว

086


ด้วยการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติให้กับผู้บริหารและพนักงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจในการ จัดทำ�ระบบดังกล่าว เพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดส่งผลิตภัณฑ์สู่ตลาดโลกตามข้อกำ�หนดที่กำ�ลังประกาศ ใช้ในอนาคต • การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย (BBS : Behavior Based Safety) นอกจากการลงทุนด้านวิศวกรรมความปลอดภัยในกระบวนการผลิตแล้ว บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นสร้างพฤติกรรม ด้านความปลอดภัยให้เกิดขึ้นกับพนักงานทุกคน ด้วยการดำ�เนินโครงการ BBS : Behavior Based Safety เพื่อ ให้เกิดเป็นวัฒนธรรมความปลอดภัยที่ยั่งยืน ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการจัดฝึกอบรมเพื่อสร้างพฤติกรรม ด้านความปลอดภัย ให้กับพนักงานทุกระดับ • การจัดงานนิทรรศการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์พลังงาน (SHEe DAY) เพื่อสร้างจิตสำ�นึกและส่งเสริมงานด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์พลังงานให้กับพนักงาน บริษัทฯ ได้จัดงานนิทรรศการความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยใน ปี 2552 ได้จัดงานเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ภายในงานประกอบด้วยกิจกรรมมากมาย อาทิเช่น การจัดแสดง นิทรรศการ การสัมมนาทางวิชาการ การแสดงเครื่องมือ อุปกรณ์ด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมของ บริษัท ห้างร้าน และกิจกรรมเพื่อสร้างจิตสำ�นึกด้านความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม และอนุรักษ์พลังงาน

การดำ�เนินการด้านระบบคุณภาพ

ไออาร์พีซีตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารจัดการด้านระบบคุณภาพ เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียทุกส่วน ประกอบด้วย ผู้ถือหุ้น คู่ค้า รัฐบาล หน่วยราชการ ชุมชน และพนักงาน โดยใช้มาตรฐานการ จัดการระดับสากล (ISO Management System) และเครื่องมือในการพัฒนาและปรับปรุงงาน ได้แก่ กิจกรรมด้าน การเพิ่มผลผลิตต่างๆ เช่น กิจกรรม 5ส กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (QCC) กิจกรรมข้อเสนอแนะ โดยบูรณาการระบบ บริหารจัดการเข้ากับเครื่องมือในการพัฒนาและปรับปรุงงาน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของพนักงาน ส่งผลให้เกิด กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ภายในองค์กรอย่างกว้างขว้างและยั่งยืน ในปี 2552 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินกิจกรรมด้าน ระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้บริษัทฯ ได้รับรางวัลต่างๆ จำ�นวนมาก เช่น • ได้รบั การรับรองระบบการจัดการคุณภาพ ISO9001 สำ�หรับผลิตภัณฑ์ เบนซีน โทลูอนี มิกซ์ไซลีน เอทิลเบนซีน สไตรีน สารอะโรเมติก C9 เอทิลเบนซีนริช และมิกซ์ ไซลีน • ได้รบั ประกาศนียบัตรสีเขียว ระบบการควบคุมคุณภาพสิง่ แวดล้อมในผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ABS ตาม มาตรฐาน การจัดซื้อสีเขียวจาก Canon INC. • การดำ�เนินงานตามกฎหมายของสหภาพยุโรปว่าด้วยการจดทะเบียน การประเมิน การอนุญาต และการจำ�กัด การใช้สารเคมี (REACH: Registration Evaluation Authorization & Restriction of Chemicals) • ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร กรรมการผู้จัดการใหญ่ ลงนามในหนังสือยืนยันให้การสนับสนุนกฎบัตร “Responsible Care ดูแลด้วยความรับผิดชอบ” แสดงถึงเจตนารมณ์ในการดูแลรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม • ส่งเสริมการทำ�กิจกรรมคุณภาพ (QCC) และได้รับรางวัล TEAM Excellence ในงาน IETEX 2009 ที่ประเทศ สิงคโปร์ ซึ่งเป็นรางวัลระดับนานาชาติ และรางวัล Silver Prize ประเภท Junior QC Prize สายงานผลิต จาก สถาบันส่งเสริมเทคโนโลยีไทย - ญี่ปุ่น (สสท.) อีกทั้งได้ดำ�เนินกิจกรรมคิวซีซีภายในองค์กรทั้งหมด ส่งผลให้ บริษัทฯ สามารถลดค่าใช้จ่ายในปี 2552 ได้ 243 ล้านบาท

ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

บริษัทฯ ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานราชการและองค์กรเอกชนซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม หลายแห่ง โดยบุคลากรของบริษัทฯ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ อนุกรรมการ และคณะทำ�งาน เช่น • กรรมการ Responsible Care ดูแลเรื่องความรับผิดชอบ กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย • กรรมการ สมาคมอนุรักษ์สภาพแวดล้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมน้ำ�มัน • คณะทำ�งาน โครงการศึกษาความเหมาะสมเพือ่ พัฒนาศูนย์เฝ้าระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อม พืน้ ทีน่ อกนิคมอุตสาหกรรม จังหวัดระยอง • คณะทำ�งาน กำ�หนดค่ามาตรฐานการระบายอากาศเสียจากโรงกลั่นน้ำ�มันและโรงแยกก๊าซธรรมชาติ สถาบัน ปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • กรรมการ สมาคมบริหารความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม จังหวัดระยอง • กรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย

087


ความรับผิดชอบต่อสังคม จากนโยบายในการดำ�เนินธุรกิจที่มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้เกื้อกูล เติบโตเคียงข้างกันไปอย่างยั่งยืน ทำ�ให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) จึงไม่เพียงให้ความสำ�คัญกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับผลิตภัณฑ์ทั้งในส่วนของธุรกิจโรงกลั่นน้ำ�มันและปิโตรเคมีเท่านั้น หากแต่ในทุกย่างก้าว ยังตระหนักถึง ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) รูปธรรมที่แสดงออกถึงเจตนารมณ์ดังกล่าว คือการที่กระบวนการผลิตของบริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานด้านระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) และมาตรฐานด้านระบบการจัดการอาชีวอนามัย (TIS/OHSAS 18001) โดยในปีนี้ โรงงาน ผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพีลีนของบริษัทฯ ยังได้รับรางวัล CSR-DIW จากกรมโรงงานอุตสาหกรรมและสถาบันรับรอง มาตรฐาน ไอเอสโอ เนื่องจากได้ปฏิบัติตามมาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมอีกด้วย

เคียงข้างสังคม

สำ�หรับกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับความรับผิดชอบต่อสังคมทีบ่ ริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการในปี 2552 แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย

ด้านการศึกษา

เพราะตระหนักว่า “เยาวชน” คือโครงสร้างที่สำ�คัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ไออาร์พซี จี งึ ให้การสนับสนุนกิจกรรม ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับเยาวชนเรือ่ ยมา โดยในปีนบ้ี ริษทั ฯ ได้รว่ มกับองค์การ บริหารส่วนตำ�บลทั้ง 4 ตำ�บลรวมทั้งทักษะจากเกมการแข่งขันและ มีความสุขสนุกสนานไปกับกิจกรรมต่างๆ แล้ว กิจกรรมดังกล่าว ยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทฯ กับชุมชน โดย เฉพาะอย่างยิ่งในตำ�บลบ้านแลง ชุมชนหนึ่งซึ่งอยู่ติดเขตประกอบ อุตสาหกรรมของไออาร์พีซี บริษัทฯ ยังได้มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนและนักศึกษา ที่มี ผลการเรียนดีและมีความประพฤติดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ตาม “โครงการช้างเผือกหมู่บ้าน” ซึ่งได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่อง โดย ในปีนี้ได้มอบทุนการศึกษาจำ�นวนทั้งสิ้น 189 ทุน รวมเป็นเงินกว่า 2.1 ล้านบาท ด้านกีฬาสำ�หรับเยาวชนนัน้ บริษทั ฯ ได้จดั การแข่งขันเซปัก ตระกร้อ เยาวชน ชิงแชมป์ภาคตะวันออกขึน้ และได้รบั ความนิยม จากโรงเรียน ต่างๆ ในจังหวัดภาคตะวันออก ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันเป็นจำ�นวนมาก นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้สนับสนุนงบประมาณในการเคลื่อนย้าย อาคารเรียนของโรงเรียนวัดบึง อำ�เภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมทัง้ มอบทุนการศึกษา อาหารกลางวัน อุปกรณ์การเรียน การกีฬา ให้กับโรงเรียนวัดปลวกเกตุ อำ�เภอเชิงเนิน จังหวัดระยอง

088


ด้านศาสนาและวัฒนธรรม

ศาสนาและวัฒนธรรมคือสิ่งที่ช่วยหลอมรวม ยึดเหนี่ยวจิตใจ และแสดงออกถึง เอกลักษณ์ของความเป็นชาติ ดังนั้น ไม่เพียงพนักงานของ ไออาร์พีซี ชุมชน และ หน่วยราชการในพื้นที่ จะร่วมทอดกฐินสามัคคีและร่วมงานกาชาดเป็นประจำ�ทุกปี เท่านั้น แต่ในปีนี้ ยังได้เข้าร่วมในพิธียกเสาเอกเพื่อสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ แทนหลังเก่าที่ชำ�รุดทรุดโทรมของวัดปลวกเกตุ ตำ�บลตะพง อำ�เภอเมือง จังหวัด ระยอง และยังได้จัดทำ�โครงการบูรณะวัดขรัวตาเพชร (วัดหัวพรวน) ที่ตั้งอยู่ในบริเวณ คลังน้ำ�มันที่อำ�เภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งวัดแห่งนี้ นับเป็นโบราณ สถานทีบ่ ริษทั ฯ มีความมุง่ มัน่ ในการบูรณะ เพือ่ ให้สามารถกลับมาเป็นแหล่งรวมจิตใจ ของชุมชนและพนักงานเหมือนเมื่อครั้งอดีตกาล ในส่วนของกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับวัฒนธรรม บริษทั ฯ ได้รว่ มมือกับสำ�นักงานวัฒนธรรม ศูนย์วัฒนธรรม ชมรมศิลปิน สภาวัฒนธรรม และครูปัญญาไทยในจังหวัดระยองจัด “โครงการกวีน้อยตามรอยสุนทรภู่” เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา ได้รำ�ลึกถึงกวีเอกของ สยาม รวมทั้งได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม การใช้ภาษาไทย และการเขียนบทกลอน ขณะเดียวกัน บริษทั ฯ ได้สนับสนุนกลุม่ อาชีพชุมชนทีต่ �ำ บลนาตาขวัญและอีกหลายตำ�บล เพือ่ ให้ประชาชนทีอ่ าศัยอยูโ่ ดยรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พซี ี จังหวัดระยอง มีอาชีพ รายได้ และยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

ด้านสาธารณสุข

สุขภาพที่ดีของประชาชน คือก้าวแรกในการสร้างชุมชนให้แข็งแกร่ง สามารถ รองรับกับการพัฒนาที่จะเกิดขึ้นทั้งในวันนี้และในภายภาคหน้า ที่ผ่านมา ไออาร์พีซี จึงได้ร่วมกับโรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ ออกให้บริการ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ เพื่อตรวจสุขภาพเบื้องต้นในด้านทันตกรรม ตรวจวัด สายตาและตัดผม ให้กับประชาชนในพื้นที่ตำ�บลตะพง ตำ�บลเชิงเนิน ตำ�บล บ้านแลง ตำ�บลนาตาขวัญ และเทศบาลนครระยอง อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง ตาม “โครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่” ซึ่งจัดเป็นประจำ�ทุกเดือนๆ ละ 2 ครั้ง และบริษัทฯ ยังได้มอบเครื่องพ่นละอองฝอยเพื่อใช้ในการกำ�จัดยุงลายให้กับ สาธารณสุข อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง เพื่อช่วยลดการแพร่ระบาดของโรคไข้ เลือดออก

ด้านสิ่งแวดล้อม

จากแนวคิดทีว่ า่ “ทุกๆ การพัฒนาศักยภาพในกระบวนการผลิต ต้องมาพร้อมกับสิง่ แวดล้อม ที่ดีของชุมชน” เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนม์มายุ ครบ 84 พรรษา บริษัทฯ จึงได้ร่วมกับเทศบาลนครระยองจัด “โครงการปลูกป่ากลาง เมือง ลดโลกร้อนเทิดไท้มหาราชา” ซึ่งโครงการนี้ จะมีการดำ�เนินอย่างต่อเนื่องไปจน กระทั่งถึงปี 2554 ทัง้ นี้ ในปี 2552 บริษทั ฯ ได้รบั มอบหนังสือยืนยันให้การสนับสนุนกฎบัตร Responsible Care จากคณะกรรมการ Responsible Care กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ในฐานะที่ให้การสนับสนุนและยึดมั่นในหลักการบริหารจัดการสาร เคมีด้วยความรับผิดชอบเสมอมา

089


ใกล้ชิดชุมชน

นอกจากโครงการใน 4 ด้านหลักที่บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญและมีการดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่องแล้ว บริษัทฯ ยังได้ ดำ�เนินการในอีกหลายโครงการ ซึ่งแต่ละโครงการล้วนช่วยลดช่องว่างระหว่างองค์กรกับชุมชน อาทิ

โครงการศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชุน (Community Center)

โครงการนีจ้ ดั ทำ�ขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์รวมการเรียนรูส้ ง่ เสริมพัฒนาด้านการเกษตร สิง่ แวดล้อม และช่วยเหลือกลุ่มอาชีพในชุมชนให้มีรายได้เพิ่มขึ้น โดยประชาชนในชุมชน ไม่ว่า จะอยู่ในช่วงอายุใดล้วนได้รับประโยชน์จากศูนย์แห่งนี้ โดยมีสนามกีฬาเพื่อให้กลุ่ม เยาวชนได้เสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ห่างไกล จากยาเสพติดหรืออาจใช้จัดการแข่งขันเพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนให้ แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น สำ�หรับกลุ่มวัยทำ�งานสามารถใช้ศูนย์แห่งนี้เป็นสถานที่ในการขวนขวายหาความรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะทีอ่ าจนำ�ไปใช้ในการทำ�งาน หรือประกอบเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ จุนเจือครอบครัว ขณะทีก่ ลุม่ ผูส้ งู อายุ ก็ใช้เป็นสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ พบปะเพือ่ นวัยเดียวกัน หรือต่างวัย เพื่อแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดประสบการณ์อันมีค่าของวันเวลาที่ล่วงเลย

โครงการจิตอาสา

แม้สว่ นหนึง่ ของกิจกรรมทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษทั ฯ จะเป็นการ สนับสนุนในเรื่องของงบประมาณ เพื่อให้หน่วยงานหรือชุมชน สามารถดำ�เนินการได้ อย่างตรงความต้องการมากที่สุด แต่อีกมุมหนึ่งพวกเราชาว ไออาร์พีซี ก็ใช้สนิ ทรัพย์ท่ี มีพร้อมกับแรงกายและแรงใจในการร่วมกับชุมชนเพือ่ พัฒนาพืน้ ทีต่ า่ งๆ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมกับชาวอำ�เภอบ้านค่าย จัดทำ�โครงการ “ทานตะวันบานที่บ้านค่าย” เพื่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ให้กับจังหวัดระยอง โดยบริษัทฯ ได้มอบที่ดินกว่า 500 ไร่ เพื่อเป็นพื้นที่ในการปลูกดอกทานตะวัน และมอบทุนทรัพย์ อีก 568,500 บาท เพื่อใช้ในการบริหารจัดการโครงการฯ ซึ่งกิจกรรมนี้ นับเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการช่วยเพิ่มรายได้ให้กับ เกษตรกรในพื้นที่ รวมทั้งช่วยสร้างชื่อเสียงด้านการท่องเที่ยวให้กับจังหวัดระยอง และยังได้นำ�ไม้ที่เหลือใช้จากโรงงานไปจัดทำ�สะพานทางเดินศึกษาธรรมชาติ ตามโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ โครงการปลูก ป่าชายเลน ซึ่งในปี 2552 บริษัทฯ ได้ปลูกป่าไปแล้ว เป็นจำ�นวนกว่า 190,000 ต้น ทำ�ให้ผืนป่าชายเลนมีความสมบูรณ์มากขึ้น สัตว์น้ำ�ที่เคยหายไป เช่น ปูก้ามดาบ ปูดำ� ปลาตีน ฯลฯ เริ่มมีให้พบเห็นมากขึ้น

โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี

สถาบันแห่งนี้ นับเป็นอีกหนึ่งความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการพัฒนาการศึกษาให้กับจังหวัดระยอง ซึ่งเป็นจังหวัดที่สร้าง ผลผลิตมวลรวมเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศให้มคี วามรุดหน้ามากยิง่ ขึน้ โดยปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้มกี ารดำ�เนินการในด้านต่างๆ เพื่อผลักดัน โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พีซี ซึ่งเป็นโรงเรียนอาชีวะ ให้เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของจังหวัด สำ�หรับ โรงเรียนเทคโนโลยีไออาร์พซี นี น้ั เปิดสอนในระดับ ปวช. - ปวส. หลักสูตรพาณิชยกรรมและช่างกลโรงงาน โดยรูปแบบ การเรียนการสอนจะเป็นความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับโรงงาน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติให้กับ ผู้เรียน ทำ�ให้บุคลากรที่สำ�เร็จการศึกษาเป็นช่างฝีมือที่มีคุณภาพ ซึ่งนอกจากจะนำ�ไปสู่อาชีพที่มั่นคงและมีส่วนในการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรมแล้ว ยังเป็นการช่วยลดปัญหาในเรื่องของแรงงานย้ายถิ่นด้วย ทั้งหมดนี้ คือปณิธานอันแน่วแน่ในการผสาน 3 องค์ประกอบ อันได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมเข้าด้วยกัน อันไม่มี วันสิ้นสุดของพวกเราชาวไออาร์พีซี... “ทุกๆ การพัฒนาศักยภาพในกระบวนการผลิต ต้องมาพร้อมกับสิ่งแวดล้อมที่ดีของชุมชน”

090


รางวัลแห่งความสำ�เร็จ Awards and Recognition

• ได้รับการรับรองระบบการจัดการคุณภาพ ISO9001 ขอบข่ายการผลิต เบนซีน โทลูอีน มิกซ์ ไซลีน เอทิลเบนซีน สไตรีน สารอะโรเมติก C9 และ เอทิลเบนซีน ริช มิกซ์ ไซลีน

• ได้รับประกาศนียบัตรสีเขียว (Certificate of Green Activity) ระบบการ ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติก ABS ตามมาตรฐาน การจัดซื้อสีเขียว (Green Procurement Standard) จากบริษัท แคนนอน ส่ง ผลให้บริษัทฯได้รับเลือกให้เป็นคู่ค้าของกลุ่มแคนนอน

• รับรางวัลโล่และประกาศเกียรติบัตร CSR-DIW ในฐานะที่โรงงานผลิต เม็ดพลาสติกโพลิโพรพีลีนของบริษัทฯ เป็นโรงงานที่ได้ปฏิบัติตามมาตรฐาน ความรับผิดชอบของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคมซึ่งจัดโดยสถาบัน รับรองมาตรฐานไอเอสโอ และกรมโรงงานอุตสาหกรรม

• ลงนามหนังสือยืนยันให้การสนับสนุนกฎบัตร “Responsible Care ดูแลด้วย ความรับผิดชอบ” ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเพื่อยึดมั่นในหลัก การและการบริหารจัดการสารเคมีด้วยความรับผิดชอบ

091


การกำ�กับ ดูแลกิจการ 092


การกำ�กับดูแลกิจการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรมโดยยึดมั่นในอุดมการณ์ซึ่งได้ถือ ปฎิบัติสืบเนื่องกันมาเป็นเวลานาน ภายใต้กรอบที่มีการพัฒนาให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและ สังคม บนพื้นฐานแห่งประโยชน์สุขอย่างสมดุล และยั่งยืนของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย การมุ่งพัฒนากิจการให้มี การเติบโตอย่างยั่งยืนนั้น จะต้องมีการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม โปร่งใส และตรวจสอบได้ เป็นที่น่าเชื่อถือแก่ บุคคลทั่วไป และคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายรวมทั้งมีจิตสำ�นึกในการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม ตามหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมหลักพื้นฐาน 6 ประการ ได้แก่ 1. ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทำ�ของตนเอง สามารถชี้แจง และอธิบายการตัดสินใจนั้นได้ (Accountability) 2. ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ (Responsibility) 3. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน มีความเป็นธรรม และมีคำ�อธิบาย (Equitable Treatment) 4. ความโปร่งใสในการดำ�เนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง (Transparency) 5. การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value) 6. การมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ (Ethics) ในปี 2552 บริษัทฯ ได้มีการประกาศวิสัยทัศน์ใหม่โดยมีเป้าหมายสู่การเป็น “บริษัทปิโตรเคมีชั้นนำ�ครบวงจรของ เอเซียภายในปี 2557” หรือ Top Quartile Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2014 และถือว่าการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี เป็นส่วนสำ�คัญของนโยบายการดำ�เนินธุรกิจ จึงได้จัดให้มีแผนงานส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กร และทัศนคติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจนำ�ไปสู่การปฏิบัติตามนโยบายและคู่มือการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้กับพนักงานทุกระดับด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1. ดำ�เนินการทบทวน ปรับปรุงเนื้อหาในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท ฉบับปี 2552 เพื่อให้มีความ สมบูรณ์และเป็นไปตามหลักสากลปฏิบัติยิ่งขึ้น โดยเพิ่มเติมเรื่องของบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ และ ข้อพึงปฏิบตั ขิ องกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน จัดพิมพ์เป็นคูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 (พฤศจิกายน 2552) ส่งมอบให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคน ลงนามรับทราบและถือปฏิบตั ิ และได้น�ำ เผยแพร่ไว้ในระบบ intranet และ internet ของบริษทั เพือ่ การสือ่ ความ ไปยังพนักงาน ผู้ถือหุ้น ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นของบริษัท 2. จัดสัมมนาเชิงวิชาการให้กบั ผูบ้ ริหารของบริษทั โดยจัดให้มกี ารบรรยายในหัวข้อ“จรรยาบรรณสำ�หรับผูบ้ ริหาร” เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีนำ�ไปสู่การเป็นต้น แบบให้กับพนักงานในองค์กร 3. กำ�หนดให้การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเป็นหลักสูตรหนึ่งในการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ของบริษัท 4. จัดกิจกรรม “CG Day” ภายในองค์กร เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับพนักงานถึงหลักการ ปฏิบัติตามนโยบายและคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรม PTT Group CG Day เพื่อเผย แพร่การดำ�เนินการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทในกลุ่ม ปตท. 5. จัดทำ�จุลสารรายเดือน “ด้วยมิตรไมตรี” เป็นช่องทางในการสื่อสารและดูแลชุมชนโดยรอบบริเวณโรงงาน ให้ได้ รับข่าวสารของบริษัท พร้อมทั้งได้รับเกร็ดความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ เช่นการดูแลสุขภาพ การดูแลความ ปลอดภัยในชีวิตประจำ�วัน การประหยัดพลังงานรวมถึงการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

093


บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่าย โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนามาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีไปสู่มาตราฐานสากล ตามเจตนารมณ์ของ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) มุ่งเน้นการยกระดับความน่าเชื่อถือ ของตลาดทุนไทยให้เป็นที่ยอมรับและ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากลอันเป็นผลดีต่อประเทศชาติ ตลอดปี 2552 คณะกรรมการบริษัทได้กำ�กับดูแลให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในหลักการ ที่สำ�คัญ 5 หมวด ดังนี้

สิทธิของผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ตระหนักและให้ความสำ�คัญต่อสิทธิที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับ ซึ่งจะทำ�ให้ผู้ถือหุ้นไว้วางใจ และมั่นใจในการลงทุน ในบริษัท โดยกำ�หนดนโยบายและการดำ�เนินการเพื่อรักษาสิทธิพื้นฐานที่ผู้ถือหุ้นพึงได้รับโดยเท่าเทียมกันของผู้ถือ หุ้นทุกรายอย่างเป็นธรรมตามข้อบังคับของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การมีส่วนแบ่งในผลกำ�ไร และ เงินปันผลอย่างเท่าเทียมกัน สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิในการมอบฉันทะให้บุคคลอื่นเข้าประชุมและ ออกเสียงลงคะแนนแทน สิทธิในการออกเสียงลงคะแนนเพื่อแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการเป็นรายบุคคล สิทธิใน การแสดงความเห็นและซักถามในการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิที่จะได้รับสารสนเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา รวมทั้งมี การจัดการที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ ได้ดำ�เนินการเพื่อส่งเสริมสิทธิของผู้ถือหุ้น ดังนี้ 1) เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นใช้สิทธิเสนอระเบียบวาระการประชุมได้ก่อนล่วงหน้าในระหว่างช่วงระยะเวลาที่บริษัท กำ�หนด และได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมทั้งลงประกาศหลักเกณฑ์ การใช้สิทธิดังกล่าวอย่างละเอียดไว้ในเว็บไซด์ของบริษัท ทั้งนี้ในปี 2552 ไม่มีผู้ถือหุ้นเสนอระเบียบวาระการ ประชุมล่วงหน้า 2) ก่อนวันประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ ได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุน้ และเอกสารประกอบให้แก่ผถู้ อื หุน้ เป็นการ ล่วงหน้าอย่างครบถ้วน เพียงพอ โดยหนังสือเชิญประชุมมีรายละเอียดของ วัน เวลา สถานที่จัดประชุม แผนที่ ของสถานที่จัดประชุม ระเบียบวาระการประชุมพร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัท เอกสารประกอบ ระเบียบวาระต่างๆ หนังสือมอบฉันทะตามแบบที่กระทรวงพาณิชย์กำ�หนด ข้อบังคับบริษัทเกี่ยวกับการประชุม ผู้ถือหุ้นและการออกเสียงลงคะแนน รายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นจะต้องนำ�มาแสดงในวันประชุม รวมทั้ง ระบุให้ผู้ถือหุ้นสามารถส่งคำ�ถามล่วงหน้าได้ เพื่อรักษาสิทธิในการเข้าประชุม และส่งเอกสารดังกล่าวให้ผู้ถือ หุ้นได้พิจาณาล่วงหน้าก่อนการประชุมมากกว่า 14 วัน นอกจากนี้ บริษัทฯได้เปิดเผยหนังสือเชิญประชุมผู้ถือ หุ้นและเอกสารประกอบการประชุมผู้ถือหุ้นเช่นเดียวกับข้อมูลที่บริษัทฯ จะส่งถึงผู้ถือหุ้นในรูปแบบเอกสาร ทั้ง ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในเว็บไซต์ของบริษัท ล่วงหน้า 30 วันก่อนวันประชุม พร้อมทั้งประกาศลงใน หนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย ติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 3 วัน 3) ในวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริษัทฯได้เปิดให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุมอย่างน้อยสองชั่วโมง และอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้น โดยจัดเตรียมสถานที่และเจ้าหน้าที่ลงทะเบียนในจำ�นวนที่เหมาะสม จัด ใช้ระบบ Barcode ในการรับลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม เพื่อความสะดวกรวดเร็ว พร้อมทั้งจัดพิมพ์บัตรลง คะแนนแยกในแต่ละวาระ และยังได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะเข้าร่วมประชุม สามารถลงทะเบียนและ เข้าร่วมประชุมได้แม้จะพ้นระยะเวลารับลงทะเบียนแล้วโดยไม่เสียสิทธิ 4) ประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ประธานคณะกรรมการชุดย่อยทุกคณะ รวมทั้งกรรมการบริษัท ทุกคนให้ความสำ�คัญและเข้าร่วมประชุมเพือ่ ชีแ้ จงตอบข้อซักถาม และให้สทิ ธิผถู้ อื หุน้ ในการซักถามคณะกรรมการ ในที่ประชุมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวาระการประชุมหรือเกี่ยวข้องกับบริษัท 5) ก่อนเริ่มการประชุม ประธานกรรมการได้ชี้แจงวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนตามที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในข้อ

094


บังคับของบริษัท และแสดงผลสรุปของคะแนนเสียงทุกระเบียบวาระอย่างชัดเจนในห้องประชุม พร้อมทั้งจัดให้ มีผู้แทนผู้ถือหุ้นเพื่อทำ�หน้าที่ตรวจสอบการลงคะแนนเสียง รวมทั้งมีที่ปรึกษากฎหมายอิสระเป็นพยานในการ นับคะแนนด้วย ซึ่งบริษัทจัดให้มีการลงคะแนนเสียงแยกสำ�หรับแต่ละเรื่องอย่างชัดเจน เพื่อรักษาสิทธิของผู้ ถือหุ้น 6) ระหว่างการประชุม ประธานกรรมการจัดสรรเวลาการประชุมอย่างเพียงพอ และดำ�เนินการประชุมอย่างเหมาะ สมและโปร่งใส โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้แสดงความคิดเห็นและซักถามอย่างทั่วถึง ก่อนจะให้ลงคะแนนและ สรุปมติที่ประชุมของแต่ละระเบียบวาระ 7) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้แก่ผู้ถือหุ้นอย่างสม่ำ�เสมอ ผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ทั้งเว็บไซต์ของบริษัททั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จัดให้มีหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ ทำ�หน้าที่สื่อสารและ ตอบข้อซักถามในประเด็นที่มีการเปลี่ยนแปลงหรืออยู่ในความสนใจของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนอย่างเท่าเทียม กัน 8) เปิดเผยโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมอย่างชัดเจน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่ามีโครงสร้างการ ดำ�เนินงานที่มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 9) ดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในการสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนแก่องค์กร เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับผล ตอบแทนที่เหมาะสม

การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญและดูแลให้มีการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม โดยได้ดำ�เนินการ ต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1) จัดให้มีกระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพโดยดำ�เนินการประชุมผู้ถือหุ้นและพิจารณาลง คะแนนเสียงตามลำ�ดับระเบียบวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม และมีนโยบายที่จะไม่เพิ่มระเบียบวาระ ในที่ประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีโอกาสศึกษาข้อมูลประกอบระเบียบวาระ ก่อนตัดสินใจ 2) สำ�หรับผู้ถือหุ้นที่ไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง สามารถมอบฉันทะให้กรรมการที่เป็นอิสระคนใดคนหนึ่ง หรือประธานกรรมการ หรือกรรมการผู้จัดการ หรือบุคคลใดๆ เข้าประชุมและลงคะแนนเสียงแทน โดยเสนอ ชื่อกรรมการอิสระในหนังสือมอบฉันทะรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถกำ�หนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได้เอง 3) ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นใช้บัตรลงคะแนนเสียงสำ�หรับทุกระเบียบวาระ โดยจัดทำ�บัตรลงคะแนนแยกตามวาระ เพื่อ ให้ผู้ถือหุ้นสามารถลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร โดยมีการเก็บบัตรลงคะแนนดังกล่าวในห้องประชุม เพื่อนำ� ผลคะแนนมารวมคำ�นวณกับคะแนนเสียงที่ได้ลงไว้ล่วงหน้าในหนังสือมอบฉันทะ ก่อนที่จะแจ้งคะแนนเสียงใน ห้องประชุม 4) บันทึกรายงานการประชุมอย่างครบถ้วน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลสาระสำ�คัญได้แก่ มติที่ประชุมและผลการลง คะแนนเสียงโดยแบ่งเป็นจำ�นวนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียงในแต่ละวาระ คำ�ถาม คำ�ชี้แจง และความเห็นของที่ประชุม และจัดส่งรายงานการประชุมให้แก่หน่วยงานทางการที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลา 14 วันนับแต่วันประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการบันทึกภาพการประชุมในลักษณะสื่อวิดิทัศน์ พร้อมทั้งได้เผยแพร่รายงานการประชุมฯ และสื่อวิดิทัศน์ดังกล่าวไว้บนเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อเป็นข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุนทั่วไป 5) กำ�หนดแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการเก็บรักษาข้อมูล และการป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในไว้ในนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ขี องบริษทั ซึง่ พนักงานทุกคนได้ลงนามรับทราบแนวปฏิบตั ดิ งั กล่าวแล้วเพือ่ ความเป็นธรรมต่อผูถ้ อื หุน้

095


และดำ�เนินการแจ้งคณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ มิให้ นำ�ข้อมูลภายในที่เป็นสาระสำ�คัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหุ้นของบริษัท และยังไม่ได้เปิดเผยแก่สาธารณชน ไปใช้กระทำ�การใดๆ ซึ่งเป็นการขัดต่อมาตรา 241 ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 รวมทั้งกรรมการและผู้บริหารจะต้องรายงานการถือครองหลักทรัพย์ต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์เมื่อเข้ารับตำ�แหน่งครั้งแรก และรายงานภายใน 3 วันทำ�การทุกครั้งหลังจากมี การซื้อหรือขายหลักทรัพย์

บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดมั่นในความรับผิดชอบต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มทั้งภายในและภายนอกบริษัท เพื่อประโยชน์อย่างยั่งยืน โดยคณะกรรมการบริษัทได้กำ�กับดูแลให้มีระบบการบริหารจัดการที่เชื่อมั่นได้ว่าบริษัทรับรู้ สิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ตามที่ได้ก�ำ หนดไว้ในกฎหมายและกำ�หนดแนวทางไว้ใน “คูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ”ี ต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ ลูกค้า ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้บุคลากรทุกระดับ ยึดถือเป็น แนวปฎิบัติและถือเป็นภาระหน้าที่ที่สำ�คัญของทุกคน ดังนี้ ผู้ถือหุ้น: บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะรับผิดชอบ และสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึงถึงความเจริญเติบโต ของบริษัทอย่างยั่งยืน และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง โดยคณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกคน ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โปร่งใส อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถไม่ดำ�เนินการในลักษณะที่อาจก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริษัท ไม่แสวงหาประโยชน์ให้ตนเอง และไม่เปิดเผยข้อมูลลับต่อบุคคลภายนอก ลูกค้า: บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจ และความมั่นใจให้กับลูกค้า ที่จะได้รับผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ดี มีคุณภาพ ในระดับราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาความลับของลูกค้า ไม่นำ�ไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้ที่ เกี่ยวข้องโดยมิชอบเพื่อสัมพันธภาพที่ดีและยั่งยืนสืบไป คู่ค้า: บริษัทฯ ได้กำ�หนดจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ ในการจัดซื้อ จัดจ้างระบุไว้เป็นระเบียบปฏิบัติ เพื่อให้การ ดำ�เนินธุรกิจกับคู่ค้าเป็นไปอย่างเหมาะสม เสมอภาค ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลประโยชน์ที่เป็นธรรมต่อทั้ง สองฝ่าย โดยคู่ค้าของบริษัทพึงปฎิบัติตามกฎหมายและกติกาอย่างเคร่งครัด คู่แข่ง: บริษัทฯ เน้นการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม โปร่งใส มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรมภายใต้กรอบกติกาและ แนวทางการของการแข่งขันที่ยุติธรรม หลีกเลี่ยงวิธีการที่ไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสมและไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่ง ทางการค้า เจ้าหนี้: บริษัทฯ ปฏิบัติต่อเจ้าหนี้อย่างโปร่งใส เป็นธรรม มีความรับผิดชอบ โดยรักษาและปฎิบัติตามเงื่อนไขที่มี ต่อเจ้าหนี้โดยเคร่งครัด ทั้งในแง่การชำ�ระคืน การดูแลหลักทรัพย์ค้ำ�ประกัน และเงื่อนไขอื่นๆ รวมทั้งการไม่ใช้เงินทุน ที่ได้จากการกู้ยืมไปในทางที่ขัดกับวัตถุประสงค์ในข้อตกลงที่ทำ�กับเจ้าหนี้ กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อใด ข้อหนึ่ง บริษัทฯ จะแจ้งให้เจ้าหนี้ทราบล่วงหน้า เพื่อร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข พนักงาน: บริษัทฯ ถือว่าพนักงานเป็นปัจจัยสำ�คัญสู่ความสำ�เร็จ จึงมุ่งมั่นในการเสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรม และบรรยากาศการทำ�งานที่ดี ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม พัฒนาความสามารถในการทำ�งานระดับมืออาชีพ จัดหา นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่มาสนับสนุนการทำ�งาน ให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมเป็นธรรม เช่น จัดให้ มีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล สวัสดิการตรวจสุขภาพประจำ�ปี สวัสดิการรถรับส่ง สโมสร และชมรมต่างๆ ดูแลรักษา สภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้มีความปลอดภัยและเอื้อต่อการทำ�งานอย่างมีประสิทธิภาพ รับฟังข้อคิดเห็นและข้อ เสนอแนะพนักงานทุกระดับอย่างเท่าเทียมและเสมอภาค

096


สังคมและสิ่งแวดล้อม: บริษัทฯ ดำ�เนินงานโดยมีโรงกลั่นน้ำ�มันและโรงงานปิโตรเคมี รวมถึงเขตประกอบการ อุตสาหกรรมพร้อมสาธารณูปโภค เช่น โรงไฟฟ้า ท่าเรือน้ำ�ลึก ถังเก็บน้ำ�มัน ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง และโดยที่บริษัทฯ ตระหนักว่า “เพราะระยองคือบ้าน…” จึงพยายามเป็นอย่างยิ่งในการรักษาความปลอดภัยสิ่งแวดล้อม และคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในพื้นที่ โดยจัดให้มีการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามข้อกำ�หนดของหน่วยราชการ และสำ�รวจ ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการดำ�เนินงานของบริษัทอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งได้กำ�หนดแนวปฏิบัติที่ดีด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมให้พนักงานปฏิบัติจนเป็นวิถีดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน ตลอดจนส่งเสริม กิจกรรมทางสังคมในการรักษาสิ่งแวดล้อมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในปี 2552 บริษัทฯ ดำ�เนินโครงการจัดตั้ง “ศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชน” ขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางในการให้ข้อมูล ข่าวสาร ทำ�กิจกรรมสร้างสัมพันธภาพกับชุมชนระยอง ตลอดจนประชาชนทั่วไป

การแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน เพื่อให้การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน โปร่งใส และมีความเป็นธรรมตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี บริษัทฯ ได้จัดให้มีช่องทางแจ้งเบาะแส หรือข้อร้องเรียนใดที่แสดงว่าผู้มีส่วนได้เสียได้รับผลกระทบหรือ มีความเสีย่ งทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบอันจะก่อให้เกิดความเสียการจากการดำ�เนินงานของบริษทั หรือการปฏิบตั ขิ องพนักงาน ของบริษัทเกี่ยวกับกระบวนการ หรือการกระทำ�ที่ผิดกฏหมาย การทุจริต การฉ้อฉล การปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียมกัน การกระทำ�ที่ขาดความรอบคอบและขาดความระมัดระวังตามที่ควร โดยการยื่นเรื่องตรงหรือส่งทางไปรษณีย์ ถึง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ หรือ ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ชั้น 21 อาคารซันทาวเวอร์ส บี เลขที่ 123 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 02 649-7000 โทรสาร 02 649 7654 เนื่องด้วยบริษัทฯจะย้ายที่ทำ�การสำ�นักงานกรุงเทพฯ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป หากต้องการแจ้ง เบาะแสหรือข้อร้องเรียน หลังวันที่ 31 มีนาคม 2553 สามารถยื่นเรื่องตรงหรือส่งทางไปรษณีย์ ถึง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ หรือ ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ชั้น 6 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคาร บี เลขที่ 555/2 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 02 649-7000 โทรสาร 02 649 7654 เมือ่ บริษทั ฯได้รบั เบาะแสหรือข้อร้องเรียนต่างๆ สำ�นักตรวจสอบภายในจะดำ�เนินการลงทะเบียนรับข้อร้องเรียน พิจารณา สาระสำ�คัญของข้อร้องเรียน ทำ�การสอบข้อเท็จจริงหากปรากฏผลว่าอาจมีกรณีการทุจริตรวมอยู่ด้วย จะจัดตั้งคณะ กรรมการสอบสวนเรื่องร้องเรียน (“คณะกรรมการสอบสวนฯ”) โดยมีตัวแทนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมเป็น กรรมการ ถ้าการสอบสวนเรื่องร้องเรียนปรากฏผลว่าไม่มีความผิดคณะกรรมการสอบสวนฯ จะดำ�เนินการปิดเรื่อง ร้องเรียนตามขั้นตอน ถ้าการสอบสวนเรื่องร้องเรียนปรากฏผลว่ามีความผิดคณะกรรมการสอบสวนฯ จะดำ�เนินการ ทางวินัยหรือดำ�เนินการทางกฏหมายแล้วแต่กรณี จากนั้นจะสรุปเรื่องร้องเรียน รายงานและขออนุมัติกรรมการผู้ จัดการใหญ่ดำ�เนินการทางกฏหมาย ด้านวินัย การชดเชยเยียวยาผู้เสียหาย หรือการฟื้นฟูสภาพการเสียหายแล้วแต่ กรณี เมื่อกรรมการผู้จัดการใหญ่อนุมัติให้ดำ�เนินการ จะแจ้งเรื่องให้ผู้ร้องเรียนทราบ และแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำ�เนินการชดเชย เยียวยาผู้เสียหาย ฟื้นฟูสภาพความเสียหายให้กลับสู่ภาวะปกติ โดยสำ�นักตรวจสอบภายในจะสรุป

097


ผลเพื่อรายงานต่อ กรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการตรวจสอบ และผู้บริหารที่เกี่ยวข้องต่อไป อย่างไรก็ดี ในปี 2552 บริษัทฯไม่มีข้อร้องเรียนใดๆ จากผู้มีส่วนได้เสีย

การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส คณะกรรมการบริษัท ได้ตระหนักและให้ความสำ�คัญกับคุณภาพข้อมูล และการเปิดเผยข้อมูลอย่างเท่าเทียม โปร่งใส และเป็นธรรม ผ่านช่องทางที่เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย โดยในรอบปี 2552 ได้กำ�กับดูแลการเปิดเผยข้อมูลเพื่อให้ผู้มีส่วน ได้เสียทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจ ดังนี้

ความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล - ได้เปิดเผยข้อมูลสำ�คัญของบริษทั ทัง้ ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ขอ้ มูลทางการเงินตามเกณฑ์ทส่ี �ำ นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนดอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส มีการพัฒนาประสิทธิภาพของกระบวนการเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนือ่ ง เช่น งบการเงิน ประจำ�ปีและประจำ�ไตรมาสของบริษัท ได้จัดทำ�และผ่านกระบวนการพิจารณาตรวจสอบและนำ�ส่งต่อสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทั้งเปิดเผย ต่อผู้ถือหุ้นและนักลงทุน ก่อนระยะเวลาครบกำ�หนด - กำ�กับดูแลให้การจัดทำ�รายงานทางการเงินมีข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี โดย ผ่านการตรวจสอบจากคณะกรรมการตรวจสอบและผู้สอบบัญชีที่เป็นอิสระ และเพื่อให้เกิดความมั่นใจคณะ กรรมการบริษัท ได้จัดทำ�รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อการจัดทำ�รายงานทางการเงินเปิดเผย ไว้ในรายงานประจำ�ปีควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชี โดยรายงานดังกล่าวมีเนื้อหาครอบคลุมถึงการปฏิบัติ ตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป สอดคล้องกับธุรกิจ ใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสม และถือปฏิบัติอย่าง สม่ำ�เสมอ - เปิดเผยข้อมูลสำ�คัญของบริษทั เพิม่ เติมตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ อี ย่างครบถ้วนในรายงานประจำ�ปี และ แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รวมทั้งเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัท ซึ่งได้มีการปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ - จัดให้มีการพบปะและสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับพนักงานอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อให้พนักงานได้ ทราบถึงกลยุทธ์และทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ ซึ่งจะเป็นแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบของ ตนที่ได้รับมอบหมาย เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรและผู้ถือหุ้น

ช่องทางและผู้รับผิดชอบในการเปิดเผยข้อมูล • ข้อมูลบริษัทที่สำ�คัญ เป็นปัจจุบัน และครบถ้วนตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ได้รับการจัดทำ�และเผยแพร่ ไว้ใน เว็บไซต์ www.irpc.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้สามารถสอบถามและ ดาวน์โหลดข้อมูลต่างๆ ของบริษัทได้ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะปรับปรุงเว็บไซต์ให้สะท้อนคุณค่าของ องค์กร และตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอีกด้วย • จัดให้มีหน่วยงานและมอบหมายผู้รับผิดชอบงานนักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร กับผู้ถือหุ้น นักลงทุน ทั้งรายย่อยและสถาบัน นักวิเคราะห์ รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ โดยผู้บริหารระดับสูงมี ส่วนร่วมในการดำ�เนินงานนักลงทุนสัมพันธ์ ได้แก่การพบนักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ตามแผนงาน ประจำ�ปี เข้าร่วมชี้แจงและตอบข้อซักถามในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานของบริษัทที่นำ�เสนอ อย่างชัดเจน และเผยแพร่ข้อมูลที่นำ�เสนอไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทภายหลังการประชุม นอกจากนี้ได้จัดให้มี แบบสอบถามเพื่อสำ�รวจความพึงพอใจของนักวิเคราะห์ต่อการดำ�เนินงานด้านนักลงทุนสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อการปรับปรุงและพัฒนาให้งานนักลงทุนสัมพันธ์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

098


• จัดให้มีช่องทางเพื่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้ที่สนใจ สามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทเพิ่มเติม ได้ทางเว็บไซต์ของบริษัท www.irpc.co.th หรือติดต่อสอบถามโดยตรงที่หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัท ได้ 3 ช่องทาง ดังนี้ (1) โทรศัพท์: 02 649-7384 (2) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: ir@irpc.co.th (3) โทรสาร: 02 649-7379 • กิจกรรมหลักในปี 2552 ของหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ สรุปได้ดังนี้ - กิจกรรมพบนักลงทุนในต่างประเทศ (Roadshow) ประกอบด้วย ฮ่องกง สิงคโปร์ ญีป่ นุ่ สหราชอาณาจักร ยุโรป และสหรัฐอเมริกา รวมทัง้ สิน้ 8 ครัง้ - กิจกรรมพบนักลงทุนในประเทศ ทัง้ ผูล้ งทุนสถาบัน และผูล้ งทุนรายย่อย รวม 1 ครัง้ - การจัดประชุมนักวิเคราะห์ เพือ่ รายงานผลการดำ�เนินงานของบริษทั เป็นประจำ�ทุกไตรมาส โดยจัดภายหลัง จากการรายงานผลประกอบการต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมทัง้ สิน้ 4 ครัง้ - จัดประชุม (Company Visit) ร่วมกับผูบ้ ริหารของบริษทั ตามการนัดหมายของนักลงทุนและนักวิเคราะห์ รวม 39 ครัง้ - นำ�ผูถ้ อื หุน้ จำ�นวน 216 ราย โดยวิธกี ารจับสลากอย่างยุตธิ รรมเข้าเยีย่ มชมโรงงาน (Plant Visit) เพือ่ ความ เข้าใจในธุรกิจของบริษทั รวมทัง้ ติดตามความก้าวหน้าในการดำ�เนินธุรกิจ 1 ครัง้ - จัดประชุมให้กบั นักวิเคราะห์ เพือ่ ความเข้าใจในธุรกิจของบริษทั รวมทัง้ ติดตาม ความก้าวหน้าในการดำ�เนิน ธุรกิจ 1 ครัง้ - จัดกิจกรรมร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลของบริษทั ถึงผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน โดยตรง จำ�นวน 2 ครัง้ - รายงานข้อมูลและข่าวสารทีส่ �ำ คัญผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างสม�ำ่ เสมอ โดย เป็นไปตามข้อกำ�หนดและหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั - ตอบข้อซักถามทางโทรศัพท์และทางไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ต่อผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผูท้ ่ี เกีย่ วข้องต่างๆ - เผยแพร่ขอ้ มูลบริษทั ทีส่ �ำ คัญผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ในหัวข้อ “ข้อมูลนักลงทุน” เช่น ข่าวแจ้งตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ข้อมูลราคาหุ้น ของบริษัท เป็นต้น • หน่วยงาน Compliance ซึง่ ทำ�หน้าทีด่ แู ลด้านการปฏิบตั ขิ องบริษทั ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ได้จัดทำ�คู่มือพร้อมทั้ง จัดอบรมสัมมนาเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (IRPC Compliance Handbook) ให้กับผู้บริหารตั้งแต่ระดับผู้จัดการ แผนกขึ้นไปทุกท่านเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจ และนำ�ไปถ่ายทอดให้กับพนักงานในสังกัดได้อย่างทั่วถึง • จัดให้มีหน่วยงานสื่อสารองค์กร เพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหว กิจกรรมและ ความร่วมมือของบริษัทกับหน่วยงานต่างๆ ที่ทันต่อเหตุการณ์ แก่สื่อมวลชน เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชน ดังนี้ - จัดงานแถลงข่าวต่อสือ่ มวลชน (Press Release) เพือ่ แถลงผลการดำ�เนินงานและแนวโน้มการดำ�เนินธุรกิจ ต่อสือ่ มวลชน ภายหลังจากที่ได้เผยแพร่ขอ้ มูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแล้ว - จัดให้สอ่ื มวลชนเข้าเยีย่ มชมการดำ�เนินงาน รวมทัง้ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับธุรกิจปิโตรเคมีและเคมีภณั ฑ์ตอ่ สือ่ มวลชน เพือ่ ความเข้าใจในภาพรวมของการดำ�เนินธุรกิจ - เผยแพร่ขา่ วประชาสัมพันธ์ตา่ งๆ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อการสื่อสารในวงกว้าง และสื่ออินทราเน็ต เพื่อให้พนักงานในองค์กรรับรู้ข่าวสารความเคลื่อนไหวของบริษัท

099


- จัดโครงการชุมชนสัมพันธ์ โดยจัดให้ผู้นำ�ท้องถิ่น กลุ่มแม่บ้าน ข้าราชการ ผู้มีส่วนได้เสียเข้าเยี่ยมชมพื้นที่ โรงกลั่นน้ำ�มัน โรงไฟฟ้า ท่าเทียบเรือ และเขตประกอบการ จำ�นวน 2 ครั้ง รวม 579 คน ตลอดทั้งปี 2552 บริษัทฯ ได้มีการสื่อสารข้อมูลและกิจกรรมตามแผนงานสื่อสารที่สอดคล้องกับกลยุทธ์และทิศทาง การดำ�เนินธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง สม่ำ�เสมอ โดยคำ�นึงถึงคุณภาพของข้อมูลที่เปิดเผยเป็นสำ�คัญ

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ถือเป็นหัวใจสำ�คัญของการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยต้องประกอบด้วยผูม้ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญและ ประสบการณ์ที่สามารถเอื้อประโยชน์ให้แก่บริษัท ได้เป็นอย่างดี มีความมุ่งมั่นทุ่มเท และให้เวลาอย่างเต็มที่ในการ ปฏิบัติหน้าที่ องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วย

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท มีจำ�นวน 17 คน ประกอบด้วย กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 16 คน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน ทำ�ให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายมั่นใจได้ว่ากรรมการสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะตัวแทนผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นอิสระ และมีการถ่วงดุลที่เหมาะสม คณะกรรมการทุกคนมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กฎหมายกำ�หนด และเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ในสาขาต่างๆ เพื่อผสมผสานความรู้ความสามารถที่จำ�เป็น และอุทิศเวลาในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการของบริษัท

ประธานคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริษัท ไม่เป็นบุคคลเดียวกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ มีการแบ่งแยกบทบาทและหน้าที่ออกจาก กันอย่างชัดเจน มีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น และมีสิทธิออกเสียงชี้ขาดในกรณีคะแนนเสียงของคณะ กรรมการในที่ประชุมมีจำ�นวนเท่ากันตามข้อบังคับบริษัท

รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการของบริษัท มีหน้าที่ตามที่ประธานคณะกรรมการมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่แทนประธาน กรรมการ ในกรณีที่ประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เป็นการชั่วคราว หรือเมื่อตำ�แหน่งประธานกรรมการ ว่างลง

กรรมการผู้จัดการใหญ่ กรรมการผู้จัดการใหญ่ได้รับการแต่งตั้งและกำ�หนดกรอบอำ�นาจการบริหารจัดการในเรื่องต่างๆ ภายใต้ข้อบังคับและ มติคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการเพื่อดำ�เนินงานเกี่ยวกับการประชุมคณะกรรมการ บริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

คณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้มีการพิจารณากลั่นกรองการดำ�เนินงานที่สำ�คัญอย่างรอบคอบ และมีประสิทธิภาพคณะกรรมการบริษัท จึงให้ มีการจัดตั้งคณะกรรมการเฉพาะเรื่องขึ้น 4 คณะ ดังต่อไปนี้

1. คณะกรรมการบริหาร แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท อย่างน้อย 3 คนซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี โดยมีอำ�นาจ และหน้าที่ในการพิจารณากลั่นกรองแผนธุรกิจ และงบประมาณประจำ�ปีเพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท กำ�หนด นโยบายการเงินการลงทุนของบริษัท และกำ�หนดทิศทางนโยบายการลงทุนให้สอดคล้องกับนโยบายของบริษัท และ อนุมัติหลักเกณฑ์การลงทุน และข้อเสนอการลงทุนตามระเบียบบริษัท พิจารณาและดำ�เนินการในประเด็นที่สำ�คัญ ซึง่ เกีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานของบริษทั พิจารณากลัน่ กรองและให้ขอ้ เสนอแนะงานทุกประเภททีเ่ สนอต่อคณะกรรมการ บริษทั พิจารณาแต่งตั้งกรรมการของบริษัทในเครือหรือบริษัทร่วมทุนตามจำ�นวนสัดส่วนการถือหุ้น หรือตามข้อตกลง ในสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นรวมถึงพิจารณาเรื่องอื่นใดที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

100


2. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท หรือที่ประชุมผู้ถือหุ้น อย่างน้อย 3 คน และต้องเป็น กรรมการอิสระของบริษัท โดยคณะกรรมการตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติเกี่ยวกับความเป็นอิสระ ตามประกาศคณะ กรรมการตลาดทุน เรื่องคุณสมบัติและขอบเขตการดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อทำ�หน้าที่ตรวจสอบ / กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัท ดูแลรายงานทางการเงิน ระบบควบคุมภายในการคัดเลือกผู้ตรวจสอบบัญชี การพิจารณาข้อขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวมถึงการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ทัง้ นีม้ อี ย่างน้อย 1 คน ต้องมีความรู้ ด้านบัญชีหรือการเงิน

3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท อย่างน้อย 3 คน และในจำ�นวนนั้น อย่างน้อย 1 คน ต้องเป็นกรรมการอิสระ เพื่อทำ�หน้าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นคณะกรรมการ บริษัท และกรรมการผู้จัดการใหญ่โดยมีการกำ�หนดวิธีการสรรหาอย่างมีหลักเกณฑ์และโปร่งใส และเพื่อทำ�หน้าที่ พิจารณาแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่ คณะกรรมการบริษัท และกรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยมีการกำ�หนด หลักเกณฑ์การพิจารณาค่าตอบแทนที่เป็นธรรม และสมเหตุสมผล เพื่อเสนอคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือ หุ้นพิจารณาอนุมัติ

4. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี แต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท อย่างน้อย 3 คน และในจำ�นวนนั้นเป็นกรรมการ อิสระอย่างน้อย 1 คน คณะกรรมการชุดนี้ทำ�หน้าที่พิจารณา นำ�เสนอแนวปฏิบัติและให้คำ�แนะนำ�ด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัท

วาระการดำ�รงตำ�แหน่งคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และกรรมการชุดย่อย มีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งในแต่ละวาระ คราวละ 3 ปี ทั้งนี้ บริษัทฯ ตระหนักและให้ความสำ�คัญต่อประสิทธิภาพของการปฏิบตั หิ น้าที่ในฐานะกรรมการบริษทั จึงได้มกี ารดูแลเพือ่ พิจารณา กำ�หนดจำ�นวนบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีก่ รรมการแต่ละคนดำ�รงตำ�แหน่งไม่ควรเกิน 5 บริษทั และได้เปิดเผยข้อมูลการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการที่บริษัทจดทะเบียนอื่นของกรรมการแต่ละคนไว้ในรายงานประจำ�ปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) และเว็บไซต์ของบริษัท สำ�หรับในกรณีที่มีกรรมการบริษัทไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มากกว่า 5 บริษัทนั้น บริษัทจดทะเบียนดังกล่าวเป็นบริษัทจดทะเบียนที่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้น รายใหญ่ การไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนดังกล่าวจึงเป็นไปเพื่อดูแลธุรกิจที่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) เข้าไปลงทุนไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการแต่อย่างใด

บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการกำ�กับดูแลกิจการเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของบริษทั โดย คณะกรรมการ มีบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ต้องคำ�นึงถึงหลักการตามกฎหมาย ข้อบังคับบริษัท มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยดำ�เนินการอย่างซื่อสัตย์ สุจริต มีจริยธรรม รับผิดชอบ เปิดเผยข้อมูลอย่าง โปร่งใส กำ�กับดูแลให้การบริหารจัดการของฝ่ายจัดการเป็นไปตามเป้าหมาย และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้น รวมทั้งประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย เพื่อให้บริษัทฯ สามารถเสริมสร้างความแข็งแกร่งในด้านการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัท จึงมีบทบาทหน้าที่ที่สำ�คัญ ดังต่อไปนี้ 1. อุทิศเวลา และให้ความสำ�คัญในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ ทิศทางและกลยุทธ์ของบริษัท โดยร่วมกันแสดงความ คิดเห็นอย่างเต็มที่ มีการแสวงหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการกำ�หนดทิศทางดังกล่าว รวมถึงมีการพิจารณา

101


ถึงประเด็นความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น เพื่อให้มั่นใจได้ว่าผู้บริหารจะสามารถนำ�วิสัยทัศน์ ทิศทางและกลยุทธ์ที่ กำ�หนดขึ้นไปปฏิบัติให้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ทบทวนและให้ความเห็นชอบกับกลยุทธ์และนโยบายที่สำ�คัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงินและ แผนงานต่างๆ ของบริษัท พร้อมทั้งติดตามผู้บริหารให้มีการปฏิบัติตามแผนงานที่กำ�หนดไว้ตามทิศทางและ กลยุทธ์องค์กรอย่างสม่ำ�เสมอ 3. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการ ในการประเมิ น ความเหมาะสมของการควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภาพและ ประสิทธิผล 4. จัดให้มกี ารพิจารณาถึงปัจจัยเสีย่ งสำ�คัญทีอ่ าจเกิดขึน้ และกำ�หนดแนวทางการบริหารจัดการความเสีย่ งดังกล่าว อย่างครอบคลุม ดูแลให้ผบู้ ริหารมีระบบหรือกระบวนการทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสีย่ ง รวมถึง การแสวงหาโอกาสทางธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว 5. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยง กัน ให้ความสำ�คัญในการพิจารณาธุรกรรมหลักที่มีความสำ�คัญ โดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยรวม 6. จัดให้มีระบบ หรือกลไกการจ่ายค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ที่มีความเหมาะสม เพื่อก่อให้เกิดแรง จูงใจทั้งในระยะสั้น และระยะยาว 7. ประเมินผลงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่อย่างสม่ำ�เสมอ และกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการใหญ่ให้ สอดคล้องกับผลการดำ�เนินงาน 8. จัดให้มีช่องทางในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสม และมีการประเมินผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้ มั่นใจว่ามีความถูกต้อง ชัดเจน โปร่งใส น่าเชื่อถือและมีมาตรฐานสูง 9. เป็นผู้นำ�และเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานที่ดี สอดคล้องกับแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท

การประชุมคณะกรรมการและการได้รับเอกสารข้อมูลต่างๆ บริษัทฯ จัดให้มีกำ�หนดวันและเวลาการประชุมคณะกรรมการบริษัท เป็นการล่วงหน้าตลอดทั้งปี และแจ้งให้กรรมการ ทุกคนทราบกำ�หนดการดังกล่าว เพือ่ ให้กรรมการสามารถจัดสรรเวลาเข้าร่วมประชุมได้ และอาจมีการประชุมวาระพิเศษ เฉพาะคราวเพิม่ เติมตามความจำ�เป็น นอกจากนีบ้ ริษทั ฯได้จดั ส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและ เอกสารประกอบการประชุมในระเบียบวาระต่างๆ ที่นำ�เสนออย่างชัดเจนและเพียงพอในการพิจารณา ให้กรรมการ แต่ละท่านล่วงหน้า เพื่อให้กรรมการมีเวลาเพียงพอในการศึกษาก่อนการประชุม ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานกรรมการได้จัดสรรเวลาไว้อย่างเพียงพอให้กับฝ่ายจัดการเพื่อนำ�เสนอ ข้อมูล โดยกรรมการจะอภิปรายประเด็นสำ�คัญอย่างรอบคอบโดยทั่วกัน รวมทั้งประธานกรรมการยังได้ส่งเสริมให้ กรรมการมีการใช้ดุลยพินิจที่รอบคอบ และกรรมการสามารถเสนอความคิดเห็นได้โดยเปิดเผยและเสรี คณะกรรมการ บริษัท สนับสนุนให้กรรมการผู้จัดการใหญ่เชิญผู้บริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อร่วมชี้แจง และให้ข้อมูลเพิ่มเติมในฐานะที่เกี่ยวข้องกับระเบียบวาระที่เสนอโดยตรง คณะกรรมการบริษัท สามารถขอเอกสาร ข้อมูล คำ�ปรึกษา และบริการต่างๆ เกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท จากผู้บริหารระดับสูงเพื่อประกอบการประชุม แต่ละครั้ง และสามารถขอความเห็นที่เป็นอิสระเพิ่มเติม จากที่ปรึกษาภายนอกได้หากเห็นว่าจำ�เป็น กรรมการที่อาจ จะมีความเกี่ยวข้อง หรือมีส่วนได้เสียในแต่ละระเบียบวาระการประชุม จะต้องงดออกเสียง หรืองดให้ความเห็น หรือ ไม่เข้าร่วมประชุมในวาระนั้นๆ ตามแต่กรณี ภายหลังการประชุมได้มีการจดบันทึกการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร ที่มีความชัดเจนทั้งผลการประชุมและความเห็นของคณะกรรมการ โดยมีระบบการจัดเก็บรายงานการประชุมที่ผ่าน การรับรองแล้วจากคณะกรรมการบริษัท และลงนามรับรองโดยประธานในที่ประชุม เพื่อให้กรรมการและผู้เกี่ยวข้อง ตรวจสอบและอ้างอิงได้

102


ภาวะผู้นำ�และวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษัท มีส่วนร่วมในการกำ�หนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ เป้าหมายแผนธุรกิจ และงบประมาณเป็น ประจำ�ทุกปี เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดแก่กิจการ และความมั่นคงให้กับผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ ให้ความเห็นชอบในกลยุทธ์และนโยบายที่สำ�คัญ โดยเฉพาะในส่วนของเป้าหมาย ทางการเงินและแผนงานต่างๆ นั้น ได้มีการเห็นชอบในการตั้งเป้าหมายตั้งแต่ต้นปี และมีการติดตามผลเป็นระยะอย่างสม่ำ�เสมอ คณะกรรมการบริษัท ได้จัดให้บริษัทฯมีระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และมาตรการบริหารความ เสีย่ งทีม่ ปี ระสิทธิผล และมีการติดตามการดำ�เนินการในเรือ่ งดังกล่าวอย่างสม�ำ่ เสมอในการประชุมคณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริษัท ยังได้มีการติดตามผลการดำ�เนินงานของฝ่ายบริหาร โดยกำ�หนดให้มีการรายงานความก้าวหน้า ของผลการดำ�เนินงานและผลประกอบการของบริษทั ทุกเดือนในการประชุมคณะกรรมการบริษทั นอกจากนี้ คณะกรรมการ ยังได้ตระหนักถึงการปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำ�หนดต่างๆ จึงได้กำ�หนดให้ฝ่ายบริหารรายงานเรื่องที่สำ�คัญต่างๆ ของบริษัท เพื่อให้การดำ�เนินกิจการเป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัท ได้ดูแลอย่างรอบคอบเมื่อเกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จึงมีแนวปฏิบัติใน การพิจารณารายการที่มีหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflicts of Interest) ระหว่างผู้ถือหุ้น กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งอื่นๆ เปิดเผยไว้ในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยกระบวนการตรวจสอบ ภายในของบริษัท ได้มีมาตรการพิจารณา ตรวจสอบ และผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อป้องกัน ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และเชื่อมั่นได้ว่าการเข้าทำ�รายการดังกล่าวเป็นธรรม มีความสมเหตุสมผล และเป็น ประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้น - คณะกรรมการบริษัท กำ�กับดูแลให้มีการปฏิบัติตามขั้นตอนที่กำ�หนดด้วยความรอบคอบภายใต้หลักการเหตุผล และความเป็นอิสระต่อกัน มีกระบวนการที่โปร่งใสในการอนุมัติเข้าทำ�รายการ และคำ�นึงถึงผลประโยชน์สูงสุด ของบริษัทอย่างครบถ้วนถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ - ในการพิจารณาเข้าทำ�รายการ ผู้มีส่วนได้เสียในรายการนั้นจะไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ โดยในการประชุม คณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ประธานกรรมการจะแจ้งต่อทีป่ ระชุมเพือ่ ขอความร่วมมือให้กรรมการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ในการพิจารณารายการที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์ ว่าในระเบียบวาระใดที่มีกรรมการเกี่ยวข้องหรือ มีส่วนได้ส่วนเสีย ขอให้กรรมการแจ้งต่อที่ประชุมเพื่องดออกเสียงหรืองดให้ความเห็น - คณะกรรมการบริษทั ดูแลให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ไว้ในรายงานประจำ�ปี และแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1 ) นอกจากนี้ การทำ�รายการทีเ่ ป็นรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน หรือการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึง่ สินทรัพย์ทส่ี �ำ คัญของบริษทั ตาม หลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ บริษัทฯ ถือปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ กำ�หนดไว้ในเรื่องดังกล่าว ซึ่งในกรณีที่บริษัทฯ จะต้องขอความเห็นจากผู้ถือหุ้นในการตกลงเข้าทำ� รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำ�คัญของบริษัท การลงมติเห็นชอบต้องมีคะแนน เสียงไม่ต่ำ�กว่าสามในสี่ (3/4) ของจำ�นวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้น หรือผู้รับมอบฉันทะของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมี สิทธิออกเสียงลงคะแนน โดยไม่นับส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสีย

103


การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัทฯ มีนโยบายในเรื่องข้อพึงปฏิบัติของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ในการห้ามใช้ข้อมูลภายในที่มีสาระ สำ�คัญของบริษัท ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น รวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์ ของบริษัท ดังนี้ - ดำ�เนินการให้มีความเสมอภาค และยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และเพื่อเป็นการป้องกัน การกระทำ�ผิดกฎหมายของบุคลากรทุกระดับของบริษัท และครอบครัวทุกคนที่ได้รับทราบ หรืออาจได้รับ ทราบข้อมูลภายในที่ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน บริษัทฯ จึงห้ามบุคคลดังกล่าวทำ�การซื้อขายหุ้นหรือชักชวน ให้บุคคลอื่นซื้อหรือขาย หรือเสนอซื้อ หรือเสนอขายหุ้นบริษัท บริษัทย่อย และ/หรือบริษัทร่วมของบริษัท ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไม่ว่าจะด้วยตนเอง หรือผ่านนายหน้า ในขณะที่ยังครอบ ครองข้อมูลที่ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนอยู่ โดยบริษัทและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยถือว่าเป็นการซื้อ ขายหลักทรัพย์เพื่อเก็งกำ�ไร หรือสร้างความได้เปรียบให้กับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง - จัดระบบรักษาความลับของบริษัท โดยกำ�หนดชั้นความลับของข้อมูลและจำ�กัดการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เปิดเผย ต่อสาธารณะ โดยให้รับรู้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องและที่จำ�เป็นเท่านั้น จึงถือเป็นหน้าที่ของเจ้าของข้อมูล หรือผู้ ครอบครองข้อมูล ที่ยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนจะต้องปฏิบัติและกำ�ชับผู้ที่เกี่ยวข้องให้ปฏิบัติตามขั้นตอนการ รักษาความลับของบริษัทโดยเคร่งครัด ทั้งนี้ ผู้ฝ่าฝืนการใช้ข้อมูลภายในจะต้องถูกลงโทษทางวินัย และ/หรือ กฎหมาย แล้วแต่กรณี - ดำ�เนินการแจ้งให้กรรมการ ผู้บริหาร และบุคคลที่เกี่ยวข้อง จัดทำ�และส่งรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของ ตน รวมทั้งคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะเมื่อเข้ารับตำ�แหน่งครั้งแรกและรายงานการเปลี่ยนแปลงการ ถือหลักทรัพย์ทุกครั้งภายใน 3 วันทำ�การนับแต่วันที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือ รับโอนหลักทรัพย์ ของบริษัทต่อ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 และบทกำ�หนดโทษตามมาตรา 275 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 - ดำ�เนินการส่งหนังสือเวียนให้คณะกรรมการ ผู้บริหารปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ และความเท่าเทียมกันในเรือ่ งการเข้าถึงข้อมูล จึงขอความร่วมมือจากคณะกรรมการ ผูบ้ ริหารและบุคคลภายใน (คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ) งดการซื้อ ขายหลักทรัพย์ของบริษัท ในช่วงระยะเวลา 45 วัน ก่อนการ เปิดเผยข้อมูลที่เป็นสาระสำ�คัญ หรือวันที่บริษัทฯ ทำ�การเปิดเผยข้อมูลต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แล้ว รวมทั้งควรถือหลักทรัพย์ของบริษัท ระยะยาวอย่างน้อย 3 เดือนนับจากวันที่มีการซื้อ ขายหลักทรัพย์ ของบริษัทครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ได้มีการรายงานการถือหลักทรัพย์ การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของ กรรมการและผู้บริหารต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อทราบ - กำ�หนดแนวปฏิบัติท่ดี ีของผู้บริหารและของพนักงานซึ่งถือเป็นจรรยาบรรณในการปฏิบัติด้วยความรับผิดชอบ ซือ่ สัตย์สจุ ริต มุง่ มัน่ ทุม่ เท ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบและนโยบายของบริษทั และวัฒนธรรมองค์กรโดยถือประโยชน์ ของบริษทั เป็นสำ�คัญ รวมทัง้ ช่วยดำ�เนินการใดๆ ทีจ่ ะรักษาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทำ�งาน รวมทัง้ การพัฒนาองค์กรไปสู่ความเป็นเลิศ

การประเมินผลการปฏิบัติงานโดยตนเองของคณะกรรมการ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั กำ�หนดให้คณะกรรมการมีการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองอย่างน้อย ปีละ 1 ครัง้ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาทบทวนผลงานปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในระหว่างปีทผ่ี า่ นมา และ เป็นโอกาสที่จะพิจารณาเรื่องการอุทิศเวลาในการทำ�หน้าที่ อีกทั้งช่วยปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ บริษัท และฝ่ายจัดการ โดยแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเองของคณะกรรมการบริษัทเป็น 2 แบบ คือ

104


1. แบบประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ 2. แบบประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) สรุปผลการ ประเมินได้ ดังนี้ 1. แบบประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ประกอบด้วย 4 หัวข้อ คือ 1) นโยบายคณะกรรมการ (Board Policy) 2) โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Composition) 3) แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ (Board Practices) 4) การจัดเตรียมและดำ�เนินการประชุม (Board Meeting) ผลการประเมินผลคณะกรรมการทั้งคณะ ในภาพรวม 4 หัวข้อ อยู่ในเกณฑ์ “ดีมาก” 2. แบบประเมินผลคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ประกอบด้วย 6 หัวข้อ คือ 1) ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทำ�ของตนเอง สามารถอธิบายการตัดสินใจได้ (Accountability) 2) ความรับผิดชอบต่อการปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยขีดความสามารถและประสิทธิภาพทีเ่ พียงพอ (Responsibility) 3) การปฏิบตั ติ อ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม และสามารถมีค�ำ อธิบายได้ (Equitable Treatment) 4) มีความโปร่งใสในการดำ�เนินงานที่สามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล (Transparency) 5) การมีวิสัยทัศน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่กิจการในระยะยาว (Vision to Create Long Term Value) 6) การมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบธุรกิจ (Ethics) ผลการประเมินคณะกรรมการรายบุคคล (ประเมินตนเอง) ในภาพรวม 6 หัวข้อ สรุปว่ากรรมการส่วนใหญ่ถือปฏิบัติ เป็นประจำ� อยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม”

การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการบริษัทให้ความสำ�คัญต่อการที่กรรมการจะมีความเข้าใจในหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัท โดยให้ความรู้แก่กรรมการบริษัท ทั้งกรรมการเข้าใหม่ และกรรมการปัจจุบัน พร้อมเผยแพร่ กฎระเบียบแนวปฏิบตั ติ า่ งๆ ที่ได้รบั จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ให้กรรมการและผู้บริหารรับทราบอย่างสม่ำ�เสมอ ดังนี้ กรรมการเข้าใหม่: จัดให้มกี ารปฐมนิเทศสำ�หรับกรรมการใหม่ โดยการนำ�เสนอลักษณะและนโยบายธุรกิจ ภาพ รวม การดำ�เนินธุรกิจและผลการดำ�เนินงาน เพื่อให้กรรมการใหม่ได้เห็นภาพที่ชัดเจน รวมทั้งให้ข้อมูลสารสนเทศที่ สำ�คัญและจำ�เป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ เช่น โครงสร้างทุน ผู้ถือหุ้น ผลการดำ�เนินงาน ข้อบังคับบริษัท แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี แบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี รายงานประจำ�ปี ให้กรรมการใหม่ ได้รับทราบ เพื่อใช้เป็นหลักในการกำ�กับดูแลกิจการและการปฏิบัติหน้าที่กรรมการตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการปัจจุบัน: บริษัทฯ ได้สนับสนุนให้คณะกรรมการได้ศึกษาและอบรมเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความ เข้าใจถึงหลักการของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ตลอดจนบทบาทและหน้าที่ของกรรมการ บริษัทในการบริหารงาน ให้มีประสิทธิภาพและมีจรรยาบรรณ โดยเข้าอบรมในหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ปัจจุบันมีกรรมการบริษัทที่เข้ารับการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของ กรรมการ รวมจำ�นวน 15 คน จากกรรมการทั้งหมด 17 คน

105


การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรของกรรมการที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) Director

ชื่อ-นามสกุล

Director

Certification Accreditation

Finance for

Role of the

Audit

Role of the

Non-Finance

Chairman

Committee

Compensation

Pragram

Program

Directors

Program

Program

Committee

(DCP)

(DAP)

(FND)

(RCP)

(ACP)

(RCC)

1. นายณอคุณ สิทธิพงศ์

-

-

-

รุ่น 21/2552

-

-

2. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์

-

รุ่น 26/2547

-

-

-

-

3. นายอารีย์ วงศ์อารยะ

-

-

-

-

-

-

4. นายพละ สุขเวช

-

รุ่น 14/2547

-

รุ่น 2/2544

-

รุ่น 3/2550

5. นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

รุ่น 14/2545

-

-

-

-

-

6. นายวีรพงษ์ รามางกูร

รุ่น 43/2547

-

-

-

-

-

7. นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ

รุ่น 22/2545

-

-

-

-

-

8.นางพันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์

รุ่น 5/2544

-

-

-

รุ่น 27/2552

-

9.นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์

รุ่น 27/2546

-

รุ่น 5/2546

-

รุ่น 4/2548

-

-

รุ่น 63/2550

-

-

-

-

11.ม.ร.ว.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ รุ่น 44/2547 รุ่น 15/2547

-

-

รุ่น 5/2548

-

รุน่ 104/2551 รุ่น 8/2547 รุ่น 13/2547 รุ่น 10/2547 รุ่น 27/2552

-

10.นายเลอศักดิ์ จุลเทศ 12.นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ 13.ร.ศ.วุฒิสาร ตันไชย

-

14.นายจิตรพงษ์ กว้างสุขสถิตย์ รุ่น 42/2547

-

-

-

-

-

-

รุ่น 9/2547

-

-

-

15.นายพิชัย ชุณหวชิร

รุน่ 110/2551 รุ่น 49/2548

-

-

-

-

16.นางสาววริยา ว่องปรีชา

รุน่ 101/2551

-

รุ่น 21/2552

-

-

17. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร

รุ่น 51/2547 รุ่น 24/2547 รุ่น 14/2547

-

-

-

-

แผนการสืบทอดงาน คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายกำ�หนดแผนการสืบทอดงาน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯได้คัดสรรบุคลากรที่เข้ามารับ ผิดชอบในตำ�แหน่งงานบริหารที่สำ�คัญทุกระดับอย่างเหมาะสม และมีแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่แทนกรณีกรรมการ ผู้จัดการใหญ่หรือผู้บริหารระดับสูงไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ รวมถึงได้ส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกให้มีการ ฝึกอบรม และให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้องในระบบการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท เพื่อให้มีการปรับปรุงการปฎิบัติงาน อย่างต่อเนื่อง

106


เลขานุการบริษัท

เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 89/15 และหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน คณะกรรมการบริษทั จึงมีมติแต่งตัง้ นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์ เป็นเลขานุการบริษัท เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2551 เพื่อทำ�หน้าที่รับผิดชอบการจัดประชุมคณะกรรมการและการ ประชุมผู้ถือหุ้น ติดตามประสานงานให้มีการปฏิบัติตามมติคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น ดูแลให้คำ�แนะนำ�แก่คณะ กรรมการและผูบ้ ริหารเกีย่ วกับกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ จัดเก็บรักษาเอกสารสำ�คัญของบริษทั รวมทัง้ ดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน (กตท.) กำ�หนด ทั้งนี้ จากผลการสำ�รวจรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) ในปี 2552 บริษัทฯ ได้รับการประเมินอยู่ในเกณท์ “ดีเลิศ” โดยมีตัวอย่างจุดเด่นในการปฎิบัติ คือ การจัดทำ�รายงานการประชุมอย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วยข้อมูลที่ครบถ้วน ชัดเจน การดำ�เนินงานภายใต้นโยบาย การให้ความสำ�คัญกับสิ่งแวดล้อม จนได้รับการรับรองมาตราฐาน ISO 14001 มีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการให้ความ สำ�คัญกับสังคม และจัดกิจกรรมเพื่อสังคมอย่างหลากหลาย รวมทั้งได้รับการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญ ประจำ�ปีผู้ถือหุ้น (AGM) จากสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทยอยู่ในเกณฑ์ “ดีเยี่ยม” เช่นกัน อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการบริษัทยังมีภาระหน้าที่ในการกำ�กับดูแล และทบทวนเพื่อปรับปรุงพัฒนาให้มีการปฏิบัติ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสถานการณ์แวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อระบบการบริหาร จัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ รวมทั้งตอบสนองต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ให้ได้รับ ประโยชน์จากการเพิ่มมูลค่าแก่กิจการอย่างยั่งยืนต่อไป

การควบคุมภายใน

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงที่ พอเพียง เหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้การบริหารองค์กรมีประสิทธิภาพ สามารถลดหรือป้องกัน ความเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำ�ให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของบริษัทฯ ในปี 2552 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้สอบทาน และประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน โดยครอบคลุมด้านต่างๆ ดังนี้ 1) องค์กรและสภาพแวดล้อม คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ดูแลให้ผู้บริหารและพนักงานตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบการควบคุมภายใน โดยมุ่ง เน้นความซื่อสัตย์สุจริต และจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจโดยจัดให้มีการดำ�เนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนอย่างเป็น ระบบ เพื่อช่วยฝ่ายบริหารดำ�เนินงาน และรองรับเป้าหมายทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสร้างสภาพ แวดล้อมที่ดี มีส่วนทำ�ให้การควบคุมภายในเพียงพอและมีประสิทธิผล 2) การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ ได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อกำ�กับดูแลการบริหารความเสี่ยงของบริษัท โดยจัดให้มีการ ประเมินอย่างสม�ำ่ เสมอว่ามีความเสีย่ งในลักษณะใดบ้างทีบ่ ริษทั ฯ ประสบอยู่ ทำ�การวิเคราะห์ผลกระทบของความเสีย่ ง และโอกาสที่จะเกิดขึ้น เพื่อกำ�หนดมาตรการในการลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม รวมทั้งติดตามดูแลหน่วย งานต่างๆ ให้ปฏิบัติตามมาตรการที่กำ�หนดไว้อย่างต่อเนื่อง 3) การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบายใน การทำ�ธุรกิจของบริษัทฯ โดยได้กำ�หนดขอบเขตของอำ�นาจหน้าที่สำ�หรับฝ่ายบริหารแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจน และ มีมาตรการที่รัดกุมในการติดตามดูแลการทำ�ธุรกรรมต่างๆให้เป็นไปตามกฎหมาย และให้ความสำ�คัญต่อการปฏิบัติ ตามกฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม เพื่อลดความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ และรักษา ชื่อเสียงของบริษัทฯ

107


4) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทฯ มีการควบคุมดูแลระบบข้อมูลให้มีคุณภาพ มีความเพียงพอ และทันต่อเวลา สำ�หรับคณะกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น หรือผู้เกี่ยวข้องใช้ประกอบการตัดสินใจในการปฏิบัติหน้าที่ นำ�ระบบ SAP ที่เชื่อมโยงข้อมูลทางธุรกิจของ บริษัทเข้าด้วยกัน และมีความเป็น Real Time ยิ่งขึ้นมาใช้งาน สร้างศูนย์คอมพิวเตอร์สำ�รอง (Disaster Recovery Center) เพื่อป้องกันความเสี่ยงของระบบข้อมูลจากภัยพิบัติ รวมทั้งได้จัดตั้งคณะกรรมการรักษาความปลอดภัยระบบ ข้อมูลของบริษัทฯ ทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล และกำ�หนดนโยบายการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ที่พนักงานทุกคนต้อง ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยทั่วกัน 5) ระบบการติดตาม บริษัทฯ ได้จัดให้มีระบบการติดตาม และตรวจสอบอย่างสม่ำ�เสมอว่าหน่วยงานต่างๆ มีการปฏิบัติตามเป้าหมาย ที่ กำ�หนดไว้ ระบบการควบคุมภายในยังดำ�เนินอยู่อย่างต่อเนื่อง และมีการปรับปรุงแก้ไข ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งข้อบกพร่องต่างๆ ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงที สรุปผลการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ในปี 2552 ไม่พบประเด็นปัญหาหรือข้อ บกพร่องที่เป็นนัยสำ�คัญ

108


รายงานผลการดำ�เนินงานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ประจำ�ปี 2552 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบ โปร่งใส และเป็นธรรมบน พื้นฐานของหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อส่งเสริมให้บริษัทฯ เป็น “บริษัทปิโตรเคมีครบวงจรชั้นนำ�ของเอเชีย” ที่มีประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ มีการบริหารจัดการที่ดี ควบคู่ไปกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรไปสู่ผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดนโยบายด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นลายลักษณ์อกั ษรตัง้ แต่ปี 2550 เป็นต้นมา เพือ่ เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร ตลอดจนพนักงานทุกคน ยึดถือปฏิบัติเพื่อเป็นวัฒนธรรมที่ดีของ องค์กร มีคุณธรรม และปฏิบัติงานเพื่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ อย่างเต็มความสามารถด้วยความโปร่งใสสามารถ ตรวจสอบได้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญในการติดตาม และประเมินผลการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการของบริษทั ฯ อย่างสม่ำ�เสมอ โดยมอบหมายให้คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย และส่งเสริมการกำ�กับ ดูแลให้บริษัทฯ ดำ�เนินกิจการตามหลักการดูแลกำ�กับกิจการที่ดี ให้สอดคล้องกับข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และแนวทางปฏิบัติของบริษัทชั้นนำ�ระดับสากล ในปี 2552 คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ได้มีการประชุมรวม 3 ครั้ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ซึง่ สามารถสรุปการดำ�เนินงานการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ประจำ�ปี 2552 ดังนี้ 1. ปรับปรุงคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้คู่มือมีความถูกต้อง ทันสมัย และเป็นไปตาม พรบ. หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2551 โดยแก้ไขปรับปรุงวิสัยทัศน์ของบริษัท เพิ่มเติมคุณสมบัติของกรรมการ ปรับปรุงเนื้อหาเรื่องการแต่งตั้งกรรมการเฉพาะเรื่อง การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส และเพิ่มเติมช่อง ทางในการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน 2. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี • จัดให้มีการบรรยายเรื่อง “จรรยาบรรณสำ�หรับผู้บริหาร” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้ผู้บริหารปฏิบัติตน เป็นแบบอย่าง สามารถให้คำ�แนะนำ�ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยการยึดมั่นจรรยาบรรณ และจริยธรรมตามหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี • จัดกิจกรรม PTT Group CG Day 2009 ร่วมกับกลุ่มบริษัท ปตท. โดยมีนิทรรศการและการแสดงของ พนักงาน เพื่อตอกย้ำ�และเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้พนักงาน • ตอกย้ำ�เพื่อสร้างจิตสำ�นึกเรื่องหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ ของบริษัท 3. มีการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทด้วยความโปร่งใส • ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำ�เนินงานของบริษัท และความก้าวหน้าของกิจการแก่นักลงทุน และนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ทั้งในและต่างประเทศ โดยฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ได้เข้าร่วมงานมหกรรมการเงิน (Money Expo) งานลงทุนครบวงจรแห่งปี (SET in the City) งานพบนักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) ทุกไตรมาส รวมทั้งมีการนำ�เสนอข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของบริษัท 4. การดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผู้ถือหุ้น : บริษัทฯ โดยฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ ได้จัดให้ผู้ถือหุ้นจำ�นวน 216 ราย เข้าเยี่ยมชมโรงงานเพื่อเปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นพบปะพูดคุย และรับฟังความก้าวหน้าในการประกอบกิจการของบริษัท เพื่อให้ผู้ถือหุ้น ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของ และสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน

109


• พนักงาน : บริษัทฯ เห็นความสำ�คัญในการบริหารทรัพยากรบุคคล และการพัฒนาพนักงานให้มีความรู้ ความสามารถ จึงได้กำ�หนดนโยบายความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน และการจัดระดับพนักงาน เพื่อพัฒนา ให้พนักงานเจริญก้าวหน้าและเติบโตอย่างยัง่ ยืนไปพร้อมๆ กับบริษทั โดยประกาศใช้ตง้ั แต่เดือนตุลาคม 2552 • คู่ค้า : บริษทั โดยสายงานจัดซือ้ ฯ ได้จดั ทำ�จรรยาบรรณว่าด้วยการจัดซือ้ จัดหาพัสดุ เพือ่ ให้พนักงานทีป่ ฏิบตั งิ าน โดยเฉพาะในสายจัดซื้อฯ ยึดหลักการปฏิบัติงานต่อคู่ค้าด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส โดยประกาศใช้ตั้งแต่ เดือนสิงหาคม 2552 • สิ่งแวดล้อม : บริษัทฯ มุ่งมั่นและตระหนักถึงความสำ�คัญในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่า และสนับสนุนให้มกี ารป้องกันและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม ควบคูไ่ ปกับการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง บริษทั ฯ จึงได้กำ�หนดนโยบายการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้บริษัทฯ และบริษัทในเครือยึดเป็นแนวทางการ ดำ�เนินงาน โดยประกาศใช้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2552 • ชุมชน และสังคม : หน่วยงานสื่อสารองค์กรและกิจการเพื่อสังคมได้จัดโครงการชุมชนสัมพันธ์ โดยจัดให้ ผูน้ �ำ ท้องถิน่ กลุม่ แม่บา้ น ข้าราชการ ผูม้ สี ว่ นได้เสียเข้าเยีย่ มชมพืน้ ที่ โรงกลัน่ น�ำ้ มัน โรงไฟฟ้า ท่าเทียบเรือ และเขตประกอบการ จำ�นวน 2 ช่วง รวม 579 คน 5. การพัฒนาบทบาทและหน้าที่ของกรรมการ • ส่งเสริมและจัดให้กรรมการบริษทั ฯ เข้าอบรมหลักสูตรกรรมการบริษทั ฯ ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย และสถาบันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • พิจารณาแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2552 สำ�หรับประเมินกรรมการ รายบุคคล และกรรมการทัง้ คณะให้สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี โดยมุง่ เน้นการนำ�ผลประเมินไปใช้ประโยชน์ เพื่อปรับปรุงการทำ�งานของคณะกรรมการบริษัทฯ ให้เทียบเคียงกับมาตรฐานสากล ผลจากการทีบ่ ริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญ และพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ อี ย่างต่อเนือ่ ง ทำ�ให้ในปีทผ่ี า่ นมา บริษทั ฯ ได้ รับการประเมินจากผลการสำ�รวจรายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ประจำ�ปี 2552 โดยสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยมีคะแนนภาพรวมอยู่ในเกณท์ “ดีเลิศ” ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความมุ่ง มั่นในการพัฒนาองค์กรภายใต้หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่องเป็นอย่างดี

(นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ) (นางจันทิมา สิริแสงทักษิณ) ประธานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

110


รายการระหว่างกัน

บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง สำ�หรับปี 2551 และปี 2552 มีรายละเอียด ดังนี้

(หน่วย : ล้านบาท)

ชือ่ บริษทั บมจ.ปตท. (PTT)

ลักษณะความสัมพันธ์ - เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ โดยถือหุ้น 36.89% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายพิชัย ชุณหวชิร - มีผู้บริหารของ ปตท. เป็นกรรมการของบริษัทฯ คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

รายการ - ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น - ลูกหนี้อื่น - เจ้าหนี้อื่น

ปี 2551

ปี 2552

18,185 149,849 307 1,777 24 671

7,451 98,468 993 5,407 49 -566

134 -

324 12

บมจ.ปตท.เคมิคอล (PTTCH) - บมจ.ปตท. ถือหุ้น 49.16%

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - เจ้าหนี้การค้า - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - ลูกหนี้การค้า

657 4,640 2

บมจ.ไทยออยล์ (TOP)

- บมจ.ปตท.ถือหุ้น 49.10% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายพิชัย ชุณหวชิร

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - เจ้าหนี้การค้า - ลูกหนี้การค้า - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - รายได้อื่น

242 329 48 36 -

บมจ. ไทยลู้บเบส

บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ นายพิชัย ชุณหวชิร นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า

บจ. ไทยพาราไซลีน

บมจ.ไทยออยส์ถือหุ้น 99.99% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

บมจ. ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น (PTTAR)

บมจ. บางจากปิโตรเลียม (BCP)

- มีกรรมการร่วมกัน คือ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

729 1,313

ลักษณะและเงื่อนไขของรายการ บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันให้ PTT ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบและเบนซีนจาก PTT ในราคาตลาด บริษทั ฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรและค่าใช้ในการบริหารอืน่ ให้กบั PTT กำ�ไร (ขาดทุน) จากการทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันล่วงหน้าและ รายได้อื่น

563 บริษทั ฯ ขายอะโรเมติกส์ให้ PTTCH ในราคาตลาด 3,011 บริษทั ฯ ซือ้ โพรพิลนี จาก PTTCH ในราคาตลาด 365 6 10 272 บริษัทฯ ขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูปให้ TOP ในราคาตลาด 455 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบจาก TOP ในราคาตลาด 1 1

4

349 บริษัทฯ ขายลองเรสซิดิวให้ บมจ. ไทยลู้บเบส ในราคาตลาด 791 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐานจาก บมจ. ไทยลู้บเบสใน ราคาตลาด 99 -

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า

1,042

24 บริษทั ฯ ขายมิกส์ไซค์ลนี ให้ บจ.ไทยพาราไซลีนในราคาตลาด 912 บริษทั ฯ ซือ้ เบนซีนจาก บจ.ไทยพาราไซลีนในราคาตลาด

บมจ.ปตท ถือหุ้น 48.66% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายณอคุณ สิทธิพงศ์ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ซื้อขายสินค้าที่ไม่มี การส่งมอบ

1,009 598

317 บริษัทฯ ขายโทลูอีนให้ PTTAR ในราคาตลาด 104 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบ PTTAR ในราคาตลาด - เป็นรายการซื้อขายน้ำ�มันดิบที่ไม่มีการส่งมอบสินค้า เพื่อรักษา ระดับสำ�รองน้ำ�มันดิบตามกฎหมาย ซึ่งรายการดังกล่าวไม่รวม อยู่ในงบกำ�ไรขาดทุน

บมจ.ปตท ถือหุ้น 28.46% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายพิชัย ชุณหวชิร

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ซื้อขายสินค้าที่ไม่มีการ ส่งมอบ

7,674 73 1,046

3.051 บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันให้ BCP ในราคาตลาด 230 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบจาก BCP ในราคาตลาด - เป็นรายการซื้อขายน้ำ�มันดิบที่ไม่มีการส่งมอบสินค้า เพื่อรักษา ระดับสำ�รองน้ำ�มันดิบตามกฎหมาย ซึ่งรายการดังกล่าวไม่รวม อยู่ในงบกำ�ไรขาดทุน 353

- เจ้าหนี้การค้า - ลูกหนี้การค้า

- ลูกหนี้การค้า

114

บจ. สตาร์ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง (SPRC)

บมจ.ปตท.ถือหุ้น 36.00%

- ซื้อสินค้า - ซื้อขายสินค้าที่ไม่มีการ ส่งมอบ

598

566 บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบและแนฟทาเบาจาก SPRC ในราคาตลาด - เป็นรายการซื้อขายน้ำ�มันดิบที่ไม่มีการส่งมอบสินค้า เพื่อรักษา ระดับสำ�รองน้ำ�มันดิบตามกฎหมาย ซึ่งรายการดังกล่าวไม่รวม อยู่ในงบกำ�ไรขาดทุน

บจ. พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ (PTT ICT)

ปตท. ถือหุ้น 20.00%

- จ่ายค่าที่ปรึกษา - เจ้าหนี้อื่น

58 18

4 บริษทั ฯ จ่ายค่าทีป่ รึกษาด้านระบบสารสนเทศแก่ PTT ICT 2

111


(หน่วย : ล้านบาท) ชือ่ บริษทั

ลักษณะความสัมพันธ์

รายการ

ปี 2551

ปี 2552

ลักษณะและเงื่อนไขของรายการ

บจ.พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ บมจ.ปตท.ถือหุ้น 50.00% ไออาร์พีซีถือหุ้น 25.00% (PTTPM)

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า - ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

บจ.รีเทล บิซเิ นส อัลไลแอนซ์ (RBA)

บมจ.ปตท.ถือหุ้น 49.00%

- ค่าบริการรักษาความปลอดภัย

บจ.ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก (PTTRM)

บจ.ปตท.ธุรกิจค้าปลีกถือหุ้น 99.99% - ค่าจ้างบุคลากร

-

3 บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้กับ PTTRM

บจ.พีทีที โพลีเอทิลีน

บมจ. ปตท.เคมิคอล ถือหุ้น 99.99% - ขายสินค้า - มีกรรมการร่วมกันคือ - ลูกหนี้การค้า นายปรัชญา ภิญญาวัธน์

-

1 บริษทั ฯ ขายโซเวนซ์ให้ บจ.พีทที ี โพลีเอทิลนี ในราคาตลาด 1

บจ.พลาสติกทรานสปอร์ต *

มีพนักงานของบริษทั ฯเป็นกรรมการ คือ นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์ นางจิตรา ถาวระ นายวีรชัย อริยพรพิรุณ

- มีผู้บริหารของปตท.เป็นกรรมการ คือ นายปรัชญา ภิญญาวัธน์ - มีผู้บริหารของบริษัทฯ เป็น กรรมการคือ นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร นายนันทชัย ประภาวัฒน์เวช

55 -

-

- รายได้จากการซ่อมรถ - รายได้จากการให้เช่ารถ - ค่าจ้างขนส่งเม็ดพลาสติก

0.5 3 17

- ลูกหนี้อื่น

63

821 บริษัทฯ ขายเม็ดพลาสติกให้ PTTPM ในราคาตลาด 127 บริษัทฯ ซื้อเม็ดพลาสติกจาก PTTPM ในราคาตลาด 118 23 1

58 บริษัทฯ จ่ายค่าบริการรักษาความปลอดภัยให้กับ RBA

- บริษัทฯ รับค่าซ่อมรถจากบจ.พลาสติกทรานสปอร์ต - บริษัทฯ รับค่าเช่ารถจากบจ.พลาสติกทรานสปอร์ต - บริษทั ฯ จ่ายค่าจ้างขนเม็ดพลาสติกให้กับบจ.พลาสติก ทรานสปอร์ต 63

หมายเหตุ : *บริษัทฯ ว่าจ้างบริษัท พลาสติก ทรานสปอร์ต จำ�กัด ขนสินค้า ในขณะที่บริษัทฯ ให้เช่ารถบรรทุก โดยคิดค่าบริการ ตามราคาในสัญญาซึง่ ไม่สงู กว่า ราคาตลาด ปัจจุบนั บริษทั ฯ ไม่มรี ายการระหว่างกันดังกล่าวแล้ว โดยบริษทั พลาสติก ทรานสปอร์ต จำ�กัด อยู่ระหว่างจดทะเบียนเลิกกิจการ

นโยบายและความจำ�เป็นของรายการระหว่างกัน เนื่องจากไออาร์พีซีและบริษัทในเครือดำ�เนินธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมีครบวงจร ซึ่งเป็นธุรกิจประเภทเดียวกับบริษัทในเครือ ปตท. การดำ�เนินธุรกรรม ระหว่างบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ปตท. เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยากและถือเป็นการดำ�เนินธุรกิจตามปกติ โดยรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น ได้แก่ การซื้อ ขายวัตถุดิบ การซื้อขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูป รวมถึงการทำ�ธุรกรรมต่างๆ ซึ่งสนับสนุนธุรกิจปกติ โดยราคาซื้อและขายสินค้าจะกำ�หนดจากราคาตามปกติของ ธุรกิจหรือเป็นราคาที่อ้างอิงกับราคาตลาด ทั้งนี้บริษัทฯ ได้พิจารณารายการระหว่างกันอย่างรอบคอบ อย่างมีเหตุผลและเป็นอิสระโดยคำ�นึงถึงประโยชน์ สูงสุดของบริษัทฯ มาตรการเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน คณะกรรมการบริษัทฯ คำ�นึงถึงความเหมาะสมและผลประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ รวมถึงการดำ�เนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ สำ�นักงาน ก.ล.ต.และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในเรื่องเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน ตามข้อบังคับบริษัทฯ กำ�หนดมาตราการไว้ดังนี้ “ในกรณีที่บริษัทฯ มีรายการที่เป็น รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำ�คัญของบริษัทฯ ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทฯ จะ ต้องปฏิบัติตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำ�หนดไว้ในเรื่องดังกล่าว ในกรณีที่ บริษัทฯ จะต้องขอความเห็นชอบของผู้ถือหุ้นในการตกลงเข้าทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือการได้มาหรือจำ�หน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ที่สำ�คัญของ บริษัทฯ จะต้องมีคะแนนเสียงไม่ต่ำ�กว่าสามในสี่ (3/4) ของจำ�นวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นหรือผู้รับมอบฉันทะของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนน โดยไม่นับส่วนของผู้ถือหุ้นที่มีส่วนได้เสีย” นโยบายการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต รายการระหว่างกันของบริษทั ฯ ในอนาคต จะเป็นรายการทีด่ �ำ เนินการทางธุรกิจตามปกติ โดยบริษทั ฯ ยึดถือความสมเหตุสมผล ความเหมาะสม ในเงือ่ นไขและ ราคาทีเ่ ป็นธรรมเป็นหลัก เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝ่ายได้รบั การดูแลผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และ ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดของสำ�นักงาน ก.ล.ต.และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับรายการระหว่างกันอย่างเคร่งครัด โดยกรรมการที่มีผลประโยชน์ ขัดแย้งจะไม่สามารถอยู่ในที่ประชุมและออกเสียงในวาระที่มีผลประโยชน์ขัดแย้ง ความเห็นชอบของคณะกรรมการการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับรายการระหว่างกันประจำ�ปี 2552 ว่า “รายการดังกล่าวได้ถูกดำ�เนินการตามปกติทางการค้า ด้วยเงื่อนไขตามปกติทั่วไป โดยใช้ราคาที่เป็นธรรมและมีการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันของสำ�นักงาน ก.ล.ต. และตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย”

112


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) โดยการแต่งตั้งของคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบ ด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน ได้ปฏิบัติหน้าที่ภายใต้ขอบเขต หน้าที่ และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างรอบคอบ และเป็นอิสระ ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และที่ระบุไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ โดยในปี 2552 ได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการ ตรวจสอบรวม 11 ครั้ง (คณะกรรมการตรวจสอบชุดก่อน 2 ครั้ง และชุดปัจจุบัน 9 ครั้ง) ทั้งนี้คณะกรรมการตรวจ สอบทุกท่านเข้าร่วมประชุมอย่างครบถ้วนทุกครั้ง และมีผู้บริหารที่เกี่ยวข้อง ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และผู้ตรวจ สอบภายในเข้าร่วมประชุมตามวาระที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งได้จัดให้มีการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีผู้บริหาร เพื่อหารือกับผู้สอบบัญชีในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสอบบัญชี คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณาสอบ ทาน ให้ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะในวาระต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 1. สอบทานงบการเงินของบริษัทฯ รายไตรมาส และประจำ�ปี เพื่อให้มั่นใจว่า การจัดทำ�งบการเงินเป็นไป ตามข้อกำ�หนดของกฎหมาย มาตรฐานบัญชี และหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมีการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงินอย่างถูกต้องครบถ้วน เพียงพอ และเชื่อถือได้ 2. สอบทานและให้ความเห็นรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจจะมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ซึ่งบริษัทฯ ได้ดำ�เนินการตามเงื่อนไขธุรกิจการค้าปกติทั่วไป สมเหตุสมผล และเป็นไปตามนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี 3. สอบทานการบริหารความเสี่ยงในเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบาย แนวทาง แผนงาน และการบริหารจัดการความ เสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร ระดับสูง จะนำ�เสนอความคืบหน้าทุกไตรมาส 4. สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ข้อกำ�หนดและประกาศของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจน กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ 5. สอบทานและกำ�กับดูแลการตรวจสอบภายใน โดยพิจารณาและอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจำ�ปี พิจารณา รายงานผลการตรวจสอบ และให้ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมในประเด็นการตรวจสอบต่างๆ รวมทัง้ ให้ความสำ�คัญกับ การติดตามผลการตรวจสอบ เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ งานตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 6. การพิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และค่าตอบแทนสำ�หรับปี 2552 ได้ดำ�เนินการโดยคณะ กรรมการตรวจสอบชุดก่อน ซึ่งได้มีการนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อขออนุมัติจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้น โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ และแสดงความเห็นอย่างเป็น อิสระ เพื่อให้บริษัทฯ มีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเหมาะสม มีการควบคุมภายในที่เพียงพอ และมีประสิทธิภาพ การบริหารความเสี่ยงทำ�อย่างต่อเนื่อง และงบการเงินมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ เพื่อทำ�ให้ผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้รับประโยชน์สูงสุด

(นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์) ประธานกรรมการตรวจสอบ

113


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางการเงิน

งบการเงินของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่นำ�มาจัดทำ�งบการเงินรวมได้จัดทำ�ขึ้น ตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมทะเบียนการค้า ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2544 ออกตามความในมาตรา 11 วรรค สาม แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีไทยที่กำ�หนดโดยสมาคมนักบัญชี และผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย คณะกรรมการรับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสดรวม สำ�หรับปี 2552 ที่เป็นจริงและสมเหตุสมผล โดยได้จัดให้มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ ซึ่งทรัพย์สินของบริษัท รวมทั้งการป้องกันทุจริตและการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ และในการจัดทำ� รายงานทางการเงินได้มีการพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดยสม่ำ�เสมอ และเป็นไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบ การเงินซึ่งผู้สอบบัญชีได้แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ไว้ใน รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

(นายณอคุณ สิทธิพงศ์) ประธานกรรมการ

(นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร) กรรมการผู้จัดการใหญ่

114


รายงานของผู้สอบบัญชี

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

เสนอผู้ถือหุ้นและคณะกรรมการของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 งบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดง การเปลีย่ นแปลงส่วนของผูถ้ อื หุน้ เฉพาะบริษทั และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสน้ิ สุด วันเดียวกันของแต่ละปีทแ่ี นบมานีข้ องบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย และของเฉพาะบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตามลำ�ดับ ซึง่ ผูบ้ ริหารของกิจการเป็นผูร้ บั ผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงิน เหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผูร้ บั ผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำ�หนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผน และปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ หรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วธิ กี ารทดสอบหลักฐานประกอบรายการทัง้ ทีเ่ ป็นจำ�นวนเงินและการเปิดเผยข้อมูล ในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงิน ที่เป็นสาระสำ�คัญซึ่งผู้บริหารเป็นผู้จัดทำ�ขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำ�เสนอ ในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ขอ้ สรุปทีเ่ ป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็น ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษทั ข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 ผลการดำ�เนินงานรวมและผลการดำ�เนินงานเฉพาะบริษทั และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะบริษทั สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตามลำ�ดับ โดยถูกต้องตามที่ควร ในสาระสำ�คัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ข้าพเจ้าขอให้สงั เกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 2.3 เรือ่ งงบการเงินของบริษทั ย่อยแห่งหนึง่ ทีน่ �ำ มาจัดทำ� งบการเงินรวมสำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ซึง่ ได้จดั ทำ�ขึน้ โดยใช้ขอ้ มูลทางการเงินสำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ทีจ่ ดั ทำ�ขึน้ โดยฝ่ายบริหารของบริษัท ซึ่งข้อมูลดังกล่าวยังไม่ได้ผ่านการตรวจสอบหรือสอบ ทานโดยผู้สอบบัญชี

(แน่งน้อย เจริญทวีทรัพย์)

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3044 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด กรุงเทพมหานคร 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

115


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2551

พ.ศ. 2552

พ.ศ. 2551

บาท

บาท

บาท

บาท

7 8 9, 32

5,162,813,655 769,500,000 8,027,648,632

8,550,094,770 437,710,277 6,037,937,936

4,396,584,010 769,500,000 9,408,281,870

7,996,742,673 437,710,277 6,688,013,232

32 10 11

328,383,110 30,634,794,003 311,892,998 1,776,419,183 477,157,473 666,120,126

139,282,872 19,731,093,916 678,799,547 1,749,838,038 73,821,186 520,813,515

560,163,658 29,582,376,263 263,407,083 1,770,826,775 477,157,473 579,802,193

360,174,043 18,088,828,801 575,093,771 1,749,331,448 73,821,186 417,288,913

48,154,729,180

37,919,392,057

47,808,099,325

36,387,004,344

12 13

44,320,822 34,839,456

27,691,278 52,764,868

4,537,189,058 33,588,027

4,537,189,058 26,318,027

32

-

-

3,839,794,137

5,317,082,165

33 14 15 16

71,844,304 64,279,963,438 1,564,986,986 43,622,568

71,694,264 64,275,935,131 1,721,504,257 43,184,197

37,566,792 57,010,265,826 1,564,986,986 42,888,250

37,536,552 57,468,060,203 1,721,504,257 39,171,659

66,039,577,574

66,192,773,995

67,066,279,076

69,146,861,921

หมายเหตุ

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้า - สุทธิ เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและลูกหนี้กิจการ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ ลูกหนี้อื่น ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืน ภาษีสรรพสามิตจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ เงินให้กู้ยืมระยะยาว แก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น - สุทธิ รวมสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

114,194,306,754 104,112,166,052 114,874,378,401 105,533,866,265

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

116


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 บาท

5,500,000,000 9,010,567,175 16,380,917 -

8,250,000,000 4,448,187,248 21,065,705 -

5,500,000,000 10,509,429,598 797,368,978 1,541,340,000

8,250,000,000 5,521,525,211 805,905,042 1,541,340,000

18

25,457,761

27,031,563

25,297,254

24,892,202

37

110,375,173 2,637,921,580 306,957,586 944,898,918 803,856,026 456,094,529

1,047,324,139 337,667,697 580,370,715 787,852,763 870,574,697

110,375,173 2,599,159,169 306,957,586 891,530,270 697,875,192 353,214,026

948,788,574 337,667,697 532,370,433 656,181,192 759,718,752

19,812,509,665

16,370,074,527

23,332,547,246

19,378,389,103

17 18

22,371,167,133 85,120,722

18,363,909,420 87,208,385

22,371,167,133 84,518,387

18,363,909,420 86,445,871

33

24,853,579 22,481,141,434

82,909,970 13,562,317 18,547,590,092

11,708,394 22,467,393,914

11,708,394 13,562,317 18,475,626,002

42,293,651,099

34,917,664,619

45,799,941,160

37,854,015,105

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 บาท บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงินที่ถึงกำ�หนด ชำ�ระภายในหนึ่งปี เงินรับจากการใช้สทิ ธิภายใต้โครงการออกหลักทรัพย์ ให้แก่พนักงานทีอ่ ยูร่ ะหว่างการจดทะเบียน เจ้าหนี้อื่น ดอกเบี้ยค้างจ่าย โบนัสค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น

17 19, 32 32 17, 32

รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิ หนี้สินตามสัญญาเช่าทางการเงิน รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

117


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 บาท

20

20,475,000,000 19,829,150,400 27,416,306,967

20,475,000,000 19,705,570,300 27,183,976,379

20,475,000,000 19,829,150,400 27,416,306,967

20,475,000,000 19,705,570,300 27,183,976,379

13

(9,605,174)

(91,679,763)

(5,839,275)

(13,109,275)

21 22

2,047,500,000 22,796,148,250 (226,501,324)

2,047,500,000 20,527,261,505 (226,501,324)

2,047,500,000 19,787,319,149 -

2,047,500,000 18,755,913,756 -

23

71,852,999,119 47,656,536

69,146,127,097 48,374,336

69,074,437,241 -

67,679,851,160 -

71,900,655,655

69,194,501,433

69,074,437,241

67,679,851,160

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 บาท บาท

หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ การเปลีย่ นแปลงในมูลค่ายุตธิ รรมของ หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ที่มีไว้เผื่อขาย กำ�ไรสะสม จัดสรรแล้ว - สำ�รองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร หุ้นของบริษัทที่ถือโดยบริษัทย่อย รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

20

114,194,306,754 104,112,166,052 114,874,378,401 105,533,866,265

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

118


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) งบกำ�ไรขาดทุน

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

หมายเหตุ

รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย

32

กำ�ไร / (ขาดทุน) ขั้นต้น รายได้อื่น (ค่าใช้จ่ายอื่น) ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร

24 25 32

กำ�ไร / (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้

27

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 บาท บาท

166,036,379,530 244,693,867,652 172,564,279,658 254,453,589,979 (156,020,771,235) (257,765,851,601) (163,656,530,426) (269,529,312,750) 10,015,608,295 (13,071,983,949)

กำ�ไร / (ขาดทุน) จากการดำ�เนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกำ�ไร/(ขาดทุน) เงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย

พ.ศ. 2552 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 บาท

165,276,310 (1,068,257,715) (2,570,636,144) (92,167,534)

954,185,335 (1,250,945,906) (3,224,324,068) (189,058,791)

8,907,749,232 (15,075,722,771) (82,213,803) (1,193,022,061) (2,373,014,828) (83,594,824)

946,399,575 (1,389,491,959) (2,466,071,585) (178,694,291)

6,449,823,212 (16,782,127,379)

5,175,903,716 (18,163,581,031)

(990,849,497) 16,629,543

(990,740,527) -

(1,396,276,099) (30,627,160)

(1,394,819,296) -

5,475,603,258 (18,209,030,638) (51,014,114) (41,292,695)

4,185,163,189 (19,558,400,327) -

กำ�ไร / (ขาดทุน) สุทธิสำ�หรับปี

5,424,589,144 (18,250,323,333)

4,185,163,189 (19,558,400,327)

การปันส่วนกำ�ไร / (ขาดทุน) ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

5,415,496,380 (18,261,866,226) 9,092,764 11,542,893

4,185,163,189 (19,558,400,327) -

กำ�ไร / (ขาดทุน) สุทธิสำ�หรับปี

5,424,589,144 (18,250,323,333)

4,185,163,189 (19,558,400,327)

กำ�ไร / (ขาดทุน) ต่อหุ้นสำ�หรับส่วนที่ เป็น ของบริษัทใหญ่ (บาท)

28

29

กำ�ไร / (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน

0.27

(0.93)

0.21

(1.00)

กำ�ไร / (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด

0.27

(0.92)

0.21

(0.98)

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

119


120

20 30 19,829,150,400 27,416,306,967

232,330,588 -

- 5,415,496,380 - (3,146,609,635)

(9,605,174) 2,047,500,000 22,796,148,250 (226,501,324)

82,074,589 -

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

เงินลงทุนเผื่อขาย ผลกำ�ไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี หุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย 123,580,100 -

(91,679,763) 2,047,500,000 20,527,261,505 (226,501,324) 69,146,127,097

19,705,570,300 27,183,976,379

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

(61,568,861) - (61,568,861) - (18,261,866,226) - (18,261,866,226) 592,042,464 - (5,850,477,816) - (5,850,477,816) (91,679,763) 2,047,500,000 20,527,261,505 (226,501,324) 69,146,127,097

71,852,999,119

82,074,589 - 5,415,496,380 355,910,688 - (3,146,609,635)

(226,501,324) 92,727,997,536

205,570,300 386,472,164 19,705,570,300 27,183,976,379

2,047,500,000 44,639,605,547

(30,110,902)

19,500,000,000 26,797,504,215

- ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว เงินลงทุนเผื่อขาย ผลขาดทุนที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น ขาดทุนสุทธิสำ�หรับปี หุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย

(30,110,902) 2,047,500,000 42,278,238,959 (226,501,324) 90,366,630,948 - 2,361,366,588 - 2,361,366,588

รวม บาท

19,500,000,000 26,797,504,215 -

20 30

หมายเหตุ

หุ้นของบริษัท ที่ถือโดย บริษัทย่อย บาท

- ยอดคงเหลือก่อนปรับปรุง - การเปลีย่ นแปลงนโยบายบัญชีเกีย่ วกับสินค้าคงเหลือ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551

ทุนที่ออกและ ส่วนเกิน ชำ�ระแล้ว มูลค่าหุ้นสามัญ บาท บาท

งบการเงินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ การ กำ�ไรสะสม เปลี่ยนแปลง ในมูลค่า ยุติธรรม สำ�รอง ของเงินลงทุน ตามกฏหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บาท บาท บาท

92,776,504,472

90,415,137,884 2,361,366,588

รวม บาท

69,194,501,433

47,656,536

71,900,655,655

82,074,589 9,092,764 5,424,589,144 355,910,688 (9,810,564) (3,156,420,199)

48,374,336

(61,568,861) 11,542,893 (18,250,323,333) 592,042,464 (11,675,493) (5,862,153,309) 48,374,336 69,194,501,433

48,506,936

48,506,936 -

ส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย บาท

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


121 232,330,588 27,416,306,967

19,829,150,400

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

20 30

13 123,580,100 -

27,183,976,379

19,705,570,300

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552

เงินลงทุนเผื่อขาย ผลกำ�ไรที่รับรู้ในส่วนของผู้ถือหุ้น กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี หุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย

27,183,976,379

19,705,570,300

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

20 30

386,472,164 -

26,797,504,215

26,797,504,215 -

ส่วนเกินกว่า มูลค่าหุ้นสามัญ บาท

205,570,300 -

19,500,000,000

- ยอดคงเหลือที่ปรับปรุงแล้ว เงินลงทุนเผื่อขาย ผลขาดทุนในส่วนที่รับรู้ของผู้ถือหุ้น ขาดทุนสุทธิสำ�หรับปี หุ้นสามัญ เงินปันผลจ่าย 13

19,500,000,000 -

- ยอดคงเหลือก่อนปรับปรุง - การเปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551

หมายเหตุ

ทุนที่ออกและ ชำ�ระแล้ว บาท

(5,839,275)

7,270,000 -

(13,109,275)

(13,109,275)

(9,738,500) -

(3,370,775)

(3,370,775) -

การเปลี่ยนแปลง ในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุน บาท

กำ�ไรสะสม

2,047,500,000

-

2,047,500,000

2,047,500,000

-

2,047,500,000

2,047,500,000 -

สำ�รอง ตามกฏหมาย บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท

19,787,319,149

4,185,163,189 (3,153,757,796)

18,755,913,756

18,755,913,756

(19,558,400,327) (5,863,880,616)

44,178,194,699

41,847,647,939 2,330,546,760

ยังไม่ได้จัดสรร บาท

69,074,437,241

7,270,000 4,185,163,189 355,910,688 (3,153,757,796)

67,679,851,160

67,679,851,160

(9,738,500) (19,558,400,327) 592,042,464 (5,863,880,616)

92,519,828,139

90,189,281,379 2,330,546,760

รวม บาท

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 บาท บาท

5,415,496,380

(18,261,866,226)

4,185,163,189

(19,558,400,327)

3,159,597,380 176,550,691 (65,418,162) (41,198,860) 248,368 (4,975,216,345) 17,818,698

3,071,482,305 152,666,788 (163,312,759) (105,124,943) 24,859,058 4,902,652,422 (3,265,320)

2,911,805,380 176,550,692 (90,337,305) (39,198,860) (1,187,608) (4,953,617,233) 17,677,516

2,726,168,707 152,666,788 (256,063,987) (105,124,943) (179,568,866) 4,911,911,522 (3,000,304)

338,931,901 (298,710,160) 5,873,787 250,082,307 (16,629,543) 9,092,764 51,014,114 990,849,497

(102,640,240) 1,228,361,235 (95,320,631) (44,283,915) (8,849,250) 30,627,160 11,542,893 41,292,695 1,396,276,099

338,931,901 (356,710,540) (16,314,417) 578,371,771 990,740,527

(102,640,240) 1,215,424,815 (45,896,481) (8,849,250) 1,394,819,296

5,018,382,817

(7,924,902,629)

3,741,875,013

(9,858,553,270)

(1,989,711,630) (5,928,483,742) 48,816,771 (26,581,146) (403,336,287) (159,965,131) 4,539,012,444 1,003,088,376 364,528,203 16,003,263 (414,480,168) 51,558,705

7,270,857,480 13,730,190,841 148,743,632 939,823,272 119,635,742 (5,947,452) (12,611,301,274) (425,009,173) (563,436,854) (171,153,772) 142,577,146 136,898,966

(2,720,961,950) (6,539,930,228) (5,929,606) (21,495,327) (403,336,287) (178,561,632) 4,964,749,964 1,026,271,400 359,159,837 41,694,000 (406,504,727) 45,394,948

8,146,712,278 14,032,217,099 136,795,822 834,258,734 119,635,742 12,568,542 (13,123,868,927) (370,013,343) (501,613,331) (291,031,455) 163,922,489 122,045,470

เงินสดสุทธิได้มาจาก / (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน - ภาษีเงินได้จ่าย

2,118,832,475 (94,202,835)

786,975,925 (130,162,499)

(97,574,595) (35,635,131)

(576,924,150) (58,580,462)

กระแสเงินสดได้มาจาก / (ใช้ไปใน) กิจกรรมดำ�เนินงาน

2,024,629,640

656,813,426

(133,209,726)

(635,504,612)

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กำ�ไร / (ขาดทุน) สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ รายการปรับปรุงกำ�ไร / (ขาดทุน) สุทธิ - ค่าเสื่อมราคา - รายจ่ายตัดบัญชี - ดอกเบี้ยรับ - เงินปันผลรับ - หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ - ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ - (กำ�ไร) / ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้น - (กำ�ไร) / ขาดทุนจากมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการ เงินที่ยังไม่เกิดขึ้น - (กำ�ไร) / ขาดทุนจากการจำ�หน่ายและปรับมูลค่าเงินลงทุน - (กำ�ไร) จากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนระยะยาว - ค่าเผื่อ/(กลับรายการ) / การด้อยของค่าของสินทรัพย์ถาวร - ส่วนแบ่ง (กำ�ไร) ขาดทุนเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย - กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย - ภาษีเงินได้ - ต้นทุนทางการเงิน การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินดำ�เนินงาน - ลูกหนี้การค้า - สินค้าคงเหลือ - ลูกหนี้อื่น - ภาษีมูลค่าเพิ่มจ่ายล่วงหน้า - ภาษีสรรพสามิตจ่ายล่วงหน้า - สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น - เจ้าหนี้การค้า - เจ้าหนี้อื่น - โบนัสค้างจ่าย - เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า - หนี้สินหมุนเวียนอื่น - ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่ายรับคืน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

122


งบกระแสเงินสด

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ เงินสดรับ/(จ่าย) สุทธิจากเงินลงทุนชั่วคราว เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน เงินให้กู้ยืมระยะยาวและดอกเบี้ยค้างรับแก่กิจการที่ เกี่ยวข้องกัน เงินสดจ่ายซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วมและเงินลงทุนระยะยาว เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนระยะยาว เงินสดจ่ายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มขึ้น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น/(ลดลง) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ดอกเบี้ยจ่าย เงินปันผลจ่าย เงินสดรับจากการยกเลิกสัญญาแลกเปลี่ยนทางการเงิน เงินสดรับจาก/ (จ่ายคืน) เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินสดรับจาก/ (จ่ายคืน) เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินสดจ่ายเพื่อซื้อคืนหุ้นกู้ เงินสดจ่ายชำ�ระหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินสดรับจากการออกหุ้นสามัญ เงินสดสุทธิรบั ล่วงหน้าจากการใช้สทิ ธิภายใต้โครงการ ESOP เงินปันผลจ่าย - ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย เงินสดสุทธิได้มาจาก / (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลดลง สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี รายการที่ไม่กระทบเงินสด ซื้อยานพาหนะตามสัญญาเช่าการเงิน รายการซื้อสินทรัพย์ถาวรโดยการหักกลบลบหนี้กับ บริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด เจ้าหนี้ซื้อสินทรัพย์ถาวร

พ.ศ. 2552 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 บาท บาท

71,706,697 41,198,860 24,920,437 (190,833,271)

160,485,795 105,124,943 (126,020,739) (132,194,348)

95,754,276 39,198,860 24,920,437 (191,860,263)

350,647,412 105,124,943 (126,020,739) (185,280,570)

-

-

1,470,000,000

785,750,898

42,000,000 (3,083,614,686) 60,309,961 (27,237,521) 6,765,731

(57,737,664) 2,304,655 (5,048,109,795) 121,035,833 (323,189,042) 780,450,354

380 (2,635,771,723) 52,570,551 (27,237,521) 3,487,510

(58,393,356) 228,104 (4,520,802,665) 58,592,220 (323,189,042) 750,803,492

(3,054,783,792)

(4,517,850,008)

(1,168,937,493)

(3,162,539,303)

(1,378,173,180) (3,146,609,635) 113,112,613 (2,750,000,000) (62,741,178) 4,792,000,000 (339,881,236) (27,747,327) (13,562,318) 355,910,688 110,375,173 (9,810,563) (2,357,126,963) (3,387,281,115) 8,550,094,770

(1,372,937,749) (5,850,477,816) 76,819,982 8,215,300,000 (10,734,629) (349,544,167) (21,587,015) 592,042,464 (11,675,493) 1,267,205,577 (2,593,831,005) 11,143,925,775

(1,378,127,848) (3,153,757,796) 113,112,614 (2,750,000,000) (8,472,428) 4,792,000,000 (339,881,236) (25,608,294) (13,562,317) 355,910,688 110,375,173 (2,298,011,444) (3,600,158,663) 7,996,742,673

(1,369,300,645) (5,863,880,616) 76,819,982 8,250,000,000 34,252,038 (349,544,167) (19,113,502) 592,042,464 1,351,275,554 (2,446,768,361) 10,443,511,034

5,162,813,655

8,550,094,770

4,396,584,010

7,996,742,673

24,085,861

5,457,343

24,085,861

5,457,343

460,787,903

111,084,032

457,026,077

3,700,000,000 70,732,075

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 124 ถึงหน้า 195 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

123


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

1 ข้อมูลทั่วไป บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) “บริษัท” เป็นบริษัทมหาชนจำ�กัด ซึ่งจัดตั้งขึ้นในประเทศไทยและมีที่อยู่ตามที่ได้ จดทะเบียน คือ เลขที่ 299 หมู่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง และที่ทำ�การของบริษัท และบริษัทย่อยตั้งอยู่ที่อาคารซันทาวเวอร์และอาคารเล่าเป้งง้วน บริษทั เป็นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพือ่ วัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูลจึงรวมเรียก บริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วมว่า “กลุ่มบริษัท” กลุ่มบริษัทดำ�เนินธุรกิจหลักในธุรกิจปิโตรเคมีและธุรกิจปิโตรเลียม ซึ่งผลิตภัณฑ์หลักได้แก่ เม็ดพลาสติก น้ำ�มันใส น้ำ�มันหล่อลื่น และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอื่นๆ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

2 นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชีที่สำ�คัญซึ่งใช้ในการจัดทำ�งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้ 2.1 เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปภายใต้พระราชบัญญัติการ บัญชี พ.ศ. 2543 ซึ่งหมายถึงมาตรฐานการบัญชีที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และข้อ กำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทำ�และนำ�เสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้จัดทำ�ขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิม ยกเว้นการวัดมูลค่าของเงินลงทุน เพื่อค้าเงินลงทุนเผื่อขาย และอนุพันธ์ทางการเงินที่รับรู้ด้วยมูลค่ายุติธรรมซึ่งได้อธิบายไว้ในนโยบายการบัญชีที่ เกี่ยวข้อง การจัดทำ�งบการเงินให้สอดคล้องกับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยกำ�หนดให้ฝ่ายบริหารประมาณการ และกำ�หนดสมมติฐานที่เกี่ยวข้องอันจะมีผลต่อตัวเลขของสินทรัพย์และหนี้สิน รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ สินทรัพย์และหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ในงบการเงิน และข้อมูลรายได้และค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาที่เสนอ งบการเงินดังกล่าว ตัวเลขที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างจากตัวเลขประมาณการ ถึงแม้ว่าฝ่ายบริหารได้จัดทำ�ตัวเลข ประมาณการขึ้นจากความเข้าใจในเหตุการณ์และสิ่งที่ได้กระทำ�ไปในปัจจุบันอย่างดีที่สุดแล้ว

124


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.1 เกณฑ์การจัดทำ�งบการเงิน (ต่อ) งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฉบับภาษาอังกฤษจัดทำ�ขึ้นจากงบการเงินตามกฎหมายที่เป็นภาษาไทย ในกรณีที่มีเนื้อความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกันให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษา ไทยเป็นหลัก ตัวเลขที่นำ�มาแสดงเปรียบเทียบได้มีการปรับปรุงเพื่อให้เปรียบเทียบได้กับการแสดงรายการที่เปลี่ยนแปลงไปในปี ปัจจุบัน ได้แก่ - งบกำ�ไรขาดทุนสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ได้แสดงตามแบบจำ�แนกค่าใช้จ่ายตามหน้าที่แบบ หลายขั้น รวมทั้งการแสดงค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารและต้นทุนทางการเงิน ซึ่งเป็นไปตามประกาศ ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าว่าด้วยรูปแบบของงบการเงิน พ.ศ. 2552 ลงวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552 ซึ่งมีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 - การแสดงข้อมูลทางการเงินตามส่วนงานในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการแสดงต้นทุนทางการเงินซึง่ เดิมเคยบันทึกอยู่ในรายได้อน่ื และค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถปันส่วนได้ ได้ถูกนำ�มาจัดประเภทใหม่ในการนำ�เสนอให้สอดคล้องกับรายการในงบกำ�ไร ขาดทุน 2.2 มาตรฐานการบัญชี ใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และการปรับปรุงมาตรฐานการ บัญชี มาตรฐานการบัญชีไทยได้ถูกจัดเรียงเลขระบุฉบับใหม่โดยประกาศสภาวิชาชีพเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เพื่อ ให้ตรงกับหมายเลขระบุฉบับที่ใช้กับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ มาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินทีม่ กี ารปรับปรุงและมีผลบังคับใช้ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 และแม่บทการบัญชีที่มีการปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) เรื่องการด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2550) เรื่องสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดำ�เนินงานที่ยกเลิก (ฉบับที่ 54 เดิม) แม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2550) (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2552) มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแม่บทการบัญชีดังกล่าวไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสำ�คัญ ต่องบการเงินที่นำ�เสนอ

125


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.2 มาตรฐานการบัญชีใหม่ มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และการปรับปรุงมาตรฐานการบัญชี (ต่อ) มาตรฐานการบัญชีที่มีการปรับปรุงใหม่ และมาตรฐานการบัญชีใหม่ซึ่งมีผลบังคับใช้สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีเริ่ม ต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 และวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 โดยบริษัทยังไม่ได้นำ�มาถือปฏิบัติก่อน วันถึงกำ�หนดมีดังต่อไปนี้ มีผลบังคับใช้ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2550) เรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ฉบับ 47 เดิม) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 เรื่องอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน มีผลบังคับใช้ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 เรื่องการบัญชีสำ�หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ ความช่วยเหลือจากรัฐบาล ผู้บริหารของบริษัทได้ประเมินและคาดว่ามาตรฐานการบัญชีดังกล่าวข้างต้นจะไม่มีผลกระทบที่เป็นสาระสำ�คัญต่อ งบการเงินทีน่ �ำ เสนอยกเว้นมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 เรือ่ งอสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุนตามทีก่ ล่าวในหมายเหตุฯ ข้อ 14 กลุ่มบริษัท มีที่ดินที่ถือไว้เพื่อโครงการในอนาคต ซึ่งยังไม่ได้กำ�หนดวัตถุประสงค์สำ�หรับการใช้ในอนาคต ปัจจุบันบริษัทบันทึกที่ดินดังกล่าวรวมอยู่ในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ซึ่งถ้าบริษัทนำ�มาตรฐานการบัญชีดังกล่าว มาใช้มีผลให้บริษัทต้องจัดประเภทที่ดินดังกล่าวเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนสำ �หรับที่ดินที่ยังไม่ได้กำ�หนด วัตถุประสงค์ของการใช้งาน 2.3 งบการเงินบริษทั ย่อยทีน่ �ำ มาจัดทำ�งบการเงินรวม งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และงบกำ�ไรขาดทุนรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันได้ใช้ข้อมูลของบริษัท ย่อยแห่งหนึ่ง ได้แก่ บริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งจัดทำ�โดยฝ่ายบริหารของบริษัทและยังไม่ได้ ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชี ซึ่งบริษัทย่อยนี้ได้หยุดดำ�เนินกิจการแล้ว และบริษัทในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่อยู่ ระหว่างการฟ้องร้อง เพื่อดำ�เนินการปิดบริษัทย่อยดังกล่าว เริ่มตั้งแต่ไตรมาสที่สองของปี พ.ศ. 2552 ข้อมูลทางการเงินของบริษัทย่อย 2 แห่ง ได้แก่ บริษัท โรงกลั่นน้ำ�มัน ทีพีไอ (1997) จำ�กัด และบริษัท ทีพีไอ แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด ไม่ได้รวมอยู่ในงบการเงินรวม เนื่องจากบริษัทได้ รับทราบข้อมูลในงวดปัจจุบันว่าได้มีการโอนเงินลงทุนดังกล่าวไปให้กลุ่มผู้บริหารเดิมเพื่อเป็นการชำ�ระหนี้ อย่างไร ก็ตาม งบการเงินของ 2 บริษัทย่อยดังกล่าวไม่มีสาระสำ�คัญต่องบการเงินรวมที่นำ�เสนอ โดยมีสินทรัพย์สุทธิจำ�นวน 1.3 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 บริษัทจึงมิได้ปรับปรุงตัวเลขเปรียบเทียบที่นำ�เสนอ

126


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3 งบการเงินบริษทั ย่อยทีน่ �ำ มาจัดทำ�งบการเงินรวม (ต่อ) งบดุลรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และงบกำ�ไรขาดทุนรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น รวม และงบกระแสเงินสดรวมสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันได้รวมข้อมูลทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และสำ�หรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัทย่อย 4 แห่ง ได้แก่ บริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) บริษัท โรงกลั่นน้ำ�มัน ทีพีไอ (1997) จำ�กัด และบริษัท ทีพีไอ แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด ซึ่งจัดทำ�โดยฝ่ายบริหารของบริษัทและยังไม่ได้ตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชี ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 กลุ่มบริษัทและบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัดได้ดำ�เนินการหักกลบลบหนี้ ระหว่างกัน (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหมายเหตุฯ ข้อ 32 (ช)) และแผนการฟื้นฟูกิจการของบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัดได้เสร็จสิ้นลงตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 ดังนั้นผู้บริหารแผนฯ ของบริษัทย่อยดังกล่าวจึงได้ยื่น คำ�ร้องต่อศาลล้มละลายกลางขอให้ศาลมีคำ�สั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการและศาลได้มีคำ�สั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 และบริษัทย่อยนั้น ได้ยื่นจดทะเบียนแต่งตั้งกรรมการบริษัทเพิ่มเติม (ซึ่งเป็นฝ่าย บริหารของบริษัท) ต่อกระทรวงพาณิชย์แล้วเสร็จเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2553 สรุปข้อมูลงบดุลที่เกี่ยวกับบริษัทย่อยตามที่กล่าวข้างต้นที่ใช้ข้อมูลโดยฝ่ายบริหารบริษัทซึ่งยังไม่ได้ตรวจสอบหรือ สอบทานโดยผู้สอบบัญชีมีดังต่อไปนี้ ยังไม่ได้ตรวจสอบหรือสอบทาน พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม ข้อมูลงบดุลรวม (ก่อนตัดรายการระหว่างกัน) สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์รวม

2,255 925 3,180

2,374 925 3,299

หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินรวม หนี้สินสุทธิรวม

1,320 5,415 6,735 3,555

1,318 5,486 6,804 3,505

127


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.3 งบการเงินบริษทั ย่อยทีน่ �ำ มาจัดทำ�งบการเงินรวม (ต่อ) สรุปข้อมูลงบกำ�ไรขาดทุนที่เกี่ยวกับบริษัทย่อยตามที่กล่าวข้างต้นที่ใช้ข้อมูลโดยฝ่ายบริหารบริษัทซึ่งยังไม่ได้ตรวจ สอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชี มีดังต่อไปนี้ สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม ข้อมูลงบกำ�ไรขาดทุนรวม (ก่อนตัดรายการระหว่างกัน) รวมรายได้ รวมค่าใช้จ่าย ดอกเบี้ยจ่าย กำ�ไร/(ขาดทุน) สุทธิ

พ.ศ. 2552 ล้านบาท

พ.ศ. 2551 ล้านบาท

(16) (16)

1,203 (161) (7) 1,035

รายการส่วนใหญ่เป็นรายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันกับบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่ และ รายการเหล่านี้ได้ถกู ตัดออกไปในการจัดทำ�งบการเงินรวม ฝ่ายบริหารของบริษทั พิจารณาแล้วว่าผลกระทบของรายการ ข้างต้นไม่มีสาระสำ�คัญต่องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 2.4 บัญชีกลุม่ บริษทั - เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม (1) บริษัทย่อย บริษัทย่อยหมายถึงกิจการ (ซึ่งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที่กลุ่มบริษัทมีอำ�นาจในการควบคุมนโยบายการเงินและ การดำ�เนินงาน และโดยทั่วไปแล้วกลุ่มบริษัทจะถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง ในการประเมินว่ากลุ่มบริษัท มีการควบคุมบริษัทอื่นหรือไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมีอยู่และผลกระทบจากสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ที่ กิจการสามารถใช้สิทธิหรือแปลงสภาพตราสารนั้นในปัจจุบันรวมถึงสิทธิในการออกเสียงที่เป็นไปได้ซึ่งกิจการอื่น ถืออยู่ด้วย กลุ่มบริษัทรวมงบการเงินของบริษัทย่อยไว้ในงบการเงินรวมตั้งแต่วันที่กลุ่มบริษัทควบคุมบริษัทย่อยจน กระทั่งอำ�นาจควบคุมจะหมดไป กลุ่มบริษัทบันทึกการซื้อบริษัทย่อยด้วยวิธีการซื้อและแสดงต้นทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่จ่ายไปหรือด้วย มูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ หรือด้วยภาระหนี้สินซึ่งกลุ่มบริษัทต้องรับผิดชอบตั้งแต่วันที่ได้บริษัทย่อย มา รวมถึงต้นทุนโดยตรงที่เกี่ยวกับการซื้อนั้น สินทรัพย์และหนี้สินที่ระบุได้และภาระหนี้สินซึ่งกลุ่มบริษัทต้องรับผิด ชอบจากการรวมธุรกิจจะถูกวัดมูลค่าเริ่มแรกในวันที่ได้บริษัทย่อยนั้นที่มูลค่ายุติธรรม โดยไม่คำ�นึงถึงส่วนที่เป็นของ ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยด้วย

128


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.4 บัญชีกลุม่ บริษทั - เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม (ต่อ) (1) บริษัทย่อย (ต่อ) ต้นทุนการได้บริษัทย่อยที่สูงกว่ามูลค่ายุติธรรมของส่วนแบ่งของสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยที่กลุ่มบริษัทจะได้รับ จะบันทึกเป็นค่าความนิยม ส่วนต้นทุนการได้บริษัทย่อยทีต่ ่ำ�กว่ามูลค่ายุติธรรมของส่วนแบ่งของสินทรัพย์สุทธิของ บริษัทย่อยจะรับรู้ทันทีในงบกำ�ไรขาดทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อยแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยแสดงด้วยราคาทุน รายชื่อของบริษัทย่อยหลักของกลุ่มบริษัท และผลกระทบทางการเงินจากการซื้อและการจำ�หน่ายบริษัทย่อยได้แสดง ไว้ในหมายเหตุฯ ข้อ 12 (2) บริษัทร่วม บริษัทร่วมเป็นกิจการที่กลุ่มบริษัทมีอิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญแต่ไม่ถึงกับควบคุมซึ่งโดยทั่วไปก็คือการที่กลุ่ม บริษัทถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงอยู่ระหว่างร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 50 ของสิทธิออกเสียงทั้งหมดเงินลงทุนในบริษัทร่วม รับรู้เริ่มแรกด้วยราคาทุนและใช้วิธีส่วนได้เสียในการแสดงในงบการเงินรวม กลุ่มบริษัทรับรู้เงินลงทุนในบริษัทร่วมซึ่ง ได้รวมค่าความนิยมที่ระบุไว้เมื่อได้มา (สุทธิจากค่าตัดจำ�หน่ายสะสม) ส่วนแบ่งกำ�ไรหรือขาดทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมที่เกิดขึ้นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในงบกำ�ไรขาดทุน และ ความเคลื่อนไหวในบัญชีส่วนเกินจากการตีมูลค่ายุติธรรมภายหลังการได้มาจะรวมไว้เป็นส่วนหนึ่งของบัญชีส่วนเกิน จากการตีมูลค่ายุติธรรม ผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงภายหลังการได้มาจะปรับปรุงกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุน เมื่อส่วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริษัทในบริษัทร่วมมีมูลค่าเท่ากับหรือเกินกว่ามูลค่าส่วนได้เสียของกลุ่มบริษัทในบริษัท ร่วมนั้น กลุ่มบริษัทจะไม่รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มบริษัทมีภาระผูกพันในหนี้ของบริษัทร่วมหรือรับ ว่าจะจ่ายหนี้แทนบริษัทร่วม รายการกำ�ไรที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงระหว่างกลุ่มบริษัทกับบริษัทร่วมจะตัดบัญชีเท่าที่กลุ่มบริษัทมีส่วนได้เสียในบริษัท ร่วมนั้น รายการขาดทุนที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นจริงก็จะตัดบัญชีในทำ�นองเดียวกัน เว้นแต่รายการนั้นมีหลักฐานว่าสินทรัพย์ ที่โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า นโยบายการบัญชีของบริษัทร่วมจะเปลี่ยนแปลงเท่าที่จำ�เป็นเพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายการบัญชีของกลุ่มบริษัท เงินลงทุนในบริษัทร่วมแสดงในงบการเงินเฉพาะบริษัทโดยใช้วิธีราคาทุน รายชื่อของบริษัทร่วมหลักได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุฯ ข้อ 12 ส่วนผลกระทบทางการเงินจากการได้มาและจำ�หน่าย บริษัทร่วมได้เปิดเผยไว้ในหมายเหตุฯ ข้อ 12

129


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.5 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ รายการต่างๆ ในงบการเงินของแต่ละกิจการในกลุ่มบริษัทวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงินบาท งบการเงินรวมนำ�เสนอในสกุล เงินบาท กลุ่มบริษัทแปลงค่ารายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ และแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ณ วันที่ในงบดุลให้เป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลก เปลี่ยน ณ วันที่ในงบดุล รายการกำ�ไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจ่ายชำ�ระที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และที่เกิดจากการแปลงค่าสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นตัวเงินดังกล่าวได้บันทึกไว้ในงบกำ�ไรขาดทุน รายการในงบกำ�ไรขาดทุนและงบกระแสเงินสดของหน่วยงานต่างประเทศแปลงค่าเป็นสกุลเงินที่กลุ่มบริษัทใช้ในการ รายงานคือสกุลเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในระหว่างปี รายการในงบดุลแปลงค่าโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ใน งบดุล ผลต่างจากการแปลงค่าที่เกิดจากการแปลงค่าของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศได้รวม ไปยังส่วนของผู้ถือหุ้น และเมื่อมีการจำ�หน่ายหน่วยงานต่างประเทศนั้น ผลสะสมของผลต่างจากการแปลงค่าทั้งหมด ดังกล่าวให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของรายการกำ�ไรหรือขาดทุนจากการจำ�หน่ายหน่วยงานต่างประเทศนั้น 2.6 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายรวมถึง เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถามและเงิน ลงทุนระยะสั้นอื่นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจากวันที่ได้มา และเงินเบิกเกินบัญชี โดยเงินเบิกเกิน บัญชีดังกล่าวนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารเงินสดของบริษัท เงินเบิกเกินบัญชีได้แสดงอยู่ในหนี้สินหมุนเวียนใน งบดุล 2.7 ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้การค้ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจำ�นวนเงินที่เหลืออยู่หักด้วยค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ซึ่งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปี ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหมายถึงผลต่างระหว่าง ราคาตามบัญชีของลูกหนี้การค้าเปรียบเทียบกับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้การค้า หนี้สูญที่เกิดขึ้นจะรับรู้ไว้ใน งบกำ�ไรขาดทุนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่ายในการบริหาร

130


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.8 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือแสดงด้วยราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำ�กว่า ราคาทุนของสินค้าคำ�นวณโดยวิธี ถัวเฉลี่ย ต้นทุนของการซื้อประกอบด้วยราคาซื้อ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้อสินค้านั้น เช่นค่าอากรขาเข้าและ ค่าขนส่ง หักด้วยส่วนลดจากการจ่ายเงินตามเงื่อนไข (rebate) ต้นทุนของสินค้าสำ�เร็จรูปและงานระหว่างทำ�ประกอบ ด้วย ค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุ้ยในการผลิตซึ่งปันส่วนตามเกณฑ์การดำ�เนินงาน ตามปกติ มูลค่าสุทธิที่จะได้รับของน้ำ�มันดิบประมาณการจากราคาตลาดของน้ำ�มันดิบ ณ วันสิ้นปี ส่วนมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ ของสินค้าสำ�เร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิต (intermediate products) ประมาณจากราคาที่คาดว่าจะขายได้หักด้วยค่า ใช้จ่ายที่จำ�เป็นเพื่อให้สินค้านั้นสำ�เร็จรูปรวมถึงค่าใช้จ่ายในการขาย กลุม่ บริษทั บันทึกบัญชีคา่ เผือ่ การลดมูลค่าของสินค้าคงเหลือ (ได้แก่ อะไหล่และวัสดุส�ำ หรับการซ่อมบำ�รุง สารเคมีและ น้ำ�มันเชื้อเพลิง) ที่เก่า ล้าสมัย หรือเสื่อมคุณภาพ ซึ่งกลุ่มบริษัทจะคำ�นึงถึงการใช้ประโยชน์ในอนาคตโดยพิจารณา กำ�หนดเป็นอัตราร้อยละของยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปี 2.9 เงินลงทุนอื่น กลุ่มบริษัทจัดประเภทเงินลงทุนที่กิจการลงทุนที่นอกเหนือจากเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมเป็น 3 ประเภท คือ (1) เงินลงทุนเพื่อค้า (2) เงินลงทุนเผื่อขาย และ (3) เงินลงทุนทั่วไป การจัดประเภทขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายขณะ ลงทุน ฝ่ายบริหารจะเป็นผู้กำ�หนดการจัดประเภทที่เหมาะสมสำ�หรับเงินลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวนการจัด ประเภทเป็นระยะ (1) เงินลงทุนเพื่อค้า คือ เงินลงทุนเพื่อจุดมุ่งหมายหลักในการหากำ�ไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาในช่วงเวลาสั้นไม่ เกิน 3 เดือนนับแต่เวลาที่ลงทุน และแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน (2) เงินลงทุนเผื่อขาย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื่อเสริมสภาพคล่องหรือเมื่ออัตรา ดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสินทรัพย์ ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณีที่ฝ่ายบริหารแสดงเจตจำ�นงที่จะถือ ไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วันที่ในงบดุลจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน หรือเว้นแต่กรณีที่ฝ่าย บริหารมีความจำ�เป็น ที่ต้องขายเพื่อเพิ่มเงินทุนดำ�เนินงานจึงจะแสดงรวมไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน (3) เงินลงทุนทั่วไป คือ เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับ การซื้อและขายเงินลงทุนจะบันทึกบัญชี ณ วันที่ซื้อขายซึ่งเป็นวันที่กลุ่มบริษัทตกลงที่จะซื้อหรือขายเงินลงทุน ต้นทุนของเงินลงทุนให้รวมถึงต้นทุนการจัดทำ�รายการ เงินลงทุนเพื่อค้าและเงินลงทุนเผื่อขายวัดมูลค่าในเวลาต่อมา ด้วยมูลค่ายุติธรรม เงินลงทุนเพือ่ ค้าและเงินลงทุนเผือ่ ขายสามารถซือ้ ขายในตลาดซือ้ ขายคล่องและวัดมูลค่าด้วยราคาตลาด ณ วันทำ�การ สุดท้ายของวันที่ในงบดุล โดยอ้างอิงราคาเสนอซื้อล่าสุดจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

131


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.9 เงินลงทุนอื่น (ต่อ) รายการกำ�ไรและรายการขาดทุนทั้งที่เกิดขึ้นจริงและยังไม่เกิดขึ้นจริงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ายุติธรรมของ เงินลงทุนเพื่อค้าแสดงไว้ในงบกำ�ไรขาดทุน รายการกำ�ไรและรายการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากการเปลี่ยนแปลง มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขายจะรวมไว้ในส่วนของผู้ถือหุ้น เงินลงทุนทั่วไปแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า กลุม่ บริษทั จะทดสอบการด้อยค่าของเงินลงทุนเมือ่ มีขอ้ บ่งชีว้ า่ เงินลงทุนนัน้ อาจมีการด้อยค่าเกิดขึน้ หากราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน กลุ่มบริษัทจะบันทึกรายการขาดทุนจากการด้อยค่ารวมไว้ในงบกำ�ไร ขาดทุน ในการจำ�หน่ายเงินลงทุน ผลต่างระหว่างผลตอบแทนสุทธิที่ได้รับจากการจำ�หน่ายเมื่อเปรียบเทียบกับราคาตามบัญชี ของเงินลงทุนนัน้ (ซึง่ รวมถึงกำ�ไรหรือขาดทุนจากการเปลีย่ นแปลงมูลค่ายุตธิ รรมของทีเ่ คยบันทึกไว้ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ ) จะบันทึกรวมอยู่ในงบกำ�ไรขาดทุน กรณีที่จำ�หน่ายเงินลงทุนที่ถือไว้ในตราสารหนี้หรือตราสารทุนชนิดเดียวกันออก ไปบางส่วนราคาตามบัญชีของเงินลงทุนทีจ่ �ำ หน่ายจะกำ�หนดโดยใช้วธิ ถี วั เฉลีย่ ถ่วงน�ำ้ หนักของราคาตามบัญชีจากจำ�นวน ทั้งหมดที่ถือไว้ 2.10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ดินและค่าปรับปรุงที่ดินแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ส่วนอาคารและอุปกรณ์รับรู้เมื่อเริ่มแรกด้วยราคา ทุน และต่อมาแสดงหักด้วยราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาทุนรวมถึงรายจ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มา ซึ่งสินทรัพย์นั้น ค่าเสื่อมราคาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำ�ไรขาดทุน คำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงตามเกณฑ์อายุการใช้งานโดยประมาณ หรือตามหน่วยผลผลิตของสินทรัพย์แต่ละรายการ ยกเว้นที่ดินและค่าปรับปรุงที่ดินซึ่งถือว่ามีอายุการให้ประโยชน์ ไม่จำ�กัด อัตราค่าเสื่อมราคา อาคารและส่วนปรับปรุง 20 - 40 ปี เครื่องจักรและท่อ ตามหน่วยของผลผลิต เครื่องจักร (สำ�หรับผลิตภัณฑ์เอบีเอส) 30 ปี เครื่องจักรอื่น 20 - 30 ปี อุปกรณ์เครื่องจักรกล 8 - 20 ปี เครื่องมือ เครื่องใช้และอุปกรณ์โรงงาน 10 ปี เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและอุปกรณ์สำ�นักงาน 5 - 10 ปี ยานพาหนะ 5 - 10 ปี ในกรณีที่ราคาตามบัญชีสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้ รับคืนทันที

132


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (ต่อ) การซ่อมแซมและบำ�รุงรักษาจะรับรู้ในงบกำ�ไรขาดทุนระหว่างงวดบัญชีที่เกิดรายการนั้น ต้นทุนของการปรับปรุงให้ ดีขึ้น ที่สำ�คัญจะบันทึกรวมไว้ในราคาตามบัญชีของสินทรัพย์หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าการปรับปรุงนั้นจะ ทำ�ให้กลุ่มบริษัทได้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากปรับปรุงสินทรัพย์นั้น ค่าซ่อมแซมและค่าบำ�รุงรักษารับรู้ เป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้น รายการกำ�ไรและขาดทุนจากการจำ�หน่ายคำ�นวณโดยเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนที่ได้รับกับราคาตามบัญชี และจะ รวมไว้ในงบกำ�ไรขาดทุน ดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินเพื่อนำ�มาใช้ในการก่อสร้างที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ได้บันทึกเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนของ สินทรัพย์นั้นตลอดช่วงเวลาการก่อสร้างและเตรียมสินทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ ต้นทุน การกู้ยืมประกอบด้วย ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืม 2.11 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนประกอบด้วยรายจ่ายในการขุดลอกร่องน้ำ�ทะเล ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่าพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจำ�หน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า รายจ่ายในการขุดลอกร่องน�ำ้ ทะเลเป็นรายจ่ายทีจ่ า่ ยไปเพือ่ เตรียมพืน้ ทีใ่ ต้ทะเลบริเวณท่าเรือน้ำ�ลึกให้มคี วามพร้อมในการทีจ่ ะ ใช้งาน (ให้เรือเข้าเทียบท่า) สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนของกลุ่มบริษัทเป็นสินทรัพย์ประเภทที่มีอายุการใช้งานจำ�กัดและคำ�นวณโดยวิธีเส้นตรงตาม เกณฑ์ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ของสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนแต่ละประเภท ค่าตัดจำ�หน่ายบันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ในงบกำ�ไรขาดทุน

อัตราการตัดจำ�หน่าย รายจ่ายในการขุดลอกร่องน้ำ�ทะเล 20 ปี รายจ่ายรอตัดบัญชี ได้แก่ ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่าพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ 5 - 10 ปี

133


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.12 การด้อยค่าของสินทรัพย์ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนซึ่งมีการตัดจำ�หน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่าเมื่อมีเหตุการณ์ หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจสูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้ เมื่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับคืน ซึ่งหมายถึงจำ�นวนที่สูงกว่าระหว่างราคาขาย สุทธิเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ซึ่งจะถูกจัดเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้เพื่อวัตถุประสงค์ ของการประเมินการด้อยค่า กลุม่ บริษทั จะมีการพิจารณากลับบัญชีรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทก่ี ลุม่ บริษทั รับรู้ในงวดก่อน (ที่ไม่ใช่ค่าความนิยม) เมื่อประมาณการที่ใช้กำ�หนดมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนได้เปลี่ยนแปลง ไปภายหลังจากที่กลุ่มบริษัทได้รับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าแล้ว 2.13 สัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า สัญญาเช่าที่ดิน อาคารหรืออุปกรณ์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ได้โอนไปให้กับผู้เช่า เกือบทัง้ หมดถือเป็นสัญญาเช่าการเงิน สัญญาเช่าการเงินจะบันทึกเป็นรายจ่ายฝ่ายทุนด้วยมูลค่ายุตธิ รรมของสินทรัพย์ ที่เช่าหรือมูลค่าปัจจุบันสุทธิของจำ�นวนเงินที่ต้องจ่ายตามสัญญาเช่าแล้วแต่มูลค่าใดจะต่ำ�กว่าจำ�นวนเงินที่ต้องจ่าย จะปันส่วนระหว่างหนี้สินและค่าใช้จ่ายทางการเงินเพื่อให้ได้อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อหนี้สินคงค้างอยู่โดยพิจารณาแยก แต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่าหักค่าใช้จา่ ยทางการเงินจะบันทึกเป็นหนีส้ นิ ระยะยาว ส่วนดอกเบีย้ จ่ายจะบันทึก ในงบกำ�ไรขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่า สินทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงินจะคิดค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการ ใช้งานของสินทรัพย์ที่เช่าหรืออายุของสัญญาเช่าแล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่าสินทรัพย์ที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป็นเจ้าของส่วนใหญ่ตกอยู่กับผู้ให้เช่าจะจัด เป็นสัญญาเช่าดำ�เนินงาน เงินที่ต้องจ่ายภายใต้สัญญาเช่าดำ�เนินงานจะทยอยบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนโดยใช้วิธีเส้น ตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเช่าดำ�เนินงานก่อนหมดอายุการเช่า เช่น เงินเพิ่มที่ต้องจ่ายให้แก่ผู้ให้เช่า จะบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น

สัญญาเช่าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้ให้เช่า สินทรัพย์ที่ให้เช่าตามสัญญาเช่าดำ�เนินงานรวมแสดงอยู่ในงบดุลในส่วนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และตัดค่าเสื่อม ราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ด้วยเกณฑ์เดียวกันกับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ของกลุ่มบริษัท ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน รายได้ค่าเช่า (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ายให้แก่ผู้ให้เช่า) รับรู้ด้วยวิธีเส้นตรงตลอด ช่วงเวลาการให้เช่า

134


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.14 เงินกู้ยืมและหุ้นกู้ เงินกู้ยืมและหุ้นกู้รับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทำ�รายการที่เกิดขึ้น เงินกู้ยืมและหุ้นกู้วัดมูลค่าในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจำ�หน่ายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง ผลต่างระหว่างสิ่ง ตอบแทน (หักด้วยต้นทุนการจัดทำ�รายการที่เกิดขึ้น) เมื่อเทียบกับมูลค่าที่จ่ายคืนเพื่อชำ�ระหนี้นั้นจะรับรู้ในงบกำ�ไร ขาดทุนตลอดช่วงเวลาการกู้ยืม เงินกู้ยืมจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียนเมื่อกลุ่มบริษัทไม่มีสิทธิอันปราศจากเงื่อนไขให้เลื่อนชำ�ระหนี้ออกไปอีกเป็น เวลาไม่น้อยกว่า 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล ข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมและหุ้นกู้ได้เปิดเผยอยู่ในหมายเหตุฯ ข้อ 17 2.15 ภาษีเงินได้ กลุ่มบริษัทไม่รับรู้ภาษีเงินได้ค้างจ่ายและภาษีเงินได้ค้างรับที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในส่วนของผลต่างชั่วคราวระหว่าง ฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สินกับราคาตามบัญชีที่แสดงอยู่ในงบการเงิน 2.16 ผลประโยชน์พนักงาน

กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

กลุ่มบริษัทได้จัดตั้งกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพสำ�หรับพนักงานของกลุ่มบริษัทบนพื้นฐานความสมัครใจของพนักงานใน การเป็นสมาชิกของกองทุน โดยพนักงานจ่ายเงินสะสมในอัตราร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 10 ของเงินเดือนทุกเดือน และ กลุ่มบริษัทจ่ายสมทบในอัตราร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 10 ของเงินเดือนของพนักงานทุกเดือน กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพนี้ ได้จดทะเบียนเป็นกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพตามข้อกำ�หนดของกระทรวงการคลังและจัดการกองทุนโดยผู้จัดการกองทุน ที่ได้รับอนุญาต

ค่าตอบแทนเมื่อเลิกจ้างก่อนกำ�หนด

กลุ่มบริษัทจัดให้มีค่าตอบแทนเมื่อเลิกจ้างก่อนกำ�หนดเพื่อจ่ายให้แก่พนักงานอันเป็นไปตามกฎหมายแรงงานไทย ซึ่งค่าตอบแทนดังกล่าวขึ้นอยู่กับฐานเงินเดือนและจำ�นวนปีที่พนักงานทำ�งานให้บริษัทนับถึงวันที่สิ้นสุดการทำ�งาน และอัตราเพิ่มเติมตามที่กลุ่มบริษัทกำ�หนด และกลุ่มบริษัทจะรับรู้หนี้สินดังกล่าวเมื่อเกิดขึ้น

สิทธิของพนักงานเลือกเข้าถือหุ้น

บริษัทไม่มีการบันทึกค่าใช้จ่ายหรือหนี้สินเมื่อมีการออกสิทธิให้เลือกซื้อหุ้นภายใต้แผนการให้ประโยชน์แก่พนักงาน เมือ่ พนักงานใช้สทิ ธิการเลือกซือ้ หุน้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ จะเพิม่ ขึน้ เท่ากับจำ�นวนเงินที่ได้รบั จากการใช้สทิ ธิของพนักงาน

135


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

2 นโยบายการบัญชี (ต่อ) 2.17 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินซึ่งไม่รวมถึงประมาณการหนี้สินสำ�หรับผลตอบแทนพนักงานอันเป็นภาระ ผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดทำ�ไว้ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีตซึ่งการชำ�ระ ภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้บริษัทต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการ ที่น่าเชื่อถือของจำ�นวนที่ต้องจ่าย ในกรณีที่กลุ่มบริษัทคาดว่าประมาณการหนี้สินเป็นรายจ่ายที่จะได้รับคืนกลุ่มบริษัท จะบันทึกเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากเมื่อคาดว่าน่าจะได้รับรายจ่ายนั้นคืนอย่างแน่นอน 2.18 การรับรู้รายได้

การขายสินค้าและการให้บริการ

รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที่จะได้รับจากการขายสินค้าและที่ให้บริการซึ่งรวมถึงภาษีสรรพสามิต ภาษีท้อง ถิ่น และกองทุนน้ำ�มัน โดยเป็นจำ�นวนเงินที่สุทธิจากภาษีขาย เงินคืนและส่วนลด และไม่รวมรายการขายภายในกลุ่ม บริษัทสำ�หรับงบการเงินรวม รายได้จากการขายสินค้ารับรู้เมื่อผู้ซื้อรับโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนที่เป็นสาระ สำ�คัญของความเป็นเจ้าของสินค้า ส่วนรายได้จากการให้บริการรับรู้เมื่อมีการให้บริการ

ดอกเบี้ยรับและเงินปันผล

รายได้ดอกเบี้ยรับรู้ตามเกณฑ์สัดส่วนของเวลาโดยพิจารณาจากอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงของช่วงเวลาจนถึงวันครบ อายุและพิจารณาจากจำ�นวนเงินต้นที่เป็นยอดคงเหลือในบัญชีสำ�หรับการบันทึกค้างรับของกลุ่มบริษัท ส่วนรายได้ เงินปันผลรับรู้เมื่อสิทธิที่จะได้รับเงินปันผลนั้นเกิดขึ้น

รายได้อื่น

รายได้อื่นบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง 2.19 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ายบันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในรอบระยะเวลาบัญชีซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นของ บริษัทและบริษัทที่เกี่ยวข้องแต่ละบริษัทได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล 2.20 ข้อมูลจำ�แนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทนำ�เสนอข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานโดยแสดงส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงาน โดยพิจารณาจากโครงสร้างการบริหารและการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ ในการกำ�หนด ส่วนงาน (ดูรายละเอียดในหมายเหตุฯ ข้อ 6)

136


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

3 การจัดการความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ 3.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน กิจกรรมของกลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงทางการเงินที่หลากหลายซึ่งได้แก่ การเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ และการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมของกลุ่มบริษัทจึงมุ่งเน้นความ ผันผวนของตลาดการเงินและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที่ทำ�ให้เกิดความเสียหายต่อผลการดำ�เนินงานทางการ เงินของกลุ่มบริษัทให้เหลือน้อยที่สุด เท่าที่เป็นไปได้ กลุ่มบริษัทจึงใช้เครื่องมืออนุพันธ์ทางการเงิน ได้แก่ สัญญา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น โดย การทำ�ธุรกรรมที่เกี่ยวกับอนุพันธ์ทางการเงินดังกล่าวข้างต้นต้องเป็นไปตามนโยบายที่กำ �หนดโดยคณะกรรมการ บริษัท และฝ่ายบริหารเป็นผู้ทำ�รายการตามระดับอำ�นาจการอนุมัติของกลุ่มบริษัท และจะต้องรายงานผลให้กับคณะ กรรมการบริษัททราบ

3.1.1 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีการทำ�ธุรกิจกับต่างประเทศจึงย่อมมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ซึ่งเกิดจากสกุลเงินที่หลากหลายโดยมีสกุลเงินหลักเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา อีกทั้งบริษัทยังมีหุ้นกู้สกุลเงิน เหรียญสหรัฐอเมริกา โดยกิจการในกลุ่มบริษัทใช้สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเพื่อป้องกันความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศดังกล่าว

3.1.2 ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย รายได้และกระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษัทส่วนใหญ่ไม่ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาด กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกู้ยืมและหุ้นกู้ซึ่งมีทั้งอัตราดอกเบี้ยลอยตัวและคงที่ โดยกลุ่ม บริษัทใช้เครื่องมือทางการเงินที่เป็นสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย ซึ่งกลุ่มบริษัทตกลงกับคู่สัญญาที่จะแลกเปลี่ยน ผลต่างระหว่างจำ�นวนเงินตามอัตราดอกเบี้ยคงที่กับตามอัตราดอกเบี้ยลอยตัวในช่วงเวลาที่กำ�หนดไว้ โดยอ้างอิงจาก จำ�นวนฐานที่ใช้เป็นเกณฑ์คำ�นวณเงินต้นตามที่ตกลงกันไว้

3.1.3 ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อของกลุ่มบริษัทไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนัยสำ�คัญ นโยบายของกลุ่มบริษัทคือทำ�ให้เชื่อ มั่นได้ว่าได้ขายสินค้าและให้บริการแก่ลูกค้าที่มีประวัติสินเชื่ออยู่ในระดับที่เหมาะสม คู่สัญญาในอนุพันธ์ทางการเงิน และรายการเงินสดได้เลือกที่จะทำ�รายการกับสถาบันการเงินที่มีคุณภาพและมีความน่าเชื่อถือสูง กลุ่มบริษัทมีนโย บายจำ�กัดวงเงินการทำ�ธุรกรรมการกับสถาบันการเงินแต่ละแห่งอย่างเหมาะสม

137


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

3 การจัดการความเสี่ยงทางการเงินและความเสี่ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 3.1 ปัจจัยความเสี่ยงทางการเงิน (ต่อ)

3.1.4 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง การจัดการความเสี่ยงด้านสภาพคล่องอย่างรอบคอบหมายถึงการดำ�รงไว้ซึ่งเงินสดและหลักทรัพย์ที่มีตลาดรองรับ อย่างเพียงพอ ความสามารถในการหาแหล่งเงินทุนที่เพียงพอและความสามารถในการบริหารความเสี่ยง ส่วนงาน บริหารเงิน ของกลุ่มบริษัทตั้งเป้าหมายจะดำ�รงความยืดหยุ่นในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสินเชื่อให้มีความ เพียงพอ เนื่องจากลักษณะปกติทางธุรกิจของกลุ่มบริษัทมีกระแสเงินสดเข้าออกเป็นจำ�นวนเงินค่อนข้างสูง 3.2 ปัจจัยความเสี่ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ กลุ่มบริษัทมีการบริหารจัดการความเสี่ยงทางด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ขึ้นมาเพื่อดำ�เนินการจัดการบริหารความเสี่ยงให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับอนุมัติโดย คณะกรรมการของบริษัท คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์จะชี้ประเด็น ประเมิน และป้องกันความ เสี่ยงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ด้วยการร่วมมือกันทำ�งานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยปฏิบัติงานต่างๆ ภายในกลุ่มบริษัท ซึ่งจะ ต้องปฏิบัติตามหลักการภายใต้นโยบายที่ได้รับอนุมัติ กลุ่มบริษัทใช้เครื่องมืออนุพันธ์ทางการเงิน ได้แก่ สัญญา แลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและราคาน้ำ�มันดิบล่วงหน้าและส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน้ำ�มันดิบ เพื่อป้องกันความเสี่ยงของการเปลี่ยนแปลงของราคาน้ำ�มันและผลิตภัณฑ์ที่จะเกิดขึ้น โดยการทำ�ธุรกรรมที่เกี่ยวกับ อนุพันธ์ทางการเงินดังกล่าวข้างต้นต้องเป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนดโดยคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ดำ�เนินการได้ตามนโยบายที่กำ�หนดไว้

3.2.1 ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาน้ำ�มัน กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงจากกิจกรรมดำ�เนินงานอันเนื่องมาจากความผันผวนของราคาน้ำ�มัน ซึ่งเป็นผลมาจากการ เคลื่อนไหวของราคาน้ำ�มันในตลาดโลก ในการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว กลุ่มบริษัทใช้สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างรา คาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและราคาน้ำ�มันดิบล่วงหน้าและส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน้ำ�มันดิบ เพื่อป้องกันความผันผวน ของราคาน้ำ�มันจากการดำ�เนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท

138


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

3 การจัดการความเสี่ยงทางการเงินและด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 3.3 การบัญชีสำ�หรับอนุพันธ์ทางการเงิน กลุ่มบริษัทเป็นคู่สัญญาในอนุพันธ์ที่เป็นเครื่องมือทางการเงินซึ่งส่วนมากจะประกอบด้วยสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย และสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและรา คาน้ำ�มันดิบล่วงหน้าและส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน้ำ�มันดิบ เครื่องมือทางการเงินดังกล่าวรับรู้ในงบการเงิน ในวันเริ่มแรก กลุ่มบริษัทจะวัดมูลค่าอนุพันธ์ทางการเงินแต่ละประเภทใหม่ภายหลังการรับรู้เมื่อเริ่มแรกด้วยมูลค่า ยุติธรรม (ตามที่อธิบายในหมายเหตุฯ ข้อ 3.4) กำ�ไรหรือขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ให้เป็นมูลค่ายุติธรรมจะบันทึก ในงบกำ�ไรขาดทุนทันที สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าช่วยป้องกันกลุ่มบริษัทจากความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนด้วย การกำ�หนดอัตราที่จะใช้รับสินทรัพย์หรืออัตราที่จะจ่ายหนี้สินที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศ จำ�นวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง จากจำ�นวนเงินที่จะได้รับจากสินทรัพย์หรือที่จะต้องจ่ายชำ�ระหนี้สินจะนำ�ไปหักกลบกับมูลค่าที่เปลี่ยนแปลงไปของ สัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าที่เกี่ยวข้อง รายการกำ�ไรและขาดทุนจากอนุพันธ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับเงินกู้ยืมจะนำ�มา หักกลบกันในการนำ�เสนอรายงานทางการเงินโดยแสดงอยู่ในต้นทุนทางการเงินในงบกำ�ไรขาดทุน ส่วนรายการกำ�ไร และขาดทุนจากอนุพันธ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับรายการค้าปกติจะนำ�มาหักกลบกันในการนำ�เสนอรายงานทางการเงินโดย แสดงอยู่ในรายได้อื่น/(ค่าใช้จ่ายอื่น) ในงบกำ�ไรขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยช่วยป้องกันกลุ่มบริษัทจากความเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย ส่วนต่างที่จะต้อง จ่ายหรือที่จะได้รับจากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยรับรู้เป็นส่วนประกอบของรายได้ดอกเบี้ยรับหรือดอกเบี้ยจ่าย ตลอดอายุของสัญญา รายการกำ�ไรและขาดทุนจากการเลิกสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยก่อนกำ�หนดหรือจากการ จ่ายชำ�ระเงินกู้ยืมจะแสดงรวมอยู่ในต้นทุนทางการเงินในงบกำ�ไรขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน ้ำ�มันสำ�เร็จรูปและราคาน ้ำ�มันดิบล่วงหน้าและส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน ้ำ�มัน ดิบช่วยป้องกันการผันผวนของราคาน้ำ�มัน โดยมีการกำ�หนดราคาส่วนต่างระหว่างราคาน้ำ�มันดิบและน้ำ�มันสำ�เร็จรูป ไว้ล่วงหน้า ซึ่งผลต่างของราคาน้ำ�มัน ณ วันที่ครบกำ�หนดตามสัญญากับราคาน้ำ�มันที่กำ�หนดไว้ล่วงหน้าจะรับรู้เป็น รายการกำ�ไรและขาดทุนที่เกิดขึ้นจริงโดยแสดงรวมอยู่ในรายได้อื่นหรือค่าใช้จ่ายอื่นในงบกำ�ไรขาดทุน 3.4 การประมาณมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์ทางการเงิน มูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์ทางการเงินที่มีตลาดซื้อขายคล่องรองรับกำ�หนดมูลค่าโดยขึ้นอยู่กับราคาตลาดที่มีการ เปิดเผย ณ วันที่ในงบดุล โดยมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและมูลค่ายุติธรรม ของสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกำ�หนดโดยใช้อัตราตลาดของแต่ละสัญญาที่ค�ำ นวณโดยสถาบันการเงินของกลุ่ม บริษัท ณ วันที่ในงบดุล ส่วนมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและราคาน้ำ�มันดิบ ล่วงหน้าและส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน�ำ้ มันดิบคำ�นวณโดยใช้ราคาเสนอซือ้ และเสนอขายเฉลีย่ ของสถาบันการเงิน ที่กลุ่มบริษัทใช้บริการ ณ วันที่ในงบดุล

139


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

4 ประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญและข้อสมมติฐาน กลุ่มบริษัทมีการประมาณการทางบัญชี และใช้ข้อสมมติฐานที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณ การทางบัญชีอาจไม่ตรงกับผลที่เกิดขึ้นจริง ประมาณการทางบัญชีที่สำ�คัญและข้อสมมติฐานที่มีความเสี่ยงอย่างเป็น สาระสำ�คัญที่อาจเป็นเหตุให้เกิดการปรับปรุงยอดคงเหลือของสินทรัพย์และหนี้สินในรอบระยะเวลาบัญชีหน้า มีดังนี้ 4.1 การด้อยค่าของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้อง ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน และเงิน ลงทุนใน บริษัทย่อยและบริษัทร่วม กลุ่มบริษัทมีการประมาณความเป็นไปได้ที่จะได้รับคืนในมูลค่าของเงินให้กู้ยืมและลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดย พิจารณาจากความสามารถในการจ่ายชำ�ระหนี้ สำ�หรับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม กลุ่มบริษัทมีการ ทดสอบการด้อยค่าโดยพิจารณาจากประมาณการกระแสเงินสดของผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากบริษัทเหล่านั้น ในอนาคต 4.2 การด้อยค่าของรายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม กลุ่มบริษัทได้ประมาณการและตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญกับยอดคงค้างที่มีกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มผู้บริหารเดิม ซึ่งยอดคงค้างส่วนใหญ่ได้มีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจำ�นวนแล้ว โดยฝ่ายบริหารของ บริษัทได้พิจารณาจากจำ�นวนเงินที่คาดว่าจะได้รับคืนจากการหักกลบลบหนี้กัน ระยะเวลา และความเป็นไปได้ที่จะได้ รับคืนของยอดคงค้างดังกล่าว 4.3 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ ไม่มีตัวตน ฝ่ายบริหารเป็นผู้ประมาณการอายุการใช้งานและมูลค่าซากสำ�หรับอาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ ไม่มีตัวตนของ กลุ่มบริษัท โดยส่วนใหญ่อ้างอิงจากข้อมูลเชิงเทคนิคของสินทรัพย์นั้น และรวมถึงการพิจารณาการตัดจำ�หน่าย สินทรัพย์ที่เสื่อมสภาพหรือไม่ได้ใช้งานโดยการขายหรือเลิกใช้

5 การจัดการความเสี่ยงในส่วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริษัทในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพื่อดำ�รงไว้ซึ่งความสามารถในการดำ�เนินงานอย่างต่อ เนื่องของกลุ่มบริษัทเพื่อสร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีส่วนได้เสียอื่น และเพื่อดำ�รงไว้ซึ่ง โครงสร้างของทุนที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนทางการเงินของทุน ในการดำ�รงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริษัทอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น การคืนทุนให้ แก่ผู้ถือหุ้น การออกหุ้นใหม่ หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน

140


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

6 ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน กลุ่มบริษัทนำ�เสนอข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงานโดยแสดงส่วนงานธุรกิจเป็นรูปแบบหลักในการรายงาน โดยพิจารณาจากโครงสร้างการบริหารและการรายงานทางการเงินภายในของกลุ่มบริษัทเป็นเกณฑ์ ในการกำ�หนด ส่วนงาน กลุ่มบริษัทเสนอส่วนงานธุรกิจที่สำ�คัญ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม หน่วยงานอื่นๆ

ได้แก่ โอเลฟินส์ อะโรเมติกส์ ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตเม็ดพลาสติกชนิดต่างๆ ได้แก่ น้ำ�มันเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ น้ำ�มันหล่อลื่น ยางมะตอย ได้แก่ โรงไฟฟ้า สาธารณูปโภคอื่น

รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น และภาษีเงินได้ ซึ่งเดิมเคยปันส่วนให้กับแต่ละส่วนงานธุรกิจโดยใช้เกณฑ์เฉลี่ยตามยอดขาย ผู้บริหารได้ทบทวนและพิจารณาแล้วเห็นว่าการนำ�รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายอื่น และภาษีเงินได้ มานำ�เสนอแบบยอดรวมที่ ไม่มีการปันส่วนมีความเหมาะสมกว่า ดังนั้น ตัวเลขเปรียบเทียบของงวดปีก่อนจึงได้มีการแสดงใหม่เพื่อให้สอดคล้อง กับงวดปีปัจจุบัน

งบการเงินรวม

ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี ปิโตรเลียม ล้านบาท ล้านบาท สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 รายได้จากการขาย กำ�ไร/(ขาดทุน)จากการดำ�เนินงาน รายได้อื่นที่ไม่สามารถปันส่วนได้ ค่าใช้จ่ายอื่นที่ไม่สามารถปันส่วนได้ ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งกำ�ไรเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย ภาษีเงินได้ กำ�ไรสุทธิสำ�หรับปี สินทรัพย์ถาวรของส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรที่ไม่สามารถปันส่วนได้ สินทรัพย์อื่นของส่วนงาน สินทรัพย์อื่นที่ไม่สามารถปันส่วนได้ สินทรัพย์ทั้งสิ้นในงบการเงินรวม

การตัดบัญชี หน่วยงาน รายการ อื่นๆ ระหว่างกัน ล้านบาท ล้านบาท

รวม ล้านบาท

63,193 5,082

127,102 750

3,383 (151)

(27,641) 360

166,037 6,041 408 (9) (991) 17 (51) 5,415

19,871

23,935

13,395

(974)

8,440

32,145

6,565

(6,705)

56,227 8,053 40,445 9,469 114,194

141


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

6 ข้อมูลทางการเงินจำ�แนกตามส่วนงาน (ต่อ)

งบการเงินรวม

ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมี ปิโตรเลียม ล้านบาท ล้านบาท สำ�หรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 รายได้จากการขาย ขาดทุนจากการดำ�เนินงาน รายได้อื่น/(ค่าใช้จ่ายอื่น)ที่ไม่สามารถปัน ส่วนได้ ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งขาดทุนเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย ภาษีเงินได้ ขาดทุนสุทธิสำ�หรับปี สินทรัพย์ถาวรของส่วนงาน สินทรัพย์ถาวรที่ไม่สามารถปันส่วนได้ สินทรัพย์อื่นของส่วนงาน สินทรัพย์อื่นที่ไม่สามารถปันส่วนได้ สินทรัพย์ทั้งสิ้นในงบการเงินรวม

88,735 (2,900)

190,370 (13,653)

การตัดบัญชี หน่วยงาน รายการ อื่นๆ ระหว่างกัน ล้านบาท ล้านบาท 4,230 (259)

(38,641) 431

รวม ล้านบาท 244,694 (16,381) (412) (1,396) (31) (41) (18,261)

20,377

24,050

12,496

(1,032)

6,753

18,747

7,139

(5,457)

55,891 8,385 27,182 12,654 104,112

7 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เงินลงทุนระยะสั้น รวม

1 3,731 1,411 20 5,163

1 3,450 4,099 1,000 8,550

1 3,699 697 4,397

1 3,424 3,572 1,000 7,997

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์และเงินลงทุนระยะสั้นมีอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ย อยู่ที่ร้อยละ 0.125 ถึงร้อยละ 1.15 ต่อปี และร้อยละ 1.15 ต่อปี ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.5 ถึงร้อยละ 2.55 ต่อปีและร้อยละ 2.55 ต่อปี ตามลำ�ดับ)

142


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

7 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (ต่อ) ยอดเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 จัดตามประเภทสกุลเงินได้ดงั นี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา รวม

5,071 92 5,163

7,248 1,302 8,550

4,305 92 4,397

6,695 1,302 7,997

8 เงินลงทุนชั่วคราว - สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 3 3

เงินฝากระยะสั้นกับสถาบันการเงิน ตราสารทุนถือไว้เพื่อค้า หัก ค่าเผื่อการลดมูลค่าเงินลงทุน

1,534 (764) 770 770

สุทธิ

1,560 (1,125) 435 438

1,534 (764) 770 770

1,560 (1,125) 435 438

รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 ของตราสารทุนที่ถือไว้เพื่อค้ามีดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ยอดคงเหลือต้นปี - สุทธิ ซื้อระหว่างปี ขายระหว่างปี การเปลีย่ นแปลงในราคามูลค่ายุตธิ รรม (หมายเหตุฯ ข้อ 24) ยอดคงเหลือปลายปี - สุทธิ

143

435 (26) 361 770

1,526 697 (700) (1,088) 435

435 (26) 361 770

1,526 697 (700) (1,088) 435


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

9 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ หมายเหตุ ลูกหนี้การค้า กิจการอื่นๆ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

32

งบการเงินรวม งบการเงินรวม พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 6,796 1,474 8,270 (242) 8,028

5,811 463 6,274 (236) 6,038

6,501 3,050 9,551 (143) 9,408

5,535 1,288 6,823 (135) 6,688

ยอดลูกหนี้การค้าซึ่งสุทธิจากค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 จัดตามประเภท สกุลเงินได้ดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร รวม

5,992 2,013 23 8,028

144

3,504 2,534 6,038

7,443 1,942 23 9,408

4,231 2,457 6,688


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

9 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ (ต่อ) ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 สามารถวิเคราะห์ตามอายุหนี้ที่ค้างชำ�ระได้ดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

กิจการอื่น ยังไม่ครบกำ�หนด เกินกำ�หนดชำ�ระ - น้อยกว่า 3 เดือน - เกินกว่า 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน - เกินกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ยังไม่ครบกำ�หนด เกินกำ�หนดชำ�ระ - น้อยกว่า 3 เดือน - เกินกว่า 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน - เกินกว่า 12 เดือน หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ สุทธิ

145

6,407

5,415

6,228

5,258

152 13 224 389 6,796 (242) 6,554

110 45 241 396 5,811 (236) 5,575

139 13 121 273 6,501 (138) 6,363

97 45 135 277 5,535 (130) 5,405

1,474

463

3,045

1,200

1,474 1,474 8,028

463 463 6,038

5 5 3,050 (5) 3,045 9,408

84 1 3 88 1,288 (5) 1,283 6,688


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

10 สินค้าคงเหลือ - สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สินค้าสำ�เร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต วัตถุดิบ สารเคมีและน้ำ�มันเชื้อเพลิง อะไหล่และวัสดุเพื่อการซ่อมบำ�รุง สินค้าระหว่างทาง หัก ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับและ ค่าเผื่อสินค้าเก่า ล้าสมัย และเสื่อมคุณภาพ สุทธิ

15,082 114 4,755 626 2,452 7,824 30,853

15,779 111 4,542 1,078 2,672 739 24,921

14,788 4,453 525 2,217 7,795 29,778

15,222 4,005 928 2,402 681 23,238

(218) 30,635

(5,190) 19,731

(196) 29,582

(5,149) 18,089

กลุ่มบริษัทรับรู้ผลขาดทุนจากสินค้าเก่า ล้าสมัย และเสื่อมคุณภาพเป็นต้นทุนขายในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไร ขาดทุนเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 จำ�นวน 218 ล้านบาท และ 196 ล้านบาท ตาม ลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 5,190 ล้านบาท และ 5,149 ล้านบาท รับรู้เป็นต้นทุนขายในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและ งบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ ซึ่งเป็นจำ�นวนที่รวมค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับจำ�นวน 4,902 ล้านบาท และ 4,912 ล้านบาท ตามลำ�ดับ) ราคาตลาดของสินค้าคงเหลือกลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีมีความผันผวน อย่างไรก็ดี กลุ่ม บริษัทจะพิจารณามูลค่าของสินค้าคงเหลือ (ได้แก่ สินค้าสำ�เร็จรูป สินค้าระหว่างผลิต และวัตถุดิบ) ของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีโดยแสดงในราคามูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะขายได้ซึ่งส่วนใหญ่พิจารณาจาก ราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุล ภายใต้ข้อกำ�หนดของกระทรวงพลังงาน กำ�หนดให้บริษัทต้องสำ�รองน้ำ�มันดิบ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวและน้ำ�มัน สำ�เร็จรูปไว้ที่ อัตราร้อยละ 5 ของปริมาณการผลิตในแต่ละงวด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ยอดสินค้าคงเหลือ ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทได้รวมน้ำ�มันดิบ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวและน้ำ�มันสำ�เร็จรูปที่บริษัทต้อง สำ�รองไว้ขั้นต่ำ�จำ�นวน 5,672 ล้านบาท และ 5,635 ล้านบาท ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 3,981 ล้านบาท และ 3,945 ล้านบาท ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ) ซึ่งเป็นจำ�นวนสุทธิจากค่าเผื่อการลดลง ของมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

146


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

11 ลูกหนี้อื่น

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

ลูกหนี้กรมสรรพสามิตและกองทุนน้ำ�มันเชื้อเพลิง ลูกหนี้จากอนุพันธ์ทางการเงินตามสัญญาอัตรา แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยและสัญญาแลกเปลี่ยน ส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและราคาน้ำ�มันดิบ ล่วงหน้าและส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน้ำ�มันดิบ (หมายเหตุฯ ข้อ 35 (จ))

218

176

218

176

13

340

13

340

อื่นๆ รวม

81 312

162 678

32 263

59 575

147


148

• บริษัท ทีพีไอ เท็คส์ จำ�กัด • บริษัท น้ำ�มัน ทีพีไอ (1996) จำ�กัด • บริษัท น้ำ�มัน ทีพีไอ (1999) จำ�กัด • บริษัท น้ำ�มัน ทีพีไอ (1997) จำ�กัด

บริษัทย่อยโดยทางอ้อม

• บริษัท โครงสร้างพื้นฐาน ทีพีไอ จำ�กัด • บริษัท บริการการท่าระยอง จำ�กัด • บริษัท ระยอง เอ็นเนอยี่ จำ�กัด • บริษัท ค้าพลาสติกสากล จำ�กัด

จดทะเบียนเลิกกิจการและชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2551 จดทะเบียนเลิกกิจการและชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จดทะเบียนเลิกกิจการและชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2551 และชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2552

จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2551 จดทะเบียนเลิกกิจการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 และชำ�ระบัญชีเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 อยู่ระหว่างดำ�เนินการเพื่อจดทะเบียนเลิกกิจการ

บริษัทย่อยดังต่อไปนี้ได้ดำ�เนินการจดทะเบียนเลิกกิจการและเสร็จสิ้นการชำ�ระบัญชี

ในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551

บริษัทย่อย

จัดตั้งขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งได้หยุดดำ�เนินกิจการแล้ว

จัดตั้งขึ้นในหมู่เกาะบริติซ เวอร์จิน ซึ่งได้หยุดดำ�เนินกิจการแล้ว จัดตั้งขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งได้หยุดดำ�เนินกิจการแล้ว จัดตั้งขึ้นในประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งได้หยุดดำ�เนินกิจการแล้ว

• บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด

บริษัทร่วม

• บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมิกัลไทย (เคย์แมน) จำ�กัด • บริษัท ทีพีไอ ฟิลิปปินส์ ไวนิล จำ�กัด • บริษัท อาเชียน ดราก้อน ออยล์ รีไฟเนอรี่ จำ�กัด

บริษัทย่อย

บริษัทย่อยและบริษัทร่วมจัดตั้งขึ้นและดำ�เนินการในประเทศไทยทั้งหมดยกเว้นบริษัทดังต่อไปนี้

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 มีดังนี้

12 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


ลักษณะธุรกิจ ไทย ฟิลิปปินส์ ไทย

ประเทศ ที่จดทะเบียน

149

รวม

บริษัทร่วมที่ยังดำ�เนินกิจการ บริษทั พีทที ี โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด 40 40 บริษัทร่วมที่หยุดดำ�เนินกิจการ บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด Peso 1 Peso 1 บริษัท ฟิลไทย โฮลดิ้ง จำ�กัด -

บริษัทร่วม

469 -

732 -

สินทรัพย์ (ล้านบาท)

440 -

686 -

หนี้สิน (ล้านบาท)

1,961 -

6,472 -

(123) -

67 -

25 39.99 39.99

25 39.99 39.99

อัตราส่วน การถือหุ้น (ล้านบาท)

58 58

58 58

44

44

28

28

-

-

-

-

44

44

28

28

-

-

-

-

งบการเงินรวม ทุนชำ�ระแล้ว วิธีราคาทุน วิธีส่วนได้เสีย การด้อยค่า สุทธิ เงินปันผลรับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด จำ�หน่ายเม็ดพลาสติก ไทย บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด ลงทุนในกิจการอื่น ฟิลิปปินส์ บริษัท ฟิลไทย โฮลดิ้ง จำ�กัด ลงทุนในกิจการอื่น ไทย เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 มีดังนี้

พ.ศ. 2551

บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด จำ�หน่ายเม็ดพลาสติก บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด ลงทุนในกิจการอื่น บริษัท ฟิลไทย โฮลดิ้ง จำ�กัด ลงทุนในกิจการอื่น

พ.ศ. 2552

ชื่อ

ส่วนแบ่ง รายได้ กำ�ไร/(ขาดทุน) (ล้านบาท) (ล้านบาท)

สินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และส่วนแบ่งกำ�ไร/(ขาดทุน)จากบริษัทร่วมของกลุ่มบริษัทตามสัดส่วนการลงทุน สามารถแสดงได้ดังต่อไปนี้

12 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ (ต่อ)

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


ผลิตและจำ�หน่ายเม็ดพลาสติก ผลิตและจำ�หน่ายปิโตรเคมี จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ น�ำ้ มันและก๊าซ ให้บริการเช่าเรือบรรทุกน�ำ้ มัน จำ�หน่ายน�ำ้ มัน ผลิตและจำ�หน่ายฟองน�ำ้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอาชีวะ

บริษทั ไทย เอ บี เอส จำ�กัด และบริษทั ย่อย - บริษทั ไออาร์พซี ี เอแอนด์แอล จำ�กัด บริษทั น�ำ้ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด และบริษทั ย่อย - บริษทั น�ำ้ มัน ทีพไี อ (2001) จำ�กัด - บริษทั ทีพไี อ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จำ�กัด บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด

150

กิจการเพือ่ การลงทุนในธุรกิจอืน่

จำ�หน่ายพลาสติกพีวซี ี

โครงการร่วมทุนเพือ่ จัดตัง้ โรงกลัน่ น�ำ้ มันใน ประเทศฟิลปิ ปินส์

บริษทั อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกลั ไทย (เคย์แมน) จำ�กัด

บริษทั ทีพไี อ ฟิลปิ ปินส์ ไวนิล จำ�กัด

บริษทั อาเชียน ดราก้อน ออยล์ รีไฟเนอรี่ จำ�กัด

รวมบริษัทย่อย

ให้เช่าและก่อสร้างถังเก็บน�ำ้ มัน โรงกลัน่ น�ำ้ มัน

ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมี

บริษทั ทีพไี อ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย

- บริษทั ทีพไี อ แทงค์ เทอร์มนิ ลั จำ�กัด - บริษทั โรงกลัน่ น�ำ้ มัน ทีพไี อ (1997) จำ�กัด

ผลิตและจำ�หน่ายโพลียรู เี ทน ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้า ให้บริการรักษาความปลอดภัย ซือ้ มา ขายไป ให้บริการเช่าถังสำ�หรับบรรจุสารเคมี

บริษทั อุตสาหกรรมโพลียรู เี ทนไทย จำ�กัด บริษทั ไออาร์พซี ี พลังงาน จำ�กัด บริษทั ไออาร์พซี ี เซอร์วสิ จำ�กัด บริษทั ค้าพลาสติกสากล จำ�กัด บริษทั ระยอง แท้งค์ เทอร์มนิ ลั จำ�กัด

บริษทั ย่อยทีห่ ยุดดำ�เนินกิจการ

ลักษณะธุรกิจ

บริษัทย่อย บริษทั ย่อยทีย่ งั ดำ�เนินกิจการ

99.99

99.99

-

-

99.99 Peso 17 Peso 17

352

4,100

99.99

352

4,100

100.00

99.99 99.99

-

300 750

300 750 37 3,342 4 -

2,000

2,000

37 3,342 4 -

2,500

2,500

14,402

-

17

352

4,100

37 3,342 4 1,000

300 750

2,000

2,500

(476)

(718)

-

(476)

(718)

-

-

(17)

(352)

-

(17)

(352)

14,402 (9,923) (9,923)

-

17

352

4,100 (4,100) (4,100)

37 3,342 (3,257) (3,257) 4 (3) (3) 1,000 (1,000) (1,000)

300 750

2,000

2,500

4,479

-

-

-

-

37 85 1 -

300 274

1,282

2,500

4,479

-

-

-

-

37 85 1 -

300 274

1,282

2,500

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท ทุนชำ�ระแล้ว วิธีราคาทุน การด้อยค่า สุทธิ เงินปันผลรับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

100.00

99.99

99.99 99.99 99.50 99.01 99.99

99.99 99.99 99.50 99.01 99.99 99.99

99.99 59.94 99.99 99.99 99.89 99.99 99.99

99.99 59.94 99.99 99.99 99.89 99.99 99.99

สัดส่วนการถือหุ้น พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 % %

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 มีดังนี้ (ต่อ)

12 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ (ต่อ) บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


ลักษณะธุรกิจ

151

ลงทุนในกิจการอื่น ลงทุนในกิจการอื่น

39.99 39.99

25.00 39.99 39.99

25.00 Peso 1 -

40 Peso 1 -

40

ทุนชำ�ระแล้ว พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท

58 14,460

58 58 14,460

58 (9,923)

(9,923)

-

งบการเงินเฉพาะบริษัท วิธีราคาทุน การด้อยค่า พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

58 4,537

58

พ.ศ. 2552 ล้านบาท

58 4,537

58

พ.ศ. 2551 ล้านบาท

สุทธิ

-

-

-

-

เงินปันผลรับ พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท

บริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้โอนเงินลงทุนในบริษัท ทีพีไอ แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด และบริษัท โรงกลั่นน้ำ�มัน ทีพีไอ (1997) จำ�กัด ให้บริษัทในกลุ่มผู้บริหารเดิมเพื่อ เป็นการชำ�ระหนี้

รวมบริษัทร่วม รวมเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม

บริษัท คาปูลวน โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท ฟิลไทย โฮลดิ้ง จำ�กัด

บริษัทร่วมที่หยุดดำ�เนินกิจการ

บริษัทร่วมที่ยังดำ�เนินกิจการ บริษทั พีทที ี โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด จำ�หน่ายเม็ดพลาสติก

บริษัทย่อย

สัดส่วนการถือหุ้น พ.ศ. พ.ศ. 2552 2551 ล้านบาท ล้านบาท

เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 มีดังนี้ (ต่อ)

12 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ (ต่อ)

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

12 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - สุทธิ (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 ของเงินลงทุนมีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ยอดคงเหลือต้นปี - สุทธิ โอนกลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่า ซื้อเงินลงทุนในบริษัทร่วม ส่วนแบ่งผลกำ�ไร/(ขาดทุน)เงินลงทุนในบริษัทร่วม ตามวิธีส่วนได้เสีย การลดทุนของบริษัทย่อย ยอดคงเหลือปลายปี - สุทธิ

28 -

58

4,537 -

4,572 20 58

16 44

30 28

4,537

(113) 4,537

13 เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท หลักทรัพย์เผื่อขาย - ตราสารทุน หัก ค่าเผื่อการลดมูลค่าเงินลงทุน หลักทรัพย์ทั่วไป (ตราสารทุน) - ราคาทุน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน สุทธิ

539 (523) 16 1,252 (1,233) 19 35

152

639 (605) 34 1,252 (1,233) 19 53

534 (519) 15 1,053 (1,034) 19 34

534 (527) 7 1,053 (1,034) 19 26


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

13 เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ของเงินลงทุนระยะยาวอื่นมีดังนี้ หลักทรัพย์ ทั่วไป-ราคาทุน ล้านบาท ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อเงินลงทุน จำ�หน่ายเงินลงทุน การเปลี่ยนแปลงในราคามูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

19 19

หลักทรัพย์ ทั่วไป-ราคาทุน ล้านบาท ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อเงินลงทุน จำ�หน่ายเงินลงทุน การเปลี่ยนแปลงในราคามูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

19 19

153

หลักทรัพย์ เผื่อขาย ล้านบาท 34 (100) 82 16

งบการเงินรวม รวม ล้านบาท 53 (100) 82 35

งบการเงินเฉพาะบริษัท หลักทรัพย์ เผื่อขาย รวม ล้านบาท ล้านบาท 7 8 15

26 8 34


154

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จำ�หน่ายสินทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550

14 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ

7,632 (931) 6,701

6,692 9 6,701

7,623 (931) 6,692

184 (2) 182

181 1 182

183 (2) 181

22,717 (8,012) (213) 14,492

14,505 (7) 728 (734) 14,492

21,450 (6,714) (231) 14,505

ค่าปรับปรุง อาคารและ ที่ดิน ที่ดิน ส่วนปรับปรุง ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

62,953 (26,340) (1) 36,612

39,068 12 (354) (2,114) 36,612

63,818 (24,749) (1) 39,068

เครื่องจักร และท่อ ล้านบาท

2,027 (1,439) 588

796 157 (5) (234) (126) 588

2,609 (1,813) 796

ล้านบาท

เครื่องมือ เครื่องใช้และ อุปกรณ์โรงงาน

งบการเงินรวม

670 (399) 271

196 27 104 (56) 271

555 (359) 196

904 (641) 263

265 10 (14) 44 (42) 263

887 (622) 265

5,167 5,167

608 4,847 (288) 5,167

608 608

งานระหว่าง ยานพาหนะ ก่อสร้าง ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำ�นักงาน

102,254 (36,831) (1,147) 64,276

62,311 5,063 (26) (3,072) 64,276

97,733 (34,257) (1,165) 62,311

รวม ล้านบาท

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


155 7,623 (1,184) 6,439

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี สุทธิ

184 (2) 182

182

(253) 6,439

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

182 -

184 (2) 182

6,701 5 (14) -

7,632 (931) 6,701

22,892 (8,7ุ60) (203) 13,929

10 13,929

14,492 1 (22) 206 (758)

22,717 (8,012) (213) 14,492

64,623 (28,532) (13) 36,078

(12) 36,078

36,612 419 (3) 1,258 (2,196)

62,953 (26,340) (1) 36,612

ค่าปรับปรุง อาคารและ เครื่องจักร ที่ดิน ส่วนปรับปรุง และท่อ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

ราคาตามบัญชีต้นปี สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จำ�หน่ายสินทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ค่าเผื่อการด้อยค่า/กลับรายการ การด้อยค่า (หมายเหตุฯ ข้อ 24) ราคาตามบัญชีปลายปี สุทธิ

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ที่ดิน ล้านบาท

14 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

2,061 (1,462) 599

599

588 90 (4) 22 (97)

2,027 (1,439) 588

ล้านบาท

เครื่องมือ เครื่องใช้และ อุปกรณ์โรงงาน

งบการเงินรวม

713 (467) 246

246

271 30 (3) 18 (70)

670 (399) 271

ล้านบาท

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำ�นักงาน

838 (605) 233

233

263 29 (20) (39)

904 (641) 263

6,574 6,574

6,574

5,167 2,911 (1,504) -

5,167 5,167

งานระหว่าง ยานพาหนะ ก่อสร้าง ล้านบาท ล้านบาท

105,508 (39,826) (1,402) 64,280

(255) 64,280

64,276 3,485 (66) (3,160)

102,254 (36,831) (1,147) 64,276

รวม ล้านบาท

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


156

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จำ�หน่ายสินทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550

4,302 4,302

4,293 9 4,302

4,293 4,293

ที่ดิน ล้านบาท

14 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

168 168

168 168

168 168

19,933 (5,996) 13,937

10,960 3,643 (10) (656) 13,937

16,300 (5,340) 10,960

56,829 (23,378) 33,451

35,273 1 78 (1,901) 33,451

57,146 (21,873) 35,273

ค่าปรับปรุง อาคารและ เครื่องจักร ที่ดิน ส่วนปรับปรุง และท่อ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

1,540 (996) 544

443 145 (1) 44 (87) 544

1,356 (913) 443

ล้านบาท

เครื่องมือ เครื่องใช้และ อุปกรณ์โรงงาน

603 (355) 248

175 23 102 (52) 248

483 (308) 175

ล้านบาท

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำ�นักงาน

งบการเงินเฉพาะบริษัท

688 (478) 210

144 66 (12) 43 (31) 210

385 (241) 144

4,608 4,608

516 4,349 (257) 4,608

516 516

งานระหว่าง ยานพาหนะ ก่อสร้าง ล้านบาท ล้านบาท

88,671 (31,203) 57,468

51,972 8,236 (13) (2,727) 57,468

80,647 (28,675) 51,972

รวม ล้านบาท

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


157 4,293 (584) 3,709

4,302 5 (14) (584) 3,709

4,302 4,302

168 168

168 168

168 168

20,066 (6,739) 13,327

13,937 130 (740) 13,327

19,933 (5,996) 13,937

57,851 (25,364) 32,487

33,451 418 604 (1,986) 32,487

56,829 (23,378) 33,451

ค่าปรับปรุง อาคารและ เครื่องจักร ที่ดิน ส่วนปรับปรุง และท่อ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

1,590 (1,045) 545

544 83 7 (89) 545

1,540 (996) 544

ล้านบาท

เครื่องมือ เครื่องใช้และ อุปกรณ์โรงงาน

638 (421) 217

248 26 (3) 11 (65) 217

603 (355) 248

ล้านบาท

เครื่องตกแต่ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สำ�นักงาน

งบการเงินเฉพาะบริษัท

636 (448) 188

210 29 (19) (32) 188

688 (478) 210

6,369 6,369

4,608 2,513 (752) 6,369

4,608 4,608

งานระหว่าง ยานพาหนะ ก่อสร้าง ล้านบาท ล้านบาท

91,611 (34,017) (584) 57,010

57,468 3,074 (36) (2,912) (584) 57,010

88,671 (31,203) 57,468

รวม ล้านบาท

การซื้อสินทรัพย์รวมถึงการได้มาซึ่งสินทรัพย์จากสัญญาเช่าการเงิน (โดยที่กลุ่มบริษัทเป็นผู้เช่า) จำ�นวน 24 ล้านบาทในการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 5 ล้านบาท) กลุ่มบริษัทไม่มีการจำ�หน่ายสินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญาเช่าการเงินในระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ ซื้อสินทรัพย์ จำ�หน่ายสินทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสินทรัพย์ - สุทธิ ค่าเสื่อมราคา ค่าเผื่อการด้อยค่า (หมายเหตุฯ ข้อ 24) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ราคาทุน หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ที่ดิน ล้านบาท

14 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ)

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

14 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่อมราคาสะสมของสินทรัพย์ถาวรซึ่งหักค่าเสื่อมราคาทั้ง จำ�นวนแล้วแต่ยังคงใช้งานอยู่มีจำ�นวน 1,930 ล้านบาท และ 1,352 ล้านบาท สำ�หรับงบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 1,930 ล้านบาท และ 1,383 ล้านบาทสำ�หรับงบการเงินรวมและงบการ เงินเฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ) ค่าเสื่อมราคาสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 แสดงรวมไว้ใน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 หมายเหตุ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร รวม

25

2,992 168 3,160

2,925 147 3,072

2,789 123 2,912

2,627 100 2,727

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 กลุ่มบริษัทมีที่ดินที่ถือไว้เพื่อโครงการในอนาคตซึ่งยังไม่ได้กำ�หนดวัตถุประสงค์สำ� หรับการใช้งานในอนาคตอยู่ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท ซึ่งสามารถจำ�แนกได้ดังนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ที่ดินที่ถือไว้เพื่อโครงการในอนาคต หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า รวม

4,125 (912) 3,213

4,128 (580) 3,548

1,848 (584) 1,264

1,849 1,849

กลุ่มบริษัทรับรู้ขาดทุนจากการด้อยค่าที่ดินจำ�นวน 912 ล้านบาท และ 584 ล้านบาทซึ่งแสดงในงบการเงินรวมและ งบการเงิน เฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 580 ล้านบาท ในงบการเงินรวม) โดยเกณฑ์ที่กลุ่มบริษัทใช้ พิจารณามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนส่วนใหญ่อ้างอิงราคาตลาดของสินทรัพย์นั้นๆ บริษัทมีการนำ�อุปกรณ์ประเภทส่วนประกอบของตัวเร่งปฏิกิริยา (Platinum and Palladium) ที่ได้หักค่าเสื่อมราคาทั้ง จำ�นวนแล้วไปฝากธนาคารต่างประเทศแห่งหนึ่ง โดยได้รับอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.15 ถึง ร้อยละ 0.75 ต่อปี สำ�หรับ Platinum และร้อยละ 0.75 ต่อปีสำ�หรับ Palladium ซึ่ง Platinum จะครบกำ�หนดไถ่ถอนวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 และวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2553 ส่วน Palladium จะครบกำ�หนดไถ่ถอนวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 โดยใน ระหว่างปี พ.ศ. 2552 บริษัทได้บันทึกตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวรวมเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องจักรและอุปกรณ์ด้วยราคา ตลาด ณ วันที่นำ�ไปฝากธนาคารครั้งหลังสุดคิดเป็นจำ�นวนเงิน 191 ล้านบาท ซึ่งได้นำ�ไปหักออกจากต้นทุนขายในงบ กำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

158


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

15 สินทรัพย์ ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนที่แสดงอยู่ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท มีดังนี้

รายจ่ายในการ ขุดลอกร่องน้ำ�ทะเล รายจ่ายรอตัดบัญชี ล้านบาท ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

2,512 (1,092) 1,420

132 (5) 127

2,644 (1,097) 1,547

1,420 (126) 1,294

127 327 (26) 428

1,547 327 (152) 1,722

2,512 (1,218) 1,294

459 (31) 428

2,971 (1,249) 1,722

1,294 (126) 1,168

428 19 (50) 397

1,722 19 (176) 1,565

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ เพิ่มขึ้นระหว่างปี การตัดจำ�หน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ราคาทุน หัก ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ

รวม ล้านบาท

สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ เพิ่มขึ้นระหว่างปี การตัดจำ�หน่าย ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ราคาทุน 2,512 478 2,990 หัก ค่าตัดจำ�หน่ายสะสม (1,344) (81) (1,425) ราคาตามบัญชี - สุทธิ 1,168 397 1,565 การตัดจำ�หน่ายจำ�นวน 176 ล้านบาท ได้แยกแสดงอยู่ในต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริหารเป็นจำ�นวน 128 ล้านบาท และจำ�นวน 48 ล้านบาท ในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 128 ล้านบาท และ 24 ล้านบาทรวมอยู่ในต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการ บริหาร ตามลำ�ดับ)

159


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

16 สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น - สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

เงินมัดจำ�ค่าที่ดิน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า

227 (227) -

258 (258) -

227 (227) -

258 (258) -

44 44

43 43

43 43

39 39

เงินมัดจำ�เครื่องจักร อื่นๆ สุทธิ

17 เงินกู้ยืม

ส่วนของหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นที่ไม่มีหลักประกัน - สถาบันการเงิน - กิจการที่เกี่ยวข้องกัน รวมเงินกู้ยืมหมุนเวียน ส่วนของไม่หมุนเวียน หุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกัน - สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา หัก ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ สุทธิ - สกุลเงินบาท รวมหุ้นกู้ เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน รวมเงินกู้ยืมไม่หมุนเวียน รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 หมายเหตุ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

32

5,500 5,500

8,250 8,250

5,500 1,541 7,041

8,250 1,541 9,791

7,977 (38) 7,939 9,640 17,579 4,792 22,371 27,871

8,771 (47) 8,724 9,640 18,364 18,364 26,614

7,977 (38) 7,939 9,640 17,579 4,792 22,371 29,412

8,771 (47) 8,724 9,640 18,364 18,364 28,155

160


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

17 เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะสั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 เงินกู้ยืมระยะสั้นที่ไม่มีหลักประกันจากสถาบันการเงินจำ�นวน 5,500 ล้านบาทเป็น ตั๋วสัญญาใช้เงิน ที่มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.50 ถึงร้อยละ 1.55 ต่อปี โดยมีระยะเวลาครบกำ�หนดภายใน 1-3 เดือน (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 8,250 ล้านบาท ที่อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.55 ถึงร้อยละ 5.15 ต่อปี โดยมีระยะเวลาครบกำ�หนด ภายใน 2-5 เดือน) เงินกู้ยืมระยะยาว เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2552 บริษัทลงนามในสัญญาเงินกู้ยืมระยะยาวจำ�นวน 10,000 ล้านบาทกับธนาคาร พาณิชย์ในประเทศ 5 แห่งเพื่อใช้ในโครงการลงทุนของกลุ่มบริษัท บริษัทสามารถเบิกถอนวงเงินได้ตามความคืบ หน้าของโครงการที่ต้องการใช้เงินกู้ยืมดังกล่าวไม่มีหลักประกันและมีอายุสัญญา 8 ปี มีอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตรา ดอกเบี้ยเงินฝากประจำ�สูงสุด 6 เดือนบวกอัตราส่วนเพิ่มคงที่สำ�หรับวงเงินจำ�นวน 5,400 ล้านบาท (Facility A) และ อัตราดอกเบี้ย THBFIX 6 เดือนบวกอัตราส่วนเพิ่มคงที่สำ�หรับวงเงินจำ�นวน 4,600 ล้านบาท (Facility B) ดอกเบี้ย จะมีการชำ�ระทุกสิ้นเดือน ส่วนการจ่ายชำ�ระคืนเงินต้นแบ่งออกเป็น 10 งวด โดยจะเริ่มชำ�ระงวดแรก ณ วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555 (วันสุดท้ายของเดือนที่ 42 นับจากวันที่ตามสัญญา) และจะชำ�ระคืนเงินต้นทุกครึ่งปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทได้เบิกเงินกู้ยืมแล้วจำ�นวน 4,792 ล้านบาท หุ้นกู้ หุ้นกู้ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 จัดตามประเภทสกุลเงินได้ดังนี้ (1) หุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาเป็นหุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ โดยมีมูลค่าที่ตราไว้จำ�นวน 250 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาและมีส่วนลดในราคาร้อยละ 99.323 ของมูลค่าที่ตราไว้ รวมเป็นมูลค่าสุทธิทั้ง สิ้น 248.31 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา หุ้นกู้มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 6.375 ต่อปี และมีกำ�หนดการจ่าย ชำ�ระดอกเบี้ยทุกครึ่งปีเริ่มตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และหุ้นกู้จะครบกำ�หนดไถ่ถอนในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 (2) หุ้นกู้สกุลเงินบาทเป็นหุ้นกู้ที่ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ โดยมีมูลค่าที่ตราไว้จำ�นวน 10,000 ล้านบาท และ ได้เสนอขายแก่นักลงทุนประเภทสถาบันการเงินจำ�นวน 2 ครั้ง เป็นจำ�นวนเงิน 7,000 ล้านบาทและ 3,000 ล้าน บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ หุ้นกู้จำ�นวน 7,000 ล้านบาท หุ้นกู้จำ�นวน 3,000 ล้านบาท อายุหุ้นกู้ 7 ปี 10 ปี อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อปี (ร้อยละ) 5.05 5.29 กำ�หนดการจ่ายดอกเบี้ย ทุกครึ่งปี ทุกครึ่งปี ครบกำ�หนดไถ่ถอน วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เงื่อนไขของการเสนอขายหุ้นกู้ได้ระบุข้อจำ�กัดบางประการให้บริษัทต้องปฏิบัติตาม เช่น การไม่ก่อให้เกิดภาระผูกพัน ในสินทรัพย์ใดของบริษัทและบริษัทย่อยในอนาคต การควบรวมกิจการและขายสินทรัพย์ของบริษัทจะต้องได้รับการ ยินยอมจากผู้ถือหุ้นกู้ และการรักษาสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทของบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ทั้งทางตรงและทาง อ้อม เป็นต้น

161


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

17 เงินกู้ยืม (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมและหุ้นกู้ของกลุ่มบริษัทและบริษัท มีดังต่อไปนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินกู้ยืมและหุ้นกู้ - ณ อัตราคงที่ - ณ อัตราลอยตัว รวม

23,079 4,792 27,871

26,614 26,614

24,620 4,792 29,412

28,155 28,155

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (ร้อยละ) - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร (ตั๋วสัญญาใช้เงิน) - เงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - หุ้นกู้ - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

1.50 -1.55 3.55 -5.15 1.50 -1.55 3.55 -5.15 5.29 5.29 5.29 5.29 5.05 - 6.375 5.05 - 6.375 5.05 - 6.375 5.05 - 6.375 2.48 - 3.22 - 2.48 - 3.22 -

ระยะเวลาครบกำ�หนดของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้มีดังต่อไปนี้

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ครบกำ�หนดภายใน 1 ปี ครบกำ�หนดเกินกว่า 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกำ�หนดหลังจาก 5 ปี รวม

9,875 12,496 22,371

162

18,364 18,364

9,875 12,496 22,371

18,364 18,364


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

17 เงินกู้ยืม (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 สามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท ล้านบาท ราคาตามบัญชีต้นปี - สุทธิ เงินกู้ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น หุ้นกู้ซื้อคืน รับรู้ส่วนลดมูลค่าหุ้นกู้ กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (หมายเหตุฯ ข้อ 27) ราคาตามบัญชีปลายปี - สุทธิ

18,364 4,792 (421) 9

18,364 4,792 (421) 9

(373) 22,371

(373) 22,371

มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีและมูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้ในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทมีดังต่อไปนี้ ราคาตามบัญชี มูลค่ายุติธรรม พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท - สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา - สกุลเงินบาท รวม

7,939 9,640 17,579

8,724 9,640 18,364

7,848 9,550 17,398

6,545 9,989 16,534

มูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้สกุลเงินบาทคำ�นวณโดยใช้อัตราดอกเบี้ยที่อ้างอิงล่าสุดจากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยใน การคิดลดกระแสเงินสดเพื่อหามูลค่ายุติธรรม ส่วนมูลค่ายุติธรรมของหุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกาคำ�นวณโดย ใช้อัตราเฉลี่ยสุดท้ายที่อ้างอิงในตลาดตราสารหนี้ต่างประเทศ ณ วันปิดราคาล่าสุด มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะสั้นที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่มีมูลค่าใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีเนื่องจากระยะเวลาครบ กำ�หนดที่สั้น ส่วนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินมีอัตราดอกเบี้ยตามอัตราตลาด ดังนั้น มูลค่ายุติธรรมจึงใกล้ เคียงกับราคาตามบัญชี วงเงินสินเชื่อ กลุ่มบริษัทมีวงเงินสินเชื่อจากธนาคารพาณิชย์เป็นวงเงินรวม 25,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนใน กิจการโดยมีอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงตามอัตราตลาด

163


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

18 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - ส่วนที่หมุนเวียน 26 27 25 25 - ส่วนที่ไม่หมุนเวียน 85 87 85 86 รวม 111 114 110 111 หลักประกันของหนี้สินตามสัญญาเช่าระยะยาวคือการที่กลุ่มบริษัทจะต้องมอบคืนสิทธิในสัญญาเช่าแก่ผู้ให้เช่าใน กรณีที่กลุ่มบริษัทผิดสัญญา จำ�นวนเงินขั้นต่ำ�ที่ต้องจ่ายซึ่งบันทึกเป็นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน มีดังต่อไปนี้ พ.ศ. 2552 เงินต้น ดอกเบี้ย ยอดชำ�ระ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี ครบกำ�หนดชำ�ระหลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี รวม

26

6

32

27

6

33

85 111

6 12

91 123

87 114

10 16

97 130

พ.ศ. 2552 เงินต้น ดอกเบี้ย ยอดชำ�ระ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี ครบกำ�หนดชำ�ระหลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี รวม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 เงินต้น ดอกเบี้ย ยอดชำ�ระ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2551 เงินต้น ดอกเบี้ย ยอดชำ�ระ ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

25

6

31

25

6

31

85 110

6 12

91 122

86 111

10 16

96 127

มูลค่ายุติธรรมของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินใกล้เคียงกับราคาตามบัญชีของรายการดังกล่าว

164


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

19 เจ้าหนี้การค้า

หมายเหตุ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 32 5,897 กิจการอื่นๆ 3,114 รวม 9,011 ยอดเจ้าหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม จัดตามประเภทสกุลเงินได้ดังนี้

1,833 2,615 4,448

7,540 2,969 10,509

3,058 2,464 5,522

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินอื่นๆ รวม

6,483 2,520 4 4 9,011

2,287 1,800 355 6 4,448

7,984 2,520 4 1 10,509

3,364 1,800 355 3 5,522

จำ�นวนหุ้น ล้านบาท

หุ้นสามัญ ล้านบาท

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น ล้านบาท

รวม ล้านบาท

19,500 206 19,706 123 19,829

19,500 206 19,706 123 19,829

26,797 387 27,184 232 27,416

46,297 593 46,890 355 47,245

20 ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 การออกหุ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 การออกหุ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 หุ้นสามัญจดทะเบียนทั้งหมดมีจำ�นวน 20,475 ล้านหุ้น ซึ่งมีราคามูลค่าที่ตราไว้หุ้น ละ 1 บาท (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 20,475 ล้านหุ้น มีราคามูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) หุ้นจำ�นวน 19,829 ล้านหุ้นได้ ออกและชำ�ระเต็มมูลค่าแล้ว

165


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

20 ทุนเรือนหุ้นและส่วนเกินมูลค่าหุ้น (ต่อ) เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2550 สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ได้อนุญาตให้บริษัทสามารถดำ�เนินการจัดสรรหลักทรัพย์ตามโครงการออกหลักทรัพย์ ให้แก่ พนักงาน (“ESOP”) ได้โดยมีรายละเอียดดังนี้ - จัดสรรและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 907,868,559 หน่วย โดยมีราคาการใช้สิทธิคงที่เท่ากับ 2.88 บาท ต่อหุน้ และมีอตั ราการใช้สทิ ธิ 1 หน่วยใบสำ�คัญแสดงสิทธิมสี ทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญได้ 1 หุน้ อายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 4 ปี โดยจะครบกำ�หนดในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554 - จัดสรรและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 38,102,741 หน่วย ให้แก่อดีตพนักงานของกลุ่มบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานของบริษัทโดยสาเหตุเป็นไปตามระเบียบที่บริษัทกำ�หนด โดย มีราคาการใช้สิทธิคงที่เท่ากับ 2.88 บาทต่อหุ้น และมีอัตราการใช้สิทธิ 1 หน่วยใบสำ�คัญแสดงสิทธิมีสิทธิซื้อหุ้น สามัญได้ 1 หุ้น อายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ 4 ปี โดยจะครบกำ�หนดในวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554 - ระยะเวลาใช้สิทธิกำ�หนดเริ่มใช้สิทธิครั้งแรกได้เมื่อพ้นระยะเวลา 1 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำ�คัญแสดงสิทธิ โดยในปีที่ 2 และปีที่ 3 ใช้สิทธิได้ไม่เกินร้อยละ 50 และร้อยละ 25 ของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด และในปีที่ 4 ใช้สิทธิส่วนที่เหลือตามจำ�นวนที่ได้รับจัดสรร ในแต่ละปียังสามารถใช้สิทธิได้ในวันสุดท้ายของเดือน มีนาคม เดือนมิถุนายน เดือนกันยายน และเดือนธันวาคมของทุกปี หากในกรณีที่ในปีที่ 2 และ 3 ใช้สิทธิไม่ครบ จำ�นวน สามารถใช้สิทธิได้ในปีถัดไปจนกว่าจะครบอายุใบสำ�คัญแสดงสิทธิ บริษัทจะดำ�เนินการยกเลิกใบสำ�คัญแสดงสิทธิในส่วนที่เหลือที่ซึ่งไม่ได้จัดสรรให้แก่กลุ่มพนักงานและอดีตพนักงาน ของ กลุ่มบริษัทตามวันครบกำ�หนดที่ได้กล่าวข้างต้น การเปลี่ยนแปลงของจำ�นวนใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญชนิดระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือไม่ได้ส�ำ หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 (หน่วย) แสดงได้ดังนี้ จำ�นวน คงเหลือต้นปี - ใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 907,868,559 หน่วย 705,624,559 - ใบสำ�คัญแสดงสิทธิจำ�นวน 38,102,741 หน่วย 34,776,441 รวม 740,401,000

ออกให้ ระหว่างปี

ใช้สิทธิ ระหว่างปี

จำ�นวน คงเหลือ ปลายปี

- (119,459,200) 586,165,359 - (4,120,900) 30,655,541 - (123,580,100) 616,820,900

ในเดือนกรกฎาคมและเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 บริษัทได้จดทะเบียนเพิ่มทุนใหม่สำ�หรับการใช้สิทธิใบสำ�คัญแสดง สิทธิตามโครงการออกหลักทรัพย์ให้แก่พนักงาน (“ESOP”) จำ�นวน 123 ล้านหุ้น ในราคาการใช้สิทธิ 2.88 บาทต่อ หุ้น ซึ่งมีราคามูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท กลุ่มบริษัทมิได้บันทึกรายการจัดสรรใบสำ�คัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญดังกล่าวสำ�หรับมูลค่ายุติธรรมของใบสำ�คัญ แสดงสิทธิ ที่จัดสรรแล้วแต่ยังมิได้ใช้สิทธิในงบการเงินนี้

166


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

21 สำ�รองตามกฎหมาย งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 จัดสรรระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 จัดสรรระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

2,048 2,048 2,048

2,048 2,048 2,048

2,048 2,048 2,048

2,048 2,048 2,048

ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด พ.ศ. 2535 บริษัทต้องสำ�รองตามกฎหมายอย่างน้อยร้อยละ 5 ของกำ�ไร สุทธิหลังจากหักส่วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) สำ�รองตามกฎหมายไม่สามารถจัดสรรได้จนกว่าสำ�รองนี้จะมี มูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน บริษัทได้จัดสรรเงินสำ�รองตามกฎหมายครบเต็มจำ�นวนตามที่กฎหมายกำ�หนดแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 22 หุ้นของบริษัทที่ถือโดยบริษัทย่อย

บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด บริษัท น�ำ้ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด รวม

พ.ศ. 2552 ล้านบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 ล้านบาท

26 201 227

26 201 227

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 หุ้นสามัญของบริษัทที่ถือโดยบริษัทย่อย 2 แห่งได้แก่ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด และบริษัท น�ำ้ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด จำ�นวน 6,190,800 หุ้น และ 38,485,200 หุ้น ตามลำ�ดับ โดยหุ้น เหล่านี้แสดงด้วยราคาทุนและได้นำ�ไปแสดงไว้เป็นรายการหักก่อนแสดงส่วนของผู้ถือหุ้น

167


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

23 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย พ.ศ. 2552 ล้านบาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2551 ล้านบาท

48 9 (9) 48

49 11 (12) 48

ยอดคงเหลือต้นปี ส่วนแบ่งกำ�ไรสุทธิในบริษัทย่อย เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือปลายปี

24 รายได้อื่น/(ค่าใช้จ่ายอื่น) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ กำ�ไร/(ขาดทุน)จากการจำ�หน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ขาดทุนจากการจำ�หน่ายเงินลงทุนในหลักทรัพย์เพื่อค้า กำ�ไร/(ขาดทุน)จากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าเงินลงทุน เพื่อค้าที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นจริง กำ�ไร/(ขาดทุน)จากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง อนุพันธ์ทางการเงินที่รับรู้ผ่านงบกำ�ไรขาดทุน - กำ�ไร/(ขาดทุน)จากสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคา น�ำ้ มันสำ�เร็จรูปและราคาน�ำ้ มันดิบล่วงหน้าและ ส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน�ำ้ มันดิบที่เกิดขึ้นจริง - กำ�ไร/(ขาดทุน)จากสัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคา น�ำ้ มันสำ�เร็จรูปและราคาน�ำ้ มันดิบล่วงหน้าและ ส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน�ำ้ มันดิบทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง รายได้รับคืนจากภาษีนำ�เข้าศุลกากร ขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน อื่นๆ

รวม

65 41

163 105

90 39

256 105

(6) (62)

95 (140)

16 (4)

46 (129)

361 265 (18)

(1,088) 406 3

361 255 (18)

(1,088) 412 3

(231)

567

(231)

567

(339) 191 (255) 153 165

103 378 53 309 954

(339) 191 (584) 142 (82)

103 378 11 282 946

168


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

25 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าที่ปรึกษา ค่าเสื่อมราคา ค่าเช่า ค่าโฆษณา หนี้สงสัยจะสูญ อื่นๆ รวม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

26

1,412 229 168 121 36 605 2,571

14

1,921 270 147 128 62 24 672 3,224

1,279 228 123 104 36 (1) 604 2,373

1,517 269 100 90 62 (180) 608 2,466

26 ค่าใช้จ่ายพนักงาน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินเดือนและค่าแรง โบนัส จ่ายสมทบเข้ากองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เงินชดเชยกรณีพนักงานออกจากงาน อื่นๆ รวม

2,386 945 226 5 1,047 4,609

2,855 549 218 851 654 5,127

2,068 853 208 5 1,021 4,155

2,451 499 199 563 620 4,332

ค่าใช้จ่ายพนักงานจำ�นวน 3,197 ล้านบาท และ 2,876 ล้านบาท ได้รวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนขายในงบกำ�ไร ขาดทุนรวม และงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 3,206 ล้านบาท และ 2,815 ล้านบาทในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ) ส่วนจำ�นวน 1,412 ล้านบาท และ 1,279 ล้านบาทได้รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริหารในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบ กำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามลำ�ดับ (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 1,921 ล้าน บาท และ 1,517 ล้านบาทในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัท ตามลำ�ดับ) เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 กลุ่มบริษัทได้จัดประเภทค่าใช้จ่ายพนักงานจำ�นวน 92 ล้านบาทและ 84 ล้านบาทที่แสดงรวม อยู่ในงบกำ�ไรขาดทุนรวมและงบกำ�ไรขาดทุนเฉพาะบริษัทสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ตามลำ�ดับ ไปรวมแสดงอยู่ในรายการค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารซึ่งเป็นไปตามประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าดังที่ กล่าวในหมายเหตุฯ ข้อ 2.1

169


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

27 ต้นทุนทางการเงิน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ดอกเบี้ยจ่าย กำ�ไรจากอัตราแลกเปลี่ยนจากหุ้นกู้ที่เกิดขึ้นจริง (กำ�ไร)/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจากหุ้นกู้ที่ยัง ไม่เกิดขึ้นจริง กำ�ไรจากสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยล่วงหน้าที่เกิดขึ้นจริง (กำ�ไร)/ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่าง ประเทศและสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยล่วงหน้า ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง (หมายเหตุฯ ข้อ 35 (จ)) ค่าใช้จ่ายในการกู้ยืม กำ�ไรจากการซื้อคืนหุ้นกู้ รวม

1,306 (7)

1,398 (2)

1,306 (7)

1,397 (2)

(373)

299

(373)

299

(113)

(77)

(113)

(77)

224 40 (86) 991

(212) (10) 1,396

224 40 (86) 991

(212) (10) 1,395

เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 กลุ่มบริษัทได้จัดประเภทรายการกำ�ไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่ เกี่ยวข้องกับเงินกู้ยืม และกำ�ไร/ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ยล่วงหน้าที่เกี่ยว กับเงินกู้ยืมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนทางการเงิน ดังนั้นจึงได้จัดประเภทของตัวเลขเปรียบเทียบให้สอดคล้องกัน 28 ภาษีเงินได้

ภาษีเงินได้ - สำ�หรับปีปัจจุบัน

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 51

41

-

ภาษีเงินได้คำ�นวณจากกำ�ไรสุทธิทางภาษีในอัตราร้อยละ 30 ต่อปีซึ่งเป็นของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีขาดทุนสะสมยกมาซึ่งยังสามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ทางภาษีได้

170

-


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

29 กำ�ไร/(ขาดทุน)ต่อหุ้น กำ�ไร/(ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานที่เป็นของบริษัทใหญ่คำ�นวณโดยการหารกำ�ไร/(ขาดทุน) สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัท ใหญ่ด้วยจำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักตามจำ�นวนหุ้นที่ออกจำ�หน่ายในระหว่างปี

กำ�ไร/(ขาดทุน)สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ (ล้านบาท) จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยที่ถือโดยบุคคลภายนอก ระหว่างปี (ล้านหุ้น) กำ�ไร/(ขาดทุน)ต่อหุ้นขั้นพื้นฐานที่เป็นของบริษัทใหญ่ (บาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 5,416

(18,262)

4,185

(19,558)

19,737

19,584

19,737

19,584

0.27

(0.93)

0.21

(1.00)

ในการคำ�นวณกำ�ไร/(ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลดคำ�นวณโดยการหารกำ�ไร/(ขาดทุน)สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ด้วย จำ�นวน หุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักที่ได้รวมผลกระทบจากการแปลงใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญสำ�หรับปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 เป็นจำ�นวน 81 ล้านหุ้น และ 285 ล้านหุ้น ตามลำ�ดับ จำ�นวนหุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายแล้วตามวิธีถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (ปรับลด) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านหุ้น ล้านหุ้น ล้านหุ้น ล้านหุ้น จำ�นวนหุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายแล้วตามวิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (ขั้นพื้นฐาน) ผลกระทบจากการแปลงใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญ จำ�นวนหุ้นสามัญที่ออกจำ�หน่ายแล้วตามวิธี ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนัก (ปรับลด)

กำ�ไร/(ขาดทุน)สุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ (ล้านบาท) จำ�นวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักที่ใช้คำ�นวณ กำ�ไรต่อหุ้นปรับลด (ล้านหุ้น) กำ�ไร/(ขาดทุน)ต่อหุ้นปรับลดที่เป็นของบริษัทใหญ่ (บาท)

19,737

19,584

19,737

19,584

81

285

81

285

19,818

19,869

19,818

19,869

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

171

5,416

(18,262)

4,185

(19,558)

19,818

19,869

19,818

19,869

0.27

(0.92)

0.21

(0.98)


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

30 เงินปันผล ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีของบริษัทเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2552 มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลจากกำ�ไร สะสมของ ปี พ.ศ. 2551 ในอัตราหุ้นละ 0.18 บาทต่อหุ้น สำ�หรับหุ้นสามัญจำ�นวน 19,706 ล้านหุ้นเป็นจำ�นวนเงิน ทัง้ สิน้ 3,540 ล้านบาท ทัง้ นี้ บริษทั ได้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลไปแล้วในระหว่างปี พ.ศ. 2551 ในอัตราหุน้ ละ 0.10 บาท ต่อหุ้น เป็นจำ�นวนเงินรวม 1,964 ล้านบาท คงเหลือเงินปันผลจ่ายในอัตราหุ้นละ 0.08 บาทต่อหุ้นเป็นจำ�นวนเงิน รวม 1,576 ล้านบาท โดยเงินปันผลดังกล่าวได้จ่ายให้ผู้ถือหุ้นแล้วในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2552 (พ.ศ. 2551 จ่าย เงินปันผลจากกำ�ไรสุทธิของปี พ.ศ. 2550 ในอัตราหุ้นละ 0.20 บาทต่อหุ้น สำ�หรับหุ้นจำ�นวน 19,500 ล้านหุ้น เป็น จำ�นวนรวม 3,900 ล้านบาท และอัตราหุ้นละ 0.10 บาทต่อหุ้น สำ�หรับหุ้นจำ�นวน 19,640 ล้านหุ้น เป็นจำ�นวนรวม 1,964 ล้านบาท รวมเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 5,864 ล้านบาท) ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2552 มีมติอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลในอัตราหุ้น ละ 0.08 บาท สำ�หรับหุ้นจำ�นวน 19,719 ล้านหุ้น เป็นจำ�นวนเงินรวมทั้งสิ้น 1,578 ล้านบาท บริษัทได้จ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในระหว่างปี พ.ศ. 2552 31 สิทธิประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนอนุมัติให้บริษัทและบริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับสิทธิประโยชน์หลายประการในฐานะผู้ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 เกี่ยวกับการผลิต Acetylene Black และการผลิต Compounded Plastic และส่วนขยายกำ�ลังการผลิต รวมถึงโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานร่วมและไอน้ำ� (‘CHP’) ซึ่งพอสรุปสาระสำ�คัญได้ดังนี้ (ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษีสำ�หรับวัตถุดิบและวัสดุจำ�เป็นรวมถึงเครื่องจักรที่ ได้รับอนุมัติโดยคณะ กรรมการส่งเสริมการลงทุน (ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่งเสริมมีก�ำ หนด เวลาห้าปีถึงแปดปี นับแต่วันที่เริ่มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (ค) ให้ได้รับลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 สำ�หรับกำ�ไรสุทธิที่ได้จากการประกอบกิจการที่ได้รับการส่ง เสริมมีกำ�หนดเวลาห้าปีนับแต่วันสิ้นสุดสิทธิประโยชน์ตามข้อ (ข) (ง) ให้ได้รับอนุญาตให้หักค่าขนส่ง ค่าไฟฟ้า และค่าประปาเป็นสองเท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นระยะเวลาอีก 10 ปี นับแต่วันที่มีรายได้ เนื่องจากเป็นกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน บริษัทและบริษัทย่อยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำ�หนดตาม ที่ระบุไว้ในบัตรส่งเสริมการลงทุน

172


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

31 สิทธิประโยชน์ตามบัตรส่งเสริมการลงทุน (ต่อ) รายได้จากการขายที่ ได้รับการส่งเสริมการลงทุนและที่ ไม่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนที่แสดงในงบกำ�ไรขาดทุน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 แสดงได้ดังนี้ ส่วนที่ได้รับ การส่งเสริม ล้านบาท

งบการเงินรวม/งบการเงินเฉพาะบริษัท ส่วนที่ไม่ได้รับ การส่งเสริม รวม ล้านบาท ล้านบาท

พ.ศ. 2552 รายได้จากการขาย - ต่างประเทศ - ในประเทศ รวม

9,292 32,737 42,029

36,054 94,481 130,535

45,346 127,218 172,564

พ.ศ. 2551 รายได้จากการขาย - ต่างประเทศ - ในประเทศ รวม

13,469 44,237 57,706

40,424 156,324 196,748

53,893 200,561 254,454

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน กิจการและบุคคลที่ควบคุมบริษัทหรือถูกควบคุมโดยบริษัทหรืออยู่ภายใต้การควบคุมเดียวกับบริษัททั้งทางตรงหรือ ทางอ้อมไม่ว่าจะโดยทอดเดียวหรือหลายทอด กิจการและบุคคลดังกล่าวเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท บริษัทย่อยและบริษัทย่อยลำ�ดับถัดไป บริษัทร่วมและบุคคลที่เป็นเจ้าของส่วนได้เสียในสิทธิออกเสียงของบริษัทซึ่งมี อิทธิพลอย่างเป็นสาระสำ�คัญเหนือกิจการ ผู้บริหารสำ�คัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริษัทตลอดจนสมาชิก ในครอบครัวที่ใกล้ชิดกับบุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็นบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันซึ่งอาจมีขึ้นได้ต้องคำ�นึงถึงรายละเอียดของ ความสัมพันธ์มากกว่ารูปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 ได้แก่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งถือ หุ้นในบริษัทคิดเป็นอัตราร้อยละ 36.68 และ 36.77 ตามลำ�ดับ ส่วนผู้ถือหุ้นในลำ�ดับรองลงมาได้แก่ ธนาคารออมสิน กองทุนรวมวายุภักษ์หนึ่ง และกองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญข้าราชการ (กบข.)

173


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) นโยบายการกำ�หนดราคาสำ�หรับรายการแต่ละประเภทอธิบายได้ดังต่อไปนี้ รายการ รายได้จากการขายสินค้าและซื้อสินค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ส่วนใหญ่ได้แก่ ค่าผ่านท่อและค่าเช่าถังที่คลังสินค้า ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย

นโยบายการกำ�หนดราคา ราคาตลาด ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา อัตราที่ระบุไว้ในสัญญาซึ่งเป็นอัตราร้อยละ 5.29, MLR, MLR บวกร้อยละ 2, อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ�เฉลี่ย ธนาคารพาณิชย์ในประเทศสี่แห่งและร้อยละ 7.5 ราคาที่ตกลงกันตามสัญญา ตามอัตราที่ได้รับอนุมัติโดยคณะกรรมการและผู้ถือหุ้น

ค่าเช่าถังและค่าบริการ ค่าตอบแทนกรรมการ ได้แก่ เบี้ยประชุมและโบนัส

รายการซื้อสินค้าจากผู้ถือหุ้นใหญ่ - ผู้ถือหุ้นใหญ่ทำ�หน้าที่ให้บริการดำ�เนินการจัดการเกี่ยวกับการซื้อและการชำ�ระ เงินค่าซื้อสินค้า ซึ่งค่าสินค้าบวกอัตราค่าบริการที่เรียกเก็บโดยผู้ถือหุ้นใหญ่ใกล้เคียงกับราคาที่กลุ่มบริษัทจัดหาเอง นอกจากนี้ บริษัทยังมีการทำ�รายการเกี่ยวกับอนุพันธ์เพื่อป้องกันความเสี่ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์กับผู้ถือ หุ้นใหญ่ด้วย (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมของแต่ละสัญญาในหมายเหตุฯ ข้อ 35 (จ)) รายการที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสรุปได้ดังนี้

(ก) รายการซื้อขายสินค้า การให้บริการและรับบริการ รายการระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 มีดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ขายสินค้า - ผู้ถือหุ้นใหญ่ - บริษัทย่อย - บุคคลหรือบริษัทอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ซื้อสินค้า - ผู้ถือหุ้นใหญ่ - บริษัทย่อย - บุคคลหรือบริษัทอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ค่าเช่าถังและค่าบริการ - บริษัทย่อย

7,451 5,397

18,185 10,366

7,447 16,438 5,397

18,185 21,463 10,366

98,468 6,194

149,849 7,398

98,468 11,194 6,194

149,849 15,881 7,398

-

-

-

167

174


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

รายการที่สำ�คัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันสรุปได้ดังนี้ (ต่อ) (ก) รายการซื้อขายสินค้า การให้บริการและรับบริการ (ต่อ) รายการระหว่างปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ 2551 มีดังนี้ (ต่อ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร - ผู้ถือหุ้นใหญ่ - บริษัทย่อย - บุคคลหรือบริษัทอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ และรายได้อื่น/(ค่าใช้จ่ายอื่น) - ผู้ถือหุ้นใหญ่ - บริษัทย่อย - บุคคลหรือบริษัทอื่นที่เกี่ยวข้องกัน ดอกเบี้ยจ่าย - บริษัทย่อย ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร - บุคคลหรือบริษัทอื่นที่เกี่ยวข้องกัน

49 74

24 75

49 367 74

24 534 71

(229) 38

671 107

(229) 55 38

671 127 106

-

-

-

1

92

189

84

179

(ข) ลูกหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น

993 481 1,474 1,474

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

175

307 156 463 463

989 1,580 481 3,050 (5) 3,045

307 825 156 1,288 (5) 1,283


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) (ค) เงินให้กู้ยืมระยะสั้นและลูกหนี้กิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัทย่อย รวม หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ ลูกหนี้อื่นและเงินทดรองจ่าย ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทย่อย บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ รวม สุทธิ

-

-

212

211

-

-

451 663 (495) 168

443 654 (495) 159

324 64 388 (60) 328 328

134 64 198 (59) 139 139

324 147 46 517 (125) 392 560

134 146 46 326 (125) 201 360

อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน คือ อัตราร้อยละ 5.29 ต่อปี (พ.ศ. 2551 อัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 5.29 ต่อปี) บริษัทไม่มีรายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันที่มีสาระ สำ�คัญระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552

176


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) (ง) เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สุทธิ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินให้กู้ยืมระยะยาว บริษัทย่อย ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัทย่อย หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ

-

-

6,602

8,072

-

-

255 6,857 (3,017) 3,840

262 8,334 (3,017) 5,317

อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน คือ อัตราร้อยละ 0.70 ถึงร้อยละ 1.69 ต่อปี (พ.ศ. 2551 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.31 ถึงร้อยละ 3.00 ต่อปี) ซึ่งเป็นดอกเบี้ยที่เกิดจากบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด และบริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด รายการเคลื่อนไหวของเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 มีดังนี้

ยอดคงเหลือต้นปี - สุทธิ เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือปลายปี - สุทธิ

177

งบการเงินรวม ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท

-

8,072 (1,470) 6,602


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) (จ) เจ้าหนี้การค้ากิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น รวม

5,407 490 5,897

1,777 56 1,833

5,407 1,646 487 7,540

1,777 1,232 49 3,058

(ฉ) เงินกู้ยืมระยะสั้นและเจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินกู้ยืมระยะสั้น บริษัทย่อย

-

-

1,541

1,541

ดอกเบี้ยค้างจ่าย บริษัทย่อย

-

-

751

751

12 4 16 16

21 21 21

12 33 1 46 2,338

37 18 55 2,347

เจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจ่าย ผู้ถือหุ้นใหญ่ บริษัทย่อย กิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น รวม

อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำ�หนักของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน คือ อัตราร้อยละ 5.29 ต่อปี (พ.ศ. 2551 อัตราดอกเบี้ย ร้อยละ 5.29 ต่อปี)

178


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) (ฉ) เงินกู้ยืมระยะสั้นและเจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันระหว่างงวดรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 มีดังนี้

ยอดคงเหลือต้นปี เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือปลายปี

งบการเงินรวม ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท ล้านบาท

-

1,541 1,541

(ช) เหตุการณ์ระหว่างบริษัทกับบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด (“บริษัทย่อย”) เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริหารของบริษัทมีมติอนุมัติให้บริษัทซื้อสินทรัพย์จากบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด ในราคาไม่เกิน 3,700 ล้านบาท โดยวิธีการหักกลบลบหนี้ที่มีกับบริษัท และ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ซึ่งการหักกลบลบหนี้กันดังกล่าวทั้งหมดเป็นดังนี้ สินทรัพย์ถาวรของบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด ตามราคามูลค่ายุติธรรมเฉลี่ย ซึ่งประเมินโดยผู้ประเมินอิสระของบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัดและบริษัท สินทรัพย์และหนี้สิน - สุทธิระหว่างบริษัทและบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัด สินทรัพย์และหนี้สิน - สุทธิระหว่างบริษัทและบริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด จำ�นวนเงินที่ตัดเป็นหนี้สูญ

ล้านบาท 3,700 (3,162) (630) (92)

หนี้สูญจำ�นวน 92 ล้านบาท กลุ่มบริษัทได้ตั้งสำ�รองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังกล่าวเต็มจำ�นวนแล้วในอดีต สินทรัพย์ ถาวรของบริษัท ระยอง แทงค์ เทอร์มินัล จำ�กัดซึ่งนำ�มาใช้ในการหักกลบลบหนี้กันใช้มูลค่ายุติธรรมโดยวิธีราคา เปลี่ยนแทน (Replacement cost basis)

179


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

32 รายการกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (ต่อ) (ซ) ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวม

32 60 92

96 93 189

24 60 84

86 93 179

เนื่องจากการปรับโครงสร้างการบริหารตามนโยบายภายในของกลุ่มบริษัทในปี พ.ศ. 2552 ทำ�ให้จำ�นวนผู้บริหารซึ่ง ต้องเปิดเผยผลตอบแทนตามข้อกำ�หนดมีจำ�นวนลดลงจากปีก่อน 33 รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม กลุ่มบริษัทมีรายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิม คือ คุณประชัย เลี่ยวไพรัตน์และครอบครัว และกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม ผู้บริหารเดิมซึ่ง ในอดีตเคยเป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โดยยอดคงค้างจากเหตุการณ์ในอดีตส่วนใหญ่ที่กลุ่มบริษัทมีกับ กลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิมได้มีการตั้งสำ�รองเต็มจำ�นวนแล้ว รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท เงินให้กู้ยืมระยะสั้น บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ ออโตเมชั่น ซิสเต็ม จำ�กัด

3,482 829 1,685 1

3,482 829 1,685 1

3,476 829 1,685 1

3,476 829 1,685 1

ดอกเบี้ยค้างรับ บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ โฮลดิ้ง จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ ออโตเมชั่น ซิสเต็ม จำ�กัด

1,709 440 965 1

1,709 440 965 1

1,705 440 965 1

1,705 440 965 1

180


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

33 รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม (ต่อ) รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 สามารถ สรุปได้ดังต่อไปนี้ (ต่อ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ลูกหนี้อื่นและเงินทดรองจ่าย บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด เงินทดรองจ่ายแก่ผู้บริหารเดิม อื่นๆ ตั๋วเงินรับค่าที่ดิน บริษัท อุตสาหกรรมเหล็กกล้าไทย จำ�กัด (มหาชน) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ เจ้าหนี้อื่นและเงินทดรองจ่าย บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด เจ้าหนี้ผู้บริหารเดิม รวม

181

893 394 4

893 394 4

801 26 5

801 26 5

1,739 12,142 (12,070) 72

1,739 12,142 (12,070) 72

1,739 11,673 (11,635) 38

1,739 11,673 (11,635) 38

12 13 25

12 71 83

12 12

12 12


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

33 รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม (ต่อ) รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้ (ต่อ)

หมายเหตุ เงินลงทุน บริษัท ไทย อินเตอร์เนชั่นแนล แท้งเกอร์ จำ�กัด บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด บริษัท อุตสาหกรรมเหล็กกล้าไทย จำ�กัด (มหาชน) บริษัท อุตสาหกรรมสหธัญพืช จำ�กัด หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า สุทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

49.99 25.00 25.00

141 74 -

141 74 -

74 -

74 -

16.24 18.05

673 99 987 (987) -

673 99 987 (987) -

673 41 788 (788) -

673 41 788 (788) -

บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัท ไทย อินเตอร์เนชั่นแนล แท้งเกอร์ จำ�กัด บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด และบริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทที่จัดตั้งและดำ�เนินงานในประเทศไทยในสัดส่วนร้อยละ 49.99 ร้อยละ 25 และ ร้อยละ 25 ของจำ�นวนหุ้นสามัญทั้งหมดในแต่ละบริษัท ตามลำ�ดับ อย่างไรก็ตาม บริษัทไม่มีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการบริษัททั้ง 3 แห่ง ส่วนเงินลงทุนในอีก 2 บริษัทที่เหลือซึ่งเป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิมเป็นเงิน ลงทุนในหุ้นสามัญ โดยกลุ่มบริษัทได้พิจารณาการด้อยค่าของเงินลงทุนทั้งหมดดังกล่าวเต็มจำ�นวนแล้ว ขณะนี้ผู้บริหารของบริษัทอยู่ระหว่างการดำ�เนินคดีฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกับกลุ่มผู้บริหารเดิมเพื่อชดเชยค่าเสีย หายจากการดำ�เนินธุรกิจ ซึ่งแต่ละคดียังอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลที่เกี่ยวข้อง

182


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551 กลุ่มบริษัทมีสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่าง ประเทศ ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สินทรัพย์ สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร รวม หนี้สิน สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา - หุ้นกู้ สกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา สกุลเงินยูโร สกุลเงินอื่นๆ รวม

2,105 23 2,128

3,836 3,836

2,034 23 2,057

3,759 3,759

7,939 2,699 40 4 10,682

8,724 1,800 355 6 10,885

7,939 2,699 40 2 10,680

8,724 1,800 355 3 10,882

มูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชีของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า ลูกหนี้ระยะสั้นอื่นๆ เจ้าหนี้ การค้า เจ้าหนี้อื่น เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน และเงินกู้ยืม ระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกันมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรมเนื่องจากมีระยะเวลาครบกำ�หนดที่สั้น เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันมีมูลค่าราคาตามบัญชี ใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรมเนื่องจากมีอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัว มูลค่ายุติธรรมของเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้ได้เปิดเผยในหมายเหตุฯ ข้อ 17

183


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

35 ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสัญญาที่สำ�คัญ (ก) ภาระผูกพันรายจ่ายฝ่ายทุน งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาที่ยังไม่รับรู้ในงบการเงิน - สัญญาซื้อเครื่องจักรและก่อสร้างโรงงาน - สัญญาค่าที่ปรึกษา รวม

5,611 94 5,705

1,969 128 2,097

5,611 94 5,705

1,917 128 2,045

(ข) ภาระผูกพันจากสัญญาเช่าดำ�เนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

สัญญาเช่าพื้นที่อาคารสำ�นักงาน : - ภายในระยะเวลา 1 ปี สัญญาเช่าที่ดิน : - ภายในระยะเวลา 1 ปี - ระยะเวลาหลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี - ระยะเวลาหลังจาก 5 ปี รวม ภาระผูกพันอื่นๆ : เลตเตอร์ออฟเครดิตที่ยังไม่ได้ใช้

184

22

17

22

12

4 4 6 14 36

6 11 17 34

1 1 6 8 30

12

231

438

9

344


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

35 ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สัญญาที่สำ�คัญ (ต่อ) (ค) หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น : - หนังสือค้ำ�ประกันจากธนาคาร - อื่นๆ รวม

352 55 407

416 57 473

351 55 406

415 57 472

(ง) คลังน้ำ�มันของบริษัทและพื้นที่แนวเวนคืนเพื่อก่อสร้างถนน ถังน้ำ�มันบางส่วนของบริษัทตั้งอยู่บนพื้นที่สีเหลือง (เขตชุมชนหนาแน่นน้อย) และพื้นที่สีเขียว (เขตนันทนาการและ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) ของข้อกำ�หนดผังเมืองรวมระยอง ซึ่งห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตดังกล่าวเพื่อทำ�การก่อสร้าง โรงงาน หรือสถานที่เก็บน้ำ�มันเชื้อเพลิงและก๊าซ และพื้นที่บางส่วนเป็นแนวเวนคืนเพื่อก่อสร้างถนน 2 สาย ปัจจุบัน บริษัทอยู่ระหว่างดำ�เนินการเพื่อขอแก้ไขผังเมืองระยองบริเวณคลังน้ำ�มันของบริษัทจากพื้นที่สีเหลืองและสีเขียว ให้เป็นพื้นที่สีม่วง (เขตอุตสาหกรรม) และขอแก้ไขร่างถนน ทั้ง 2 สายออกจากบริเวณพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งผลกระทบ จากการไม่สามารถขอแก้ไขผังเมืองและการตัดถนน 2 สาย อาจส่งผลกระทบต่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ที่ใช้ในการ ดำ�เนินงานของบริษัท โดยสำ�นักผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะมีมติให้นำ�เรื่องนี้ไปพิจารณาในการปรับปรุงผังเมือง รวมระยองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (จ) สัญญาที่สำ�คัญ บริษัทมีสัญญาที่เกี่ยวข้องกับอนุพันธ์ทางการเงิน ดังต่อไปนี้ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้จำ�นวน 2 สัญญาที่บริษัททำ�กับสถาบันการเงิน 2 แห่งโดยแต่ละสัญญามี จำ�นวนเงิน 50 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาเป็นจำ�นวนเงินรวม 100 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยแลกเปลี่ยนอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 6.375 ต่อปีเป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว โดยปีที่ 1-4 ในอัตราร้อยละ 5.485 และร้อยละ 5.5 ตาม ลำ�ดับ และปีที่ 5-10 จ่ายอัตราดอกเบี้ยลอยตัว LIBOR 6 เดือนบวกอัตราส่วนเพิ่ม สัญญามีระยะเวลา 10 ปี สัญญา เริ่มตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ภายหลังสิ้นปีที่ 4 สถาบันการเงินดังกล่าวมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้

185


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

35 ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สัญญาที่สำ�คัญ (ต่อ) (จ) สัญญาที่สำ�คัญ (ต่อ) บริษัทมีสัญญาที่เกี่ยวข้องกับอนุพันธ์ทางการเงิน ดังต่อไปนี้ (ต่อ) สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า บริษัทได้ทำ�สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ดังต่อไปนี้ ระยะสั้น - สัญญาขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าจำ�นวน 40 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกาด้วยสกุลเงินบาท โดยจะครบกำ�หนด ภายในระยะเวลา 1 ปี ระยะยาว - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินต้นที่เป็นเงินตราต่างประเทศของหุ้นกู้จำ�นวน 75 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยแลกเปลี่ยน เป็นสกุลเงินบาทตามอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยของอัตราแลกเปลี่ยนแต่ละสัปดาห์หักด้วยส่วนลด 0.87 บาทมีผล ตั้งแต่วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 สัญญาแลกเปลีย่ นส่วนต่างราคาน�ำ้ มันสำ�เร็จรูปและราคาน�ำ้ มันดิบล่วงหน้า และส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน�ำ้ มันดิบ บริษัทได้ทำ�สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาน้ำ�มันสำ�เร็จรูปและราคาน้ำ�มันดิบล่วงหน้า (Crack Spread Swap Contracts) จำ�นวนหลายฉบับกับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) โดยแลกเปลี่ยนส่วนต่างของราคาน้ำ�มันลอยตัว ถัวเฉลี่ยของเดือนที่มีการจ่ายชำ�ระเป็นส่วนต่างราคาน้ำ�มันคงที่ สัญญามีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษทั มีปริมาณน้ำ�มันคงเหลือที่ได้ท�ำ ไว้ภายใต้สญั ญาดังกล่าว ทั้งสิ้นจำ�นวน 0.44 ล้านบาร์เรล (พ.ศ. 2551 จำ�นวน 0.30 ล้านบาร์เรล) บริษัทได้ทำ�สัญญาแลกเปลี่ยนส่วนต่างราคาระหว่างเวลาของน้ำ�มันดิบ (Time Spread Swap Contracts) กับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) โดยแลกเปลี่ยนราคาน้ำ�มันดิบลอยตัวถัวเฉลี่ยระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 กับราคาน้ำ�มันดิบลอยตัวถัวเฉลี่ยของเดือนถัดไป ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมี ปริมาณน้ำ�มันคงเหลือที่ได้ทำ�ไว้ภายใต้สัญญาดังกล่าวทั้งสิ้นจำ�นวน 8.55 ล้านบาร์เรล (พ.ศ. 2551 ไม่มี)

186


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

35 ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น สัญญาที่สำ�คัญ (ต่อ) (จ) สัญญาที่สำ�คัญ (ต่อ) สัญญาสำ�คัญอื่นๆ ที่ทำ�กับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน สัญญาซื้อขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูปจากคลังน้ำ�มันจังหวัดชุมพร เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2549 บริษัทได้ทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูปจากคลังน้ำ�มันชุมพรกับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) โดยบริษัทตกลงขายน้ำ�มันสำ�เร็จรูปจากคลังน้ำ�มันจังหวัดชุมพรในปริมาณและราคา รวมทั้งค่า บริการที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ เป็นไปตามที่กำ�หนดไว้ในสัญญา โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ปี และครบกำ�หนดในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ทั้งนี้ บริษัทได้มีการต่อสัญญาไปอีก 3 ปี จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ข้อกำ�หนดต่างๆ ในสัญญาเป็นไปตามที่กำ�หนดในสัญญาใหม่ สัญญาจัดหาน้ำ�มันดิบและวัตถุดิบอื่น บริษัทได้ทำ�สัญญาซื้อน้ำ�มันดิบและวัตถุดิบอื่นกับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) สัญญามีกำ�หนด 1 ปีและครบกำ�หนด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยปริมาณและราคาของการซื้อน้ำ�มันดิบและวัตถุดิบอื่นเป็นไปตามที่กำ�หนดใน สัญญา และบริษัทได้มีการต่อสัญญาไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553 โดยข้อกำ�หนดต่างๆ ในสัญญาเป็นไป ตามที่กำ�หนดในสัญญาใหม่

187


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (1) คดีความฟ้องขอให้เพิกถอนหรือยกเลิกสัญญาขายหุน้ ในส่วนทุนเดิมและส่วนทุนใหม่ - คดีแดงหมายเลขทีฟ่ . 8/2548 ตอนที่ 10/5 ตอนที่ 28 และตอนที่ 34 คดีที่กลุ่มผู้บริหารชุดเดิมได้ยื่นคำ�ร้องขอให้ศาลล้มละลายกลางเพิกถอนหรือยกเลิกสัญญาขายหุ้นในส่วนทุนเดิม และส่วนทุนใหม่ และกลุ่มผู้บริหารชุดเดิมและผู้ถือหุ้นรายย่อยของบริษัทอีก 4 ราย ได้ยื่นคำ�ร้องขอให้มีการขาย ส่วนทุน ตามแผนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม โดยศาลล้มละลายกลางได้มีคำ�สั่งยกคำ�ร้องดังกล่าว กลุ่มผู้บริหารชุดเดิมจึง ยื่นอุทธรณ์เพื่อคัดค้านคำ�สั่งศาลล้มละลายกลางนี้เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2548 และผู้บริหารชุดใหม่ได้ยื่น แก้อุทธรณ์เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ผลการพิจารณาตัดสิน: ปัจจุบันในส่วนของคดีความฟ้องขอให้เพิกถอนหรือยกเลิกสัญญาขายหุ้นในส่วนทุนเดิม คือ ฟ. 8/2548 ตอนที่ 28 อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา ส่วนคดีความฟ้องขอให้เพิกถอนหรือยกเลิกสัญญาขายหุ้นในส่วนทุนใหม่ คือ ฟ.8/2548 ตอนที่ 10/5 ศาลฎีกาได้มีคำ�พิพากษาเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ตามคำ�สั่งศาลล้มละลายกลาง โดยเห็นว่าสัญญาซื้อขายหุ้นในส่วนทุนเดิมสอดคล้องไม่ขัดต่อข้อกำ�หนดของแผน การอุทธรณ์ของผู้บริหารเดิมฟัง ไม่ขึ้นและคำ�สั่งของศาลล้มละลายกลางมีความเห็นชอบแล้ว และคดีฟ้องขอให้เพิกถอนหรือยกเลิกสัญญาขายหุ้นใน ส่วนทุนใหม่ตอนที่ 34 ศาลฎีกาได้มีคำ�พิพากษาเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2551 โดยเห็นว่าการที่ผู้ร้องยื่นคำ�ร้อง ต่อศาลล้มละลายกลางในประเด็นผู้บริหารแผนดำ�เนินการจัดหาผู้ร่วมลงทุนและทำ�ข้อตกลงขายหุ้นส่วนทุนตามแผน โดยชอบหรือไม่เป็นการดำ�เนินกระบวนการพิจารณาซ้ำ� ต้องห้าม กรณีนี้จึงไม่จำ�เป็นต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ข้ออื่นของ ผู้ร้องทั้งสอง (2) คดีความเกี่ยวกับการฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ - คดีดำ�หมายเลขที่ พก. 5/2550 กลุ่มผู้บริหารชุดเดิมได้ยื่นคำ�ร้องต่อศาลล้มละลายกลาง ขอให้เพิกถอนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2549 โดยอ้างว่าการประชุมผู้ถือหุ้นครั้งนี้ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ผลการพิจารณาตัดสิน: ศาลล้มละลายกลางพิพากษายกฟ้องเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2551 โดยโจทก์ ได้ยื่นอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา ขณะนี้คดี จึงอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา

188


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (ต่อ) (3) คดีความเกีย่ วกับการฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อย - คดีด�ำ หมายเลขที่ 6711-15/2549 กลุ่มผู้บริหารชุดเดิมฟ้องขอให้ศาลเพิกถอนมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทย่อย 5 แห่ง ได้แก่ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด บริษทั อุตสาหกรรม โพลียรู เี ทนไทย จำ�กัด บริษทั ไทย เอ บี เอส จำ�กัด และบริษัท ไออาร์พีซี พลังงาน จำ�กัด และเรียกค่าเสียหายจากคณะกรรมการบริษัท บริษัทละ 80 ล้านบาท รวม 400 ล้านบาท ปัจจุบันคดีนี้อยู่ในอำ�นาจพิจารณาของศาลล้มละลายกลางตามคำ�สั่งประธานศาลฎีกาวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 โดยได้เปลี่ยนหมายเลขคดีเป็นคดีดำ�หมายเลขที่ สฟ. 65-69/2551 ผลการพิจารณาตัดสิน: เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ศาลล้มละลายกลางได้นัดฟังคำ�สั่ง โดยศาลได้ปรึกษาคดีกับอธิบดีผู้พิพากษาศาล ล้มละลายกลางแล้วเห็นว่าข้อเท็จจริงไม่ยุติ ไม่อาจมีคำ�สั่งได้ จึงกำ�หนดนัดพร้อมในวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2553 (4) คดีคัดค้านการประมูลขายหุ้นบริษัท ทีพีไอ โพลีน จำ�กัด (มหาชน) - คดีแดงหมายเลขที่ ฟ. 8/2543 ตอนที่ 33 คดีที่ผู้บริหารของลูกหนี้ได้ยื่นคำ�ร้องคัดค้านการขายหุ้นบริษัท ทีพีไอ โพลีน จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 250 ล้านหุ้น ให้แก่เจ้าหนี้ (บริษัท) ทั้งนี้การดำ�เนินการของบริษัทดังกล่าวเป็นการปฏิบัติตามแผนฟื้นฟูกิจการที่อนุมัติโดยศาลล้ม ละลายกลางและศาลล้มละลายกลางมีคำ�สั่งยกคำ�ร้อง ผู้บริหารของลูกหนี้อุทธรณ์คำ�สั่งศาลล้มละลายกลาง ศาลฎีกา รับอุทธรณ์แล้ว และผู้บริหารแผนยื่นคำ�แก้อุทธรณ์แล้ว ผลการพิจารณาตัดสิน: ปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างรอการพิจารณาคำ�สั่งของศาลฎีกา

189


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (ต่อ) (5) คดีเงินให้กู้ยืมกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเลี่ยวไพรัตน์ ในช่วงปี พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2543 บริษัทโดยผู้บริหารขณะนั้นให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องกันสามแห่ง โดยไม่มี หลักประกัน เป็นจำ�นวนเงินต้นรวมดอกเบี้ย (ในช่วงที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทวงถาม) ประมาณ 8,000 ล้านบาท คือ บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด และบริษัท ทีพีไอ โฮลดิ้ง จำ�กัด โดยบริษัททั้งสาม รายดังกล่าวมีคุณประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และพี่น้องเป็นกรรมการและผู้ถือหุ้น และบริษัทอยู่ในกระบวนการฟื้นฟูกิจการ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้มีคำ�สั่งให้บริษัททั้งสามรายชำ�ระเงิน ซึ่งบริษัททั้งสามรายได้ร้องขอต่อศาลให้เพิกถอน คำ�สั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แต่ศาลได้จำ�หน่ายคดีโดยให้เหตุผลว่าบริษัทกำ�ลังจะออกจากแผนฟื้นฟูกิจการ ต่อมา บริษัทได้ดำ�เนินการทวงหนี้ แต่บริษัททั้งสามรายไม่มีทรัพย์สินเพียงพอที่จะชำ�ระหนี้ บริษัทจึงได้ดำ�เนินการฟ้องล้ม ละลาย บริษัททั้งสามดังกล่าวได้ซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัท เลียวไพรัตนวิสาหกิจ จำ�กัด ซึ่งมีกลุ่มเลี่ยวไพรัตน์เป็นกรรมการ และผู้ถือหุ้นเป็นจำ�นวน 3 ล้านหุ้น ในราคา 5,500 บาทต่อหุ้น ในขณะที่หุ้นดังกล่าวมีราคามูลค่าที่ตราไว้ 100 บาทต่อหุ้น และมูลค่าทางบัญชี 121 บาทต่อหุ้น ซึ่งทำ�ให้บริษัท เลียวไพรัตนวิสาหกิจ จำ�กัด อ้างในเวลาต่อมาว่า บริษัททั้งสามเป็นหนี้รวม 12,000 ล้านบาท และได้ร้องขอฟื้นฟูกิจการในฐานะเจ้าหนี้ของบริษัททั้งสามต่อศาลล้ม ละลายกลาง และฟ้องให้บริษัททั้งสามชำ�ระหนี้ที่ศาลแพ่งกรุงเทพใต้และได้ขอยอมความกันภายใน 2 วัน โดยบริษัท เลียวไพรัตนวิสาหกิจ จำ�กัด เป็นเจ้าหนี้ตามคำ�พิพากษา ศาลล้มละลายกลางมีคำ�สั่งให้บริษัททั้งสามฟื้นฟูกิจการด้วยเหตุที่มีหนี้สูงกว่าทรัพย์สิน อย่างไรก็ตาม ในชั้นลง คะแนนเสียงเลือกผู้ทำ�แผนฟื้นฟูกิจการนั้น เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ได้มีมติว่าหนี้ดังกล่าวไม่มีอยู่จริงและไม่ให้ลง คะแนนเสียง เพราะการออกหุ้นเพิ่มทุนสูงกว่ามูลค่าหุ้นจะต้องมีหนังสือบริคณห์สนธิให้อำ�นาจไว้ และจะต้องชำ�ระ ส่วนล้ำ�มูลค่าหุ้นในคราวแรกที่ชำ�ระเงินค่าหุ้น อีกทั้งผู้บริหารของทั้งสองฝ่ายซึ่งเป็นบุคคลเดียวกันย่อมเจรจา ตกลง กันได้อยู่แล้ว ในชั้นพิจารณาเลือกผู้ทำ�แผนนั้น บริษัท เลียวไพรัตนวิสาหกิจ จำ�กัด ยื่นคำ�คัดค้านการตั้งบริษัท แอ็ดว๊านซ์แพลนเนอร์ จำ�กัด เป็นผู้ทำ�แผนตามที่บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้เสนอ ต่อมาศาลได้มีคำ� สั่งให้นัดประชุมเจ้าหนี้เพื่อกำ�หนดสิทธิออกเสียงเลือกผู้ทำ�แผนครั้งที่สอง เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก็มีคำ�สั่งยืนยัน ตามคำ�สั่งเดิมที่เคยมีคำ�สั่งในการประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก โดยในชั้นพิจารณาเลือกผู้ทำ�แผนในชั้นศาล ศาลได้มีคำ�สั่ง ยกเลิกคำ�สั่งที่ให้ฟื้นฟูกิจการของบริษัททั้งสาม ต่อมาเมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2551 บริษทั ลูกหนีท้ ง้ั สาม ได้แก่ บริษทั พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด บริษทั ทีพไี อ อีโออีจี จำ�กัด และบริษัท ทีพีไอ โฮลดิ้ง จำ�กัด ได้ยื่นคำ�ร้องขอฟื้นฟูกิจการตนเองต่อศาลล้มละลายกลาง โดยอ้างมูลหนี้เดิมจำ�นวน 12,000 ล้านบาทที่บริษัท เลียวไพรัตนวิสาหกิจ จำ�กัดนำ�มายื่นขอฟื้นฟูกิจการและบริษัทได้คัดค้านว่าหนี้ ดังกล่าว ไม่มีอยู่จริง

190


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (ต่อ) (5) คดีเงินให้กู้ยืมกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเลี่ยวไพรัตน์ (ต่อ) ผลการพิจารณาตัดสิน: 1. คดีที่บริษัทได้ฟ้องขอให้เพิกถอนสัญญาประนีประนอมยอมความทั้งสามเรื่องต่อศาลแพ่งกรุงเทพใต้นั้น เนื่องจาก ศาลมีคำ�สั่งให้งดพิจารณาคดีไว้ ทางบริษัทจึงยื่นอุทธรณ์ข้อกฎหมายต่อศาลฎีกา ขณะนี้คดีอยู่ในระหว่างการ พิจารณาของศาลฎีกา 2. คำ�สั่งของศาลล้มละลายกลางที่อนุญาตให้ฟื้นฟูกิจการนั้นบริษัทได้อุทธรณ์ ไปยังศาลฎีกา ซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่าง การพิจารณาของศาลฎีกา 3. คดีที่บริษัท เลียวไพรัตนวิสาหกิจ จำ�กัด ร้องขอฟื้นฟูกิจการบริษัททั้งสาม ศาลล้มละลายกลางได้มีคำ�สั่งยกเลิก คำ�สั่งฟื้นฟูกิจการเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 4. คดีที่บริษัทลูกหนี้ทั้งสามได้ยื่นคำ�ร้องขอฟื้นฟูกิจการตนเองต่อศาลล้มละลายกลาง ปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างการ พิจารณาของศาลล้มละลายกลาง (6) คดีหมิ่นประมาท คดีหมิ่นประมาทอาญา - คดีดำ�หมายเลขที่ 2848 /2550 นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ฟ้องบริษัทกับพวกรวม 20 คน ในข้อหาหมิ่นประมาทโดยโฆษณาตามประมวลกฎหมาย อาญาและพระราชบัญญัติการพิมพ์ พ.ศ. 2484 ผลการพิจารณาตัดสิน: ศาลอุทธรณ์นัดฟังคำ�สั่งศาลเมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2553 โดยมีการถอนฟ้องจำ�เลยบางคน ศาลยังไม่ได้นัดฟัง คำ�สั่งศาลครั้งถัดไป

191


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (ต่อ) (6) คดีหมิ่นประมาท (ต่อ) คดีหมิ่นประมาทแพ่ง - คดีดำ�หมายเลขที่ 3595/2550 นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เป็นโจทก์ฟ้องบริษัทกับพวกรวม 20 คน ในข้อหาหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา โดยอ้างว่า มีขอ้ ความทำ�ให้เกิดความเสียหาย ทัง้ นีข้ อ้ ความดังกล่าวระบุถงึ สัญญาเช่าอาคารทีพไี อทาวเวอร์เป็นระยะเวลา 90 ปี โดย จ่ายค่าเช่าล่วงหน้าและเงินกินเปล่าเป็นจำ�นวนเงิน 956 ล้านบาท ในขณะที่บริษัทอยู่ในภาวะขาดสภาพคล่องและเป็น หนี้จำ�นวนมาก และบริษัทต้องหยุดพักการชำ�ระหนี้เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2540 รวมถึงคดีเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืม โดยผู้บริหารของบริษัทในขณะนั้นให้เงินกู้ยืมแก่บริษัทที่เกี่ยวข้องสามแห่ง คือ บริษัท พรชัยวิสาหกิจ จำ�กัด บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จำ�กัด และบริษัท ทีพีไอ โฮลดิ้ง จำ�กัด ทั้งนี้ข้อกล่าวหาในคำ�ฟ้องทั้งสองคดีนั้นเป็นเรื่องที่ปรากฏ อยู่ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐรายสัปดาห์ โดยนายประชัยได้ฟ้องข้อหาละเมิดและให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 100,000 ล้านบาท ผลการพิจารณาตัดสิน: ปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างชั้นไต่สวนมูลฟ้องของศาลแพ่งและศาลอาญา โดยศาลพิเคราะห์แล้วเห็นว่าคดีนี้เป็นคดี แพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ในการวินิจฉัยคดีส่วนแพ่งจำ�ต้องถือตามข้อเท็จจริงที่ปรากฎในคดีส่วนอาญา ศาลจึงสั่ง จำ�หน่ายคดีชั่วคราวเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2551 หากคดีส่วนอาญาถึงที่สุดแล้วให้โจทก์แถลงภายใน 15 วัน เพื่อ ยกคดีขึ้นพิจารณาต่อไป (7) คดีเช่าอาคารซันทาวเวอร์ - คดีดำ�หมายเลขที่ อ. 3544/2550 นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เป็นโจทก์ฟ้องกรรมการบริษัทรวม 17 คน ในข้อหาเป็นกรรมการบริษัทมหาชนจำ�กัดที่มี หลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ร่วมกันกระทำ�การเพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ และร่วมกันกระทำ� การด้วยประการใดๆ อันเป็นการช่วยเหลือหรือให้ความสะดวกในการที่เป็นกรรมการบริษัทมหาชนจำ�กัดแสวงหา ประโยชน์ที่มิควรได้ โดยการย้ายสำ�นักงานของบริษัทเมื่อปี พ.ศ. 2549 จากอาคารทีพีไอทาวเวอร์มาเป็นอาคารซัน ทาวเวอร์ว่าผิดต่อพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยคุณประชัยอ้างว่าไม่มีเหตุผลและ ความจำ�เป็นที่จะต้องย้าย ทั้งนี้เหตุผลการย้ายสำ�นักงานของบริษัทเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ผลการพิจารณาตัดสิน: ศาลพิพากษายกฟ้องเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2551 ปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์

192


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (ต่อ) (8) คดีแรงงาน - คดีดำ�หมายเลขที่ รย. 258-259/2550 นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และนางอรพิน เลี่ยวไพรัตน์ เป็นโจทก์ฟ้องบริษัทเรียกค่าสินจ้าง ค่าชดเชย ค่าเสียหายจาก การเลิกจ้างไม่เป็นธรรมและอื่นๆ โดยนายประชัยเรียกเป็นเงินประมาณ 1,344 ล้านบาท และนางอรพินเรียกเป็นเงิน ประมาณ 694 ล้านบาท ผลการพิจารณาตัดสิน: เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ศาลจังหวัดระยองมีคำ�พิพากษาให้บริษัทจ่ายค่าชดเชย สินจ้างแทนการบอกกล่าว ล่วงหน้า และค่าจ้างสำ�หรับวันหยุดพักผ่อนประจำ�ปีแก่โจทก์ทั้งสองตามอัตราที่บริษัทเห็นว่าถูกต้อง โดยบริษัทได้ จ่ายชำ�ระเงินจำ�นวน 7.6 ล้านบาทให้กับโจทก์ทั้งสองแล้วเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551 อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคดี อยู่ในระหว่างการอุทธรณ์โดยฝ่ายโจทก์ (9) คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ - คดีดำ�หมายเลขที่กค. 238/2546 บรรษัทการเงินระหว่างประเทศได้ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกับนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และบริษัท เลียวไพรัตน วิสาหกิจ จำ�กัด โดยเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ศาลได้มีหมายเรียกให้บริษัทเข้าเป็นจำ�เลยร่วมในคดีระหว่าง โจทก์กับจำ�เลยทั้งสองในฐานะผู้ค้ำ�ประกันหนี้ของบริษัทที่มีต่อโจทก์ บริษัทยื่นคำ�ให้การว่าได้ชำ�ระหนี้ตามแผนฟื้นฟู กิจการให้แก่โจทก์จนครบถ้วนแล้ว จึงไม่มีหนี้สินใดๆ ที่จำ�เลยทั้งสองในฐานะผู้ค้ำ�ประกันจะต้องชดใช้ให้โจทก์แทน บริษัท เป็นเหตุให้จำ�เลยทั้งสองไม่มีสิทธิไล่เบี้ยใดๆ กับบริษัทได้ตามฟ้อง ผลการพิจารณาตัดสิน: ศาลนัดให้ทั้ง 3 ฝ่ายไกล่เกลี่ยยอมความ ขณะนี้อยู่ระหว่างส่งร่างสัญญายอมและการถอนฟ้องทั้ง 3 ฝ่าย (10) คดีพิพาทเรื่องที่ดิน คดีที่เรือเอก นคร สาครเสถียร ฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายกรณีละเมิดเกี่ยวกับที่ดิน โดยอ้างว่าบริษัทปิดกั้นทาง สาธารณะและรุกล้ำ�ที่ดิน ทำ�ให้เจ้าหนี้ไม่สามารถพัฒนาที่ดินได้ โดยมีทุนทรัพย์ประมาณ 821 ล้านบาท โดยศาลได้ มีคำ�สั่งให้จำ�หน่ายคดีชั่วคราวตามพรบ.ล้มละลายมาตรา 90/12(4) และเจ้าหนี้ได้ยื่นคำ�ขอรับชำ�ระหนี้ต่อสำ�นักฟื้นฟู กิจการเพื่อขอรับชำ�ระหนี้ตามฟ้อง ผลการพิจารณาตัดสิน: คดีอยู่ระหว่างการสอบสวนพยานฝ่ายลูกหนี้ผู้คัดค้าน ศาลนัดสืบพยานวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

193


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

36 ข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 บริษัทมีข้อพิพาททางกฎหมายที่สำ�คัญซึ่งผลของคดียังไม่สิ้นสุดมีรายละเอียดดังนี้ (ต่อ) (11) คดีค่าเสียหายจากการบอกเลิกสัญญาขายโอเลฟินส์กับบริษัท ไทยโอเลฟินส์ จำ�กัด (มหาชน) (ปัจจุบันบริษัทนี้ อยู่ภายใต้บริษัท ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)) คดีความกับบริษัท ไทยโอเลฟินส์ จำ�กัด (มหาชน) ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการผิดสัญญาซื้อขาย โอเลฟินส์ คดีได้สิ้น สุดแล้วเมื่อ พ.ศ. 2537 แต่บริษัท ไทยโอเลฟินส์ จำ�กัด (มหาชน) ยื่นฟ้องบริษัทเรื่องค่าเสียหายจากการบอกเลิก สัญญาขาย โอเลฟินส์ โดยเจ้าหนี้ยื่นขอรับชำ�ระหนี้ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จำ�นวน 4,461.26 ล้านบาท พร้อม ดอกเบี้ยในอัตรา MOR+2% คดีเสร็จการไต่สวนคำ�ขอรับชำ�ระหนี้แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำ�สั่งให้ได้รับชำ�ระ หนี้จำ�นวน 347.81 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ยอัตรา MOR+2% ของเงินต้น 324.13 ล้านบาท บริษัทและเจ้าหนี้ได้ยื่น คำ�ร้องคัดค้านคำ�สั่งดังกล่าวต่อศาลล้มละลายกลาง คดีได้มีการสืบพยานเสร็จแล้ว ศาลล้มละลายกลางมีคำ�สั่งเมื่อวัน ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ให้แก้ไขคำ�สั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ โดยให้เจ้าหนี้ได้รับชำ�ระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการ ลูกหนี้ในมูลค่าเสียหายเพิ่มเติมเป็นค่าเสียหายจากการผิดสัญญาขายโอเลฟินส์นับจากวันบอกเลิกสัญญาถึงวันสิ้นสุด สัญญาเป็นเงิน 259.82 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ยอัตรา MOR+2% ของเงินต้นดังกล่าวนับแต่วันที่ผู้บริหารแผนบอก เลิกสัญญาวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 จนกว่าจะได้รับชำ�ระเสร็จสิ้นจากลูกหนี้ คำ�ขออื่นให้ยกฟ้องนอกจากที่แก้ ให้เป็นไปตามคำ�สั่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผลการพิจารณาตัดสิน: ปัจจุบันคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา (12) คดีแรงงาน - คดีดำ�หมายเลขที่ 3851-61/2548, 5804/2548 และคดีแดงหมายเลขที่ 7129-39/2548 นายชัยยุทธ์ ลิมลาวัลย์และพวกเป็นโจทก์ฟ้องบริษัทเรียกค่าสินจ้าง ค่าชดเชย ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็น ธรรมและอื่นๆ โดยเรียกค่าเสียหายเป็นเงินประมาณ 122 ล้านบาท ผลการพิจารณาตัดสิน: เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2549 ศาลมีคำ�พิพากษาให้บริษัทจ่ายค่าชดเชย ค่าสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า และค่าจ้างสำ�หรับวันหยุดพักผ่อนประจำ�ปีแก่โจทก์และพวกเป็นเงินจำ�นวนประมาณ 3 ล้านบาทพร้อมดอกเบี้ยร้อย ละ 7.5 อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันคดีอยู่ในระหว่างการอุทธรณ์โดยฝ่ายโจทก์

194


บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2551

37 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ ในงบดุล (1) เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2553 ได้มีผู้ขอใช้สิทธิใบสำ�คัญแสดงสิทธิตามโครงการออกหลักทรัพย์ให้แก่พนักงาน (‘ESOP’) เป็นจำ�นวนหุ้น 71 ล้านหุ้น ในราคาการใช้สิทธิ 2.88 บาทต่อหุ้น รวมเป็นเงินจำ�นวน 204.48 ล้านบาท โดยหุ้นจำ�นวน 38 ล้านหุ้นได้รับชำ�ระเงินแล้วเป็นเงินจำ�นวน 110 ล้านบาท และแสดงเป็นเงินรับล่วงหน้าจาก การใช้สิทธิซื้อหุ้นของพนักงานภายใต้หนี้สินหมุนเวียน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ทั้งนี้ บริษัทได้ทำ�การ จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนหุ้นสามัญชำ�ระแล้วดังกล่าวจาก 19,829 ล้านบาท (19,829 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้น ละ 1 บาท) เป็น 19,900 ล้านบาท (19,900 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 1 บาท) กับกระทรวงพาณิชย์เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553 (2) ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ได้อนุมัติเสนอให้จ่ายเงินปันผลจากผลการ ดำ�เนินงาน ปี พ.ศ. 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.18 บาทต่อหุ้น บริษัทได้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลไปแล้วในระหว่าง ปี พ.ศ. 2552 ในอัตราหุ้นละ 0.08 บาทต่อหุ้น เป็นจำ�นวนเงินรวม 1,578 ล้านบาท คงเหลือเงินปันผลจ่ายใน อัตราหุ้นละ 0.10 บาทต่อหุ้น ทั้งนี้ การอนุมัติเสนอให้จ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะได้นำ�เสนอต่อที่ประชุมใหญ่ผู้ถือ หุ้นประจำ�ปี พ.ศ. 2553 เพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป

195


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.