IRPC: รายงานประจำปี 2558

Page 1

รายงานประจำป 2558 บร�ษัท ไออาร พ�ซี จำกัด (มหาชน)


สารบัญ สารจากประธานกรรมการ จ�ดเด นการดำเนินงาน ข อมูลสำคัญทางการเง�น พัฒนาการที่สำคัญ 10 ป ไออาร พ�ซี พัฒนาการที่สำคัญและรางวัลแห งความสำเร็จ ป 2558

04 06 07 08 18

ความรับผ�ดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบร�ษัท โครงสร างองค กร คณะผู บร�หาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การควบคุมภายใน สารประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค าตอบแทน สารประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง สารประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี รายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี

28 42 43 60 62 64 65 66 67 97 98 100 106 108 109

โครงสร างการจัดการ โครงสร างการจัดการ ข อมูลทั่วไป

02

สารจากกรรมการผู จัดการใหญ คำอธิบายและการว�เคราะห ของฝ ายจัดการ ภาวะตลาดและแนวโน มอุตสาหกรรม รายงานผลการดำเนินงาน ป 2558 การบร�หารทรัพยากรบุคคล การว�จัยและพัฒนาเพ�่อความเป นเลิศ ทิศทางการดำเนินธุรกิจเชิงกลยุทธ

144 146 156 165 182 184 188

ความรับผ�ดชอบขององค กร การบร�หารจัดการอย างยั่งยืน การจัดการด านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ�งแวดล อม การดำเนินธุรกิจด วยความรับผ�ดชอบต อสังคม การลงทุนในกิจการเพ�่อสังคม

192 197 207 218

รายงานทางการเง�น

โครงสร างธุรกิจ โครงสร างธุรกิจและการถือหุ น ลักษณะการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจของแต ละสายผลิตภัณฑ แผนภูมิกระบวนการผลิต โครงสร างรายได รายการระหว างกัน

การว�เคราะห ของฝ ายจัดการ

116 138

รายงานความรับผ�ดชอบของคณะกรรมการบร�ษัท ต อรายงานทางการเง�น รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต และงบการเง�น ภาคผนวก การปฏิบัติตามเกณฑ การกำกับดูแลกิจการที่ดี การปฏิบัติตามเกณฑ ความรับผ�ดชอบต อสังคม คำย อและศัพท เทคนิค

223 224 329 343 344


ว�สัยทัศน

บร�ษัทป โตรเคมีชั้นนำของเอเชีย ภายในป 2563 Leading Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2020

พันธกิจ

ความเป นเลิศด านการผลิต Operational Excellence องค กรแห งความเป นเลิศ High Performance Organization ความรับผ�ดชอบต อชุมชน สังคม และสิ�งแวดล อม Corporate Social Responsibility

ค านิยม

เราคือบร�ษัท บร�ษัทคือเรา Individual Ownership สร างพลังร วมอันยิ�งใหญ Synergy ร วมมุ งสู ความเป นเลิศ Performance Excellence

การสร างมูลค าเพ��มแก ผลิตภัณฑ Value Creation นวัตกรรมและการสร างธุรกิจใหม Innovation & Creation of New Business

ร วมสร างนวัตกรรม Innovation ร วมรับผ�ดชอบต อสังคม Responsibility for Society ร วมสร างพลังความดี Integrity & Ethics ร วมสร างความเชื่อมั่น Trust & Respect

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

03


สารจากประธานกรรมการ

เร�ยน ท านผู ถือหุ น คณะกรรมการบร�ษทั ฯ ได กำหนดว�สยั ทัศน ให บร�ษทั ไออาร พซี � จำกัด (มหาชน) ก าวไปสู การเป นบร�ษัทป โตรเคมีชั�นนำของ เอเช�ยภายในป 2563 และกำหนดแผนกลยุทธ ทั�งระยะสั�น และระยะยาว เพื่อให มั่นใจว าบร�ษัทฯ จะสามารถเติบโตไป ตามทิศทางและแผนที่วางไว จนบรรลุเป าหมายภายในเวลา ที่กำหนดได ป 2558 อาจเร�ยกได วา เป นป ทองป หนึง่ ของบร�ษทั ไออาร พซี � จำกัด (มหาชน) จากการที่บร�ษัทฯ สามารถพลิกฟ นมีผล ประกอบการที่ดี โดยมี EBITDA 17,033 ล านบาท สูงสุด ในรอบ 10 ป และมีกำไรสุทธ� 9,402 ล านบาท เมื่อเทียบ กับป 2557 ที่บร�ษัทฯ ประสบภาวะขาดทุน 5,235 ล านบาท ซ�่งเป นผลมาจากการเตร�ยมความพร อมไว อย างต อเนื่อง การคาดการณ ที่แม นยำ ประกอบกับความพยายามในการ ดำเนินธุรกิจและบร�หารจัดการอย างมีประสิทธ�ภาพของ คณะผู บร�หารและพนักงาน ภายใต การกำกับดูแลของคณะ กรรมการบร�ษัทฯ และกรรมการชุดย อย 4 ชุดด วยกัน

นายเทว�นทร วงศ วานิช ประธานกรรมการบร�ษัท

04


คณะกรรมการบร�ษัทฯ ได ให ความสำคัญอย างมากกับการ ดำเนินธุรกิจด วยความรับผิดชอบต อสังคม สิง่ แวดล อม และ ชุมชน ตามปรัชญาของบร�ษทั ฯ ในเร�อ่ งการสร างความสมดุล ระหว างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล อม ทำให ป 2558 บร�ษัทฯ สามารถรักษาสถานภาพของการเป นสมาช�ก DJSI (Dow Jones Sustainability Indices) ในหมวด Oil & Gas ไว ได เป นป ที่ 2 ติดต อกัน อาจกล าวได วา องค กรทีแ่ ข็งแกร ง มีชอ่� เสียง และได รบั ความ เช�่อมั่นจากประชาชนทั่วไป จะต องเป นองค กรที่พร อมทั�ง ศักยภาพการดำเนินธุรกิจ มีธรรมาภิบาลในการบร�หารจัดการ และมีความรับผิดชอบต อสังคม สำหรับไออาร พีซ� คณะ กรรมการบร�ษัทฯ ได กำกับดูแลการดำเนินธุรกิจของบร�ษัทฯ ให มีประสิทธ�ภาพบนพื้นฐานของการกำกับดูแลกิจการที่ดี และได ตั�งใจปฏิบัติหน าที่ตามบทบาทของกรรมการอย างมี ประสิทธ�ภาพ จนได รบั การประกาศเกียรติคณ ุ คณะกรรมการ แห งป ดีเด น และคณะกรรมการตรวจสอบแห งป 2558 จาก สมาคมส งเสร�มสถาบันกรรมการบร�ษัทไทย (IOD) ด วยผล ประกอบการทีด่ ขี องบร�ษทั ฯ และเกียรติคณ ุ ทีไ่ ด รบั น าจะเป น เคร�่องยืนยันความเช�่อมั่นของท านผู ถือหุ นได ว า บร�ษัทฯ มี การดำเนินงานอย างโปร งใส ให ความสำคัญกับการควบคุม ภายใน การต อต านคอร รัปชัน การบร�หารความเสี่ยง คำนึง ถึงผูม สี ว นได เสียทุกกลุม อย างเป นธรรม และมีการพัฒนาใน ด านต างๆอย างถูกทิศทาง ซ�ง่ รวมถึงการประกาศใช คา นิยม องค กรใหม ที่เร�ยกว า iSPIRIT สร างความแข็งแกร งจาก ภายใน เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน คณะกรรมการบร�ษทั ฯ ยังส งเสร�มให บร�ษทั ฯ เป นองค กรแห ง การเร�ยนรู และความคิดสร างสรรค ทั�งนวัตกรรมในด าน ปฏิบตั กิ าร ด านธุรกิจ และนวัตกรรมทีเ่ อือ้ ประโยชน ตอ สังคม

และให ความสำคัญกับการว�จัยและพัฒนา โดยเช�่อว าจะเป น พื้นฐานของการเติบโตอย างก าวกระโดดและสามารถสร าง มูลค าเพิ่มทางธุรกิจได อย างมีนัยสำคัญ โครงการที่ประสบ ความสำเร็จจากแนวคิดใหม ๆ ของฝ ายบร�หาร ได แก โครงการ DELTA ซ�ง่ มีเป าหมายของความเป นเลิศ 4 ด าน ได แก ด าน ปฏิบัติการ ด านการตลาด ด านการจัดซ�้อจัดจ าง และด าน การบร�หารทรัพยากรบุคคล ทีส่ ามารถสร างผลประโยชน ในป 2558 ได ทง�ั สิน้ 4,565 ล านบาท และในป 2559 นี้ ไออาร พซี � ได ตอ ยอดความสำเร็จไปสูโ ครงการใหม EVEREST ทีท่ า ทาย ยิง่ กว า ต องบูรณาการทัง� ความสามารถ ความตัง� ใจจร�ง และ การมีสว นร วมของบุคลากรทัง� บร�ษทั ฯ ซ�ง่ คณะกรรมการบร�ษทั ฯ พร อมให การสนับสนุนอย างเต็มที่ ผมคาดว าความสำเร็จของ โครงการ EVEREST ซ�ง่ ไออาร พซี ด� ำเนินการร วมกับทีป่ ร�กษา จากบร�ษทั ชัน� นำระดับโลกนี้ จะส งผลให บร�ษทั ฯ บรรลุวส� ยั ทัศน ที่ตั�งไว ใด ในที่สุด ในนามของคณะกรรมการบร�ษัท ไออาร พ�ซี จำกัด (มหาชน) ผมขอ ขอบคุณทุกท านที่ให ความเชื่อมั่น สนับสนุน ตลอดจนให ความ ร วมมืออย างดียิ�งกับบร�ษัทฯ มาโดยตลอด ทั้งท านผู ถือหุ น ลูกค า คูค า หน วยงานราชการ นักว�ชาการ สถาบันการเง�น ชุมชน สือ่ มวลชน องค กรอิสระ ตลอดจนผู บร�หารและพนักงานบร�ษัทฯ และบร�ษัท ในเคร�อทุกคน ทีต่ ง้ั ใจปฏิบตั หิ น าทีอ่ ย างเข มแข็ง จนเป นผลให บร�ษทั ฯ ประสบความสำเร็จอย างงดงามในป น้ี ผมมีความเชือ่ มัน่ ว า จากนีไ้ ป บร�ษทั ไออาร พซ� ี จำกัด (มหาชน) จะเติบโตได อย างแข็งแกร งทัง้ ด าน ธุรกิจ สุขภาพองค กร เป นองค กรทีม่ คี วามรับผ�ดชอบต อสังคม และ เป นพลเมืองที่ดีของโลก ซึ่งศักยภาพเหล านี้จะสะท อนกลับมาเป น ประโยชน และช วยสร างมูลค าเพ��มให ผู ถือหุ น ผู มีส วนได เสีย และ ประเทศชาติได อย างแน นอน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

05


จุดเด่นการดำ�เนินงาน รายได จากการขายสุทธิ

การจัดจำหน าย

72%

61% ในประเทศ

ผลิตภัณฑ ป โตรเลียม

27% 1% อื่นๆ

39%

ผลิตภัณฑ ป โตรเคมี

ต างประเทศ

ผลิตภัณฑ ป โตรเลียม

ผลิตภัณฑ ป โตรเคมี

58%

10% น้ำมันเบนซิน 56% น้ำมันดีเซล 7% น้ำมันเตา 15% น้ำมันหล อลื่นพ�้นฐานและยางมะตอย 12% อื่นๆ

โอเลฟ�นส และโพลิโอเลฟ�นส

13% 27% สไตร�นิคส 2% โพลิออล

อะโรเมติกส

รายได จากการขายสุทธิ 300,000

(หน วย : ล านบาท)

282,649

199,595

6,000

150,000

3,000

100,000

0

826

- 3,000

50,000

(5,235)

- 6,000

0 2556

2557

สินทรัพย รวม

2558 (หน วย : ล านบาท)

200,000

2556

2557

หนี้สินรวม

2558 (หน วย : ล านบาท)

200,000

163,174

162,798

162,608

150,000

100,000

100,000

50,000

50,000

0

94,894

87,081

87,296

0 2556

06

9,402

9,000

200,000

150,000

(หน วย : ล านบาท)

12,000

272,968

250,000

กำไรสุทธิ

2557

2558

2556

2557

2558


ข้อมูลสำ�คัญทางการเงิน (หน วย : ล านบาท)

2556

2557

2558

63,772 162,608 49,530 87,081 75,527 20,475 20,434

44,142 162,798 46,829 94,894 67,904 20,475 20,434

35,984 163,174 36,210 87,296 75,878 20,475 20,434

292,593 282,649 287,695 4,897 7,489 826

281,589 272,968 287,930 (6,341) (1,402) (5,235)

214,172 199,595 197,913 16,258 17,033 9,402

2.56% 0.28% 0.54% 1.09% 1.29 0.50 0.10 247% 3.69 0.04

N/A N/A N/A N/A 0.94 0.87 0.08 N/A 3.32 (0.26)

7.95% 4.39% 5.77% 13.09% 0.99 0.66 (4) 0.22 48% 3.71 0.46

ฐานะการเง�น สินทรัพย หมุนเว�ยน สินทรัพย รวม หนี้สินหมุนเว�ยน รวมหนี้สิน ส วนของผู ถือหุ น ทุนจดทะเบียน ทุนชำระแล ว

ผลการดำเนินงาน รายได จากการขาย รายได จากการขายสุทธิ (1) ต นทุนขาย กำไรขั้นต น EBITDA (2) กำไร (ขาดทุน) สุทธิ

อัตราส วนทางการเง�น อัตราส วน EBITDA ต อรายได จากการขาย อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราผลตอบแทนต อผู ถือหุ น อัตราส วนสภาพคล อง (เท า) อัตราส วนหนี้สินสุทธิต อส วนของผู ถือหุ น (เท า) (3) เง�นป นผลจ ายต อหุ น (บาท) อัตราการจ ายเง�นป นผล มูลค าตามบัญชีต อหุ น (บาท) กำไรสุทธิต อหุ น (บาท)

หมายเหตุ : (1) รายได จากการขายสุทธิ ไม รวมค าภาษีสรรพสามิต (2) EBITDA หมายถึง กำไรก อนหักดอกเบี้ย ภาษีเง�นได ค าเสื่อมราคาและค าตัดจำหน าย (3) หนี้สินสุทธิ หมายถึง หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หัก เง�นสดและเง�นลงทุนชั่วคราว (4) มติที่ประชุมคณะกรรมการบร�ษัทฯ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2559 อนุมัติเสนอให จ ายเง�นป นผลสำหรับผลการดำเนินงานป 2558 ในอัตราหุ นละ 0.22 บาทต อหุ น ทั้งนี้ การอนุมัติเสนอให จ ายเง�นป นผลดังกล าวจะนำเสนอต อที่ประชุมสามัญผู ถือหุ นป 2559 เพ�่อพ�จารณาอนุมัติต อไป รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

07


2549

พัฒนาการที่สำคัญ 10 ป ไออาร พ�ซี ป 2549 เป นจ�ดเปลีย่ นทางประวัตศิ าสตร ทส่ี ำคัญยิง� ของ ไออาร พซ� ี จากความสำเร็จในการ ฟ��นฟ�กิจการนำมาซึ่งความสำเร็จที่มีค า ทำให เราก าวเดินไปข างหน าในชื่อ “ไออาร พ�ซี” ตลอดระยะเวลา 10 ป ไออาร พซ� ี สามารถยืนหยัดได อย างมัน่ คงและยัง่ ยืน ด วยความมุง มัน่ พัฒนาธุรกิจด วยความรับผ�ดชอบต อสังคมภายใต แผนกลยุทธ ที่เสร�มสร างความแข็งแกร ง ทางธุรกิจ ทุ มเทว�จัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ให ตอบโจทย ผู บร�โภคควบคู กับการสร างสรรค เทคโนโลยีการผลิตที่เป นมิตรต อสิ�งแวดล อมโดยมีระบบธรรมาภิบาลเป นหัวใจที่สำคัญ

ด านธุรกิจ

1Q

2Q

Re-Branding

ดร.ป ติ ยิ�มประเสร�ฐ

ดำรงตำแหน ง กรรมการผู จัดการใหญ

3Q

เปลี่ยนชื่อบร�ษัทใหม จาก TPI เป น IRPC

4Q

บร�ษัทฯ ดำเนินการ ร วมกับไทยออยล ในโครงการ Refinery Margin Improvement เพ�่อเพ��มกำไรสูงสุดจาก สินทรัพย ที่มีอยู

ด านปฏิบัติการ

ด านนวัตกรรม และการเพ��มมูลค า ผลิตภัณฑ

เป ดตัว 3 ผลิตภัณฑ ใหม ในกลุ มสไตร�นิคส

• PS/SEBS/HDPE alloy • ABS/Nylon • HIPS/PC

ประสบความสำเร็จในการพัฒนา สารยับยั้งการติดไฟ

ชนิดไม มีสาร Halogen ในผลิตภัณฑ ABS และ HIPS ด านความรับผ�ดชอบ ต อชุมชน สังคม และ สิ�งแวดล อม

ติดตั้งจ�ดตรวจวัด

คุณภาพอากาศ 114 จ�ด คุณภาพน้ำ 124 จ�ด และคุณภาพเสียง 57 จ�ด

08


2550 1Q

2Q

3Q

4Q

ประกาศแผนพัฒนาองค กร ป 2550-2554

มุ งเพ��มศักยภาพการผลิต เพ�่อสร างฐานธุรกิจที่แข็งแกร ง

เร��มโครงการปรับปรุง เร��มจัดทำคู มือการกำกับ โรงกลั่นน้ำมัน ดูแลกิจการที่ดี เพ�่อเพ��มศักยภาพในการผลิต

ลดต นทุน และรักษาสิ�งแวดล อม

ร�เร��มโครงการ หน วยแพทย เคลื่อนที่

ร วมกับโรงพยาบาลสมเด็จ พระนางเจ าสิร�กิติ์ ให บร�การตรวจ สุขภาพชุมชนในเขตประกอบการ อุตสาหกรรมไออาร พ�ซี โดยไม คิดค าใช จ าย

09


2551 ด านธุรกิจ

1Q

ดร.ไพร�นทร ชูโชติถาวร ดำรงตำแหน ง กรรมการผู จัดการใหญ

2Q

บร�ษัทฯ ประสบความสำเร็จสูงสุด ของการออกตราสารหนี้ อายุ 10 ป ในตลาดต างประเทศ

มูลค า 250 ล านเหร�ยญสหรัฐฯ

ซื้อคืนหุ นกู ในประเทศ จำนวน 360 ล านบาท

เพ�่อบร�หารจัดการกระแสเง�นสด และลดต นทุนทางการเง�นของ บร�ษัทฯ

3Q

4Q

เร��มใช งานระบบวางแผนทรัพยากรองค กร (Enterprise Resource Planning Improvement Project: ERP)

เพ�่อเพ��มศักยภาพในการบร�หารจัดการทรัพยากร และฐานข อมูลขององค กร

ซื้อหุ นบร�ษัท พ�ทีที โพลิเมอร มาร เก็ตติ�ง จำกัด (PTTPM) จากบร�ษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

ในสัดส วนร อยละ 25 คิดเป นมูลค า 58.32 ล านบาท

ด านปฏิบัติการ

ด านนวัตกรรม และการเพ��มมูลค า ผลิตภัณฑ

เป ดตัวบร�การ K-Buyer Financing และ e-Supply Chain ให กับกลุ มผู แทนจำหน ายผลิตภัณฑ ป โตรเคมีของบรษัทฯ

ด านความรับผ�ดชอบ ต อชุมชน สังคม และ สิ�งแวดล อม

ฟ��นฟ�ศูนย ศึกษาพัฒนา ป าชายเลนคลองก นป ก

10


2552 1Q

2Q

3Q

4Q

บร�ษัทฯ ลงนามสัญญาเง�นกู ระยะยาว จำนวน 10,000 ล านบาท สำหรับโครงการลงทุนขยายกำลัง การผลิตป โตรเคมีและโครงการผลิต พลังไอน้ำและไฟฟ าร วม

ปรับโครงสร างการดำเนินธุรกิจ ภายใต แผนกลยุทธ “โครงการฟ�นิกซ ”

โครงการขยายกำลังการผลิต

เม็ดพลาสติก ABS และ CCM เพ��มข�้น 21,000 ตันต อป และขยาย กำลังการผลิตเม็ดพลาสติก HDPE Pipe Grade เพ��มข�้น 40,000 ตันต อป แล วเสร็จ

จัดพ�มพ คม ู อื การกำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 1

พัฒนาระบบ iDEAL Solution เป ดตัวระบบ iRON (IRPC Oil On Net) (IRPC Digital E-Commerce เชือ่ มโยงเคร�อข ายการทำธุรกรรม ออนไลน ของธุรกิจป โตรเลียม Account and Logistic)

ฟ��นฟ�ป าชายเลนพระสมุทรเจดีย

ให เป นศูนย ศึกษาระบบนิเวศป าชายเลน จังหวัดระยอง

11


2553 ด านธุรกิจ

1Q

2Q

3Q

4Q

ด านปฏิบัติการ

ด านนวัตกรรม และการเพ��มมูลค า ผลิตภัณฑ

ประสบความสำเร็จในการว�จัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ กลุ มสไตร�นิคส Green ABS ด านความรับผ�ดชอบ ต อชุมชน สังคม และ สิ�งแวดล อม

นับเป นผู ผลิตรายแรกของโลกที่นำยางพาราธรรมชาติ มาทดแทนยางสังเคราะห ในการผลิตเม็ดพลาสติก ABS

ที่ลดสารก อมะเร็ง ใช เป นวัตถุดิบผลิต ยางรถยนต

จัดตั้งคณะกรรมการพหุภาคี

เพ�่อให เกิดการมีส วนร วมของ ผู มีส วนได เสีย และร วมตรวจสอบ การดำเนินการของโครงการ ผลิตพลังไอน้ำและไฟฟ าร วม ตามมาตรฐานที่ระบุไว ใน EIA

เป ดศูนย การเร�ยนรู เคร�อข ายชุมชน (Community Center)

12

เป ดตัวนวัตกรรม กลุ มน้ำมันหล อลื่น พ�้นฐาน TDAE และ RAE (Treated Distillate Aromatic Extract) น้ำมันยาง

เพ�่อให ประชาชนจังหวัดระยอง ใช เป นศูนย รวมการเร�ยนรู และสร าง ความสัมพันธ ระหว างบร�ษัทฯ กับชุมชน

เป ดคลินิกป นน้ำใจ ณ ศูนย การเร�ยนรู เคร�อข ายชุมชน ไออาร พ�ซี จังหวัดระยอง

เร��มจำหน ายเม็ดพลาสติก PE ชนิด UHMW-PE เป ดตัว 7 ผลิตภัณฑ ใหม สายโพลิโอเลฟ�นส

ภายใต แนวคิด “Next Generation Polyolefin for Better Life”


2554 1Q

นายอธิคม เติบศิร�

ดำรงตำแหน ง กรรมการผู จัดการใหญ

2Q

3Q

4Q

บร�ษัทฯ เข าร วมเป นภาคีสมาชิก UN Global Compact

เป ดโรงผลิตพลังไอน้ำและ ไฟฟ าร วม (Combined Heat and Power Project: CHP I) ขนาดกำลังการผลิตไฟฟ า 220 เมกะวัตต ปร�มาณไอน้ำ 420 ตันต อชั่วโมง เป นผลสำเร็จ

เป ดดำเนินการคลังน้ำมันแม กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม

พัฒนาผลิตภัณฑ UHMW-PE (Ultrahigh Molecular Weight Polyethylene) ร วมกับ PTTPM พัฒนา Wood Plastic Composite จากการนำผงไม มาผสมกับพลาสติก ประเภทต าง ๆ

พัฒนา Super Clarity Polypropylene for Baby Bottle เม็ดพลาสติกโพลิโพรพ�ลีนใสพ�เศษ สำหรับขวดนมเด็ก

เป ดตัวเคร�่องหมายการค า

พัฒนานวัตกรรมทางการเง�น ด านระบบประกันการส งออก IRPC Global Export Insured

เป ดตัวระบบ (IRPC Intelligent Port Service)

สำหรับให บร�การท าเร�ออิเล็กทรอนิกส ผ านระบบออนไลน

พัฒนากระบวนการจัดการระบบ สร างฐานข อมูลลูกค า

ระบบ iCons สำหรับธุรกิจป โตรเคมี ระบบ iRIS สำหรับธุรกิจป โตรเลียม

โครงการขาเทียมจากนวัตกรรม พลาสติกต านแบคทีเร�ย เป ดโครงการ Protection Strip

บร�จาคเม็ดพลาสติกจากนวัตกรรม POLIMAXX BANBAX ต านแบคทีเร�ยให มูลนิธิขาเทียม ใน สมเด็จพระศร�นคร�นทรา บรมราชชนนี ใช ทำขาเทียมเพ�่อสุขภาพอนามัยที่ดี

13


2555 ด านธุรกิจ

1Q

2Q

3Q

4Q

ลงนามซื้อขายหุ นและ สัญญาระหว างผู ถือหุ น

ลงนามซื้อขายที่ดิน

เพ�่อเข าร วมลงทุนในบร�ษัท อูเบะ เคมีคอลส (เอเชีย) จำกัด (มหาชน) ในสัดส วน ประมาณร อยละ 25 ของทุนชำระแล ว

เขตประกอบการอุตสาหกรรม เชิงนิเวศไออาร พ�ซี โซน 4 กับบร�ษัท ไทยเคียววะ ไบโอเทคโนโลยี จำกัด

ด านปฏิบัติการ

ประสบความสำเร็จในโครงการ ปรับปรุงหน วยผลิตน้ำมันเบนซิน Gasoline Hydrogenation Unit (GHU) เพ�่อผลิตน้ำมัน Euro IV

เร��มติดตั้งระบบ Power Management System (PMS)

เพ�่อบร�หารจัดการระบบไฟฟ าทั้งหมด ของโรงงานให เกิดเสถียรภาพ ด านนวัตกรรม และการเพ��มมูลค า ผลิตภัณฑ

โครงการขยายกำลัง การผลิตโพรพ�ลีน

เพ��มข�้น 100,000 ตันต อป แล วเสร็จ

เร��มโครงการข�ดลอกร องน้ำ บร�เวณท าเร�อน้ำลึก ร วมมือทางว�ชาการระดับโลก กับมหาว�ทยาลัยอ อกฟอร ด

เพ�่อการว�จัยและพัฒนาด าน High Performance Polymer

ด านความรับผ�ดชอบ ต อชุมชน สังคม และ สิ�งแวดล อม

เป ดตัวผลิตภัณฑ POLIMAXX BANBAX

ลงนามกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม เพ�่อพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

14

โดยบร�ษัทฯ ได รับเลือกจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม ให เป นต นแบบอุตสาหกรรม เชิงนิเวศของประเทศ

สร างหอชมว�วศูนย การเร�ยนรู ระบบนิเวศป าชายเลนพระเจดีย กลางน้ำฯ จังหวัดระยอง


2556 1Q

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ ดำรงตำแหน ง กรรมการผู จัดการใหญ

2Q

3Q

4Q ดำเนินแผนพัฒนาความเป นเลิศ ทั้งองค กร (DELTA) ขายหุ นในบร�ษัท ไออาร พ�ซี คลีน พาวเวอร จำกัด (IRPC-CP)

จัดตั้งบร�ษัท ไออาร พ�ซี คลีน พาวเวอร จำกัด (IRPC-CP)

ดำเนินโครงการปรับปรุง ประสิทธิภาพและ เพ��มกำลังการผลิต EBSM 260,000 ตันต อป

ที่บร�ษัทฯ ถืออยู ร อยละ 51 ให แก บร�ษัท โกลบอล พาวเวอร ซินเนอร ยี่ จำกัด (GPSC) เพ�่อบร�หารจัดการระบบไฟฟ า ทั้งหมดของโรงงานให เกิดเสถียรภาพ

ก อสร างโรงผลิต ABS6 & SAN3 แล วเสร็จ เพ��มกำลังการผลิต ABS 29,000 ตันต อป และ SAN 33,000 ตันต อป

ร วมกับสถาบันว�จัยเทคโนโลยี ปตท. คิดค นพัฒนากระบวนการผลิต BHD (Bio Hydrogenated Diesel) จากน้ำมันปาล ม หร�อ RPO (Refined Palm Oil) ผลิตน้ำมัน ดีเซลพ�้นฐาน

เป ดตัว IRPC Process License สำหรับการผลิต Green ABS

ร วมมือกับบร�ษัท PTTPM และสถาบันว�จัยและเทคโนโลยี ปตท.

ในโครงการ “Polymer Compounding Synergy Project”

โครงการ ๑ ช วย ๙ ยกระดับมาตรฐานการศึกษา 9 โรงเร�ยน ร วมลงนามกับสำนักงานรับรอง

มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค การมหาชน) (สมศ.)

15


2557 ด านธุรกิจ

1Q

2Q

3Q

4Q

บร�ษัทฯ ได เข าร วมโครงการต อต าน คอร รัปชัน Call to Action: Anti-Corruption and the Global Development Agenda ของ UN Global Compact (UNGC)

บร�ษัทฯ ได รับรองการเป นสมาชิกแนวร วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต อต านทุจร�ต

บร�ษัทฯ ได รับคัดเลือกเป น สมาชิก DJSI ประเภท Emerging

Markets 2014 ในกลุม Oil & Gas Industry เป นป แรก

(Collective Action Coalition Against Corruption หร�อ CAC) จากองค กรต อต าน คอร รัปชัน (ประเทศไทย) บร�ษัทฯ และกลุ มเลี่ยวไพรัตน ได ลงนามบันทึก

ข อตกลงยุติคดีที่มีต อกันทั้งหมด

ด านปฏิบัติการ

ขยายกำลังการผลิต

โรงผสมน้ำมันหล อลื่นพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เป น 72 ล าน ลิตรต อป

ปรับปรุงกระบวนการผลิต โรงงานโพลิเอทิลีน จาก PE Natural เป น PE-Pipe grade โดยเพ��มกำลังการผลิต

ด านนวัตกรรม และการเพ��มมูลค า ผลิตภัณฑ

PE-Pipe grade ได ถึง 120,000 ตันต อป

เป ดโรงงาน NANO Chemical ในเขต

ประกอบการอุตสาหกรรม ร วมกับบร�ษัท ป คนิคพลาส ไออาร พ�ซี อินดัสเทร�ยล จำกัด เป ดตัวผลิตภัณฑ พลาสติก ผสมสีธรรมชาติ (Natural Color Compound) ด านความรับผ�ดชอบ ต อชุมชน สังคม และ สิ�งแวดล อม

16

ลงนามบันทึกข อตกลง ความร วมมือ โครงการพัฒนา

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศร วมกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ประเทศไทย และกรมโรงงานอุตสาหกรรม เมืองคิตะคิวชู ประเทศญีป่ น ุ

เร��มดำเนินโครงการ สร างคลอง สร างคน


2558 1Q

บร�ษัทฯ ได รับคัดเลือกเป นสมาชิก DJSI เป นป ที่ 2 การเป นสมาชิกดัชนีความยั่งยืน ดาวโจนส อย างต อเนื่องคือบทพ�สูจน ระดับสากลที่สะท อนให เห็นว า บร�ษัทฯ มีการ พัฒนาอย างเข มแข็งและยั่งยืน มีแนวทางการดำเนินธุรกิจผ านความสมดุล ทั้งด าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ�งแวดล อม ศักยภาพและความพร อมของบร�ษทั ฯ ในวันนีจ้ ะทำให ธรุ กิจสามารถขับเคลือ่ นไปข างหน าได อย างมั่นคง และโครงการ EVEREST จะเป นเป าหมายระยะสั้นที่ท าทายและส งผลให บรรลุว�สัยทัศน ได อย างแน นอน

2Q

3Q

4Q บร�ษัทฯ ประกาศใช i SPIRIT ค านิยมใหม ขององค กร

บร�ษัทฯ ได รับเลือกเป น สมาชิก DJSI

ประเภท Emerging Markets 2015 ในกลุ ม Oil & Gas Industry ต อเนื่อง เป นป ที่สอง

ลงนามร วมทุนกับบร�ษัท PCC Rokita SA ประเทศโปแลนด

สอดคล องกับกลยุทธ การพัฒนา ผลิตภัณฑ ให มีมูลค าเพ��มสูง โดย เน นตลาดภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟ�ก

จัดพ�มพ คู มือ การกำกับดูแลกิจการทีด่ ี ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2

เร��มโครงการปรับปรุง โรงกลั่นน้ำมัน

เพ�่อเพ��มศักยภาพในการผลิต ลดต นทุน และรักษาสิ�งแวดล อม

เป ดตัวโครงการ "EVEREST" พัฒนาองค กรสู ความเป นเลิศ

โครงการ Upstream Project for Hygiene and Value Added Product (UHV) ก อสร างแล วเสร็จ อยู ในช วงงาน ทดสอบเดินเคร�่อง

ร วมกับบร�ษัท บลูไล ท อุตสาหกรรม จำกัด เป ดตัว กระเป าเดินทางที่ทำจาก เม็ดพลาสติก Green ABS ครั้งแรกของโลกภายใต แบรนด “คาจ�โอนี่ (CAGGIONI)”

ร วมกับบร�ษัท วันเดอร เว�ร ล โปรดัคส จำกัด เป ดตัวของเล นพลาสติกผสมไม “Wood Plastic Composite” ภายใต ชื่อผลิตภัณฑ “TrixTrack”

เร��มใช หลักปฏิบัติทางธุรกิจ ในการส งเสร�มสิทธิเด็ก เร��มดำเนินโครงการ ตามแนวทางของ IRPC Cubic Academy

ร วมกับกรมศิลปากรบูรณะวัดขรัวตาเพชร ในคลังน้ำมันอยุธยา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร� ทรงเป ดโรงเร�ยนกำเนิดว�ทย และสถาบันว�ทยสิร�เมธี ซึ่งบร�ษัทฯ ร วมกับกลุ ม ปตท. จัดตั้งข�้นเพ�่อเป น สถานศึกษาเพ�่อความเป นเลิศด านว�ทยาศาสตร

17


พัฒนาการที่สำคัญ และรางวัลแห งความสำเร็จ ป 2558 มกราคม

ลงนามร วมทุนกับบร�ษัท PCC Rokita SA ประเทศ โปแลนด เป นการลงทุนทีส่ อดคล องกับกลยุทธ การพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ ให มีม ูลค าเพิ่ม สูง (High Value Added Product) ของบร� ษ ั ท ฯ เพื ่ อ ดำเนิ น การจั ด จำหน า ย ผลิตภัณฑ โพลิยูร�เทน โดยเน นตลาดภูมิภาคเอเช�ยแปซ�ฟ กเป นหลัก

กุมภาพันธ

โล เกียรติยศด านความยั่งยืน จากตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย

บร�ษัทฯ ร วมกับบร�ษัท บลูไล ท อุตสาหกรรม จำกัด เป ดตัวกระเป าเดินทางทีท่ ำจากเม็ดพลาสติก Green ABS ครัง� แรกของโลกภายใต แบรนด “คาจ�โอนี่ (CAGGIONI)” มีคุณสมบัติแข็งแรง ทนทาน ทนแรงเสียดสี เหนียว และยืดหยุ นได มากกว าเม็ดพลาสติกทั่วไป

18


มีนาคม

เมษายน

การลงนามความร วมมือทางการผลิตและการค าเพื่อ ซ�้อ-ขายผลิตภัณฑ ABS Powder และ Resins กับ บร�ษัท Asahi Kasei Chemicals Corporation

รางวัล Thailand Top Company Awards 2015 ประเภทรางวัลพิเศษ Top Business Strategy Award จากนิตยสาร Business Plus ในเคร�อ บร�ษัท เออาร ไอพี จำกัด (มหาชน) (ARiP) และมหาว�ทยาลัยหอการค าไทย

บร� ษ ั ท ฯ เป ด ตั ว สถาบั น การเร� ย นรู “IRPC CUBIC ACADEMY” ป �นบุคลากรคุณภาพ ขับเคลื่อนองค กร สู ความยั่งยืนตามนโยบายและแนวทางหลักของกลุ ม ปตท. “สร างสรรค สงั คมอุดมป ญญา” ทีม่ ง ุ เน นการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล ให ก าวสู การเร�ยนรู อย างไม หยุดนิ่ง สร างความเป นมืออาช�พในสายงานและสร างความเข มแข็ง ทางธุรกิจ ทั�งในระดับประเทศและในระดับสากล

รางวัล Best Investor Relations by Company in 2015 จาก Corporate Governance Asia

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

19


พฤษภาคม

บร�ษัทฯ ร วมเป ดตัวโครงการความร วมมือการพัฒนา เขตประกอบการอุตสาหกรรมเช�งนิเวศ ซ�ง่ เป นการดำเนิน งานภายใต บันทึกข อตกลงความร วมมือระหว างกรม โรงงานอุตสาหกรรม เมืองคิตะคิวชู ประเทศญี่ปุ น และ ไออาร พีซ� ทั�งนี้ เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร พีซ� ได รับการพิจารณาคัดเลือกให เป นพื้นที่ที่มีศักยภาพใน การพัฒนาเป นเมืองอุตสาหกรรมเช�งนิเวศ และจะเป น ต นแบบในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเช�งนิเวศของ ประเทศ

มิถุนายน

บร�ษัทฯ ร วมกับบร�ษัท วันเดอร เว�ร ล โปรดัคส จำกัด เป ดตัวนวัตกรรมผลิตภัณฑ ของเล นพลาสติกผสมไม หร�อ “Wood Plastic Composite” ภายใต ชอ่� ผลิตภัณฑ “Trix Track” เป นการดึงเอาจุดเด นของพลาสติกมาผสม ผสานกับความเป นธรรมชาติของเนื้อไม เข าไว ด วยกัน

การลงนามสัญญาว าจ างก อสร างโครงการเพิม่ กำลังผลิต เม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี (Polypropylene Expansion Project: PPE) และโครงการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี คอมพาวด (Polypropylene Compound and Specialties Project: PPC) เพื่อสร างมูลค าเพิ่มให กับ Propylene จากโครงการเพิม่ มูลค าเพือ่ ผลิตภัณฑ สะอาด (Upstream Project for Hygiene Valued: UHV)

รางวัล Carbon Footprint for Organization 2015 ใน โครงการจัดทำแนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี ป นเลิศ (Best Practice) เพือ่ Green Supply Chain เพือ่ การส งออกเป นรายแรก ของประเทศไทย จากกระทรวงอุตสาหกรรม

20


กรกฎาคม

รางวัล Thailand ICT Excellence Awards 2015 รางวัลระดับ Excellence จากโครงการปรับปรุงและ รวมระบบงานภาษีสรรพาสามิต (Excise Integrated System) รางวัลชมเชย จากโครงการ Intelligence PORT & TANK Service

รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด นด านความปลอดภัย อาช�วอนามัยและสภาพแวดล อมในการทำงาน (สปก.) ระดับประเทศ ประจำป 2558 จากกรมสวัสดิการและ คุ มครองแรงงาน

รางวัล Asia Responsible Entrepre neurship Awards 2015 ด าน Social Empowerment จากโครงการ “From Bench to Community” (โครงการ ขาเทียม) จาก Enterprise Asia

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

21


สิงหาคม

บร�ษัทฯ ร วมรับเสด็จฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร� ทรงเป ดโรงเร�ยนกำเนิดว�ทย และ สถาบันว�ทยสิร�เมธ�ของบร�ษัทในกลุ ม ปตท. ณ ตำบล ป ายุบใน อำเภอวังจันทร จังหวัดระยอง

บร�ษัทฯ รับมอบรางวัล Asia Best Employer Brand Awards 2015 จากสถาบันด านการบร�หารทรัพยากร บุคคล Employer Branding Institute ประเทศอินเดีย

22

กันยายน

การลงนามสัญญาสนับสนุนทางการเง�นมูลค า 220 ล าน เหร�ยญสหรัฐฯ กับธนาคารกสิกรไทย เพือ่ ใช ในการขยาย ระยะเวลาการชำระค าน�ำมันดิบกับบร�ษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซ�ง่ จะช วยเสร�มสภาพคล องสำหรับการประกอบ ธุรกิจของบร�ษัทฯ และรองรับการขยายงานในอนาคต

บร�ษัทฯ ได รับการจัดอันดับดัชนีความยั่งยืนดาวน โจนส หร�อ DJSI Emerging Market ให เป นหนึง่ ในบร�ษทั ชัน� นำ ของโลกด านการพัฒนาอย างยั่งยืนในกลุ มอุตสาหกรรม ประเภท Oil & Gas ประจำป 2558 ต อเนื่องเป นป ที่ 2


ตุลาคม

การลงนามสัญญาขาย Propylene จากโครงการ UHV (Upstream Project for Hygiene and Value Added Products) กับบร�ษัท Marubeni Thailand Co.,Ltd.

รางวัลโรงงานอุตสาหกรรมเช�งนิเวศ Eco Factory จากสถาบันสิ่งแวดล อม อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห ง ประเทศไทย

บร�ษทั ฯ ประกาศใช i SPIRIT เป นค านิยมใหม ขององค กร เพือ่ ให พนักงานได ยดึ ถือเป นหลักปฏิบตั ใิ นการปรับเปลีย่ น ทัศนคติและพฤติกรรมการทำงาน ซ�่งจะนำไปสู ผลการ ปฏิบัติงานที่มีประสิทธ�ภาพและมีธรรมาภิบาล รางวัล Golden Peacock Global Award for Excellence in Corporate Governance 2015 จากสถาบัน Institute of Directors (IOD) ประเทศ อินเดีย

รางวัล Thailand Sustainability Investment Awards 2015 หร�อรายช�่อหุ นยั่งยืน จากตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ฯ สมาคม บร�ษัทหลักทรัพย สมาคมบร�ษัท จดทะเบี ย น สมาคมส ง เสร� ม สถาบันกรรมการบร�ษทั ไทย และ มูลนิธ�เพื่อคนไทย

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

23


พฤศจ�กายน

โล เกียรติคณ ุ ในโครงการ ๑ ช วย ๙ จากสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค การมหาชน) (สมศ.)

บร�ษัท ไทย เอบีเอส จำกัด ลงนามในสัญญาร วมทุน กับบร�ษทั นิปปอน เอ แอนด แอล จำกัด ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ ให มมี ลู ค าเพิม่ (High Value Added Product) ของบร�ษัทฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข งขันในกลุ ม ผลิตภัณฑ สไตร�นิคส คอมพาวด โดยมุ งเน นการขยาย ตลาดอุตสาหกรรมยานยนต ในกลุ ม AEC

รางวัลบุคคลตัวอย าง ภาคธุรกิจพลังงานและสาธารณูปโภค จากมูลนิธส� ภาว�ทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งประเทศไทย (มสวท.)

โครงการผลิตไอน�ำและไฟฟ าร วมเมืองระยอง (Muang Rayong Combined Heat and Power Project: CHP II) เดินเคร�่องเช�งพาณิชย ในระยะที่ 1

24

บร�ษัทฯ ได รับรางวัลคณะกรรมการแห งป ดีเด น และ รางวัลคณะกรรมการตรวจสอบแห งป จากโครงการ “คณะกรรมการแห งป ประจำป 2558 (Board of the Year Awards 2015)" จัดโดยสมาคมส งเสร�มสถาบัน กรรมการบร�ษทั ไทย ร วมกับตลาดหลักทรัพย แห งประเทศ ไทย สภาหอการค าแห งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรม แห งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมบร�ษัท จดทะเบียนไทย และสภาธุรกิจตลาดทุนไทย เพือ่ ประกาศ เกียรติคณ ุ และยกย องคณะกรรมการทีป่ ฏิบตั หิ น าทีอ่ ย าง มีคุณภาพและประสิทธ�ผล ซ�่งเป นหัวใจสำคัญของการ กำกับดูแลกิจการที่ดี


ธันวาคม

บร�ษัทฯ เป ดตัวโครงการ "EVEREST" พัฒนาองค กร สู ความเป นเลิศยกระดับศักยภาพขององค กรทั�งด าน ฮาร ดแวร ซอฟต แวร และบุคลากรเพื่อ “มุ งสู เป าหมาย สูงสุดทีท่ า ทาย และยืนหยัดได อย างยัง่ ยืน” เช นเดียวกับ การไต ข�้นไปสู จุดสูงสุดของยอดเขาเอเวอเรสต ที่สูงที่สุด ในโลก

บร�ษทั ฯ ได รบั การจัดอันดับอยูใ น Top 50 ของ ASEAN ตามเกณฑ ASEAN CG Scorecard

บร�ษัทฯ ร วมให คำมั่นในการส งเสร�มสิทธ�เด็กและหลัก ปฏิบัติทางธุรกิจ (Children's Rights and Business Principles: CRBP) ในงานความยั่งยืนในมิติเด็ก: ธุรกิจเพื่อวันหน า (Children Sustainability Forum: Business for the Future)

โครงการ Upstream Project for Hygiene and Value Added Products (UHV) ก อสร างแล วเสร็จ อยู ใน ช วงงานทดสอบเดินเคร�่อง คาดว าจะดำเนินการผลิต เช�งพาณิชย ได ในไตรมาสแรกของป 2559

รางวัล Best Corporate Governance Asia 2015 จากนิ ต ยสาร Corporate Governance Asia เขตบร� ห ารพิ เ ศษ ฮ องกงแห งสาธารณรัฐประชาชนจ�น

บร�ษัทฯ รับรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำป 2558 (Sustainability Report Award 2015) ระดับดีเด น จาก ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ซ�ง่ ในป 2558 ไออาร พซี � เป น 1 ใน 32 บร�ษัท ที่ได รับรางวัลรายงานความยั่งยืน จากทั�งสิ้น 106 บร�ษัท โดยได รับรางวัลต อเนื่องเป น ป ท่ี 3 จากโครงการประกาศรางวัลรายงานความยั่งยืน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

25



BOARD RESPONSIBILITY

ความรับผ�ดชอบของคณะกรรมการบร�ษัท คณะกรรมการบร�ษัท โครงสร างองค กร คณะผู บร�หาร รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ การควบคุมภายใน สารประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค าตอบแทน สารประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง สารประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี รายงานการกำกับดูแลกิจการที่ดี


คณะกรรมการบร�ษัท

นายเชิดพงษ สิร�ว�ชช กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ

28

นายเทว�นทร วงศ วานิช ประธานกรรมการบร�ษัท

นายวุฒิสาร ตันไชย กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา และกำหนดค าตอบแทน


นายสรัญ รังคสิร� กรรมการ/ ประธานกรรมการบร�หารความเสี่ยง/ กรรมการสรรหาและกำหนด ค าตอบแทน

นายวัชรกิติ วัชโรทัย กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ กำกับดูแลกิจการที่ดี

นายประสิทธิ์ สืบชนะ กรรมการ

(ลาออก 4 มกราคม 2559)

นายชวลิต พันธ ทอง กรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

29


30

นายเอกนิติ นิติทัณฑ ประภาศ

นายชาญศิลป ตร�นุชกร

พลโทสสิน ทองภักดี

นายทรงภพ พลจันทร

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการอิสระ/ กรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหาและกำหนดค าตอบแทน/ กรรมการตรวจสอบ


นายธรัมพ ชาลีจันทร

นายประมวล จันทร พงษ

นายสมนึก บำรุงสาลี

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการ/ กรรมการกำกับดูแลกิจการที่ดี

กรรมการ

กรรมการ/ กรรมการบร�หารความเสี่ยง/ กรรมการผู จัดการใหญ / เลขานุการคณะกรรมการบร�ษัทฯ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

31


คณะกรรมการบริษัท นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานกรรมการ จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 900 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.0000044 อายุ : 57 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558

การศึกษา/ การอบรม

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาโท วิศวกรรมเคมี, Rice University สหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท วิศวกรรมปิโตรเลียม, University of Houston สหรัฐอเมริกา • โครงการอบรมผู้บริหารระดับสูง สถาบันศศินทร์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Senior Executive Program (SEP) รุ่นที่ 7 • โครงการอบรมผูน้ �ำ สากล (Program for Global Leadership: PGL) Harvard Business School สหรัฐอเมริกา รุ่นที่ 3 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง (ปปร.) สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 10 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รุ่นที่ 6 • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกัน ประเทศ รุ่นที่ 22 • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 7 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 3 • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 21/2545 • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 6/2552 • หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 13/2554 • หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 15/2558

ประสบการณ์ท�ำ งาน • ก.ย. 2557 - ก.ย. 2558 ประธานกรรมการ บริษัท อสมท จำ�กัด (มหาชน) • พ.ค. 2555 - ก.ย. 2558 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิต ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

32

• ม.ค. 2553 - เม.ย. 2555 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2553 - เม.ย. 2555 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2552 - มี.ค. 2554 ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด • ก.ค. 2552 - ธ.ค. 2552 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงิน/ รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลยุทธ์และพัฒนาองค์กร บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ก.ค. 2552 - ต.ค. 2552 กรรมการ/ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน บริษทั ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2550 - เม.ย. 2533 กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2558 - ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ/ เลขานุการคณะกรรมการ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิต ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ก.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ • ก.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ Board of Trustee สมาคมจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA) • พ.ย. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ คณะกรรมการ พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ (กพข.) • พ.ย. 2557 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการพลังงาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติ


นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 69 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2552

การศึกษา/ การอบรม • เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมดี) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ • M.A. Economics Georgetown University, USA • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 40 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับนักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า (ปปร.) รุ่นที่ 5 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สถาบันพัฒนาข้าราชการ พลเรือน (นบส.1) รุ่นที่ 13/2536 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 5 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 8/2547 • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 10/2547 • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 13/2547 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 104/2551 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 27/2552 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • พ.ย. 2554 - ต.ค. 2557 ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2549 - 2551 กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการสรรหา บริษทั ปตท. เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ • 2548 - 2550 บริษทั โรงกลัน่ น้�ำ มันระยอง จำ�กัด (มหาชน) • 2547 - 2551 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. สำ�รวจและผลิต ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2547 - 2551 ประธานกรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

• 2546 - 2550 • 2546 - 2550 • 2546 - 2547 • 2545 - 2549

ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปลัดกระทรวงพลังงาน

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • เม.ย. 2552 - ปัจจุบนั

กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ค. 2552 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษทั โซลาร์ตรอน จำ�กัด (มหาชน) • 2552 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท เงินทุนแอ๊ดวานซ์ จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2555 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จำ�กัด • 2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท วิทัยไบโอเพาเวอร์ จำ�กัด • 2552 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เอเวอร์กรีน พลัส จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

33


นายวุฒิสาร ตันไชย

นายทรงภพ พลจันทร์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน/ กรรมการตรวจสอบ

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 57 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2558

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 61 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2556

การศึกษา/ การอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) มหาวิทยาลัยขอนแก่น • พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) (พบ.ม.) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • Master of Policy Science (M.P.S.) International Program, Saitama University, Japan • ประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรวุฒิบัตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการ และผู้บริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 1

ประสบการณ์ท�ำ งาน • ต.ค. 2557 - เม.ย. 2558 กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2556 - เม.ย. 2558 ประธานกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2555 กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2552 - เม.ย. 2558 กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • มิ.ย. 2558 - ปัจจุบัน

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน เลขาธิการ สถาบันพระปกเกล้า • ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญ 2558 • ปัจจุบัน กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา • ปัจจุบัน กรรมการ คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ • ปัจจุบัน อนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ • ปัจจุบัน กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน

34

การศึกษา/ การอบรม

• วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาธรณีวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • Ph.D. (Petroleum Geology), Royal Holloway and Bedford New College, University of London, U.K. • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง วิทยาลัยยุติธรรมการปกครอง (บยป.) รุ่นที่ 3 • หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุน่ ที่ 2 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 50 • Advanced Executive Program, Kellogg School of Management, Northwestern University, USA • ASEAN Executive Program, New York, USA • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สำ�นักงาน ก.พ. (นบส.1) รุน่ ที่ 42 • หลักสูตร Directors Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 23/2547 • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors Program (FND) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 9/2547 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ทำ�งาน • ก.ค. 2557 - ก.ย. 2557 ผู้ตรวจราชการกระทรวงพลังงาน • เม.ย. 2556 - ต.ค. 2557 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2557 อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน • 2549 - 2553 รองอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน • 2545 - 2549 ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ สำ�นักงาน ปลัดกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงาน • 2543 หัวหน้าส่วนนโยบายและแผน กองเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมทรัพยากรธรณี • 2539 รองประธานหัวหน้าเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (DCEO) องค์กรร่วมไทย - มาเลเซีย

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • มิ.ย. 2558 - ปัจจุบัน • ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน • เม.ย. 2556 - ปัจจุบัน

กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)


นายสรัญ รังคสิริ

นายวัชรกิติ วัชโรทัย

กรรมการ/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 58 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2556

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 260,250 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00127 อายุ : 55 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2554

การศึกษา/ การอบรม

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • M.S. Management, Polytechnic Institute of New York, USA • NIDA-Wharton Executive Leadership Program 2009, The Wharton School of the University of Pennsylvania, USA • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 23 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและ การลงทุน สถาบันวิทยาการธุรกิจและอุตสาหกรรม (วธอ.) รุน่ ที่ 1 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5 • หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 8/2547 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 61/2548 • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors Program (FND) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 19/2548

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• 2554 - ก.ย. 2556 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้ำ�มัน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - ก.ย. 2556 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. ธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด • 2554 - ก.ย. 2556 ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด • 2554 - ก.ย. 2556 ประธานกรรมการ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำ�กัด • 2553 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การตลาดขายปลีก บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2552 - 2553 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สื่อสารองค์กรและกิจการเพื่อสังคม บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • มิ.ย. 2558 - ปัจจุบนั กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบนั ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบนั กรรมการ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน/ กรรมการบริหารความเสีย่ ง บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

การศึกษา/ การอบรม

• ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • Master of Public Administration (M.P.A.) Roosevelt University, IL USA • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการ วิทยาลัยทองสุข • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปม.) รุ่นที่ 4/2549 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 9/2552 • หลักสูตร Public Director Institute (PDI) สถาบันพัฒนา กรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ รุ่นที่ 5/2553 • หลักสูตร “นักบริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง” วิทยาลัย การยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม (บ.ย.ส.) รุ่นที่ 15/2553 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย รุ่นที่ 5 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 1/2554 • หลักสูตร “ภูมิพลังแผ่นดิน” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง ศูนย์บริการ วิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 1/2555 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูงด้านการพัฒนา ธุรกิจอุตสาหกรรมและการลงทุน สถาบันวิทยาการธุรกิจ และอุตสาหกรรม (วธอ.) รุ่นที่ 1 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนา ผังเมือง (มหานคร รุน่ ที่ 3) สถาบันพัฒนาเมือง (ส.พ.ม.) • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 121/2552 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• เม.ย. 2554 - ส.ค. 2557 กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • 2544 - 2550 ผูช้ ว่ ยเลขาธิการพระราชวังฝ่ายทีป่ ระทับ สำ�นักพระราชวัง

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2557 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ส.ค. 2557 - ปัจจุบนั กรรมการอิสระ/ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) • ปัจจุบนั กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ปัจจุบนั กรมวังผูใ้ หญ่ สำ�นักพระราชวัง • ปัจจุบนั คณะกรรมการดำ�เนินการจัดงานกาชาด สภากาชาดไทย • ปัจจุบนั นายกสมาคมผูป้ กครองและครู โรงเรียนราชวินติ ประถม • ปัจจุบนั กรรมการผูท้ รงคุณวุฒมิ หาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา • ปัจจุบนั กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผูท้ รง คุณวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

35


นายประมวล จันทร์พงษ์

นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์

กรรมการ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 60 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2557

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 57 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2555

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า (ไฟฟ้ากำ�ลัง) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • Certificate of Rational Use of Energy สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) • สามัญวิศวกร สฟก. 1094 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปม.) รุ่นที่ 6 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง (ผูน้ �ำ วิสยั ทัศน์ รุน่ ที่ 45) วิทยาลัย นักบริหาร สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำ�นักงาน กพ. • หลักสูตรนักบริหารด้านพลังงานระดับสูง กระทรวงพลังงาน รุน่ ที่ 2 • หลักสูตรการบริหารงานสำ�หรับนักบริหารระดับกลาง กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2556 - 2557

• 2540 - 2544

• 2540 - 2544 และ 2552 - 2553

• 2537 - 2549

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • เม.ย. 2557 - ปัจจุบัน

อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน อนุกรรมการและเลขานุการ พิจารณาเครือ่ งจักร วัสดุและ อุปกรณ์ทป่ี ระหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อม กระทรวง วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม กรรมการคณะกรรมการพิจารณา เครื่องจักร วัสดุและอุปกรณ์ ที่ประหยัดพลังงานและรักษา สิง่ แวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม อาจารย์พเิ ศษ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง

กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ก.ค. 2557 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการกระทรวงพลังงาน

36

• นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • เนติบัณฑิตไทย สำ�นักอบรมศึกษากฎหมาย แห่งเนติบัณฑิตยสภา • นิติศาสตรมหาบัณฑิต (มูลนิธิพัฒนางานอัยการ) Bristol University, England • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 54 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 16

ประสบการณ์ทำ�งาน • 2554 - 2555 • 2546 - 2547 • 2545 - 2554

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ก.ค. 2555 - ปัจจุบัน

กรรมการ บริษัทประกันสินเชื่อ อุตสาหกรรมขนาดย่อม ที่ปรึกษา สำ�นักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กรรมการปรับโครงสร้างหนี้ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย

กรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2556 - ปัจจุบัน อัยการผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษ สำ�นักงานที่ปรึกษากฎหมาย สำ�นักงานอัยการสูงสุด • 2545 - ปัจจุบัน กรรมการปรับโครงสร้างหนี้ บรรษัทบริหารสินทรัพย์สุขุมวิท • 2545 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษา ธนาคารอาคารสงเคราะห์


นายสมนึก บำ�รุงสาลี

พลโทสสิน ทองภักดี

กรรมการ

กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 58 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2557

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 57 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2557

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • การจัดการภาครัฐและเอกชนมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • หลักสูตรนักบริหารด้านพลังงานระดับสูง สำ�นักงานปลัดกระทรวงพลังงาน (นบส.) รุ่นที่ 2/2551 • หลักสูตรนักบริหารระดับสูง สำ�นักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (นบส.) รุ่นที่ 65/2552 • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับ นักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า (ปปร.) รุน่ ที่ 16/2555 • หลักสูตรนักบริการระดับสูง 2 สำ�นักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (นบส.) รุ่นที่ 5/2556 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5/2557 • หลักสูตร “นักบริหารผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง” วิทยาลัยการยุติธรรม สำ�นักงานศาลยุติธรรม (บ.ย.ส) รุ่นที่ 20/2558

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2556 - 2557 • 2554 - 2556 • 2549 - 2554

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • เม.ย. 2557 - ปัจจุบัน

อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน รองอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ผู้อำ�นวยการสำ�นักความปลอดภัย ธุรกิจน้�ำ มัน กรมธุรกิจพลังงาน

กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ก.ค. 2557 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการกระทรวงพลังงาน

• โรงเรียนเตรียมทหาร • โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า • โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจำ� ชุดที่ 68/2532 • วิทยาลัยเสนาธิการทหาร หลักสูตรเสนาธิการทหาร รุน่ ที่ 40/2541 • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกันราช อาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ.) รุน่ ที่ 24/2554 • หลักสูตรชั้นนายพัน เหล่า ม. รุ่นที่ 7/87 FT.KNOX, KY ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรนายทหารซ่อมบำ�รุง FT.KNOX, KY ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2550 • 2546 • 2543 • 2540

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

รองเจ้ากรมยุทธการทหารบก ผู้อำ�นวยการกอง กรมยุทธการทหารบก ฝ่ายเสนาธิการ ประจำ�กรมยุทธการทหารบก (อัตรา พ.อ.(พ)) รองผู้อำ�นวยการกอง กรมยุทธการทหารบก

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน

กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2555 - ปัจจุบัน เจ้ากรมยุทธการทหารบก

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

37


นายประสิทธิ์ สืบชนะ กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 58 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 (ถึงวันที่ 4 มกราคม 2559)

การศึกษา/ การอบรม • นิติศาสตรบัณฑิต (กฎหมาย) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Strategic for Improving Director’ Effectiveness, Kellogg School of Management ประเทศสหรัฐอเมริกา • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐ เอกชน และการเมือง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร • หลักสูตรผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง รุ่นที่ 10 (Chief Information Officer: CIO) สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรการบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์เพือ่ ความสำ�เร็จ (Managing People for HR Executive) รุน่ ที่ 2 สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตรโครงการพัฒนานักบริหารระดับสูง : ผู้บริหาร ส่วนราชการ (นบส.2) สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำ�นักงาน ก.พ. • หลักสูตรการกำ�กับดูแลกิจการสำ�หรับกรรมการและผู้บริหาร ระดับสูงของรัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชน ประจำ�ปี 2553 สถาบันพัฒนากรรมการและผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ รุ่นที่ 5 • หลักสูตร “นักบริหารผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง” วิทยาลัยการยุตธิ รรม สำ�นักงานศาลยุตธิ รรม (บ.ย.ส) รุน่ ที่ 15 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและการพาณิชย์ (TEPCoT) รุ่นที่ 5 • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมการปกครอง วิทยาลัยการยุติธรรมการปกครอง สำ�นักงานศาลปกครอง (บยป.) รุ่นที่ 5 • หลักสูตร Director Certificate Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 90/2550 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 20/2550

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• มิ.ย. 2558 - ม.ค. 2559 กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2558 ประธานกรรมการบริหาร ธนาคารออมสิน • 2557 - ม.ค. 2559 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2557 - 2558 กรรมการ ธนาคารออมสิน

38

• 2557 - 2558 • 2557 - 2558 • 2555 - 2557 • 2554 - 2558 • 2554 - 2557 • 2553 - 2557 • 2553 - 2555 • 2553 • 2552 - 2554 • 2552 - 2554 • 2551 - 2553 • 2551 - 2553 • 2550 - 2551 • 2549 - 2551

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

กรรมการวินัยทางงบประมาณ และการคลัง สำ�นักงานการตรวจเงินแผ่นดิน รองปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ บริษทั ทางยกระดับดอนเมือง จำ�กัด (มหาชน) รองประธานกรรมการ บริษทั ธนารักษ์พฒ ั นาสินทรัพย์ จำ�กัด ประธานกรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง กรรมการ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเม้นท์ แอนด์ ดิเวลลอปเม้นท์ จำ�กัด กรรมการ บริษัท พีอีเอ เอ็นคอมอินเตอร์ เนชั่นแนล จำ�กัด ประธานกรรมการตรวจสอบ การเคหะแห่งชาติ กรรมการ การเคหะแห่งชาติ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาการประเมิน ราคาอสังหาริมทรัพย์ กรมธนารักษ์ กรรมการ บริษทั ทิพยประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท บางพระกอล์ฟอินเตอร์ เนชั่นแนล จำ�กัด รองอธิบดีกรมธนารักษ์ สังกัดกระทรวงการคลัง

ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2558 - ปัจจุบัน ผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง • 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค • 2556 - ปัจจุบัน กรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิ • 2550 - ปัจจุบัน ที่ปรึกษาพิเศษ สำ�นักงานศาลปกครอง


นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร กรรมการ จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี, จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 11 กุมภาพันธ์ 2559 : 500,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00245 อายุ : 55 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558

การศึกษา/ การอบรม

• เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร กรมกิจการพลเรือน ทหารบก รุ่นที่ 1 • วิทยาลัยการทัพอากาศ (วทอ.) รุ่นที่ 35/2549 • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP-20) สถาบัน บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 20 • PTT Executive Leadership, General Electric, GE, New York, USA • Advance Senior Executive Program (ASEP-5), KELLOGG & SASIN, Chicago, USA, รุ่นที่ 5/2553 • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ สำ�หรับนักบริหารระดับสูง (ปศส.) สถาบันพระปกเกล้า รุน่ ที่ 10 • หลักสูตร Leadership Excellence through Awareness and Practice (LEAP) สถาบัน INSEAD ประเทศสิงคโปร์และ ประเทศฝรั่งเศส • หลักสูตร Leadership Development Program III (LDP 3) สถาบัน PLLI, บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) รุ่นที่ 1/2557 • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร (ปริญญาบัตร วปอ.) วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 57/2557 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 7/2558 • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 85/2550 • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 12/2554 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 93/2554 • หลักสูตร Directors Luncheon Briefing (M-DLB) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 1/2556 • หลักสูตร Directors Dinner Talk (M-DDT) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 1/2557 • หลักสูตร Charted Director Class (CDC) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 11/2558

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• ต.ค. 2558 - ธ.ค. 2558 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2558 - ต.ค. 2558 กรรมการ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

• ต.ค. 2557 - ก.ย. 2558 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลยุทธ์องค์กร บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ธ.ค. 2558 ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. กรีน เอ็นเนอร์ย่ี (ประเทศไทย) จำ�กัด • มี.ค. 2556 - ก.ย. 2557 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด • มิ.ย. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • มิ.ย. 2555 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด • ก.พ. 2555 - 2557 กรรมการ บริษทั ระยองอะเซททิลนี จำ�กัด • ธ.ค. 2554 - มิ.ย. 2557 กรรมการ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด • พ.ย. 2554 - ก.ย. 2557 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด • พ.ย. 2554 - ส.ค. 2557 ประธานกรรมการ บริษัท รักษ์ป่าสัก จำ�กัด • ต.ค. 2554 - ก.พ. 2556 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจท่าเรือและบริหาร จัดการทรัพย์สิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน

กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารกลยุทธ์กลุม่ ปิโตรเลียม ขัน้ ปลาย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จำ�กัด รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

39


นายชวลิต พันธ์ทอง

นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ

กรรมการ

กรรมการ

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 59 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 44 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ปริญญาโท MBA, Central Missouri State University, USA • Senior Executive Program (SEP) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • PTT: GE Executive Leadership Program, GE Croton Ville, USA • Nida: Wharton Executive Leadership Program 2009, The Wharton School, University of Pennsylvania, USA • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 18 • หลักสูตร Directors Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 177/2556

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2556 - พ.ย. 2558 • 2556 - 2558 • 2555 - พ.ย. 2558 • 2555 - พ.ย. 2558 • 2554 - 2556 • 2553 - 2554

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2558 - ปัจจุบัน

• พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน

40

ประธานกรรมการ บริษทั ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำ�กัด รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจน้�ำ มัน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. บริหารธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. ธุรกิจค้าปลีก จำ�กัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การตลาดขายปลีก บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การตลาดพาณิชย์และต่างประเทศ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน และบริหารความยั่งยืน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ ี จำ�กัด (มหาชน)

• เศรษฐศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ปริญญาโท Economics/ Policy Economics, University of Illinois at Urbana-Champaign, USA • ปริญญาเอก Economics/ Macroeconomics and International Finance, Claremont Graduate University, USA • หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐ และกฎหมายมหาชน (ปรม.) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 9/2554 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย รุ่นที่ 93/2550 • หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย รุ่นที่ 4/2558

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2558 • 2555 - 2558 • 2553 - 2555

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน

ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ รองผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง อัครราชทูต (ฝ่ายเศรษฐกิจการคลัง) ประจำ�สหราชอาณาจักรและยุโรป

กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2558 - ปัจจุบัน ผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย รัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง


นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง/ กรรมการผู้จัดการใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 7,000,000 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.03426 อายุ : 57 ปี เริ่มดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556

การศึกษา/ การอบรม

• มี.ค. 2552 - ต.ค. 2556

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย รุ่นที่ 3/2552 • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำ�หรับ นักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า (ปปร.) รุน่ ที่ 15/2555 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 16/2556 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 26/2556 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.6) สถาบันวิทยาการพลังงาน รุ่นที่ 6/2558 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 132/2553 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 38/2555 • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 12/2555 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• พ.ย. 2556 - มิ.ย. 2558 • ม.ค. 2555 - ต.ค. 2556 • ต.ค. 2554 - ก.ย. 2556 • ม.ค. 2553 - ก.ย. 2556

กรรมการ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จำ�กัด กรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

• 2552 - 2553

• 2551 - 2552

• 2550 - 2551

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

กรรมการ บริษทั สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นง่ิ จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนและบริหารบริษัทในเครือ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการอำ�นวยการ ด้านวางแผนกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการอำ�นวยการด้านธุรกิจ บริษทั ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2556 - ปัจจุบัน

กรรมการ/ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • มี.ค. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษทั เทคโนโลยีไออาร์พซี ี จำ�กัด • ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี พีซีซี จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จำ�กัด • พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด

รายชื่อกรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2558 1. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ลาออกจากประธานกรรมการและกรรมการบริษัท

2. นายสมบัติ นราวุฒิชัย 3. นายสุรงค์ บูลกุล 4. นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ 5. นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ 6. นายสมชัย สัจจพงษ์

ลาออกจากกรรมการบริษัท ลาออกจากกรรมการบริษัท ลาออกจากกรรมการบริษัท ลาออกจากกรรมการบริษัท ลาออกจากกรรมการบริษัท

มีผลวันที่ 9 กันยายน 2558 มีผลวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 มีผลวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 มีผลวันที่ 1 กันยายน 2558 มีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2558 มีผลวันที่ 30 ตุลาคม 2558 รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

41


โครงสร างองค กร บร�ษัท ไออาร พ�ซี จำกัด (มหาชน) คณะกรรมการ บร�ษัท คณะกรรมการ สรรหาและกำหนด ค าตอบแทน

คณะกรรมการ กำกับดูแลกิจการ ที่ดี คณะกรรมการ บร�หารความเสี่ยง

คณะกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ ผู จัดการใหญ สำนักตรวจสอบภายใน

ศูนย ว�จัยผลิตภัณฑ นวัตกรรม

สำนักกิจการองค กร

สำนักบร�หารความยั่งยืน

ฝ ายกฎหมาย

กลุ มธุรกิจป โตรเคมี และการกลั่น สายงานปฏิบัติการป โตรเคมี

ฝ ายโพลิโอเลฟ นส ฝ ายสไตร�นคิ ส และอะโรเมติกส ฝ ายโอเลฟ นส

สายพาณิชยกิจ และการตลาด ฝ ายวางแผนการผลิต ฝ ายบร�หารแผนการผลิต ฝ ายจัดหาและค าวัตถุดิบ

สายงานปฏิบัติการการกลั่น

ฝ ายโรงกลั่น ฝ ายน้ำมันหล อลื่นพื้นฐาน ฝ ายอาร ดีซ�ซ�

สายงานการตลาด

ฝ ายธุรกิจป โตรเคมี ฝ ายธุรกิจป โตรเลียม ฝ ายธุรกิจท าเร�อ และทรัพย สิน

สายงานว�ศวกรรมและบำรุงรักษา

ฝ ายบำรุงรักษาโรงงาน 1 ฝ ายบำรุงรักษาโรงงาน 2 ฝ ายตรวจสอบและความเช�่อมั่นโรงงาน ฝ ายว�ศวกรรม

สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต

ฝ ายบร�หารคลังและจัดส งผลิตภัณฑ ฝ ายโรงไฟฟ า ฝ ายแท็งค ฟาร ม ฝ ายปฏิบัติการท าเร�อ

สายงานเทคโนโลยีและปฏิบัติการที่เป นเลิศ

42

ฝ ายปฎิบัติการว�จัย และพัฒนา

ฝ ายเทคโนโลยี ฝ ายปฏิบัติการที่เป นเลิศและบร�หารคุณภาพองค กร ฝ ายบร�หารเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร พีซ� ฝ ายบร�หารความปลอดภัยและอาช�วอนามัย

ฝ ายศูนย ว�เคราะห และห องปฎิบัติการ

โครงการ EVEREST

สายบัญชี และการเง�น สายงานทรัพยากรบุคคล

ฝ ายจัดการทรัพยากรบุคคล ฝ ายส งเสร�มทรัพยากรบุคคล ฝ ายพัฒนาองค กร ฝ ายบร�หารทั่วไป

ฝ ายบร�หารเง�น ฝ ายการเง�นและนักลงทุนสัมพันธ ฝ ายบัญช�บร�หารและงบประมาณ ฝ ายบัญช� ฝ ายจัดซ�้อจัดหา

สายงานแผนธุรกิจองค กร

ฝ ายแผนและบร�หารกลยุทธ ฝ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ

สายงานพัฒนาธุรกิจ

ฝ ายพัฒนาธุรกิจป โตรเคมีและคุณสมบัติพิเศษ ฝ ายพัฒนาธุรกิจป โตรเลียมและพลังงาน


คณะผู บร�หาร

นายพ�ระพงษ อัจฉร�ยชีว�น รองกรรมการผู จัดการใหญ กลุ มธรกิจป โตรเคมี และการกลั่น (ถึง 31 ธันวาคม 2558)

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ นายพงศ ประพันธ ฐิตทว�วัฒน กรรมการผู จัดการใหญ รองกรรมการผู จัดการใหญ กลุ มธุรกิจป โตรเคมีและการกลั่น/ รักษาการผู ช วยกรรมการ ผู จัดการใหญ สายงานปฏิบัติการการกลั่น

นางรัชดาภรณ ราชเทว�นทร รองกรรมการผู จัดการใหญ สายบัญชีและการเง�น

นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล รองกรรมการผู จัดการใหญ สายพาณิชยกิจและการตลาด/ รักษาการผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานการตลาด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

43


นายธรรมศักดิ์ ป ญโญวัฒน กูล ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ปฏิบัติหน าที่ผู จัดการ สำนักตรวจสอบภายใน

44

นางสาวมนว�ภา จ�ภิบาล ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สำนักกิจการองค กร/ เลขานุการบร�ษัท

นายประเวศ อัศวดากร ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ศูนย ว�จัยผลิตภัณฑ นวัตกรรม

นางสาวอรพ�นท เกตุรัตนกุล ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สำนักบร�หารความยั่งยืน


นายศิร�เมธ ลี้ภากรณ ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ผู อำนวยการโครงการ EVEREST

นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานทรัพยากรบุคคล

นางสาววนิดา อุทัยสมนภา ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานแผนธุรกิจองค กร

นายชลอ ภานุตระกูล ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานพัฒนาธุรกิจ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

45


นายว�รวัฒน ศร�นรดิษฐ เลิศ นายทฤษฎี วัฒนางกูร ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานว�ศวกรรมและ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต บำรุงรักษา

46

นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ สายงานเทคโนโลยีและ ปฏิบัติการที่เป นเลิศ

นายโพธิวัฒน เผ าพงศ ช วง นายว�ชิต นิตยานนท ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ / สายงานปฏิบัติการป โตรเคมี กรรมการผู จัดการ บร�ษัท เทคโนโลยีไออาร พ�ซี จำกัด


คณะผู้บริหาร นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการผู้จัดการใหญ่ จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 7,000,000 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.03426 อายุ : 57 ปี

การศึกษา/ การอบรม

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) สาขาวิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย รุ่นที่ 3/2552 • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำ�หรับ นักบริหารระดับสูง สถาบันพระปกเกล้า (ปปร.) รุน่ ที่ 15/2555 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 16/2556 • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 26/2556 • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยาการพลัง (วพน. 6) รุ่นที่ 6/2558 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 132/2553 • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 38/2555 • หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control & Risk Management (MIR) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 12/2555 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation Governance Matters Australia

ประสบการณ์ทำ�งาน

• พ.ย. 2556 - มิ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด • ม.ค. 2555 - ต.ค. 2556 กรรมการ บริษัท พีทีที อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด • ต.ค. 2554 - ก.ย. 2556 กรรมการ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน) • ม.ค. 2553 - ก.ย. 2556 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • มี.ค. 2552 - ต.ค. 2556 กรรมการ บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำ�กัด (มหาชน)

• 2552 - 2553

• 2551 - 2552 • 2550 - 2551

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ แผนและบริหารบริษัทในเครือ หน่วยธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการอำ�นวยการ ด้านวางแผนกลยุทธ์และพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการอำ�นวยการด้านธุรกิจ บริษัท ไทยออยล์ จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ต.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ/ กรรมการผู้จัดการใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2556 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • มี.ค. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด • ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ส.ค. 2557 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด • พ.ย. 2556 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

47


นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์

นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น/ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด/ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 264,478 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00129 อายุ : 57 ปี

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 311,480 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00152 อายุ : 53 ปี

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยขอนแก่น • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ผู้บริหารระดับสูงในยุคโลกาภิวัฒน์ สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ปี 2552

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2557 - 2558 • 2556 - 2557

• 2554 - 2556 • 2553 - 2554

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ ารการกลัน่ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงาน บริหารจัดการทรัพยสิน/ รักษาการ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานท่าเรือ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร 4 บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบตั กิ าร 3 บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด

48

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเอเชียน • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 111/2557 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• ต.ค. 2555-เม.ย. 2558 กรรมการ บริษทั ทีพไี อ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จำ�กัด • 2554 - 2558 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ/ รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักวิจัยและพัฒนา บริษัท ไอาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการผลิต/ รักษาการผู้จัดการฝ่ายวิจัยและพัฒนา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2552 ผู้จัดการฝ่าย Complex 3 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2549 - 2551 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่าย Complex 3 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2543 - 2548 ผู้จัดการส่วน Lube Base Oil บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2538 - 2543 ผู้ช่วยผู้จัดการแผนก/ ผู้จัดการแผนก และผู้จัดการส่วน DCC บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2536 - 2538 หัวหน้ากะ แผนก ADU (1st Unit of IRPC Oil Refinery) บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2528 - 2536 Boardman และหัวหน้ากะแผนก HDPE บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ก.พ. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด


นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 102,000 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00050 อายุ : 57 ปี

การศึกษา/ การอบรม • ศิลปศาสตรบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • PTT Group Leadership Development Program III, PLLI • หลักสูตร NIDA-Wharton Executive Leadership Program, The Wharton School University of Pennsylvania • หลักสูตร TLCA Executive Development Program (EDP) สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย รุ่นที่ 4/2552 • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 111/2557 • หลักสูตร Corporate Governance for Executive สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 1/2557 • หลักสูตร Successful Formulation and Execution of Strategy สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 21/2557 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 204/2558 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2553 - ต.ค. 2558 รองกรรมการผู้จัดการสายบริหาร บริษทั พีทที ี อาซาฮี เคมิคอล จำ�กัด • 2551 - 2553 ผู้จัดการฝ่าย ฝ่ายแผนและบริหาร บริษัทในเครือปิโตรเคมี กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2544 - 2551 ผู้จัดการส่วน ฝ่ายแผนและบริหาร บริษัทในเครือปิโตรเคมี บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2539 - 2544 พนักงานวิเคราะห์และวางแผนอาวุโส กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • 2532 - 2539 หัวหน้าแผนกสินเชื่อ ฝ่ายสินเชื่อ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย • 2526 - 2532 นักการเงิน ฝ่ายบัญชีและการเงิน การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารการเงิน บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • พ.ย. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ธ.ค. 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

49


นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล

นายประเวศ อัศวดากร

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรม

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 49 ปี

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 148,600 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00073 อายุ : 57 ปี

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • หลักสูตรพัฒนาผู้บริหารระดับสูง Mini MBA คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร The Manager สถาบันการบริหารและจิตวิทยา รุ่นที่ 47 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2557 - 2558 • 2556 - 2557 • 2553 - 2556

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานบัญชี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายบัญชีบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการ สำ�นักตรวจสอบภายใน • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน เลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด

50

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยโตเกียว • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (พลังงานเคมี) มหาวิทยาลัยโตเกียว • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 98/2555 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ทำ�งาน • 2552 - 2557

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2557 - ปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์วิจัยผลิตภัณฑ์นวัตกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)


นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร/ เลขานุการบริษัท จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 57 ปี

การศึกษา/ การอบรม • ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษและธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารทางการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก • หลักสูตรผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท Fundamental Practice for Corporate Secretary สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (TLCA) • หลักสูตรพื้นฐานกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท จดทะเบียน สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (TLCA) • CGR workshop: Enhancing Good Corporate Governance based on CGR Scorecard ปี 2558 • หลักสูตร London Global Convention on Corporate Governance and Sustainability ปี 2554, 2557, 2558 • หลักสูตร CSR Thailand Conference: CSR Roadmap for ASEAN • หลักสูตร 10 th International Conference on CSR ปี 2559 • หลักสูตร Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption (CAC) • หลักสูตร Company Secretary Program (CSP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 40/2554 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 164/2555 • หลักสูตร Director Certification Program Update (DPCU) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 3/2558 • หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) รุน่ ที่ 24/2558 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia • หลักสูตร Thailand CG Forum, governance as a driving force for business sustainability

• ก.พ. 2555 - มี.ค. 2558 กรรมการ บริษัท น้�ำ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • 2554 - 2557 ผูจ้ ดั การสำ�นักกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และเลขานุการบริษัท/ รักษาการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานกิจการองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2553 - 2554 ผู้จัดการฝ่ายงานกำ�กับและสื่อสาร องค์กรและเลขานุการบริษัท บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) • 2553 ผู้จัดการฝ่ายงานกำ�กับ และสื่อสารองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2553 ผู้จัดการส่วนงานกำ�กับองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์ และการกลั่น จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2558 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2556 - ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2555 - ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท/ เลขานุการ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • 2554 - ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการจัดการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2557 - 2558

รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2555 - เม.ย. 2558 กรรมการ บริษทั ทีพไี อ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จำ�กัด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

51


นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล

นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบริหารความยั่งยืน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้อ�ำ นวยการ โครงการ EVEREST

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 92,721 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00045 อายุ : 56 ปี

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 93,154 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00046 อายุ : 48 ปี

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย • วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมผังเมือง) มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Leadership Great Leaders, Great Teams, Great Results By PacRim • Management Accounting for Non-Financial Executive สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ • Air Emission Abatement Technology for Petroleum & Petrochemical industry [Supported by The Overseas Human Resources and Industry Development Association (HIDA)] • Change Acceleration Process, GE • PTT Group VP Leadership Development Program บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • Executive Development Program 2010 มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

• 2551 - 2555

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2557 - ปัจจุบัน

52

ประสบการณ์ทำ�งาน • ก.พ. 2558 - ก.พ. 2559 • ต.ค. 2557 - 2558 • ก.ค. 2556 - ก.ย. 2557 • 2553 - 2556

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2555 - 2557

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • หลักสูตร PTT Leadership Development Program (LDP II) Harvard Business School • หลักสูตร GE Leadership Development Program • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 205/2558

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผูจ้ ดั การฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบริหารความยั่งยืน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน

เลขานุการคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจการกลั่น และธุรกิจเกี่ยวเนื่อง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้อำ�นวยการ โครงการ EVEREST ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ม.ค. 2557 - ปัจจุบัน รักษาการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • ก.ย. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด


นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์

นางสาววนิดา อุทัยสมนภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 1 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00000 อายุ : 54 ปี

จำ�นวนหุ้น IRPC 31 ธันวาคม 2558 : 210,440 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00103 อายุ : 49 ปี

การศึกษา/ การอบรม • รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำ�งาน • ต.ค. 2555 - เม.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ทีพีไอ อินเตอร์เน็ต พอร์ทัล จำ�กัด

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2554 - ปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2558 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด

การศึกษา/ การอบรม • บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงิน) (เกียรตินยิ มอันดับ 2) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การเงินและการตลาด) National University, San Diego, USA • PTT HBS Leadership Development Program, Harvard Business School, India & China รุ่นที่ 1 • Refinery Economics, Solomon Associates, Singapore • IRPC Middle Management Leadership Development Program Wave รุ่นที่ 1 • Advance Price Risk Management, Invincible Energy, Singapore • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2557 - 2558 • 2556 - 2557

• 2555 - 2556

• 2554 - 2555 • 2553 - 2554

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดบิ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดบิ / รักษาการผู้จัดการฝ่ายจัดหาและค้า วัตถุดบิ / รักษาการผูจ้ ดั การส่วนบริหาร ความเสีย่ งราคา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายจัดหาและค้าวัตถุดิบ/ รักษาการผูจ้ ดั การส่วนบริหารความ เสี่ยงราคา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายวางแผนการผลิต บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการส่วนน้ำ�มันดิบและวัตถุดิบ ปิโตรเลียม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร • ก.พ. 2559 - ปัจจุบัน เลขานุการคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

53


นายชลอ ภาณุตระกูล

นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 57 ปี

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 10,579 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00005 อายุ : 53 ปี

การศึกษา/ การอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัญฑิต (การจัดการ) สถาบันบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • อบรมหลักสูตรไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วิทยาลัย การเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 4/2556 • อบรมหลักสูตร “ภูมิพลังแผ่นดิน” สำ�หรับผู้บริหารระดับสูง ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 3/2557 • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ทำ�งาน

ประสบการณ์ท�ำ งาน

• 2553

• 2555 - 2557 • 2553 - 2555 • 2552 - 2553 • 2551 - 2552

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2557 - ปัจจุบัน

54

การศึกษา/ การอบรม

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักวิจัยและพัฒนา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานท่าเรือ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • 2554 - 2555 • 2553 - 2554

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ผู้จัดการฝ่ายคอมเพล็กซ์ และฝ่าย ศูนย์วิเคราะห์และห้องปฏิบัติการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่าย Complex 1 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและพัฒนา ทรัพยกรบุคคล บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2555 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)


นายทฤษฎี วัฒนางกูร

นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเทคโนโลยีและปฏิบัติการที่เป็นเลิศ

จำ�นวนหุ้น IRPC 31 ธันวาคม 2558 : 355,866 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00174 อายุ : 59 ปี

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 129,351 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00063 อายุ : 52 ปี

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำ�งาน • 2556 • 2555 • 2553

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2557 - ปัจจุบัน

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 4 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานท่าเรือ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด(มหาชน) ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 1 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประสบการณ์ทำ�งาน • 2554 - 2557 • 2553 - 2554 • 2553

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการผลิต บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 2 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายงานปฏิบัติการ 2 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่าย Complex 3 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2557 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเทคโนโลยีและ ปฏิบัติการที่เป็นเลิศ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

55


นายวิชิต นิตยานนท์

นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการปิโตรเคมี

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่/ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด

จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 333,394 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00163 อายุ : 56 ปี

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 148,600 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00073 อายุ : 54 ปี

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 91/2554 • หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 12/2554

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2553 - 2555 • 2552 - 2553

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ผู้จัดการฝ่ายขนส่งและจัดจ่าย ผลิตภัณฑ์ บริษัท ไออารพีซี จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2555 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการปิโตรเคมี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • ม.ค. 2559 - ปัจจุบัน รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด • ธ.ค. 2555 - ปัจจุบัน รักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ธ.ค. 2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด • ก.พ. 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมโพลียูรีเทนไทย จำ�กัด

56

• วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เครื่องกล) มหาวิทยาลัยขอนแก่น • วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) • บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต (วิชาการพัฒนาธุรกิจ) อุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • Mini MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ประเภทสามัญ-เครื่องกล (สก) สภาวิศวกร • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2554 - 2557

• 2553 - 2554 • 2552 - 2553 • 2546 - 2551

ตำ�แหน่งปัจจุบัน ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2557 - ปัจจุบัน

รักษาการผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักบริหารเขตประกอบการ อุตสาหกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายกิจการเพื่อสังคม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ตำ�แหน่งในบริษัทจำ�กัดและอื่นๆ • 2557 - ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด


นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

(ดำ�รงตำ�แหน่งตามสัญญาจ้าง ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558) จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 1,340,000 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00655 อายุ : 63 ปี

การศึกษา/ การอบรม • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา • หลักสูตร Senior Executive Program, Sasin Graduat Institute of Business Administration of Chulalongkorn University • หลักสูตร Executive Leadership Program, NIDA-Wharton Aresty Institute of Executive Education, The Wharton School University of Pennsylvania • หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน สถาบันพระปกเกล้า รุ่นที่ 6 • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 80/2549 • หลักสูตร Understanding the Fundamental of Financial Statements (UFS) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 2/2549

ประสบการณ์ทำ�งาน • มี.ค. 2556 - ธ.ค. 2558 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • เม.ย. 2557 - ธ.ค. 2558 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • มิ.ย. 2556 - ธ.ค. 2558 กรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด

• พ.ค. 2556 - ธ.ค. 2558 กรรมการ บริษทั พีทที ี เอนเนอร์ย่ี โซลูชน่ั ส์ จำ�กัด • ม.ค. 2557 - ต.ค. 2557 รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุ่มธุรกิจท่าเรือและบริหารจัดการ ทรัพย์สิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • ก.ค. 2554 - ม.ค. 2556 ประธานกรรมการ บริษัท พีทีที ยูทิลิตี้ จำ�กัด • ต.ค. 2554 - ก.ย. 2555 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ก.ค. 2552 - ก.ย. 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ แยกก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ก.ย. 2546 - มิ.ย. 2552 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ระบบท่อส่งก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • ก.ค. 2544 - ส.ค. 2546 ผู้จัดการฝ่ายระบบท่อ จัดจำ�หน่ายก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ บริษัท สแกน อินเตอร์ จำ�กัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

57


นายบุญเดช ภูริยากร

นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์

ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ ธุรกิจปิโตรเคมีและการกลัน่

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดซื้อและบริหาร

(เกษียณอายุ 31 ธันวาคม 2558)

จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 355,801 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00174 อายุ : 60 ปี

การศึกษา/ การอบรม

การศึกษา/ การอบรม

• วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ประสบการณ์ท�ำ งาน • 2555 - 2558 • 2555 - 2558 • 2553 - 2555

(เกษียณอายุ 31 ธันวาคม 2558) จำ�นวนหุน้ IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : 462,109 หุน้ คิดเป็นร้อยละ 0.00226 อายุ : 60 ปี

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ผู้จัดการฝ่าย Complex 4 บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

• บริหารธุรกิจบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • Executive Leadership Program สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย • หลักสูตร The Board’s Role in Strategic Formulation, Governance Matters Australia

ประสบการณ์ทำ�งาน • 2553 - ธ.ค. 2558 • 2551 - ส.ค. 2558

58

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดซื้อและบริหาร บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด


นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน

(ดำ�รงตำ�แหน่งถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558) จำ�นวนหุ้น IRPC ณ 31 ธันวาคม 2558 : ไม่มี อายุ : 56 ปี

การศึกษา/ การอบรม • วิทยาศาสตรบัณฑิต (สถิติ) เกียรตินิยม อันดับ 1 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • PTT Executive Program, GE CROTONVILLE, USA • PTT Leadership Development Program III • Director Certification Program (DCP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) รุ่นที่ 155/2555

ประสบการณ์ท�ำ งาน • พ.ย. 2554 - พ.ย. 2558 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) • พ.ย. 2557 - มิ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด • มิ.ย. 2556 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด • ก.พ. 2558 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด • ธ.ค. 2555 - ธ.ค. 2558 กรรมการ บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) • ก.พ. 2555 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี พลังงาน จำ�กัด • ธ.ค. 2554 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด • พ.ย. 2554 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด • พ.ย. 2554 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท น้�ำ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด • พ.ย. 2554 - พ.ย. 2558 กรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด

• ก.พ. 2554 - ต.ค. 2554 รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลั่น จำ�กัด (มหาชน) • ต.ค. 2553 - ม.ค. 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ การเงินและบัญชีองค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลั่น จำ�กัด (มหาชน) • 2551 - 2554 กรรมการ บริษัท พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ จำ�กัด • ธ.ค. 2550 - ก.ย. 2553 ผู้จัดการฝ่ายแผนกลยุทธ์องค์กร บริษัท ปตท. อะโรเมติกส์และ การกลั่น จำ�กัด (มหาชน) • 2544 - 2550 ผู้จัดการฝ่ายบัญชีและการเงิน บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) • 2538 - 2544 ผู้จัดการส่วนวัตถุดิบ และวางแผนผลิต บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) • 2538 - 2544 ผูจ้ ดั การส่วนวัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ บริษัท อะโรเมติกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) • 2528 - 2537 ผู้จัดการแผนกแผนจัดหาน้�ำ มัน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2528 - 2537 ผู้จัดการแผนกเศรษฐกิจการเงิน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) • 2525 - 2528 นักวิเคราะห์ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

ตำ�แหน่งปัจจุบัน

ตำ�แหน่งในบริษัทมหาชน • พ.ย. 2554 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สังกัดประธานเจ้าหน้าที ่ บริหารการเงิน บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

59


รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและ มีประสบการณ์สูงทั้งในด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ปิโตรเคมี และพลังงาน โดยมี นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ เป็นประธาน นายทรงภพ พลจันทร์ และนายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ เป็นกรรมการตรวจสอบ ในปี 2558 มีการประชุมรวม 12 ครั้ง ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมครบองค์ประชุมทุกครั้ง โดยคณะกรรมการตรวจสอบ เป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่และได้รับความร่วมมืออย่างดีจากฝ่ายจัดการ ผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามกฎบัตรของคณะกรรมการ ตรวจสอบ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งสอดคล้องกับประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และ สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) โดยมีนโยบายเน้นการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี และการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องเกีย่ วกับการดำ�เนินธุรกิจ รวมทัง้ สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในและระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสรุปสาระสำ�คัญใน การปฏิบัติหน้าที่ได้ดังนี้ 1. สอบทานรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลสำ�คัญของงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจำ� ปี 2558 เพื่อให้มั่นใจว่าการจัดทำ�รายงานทางการเงินของบริษัทฯ มีความถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินของไทย (Thai Financial Reporting Standards - TFRS) ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีสากล มีการเปิดเผย ข้อมูลทีส่ �ำ คัญอย่างครบถ้วนและเพียงพอ รวมทัง้ ได้สอบถามจากผูจ้ ดั การสำ�นักตรวจสอบภายในและรับฟังคำ�ชีแ้ จงจากผูบ้ ริหาร ในสายบัญชีและการเงิน และการรายงานของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับข้อมูลสำ�คัญในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน ซึ่งผู้สอบบัญชี ได้ให้การรับรองแล้วโดยไม่มีเงื่อนไข รวมทั้งได้ประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วม เพื่อรับฟังความเห็นใน การตรวจสอบรายงานทางการเงินอย่างอิสระ พร้อมทั้งรับฟังแผนการตรวจสอบซึ่งผู้สอบบัญชีรายงานว่าไม่พบประเด็นที่มี นัยสำ�คัญ และไม่พบพฤติการณ์อันควรสงสัยเกี่ยวกับการกระทำ�ที่ไม่ถูกต้องของฝ่ายจัดการ 2. สอบทานการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการตรวจสอบมุง่ เน้นการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีจรรยาบรรณ โดยได้สอบทานรายการ ระหว่างกันทีบ่ ริษทั ฯ มีการดำ�เนินการกับผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เพือ่ ป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นไปตามธรรมเนียม ปฏิบัติทางการค้า และเกิดประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เป็นสำ�คัญ รวมทั้งการสอบทานกระบวนการร้องเรียนและแจ้งเบาะแส การทุจริตของบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน ตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3. สอบทานการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee: RMSC) ซึ่งประกอบด้วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นประธาน และฝ่ายจัดการเป็นกรรมการ ทาํ หน้าทีก่ �ำ หนดกรอบมาตรฐานและกระบวนการบริหารความเสีย่ ง พิจารณาแผนการบริหารความเสีย่ ง ติดตามและประเมินผล การบริหารความเสีย่ ง และรายงานผลการบริหารความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee: RMC) ทุกไตรมาส ซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานแผนการบริหารความเสี่ยงและติดตามผลการดำ�เนินงานตามแผน บริหารความเสีย่ งของบริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้รบั การรายงานผลการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ พิจารณา ปัจจัยเสี่ยงทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โอกาสที่จะเกิด ผลกระทบ และการบริหารจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้

60


4. สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมาย คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กฎหมายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและ สิง่ แวดล้อม รวมถึงกฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ พบว่าบริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายอย่างเพียงพอ และเหมาะสม รวมทัง้ บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการในเรือ่ งของนโยบายและกระบวนการต่อต้านการคอร์รปั ชันของบริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง 5. สอบทานและกำ�กับดูแลการตรวจสอบภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานให้บริษทั ฯ มีหน่วยงานตรวจสอบภายในทีม่ คี วาม เป็นอิสระและมีหน้าที่รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิผล มีการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบที่ได้อนุมัติไว้ และติดตามผลการตรวจสอบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ได้สนับสนุนและผลักดันให้สำ�นัก ตรวจสอบภายในมีการพัฒนาการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศในการสอบทานระบบการควบคุมภายใน และการเป็นที่ปรึกษาด้าน การควบคุมภายใน สร้างความเข้าใจและการยอมรับจากหน่วยงานผู้รับการตรวจสอบ ส่งเสริมการสร้างทัศนคติและแรงจูงใจ ต่อพนักงานและผู้บริหารให้ตระหนักถึงความสำ�คัญของระบบการควบคุมภายในอย่างสม่ำ�เสมอ 6. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีประจำ�ปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และ เสนอค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ เพือ่ ให้ได้ผสู้ อบบัญชีทมี่ คี วามเป็นอิสระ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ ความสามารถ และ ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา เมื่อเห็นว่ามีความเหมาะสมแล้วจึงมีมติเห็นชอบในการแต่งตั้ง บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์ คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาก่อนนำ�เสนอขออนุมัติผู้ถือหุ้น ต่อไป โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นอิสระด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ ตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งสอดคล้องกับข้อกำ�หนดของ ก.ล.ต. เพื่อให้ความเชื่อมั่นว่า รายงานทางการเงิน ของบริษัทฯ แสดงข้อมูลอันเป็นสาระสำ�คัญและเชื่อถือได้ การปฏิบัติงานของพนักงานและผู้บริหารมีประสิทธิผล ถูกต้องตาม กฎหมาย ตลอดจนมีระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บริษัทฯ ได้รับผลประโยชน์สูงสุดและมีการเติบโตอย่างยั่งยืน

(นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์) ประธานกรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

61


การควบคุมภายใน สรุปความเห็นของคณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ตระหนักถึงความสำ�คัญในเรือ่ งของระบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ ให้การดำ�เนินงานของบริษทั ฯ มีความถูกต้อง โปร่งใส และปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอย่างครบถ้วน ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 12 มกราคม 2559 โดยมีกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเข้า ร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ โดยการซักถามข้อมูลจากฝ่ายบริหารและ สำ�นักตรวจสอบภายใน รวมทัง้ พิจารณาแบบประเมินทีฝ่ า่ ยบริหารจัดทำ�แล้วสรุปได้วา่ จากการประเมินระบบการควบคุมภายใน ของบริษัทฯ ในด้านต่างๆ 5 องค์ประกอบ คือ สภาพแวดล้อมการควบคุม การประเมินความเสี่ยง มาตรการควบคุม ระบบ สารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษทั เห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ มีความ เพียงพอและเหมาะสม โดยบริษัทฯ ได้จัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอที่จะดำ�เนินการตามระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มีระบบควบคุมภายในในเรื่องการติดตาม ควบคุม ดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทย่อยให้สามารถป้องกันทรัพย์สินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยจากการที่กรรมการหรือผู้บริหารนำ�ไปใช้โดยมิชอบหรือโดยไม่มีอำ�นาจ รวมถึงการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่อาจ มีความขัดแย้งและบุคคลที่เกี่ยวโยงกันอย่างเพียงพอแล้ว สำ�หรับการควบคุมภายในในหัวข้ออื่น คณะกรรมการบริษัทเห็นว่า บริษัทฯ มีการควบคุมภายในที่เพียงพอแล้วเช่นกัน ทั้งนี้ในปี 2558 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัทเห็นว่า บริษัทฯ มีการบริหารจัดการระบบการควบคุมภายในให้เป็นไปตามกรอบ การควบคุม COSO (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) ในสาระสำ�คัญตาม องค์ประกอบการควบคุมภายใน 5 ด้าน ดังนี้

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) ปัจจุบันได้มีคณะกรรมการบริษัทชุดย่อย 4 คณะ ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรม การสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติหน้าที่กำ�กับดูแลงานด้านต่างๆ และใน ขณะเดียวกันบริษัทฯ ได้ปรับปรุงโครงสร้างองค์กรใหม่และเปลี่ยนแปลงค่านิยมองค์กร ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และทันต่อ การเปลี่ยนแปลงต่อสภาวการณ์ของบริษัทฯ มากยิ่งขึ้น โดยพัฒนาเป็นค่านิยมใหม่คือ i SPIRIT เพื่อให้พนักงานได้ยึดถือเป็น หลักปฏิบตั ใิ นการทำ�งานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ซึง่ จะนำ�ไปสูผ่ ลการปฏิบตั งิ านทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ บรรลุเป้าหมายขององค์กร

2. การควบคุมภายในด้านการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) คณะกรรมการบริษทั ให้ความสำ�คัญในการกำ�หนดกลยุทธ์และเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจ พร้อมทัง้ แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงเพื่อกำ�กับดูแลการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ ให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ นำ�ไปสู่การ บรรลุกลยุทธ์และเป้าหมายที่ก�ำ หนดไว้ โดยบริษัทฯ นำ�แนวทางการบริหารความเสี่ยง ISO 31000:2009 ซึ่งเป็นมาตรฐานการ บริหารความเสี่ยงล่าสุดที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลมาประยุกต์ใช้ บริษัทฯ บริหารจัดการความเสี่ยงโดยระบุและประเมิน ความเสี่ยงในทุกระดับทั่วทั้งองค์กร ซึ่งพิจารณาปัจจัยเสี่ยงทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โอกาสที่จะเกิด ผลกระทบ พร้อมทั้ง กำ�หนดแนวทางจัดการความเสี่ยงเพื่อให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

62


3. การควบคุมภายในด้านมาตรการควบคุม (Control Activities) บริษัทฯ มุ่งเน้นพัฒนาระบบการควบคุมภายในและระบบคุณภาพในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทฯ เป็นไป อย่างมีระบบและช่วยลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ดำ�เนินโครงการทบทวนและ ปรับปรุงขั้นตอนการทำ�งานอย่างต่อเนื่อง เช่น ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement Excellence) ด้านทรัพยากรบุคคล (HR Excellence) ด้านการตลาด (Commercial Excellence) และด้านการปฏิบัติการ (Operational Excellence) เป็นต้น โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเป็นเลิศในกระบวนการปฏิบัติงาน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กร และสร้างการกำ�กับดูแลที่ดีควบคู่ ในด้านต่างๆ อย่างสมดุล

4. การควบคุมภายในด้านระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) บริษทั ฯ จัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารข้อมูลทัง้ ภายในและภายนอกองค์กรหลายช่องทาง รวมทัง้ มีการประชาสัมพันธ์ชอ่ งทางการรับ เรือ่ งร้องเรียนอย่างสม่�ำ เสมอ นอกจากนีไ้ ด้ให้ความสำ�คัญกับการบริหารระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูลของบริษทั ฯ โดย เฉพาะในเรือ่ งคุณภาพของสารสนเทศและความปลอดภัยของระบบข้อมูล ซึง่ ได้น�ำ ระบบการบริหารจัดการความมัน่ คงปลอดภัย สารสนเทศตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001 มาใช้ เพือ่ ให้ข้อมูลต่างๆ พร้อมใช้งานและธุรกิจสามารถดำ�เนินไปได้อย่างต่อเนื่อง

5. ระบบการติดตาม (Monitoring Activities) บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการติดตามและประเมินผลการควบคุมภายใน เพื่อให้มั่นใจว่าการควบคุมภายในสามารถดำ�เนิน ไปได้อย่างครบถ้วน เหมาะสม มีการติดตาม ควบคุม ดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอย่างเพียงพอ ในการป้องกันทรัพย์สินจากการนำ�ไปใช้โดยมิชอบหรือโดยไม่มีอำ�นาจ รวมถึงการทำ�ธุรกรรมกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ในผลประโยชน์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังรณรงค์การปฏิบัติงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการต่อต้านคอร์รัปชันใน แต่ละสายงานภายในบริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง

(นายเทวินทร์ วงศ์วานิช) ประธานกรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

63


สารประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น ในปี 2558 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามกฎบัตรครบถ้วนทุกประการ อีกทัง้ ยังได้น�ำ เสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ ถึงแนวทางใหม่ๆ ที่คณะกรรมการสรรหาฯ เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท อันส่งผลให้การดำ�เนินงานขององค์คณะโดยรวมเข้มแข็งเป็นประโยชน์สูงสุดต่อ ผู้ถือหุ้น และสอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่เข้มข้นตามมาตรฐานสากล ภารกิจที่สำ�คัญได้แก่ การเสนอแก้ไขข้อบังคับบริษัทฯ เรื่องจำ�นวนกรรมการจากจำ�นวน 5-17 ท่าน เป็น 5-15 ท่าน เพื่อให้มี โครงสร้างกรรมการที่เหมาะสมกับธุรกิจ และเทียบเคียงได้ในอุตสาหกรรมเดียวกัน การกำ�หนดแนวทางการพิจารณาแต่งตั้ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ โดยให้คณะกรรมการเลือกตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่และทำ�หน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการด้วย ทั้ง 2 เรื่องดังกล่าว คณะกรรมการบริษัทฯ เห็นชอบให้นำ�เสนอผู้ถือหุ้นและผู้ถือหุ้นได้พิจารณาอนุมัติ ในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้วางระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ปี 2558 ให้ประกอบด้วย Corporate KPI และปัจจัยสนับสนุนการเติบโตที่ยั่งยืน ซึ่งแนวทางดังกล่าวครอบคลุมทั้งเรื่องการบริหาร จัดการทางธุรกิจ ภาวะผู้นำ� ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และการ คำ�นึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม โดยตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย ซึ่งคณะกรรมการบริษัทฯ เห็นชอบให้ใช้ แนวทางดังกล่าว สามารถประเมินผลได้เพียงพอและชัดเจนทุกมิติ และเป็นเครือ่ งมือทีก่ ระตุน้ ผลักดันให้ผบู้ ริหารระดับสูงสุดได้ ใช้ศักยภาพทุกด้านให้เป็นประโยชน์ต่อบริษัทและผู้มีส่วนได้เสียอย่างเต็มที่ สำ�หรับการสรรหากรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้พิจารณาสรรหาผู้ทรงคุณวุฒิโดยใช้ข้อมูลจากกลุ่ม Directors Pool ของกระทรวงการคลังประกอบด้วย นอกเหนือไปจากเกณฑ์การสรรหาที่ก�ำ หนดไว้ อาทิ คุณวุฒิ ประสบการณ์ ความ หลากหลายในคุณสมบัติของกรรมการ สัดส่วนองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทฯ ที่ต้องมีความสมดุล โดยมีผู้มีความรู้ ความสามารถครบทุกด้าน ที่ช่วยสนับสนุนธุรกิจของบริษัทฯ และเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2554 เรื่องการแต่งตั้งข้าราชการระดับสูงหรือบุคคลดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในรัฐวิสาหกิจและ/หรือบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้น หลายแห่ง (ไม่เกิน 3 แห่ง) นอกจากนี้ คณะกรรมการสรรหาฯ ยังให้ความสำ�คัญกับการพิจารณาคุณสมบัตขิ องกรรมการอิสระ อย่างละเอียด เพื่อให้เป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้นที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างอิสระ ในส่วนของค่าตอบแทนกรรมการ ได้พจิ ารณาเสนอให้คงอัตราเดิมตามทีผ่ ถู้ อื หุน้ ได้อนุมตั ไิ ว้ตงั้ แต่เริม่ ก่อตัง้ บริษทั ฯ และงดโบนัส กรรมการสำ�หรับผลประกอบการปี 2557 ทัง้ นีไ้ ด้ศกึ ษาข้อมูลการเปรียบเทียบค่าตอบแทนกรรมการตามทีส่ ถาบันกรรมการบริษทั ไทย และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้สำ�รวจและให้แนวทางไว้ เพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของ ประเทศไทยและ ASEAN CG Scorecard รวมทั้งองค์กรอื่นที่มีลักษณะธุรกิจและขนาดใกล้เคียง นอกจากนั้นในการพิจารณา กำ�หนดอัตราค่าตอบแทนต่างๆ คณะกรรมการสรรหาฯ ได้พิจารณาให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้น ซึ่งประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นต้องให้ความสำ�คัญสูงสุด คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะมุ่งมั่นปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างเต็มที่ ควบคูไ่ ปกับการศึกษาหาแนวทางพัฒนากระบวนการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนให้ยงั ประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ และท่านผู้ถือหุ้นทุกท่านต่อไป

(นายวุฒิสาร ตันไชย) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

64


สารประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ได้ตระหนักและให้ความสำ�คัญเป็นอย่างยิง่ ต่อการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสีย ในการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ รวมถึงป้องกัน และลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้น ภายใต้สภาพแวดล้อมและความไม่แน่นอนในการดำ�เนินธุรกิจ คณะกรรมการบริษัทฯ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Committee) ขึ้นในเดือนพฤศจิกายน 2557 โดยมี หน้าที่และความรับผิดชอบในการกำ�หนดนโยบาย แนวทางการบริหารความเสี่ยง กำ�กับดูแลการดำ�เนินงานด้านการบริหาร ความเสี่ยงองค์กร รวมถึงให้ข้อเสนอแนะแนวทางเพื่อให้ความเสี่ยงลดลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ โดยมี นายสรัญ รังคสิริ เป็นประธานฯ นายประสิทธิ์ สืบชนะ และนายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ เป็นกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าวเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ด้านการบริหารความเสี่ยง โดยตลอดปี 2558 ที่ผ่านมา ได้มีการประชุม รวม 5 ครั้ง สรุปผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ดังนี้ 1. ทบทวนและปรับปรุงนโยบายการบริหารความเสี่ยงองค์กร ให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ เทียบเคียงกับบริษัทชั้นนำ� 2. กำ�กับดูแลและพิจารณาการบริหารความเสีย่ งองค์กร ซึง่ ประกอบด้วย การระบุ วิเคราะห์และประเมินความเสีย่ ง การกำ�หนด มาตรการจัดการความเสี่ยง พร้อมทั้งติดตามและสอบทานผลการบริหารความเสี่ยง เป็นประจำ�ทุกไตรมาส เพื่อบริหาร จัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และบรรลุเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ 3. ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารความเสี่ยงองค์กร ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารความเสีย่ ง และคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงด้านห่วงโช่อุปทานและการเงิน เพื่อนำ�ไปดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. พิจารณาและให้ความเห็นสำ�หรับรายการความเสี่ยงระดับองค์กรประจำ�ปี 2559 ก่อนการนำ�เสนอขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริษัทฯ โดยพิจารณารายการความเสี่ยงให้มีความสอดคล้องกับทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย ขององค์กร และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป 5. รายงานผลการดำ�เนินงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการบริษัทฯ ได้รับทราบเป็นประจำ�ทุกไตรมาส ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงได้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเป็นระบบ รอบคอบ และครบถ้วน เต็มกำ�ลัง ความรู้ความสามารถ ด้วยความเป็นอิสระและสอดคล้องกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชน์ต่อบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น และ ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ อย่างเหมาะสม

(นายสรัญ รังคสิริ) ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

65


สารจากประธานคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้ปฏิบัติหน้าที่ในปี 2558 ตามขอบเขตความ รับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทฯ ในด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อเป็นพลังในการขับเคลื่อน และสนับสนุนความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการเป็นบริษัทปิโตรเคมีชั้นนำ�ของเอเชีย ภายในปี 2563 ซึ่งคณะกรรมการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีตระหนักดีว่า ปัจจัยสู่ความสำ�เร็จดังกล่าวต้องมาจากการสร้างพลังร่วมอันยิ่งใหญ่จากกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานทั้งหมดภายในองค์กรที่จะร่วมกันดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจให้แก่ผู้มีส่วนได้ เสียของบริษัทฯ ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ ต้องได้รับความร่วมมือ การสนับสนุน และการยอมรับจากภายนอกองค์กรเพื่อการ เติบโตขององค์กรไปพร้อมๆ กับสังคมด้วยความผาสุขอย่างยั่งยืน คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มมี ติอนุมตั แิ ผนระยะยาว 5 ปี และแผนงานประจำ�ปี ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ นี �ำ เสนอ ประกอบด้วย กลยุทธ์ นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การต่อต้านคอร์รัปชัน ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบ ต่อสังคม และวิถีในการเสริมสร้างจริยธรรมของกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือให้เกิดการปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม และมีประสิทธิภาพยิ่งไปกว่าการปฏิบัติตามกฏหมาย ระเบียบที่ใช้บังคับในฐานะที่บริษัทฯ เป็นผู้ประกอบการ และบริษัทจดทะเบียนไทย รวมไปถึงแผนการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการเป็นพลเมืองที่ดีของประชาคมโลกให้เทียบเคียงได้กับ หลักเกณฑ์และมาตรฐานทีย่ อมรับกันโดยทัว่ ไปในกลุม่ อุตสาหกรรมและในระดับสากล คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ดี �ำ เนิน บทบาทกำ�กับดูแล ติดตามให้บริษัทฯ ดำ�เนินการและรายงานผลการดำ�เนินงานตามเป้าหมายภายในกำ�หนดเวลาที่เหมาะสม อย่างเคร่งครัด เพื่อนำ�มาทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาทั้งในแง่ของระบบการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และผู้ปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ทั้ง ในระดับกรรมการ ฝ่ายจัดการ และพนักงานของบริษัทฯ โดยมีเป้าหมายสู่ความเป็นเลิศในการดำ�เนินธุรกิจตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี พร้อมกับความมุ่งมั่นที่จะเสริมสร้างและขยายผลด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ง แวดล้อมของบริษทั ฯ ออกไปสูพ่ นั ธมิตรทางธุรกิจและผูม้ สี ว่ นได้เสีย ซึง่ ได้ด�ำ เนินการมาอย่างสม่�ำ เสมอและต่อเนือ่ ง ความพยายาม กอปรกับการปฏิบัติดังกล่าวข้างต้นอย่างจริงจังของบริษัทฯ ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับการยอมรับ ชมเชย และประกาศเกียรติคณ ุ จาก หน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก โดยเฉพาะรางวัลคณะกรรมการแห่งปีดีเด่น ประจำ�ปี 2558 และคณะกรรมการตรวจสอบแห่งปี ประจำ�ปี 2558 อันเป็นความภาคภูมิใจขององค์กร บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการปรับปรุงพัฒนาด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่สำ�คัญทั้งทางด้านนโยบาย แนวปฏิบัติที่ดี และการดำ�เนิน กิจกรรมธรรมาภิบาลอย่างบูรณาการจากภายในองค์กรออกไปสู่สังคม เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษทั ฯ เป็นไปตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต. ตลท. IOD CGR และ ASEAN CG Scorecard และเกณฑ์สากลอืน่ ๆ ทีเ่ หมาะสม อย่างครบถ้วน เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและความเชื่อมั่นของตลาดทุนอาเซียนให้มีความน่าเชื่อถือ และเป็นที่ยอมรับ และเพื่อเป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมในการดำ�รงตนเป็นบรรษัทพลเมืองที่ดีในการอยู่ร่วมกันด้วย ความผาสุขอย่างยัง่ ยืน โดยประเด็นทีม่ กี ารปรับปรุงพัฒนาทีส่ �ำ คัญในปี 2558 อาทิ การพัฒนาบทบาทของกรรมการด้านการกำ�หนด กลยุทธ์ รวมทั้งจัดให้มีการประเมินกรรมการโดยบุคคลภายนอกเพื่อให้ทราบมาตรฐานการดำ�เนินงานของบริษัทฯ และก่อให้เกิด การพัฒนาทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ การปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกันด้วยการให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยเสนอรายชือ่ บุคคล เพือ่ สรรหาเป็นกรรมการ การกำ�หนดนโยบายการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ การวางกรอบนโยบาย แนวทางการส่งเสริมจริยธรรม ความ โปร่งใส และการต่อต้านคอร์รปั ชันในพนักงานทุกระดับทัว่ ทัง้ องค์กร เป็นต้น (ดังมีรายละเอียดในรายงานการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ )ี คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเชื่อมั่นว่า ความพยายามของบริษัทฯ ในการสร้างระบบที่สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีมาตรฐานที่เชื่อถือได้ และความมุ่งมั่นร่วมกันปลูกฝังค่านิยมที่มีรากฐานมาจากจริยธรรมตามหลักการ กำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี และความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจจากพนั ก งานทุ ก คนในการรั บ ผิ ด ชอบต่ อ องค์ ก รและสั ง คม จะนำ �มา ซึ่งการเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กรควบคู่ไปกับสังคมและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

66

(นายวัชรกิติ วัชโรทัย) ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี


รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

Tone at the Top หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีที่คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติและกำ�หนดเป็นนโยบายต่างๆ จะเป็นแม่แบบให้ฝ่ายจัดการและบุคลากรทุกระดับปฏิบัติตาม จนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มาโดยตลอด ส่งผลให้ได้รบั การประเมินการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี (CGR) โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) อยู่ในระดับ 5 ตราสัญลักษณ์เป็นเวลา 7 ปีติดต่อกัน โดย ในปี 2558 ไออาร์พีซี มีผลการประเมินอยู่ที่ 92 คะแนน ซึ่งสูงขึ้นกว่าปี 2557 และเป็นหนึ่งในบริษัทจดทะเบียน 17 แห่ง ที่อยู่ในกลุ่มคะแนนสูงกว่า 90 คะแนน ตาม เกณฑ์ ASEAN CG Scorecard ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยประกาศเกียรติคุณให้ ไออาร์พีซี ได้รับรางวัล องค์กรลงทุนหรือสนับสนุนความยั่งยืนของไทย ประจำ�ปี 2558 (Thailand Sustainability Investment Awards 2015) ในฐานะที่มีความโดดเด่นในการดำ�เนินธุรกิจอย่าง ยั่ ง ยื น และสนั บ สนุ น กิ จ การเพื่ อ สั ง คมให้ เ ป็ น แบบอย่ า ง และยังได้รับ 2 รางวัลที่สำ�คัญ คือ คณะกรรมการแห่งปี ดี เ ด่ น และรางวั ล คณะกรรมการตรวจสอบแห่ ง ปี จาก โครงการประกาศเกียรติคุณคณะกรรมการแห่งปี ประจำ�ปี 2558 (Board of the Year Awards 2015) ในด้านการบริหารจัดการเพือ่ ความยัง่ ยืน บริษทั ฯ ได้รบั การจัด อันดับเป็นสมาชิกของ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ประเภท DJSI Emerging Markets ในกลุ่ม อุตสาหกรรมประเภท Oil & Gas ประจำ�ปี 2015 ต่อเนือ่ งเป็น

ปีที่ 2 ซึ่งเป็นเครื่องแสดงถึงความทุ่มเทในการปฏิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ ที่กำ�กับดูแลให้บริษัทฯ มีทั้งประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจและการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี

นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัท จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย (ตลท.) และตามหลักเกณฑ์ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR) เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ยึดถือเป็นแนวทางใน การปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ปฏิบัติหน้าที่โดยคำ�นึงถึงการพัฒนาและเจริญเติบโต อย่างยั่งยืน และยึดหลักสำ�คัญในการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ ทั้ง 6 ประการ “CREATE” คือ - Creation of Long Term Value: การมีวิสัยทัศน์ใน การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรในระยะยาว - Responsibility: ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่ ด้วยขีดความสามารถและประสิทธิภาพที่เพียงพอ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

67


- Equitable Treatment: การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย อย่างเท่าเทียมกัน มีความเป็นธรรมและมีคำ�อธิบาย - Accountability: ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและ การกระทำ�ของตนเอง สามารถชี้แจงและอธิบายการ ตัดสินใจนั้นได้ - Transparency: ความโปร่งใสในการดำ�เนินงานที่ สามารถตรวจสอบได้และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง - Ethics: การมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการดำ�เนิน ธุรกิจ 2. คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเป็นอิสระ บทบาทหน้าที่ ของประธานกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ แยกออกจากกันอย่างชัดเจน 3. คณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดวิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย และแผนงานทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ โดยพิจารณาถึงปัจจัยเสีย่ ง และวางแนวทางการบริหารจัดการทีม่ คี วามเหมาะสม รวมทัง้ ต้องดำ�เนินการเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าระบบบัญชี รายงานทางการเงิน และการสอบบัญชี มีความน่าเชื่อถือ 4. คณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดนโยบายต่อต้านคอร์รปั ชัน และกลไกสำ�คัญทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ป้องกันการทุจริตในการปฏิบตั ิ งานและเป็นหลักปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ ให้เกิดเป็นวัฒนธรรมทีด่ ี ขององค์กร รวมทั้งสอดส่องดูแลในเรื่องการจัดการป้องกัน และแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และรายการ ที่เกี่ยวโยงกัน

จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทฯ ยึดมั่นจรรยาบรรณในการ ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง ครอบคลุ ม ประเด็ น ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและการปฏิ บั ติ ต่ อ บุ ค ลากร สั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การ ต่อต้านการทุจริต และการปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ รวมทั้งการปฏิบัติ ต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางปฏิบตั แิ ละปลูก ฝังให้กับบุคลากรทั่วทั้งองค์กร โดยกำ�หนดไว้ในคู่มือการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งในปี 2558 ได้มีการปรับปรุงเนื้อหา ให้ครอบคลุมประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ ดีมากยิ่งขึ้น โดยได้มีการเพิ่มเติมประเด็นด้านความรับผิด ชอบขององค์กรเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน ด้านการต่อต้าน คอร์รัปชัน โดยพนักงานทุกคนต้องลงนามรับทราบจรรยา บรรณในการดำ�เนินธุรกิจและปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด ตลอด จนมุง่ เน้นการดำ�เนินธุรกิจอย่างโปร่งใสเพือ่ ให้ได้รบั ความเชือ่ มั่นจากผู้มีส่วนได้เสีย

การพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ที่สำ�คัญในปี 2558

8. คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องกำ�หนดจรรยาบรรณของ บริษัทฯ เพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน รวมถึง ลูกจ้างทุกคน ใช้เป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติ ควบคู่ ไปกับข้อบังคับและระเบียบของบริษัทฯ

เพื่อตอบสนองนโยบายบริษัทฯ ในการเป็นองค์กรแห่งความ เป็นเลิศ และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะรักษาคุณภาพการกำ�กับดูแลกิจการที่ ดีให้อยู่ในระดับแนวหน้าของ ASEAN CG Scorecard ใน ปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ปรับปรุง พัฒนาเพื่อยก ระดับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้เข้มข้นขึ้นตามมาตรฐาน สากลและเหมาะสมกับธุรกิจของบริษทั ฯ มีการทบทวนจำ�นวน คุณสมบัติ บทบาท ความรับผิดชอบของกรรมการ และกรรมการ ชุดย่อยให้ชดั เจน และสอดคล้องกับกฎระเบียบและกติกาสากล ที่พัฒนาขึ้น และเป็นไปตามข้อแนะนำ�ของ IOD ตาม เกณฑ์ CGR ซึ่งรวบรวมไว้ในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ฉบับปรับปรุงปี 2558 สรุปได้เป็น 4 เรื่อง ได้แก่ 1. ความ รับผิดชอบของกรรมการ 2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่าง เท่าเทียมกัน 3. การกำ�หนดนโยบายการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ 4. การวางกรอบนโยบาย แนวทางการส่งเสริมจริยธรรม ความ โปร่งใส และการต่อต้านคอร์รัปชัน

9. คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องจัดให้บริษัทฯ มีการปฏิบัติ ต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน ในการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ และกำ�หนดนโยบายการเปิดเผยสารสนเทศเพื่อให้มีการเปิด เผยสารสนเทศของบริษทั ฯ ทัง้ ในเรือ่ งทางการเงินและทีไ่ ม่ใช่ เรื่องทางการเงินอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้และทันเวลา และมี ช่องทางในการสื่อสารกับบริษัทฯ ที่เหมาะสม

• การจัดประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการและ คณะกรรมการชุดย่อยทุกชุด โดยผูป้ ระเมินอิสระ (Independent Assessment) เป็นปีแรก และมีแผนดำ�เนินการทุก 3 ปี นอก เหนือจากการประเมินกรรมการทีป่ ระเมินเป็นประจำ�ทุกปี และ ทำ�การทบทวนและปรับปรุงแบบประเมิน ให้สอดคล้องกับ

5. คณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องเป็นผู้นำ�ในเรื่องจริยธรรม เป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานตามแนวทางการกำ�กับดูแล กิจการที่ดีของบริษัทฯ 6. คณะกรรมการบริษทั ฯ อาจแต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย ขึ้นตามความเหมาะสม เพื่อช่วยพิจารณากลั่นกรองงานที่มี ความสำ�คัญอย่างรอบคอบ 7. คณะกรรมการบริษทั ฯ ต้องจัดให้มกี ารประเมินผลตนเอง และคณะกรรมการชุดย่อยรายปี เพือ่ ใช้เป็นกรอบในการตรวจ สอบและปรับปรุงพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งให้มีการ ประเมินโดยบุคคลภายนอกตามช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม อาทิ 3 ปี

68

10. คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายและให้มีการจัดทำ�แผน สืบทอดตำ�แหน่ง เพือ่ ให้มรี ะบบการคัดสรรบุคลากรทีจ่ ะเข้ามา รับผิดชอบในตำ�แหน่งบริหารทีส่ �ำ คัญทุกระดับอย่างเหมาะสม และมีกระบวนการสรรหาที่โปร่งใส เป็นธรรม

1. ความรับผิดชอบของกรรมการ


แนวทางการประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปี 2558 • คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้เสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ เสนอผู้ถือหุ้นแก้ไขข้อบังคับบริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ชั้นนำ�ในตลาดหลักทรัพย์ฯ โดยแก้ไขจำ�นวนกรรมการลดลง จากเดิมคือไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 17 คน เปลี่ยนเป็น ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน และให้คณะกรรมการ แต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่และ ทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

• การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายเดียวหรือหลายรายถือหุ้น รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 4 ของจำ�นวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ทัง้ หมดของบริษทั ฯ เสนอวาระการประชุมและเสนอชือ่ บุคคล เพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการเป็นการล่วงหน้า โดยได้ท�ำ หนังสือแจ้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อม กับเผยแพร่ผา่ นเว็บไซด์ของบริษทั ฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 25 กันยายน 2558 – 31 ธันวาคม 2558 เป็นการล่วงหน้าเกินกว่า 90 วัน ก่อนสิ้นปีบัญชี

3. การกำ�หนดนโยบายการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์

ในการประชุมกำ�หนดทิศทางและแผนกลยุทธ์ (BOD-STS 2015) ของบริษทั ฯ เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2558 คณะกรรมการ บริษัทฯ ได้อนุมัติแผนกลยุทธ์ด้าน CG & CSR Excellence และเห็นชอบให้มีการจัดทำ�นโยบายการกำ�กับดูแลการ ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ (Corporate Compliance Policy) เพื่อประกาศเจตนารมณ์ของบริษัทฯ ให้ชัดเจน และยกระดับมาตรฐานเกี่ยวกับการปฏิบัติงานให้ เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนิน ธุรกิจของบริษัทฯ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ใน การประชุมครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2558 ได้ พิจารณานโยบายการกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านให้เป็นไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ และประกาศใช้ทั้งองค์กรและบริษัทในเครือ ดังนี้

1. การปฎิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง เคารพและปฏิบัติตามหลักกฎหมาย กฎ ระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ �เนินธุรกิจอย่างเคร่งครัด เพื่อให้

การดำ�เนินธุรกิจเป็นไปด้วยความราบรื่นและถูกต้องตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และดำ�รงไว้ซึ่งความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและ สุขอนามัยของผู้มีส่วนได้เสีย อันเป็นพื้นฐานของการพัฒนา อย่างยั่งยืน

2. การแข่งขันอย่างเป็นธรรมและการต่อต้านการผูกขาด ทางการค้า กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ปฏิบัติตามกฎหมายการป้องกันการผูกขาดหรือกฎหมาย การแข่งขันทางการค้า และสนับสนุนการแข่งขันทางการค้า อย่างเสรีและเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติหรือเอาเปรียบผู้อื่น 3. การต่อต้านการทุจริต การให้หรือรับสินบน กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชัน (Corruption) และการให้หรือรับสินบน (Bribery) กับเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐต่างประเทศ หรือ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาคเอกชน 4. การเคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานกลุม่ บริษทั ไออาร์พซี ี ต้องเคารพ และปฏิบตั ติ ามหลักกฎหมายเรือ่ งแรงงานและสิทธิมนุษยชน และเคารพสิทธิแรงงาน สิทธิสตรี สิทธิเด็ก และศักดิศ์ รีความ เป็นมนุษย์ รวมถึงเสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคลทีไ่ ด้รบั การรับรองหรือคุ้มครองทั้งโดยกฎหมายไทยและกฎหมาย ระหว่างประเทศ 5. การคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้องปกป้องและคุ้มครองรักษาทรัพย์สินทางปัญญา ที่บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และ/หรือกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี เป็นเจ้าของ ให้พ้นจากการถูกละเมิดหรือถูกนำ�ไปใช้โดย ไม่ได้รับอนุญาต อีกทั้งเคารพและไม่ล่วงละเมิดในทรัพย์สิน ทางปัญญาของผูอ้ นื่ รวมทัง้ ส่งเสริมให้ผบู้ ริหารและพนักงาน มีการคิดสร้างสรรค์ผลงานทางทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อ ประโยชน์ของบริษัทฯ และเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

69


6. การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และต่อต้านการ สนับสนุนการเงินแก่กระบวนการก่อการร้าย กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้องมีความระมัดระวังมิให้ตกเป็นเครือ่ งมือของกระบวนการ ฟอกเงิน หรือสนับสนุนทางการเงินแก่กระบวนการก่อการ ร้าย โดยให้ความสำ�คัญกับการสอดส่องดูแลและให้เบาะแสแก่ เจ้าหน้าที่หากมีการกระทำ�ที่ไม่เป็นไปตามกฎหมาย รวมทั้ง ให้มีการบันทึกรายการและข้อเท็จจริงทางการเงินหรือ ทรัพย์สินต่างๆ ให้ถูกต้องเป็นไปตามที่กฎหมายไทยและ กฎหมายระหว่างประเทศกำ�หนด 7. การจัดการทรัพย์สิน การรักษา และการใช้ข้อมูลของบริษัท อย่างถูกต้อง กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง เก็บรักษาข้อมูลและทรัพย์สนิ ด้วยมาตรฐานการบริหารจัดการ ที่ดแี ละถูกต้องตามที่กฎหมายกำ�หนด เพื่อให้มั่นใจว่าข้อมูล และทรัพย์สินต่างๆ จะถูกใช้งานเพื่อประโยชน์สูงสุด มีการ ป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายหรือถูกนำ�ไปใช้เพื่อประโยชน์ ส่วนตัวหรือเพือ่ บุคคลอืน่ อย่างไม่ถกู ต้อง รวมถึงจะปฏิบตั ติ าม หลักการรักษาความลับของข้อมูลโดยยึดถือหลักกฎหมาย และจริยธรรมทางธุรกิจทีจ่ ะไม่น�ำ ข้อมูลของบริษทั ลูกค้า คูค่ า้ หรือข้อมูลส่วนบุคคลของผูอ้ นื่ ไปเปิดเผย หรือใช้เพือ่ แสวงหา ประโยชน์อย่างอื่นอันนอกเหนือไปจากที่ได้รับอนุญาต หรือ นอกเหนือไปจากที่ได้เข้าไปมีความสัมพันธ์ที่ถูกต้องตาม กฎหมายต่อกัน ทัง้ กฎหมายไทยและกฎหมายระหว่างประเทศ 8. ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความปลอดภัย กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานกลุ่มบริษัทไออาร์พีซี ต้อง ดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และสิ่ง แวดล้อม คำ�นึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน และผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงจัดให้มีโครงการต่างๆ เพื่อปลูก ฝังจิตสำ�นึกให้กับพนักงาน ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องในเรื่อง ดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอ • บริษทั ฯ จัดตัง้ หน่วยงาน Compliance ใช้ชอื่ ว่า ส่วนงาน เลขานุการบริษัทและกำ�กับกฎเกณฑ์ สังกัดสำ�นักกิจการ องค์กร เพื่อให้มีผู้รับผิดชอบดำ�เนินการตามนโยบายที่คณะ กรรมการบริษัทฯกำ�หนดอย่างชัดเจน อันจะทำ�ให้มั่นใจ ได้ว่าบริษัทฯ มีกระบวนการกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานให้ ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ ข้อกำ�หนด และเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยให้ครอบคลุมมาตรฐานทั้ง 3 ด้าน คือ การกำ�กับดูแลกิจการ (Governance) การบริหาร ความเสีย่ ง (Risk Management) และการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Compliance) หรือ CGR 4. การวางกรอบนโยบาย แนวทางการส่งเสริมจริยธรรม ความโปร่งใส และการต่อต้านคอร์รัปชัน • การปรับปรุงคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับ บริษทั จดทะเบียนทีก่ �ำ หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ASEAN CG Scorecard และข้อกำ�หนดอันเป็นสากลอื่นๆ

70

งานสัมมนาหลักสูตรการบริหารความเสีย่ งด้านการกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์

ในการดำ�รงตนเป็นพลเมืองโลกที่ดีและพัฒนาอย่างยั่งยืน เช่น UN Global Compact เป็นต้น และจัดพิมพ์ใหม่มอบ ให้บุคลากรทุกระดับของบริษัทฯ และบริษัทในเครือเซ็นต์รับ และให้คำ�มั่นว่าจะปฏิบัติตาม • การเข้าร่วมโครงการ Call to Action: Anti-Corruption and The Global Development Agenda ของ UNGC เพื่อ เรียกร้องและส่งสัญญาณถึงภาครัฐและเอกชนทัว่ โลกร่วมกัน ต่อต้านการทุจริต • การจัดทำ�รายงานการเปิดเผยรายการที่สงสัยว่าจะเป็น ผลประโยชน์ทขี่ ดั กันกับผลประโยชน์บริษทั ฯ โดยพนักงานทุก คนในรูปแบบ On-Line เป็นปีแรก นอกเหนือจากการรายงาน ของกรรมการและผู้บริหารตามเกณฑ์ที่ ก.ล.ต. กำ�หนด • การรณรงค์สร้างจิตสำ�นึกด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของผู้บริหารและพนักงาน และสื่อสารผ่านช่องทางต่างๆ ที่ เหมาะสมทัง้ กลุม่ ใหญ่และกลุม่ ย่อยอย่างทัว่ ถึง ผ่านการอบรม สัมมนา และระบบ E-Leaning ของบริษทั ฯ ในหัวข้อ “สำ�รวจ ดีกรี Ethics ในตัวคุณ” โดยในปี 2558 ได้ตั้งเป้าหมายให้ พนักงานร่วมทำ�แบบสำ�รวจไว้ทั้งสิ้น 500 คน ซึ่งมีพนักงาน เข้ามาทำ�แบบสำ�รวจผ่านระบบ E-learning จำ�นวน 870 คน เกินกว่าเป้าหมายที่กำ�หนดไว้ร้อยละ 74 การดำ�เนินงาน ต่อต้านคอร์รัปชันของบริษัทในกลุ่ม ปตท. ดำ�เนินการ เป็นกลุ่มเพื่อจะได้มีพลังและช่วยกระตุ้นให้บุคลากรทุกคน ร่วมกันทำ�หน้าที่เป็นเครือข่ายในการส่งต่อพลังความดี ไปยั ง ทุ ก ภาคส่ ว น ด้ ว ยความมุ่ ง หวั ง ที่ จ ะช่ ว ยนำ � พาให้ สังคมไทยเป็นสังคมที่ขาวสะอาดอย่างยั่งยืนได้ • บริษัทฯ เผยแพร่แนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและ ความรับผิดชอบต่อสังคมออกไปสู่ภายนอกที่กว้างขวาง มากขึ้น นอกเหนือจากประเทศไทยและประเทศอื่นในกลุ่ม ASEAN เพื่อแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดี และช่วยส่งเสริม ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของบริษัทฯ ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ รับรางวัล The Winner of the “Golden Peacock Global Award for Excellence in Corporate Governance 2015” โดยสถาบัน Institute of Directors (IOD) ประเทศอินเดีย และรางวัล Best Corporate Governance Asia 2015 จากนิตยสาร Corporate Governance Asia ประเทศฮ่องกง


การดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตามหลักกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีสำ�หรับบริษัทจดทะเบียนปี 2549 และปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�กับดูแลให้บริษทั ฯ มีการปฏิบตั งิ าน ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในปี 2558 สรุปเป็นราย หมวด 5 หมวด ได้แก่ 1. สิทธิของผู้ถือหุ้น 2. การปฏิบัติต่อ ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 3. การคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มี ส่วนได้เสีย 4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 5. ความ รับผิดชอบของกรรมการ

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น

บริษทั ฯ ให้การคุม้ ครองและส่งเสริมการใช้สทิ ธิของผูถ้ อื หุน้ ตาม กฎหมาย และเป็นไปตามข้อบังคับของบริษทั ฯ อย่างครบถ้วน โดยการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ตัดสินใจ ใช้สทิ ธิลงมติออกเสียง ในเรื่องสำ�คัญ รับทราบผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ แสดง ความคิดเห็นและซักถาม ก่อนการประชุม 1. การกำ�หนดสิทธิในการเข้าประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2558 และสิทธิในการรับเงินปันผลเป็นไปตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บริษัทฯ สื่อสาร ประชาสัมพันธ์รายละเอียดการประชุม สามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2558 ผ่านวารสารสำ�หรับผู้ถือหุ้น IRPC Newsletter ฉบับที่ 15/2015 ฉบับภาษาไทยพร้อม คำ�แปลซึ่งจัดส่งให้ผู้ถือหุ้นทุกรายพร้อมหนังสือเชิญประชุม และประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสถาบัน มาประชุมสามัญผู้ถือหุ้นเพื่อใช้สิทธิและรับทราบการดำ�เนิน งานของบริษัทฯ จากคณะกรรมการบริษัทฯ โดยตรง

วัน

2. คุณภาพของหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จัดทำ� หนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 พร้อม เอกสารแนบที่เกี่ยวข้องและหนังสือมอบฉันทะเพื่ออำ�นวย ความสะดวกสำ�หรับผูถ้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ดว้ ย ตนเอง โดยคำ�นึงถึงความเพียงพอครบถ้วนของข้อมูล ให้ผู้ ถือหุน้ ใช้ประกอบการตัดสินใจในแต่ละวาระ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จัด วาระการประชุมผู้ถือหุ้นที่เป็นเรื่องสำ�คัญ ในปี 2558 รวม 9 วาระ ไม่มีวาระรับรองรายงานการประชุม เนื่องจาก บริษัทฯ ได้นำ�เสนอรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นบนเว็บไซด์ พร้อมจัด ส่งรายงานการประชุมเป็นเอกสารไปยังผู้ถือหุ้นทุกรายเพื่อ พิจารณา หากมีการแก้ไขให้แจ้งกลับมายังบริษัทฯ ภายใน วันที่ 30 มิถุนายน 2557 ซึ่งไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดโต้แย้ง ถือว่า เป็นการรับรอง ในแต่ละวาระมีการระบุวัตถุประสงค์เหตุผล ความเห็นของคณะกรรมการ สรุปสาระสำ�คัญดังนี้ 2.1 วาระการพิจารณาอนุมตั งิ บการเงิน ประจำ�ปี 2557 ผ่าน การตรวจสอบและรั บ รองโดยไม่ มี เ งื่ อ นไขจากผู้ ส อบ บัญชีรับอนุญาต 2.2 วาระพิจารณาแต่งตัง้ กรรมการบริษทั ฯ ให้ขอ้ มูลกรรมการ อย่างครบถ้วน ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล อายุ ประวัติ การศึกษา ประสบการณ์การทำ�งาน จำ�นวนบริษัทที่ดำ�รงตำ�แหน่งของ กรรมการแต่ละคนที่จะเสนอแต่งตั้งไว้อย่างละเอียด เพื่อให้ ผู้ถือหุ้นมีข้อมูลประกอบการพิจารณาเลือกตั้งกรรมการที่มี คุณสมบัติเหมาะสม 2.3 วาระอนุมตั คิ า่ ตอบแทนกรรมการ บริษทั ฯ นำ�เสนอนโยบาย ในการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการ ได้แก่ ค่าตอบแทนราย เดือน ค่าเบี้ยประชุมรายครั้ง โบนัสกรรมการ (งดจ่ายโบนัส กรรมการจากผลประกอบการปี 2557 เนื่องจากผลประกอบ การขาดทุน) นอกเหนือจากนี้ บริษทั ฯ ไม่มกี ารให้คา่ ตอบแทน อื่นหรือการให้สิทธิประโยชน์อื่นใด รายละเอียด

อังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558

• คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติกำ�หนดวัน Record Date วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558 และวันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2558 ในวันที่ 3 เมษายน 2558 • บริษัทฯ แจ้งมติคณะกรรมการบริษัทฯ (ข้างต้น) ผ่านระบบเผยแพร่ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและเว็ปไซต์ของบริษัทฯ

พุธที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558

• วันกำ�หนดสิทธิเข้าร่วมประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2558 และสิทธิรบั เงินปันผล (Record Date) • นำ�เสนอหนังสือเชิญประชุมสามัญผู้ถือหุ้นฉบับสมบูรณ์ พร้อมทั้งเอกสารประกอบการประชุม ทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษไว้บนเว็บไซต์บริษทั ฯ www.irpc.co.th เป็นการล่วงหน้า 33 วันก่อนวันประชุม

พฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558

• วันปิดสมุดทะเบียน เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้าร่วมประชุม และสิทธิรับเงินปันผล

ศุกร์ที่ 11 มีนาคม 2558

• จัดส่งหนังสือเชิญประชุมให้ผู้ถือหุ้น (ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน) ดำ�เนินการโดยบริษัท ศูนย์รับฝาก หลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เป็นการล่วงหน้า 22 วันก่อนวันประชุม

พุธที่ 25 - ศุกร์ที่ 27 มีนาคม 2558 • ลงประกาศโฆษณารายละเอียดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2558 ผ่านหนังสือพิมพ์รายวัน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หนังสือพิมพ์ข่าวหุ้น - หนังสือพิมพ์ Bangkok Post) อย่างต่อเนื่อง 3 วันทำ�การก่อนวันประชุม ศุกร์ที่ 3 เมษายน 2558

• วันประชุมสามัญผู้ถือหุ้น เวลา 09.30 น. ณ ห้องบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ ชั้น 22 โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

71


2.4 วาระแต่งตัง้ ผูส้ อบบัญชีบริษทั ฯ และกำ�หนดค่าสอบบัญชี ระบุรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับผู้สอบบัญชี ได้แก่ ชื่อผู้สอบ บัญชี บริษัทที่สังกัด ประสบการณ์ความสามารถของผู้สอบ บัญชี รวมทั้งประเด็นกี่ยวกับความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี ค่าบริการสอบบัญชี และค่าใช้จ่ายอื่นที่ไม่ใช่ค่าสอบบัญชีและ การให้บริการอื่นของผู้สอบบัญชีไว้อย่างครบถ้วนและชัดเจน 2.5 วาระอนุมตั จิ า่ ยเงินปันผล บริษทั ฯ เปิดเผยนโยบายการ จ่ายเงินปันผล และสามารถคงสัดส่วนสภาพคล่องทางการ เงินในระดับที่เหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจ โดยระบุประเภท และทีม่ าของกำ�ไรสะสมทีน่ �ำ มาจ่ายปันผลอย่างละเอียด อัตรา เงินปันผลทีเ่ สนอจ่าย กำ�หนดวันจ่ายเงินปันผล พร้อมเหตุผล และข้อมูลประกอบการพิจารณาไว้อย่างชัดเจน 2.6 ในปี 2558 บริษทั ฯ ได้เสนอวาระพิจารณาแก้ไขข้อบังคับ บริษัทฯ ในหมวดที่ 4 คณะกรรมการ ข้อ 15 และข้อ 22 (เรือ่ งจำ�นวนกรรมการ และการแต่งตัง้ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ตามลำ�ดับ) แก้ไขจำ�นวนกรรมการ จากเดิมไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 17 คน เปลีย่ นเป็นไม่นอ้ ยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน และให้คณะกรรมการแต่งตั้งกรรมการคนหนึ่งเป็นกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ เพื่อให้ สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีของบริษัทจดทะเบียนชั้นนำ�ใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับบริษทั ใน กลุม่ ปตท. โดย บมจ. ปตท. เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ โดยแต่ละวาระที่เสนอในหนังสือเชิญประชุม บริษัทฯ มีการ กล่าวถึงวัตถุประสงค์และเหตุผล พร้อมทั้งความเห็นของ คณะกรรมการและจำ � นวนคะแนนเสี ย งที่ ต้ อ งลงมติ ใ น แต่ละวาระไว้ชัดเจน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จัดส่งหนังสือมอบฉันทะ (แบบ ก. และ แบบ ข.) ไปพร้อมกับหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นสำ�หรับผู้ถือหุ้นที่ไม่ สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง โดยระบุถึงเอกสาร หลักฐาน รวมทั้งคำ�แนะนำ� ขั้นตอนในการมอบฉันทะ เสนอรายชื่อกรรมการอิสระจำ�นวน 6 ราย เพื่อเป็นทาง เลือกให้ผู้ถือหุ้นสามารถมอบฉันทะแก่กรรมการอิสระราย ใดรายหนึ่งได้สะดวก ทั้งหมดสามารถดาวน์โหลดได้จาก

72

เว็บไซต์ www.irpc.co.thได้ รวมทั้ง หนังสือมอบฉันทะ แบบ ค. พร้อมกันนี้บริษัทฯ อำ�นวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุนสถาบัน สามารถส่งหนังสือมอบฉันทะฉบับจริง พร้อมเอกสารประกอบล่วงหน้ามาทางไปรษณีย์โดยจ่าหน้า ซองถึงเลขานุการบริษัท หรือส่วนนักลงทุนสัมพันธ์ก่อนวัน ประชุม เพื่อให้เจ้าหน้าที่บริษัทฯ ได้เตรียมตรวจสอบความ ครบถ้วนของเอกสารไว้ ก่อนทีผ่ รู้ บั มอบฉันทะจะเดินทางมาถึง เพือ่ ความสะดวกรวดเร็วในขัน้ ตอนการลงทะเบียน ทำ�ให้การ จัดประชุมราบรื่น การดำ�เนินการในวันประชุม บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 ใน วันศุกร์ที่ 3 เมษายน 2558 เวลา 09.30 น. ณ ห้องบางกอก คอนเวนชันเซ็นเตอร์ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพ 10330 และเตรียมการ อำ�นวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้น ดังนี้ • สถานที่ประชุมสะดวกในการเดินทางโดยระบบขนส่ง สาธารณะ ทั้งรถไฟฟ้าและรถประจำ�ทาง มีที่จอดรถอย่าง เพียงพอ มีการรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ • จัดการประชุมภายใต้แนวคิดการประชุมสีเขียว “Green Meeting” รักษาระดับมาตรฐานที่บริษัทฯ ได้รับการรับรอง จากองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (TBCSD) และ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (สสท.) ต่อเนื่องเป็นปี 3 • จัดเตรียมที่นั่งและเจ้าหน้าที่ไว้คอยอำ�นวยความสะดวก สำ�หรับผู้พิการ ผู้สูงอายุ หญิงมีครรภ์ • จัดให้มจี ดุ ลงทะเบียนอย่างเพียงพอ และเปิดรับลงทะเบียน เป็นเวลา 2 ชั่วโมงก่อนเวลาประชุม โดยใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้องและความรวดเร็ว • อำ�นวยความสะดวกโดยการจัดเตรียมอากรแสตมป์ใน กรณีที่ผู้ถือหุ้นมีการมอบฉันทะ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ เพื่อ ความสมบูรณ์ของเอกสารตามกฎหมาย


• จัดนิทรรศการทิศทางการดำ�เนินธุรกิจและนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ ในรูปสินค้าทีม่ จี �ำ หน่ายในท้องตลาด อาทิ ชั้นวางของในห้องน้ำ�จากเม็ดพลาสติกต้านแบคทีเรีย เพื่อให้ข้อมูลผู้ถือหุ้นและเป็นโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วม ในการให้คำ�แนะนำ� หรือสอบถามคณะกรรมการเกี่ยวกับ การดำ�เนินงานด้านการตลาดและนวัตกรรมของบริษัทฯ

การดำ�เนินการประชุมเป็นไปตามลำ�ดับ ดังนี้ 1. การประชุมเริม่ ขึน้ ตามเวลาทีก่ �ำ หนดโดยประธานกรรมการ ได้ท�ำ หน้าทีป่ ระธานทีป่ ระชุม โดยมีประธานกรรมการชุดย่อย กรรมการ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ พร้อมทัง้ ผูบ้ ริหารระดับสูง และเลขานุการบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุม (มีการบันทึกรายละเอียด ทัง้ หมดไว้ในรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ และเปิดเผยรายงานฯ บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ)

กรรมการที่เข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (12 ท่าน จากกรรมการทั้งหมด 14 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 86) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

กรรมการ นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายทรงภพ พลจันทร์ นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายสรัญ รังคสิริ นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ นายสุรงค์ บูลกุล พลโทสสิน ทองภักดี นายประมวล จันทร์พงษ์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายประสิทธิ์ สืบชนะ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

ตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการ/ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ/ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการ กรรมการ กรรมการ/ กรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการผู้จัดการใหญ่

หมายเหตุ : กรรมการทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมประชุม 2 ท่าน 1. นายวุฒสิ าร ตันไชย ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เนือ่ งจากติดภารกิจเร่งด่วน 2. นายสมบัติ นราวุฒชิ ยั กรรมการ เนือ่ งจากติดภารกิจเร่งด่วน นายกฤษฎา อุทยานิน กรรมการ ถึงแก่กรรมเมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2558

ผูบ้ ริหารระดับรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูช้ ว่ ยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ที่เข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 จำ�นวน 10 ท่าน 2. บริษัทฯ จัดให้มีที่ปรึกษากฎหมายที่เป็นอิสระจาก บริษัท วีระวงศ์ ชินวัฒน์ และเพียงพนอ จำ�กัด (นางสาวเพียงพนอ บุญกล่�ำ ) เพือ่ ทำ�หน้าทีด่ แู ลให้การประชุมผูถ้ อื หุน้ เป็นไปอย่าง ถูกต้องตามกฎหมาย ผู้สอบบัญชีที่เข้าร่วมประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 คือ นายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอส จำ�กัด (PWC) และ บริษทั ฯ เปิดโอกาสให้มผี ตู้ รวจสอบการนับคะแนนเสียงในการ ประชุมผู้ถือหุ้น จำ�นวน 2 คน ซึ่งทำ�หน้าที่สังเกตการณ์และ เป็นคนกลางในการตรวจนับคะแนน ได้แก่ 1. นางสาวรัชดา คลองโปร่ง อาสาสมัครจากผู้ถือหุ้น ที่เข้าร่วมประชุม 2. นายสุรพงษ์ เต็มบุญประเสริฐสุข อาสาสมัครจาก ผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุม 3. ก่อนเข้าสู่วาระการประชุม ประธานที่ประชุมได้แจ้ง ที่ประชุมรับทราบวิธีการออกเสียงลงคะแนนและการนับ คะแนนอย่างชัดเจน โดยบริษัทฯ มีการออกหุ้นประเภทเดียว (One class of Share) สิทธิออกเสียงหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง

4. ในวาระการแต่งตั้งกรรมการ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นลง คะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคล โดยเสนอชื่อ กรรมการให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนทีละคน และตามแนวปฏิบัติ ที่ดีของบริษัทฯ กรรมการผู้มีส่วนได้เสียจะออกจากห้อง ประชุมในวาระนั้น มีกรรมการที่มีส่วนได้เสียรวม 5 ราย ได้แก่ นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร นายเชิดพงษ์ สิรวิชช์ นายสรัญ รังคสิริ พลโทสสิน ทองภักดี และนายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ ได้ออกจากห้องประชุมระหว่างพิจารณาจน เสร็จสิ้นการลงมติในวาระนี้ ประธานที่ประชุม (นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร) ได้มอบหมายให้นายทรงภพ พลจันทร์ กรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นผูด้ �ำ เนินการประชุมวาระนี้ 5. ระหว่างการประชุมประธาน ที่ประชุมได้เปิดโอกาสให้ ผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิอย่างเท่าเทียมกันในการซักถามหรือ เสนอความคิดเห็นในที่ประชุมผู้ถือหุ้นโดยจัดสรรเวลาอย่าง เพียงพอ และให้กรรมการทีเ่ กีย่ วข้องชีแ้ จงและให้ขอ้ มูลต่างๆ แก่ผู้ถือหุ้นเข้าใจจนสิ้นข้อสงสัย และให้มีการบันทึกประเด็น คำ�ถาม คำ�ตอบ ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นไว้ในรายงานการ ประชุมเพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้าประชุมได้รับทราบ 6. บริษทั ฯ จัดให้มกี ารลงคะแนนเสียง ดูแลให้มกี ารเก็บบัตร ลงคะแนนจากผู้ถือหุ้น และตรวจสอบผลของมติ และการ บันทึกผลคะแนนจากบัตรลงคะแนนโดยใช้ระบบ Barcode ประมวลผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความรวดเร็ว มีการ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

73


แจ้งมติทปี่ ระชุมทุกวาระอย่างชัดเจนพร้อมรายละเอียดจำ�นวน เสียงทีเ่ ห็นด้วย ไม่เห็นด้วย หรืองดออกเสียง ในทุกวาระและ แสดงผลบนจอโปรเจ็คเตอร์เพื่อความชัดเจน

3. ดำ�เนินการส่งรายงานการประชุมไปยังกรมพัฒนาธุรกิจ การค้า กระทรวงพาณิชย์ และดำ�เนินการแก้ไขเพิ่มเติมข้อ บังคับบริษัทฯ ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นเรียบร้อยแล้ว

7. ประธานได้ดำ�เนินการประชุมตามลำ�ดับวาระที่แจ้งไว้ใน หนังสือเชิญประชุมอย่างเคร่งครัด และไม่มกี ารเพิม่ วาระอืน่ ๆ นอกเหนือจากที่ระบุในหนังสือเชิญประชุม

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน

หลังการประชุม: บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการ 1. จัดส่งรายงานสรุปผลการลงมติการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ในแต่ละวาระทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่านระบบ SET Portal ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเผยแพร่บน เว็บไซต์บริษัทฯ ในวันประชุม (3 เมษายน 2558) หลังจาก เสร็จสิ้นการประชุม 2. จัดส่งรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ซึง่ บันทึกการแจ้งวิธกี าร ลงคะแนน และนับคะแนนให้ผถู้ อื หุน้ ทราบก่อนเข้าสูว่ าระการ ประชุม รายละเอียดการประชุมที่สำ�คัญ โดยแยกวาระชัดเจน และครบถ้วนประกอบด้วย - เนื้อหาการประชุม - รายชื่อกรรมการและผู้บริหารระดับสูงที่เข้าประชุม/ ลาประชุม - ข้อซักถามของผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ การชีแ้ จงของกรรมการและ ผู้บริหารต่อข้อซักถามนั้นๆ - มติที่ประชุมและผลคะแนนในแต่ละวาระ พร้อมทั้ง รายละเอียดคะแนนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และ งดออกเสียงในทุกวาระที่ต้องมีการลงคะแนนเสียง พร้อมเปิดเผยบนเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย และบนเว็บไซต์บริษทั ฯ ในวันที่ 17 เมษายน 2558 (14 วัน) และจัดทำ�เป็นเอกสารส่งทางไปรษณีย์ให้ แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกราย โดยระบุให้ผถู้ อื หุน้ ทีต่ อ้ งการแก้ไขหรือ โต้แย้งส่งกลับมายังเลขานุการบริษัทฯ ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เมื่อสิ้นสุดเวลาที่กำ�หนด ไม่มีผู้ถือหุ้น รายใดขอแก้ไข ถือว่าเป็นการรับรองรายงานการประชุม

74

บริษัทฯ เคารพในสิทธิของผู้ถือหุ้นซึ่งบริษัทฯ มีการออกหุ้น เพียงหนึ่งประเภทเท่านั้น (One class of Share) โดยให้ ความสำ�คัญและปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และเป็นธรรม ดังนี้ 1. ให้ ข้ อ มู ล ทั้ ง ภาษาไทยและภาษาอั ง กฤษแก่ ผู้ ถื อ หุ้ น ล่วงหน้าอย่างเพียงพอ และผ่านหลายช่องทางที่สะดวกใน การเข้าถึงรายละเอียดระบุในส่วนการเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส 2. ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายเปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยเสนอวาระการประชุมล่วงหน้า ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น โดยผู้ถือหุ้นรายเดียวหรือ หลายรายถือหุ้นรวมกันขั้นต่ำ�ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ของ จำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงของบริษัทฯ ทั้งนี้ ในการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2559 เป็นปีแรกที่บริษัทฯ เริ่มเปิด โอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ากระบวนการสรรหา เป็นกรรมการได้ โดยได้แจ้งผู้ถือหุ้นผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ ตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน - 31 ธันวาคม 2558 3. การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพือ่ ความโปร่งใส ซื่อสัตย์สุจริต บริษัทฯ จัดทำ�คู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ (ปรับปรุงในปี 2558) กำ�หนดหลักเกณฑ์และ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับรายการผลประโยชน์ที่ขัดกัน เพื่อให้ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทใน เครือถือปฏิบัติ ดังนี้ 3.1 จัดทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการระหว่างกัน โดย คำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และมีการรายงาน/ เปิดเผยรายการดังกล่าวตามข้อกำ�หนดของ ตลท. อย่าง โปร่งใสในรายงานประจำ�ปี (รายละเอียดตามหมายเหตุ ประกอบงบการเงิน หน้า 235-328 และรายการที่เกี่ยว โยงกัน หน้า 109-113)


3.2 ไม่มีการให้ความช่วยเหลือทางการเงินกับบริษัทที่ไม่ใช่ บริษัทย่อย โครงสร้างการถือหุ้นไม่มีการถือหุ้นไขว้ใน กลุ่มบริษัทฯ และไม่มีการซื้อหุ้นบริษัทฯ คืน 3.3 จัดทำ�รายงานการถือครองหลักทรัพย์บริษัทฯ ของ กรรมการและผู้บริหาร และกำ�หนดให้กรรมการและ ผู้ บ ริ ห ารรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และบริษัทฯ ได้นำ�เสนอรายงาน ดังกล่าวต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบเป็น ประจำ�ทุกเดือน บริษัทฯ ไม่เคยได้รับการเตือนในเรื่อง ดังกล่าวจากหน่วยงานกำ�กับดูแล ในปี 2558 คณะกรรมการ บริษัทฯ ถือครองหลักทรัพย์บริษัทฯ รวมกันไม่เกินกว่า ร้อยละ 25 ของหุ้นที่ออกและชำ�ระแล้ว 3.4 ป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั ฯ ระบุในคูม่ อื การกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีส่วนที่ 4 จรรยาบรรณของคณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานบริษัทฯ ข้อ 4.1.5 จรรยาบรรณใน การดำ�เนินธุรกิจว่าด้วย การซือ้ ขายหลักทรัพย์บริษทั ฯ และ การใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ และกำ�หนดนโยบายการ ป้องกันการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ และใช้ข้อมูล ภายใน โดยกำ�หนดมาตรการข้อห้ามไม่ให้ใช้โอกาสหรือ ข้อมูลที่ได้จากการเป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน ในการหาผลประโยชน์ส่วนตน เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้ เกิดกรณีการซื้อขายหุ้นโดยใช้ข้อมูลภายใน 3.5 บริษทั ฯ แจ้งช่วงเวลางดซือ้ ขายหลักทรัพย์กอ่ นการประกาศ แจ้งข่าวงบการเงิน 45 วัน และหลังประกาศอย่างน้อย 2 วัน ให้กรรมการและผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. ทราบ ซึ่งมีการประพฤติปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 3.6 กำ�หนดให้พนักงานทุกระดับของบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ จัดทำ�รายงานการเปิดเผยรายการที่สงสัยว่าจะเป็นผล ประโยชน์ทขี่ ดั กันกับผลประโยชน์ของบริษทั ฯ ตามหลักการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี นรูปแบบออนไลน์ เพือ่ เป็นการปลูก ฝังจิตสำ�นึกการปฏิบตั งิ านด้วยความโปร่งใส ป้องกันการ ทุจริต และบริษทั ฯ นำ�เสนอรายงานผลต่อคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อทราบ พนักงานเข้าใจหลักการ เหตุผลและให้ความร่วมมือด้วยดี

3. การคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดให้บริษทั ฯ พิจารณาบทบาท และกิจกรรมสนับสนุนผู้มีส่วนได้เสียตามหลักเกณฑ์ระดับ สากลด้วยความสมัครใจ อาทิ UN Global Compact ให้ ความสำ�คัญในการรักษาสมดุลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกกลุ่ม โดยแผนงานของบริษัทฯ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว กำ�หนดให้ตอบโจทย์ความคาดหวังและความพึงพอใจแก่ ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ในแต่ละกลุ่มอย่างเหมาะสม โดย คำ�นึงถึงความยัง่ ยืน ธรรมาภิบาล และความเป็นเลิศ และจัด

ให้มชี อ่ งทางสือ่ สารกับผูม้ สี ว่ นได้เสียในแต่ละกลุม่ อย่างหลาก หลาย เหมาะสม มีประสิทธิภาพ แนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการ ดำ�เนินบทบาทของบริษัทฯ ต่อผู้มีส่วนได้เสียมีดังนี้

1. ผู้ถือหุ้น / นักลงทุน บริษทั ฯ ดำ�เนินธุรกิจด้วยความเป็นธรรมเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดและเพิ่มมูลค่าในระยะยาวให้กับผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึงถึง การเจริญเติบโตของบริษทั ฯ อย่างยัง่ ยืนและให้ผลตอบแทนที่ เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2558 บริษัทฯ ได้รับรางวัล ASEAN Corporate Governance Awards ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ ในฐานะบริษทั จดทะเบียนไทยทีไ่ ด้รบั ผลการ ประเมินในระดับ TOP 50 ASEAN PLCs ตามหลักเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard บริษทั ฯ มีการเปิดแผยข้อมูลอย่างเพียงพอ รวมทัง้ เสริมสร้าง ความสัมพันธ์อันดีและสื่อสารกับผู้ถือหุ้นและนักลงทุนผ่าน ช่องทางและกิจกรรมต่างๆ อาทิ • การพบนักลงทุนและนักวิเคราะห์ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศเป็นประจำ� (รายละเอียดปรากฏในหมวด 4 การเปิดเผยข้อมูล หน้า 79-81) • ร่วมกิจกรรมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพือ่ ส่ง เสริมการลงทุนในตลาดทุนและเผยแพร่ขอ้ มูลบริษทั ฯ อาทิ งาน SET in The City ปี 2558 • กิจกรรมโครงการผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ ที่จังหวัดระยอง ในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 • การให้ขา่ วกับสือ่ มวลชนเพือ่ เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชน ผ่านสื่อในรูปแบบต่างๆ ตลอดปี • การร่วมกิจกรรมให้ความรูน้ กั ลงทุนโดยกรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่บรรยายเจาะหุน้ กลุม่ ปิโตรเคมีและสถานการณ์น�้ำ มัน 2 ครั้ง ในเดือนมกราคมและตุลาคม • ดำ�เนินกิจกรรมเพือ่ ชุมชน สังคม ส่งเสริมเรือ่ งสิทธิมนุษยชน ร่วมกับผู้ถือหุ้น อาทิ เชิญชวนผู้ถือหุ้นร่วมทำ�กิจกรรม โครงการกระดาษหน้าที่ ๓ ของคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยนำ�ปฏิทินตั้งโต๊ะที่ ไม่ใช้แล้วมาบริจาค เพื่อจัดทำ�หนังสืออักษรเบรลล์ให้แก่ ผู้พิการ พร้อมกับบริจาคเงินสนับสนุน และบริจาคเงิน เพื่อมูลนิธิการผ่าตัดหัวใจเด็กในวาระการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น เพื่อทำ�กุศลร่วมกันทุกปี โดยมูลนิธิฯ ได้รายงาน ความสำ�เร็จในการช่วยเหลือเด็กและเยาวชนแจ้งให้ บริษัทฯ ทราบ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ส�ำ รวจความพึงพอใจของผูถ้ อื หุน้ และนัก ลงทุน รวมทัง้ ผลตอบรับและกระแสต่อเนือ่ งทัง้ ในสือ่ ออนไลน์ และในสือ่ กระแสหลักทีม่ ตี อ่ กิจกรรมทุกครัง้ เพือ่ นำ�ผลและ ข้อแนะนำ� ความคิดเห็นมาปรับปรุงและพัฒนาการดำ�เนินงาน ของบริษัทฯ ให้ดีขึ้นต่อไป รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

75


76

การประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์

ผู้ถือหุ้นเยี่ยมชมกิจการ

2. ลูกค้า / ผู้บริโภค บริษัทฯ คำ�นึงถึงคุณภาพ ความปลอดภัยและมุ่งมั่นพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการ โดยคิดค้นนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ให้เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานสากล สร้างความพึงพอใจ สูงสุดและสร้างความเชือ่ มัน่ ให้ลกู ค้าอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ตอบ สนองความต้องการของลูกค้าและคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค มีการเปิดเผยข้อมูลทางการตลาดอย่างครบถ้วน ถูกต้อง โดยไม่มกี ารปกปิดบิดเบือนข้อเท็จจริง พร้อมทัง้ พัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประสิทธิภาพและความรวดเร็วใน การติดต่อและจัดการฐานข้อมูลต่างๆ ตลอดทางตั้งแต่เริ่ม ต้นการซื้อขาย ชำ�ระค่าสินค้า การติดตามสถานะการซื้อจน ส่งมอบสินค้า และมีหน่วยงานให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� แก้ไข ปัญหาทางเทคนิครวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์/นวัตกรรม ร่วมกับลูกค้า และมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ ดีกับลูกค้าทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย (รายละเอียดปรากฏใน รายงานผลการดำ�เนินงาน หน้า 171) 3. คู่ค้า บริษัทฯ ปฏิบัติต่อคู่ค้าทุกรายด้วยความเสมอภาคและ ยุติธรรม ตามกรอบการแข่งขันทางการค้าที่สุจริต โปร่งใส บริษัทฯ ได้กำ�หนดระเบียบและจรรยาบรรณแนวปฏิบัติที่ดี ว่าด้วยการจัดหาพัสดุ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ านและ กำ�หนดนโยบายความเป็นเลิศด้านการจัดซือ้ (Procurement Excellence) และปฏิบัติต่อคู่ค้าตามกฎหมายและเงื่อนไข สัญญาด้วยความเป็นธรรมและไม่เกี่ยวข้องกับการละเมิด สิทธิมนุษยชน โดยมุง่ เน้นดำ�เนินการตามแนวทาง ESG เพือ่ สนับสนุนความอย่างยั่งยืน E : Environment กำ�หนดนโยบาย Green Procurement โดย ให้มีการจัดซื้อสินค้าที่เป็น green product เช่น ปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนด REACH & RoHS ในการสัง่ ซือ้ สารเคมี หรือให้สทิ ธิ ในการพิจารณาการจัดซือ้ สินค้าทีไ่ ด้รบั การรับรองฉลากเขียว S : Social การจ้างแรงงานท้องถิ่น สนับสนุนชุมชนท้องถิ่น จัดซื้อจากคู่ค้าที่มีแนวปฏิบัติที่เคารพสิทธิมนุษยชน

G : Governance ระเบียบ ข้อกำ�หนด วิธีการปฎิบัติ การจัดซื้อจัดหาตามมาตรฐานที่ยอมรับกันในอุตสาหกรรม ชัน้ นำ� การต่อต้านคอร์รปั ชัน การป้องกันการฟอกเงิน การขึน้ ทะเบียนคูค่ า้ Approved Vender, Manufacture, Contractor List และการจัดซื้อจัดหาที่มีประสิทธิภาพตรวจสอบได้ • บริษทั ฯ จัดกิจกรรม SUPPLIER CONFERENCE 2015 “IRPC SUSTAINABILITY GROWTH” ในวันที่ 14 ตุลาคม 2558 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ความรูก้ บั คูค่ า้ ถึงเกณฑ์ในการ ประเมิน เพือ่ เข้าอยูใ่ นทำ�เนียบรายชือ่ ของ DJSI (Sustainability Business with DJSI Appliance) การชักชวนให้คคู่ า้ ยอมรับ และปฏิบัติตามจรรยาบรรณของคู่ค้าที่กลุ่มบริษัทไออาร์พีซี จัดทำ�ขึ้นตามหลักสากล (Supplier Code of Conduct) การประกาศนโยบายต่อต้านการคอร์รปั ชันอย่างชัดเจน (AntiCorruption) และมุ่งหวังให้คู่ค้าร่วมสนับสนุนนโยบาย เมื่อพบปัญหาก็สามารถร้องเรียนผ่านช่องทางต่างๆ ได้ และชักชวนให้คู่ค้าร่วมกันผลิตสินค้า หรือเลือกซื้อสินค้าที่ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ซึ่งเป็นนโยบายของ กลุม่ บริษทั ไออาร์พซี ี ทีพ่ ยายามปฏิบตั จิ นสามารถผ่านเกณฑ์ การประเมินของ Eco-Factory โดยสถาบันสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในระดับที่ 5 รวมทัง้ แนะนำ�ระบบ Procurement Web Portal ซึง่ เป็นช่อง ทางในการติดต่อสือ่ สารข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการ จัดซื้อจัดหา เช่น ประกาศประกวดราคา e-Sourcing (RFP, RFQ), Evaluation (AVL, ACL) ซึง่ จะทำ�ให้คคู่ า้ ได้รบั ความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้มากขึ้นในทุกขั้นตอน • บริษัทฯ ได้เชิญคู่ค้ามาร่วมกิจกรรม PTT Group CG Day 2015 ที่จัดขึ้นโดย 6 บริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม ปตท. เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2558 เพื่อขยายผลและเสริมสร้างการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีและร่วมกันต่อต้านคอร์รัปชันไปสู่กลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสีย • บริษัทฯ ได้จัดงาน CSHE DAY ร่วมกับผู้รับเหมา ในวัน ที่ 27 พฤศจิกายน 2558 เพื่อเสริมสร้างจิตสำ�นึกให้แก่ผู้รับ เหมาในด้านสิทธิมนุษยชน และรณรงค์ให้ลูกจ้าง/ พนักงาน


ของผู้รับเหมาปฏิบัติงานคำ�นึงถึงคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน • บริษทั ฯ มีนโยบายงดรับของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่หรือ โอกาสอืน่ ใดจากกลุม่ คูค่ า้ รวมทัง้ งดการให้ของขวัญกับกลุม่ ดังกล่าวเช่นกัน เพือ่ สอดคล้องและเป็นไปตามหลักการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ แี ละนโยบายการต่อต้านคอร์รปั ชันของบริษทั ฯ

4. คู่แข่ง บริษทั ฯ ดำ�เนินธุรกิจโดยมีนโยบายในการปฏิบตั ติ อ่ คูแ่ ข่งอย่าง เป็นธรรมตามกรอบการแข่งขันทางการค้าที่สุจริต ภายใต้ กรอบของกฎหมาย จรรยาบรรณและจริยธรรม ว่าด้วยความ สัมพันธ์กับคู่แข่งทางการค้า รวมทั้งไม่เอาเปรียบคู่แข่ง หรือ แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับด้วยวิธที ไี่ ม่สจุ ริตหรือไม่เหมาะสม (ไม่กระทำ�การใดๆ ที่เป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา ของคู่แข่ง) ไม่ทำ�ลายชื่อเสียงของคู่แข่งด้วยการกล่าวหา ในทางร้าย โดยปราศจากข้อมูลความจริง 5. เจ้าหนี้ บริษัทฯ กำ�หนดแนวปฏิบัติที่ดีในการปฏิบัติตามเงื่อนไข สัญญา ข้อกำ�หนด และข้อผูกพันต่างๆ ที่มีต่อเจ้าหนี้การ ค้าและสถาบันการเงินอย่างเคร่งครัดและครบถ้วน รวมทั้ง การเปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริงแก่เจ้าหนี้ ในกรณี ที่บริษัทฯ ไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาได้ บริษัทฯ จะแจ้ง เจ้าหนีล้ ว่ งหน้า เพือ่ เจรจาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 6. พนักงาน บริษัทฯ ตระหนักว่าพนักงานเป็นทรัพยากรอันมีค่าในการ ขับเคลื่อนองค์กรให้ประสบความสำ�เร็จ จึงมุ่งมั่นที่จะดูแล พัฒนาศักยภาพ และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่พนักงาน ให้มคี ณ ุ ภาพอยูใ่ นระดับมาตรฐานเทียบเคียงกับบริษทั ชัน้ นำ� อืน่ ๆ ในอุตสาหกรรมเดียวกันอย่างต่อเนือ่ ง บริษทั ฯ กำ�หนด ค่าตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรมเพือ่ รักษา พนักงานทีม่ คี ณ ุ ภาพไว้กบั องค์กรในระยะยาว สร้างวัฒนธรรม และบรรยากาศในการทำ�งานที่ดี ให้ความสำ�คัญกับสิทธิ ความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานที่ทำ�งานและอุปกรณ์ ในการทำ�งาน และเคารพสิทธิส่วนบุคคลของพนักงาน สรุป กิจกรรมและการพัฒนาด้านพนักงานที่สำ�คัญ ดังนี้ • การวางโครงสร้างการบริหารทรัพยากรบุคคลสูค่ วามเป็นเลิศ (HR Excellence) เป็นส่วนหนึง่ ในโครงการ DELTA ประกอบด้วย - การปรับโครงสร้างองค์กรให้เกิดประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ได้

ดำ�เนินการปรับโครงสร้างองค์กร ประเมินค่างานและกำ�หนด โครงสร้างค่าตอบแทนและสวัสดิการ วางแผนกำ�ลังคน วางแผนพัฒนาการเจริญเติบโตทางสายอาชีพ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล - การจัดทำ�ระบบผลการปฏิบัติงาน (PMS) บริษัทฯ จัด ทำ�ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน โดยใช้ตวั ชีว้ ดั KPI เพือ่ ความเป็นธรรมและสามารถอธิบาย ได้ในการวัดผล กำ�หนดโครงสร้างเงินเดือนเทียบได้กับ อุตสาหกรรมเดียวกันให้สามารถรักษาบุคลากรไว้กบั บริษทั ฯ มี การกำ�หนดหลักเกณฑ์การพิจารณาเลือ่ นตำ�แหน่งพนักงานตาม ผลงานอย่างเป็นธรรม อธิบายได้ และได้ด�ำ เนินการออกแบบ และกำ�หนดความรูค้ วามสามารถทีจ่ �ำ เป็นในตำ�แหน่งงาน เพือ่ ใช้เป็นกรอบในการจัดหลักสูตรอบรม พัฒนาพนักงาน ให้มีคุณสมบัติตรงตามตำ�แหน่งงานนั้น • การพัฒนาภาวะผู้นำ� บริษัทฯ มีการประเมินพฤติกรรม พนักงานและภาวะผู้นำ�ของผู้บริหารในรูปแบบ 180 องศา และมีการสำ�รวจทัศนคติของพนักงานในด้านความผูกพัน องค์กร เพื่อใช้ในการพัฒนาและสร้างแรงจูงใจพนักงานให้ มีความผูกพันกับองค์กรเป็นการเสริมสร้างสุขภาพองค์ก์ รให้ แข็งแกร่งพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงและการเติบโตของ องค์กรในระยะยาว • การสร้างค่านิยมองค์กร บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดค่านิยมองค์กร i SPIRIT เพือ่ ให้สอดคล้องกับค่านิยมในกลุม่ บริษทั ปตท. ซึง่ เป็นส่วนสำ�คัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมการทำ�งานในการขับ เคลื่อนองค์กรให้ไปในทิศทางเดียวกันสูเ่ ป้าหมายที่วางไว้ทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว • การพัฒนาความรู้ความสามารถ - กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติในการบริหารทรัพยากร บุคคลผ่าน “คู่มือนโยบายและแนวปฏิบัติในการบริหาร ทรัพยากรบุคคล” อย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์ อักษร เพื่อสื่อสาร ถ่ายทอดให้พนักงานได้รับทราบและ เข้าใจถึงนโยบาย หลักเกณฑ์ และระเบียบปฏิบัติ รวมถึง สิทธิประโยชน์ต่างๆ ของพนักงาน - กำ�หนดนโยบายการอบรมและพัฒนาให้แก่พนักงานผ่าน “คู่มือการอบรมพัฒนา” เพื่อเป็นเครื่องมือและแนวทาง ในการบริหารจัดการพัฒนา โดยบริษัทฯ กำ�หนดหลัก เกณฑ์และมาตรฐานหลักสูตรการฝึกอบรมภาคบังคับ (Training Needs) สำ�หรับผู้บริหารและพนักงาน 4 หมวดหลักใหญ่ๆ ได้แก่ Management, Safety &

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

77


78

กรรมการผู้จัดการใหญ่พบพนักงาน

การประชาสัมพันธ์โครงการ EVEREST

Environment, Quality & Productivity และ Technical รวมถึงการอบรมจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ และการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันตามนโยบายของ บริษัทฯ นอกจากนี้ มีการจัดทำ�แผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ระหว่างพนักงานร่วมกับผู้บังคับบัญชา เพื่อสร้าง แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองและพัฒนาสายอาชีพที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทฯ ได้กำ�หนดเป้า หมายจำ�นวนชั่วโมงการฝึกอบรมเฉลี่ยของพนักงานต่อ ปีในแต่ละระดับตำ�แหน่งงาน ซึ่งได้มีการเปิดเผยสถิติดงั กล่าวไว้ในรายงานความยั่งยืน • การสื่อสารและกิจกรรมพนักงาน - กิจกรรม “กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พบพนักงาน” เป็นประจำ� รายไตรมาส และเมือ่ มีเหตุการณ์ส�ำ คัญทีต่ อ้ งการสือ่ สาร โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สือ่ สารผลการดำ�เนินงานนโยบาย ทิศทางของบริษทั ฯ ให้พนักงานทราบ เปิดโอกาสให้ซกั ถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยจัดในลักษณะการบรรยาย ในห้องประชุม มี VDO Conference ไปทุกพื้นที่เพื่อการ สื่อสารสองทาง พร้อมทั้งถ่ายทอดสดทางอินทราเน็ต - กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริหาร ส่งเสริมกิจกรรมของ สหภาพแรงงานและเข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างความ สัมพันธ์อันดีต่อเนื่องทั้งปี อาทิ งานสังสรรค์ประจำ�ปี สมาชิกสหภาพแรงงาน และงานทำ�บุญวันครบรอบ 15 ปี การก่อตั้งสหภาพแรงงานไออาร์พีซีและบริษัทในเครือ รวม 8 สหภาพ กรรมการผู้จัดการใหญ่ให้ความสำ�คัญ ดูแลสิทธิประโยชน์พนักงาน พร้อมทั้งเป็นประธานคณะ กรรมการลูกจ้างเพื่อประสิทธิภาพ ความรวดเร็วเป็นที่ ยอมรับกันทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างในการแก้ไขปัญหา - กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูบ้ ริหาร และพนักงานร่วมกิจกรรม วันเกษียณอายุจดั ขึน้ เป็นประจำ�ทุกปีเพือ่ เป็นเกียรติและให้ กำ�ลังใจพนักงานที่ปฏิบัติอย่างทุ่มเทและเสียสละให้กับ บริษัทฯ และปลูกฝังวัฒนธรรมการทำ�งานเพื่อให้ยึดเป็น แบบอย่างที่ดี • ค่าตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน - กำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนพนักงานทีเ่ ป็นธรรมสอดคล้อง กับผลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและใน ระยะยาว โดยมีการตกลงกันในการกำ�หนดตัวชี้วัดระดับ

องค์กรและในแต่ละหน่วยงานและรายบุคคลตั้งแต่ต้นปี และประเมินผลการปฏิบตั งิ านตาม KPI & Competency ของ พนักงาน และกำ�หนดการจ่ายโบนัสผูบ้ ริหารระดับสูงตามผล งานทีท่ �ำ ได้ (Variation Bonus) เป็นการนำ�ร่องเป็นปีแรก - ปรับปรุงโครงสร้างสวัสดิการต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล ค่าเช่าบ้าน และค่าต่างจังหวัด เพือ่ รักษาพนักงานคุณภาพ ไว้กบั องค์กร เสริมสร้างและยกระดับคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี อง พนักงานบริษัทฯ - จัดให้มีกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงานเป็นการแสดง ถึงการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นรูปธรรมของบริษทั ฯ ในการดูแลพนักงาน ในระยะยาว โดยบริษัทฯ จ่ายสมทบในอัตราที่สูงกว่า กฎหมาย และเป็นอัตราก้าวหน้าตามอายุงาน เปิดโอกาสให้ เลือกแผนการลงทุนโดยให้ข้อมูลจนเข้าใจก่อนเลือกเพื่อ ประโยชน์สงู สุดและยืดหยุน่ ได้ตามเหมาะสมกับเป้าหมาย การออมของพนักงานแต่ละราย - จัดโครงการมอบของที่ระลึกตามอายุงานให้กับพนักงาน ที่ทำ�งานครบ 10 ปี 20 ปี และ 30 ปี - รณรงค์ส่งเสริม และสร้างจิตสำ�นึกในหมู่พนักงานให้ เคารพลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา โดยรณรงค์ให้ พนักงานปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 และ ได้จัดทำ�นโยบายว่าด้วยกำ�หนดหลักเกณฑ์การใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายของบริษัทฯ และแนว ปฏิบัติที่ดีเพี่อมิให้พนักงานใช้โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ ผิดกฎหมาย รวมทั้งมีการทบทวนมาตรการและตรวจ สอบเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิของผู้อื่น - หน่วยงานภายในทีเ่ กีย่ วข้องเคารพเงือ่ นไขการตรวจติดตาม การปฏิบัติตามสิทธิบัตรที่บริษัทฯ มีอยู่ รวมทั้งดูแล รักษาสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ให้บริษัทฯ ได้รับ ประโยชน์สูงสุด

7. ชุมชนและสังคม บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการสร้างคุณค่าอย่างยั่งยืนร่วม กับผู้มีส่วนได้เสีย และสร้างประโยชน์แก่ชุมชนและสังคม อย่างถ้วนหน้า โดยได้กำ�หนดนโยบายด้านความรับผิดชอบ ต่อชุมชนและสังคมไว้ในแผนงานระยะยาวของบริษัทฯ และ แผนการดำ�เนินงานประจำ�ปีตามแนวทางการสร้าง Creating


Shared Value (CSV) เคารพในสิทธิมนุษยชน ไม่มีการแบ่ง แยก กีดกัน หรือเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากความแตกต่าง ด้านเพศ เชื้อชาติ ศาสนา สอดคล้องกับแนวทางของ UN Global Compact และ UNICEF ซึ่งบริษัทฯ นำ�มาปรับใช้ให้ เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย ส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับ รางวัล Asia Responsible Entrepreneurship Awards: Social Empowerment จากโครงการ From Bench to Community หรือโครงการขาเทียม จาก Enterprise Asia, Hong Kong สรุปกิจกรรมและการพัฒนาด้านชุมชนและ สังคมที่สำ�คัญ ดังนี้ - กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนเกีย่ วกับการปฏิบตั ิ ที่เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม นโยบายการบริหาร จัดการความยั่งยืน นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และนโยบาย การกำ�กับการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ รวมทั้ง มีการปรับปรุงนโยบายดังกล่าวข้างต้นให้สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลง - สนับสนุนการจัดกิจกรรมและมีสว่ นร่วมกับการพัฒนาชุมชน โดย ในปี 2558 บริษทั ฯ ได้สง่ โรงงานเข้าร่วมโครงการ CSR-DIW 11 โรงงาน (PW, PP, PS, ADU2, ETP, ACB, PRP, LUBE, WWT 1, 2, Polyol, โรงกรองน้ำ�บ้านค่าย) และมี 4 โรงงาน ที่เข้าประกวดแผนชุมชนดีเด่นคือ ETP, ACB, ADU2, PRP • สนับสนุน “โครงการ ๑ ช่วย ๙” โดยวิทยาลัยเทคโนโลยี ไออาร์พซี ี ออกหน่วยกองกำ�ลังอาสาทีโ่ รงเรียนตำ�รวจตระเวน ชายแดน • สนับสนุนโครงการ “สร้างคลอง สร้างคน” ต่อยอด โครงการโดยการช่วยหาตลาดข้าวให้ชาวบ้านในพืน้ ทีล่ �ำ ไทรโยง และดำ�เนินโครงการประปาและน้�ำ ดื่มชุมชน (รายละเอียดในหัวข้อการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม หน้า 207-217)

8. สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

จากการทำ�งาน และเปิดเผยถึงการปฏิบัติรวมถึงเปิดเผย สถิติดังกล่าวไว้ในรายงานความยั่งยืน กำ�หนดนโยบายและ แนวปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจนในเรื่ อ งการดู แ ลรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม และการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากลและทีก่ �ำ หนดตามกฎหมาย และมีเป้าหมายในการเป็น Eco Factory • สนั บ สนุ น โครงการด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มร่ ว มกั บ กองทุ น สิ่งแวดล้อม สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการทางเชื่อมใต้ร่มไม้เมืองศรีมโหสถเขตพื้นที่ คุ้มครองสิ่งแวดล้อม เมืองศรีมโหสถ และพื้นที่ต่อเนื่อง 2. โครงการรณรงค์เพื่อร้านปลอดอาหารเมนูสัตว์ป่ารอบ พื้นที่ป่ามรดกโลกเขาใหญ่ 3. โครงการพืชสมุนไพร พันธ์ุไม้ป่าคืนถิ่น อุทยานแห่งชาติ ภูลังกา 4. โครงการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ เศรษฐกิจพันธ์ุดี (พื้นที่จังหวัด บุรีรัมย์) • พัฒนาโครงการด้านสุขอนามัยต่างๆ ในพื้นที่รอบเขต ประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พซี อี ย่างต่อเนือ่ ง เช่น โครงการ ตรวจสุขภาพและเฝ้าระวังโรคของประชาชน (GIS) โครงการ คลินิกแพทย์เคลื่อนที่ โครงการน้ำ�ดื่มเพื่อชุมชน โครงการ กีฬาเยาวชน โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและผู้มีส่วนได้เสีย เป็นต้น • ผู้บริหารร่วมเป็นวิทยากรในงานเสวนา “การดำ�เนิน งาน CSR ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย การมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจเอกชนในปัจจุบันและทิศทางใน อนาคต” ของสำ�นักงานนโยบายและสิ่งแวดล้อม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • กิจกรรมอื่นๆ ที่ส่งเสริมด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทัง้ ความปลอดภัย (รายละเอียดปรากฏ ในการบริหารจัดการด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม หน้า 197-206 และการบริหารจัดการ อย่างยั่งยืนหน้า 192-196)

บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งความปลอดภัย ซึ่งเป็นวาระ สำ�คัญของประชาคมโลกทีต่ อ้ งร่วมกันดูแลรับผิดชอบ และได้ รับการพิจารณาคัดเลือกโดยสถาบันสิง่ แวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้เป็นต้นแบบด้านการ ประกอบการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ สรุปกิจกรรมและการ พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้ง ความปลอดภัยที่สำ�คัญ ดังนี้ • มีนโยบายทีช่ ดั เจนและเป็นรูปธรรมเกีย่ วกับการดูแลเรือ่ ง ความปลอดภัยและสุขอนามัยของพนักงานทุกระดับในทุกพืน้ ที่ รวมถึงลูกจ้างตามสัญญาจ้างและพนักงานของผูร้ บั เหมาทีม่ า ปฏิบตั งิ านในพืน้ ที่ กำ�หนดเป้าหมายตัวชีว้ ดั เกีย่ วกับอัตราการ เกิดอุบัติเหตุ หรืออัตราการหยุดงาน หรืออัตราการเจ็บป่วย

งานเสวนาการดำ�เนินงานด้าน CSR ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

79


ภายนอก เพือ่ สร้างความน่าเชือ่ ถือ โดยได้จดั ส่งให้ผถู้ อื หุน้ พร้อม รายงานประจำ�ปี และได้เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ

กรรมการผู้จัดการใหญ่พบนักลงทุนและสื่อมวลชน

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีส่ �ำ คัญอย่างถูก ต้อง ครบถ้วน ภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม ทัง้ ข้อมูลทางการ เงินและข้อมูลทีม่ ใิ ช่ขอ้ มูลทางการเงินของบริษทั ฯ ต่อผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดแนว ปฏิบัติในการเปิดเผยสารสนเทศ ดังนี้ 1. การจัดทำ�รายงานเกีย่ วกับข้อมูลของบริษทั ตามเกณฑ์ของ สำ�นักงานกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ดังนี้ • การจัดทำ�รายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและ ผู้บริหารตามเกณฑ์ ก.ล.ต. • รายงานข่าวข้อมูลทีส่ �ำ คัญและงบการเงินผ่านช่องทางของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • จัดทำ�รายงานประจำ�ปี 2557 ทีแ่ สดงงบการเงินและข้อมูล สาระสำ�คัญของการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ซึ่งงบการเงิน ของบริษทั ฯ ได้รบั การรับรองโดยไม่มเี งือ่ นไขจากผูส้ อบบัญชี และไม่เคยมีประวัตกิ ารถูกสัง่ ให้แก้ไขงบการเงินจาก ก.ล.ต. และ ตลท. • การเปิดเผยข้อมูลธุรกรรมหรือข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้น ทีม่ ผี ลกระทบอย่างมีนยั สำ�คัญต่อผูถ้ อื หุน้ รายอืน่ หรือต่อบริษทั ฯ 2. การจัดทำ�รายงานตามเกณฑ์มาตรฐานสากล • จัดทำ�รายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2557 (Corporate Sustainability Report 2014) เพือ่ สือ่ สารแนวทางการบริหาร จัดการและผลการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม โดยใช้ Sustainability Reporting Guidelines ของ Global Reporting Initiative รุ่นที่ 4 (GRI G.4) เพื่อ ให้การเปิดเผยข้อมูลเป็นไปตามมาตรฐานสากล และประเมิน ความสมบูรณ์ของเนือ้ หาสอดคล้อง (In Accordance) ทีร่ ะดับ Core ซึง่ ได้จดั ให้มกี ารสอบทานข้อมูลในรายงานโดยหน่วยงาน

80

• จัดทำ�รายงาน Communication on Progress (CoP) ต่อ UN Global Compact ในฐานะที่เป็นบริษัทภาคีสมาชิก และมีพนั ธะสัญญาในการดำ�เนินงานและรายงานผลการดำ�เนิน งานตามแนวทางของ UN Global Compact ซึ่งบริษัทฯ ได้ สมัครเข้าเป็นสมาชิกตัง้ แต่ปี 2554 โดยในปี 2557 และ 2558 บริษัทฯ ได้ยกระดับการรายงานเป็นระดับ GC Advanced Level ซึง่ นับเป็นระดับสูงสุดของการรายงาน โดยส่งรายงานใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ไปยังเว็บไซต์ของ UN Global Compact (www.unglobalcompact.org) และเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของ บริษัทฯ 3. การสือ่ สารผ่านอิเล็กทรอนิกส์ บริษทั ฯ เปิดเผยสารสนเทศ ทีส่ �ำ คัญในรายงานประจำ�ปี และผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ www. irpc.co.th เพือ่ นำ�เสนอข้อมูลทีท่ นั เหตุการณ์เกีย่ วกับบริษทั ฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้แก่ วิสัยทัศน์ ลักษณะ การดำ�เนินธุรกิจของบริษัท งบการเงิน เอกสารข่าว (Press Release) โครงสร้างการถือหุน้ โครงสร้างองค์กร โครงสร้าง กลุ่มธุรกิจ ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร ข้อมูล ด้านนักลงทุนสัมพันธ์ หนังสือรับรองบริษัท ข้อบังคับบริษัท หนังสือบริคณห์สนธิ รายงานประจำ�ปี (สามารถดาวน์โหลดได้) หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น (สามารถดาวน์โหลดได้) เอกสาร เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น งบการเงิน แบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) เอกสารนำ�เสนอในการประชุม นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ (Analyst Meeting) นโยบายด้าน การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กิจกรรม และสารสนเทศอื่นๆ ที่ เกี่ยวกับธุรกิจ ความรับผิดชอบขององค์กร การดูแลผู้มีส่วน ได้เสีย และการดำ�เนินงานเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 4. การสื่อสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ กิจกรรมกับ ผู้มีส่วนได้เสียและช่องทางประชาสัมพันธ์อื่นๆ เช่น การส่ง จดหมายข่าวถึงผูถ้ อื หุน้ (Newsletter) เพือ่ แจ้งผลการดำ�เนิน งานและกิจกรรมทีส่ �ำ คัญของบริษทั ฯ ต่อผูถ้ อื หุน้ อย่างสม่�ำ เสมอ ทุกไตรมาส 5. การเปิ ด เผยข้ อ มู ล โดยตรงกั บ ผู้ ถื อ หุ้ น นั ก ลงทุ น นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และนักข่าว สือ่ มวลชน โดยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารในกิจกรรมพบปะผู้มีส่วนได้เสีย กลุ่มต่างๆ ตลอดปี กิจกรรม การพบนักลงทุน (ต่างประเทศ) การพบนักลงทุน (ในประเทศ) IRPC พบนักวิเคราะห์ (Analyst Meeting)

จำ�นวน (ครั้ง) 4 7 4


บริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน (Opportunity Day) Company Visit (การประชุมทางโทรศัพท์) Company Visit (การเข้าพบเพื่อประชุมที่บริษัทฯ) ร่วมงานมหกรรมการลงทุนครบวงจรแห่งปี Set in the City 2015 IRPC Newsletter พบสื่อมวลชน/ แถลงข่าว/ Press Release

4 8 32 1 4 19

6. การงดเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลประกอบการของ บริษัทฯ ต่อนักลงทุนและนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ รวมถึง บริษัทฯ ไม่รับนัดหรือให้ข้อมูลแก่นักวิเคราะห์เป็นเวลา 7 วัน ก่อนทีบ่ ริษทั ฯ จะรายงานผลประกอบการต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ จากการดำ�เนินงานในรอบปี 2558 ที่ผ่านมา งานนักลงทุน สัมพันธ์ของบริษทั ฯ ได้รบั การยอมรับจากนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ และนักลงทุน จากการเปิดเผยข้อมูลกับนักลงทุนอย่างโปร่งใส และเป็นธรรมกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลบริษทั ยอด เยีย่ มด้านนักลงทุนสัมพันธ์ “Corporate Governance Asia Recognition Awards 2015: Best Investor Relations by Company” จากนิตยสาร Corporate Governance Asia ทั้งนี้ นักลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลบริษัทฯ เพิ่มเติมได้ทาง เว็บไซต์ของบริษัทฯ www.irpc.co.th หรือติดต่อสอบถาม โดยตรงได้ที่หน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัทฯ โทรศัพท์ : 0 2649 7380 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : ir@irpc.co.th โทรสาร : 0 2649 7379

5. ความรับผิดชอบของกรรมการ ตามหลักบรรษัทภิบาล กรรมการมี Fiduciary Duties หรือ หน้าที่ที่จะต้องยึดถือปฏิบัติ 4 ประการ ประกอบด้วย 1. การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง (Duty of Care) คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรอบคอบ กำ�กับดูแลไม่ให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทฯ อีกทั้งยังดูแล ให้การดำ�เนินธุรกิจไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคม ขณะเดียวกันก็สร้างมูลค่าเพิม่ ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ ควบคู่ กันไป รายละเอียดในหมวดความรับผิดชอบขององค์กร หน้า 207-217 2. การปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต (Duty of Loyalty) คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต มุ่งรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้น ผู้มีส่วนได้เสีย และสังคม รายละเอี ย ดในรายงานผลการดำ � เนิ น งาน หน้า 165-181

3. การปฏิบัติหน้าที่โดยเป็นไปตามกฎระเบียบ (Duty of Obedience) กรรมการบริษัทฯ ได้ปฏิบัติและกำ�กับดูแลให้ บริษทั ฯ ดำ�เนินธุรกิจตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ รวม ทัง้ เงือ่ นไขต่า่ งๆ อย่างเคร่งครัด ในปี 2558 ได้ก�ำ หนดนโยบาย การกำ�กับการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ทงั้ องค์กร (Compliance Policy) รายละเอียดในหน้า 129-130 4. หน้าทีใ่ นการเปิดเผยข้อมูลแก่สาธารณะ (Duty of Disclosure) คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ�กับดูแลให้มีการดำ�เนินงานด้าน การเปิดเผยข้อมูลตามกฎหมาย และการให้ขา่ วสารเพือ่ สร้าง ความรูค้ วามเข้าใจแก่นกั ลงทุนอย่างเพียงพอ รายละเอียดการ เปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสในหน้า 80 ในปี 2558 คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้แสดงบทบาท หน้าที่ และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส มีวิสัยทัศน์ และได้ผลักดันให้บริษัทฯ ยกระดับการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี ห้สอดคล้องเป็นไปตามเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard ดังนี้ • การปรับปรุงการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตามข้อแนะนำ�ของ IOD ตามเกณฑ์ CGR - กำ�หนดจำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการแต่ละคน จะได้ดำ�รงตำ�แหน่งไม่เกิน 5 แห่ง - กำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนปีในการดำ�รงตำ�แหน่งของ กรรมการและกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 9 ปี (3 วาระ) • การจัดประเมินกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อยโดยผูป้ ระเมินอิสระ (Independent Assessment) ใน ปี 2558 ตามมาตรฐาน ASEAN CG Scorecard ซึ่งควรมี การประเมินกรรมการโดยผู้ประเมินอิสระอย่างน้อยทุก 3 ปี นอกเหนือจากทีบ่ ริษทั ฯ ทำ�การประเมินกรรมการเป็นประจำ�ทุกปี • ทบทวนและพัฒนาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานคณะ กรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ให้สอดคล้องกับแนวทาง การประเมินของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ปี 2558 • การเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นรายย่อยเสนอวาระการประชุม และเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับการพิจารณาเลือกตัง้ เป็นกรรมการ • กำ�หนดนโยบายด้านการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ (Corporate Compliance Policy) ทีค่ รอบคลุม 8 เรือ่ งสำ�คัญ ประกอบด้วย 1) การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2) การ แข่งขันอย่างเป็นธรรมและการต่อต้านการผูกขาดทางการค้า 3) การต่อต้านการทุจริต การให้หรือรับสินบน 4) การเคารพ และปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน 5) การคุ้มครองทรัพย์สิน ทางปัญญา 6) การต่อต้านการฟอกเงิน 7) การจัดการทรัพย์สนิ และข้อมูลของบริษัท 8) ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัย

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

81


คณะกรรมการตรวจสอบ มอบรางวัลเพชรน้�ำ หนึง่ ให้หน่วยงานทีม่ กี ารควบคุมภายใน ดีเด่นเพือ่ สนับสนุนการปฏิบตั อิ ย่างโปร่งใส มีระบบควบคุมที่มีประสิทธิภาพ

โครงสร้างคณะกรรมการและวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง • โครงสร้ า งคณะกรรมการมี ก ารแก้ ข้ อ บั ง คั บ ในการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นปี 2558 เป็นคณะกรรมการบริษัทฯ มีจำ�นวนไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน กรรมการ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดต้องมีถิ่นที่ อยู่ในราชอาณาจักร ไม่มีเกณฑ์การสรรหาที่มีการแบ่งแยก หรือกีดกัดทางเพศ และกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้มีคุณสมบัติ ตามที่ กำ � หนดไว้ ใ นพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจำ �กั ด รายละเอียดองค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการ บริษัทอยู่ในโครงสร้างการจัดการ หน้า 117

• กำ � หนดนโยบายการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ซึ่ ง แสดง ถึงแนวทางในการกำ�กับดูแลกิจการและบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการบริษัทฯ เสนอแนะและทบทวนนโยบายการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมถึงนโยบายด้านจริยธรรมธุรกิจ จรรยาบรรณและแนวปฏิบัติที่ดีสำ�หรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ซึ่งเปิดเผยผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ • กำ�หนดให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ปฏิบัติตาม จริยธรรมธุรกิจ/ คู่มือจรรยาบรรณ รวมถึงจัดให้มีมาตรการ ในการติดตาม รายงาน ผลการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ • กำ�หนดนโยบายในการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการทีบ่ ริษทั อื่น หรือตำ�แหน่งอื่นใดของกรรมการผู้จัดการใหญ่

ขอบเขตหน้าที่ของคณะกรรมการ

อำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการ

• กำ�หนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่ สนั บ สนุ น การเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น คณะกรรมการ บริษทั ฯ ร่วมกันระดมความคิดในการจัดทำ� Board Strategic Thinking Session (STS) ในเดือนสิงหาคมของทุกปี โดย พิจารณาทบทวนแผนกลยุทธ์ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อม วิกฤต โอกาส ประเด็นความเสี่ยงที่อาจจะเกิด ขึ้น เพื่อให้มั่นใจว่าธุรกิจสามารถเติบโตและแข่งขันได้ และ ผู้บริหารจะต้องสามารถนำ�วิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ที่ กำ�หนดไปจัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารให้เกิดผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ แผนการเงิน แผนการลงทุน แผนการบริหารความเสีย่ ง แผนการควบคุมและตรวจสอบภายใน แผนบริหารความยัง่ ยืน แผนงานความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น

อำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการ 7 ข้อ มีรายละเอียดใน โครงสร้างการจัดการหน้า 121 นอกจากนั้นในส่วนของการ ไปดำ�รงตำ�แหน่งอืน่ ใดทัง้ ด้านวิชาการและสังคมของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษัทฯ ต้องให้ความเห็นชอบ ทั้งนี้ ในเรื่องที่สำ�คัญรวมทั้งเรื่องที่กฎหมายกำ�หนดให้เป็น อำ�นาจของผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการดำ�เนินการให้มกี ารนำ�เสนอ ต่อผู้ถือหุ้นพิจารณาอย่างถูกต้องและครบถ้วน

ในปี 2558 การประชุม STS กำ�หนดวันที่ 21 สิงหาคม 2558 กรรมการได้แสวงหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการกำ�หนด ทิศทางดังกล่าวและศึกษารายละเอียดมาล่วงหน้า เพื่อนำ� มาอภิปรายอย่างกว้างขวาง และมีมติเห็นชอบแผนกลยุทธ์ สู่ความเป็นเลิศของบริษัทฯ อันประกอบด้วย Operational Excellence, Commercial Excellence, RD Excellence, Financial Excellence, HR Excellence, SD Excellence, IRPCT Excellence, และ CG & CSR Excellence โดย เป็นแผนระยะยาวถึงปี 2563 และให้ทบทวนเป็นประจำ�ทุกปี

82

• จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบ บัญชีทมี่ คี วามน่าเชือ่ ถือ รวมทัง้ ดูแลให้มกี ระบวนการประเมิน ความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล คณะกรรมการตรวจสอบได้ ทำ�หน้าที่อย่างเข้มแข็ง มีกลยุทธ์สนับสนุนให้พนักงานเห็น ความสำ�คัญของการตรวจสอบและการควบคุมภายใน อาทิ โครงการเพชรน้�ำ หนึง่ หรือ ตู้ ป.ณ. 35 เพือ่ แจ้งเบาะแส ทำ�ให้ เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบภายในองค์กร ในปี 2558 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รบั รางวัลคณะกรรมการตรวจสอบ แห่งปี จากโครงการประกาศเกียรติคุณคณะกรรมการแห่งปี ประจำ�ปี 2558 (Board of the Year Awards 2015)

การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ กรรมการอิสระ • บริษัทฯ ได้กำ�หนดนิยามความเป็นอิสระของกรรมการ บริษัทฯ ขึ้นใหม่ให้เข้มกว่าหลักเกณฑ์ของสำ�นักงานคณะ กรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ในข้อการถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 และได้กำ�หนดไว้ในคู่มือการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี คุณสมบัติ วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการอิสระ และการ จำ�กัดจำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการอิสระแต่ละคนไป ดำ�รงตำ�แหน่งมีรายละเอียดในโครงสร้างการจัดการ หน้า 117-118


การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ • เพื่อให้การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการเป็นไปตามหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีความโปร่งใส คณะกรรมการ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาสรรหาและคัดเลือกบุคคลผ่านกระบวนการ สรรหาที่เป็นระบบ รวมทั้งจากการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น เสนอชื่อบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นกรรมการ โดยไม่มีการกีดกัน แบ่งแยกอันเนื่องมาจากความแตกต่างทางเพศ สถานะทาง สังคม ศาสนา เพื่อนำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ และผู้ถือ หุ้นอนุมัติตามลำ�ดับ โดยมีขั้นตอนเป็นไปตามหลักเกณฑ์ การผสมผสานกรรมการที่มีความรู้และประสบการณ์ที่หลาก หลาย (Skill Matrix) มีการพิจารณาบุคคลจากบัญชีรายชือ่ ใน Directors’ Pool ของกระทรวงการคลังและ IOD ประกอบ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี นเรือ่ งการ สรรหากรรมการบริษัท รายละเอียดในโครงสร้างการจัดการ หน้า 123-124 การแยกตำ�แหน่งประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ • เพือ่ ให้บทบาทของประธานกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่มีความเป็นอิสระแยกจากกัน โดยบทบาท ของประธานกรรมการทำ�หน้าที่เป็นฝ่ายกำ�กับดูแล ขณะที่ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ท�ำ หน้าทีบ่ ริหารจัดการ คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ จึ ง กำ � หนดให้ ป ระธานกรรมการเป็ น คนละคน กับกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ มีความเป็นอิสระแยกออกจากกัน ปัจจุบันประธานกรรมการบริษัทฯ (นายเทวินทร์ วงศ์วานิช) มิได้เป็นกรรมการอิสระ หากแต่คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติ เป็นเอกฉันท์เลือกเป็นประธานกรรมการ เนื่องจากเป็นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญเป็นที่ยอมรับใน กลุม่ ธุรกิจพลังงาน ปิโตรเลียม และปิโตรเคมี มีประสบการณ์ ในการบริหารองค์กรขนาดใหญ่ สามารถเอื้อประโยชน์ ต่อธุรกิจของบริษัทฯ ได้เป็นอย่างดี

ขอบเขตหน้าที่ของประธานกรรมการ • ในปี 2558 ประธานกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้กำ�หนดให้ มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ โดยประธานกรรมการ บริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ร่วมกันพิจารณาเลือก เรื่องเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการ โดยพิจารณาให้ แน่ใจว่าเรือ่ งทีส่ �ำ คัญได้น�ำ เข้ารวมไว้แล้ว และกรรมการแต่ละ คนมีความเป็นอิสระที่จะเสนอเรื่องเข้าสู่วาระการประชุมโดย แจ้งต่อประธานกรรมการได้ กรรมการผู้จัดการใหญ่ในฐานะ เลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นผู้จัดวาระ • ประธานกรรมการบริษัทฯ ได้ควบคุมการประชุมให้มี ประสิทธิภาพ เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับบริษทั ฯ สนับสนุน และเปิดโอกาสให้กรรมการแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ และบริ ห ารจั ด สรรเวลาอย่ า งเพี ย งพอให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร ในการนำ�เสนอข้อมูล และเพียงพอสำ�หรับคณะกรรมการ ที่จะอภิปรายในประเด็นที่สำ�คัญ โดยใช้เวลาในการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ แต่ละครั้งเฉลี่ย 2.5 ชั่วโมง ตาม ตารางเวลาที่ก�ำ หนดไว้ล่วงหน้า 1 ปี

• ประธานกรรมการบริษัทฯ มีมาตรการที่ชัดเจนเพื่อให้ กรรมการได้รับข้อมูลที่เกี่ยวข้องล่วงหน้าอย่างครบถ้วน ใน รูปแบบการนำ�เสนอที่ชัดเจนและง่ายต่อการเข้าใจ และมี เวลาเพียงพอที่จะศึกษาพิจารณา และตัดสินใจอย่างถูกต้อง ในเรื่องต่างๆ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ทุกครั้ง ประธานกรรมการมีการทบทวนประเด็นและเอกสารวาระ ประชุมกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ซึ่งเป็นเลขานุการคณะ กรรมการบริษัทฯ ก่อนการประชุมประมาณ 2 วัน เพื่อให้ มั่นใจว่าเอกสารมีความครบถ้วน หรือต้องมีข้อมูลเพิ่มเติม ให้กรรมการเพื่อประสิทธิภาพในวันประชุม • สนับสนุนและส่งเสริมให้คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติ หน้าที่อย่างเต็มความสามารถตามขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี • ดูแล ติดตาม การบริหารงานของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ที่กำ�หนดไว้ • เป็นผู้ลงคะแนนชี้ขาดในกรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ มีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียงทั้งสองฝ่าย เท่ากัน การปฏิบัติหน้าที่ของประธานกรรมการและคณะกรรมการ บริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพทำ�ให้ได้รบั รางวัลคณะกรรมการ แห่งปีดีเด่น ในปี 2558

คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทฯ แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง เพือ่ ทำ�หน้าทีช่ ว่ ยศึกษาและ กลัน่ กรองการดำ�เนินงานทีส่ �ำ คัญเป็นการเฉพาะในด้านต่างๆ อย่างรอบคอบและมีประสิทธิภาพ โดยมีบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบเฉพาะเรือ่ งกำ�หนดไว้อย่างชัดเจน (รายละเอียดตาม โครงสร้างกรรมการ : คณะกรรมการชุดย่อย หน้า120-125)

1. คณะกรรมการตรวจสอบ (ปี 2558 มีการประชุมรวม 12 ครัง้ ) คณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 2. นายทรงภพ พลจันทร์ กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ 3. นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ กรรมการอิสระ/ กรรมการตรวจสอบ

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีก่ �ำ หนดนโยบายการตรวจสอบ สอบทานระบบการควบคุมภายใน และรายงานผลการตรวจสอบ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และมีผู้มีส่วนได้เสียทราบ โดยมี สำ�นักตรวจสอบภายในทำ�หน้าทีต่ รวจสอบและรวบรวมเสนอ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

83


คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผูพ้ จิ ารณาประเด็นทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ การประเมินและสอบทานระบบการควบคุมภายใน การสอบ ทานรายงานทางการเงิน การสอบทานรายการระหว่างกันที่ บริษัทฯ ดำ�เนินการกับผู้เกี่ยวข้อง เสนอแต่งตั้งและเลิกจ้าง ผูส้ อบบัญชี แต่งตัง้ และเลิกจ้างผูจ้ ดั การสำ�นักตรวจสอบภายใน การสอบทานรายงานทางการเงิน สำ�นักตรวจสอบภายในของ บริษทั ฯ ขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยมีนายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กลู ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ปฏิบตั กิ ารผูจ้ ดั การ สำ�นักตรวจสอบภายใน เป็นเลขานุการ คุณสมบัตคิ ณะกรรมการ ตรวจสอบ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบและสถิตกิ ารเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการตรวจสอบแต่ละท่านมีรายละเอียดในโครงสร้าง การจัดการ หน้า 121-122 และ 126

2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

(ปี 2558 มีการประชุมรวม 8 ครั้ง)

คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน 1. 2. 3.

นายวุฒิสาร ตันไชย นายสรัญ รังคสิริ นายทรงภพ พลจันทร์

กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการ/ กรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการอิสระ/ กรรมการสรรหา/ และกำ�หนดค่าตอบแทน

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าทีส่ รรหา บุคคลที่จะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ กรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้จัดการใหญ่ และพิจารณาเสนอค่าตอบแทน กรรมการ กรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาหรือนำ�เสนอผู้ถือหุ้น การสรรหาบุคลากรและการกำ�หนดค่าตอบแทนต้องเป็นไป ด้วยความโปร่งใส อยู่บนหลักการที่ถูกต้อง ยุติธรรม และ พื้นฐานของข้อมูลที่เชื่อถือได้ และมีกติกาที่เป็นสากลซึ่งจะ ทำ�ให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ และผู้ถือหุ้น คุณสมบัติคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน หน้าที่ความรับผิดชอบ และสถิติการเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดตอบแทนแต่ละท่านมี รายละเอียดในโครงสร้างการจัดการ หน้า 122-123 และ 126

3. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

(ปี 2558 มีการประชุมรวม 7 ครัง้ )

คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 1. นายวัชรกิติ วัชโรทัย กรรมการอิสระ/ ประธาน กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 2. พลโทสสิน ทองภักดี กรรมการอิสระ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 3. นายประมวล จันทร์พงษ์ กรรมการ/ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

84

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีมีหน้าที่พิจารณาเสนอ แนวทางปฏิบัติ ให้คำ�แนะนำ�ที่เกี่ยวข้องกับการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ตี อ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ และกำ�กับดูแลให้บริษทั ฯ ดำ�เนินการตามแผนปฏิบัติการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีประจำ�ปี รวมทั้งดำ�เนินการประเมินผลการปฏิบัติของคณะกรรมการ บริษัทฯ ในช่วงปลายปีเป็นประจำ�ทุกปี เป้าหมายหลักของ การดำ�เนินงานของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีคือ กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ยึดถือปฏิบัติ ตามคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างเคร่งครัด และมีการ พัฒนายกระดับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่องตาม แผนที่กำ�หนดไว้ ในปี 2558 มีแผนงานใหม่ที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างการมีสว่ นร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้เสีย เช่น โครงการ IRPC Cubic Academy การจัดกิจกรรมร่วมกับคู่ค้า เป็นต้น คุณสมบัติคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้าที่ความ รับผิดชอบและสถิติการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ต่ละท่านมีรายละเอียดในโครงสร้างการ จัดการ หน้า 124-126

4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

(ปี 2558 มีการประชุมรวม 5 ครั้ง)

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1.

นายสรัญ รังคสิริ

กรรมการ/ ประธานกรรมการ บริหารความเสี่ยง

2.

นายประสิทธิ์ สืบชนะ

กรรมการ/ กรรมการบริหาร ความเสี่ยง

3.

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการ/ กรรมการบริหาร ความเสี่ยง

บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มีหน้าที่กำ�หนดนโยบาย การบริหารความเสี่ยง แผนการจัดการความเสี่ยง และ กระบวนการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร พัฒนาระบบ การจัดการบริหารความเสีย่ ง พิจารณาหลักการเครือ่ งมือทาง การเงิน สัญญาอนุพนั ธ์ มีการติดตามและประเมินผลสนับสนุน ให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจ โดยรายงานความเสี่ยงต่อคณะ กรรมการบริษัทฯ เพื่อทราบเป็นประจำ�ทุก 6 เดือน และ ตามโอกาสที่มีวาระนำ�เสนอ คุณสมบัติคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง หน้าที่ความรับผิดชอบและสถิติการ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ของคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งมี รายละเอียดในโครงสร้างการจัดการ หน้า 124-126


การประชุมกรรมการ บริษัทฯ กำ�หนดวันประชุมสำ�หรับการประชุมคณะกรรมการ บริษัทฯ เป็นการล่วงหน้าในแต่ละปี โดยเลขานุการบริษัทฯ (คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ นางสาวมนวิภา จูภบิ าล ดำ�รง ตำ�แหน่งเลขานุการบริษทั ตัง้ แต่ปี 2555 จนถึงปัจจุบนั ) จะแจ้ง กำ�หนดวันประชุมสำ�หรับการประชุมทั้งปีให้กรรมการทราบ ล่วงหน้าในช่วงปลายปีก่อนการประชุมในปีถัดไป เพื่อให้ กรรมการสารมารถจัดสรรเวลาและร่วมเข้าประชุมได้ และ อาจมีการนัดประชุมคณะกรรมการเพิม่ เติมตามความเหมาะสม โดยเลขานุการบริษัทฯ รับผิดชอบในการจัดประชุมและ ส่งหนังสือเชิญประชุม วาระการประชุม และเอกสารประกอบ การประชุมไปยังกรรมการเป็นการล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 5-7 วัน ก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการมีเวลาในการพิจารณาข้อมูล อย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กำ�หนด หลักเกณฑ์การประชุม ไว้ดังนี้ • บริษัทฯ กำ�หนดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้ กรรมการต้องเข้าร่วมประชุมอย่าง น้อยร้อยละ 75 ของการประชุมทั้งปี ในปี 2558 มีการประชุม คณะกรรมการรวม 12 ครั้ง (รายละเอียดการเข้าประชุมของ กรรมการทุกท่านปรากฏในหน้า 126) • การประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ จะต้องมีกรรมการมา ประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดจึง จะครบองค์ประชุมตามข้อบังคับบริษัทฯ ที่จดทะเบียนกับ กระทรวงพาณิชย์ • มติของคณะกรรมการต้องประกอบด้วยคะแนนเสียงข้าง มากของกรรมการ และมีแนวปฏิบัติที่กรรมการต้องอยู่ในที่ ประชุมขณะลงมติไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการ ทั้งหมด และกรรมการที่มีส่วนได้เสียงดแสดงความเห็นและ งดออกเสียงในวาระนั้นๆ (ปรากฏในคู่มือการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี ส่วนที่ 2 ข้อ 2.6)

และความปลอดภัยเป็นสำ�คัญ และเรื่องนโยบายของภาครัฐ สถานการณ์น้ำ�มันและผลกระทบต่อบริษัทฯ โดยกรรมการ อิสระได้สรุปแจ้งผลการประชุมให้ประธานกรรมการและคณะ กรรมการทราบ รวมทัง้ แจ้งฝ่ายจัดการเพือ่ ให้ด�ำ เนินการตาม มติทปี่ ระชุม และรายงานผลการปฏิบตั ติ อ่ คณะกรรมการต่อไป • คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนดให้มีการจัดประชุมนอก สถานทีอ่ ย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์และความ เข้าใจระหว่างกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2558 ประชุมเมื่อ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2558 ณ โรงเรียนกำ�เนิดวิทย์ จังหวัดระยอง คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดเป้าหมาย กลยุทธ์ระยะยาว และแผนงานประจำ�ปี 2558 ตัวชี้วัดการดำ�เนินงานของ บริษัทฯ ในมิติสำ�คัญ ดังนี้ 1. ผลประกอบการของบริษทั ฯ ซึง่ เป็นตัวชี้วดั ทางเศรษฐกิจ 2. ดัชนีวัดด้านคุณภาพความปลอดภัย อาชีวอนามัย 3. ดัชนี​ีวัดด้านสิ่งแวดล้อม ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร และพลังงาน 4. ดัชนีวัดความยั่งยืนตามแนวทางของ DJSI 5. ดัชนีวัดสุขภาพองค์กรและการบริหารทรัพยากรบุคคล

การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อย มีการประเมิน ผลการปฏิบัติงานเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อใช้เป็นกรอบในการ ตรวจสอบการปฏิบัติงานว่าระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา มีการ ปฏิบัติงานครบถ้วน เหมาะสมตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ และเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ีหรือไม่ อย่างไร และใช้ผลประเมินเพื่อการพัฒนาในปีต่อไป ในปี 2558 บริษัทฯ ได้เพิ่มการประเมินกรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อยโดยผู้ประเมินอิสระ (Independent Assessment) และมีแผนการประเมินอย่างน้อยทุก 3 ปี

• คณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดให้มกี ารจัดประชุมโดยไม่มี กรรมการทีเ่ ป็นผูบ้ ริหารเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ • คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนดให้มีการจัดประชุมเฉพาะ กรรมการอิสระ ปีละ 2 ครั้ง ในปี 2558 มีการประชุมกรรมการอิสระ 2 ครั้ง ในเดือน พฤษภาคมและตุลาคม ซึง่ กำ�หนดในปฏิทนิ การประชุมไว้ลว่ ง หน้าใช้เวลาครัง้ ละ 1 ชัว่ โมง คณะกรรมการอิสระได้มปี ระเด็น หารืออย่างกว้างขวางซึ่งเป็นเรื่องประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนได้เสีย และการดูแลฝ่ายจัดการให้สามารถดำ�เนิน งานได้ตามมติคณะกรรมการบริษัทฯ ตามกำ�หนดเวลาและ เป้าหมายที่ก�ำ หนด เรื่องการก่อสร้างโครงการแม้จะต้องเร่ง ดำ�เนินการให้แล้วเสร็จ แต่ต้องคำ�นึงถึงผลกระทบต่อชุมชน

คณะกรรมการบริษัทตรวจเยี่ยมการก่อสร้างโครงการ UHV ที่เขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี จังหวัดระยอง

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

85


การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปี

3. การประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัทฯ ได้จัดทำ�แบบประเมินการปฎิบัติงานของคณะ กรรมการบริษัทฯ และกรรมการชุดย่อย สรุปผลการประเมิน ในภาพรวม ดังนี้ 1. ผลการประเมินการปฏิบตั ิงานโดยคณะกรรมการบริษัทฯ ทั้งคณะ ประจำ�ปี 2558 คะแนนเฉลี่ย 95.28%

3.1 การประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบทั้ง คณะประจำ�ปี 2558 คะแนนเฉลี่ย 99.44%

หัวข้อประเมิน • โครงสร้างของคณะกรรมการ และคุณสมบัติของคณะกรรมการ • บทบาทและความรับผิดชอบของ คณะกรรมการในการกำ�หนดนโยบายธุรกิจ • แนวปฏิบัติของคณะกรรมการ • การประชุมคณะกรรมการ

คะแนน 93.10% 94.68% 96.79% 96.57%

และมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากกรรมการบริษัทฯ ว่าควรมี กรรมการที่เชี่ยวชาญด้านพาณิชย์ บุคคล และบัญชีเพิ่มขึ้น ควรจะหาทางเพิ่มกรรมการอิสระมากขึ้นในโอกาสต่อไป และควรมีการดูแลโรงงานเรื่องการหยุดผลิตนอกเหนือ จากแผน (unplan shutdown) ที่อาจสร้างมลพิษและส่งผล กระทบต่อชุมชน 2. ผลการประเมินรายบุคคล - การปฏิบัติงานตนเอง ประจำ�ปี 2558 คะแนนเฉลี่ย 95.97% - การปฏิบตั งิ านกรรมการท่านอืน่ (แบบไขว้) ประจำ�ปี 2558 คะแนนเฉลี่ย 89.15% หัวข้อประเมิน

86

คะแนนประเมิน คะแนนประเมิน ตนเอง แบบไขว้

• คุณสมบัติกรรมการ

94.00%

89.97%

• ความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ และการกระทำ�ของตนเอง สามารถอธิบายการตัดสินใจได้

99.05%

91.56%

• ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติ หน้าที่ด้วยขีดความสามารถ และประสิทธิภาพที่เพียงพอ

94.29%

87.73%

• การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย อย่างเท่าเทียม เป็นธรรม และ สามารถมีค�ำ อธิบายได้

97.14%

90.67%

• มีความโปร่งใสในการดำ�เนิน งานที่สามารถตรวจสอบได้ และมีการเปิดเผยข้อมูล

97.86%

• การมีวิสัยทัศน์ในการสร้าง มูลค่าเพิม่ แก่กจิ การในระยะยาว

91.43%

88.00%

• การมีจริยธรรม/ จรรยาบรรณ ในการประกอบธุรกิจ

98.10%

92.89%

83.33%

หัวข้อประเมิน • โครงสร้างและองค์ประกอบของ คณะกรรมการตรวจสอบ • บทบาทและความรับผิดชอบ • ความสัมพันธ์กับผู้ตรวจสอบภายใน และผู้สอบบัญชี • ความสัมพันธ์กับฝ่ายบริหาร • การรายงาน • การควบคุมคุณภาพ

คะแนน 96.66% 100% 100% 100% 100% 100%

3.2 การประเมินการปฏิบตั งิ านคณะกรรมการตรวจสอบราย บุคคล ประจำ�ปี 2558 คะแนนเฉลี่ย 91.95% หัวข้อประเมิน • ความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ • ความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติหน้าที่ • อำ�นาจและหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย • ความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม • ความเข้าใจหน้าที่ และความรับผิดชอบ • การปฏิบัติงานและการประชุม

คะแนน 88.88% 91.66% 80.55% 100% 95.23% 95.37%

3.3 การประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการตรวจสอบ โดยประธานกรรมการ ประจำ�ปี 2558 คะแนนเฉลีย่ 100% 4. ผลการประเมินการปฏิบัติงานคณะกรรมการชุดย่อย ประจำ�ปี 2558 - คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คะแนนเฉลีย่ 92.15% - คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คะแนนเฉลีย่ 98.96% - คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประจำ�ปี 2558 คะแนน เฉลี่ย 99.44% หัวข้อประเมิน

โครงสร้างของ คณะกรรมการ นโยบาย คณะกรรมการ แนวปฏิบัติของ คณะกรรมการ การจัดเตรียม และดำ�เนิน การประชุม

คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน

คณะกรรมการ กำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการ บริหาร ความเสี่ยง

91.11%

97.77%

97.77%

88.33%

98.09%

100%

94.16%

100%

100%

95.00%

100%

100%


การประเมินตนเองของคณะกรรมการโดยผูป้ ระเมินอิสระ ภายนอก นอกจากการประเมินตนเองของคณะกรรมการ ซึ่งคณะ กรรมการกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ไ ด้ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น เป็นประจำ�ทุกปีแล้ว ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการและ คณะกรรมการชุดย่อยทั้ง 4 คณะ คือ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง นอกจากนั้นยังจัดให้มีการประเมินตนเอง ของประธานกรรมการและกรรมการรายบุคคล โดยใช้บริษัท ที่ปรึกษาภายนอกตามแนวปฏิบัติที่ดีของหลักการกำ�กับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ข้อ 5.3 ซึ่ง แนะนำ�ให้บริษัทฯ ควรจัดให้มีที่ปรึกษาภายนอก มาช่วยใน การกําหนดแนวทางและเสนอแนะประเด็นในการประเมิน ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการอย่ า งน้ อ ยทุ ก ๆ 3 ปี และเปิดเผยการดำ�เนินการดังกล่าวไว้ในรายงาน ประจำ�ปี เพื่อเป็นการเปิดมุมมองการปฏิบัติหน้าที่ของ คณะกรรมการ นำ�ไปสู่การปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา และยังเป็นการยกระดับมาตรฐานการทำ�งานของคณะกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) ให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล

• ผลการประเมินคณะกรรมการ การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทในปี 2558 ใช้ผปู้ ระเมินอิสระภายนอก Governance Matters Thailand

(GMT) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ Governance Matters (GM) ประเทศออสเตรเลีย โดยใช้มาตรฐานตัวเปรียบเทียบ จากบริษัทในประเทศออสเตรเลียมากกว่า 50 บริษัท ที่ทำ� การประเมินโดยใช้แบบฟอร์มเดียวกัน (model governance performance against benchmark) โดยการประเมินตนเอง ของคณะกรรมการประกอบด้วยหัวข้อการประเมิน 8 หัวข้อ ได้แก่ 1. Structure and Skills 2. Strategic Direction and Planning 3. Policy 4. Monitoring and Supervision 5. Accountability 6. CEO and Succession 7. Leadership and Teamwork 8. Agendas, Papers, Meetings and Minutes ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ได้รับคะแนนเฉลี่ย 94 คะแนน โดยได้ รับคะแนนการปฏิบัติการกำ�กับดูแลกิจการในระดับที่ดีมาก เป็นที่น่ายอมรับเป็นแบบอย่างให้แก่บริษัทอื่นได้ดังภาพ ด้านล่าง โดย ไออาร์พีซี (เส้นสีฟ้า) อยู่สูงกว่า Benchmark (เส้นสีแดง) เรือ่ งทีค่ ณะกรรมการฯ คิดว่าเป็นสิง่ ทีส่ ร้างความ มีประสิทธิภาพของคณะกรรมการฯ คือ เรื่องของการทำ�งาน เป็นทีมและการให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ คณะกรรมการฯ ทำ�งานเพื่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุดต่อบริษัทฯ มีคุณธรรมและ มีความตั้งใจในการอุทิศตนให้แก่งาน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น คุณสมบัติสำ�คัญของคณะกรรมการที่มีประสิทธิภาพ ใน ขณะเดียวกันจากผลการประเมิน คณะกรรมการฯ ได้วางแผน การพิจารณาเรื่องแผนการพัฒนากรรมการอย่างต่อเนื่อง และแผนการนำ � หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ม าสู่ ก าร ปฏิบัติให้มากขึ้น

Structure and Skill Agendas, Pagers, Meetings and Minutes

Leadership and Teamwork

100 80 60 40 20 0

Your Average Benchmark Average

Policy

Monitoring and Supervision

CEO and Succession

IRPC

Strategic Direction and Planning

Accountability

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

87


• ผลการประเมินของคณะกรรมการชุดย่อย

คณะกรรมการชุดย่อยได้รับคะแนนเฉลี่ย 95 คะแนน นับว่า คณะกรรมการชุดย่อยทุกชุดมีประสิทธิภาพของคณะกรรมการ หรือมีระดับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีในระดับดีมาก คณะกรรมการตรวจสอบ หัวข้อการประเมินของคณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย 1. Composition 2. Charter, Duties, and Responsibilities 3. Auditors 4. Meetings 5. Reporting โดยได้รบั ผลคะแนน ประเมินรวมเฉลี่ย 97 คะแนน คณะกรรมการตรวจสอบมี ประสิทธิภาพเป็นอย่างสูงในเรื่องของหน้าที่ความรับผิดชอบ มีการประชุมที่มีประสิทธิภาพ สำ�หรับเรื่องการรายงานต่อ คณะกรรมการได้รับคะแแนนสูงถึง 98 คะแนน แต่อย่างไร ก็ตาม คณะกรรมการตรวจสอบได้วางแผนเพื่อปรับปรุงการ ตรวจสอบที่รุดหน้ามากขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน การประเมินตนเองของคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน ประกอบด้วยหัวข้อการประเมิน 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. Composition 2. Charter, Duties, and Responsibilities 3. Meetings 4. Reporting ได้รับผลประเมินรวมเฉลี่ย 95 คะแนน หัวข้อที่ได้รับคะแนนสูงสุดคือ Reporting ได้ รับคะแนนสูงถึง 99 คะแนน แสดงถึงความมีประสิทธิภาพ ในการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ สำ�หรับคะแนนใน ข้อย่อยอื่น เช่น องค์ประกอบ การประชุม ได้รับคะแนนใน ระดับ 97 และ 93 คะแนน ตามลำ�ดับ คณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนได้พิจารณาจัดทำ�แผนเพิ่ม ประสิทธิภาพในการสรรหากรรมการโดยจัดทำ� Board Skill Matrix เพื่อสรรหากรรมการที่มีคุณสมบัติตรงกับทิศทาง กลยุทธ์ของบริษัทฯ และมีความหลากหลายในเรื่องอายุและ เรือ่ งเพศ อันส่งผลให้คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมมุ มองทีห่ ลาก หลาย รวมถึงการวิเคราะห์หา Board Skill Gap เพื่อเตรียม พร้อมสำ�หรับการสรรหากรรมการเมื่อโอกาสมาถึง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วยหัวข้อประเมิน 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. Composition 2. Charter, Duties, and Responsibilities 3. Meetings 4. Reporting ได้รบั ผลประเมินรวมเฉลีย่ 96 คะแนน จากผล คะแนนชี้ว่า คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ สูงสุดในด้านการปฏิบัติตามกฎบัตร การมีความรับผิดชอบ และการรายงานต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ได้ รั บ ผลคะแนนสูงถึง 96 คะแนน สำ�หรับในหัวข้ออื่นๆ เช่น องค์ประกอบ และการประชุมมีประสิทธิภาพมากในระดับ 95 และ 94 คะแนน ตามลำ�ดับ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ ย ง ได้ กำ � หนดแผนบริ ห ารความเสี่ ย งโดยมี เป้าหมายที่จะสร้างให้พนักงานทุกคนทุกระดับ ตระหนัก ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการป้ อ งกั น ความเสี่ ย งและมี ค วาม รับผิดชอบร่วมกัน

88

คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การประเมินตนเองของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วยหัวข้อประเมิน 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. Composition 2. Charter, Duties, and Responsibilities 3. Meetings 4.Reporting ได้รับผลประเมินรวมเฉลี่ย 94 คะแนน หัวข้อ Charter, Duties, and Responsibilities ได้รบั ผลคะแนนสูง ที่สุด 95 คะแนน หัวข้ออื่นได้รับคะแนนไม่ต่ำ�กว่า 93 คะแนน นับว่า คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ มี กี ารปฏิบตั ใิ นเรือ่ ง การกำ�กับดูแลกิจการในระดับที่ดีมาก คณะกรรมการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดีได้วางแผนเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานของ คณะกรรมการฯ ในเรือ่ งของการจัดทำ�นโยบายให้ชดั เจนและ ครบถ้วน และเน้นในเรื่องการนำ�หลักการไปปฏิบัติมากขึ้น (substance over form) ผลประเมินของประธานกรรมการและกรรมการรายบุคคล กรรมการรายบุคคล มีการประเมินตนเองและประเมินกรรมการ ท่านอื่นรวมถึงประธานกรรมการ หัวข้อทีใ่ ช้ประเมินประธานกรรมการประกอบด้วย 1. Strategic 2. Ethics/Values 3. Knowledge and Experience 4. Relationship with other Directors 5. Relationship with The Chief Executive Officer 6. Public Profie 7. Diligence 8. Chairing Meetings หัวข้อทีใ่ ช้ประเมินกรรมการรายบุคคลประกอบด้วย 1. Character 2. Knowledge and Experience 3. Competence and Judgement 4. Diligence 5. Collegiate ผลของการประเมินตนเองของประธานกรรมการและกรรมการ รายบุคคลมีคะแนนโดยเฉลี่ย 95 คะแนน แผนเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานของคณะกรรมการ ผลจากการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทฯ พบว่า ต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางบวก จึงต้องเน้น เรื่องการปรับปรุงการทำ�งานของคณะกรรมการฯ ให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น ถึงแม้ว่าจะมีคะแนนรวมสูงมากอยู่แล้ว ก็ตาม และเชื่อว่าควรจะเพิ่มประสิทธิภาพการดำ�เนินงาน ในเรื่องดังต่อไปนี้ • การคัดสรรและแต่งตั้งกรรมการ • การพัฒนาคณะกรรมการอย่างต่อเนื่อง • การใช้เวลากับเรื่องกลยุทธ์ • การทบทวนนโยบาย • การจัดระบบการประชุม ซึ่งภายใต้แต่ละเรื่องมีรายละเอียดที่เลขานุการบริษัท และ เลขานุการคณะกรรมการชุดย่อยจะต้องคอยติดตามให้เป็น ไปตามตารางทีก่ �ำ หนด การประเมินตนเองของคณะกรรมการ บริษทั ฯ โดยใช้ผปู้ ระเมินอิสระภายนอกในปี 2558 นี้ เป็นการ ประเมินครั้งแรก ซึ่งบริษัทฯ มีแผนจะทำ�การประเมินทุก 3 ปี เพื่อให้มีมุมมองและมาตรฐานเปรียบเทียบที่เป็นกลางใน ระดั บ สากลและจะได้ นำ � ผลจากการประเมิ น โดยอิ ส ระ ดังกล่าวไปพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ


การบรรยาย The Board’s Room in Strategic Formulation

กรรมการชุดย่อย เลขานุการบริษัท และเลขานุการคณะ กรรมการชุดย่อย เพื่อยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ ให้เข้มข้นขึ้นต่อไป

การประเมินผลงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ การประเมิ น ผลปฏิ บั ติ ง านและกำ � หนดค่ า ตอบแทน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ได้ก�ำ หนดภายใต้หลักเกณฑ์ทชี่ ดั เจน โปร่งใส สะท้อนผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรม เป็น ธรรม และเหมาะสมกับภาระหน้าที่รับผิดชอบ โดยมีขั้นตอน ดำ�เนินการในปี 2558 ดังนี้ • คณะกรรมการสรรหาและกำ � หนดค่ า ตอบแทนเป็ น ผูพ้ จิ ารณาทบทวนเกณฑ์การประเมินเพือ่ กำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการผู้จัดการใหญ่ประจำ�ปี และนำ�เสนอคณะกรรมการ บริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ใิ นการประชุมครัง้ ที่ 1/2558 ในเดือน มกราคม 2558 พร้อมขอคำ�ยืนยันจากกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ในเป้าหมายที่กำ�หนด • คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนพิจารณา สรุปผลการดำ�เนินงานปี 2558 ตามเกณฑ์การประเมินและ นำ�เสนอค่าตอบแทนกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาอนุมัติในเดือนธันวาคม 2558 • สำ�หรับปี 2558 องค์ประกอบและเป้าหมายในการปฏิบัติ งานของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ แบ่งเป็น 2 ปัจจัย คือ ผลการ ดำ�เนินงานของบริษทั ฯ (Corporate KPI) และปัจจัยสนับสนุน การเติบโตที่ยั่งยืน

การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ บริษัทฯ จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการที่เข้ารับตำ�แหน่ง ใหม่ทุกท่าน ในปี 2558 มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่รวม 8 ราย ได้แก่ นายประสิทธิ์ สืบชนะ นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายชวลิต พั น ธ์ ท อง นายชาญศิ ล ป์ ตรี นุ ช กร และนายเอกนิ ติ นิติทัณฑ์ประภาศ มีการดำ�เนินงานดังน้ี 1. กรรมการผู้จดั การใหญ่จดั การบรรยายสรุปข้อมูลบริษัทฯ ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ นโยบาย โครงสร้างองค์กร ภาพรวม

การดำ�เนินธุรกิจ ผลการดำ�เนินงาน และข้อมูลอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธุรกิจ ให้แก่กรรมการใหม่ ใช้เวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง และเปิด โอกาสให้ซักถามในเวลาที่ไม่จำ�กัด 2. เลขานุการบริษัทฯ จัดเตรียมคู่มือกรรมการและเอกสาร สำ�หรับกรรมการใหม่ ประกอบด้วย คู่มือกรรมการบริษัท จดทะเบียน เล่ม 1 – เล่ม 3 (Director’s Handbook) คูม่ อื การ กำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance Handbook) จรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ (Code of Conduct) หนังสือรับรอง วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริษัทฯ รายชื่อ คณะกรรมการ หน้าที่คณะกรรมการชุดย่อย รายงานการ ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2552-2558 รายงานการ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ย้อนหลัง (ปี 2555-2558) แบบ แสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี (แบบ 56-1) รายงานประจำ�ปี 2557 รายงานความยั่งยืนปี 2557 หลักสูตรการอบรม ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และ กำ�หนดการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ประจำ�ปี 2558-2559

การพัฒนาความรู้ บริษัทฯ สนับสนุนให้กรรมการและผู้บริหารเข้าร่วมสัมมนา หลักสูตรที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ทั้งด้านการ บริหารธุรกิจ/ อุตสาหกรรม และการดำ�เนินบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของกรรมการ ซึ่งกรรมการส่วนใหญ่เข้ารับ การอบรมหลักสูตรพืน้ ฐานของ IOD แล้ว รวมจำ�นวน 10 คน รายละเอียดในประวัติกรรมการ หน้า 32-41 อย่างไรก็ตาม เลขานุการบริษัทฯ ได้ประสานงานกับกรรมการที่ยังไม่เคย เข้าอบรมหลักสูตร IOD เพื่อจัดเวลาเข้าอบรมตามเวลาที่ เหมาะสมต่อไป นอกจากนั้น ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ จัดการบรรยายพิเศษให้คณะกรรมการ 2 ครั้ง ในเนื้อหาที่ เกี่ยวกับบทบาทของกรรมการด้านการวางแผนกลยุทธ์และ เรือ่ งสถานการณ์ราคาน้�ำ มันโลกซึง่ มีผลต่อธุรกิจโดยตรง ดังนี้ • บริษัทฯ ได้เชิญ Ms. Kate Costello วิทยากรด้าน Corporate Governance จาก Governance Matters, Australia มาบรรยายหัวข้อ “The Board’s Role in Strategic Formulation” ในลักษณะ Case Study เพือ่ สนับสนุนความรู้ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

89


การบรรยายสถานการณ์น้ำ�มันโลก โดยผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน Dr. Feredium Fesharaki

ความเข้าใจสำ�หรับกรรมการและผู้บริหารเกี่ยวกับการวาง กลยุทธ์ของบริษัทฯ บนพื้นฐานของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในวันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน 2558 • บริษัทฯ ได้เชิญ Dr. Feredium Fesharaki ประธาน บริษัท FACTS Global Energy ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษาด้าน พลังงานทีม่ ผี ลงานเป็นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวางในระดับสากล มาบรรยายพิเศษเรือ่ งสถานการณ์ราคาน้�ำ มันโลกให้กรรมการ และผู้บริหาร ในวันอังคารที่ 15 ธันวาคม 2558

การสรรหาผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าทีส่ รรหา บุคคลที่มีคุณวุฒิ ความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมจะดำ�รง ตำ�แหน่งผูบ้ ริหารระดับสูงสุด คือกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่น�ำ เสนอ คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณา โดยจะต้องเป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ ความรู้และความเข้าใจในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเป็น อย่างดี มีภาพลักษณ์ที่ดี มีภาวะผู้นำ� และประพฤติตนตาม หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2558 ไม่มีการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่ หากแต่ คณะกรรมการบริษทั ฯ มีการสรรหาผูบ้ ริหารระดับรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ 3 ราย คือ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ ดำ�รงตำ�แหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานการเงิน แทนนางสาวดวงกมล เศรษฐธนั ง นายพงศ์ ป ระพั น ธ์ ฐิตทวีวัฒน์ ดำ �รงตำ �แหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ ปิ โ ตรเคมี แ ละการกลั่ น แทนนายพี ร ะพงษ์ อัจฉริยชีวิน และนายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล ดำ�รง ตำ�แหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายธุ​ุรกิจปิโตรเคมี ซึ่งเดิมกรรมการผู้จัดการใหญ่รักษาการในตำ�แหน่งนี้

แผนการสืบทอดตำ�แหน่ง คณะกรรมการบริษัทฯ ดูแลให้มีการจัดทำ�แผนการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและระบบการคัดสรรบุคลากรที่จะเข้ามา รับผิดชอบในตำ�แหน่งงานบริหารที่สำ�คัญทุกระดับอย่าง มีประสิทธิภาพ เตรียมการสร้างแผนการฝึกอบรมทักษะและ ความรู้เพิ่มเติม วางแผนพัฒนาสายอาชีพตามโครงการ

90

HR Excellence โดยบริษัทฯ ได้จัดทำ�แผนการสืบทอด ตำ�แหน่งสำ�หรับกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง และผู้บริหารระดับกลาง เพื่อสร้างผู้สืบทอดตำ�แหน่งงาน อย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อให้สามารถรับมือได้ทันกับทุก สถานการณ์ ทั้งในด้านวิชาการ การบริหารจัดการ และภาวะ ผู้น�ำ มีการอบรม “Leadership Greatness” และ 7 Habits สำ�หรับผู้บริหาร การโยกย้ายหน้าที่รับผิดชอบเพื่อเรียนรู้ งานหลักที่สำ�คัญในการดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับการเรียนรู้ ในการทำ�งานจริง

การกำ�กับดูแลการดำ�เนินงานของบริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วม • โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นผูอ้ นุมตั โิ ครงสร้างการจัดการของ บริษัทฯ เพื่อให้มั่นใจว่ามีประสิทธิภาพเพียงพอและเหมาะ สมสำ�หรับการบริหารบริษัทฯ ภายใต้การนำ�ของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ในปี 2558 มีการอนุมัติโครงสร้างองค์กรใหม่ ที่กระชับ ลดลำ�ดับชั้นการบริหาร เพื่อมิให้เกิดความซ้ำ�ซ้อน เหมาะกับภาระหน้าที่และธุรกิจของบริษัทฯ ดังรายละเอียด ในผังโครงสร้างองค์กร หน้า 42 • กลไกการกำ�กับดูแล นอกจากการสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหาร ระดับสูงแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ มีแนวทางในการกำ�กับ ดูแลกิจการของบริษัทฯ บริษัทย่อย รวม 6 บริษัท และ บริษัทร่วม รวม 5 บริษัท (รายละเอียดโครงสร้างการถือหุ้น หน้า 93) ดังนี้ การไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการหรือตำ�แหน่งอื่นใดในบริษัท หรือองค์กรอืน่ ของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่จะต้องได้รบั ความ เห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ หากจะไปดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการหรื อ ตำ � แหน่ ง อื่ น ใดในบริ ษั ท หรื อ องค์ ก รอื่ น จะต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการผู้จัดการใหญ่


ผู้แทนของบริษัทฯ ที่จะไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการหรือ ผู้บริหารของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จะต้องได้รับอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัทฯ ก่อน • บทบาทในฐานะผู้ถือหุ้นบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ผู้แทนบริษัทฯ ใช้สิทธิออกเสียงลงมติในการประชุมผู้ถือหุ้น โดยเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ บริษัทย่อย บริษัท ร่ ว ม และภายใต้ ก รอบอำ � นาจที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบ จากคณะกรรมการบริษัทฯ • กลไกการบริหารงานบริษัทย่อยและบริษัทร่วม การบริหารจัดการธุรกิจมีความสอดคล้องกับนโยบายหลัก ของบริษัทฯ และต้องเป็นไปตามราคาตลาดอย่างเป็นธรรม สำ�หรับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน รวมทัง้ การรายงานความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ต้องเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี หลังหักภาษีและทุนสำ�รองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจำ�เป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ ของบริษัทฯ เห็นสมควร ที่ประชุมผู้ถือหุ้นในปี 2558 อนุมัติ จ่ายเงินปันผล ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ เสนอ 0.08 บาท ต่อหุ้น จากผลการดำ�เนินงานปี 2557 ซึ่งบริษัทฯ ประสบ ภาวะขาดทุน

การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน คณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดแนวปฏิบตั ทิ ดี่ เี กีย่ วกับการรักษา ความลับไว้ในคูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี โดยให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานพึงระมัดระวังในการรักษาความลับของ บริษัทฯ รวมทั้งการใช้ข้อมูลภายในและการให้ข้อมูลเกี่ยว กับบริษัทฯ ต่อบุคคลภายนอก โดยมีการจัดระบบรักษา ความลับของบริษัทฯ กำ�หนดชั้นความลับและจำ�กัดสิทธิ์ใน การเข้าถึงข้อมูล บริษัทฯ มีนโยบายห้ามใช้ข้อมูลภายในที่ มีสาระสำ�คัญของบริษัทฯ ซึ่งยังไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน ไปในแนวทางที่เอื้อประโยชน์ต่อตนเองหรือผู้อื่น อันรวมถึง การซื้อขายหลักทรัพย์บริษัทฯ

ความขัดแย้งหรือข้อพิพาทที่สำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ไม่มีข้อพิพาทใดๆ ที่มีนัยสำ�คัญกับผู้มีส่วนได้เสีย

ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี บริษทั ฯ ว่าจ้าง “บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด” เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ซึ่งได้รับความเห็นชอบ จากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เป็นผู้สอบบัญชี ที่มีความเป็นอิสระ มีความน่าเชื่อถือ และไม่มีความสัมพันธ์ และ/หรือมีส่วนได้เสียกับบริษัทฯ บริษัทย่อย กรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

1. ค่าสอบบัญชีที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชีหรือบริษัทสอบบัญชี รายการ 1. ค่าสอบบัญชีของบริษัทฯ 2. ค่าสอบบัญชีของบริษัทย่อย 3. ค่าใช้จ่ายอื่น เช่น ค่าเดินทางของพนักงาน ค่าไปรษณีย์อากร ค่าจัดพิมพ์รายงาน รวม

จำ�นวน 3,100,000 1,000,000 120,000 4,220,000

2. ค่าบริการอื่นๆ ที่จ่ายให้ผู้สอบบัญชีหรือบริษัทสอบบัญชี รายการ 1. ค่าตรวจสอบการใช้สิทธิประโยชน์ ตามบัตรส่งเสริมการลงทุน จำ�นวน 2 บัตร 2. ค่าจ้างทีป่ รึกษาทางภาษีและกฎหมาย 3. ค่าสัมมนาทางการเงิน 4. ค่าสัมมนา รวม

จำ�นวน 120,000 552,320 16,000 23,800 712,120

บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี (Corporate Citizenship) นอกจากการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ตามแนวทางของกฎหมาย ข้อกำ�หนด และแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศของตลาดทุนไทยแล้ว คณะกรรมการบริษัทฯ ยังส่งเสริมให้บริษัทฯ เป็นองค์กร ที่ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองโลกที่ดี สรุปได้เป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านสิทธิมนุษยชน 2. ด้านแรงงาน 3. ด้านสิ่งแวดล้อม 4. ด้านการต่อต้านการทุจริต และ 5. ด้านการเรียนรูแ้ ละพัฒนา

1. ด้านสิทธิมนุษยชน

บริษัทฯ พัฒนาบทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี (Corporate Citizenship) ในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนโดยไม่มีการแบ่ง แยก กีดกัน อันเนือ่ งมาจากความแตกต่าง โดยดำ�เนินกิจกรรม ส่งเสริมเด็ก สตรี คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม และ การจ้าง/ใช้แรงงานที่เป็นธรรม ประกอบด้วย • การเข้าร่วมและสนับสนุนกิจกรรมของหน่วยงานอิสระ และองค์กรระหว่างประเทศ อาทิ UNGC ซึ่งดำ�เนินงานด้าน ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ • เข้าร่วมการระดมสมองและแสดงเจตจำ�นงเข้าร่วมเป็น ผู้ก่อตั้ง (Founder) ร่วมกับบริษัทเอกชนอื่นเพื่อริเริ่มจัดตั้ง UN Global Compact Local Network ในประเทศไทย เพื่อ สร้างเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งเสริมการเคารพ ศักดิศ์ รีของการเป็นมนุษย์ และสนับสนุนการดำ�เนินงานตาม หลัก Global Goals 17 ข้อ ของสหประชาชาติ • ร่วมโครงการส่งเสริมสิทธิเด็ก ตามแนวทาง Children’s Right ของ UNICEF เรื่องสิทธิเด็กและหลักปฏิบัติทาง ธุรกิจ (Children’s Rights and Business Principles หรือ CEBP) และร่วมกับสถาบันไทยพัฒน์จัดอบรมผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อสร้างความเข้าใจแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง ในการพั ฒ นาความยั่ ง ยื น ทั้ ง กั บ ตั ว เด็ ก และกิ จ การไป รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

91


พร้อมกัน โดยได้มีโครงการในปี 2558 ที่ส่งเสริมการดำ�เนิน งานดังกล่าวแล้ว รายละเอียดในรายงานผลการดำ�เนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม หน้า 203 • สนับสนุนงบประมาณจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง อาคารจัดกิจกรรมเด็กในสถานสงเคราะห์เด็กอ่อนปากเกร็ด • สนับสนุนอุปกรณ์ใช้ประโยชน์ในศาสนกิจโดยไม่แบ่ง แยกศาสนา เช่น ร่วมกับศูนย์ผลิตสื่อเพื่อชาวไทยมุสลิม ใน โครงการ “คืนสันติสุขสู่แดนใต้” มอบภาพบัยตุลลอฮฺ พร้อม นาฬิกาเพื่อดูเวลาละหมาด โดยมุ่งหวังที่จะให้หลักคำ�สอน ของศาสนาอิสลามได้กระตุน้ จิตสำ�นึก และขัดเกลาจิตใจให้ผทู้ ี่ หลงผิดหันกลับมาร่วมมือสร้างสันติสุขให้กับประเทศชาติ โดยจะแจกจ่ายให้กบั มัสยิด ห้องละหมาดประจำ�โรงเรียนเอกชน สอนศาสนาอิสลาม และโรงเรียนหรือสถานที่ราชการที่มี ห้องละหมาดในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ และสนับสนุนปัจจัย ต่างๆ ให้แก่มูลนิธิ • การส่งเสริมคุณภาพชีวติ ของสมาชิกในสังคม ประกอบด้วย เด็ก สตรี คนพิการ คนชรา ผู้ด้อยโอกาส

2. ด้านแรงงาน

• พนักงาน : กำ�หนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน วิธีการ ที่มีความ เป็นธรรมในการสรรหา การประเมิน การเลื่อนระดับ โอกาส ความก้าวหน้าในงานและการพัฒนา รวมทัง้ ฝึกอบรมพนักงาน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตให้พนักงานและครอบครัว และส่งผ่าน ไปยังชุมชนรอบข้างพนักงาน • สหภาพแรงงาน : ให้การสนับสนุนกิจกรรมสร้างสรรค์ และเปิดรับฟังความคิดเห็นของกลุม่ สหภาพแรงงาน 8 สหภาพ • กลุ่มแรงงานจ้างเหมา : กำ�หนดนโยบายจัดหาแรงงาน จ้ า งเหมาจากผู้ ป ระกอบการที่ ป ฏิ บั ติ / คุ้ ม ครองการใช้ แรงงานถูกต้องตามกฎหมาย คำ�นึงถึงความปลอดภัยใน สถานประกอบการ • พนักงานหรือแรงงานของคู่ค้า/ผู้รับเหมา : กำ�หนด มาตรการและผลักดันให้คู่ค้า/ผู้รับเหมาปฏิบัติต่อพนักงาน หรือแรงงานของคู่ค้า/ผู้รับเหมา อย่างถูกต้องตามกฎหมาย และเป็นธรรม • เด็กและเยาวชน : ปฏิบัติตามข้อตกลงเรื่องสิทธิเด็ก เกี่ยวกับการใช้แรงงาน ตามแนวทาง UNICEF • การปฏิบัติต่อพนักงานและแรงงาน โดยไม่มีการกีดกัน แบ่งแยกอันเนือ่ งจากความแตกต่างทางเพศ อายุ การศึกษา ศาสนา เชื้อชาติ และมีการเคารพเสรีภาพส่วนบุคคล

3. ด้านสิ่งแวดล้อม

บริษทั ฯ มีการสร้างห่วงโซ่แห่งคุณค่าในการดำ�เนินธุรกิจเพือ่ การเติบโตอย่างยั่งยืน (Conglomerated Value Chain) ในด้านสิ่งแวดล้อม ดังนี้ • การป้องกันและลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม : กำ�หนด มาตรฐาน คุณภาพ และความปลอดภัยด้านสิง่ แวดล้อม เทียบ เคียงกับสากลและกำ�กับดูแลให้คู่ค้าของบริษัทฯ ปฏิบัติตาม

92

นอกจากนี้ยังเป็นต้นแบบให้กับลูกค้าด้วยมาตรฐานของเขต ประกอบการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (EIZ) • การปลูกต้นไม้รอบเขตโรงงานอุตสาหกรรม : การเลือก พันธุ์ไม้ให้เหมาะสมกับท้องถิ่นเพื่อสร้าง/รักษาสมดุลระบบ นิเวศ และจัดหาต้นกล้าจากชุมชน (รายละเอียดการดำ�เนินงานอยู่ในรายงานด้านการบริหาร จัดการเพื่อความยั่งยืน และ QSHE หน้า 193 และหน้า 188)

4. ด้านการต่อต้านการทุจริต

• คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดนโยบาย แนวปฏิบตั ิ และ มาตรการต่อต้านคอร์รปั ชันไว้ในคูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และมีการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยกำ�หนด ให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ทุกคนจัดทำ� รายงานการเปิดเผยรายการที่สงสัยว่าจะเป็นผลประโยชน์ที่ ขัดกันกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ เป็นประจำ�ทุกปี • บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองการเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) จากองค์กร ต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 • บริษทั ฯ ทำ�การประเมินความเสีย่ งด้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ตามแนวทางทีแ่ นวร่วม CAC กำ�หนดและมีการประเมินในทุกๆ 3 ปี ซึง่ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งพิจารณาแล้วว่า บริษทั ฯ มีระบบควบคุมและตรวจสอบภายในอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงพอ จึงไม่มคี วามเสีย่ งในด้านนีอ้ ย่างมีนยั สำ�คัญ • บริษัทฯ มีการสร้างเครือข่ายการต่อต้านการทุจริตและ คอร์รัปชัน ดำ�เนินการให้บริษัทในเครือกำ�หนดให้มีนโยบาย และแนวปฏิบัติในการต่อต้านคอร์รัปชันให้สอดคล้องกับ นโยบายของบริษัทฯ และชักชวนให้ผู้มีส่วนได้เสีย เช่น กลุ่ม คู่ค้า เข้ามาเป็นแนวร่วมในการปฏิบัติ CAC ในปี 2559 • บริษัทฯ จัดอบรมผู้บริหารและพนักงาน เพื่อให้ความ รู้เกี่ยวกับนโยบายและแนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชันของบริษัทฯ และจริยธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ โดยจัดให้อยู่ในแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ดำ�เนินการแล้ว จำ�นวน 2,990 คน คิดเป็นร้อยละ 57 ของพนักงานทั้งหมด และมีการสื่อความภายใต้โครงการรณรงค์ “We Can Stop Corruption” นำ�เสนอในรูปแบบคลิปโฆษณาเชิญชวน ให้ทกุ คนมาร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในโครงการนี้ และเผยแพร่ผา่ น ทางช่ อ งทางอิ น ทราเน็ ต ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ให้ พ นั ก งาน ตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงจากการทุจริตคอร์รัปชัน จน เกิดเป็นจิตสำ�นึกและเป็นวัฒนธรรมองค์กร นอกจากนั้น ยังสอดแทรกไว้ในการอบรมสัมมนาของหน่วยงานต่างๆ รวมทั้งผ่านสื่อออนไลน์ • บริษทั ฯ เข้าร่วมรณรงค์การต่อต้านคอร์รปั ชันกับภาครัฐ/ หน่วยราชการ เพื่อเป็นแบบอย่างให้พนักงานตระหนักถึง ความสำ�คัญและนำ�มาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อเนื่อง อาทิ “Active Citizen พลังพลเมืองต่อต้านคอร์รัปชัน” โดยองค์กรต่อต้านคอร์รัปชัน (ประเทศไทย) งานวันต่อต้าน


คอร์รัปชันสากล ซึ่งจัดโดยรัฐบาลร่วมกับสำ�นักป้องกันการ ทุจริตภาคประชาสังคมและการพัฒนาเครือข่าย ภายใต้แนวคิด Transparent Thailand ประเทศไทยโปร่งใส แสดงถึงความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนทีเ่ ข้มแข็ง ซึง่ ถือว่าเป็น ปัจจัยและรากฐานที่สำ�คัญในการพัฒนาประเทศในทุกด้าน เพื่อที่จะเติบโตอย่างแข็งแกร่ง เท่าเทียม และเป็นที่ยอมรับ จากนานาอารยประเทศ • ร่วมกับกลุม่ ปตท. ขยายผลความร่วมมือของกลุม่ ปตท. ออกไปสู่ผู้มีส่วนได้เสีย ในเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันทุกรูป แบบด้วยการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจและรณรงค์สร้าง จิตสำ�นึก กระตุน้ ให้มกี ารดำ�เนินธุรกิจด้วยความโปร่งใส และ จัดให้มีมาตรการป้องกันที่เคร่งครัด • สำ�นักตรวจสอบภายในจัดพิธีมอบรางวัล “เพชรน้ำ�หนึ่ง (Diamond Award)” ประจำ�ปี 2558 เป็นกิจกรรมที่จัด ต่อเนื่องมา 5 ปี ตั้งแต่ปี 2554 โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ยกย่องหน่วยงานที่มีการกำ�กับดูแล การควบคุมภายใน และ การให้ความร่วมมือในการตรวจสอบดีเด่น มีความโปร่งใส ซึ่งเป็นการส่งเสริมระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบ ภายในให้เกิดประสิทธิภาพต่อองค์กร อันเป็นรากฐานทีส่ �ำ คัญ ของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในปี 2558 หน่วยงานที่ได้ รางวัลชนะเลิศเพชรน้ำ�หนึ่ง คือ ฝ่ายจัดซื้อจัดหา • คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการแจ้งเบาะแส การกระทำ�ผิด (Whistleblowing Policy) โดยจัดให้มชี อ่ งทาง ในการแจ้งเบาะแสและรับข้อร้องเรียน สำ�หรับผูร้ อ้ งเรียนภายใน และภายนอกองค์กรเกี่ยวกับการกระทำ�ใดๆ ที่ผิดกฎหมาย ผิดจรรยาบรรณในการปฏิบัติหน้าที่ หรือมีพฤติกรรมที่อาจ ส่อไปทางการทุจริต ประพฤติมิชอบของบุคคลในองค์กรทุก ระดับและผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ รวมทัง้ มีขนั้ ตอนการตรวจสอบ และแก้ไขทีช่ ดั เจน เป็นกลาง และโปร่งใส มีมาตรการคุม้ ครอง ผู้แจ้งเบาะแสและพยานที่เกี่ยวข้อง • ช่องทางการแจ้งเบาะแสและข้อร้องเรียน - - -

ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ : auditor@irpc.co.th ทางจดหมายธรรมดา : ประธานกรรมการตรวจสอบ บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จำ � กั ด (มหาชน) เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 6 ถนน วิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ทางตู้ไปรษณีย์ : ตู้ ปณ. 35 ปณฝ. อาคารซันทาวเวอร์ กรุงเทพฯ 10900

• ในปี 2558 ไออาร์พีซี ได้รับข้อร้องเรียนผ่านช่องทาง ตู้ ปณ. 35 จดหมาย และอีเมล์ สำ�หรับตู้ ปณ. 35 นั้น คณะกรรมการตรวจสอบได้ก�ำ หนดให้เป็นช่องทางข้อร้องเรียน ที่สะดวกและปลอดภัยในการรักษาความลับ รวมจำ�นวนข้อ ร้องเรียนทั้งหมด 65 เรื่อง จัดเป็นกรณีที่ไม่สอดคล้อง กั บ หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลที่ ดี แ ละจรรยาบรรณในการ ดำ�เนินธุรกิจ ซึ่งเกี่ยวกับการปฏิบัติงานและพฤติกรรม ของพนักงาน 60 เรือ่ ง และการทุจริต 5 เรือ่ ง ซึง่ ได้ตรวจสอบ ข้อเท็จจริงโดยสำ�นักตรวจสอบภายในและหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง ตลอดจนมีการรายงานผลต่อกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ คณะกรรมการจั ด การ คณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริษัทฯ ตามขั้นตอนการบริหารจัดการข้อร้อง เรียนและตามวาระเวลาทีก่ �ำ หนดไว้ โดยบริษทั ฯ สามารถสรุป ผลและปิดข้อร้องเรียนได้ทงั้ สิน้ 25 เรือ่ ง ส่วนข้อร้องเรียนอีก 40 เรื่อง อยู่ระหว่างการดำ�เนินการ

5. ด้านการเรียนรู้และพัฒนา

บริษทั ฯ เข้าร่วมเป็นสมาชิก World Economic Forum (WEF) และกรรมการผู้จัดการใหญ่ได้เข้าร่วมประชุมเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และรับแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศใน ระดับสากลมาใช้ในองค์กร ซึ่งล้วนสนับสนุนแนวทางพัฒนา โลกให้เติบโตอย่างยัง่ ยืนและยังครอบคลุมถึง 4 ด้าน ทีก่ ล่าว มาแล้ว โดยในปี 2558 ประเด็นที่โลกให้ความสำ�คัญและ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ประเด็นหนึ่งคือ The Forth Industrial Revolution การปฏิวัติอุตสาหกรรม คลื่นลูกที่สี่ บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะเป็นแบบอย่างที่ดีของบริษัทจดทะเบียน ในตลาดทุนไทยและตลาดทุนอาเซียนในด้านธรรมาภิบาล ด้วยการยกระดับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีอย่างต่อเนื่อง และเป็นรูปธรรม เพื่อร่วมเสริมสร้างความเข้มแข็งด้าน เศรษฐกิ จ และสร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ แก่ นักลงทุน และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ตลอดจนการเป็นผูป้ ระกอบการ ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม และดำ�รงตนเป็นบรรษัท พลเมืองที่ดี ดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงการพัฒนา สังคม และดูแลสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการเติบโตของบริษัทฯ นำ�มาซึ่งการอยู่ร่วมกันด้วยความผาสุขอย่างยั่งยืนที่แท้จริง ดังรายละเอียดการปฏิบัติ ปรับปรุง และพัฒนาที่สำ�คัญ ในปี 2558 และแผนดำ�เนินงานในอนาคต ตามที่กล่าว แล้วข้างต้น

• ขัน้ ตอนการตรวจสอบเบาะแสและข้อร้องเรียน มีหน่วยงาน ตรวจสอบภายในรับผิดชอบดูแลขั้นตอนการดำ�เนินการและ ติดตามผล พร้อมกับรวมรวบข้อมูลการกระทำ�ผิดหรือละเมิด จรรยาบรรณบริษัทฯ เพื่อรายงานตรงต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นประจำ�รายเดือน และรายไตรมาสตามลำ�ดับ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

93



BUSINESS STRUCTURE โครงสร างธุรกิจ

โครงสร างธุรกิจและการถือหุ น ลักษณะการประกอบธุรกิจ การประกอบธุรกิจของแต ละสายผลิตภัณฑ แผนภูมิกระบวนการผลิต โครงสร างรายได รายการระหว างกัน



โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น

บร�ษัท ไออาร พ�ซี จำกัด (มหาชน)

ธุรกิจป โตรเลียม

99.99%

บจ. น้ำมัน ไออาร พ�ซี

ธุรกิจป โตรเคมี

99.99%

(จำหน ายผลิตภัณฑ น�ำมัน)

ธุรกิจท าเร�อ

บจ. ไทย เอบีเอส

ธุรกิจบร�หารจัดการ ทรัพย สิน และธุรกิจอื่นๆ

99.99%

(ผลิตเม็ดพลาสติกกลุ มสไตร�นิคส )

99.99%

59.94%

บจ. รักษ ป าสัก

(บร�การขนส งทางทะเล)

35% บจ. นิปปอน เอ แอนด แอล 5% อื่นๆ

บจ. ไออาร พ�ซี เอ แอนด แอล

(โรงเร�ยนอาช�วะ)

48.99%

(จำหน ายเม็ดพลาสติก) 99.99%

49.99%

50% PCC Rokita SA

51% บมจ. โกลบอล เพาเวอร ซ�นเนอร ยี

บจ. ไออาร พ�ซี คลีน พาวเวอร

(ผลิตและจำหน ายไฟฟ าและไอน�ำ)

บจ. ไออาร พ�ซี โพลีออล

(ผลิตและจำหน ายโพลีออล)

บจ. เทคโนโลยี ไออาร พ�ซี

20.00%

40% บมจ. ปตท. 20% บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล 20% บมจ. ไทยออยล

บจ. พ�ทีที เอนเนอร ยี่ โซลูชั่นส (ที่ปร�กษาทางว�ศวกรรม)

บจ. ไออาร พ�ซี พ�ซีซี

(จำหน ายผลิตภัณฑ ป โตรเคมีกลุ มโพลิยูร�เทน)

25.00%

74% บจ. อูเบะ อินดัสตร�ส ลิมิเต็ด 1% อื่นๆ

บมจ. อูเบะ เคมิคอลส (เอเชีย)

(ผลิตและจำหน ายผลิตภัณฑ ป โตรเคมี)

หมายเหตุ : แสดงเฉพาะบริษัทที่มีการดำ�เนินงาน รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

97


ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เป็นผู้ดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมีครบวงจรแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรงกลั่นน้ำ�มัน และโรงงานปิโตรเคมีของบริษัทฯ ตั้งอยู่ที่จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรมภายใต้การจัดการของบริษัทฯ พร้อมสาธารณูปโภคพื้นฐานที่สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจทั้งท่าเรือน้ำ�ลึก คลังน้ำ�มัน และโรงไฟฟ้า

98

บริษทั ฯ ดำ�เนินธุรกิจกลัน่ น้�ำ มัน โดยโรงกลัน่ น้�ำ มันของบริษทั ฯ มี กำ�ลังการผลิตรวม 215,000 บาร์เรลต่อวัน ประกอบด้วย ADU 1 และ ADU 2 กำ�ลังการผลิต 65,000 และ 150,000 บาร์เรล ต่อวัน ตามลำ�ดับ จัดอยูใ่ นอันดับ 3 ของกำ�ลังการกลัน่ น้�ำ มัน

บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมีขนั้ ต้น ได้แก่ โอเลฟินส์ อะโรเมติกส์ โดยมีก�ำ ลังการผลิต 828,000 และ 367,000 ตัน ต่อปี ตามลำ�ดับ ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโรงงานปิโตรเคมี ขั้นปลาย ประกอบด้วย เม็ดพลาสติกกลุ่มโพลิโอเลฟินส์

ธุรกิจปิโตรเลียม

ธุรกิจปิโตรเคมี

ในประเทศ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมได้หลากหลาย ชนิด ประกอบด้วย ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (LPG) และน้�ำ มันเตา แนฟทา น้�ำ มันเบนซิน ดีเซล นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีโรงงานผลิต น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐานกำ�ลังการผลิต 320,000 ตันต่อปี ซึ่ง มีก�ำ ลังการผลิตสูงสุดภายในประเทศ และมีโรงงานผลิตยาง มะตอยขนาดกำ�ลังการผลิต 600,000 ตันต่อปี

(HDPE, PP) ด้วยกำ�ลังการผลิต 615,000 ตันต่อปี และเม็ด พลาสติกกลุ่มสไตรีนิคส์ (ABS, SAN, EPS, PS) ด้วยกำ�ลัง การผลิต 334,000 ตันต่อปี เพือ่ จำ�หน่ายให้กบั ผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมพลาสติกสำ�เร็จรูปชนิดต่างๆ ทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศภายใต้แบรนด์ POLIMAXX นอกจากนี้ ธุรกิจปิโตรเคมียงั มุง่ เน้นการก้าวไปข้างหน้า ปรับตัว ให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงของโลก พัฒนาความเป็นอยู่ ทีด่ ขี นึ้ ของมนุษย์ และเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันสูส่ ากล ด้วยการคิดค้นและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมของบริษทั ฯ จากการวิจัยทั้งในกลุ่มสไตรีนิคส์ ได้แก่ Green ABS, ABS Powder, Impact modifier-MBS, Anti-dripping Additive, Anti-Bacteria และกลุ่มโพลิโอเลฟินส์ ได้แก่ UHMW-PE, Polyolefins Catalyst, Baby Bottle Polypropylene, Antimicrobial Compound เป็นต้น


ท่าเรือคอนเทนเนอร์และสินค้าทั่วไป (Bulk & Container Terminal: BCT) ท่าเรือคอนเทนเนอร์และสินค้าทั่วไป หรือ ท่าเรือ BCT ตัวท่ามีความยาว 900 เมตร ประกอบด้วย ท่าเทียบเรือ 6 ท่า สามารถรับเรือลำ�เลียงได้ตงั้ แต่ขนาด 800 ตัน จนถึงขนาด 150,000 ตัน ให้บริการขนถ่ายสินค้าทั่วไป เช่น เหล็ก กะลาปาล์ม ถ่านหิน สินแร่ เป็นต้น โดยปัจจุบัน มีปริมาณสินค้าผ่านท่ากว่า 2 ล้านตันต่อปี

บริษัทฯ ได้ตั้งหน่วยธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สินเพื่อบริหาร จัดการที่ดินที่มีศักยภาพ ซึ่งมีทั้งที่ตั้งอยู่ในจังหวัดระยอง และจังหวัดอื่นๆ รวมทั้งสิ้นประมาณ 10,000 ไร่ โดยมีเป้า หมายในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นโครงการเชิงนิเวศ ทั้งนิคม อุตสาหกรรมและเขตประกอบการอุตสาหกรรม ซึ่งโครงการ เพียบพร้อมไปด้วยระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและระบบ สาธารณูปโภคต่างๆ ทีส่ ามารถรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้อย่างสมบูรณ์ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้รบั อนุมตั ใิ ห้รว่ มดำ�เนินการ กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ในการ พัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) สำ�หรับให้ บริการแก่นักลงทุนที่สนใจทั้งไทยและต่างชาติ พร้อมรองรับ โครงการต่างๆ ของบริษัทฯ และลูกค้าจากภายนอก

ท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลว (Liquid & Chemical Terminal: LCT) ท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลว หรือ ท่าเรือ LCT ตัวท่ามีความยาวประมาณ 1,623 เมตร ประกอบด้วย

นอกจากนี้ ฝ่ายธุรกิจทรัพย์สินยังมีธุรกิจ IRPC Solutions Provider ซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ การให้ บ ริ ก ารสนั บ สนุ น กิ จ การ ของนักลงทุนที่มาลงทุนในเขตประกอบการอุตสาหกรรม

ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์

ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน

ท่าเทียบเรือขนาดใหญ่ 6 ท่า สามารถรับเรือได้ตั้งแต่ขนาด 1,000 - 250,000 ตัน ให้บริการขนถ่ายสินค้าปิโตรเคมี ปิโตรเลียมเหลว และก๊าซ มีปริมาณสินค้าผ่านท่า 15 ล้านตัน ต่อปี และรองรับเรือมากกว่า 2,000 ลำ�ต่อปี

ไออาร์พีซีอย่างเต็มรูปแบบ ด้วยความเชี่ยวชาญและความ เป็นมืออาชีพ เพื่อให้กิจการของนักลงทุนเติบโตไปพร้อมๆ กับบริษัทฯ การให้บริการประกอบไปด้วย บริการงานบำ�รุง รักษาโรงงานและเครื่องจักรต่างๆ บริการงานวางระบบ IT และ Internet บริการทดสอบและวิเคราะห์ทางห้องปฏิบตั กิ าร บริการศูนย์มาตรวิทยา บริการจัดเก็บสินค้า (Warehouse) บริการชั่งน้ำ�หนักรถพ่วง และบริการฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยตามกฎหมาย เป็นต้น

ท่าเรือไออาร์พีซี เป็นท่าเรือน้ำ�ลึกที่ให้บริการท่าเทียบเรือเพื่อ ขนถ่ายสินค้าทั้งภายในและต่างประเทศ ตั้งอยู่ในเขตภาค ตะวันออก อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง มีความพร้อมทั้งด้าน โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำ�นวยความสะดวกที่ทันสมัยเป็น ไปตามมาตรฐานสากล ประกอบด้วย

บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์ (Tank Service) บริษัทฯ มี ถังเก็บผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเหลวกว่า 300 ถัง สามารถรองรับการจัดเก็บผลิตภัณฑ์ได้ถึง 2.9 ล้านตัน เพื่อ รองรับการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันของบริษัทฯ และให้ บริการแก่บุคคลภายนอก บริษัทฯ มีทีมงานที่มีประสบการณ์ และมีระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพกว่า 33 ปี ทำ�ให้การ บริการมีความเป็นมาตรฐานสากล โดยมีคลังน้ำ�มัน 5 แห่ง กระจายไปตามภูมิภาค ได้แก่ คลังน้ำ�มันระยอง คลังน้ำ�มัน พระประแดง คลังน้ำ�มันอยุธยา คลังน้ำ�มันชุมพร และคลัง น้�ำ มันแม่กลอง นอกจากนี้ คลังน้�ำ มันแต่ละแห่งยังมีทา่ เทียบ เรือเพื่อให้บริการขนถ่ายสินค้า ซึ่งจะช่วยให้การดำ�เนินงาน และการกระจายสินค้ามีประสิทธิภาพ ช่วยให้ประหยัดค่าใช้ จ่ายและระยะเวลาในการขนส่งของลูกค้า

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

99


การประกอบธุรกิจของแต่ละสายผลิตภัณฑ์ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม โดยมีรายละเอียดดังนี้

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 1. ผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิง • ก๊าซปิโตรเลียมเหลวหรือก๊าซหุงต้ม (LPG) คือ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอน ก๊าซโปรเพน และก๊าซบิวเทน ส่วนใหญ่นำ�ไป ใช้ในงานหุงต้มในครัวเรือนอีกทั้งยังสามารถนำ�ไปใช้ในงาน อุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากนี้ยังใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับ เครื่องยนต์เบนซินได้ • น้ำ�มันเบนซิน (Gasoline) คือน้ำ�มันเชื้อเพลิงสำ�หรับ เครือ่ งยนต์เบนซิน แบ่งโดยค่าอ๊อกเทน ซึง่ เป็นตัวเลขทีแ่ สดง

ESSO

PTTGC ร อยละ

17

ร อยละ

IRPC

ร อยละ

สัดส วนการผลิต ผลิตภัณฑ ป โตรเลียม ของโรงกลั่นน้ำมัน ภายในประเทศ

17

ร อยละ

10

ยอดผลิตรวม

16

ร อยละ

ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน ข้อมูลเดือนมกราคม-ธันวาคม 2558

100

2. ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน

TOP ร อยละ

• น้�ำ มันเตา (Fuel Oil) เป็นผลิตภัณฑ์น�้ำ มันทีไ่ ด้จากส่วนทีม่ ี จุดเดือดสูงของน้�ำ มันดิบ ใช้ประโยชน์มากในงานอุตสาหกรรม การคมนาคมขนส่งทางเรือ และใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า

1,130 KBD SPRC

• น้ำ�มันดีเซล (Diesel) ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับเครื่องยนต์ ดีเซลที่ใช้ในอุตสาหกรรม และยานพาหนะ เช่น รถยนต์ รถ บรรทุก เรือประมง เรือโดยสาร รถแทรกเตอร์ ปัจจุบันได้มี การผสมไบโอดีเซลในสัดส่วนร้อยละ 5-7 ตามนโยบายของ รัฐบาลเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน

• น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน (Lube Base Oil) คือ ผลิตภัณฑ์ น้ำ�มันที่ได้จากผลิตภัณฑ์ส่วนหนักจากหอกลั่น ซึ่งนำ�ไปผลิต เป็นน้�ำ มันหล่อลืน่ เกรดต่างๆ ปัจจุบนั บริษทั ฯ เป็นผูผ้ ลิตน้�ำ มัน หล่อลื่นพื้นฐานหลายเกรด ตามลักษณะและความเหมาะสม ในการนำ�ไปใช้งาน ดังนี้

12 BCP

คุณสมบัติต้านทานการน็อคของเครื่องยนต์ตามข้อกำ�หนด ของรัฐ น้�ำ มันเบนซินของบริษทั ฯ แบ่งออกเป็น น้�ำ มันเบนซิน ไร้สารตะกั่ว ULG95 น้ำ�มันแก๊สโซฮอล์ GSH 95, GSH91 และ Gasohol Base ซึ่งเป็นน้ำ�มันเบนซินพื้นฐานสำ�หรับนำ� ไปผลิตเป็น Gasohol และ E20

28

- 150 SN ใช้เป็นวัตถุดิบผลิตน้ำ�มันหล่อลื่นสำ�หรับ อุตสาหกรรมการผลิต เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมขนส่ง เป็นต้น - 500 SN ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับอุตสาหกรรมน้ำ�มัน หล่อลื่นสำ�หรับรถยนต์เกือบทุกประเภท - 150 BS ใช้ในอุตสาหกรรมและเครื่องจักรที่มีแรง เสียดทานมาก เช่น เครือ่ งยนต์รถบรรทุก รถไฟ เครือ่ ง เรือเดินทะเล เป็นต้น

• ลองเรสซิดิว (Long Residue) คือ ผลิตภัณฑ์ส่วนหนัก จากกระบวนการกลั่นน้ำ�มัน ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับการผลิต น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน นอกจากนี้บริษัทฯ ได้คิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม ในกลุม่ น้�ำ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน ได้แก่ น้�ำ มันยาง TDAE (Treated Distillate Aromatic Extract) และ RAE (Residue Aromatic Extract) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิตยางรถยนต์ โดยลด ปริมาณ Polycyclic Aromatic Hydrocarbon (PAHs) ซึ่ง เป็นสารก่อมะเร็ง เพื่อเพิ่มความปลอดภัยต่อผู้บริโภค


3. ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ • แนฟทา (Naphtha) คือ ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันส่วนเบาที่ได้ จากกระบวนการกลั่นน้ำ�มันดิบ ใช้เป็นวัตถุดิบหลักสำ�หรับ โรงงานปิโตรเคมี • ยางมะตอย (Asphalt) คือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน หลายชนิด และสารอินทรียอ์ น่ื ๆ ซึง่ รวมเรียกว่า บิทเู มน มีลกั ษณะ เป็นของเหลวข้นและหนืด และเป็นผลิตภัณฑ์สว่ นทีห่ นักทีส่ ดุ ทีไ่ ด้จากกระบวนการกลัน่ น้�ำ มันดิบ ใช้ส�ำ หรับทำ�ถนน วัสดุกนั ซึม

ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 1. โอเลฟินส์ โอเลฟินส์ ประกอบด้วย เอทิลีน โพรพิลีน และบิวทาไดอีน ใช้ เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิตเม็ดพลาสติกชนิดต่างๆ ได้แก่ เม็ด พลาสติกชนิดโพลิเอทิลนี (PE) และโพลิโพรพิลนี (PP) บริษทั ฯ มีกำ�ลังการผลิตโอเลฟินส์ 828,000 ตันต่อปี ประกอบด้วย เอทิลีน 360,000 ตันต่อปี โพรพิลีน 412,000 ตันต่อปี และ บิวทาไดอีน 56,000 ตันต่อปี โอเลฟินส์ที่บริษัทฯ ผลิตได้ ส่วนใหญ่ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโรงงานในกลุ่มบริษัทฯ

นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์พลอยได้จากโรงงานโอเลฟินส์ ได้แก่ อะเซทิลนี แบล็ค (Acetylene Black) มีลกั ษณะเป็นผงละเอียด สีด�ำ มีคณ ุ สมบัตเิ ด่นในเรือ่ งความบริสทุ ธิแ์ ละการนำ�ไฟฟ้าสูง นิยมนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตถ่านไฟฉาย ผลิตภัณฑ์ โพลิเมอร์และยาง ปัจจุบันบริษัทฯ มีกำ�ลังการผลิตอะเซทิลีน แบล็ค 4,000 ตันต่อปี

2. อะโรเมติกส์ ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์หรือ BTX ประกอบด้วย เบนซีน (Benzene) โทลูอนี (Toluene) ไซลีน (Xylene) ใช้เป็นวัตถุดบิ สำ�หรับผลิตเม็ดพลาสติกกลุ่มสไตรีนิคส์ ปัจจุบันบริษัทฯ มี กำ�ลังการผลิตอะโรเมติกส์ 367,000 ตันต่อปี อะโรเมติกส์ ที่ผลิตได้ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับโรงงานในเครือของบริษัทฯ และจำ�หน่ายให้บุคคลภายนอกบางส่วน

สายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ก าซป โตรเลียมเหลว น้ำมันเบนซิน น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล อลื่นพ�้นฐาน ป โตรเลียมอื่นๆ

เอทิลีน โพรพ�ลีน บิวทาไดอีน อะเซทิลีนแบล็ค โอเลฟ�นส อะโรเมติกส โพลิเมอร โพลิออล ผลิตภัณฑ พ�เศษ/ นวัตกรรม

กลุ มสไตร�นิคส Green ABS Anti-dripping Additive Anti-bacteria Agent ABS Powder

น้ำมันหล อลื่นพ�้นฐาน ลองเรสซิดิว

เบนซีน โทลูอีน ไซลีน

แนฟทา ยางมะตอย

เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน นสูง (HDPE) เม็ดพลาสติกชนิดโพลิโพรพ�ลีน (PP) เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile-Butadiene-Styrene (ABS) เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile Styrene (SAN) เม็ดพลาสติกชนิด Polystyrene (PS) เม็ดพลาสติกชนิด Expandable Polystyrene (EPS)

กลุ มโพลิโอเลฟ�นส Ultra High Molecular Weight Polyethylene Baby Bottle Polypropylene Antimicrobial compound Marine Pipe Natural Coloring and Additive Carrier System

โพลิเอสเทอร โพลิอีเทอร โพลิออล

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

101


3. โพลิเมอร์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยเป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์หรือ เม็ดพลาสติกภายใต้เครื่องหมายการค้า “POLIMAXX” ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกจัดเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นปลาย ซึ่งอุตสาหกรรมต่อเนื่องสามารถนำ�ไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ พลาสติกสำ�เร็จรูปชนิดต่างๆ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกของบริษทั ฯ ประกอบด้วยเม็ดพลาสติกกลุ่มโพลิโอเลฟินส์ (Polyolefins) ได้แก่ HDPE, PP และกลุ่มสไตรีนิคส์ (Styrenics) ได้แก่ ABS, PS, EPS เม็ดพลาสติกที่ผลิตได้จะมีคุณสมบัติที่แตก ต่างกันตามลักษณะของการนำ�ไปใช้งาน ดังนี้ 3.1 เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene - HDPE) เม็ดพลาสติกชนิด HDPE ของบริษัทฯ เป็นเม็ดพลาสติก โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูงที่มีการคอมพาวด์ภายใน สายการผลิต (in-line compound) ในรูปแบบสีด�ำ เหมาะสำ�หรับ การนำ�ไปใช้ในการขึน้ รูป ได้แก่ งานผลิตท่อ (Pipe Extrusion) HDPE ในรูปของท่อ มีลักษณะที่เหมาะสมต่องานผลิตท่อ น้�ำ ประปา ท่อร้อยสายไฟฟ้า ซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ ชิงกลทีท่ นแรงดึง ทนแรงกระแทก มีความยืดหยุน่ สูง และทนต่อสภาพแวดล้อม

3.3 เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile-Butadiene-Styrene (ABS) ABS ของบริษัทฯ เป็นเม็ดพลาสติกที่มีคุณสมบัติเด่นในการ ทนแรงกระแทกได้ดี (High Impact Strength) มีความมัน เงาที่ผิว (High Gloss) ทนความร้อน (High Heat) แข็งแกร่ง (High Stiffness and High Rigidity) และทนต่อสารเคมีได้ดี (High Chemical Resistance) นิยมนำ�ไปใช้ในงานต่อไปนี้ • งานฉีดเข้าแบบ (Injection Molding) คือการนำ� เม็ดพลาสติกไปฉีดเข้าแบบเพื่อให้ได้ชิ้นงานตามต้องการ เหมาะสำ�หรับการนำ�ไปใช้งานต่างๆ ได้แก่

- เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ได้แก่ ชิน้ งานส่วนประกอบหม้อหุงข้าว เตารีด โทรศัพท์ พัดลม แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ และ โทรทัศน์ เนื่องจาก ABS มีคุณสมบัติเด่นคือทนต่อ ความร้อนสูง มีความมันเงา สามารถชุบโลหะได้ดี มี อัตราการไหลสูง และมีการหน่วงเหนีย่ วการติดไฟทีด่ ี

- ชิ้นส่วนยานยนต์ ได้แก่ กระจกมองข้าง กล่อง เก็ บ สั ม ภาระ แผงหน้ า ปั ด รถยนต์ และชิ้ น ส่ ว น รถจักรยานยนต์ ได้แก่ แผงหน้าปัด หน้ากาก บังโคลน หมวกกันน็อก เนือ่ งจาก ABS มีคณ ุ สมบัตดิ า้ นความ แข็งแรง ทนทาน ทนความร้อน ทนต่อแรงกระแทก สูง มีการเกาะติดของสีทด่ี ี ทนต่อตัวทำ�ละลายจำ�พวก ทินเนอร์ และให้ความมันเงา

• งานแผ่นฟิล์ม (Film) ใช้ในการผลิตแผ่นพลาสติก ที่ต้องการความใส เพื่อใช้เป็นถุงพลาสติกประเภทถุงร้อน ฟิล์มห่อของทั่วไปหรือบรรจุอาหาร เป็นต้น

- เครือ่ งใช้ในครัวเรือน ได้แก่ ชิน้ ส่วนเครือ่ งเรือน สุขภัณฑ์ เนือ่ งจาก ABS มีคณ ุ สมบัตมิ คี วามมันเงาสูง ทนแรง กระแทก สามารถชุบโลหะได้ดี และทนต่อสารเคมีได้ดี

• งานในรูปของเส้นใย/เส้นเทป (Filament/Yarn) ใช้ใน งานทอกระสอบสาน ถุงหอม ถุงกระเทียม ผ้าใบสาน ส่วน เส้นใยกลม (Filament) มี 2 ลักษณะ คือ Mono-Filament (เส้นใยเดี่ยว) ใช้ในงานทำ�เชือกที่ต้องการรับแรงมากๆ เช่น เชือกใยยักษ์ หรือ Multi-Filament (เส้นใยกลุ่ม) ใช้ในงาน สายเข็มขัดและสายกระเป๋า

- ของเด็กเล่น เนื่องจากเม็ดพลาสติกชนิด ABS มี คุณสมบัตทิ นต่อการแตกหัก หากแตกหักก็จะไม่เกิด เหลีย่ มคม (Sharp Point) ทีเ่ ป็นอันตรายต่อเด็ก รวมถึง มีความมันเงาสูงและให้สที ส่ี ดใส

3.2 เม็ดพลาสติกชนิดโพลิโพรพิลีน (Polypropylene - PP) เม็ดพลาสติก PP ของบริษทั ฯ เป็นเม็ดพลาสติกทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ที่ใกล้เคียงกับเม็ดพลาสติกชนิด HDPE และ LDPE จึง สามารถใช้ทดแทนกันได้ในระดับหนึ่ง แต่ PP สามารถทน ความร้อนได้สูงกว่า HDPE เหนียว แข็งแกร่ง ทนต่อแรงอัด และแรงกระแทก ไม่สึกกร่อนง่าย ทนต่อสารเคมี เป็นฉนวน ไฟฟ้าทีด่ ี ปัจจุบันมีการนำ�เม็ดพลาสติกชนิด PP ไปใช้ในการ ผลิตในรูปแบบต่างๆ ดังนี้

• งานฉีดเข้าแบบ (Injection Molding) เหมาะสำ�หรับ การผลิตเครื่องใช้ในบ้าน เครื่องครัว ชิ้นส่วนรถยนต์ ชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า เปลือกแบตเตอรี่ ถังบรรจุสี และเฟอร์นิเจอร์ กลางแจ้ง เป็นต้น • งานเป่าเข้าแบบ (Blow Molding) มีคุณสมบัติในการ ผลิตบรรจุภัณฑ์ใสที่ให้ผิวแข็ง ทนต่อกรดและด่าง มีความ สะอาดปลอดภัยสูง เหมาะแก่การใช้เป็นขวดบรรจุอาหารหรือ ขวดบรรจุเครื่องสำ�อาง เป็นต้น

102

• งานรีดเป็นแผ่น (Sheet Extrusion) ได้รับความนิยม มากขึ้น เนื่องจาก PP ให้การทรงรูปชิ้นงานที่ดี สามารถ recycle ได้ และราคาไม่สูงมากนัก ซึ่งงานที่ใช้ PP sheet มี ตั้งแต่งานแฟ้มเอกสารต่างๆ งาน vacuum forming ได้แก่ งาน packaging เช่น ถ้วยน้ำ�หรือถาดใส่ของต่างๆ เป็นต้น

• งานรีด (Extrusion) โดยการนำ�เม็ดพลาสติกไปรีดเป็นแผ่น แล้วจึงนำ�ไปขึน้ รูปด้วยวิธสี ญ ู ญากาศ เช่น ผนังตูเ้ ย็น เป็นต้น 3.4 เม็ดพลาสติกชนิด Acrylonitrile Styrene (SAN) SAN หรือ AS ของบริษัทฯ เป็นเม็ดพลาสติกที่ให้คุณสมบัติ ความใส ความแข็ง ความแกร่ง ความเหนียว การทนความ ร้อน และทนสารเคมีได้ดีกว่า PS จึงนิยมนำ�ไปใช้ในงานฉีด (Injection Molding) ได้แก่


• ชิ้นส่วนยานยนต์ เช่น เลนส์ไฟหน้า ไฟท้าย ไฟเลี้ยว ในบางส่วน โดยนำ�มาแทน PMMA เนื่องจากมีราคาถูกกว่า • เครือ่ งใช้ภายในบ้าน เช่น สุขภัณฑ์ ไฟแช็ค ภาชนะใส่ของ ซึง่ ได้รับความนิยมใช้มากเนื่องจากมีคุณสมบัติเฉพาะตัวที่ดี • เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ได้แก่ ใบพัดพัดลม หน้ากากแอร์ เครือ่ ง ปั่นน้ำ�ผลไม้ เนื่องจากมีคุณสมบัติให้ความมันเงา ความ คงรูปสูง การทนความร้อนและสารเคมีได้ดี โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการทนต่อแรงเฉือนได้ดี 3.5 เม็ดพลาสติกชนิด Polystyrene (PS) PS ของบริษทั ฯ สามารถแบ่งตามคุณสมบัตไิ ด้เป็น 2 ประเภท คือ • GPPS (General Purpose Polystyrene) คือเม็ดพลาสติก PS ทีใ่ ห้ความใสมาก มีความแข็งและความ สามารถในการขึน้ รูปเป็นชิน้ งานง่ายโดยไม่ตอ้ งอบเม็ดก่อน แต่ มีข้อเสียคือทนแรงกระแทกได้น้อย (Low Impact Strength) จึงนิยมใช้กับชิ้นงานที่เน้นความใสมากๆ และต้องการความ ทรงรูปสูง ตัวอย่างเช่น ตลับเทป ตลับซีดี เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นต้น • HIPS (High Impact Polystyrene) คือเม็ดพลาสติก PS ที่สามารถทนแรงกระแทกได้มากกว่า GPPS เนื่องจากมีการพัฒนาโดยใส่ Butadiene แต่จะ สูญเสียคุณสมบัติด้านความใส อย่างไรก็ตาม จากการที่ ราคาเม็ดพลาสติก HIPS ต่ำ�กว่าราคาเม็ดพลาสติก ABS ค่อนข้างมาก จึงถูกใช้ทดแทนเม็ดพลาสติก ABS ในงานที่ ต้องการลดต้นทุน แต่จะให้ความเงาและการทรงรูปทีด่ อ้ ยกว่า เม็ดพลาสติกทั้ง 2 ประเภท เหมาะสำ�หรับการนำ�ไปใช้ในการ ผลิตขึ้นรูปต่างๆ ดังนี้

- งาน Injection Molding ตลับเทป ตลับวีดีโอ ตลับ ซีดี และเครื่องใช้ในครัวเรือน เป็นต้น

- งาน Sheet & Film Extrusion ได้แก่ ถ้วยไอศครีม ฟิล์มที่ใช้ในการห่อดอกไม้ เป็นต้น

3.6 เม็ดพลาสติกชนิด Expandable Polystyrene (EPS) EPS ของบริษัทฯ มีลักษณะเป็นเม็ดกลมๆ สีขาว ซึ่งใช้ สไตรีนมอนอเมอร์เป็นวัตถุดิบหลัก และใช้แก๊สเพนเทน (Pentane) เป็นสารทำ�ให้พองตัว (Blowing Agent) ซึ่ง บริษัทฯ ใช้ในกระบวนการผลิต โดยจะไม่มีการใช้สาร CFC ซึ่งทำ�ลายชั้นบรรยากาศโอโซน เม็ดพลาสติก EPS สามารถ นำ�ไปใช้งานดังนี้ • งาน Packaging ได้แก่ โฟมใช้กันกระแทกในงาน บรรจุภัณฑ์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เป็นต้น • งาน Block ได้แก่ ฉนวนกันความร้อนในห้องเย็นสำ�หรับ งานประมง งานก่อสร้าง และงานประดิษฐ์ตกแต่ง เป็นต้น

4. โพลิออล ผลิตภัณฑ์โพลิออล ได้แก่ โพลิเอสเทอร์ และโพลิอเี ทอร์โพลิออล (Polyether Polyol) เป็นวัตถุดิบสำ�หรับผลิตโพลิยูรีเทน ซึ่งนำ�ไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ เช่น โฟมที่ใช้ในการ ทำ�เฟอร์นเิ จอร์ โฟมทีใ่ ช้เป็นฉนวนกันการถ่ายเทความร้อนใน อุตสาหกรรมก่อสร้างอาคาร และอุปกรณ์ทำ�ความเย็นต่างๆ และโฟมสังเคราะห์ซึ่งใช้ทำ�พื้นรองเท้า โดยใช้ Propylene Oxide ซึ่งนำ�เข้าจากต่างประเทศเป็นวัตถุดิบหลัก ผลิตภัณฑ์โพลิออลดำ�เนินการผลิตและจำ�หน่ายโดยบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทฯ ย่อยในสัดส่วน ร้อยละ 99.99 มีกำ�ลังการผลิต 25,000 ตันต่อปี โดยมี โรงงานตั้งอยู่ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมเดียวกับ ไออาร์พีซี ที่จังหวัดระยอง

5. กลุ่มผลิตภัณฑ์พิเศษหรือผลิตภัณฑ์นวัตกรรม บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญกับการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยการพัฒนาองค์ความรูภ้ ายใน (Self-Development) เพือ่ รองรับความต้องการของลูกค้าทีห่ ลากหลายและภาวะเศรษฐกิจ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ตลอดจนสามารถตอบสนองความ ต้องการและความคาดหวังของลูกค้าได้อย่างสูงสุด รวมถึง ใส่ใจต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม 5.1 ผลิตภัณฑ์กลุ่มสไตรีนิคส์ ประกอบด้วย • Green ABS เป็นผลิตภัณฑ์ที่บริษัทฯ สามารถผลิตได้ เป็นรายแรกในโลก และได้จดลิขสิทธิ์กระบวนการผลิตเป็นที่ เรียบร้อยแล้ว โดยการนำ�เอายางธรรมชาติมาทดแทนการใช้ ยางสังเคราะห์ในการผลิตเม็ดพลาสติก ABS ซึง่ นวัตกรรมนี้ สามารถนำ�ไปเป็นโครงการช่วยเหลือเกษตรกรและลดการนำ�เข้า อีกทั้งยังเป็นไปตามโครงการกลไกพัฒนาที่สะอาดด้วย • Anti–dripping Additive เป็นสารเติมแต่งสำ�หรับ โพลิเมอร์ทมี่ คี ณ ุ สมบัตชิ ว่ ยป้องกันการหยดตัวของโพลิเมอร์ เมือ่ ติดไฟ ซึง่ บริษทั ฯ ได้พฒ ั นาขึน้ ด้วยนาโนเทคโนโลยีท�ำ ให้ สามารถกระจายตัวได้ดใี นโพลิเมอร์ อีกทัง้ ยังสามารถจัดเก็บ ได้ที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งช่วยลดต้นทุนในด้านการเก็บรักษาและ การจัดส่งผลิตภัณฑ์ เหมาะสำ�หรับการเติมโพลิเมอร์หลาก หลายชนิดทีต่ อ้ งการเพิม่ คุณสมบัตเิ กีย่ วกับการหน่วงไฟตาม มาตรฐาน UL-94 (V.0) ปัจจุบันบริษัทฯ ได้นำ�สารเติมแต่ง นี้ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ABS-Flame Retardant Grade ให้มีคุณสมบัติดียิ่งขึ้นด้วย • Anti–bacteria Agent เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ทใี่ ช้เทคโนโลยี การผลิตระดับนาโน มีคณ ุ สมบัตใิ นการยับยัง้ การเจริญเติบโต และกำ�จัดเชือ้ แบคทีเรียได้เป็นอย่างดี สามารถนำ�ไปใช้เป็นสาร เติมแต่ง (Additive) ในเม็ดพลาสติกหลากหลายชนิด ไม่วา่ จะเป็น ABS, PS หรือ PP เพื่อเพิ่มคุณสมบัติดา้ นการยับยั้ง เชือ้ แบคทีเรียในผลิตภัณฑ์โดยไม่สง่ ผลต่อคุณสมบัตเิ ดิมของ เม็ดพลาสติก รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

103


• ABS Powder เป็นผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ชนิด ABS ในรูปแบบผง เหมาะสำ�หรับผู้ผลิตที่ต้องการคุณสมบัติ การกระจายตัวของโพลิเมอร์ทดี่ กี ว่าการใช้เม็ดพลาสติกแบบ เดิม สามารถนำ�ไปใช้กับเม็ดพลาสติก PVC, PC หรือ PC/ ABS ซึ่งจะช่วยเพิ่มคุณสมบัติในด้านการทนต่อแรงกระแทก และทนต่อความร้อน

• Baby Bottle Polypropylene เป็นทางเลือกใหม่ ของเม็ดพลาสติกที่ได้รับการพัฒนาคุณลักษณะให้โดดเด่น และขึ้นรูปง่ายยิ่งขึ้นทั้งแบบฉีดและแบบเป่า ด้วยคุณสมบัติ การทนความร้อนเกินกว่า 100 องศาเซลเซียส ทรงรูปดี มี ความใสพิเศษ และมีอัตราการหดตัวต่ำ� ไม่มีสารก่อมะเร็ง จึงมั่นใจได้ว่าปลอดภัยสำ�หรับเด็ก

5.2 ผลิตภัณฑ์กลุ่มโพลิโอเลฟินส์ ประกอบด้วย • Ultra High Molecular Weight Polyethylene (UHMW-PE) มีลักษณะเป็นผงสีขาวขุ่น ทึบแสง มีความ หนาแน่นของโมเลกุลสูงกว่าโพลิเอทิลีนทั่วไปถึง 10 เท่า สามารถนำ�ไปขึ้นรูปได้หลายวิธี เช่น Compression, RAM Extrusion, Gel Spinning เป็นต้น โดยมีอณ ุ หภูมใิ นการใช้งาน ตั้งแต่ -200 ถึง 200 องศาเซลเซียส ด้วยคุณสมบัติที่ดีกว่า ข้อต่อและเฟืองเหล็ก เหมาะสำ�หรับงานหลากหลายประเภท ที่ต้องการความเหนียว แข็งแรง ทนทานต่อการเสียดสี และ การกัดกร่อนของสารเคมี

• Antimicrobial compound คือผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม โพลิโอเลฟินส์ที่ได้เพิ่มคุณสมบัติดา้ นการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื้อแบคทีเรีย โดยไม่ส่งผลต่อ คุณสมบัติของเม็ดพลาสติก ซึ่งนับเป็นการยกระดับคุณภาพ ชีวติ ในปัจจุบนั ให้มคี วามปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ และได้รบั ความ นิยมอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ส�ำ หรับอาหาร และในวงการแพทย์ รวมทั้งเครื่องใช้ในครัวเรือน

GREEN ABS

ผลิตภัณฑ ที่บร�ษัทฯ ผลิตได เป นรายแรกของโลกโดยนำยาง ธรรมชาติมาใช ทดแทนยางสังเคราะห ในการผลิตเม็ดพลาสติก ABS นวัตกรรมดังกล าวมีส วนช วยเหลือ เกษตรกร อีกทั้งยังเป นไปตาม โครงการกลไกพัฒนาที่สะอาด

104

• Marine Pipe คอมพาวด์สตู รพิเศษทีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ อ้ งกัน หอยเจาะท่อ ซึ่งทำ�ลายท่อโพลิเอทิลีนในพื้นที่บริเวณชายฝั่ง ทะเลและพื้นที่น้ำ�กร่อย

WOOD PLASTIC COMPOSITE

กลุ มนวัตกรรมผลิตภัณฑ ที่เป น มิตรกับสิ�งแวดล อมที่บร�ษัทฯ คิดค น การนำเอาผงไม คุณภาพ ที่เหลือใช มาผสมกับพลาสติก PP เพ�่อได วัสดุที่คงคุณสมบัติเด น ของพลาสติกและไม สามารถทดแทนและส งเสร�มการ ใช ทรัพยากรอย างคุ มค า


• Natural Coloring and Additive Carrier System ประกอบด้วย

- Natural Coloring เป็นเม็ดพลาสติกที่มีส่วนผสม ของสีทสี่ กัดจากธรรมชาติ เพือ่ ลดการใช้สสี งั เคราะห์ จากปิโตรเคมี เช่น สีเขียวจากผักโขม (Spinach) สีน้ำ�ตาลจากคาราเมล (Caramel) เป็นต้น สามารถ ลดปัญหาเรื่องสารพิษและสารโลหะหนักตกค้าง โดยเฉพาะในด้านความคงตัวของสีที่ไม่มีความแตก ต่างจากการใช้สีสังเคราะห์

- Master Batch Carrier เป็นผลิตภัณฑ์ HDPE รูปแบบ ใหม่ที่มีลักษณะเป็นผงละเอียดสีขาว ทำ�ให้สามารถ รวมตัวกับผงสีและสารเติมแต่งได้เป็นอย่างดี และ

มีคา่ ดัชนีการไหลที่สูงถึง 33 กรัม ต่อ 10 นาที ด้วย คุณสมบัตเิ ด่นดังกล่าว ทำ�ให้การกระจายตัวของผงสี และสารเติมแต่งต่างๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

- Wood Plastic Composite บริษัทฯ ได้ตระหนักถึง คุณค่าของการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ จึงได้น�ำ ผงไม้คณ ุ ภาพ มาผสมลงในกระบวนการผลิตเม็ดพลาสติกประเภท ต่างๆ แล้วนำ�ไปขึ้นรูปด้วยกระบวนการขึ้นรูปของ พลาสติก เพื่อให้ได้วัสดุชนิดใหม่ที่ยังคงคุณสมบัติ เด่นของพลาสติกและไม้ และสามารถทดแทนเพื่อ ลดและส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

รายชื่อผู้ผลิตและกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกในประเทศ ปี 2558 ผลิตภัณฑ์ HDPE

PP

ABS

EPS

PS

บริษัท บมจ. ไออาร์พีซี บจ. ไทยโพลิเอททีลีน บมจ. บางกอกโพลีเอททีลีน จำ�กัด บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล รวม บมจ. ไออาร์พีซี บจ. เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ บจ. ไทยโพลิโพรพิลีน รวม บจ. ไทย เอบีเอส บจ. อินนิออส เอบีเอส (ประเทศไทย) รวม บจ. ไทย เอบีเอส บจ. หมิงตี้ เคมิคอล รวม บจ. ไทย เอบีเอส บจ. สยามโพลีสไตรีน บจ. ไทยสไตรีนิคส์ รวม

หน่วย : พันตันต่อปี

กำ�ลังการผลิต

ร้อยละ

140 960 500 300 1,900 475 775 720 1,970 179 95 274 30 30 60 125 150

7 51 26 16 100 24.11 39.34 36.55 100 65 35 100 50 50 100 34 41

90

25

365

100

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

105


แผนภูมิกระบวนการผลิต

มิกซ ไซลีน 121 KTA ร�ฟอร เมท

โรงกลั่นน้ำมัน

EBSM 260 KTA

โพโรไลซิส แก สโซลีน

215 KBD ADU 1 65 KBD

โรงงาน อะโรเมติกส

โทลูอีน 132 KTA เบนซีน 114 KTA

แนฟทา

น้ำมันดิบ

โรงงาน โอเลฟ�นส

เอทิลีน 320 KTA

ACN 27 KTA

เอทิลีนร�ชแก ส

ADU 2 150 KBD

LS ATB

โรงงาน DCC โพรพ�ลีน อ อกไซด

VGO

ลองเรสซิดิว

ก าซ ธรรมชาติ ถ านหิน

ป โตรเลียม

106

โรงงาน น้ำมันหล อลื่น พ�้นฐาน

โรงไฟฟ า

ป โตรเคมี

220 MW 108 MW


ผลิตภัณฑ เพ�่อจําหน าย

การนำไปใช

ก าซหุงต ม น้ำมันเบนซิน แก สโซฮอล น้ำมันดีเซล น้ำมันเตา

เช้ือเพลิง

บจ. ไทย เอบีเอส PS 125 KTA

PS

ตลับซีดี ตลับเทป เคร�่องใช ไฟฟ า

บจ. ไทย เอบีเอส EPS 30 KTA

EPS

โฟมกันกระแทก ฉนวนกันความร อน

บจ. ไทย เอบีเอส บิวทาไดอีน 56 KTA

ABS/SAN 179 KTA

ABS/SAN

ของเด็กเล น เคร�่องใช ไฟฟ า ชิ�นส วนยานยนต เคร�่องใช ในครัวเร�อน

อะเซทิลีน 6 KTA

HDPE 140 KTA

HDPE

ถุงหิว� บรรจ�สนิ ค า ขวดบรรจ�นำ้ ดืม่ (ข�น ) ท อน้ำ เชือก แห อวน

Acetylene Black 4 KTA

Acetylene Black

ถ านไฟฉาย ยางรถยนต

PP 475 KTA

PP

ถุงใส บรรจ�อาหาร ขวดน้ำผลไม

โพรพ�ลีน 412 KTA

บจ. ไออาร พ�ซี โพลีออล โพลิออล 25 KTA

โพลิออล

โฟมทําพ�้นรองเท า เฟอร นิเจอร

น้ำมันหล อลื่นพ�้นฐาน 320 KTA

น้ำมันหล อลื่นเคร�่องยนต

TDAE 50 KTA

ส วนผสมในยางรถยนต

ยางมะตอย 600 KTA

ผ�วถนน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

107


โครงสร้างรายได้

ธุรกิจ

ดำ�เนินการโดย/ สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ

1. ธุรกิจปิโตรเลียม บมจ. ไออาร์พีซี, บจ. น้ำ�มันไออาร์พีซี (99.99%) 2. ธุรกิจปิโตรเคมี

บมจ. ไออาร์พซี ,ี บจ. ไทยเอบีเอส (99.99%), บจ. ไออาร์พีซี โพลีออล (99.99%)

3. ธุรกิจอื่นๆ (1)

บมจ. ไออาร์พีซี

รวมรายได้จากการขายสุทธิ (2)

2556 ล้านบาท

สัดส่วน

216,175

ล้านบาท

2558 สัดส่วน

สัดส่วน

75% 143,295

72%

63,582

23%

63,853

24%

53,111

27%

2,892

1%

3,458

1%

3,189

1%

100% 199,595

100%

282,649

100% 272,968

(39) 61

(139) 39

63

(184) 37

หมายเหตุ : (1) ธุรกิจอื่นๆ ประกอบด้วย รายได้จากค่าไฟฟ้า และสาธารณูปโภค (2) รายได้จากการขายสุทธิไม่รวมภาษีสรรพสามิต (excise tax)

108

ล้านบาท

76% 205,657

ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและ ส่วนได้เสียในกิจการร่วมค้า สัดส่วนรายได้จากการขาย ในประเทศ : ต่างประเทศ

2557

61

39


รายการระหว่างกัน

รายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน สำ�หรับรอบปีบัญชี 2558 บริษัทฯ มีรายการทางธุรกิจที่สำ�คัญกับบริษัทฯ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน โดยมีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และ/หรือมีกรรมการร่วมกัน รายการระหว่างกันได้กำ�หนดขึ้น โดยใช้ราคาตลาดหรือราคาที่ตกลงกันตามสัญญาในราคาและ เงื่อนไขที่ยุติธรรมหากไม่มีราคาตลาดรองรับ โดยความสัมพันธ์กับบริษัทต่างๆ และรายการที่เกี่ยวข้องกัน มีรายละเอียดดังนี้ ชื่อบริษัทและลักษณะความสัมพันธ์

รายการ

ปี 2558

ปี 2557

ล้านบาท

ล้านบาท

บมจ. ปตท. (PTT) ลักษณะความสัมพันธ์ : - เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของบริษัทฯ โดยถือหุ้น 38.51% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายวัชรกิติ วัชโรทัย - มีผู้บริหารของ ปตท. เป็น กรรมการของบริษัทฯ คือ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายสรัญ รังคสิริ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายชวลิต พันธ์ทอง นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

- ขายสินค้า

19,806

28,444

- ซื้อสินค้า

128,922

175,327

- รายได้อื่น

20

454

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า - ลูกหนี้อื่น - เจ้าหนี้อื่น

50

53

866 22,758 13 4

1,099 22,752 23 57

บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 48.89% - มีกรรมการร่วมกัน คือ นายสรัญ รังคสิริ

- ขายสินค้า

14,531

23,027

- ซื้อสินค้า

20,055

28,691

1 1

2

1,024 1,668

1,477 2,058

- ขายสินค้า

994

94

- ซื้อสินค้า

910

617

8

8

- ขายสินค้า

226

740

- ซื้อสินค้า

10

27

- ลูกหนี้การค้า

19

-

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - เจ้าหนี้การค้า

23 1,218 51

2,021 -

บมจ. ไทยออยล์ (TOP) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 49.10%

- รายได้อื่น - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า

- ลูกหนี้การค้า บมจ. ไทยลู้บเบส (TLB) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99%

บจ. ไทยพาราไซลีน (TPX) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99%

ลักษณะเงื่อนไขของรายการ บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิงให้ PTT ในราคาตลาด บริษทั ฯ ซือ้ น้�ำ มันดิบและผลิตภัณฑ์น�้ำ มันจาก PTT ในราคาตลาด รายได้จากการทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันล่วงหน้า รายได้ ค่าที่ปรึกษาด้าน IT และรายได้ค่าบุคลากร ให้กับ PTT ในราคาตามสัญญา บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้กับ PTT ในราคา ตามสัญญา

บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิงให้ PTTGC ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิงจาก PTTGC ในราคาตลาด บริษทั ฯ ให้บริการด้านการวิจยั กับ PTTGC ในราคาตลาด บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้ PTTGC ในราคา ตามสัญญา

บริษัทฯ ขายน้ำ�มันดิบและให้บริการเช่าถังน้ำ�มันกับ TOP ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงจาก TOP ในราคาตลาด บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐานให้ TLB ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐานจาก TLB ในราคาตลาด บริษทั ฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้ TPX ในราคาตลาด บริษทั ฯ ซือ้ ผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์จาก TPX ในราคาตลาด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

109


ชื่อบริษัทและลักษณะความสัมพันธ์

ปี 2558

ปี 2557

ล้านบาท

ล้านบาท

21 -

23 3

1

3

บจ. ไทยออยล์มารีน (TOM) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ไทยออยล์ ถือหุ้น 99.99%

- รายได้จากการบริการ - ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้การค้า

บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (TS) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. ไทยออยล์ โซลเว้นท์ ถือหุ้น 99.99%

- ขายสินค้า - ซื้อสินค้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า

1,332 75 66 8

1,953 107 100 13

บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) - ขายสินค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. ท็อป โซลเว้นท์ ถือหุ้น 99.99% - ลูกหนี้การค้า

674

491

53

57

บจ. ศักดิ์ไชยสิทธิ (SAKC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. ท็อปโซลเว้นท์ ถือหุ้น 80.52%

- ขายสินค้า

364

590

- ลูกหนี้การค้า

20

8

บจ. พีทีที เอ็นเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ (PTTES) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 40.00% บมจ. ไออาร์พีซี ถือหุ้น 20.00% - มีผู้บริหารของบริษัทฯ เป็น กรรมการ PTTES คือ นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร

82

94

บจ. พีทที ี โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ (PTTPL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 50.00% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

- รายได้อื่น

1

3

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร

2

2

บจ. พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติง้ (PTTPM) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 50.00% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร

- ขายสินค้า

119

299

- ซื้อสินค้า

800

606

5 51

4 76

บจ. โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ดีเอ็มซีซี (PMDMCC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ถือหุ้น 99.99%

- ขายสินค้า

4

-

- ลูกหนี้การค้า

2

-

90

83

บจ. เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ (EnCo) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 50.00%

110

รายการ

- ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร

ลักษณะเงื่อนไขของรายการ บริษัทฯ ให้บริการท่าเรือกับ TOM ในราคาตลาด บริษัทฯ จ่ายค่าบริการขนส่งให้ TOM ในราคาตลาด

บริษทั ฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กบั TS ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์โซลเว้นท์จาก TS ในราคาตลาด

บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ ให้กับ บจ. ท็อป โซลเว้นท์ (เวียดนาม) ในราคาตลาด บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ SAKC ในราคาตลาด บริษัทฯ จ่ายค่าบริการด้านเทคนิคให้กับ PTTES ในราคาตลาด

บริษัทฯ รับรายได้ค่าบุคลากรจาก PTTPL ในราคา ตามสัญญา บริษัทฯ จ่ายค่าบริการขนส่งให้ PTTPL ในราคาตลาด

บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ให้ PTTPM ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์จาก PTTPM ในราคาตลาด

บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ให้ PMDMCC ในราคาตลาด

บริษัทฯ เช่าอาคารสำ�นักงานจาก EnCo ในราคาตลาด


ชื่อบริษัทและลักษณะความสัมพันธ์ บจ. ปตท.ค้าสากล (PTTT) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 99.99%

รายการ

ปี 2558

ปี 2557

ล้านบาท

ล้านบาท

11,024

11,167

- ซื้อสินค้า

928

35,336

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้อื่น

282

56

572 63

801 65

- ขายสินค้า

ลักษณะเงื่อนไขของรายการ บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันเชื้อเพลิงให้กับ PTTT ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์โอเลฟินส์และน้ำ�มันดิบจาก PTTT ในราคาตลาด ค่าใช้จ่ายจากการทำ�สัญญาซื้อขายน้ำ�มันล่วงหน้ากับ PTTT ในราคาตลาด

บจ. พีทีที อาซาฮี เคมิคอล (PTTAC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 48.50%

- ซื้อสินค้า

1,206

1,665

- รายได้อื่น

1

1

85

127

บจ. เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ (HMC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 41.44%

- รายได้อื่น

1

1

บริษัทฯ ให้บริการฝึกอบรมกับ HMC ในราคาตลาด

บมจ. ทิพยประกันภัย (TIP) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 13.33%

- รายได้อื่น

1,313

1,710

844

473

-

1,000

บริษทั ฯ รับค่าสินไหมทดแทนจาก TIP ในราคา ตามสัญญา บริษทั ฯ ชำ�ระค่าเบีย้ ประกันอาคาร เบีย้ ประกันสุขภาพ และอุบัติเหตุให้ TIP ในราคาตามสัญญา

- เจ้าหนี้การค้า

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้อื่น

บจ. พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล (PTTTANK) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 99.99%

- รายได้อื่น

2

-

- ลูกหนี้อื่น

1

-

บจ. บิซิเนส เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (BSA) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 25.00%

- รายได้อื่น

4

4

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น

248

263

6

23

บจ. สปอร์ต เซอร์วิสเซส อัลไลแอนซ์ (SSA) ลักษณะความสัมพันธ์ : บจ. บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ ถือหุ้น 99.99% - มีผบู้ ริหารของบริษทั ฯ เป็นกรรมการคือ นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร

5

5

บจ. พีทีที ไอซีที โซลูชั่นส์ (PTTICT) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 40.00% บมจ. ปตท. ถือหุ้น 20.00%

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น

36

38

1

2

บจ. ไทยสไตรีนิคส์ (TSCL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99%

- ขายสินค้า

199

858

7

64

- ลูกหนี้การค้า

บจ. ไทย เอบีเอส ซื้อผลิตภัณฑ์อะคริโลไนไตรล์ (เอเอ็น) จาก PTTAC ในราคาตลาด บริษัทฯ มีรายได้จากการให้บริการด้าน IT กับ PTTAC ในราคาตลาด

บริษัทฯ รับรายได้ค่าบุคลากรจาก PTTTANK ในราคาตามสัญญา

บจ. น้ำ�มันไออาร์พีซี รับรายได้ค่าบริหารร้านค้าจาก BSA ในราคาตามสัญญา บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างบุคลากรให้กับ BSA ในราคา ตามสัญญา บริษัทฯ สนับสนุนค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ทีมฟุตบอล ปตท. ระยอง ให้ SSA

บริษัทฯ จ่ายค่าบริการด้าน IT ให้ PTTICT ในราคาตลาด

บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ TSCL ในราคาตลาด

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

111


ชื่อบริษัทและลักษณะความสัมพันธ์

รายการ

ปี 2557

ล้านบาท

บจ. พีทีที ฟีนอล (PPCL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99%

- ขายสินค้า

1

1

บจ. ทีโอซี ไกลคอล (TOCGC) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99%

- ซื้อสินค้า

36

45

- เจ้าหนี้การค้า

6

11

บจ. เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วิส (NPC S&E) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99%

- ซื้อสินค้า

1

2

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร

2

3

บจ. ไทยโอลีโอเคมี (TOL) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 99.99%

- ซื้อสินค้า

266

239

บจ. พีทีที เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง (PTTME) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 60.00%

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - เจ้าหนี้อื่น

-

1

-

4

-

2

-

1

บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี - รายได้อื่น (GPSC) ลักษณะความสัมพันธ์ : - ลูกหนี้อื่น บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 22.73% บมจ. ปตท. ถือหุ้น 22.58% - มีกรรมการร่วมกันคือ นายชวลิต พันธ์ทอง

112

ปี 2558

ล้านบาท

บจ. ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ (IRPC-CP) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ ถือหุ้น 51.00% บมจ. ไออาร์พีซี ถือหุ้น 48.99% - มีผู้บริหารของบริษัทฯ เป็นกรรมการคือ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์

- รายได้จากการบริการ

64

30

- รายได้อื่น

10

23

257

-

20 286 106

8 -

บมจ. วีนิไทย (VNT) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ถือหุ้น 24.98%

- ซื้อสินค้า

23

37

- ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหาร - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า - เจ้าหนี้อื่น

ลักษณะเงื่อนไขของรายการ บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์อะโรเมติกส์ให้กับ PPCL ในราคาตลาด

บจ. ไออาร์พซี ี โพลีออล ซือ้ ผลิตภัณฑ์เอทิลนี ออกไซด์จาก TOCGC ในราคาตลาด

บริษัทฯ ซื้อชุดและอุปกรณ์นิรภัยจาก NPC S&E ในราคาตลาด บริษัทฯ จ่ายค่าเช่าอุปกรณ์นิรภัยให้ NPC S&E ในราคาตลาด

บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิงจาก TOL ในราคาตลาด

บริษัทฯ จ่ายค่าบริการซ่อมแซมเครื่องจักรให้ PTTME ในราคาตามสัญญา

บริษัทฯ รับรายได้ค่าบุคลากรจาก GPSC ในราคาตามสัญญา

บริษัทฯ ให้บริการด้านวิศวกรกับ IRPC-CP ในราคาตามสัญญา บริษัทฯ รับรายได้จากการพัฒนางานโครงการจาก IRPC-CP ในราคาตามสัญญา บริษัทฯ จ่ายค่ากระแสไฟฟ้าให้กับ IRPC-CP ในราคาตลาด

บริษัทฯ ซื้อโซเดียมไฮดรอกไซด์จาก VNT ในราคาตลาด


ชื่อบริษัทและลักษณะความสัมพันธ์

รายการ

ปี 2558

ล้านบาท

749

6,244

718

1,506

-

175 58

25

22

-

8

-

1,765 37

บมจ. บางจากปิโตรเลียม (BCP) * - ขายสินค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 27.22% - ซื้อสินค้า - ลูกหนี้การค้า - เจ้าหนี้การค้า บจ. อุบล ไบโอ เอทานอล (UBE) ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. บางจากปิโตรเลียม ถือหุ้น 21.28%*

ปี 2557

ล้านบาท

- รายได้จากการบริการ - ลูกหนี้การค้า

บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นง่ิ ** - ขายสินค้า (SPRC) - ซื้อสินค้า ลักษณะความสัมพันธ์ : บมจ. ปตท. ถือหุ้น 36.00%

ลักษณะเงื่อนไขของรายการ บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิงให้ BCP ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิงจาก BCP ในราคาตลาด

บริษัทฯ ให้บริการเช่าถังน้ำ�มันกับ UBE ในราคาตลาด

บริษัทฯ ขายผลิตภัณฑ์ ATB ให้ SPRC ในราคาตลาด บริษัทฯ ซื้อผลิตภัณฑ์น�้ำ มันเชื้อเพลิง จาก SPRC ในราคาตลาด

* บมจ. ปตท. ถือหุน้ ใน บมจ. บางจากปิโตรเลียม 27.22% จนถึงวันที่ 30 เมษายน 2558 ได้จ�ำ หน่ายหุน้ ทัง้ หมดให้แก่กองทุนรวมวายุภกั ษ์หนึง่ และสำ�นักงานประกันสังคม ** บมจ. ปตท. จำ�หน่ายหุน้ ของ บมจ. สตาร์ ปิโตรเลียมรีไฟน์นง่ิ ในเดือนธันวาคม 2558 โดยภายหลังจากการจำ�หน่ายหุน้ สัดส่วนการถือหุน้ ของ บมจ. ปตท. ลดลงจาก ร้อยละ 36 เหลือร้อยละ 5.41

นโยบายและความจำ�เป็นของรายการระหว่างกัน

นโยบายการทำ�รายการระหว่างกันในอนาคต

บริษัทฯ และบริษัทย่อย ดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น ครบวงจร ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจประเภทเดียวกับบริษัทในเครือ ปตท. จึงทำ�ให้เกิดธุรกรรมระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ในเครือ ปตท. ซึ่งเป็นการทำ�ธุรกิจตามปกติ โดยรายการระหว่างกัน ที่เกิดขึ้น ได้แก่ การซื้อขายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันและการบริการที่ เกี่ยวเนื่อง รวมถึงการทำ�ธุรกรรมต่างๆ ซึ่งสนับสนุนธุรกิจ ปกติ เป็นการทำ�รายการที่มีราคาและเงื่อนไขไม่แตกต่างกับ การทำ�รายการกับบุคคลภายนอก ปราศจากการถ่ายเทผล ประโยชน์ระหว่างกัน ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้พจิ ารณารายการระหว่าง กันอย่างรอบคอบ อย่างมีเหตุผล และเป็นอิสระ โดยคำ�นึงถึง ประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ

รายการระหว่างกันของบริษัทฯ ในอนาคต จะเป็นรายการที่ ดำ�เนินการทางธุรกิจตามปกติ โดยบริษทั ฯ ยึดถือความเหมาะ สมในเงือ่ นไขและราคาทีเ่ ป็นธรรมเป็นหลัก เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายได้รับการดูแลผลประโยชน์อย่าง เป็นธรรมตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และปฏิบัติ ตามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เกี่ยวกับรายการระหว่างกันอย่างเคร่งครัด

มาตรการเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยทีเ่ กีย่ วกับรายการระหว่างกัน โดยคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้พิจารณารายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผล ประโยชน์อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าการ ทำ�รายการเป็นไปอย่างเป็นธรรม โปร่งใส และสมเหตุสมผล โดยกรรมการ พนักงาน หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องทีม่ ผี ลประโยชน์ ขัดแย้ง จะไม่สามารถอยูใ่ นทีป่ ระชุมและออกเสียงในวาระนัน้ ได้

ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้พิจารณารายการระหว่างกันและ ให้ความเห็นว่า รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นเป็นรายการ ทางการค้าอันเป็นธุรกิจปกติทวั่ ไป มีความสมเหตุสมผลและ การกำ�หนดราคาได้อา้ งอิงตามราคาตลาดทีเ่ หมาะสม ซึง่ เป็น ราคาและเงื่อนไขที่ไม่แตกต่างกับการทำ�รายการกับบุคคล ภายนอก ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้ถอื ปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี และตามข้อกำ�หนดของสำ�นักงานคณะกรรมการ กำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย

นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบ ทานรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคล หรือบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกันเป็นประจำ�ทุกไตรมาส เพือ่ ขจัดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

113



MANAGEMENT STRUCTURE โครงสร างการจัดการ โครงสร างการจัดการ ข อมูลทั่วไป


โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างองค์กรของบริษัทฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริษัทฯ และผู้บริหาร โดยคณะกรรมการบริษัทฯ มีคณะกรรมการ ชุดย่อย 4 ชุด ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 15 คน • กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 14 คน (ร้อยละ 93.34 ของกรรมการทั้งคณะ) • กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 1 คน • กรรมการอิสระ 6 คน (ร้อยละ 40 ของกรรมการทั้งคณะ)

รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วย ลำ�ดับ 1 2 3 4 5

รายชื่อกรรมการ นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายวุฒิสาร ตันไชย นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายสรัญ รังคสิริ

6 นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 7 นายชวลิต พันธ์ทอง 8 นายทรงภพ พลจันทร์ 9 10 11 12 13 14 15

116

นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายประมวล จันทร์พงษ์ พลโทสสิน ทองภักดี นายประสิทธิ์ สืบชนะ นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

ประเภทกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (กรรมการที่เป็นผู้บริหาร)

ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน

กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการบริหารความเสี่ยง กรรมการบริหารความเสี่ยง/ กรรมการผู้จัดการใหญ่/ เลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ


กรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ กรรมการผู้มีอำ�นาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ ประกอบด้วย (1) นายเทวินทร์ วงศ์วานิช (2) นายวัชรกิติ วัชโรทัย (3) นายสุ ก ฤตย์ สุ ร บถโสภณ (4) นายสรั ญ รั ง คสิ ริ (5) นายชาญศิ ล ป์ ตรี นุ ช กร กรรมการสองในห้ า คนนี้ ลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำ�คัญของบริษัทฯ

ให้แก่บริษัทฯ อาทิ คุณธรรม จริยธรรม ความเป็นอิสระ กล้า แสดงความคิดเห็น มีความคิดสร้างสรรค์ ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความระมัดระวังและความซื่อสัตย์ (Duty of Care and Duty of Loyalty) ทุ่มเท อุทิศเวลา และเป็นที่ยอมรับของ สังคม เป็นต้น

องค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ

10. หากเคยดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ พิจารณาจาก การปฏิบัติงานในฐานะกรรมการอย่างเต็มความสามารถ และการให้ขอ้ คิดเห็น/ข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ บริษทั ฯ

1. คณะกรรมการบริษัทฯ ประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 15 คน

กรรมการอิสระ

2. มีกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการ ทัง้ หมด และต้องมีจ�ำ นวนกรรมการอิสระไม่นอ้ ยกว่า 3 คน 3. กรรมการต้องมีอายุไม่เกิน 70 ปีบริบูรณ์ 4. วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการและกรรมการ อิสระของบริษัทฯ คราวละ 3 ปี โดยสามารถดำ�รงตำ�แหน่งได้ ไม่เกิน 3 วาระติดต่อกัน (9 ปี) 5. การดำ � รงตำ � แหน่ ง กรรมการในบริ ษั ท จดทะเบี ย น ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยของกรรมการบริษัทฯ รวมกันไม่เกิน 5 บริษัท 6. เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ เพื่อผสมผสานความรู้ ความสามารถที่จำ�เป็น ควรประกอบด้วยผู้ที่มีความรู้ด้าน ธุรกิจปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมีอย่างน้อย 3 คน ผู้มีความรู้ ด้านกฎหมายอย่างน้อย 1 คน และผู้มีความรู้ด้านบัญชีและ การเงินอย่างน้อย 1 คน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามนโยบายและ เกณฑ์การสรรหาและแต่งตัง้ ทีจ่ ะพิจารณาถึงพืน้ ฐานทางการ ศึกษา ประสบการณ์บริหารจัดการในด้านนัน้ และความสำ�เร็จ เป็นที่ยอมรับในธุรกิจที่มีขนาดเทียบเคียงได้กับบริษัทฯ 7. มีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำ�กัด และพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกำ�กับ ตลาดทุน กฎระเบียบของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ กฎระเบียบของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ข้อบังคับบริษัทฯ หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทฯ และข้อกำ�หนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงไม่มี ลักษณะที่แสดงถึงการขาดความเหมาะสมที่จะได้รับความไว้ วางใจให้บริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ 8. มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนและไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2554 เรื่องการแต่ง ตั้งข้าราชการระดับสูง หรือบุคคลดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ในรัฐวิสาหกิจ และ/หรือนิติบุคคลที่รัฐวิสาหกิจเป็นผู้ถือหุ้น หลายแห่ง 9. มีคุณลักษณะและภาพลักษณ์ที่สนับสนุนและส่งเสริม การดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ีเพื่อสร้างคุณค่า

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที่มีความเป็นอิสระจาก ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือกลุม่ ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ และผูบ้ ริหาร ของบริษัทฯ มีอำ�นาจหน้าที่แสดงความเห็นอย่างเสรีตาม ภารกิจที่ได้รับมอบหมายในการปกป้องผลประโยชน์ของ ผู้ถือหุ้นทุกรายและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีกรรมการอิสระ 6 คน จากกรรมการทัง้ คณะ 15 คน ซึ่งมากกว่า 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งคณะ บริษัทฯ กำ�หนดคุณสมบัติของกรรมการอิสระที่เข้มกว่า ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสำ�นักงาน คณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออก เสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ท่เี กี่ยวข้องของกรรมการอิสระ รายนั้นๆ ด้วย (ตามข้อกำ�หนดไม่เกินร้อยละ 1) 2. ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มี อำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัท ร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มี อำ�นาจควบคุมของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้าม ดังกล่าวไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรื อ ที่ ป รึ ก ษาของส่ ว นราชการซึ่ ง เป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ 3. ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดย การจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คูส่ มรส พีน่ อ้ ง และบุตร รวมทัง้ คูส่ มรสของบุตรของกรรมการ รายอื่น ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 4. ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเป็นการ ขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้ง ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

117


ของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึง่ รวมถึงการทำ�รายการ ทางการค้าทีก่ ระทำ�เป็นปกติเพือ่ ประกอบกิจการ การเช่าหรือ ให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับ หรือให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกัน หนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้ บริษัทฯ หรือคู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละสามของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทฯ หรือตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำ�นวนใดจะต่ำ�กว่า ทัง้ นี้ การคำ�นวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตามวิธกี ารคำ�นวณ มูลค่าของรายการที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการที่เกี่ยว โยงกันโดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้ นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่างหนึ่งปีก่อนวันที่มีความ สัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน 5. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี �ำ นาจควบคุม ของบริษทั ฯ และไม่เป็นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ยั ผูม้ อี �ำ นาจควบคุม หรือ หุน้ ส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู้ อบบัญชีของ บริษทั ฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พ้นจาก การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี 6. ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึง การให้บริการเป็นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่าบริการเกินกว่าสองล้านบาทต่อปี จากบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพ นั้นด้วยเว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสองปี 7. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทน ของกรรมการของบริษัทฯ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 8. ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็น การแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการ ที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับ เงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่ มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่ มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการ ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย

118

9. ไม่มลี กั ษณะอืน่ ใดทีท่ �ำ ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่าง เป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัทฯ ทัง้ นี้ หากมีกรรมการอิสระพ้นจากตำ�แหน่ง บริษทั ฯ จะสรรหา ผู้ที่มีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมและมีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ มาทดแทนเป็นอันดับแรก รวมทัง้ รักษาจำ�นวนกรรมการอิสระ ให้ครบถ้วนตามเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อย่างไรก็ตาม กรรมการ คนอืน่ ๆ หากต่อมามีคณ ุ สมบัตกิ รรมการอิสระตามทีก่ �ำ หนด เมื่อใด กรรมการคนนั้นๆ ก็มีฐานะเป็นกรรมการอิสระของ บริษัทฯ โดยทันที

การแต่งตั้งและพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ บริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดเกีย่ วกับการแต่งตัง้ และการพ้นจากตำ�แหน่ง กรรมการบริษัทฯ สรุปได้ดังนี้ การแต่งตั้งกรรมการบริษัทฯ 1. ผู้ ถื อ หุ้ น เป็ น ผู้ มี อำ � นาจเลื อ กตั้ ง กรรมการบริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนจะทำ�หน้าที่ คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อเป็นกรรมการ บริษัทฯ ต่อคณะกรรมการ เพื่อนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาต่อไป โดยมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผูถ้ อื หุน้ คนหนึง่ มีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หุน้ ต่อหนึง่ เสียง (2) การเลือกตั้งกรรมการจะลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเป็น รายบุคคล หรือเป็นครัง้ เดียวเต็มตามจำ�นวนกรรมการ ทั้งหมดที่จะต้องเลือกตั้งในคราวนั้นก็ได้ ทั้งนี้ตามแต่ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ จะเห็นสมควร โดยในการออกเสียงลง คะแนนไม่วา่ จะเป็นการเลือกตัง้ เป็นรายบุคคล หรือเป็น คณะบุคคล แต่ละคนที่ผู้ถือหุ้นออกเสียงเลือกตั้งจะได้ รับคะแนนเสียงจากผู้ถือหุ้นตามจำ�นวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้น นั้นมีอยู่ทั้งหมดตาม (1) โดยผู้ถือหุ้นดังกล่าวจะแบ่ง คะแนนเสียงให้แก่ผหู้ นึง่ ผูใ้ ดมากหรือน้อยเพียงใดไม่ได้ (3) บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมา เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการ ที่ จ ะพึ ง มี ห รื อ จะพึ ง เลื อ กตั้ ง ในครั้ ง นั้ น ในกรณี ที่ บุคคลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนน เสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึง เลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมนั้นเป็น ผู้ออกเสียงชี้ขาด 2. ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธาน กรรมการและคณะกรรมการสามารถพิจารณาเลือกกรรมการ คนหนึง่ หรือหลายคนเป็นรองประธานกรรมการได้ เพือ่ ปฏิบตั ิ หน้าที่ตามข้อบังคับบริษัทฯ และตามที่ประธานกรรมการ มอบหมาย (ปัจจุบันไม่มีการแต่งตั้งรองประธานกรรมการ บริษัทฯ)


3. ให้คณะกรรมการแต่งตัง้ กรรมการคนหนึง่ เป็นกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ 4. ในกรณีทตี่ �ำ แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอนื่ นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการทีว่ า่ งลงจะเหลือน้อยกว่าสองเดือน บุคคลซึง่ เป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยูใ่ นตำ�แหน่งกรรมการ ได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลืออยูข่ องกรรมการทีต่ นแทน โดยมติ ของคณะกรรมการในการเลือกตัง้ กรรมการแทนนีต้ อ้ งประกอบ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำ�นวนกรรมการที่ ยังเหลืออยู่ 5. กรณีทตี่ �ำ แหน่งกรรมการว่างลงจนเหลือน้อยกว่าจำ�นวน ทีจ่ ะเป็นองค์ประชุม ให้กรรมการทีเ่ หลืออยูก่ ระทำ�การในนาม ของคณะกรรมการได้แต่เฉพาะการจัดให้มกี ารประชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ เลือกตัง้ กรรมการแทนตำ�แหน่งทีว่ า่ งทัง้ หมดเท่านัน้ โดย ให้กระทำ�ภายหนึ่งเดือนนับแต่วันที่จำ�นวนกรรมการว่างลง เหลือน้อยกว่าจำ�นวนที่จะเป็นองค์ประชุม และบุคคลซึ่งเข้า เป็นกรรมการแทนจะอยูใ่ นตำ�แหน่งได้เพียงเท่าวาระทีย่ งั เหลือ อยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน 6. กรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ใหม่ควรได้รบั ฟังการบรรยาย สรุปเกี่ยวกับข้อมูลที่จำ�เป็น และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติ หน้าทีก่ รรมการบริษทั ฯ ภายในเวลาสามเดือนนับจากวันทีไ่ ด้ รับการแต่งตั้ง การพ้นจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 1. ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง 3 ปี (กรรมการซึ่งพ้นจาก ตำ�แหน่งจะเลือกเข้ารับตำ�แหน่งอีกก็ได้) 2. นอกจากการพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการ จะพ้นจากตำ�แหน่งเมื่อตาย หรือลาออก หรือขาดคุณสมบัติ หรือมีลักษณะต้องห้ามตามที่กฎหมายกำ�หนด หรือที่ประชุม ผู้ถือหุ้นลงมติให้ออก หรือศาลมีค�ำ สั่งให้ออก 3. กรรมการคนใดจะลาออกจากตำ�แหน่งให้ยนื่ ใบลาออก ต่อบริษทั ฯ การลาออกมีผลนับแต่วนั ทีใ่ บลาออกไปถึงบริษทั ฯ

หน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทฯ มีหน้าที่จัดการกิจการของบริษัทฯ ทัง้ ปวงด้วยความระมัดระวังและความซื่อสัตย์สุจริต มีความ รับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ เกีย่ วกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ และกำ�กับดูแลให้การบริหารจัดการเป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และเป้าหมายที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผู้ถือหุ้น อยู่ในกรอบของการมีจริยธรรมที่ดี และคำ�นึงถึง ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ดังนี้

1. กำ�หนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ของบริษัทฯ ที่ สนับสนุนการเจริญเติบโตอย่างยัง่ ยืน ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยร่วมกันแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ให้ความสำ�คัญในการแสวงหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ กำ�หนดทิศทางดังกล่าว รวมถึงมีการพิจารณาประเด็นความ เสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ผูบ้ ริหารจะสามารถนำ� วิสยั ทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ทกี่ �ำ หนดขึน้ ไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ทบทวนและให้ความเห็นชอบกลยุทธ์และนโยบายที่ สำ�คัญ รวมถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายทางการเงิน และแผน งานต่างๆ ของบริษัทฯ พร้อมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตาม แผนงานที่กำ�หนดไว้ ตามทิศทางและกลยุทธ์ขององค์กร อย่างสม่ำ�เสมอ 3. จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการ สอบบัญชีที่มีความน่าเชื่อถือ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการ ประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในและการตรวจ สอบภายในที่มีประสิทธิภาพเเละประสิทธิผล 4. จัดให้มีการพิจารณาปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญที่อาจเกิดขึ้น และกำ�หนดแนวทางบริหารจัดการความเสี่ยงดังกล่าวอย่าง ครอบคลุม ดูแลให้มีระบบหรือกระบวนการที่มีประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการแสวงหาโอกาส ทางธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าว 5. สอดส่องดูแลและจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงรายการที่เกี่ยวโยงกัน ให้ความสำ�คัญในการพิจารณาธุรกรรมหลักที่มีความสำ�คัญ โดยมุ่งเน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ เสียโดยรวม 6. จัดให้มรี ะบบหรือกลไกการจ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริหารระดับ สูงของบริษทั ฯ ทีม่ คี วามเหมาะสม เพือ่ ก่อให้เกิดแรงจูงใจทัง้ ในระยะสั้นและระยะยาว 7. กำ�หนดการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทอื่นของ กรรมการผู้จัดการใหญ่ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะ กรรมการบริษทั ฯ ส่วนผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องได้รบั ความเห็น ชอบจากกรรมการผู้จัดการใหญ่ ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการแต่งตั้ง กรรมการของบริษัทในเครือ หรือบริษัทร่วมทุนตามจำ�นวน สัดส่วนการถือหุน้ ตามข้อตกลงในสัญญาระหว่างผูถ้ อื หุน้ ซึง่ กำ�หนดให้เป็นอำ�นาจของคณะกรรมการบริษัทฯ 8. จัดให้มกี ารประเมินผลงานของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ อย่างสม่�ำ เสมอ และกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ให้สอดคล้องกับผลการดำ�เนินงาน 9. จัดให้มชี อ่ งทางในการสือ่ สารกับผูถ้ อื หุน้ แต่ละกลุม่ อย่าง เหมาะสมและมีการประเมินผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล เพือ่

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

119


ให้มั่นใจว่ามีความถูกต้องชัดเจน โปร่งใส น่าเชื่อถือ และมี มาตรฐานสูง

3. การทำ� แก้ไข หรือการเลิกสัญญาเกี่ยวกับการให้เช่า กิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือบางส่วนที่สำ�คัญ

10. เป็นผูน้ �ำ และเป็นตัวอย่างในการปฏิบตั งิ านทีด่ ี สอดคล้อง กับแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และแนวทางความ รับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทฯ

4. การมอบหมายให้บคุ คลอืน่ เข้าจัดการธุรกิจของบริษทั ฯ

11. สนับสนุนให้บริษัทฯ มีการดำ�เนินงานเพื่อต่อต้านการ ทุจริต คอร์รัปชันทุกรูปแบบ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ธุรกิจของบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสีย

6. การแก้ไขเพิ่มเติมหนังสือบริคณห์สนธิหรือข้อบังคับ 7. การเพิ่มทุนหรือลดทุนของบริษัทฯ หรือการออกหุ้นกู้

12. เป็นผู้แต่งตั้งเลขานุการบริษัทที่มีคุณสมบัติตามที่ กฎหมายกำ�หนด เพื่อทำ�หน้าที่และรับผิดชอบตาม พระราช บัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

8. การควบบริษัทหรือเลิกบริษัท

อำ�นาจการอนุมัติของคณะกรรรมการบริษัทฯ

เพือ่ ให้การแบ่งแยกอำ�นาจหน้าทีใ่ นเรือ่ งการกำ�หนดนโยบาย ของบริษทั ฯ และการบริหารงานของบริษทั ฯ แยกจากกันอย่าง ชัดเจน บริษทั ฯ จึงกำ�หนดให้ประธานกรรมการและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่เป็นคนละบุคคลกัน โดยประธานกรรมการมี อำ�นาจหน้าที่ ดังนี้

1. กำ�หนดวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ แผนธุรกิจระยะสั้น ระยะยาว และนโยบายที่สำ�คัญ เช่น นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นโยบายการบริหารความเสี่ยง นโยบายการต่อต้านคอร์รัปชัน รวมถึงเป้าหมายทางการเงิน แผนงาน และงบประมาณประจำ�ปี 2. อนุมตั หิ ลักเกณฑ์การเงิน การลงทุน และทิศทางการ ลงทุนของบริษัทฯ 3. อนุมัติการขอซื้อขอจ้างในส่วนที่เกินวงเงินอนุมัติของ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ตามทีไ่ ด้รบั มอบอำ�นาจไว้ในแต่ละรายการ 4. อนุมตั กิ ารดำ�เนินงานทีส่ �ำ คัญๆ ของบริษทั ฯ ภายใต้กรอบ วัตถุประสงค์ ข้อบังคับบริษัทฯ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้น รวมถึงติดตามดูแลให้ฝ่ายจัดการดำ�เนินงานตามนโยบาย และแผนงานทีก่ �ำ หนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5. อนุมัติการประเมินผลและการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการผู้จัดการใหญ่ 6. อนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ผถู้ อื หุน้ และ ค่าตอบแทนพนักงานประจำ�ปี 7. อนุมตั กิ ารเสนอรายชือ่ ผูบ้ ริหาร เพือ่ ไปดำ�รงตำ�แหน่ง กรรมการของบริษัทในเครือหรือบริษัทร่วมทุน ตามสัดส่วน การถือหุ้น นอกจากนี้การดำ�เนินการของคณะกรรมการบริษัทฯ ในเรื่อง สำ�คัญที่ต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนน เสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ (3/4) ของจำ�นวนเสียงทั้งหมดของ ผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน มีดัง ต่อไปนี้ 1. การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯ ทั้งหมดหรือ บางส่วนที่ส�ำ คัญให้แก่บุคคลอื่น 2. การซือ้ หรือรับโอนกิจการของบริษทั อืน่ หรือบริษทั เอกชน มาเป็นของบริษัทฯ

120

5. การรวมกิจการกับบุคคลอืน่ โดยมีวตั ถุประสงค์จะแบ่ง กำ�ไร ขาดทุนกัน

อำ�นาจหน้าที่ของประธานกรรมการ

1. เรียกประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ เป็นประธานการประชุม คณะกรรมการบริษัทฯ และการประชุมผู้ถือหุ้น ตลอดจน มีบทบาทในการกำ�หนดระเบียบวาระการประชุม ร่วมกับ กรรมการผู้จัดการใหญ่ 2. ควบคุมการประชุมให้มปี ระสิทธิภาพเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับบริษัทฯ สนับสนุนและเปิดโอกาสให้กรรมการแสดง ความเห็นอย่างเป็นอิสระ 3. สนับสนุนและส่งเสริมให้คณะกรรมการบริษัทฯ ปฏิบัติ หน้าทีอ่ ย่างเต็มความสามารถตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ความ รับผิดชอบ และตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ แี ละสนับสนุน การปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ 4. ดูแล ติดตามการบริหารงานของคณะกรรมการบริษทั ฯ และคณะกรรมการชุดย่อยอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพบรรลุตาม วัตถุประสงค์ที่กำ�หนดไว้ 5. ลงคะแนนเสียงชีข้ าดในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ในกรณีที่คะแนนเสียงทั้งสองฝ่ายเท่ากัน

คณะกรรมการชุดย่อย เพือ่ ให้เป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการ บริษทั ฯ ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ เพือ่ พิจารณา กลัน่ กรองการดำ�เนินงานทีส่ �ำ คัญเป็นการเฉพาะเรือ่ งตามทีไ่ ด้ รับมอบหมาย รวมถึงการเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ และรายงานผลการดำ�เนินงานให้คณะกรรมการ บริษัทฯ ทราบตามวาระที่กำ�หนดอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อนำ� ผลการดำ�เนินงานของแต่ละคณะ ไปดำ�เนินการให้เป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของคณะกรรมการในภาพรวม ต่อไป โครงสร้างของคณะกรรมการชุดย่อย มีดังต่อไปนี้


กรรมการตรวจสอบรายใหม่ให้ครบถ้วนภายในระยะเวลา 3 เดือน นับแต่วันที่มีจำ�นวนกรรมการตรวจสอบไม่ครบ 1

2

3

1. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบ แต่งตัง้ จากกรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อย 3 คน และเป็นกรรมการอิสระของบริษทั ฯ โดยคณะกรรมการ ตรวจสอบต้องมีคุณสมบัติความเป็นอิสระ ตามประกาศ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนเรือ่ งคุณสมบัตแิ ละขอบเขตการ ดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ทำ�หน้าที่ตรวจสอบ และมีกรรมการอย่างน้อย 1 คน ที่มีความรู้และประสบการณ์ เพียงพอทีจ่ ะสามารถทำ�หน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือ ของงบการเงิน โดยมีรายชื่อ ดังนี้ (1) นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ ประธานกรรมการตรวจสอบ (2) นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ กรรมการตรวจสอบ (3) นายทรงภพ พลจันทร์ กรรมการตรวจสอบ นายทวีศักดิ์ เดชะไกศยะ ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน ปฏิบตั หิ น้าที่เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ * หมายเหตุ : นายทวีศกั ดิ์ เดชะไกศยะ เกษียณอายุเมือ่ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 คณะกรรมการตรวจสอบได้แต่งตัง้ นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กลู ดำ�รง ตำ�แหน่งเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 (ข้อมูลประวัตนิ ายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กลู ปรากฏในคณะผู้บริหาร หน้า 50)

วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. กรรมการตรวจสอบมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งตามระยะ เวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการตรวจสอบที่พ้นจากตำ�แหน่ง อาจได้รับการ แต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ได้อีก ตามที่คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณา เห็นสมควร 3. กรรมการตรวจสอบพ้นจากตำ�แหน่ง ในกรณีใดกรณี หนึง่ ดังต่อไปนี้

- พ้นจากการเป็นกรรมการของบริษัทฯ - ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการตรวจสอบ - ลาออก - ตาย - ผู้ถือหุ้นมีมติให้ถอดถอนโดยกระบวนการตาม กฎหมาย โดยบริษัทฯ จะต้องชี้แจงสาเหตุให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ ทราบ

4. ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบว่ า งลงเพราะ เหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ พิจารณาแต่งตั้งกรรมการอื่นที่มีคุณสมบัติเป็น

อำ�นาจและหน้าที่ 1) สอบทานให้บริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินตาม มาตรฐานการบัญชีที่กำ�หนดโดยกฎหมายอย่างถูกต้อง และเพียงพอ 2) สอบทานให้บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และสอบทานประสิทธิผลและ ความเพียงพอของกระบวนการบริหารความเสี่ยง 3) สอบทานให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และกฎมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ 4) พิจารณารายการเกีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนด ของตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าว สมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ 5) พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งและเลิกจ้างบุคคล ซึง่ มีความเป็นอิสระเพือ่ ทำ�หน้าทีผ่ สู้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และ เสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี รวมทั้งเข้าประชุมร่วมกับ ผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 6) พิจารณาขอบเขตการตรวจสอบและแผนการตรวจสอบ ของผู้ตรวจสอบบัญชีและสำ�นักตรวจสอบภายในให้มีความ สัมพันธ์และเกือ้ กูลกัน และลดความซ้�ำ ซ้อนในส่วนทีเ่ กีย่ วกับ การตรวจสอบด้านการเงิน 7) ให้ความเห็นชอบแผนการตรวจสอบ รวมทั้งให้ความ เห็นประกอบการพิจารณางบประมาณและอัตรากำ�ลังของ สำ�นักตรวจสอบภายใน 8) พิจารณา แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้างผู้จัดการสำ�นัก ตรวจสอบภายใน รวมทั้งพิจารณาความเป็นอิสระของ สำ�นักตรวจสอบภายใน 9) สอบทานความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยง 10) จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิดเผย ไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัทฯ ซึ่งรายงานดังกล่าวต้อง ลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 11) มีอำ�นาจในการเข้าถึงข้อมูลของการตรวจสอบและ สอบสวนผู้ที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ของ คณะกรรมการตรวจสอบ โดยปฏิบตั ติ ามระเบียบของบริษทั ฯ 12) ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หาก พบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทำ �ซึ่งอาจมี รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

121


ผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการ ดำ�เนินงานของบริษัทฯ ได้แก่ (1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (2) การทุจริตหรือมีสงิ่ ผิดปกติหรือมีความบกพร่องทีส่ �ำ คัญ ในระบบควบคุมภายใน (3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ ให้คณะกรรมการตรวจ สอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อดำ�เนินการ ปรับปรุงแก้ไขอย่างทันเวลา หากคณะกรรมการบริษทั ฯ หรือผูบ้ ริหารไม่ด�ำ เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายใน เวลาที่เหมาะสมโดยไม่มีเหตุอันควร คณะกรรมการ ตรวจสอบจะต้องรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำ�ที่ ฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าวต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยทันทีเมื่อได้รับทราบข้อมูลดังกล่าว 13) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ให้การดำ�เนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการตรวจสอบจึงได้แต่งตัง้ เลขานุการคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อช่วยเหลือการดำ�เนินงานของคณะกรรมการ ตรวจสอบเกีย่ วกับการนัดหมายการประชุม จัดเตรียมวาระการ ประชุม นำ�ส่งเอกสารประกอบการประชุม และบันทึกรายงาน การประชุม โดยพิจารณาจากบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในการปฏิบตั งิ าน รวมถึงความเป็นอิสระใน การปฏิบัติหน้าที่เพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการตรวจสอบด้วย

122

ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน และเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ นายทวีศักดิ์ เดชะไกศยะ ดำ�รงตำ�แหน่ง ตัง้ แต่วนั ที่ 10 มกราคม 2557-31 ธันวาคม 2558 สัดส่วนการถือหุ้น: ไม่มี ประวัติการศึกษา • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต University of Central Oklahoma, USA • เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต Middle Tennessee State University, USA ประสบการณ์การทำ�งาน • ผู้จัดการฝ่ายบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา • ผูจ้ ดั การส่วน ฝ่ายคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหาร: ไม่มี

1

2

3

2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน แต่งตั้งจาก กรรมการบริษัทฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คน เป็นกรรมการอิสระ ทำ�หน้าที่คัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับ การเสนอชื่อเป็นกรรมการบริษัทฯ กรรมการชุดย่อย และ กรรมการผู้จัดการใหญ่ รวมถึงการกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ อย่างเป็นธรรมและ สมเหตุสมผล โดยมีรายชื่อ ดังนี้ (1) นายวุฒิสาร ตันไชย (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน (2) นายทรงภพ พลจันทร์ (กรรมการอิสระ) กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน (3) นายสรัญ รังคสิริ กรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กรและเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่ เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน 1. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนมีวาระการ ดำ�รงตำ�แหน่งตามระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั ฯ 2. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนทีพ่ น้ จาก ตำ�แหน่ง อาจได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ได้อีก ตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณา เห็นสมควร อำ�นาจและหน้าที่ 1) พิจารณาโครงสร้างและคุณสมบัตขิ องกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ 2) พิจารณาหลักเกณฑ์ แนวทาง และวิธกี ารสรรหากรรมการ บริษทั ฯ กรรมการชุดย่อย และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เพือ่ ให้ เป็นไปตามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ 3) พิจารณาคัดสรรบุคคลที่สมควรได้รับการเสนอชื่อ รับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัทฯ ทั้งในกรณีที่มีตำ�แหน่งว่าง ลงหรือกรรมการบริษัทฯ ครบวาระดำ�รงตำ�แหน่ง เพื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทฯ และที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ 4) พิจารณารายชื่อกรรมการบริษัทฯ ที่สมควรได้รับการ แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อเสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ อนุมัติ


5) พิจารณาคัดสรรบุคคลทีส่ มควรดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่อย่างรอบคอบและเหมาะสม เกิดประโยชน์สงู สุด ต่อบริษัทฯ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาอนุมัติ 6) พิจารณากำ�หนดค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการบริษทั ฯ และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่อย่างโปร่งใส เป็นธรรม และสมเหตุ สมผล โดยค่าตอบแทนกรรมการบริษทั ฯ เสนอคณะกรรมการ บริษทั ฯ เเละทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ิ สำ�หรับค่าตอบแทน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ิ 7) พิจารณากำ�หนดหลักเกณฑ์ กระบวนการประเมินผล โบนัส และเป้าหมายการปฏิบตั งิ านของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 8) พิจารณาประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจำ�ปีของกรรมการ ผู้จัดการใหญ่และค่าตอบแทน อันได้แก่ เงินเดือน โบนัส หรือผลประโยชน์ตอบแทนอืน่ ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นตัวเงินและมิใช่ตวั เงิน ให้เหมาะสมกับธุรกิจ นำ�เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ 9) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ มอบ หมายอันเกี่ยวเนื่องกับการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ของกรรมการบริษัทฯ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ การสรรหากรรมการ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและ กำ�หนดค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาคัดเลือก กลั่นกรองบุคคล ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมและสมควรได้รับการเสนอชื่อเป็น กรรมการบริษัทฯ เพื่อนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง (แล้วแต่กรณี) โดยมีขั้นตอน การสรรหาที่ชัดเจนและโปร่งใส ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทฯ ได้พจิ ารณาตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ใี นเรือ่ งการ ปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน จึงได้มกี ารเปิดโอกาสให้ ผูถ้ อื หุน้ รายย่อยรายเดียวหรือหลายราย ถือหุน้ รวมกันไม่นอ้ ย กว่าร้อยละ 4 ของทุนที่ชำ�ระแล้ว สามารถเสนอชื่อบุคคลเข้า รับการคัดเลือกเพือ่ เสนอแต่งตัง้ เป็นกรรมการบริษทั ฯ ได้เป็น การล่วงหน้าสำ�หรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปีด้วย การสรรหาผูบ้ ริหารสูงสุด คณะกรรมการสรรหาเป็นผูพ้ จิ ารณา เสนอชื่อกรรมการต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อแต่งตั้ง เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ การสรรหาผู้ บ ริ ห าร ระดั บ รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาแต่งตั้งตามที่กรรมการ ผู้จัดการใหญ่เสนอ ส่วนผู้บริหารระดับรองลงมา คณะ กรรมการบริษัทฯ ได้มอบอำ�นาจให้กรรมการผู้จัดการใหญ่ เป็นผู้พิจารณาแต่งตั้งบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ที่เหมาะสมที่จะดำ�รงตำ�แหน่ง โดยผู้บริหาร ของบริษัทฯ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย

ขั้นตอนการพิจารณาสรรหากรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ได้คัดเลือก รายชือ่ บุคคลทีถ่ กู เสนอชือ่ เป็นกรรมการบริษทั ฯ จากผูถ้ อื หุน้ ตามเกณฑ์ทกี่ �ำ หนด และ/หรือบุคคลทีเ่ ห็นควรเป็นกรรมการ บริษัทฯ แล้ว คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน จะพิจารณาคัดกรองคุณสมบัติตามที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนด และตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) พิจารณาความเหมาะสมของความรู้ ประสบการณ์ ความสามารถเฉพาะด้านทีเ่ ป็นประโยชน์กบั บริษทั ฯ และความ สอดคล้องกับทิศทางการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ 2) พิจารณาความหลากหลายทั้งเพศ อายุ ความชำ�นาญ ทักษะ และประสบการณ์ (Board Skill Matrix) ความรู้ความ สามารถทั้งทางด้าน Hard Skills และ Soft Skills เพื่อให้ได้ มาซึง่ กรรมการทีส่ ามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนให้องค์คณะกรรมการบริษทั ฯ ทัง้ คณะมีความครบ ถ้วนสมบูรณ์ ทั้งในมิติความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมิติความหลากหลายที่เอื้อประโยชน์ให้การทำ�งานมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยใช้ข้อมูลกรรมการที่เป็น Directors’ Pool ประกอบการพิจารณาด้วย (ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2558 มีกรรมการที่มีรายชื่อใน Directors’ Pool 9 ท่าน) 3) ตรวจสอบคุณสมบัตติ ามกฎหมาย ข้อกำ�หนดของหน่วย งานกำ�กับดูแล ข้อบังคับบริษัทฯ และคู่มือการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี โดยใช้แบบสำ�รวจ 4 แบบ ได้แก่ 1. คุณสมบัตขิ อง กรรมการบริษัทและ/หรือกรรมการอิสระ 2. คุณสมบัติของ กรรมการที่เสนอแต่งตั้ง 3. Board Skill Matrix 4. ตาราง ครบวาระของกรรมการแต่ละท่าน 4) พิจารณาการอุทศิ เวลาของกรรมการ (กรณีกรรมการเดิม) จำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่กรรมการแต่ละคนดำ�รงตำ�แหน่ง และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2554 เรื่องการ แต่งตัง้ ข้าราชการระดับสูงหรือบุคคลดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ในรัฐวิสาหกิจหลายแห่ง 5) กรณีการเสนอแต่งตั้งกรรมการอิสระ พิจารณาความ เป็นอิสระตามหลักเกณฑ์ที่สานักงาน ก.ล.ต. กำ�หนด และ หลักเกณฑ์ของบริษัทฯ ตลอดจนความจำ�เป็นในการสรรหา กรรมการอิสระเพิ่มเติม 6) พิ จ ารณาวาระการดำ � รงตำ � แหน่ ง ของกรรมการ/ กรรมการอิสระโดยมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งคราวละ 3 ปี ต่อเนื่องไม่เกิน 3 วาระ (9 ปี) 7) ทาบทามบุคคลที่มีคุณสมบัติสอดคล้องกับเกณฑ์ที่ กำ�หนด เพื่อให้มั่นใจว่าบุคคลดังกล่าวมีความยินดีที่จะมา รับตำ�แหน่งกรรมการของบริษัทฯ หากได้รับการแต่งตั้ง 8) เสนอรายชื่อบุคคลที่ได้พิจารณาคัดกรองแล้ว พร้อม คุณสมบัติและเหตุผลในการคัดเลือก เสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบหรืออนุมัติ (แล้วแต่กรณี) รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

123


สำ�หรับกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนจะพิจารณาความรู้ความสามารถที่เหมาะสม องค์ประกอบของกรรมการชุดย่อยทั้งคณะ และเกณฑ์ การดำ�รงตำ�แหน่ง อาทิ Board Skill Matrix คุณสมบัตคิ วาม เป็นอิสระของกรรมการ เสนอคณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ

4) กำ�กับดูแลการดำ�เนินการตามนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี รวมถึงแนวทางการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับธุรกิจและองค์กรของ คณะทำ�งานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ 5) ประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของคณะกรรมการ บริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อยเพื่อการปรับปรุงพัฒนา 6) ปฏิบตั ิหน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัทฯ

1

2

3

3. คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี แต่งตั้งจากกรรมการ บริษทั ฯ อย่างน้อย 3 คน และอย่างน้อย 1 คน เป็นกรรมการ อิสระ เพือ่ ทำ�หน้าทีพ่ จิ ารณาเสนอแนวปฏิบตั แิ ละให้ค�ำ แนะนำ� ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีต่อคณะกรรมการบริษัทฯ และ กำ�กับดูแลการดำ�เนินงาน โดยมีรายชื่อดังนี้ (1) (2) (3)

นายวัชรกิติ วัชโรทัย (กรรมการอิสระ) ประธานกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี พลโทสสิน ทองภักดี (กรรมการอิสระ) กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นายประมวล จันทร์พงษ์ กรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นัก กิจการองค์กรและเลขานุการบริษัท ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 1. กรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ มี วี าระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตามระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ที พ่ี น้ จากตำ�แหน่ง อาจได้ รับการแต่งตัง้ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่งใหม่ได้อกี ตามทีค่ ณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณา เห็นสมควร อำ�นาจและหน้าที่ 1) เสนอแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ 2) ทบทวนแนวปฏิบัติด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดย เปรียบเทียบกับมาตรฐานสากลและเสนอแนะต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ เพื่อพิจารณาปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง 3) กำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านของฝ่ายจัดการเพือ่ ให้เป็นไป ตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี และแผนปฏิบตั งิ านกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดปี ระจำ�ปีที่คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี นำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทฯ อนุมัติ

124

1

2

3

4. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง แต่งตัง้ จากกรรมการบริษทั ฯ อย่างน้อย 3 คน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญในธุรกิจปิโตรเลียมหรือ ปิโตรเคมี โดยมีอ�ำ นาจหน้าทีก่ �ำ หนดนโยบายการบริหารความ เสี่ยง แผนการจัดการความเสี่ยง และกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กรให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจและแผน กลยุทธ์ของบริษัทฯ โดยมีรายชื่อดังนี้ (1) นายสรัญ รังคสิร ิ ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ ง (2) นายประสิทธิ์ สืบชนะ กรรมการบริหารความเสี่ยง (3) นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการบริหารความเสี่ยง นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงาน แผนธุรกิจองค์กร ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง *หมายเหตุ : - นายประสิทธิ์ สืบชนะ ลาออกจากการเป็นกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 4 มกราคม 2559 - นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ ดำ�รงตำ�แหน่งถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 และนางสาววนิดา อุทัยสมนภา ดำ�รงตำ�แหน่งแทน เนื่องจากมีการ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กร

วาระการดำ�รงตำ�แหน่งของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กรรมการบริหารความเสี่ยงมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตามระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ 2. กรรมการบริหารความเสีย่ งทีพ่ น้ จากตำ�แหน่ง อาจได้รบั การแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ได้อีก ตามที่คณะกรรมการ บริษัทฯ พิจารณา เห็นสมควร อำ�นาจและหน้าที่ 1) กำ�หนดนโยบายและเสนอแนะแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ


2) กำ�หนดเเผนจัดการความเสีย่ งเเละกระบวนการบริหาร ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 3) พิจารณาหลักการ เครือ่ งมือทางการเงิน สัญญาอนุพนั ธ์ เช่น สัญญา ซื้อ/ขายสินค้าล่วงหน้า สัญญากำ�หนดส่วนต่าง ราคาในการลดความเสี่ยงบริษัทฯ 4) พัฒนาระบบการจัดการบริหารความเสีย่ งทัง้ องค์กรให้มี ประสิทธิภาพ 5) ติดตามเเละประเมินผลการปฏิบตั ติ ามกรอบการบริหาร ความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร 6) รายงานการกำ�กับผลการประเมินความเสี่ยง และ การดำ�เนินงานเพื่อลดความเสี่ยงต่อคณะกรรมการบริษัทฯ ทราบเป็นประจำ� ในกรณีที่มีเรื่องสำ�คัญซึ่งกระทบต่อบริษัทฯ อย่างมีนัยสำ�คัญ ต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณาโดยเร็วที่สุด 7) สนับสนุนผู้บริหารความเสี่ยง (Risk Manager) ในการดำ�เนินงาน การประเมินปัจจัยหลักในการบริหารความ เสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจ (Corporate Plan) และทัดเทียมกับบริษัทชั้นนำ� 8) ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ มอบหมาย

การบริหารความเสี่ยง นอกจากคณะกรรมการชุดย่อยในระดับกรรมการบริษัทแล้ว บริษัทฯ ได้แต่งตั้งคณะกรรมการในระดับฝ่ายจัดการและ คณะทำ�งาน เพือ่ ดูแลการบริหารความเสีย่ งและระบบควบคุม ภายในทั้งองค์กร ได้แก่ 1. คณะกรรมการขับเคลื่อนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Steering Committee: RMSC) 2. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทาน และด้านการเงิน (Hedging Committee) 3. ผู้จัดการความเสี่ยง (Risk Manager) เป็นผู้ที่มีหน้าที่ รับผิดชอบในการจัดการบริหารความเสี่ยงในภาพรวมของ หน่วยงาน 4. ผู้รับผิดชอบความเสี่ยง (Risk Owner) กำ�หนดแผน บริหารความเสี่ยง มีอำ�นาจหน้าที่ในการบริหารจัดการ ความเสี่ยง 5. ผู้ประสานงานการบริหาร (Risk Agent) เป็นผู้ประสาน ให้ทกุ คนในหน่วยงานหรือในงานโครงการ ร่วมกันดำ�เนินการ จัดทำ�แผนบริหารความเสีย่ ง และรายงานความคืบหน้าและผล การบริหารความเสีย่ งต่อผูจ้ ดั การฝ่ายหรือผูจ้ ดั การโครงการ เพือ่ ให้มั่นใจว่ามีการบริหารความเสี่ยงที่ตอบสนองต่อความ เสี่ยงระดับหน่วยงานอย่างเหมาะสมและเพียงพอ

บริษทั ฯ ได้พฒ ั นาระบบการกำ�กับองค์กรเพือ่ ก้าวไปสูห่ ลักการ ปฏิบตั งิ านทีด่ ตี ามแนวทางการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ซึง่ เป็นการ นำ�แนวคิดการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามมาตรฐาน GRC โดยนำ�องค์ประกอบ 3 ด้าน คือ Good Governance, Risk Management and Compliance Management อันมีความ สัมพันธ์และมีความเกี่ยวข้องกัน มาปฏิบัติร่วมกันในรูปแบบ ของการทำ�งานเป็นทีม มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งกันและกัน เปิดกว้างทางความคิดในการปรับปรุงองค์กร จากข้อมูลทัง้ ของพนักงานและผูบ้ ริหาร มีการจัดอบรมสัมมนา เพื่อปูพื้นฐานความรู้ความเข้าใจในด้าน Compliance และ มีเป้าหมายสำ�คัญที่ชี้วัดความสำ�เร็จของงานคือ ประสิทธิผล (Effectiveness) และความยัง่ ยืน (Sustainability) ขององค์กร 6. ทีมงาน License & Compliance มีภารกิจในการรวบรวม กฎระเบียบ และใบอนุญาตทั้งหมดเพื่อป้องกันมิให้มีการ ผิดพลาดของผู้ปฏิบัติการ โดยมีระบบการเตือนเพื่อต่ออายุ หรือดำ�เนินการอื่นใดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

การประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ บริษัทฯ มีการกำ�หนดการประชุมของคณะกรรมการไว้ล่วง หน้าตลอดปี โดยในปี 2558 มีกำ�หนดการประชุมเดือนละ 1 ครัง้ ในทุกวันอังคารสัปดาห์ทสี่ ามของเดือน และอาจมีการ ประชุมวาระพิเศษเพิม่ เติมตามความเหมาะสม ซึง่ เลขานุการ บริษัทจะส่งหนังสือเชิญประชุม ระเบียบวาระการประชุมที่มี รายละเอียดครบถ้วนและเพียงพอต่อการตัดสินใจล่วงหน้า ก่อนการประชุมประมาณ 5-7 วัน เพื่อให้กรรมการมีเวลา เพียงพอในการศึกษาก่อนการประชุม ในการประชุมทุกครัง้ เพือ่ ให้เป็นไปตามนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการทีด่ ี กรรมการทีเ่ ข้าข่ายมีความเกีย่ วข้อง หรือมีสว่ นได้ ส่วนเสียในแต่ละวาระการประชุม จะไม่เข้าร่วมประชุม หรืองด ออกเสียงในวาระนั้นๆ โดยจะบันทึกในรายงานการประชุม อย่างชัดเจน และได้ก�ำ หนดนโยบายเกีย่ วกับองค์ประชุม โดย การลงมติของคณะกรรมการบริษทั ฯ จะต้องมีกรรมการอยูไ่ ม่ น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการ ในปี 2558 มีการประชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ รวม 12 ครัง้ มีการประชุมคณะกรรมการอิสระ 2 ครัง้ มีการประชุมโดยไม่มี ผู้บริหาร 1 ครั้ง และมีการประชุมเพื่อกำ�หนด ทบทวน วิสัยทัศน์ ทิศทาง และกลยุทธ์ขององค์กร 1 ครั้ง โดยใน การประชุมทุกครัง้ ประธานกรรมการจะเปิดโอกาสให้กรรมการ เสนอความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ สัดส่วนกรรมการเข้าร่วม ประชุมในปี 2558 เฉลี่ยร้อยละ 95 รายละเอียดตามตาราง การเข้าร่วมประชุมของกรรมการ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

125


การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ในปี 2558 รายชื่อคณะกรรมการบริษัท

1 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช(1) 2 3 4 5 6 7 8

นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายวุฒิสาร ตันไชย(2) นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายสรัญ รังคสิริ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร(3) นายชวลิต พันธ์ทอง(4) นายทรงภพ พลจันทร์ นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายประมวล จันทร์พงษ์ พลโทสสิน ทองภักดี นายประสิทธิ์ สืบชนะ(12) นายเอกนิติ นิตทิ ณ ั ฑ์ประภาศ(4) นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ

9 10 11 12 13 14 15 16 นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร(5) 17 นายสุรงค์ บูลกุล(6) 18 นายสมบัติ นราวุฒิชัย(7) 19 นายกฤษฎา อุทยานิน(8)

20 นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ(9)์ 21 นายอรรถพล ฤกษ์พบิ ลู ย(์ 10) 22 นายสมชัย สัจจพงษ์(11)

(หน่วย : ครั้ง)

คณะกรรมการ คณะกรรมการ บริษัทฯ บริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ กำ�กับดูแล สรรหาและกำ�หนด อิสระ กิจการที่ดี ค่าตอบแทน (จำ�นวน 3 คน) (จำ�นวน 3 คน) จำ�นวน จำ�นวน จำ�นวน การประชุม การประชุม การประชุม ทั้งปี 7 ครั้ง ทั้งปี 8 ครั้ง 2 ครั้ง

(จำ�นวน 15 คน) จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 12 ครั้ง

(จำ�นวน 3 คน) จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 5 ครั้ง

(จำ�นวน 3 คน) จำ�นวน การประชุม ทั้งปี 12 ครั้ง

2/2 12/12 9/9 12/12 12/12 2/2 1/1 12/12 12/12 12/12 12/12 8/12 11/12 1/1 12/12

-

-

-

-

-

-

1/2 5/5 2/2 5/5

12/12 6/6 11/12 -

7/7 7/7 6/6 -

6/6 4/4 8/8 -

2/2 1/1 2/2 2/2 2/2 2/2 -

1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 1/1 -

8/8 5/5 4/4 2/3 5/5 3/3 2/2

-

3/3 -

-

4/4 -

1/1 -

1/1 1/1 1/1 -

หมายเหตุ : 1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการ ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 10/2558 เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2558 2. นายวุฒสิ าร ตันไชย ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2558 เมือ่ วันที่ 3 เมษายน 2558 และได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 6/2558 เมือ่ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2558 3. นายชาญศิลป์ ตรีนชุ กร ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการ ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 10/2558 เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม 2558 4. นายชวลิต พันธ์ทอง และนายเอกนิติ นิตทิ ณ ั ฑ์ประภาศ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นกรรมการตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 11/2558 เมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 5. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 9 กันยายน 2558 6. นายสุรงค์ บูลกุล ลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 7. นายสมบัติ นราวุฒชิ ยั ลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 8. นายกฤษฎา อุทยานิน ถึงแก่กรรมเมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2558 9. นายวสันต์ สร้อยพิสทุ ธิ์ ได้รบั การแต่งตัง้ ตามมติทป่ี ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2558 เมือ่ วันที่ 3 เมษายน 2558 และลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2558 10. นายอรรถพล ฤกษ์พบิ ลู ย์ ได้รบั การแต่งตัง้ ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 6/2558 เมือ่ วันที่ 19 มิถนุ ายน 2558 และลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2558 11. นายสมชัย สัจจพงษ์ ได้รบั การแต่งตัง้ ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 8/2558 เมือ่ วันที่ 21 สิงหาคม 2558 และลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 30 ตุลาคม 2558 12. นายประสิทธิ์ สืบชนะ ลาออกจากกรรมการบริษทั ฯ มีผลวันที่ 4 มกราคม 2559

126

คณะกรรมการ บริษัทฯ โดยไม่มี ผู้บริหาร จำ�นวน การประชุม 1 ครั้ง


ผู้บริหาร วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ผู้บริหารของบริษัทฯ มีจำ�นวน 20 คน โดยมีรายชื่อดังนี้ รายชื่อ 1

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ตำ�แหน่ง

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น

นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์(1)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน

นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น

นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด

นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชี

นายประเวศ อัศวดากร

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักวิจัยและพัฒนา

นางสาวมนวิภา จูภิบาล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร

นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบริหารความยั่งยืน

นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนธุรกิจองค์​์กร

นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล

นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดซื้อและบริหาร

นางสาววนิดา อุทัยสมนภา

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ

นายชลอ ภาณุตระกูล

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ

นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา

นายทฤษฎี วัฒนางกูร

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการการผลิต

นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเทคโนโลยีและปฏิบัติการที่เป็นเลิศ

นายวิชิต นิตยานนท์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการปิโตรเคมี และปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด

19

นายบุญเดช ภูริยากร

20

นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง

กรรมการผู้จัดการใหญ่

ผู้บริหารครบวาระระหว่างปี นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง(2)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน

หมายเหตุ : 1 นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ ดำ�รงตำ�แหน่งรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายบัญชีและการเงิน เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 2 นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง พ้นจากตำ�แหน่งรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายบัญชีและการเงิน เมือ่ วันที่ 31 ตุลาคม 2558

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

127


ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2559 บริษัทฯ เปลี่ยนแปลงตำ�แหน่งผู้บริหารเพื่อการบริหารงานที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลยุทธ์ ขององค์กร ดังนี้ รายชื่อ 1

นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์

2

นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล

3

นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล

4 5

นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ นางสาววนิดา อุทัยสมนภา

ตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น และรักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด และรักษาการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้จัดการสำ�นักตรวจสอบภายใน และเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ผู้อำ�นวยการโครงการ EVEREST ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร

อำ�นาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการผู้จัดการใหญ่ คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มอบหมายให้กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นผูม้ อี �ำ นาจหน้าทีใ่ นการบริหารจัดการงานของบริษทั ฯ ให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และนโยบายทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดไว้ โดยมีการกำ�หนดขอบเขตอำ�นาจไว้เป็นลายลักษณ์ อักษรอย่างชัดเจน รวมถึงมีการจัดทำ�ระเบียบบริษทั ฯ ในการ ดำ�เนินงานด้านต่างๆ เพือ่ ให้พนักงานทราบและยึดถือปฏิบตั ิ โดยมีสาระสำ�คัญของขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ดังนี้

7. ประเมินผลการปฏิบัติงานของบริษัทฯ และรายงาน ความก้าวหน้าตามแผนงานต่อคณะกรรมการบริษัทฯ เป็น ประจำ�ทุกไตรมาส

1. บริหารกิจการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ นโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

คณะกรรมการจัดการ (Management Committee)

2. บังคับบัญชาผูบ้ ริหาร พนักงาน และลูกจ้างของบริษทั ฯ ทุกตำ�แหน่ง การกำ�หนดระเบียบข้อบังคับในการทำ�งาน การบรรจุ แต่งตัง้ กำ�หนดอัตราเงินเดือน ค่าจ้างหรือสวัสดิการ การโยกย้าย ถอดถอน ปลด หรือปรับเลือ่ นขัน้ เลือ่ นเงินเดือน เลื่อนตำ�แหน่ง และการลงโทษทางวินัยต่างๆ ภายใต้กรอบ นโยบายของคณะกรรมการบริษัทฯ 3. ปฏิบัติงานตามแผนนโยบาย แผนกลยุทธ์ แผนธุรกิจ และวิสยั ทัศน์ของบริษทั ฯ ตามแนวทางทีไ่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะ กรรมการบริษทั ฯ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สงู สุด 4. พิ จ ารณาอนุ มั ติ ง บประมาณการลงทุ น การพั ส ดุ การจัดซื้อ จัดจ้าง รวมถึงค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานของ บริษัทฯ ภายใต้แผนธุรกิจและงบประมาณประจำ�ปีที่ได้รับ อนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทฯ 5. บริหารกระแสเงินสด การลงทุน งบประมาณ แผนและ กระบวนการบริหารความเสีย่ ง ภายใต้กรอบอำ�นาจอนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษัทฯ อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ

128

6. พิจารณาผลประกอบการของบริษัทฯ และนำ�เสนอการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล เงินปันผลประจำ�ปี เพื่อขออนุมัติ ต่อคณะกรรมการบริษัทฯ หรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี)

8. เป็นผู้นำ�และเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตามหลัก จริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ 9. ดำ�เนินการใดๆ เพือ่ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ฯ ตามอำ�นาจหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ

เพื่อให้การบริหารงานของบริษัทฯ ดำ�เนินไปอย่างมีระบบ มี ประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความเชื่อมโยงและการประสาน งานทีด่ ใี นการดำ�เนินธุรกิจ บริษทั ฯ จึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการ จัดการ ประกอบด้วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ทุกสายงาน โดยมีผชู้ ่วยกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร และ เลขานุการบริษัท ทำ�หน้าที่เลขานุการคณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการจัดการ มีการกำ�หนดประชุมล่วงหน้าอาทิตย์ละ 1 ครั้ง ในทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ โดยในปี 2558 มีการ ประชุมรวม 44 ครั้ง หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการจัดการ มีหน้าทีใ่ ห้ค�ำ ปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ในการตัดสินใจในประเด็นทีส่ �ำ คัญต่อ กลยุทธ์ ทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ แผนการดำ�เนินงานในระยะยาว ผลการดำ�เนินงาน แผนการลงทุน งบประมาณ การจัดสรร ทรัพยากรให้แก่บริษัทฯ และบริษัทในเครือ รวมทั้งบริหาร จัดการให้เกิดระบบการทำ�งานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ดังนี้ • พิจารณากลัน่ กรองการบริหารการลงทุน การจัดสรรงบ ประมาณเพื่อการลงทุน และสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ บริษัทฯ และบริษัทในเครือ


• พิจารณาแนวทางการดำ�เนินงานที่สำ�คัญของบริษัทฯ บนพื้นฐานข้อมูลที่นำ�เสนออย่างครบถ้วน ทั้งสถานการณ์ บริษัทฯ สถานการณ์ประเทศ และสถานการณ์โลก • พิจารณาอนุมตั งิ บประมาณลงทุนทีส่ �ำ คัญภายใต้อ�ำ นาจ ของกรรมการผู้จัดการใหญ่ • กำ�หนดนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล สร้าง กลไกการบริหารจัดการระบบทรัพยากรบุคคล • พิจารณากลัน่ กรองการบริหารความเสีย่ งในการดำ�เนินธุรกิจ • พิจารณาการดำ�เนินงานด้าน ESG (สิง่ แวดล้อม ชุมชน สังคม การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี) และความปลอดภัย เพื่อ สร้างความตระหนักและพิจารณาเสนอแนวทางแก้ปัญหา และพัฒนาร่วมกัน เช่น ข้อร้องเรียนหรืออุบัติการณ์ เป็นต้น • ติดตามความก้าวหน้าและผลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ และบริษัทในเครือ

เลขานุการบริษัท เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 และ หลั ก การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท จดทะเบี ย น คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติแต่งตั้ง นางสาวมนวิภา จูภิบาล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร เป็นเลขานุการบริษัท เพื่อทำ�หน้าที่ตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และตามที่ คณะกรรมการกำ � กั บ ตลาดทุ น ประกาศกำ � หนดตั้ ง แต่ วันที่ 24 มกราคม 2555 ถึงปัจจุบัน เลขานุการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบหลัก ดังนี้ • ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความรับผิดชอบด้วยความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต • ให้ค�ำ แนะนำ�เบือ้ งต้นแก่กรรมการเกีย่ วกับข้อกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ของบริษทั ฯ และติดตามให้มกี าร ปฏิบัติตามอย่างถูกต้องและสม่ำ�เสมอ รวมถึงรายงานการ เปลี่ยนแปลงที่มีนัยสำ�คัญแก่คณะกรรมการ • จัดการประชุมผู้ถือหุ้นและประชุมคณะกรรมการบริษัท ให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัทฯ และข้อพึง ปฏิบัติต่างๆ • บันทึกรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นและการประชุมคณะ กรรมการบริษัท รวมทั้งติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ ประชุมผู้ถือหุ้นและที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ • ดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและรายงานสารสนเทศใน ส่วนที่รับผิดชอบต่อหน่วยงานที่กำ�กับบริษัทฯ ตามระเบียบ และข้อกำ�หนดของหน่วยงานทางการ • จัดทำ�และเก็บรักษาเอกสารสำ�คัญของบริษทั ฯ ทะเบียน กรรมการ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการ รายงานการ ประชุมคณะกรรมการ รายงานประจำ�ปีของบริษัทฯ หนังสือ นัดประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการ

มีสว่ นได้เสียทีร่ ายงานโดยกรรมการและผูบ้ ริหาร และดำ�เนิน การอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนและกฎหมายที่ เกี่ยวข้องประกาศกำ�หนด • จัดทำ�ข้อมูลและรายงานที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการ บริษัทฯ และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อการรับรองการเป็น สมาชิ ก หรื อ การประกวดรางวั ล ต่ า งๆ ทั้ ง ในประเทศ และระดับสากล • รับผิดชอบงานต่อต้านคอร์รัปชันตามนโยบายและ มาตรการที่คณะกรรมการบริษัทฯ กำ�หนด • ศึกษาข้อมูลและองค์ความรูห้ รือวิธปี ฏิบตั ทิ ดี่ ที เี่ กีย่ วข้อง กับงานเลขานุการบริษัทและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีทั้งใน ประเทศและระดับสากล เพื่อพิจารณาปรับใช้ให้เหมาะกับ บริ ษั ท ฯ โดยเสนอผ่ า นทางประธานกรรมการและ เลขานุการคณะกรรมการบริษัทฯ (กรรมการผู้จัดการใหญ่) หรือคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือคณะกรรมการ สรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน แล้วแต่กรณี (ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการคณะกรรมการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเลขานุการคณะกรรมการสรรหา และกำ�หนดค่าตอบแทน) • จัดให้มกี ารสือ่ สารการดำ�เนินการด้านการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดีสู่ผู้มีส่วนได้เสียของบริษัทฯ ตามช่องทางประชาสัมพันธ์ ต่างๆ ทั้ง One Way และ Two Way Communication อาทิ พนักงาน นักลงทุน ผู้ถือหุ้น สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป หัวหน้างานกำ�กับดูแลการปฏิบตั งิ านของบริษทั (Compliance) เพื่อเป็นการประกาศเจตนารมณ์ของบริษัทฯ อย่างชัดเจน และยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจ บริษัทฯ ได้มีการปรับปรุง โครงสร้างองค์กร โดยจัดให้มีหน่วยงานซึ่งรับผิดชอบงาน ด้าน Compliance และงานเลขานุการบริษัท รวมเรียกว่า ส่วนงานเลขานุการบริษัทและกำ�กับกฎเกณฑ์ (Corporate Secretary and Compliance Division) ปั จ จุ บั น มี นายธวัชชัย ชัยปราโมทย์ ดำ�รงตำ�แหน่งผู้จัดการส่วน ภายใต้การดูแลของเลขานุการบริษัท มีหน้าที่สร้างระบบ กรอบการดำ�เนินงาน และผลักดันนโยบายด้าน Compliance ให้เป็นนโยบายขององค์กร (Corporate Compliance Policy) ดูแลการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของบริษัทฯ ให้เป็นไปอย่าง ถูกต้องตามหลักกฎหมายและหลักธรรมาภิบาล รวมถึง การรายงานผลและการติดตามข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงกับมิติ ของ Governance และ Risk Management (GRC) ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญอย่าง ยิ่งกับการบริหารจัดการบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ อันจะส่งผลให้บริษัทฯ ประสบความสำ�เร็จตาม เป้าหมายที่วางไว้ ทั้งได้รับความเชื่อถือ ความไว้วางใจจาก ผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ จึงได้จัดทำ� “นโยบาย การกำ�กับการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทในกลุ่มไออาร์พีซี” โดยมีสาระสำ�คัญสรุปได้ ดังนี้ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

129


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง การแข่งขันอย่างเป็นธรรมและการต่อต้านการผูกขาด ทางการค้า การต่อต้านการทุจริต การให้หรือรับสินบน การเคารพและปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน การคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และต่อต้าน การสนับสนุนการเงินแก่กระบวนการก่อการร้าย การจัดการทรัพย์สิน การรักษา และการใช้ข้อมูลของ บริษัทอย่างถูกต้อง ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ และความ ปลอดภัย

ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท และหัวหน้างานกำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงาน นางสาวมนวิภา จูภิบาล ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท (ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม 2555ปัจจุบัน) (ข้อมูลประวัตินางสาวมนวิภา จูภิบาล ปรากฏในประวัติ คณะผู้บริหารหน้า 51)

ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ คณะกรรมการบริษทั ฯ แต่งตัง้ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทน เพื่อพิจารณาแนวทางการกำ�หนดค่าตอบแทน ของกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย เสนอต่อ คณะกรรมการบริษทั ฯ โดยมีแนวทางกำ�หนดค่าตอบแทน ดังนี้ 1. กำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ค่าตอบแทนรายเดือน และ 2) เบี้ยประชุมรายครั้ง (ค่าตอบแทนในรูปแบบอื่น ทั้งที่เป็นตัวเงินและที่ไม่ใช่ ตัวเงิน - ไม่มี)

2. กำ�หนดค่าตอบแทนโดยคำ�นึงถึงหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ความเหมาะสมและสอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน ผลการ ดำ�เนินงานของบริษทั ฯ โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับแนวปฏิบตั ิ ของบริษทั อืน่ ในอุตสาหกรรมเดียวกันซึง่ มีขนาดของธุรกิจใกล้ เคียงกัน รวมถึงความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจ และใช้ข้อมูล การสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ประกอบการพิจารณา ทั้งนี้ อัตราค่าตอบแทนที่น�ำ เสนอในปี 2558 เทียบเคียงได้ กับค่ามัธยฐาน (Median) ของบริษัทในกลุ่มทรัพยากรตาม รายงานการสำ�รวจค่าตอบแทนกรรมการประจำ�ปี 2557 ของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) 3. พิจารณาขอบเขตหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมายของกรรมการ และกรรมการชุดย่อย 4. ตำ �แหน่ ง ประธานกรรมการบริ ษั ท ฯ และประธาน กรรมการชุดย่อย กำ�หนดอัตราค่าตอบแทนเพิ่มเติมจาก อัตราค่าตอบแทนของกรรมการ ประมาณร้อยละ 30 5. กรณีคณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการกำ�กับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี กำ � หนดให้ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทนเฉพาะ ค่าเบี้ยประชุมรายครั้ง ตามจำ�นวนครั้งที่เข้าประชุมจริง 6. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการ ชุดย่อย ได้แก่ ค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุม รายครั้งจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้นำ�เสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 และที่ประชุมสามัญผู้ถือ หุ้น มีมติอนุมัติค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและคณะ กรรมการชุดย่อย ในอัตราเท่ากับค่าตอบแทนปี 2557 ดังนี้

1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทฯ และคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2558 (บริษัทฯ ได้ใช้อัตราค่าตอบแทนดังกล่าวมา ตัง้ แต่ปี 2549) คณะกรรมการ

ค่าตอบแทนรายเดือน/คน

เบี้ยประชุมต่อครั้ง/คน

1. คณะกรรมการบริษัทฯ

ประธานกรรมการ 60,000 บาท 60,000 บาท กรรมการ 45,000 บาท 45,000 บาท 2. คณะกรรมการชุดย่อยได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และกรรมการชุดย่อยอื่นที่อาจมีการแต่งตั้งขึ้นในอนาคต ประธานกรรมการ ไม่มี 60,000 บาท กรรมการ ไม่มี 45,000 บาท

130

2. โบนัส คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเสนองดจ่ายโบนัสกรรมการสำ�หรับผลประกอบการปี 2557 เนื่องจาก ในปี 2557 บริษัทฯ มีผลประกอบการขาดทุน


ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทฯ ประจำ�ปี 2558 ค่าตอบแทน

รายชื่อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช(1) นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายวุฒิสาร ตันไชย(2) นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายสรัญ รังคสิริ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร(3) นายชวลิต พันธ์ทอง(4) นายทรงภพ พลจันทร์ นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายประมวล จันทร์พงษ์ พลโทสสิน ทองภักดี นายประสิทธิ์ สืบชนะ(12) นายเอกนิติ นิตทิ ณ ั ฑ์ประภาศ(4) นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร(5) นายสุรงค์ บูลกุล(6) นายสมบัติ นราวุฒิชัย(7) นายกฤษฎา อุทยานิน(8) นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ(9)์ นายอรรถพล ฤกษ์พบิ ลู ย(์ 10) นายสมชัย สัจจพงษ์(11) รวม

143,226 540,000 427,500 540,000 540,000 107,419 66,000 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 540,000 66,000 540,000 498,000 207,581 180,000 135,000 222,000 153,000 105,968 7,711,694

(หน่วย : บาท)

เบี้ยประชุม คณะกรรมการ บริษัทฯ

120,000 540,000 405,000 540,000 540,000 90,000 45,000 540,000 540,000 540,000 540,000 360,000 495,000 45,000 540,000 480,000 225,000 180,000 90,000 225,000 135,000 90,000 7,305,000

เบี้ยประชุม คณะกรรมการ ชุดย่อย

720,000 405,000 420,000 480,000 630,000 495,000 315,000 270,000 90,000 225,000 180,000 135,000 4,365,000

โบนัส (ผลประกอบการ ปี 2557)

-

รวม

263,226 1,800,000 1,237,500 1,500,000 1,560,000 197,419 111,000 1,710,000 1,575,000 1,080,000 1,395,000 1,170,000 1,125,000 111,000 1,305,000 978,000 612,581 360,000 360,000 447,000 288,000 195,968 19,381,694

หมายเหตุ: (นอกเหนือจากค่าตอบแทนตามตารางข้างต้น บริษัทฯ ไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนหรือสวัสดิการในรูปแบบอื่นให้แก่กรรมการ) 1. นายเทวินทร์ วงศ์วานิช ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2558 เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558 และได้ส่งคืนค่าตอบแทนกรรมการให้กับ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขสัญญาจ้างกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) 2. นายวุฒิสาร ตันไชย ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งในการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 และได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2558 3. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 10/2558 เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2558 4. นายชวลิต พันธ์ทอง และนายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 11/2558 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 5. นายไพรินทร์ ชูโชติถาวร ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 9 กันยายน 2558 6. นายสุรงค์ บูลกุล ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 20 พฤษภาคม 2558 7. นายสมบัติ นราวุฒิชัย ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 พฤษภาคม 2558 8. นายกฤษฎา อุทยานิน ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2558 9. นายวสันต์ สร้อยพิสุทธิ์ ได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 และลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 กันยายน 2558 10. นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ ได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 6/2558 เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2558 และลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 1 ตุลาคม 2558 11. นายสมชัย สัจจพงษ์ ได้รับการแต่งตั้งตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 8/2558 เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2558 และลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 30 ตุลาคม 2558 12. นายประสิทธิ์ สืบชนะ ลาออกจากกรรมการบริษัทฯ มีผลวันที่ 4 มกราคม 2559

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

131


ค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง บริษทั ฯ มีการวัดผลการปฏิบตั งิ านของผูบ้ ริหารทุกระดับเป็น ประจำ�ทุกปี โดยกำ�หนดนโยบายการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน ภายใต้ระบบ PMS (Performance Management System) ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยในการประเมินผลงาน 2 ด้านคือ (1) ตัวชี้วัดผลงานหลัก (Key Performance Indicators: KPIs) เป็นภารกิจสำ�คัญที่ได้รับการถ่ายทอดจากบริษัทฯ ในแต่ละปี สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร ผลการดำ�เนินงานของ บริษัท และผลการปฏิบัติงานด้านการเงิน ซึ่งสอดคล้องกับ ภาระหน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้บริหาร และ (2) สมรรถนะ ในการทำ�งาน (Competency) เป็นเครื่องมือสำ�หรับประเมิน ความสามารถของผู้ปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม ซึ่งกำ�หนดให้ ผู้บริหารและพนักงานทุกคนแสดงออกในขณะปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้เพื่อให้การดำ�เนินงานของบริษัทฯ บรรลุเป้าหมายอย่าง มีคุณภาพและยั่งยืน สำ�หรับค่าตอบแทนกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ได้ก�ำ หนดภายใต้ หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โปร่งใส เป็นธรรม และสมเหตุสม ผล โดยคำ�นึงถึงหน้าที่ความรับผิดชอบและผลการดำ�เนิน งานของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนด ค่าตอบแทนเป็นผูพ้ จิ ารณาทบทวนและนำ�เสนอคณะกรรมการ บริษัทฯ อนุมัติ

โดยการพิจารณาค่าตอบแทนมีการดำ�เนินงานอย่างเป็น ขั้นตอน ดังนี้ 1. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนเสนอ องค์ประกอบและเกณฑ์ในการพิจารณาต่อคณะกรรมการ บริษัทฯ ในเดือนมกราคม 2. เมื่อผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัทฯ ให้ แจ้งกรรมการผู้จัดการใหญ่เพื่อรับทราบ 3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทนพิจารณา ประเมินผลการดำ�เนินงานตามเกณฑ์และเหตุผลสนับสนุนจาก การปฏิบัติงานตลอดปีของกรรมการผู้จัดการใหญ่ และนำ� เสนอคณะกรรมการบริษทั ฯ พิจารณาอนุมตั ใิ นเดือนธันวาคม ในปี 2558 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้อนุมัติเกณฑ์การ ประเมินผลการดำ�เนินงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ที่มี เป้าหมายท้าทาย ซึ่งกรรมการผู้จัดการใหญ่รับหลักเกณฑ์ ดังกล่าว และใช้ศักยภาพในการบริหารธุรกิจและองค์กร ให้ดำ�เนินไปได้ตามเป้าหมาย โดยองค์ประกอบในการ ประเมินแบ่งเป็นสองส่วน คือ Corporate KPI และ ภาวผู้นำ� ซึ่งสนับสนุนการเติบโตอย่างโปร่งใสและยั่งยืนของบริษัทฯ

ค่าตอบแทนผู้บริหาร (ตามเกณฑ์สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์) ค่าตอบแทนผู้บริหาร

(หน่วย : ล้านบาท)

ปี 2557 (7 ราย)

ปี 2558 (20 ราย)

48.38

86.27

5.93

35.41

0.30 54.61

5.88 127.56

ค่าตอบแทน เงินเดือน โบนัส

ค่าตอบแทนอื่น กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ รวม รายชื่อผู้บริหาร ปี 2557 1. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 2. นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน 3. นายมานิตย์ สุธาพร 4. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 5. นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง 6. นายวิทวัส สวัสดิ์-ชูโต 7. นางสาวอรวรรณ ลีลารัศมี

132

ตำ�แหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายกฎหมาย (พ้นจากตำ�แหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายกฎหมาย และดำ�รงตำ�แหน่งที่ปรึกษา เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2558) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด (พ้นจากตำ�แหน่งรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายพาณิชยกิจและการตลาด เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2557) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายแผนธุรกิจองค์กร (พ้นจากตำ�แหน่งรองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายแผนธุรกิจองค์กร เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2557) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบุคคลและบริหาร (พ้นจากตำ�แหน่งรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สายบุคคลและบริหาร เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557)


รายชื่อผู้บริหาร ปี 25581 1. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 2. นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน 3. นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์2 4. นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ 5. นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล 6. นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล 7. นายประเวศ อัศวดากร 8. นางสาวมนวิภา จูภิบาล 9. นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล 10. นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ 11. นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ 12. นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์ 13. นางสาววนิดา อุทัยสมนภา 14. นายชลอ ภาณุตระกูล 15. นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ 16. นายทฤษฎี วัฒนางกูร 17. นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ 18. นายวิชิต นิตยานนท์ 19. นายบุญเดช ภูริยากร 20. นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง

ตำ�แหน่ง กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีและการกลั่น รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการการกลั่น ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานบัญชี ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักวิจัยและพัฒนา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักกิจการองค์กร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สำ�นักบริหารความยั่งยืน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานแผนธุรกิจองค์กร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานทรัพยากรบุคคล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานจัดซื้อและบริหาร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวางแผนจัดหาและค้าวัตถุดิบ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานวิศวกรรมและบำ�รุงรักษา ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานสนับสนุนปฏิบัติการการผลิต ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานเทคโนโลยีและปฏิบัติการที่เป็นเลิศ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการปิโตรเคมี และปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จำ�กัด

ผู้บริหารครบวาระระหว่างปี นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง3

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน

หมายเหตุ: 1 รายชื่อผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการตลาดทุนที่ ทจ. 23/2551 ตามการปรับโครงสร้างองค์กร (ณ วันที่ 2 มกราคม 2558) 2 นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ ดำ�รงตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 3 นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง พ้นจากตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2558

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

133


ตารางแสดงการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการและผู้บริหารที่ดำ�รงตำ�แหน่งในบริษัทย่อย / บริษัทร่วม / บริษัทที่เกี่ยวข้อง (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558)

นายเทวินทร์ วงศ์วานิช นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ นายวุฒิสาร ตันไชย นายวัชรกิติ วัชโรทัย นายสรัญ รังคสิริ นายชวลิต พันธ์ทอง นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร นายทรงภพ พลจันทร์ นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ นายสมนึก บำ�รุงสาลี นายประมวล จันทร์พงษ์ พลโทสสิน ทองภักดี นายประสิทธิ์ สืบชนะ นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล นายธรรมศักดิ ปัญโญวัฒน์กูล นายประเวศ อัศวดากร นางสาวมนวิภา จูภิบาล นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์ นางสาววนิดา อุทัยสมนภา นายชลอ ภานุตระกูล นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ นายทฤษฎี วัฒนางกูร นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ นายวิชิต นิตยานนท์ นายบุญเดช ภูริยากร นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง

134

X / / / / / / / / / / / / / /, // // // // // // // // // // // // // // // // // // // //

14. บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด (มหาชน)

13. บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

12. บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด

11. บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จำ�กัด

10. บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด

9. บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน)

8. บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่น จำ�กัด

7. บริษัท รักษ์ป่าสัก จำ�กัด

บริษัทร่วม/ บริษัทที่เกี่ยวข้อง

6. บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด

5. บริษัท เทคโนโลยีไออาร์พีซี จำ�กัด

4. บริษัท น้�ำ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด

3. บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด

2. บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด

รายชื่อ

1. บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

บริษัทย่อย

/, //

/ // // //

/

X

X

X

/ /

/ /

/

X

X / /

/ / /

X / /

/

// //

/

/ / / /

/ /

/ /

/ /

/ /

หมายเหตุ: X = ประธานกรรมการ / = กรรมการ // = ผู้บริหาร

/


รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558) 1. บริษัท น้�ำ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด 1 2 3 4 5 6

4. บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำ�แหน่ง

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ

2. บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด 1 2 3 4 5 6

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำ�แหน่ง

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายวิชิต นิตยานนท์ นายประเวศ อัศวดากร นายบุญเดช ภูริยากร

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำ�แหน่ง

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน นายโทชิโร โคจิมะ นายอิเดะยุกิ โทกิมะซะ นายทาคายูกิ มาโนะ นายฮิโรชิ โอสุโบะ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล นายวิชิต นิตยานนท์ นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ

5. บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด 1 2 3 4 5

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำ�แหน่ง

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล นางสาวมนวิภา จูภิบาล นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ

3. บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด 1 2 3 4 5 6

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำ�แหน่ง

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ นายสมหมาย โค้วคชาภรณ์ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ นายวิชิต นิตยานนท์

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ รักษาการ กรรมการผู้จัดการ

6. บริษัท รักษ์ป่าสัก จำ�กัด (บริษัท น้ำ�มันทีพี ไอ (2001) จำ�กัด) 1 2 3 4

รายชื่อกรรมการบริษัท

ตำ�แหน่ง

นายวีรชัย อริยพรพิรุณ นายเฉลิมชัย สมบูรณ์ปกรณ์ นายทรงกลด เจริญพร นายสมบูรณ์ สาตสิน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผู้จัดการ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

135


การถือครองหลักทรัพย์ของคณะกรรมการบริษัทฯ ในปี 2558 มีดังนี้ ลำ�ดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

รายชื่อ1 นายเทวินทร์ วงศ์วานิช คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายเชิดพงษ์ สิริวิชช์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายวุฒิสาร ตันไชย คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายวัชรกิติ วัชโรทัย คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสรัญ รังคสิริ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร 3 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายชวลิต พันธ์ทอง คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายทรงภพ พลจันทร์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายธรัมพ์ ชาลีจันทร์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสมนึก บำ�รุงสาลี คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายประมวล จันทร์พงษ์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ พลโทสสิน ทองภักดี คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายประสิทธิ์ สืบชนะ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 2 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ณ 31 ธ.ค. 57 ทุนชำ�ระแล้ว 20,434,419,246 บาท สัดส่วนการถือหุ้น/จำ�นวนหุ้น 0.00127% 260,250 0.02936% 6,000,000 -

ณ 31 ธ.ค. 58 ทุนชำ�ระแล้ว 20,434,419,246 บาท สัดส่วนการถือหุ้น/จำ�นวนหุ้น 0.000004% 900 0.00127% 260,250 0.03426% 7,000,000 -

จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) ระหว่างปี 1,000,000 -

หมายเหตุ : 1. รายชื่อคณะกรรมการบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 2. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ ซื้อหุ้น ณ วันที่ 24 สิงหาคม 2558 จำ�นวน 1,000,000 หุ้น 3. นายชาญศิลป์ ตรีนุชกร ซื้อหุ้น ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 จำ�นวน 500,000 หุ้น

การถือครองหลักทรัพย์ของผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ดังนี้ ลำ�ดับที่

รายชื่อ

1

นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ 1 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

2

นายพีระพงษ์ อัจฉริยชีวิน คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ 2

3

136

คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ณ 2 ม.ค. 58 ทุนชำ�ระแล้ว 20,434,419,246 บาท สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น 0.02936% 6,000,000 0.00656% 1,340,000 0.00011% 22,000 0.00039% 80,000 -

ณ 31 ธ.ค. 58 ทุนชำ�ระแล้ว 20,434,419,246 บาท สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น 0.03426% 7,000,000 0.00656% 1,340,000 0.00011% 22,000 0.00039% 80,000 -

จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) 1,000,000 -


ลำ�ดับที่ 4

รายชื่อ นายพงศ์ประพันธ์ ฐิตทวีวัฒน์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายสมเกียรติ เลิศฤทธิ์ภูวดล

5

6

คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายธรรมศักดิ์ ปัญโญวัฒน์กูล คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายประเวศ อัศวดากร

7

8 9

คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวมนวิภา จูภิบาล คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นางสาวอรพินท์ เกตุรัตนกุล คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

10

นายศิริเมธ ลี้ภากรณ์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

11

นายไกรสิทธิ์ อนุกูลอุทัยวงศ์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

12

นางศรีสุดา สุรเลิศรังสรรค์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

13 14

นางสาววนิดา อุทัยสมนภา คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ นายชลอ ภาณุตระกูล คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

15

นายวีรวัฒน์ ศรีนรดิษฐ์เลิศ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

16

นายทฤษฎี วัฒนางกูร คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

17

นายวรวุฒิ ศิวะเพ็ชรานาถ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

18

นายวิชิต นิตยานนท์ คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

19

นายบุญเดช ภูริยากร คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

20

นายโพธิวัฒน์ เผ่าพงศ์ช่วง คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ผู้บริหารครบวาระระหว่างปี 21

นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง 3 คู่สมรส บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ

ณ 2 ม.ค. 58 ทุนชำ�ระแล้ว 20,434,419,246 บาท สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น 0.00129% 264,478 0.00145% 295,580 0.00008% 15,900 0.00060% 123,600 0.00012% 25,000 0.00045% 92,721 0.00031% 63,292 0.00000% 1 0.00226% 462,109 0.00103% 210,440 0.00005% 10,579 0.00174% 355,866 0.00063% 129,351 0.00163% 333,394 0.00174% 355,801 0.00031% 64,320 -

ณ 31 ธ.ค. 58 ทุนชำ�ระแล้ว 20,434,419,246 บาท สัดส่วนการถือหุ้น/ จำ�นวนหุ้น 0.00129% 264,478 0.00145% 295,580 0.00008% 15,900 0.00060% 123,600 0.00012% 25,000 0.00045% 92,721 0.00031% 63,292 0.00000% 1 0.00226% 462,109 0.00103% 210,440 0.00005% 10,579 0.00174% 355,866 0.00063% 129,351 0.00163% 333,394 0.00174% 355,801 0.00031% 64,320 -

-

-

หมายเหตุ : 1. นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ ซื้อหุ้น ณ วันที่ 24 สิงหาคม 2558 จำ�นวน 1,000,000 หุ้น 2. นางรัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์ ดำ�รงตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2558 3. นางสาวดวงกมล เศรษฐธนัง พ้นจากตำ�แหน่ง รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชีและการเงิน เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2558

จำ�นวนหุ้นเพิ่ม (ลด) -

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

137


ข้อมูลทั่วไป

ชื่อบริษัท ชื่อย่อหลักทรัพย์ เลขทะเบียนบริษัท ประเภทธุรกิจ กลุ่มอุตสาหกรรม หมวดธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว

ที่ตั้งบริษัท

เว็บไซต์

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) IRPC 0107537002567 ธุรกิจการกลั่นและปิโตรเคมี ทรัพยากร พลังงานและสาธารณูปโภค 20,475,000,000 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 20,475,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท 20,434,419,246 บาท แบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน 20,434,419,246 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท สำ�นักงานใหญ่และโรงงาน เลขที่ 299 หมู่ 5 ถนนสุขมุ วิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 โทรศัพท์ 0 3861 1333 โทรสาร 0 3861 2813 สำ�นักงานกรุงเทพฯ เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 6 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2649 7000 โทรสาร 0 2649 7001 www.irpc.co.th

บุคคลอ้างอิง

138

นายทะเบียนหลักทรัพย์

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2009 9000 โทรสาร 0 2009 9991

ผู้สอบบัญชี

นายวิเชียร กิ่งมนตรี ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3977 บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จำ�กัด 179/74-80 อาคารบางกอก ซิตี้ทาวเวอร์ ชั้น15 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร 10120 โทรศัพท์ 0 2344 1000 โทรสาร 0 2286 5050

นายทะเบียนหุ้นกู้ สกุลเงินบาท

ธนาคารทหารไทย จำ�กัด (มหาชน) 3000 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 0 2299 1111


โครงสร้างผู้ถือหุ้น รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรกของบริษัทฯ ณ วันปิดสมุดทะเบียน วันที่ 10 มีนาคม 2558 มีดังนี้ รายชื่อผู้ถือหุ้น

จำ�นวนหุ้น

(ร้อยละ)

สัดส่วนการถือหุ้น

1.

บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

7,869,694,600

38.51

2.

ธนาคารออมสิน

1,950,000,000

9.54

3.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด

843,201,590

4.13

4.

ธนาคารกรุงเทพ จำ�กัด (มหาชน)

504,906,708

2.47

5.

STATE STREET BANK EUROPE LIMITED

282,768,946

1.38

6.

HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD

231,625,478

1.13

7.

สำ�นักงานประกันสังคม (2 กรณี)

207,586,900

1.02

8.

STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY

183,546,841

0.90

9.

กองทุนเปิดไทยแวลูโฟกัสอิควิตี้ ปันผล

168,404,900

0.82

132,494,000

0.65

10. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพพนักงานการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การถือหุ้นของชาวต่างชาติ ผู้ถือหุ้นที่เป็นชาวต่างชาติสามารถถือครองหุ้นของบริษัทฯ รวมกันได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของจำ�นวนหุ้นที่ออกและชำ�ระแล้ว ณ วันที่ 10 มีนาคม 2558 หุ้นของบริษัทฯ ที่ถือครองโดยชาวต่างชาติมีจำ�นวนร้อยละ 9.86 ของจำ�นวนหุ้นทั้งหมด

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัทฯ มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิประจำ�ปี หลังหักภาษีและทุนสำ�รองต่างๆ ทุกประเภทตามข้อบังคับของบริษัทฯ และตามกฎหมายแล้ว ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับแผนการลงทุน ความจำ�เป็น และความเหมาะสมอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการของบริษัทฯ เห็นสมควร บริษัทย่อย บริษัทย่อยแต่ละแห่งจะพิจารณาการจ่ายปันผลเป็นกรณีๆ โดยพิจารณาจากกระแสเงินสดคงเหลือและ/หรือกำ�ไรสุทธิเทียบกับ งบลงทุนของบริษัทย่อยนั้นๆ และได้ตั้งสำ�รองตามกฎหมายแล้ว หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทย่อยเห็นสมควร

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

139


นิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ลำ�ดับ

บริษัท

สัดส่วนการถือหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว (ร้อยละ) (ล้านบาท)

1

บริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6700 โทรสาร 0 2646 6750 ประเภทธุรกิจ : ผลิตเม็ดพลาสติกกลุ่มสไตรีนิคส์

99.99

625

2

บริษัท ไออาร์พีซี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 9 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2649 7511 โทรสาร 0 2649 7550 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายเม็ดพลาสติก

59.94

10

3

บริษัท น้ำ�มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6666 โทรสาร 0 2646 6677/6688 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มัน

99.99

2,000

4

บริษัท รักษ์ปา่ สัก จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6666 โทรสาร 0 2646 6677/6688 ประเภทธุรกิจ : บริการขนส่งทางทะเล

99.99

30

5

บริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6700 โทรสาร 0 2646 6702 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายโพลีออล

99.99

300

6

บริษัท ไออาร์พีซี พีซีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 555/2 อาคารศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 7 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2646 6700 โทรสาร 0 2646 6702 ประเภทธุรกิจ : จำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีกลุ่มโพลิยูริเทน

49.99

10

หมายเหตุ : บริษัทย่อยของบริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด

หมายเหตุ : บริษัทย่อยของบริษัท น้�ำ มัน ไออาร์พีซี จำ�กัด

หมายเหตุ : กิจการร่วมค้าของบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด

140


ลำ�ดับ

บริษัท

สัดส่วนการถือหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว (ร้อยละ) (ล้านบาท)

7

บริษัท เทคโนโลยี ไออาร์พีซี จำ�กัด ที่อยู่ : 309 หมู่ที่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง โทรศัพท์ 0 3889 9130-2 โทรสาร 0 3889 9130-2 ต่อ 301 ประเภทธุรกิจ : โรงเรียนอาชีวะ

99.99

750

8

บริษัท ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จำ�กัด ที่อยู่ : 299 หมู่ 5 ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง โทรศัพท์ 0 3861 1333 โทรสาร 0 3861 2813 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายไฟฟ้าและไอน้ำ�

48.99

2,336

9

บริษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จำ�กัด (มหาชน) ที่อยู่ : 98 อาคารสาทรสแควร์ ออฟฟิศทาวเวอร์ ชั้นที่ 18 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2206 9300 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

25.00

10,739

10

บริษัท พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชั่นส์ จำ�กัด ที่อยู่ : 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารเอ ชั้น 4-5 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2140 2000 ประเภทธุรกิจ : ที่ปรึกษาทางวิศวกรรม

20.00

150

11

บริษัท ระยองอะเซททีลีน จำ�กัด ที่อยู่ : 2/3 หมู่ที่ 14 ถนนบางนา-ตราด กม. 6.5 ตำ�บลบางแก้ว อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ 0 2338 6100 โทรสาร 0 3862 1602 ประเภทธุรกิจ : ผลิตและจำ�หน่ายแก๊สอะเซทิลีน

13.04

115

หมายเหตุ : แสดงเฉพาะบริษัทที่มีการดำ�เนินงาน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

141



MANAGEMENT ANALYSIS การว�เคราะห ของฝ ายจัดการ

สารจากกรรมการผู จัดการใหญ คำอธิบายและว�เคราะห ของฝ ายจัดการ ภาวะตลาดและแนวโน มอุตสาหกรรม รายงานผลการดำเนินงาน ป 2558 การบร�หารทรัพยากรบุคคล การว�จัยและพัฒนาเพ�่อความเป นเลิศ ทิศทางการดำเนินธุรกิจเชิงกลยุทธ


สารจากกรรมการผู จัดการใหญ เร�ยน ท านผู ถือหุ น ในป 2558 บร�ษัท ไออาร พีซ� จำกัด (มหาชน) ประสบความ สำเร็จในการดำเนินธุรกิจได สงู กว าเป าหมาย โดยสามารถทำ กำไรสุทธ�ได ถงึ 9,402 ล านบาท จากการสร างความเข มแข็ง ของธุรกิจหลักตามกลยุทธ “Strengthen Core Business” โดยเฉพาะความสำเร็จของโครงการ DELTA ทีเ่ สร�มให บร�ษทั ฯ มีผลประโยชน เพิ่มมากข�้นอย างมีนัยสำคัญ ความสำเร็จใน ป นี้จ�งเป นพลังให ทั�งผู บร�หารและพนักงานของบร�ษัทฯ เร ง ดำเนินการต อยอดความสำเร็จให สงู ข�น้ อย างไม หยุดยัง� ภายใต การส งเสร�มและสนับสนุนอย างดียง่ิ ของคณะกรรมการบร�ษทั ฯ และท านผู ถือหุ น โครงการ EVEREST คือโครงการที่จะช วยต อยอดความ สำเร็จนัน� เป ดตัวข�น้ เมือ่ ปลายป 2558 มีชว งเวลาดำเนินการ ร วมกับบร�ษัทที่ปร�กษาชั�นนำของโลกประมาณ 2 ป ด วย เป าหมายที่จะทำให บร�ษัทฯ สามารถบรรลุว�สัยทัศน “บร�ษัท ป โตรเคมีชั�นนำของเอเช�ย ภายในป 2563” โดยมีเป าหมาย ให ผลตอบแทนการลงทุนในรูป ROIC สูงกว า 14% ซ�ง่ ต อง ทำ EBITDA ให ได ราว 29,000 ล านบาท ใกล เคียงกับความสูง ของยอดเขาเอเวอร เรสต ที่ระดับ 29,029 ฟุต โครงการนี้มี วัตถุประสงค ในการว�เคราะห หาแนวทางเพิม่ ประสิทธ�ภาพใน การสร างกำไร ลดค าใช จ าย การวางแผน และการบร�หาร จัดการทัว่ ทัง� องค กร โดยเป าหมายนับจากป จจุบนั จะเพิม่ ข�น้ เป นระยะๆ เช นเดียวกับการป นยอดเขาเอเวอร เรสต ทีต่ อ งใช ความรู ความสามารถ ความอุตสาหะ พละกำลัง ทัง� กำลังกาย กำลังใจ และการสนับสนุนจากเพื่อนร วมทาง ในการสร าง

นายสุกฤตย สุรบถโสภณ กรรมการผู จัดการใหญ

144


ผลประโยชน สว นเพิม่ (Incremental Margin) โดยจะทำควบคู ไปกับการพัฒนาสุขภาพองค กร (Organizational Health) เพือ่ ให มั่นใจว าองค กรจะสามารถรักษาระดับข�ดความสามารถ ในการแข งขันได อย างยัง่ ยืน (Getting to the top and staying there) นอกจากการบร�หารจัดการธุรกิจบนพืน้ ฐานของการกำกับดูแล กิจการทีด่ ี มุง สร างความเป นเลิศในกระบวนการทำงาน และ การบร�หารสายโซ อปุ ทานให มปี ระสิทธ�ภาพสูงสุด โดยตระหนัก ถึงการใช ทรัพยากรอย างคุม ค า และลดผลกระทบทีม่ ตี อ ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล อมแล ว ในป 2558 บร�ษัทฯ ยังให ความ สำคัญอย างยิ่งกับการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และพัฒนา ระบบการบร�หารจัดการทรัพยากรบุคคลให มีประสิทธ�ภาพ สูงสุด เพื่อเป นพื้นฐานของการเติบโตด วยความแข็งแกร ง ของตัวบุคลากรเอง ควบคู ไปกับวัฒนธรรมองค กรที่เข มแข็ง และมีพลังผลักดันให ผู บร�หารและพนักงานก าวไปในทิศทาง เดียวกันอย างถูกต องเหมาะสม ในป น้ี บร�ษทั ฯ ได ประกาศใช i SPIRIT เป นค านิยมองค กรเพือ่ ให พนักงานทุกคนตระหนัก ถึงความเป นเจ าของ และมีความรับผิดชอบองค กรร วมกัน (i = individual ownership) ผนวกกับ SPIRIT ทีส่ ะท อนถึง ค านิยมร วมของกลุ ม ปตท. ในการเป นทั�งคนเก งและคนดี มีความรับผิดชอบต อสังคม บร�ษัทฯ ตระหนักดีว า การดำเนินธุรกิจด วยความรับผิดชอบ ต อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล อม เป นรากฐานของการเติบโต อย างยัง่ ยืน และความพึงพอใจของผูม สี ว นได เสีย ทัง� ผูถ อื หุน ลูกค า คูค า ชุมชน และพนักงาน เป นผลสะท อนกลับทีบ่ ร�ษทั ฯ ได ใช เป นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเพือ่ ให สามารถสร าง มูลค าเพิ่มร วมกันได สูงสุด นอกจากนั�นการสื่อสารเผยแพร ข อมูลที่เป นประโยชน ต อผู ถือหุ น นักลงทุน สื่อมวลชน และ สาธารณชนให ได รับทราบอย างต อเนื่องและเพียงพอในการ ตัดสินลงทุน ก็เป นสิง่ ทีบ่ ร�ษทั ฯ ดำเนินการต อเนือ่ งมาตลอด โดยในป 2558 นี้ ไออาร พซี ไ� ด รบั รางวัลด านความยัง่ ยืนจาก ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย (Thailand Sustainability Investment Awards 2015)

สำหรับความก าวหน าด านโครงการลงทุนของบร�ษทั ฯ โครงการ เพิ่มมูลค าเพื่อผลิตภัณฑ สะอาดหร�อโครงการ UHV เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพน�ำมันหนักที่มีมูลค าต่ำให เป นผลิตภัณฑ มูลค าสูง โดยผลิตภัณฑ หลัก ได แก โพรพิลีน ที่เพิ่มข�้น 320,000 ตันต อป ป จจุบันการก อสร างแล วเสร็จอยู ในช วง ทดสอบและเตร�ยมความพร อมสำหรับการป อนวัตถุดบิ อย าง ปลอดภัย โดยคาดว าจะสามารถดำเนินการผลิตเช�งพาณิชย ได ในไตรมาสแรกของป 2559 สำหรับโครงการขยายกำลัง การผลิตโพลิโพรพิลีนจำนวน 300,000 ตันต อป เร�่มการ ก อสร างในเดือนพฤษภาคม 2558 กำหนดแล วเสร็จภายใน ไตรมาส 3 ป 2560 บร�ษัทฯ ได จัดหาเง�นกู ระยะยาวใน สกุลเง�นบาท จำนวน 4,000 ล านบาท ระยะเวลา 8 ป เพิม่ เติม สำหรั บ ใช ใ นโครงการลงทุ น และจั ด หาวงเง� น กู ร ะยะสั � น เพือ่ บร�หารจัดการสภาพคล องทางการเง�นนอกจากนัน� บร�ษัทฯ ยั ง ได ร ั บ ชำระหนี ้ ข องบร� ษ ั ท ที พ ี ไ อ อะโรเมติ ก ส จำกั ด (มหาชน) เป นเง�น 3,878 ล านบาท อันเป นผลจากการยุตคิ ดี ทัง� หมดกับกลุม ผูบ ร�หารเดิมตัง� แต เดือนกันยายน 2557 นอกจากโครงการลงทุนต างๆ แล ว บร�ษัทฯ ยังมีกลยุทธ สร างความสำเร็จด วยการว�จัยพัฒนาผลิตภัณฑ เกรดพิเศษที่ มีมลู ค าเพิม่ โดยกำหนดงบประมาณลงทุนเพือ่ การนี้ ร อยละ 1 ของรายได ธรุ กิจป โตรเคมีในป 2559 และจะเพิม่ ข�น้ ในแต ละ ป จนถึงระดับ 2-3% ใกล เคียงกับบร�ษัทชั�นนำของโลก รวม ทั�งเพิ่มบุคลากรด านว�จัยให มีสัดส วนนักว�จัยเพิ่มข�้น เพื่อ พัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ ที่เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม และ สร างมูลค าเพิ่มเช�งพาณิชย ต อไป ในโอกาสนี้ ผมใคร ขอขอบคุณท านผู ถือหุ น และคณะกรรมการ บร�ษัทฯ รวมถึงลูกค า คู ค า สถาบันการเง�น ชุมชน สื่อมวลชน และ ผูม สี ว นเกีย่ วข องทุกท าน ทีช่ ว ยส งเสร�ม สนับสนุน และให ความเชือ่ มัน่ ในการดำเนินธุรกิจของบร�ษทั ฯ มาโดยตลอด และขอขอบคุณพนักงาน ทุกคนที่ให ความร วมมือ ร วมใจ ปฏิบัติงานอย างเต็มความสามารถ ผมมีความเชือ่ มัน่ ว าจะสามารถนำองค กรไออาร พซ� ขี องเราให บรรลุ เป าหมายตามแผนงานทีว่ างไว เพ�อ่ ความเจร�ญก าวหน าอย างมัน่ คง ได อย างแน นอน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

145


คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ บทสรุปผู้บริหาร หน่วย

2557

เปลี่ยนแปลง

199,595

272,968

(27%)

ล้านบาท

32,156

15,788

104%

USD/bbl

13.99

7.63

83%

ล้านบาท

28,741

7,238

297%

USD/bbl

12.50

3.49

258%

EBITDA

ล้านบาท

17,033

(1,402)

1,315%

กำ�ไร(ขาดทุน)สุทธิ

ล้านบาท

9,402

(5,235)

280%

กำ�ไรขัน้ ต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GIM) กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GIM)

หมายเหตุ:

(1)

รายได้จากการขายสุทธิ ไม่รวมภาษีสรรพสามิต

ในปี 2558 ผลการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ เติบโตขึน้ อย่างมาก โดยมีผลกำ�ไรสุทธิ 9,402 ล้านบาท เทียบกับผลขาดทุนสุทธิในปี 2557 จำ�นวน 5,235 ล้านบาท กำ�ไรเพิม่ ขึน้ 14,637 ล้านบาท โดยมีสาเหตุหลักจากธุรกิจโรงกลัน่ มีสว่ นต่างราคาผลิตภัณฑ์ เพิม่ ขึน้ ซึง่ ส่วนใหญ่เกิดจากต้นทุนน้�ำ มันดิบและเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ ในการผลิตปรับตัวลดลงตามราคาน้�ำ มันดิบ โดยราคาน้�ำ มัน ดิบปรับตัวลดลงโดยเฉลี่ยถึงร้อยละ 47 ธุรกิจน้ำ�มันหล่อลื่น พื้นฐานปรับตัวดีขึ้นโดยเฉพาะยางมะตอย เนื่องจากความ ต้องการของตลาดในประเทศปรับตัวสูงขึน้ จากนโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล และธุรกิจปิโตรเคมีกลุ่มโพลิโอเลฟินส์ มีส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปรับตัวดีขึ้น โดยบริษัทฯ มีกำ�ไร ขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด หรือ Market GIM อยู่ ที่ 32,156 ล้านบาท หรือคิดเป็น 13.99 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล ปรับตัวเพิ่มขึ้น 16,368 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น 6.36 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล นอกจากนี้การดำ�เนินการตาม กลยุทธ์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กรภายใต้โครงการ เดลต้าสามารถลดค่าใช้จา่ ยและสร้างผลกำ�ไรได้ตามเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ แม้ว่าบริษัทฯ มีผลขาดทุนจากสต๊อกน้�ำ มันสุทธิและ การบริหารความเสี่ยงผลิตภัณฑ์น�้ำ มันรวม 3,415 ล้านบาท และบันทึกขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ส่วนใหญ่ยังไม่เกิด ขึ้นจริง 1,288 ล้านบาท ตามค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลง เนื่อง จากบริษัทฯ มีเงินกู้ระยะยาวสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จำ�นวน 403 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

146

2558

ล้านบาท

รายได้จากการขายสุทธิ

(1)

สำ�หรับรายการที่ไม่ได้เกิดขึ้นประจำ� (Non recurring items) ในปี 2558 ประกอบด้ ว ย กำ � ไรจากการกลั บ รายการ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจำ�นวน 2,823 ล้านบาท เป็นผลจาก บริษทั ทีพไี อ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นลูกหนีข้ อง บริษทั ฯ ได้ขายทีด่ นิ ผ่านเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ และนำ�เงิน มาจ่ายชำ�ระหนี้คืนบริษัทฯ จำ�นวน 3,878 ล้านบาท และด้าน การดำ�เนินการเรือ่ งประกันภัยกรณีเหตุเพลิงไหม้ บริษทั ฯ ได้ รับค่าสินไหมทดแทนจากบริษทั ประกันภัยเพิม่ เติมในปี 2558 จำ�นวน 1,305 ล้านบาท รวมเป็นค่าสินไหมทดแทนทั้งสิ้น 3,015 ล้านบาท

ผลการดำ�เนินงาน 1 ผลการดำ�เนินงานแยกตามกลุ่มธุรกิจ 1.1 กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียม สถานการณ์ตลาดน้ำ�มัน สถานการณ์ราคาน้ำ�มันดิบในปี 2558 เฉลี่ยอยู่ที่ 50.91 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เทียบกับปี 2557 เฉลี่ยที่ 96.61 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ปรับตัวลดลง 45.70 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากแรงกดดันจากภาวะอุปทานน้ำ�มันดิบที่ ล้นตลาดจากปริมาณการผลิตของแหล่งผลิตน้ำ�มันดิบจาก หินดินดานของสหรัฐฯ (US Shale Oil) ยังอยู่ในระดับสูง และกลุ่มโอเปคและนอกโอเปคยังคงรักษาระดับการผลิต เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาด รวมทั้งผลกระทบจากการประกาศ ขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ส่งผลให้ค่าเงิน ดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้น


สำ�หรับแนวโน้มสถานการณ์ราคาน้ำ�มันดิบในปี 2559 ยังคง ถูกกดดันจากภาวะอุปทานจากทัว่ โลกทีอ่ ยูใ่ นระดับสูง ทัง้ จาก กลุ่มโอเปคที่ยังไม่มีการปรับลดโควต้าการผลิต และผู้ผลิต

นอกกลุม่ โอเปคทีย่ งั คงการผลิตระดับสูง ประกอบกับสหรัฐฯ มีการยกเลิกการห้ามส่งออกน้ำ�มันเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี

ส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (ราคาเฉลี่ย)

2558

2557

เปลี่ยนแปลง

50.91

96.61

(47%)

แนฟทา – น้ำ�มันดิบดูไบ

1.7

(2.3)

177%

ULG95 – น้ำ�มันดิบดูไบ

18.3

14.3

28%

Gas Oil 0.05%S – น้ำ�มันดิบดูไบ

13.7

16.1

(15%)

FO180 3.5%S – น้ำ�มันดิบดูไบ

(5.0)

(8.3)

40%

500SN - FO180 3.5%S

438

495

(12%)

150BS - FO180 3.5%S

777

665

17%

Asphalt - FO180 3.5%S

55

(32)

272%

น้ำ�มันดิบดูไบ (USD/bbl) น้�ำ มันเชื้อเพลิง (USD/bbl)

น้�ำ มันหล่อลื่นพื้นฐาน (USD/MT)

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมและวัตถุดบิ ทีส่ �ำ คัญในปี 2558 เทียบกับปี 2557 มีดงั นี้

• ส่วนต่างราคาน้ำ�มันเตากับราคาน้ำ�มันดิบดูไบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 40 เนื่องจากอุปสงค์ที่ปรับเพิม่ ขึ้นจากราคาที่ปรับลด ลงตามราคาน้ำ�มันดิบกระตุ้นให้มีความต้องการใช้มากขึ้น

• ส่วนต่างราคาแนฟทากับราคาน้ำ�มันดิบดูไบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 177 เนื่องจากอุปสงค์ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากความ ต้องการใช้เพื่อนำ�มาผลิตเป็นน้ำ�มันเบนซินและจากอุปสงค์ ที่เพิ่มขึ้นจากโรงงานปิโตรเคมี

• ส่วนต่างราคากลุม่ ผลิตภัณฑ์น�ำ้ มันหล่อลืน่ (500 SN) กับราคาน้ำ�มันเตาลดลงร้อยละ 12 เนื่องจากอุปสงค์ที่ปรับ ตัวลดลงจากการทดแทนของน้ำ�มันหล่อลื่น Group II

• ส่วนต่างราคาน้�ำ มันเบนซิน (ULG95) กับราคาน้�ำ มันดิบ ดูไบเพิ่มขึ้นร้อยละ 28 เนื่องจากความต้องการที่เพิ่มขึ้น จากราคาน้ำ�มันเบนซินที่อยู่ในระดับต่ำ� รวมทั้งการปิดซ่อม บำ�รุงตามแผนและการปิดซ่อมบำ�รุงอย่างกะทันหันของ โรงกลั่นในอเมริกา

• ส่วนต่างราคายางมะตอยกับราคาน้�ำ มันเตาเพิม่ ขึน้ สูงมาก ถึงร้อยละ 272 เนื่องจากราคาน้ำ�มันเตาซึ่งเป็นวัตถุดิบปรับ ตัวลดลงตามราคาน้�ำ มันดิบ ขณะทีร่ าคายางมะตอยทรงตัว จากความต้องการใช้ในภูมภิ าค อินโดนีเซีย เวียดนาม และไทย

• ส่วนต่างราคาน้�ำ มันดีเซล (Gasoil 0.05%S) กับราคา น้�ำ มันดิบดูไบลดลงร้อยละ 15 เนือ่ งจากอุปทานทีป่ รับเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะจากจีน อินเดีย และตะวันออกกลาง ในขณะที่ อุปสงค์คอ่ นข้างเบาบางเนือ่ งจากสภาพอากาศทีอ่ บอุน่ กว่าปกติ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

147


วัตถุดิบนำ�เข้ากลั่นและกำ�ลังการผลิต ปิโตรเลียม

2558

2557

เปลี่ยนแปลง

น้ำ�มันดิบนำ�เข้ากลั่น ล้านบาร์เรล

66.62

62.81

6%

พันบาร์เรลต่อวัน

183

172

6%

85%

80%

6%

103%

82%

25%

อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต โรงกลั่นน้ำ�มัน โรงน้�ำ มันหล่อลื่นพื้นฐาน หมายเหตุ: กำ�ลังการกลั่นน้ำ�มันดิบ 215,000 บาร์เรลต่อวัน

ในปี 2558 ปริมาณการกลัน่ รวมอยูท่ ี่ 66.62 ล้านบาร์เรล คิด เป็น 183 พันบาร์เรลต่อวัน โดยมีอตั ราการใช้ก�ำ ลังการผลิตอยูท่ ี่ ร้อยละ 85 เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นร้อยละ 6 เนือ่ งจากในเดือนเมษายน 2558 หน่วย VGOHT กลับมาเดินเครื่องตามปกติ สำ�หรับ

โรงงานผลิตน้�ำ มันหล่อลื่นพื้นฐานอัตราการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 103 เพิม่ ขึ้นร้อยละ 25 จากปี 2557 เนือ่ งจากหน่วยปรับปรุง คุณภาพน้�ำ มันเตา VGOHT ได้เดินเครือ่ งตามปกติ ประกอบ กับความต้องการยางมะตอยปรับตัวเพิ่มขึ้น

ปริมาณและมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปริมาณขาย (ล้านบาร์เรล)

ผลิตภัณฑ์ 2558 น้ำ�มันเชื้อเพลิง น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน รวม

มูลค่าขาย (ล้านบาท) 2557

2558

2557

54.00

49.78

122,279

177,550

8.09

7.91

21,016

28,107

62.09

57.69

143,295

205,657

สำ�หรับปี 2558 กลุ่มธุรกิจปิโตรเลียมมีรายได้จากการขายสุทธิ จำ�นวน 143,295 ล้านบาท เทียบกับปี 2557 ที่จำ�นวน 205,657 ล้านบาท ลดลง 62,362 ล้านบาท หรือร้อยละ 30 สาเหตุหลัก จากราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ปรับลดลงร้อยละ 38 ตาม

ราคาน้ำ�มันดิบที่ปรับลดลง ขณะที่ปริมาณขายรวม 62.09 ล้านบาร์เรล เทียบกับปีก่อนที่ 57.69 ล้านบาร์เรล เพิ่มขึ้น 4.40 ล้านบาร์เรล หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8

สัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 2558 ในประเทศ

ต่างประเทศ

ต่างประเทศ

ในประเทศ

น้ำ�มันเชื้อเพลิง

65%

35%

68%

32%

น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน

39%

61%

34%

66%

รวม

62%

38%

63%

37%

สำ�หรับปี 2558 สัดส่วนการขายในประเทศและส่งออกของ ผลิตภัณฑ์กลุ่มปิโตรเลียมอยู่ที่ร้อยละ 62 : 38 ใกล้เคียงกับ

148

2557

ปีที่ผ่านมาโดยการขายส่งออกส่วนใหญ่เป็นการขายไป ยังประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และลาว


กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิต (Gross Refinery Margin) ล้านบาท 2558

เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 2558 2557

2557

น้ำ�มันเชื้อเพลิง

8,989

3,018

3.91

1.46

น้�ำ มันหล่อลื่นพื้นฐาน

5,257

3,111

2.29

1.50

Market GRM

14,246

6,129

6.20

2.96

กำ�ไร/(ขาดทุน) จากสต๊อกน้�ำ มันสุทธิ

(2,359)

(6,399)

(1.03)

(3.10)

Accounting GRM

11,887

(270)

5.17

(0.14)

กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market GRM) สำ�หรับปี 2558 อยู่ที่ 14,246 ล้านบาท หรือ 6.20 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เทียบกับปี 2557 เพิ่มขึ้น 8,117 ล้าน บาท หรือ 3.24 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยธุรกิจโรงกลั่น มีกำ�ไรเพิ่มขึ้น 2.45 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล สาเหตุหลัก เกิดจากส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นและต้นทุนน้ำ�มัน ดิบและเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตลดลงจากราคาน้ำ�มันดิบที่ ปรับลดลง ขณะที่ธุรกิจน้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐานมีกำ�ไรเพิ่มขึ้น 0.79 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล สาเหตุหลักเกิดจากส่วนต่าง ราคาของยางมะตอยกับน้ำ�มันเตา ปรับสูงขึ้นมากจากความ ต้องการที่เพิ่มขึ้นในภูมิภาค ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และ ไทย ที่ได้แรงหนุนจากนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล

ธุรกิจปิโตรเลียมมีขาดทุนจากสต๊อกน้ำ�มันสุทธิ 2,359 ล้านบาท หรือ 1.03 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยแบ่งเป็น ขาดทุนจากสต๊อกน้ำ�มัน 3,488 ล้านบาท หรือ 1.52 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ต่ อ บาร์ เ รล กำ � ไรจากการกลั บ รายการ LCM จำ�นวน 2,305 ล้านบาท หรือ 1.00 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และขาดทุนจาก Oil Hedging จำ�นวน 1,176 ล้านบาท หรือ 0.51 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทำ�ให้มีกำ�ไร ขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GRM) อยู่ที่ 11,887 ล้านบาท หรือ 5.17 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่ม ขึ้นจากปี 2557 จำ�นวน 12,157 ล้านบาท หรือ 5.31 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

1.2 กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี สถานการณ์ตลาดปิโตรเคมี ส่วนต่างระหว่างราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและวัตถุดิบที่สำ�คัญมีดังนี้ (ราคาเฉลี่ย)

2558

2557

เปลี่ยนแปลง

491

861

(43%)

เอทิลีน – แนฟทา

613

534

15%

HDPE – เอทิลีน

261

159

64%

HDPE – แนฟทา

874

693

26%

โพรพิลีน – แนฟทา

283

384

(26%)

PP – โพรพิลีน

384

291

32%

667

675

(1%)

แนฟทา (USD/MT) โอเลฟินส์ (USD/MT)

PP – แนฟทา

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

149


(ราคาเฉลี่ย)

2558

2557

เปลี่ยนแปลง

อะโรเมติกส์ (USD/MT) เบนซีน – แนฟทา

194

354

(45%)

โทลูอีน – แนฟทา

170

179

(5%)

มิกซ์ ไซลีน – แนฟทา

210

168

25%

สไตรีนิคส์ (USD/MT) SM – แนฟทา

610

672

(9%)

ABS – แนฟทา

973

1,027

(5%)

ABS – SM

363

354

3%

PS (GPPS) – แนฟทา

776

827

(6%)

PS (GPPS) – SM

166

165

1%

• ส่วนต่างราคากลุ่มผลิตภัณฑ์โพลิโอเลฟินส์ (HDPE/ PP) กับราคาแนฟทา โดยส่วนต่างราคา HDPE กับแนฟทา เพิ่มขึ้นร้อยละ 26 เนื่องจากราคาผลิตภัณฑ์ทรงตัวอยู่ใน ระดับสูงจากอุปทานทีต่ งึ ตัว ในขณะทีร่ าคาแนฟทาปรับลดลง ร้อยละ 43 ตามราคาน้ำ�มันดิบที่ปรับลดลง สำ�หรับส่วนต่าง ราคา PP กับแนฟทาอยู่ในระดับเดียวกับปีที่ผ่านมา • ส่วนต่างราคากลุม่ อะโรเมติกส์ (โทลูอนี และมิกซ์ไซลีน) กับราคาแนฟทา โดยส่วนต่างราคาโทลูอีนกับแนฟทาลดลง

ร้อยละ 5 เนื่องจากราคาผลิตภัณฑ์ที่ยังคงอยู่ในระดับต่ำ� จากความต้องการที่ลดลง สำ�หรับส่วนต่างราคามิกซ์ไซลีน กับแนฟทาเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 เนื่องจากอุปทานที่ตึงตัว • ส่วนต่างราคากลุม่ ผลิตภัณฑ์โพลิสไตรีนคิ ส์ (ABS/PS) กับราคาแนฟทา โดยส่วนต่างราคา ABS กับแนฟทาลดลง ร้อยละ 5 และส่วนต่างราคา PS กับแนฟทาลดลงร้อยละ 6 เนือ่ งจากสภาวะเศรษฐกิจจีนทีช่ ะลอตัวเป็นปัจจัยทำ�ให้อปุ สงค์ ลดลง

กำ�ลังการผลิตปิโตรเคมี อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต

2558

2557

เปลี่ยนแปลง

1. กลุ่มโอเลฟินส์

90%

88%

3%

2. กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์

91%

90%

1%

ปี 2558 อัตรากำ�ลังการผลิตของผลิตภัณฑ์กลุ่มโอเลฟินส์ อยู่ที่ร้อยละ 90 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 3 เนื่องจากหน่วย PRP หยุดผลิต เป็นผลจากขาดวัตถุดบิ โพรพิลนี จากหน่วย Deep Catalytic Cracking (DCC) ซึ่งหยุดดำ�เนินการ

เนื่องจากเหตุเพลิงไหม้ท่ี VGOHT สำ�หรับกลุม่ อะโรเมติกส์ และสไตรีนคิ ส์ อัตรากำ�ลังการผลิตอยู่ที่ร้อยละ 91 ซึ่งอยู่ใน ระดับใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา

ปริมาณและมูลค่าขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ปริมาณขาย (พันตัน) 2558 2557 1. กลุ่มโอเลฟินส์

791

720

30,794

35,311

2. กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์

633

597

22,317

28,542

1,424

1,317

53,111

63,853

รวม

150

มูลค่าขาย (ล้านบาท) 2558 2557

สำ�หรับปี 2558 กลุม่ ธุรกิจปิโตรเคมีมรี ายได้จากการขายสุทธิ จำ�นวน 53,111 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจำ�นวน 10,742 ล้านบาท หรือร้อยละ 17 เนื่องจากราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์

ปรับลดลงร้อยละ 25 ตามราคาน้�ำ มันดิบทีป่ รับตัวลดลง ขณะ ทีม่ ปี ริมาณการขายรวม 1,424 พันตัน เทียบกับปีกอ่ นเพิม่ ขึน้ 107 พันตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8


สัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี 2558 ในประเทศ

2557 ต่างประเทศ

ต่างประเทศ

ในประเทศ

1. กลุ่มโอเลฟินส์

67%

33%

68%

32%

2. กลุม่ อะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์

47%

53%

50%

50%

58%

42%

59%

41%

รวม

สัดส่วนการขายผลิตภัณฑ์กลุ่มปิโตรเคมีสำ�หรับปี 2558 มี สัดส่วนการขายในประเทศและส่งออกในอัตรา 58 : 42 เทียบ กับปี 2557 สัดส่วนการขายส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 โดยการ

ขายส่งออกส่วนใหญ่เป็นการขายไปยังประเทศญีป่ นุ่ สิงคโปร์ และฮ่องกง

กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Product to Feed Margin, PTF) ล้านบาท 2558

เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 2558 2557

2557 10,903

5,155

4.74

2.49

4,517

2,068

1.93

1.00

Market PTF

15,420

7,223

6.71

3.49

กำ�ไร/(ขาดทุน) จากสต๊อกสุทธิ

(1,057)

(2,151)

(0.46)

(1.04)

Accounting PTF

14,364

5,072

6.25

2.45

1. กลุ่มโอเลฟินส์ 2. กลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์

สำ�หรับปี 2558 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market PTF) ของกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีปรับตัวเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 15,420 ล้านบาท หรือ 6.71 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่ม ขึ้นจากปีก่อน 8,197 ล้านบาท หรือ 3.22 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล โดยกลุ่มโอเลฟินส์เพิ่มขึ้น 2.25 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล และกลุ่มอะโรเมติกส์และสไตรีนิคส์ 0.93 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เนื่องจากส่วนต่างราคาโพลิเมอร์กับ

วัตถุดิบปรับตัวเพิ่มขึ้น และจากโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ทางด้านการผลิตและการตลาดภายใต้โครงการเดลต้า ขณะ ทีม่ ขี าดทุนจากสต๊อกสุทธิรวม LCM จำ�นวน 1,057 ล้านบาท หรือ 0.46 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทำ�ให้มีกำ�ไรขั้นต้นจาก การผลิตทางบัญชี (Accounting PTF) อยูท่ ี่ 14,364 ล้านบาท หรือ 6.25 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิม่ ขึน้ 9,292 ล้านบาท หรือ 3.80 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เมื่อเทียบกับปี 2557

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

151


1.3 กลุ่มธุรกิจสาธารณูปโภค กำ�ลังการผลิตไฟฟ้าและรายได้จากการขาย อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต 2558 2557 เปลี่ยนแปลง

รายได้จากการขาย (ล้านบาท) 2558 2557 เปลี่ยนแปลง

ไฟฟ้า

75%

77%

(3%)

1,924

2,076

(7%)

ไอน้ำ�

78%

78%

0%

1,107

1,150

(4%)

อื่นๆ

158

232

(32%)

รวม

3,189

3,458

(8%)

ในปี 2558 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายของกลุ่มธุรกิจ สาธารณูปโภคอยู่ที่ 3,189 ล้านบาท ลดลง 269 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 8 สาเหตุหลักจากราคาขายต่อหน่วยปรับ ลดลงตามราคาต้นทุนวัตถุดิบ โดยลูกค้าของกลุ่มธุรกิจ

สาธารณูปโภคส่วนใหญ่เป็นบริษทั ทีต่ ง้ั อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรม ไออาร์พีซี สำ�หรับอัตราการผลิตไฟฟ้าในปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 75 ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 3 สาเหตุหลักจากโรงไฟฟ้าหยุด ซ่อมบำ�รุงประจำ�ปี

2. ผลการดำ�เนินงานรวม 2.1 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคาตลาด (Market Gross Integrated Margin) ล้านบาท 2558

2557

ปิโตรเลียม (GRM)

14,246

6,129

6.20

2.96

ปิโตรเคมี (PTF)

15,420

7,223

6.71

3.49

2,490

2,436

1.08

1.18

32,156

15,788

13.99

7.63

ไฟฟ้าและสาธารณูปโภค Market GIM

สำ�หรับปี 2558 บริษัทฯ มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคา ตลาด (Market GIM) อยู่ที่ 32,156 ล้านบาท หรือ 13.99 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เทียบกับปี 2557 ที่ 15,788 ล้าน บาท หรือ 7.63 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้น 6.36 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล สาเหตุหลักเกิดจาก 1) ส่วนต่าง ราคาผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและปิโตรเคมีเพิ่มขึ้น ทำ�ให้ GIM

152

เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 2558 2557

เพิ่มขึ้น 5.31 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล โดยส่วนต่างที่เพิ่ม ขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากต้นทุนน้�ำ มันดิบและเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในการ ผลิตลดลงตามราคาน้ำ�มันดิบที่ลดลง และ 2) โครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กรโดยเฉพาะการผลิตและการตลาด ภายใต้โครงการเดลต้า ทำ�ให้ GIM เพิ่มขึ้น 1.05 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล


2.2 กำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting Gross Integrated Margin) ล้านบาท 2558

เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล 2558 2557

2557

ปิโตรเลียม (GRM)

11,887

(270)

5.17

(0.14)

ปิโตรเคมี (PTF)

14,364

5,072

6.25

2.45

2,490

2,436

1.08

1.18

28,741

7,238

12.50

3.49

ไฟฟ้าและสาธารณูปโภค Accounting GIM

สำ�หรับปี 2558 บริษัทฯ มีขาดทุนจากสต๊อกน้�ำ มัน 5,208 ล้านบาท หรือ 2.27 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ขณะที่มีกำ�ไร จากกลับรายการค่าเผื่อการลดลงของราคาสินค้าคงเหลือ (LCM) จำ�นวน 2,969 ล้านบาท หรือ 1.29 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล และมีขาดทุนจาก Oil Hedging จำ�นวน 1,176 ล้านบาท หรือ 0.51 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทำ�ให้บริษัทฯ มีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตทางบัญชี (Accounting GIM) อยูท่ ี่ 28,741 ล้านบาท หรือ 12.50 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เทียบกับปี 2557 ทีม่ กี �ำ ไรขัน้ ต้นจากการผลิตทางบัญชี 7,238 ล้านบาท หรือ 3.49 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล

7. กำ�ไร/(ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน บริษทั ฯ มีขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ ว่ นใหญ่ยงั ไม่เกิดขึน้ จริง 1,288 ล้านบาท ขณะที่งวดเดียวกันปี 2557 มีขาดทุน จากอัตราแลกเปลีย่ นทีส่ ว่ นใหญ่ยงั ไม่เกิดขึน้ จริง 70 ล้านบาท โดยบริษัทฯ มีเงินกู้ระยะยาวสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ จำ�นวน 403 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

8. กำ�ไร/(ขาดทุน) จากการด้อยค่าและจำ�หน่ายทรัพย์สิน

รายได้อื่น ประกอบด้วย รายได้จากการให้บริการท่าเรือและ ถังบรรจุผลิตภัณฑ์ และอืน่ ๆ สำ�หรับปี 2558 มีจ�ำ นวน 2,643 ล้านบาท ลดลง 715 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากรายได้ค่า สินไหมทดแทนลดลงจำ�นวน 405 ล้านบาท และลดลงจาก เงินชดเชยภาษีจากการส่งออก

ในปี 2558 บริษทั ฯ มีก�ำ ไรจากการด้อยค่าและจำ�หน่ายทรัพย์สนิ จำ�นวน 18 ล้านบาท ลดลง 281 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ งวดเดียวกันปี 2557 เนื่องจากปี 2557 ได้รับเงินมัดจำ�คืน จากการยกเลิกสัญญาเช่าจำ�นวน 470 ล้านบาท กำ�ไรจาก การขายอาคารพาณิชย์ TPI Plaza จำ�นวน 65 ล้านบาท และ กำ�ไรจากการขายที่ดิน 183 ล้านบาท ขณะที่มีบันทึกด้อยค่า ทรัพย์สินของหน่วย VGOHT ที่เสียหายจากเหตุเพลิงไหม้ จำ�นวน 267 ล้านบาท

4. ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน

9. กำ�ไร/(ขาดทุน) จากการลงทุน

บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน 13,144 ล้านบาท คิดเป็น 5.72 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้นจากปี 2557 2,249 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21 ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจาก ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าที่ปรึกษา ค่าซ่อม บำ�รุง และเงินบริจาค

กำ�ไรจากการลงทุนลดลง 274 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2557 ส่วนใหญ่เกิดจากส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมลดลง

3. รายได้อื่น

5. ค่าเสื่อมราคา ค่าเสือ่ มราคามีจ�ำ นวน 5,457 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 247 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับงวดเดียวกันปี 2557 ส่วนใหญ่เกิดจากโครงการ ปรับปรุงและขยายงานที่แล้วเสร็จ

10. ค่าใช้จ่ายอื่น : กลับรายการหนี้สงสัยจะสูญ ในปี 2558 บริษัทฯ มีกำ�ไรจากการกลับรายการค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญจำ�นวน 2,782 ล้านบาท รายการหลักเกิดจากใน ไตรมาส 1/2558 บริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นลูกหนีข้ องบริษทั ฯ ได้จา่ ยชำ�ระเงินคืนหนีส้ งู กว่ามูลหนี้ สุทธิจากที่ตั้งค่าเผื่อไว้เป็นจำ�นวน 2,823 ล้านบาท

6. ต้นทุนทางการเงินสุทธิ ต้นทุนทางการเงินสำ�หรับปี 2558 มีจำ�นวน 1,162 ล้าน บาท ลดลงจากปีก่อนจำ�นวน 180 ล้านบาท หรือร้อยละ 13 ส่วนใหญ่เกิดจากดอกเบีย้ จ่ายลดลงจากการบันทึกเข้าต้นทุน สินทรัพย์ระหว่างก่อสร้างเพิ่มขึ้น

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

153


ฐานะการเงิน

2. หนี้สิน

1. สินทรัพย์

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 87,296 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จำ�นวน 7,598 ล้านบาท หรือร้อยละ 8 เป็นผลจาก

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพย์รวม 163,174 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 จำ�นวน 376 ล้านบาท เป็นผลจาก • ลูกหนี้การค้าลดลง 2,250 ล้านบาท หรือร้อยละ 20 ส่วนใหญ่เกิดจากราคาผลิตภัณฑ์ทปี่ รับลดลงตามราคาตลาด ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีลูกหนี้การค้าที่ เกินกำ�หนดชำ�ระมากกว่า 3 เดือน เป็นจำ�นวนเงิน 82 ล้าน บาท คิดเป็นร้อยละ 0.92 ของลูกหนี้การค้าทั้งหมด หรือ ร้อยละ 0.04 ของยอดขาย โดยบริษัทฯ ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญไว้จำ�นวน 82 ล้านบาท ขณะที่ระยะเวลาเก็บหนี้ เฉลี่ยสำ�หรับสิ้นปี 2558 อยู่ที่ 18 วัน ลดลงจากสิ้นปี 2557 จำ�นวน 3 วัน

• เจ้าหนีก้ ารค้าลดลง 74 ล้านบาท เนือ่ งจากราคาน้�ำ มันดิบ ถัวเฉลี่ยไตรมาส 4/2558 ลดลงมาอยู่ที่ 40.71 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ในขณะที่การซื้อน้ำ�มันดิบมีปริมาณ เพิ่มขึ้น โดยมีระยะเวลาชำ�ระหนี้เฉลี่ย ณ สิ้นปี 2558 อยู่ที่ 59 วัน เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2557 จำ�นวน 20 วัน • หนี้สินหมุนเวียนอื่นลดลง 7,109 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 53 สาเหตุหลักจากเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบัน การเงินลดลง 8,643 ล้านบาท ในขณะที่เจ้าหนี้อื่นเพิ่มขึ้น 587 ล้านบาท และหนี้สินหมุนเวียนอื่นเพิ่มขึ้น 947 ล้านบาท

• สินค้าคงเหลือลดลง 4,038 ล้านบาท หรือร้อยละ 16 เนื่องจากราคาสินค้าคงเหลือปรับลดลงร้อยละ 38 ตามการ ปรับลดราคาของน้�ำ มันดิบ ขณะทีป่ ริมาณสินค้า ณ สิน้ ปี 2558 เทียบกับสิ้นปี 2557 เพิ่มขึ้นจาก 7.41 ล้านบาร์เรลเป็น 8.93 ล้านบาร์เรล ส่วนใหญ่เพิ่มขึ้นจากปริมาณน้�ำ มันดิบที่บริษัทฯ เตรียมเพือ่ นำ�เข้ากลัน่ เพิม่ ขึน้ โดยมีจ�ำ นวนวันสินค้าคงเหลือ เฉลี่ยอยู่ที่ 44 วันลดลงจากสิ้นปี 2557 จำ�นวน 1 วัน

• เงินกูย้ มื ระยะยาวรวมส่วนทีถ่ งึ กำ�หนดชำ�ระภายในหนึง่ ปีเพิ่มขึ้น 1,556 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากการเบิกเงินกู้ ยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น 8,000 ล้านบาท ในขณะที่มีการไถ่ถอน หุ้นกู้สกุลเงินบาทครบกำ�หนด 5,000 ล้านบาท จ่ายชำ�ระคืน เงินกู้จากสถาบันการเงิน 2,709 ล้านบาท และมีขาดทุนจาก อัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจำ�นวน 1,253 ล้านบาท ตามค่าเงินบาทที่อ่อนลง

• สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นลดลง 1,870 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 25 ส่วนใหญ่เกิดจากเงินฝากธนาคารเพิ่มขึ้น 1,567 ล้านบาท ในขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มรอเรียกคืนลดลง 2,125 ล้านบาท ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันลดลง 1,009 ล้านบาท และสินทรัพย์หมุนเวียนอื่นลดลง 303 ล้านบาท

• หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่นลดลง 1,971 ล้านบาท เกิดจาก เงินกู้ยืมจาก บมจ. ทีพีไอ อะโรเมติกส์ ลดลง 2,254 ล้าน บาท ขณะทีร่ ายการภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานเพิม่ ขึน้ 283 ล้านบาท

• สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเพิ่มขึ้น 8,534 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 7 สาเหตุหลักจากสินทรัพย์ถาวรเพิม่ ขึน้ ส่วนใหญ่เป็น งานระหว่างก่อสร้างของโครงการเพิ่มมูลค่าเพื่อผลิตภัณฑ์ สะอาด (UHV) ในขณะที่ลดลงจากค่าเสื่อมราคาและค่าตัด จำ�หน่าย 5,457 ล้านบาท รายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาว สรุปได้ดังนี้

หน่วย : ล้านบาท

31 ธ.ค. 58

เปลี่ยนแปลง

8,622

7,870

752

22,623

27,615

(4,992)

5,959

5,765

194

เงินกู้สกุลเงินบาท

16,296

10,694

5,602

รวม

53,500

51,944

1,556

หัก ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระภายใน 1 ปี

(4,265)

(7,701)

3,436

สุทธิ

49,235

44,243

4,992

หุ้นกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ หุ้นกู้สกุลเงินบาท เงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ

154

31 ธ.ค. 57


3. ส่วนของผู้ถือหุ้น

สภาพคล่องและโครงสร้างเงินทุน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นรวม 75,878 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 จำ�นวน 7,974 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นผลจากกำ�ไรสุทธิเพิ่ม ขึ้น 9,402 ล้านบาท และการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของเงินลงทุนเผื่อขายเพิ่มขึ้น 314 ล้านบาท ในขณะที่มีการ จ่ายเงินปันผล 1,633 ล้านบาท และขาดทุนจากการคำ�นวณ ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย 113 ล้านบาท

อัตราส่วนสภาพคล่องในปี 2558 เท่ากับ 0.99 เท่า ปรับ ตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ 0.94 เท่า เนื่องจาก หนี้สินระยะสั้นลดลง เป็นผลจากราคาน้ำ�มันดิบปรับตัวลด ลงอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ บริหารจัดการสภาพคล่องได้ อย่างเพียงพอต่อการดำ�เนินธุรกิจ และไม่มีปัญหาด้านสภาพ คล่องทางการเงิน

งบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ มีเงินสดคงเหลือ 3,576 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น 1,567 ล้านบาท โดยมีกระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน 27,840 ล้านบาท ประกอบด้วยกำ�ไรก่อนหักค่าเสื่อมราคา ภาษีและ ดอกเบีย้ จ่าย (EBITDA) จำ�นวน 17,033 ล้านบาท และกระแส เงินสดรับจากการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส้ นิ ดำ�เนิน งานจำ�นวน 10,807 ล้านบาท ขณะที่เงินสดใช้ไปในกิจกรรม ลงทุนจำ�นวน 11,271 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดจากการจ่ายเงิน ลงทุนในโครงการเพิม่ มูลค่าเพือ่ ผลิตภัณฑ์สะอาด (UHV) และ มีเงินสดจ่ายสุทธิสำ�หรับกิจกรรมจัดหาเงินจำ�นวน 15,002 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นการจ่ายชำ�ระคืนเงินกู้ระยะสั้นจำ�นวน 8,646 ล้านบาท จ่ายชำ�ระคืนหุ้นกู้และเงินกู้ระยะยาว 7,709 ล้านบาท จ่ายชำ�ระดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 3,283 ล้านบาท จ่าย เงินปันผล 1,633 ล้านบาท และจ่ายคืนเงินกู้ยืมจากกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน 1,520 ล้านบาท ในขณะที่มีเงินสดรับจากเงิน กู้ยืมระยะยาว 8,000 ล้านบาท

ณ สิ้นปี 2558 บริษัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่ 0.66 เท่า ลดลงเมื่อเทียบกับ ปี 2557 ซึ่งอยู่ที่ 0.87 เท่า ซึ่งเป็นผลจากผลการดำ�เนินงาน ปรับตัวดีขึ้นประกอบกับหนี้สินลดลง ทั้งนี้ บริษัทฯ สามารถ ชำ�ระหนีส้ นิ ได้ตามกำ�หนดและสามารถปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการ กู้ยืมเงินได้ครบถ้วน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

155


ภาวะตลาดและแนวโน้มอุตสาหกรรม

การควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ การขายผ่านช่องทางที่กำ�ไรสูงสุด และความร่วมมือกับบริษัทในเครือ โดยใช้ศักยภาพผู้ผลิต ปิโตรเคมีแบบครบวงจรที่มีระบบสนับสนุนอย่างเพียบพร้อม ของ ไออาร์พีซี เป็นความได้เปรียบด้านต้นทุนที่

สามารถแข่งขันได้แม้ ในภาวะราคาผลิตภัณฑ์ ในตลาดตกต่ำ� 1. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ภาวะตลาดน้�ำ มันดิบและน้ำ�มันสำ�เร็จรูป ในปี 2558 ประเทศไทยมีการนําเข้าพลังงานคิดเป็นมูลค่า กว่า 8 แสนล้านบาท โดยมีการนําเข้าน้ำ�มันดิบมากที่สุด ทั้งนี้ ราคาน้ำ�มันดิบดูไบเฉลี่ยในตลาดโลกอยูที่ 50.9 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบารเรล ราคาน้ำ�มันดิบในช่วงปี 2558 ปรับลดลงอย่างต่อเนื่องจากปี 2557 ที่เคยอยู่ที่ระดับ 97 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล มาอยู่ที่ 31 เหรียญสหรัฐฯ ต่อ บาร์เรล ซึ่งปัจจัยหลักนั้นมาจากปริมาณน้ำ�มันดิบที่ล้นตลาด เพราะผู้ผลิตทั้งในและนอกกลุ่มโอเปกต่างก็ยืนกรานที่จะไม่ ปรับลดกำ�ลังการผลิตและเดินหน้าผลิตน้ำ�มันดิบในระดับ ที่สูงต่อเนื่องเหนือระดับ 30 ล้านบาร์เรลต่อวัน เพื่อรักษา ส่วนแบ่งทางการตลาดจากผู้ผลิตนอกกลุ่มโอเปกไว้ สำ�หรับน้ำ�มันสำ�เร็จรูปในปี 2558 การผลิตภายในประเทศ มีปริมาณรวมทัง้ สิน้ 62,626 ล้านลิตร เฉลีย่ วันละ 172 ล้านลิตร หรือ 1,079,223 บาร์เรลต่อวัน ปริมาณเพิ่มขึ้นจากปีก่อน วันละ 10 ล้านลิตร หรือร้อยละ 6 ส่วนการนำ�เข้าจากต่าง ประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,621 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 7.2 ล้านลิตร หรือ 45,252 บาร์เรลต่อวัน ลดลงจากปี 2557 วัน ละ 5.0 ล้านลิตร หรือร้อยละ 42 ทั้งนี้ การนำ�เข้ารวมโปรเพน และบิวเทนเพื่อการผสมเป็นแอลพีจี แต่ไม่รวมน้ำ�มันเบนซิน พื้นฐานเพื่อการผลิตแก๊สโซฮอล์ จำ�นวน 735 ล้านลิตร เฉลี่ย วันละ 2.0 ล้านลิตร

156

สำ�หรับสถานการณ์การใช้พลังงาน ปี 2558 พบว่า สัดส่วน การใช้พลังงานของประเทศไทยแบ่งเป็นน้ำ�มันสำ�เร็จรูป ร้อยละ 48 ไฟฟ้าร้อยละ 20 พลังงานหมุนเวียนร้อยละ 19 ก๊าซธรรมชาติร้อยละ 8 และถ่านหิน/ลิกไนต์ร้อยละ 5 ซึ่งการใช้พลังงานรวมทั้งประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 ทั้งนี้ การใช้น้ำ�มันสำ�เร็จรูปมีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 โดย มีการใช้น้ำ�มันเบนซินเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5 เนื่องจากการลดลง ของราคาขายปลีกน้ำ�มันเบนซินในประเทศที่ปรับลดลงตาม ราคาน้ำ�มันในตลาดโลก สำ�หรับการใช้ดีเซลเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8 และการใช้น้ำ�มันเครื่องบินเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.5 ตามการ ขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวในช่วงต้นปี 2558 ส่วนการ ใช้ LPG ลดลงร้อยละ 11.4 คิดเป็น 545 พันตันต่อเดือน เนือ่ งจากความต้องการใช้ทีล่ ดลงของภาคขนส่ง ภาคครัวเรือน และการใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในขณะที่ราคาน้ำ�มัน ปรับลดลง ทำ�ให้ผู้ใช้ LPG บางส่วนหันไปใช้น้ำ�มันแทน การใช้ LPG ภาคครัวเรือนลดลงร้อยละ 4.3 โดยยังคงลดลง อย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มมีมาตรการเข้มงวดปราบปรามการ ลักลอบจำ�หน่าย LPG ผิดประเภท ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะมีการใช้เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 ด้านการใช้ NGV พบ ว่าเริ่มชะลอตัวและมีแนวโน้มลดลงจากปีก่อนร้อยละ 3.8 ผู้ประกอบการหลักในอุตสาหกรรมน้ำ�มันในประเทศที่สำ�คัญ ประกอบด้วย ปตท. เอสโซ่ บางจาก เชลล์ เชฟรอน และอื่นๆ โดยส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ มีดังนี้


ปตท.

38

เอสโซ่

11

ที่สหรัฐฯ ยกเลิกกฎหมายห้ามส่งออกน้ำ�มันดิบที่ผลิตใน สหรัฐฯ ที่ใช้มาราว 40 ปี สนับสนุนธุรกิจการผลิตน้ำ�มันจาก Shale Oil ในสหรัฐฯ ให้ขยายตัว ทำ�ให้อปุ ทานยังคงล้นตลาด อย่างต่อเนื่อง กดดันราคาน้ำ�มันดิบในระยะยาว

บางจาก

10

แนวโน้มปี 2559

บริษัท

ส่วนแบ่งตลาดในประเทศ (ร้อยละ)

เชลล์

9

เชฟรอน

7

ไออาร์พีซี

4

ภาพรวมของตลาดน้ำ�มันในปี 2559 ยังคงถูกกดดันจาก ภาวะอุปทานทั่วโลกที่ยังอยู่ในระดับสูง ทั้งจากกลุ่มโอเปค ที่ยังไม่มีการปรับลดโควต้าการผลิต และอิหร่านที่ได้รับ การยกเลิกมาตรการคว่ำ�บาตรทำ�ให้มีแผนกลับมาส่งออก น้ำ�มันเพิ่มมากขึ้น

21

ผู้ค้ารายย่อยอื่นๆ

ที่มา : กรมธุรกิจพลังงาน ข้อมูลเดือนมกราคม-ธันวาคม 2558

สถานการณ์ปี 2558 สถานการณ์ราคาน้ำ�มันดิบถูกกดดันจากการปรับเพิม่ การผลิต อย่างต่อเนื่องของ US Shale Oil ส่งผลให้อุปทานล้นตลาด กอปรกับกลุม่ โอเปคทีเ่ ดิมจะเป็นผูป้ รับการผลิตเพือ่ ให้ตลาด อยูใ่ นภาวะสมดุล กลับเปลีย่ นจุดยืนโดยยังคงอัตราการผลิต ไว้ทรี่ ะดับ 30 ล้านบารเ์ รลต่อวัน เพือ่ รักษาส่วนแบ่งตลาดและ เพื่อกดดันให้ประเทศที่มีต้นทุนการผลิตสูง เช่น US Shale Oil ของสหรัฐฯ เป็นฝ่ายที่ต้องลดกำ�ลังการผลิต นอกจากนี้ การประกาศขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) ส่งผลให้ค่าเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้น อีกทั้งมาตรการ

นอกจากนี้ผู้ผลิตนอกกลุ่มโอเปค ได้แก่ สหรัฐฯ ที่มีการ ยกเลิกการห้ามส่งออกน้ำ�มันเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี และคงการผลิตระดับสูงอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้มีปริมาณ น้ำ�มันดิบคงคลังเพิ่มขึ้นมาสูงกว่าช่วงปลายปี 2557 มาก ถึงร้อยละ 26 อีกทั้งรัสเซียที่ยังคงกำ�ลังการผลิตระดับสูง เช่นกันเพื่อชดเชยรายได้จากการขายน้ำ�มันหลังราคาน้ำ�มัน ตกต่ำ� กอปรกับการประเมินการผลิตน้ำ�มันดิบในตลาดโลก ยังคงเกินความต้องการประมาณ 0.5-2 ล้านบาร์เรลต่อวัน ในปี 2559 โดยคาดการณ์ว่าการลดกำ�ลังการผลิตของ สหรัฐฯ 500,000 บาร์เรลต่อวัน ในปี 2559 ก็ยังไม่เพียงพอ ต่อการรองรับการปรับสมดุลของตลาด เป็นปัจจัยทีย่ งั กดดัน ราคาน้ำ�มันดิบในระยะยาว

กราฟแสดงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาน้ำ�มันดิบในตลาดโลก Dubai USD/BBL 150

Lehman Brother

EU Debt Crisis

130 110 90

94

EU Debt Crisis

BP World Oil Spill

106

Syria Unrest

109

Shale Oil Boom

105 97 No Cut Run from OPEC

78

US Repeals Oil Export Ban

70 62

30

End QE

QE3

50

QE2 QE1 2008

2009

2010

2011

2012

OPEC No More Quota

2013

32 USD/BBL As of 31 Dec 2015

51

2014

2015

ที่มา : Platts & Reuters รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

157


ลักษณะของลูกค้า หรือช่องทางการจัดจำ�หน่าย บริษัทฯ เน้นการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์นำ�้ มันให้ ได้มาตรฐานตามที่กระทรวงพาณิชย์กำ�หนด อีกทั้งยังเน้น การขายผ่านช่องทางที่กำ�ไรสูงสุด โดยกำ�หนดราคาน้ำ�มันให้ เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณข์ องตลาด และการร่วมมือ กับบริษทั ในเครือเพือ่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สุดในการวางกลยุทธ์ การขาย ในปี 2558 บริษัทฯได้พัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์ราคา (Athena Pricing Tool) และนำ�ไปสู่การพัฒนากลยุทธ์ การขายแบบใหม่ภายใต้โครงการ DELTA โดยได้นำ�ไปสู่ การเพิ่มผลกำ�ไร (margin improvement) จากการขายได้ ถึงกว่า 1,000 ล้านบาท หรือ 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลักษณะของลูกค้า หรือช่องทางการจำ�หน่าย แบ่งได้ดังนี้ • การจำ�หน่ายให้ผคู้ า้ ขายตรงอุตสาหกรรม (Industry) เช่น บริษัทรถ เรือขนส่งสินค้า รถโดยสาร กิจการประเภท ก่อสร้าง และอื่นๆ รวมทั้งการขายให้บริษัทในเครือด้วย • การจำ�หน่ายให้ลกู ค้าขายส่ง (Wholesales/Jobber) ทัง้ รายเล็กและรายใหญ่ เพือ่ ไปจำ�หน่ายต่อให้กบั ผูค้ า้ ขายตรง และขายปลีก • การจำ�หน่ายให้ผู้ค้ามาตรา 7 เป็นการจำ�หน่ายให้ กั บ บริ ษั ท ผู้ ค้ า น้ำ� มั น ทั้ ง ขนาดใหญ่ แ ละปานกลาง ซึ่ ง มี คลังน้ำ�มันเป็นของตนเอง และนำ�น้ำ�มันเหล่านีไ้ ปจัดจำ�หน่าย ต่อ ผ่านระบบเครือข่ายและช่องทางการจำ�หน่ายของบริษัท เหล่านั้นไปสู่ผู้บริโภคน้ำ�มันปลายทางอีกทอดหนึ่ง • การส่งออก (Export) ให้กับผู้ค้าน้ำ�มันในต่างประเทศ แบ่งเป็นการขายทางเรือ โดยมีตลาดหลักในเขตภูมภิ าคเอเชีย เช่น สิงคโปร์ กัมพูชา และเวียดนาม และการส่งออกทางรถ โดยมีตลาดหลักในประเทศแถบอินโดจีน เช่น จีนตอนใต้ กัมพูชา ลาว และพม่า ในปี 2558 บริษัทฯ มียอดส่งออก รวมคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 30 ของยอดการจำ�หน่ายทั้งหมด

158

• Bunker เป็นการจำ�หน่ายน้ำ�มันดีเซล หรือ Automotive Diesel Oil (ADO) ให้กับเรือที่มาใช้บริการท่าเทียบเรือ ของบริษัทฯ • Fishery เป็นการจำ�หน่ายน้ำ�มันให้กับสมาคมประมง ในน่านน้ำ� เป็นน้ำ�มันดีเซลสีเขียว โดยบริษทั ฯ มีสว่ นแบ่งการ ตลาดอยู่ที่ร้อยละ 69

สัดส่วนปริมาณการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์น้ำ�มันของบริษัท ตารางแสดงสัดส่วนปริมาณการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์นำ�้ มัน ของบริษัทฯ ประเภทการจำ�หน่าย

สัดส่วน (ร้อยละ)

1. การจำ�หน่ายให้ลูกค้าขายส่ง (Wholesales) 2. การส่งออก (รวม Fishery)

31

3. การจำ�หน่ายให้ลกู ค้ามาตรา 7

25

4. การจำ�หน่ายให้ผู้ใช้อุตสาหกรรม (Industry)

41 3

ที่มา : ฝ่ายธุรกิจปิโตรเลียมบริษัทฯ

กลยุทธ์การแข่งขัน กลยุทธ์ดา้ นราคา บริษทั ฯ เน้นการปรับราคาทีส่ ามารถแข่งขัน ได้เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาด รวมทั้งเพิ่มจำ�นวนลูกค้าและ ปริมาณการจำ�หน่าย โดยรักษาระดับค่าการตลาดให้อยู่ใน ระดับที่เหมาะสม และมีการบริการที่ดีให้กับลูกค้า ดังนี้ • คลังน้ำ�มัน บริษัทฯ มีคลังน้ำ�มันจำ�นวน 5 แห่ง เพื่อบริการลูกค้าทั่วทุกภูมิภาคและเปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง (เฉพาะคลังระยอง) และได้เพิ่มจุดจำ�หน่ายน้ำ�มันที่ คลังไออาร์พีซีแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อเพิ่ม การบริการลูกค้าในเขตภาคตะวันตกและภาคใต้ตอนบน


• การขนส่ง บริษัทฯ มีบริการรถขนส่งน้ำ�มันเพื่อจัดส่งให้ ลูกค้าทั่วประเทศ รวมทั้งเรือและท่าเทียบเรือ เพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าที่ต้องการรับน้ำ�มันทางเรือ • บุคลากร มีผแู้ ทนขาย เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานขาย รวมทัง้ แผนกบริการงานขายไว้บริการลูกค้า และห้องออกตัว๋ ทีค่ อยรับ การสัง่ ซือ้ น้ำ�มันจากลูกค้าโดยผ่านระบบ SAP ซึง่ เป็นระบบการ จัดการฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกัน โดยสามารถปรับปรุงข้อมูล แบบ On-line และ Real Time ให้มีความถูกต้องแม่นยำ� และเป็นมาตรฐานเดียวกัน เพิม่ ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน และลดขัน้ ตอนทีซ่ ้ำ�ซ้อน และเป็นฐานข้อมูลทีส่ นับสนุนในการ วิเคราะห์ ตัดสินใจ และบริหารงานสำ�หรับผู้บริหารและ ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ หลังจากการนำ�ระบบ iRON หรือ IRPC Oil On Net ระบบ บริหารการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑป์ โิ ตรเลียมทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่รวมศักยภาพของระบบบริหาร Supply Chain ของบริษัทฯ เข้ากับระบบ Total Business Solution ซึ่งบริษัทฯ พัฒนา ขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการในการทำ�ธุรกรรมของลูกค้า และเพิ่มประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจแล้ว บริษัทฯ ยังคง ดำ�เนินการพัฒนาระบบเพือ่ รองรับการใช้งานใน Phase ต่างๆ เพื่อรองรับการขายในช่องทางขายส่วนอื่นต่อไป • การตรวจสอบคุณภาพ บริษัทฯ มีเจ้าหน้าที่เทคนิคไว้ คอยบริการให้ความรู้และแก้ปัญหา รวมทั้งออกไปตรวจเช็ค คุณภาพตามสถานีบริการ คลังน้ำ�มัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ด้านคุณภาพให้กับลูกค้า

2. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ภาวะการแข่งขันในผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี

อนึ่ง ในปี 2558 การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ สำ�คัญๆ ส่วนใหญ่ยังอยู่ในภาวะชะลอตัวลงจากปีก่อนหน้า โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีน ในขณะที่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ยุโรปและญีป่ นุ่ ยังเป็นไปอย่างล่าช้า การชะลอตัวของเศรษฐกิจ ประเทศสำ�คัญๆ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาค เอเชียส่วนใหญ่ชะลอตัว ควบคู่ไปกับการหดตัวของการ ส่งออก อัตราเงินเฟ้อของประเทศต่างๆ ยังอยูใ่ นระดับต่ำ�และ ยังปรับลดลงในหลายประเทศ ทั้งนี้ สภาพัฒน์ฯ ได้ระบุว่า เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.4 เท่ากันกับในปี 2557 ซึ่งมีปัจจัยสำ�คัญจากการลดลง ของการสะสมสินค้าคงคลัง การลดลงของการส่งออก และ การชะลอตัวของการบริโภคภาคเอกชนและการลงทุนรวม แต่ อัตราเงินเฟ้อยังอยู่ในระดับต่ำ� ร้อยละ 0.3 ซึ่งการขยายตัว ทางเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่ลดลง ทำ�ให้คณะกรรมการนโยบาย การเงินสหรัฐฯ มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.0-0.25 ในการประชุมเมื่อวันที่ 27-28 ตุลาคม 2558 ที่ ผ่านมา ส่วนเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศยูโรโซน ปรับตัวดีขึ้น อย่างค่อยเป็นค่อยไป ทำ�ให้กลุ่มประเทศยูโรโซนขยายตัว ร้อยละ 1.5 โดยได้รบั ปัจจัยสนับสนุนจากการปรับตัวดีขนึ้ ของ การจ้างงานและการผ่อนคลายนโยบายการเงินอย่างต่อเนือ่ ง ซึ่งส่งผลให้อุปสงค์ภายในประเทศทั้งการบริโภคและการ ลงทุนภาคเอกชน และภาคการผลิตปรับตัวดีขึ้น อย่างไร ก็ตาม อัตราเงินเฟ้อยังอยู่ในระดับต่ำ�ที่ร้อยละ 0.1 ส่วน เศรษฐกิจจีนทั้งปี 2558 ขยายตัวร้อยละ 6.9 ชะลอลงจาก ร้อยละ 7.3 ในปี 2557 และเป็นการขยายตัวต่ำ�สุดในรอบ 25 ปี จากการชะลอตัวของการลงทุนในสินทรัพย์คงทน การผลิต ภาคอุตสาหกรรม และการส่งออกที่หดตัว รวมทั้งการปรับ ลดค่ากลางเงินหยวนในช่วงเดือนสิงหาคม 2558 ส่งผล ให้ธนาคารกลางจีนลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งที่ 6

อุตสาหกรรมปิโตรเคมีในปี 2558 ยังคงมีมูลค่าการส่งออก และนำ�เข้าลดลงเมื่อเทียบกับปี 2557 ซึ่งมีสาเหตุสำ�คัญมา จากราคาน้ำ�มันทีผ่ นั ผวน อัตราแลกเปลีย่ นได้มกี ารปรับลดลง มาก รวมทัง้ การฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจโลกทีม่ คี วามไม่แน่นอน และมีความเปราะบางสูง ทั้งในสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และตลาดเอเชีย โดยเฉพาะการชะลอตัวของเศรษฐกิจในจีน ทัง้ นี้ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีผลกระทบจากการทีอ่ ตุ สาหกรรม ปลายทาง (ผลิตภัณฑพ์ ลาสติก) มีการชะลอตัว ส่งผลให้อตั รา การเติบโตของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีลดลงตามไปด้วย สำ�หรับ เศรษฐกิจไทยในปี 2558 ขยายตัวร้อยละ 2.8 ปรับตัวสูงขึ้น จากปี 2557 ทีข่ ยายตัวเพียงร้อยละ 0.8 ในขณะทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อ เฉลีย่ ทัง้ ปีอยูท่ รี่ อ้ ยละ -0.9 ซึง่ เป็นผลจากการฟืน้ ตัวอย่างล่าช้า ของเศรษฐกิจโลกและราคาส่งออกสินค้าในตลาดโลก รวมทัง้ ผลกระทบจากปัญหาภัยแล้งทำ�ให้การผลิตภาคการเกษตรลด ลงร้อยละ 4.2 ทั้งนี้ การบริโภคของครัวเรือนขยายตัวร้อยละ 2.1 และการลงทุนรวมขยายตัวร้อยละ 4.7 ส่วนอัตราการ ว่างงานทั้งปีเท่ากับร้อยละ 0.8 (ข้อมูลจากสภาพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ เดือนกุมภาพันธ์ 2559) รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

159


ราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เหร�ยญสหรัฐฯ / ตัน 2,500

2,000

1,500

1,000

500

PP Film

GPPS

ธ.ค. 58

พ.ย. 58

ต.ค. 58

ก.ย. 58

ส.ค. 58

ก.ค. 58

Naphtha MOPJ

นับตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2557 ควบคู่กับการลดสัดส่วน เงินสํารองของธนาคารพาณิชย์ลง

ดอลลาร์สหรัฐฯ ธนาคารกลางจีนปรับค่ากลางเงินหยวน ต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ให้อ่อนค่าลง และการขายสุทธิในตลาด หลักทรัพย์และตลาดพันธบัตรของนักลงทุนต่างชาติเนือ่ งจาก ความวิตกกังวลต่อการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนและเอเชีย

อย่างไรก็ตาม ปัจจัยด้านค่าเงินบาทก็มีส่วนสำ�คัญกับ การเติบโตของอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ เมื่อเดือน ตุลาคม 2558 ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวผันผวนในทิศทางที่ แข็งค่าขึ้น ภายหลังตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ และจีนออกมา ต่ำ�กว่าการคาดการณ์ของตลาด ทำ�ให้นักลงทุนมองว่า FED อาจเลือ่ นการปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ นโยบายออกไป หลังจากนัน้ ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงเล็กน้อย โดยค่าเงินบาทช่วงไตรมาสที่ 3/2558 อยู่ที่ 35.26 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ อ่อนค่าลงจาก ไตรมาส 2 ร้อยละ 5.92 ซึ่งเป็นผลจากการแข็งค่าของเงิน

HDPE Film

มิ.ย. 58

พ.ค. 58

เม.ย. 58

มี.ค. 58

ก.พ. 58

ม.ค. 58

ธ.ค. 57

ที่มา : ICIS

อนึง่ เศรษฐกิจกลุม่ ประเทศอาเซียน ส่วนใหญ่ได้รบั ผลกระทบ จากการหดตัวของการส่งออก และการลดลงของราคาสินค้า โภคภัณฑ์ในตลาดโลก โดยสภาพัฒน์ฯ ระบุว่า การเติบโต ทางเศรษฐกิจของมาเลเซีย ขยายตัวร้อยละ 4.7 ตามการ ชะลอตัวของการบริโภคภาคเอกชน เศรษฐกิจอินโดนีเซีย ขยายตัวร้อยละ 5.0 เนือ่ งจากการใช้จา่ ยรัฐบาลและการลงทุน รวมขยายตัวเร่งขึ้น และช่วยชดเชยผลกระทบจากการหดตัว ของการส่งออก อย่างไรก็ตาม เศรษฐกิจเวียดนามขยายตัว ร้อยละ 7 โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวของการ ผลิตภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อ การส่งออก รวมทั้งภาคบริการที่ขยายตัวในเกณฑ์ดี โดย เวียดนามเป็นประเทศที่มีอนาคตสดใสต่อนักลงทุนในขณะนี้ เพราะความต้องการภายในประเทศที่สูงอย่างต่อเนื่อง

160

พ.ย. 57

ต.ค. 57

ก.ย. 57

ส.ค. 57

ก.ค. 57

มิ.ย. 57

พ.ค. 57

เม.ย. 57

มี.ค. 57

ก.พ. 57

ม.ค. 57

0

ABS

ทั้งนี้ ราคาโมโนเมอร์และเม็ดพลาสติกในปี 2558 ปรับตัว ตามทิศทางและความผันผวนของราคาวัตถุดิบคือน้ำ�มันดิบ และนาฟทา โดยสถานการณ์ราคาเม็ดพลาสติกช่วงปี 2558 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2557 พบว่า ราคาโพลิโพรพิลีน ปรับลดงจากปีกอ่ นร้อยละ 25 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,181 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ราคาโพลิเอทิลนี ชนิดความหนาแน่นสูง (HDPE) ปรับลดลง จากปีกอ่ นร้อยละ 20 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,250 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ราคาโพลิสไตรีนปรับลดลงร้อยละ 28 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,250 เหรียญ สหรัฐฯ ต่อตัน และราคาเอบีเอสปรับลดลงร้อยละ 22 เฉลี่ยอยู่ที่ 1,491 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน สำ�หรับราคา โมโนเมอร์พบว่า ราคาเอทิลีนลดลงร้อยละ 23 เฉลี่ยอยู่ที่ 1,105 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน ราคาโพรพิลนี ปรับลดลงร้อยละ 39 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 786 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน และราคาสไตรีนโมโนเมอร์ ปรับลดลงร้อยละ 29 เฉลีย่ อยูท่ ี่ 1,117 เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน

แนวโน้มการขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ไทยปี 2559 การขยายตัวของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทยในปี 2559 คาดว่าจะมีการปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ตาม การขยายตัวของ GDP และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดยอัตรา การขยายตัวของ GDP ปี 2559 ตามคาดการณข์ องสำ�นักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดว่า


จะขยายตัวร้อยละ 2.8-3.8 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการ เร่งการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ แรงส่งจากมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจ การฟื้นตัวอย่างช้าๆ ของเศรษฐกิจโลก และราคาส่งออก แนวโน้มการอ่อนค่าของเงินบาท ซึ่งจะ ช่วยให้มูลค่าการส่งออกในรูปเงินบาทขยายตัวเร่งขึ้น ส่งผล ให้รายรับและสภาพคล่องของผู้ประกอบการดีขึ้น การปรับตัวอย่างช้าๆ ของราคาสินค้าเกษตร รวมถึงราคา น้ำ� มั น ที่ ค าดว่ า จะยั ง อยู่ ใ นระดั บ ต่ำ� และการลงทุ น ใน โครงการเมกะโปรเจคของภาครัฐ จะทําให้ความต้องการ วัตถุดิบเม็ดพลาสติกมีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีเกิดการขยายตัวตามไปด้วย ในปี 2559 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ IMF ปรับ ลดคาดการณ์อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจโลกลดลงที่ 3.4% (คาดการณ์ไว้ล่าสุด ณ เดือน มกราคม 2559 ) ลดลง 0.2% จากที่คาดไว้เมื่อเดือนตุลาคม 2558 โดยการปรับตัวเลข การคาดการณล์ งเนือ่ งจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีนรวม ทั้งราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity) ในตลาดปรับลดลง อย่างต่อเนื่อง และตลาดเงินทั่วภูมิภาคมีความผันผวน อนึ่ง เศรษฐกิจสหรัฐฯ อยู่ในช่วงวัฏจักรขาขึ้น จากการบริโภค ภายในประเทศที่ขยายตัวดีต่อเนื่อง อันเป็นผลจากการ จ้างงานที่ปรับตัวดีขึ้นมาก โดยคาดว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (FED) จะยั ง คงนโยบายปรั บ ขึ้ น อั ต ราดอกเบี้ ย ภายใน ปี 2559 นี้ ซึ่ง IMF ระบุว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัว ร้อยละ 2.6 เศรษฐกิจยูโรโซนขยายตัวที่ร้อยละ 1.7 ทั้งนี้ ควรจับตาประเทศในกลุ่มยูโรโซน เช่น ฝรั่งเศส ที่ถูกโจมตี โดยผู้ก่อการร้ายทำ�ให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 128 คน เมื่อ วันศุกร์ที่ 13 พฤศจิกายน 2558 ซึ่งส่งผลให้ค่าเงินยูโร อ่อนค่าลง และปัญหาความไม่สงบนี้อาจทำ�ให้มีการปรับลด การคาดการณ์ทางเศรษฐกิจลงอีก สำ�หรับกลุ่มประเทศ เกิดใหม่และกำ�ลังพัฒนาในเอเชีย ขยายตัวร้อยละ 6.3 ส่วนจีนขยายตัวลดลงจากร้อยละร้อยละ 6.9 ในปี 2558 มาอยู่ ทีร่ อ้ ยละ 6.3 ในปี 2559 ในขณะทีอ่ นิ เดียมีอตั ราการขยายตัว เพิม่ จากร้อยละ 7.3 ในปี 2558 มาอยูท่ รี่ อ้ ยละ 7.5 ในปี 2559 สำ�หรับประเทศไทยในปี 2559 การบริหารนโยบายเศรษฐกิจ ปลายปี 2558 และปี 2559 ภาครัฐให้ความสําคัญกับการ ขับเคลื่อนโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่สําคัญของ ภาครัฐ โดยเฉพาะโครงการลงทุนขนาดใหญ่และการพัฒนา พืน้ ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดนในรูปแบบคลัสเตอร์ กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน หรือ BOI ได้จัดแบ่งปิโตรเคมีเป็น “คลัสเตอร์ อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี แ ละเคมี ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม” ประกอบด้ ว ย จั ง หวั ด ชลบุ รี แ ละระยอง โดยมีกิจการผลิตเคมีภัณฑ์หรือโพลิเมอร์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม การผลิตผลิตภัณฑ์ Specialty Polymers หรือ Specialty Chemicals และการผลิตบรรจุภัณฑ์ กระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ ซึ่งการสร้างคลัสเตอร์นี้

สามารถสนั บ สนุ น การฟื้ น ตั ว และการขยายตั ว ของการ ลงทุนภาคเอกชนให้ขยายตัวได้มากขึ้น อนึ่ง อุตสาหกรรม ปิโตรเคมียังต้องเน้นแนวโน้มที่เป็นนวัตกรรมมากขึ้น ต้อง มุง่ เน้นการสร้างแบรนดส์ นิ ค้าไทย และพัฒนาเทคโนโลยี วิจยั และพัฒนาร่วมกันกับผู้ประกอบการทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 อุตสาหกรรมปิโตรเคมียังมี ข้อจำ�กัดคือ การอ่อนค่าของสกุลเงินหลักๆ ของประเทศคูค่ า้ เช่น เงินยูโร เงินเยน และเงินหยวน ที่มีแนวโน้มอ่อนค่าลง ตามนโยบายเศรษฐกิจและการเงินของจีน ซึง่ การอ่อนค่าของ เงินเหล่านีเ้ ป็นข้อจำ�กัดต่อการขยายตัวของปริมาณการส่งออก และเป็นปัจจัยกดดันต่อการฟืน้ ตัวของราคาสินค้าในตลาดโลก

กลยุทธ์การแข่งขัน กลยุทธ์ราคา เนื่องจากผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์หรือเม็ดพลาสติกเป็นสินค้า ที่ มี ค วามเคลื่ อ นไหวของราคาค่ อ นข้ า งสู ง ตามปั จ จั ย หลายประการ โดยเฉพาะปัจจัยด้านต้นทุนวัตถุดิบตั้งแต่ น้ำ�มันดิบ แนฟทา และโมโนเมอร์ รวมถึงปัจจัยด้านอุปสงค์ และอุปทานทัง้ ตลาดในประเทศและตลาดโลก ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีนโยบายกำ�หนดราคาโดยพิจารณาตามปัจจัยดังกล่าว โดยใช้ราคาอ้างอิงจาก ICIS CFR South East Asia เป็น พื้นฐาน ประกอบกับปัจจัยภายใน อาทิ สินค้าคงคลัง และ ต้นทุนการผลิต เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ โดยเน้นการเป็นผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ�จากการที่ บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจทางด้านผลิตปิโตรเคมีแบบครบวงจร รวมถึงมีระบบสนับสนุนการผลิต เช่น คลังเก็บวัตถุดบิ ท่าเรือ น้ำ�ลึก อย่างเพียบพร้อม ทำ�ให้บริษัทฯ มีความได้เปรียบใน ด้านต้นทุน จึงสามารถแข่งขันได้ในภาวะที่ราคาผลิตภัณฑ์ ในตลาดตกต่ำ� รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

161


คุณภาพสินค้า จากการที่บริษัทฯ เป็นผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมปิโตรเคมี รายแรกของประเทศ มีประสบการณ์ในการพัฒนาและวิจัย ความต้องการสินค้าร่วมกับลูกค้าอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง เป็นระยะเวลายาวนาน รวมทั้งผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ทุกประเภทของบริษทั ฯ ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO 9001 จึงส่งผลให้บริษทั ฯ มีศกั ยภาพอย่างสูงในการสร้างความมัน่ ใจ ให้แก่ลกู ค้าในด้านคุณภาพสินค้าทีไ่ ด้มาตรฐานสากล รวมถึง การจัดหาและการพัฒนาผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกใหม่ๆ ที่ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งในประเทศ และต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ สามารถผลิตเม็ดพลาสติกทัง้ ทีเ่ ป็นเกรด Natural Color Compounds และ Composites ซึง่ เป็นเม็ดพลาสติก ผสมสีและเติมสารเสริมแรงต่างๆ ด้วยจุดเด่นของเม็ด พลาสติกดังกล่าว จึงทำ�ให้บริษัทฯ สามารถตอบสนองความ ต้องการใช้งานเฉพาะด้านของลูกค้า เช่น งานผลิตชิ้นส่วน เครื่องใช้ไฟฟ้า ชิ้นส่วนยานยนต์ เป็นต้น โดยโรงงาน Compounding และ Composites ดังกล่าวตั้งอยู่ภายใน บริเวณเดียวกันกับโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกอื่นๆ และ อยู่ภายใต้การจัดการของกลุ่มไออาร์พีซี จึงทำ�ให้มีความ สะดวกและมีความคล่องตัวในการตอบรับคำ�สั่งซื้อแบบ เฉพาะเจาะจง (Tailor Made) ของลูกค้า อีกทั้งบริษัทฯ ยังมีแผนกบริการด้านเทคนิคซึ่งสามารถให้คำ�แนะนำ�ใน การเลือกใช้เม็ดพลาสติกที่เหมาะสมก่อนการขาย และให้ คำ�ปรึกษาและร่วมแก้ไขปัญหากับลูกค้าหลังการขายอีกด้วย อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ยังคำ�นึงถึงการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย โดยกำ�หนดนโยบาย การรักษาสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของพนักงาน และชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมในทุกๆ ผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้ รับการรับรองมาตรฐาน ISO 14001 และ มอก. 18001 ในเม็ด พลาสติกทุกชนิด และโรงงานผลิตเอทิลีน เม็ดพลาสติก โพลิเอทิลีน เม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลีน และเม็ดพลาสติก โพลิสไตรีน ยังได้รบั มาตรฐานความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบ การอุตสาหกรรมต่อสังคม [Standard for Corporate Social Responsibility (CSR-DIW)] จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม

162

เปิดตัวกระเป๋าเดินทางที่ผลิตจากเม็ดพลาสติก Green ABS ครั้งแรกของโลก ภายใต้แบรนด์ “คาจิโอนี่ (CAGGIONI)”

ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ปัจจุบันกลุ่มบริษัทไออาร์พีซีมีกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติก กว่า 8 แสนตันต่อปี ประกอบด้วยเม็ดพลาสติกหลากหลาย ประเภท ได้แก่ HDPE PP EPS PS ABS และ SAN ทำ�ให้ การเสนอผลิตภัณฑ์ให้กบั ลูกค้าได้รบั ความสะดวกและยืดหยุน่ มากขึ้น เนื่องจากเม็ดพลาสติกบางประเภทสามารถทดแทน กันได้ในบางตลาด เช่น HDPE สามารถทดแทน PP ได้ ในงานฉีดเครื่องใช้ภายในครัวเรือน งานถุงสาน ผ้าใบสาน ดังนัน้ การเลือกใช้เม็ดพลาสติกขึน้ กับปัจจัยหลายประการ เช่น คุณสมบัติของเม็ดพลาสติกแต่ละประเภท ราคา และอุปทาน ในตลาด อีกทั้งการเป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติกที่หลากหลาย เป็นการเพิม่ โอกาสทางธุรกิจ โดยบริษทั ฯ และตัวแทนจำ�หน่าย ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศสามารถเสนอขายเม็ดพลาสติก ได้หลากหลาย สามารถลดต้นทุนการขายเฉลี่ยต่อหน่วย ในการทำ�ตลาดได้อีกด้วย กลยุทธ์การบริการงานขาย ในปี 2558 บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมการส่งเสริมการขายอย่าง ต่อเนือ่ งตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการร่วมออกงาน แสดงสินค้า โดยร่วมกับบริษัท บลูไล้ท์ อุตสาหกรรม จำ�กัด เปิดตัวกระเป๋าเดินทางทีผ่ ลิตจากเม็ดพลาสติก Green ABS ครั้งแรกของโลกภายใต้แบรนด์ “คาจิโอนี่ (CAGGIONI)” วางจำ�หน่ายตามห้างสรรพสินค้าชั้นนำ�ทั่วไป เม็ดพลาสติก Green ABS เป็นผลิตภัณฑ์ที่นำ�เอายาง ธรรมชาติทดแทนยางสังเคราะห์ มาผสมในเม็ดพลาสติก ABS ประมาณร้อยละ 10-40 ของปริมาณยางที่ใช้ จึงทำ� ให้มีคุณสมบัติแข็งแรง ทนทาน ทนแรงเสียดสี เหนียว และยืดหยุ่นได้มากกว่าเม็ดพลาสติกทั่วไป โดยไออาร์พีซี ถื อ เป็ น ผู้ ผ ลิ ต รายแรกของโลก ด้ ว ยนโยบายหลั ก ของ บริษัทฯ ที่มุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดพิเศษ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า และช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ร่วมกับบริษัท วันเดอร์เวิร์ล โปรดัคส์ จำ�กัด ผูผ้ ลิตและจำ�หน่ายของเล่นไม้รายใหญ่ พัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ของเล่นพลาสติกผสมไม้ โดยใช้ “POLIMAXX

เปิดตัว “TrixTrack” ผลิตภัณฑ์ของเล่นพลาสติกผสมไม้ที่ผลิตจาก “POLIMAXX Wood Plastic Composite” นวัตกรรมจากไออาร์พีซี


Wood Plastic Composite” ในการผลิต “TrixTrack” ของ เล่นฉลาด ส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์ POLIMAXX Wood Plastic Composite เป็นหนึ่งในกลุ่ม นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ของบริษัทฯ ที่คิดค้นและพัฒนาขึ้นจากความตระหนักใน คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ โดยนำ�เอาผงไม้คุณภาพมา ผสมกับพลาสติก PP PE และ SAN ในสัดส่วนร้อยละ 20 เพื่อดึงเอาจุดเด่นของพลาสติกมาผสมผสานกับความเป็น ธรรมชาติของเนือ้ ไม้ ให้มคี วามแข็งแรงทนทานไม่แตกหักง่าย ช่วยให้กระบวนการขึน้ รูปชิน้ งานง่ายขึน้ มีน้ำ�หนักเบา มีความ ยืดหยุน่ ตัวสูง และสามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่หรือ recycle ได้

การบริการด้านเทคนิค และการให้คำ�ปรึกษาด้านพัฒนา ผลิตภัณฑ์ โดยตัวแทนเหล่านี้มีเครือข่ายใกล้ชิดกับผู้ใช้ ปลายทางอย่างกว้างขวางในตลาดหลักที่มีปริมาณการใช้ เม็ดพลาสติกสูง ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย ตุรกี เวียดนาม และ ออสเตรเลีย เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังขยายตลาด ส่งออกไปยังภูมิภาคอื่น เช่น แอฟริกา ยุโรป สหรัฐอเมริกา เอเชียตะวันออกกลาง และออสเตรเลีย เป็นต้น ปัจจุบัน บริษัทฯ สามารถขายเม็ดพลาสติกไปยังประเทศต่างๆ ได้ มากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก

3. การตลาดและภาวะการแข่งขันของ ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์

ลักษณะของลูกค้า

ธุรกิจท่าเรือ

ลูกค้ากลุ่มเม็ดพลาสติกของบริษัทฯ ส่วนใหญ่เป็นตัวแทน จำ�หน่าย (Agent) โดยบริษัทฯ ไม่มีการขายสินค้าให้ลูกค้า รายใดรายหนึง่ เกินร้อยละ 30 ของยอดขาย และไม่มขี อ้ ผูกพัน ว่าจะขายให้ลูกค้ารายใดรายหนึ่งเกินกว่าร้อยละ 30 ของ ยอดขายในอนาคต ดังนั้นบริษัทฯ จึงไม่มีความเสี่ยงใน การพึ่งพาลูกค้ารายใดรายหนึ่ง

จากแนวโน้ ม เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2559 ซึ่ ง สำ�นั ก งาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คาดการณ์ว่าจะมีการขยายตัวร้อยละ 3.0-4.0 โดยมีการ ลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่หลายโครงการจากภาค รัฐเป็นปัจจัยหนึ่งในการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ กอรปกั บ มี โ รงงานอุ ต สาหกรรมเหล็ ก ขยายกำ�ลั ง ผลิ ต เพิ่มขึ้นใหม่ในพื้นที่ระยองตั้งแต่ปลายปี 2557 ถือเป็นปัจจัย สำ�คัญทีธ่ รุ กิจท่าเรือมีโอกาสเติบโตจากความต้องการในการ นำ�เข้าสินค้าผ่านท่าเรือเพิ่มสูงขึ้น

การจำ�หน่าย และช่องทางการจัดจำ�หน่าย การจำ�หน่ายในประเทศ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกเป็นวัตถุดิบพื้นฐานที่สำ�คัญของ การผลิตสินค้าอุปโภคโดยรวมของประเทศ บริษัทฯ จึงมี นโยบายเน้นการขายในประเทศ ในปี 2558 มียอดขายร้อยละ 55 ของยอดขายในประเทศ หรือปรับเพิ่มขึ้นตามอุปสงค์ ของลูกค้าภายในประเทศ เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของประเทศและผู้ประกอบการ บริษทั ฯ ขายผ่านตัวแทนจำ�หน่ายทีม่ คี วามชำ�นาญและมีความ พร้อมให้บริการจำ�นวนถึง 21 บริษทั โดยมีสญ ั ญาการแต่งตัง้ ผูแ้ ทนจำ�หน่าย และตัวแทนจำ�หน่ายส่วนใหญ่กม็ คี วามสัมพันธ์ ทางธุรกิจมาเป็นเวลานานกว่า 20 ปี จากการที่บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีครบวงจรและมีผลิตภัณฑ์ที่ หลากหลาย จึงส่งผลให้ตัวแทนจำ�หน่ายสามารถประหยัด ค่าใช้จ่ายในด้านค่าการตลาดและการบริหารจัดการ ทำ�ให้ ความสัมพันธ์ทางธุรกิจระหว่างบริษัทฯ กับตัวแทนจำ�หน่าย มีความมั่นคงยิ่งขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีการขายตรงให้ กับลูกค้าทีม่ คี วามน่าเชือ่ ถือ โดยพิจารณาถึงความพร้อมและ ความสามารถในการชำ�ระเงิน การส่งออก ในปี 2558 บริษัทฯ มียอดขายต่างประเทศของผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติกจากการขายผ่านตัวแทนการค้าในต่างประเทศ ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางธุรกิจกับบริษัทฯ เป็นระยะ เวลายาวนาน โดยกลยุทธ์ทางการตลาดของบริษัทฯ จะเน้น จุดแข็งด้านคุณภาพและความหลากหลายของผลิตภัณฑ์

บริษัทฯ มีกลยุทธ์การขยายฐานลูกค้าใหม่และสร้างรายได้ เพิ่มจากกลุ่มลูกค้าหลักในกลุ่มธุรกิจสินค้าเทกองทั่วไป เช่น เหล็ก แกรนิต ทราย เป็นต้น โดยขยายการบริการให้มลี กั ษณะ ครบวงจร (Total Service Solution) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่ธุรกิจท่าเรือ

ธุรกิจถังเก็บผลิตภัณฑ์ จากแนวโน้มการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยในปี 2559 และ แนวโน้มการขยายตัวของกลุม่ อุตสาหกรรมเคมี ถือเป็นโอกาส ที่ธุรกิจให้บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์จะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากผู้ใช้บริการถังรายใหม่ๆ และ/หรือการบริการถังเก็บใน ผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ๆ อย่างไรก็ตาม สืบเนื่องจากนโยบาย กระทรวงพลังงานที่มีการปรับลดอัตราสำ�รองน้ำ�มันเชื้อ เพลิงตามกฎหมายตั้งแต่ช่วงปลายปี 2558 ได้ส่งผลกระทบ ต่อธุรกิจการให้บริการถังเก็บผลิตภัณฑ์เพื่อสำ�รองน้ำ�มัน เชื้อเพลิงของบริษัทฯ ลดลงตั้งแต่ปลายปี 2558 คาดการณ์ ว่าในปี 2559 ปริมาณเก็บสำ�รองน้ำ�มันเชื้อเพลิงน่าจะลดลง อยู่ในระดับเดียวกับปี 2558 บริษัทฯ มีกลยุทธ์ใช้ถังเก็บผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ และมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการพัฒนาคลังน้ำ�มันระยอง คลังน้ำ�มันพระประแดง และคลังน้ำ�มันอยุธยาให้สามารถ รองรับความต้องการของลูกค้าภายนอก

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

163


4. การตลาดและภาวะการแข่งขัน ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน ตามที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้ออกแถลงการณ์ โดยแจ้งว่าหลังการประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2558 ที่ประชุมได้มีมติอนุมัติ ส่งเสริมการลงทุนรวม 17 โครงการ มูลค่ากว่า 4 หมื่น ล้านบาท นั้น เป็นการส่งสัญญาณว่าการลงทุนจะกลับมา ดีขึ้นตามลำ�ดับ โดยเฉพาะกลุ่ม Super Cluster ได้แก่ 1) ยานยนต์และชิ้นส่วน 2) เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม 3) ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม 4) ดิจิทัล 5) Food innopolis และ medical hub จากนักลงทุนต่างชาติท่ีมีแผนจะใช้ไทยเป็น ศูนย์กลางการผลิตของภูมิภาคอาเซียน ด้วยความพร้อม ในด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ประกอบกับการรวม กลุม่ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทีจ่ ะมีสว่ นช่วยสนับสนุน กิจกรรมการลงทุนในไทยและยังมีแนวโน้มการพัฒนานิคม อุตสาหกรรม ซึ่งอาจจะกระจายตัวไปยังภูมิภาคอื่นมากขึ้น ตามการประกาศจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ นอกเหนือจาก ที่ มี ศั ก ยภาพหลั ก ในภาคตะวั น ออก ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ การขยายตัวของกิจกรรมการค้าและการลงทุนที่เชื่อมโยง กับประเทศเพื่อนบ้าน ในส่วนของการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมใหม่ๆ ยังคงเพิ่ม ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมใหม่ เพื่อรองรับการขยายตัวของกิจกรรมการค้าและการลงทุนที่ คาดว่าจะเพิ่มขึ้น ด้วยแรงหนุนจากความตกลงการค้าเสรี อาเซียนที่ให้สิทธิประโยชน์แก่ประเทศสมาชิก ทั้งในด้านของ การลดภาษีสินค้านำ�เข้าและสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุน โดยในปี 2558 ได้แบ่งสิทธิประโยชน์ตามประเภทธุรกิจ ซึ่ง นอกจากจะช่วยสนับสนุนกิจกรรมการลงทุนระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียนแล้ว ยังเป็นแรงจูงใจให้นกั ลงทุนต่างชาติทไี่ ม่ได้ เป็นสมาชิกอาเซียนสนใจเข้ามาลงทุนในไทย การพัฒนาที่ดินในเขตประกอบการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ไออาร์พีซี ส่วนขยาย บริษัทฯ มีแผนที่จะพัฒนาที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการทั้งหมดในพื้นที่ที่เหลือ (สีม่วง) จำ�นวน

164

530 ไร่ ในปี 2559-2560 เพื่อรองรับโครงการของบริษัทฯ และโครงการร่วมทุนกับลูกค้า ทั้งนี้ การลงทุนในการพัฒนา จะพิจารณาลูกค้าแต่ละโครงการ เพื่อให้สอดคล้องกับ เขตประกอบการเชิงนิเวศ โดยโครงการต่างๆ ของบริษัทฯ และโครงการของนักลงทุนที่สนใจลงทุนในพื้นที่ล้วนเป็น โครงการที่ส่งเสริมอุตสาหกรรมสีเขียว การสนับสนุนกิจการของนักลงทุนในเขตประกอบการ โดย IRPC Solutions Provider จากแผนการพัฒนาที่ดิน (สีม่วง) จำ�นวน 530 ไร่ เพื่อรองรับ โครงการของบริษัทฯ และโครงการร่วมทุนกับลูกค้าดังกล่าว ข้างต้น บริษัทฯ มีธุรกิจ IRPC Solutions Provider เพื่อ สนับสนุนโครงการและกิจการของนักลงทุนทุกราย โดยการให้ บริการอย่างมืออาชีพจากผูเ้ ชีย่ วชาญในแต่ละสายงาน อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังมีความได้เปรียบจากตำ�แหน่งทีต่ งั้ ของโครงการซึง่ อยู่ภายในเขตประกอบการของบริษัทฯ เอง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งความได้เปรียบในด้านของความสะดวกสบายและความ รวดเร็วในการให้บริการ เป้าหมายในการทำ�ตลาดเพื่อสนับสนุนแผนการพัฒนา ทีด่ นิ เฟส 2 นัน้ บริษทั ฯ จะมุง่ เน้นทีก่ ารประมูลงานวิศวกรรม และการบริหารงานก่อสร้าง รวมถึงการวางระบบ IT Internet ตลอดจนการให้บริการจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้า ซึง่ ล้วนแล้ว แต่เป็นหัวใจสำ�คัญของการเริ่มต้นกิจการของนักลงทุน ทัง้ สิน้ โดยในปี 2558 มีรายได้รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 25 ล้านบาท การให้บริการระบบสาธารณูปโภค ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีการให้บริการสาธารณูปโภค ได้แก่ Electrical, Steam, Filtered Water, Demineralized water, Raw Water, Fire Fighting Water, Waste Water Treatment, Nitrogen, Instrument Air, Plant Air เพือ่ รองรับ ตอบสนอง ความต้องการของอุตสาหกรรมเป้าหมาย และสนับสนุน การประกอบธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบ โดยมีปริมาณเพียงพอ และมีคุณภาพและมาตรฐาน เช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรม ทั่วไป


รายงานผลการดำ�เนินงานปี 2558

คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ก�ำ หนดวิสยั ทัศน์ การก้าวไปสูก่ ารเป็นบริษทั ปิโตรเคมีชนั้ นำ�ของเอเชียภายในปี 2563 หรือ Leading Integrated Petrochemical Complex In Asia by 2020 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพ สร้างความแข็งแกร่งให้กับ ธุรกิจหลัก (Strengthen Core Business) มุง่ สร้างความเป็นเลิศในกระบวนการทำ�งานและการบริหารจัดการสายห่วงโซ่อปุ ทาน ให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด (Excellence) โดยตระหนักถึงความปลอดภัย อาชีวอนามัย สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม เพือ่ เตรียม ความพร้อมและยกระดับสู่มาตรฐานสากล ทั้งด้านสินค้าและบริการเพื่อรองรับความต้องการของตลาดในอนาคต สำ�หรับปี 2558 บริษัทฯ กำ�หนดทิศทางและกลยุทธ์ในการ ดำ�เนินธุรกิจโดยการปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มปี ระสิทธิภาพ สูงสุดเพือ่ เพิม่ โอกาสและสร้างกำ�ไรส่วนเพิม่ การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ การบริหารจัดการท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์อย่าง เหมาะสม การพัฒนาระบบสารสนเทศในยุคโลกาภิวัตน์ การ จัดหาและพัฒนาเครื่องมือวิเคราะห์ที่ทันสมัยมาใช้ในการ วางแผนการปฏิบัติงาน การวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม มุง่ สร้างความแข็งแกร่งในผลิตภัณฑ์สายการผลิตโพลิโพรพิลนี การบริหารจัดการและพัฒนาที่ดินอย่างเหมาะสมเพื่อสร้าง มูลค่าเพิ่ม รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร มุ่งเน้นให้ ระดับปฏิบตั กิ ารต้องมีความรู้ ความชำ�นาญในงานทีร่ บั ผิดชอบ และระดับผู้บริหารมุ่งสร้างสมรรถนะด้านการดำ�เนินธุรกิจ และความเป็นผู้นำ� ทั้งนี้ จำ�เป็นต้องสร้างความเข้าใจใน เป้าหมายขององค์กรและปลูกฝังค่านิยม i SPIRIT เพื่อให้ ทุกคนตระหนักถึงความเป็นเจ้าของและร่วมกันนำ�พาบริษทั ฯ ให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยคำ�นึงถึงการสร้างความสมดุล ระหว่างการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม

รวมทั้งการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการบริหารความเสี่ยง ซึ่งจะนำ�ไปสู่การเป็นบรรษัทภิบาลที่เติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป สรุปการดำ�เนินงานในด้านต่างๆ ทีส่ �ำ คัญประจำ�ปี 2558 ดังนี้

1. ด้านเศรษฐกิจ บริษทั ฯ มุง่ เน้นสร้างความแข็งแกร่งให้กบั ธุรกิจหลัก (Strengthen Core Business) และปรับเปลีย่ นกลยุทธ์เพือ่ ให้ด�ำ เนินธุรกิจ และสร้างผลกำ�ไร ภายใต้สภาวะการแข่งขันในโลกธุรกิจที่ทวี ความรุนแรงจากความกดดันของปัจจัยภายนอก เช่น ผลิตภัณฑ์ มวลรวมของโลก (GDP) ในปี 2558 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 3.1 ลดลงจาก ประมาณการร้อยละ 3.8 แสดงถึงการชะลอตัวทางเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะประเทศจีน ซึง่ เป็นตลาดสำ�คัญทางเศรษฐกิจ การ ลดลงของราคาน้ำ�มันดิบดูไบต่ำ�สุดในรอบ 10 ปี ที่ระดับ 31 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล จากการทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา เพิ่มการผลิต Shale Oil ความขัดแย้งกันของกลุ่ม OPEC และภัยธรรมชาติจากภาวะโลกร้อน ล้วนนำ�มาซึ่งการขาด รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

165


มุ่งสู่ความเป็นผู้นำ�ทางธุรกิจ

1.1.2 การขยายกำ�ลังการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการขยายกำ�ลังการผลิตในหน่วยผลิต ได้แก่ หน่วย ปรับปรุงคุณภาพแนฟทา (NHTU) เพื่อลดปริมาณกำ�มะถัน ในผลิตภัณฑ์แนฟทา หน่วยผลิตไอโซเมอร์ (ISOM) เพื่อ เพิ่มค่าอ๊อกเทนในแก๊สโซลีน และหน่วยผลิตอะโรเมติกส์ บีทีเอ็กซ์ (BTX) เพื่อรองรับผลิตภัณฑ์แนฟทาหนัก (HCN) จากโครงการ UHV

เพื่อสร้างผลกำ�ไรในระยะยาว แก่องค์กร

1.1.3 การเพิ่มเสถียรภาพทางการผลิต บริษัทฯ ได้จัดตั้ง คณะทำ�งาน Asset Integrity Management Committee (AIMC) เพื่อพิจารณาปรับปรุงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากการ เดินเครื่องจักรในระบบปฏิบัติการ รวมถึงควบคุม ติดตาม และรายงานผลการดำ�เนินงาน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าโรงงาน มีความพร้อมและสามารถรองรับการดำ�เนินงานได้อย่าง ต่อเนื่อง

บริษัทฯ มีเป้าหมาย

ด้วยการสร้างผลตอบแทนของเงินลงทุน ที่ร้อยละ 14 ให้ ได้ภายในปี 2563 ผ่านการดำ�เนินงานโครงการเชิงกลยุทธ์ ที่สำ�คัญ ได้แก่ DELTA, EVEREST, UHV และโครงการเพิ่มกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลีน

สมดุลของอุปสงค์อุปทานของตลาดและกรอบกระบวนทัศน์ ที่เปลี่ยนแปลงไป (Paradigm Shift) สรุปการดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจทีส่ �ำ คัญประจำ�ปี 2558 ดังนี้

1.1 การดำ�เนินงานการผลิต บริษัทฯ มีเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ รักษาระดับต้นทุนให้สามารถแข่งขันได้ ด้วยกระบวนการผลิต ทีต่ อ่ เนือ่ ง มีเสถียรภาพ และสามารถลดระยะเวลาทีใ่ ช้ในการ ซ่อมบำ�รุง การบริหารการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ การ วางแผนการผลิตที่มีความยืดหยุ่นตอบสนองความต้องการ ของตลาด และปลูกฝังวัฒนธรรมความปลอดภัยซึง่ เป็นปัจจัย ทีส่ �ำ คัญของการปฏิบตั งิ านให้กบั พนักงานทุกคนอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2558 บริษัทฯ สามารถเดินเครื่องหน่วยปรับปรุง คุณภาพน้ำ�มันเตา หรือ Vacuum Gas Oil Hydro Treating Unit (VGOHT) ได้ตามแผนตั้งแต่วันที่ 12 เมษายน 2558 ทำ�ให้สามารถนำ�น้ำ�มันดิบเข้าสู่กระบวนการกลั่นทั้งสิ้น 67 ล้านบาร์เรล คิดเป็นระดับการกลั่นเฉลี่ย 183,000 บาร์เรล ต่อวัน คิดเป็นอัตราการผลิตร้อยละ 85 สูงขึ้นกว่าปี 2557 ที่ระดับการกลั่นเฉลี่ย 172,000 บาร์เรลต่อวัน คิดเป็นอัตรา การผลิตร้อยละ 80 สรุปการดำ�เนินงานการผลิตที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.1.1 การปรับปรุงกระบวนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ เครือ่ งจักรอุปกรณ์ของกลุม่ โรงงาน ทัง้ หมดรวม 94 โครงการ เช่น โครงการ Advances Process Control เพื่อให้การ ควบคุมกระบวนการผลิตที่แม่นยำ� เที่ยงตรง ได้ผลิตภัณฑ์มี คุณภาพในสัดส่วนทีต่ อ้ งการ รวมทัง้ ช่วยลดการใช้พลังงานใน กระบวนการผลิต ซึง่ สามารถสร้างผลกำ�ไรในระยะยาวประมาณ 500 ล้านบาทต่อปี โครงการ Alarm Management เพื่อเฝ้า ระวังและเพิม่ ความเชือ่ มัน่ ด้านเสถียรภาพและความปลอดภัย ในโรงงาน เป็นต้น

166

1.1.4 การบริหารจัดการพลังงาน บริษัทฯ สามารถบริหาร จัดการพลังงานอย่างเป็นระบบ มีการควบคุมและติดตาม ผลอย่างมีประสิทธิภาพ ทำ�ให้สามารถควบคุมสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนที่สูญเสียจากกระบวนการผลิตและลดการ ปล่อยมลภาวะสู่บรรยากาศ โดยจะเห็นได้จากค่าดัชนีการ ใช้พลังงาน หรือ Energy Intensity Index (EII) ลดลงได้ ตามเป้าหมายที่ร้อยละ 97.07 คิดเป็นมูลค่าที่ประหยัด ประมาณ 245 ล้านบาท จากการใช้พลังงานทั้งปีที่ 49 ล้าน กิกะจูล มูลค่า 13,000 ล้านบาท 1.1.5 ความปลอดภัยและสุขอนามัย บริษัทฯ ได้จัดให้มีการ วางระบบและบริหารจัดการงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อมโรงงานให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ (Process Safety Management) จัดทำ�คู่มือความปลอดภัยให้เป็นไป ตามแนวทางการบริหารการเปลีย่ นแปลง (Management of Change: MoC) การให้ความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบข้อบังคับ และสร้างความตระหนักด้านความ ปลอดภัยให้กบั พนักงานทุกระดับ ตลอดจนผูร้ บั เหมาทีเ่ ข้ามา ปฏิบัติงานในเขตโรงงาน (Safety Awareness Program) เป็นผลให้สามารถรักษาสถิตดิ า้ นความปลอดภัยได้ในระดับที่ ดีเยีย่ ม โดยอัตราการเกิดอุบตั เิ หตุถงึ ขัน้ รักษาทางการแพทย์ ต่อ 1 ล้านชั่วโมงทำ�งาน (Total Reportable Injury Rate: TRIR) สามารถบรรลุได้ตามเป้าหมายที่ 0.46 1.1.6 การประสานความร่วมมือกับบริษทั ในกลุม่ ปตท. โดย เข้าร่วมแลกเปลี่ยนและเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติที่ดีเยี่ยม (Best Practice Sharing) โดยมีเป้าหมายเพื่อมุ่งสู่การเป็น Top Quartile Performance ซึง่ ผลการดำ�เนินงานของบริษทั ในกลุม่ ปตท. บรรลุผลสำ�เร็จตามตัวชีว้ ดั ทางด้านปฏิบตั กิ าร โดยได้ผลการดำ�เนินงานมากกว่าร้อยละ 80 ทุกบริษัท


โครงการเพิ่มมูลค่า เพื่อผลิตภัณฑ์สะอาด (UHV)

ปรับปรุงคุณภาพน้�ำ มันหนักที่มีมูลค่าต่ำ� ให้เป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง

สามารถผลิตโพรพิลีน เพิ่มขึ้น 3.2 แสนตันต่อปี

ช่วยสร้างศักยภาพสายผลิตโพลิโพรพิลีน ของบริษัทฯ ให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น

1.2 การดำ�เนินงานโครงการเชิงกลยุทธ์ที่ส�ำ คัญ เพื่อการเติบโตทางธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายการเติบโตอย่างก้าวกระโดด เพื่อความ เป็นผูน้ �ำ ทางธุรกิจด้วย Return on Invested Capital (ROIC) ทีร่ อ้ ยละ 14 ให้ได้ภายในปี 2563 บริษทั ฯ จึงดำ�เนินการสร้าง ความร่วมมือและลงทุนในโครงการใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับ กลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง กฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ทาง กฎหมาย และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยกำ�หนดให้ อัตราผลตอบแทนขัน้ ต่�ำ ในการตัดสินใจลงทุน (Hurdle Rate) ทีร่ อ้ ยละ 15 สรุปการดำ�เนินงานโครงการเชิงกลยุทธ์ที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.2.1 โครงการ DELTA โครงการมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการ ดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ใน 4 ด้านหลัก เพือ่ มุง่ สูก่ ารปฏิบตั กิ าร ที่เป็นเลิศ โดยในปี 2558 สามารถสร้างผลประโยชน์ได้ ทั้งสิ้น 4,565 ล้านบาท มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ Operational Excellence การปฏิบตั กิ ารทีเ่ ป็นเลิศด้านการ ผลิต โดยการนำ�ซอฟท์แวร์ที่ทันสมัยมาช่วยบริหารจัดการ กระบวนการผลิตในสายห่วงโซ่อุปทาน เพื่อพัฒนาระบบ การผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและต้นทุนการผลิตโดย รวมลดต่�ำ ลง เช่น การเลือกชนิดและปริมาณน้�ำ มันดิบเข้ามา กลั่นเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและได้กำ�ไรสูงสุด การ ใช้เชื้อเพลิงในการผลิตอย่างเพียงพอ เหมาะสม เพื่อลด การสูญเสียไฮโดรคาร์บอนจากกระบวนการผลิต รวมถึง การวางแผนบริหารจัดการการหยุดเดินเครื่องจักรโดยไม่ได้ วางแผนให้เกิดขึ้นน้อยครั้งที่สุด เป็นต้น โดยในปี 2558 สามารถสร้างผลประโยชนได้ทั้งสิ้น 1,943 ล้านบาท

Commercial Excellence การปฏิบัติการที่เป็นเลิศด้าน การตลาด โดยการปรับกลยุทธ์การขาย เพิ่มคุณภาพสินค้า และบริการ รวมทัง้ การใช้ซอฟท์แวร์ทที่ นั สมัยมาวิเคราะห์ผล ตอบแทนการขายสินค้าแต่ละชนิดให้กบั ลูกค้าแต่ละราย แล้ว นำ�มาเปรียบเทียบและจัดลำ�ดับความสำ�คัญ ทำ�ให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพบนพื้นฐานข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ� และสร้างผลกำ�ไรสูงสุดได้ โดยในปี 2558 สามารถ สร้างผลประโยชน์ได้ทั้งสิ้น 2,244 ล้านบาท Procurement Excellence การปฎิบตั กิ ารทีเ่ ป็นเลิศด้านการ จัดซือ้ จัดจ้าง โดยการบริหารจัดการชิน้ ส่วนอุปกรณ์และสินค้า คงคลังอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบ สารเคมี และอุปกรณ์ต่างๆ ในราคาที่ต�่ำ ลง เช่น การขยาย เครือข่ายการติดต่อผู้ขายในประเทศไปสู่ผู้ขายจากทั่วทุกมุม โลก เพือ่ เพิม่ ทางเลือกทัง้ ทางด้านคุณภาพและราคา ส่งผลให้ บริษทั ฯ สามารถลดค่าใช้จา่ ยลงได้ 378 ล้านบาท ในปี 2558 HR Excellence การปฏิบัติการที่เป็นเลิศด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล โดยการพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารจัดการ งานทรัพยากรบุคคลที่ทันสมัยและครบถ้วนตามมาตรฐาน สากล เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้ สามารถแข่งขันได้ โดยกระตุน้ ให้ทกุ คนตระหนักในการมีสว่ น ร่วมรับผิดชอบต่อผลกำ�ไรของบริษทั ฯ รวมทัง้ ปลูกฝังแนวคิด ในการทำ�งานภายใต้ค่านิยมองค์กรเดียวกัน คือ “i SPIRIT” ประกอบด้วย “Individual Ownership” เราคือบริษัท บริษัท คือเรา, “Synergy” สร้างพลังร่วมอันยิง่ ใหญ่, “Performance Excellence” ร่วมมุง่ สูค่ วามเป็นเลิศ, “Innovation” ร่วมสร้าง นวัตกรรม, “Responsibility for Society” ร่วมรับผิดชอบ ต่อสังคม, “Integrity & Ethics” ร่วมสร้างพลังความดี และ “Trust & Respect” ร่วมสร้างความเชื่อมั่น ส่งผลให้เกิด พลังร่วมในการบรรลุเป้าหมายขององค์กร รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

167


1.2.2 โครงการเพิ่มมูลค่าเพื่อผลิตภัณฑ์สะอาด (Upstream Project for Hygiene and Value Added Products: UHV) โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยใช้งบประมาณลงทุน 1,121 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ ปรับปรุงคุณภาพน้�ำ มันหนักทีม่ มี ลู ค่า ต่�ำ ให้เป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ โพรพิลีน (Propylene) และแนฟทาหนัก (Heavy Naphtha) ผลิตภัณฑ์รอง ได้แก่ เอทิลีน (Ethylene) บิวเทน (Butanes) โพรเพน (Propane) ส่วนประกอบน้�ำ มันดีเซล (LCO) แนฟทาเบา (Light Naphtha) ไฮโดรเจน (Hydrogen) กำ�มะถัน (Sulfur) ก๊าซเชื้อเพลิง (Fuel Gas) และน้�ำ มันข้น (CLO) โครงการ ใช้เวลาก่อสร้างประมาณ 3 ปี ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเร่งรัด แผนการทดสอบและเดินเครื่องจักร รวมทั้งการเตรียมความ พร้อมสำ�หรับการป้อนวัตถุดิบอย่างปลอดภัย โดยคาดว่าจะ เริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ได้ภายในไตรมาส 1 ของปี 2559 ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์โพรพิลีนที่เพิ่มขึ้น 320,000 ตันต่อปี จะใช้ เป็นวัตถุดบิ สำ�หรับโครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลนี เพื่อเสริมสร้างศักยภาพสายผลิตโพลิโพรพิลีนอีกด้วย 1.2.3 โครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลีน (Fully Integrated Polypropylene) โครงการมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปรับปรุงและขยายกำ�ลังการผลิต พลาสติกโพลิโพรพิลีนจำ�นวน 300,000 ตันต่อปี โดยใช้ งบประมาณการลงทุน 236 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพือ่ เพิม่ ขีด ความสามารถในการแข่งขันด้วยการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ สนองตอบความต้องการของลูกค้าปัจจุบนั และรองรับการเติบโต ของตลาดในประเทศและกลุม่ AEC โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม ทีม่ กี ารเติบโตสูงได้แก่ รถยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและบรรจุภณ ั ฑ์ อาหาร ซึง่ โครงการประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ดังนี้

168

เพื่อขยายกำ�ลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 160,000 ตันต่อปี ส่งผลให้มีกำ�ลังการผลิตรวมเป็น 635,000 ตันต่อปี • โครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลนี คอมพาวด์ และโพลิ โ พรพิ ลี น เกรดพิ เ ศษ (PP Compounding: PPC) กำ�ลังการผลิต 140,000 ตันต่อปี โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตคอมพาวด์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง เพียงขั้นตอนเดียวจากบริษัท Japan Polypropylene Corporation (JPP) ซึ่งเป็นผู้ผลิตโพรพิลีนคอมพาวด์ ที่มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับ 1 ของประเทศญี่ปุ่น ที่ผลิตให้กับค่ายรถยนต์ชั้นนำ� เช่น โตโยต้า มิตซูบิชิ ฮอนด้า และนิสสัน เป็นต้น โดยกระบวนการผลิต นีจ้ ะช่วยลดขัน้ ตอนการผลิตลง ซึง่ สามารถตอบสนองกับ กลยุทธ์ของผูผ้ ลิตรถยนต์ทมี่ เี ป้าหมายลดต้นทุนในทุกปี ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ร่วมลงนามสัญญาว่าจ้างก่อสร้าง ทั้ง 2 โครงการ กับ Sinopec Engineering Group (SEG) และ Sinopec Engineering Incorporation (SEI) ปัจจุบัน อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเริ่มดำ�เนินงานก่อสร้างในเดือน พฤษภาคม 2558 คาดว่าจะแล้วเสร็จและสามารถเดินเครื่อง เชิงพาณิชย์ได้ภายในไตรมาสที่ 3 ของปี 2560 ซึ่งโครงการ ได้รบั สิทธิประโยชน์พเิ ศษด้านภาษีจากคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุนอีกด้วย

• โครงการปรับปรุงสายการผลิตโพลิโพรพิลนี (PP Expansion: PPE) โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตของบริษัท Novolen จากที่ปัจจุบันมีกำ�ลังการผลิตอยู่ 475,000 ตันต่อปี โดยจะลงทุนติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์เพิ่มเติม

1.2.4 โครงการร่วมลงทุนระหว่างบริษัท IRPC Polyol จำ�กัด และบริษัท PCC Rokita SA โครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ โพลิยรู เี ทน โดยเน้นตลาด AEC และประเทศจีนเป็นหลัก ทัง้ นี้ บริษัท PCC Rokita SA เป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญและมี เทคโนโลยีการผลิตผลิตภัณฑ์และวัตถุดบิ หลักของโพลิยรู เิ ทน ในประเทศโปแลนด์ ตลอดจนมีเครือข่ายตัวแทนจำ�หน่าย สินค้าอย่างกว้างขวางในหลากหลายประเทศ โดยโครงการ ได้ ดำ �เนิ น การศึ ก ษาความเหมาะสมของการร่ ว มทุ น ซึ่ ง คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในไตรมาสที่ 1 ของปี 2559

โครงการปรับปรุงสายการผลิตโพลิโพรพิลีน (PPE) เพื่อขยายกำ�ลังการผลิต โพลิโพรพิลีนเพิ่มขึ้นเป็น 635,000 ตันต่อปี

โครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพลิโพรพิลีนคอมพาวด์ และโพลิโพรพิลีนเกรด พิเศษ (PPC) ด้วยกำ�ลังการผลิต 140,000 ตันต่อปี


บริษัทฯ ดำ�เนินโครงการ EVEREST ยุทธศาสตร์สำ�คัญในการยกระดับศักยภาพ ขององค์กร เพื่อสร้างผลประโยชน์สูงสุดต่อ องค์กร พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสีย

1.2.5 โครงการ EVEREST โครงการมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ วิ เ คราะห์ ห าแนวทางเพิ่ ม ประสิทธิภาพ การวางแผน และบริหารจัดการทั่วทั้งองค์กร ซึ่งต่อยอดมาจากโครงการ DELTA เป็นการดำ�เนินการร่วม กับที่ปรึกษาจากบริษัทชั้นนำ�ระดับโลกซึ่งจะช่วยสนับสนุน และผลักดันให้บริษัทฯ มีแผนงานสร้างผลประโยชน์ส่วน เพิม่ (Incremental Margin) และแผนงานเพื่อพัฒนาสุขภาพ องค์กร (Organizational Health) เพื่อให้มั่นใจว่าองค์กร จะสามารถรักษาระดับขีดความสามารถในการแข่งขันได้ อย่างยัง่ ยืน โดยโครงการมีระยะเวลาดำ�เนินการทัง้ สิน้ 20-24 เดือน และกำ�หนดให้ใช้งบลงทุนโครงการรวมไม่เกินร้อยละ 10 ของผลตอบแทนรวมทัง้ โครงการ ซึง่ โครงการลงทุนต่างๆ ต้องมีระยะเวลาคืนทุน (Pay Back) ไม่เกิน 2 ปี 1.3 การดำ�เนินงานทางธุรกิจ บริษัทฯ มีเป้าหมายในการสร้างการเติบโตของกำ�ไร โดย กำ�หนดกำ�ไรก่อนหักค่าเสือ่ มราคา ภาษี และดอกเบีย้ (EBITDA) ให้เติบโตในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 10 จากการดำ�เนินงานของ 4 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจปิโตรเลียม ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจ ท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ และธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สนิ โดยผลการดำ�เนินงานในปี 2558 บริษัทฯ มี EBITDA ที่ 17,033 ล้านบาท สูงสุดในรอบ 10 ปี เมือ่ พิจารณากำ�ไรขัน้ ต้น จากการผลิตตามราคาตลาด (Market Gross Integrated Margin: GIM) พบว่าอยูท่ ี่ 32,156 ล้านบาท เทียบกับปี 2557 ที่ 15,788 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 16,368 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 104 เนื่องด้วยส่วนต่างราคาผลิตภัณฑ์เมื่อเทียบกับ ราคาน้ำ�มันดิบดูไบที่มากขึ้นจากการที่ราคาน้ำ�มันดิบและ ค่าการใช้พลังงานเชือ้ เพลิงลดลง รวมทัง้ การดำ�เนินโครงการ เพิ่มประสิทธิภาพต่างๆ ของบริษัทฯ

สรุปการดำ�เนินงานทางธุรกิจที่สำ�คัญ ดังนี้ 1.3.1 ธุรกิจปิโตรเลียม

บริษทั ฯ มีเป้าหมายมุง่ เน้นการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ น้�ำ มันให้ได้มาตรฐานตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์ก�ำ หนด ดำ�เนินการ ขายผ่านช่องทางทีก่ �ำ ไรสูงสุดโดยกำ�หนดราคาน้�ำ มันให้เหมาะ สม สอดคล้องกับสถานการณ์ของตลาด ปรับระดับราคาที่ สามารถแข่งขันได้เพื่อรักษาส่วนแบ่งตลาดภายในประเทศ ให้สมดุลกับการส่งออกที่ร้อยละ 50 เพิ่มจำ�นวนลูกค้าและ ปริมาณการจำ�หน่ายโดยรักษาระดับค่าการตลาดให้อยู่ใน ระดับที่เหมาะสม และการร่วมมือกับบริษัทในเครือเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดในการวางกลยุทธ์การขาย อีกทั้งพัฒนา เครื่องมือในการวิเคราะห์ราคา ภายใต้ชื่อ Athena Pricing Tool ซึ่งนำ�ไปสู่การพัฒนากลยุทธ์การขายแบบใหม่ ช่วย เพิ่มผลกำ�ไรจากการขายได้ถึงกว่า 1,000 ล้านบาท หรือ 30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เป็นผลให้ในปี 2558 บริษัทฯ มีกำ�ไร ขัน้ ต้นจากการผลิตตามราคาตลาดจำ�นวน 14,246 ล้านบาท สูงขึน้ 8,117 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับปี 2557 ที่ 6,129 ล้านบาท มีสดั ส่วนรายได้ภายในประเทศร้อยละ 62 และจากการส่งออก ร้อยละ 38 ซึ่งบรรลุเป้าหมายในการสร้างฐานลูกค้าภายใน ประเทศให้แข็งแกร่ง สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจปิโตรเลียมที่สำ�คัญ ดังนี้ • ร่วมลงนามสัญญาซื้อ/ขายกับ Darby Trading Inc. ซึ่งเป็นการต่อสัญญาระยะยาว มูลค่าสัญญาประมาณ 28.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อขยายตลาด Slack Wax ไปสู่ประเทศสหรัฐอเมริกาและยุโรป • ร่วมลงนามในสัญญาซือ้ /ขายระยะยาว Asphalt Sales Agreement 2017-2021 กับบริษทั Horizon Petroleum Limited เพือ่ ต่อยอดธุรกิจยางมะตอยทีม่ รี ว่ มกันมากว่า สิบปี สร้างโอกาสทางการตลาดใหม่ๆ และขยายฐานตลาด ลูกค้าเพือ่ รองรับความต้องการทีห่ ลากหลายของตลาด รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

169


การดำ�เนินงานของ 4 ธุรกิจหลัก ธุรกิจปิโตรเลียม ธุรกิจปิโตรเคมี ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ และธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน

ผลการดำ�เนินงาน ในปี 2558 บริษัทฯ มี EBITDA ที่ 17,033 ล้านบาท สูงสุดใน

รอบ 10 ปี

• การประสานความสัมพันธ์และให้การต้อนรับตัวแทน จาก Lao State Fuel Company ซึ่งเป็นลูกค้าส่งออก น้ำ�มันทางรถยนต์ไป สปป.ลาว ในการเข้าเยี่ยมชมโรง กลั่นน้ำ�มัน ไออาร์พีซี • การพัฒนาคุณภาพการบริการ โดยมีคลังน้�ำ มันจำ�นวน 5 แห่ง เพื่อให้บริการลูกค้าทั่วทุกภูมิภาค และเพิ่ม บริการพิเศษสำ�หรับคลังระยองซึ่งจะเปิดให้บริการ ตลอด 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ได้เพิ่มจุดจำ�หน่ายน้ำ�มัน ที่คลังแม่กลอง เพื่อรองรับลูกค้าในเขตภาคตะวันตก และภาคใต้ตอนบน • การบริการขนส่งน้�ำ มันทางรถ ทางเรือ และท่าเทียบเรือ เพื่อจัดส่งให้ลูกค้าทั่วประเทศ • การบริการการขาย โดยจัดให้มบี คุ ลากรทีเ่ ป็นผูแ้ ทนขาย เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานขาย รวมถึงแผนกบริการงานขาย ไว้บริการลูกค้า และห้องออกตัว๋ ทีค่ อยรับการสัง่ ซือ้ น้�ำ มัน จากลูกค้าโดยผ่านระบบ SAP ซึง่ เป็นระบบการจัดการ ฐานข้อมูลให้เชือ่ มโยงกันและสามารถแสดงข้อมูลแบบ Online และ Real Time ทีม่ คี วามถูกต้อง แม่นยำ� เพือ่ ใช้เป็นฐานข้อมูลในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และบริหาร งานสำ�หรับผูบ้ ริหารและผูป้ ฏิบตั งิ านทุกระดับ อีกทัง้ การ พัฒนาระบบ IRPC Oil On Net (iRON) เป็นระบบบริหาร การจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียมทางอิเล็กทรอนิกส์ เพือ่ ตอบสนองความต้องการในการทำ�ธุรกรรมของลูกค้า และเพิ่มประสิทธิภาพในการดำ�เนินธุรกิจ • การตรวจสอบคุณภาพ จัดให้มีเจ้าหน้าที่เทคนิคเป็น ผูใ้ ห้ความรูแ้ ละแก้ไขปัญหา รวมทัง้ ให้บริการตรวจเช็ค คุณภาพตามสถานีบริการ คลังน้ำ�มัน เพื่อสร้างความ มั่นใจด้านคุณภาพให้กับลูกค้า

170

1.3.2 ธุรกิจปิโตรเคมี บริษัทฯ มีเป้าหมายในการสร้างผลกำ�ไรส่วนเพิ่ม จึงมุ่งเน้น การส่งเสริมและและสนับสนุนงานวิจัยพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษ กำ�หนดสัดส่วนการขาย ผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษที่ร้อยละ 60 ภายในปี 2563 โดยในปี 2558 ธุรกิจปิโตรเคมีมีกำ�ไรขั้นต้นจากการผลิตตามราคา ตลาดจำ�นวน 15,420 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8,197 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2557 ที่ 7,223 ล้านบาท เป็นสัดส่วนรายได้ ภายในประเทศร้อยละ 58 และรายได้จากการส่งออกร้อยละ 42 นอกจากนี้การขายผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษในปี 2558 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 40 จากร้อยละ 35 ในปี 2557 โดยผ่าน การดำ�เนินกลยุทธ์ที่สำ�คัญ ดังนี้ กลยุทธ์ดา้ นราคา โดยพิจารณากำ�หนดราคาจากปัจจัยพืน้ ฐาน ต่างๆ ทีม่ ผี ลกระทบ อาทิ ต้นทุนวัตถุดบิ อุปสงค์อปุ ทานของ ตลาดในประเทศและตลาดโลก ปริมาณสินค้าคงคลัง มุง่ เน้น การเป็นผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ�จากการดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมี อย่างครบวงจรซึ่งมีระบบสนับสนุนการผลิตอย่างครบครัน ทำ�ให้มีความได้เปรียบทางด้านต้นทุน สามารถแข่งขันได้ ในภาวะที่ราคาผลิตภัณฑ์ในตลาดตกต่ำ� กลยุทธ์คุณภาพผลิตภัณฑ์ ด้วยประสบการณ์ในการพัฒนา สินค้าร่วมกับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง จึงทำ�ให้บริษัทฯ สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทัง้ ภายในและต่างประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ทุ ก ประเภทของบริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐาน ISO 9001 ISO 14001 และ มอก. 18001 ซึ่งสะท้อนถึง นโยบายการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความ ปลอดภัยของพนักงานและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม กลยุทธ์ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ด้วยกำ�ลังการ ผลิตเม็ดพลาสติกหลากหลายประเภทกว่า 800,000 ตัน ต่อปี จึงสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ เป็นอย่างดี ช่วยเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ และลดต้นทุนการขาย เฉลี่ยต่อหน่วยในการทำ�ตลาดได้อีกด้วย


กลยุทธ์บริหารงานขาย บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมงาน ขายอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และร่วมงาน แสดงสินค้าต่างๆ สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจปิโตรเคมีที่สำ�คัญ ดังนี้ • ร่วมลงนามในสัญญาร่วมทุนระหว่างบริษัท ไออาร์พีซี โพลีออล จำ�กัด กับบริษัท PCC Rokita SA ประเทศ โปแลนด์ เพือ่ ดำ�เนินการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์โพลิยรู เิ ทน โดยเน้นตลาด AEC และประเทศจีนเป็นหลัก • ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือทางการผลิตและสัญญา ทางการค้าซือ้ /ขายผลิตภัณฑ์ ABS Powder และ Resins กับ Asahi Kasei Chemicals Corporation (AKCC) • ร่วมลงนามในสัญญาการขายโพรพิลีนจากโครงการ UHV กับ Marubeni Corporation ระยะเวลาของ สัญญา 1 ปี ปริมาณ 156,000 ตันต่อปี มูลค่าสัญญา 4,316 ล้านบาท • ร่วมลงนามในสัญญาร่วมทุนบริษทั ไออาร์พซี ี เอ แอนด์ แอล จำ�กัด โดยบริษัท ไทย เอบีเอส จำ�กัด กับบริษัท Nippon A&L Inc. และ Sumi-Thai International Limited เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในกลุ่ม ผลิตภัณฑ์สไตรีนิคส์คอมพาวด์ มุง่ เน้นการขยายตลาด อุตสาหกรรมยานยนต์ในกลุม่ AEC • ร่วมแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ในงาน CHINAPLAS 2015 ร่วมกับกลุ่ม ปตท. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์การ เป็นผูน้ �ำ ในธุรกิจปิโตรเคมีทมี่ ศี กั ยภาพ ขยายฐานลูกค้า และส่งเสริมการส่งออกผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ เมื่อวันที่ 20-23 พฤษภาคม 2558 ณ เมืองกวางโจว ประเทศจีน 1.3.3 ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ มีเป้าหมายปรับปรุงคุณภาพถังเก็บผลิตภัณฑ์และ การบริการท่าเรืออย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ที่หลากหลายของลูกค้า มุ่งเน้นการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ ได้มาตรฐานสากล มีความปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยในปี 2558 ธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์มีรายได้ 732 ล้านบาท สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจท่าเรือและถังเก็บผลิตภัณฑ์ที่ สำ�คัญ ดังนี้ • ร่วมลงนามสัญญาให้บริการถังเก็บน้ำ�มันดีเซลเกรด พรีเมี่ยมกับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) • การขยายท่าเรือปิโตรเคมีและปิโตรเลียมเหลว Wharf 3 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้สามารถรองรับการขนถ่ายสินค้า ได้มากขึ้น • การมอบถังน้ำ�มันเชื้อเพลิงขนาดความจุ 200 ลิตร เพือ่ ใส่น�้ำ มันดีเซล 20 ถัง และถังใส่น�้ำ มันเบนซิน 10 ถัง ให้กับกรมทหารราบที่ 112 ค่ายสมเด็จพระนั่งเกล้า

จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อทดแทนถังน้ำ�มันเก่าที่หมด อายุการใช้งาน • ร่วมแสดงสินค้าในงาน “TILOG Logistix 2015 ASEAN+6 Logistic Connectivity” ซึง่ เป็นงานแสดง การให้บริการด้านโลจิสติกส์ เทคโนโลยี และโซลูชั่น ครบวงจร จัดโดยกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ • ร่วมฝึกซ้อม Rayong Oil Spill Exercise 2015 กับ ศรชล.เขต 1 กองทัพเรือ และ 4 บริษัท ได้แก่ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จํากัด บริษัท ไทยแท้งค์ เทอร์มินัล จำ�กัด และบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นการซ้อมแผนฉุกเฉินกำ�จัดคราบน้�ำ มัน ในทะเล เพือ่ เตรียมความพร้อมของบุคลากรและอุปกรณ์ สำ�หรับเหตุฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพและควบคุม ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุมชนให้เกิดขึน้ น้อยทีส่ ดุ 1.3.4 ธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สิน บริษัทฯ มีเป้าหมายบริหารจัดการ ศึกษา และพัฒนาที่ดิน เชิงพาณิชย์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับทรัพย์สิน รวมทั้ง ดำ � เนิ น งานรั ง วั ด สอบเขต โอนกรรมสิ ท ธิ์ และจั ด สรร สาธารณูปโภคให้กับลูกค้าในเขตประกอบการฯ สรุปการดำ�เนินงานของธุรกิจบริหารจัดการทรัพย์สนิ ทีส่ �ำ คัญ ดังนี้ • การขายทีด่ นิ ทีเ่ ป็นกรรมสิทธิข์ องบริษทั ฯ คิดเป็นรายได้ 5 ล้านบาท ได้แก่ บ้านและทีด่ นิ ตำ�บลตะพง อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง จำ�นวน 1 หลัง และบ้านแฝดซิตี้ปาร์ค ตำ�บลเชิงเนิน อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง จำ�นวน 4 หลัง • การขายทีด่ นิ ทีเ่ ป็นกรรมสิทธิข์ องบริษทั น้�ำ มัน ไออาร์พซี ี จำ�กัด คิดเป็นรายได้ 61 ล้านบาท ได้แก่ ที่ดินเปล่า อำ�เภอแม่ทา จังหวัดลำ�พูน จำ�นวน 1 แปลง และที่ดิน สถานีบริการน้�ำ มันและศูนย์อบรม อำ�เภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี จำ�นวน 1 แปลง • การให้บริการเพื่อสนับสนุนโครงการและกิจการของ นักลงทุนทีม่ าลงทุนในเขตประกอบการฯ ในด้านต่างๆ ได้แก่ งานบำ�รุงรักษาโรงงานและเครื่องจักร งานวาง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ งานทดสอบและวิเคราะห์ ทางห้องปฏิบัติการ งานศูนย์มาตรวิทยา งานจัดเก็บ สินค้าในคลังสินค้า งานชั่งน้ำ�หนักรถพ่วง และงานฝึก อบรมด้านความปลอดภัยตามกฎหมาย เป็นต้น โดยใน ปี 2558 มีรายได้รวมทั้งสิ้นประมาณ 25 ล้านบาท

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

171


บริษัทฯ มุ่งพัฒนาการเติบโตของธุรกิจ ควบคู่กับการนำ�แนวคิดการ

สร้างคุณค่าอย่างยั่งยืน

มาใช้ในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่มีมูลค่าเพิ่ม โดยมุ่งเน้นผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและ

รองรับคุณภาพชีวิตผู้บริโภค ในปัจจุบัน

• การให้บริการระบบสาธารณูปโภค เพื่อรองรับความ ต้องการของอุตสาหกรรมเป้าหมาย และสนับสนุนการ ประกอบธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบ คิดเป็นรายได้ 3,211 ล้านบาท

1.4 การดำ�เนินงานนวัตกรรมและการวิจัยพัฒนา บริษัทฯ มีเป้าหมายพัฒนาการเติบโตของธุรกิจควบคู่กันไป ด้วยการนำ�แนวคิดการสร้างคุณค่าร่วมอย่างยั่งยืนมาใช้ใน การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษหรือผลิตภัณฑ์ท่ีมี มูลค่าเพิ่ม โดยกำ�หนดงบประมาณลงทุนเพื่อการวิจัยพัฒนา ร้อยละ 1 ของรายได้ธุรกิจปิโตรเคมี หรือประมาณ 500 ล้านบาท รวมทั้งเพิ่มบุคลากรด้านวิจัยในระดับปริญญาโท และปริญญาเอกให้มีสัดส่วนนักวิจัยเพิ่มมากขึ้น ภายใต้การ ดำ�เนินกลยุทธ์นวัตกรรมและการพัฒนาทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ 1) การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ โดยการขยายเข้าสู่ตลาด ผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงขึน้ ควบคูไ่ ปกับการบริหาร จัดการต้นทุนการผลิต 2) การพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งขยายสู่ธุรกิจใหม่ 3) การสร้างกำ�ไรจากทรัพย์สินทาง ปัญญา 4) การสร้างวัฒนธรรมและพัฒนาทรัพยากรที่เหมาะ สมทางด้านนวัตกรรม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีกระบวนการจัดการนวัตกรรม (Innovation Management Process) เพือ่ คัดสรร จัดการ และ ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจยั ทีม่ ศี กั ยภาพในการพัฒนา มีการ สนับสนุนแนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีรูปแบบแตกต่าง จากผลิตภัณฑ์เดิม และสร้างความร่วมมือในการวิจัยกับ สถาบันวิจยั มหาวิทยาลัย บริษทั เอกชนทัง้ ในและต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการวิจยั ในการใช้วสั ดุจากธรรมชาติและการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติพิเศษเพื่อสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ สรุปการดำ�เนินงานนวัตกรรมและการวิจยั พัฒนาทีส่ �ำ คัญ ดังนี้ 1.4.1 Natural Color Compound ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เกิดจากการผสมระหว่างพลาสติก

172

เดิมกับสีที่สกัดจากธรรมชาติแทนการใช้สีสังเคราะห์ โดยไม่ ทำ�ให้คุณสมบัติทางกายภาพของเม็ดพลาสติกเปลี่ยนแปลง และอยูภ่ ายใต้การควบคุมคุณภาพระดับสากล โดยในปี 2558 บริษทั ฯ ได้รว่ มกับ Picnic Plast Industrial Co., Ltd. พัฒนา บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกผสมสีธรรมชาติ ผลิตเป็นกล่องใส่อาหาร ช้อน ส้อม จานชาม ภายใต้แบรนด์ “Clip Pac” 1.4.2 Green ABS ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ABS ที่น�ำ ยาง ธรรมชาติมาทดแทนการใช้ยางสังเคราะห์เป็นรายแรกของโลก ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แต่ยังสามารถช่วย เหลือเกษตรกรสวนยางพาราให้มีรายได้และลดการสูญเสีย เงินตราจากการนำ�เข้าอีกด้วย โดยในปี 2558 บริษทั ฯ ได้รว่ ม กับบริษัท บลูไล้ท์ อุตสาหกรรม จำ�กัด ผู้ผลิตกระเป๋าและ อุปกรณ์เดินทางชั้นนำ�ของประเทศ พัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋า เดินทางภายใต้แบรนด์ “คาจิโอนี่ (CAGGIONI)” ซึ่งทำ�จาก เม็ดพลาสติก Green ABS มีคุณสมบัติทนทาน รองรับแรง กระแทกได้ดี ยืดหยุ่นมากกว่าเม็ดพลาสติกธรรมดา 1.4.3 Wood Plastic Composite ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ที่มีส่วนผสมของผงไม้ท่ีผสานคุณสมบัติเด่นของพลาสติก และไม้ได้อย่างลงตัว โดยเน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส�ำ หรับใช้ เป็นบรรจุภณ ั ฑ์ งานเฟอร์นเิ จอร์ และของเล่นสำ�หรับเด็ก ซึง่ ใน ปี 2558 บริษัทฯ ร่วมกับบริษัท วันเดอร์เวิร์ล โปรดัคส์ จำ�กัด ผู้ผลิตและจำ�หน่ายของเล่นไม้รายใหญ่ พัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ของเล่นพลาสติกผสมไม้ เปิดตัวผลิตภัณฑ์ “Trix Track” ของเล่นฉลาด ส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์ 1.4.4 POLIMAXX BANBAX ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติก ต้านและยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ผลิตด้วยเทคโนโลยีระดับนาโน ผสมสารต้านและยับยัง้ เชือ้ แบคทีเรียในเนือ้ พลาสติกระหว่าง ขั้นตอนการผลิตทำ�ให้สารต้านและยับยั้งเชื้อแบคทีเรียไม่ ถูกชะล้างหลุดออกไป ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภค ที่ให้ความสำ�คัญในด้านสุขภาพ ซึ่งได้ผ่านการทดสอบตาม มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น สามารถนำ�ไปผสมกับพลาสติก ได้หลายชนิดเพื่อประยุกต์ใช้ในหลากหลายอุตสาหกรรม


ไม่ว่าจะเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร เฟอร์นิเจอร์ และสุขภัณฑ์ โดยในปี 2558 บริษัทฯ ได้คิดค้นและพัฒนาเม็ดพลาสติก POLIMAXX BANBAX สำ�หรับการทำ�ขาเทียม ซึ่งผสม สารต้านแบคทีเรีย มีความยืดหยุ่นเหมาะกับสรีระของ ผู้ใช้ช่วยลดปัญหาการระคายเคืองผิวหนังจากความชื้นเมื่อ สวมใส่เป็นเวลานาน

1.6 การดำ�เนินงานทางการเงิน

1.5 การดำ�เนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศ

สรุปการดำ�เนินงานทางการเงินที่สำ�คัญ ดังนี้

บริษัทฯ มีเป้าหมายปรับปรุงและพัฒนางานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐาน และเครื อ ข่ า ยเพื่ อ รองรั บ การขยายงานด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศ มีการบริหารจัดการที่ดีตามมาตรฐานสากล การรักษาความปลอดภัยขัน้ สูง การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี กับทุกส่วนงาน อีกทั้งขยายและปรับปรุงระบบงานหลัก Enterprise Resource Planning (ERP) เพื่อนำ�มาใช้กับ บริษัทในเครือ สร้างความร่วมมือการดำ�เนินการกับกลุ่ม ปตท. และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการ Management Information System (MIS) ทั้งด้านการผลิต การตลาด และการเงิน เพื่อส่งเสริมให้การ บริหารงานมีความคล่องตัว สามารถตัดสินใจและปรับเปลีย่ น กลยุทธ์ให้ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจได้อย่าง ทันท่วงที บริษัทฯ ประสบความสำ�เร็จอย่างมากที่มีความ เป็นเลิศด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และ ส่งเสริมให้สามารถยกระดับมาตรฐานและนำ�การบริหาร จัดการเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ได้อย่างเป็นระบบ ทำ�ให้ ได้รับรางวัล Thailand ICT Excellence Award 2015 จำ�นวน 2 รางวัล ได้แก่

1.6.1 การจัดหาวงเงินกู้ระยะยาวเพิ่มเติมเพื่อใช้สำ�หรับ โครงการลงทุน ในสกุลเงินบาทจากสถาบันการเงินในประเทศ จำ�นวน 4,000 ล้านบาท ระยะเวลา 8 ปี

• โครงการปรับปรุงและรวมระบบงานภาษีสรรพสามิต (Excise Integrated System) รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทโครงการพัฒนากระบวนการหลักภายใน • โครงการระบบงานบริการท่าเรือและถังเก็บน้�ำ มันอัจฉริยะ (Intelligence Port & Tank Service) รับรางวัลชมเชย ประเภทโครงการพัฒนากระบวนการหลักภายใน

บริษัทฯ มีเป้าหมายในการบริหารสภาพคล่องทางการเงิน อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยการจัดหาเงินทุนด้วยต้นทุนทางการ เงินที่เหมาะสม สามารถรองรับการดำ�เนินงานและโครงการ ลงทุนต่างๆ ของบริษัทฯ รวมถึงเปิดเผยข้อมูลต่อนักลงทุน อย่างเพียงพอและสม่ำ�เสมอ

1.6.2 การจัดหาวงเงินกู้ระยะสั้น ได้แก่ • ต่ อ สั ญ ญาและจั ด หาวงเงิ น สิ น เชื่ อ ที่ ไ ม่ ส ามารถ ยกเลิกได้เพิ่มเติม หรือ Committed Line สำ�หรับ เลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต ในประเทศหรือ Domestic Letter of Credit (DLC) จำ�นวนรวม 32,400 ล้านบาท เพื่อขยายระยะเวลาการชำ�ระค่าน้ำ�มันดิบกับบริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) เป็นเวลา 90 วัน • การต่อสัญญาเงินกู้ยืมเงินระหว่างบริษัทฯ กับ ปตท. เพือ่ บริหารจัดการสภาพคล่องทางการเงินระหว่างบริษทั ในกลุ่ม ปตท. ให้มีประสิทธิภาพ โดยมีวงเงินกู้จำ�นวน 5,000 ล้านบาท และวงเงินให้กู้จ�ำ นวน 300 ล้านบาท 1.6.3 การดำ�เนินการเรื่องประกันภัย โดยได้รับเงินชดเชย ค่าสินไหมทดแทนจากเหตุการณ์เพลิงไหม้หน่วยปรับปรุง คุณภาพน้ำ�มันเตา หรือ Vacuum Gas Oil Hydro Treating Unit (VGOHT) เป็นเงินจำ�นวน 1,305 ล้านบาท 1.6.4 การจัดกิจกรรมสำ�หรับผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน และรางวัล แห่งความสำ�เร็จ • การจัดประชุมกับนักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ ผู้จัดการกองทุน ทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่าง สม่ำ�เสมอ เพื่อให้ข้อมูล ทิศทาง และนโยบายการ ดำ�เนินงานธุรกิจของบริษทั ฯ รายละเอียดอยูใ่ นรายงาน คณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หน้า 81 • การจัดกิจกรรมร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อเผยแพร่ข้อมูลของบริษัทฯ ในงาน SET in the City ซึ่งจัดเป็นประจำ�ทุกปี และกิจกรรม Opportunity Day โดยตลาดหลักทรัพย์ฯ จัดเป็นประจำ�ทุกไตรมาส

เปิดตัวผลิตภัณฑ์ “Trix Track” ของเล่นฉลาด ส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์

• รางวั ล บริ ษั ท ยอดเยี่ ย มด้ า นนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ “Corporate Governance Asia Recognition Awards 2015: Best Investor Relations by Company” จากนิตยสาร Corporate Governance Asia ฮ่องกง จากการที่บริษัทฯ เปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใสและเป็น ธรรมกับผู้มีส่วนได้เสีย รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

173


1.7 การดำ�เนินงานกฎหมาย บริษทั ฯ มีเป้าหมายในการดำ�เนินงานและได้รบั ประโยชน์จาก การบริหารงานด้านกฎหมาย ทัง้ งานนิตกิ รรมสัญญา งานด้าน คดีความ และงานรัฐกิจสัมพันธ์ สรุปการดำ�เนินงานกฎหมายที่สำ�คัญ ดังนี้ บริษัทฯ ได้เข้าซื้อทรัพย์สินซึ่งเป็นที่ดินของบริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ลูกหนี้ในคดีล้มละลาย โดยที่ ประชุมเจ้าหนี้ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ขายที่ดินของลูกหนี้ที่ ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลตะพง อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง รวม 103 แปลง หรือประมาณ 1,000 ไร่ ให้แก่บริษัทฯ เจ้าหนี้รายที่ 3 ในฐานะผู้สวมสิทธิ์แทนเจ้าหนี้จำ�นองในราคา 4,244 ล้านบาท และบริษัทฯ ได้จดทะเบียนรับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดิน เป็นของบริษัทฯ เรียบร้อยแล้ว ทำ�ให้บริษัทฯ และบริษัท ในเครือซึ่งเป็นเจ้าหนี้ของบริษัท ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จำ�กัด (มหาชน) ได้รับชำ�ระหนี้เป็นเงินจำ�นวน 3,878 ล้านบาท และ สามารถนำ�ที่ดินมาใช้ประโยชน์ได้

1.8 การดำ�เนินงานบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัทฯ มีเป้าหมายในการสรรหาและคัดเลือกคนเก่ง คนดี เพื่ อ เข้ า มาปฎิ บั ติ ง าน พั ฒ นาคนดี ใ ห้ เ ป็ น คนเก่ ง ยิ่ ง ขึ้ น และรักษาบุคลากรให้สามารถอยู่กับบริษัทฯ ได้นานอย่างมี ปกติสุข นอกจากนี้ยังสามารถใช้บุคลากรให้ตรงกับงานและ ส่งเสริมให้ท�ำ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพซึง่ จะนำ�องค์กรไปสู่ ความสำ�เร็จอย่างต่อเนื่อง เป็นที่ยอมรับในอุตสาหกรรม เดียวกัน สร้างผลตอบแทนทางธุรกิจ สรุปการดำ�เนินงานบริหารทรัพยากรบุคคลที่ส�ำ คัญ ดังนี้ 1.8.1 โครงการพัฒนาภาวะผูน้ �ำ สำ�หรับผูบ้ ริหารระดับสูง หรือ Executive Leadership Development Program (Ex-LDP) เพื่อสร้างความเข้าใจในบทบาทของผู้นำ�ตามแนวทางการ

โครงการ IRPC Cubic Academy สร้างสถาบันการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น สร้างคนและองค์กรที่มีคุณภาพ ควบคู่กับการมีธรรมาภิบาล

174

พัฒนาค่านิยมหลักและวัฒนธรรมองค์กรที่มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ พัฒนาผูน้ �ำ ขององค์กรให้มคี วามพร้อมในการขับเคลือ่ น ธุรกิจ โดยมีผบู้ ริหารเข้าร่วมหลักสูตรในปี 2558 จำ�นวน 98 คน 1.8.2 โครงการพัฒนาภาวะผูน้ �ำ ของผูบ้ ริหารระดับกลาง หรือ Middle Management Leadership Development Program (MLDP) โดยใช้กระบวนการพัฒนาให้ผบู้ ริหารร่วม กันระดมสมองวิเคราะห์และนำ�เสนอโครงการพัฒนาธุรกิจ ซึง่ โครงการนี้ มีผบู้ ริหารผ่านหลักสูตรในปี 2558 จำ�นวน 72 คน 1.8.3 โครงการพัฒนาการเรียนรูแ้ บบบูรณาการด้านวิศวกรรม เคมีสำ�หรับพนักงานสายผลิต หรือ IRPC Chemical Engineering Practice School (I-ChEPs) ซึง่ เป็นโครงการ พัฒนากระบวนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการความรูด้ า้ นวิศวกรรม เคมี โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้างความสามัคคีและสานความ สัมพันธ์ระหว่างทีม โดยบริษัทฯ ได้ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง มาเป็นปีที่ 4 1.8.4 ค่านิยมองค์กร i SPIRIT ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการ เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจร่วมกัน เพื่อให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ สร้างความแข็งแกร่งด้วย พลังจากภายใน อันจะนำ�ไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน

2. ด้านสังคม บริษัทฯ มุ่งมั่นดำ�เนินธุรกิจโดยให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งใน เรื่องความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม รวม ทั้งปลูกฝังให้พนักงานมีจิตอาสาและจิตสำ�นึกในเรื่องการ ดำ�เนินธุรกิจบนพื้นฐานของความรับผิดชอบ โปร่งใส และ เอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก กลุ่ ม อย่ า งเป็ น ธรรม เพื่อยกระดับคุณ ภาพชีวิต และความเจริญของสังคมให้ ดีขึ้นเสมอมา


ปี 2558 โครงการคลินิกปันน้ำ�ใจมีประชาชน

เข้ามาใช้บริการ 4,787 คน และมียอดการทำ�บัตรสุขภาพ IRPC Card 7,925 ใบ โครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่

ออกตรวจสุขภาพชุมชน 1,288 คน

สรุปการดำ�เนินงานด้านสังคมที่สำ�คัญ ดังนี้ 2.1 โครงการขาเทียม บริษทั ฯ บริจาคเม็ดพลาสติก POLIMAXX BANBAX 2.2 โครงการ IRPC Cubic Academy 2.3 โครงการ ๑ ช่วย ๙ 2.4 โครงการทุนการศึกษาเพื่อชุมชน 2.5 โครงการศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชนไออาร์พีซี 2.6 โครงการบูรณะโบราณสถานวัดขรัวตาเพชร 2.7 โครงการคลินิกปันน้ำ�ใจ 2.8 หน่วยแพทย์เคลือ่ นทีต่ รวจสุขภาพชุมชน (Mobile Clinic) 2.9 โครงการลำ�ไทรโยงโมเดล 2.10 โครงการผักไฮโดรโปรนิกส์เพื่อชุมชน 2.11 โครงการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน 2.12 โครงการสร้างงานรับเชือกเรือ 2.13 โครงการแก้ไขปัญหาน้�ำ ท่วมในชุมชนและจักรกลหนัก พัฒนาชุมชน

2.14 โครงการน้ำ�ดื่มเพื่อชุมชน 2.15 โครงการหัวใจอาสาพัฒนาชุมชน 2.16 โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 2.17 โครงการหอกระจายข่าวชุมชน 2.18 โครงการ Public Right to know รายละเอียดอยู่ในรายงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม หน้า 207-217

3. ด้านสิ่งแวดล้อม

บริษัทฯ มุ่งเน้นให้ความสำ�คัญกับคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ได้มีการนำ�ระบบมาตรฐาน สากลมาประยุกต์ใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการ ผลิตและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เน้นหลัก การดำ�เนินงานที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ลดมลภาวะ อนุรักษ์ พลังงาน และจัดการก๊าซเรือนกระจกอย่างมีประสิทธิภาพ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

175


3.2 การจัดการสารอินทรียร์ ะเหยง่าย หรือ Volatile Organic Compounds (VOCs) ในเขตประกอบการฯ โดยใช้ Mobile Activated Carbon เพื่อดูดซับไอสารอินทรีย์ระเหยง่ายใน ช่วงที่มีการหยุดระบบเพื่อซ่อมบำ�รุง และมีการเฝ้าระวัง พิเศษด้วยการตรวจวัด VOCs แบบ Canister รอบพื้นที่ 3.3 การลดปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ ฝุ่นละอองได้อย่างต่อเนื่อง และลดการปล่อยก๊าซไนโตรเจน ไดออกไซด์ได้ 960 ตันต่อปี 3.4 การปลู ก ต้ น ไม้ ร อบเขตประกอบการอุ ต สาหกรรม (Protection strip) เพิ่มเติม 39 ไร่ จำ�นวน 35,000 ต้น ซึ่ง สามารถช่วยดูดซับปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น จำ�นวน 300 ตัน คิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ดูดซับได้ท้ังหมดประมาณ 2,800 ตันต่อปี เทียบกับปี พ.ศ. 2557 สามารถดูดซับได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 11 3.5 การสร้างระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม สำ�หรับการพัฒนาโครงการต่างๆ ในพื้นที่เขตประกอบการฯ สามารถลดข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมได้ร้อยละ 50 เมื่อ เทียบกับปี 2557

มุ่งสู่อุตสาหกรรมสีเขียวโดยใช้แนวทางพัฒนา CSR-DIW ของกระทรวงอุตสาหกรรมควบคู่ไปกับการสร้างสภาพ แวดล้อมที่ดีและปลอดภัยให้ชุมชน ทั้งยังปลูกฝังจิตสำ�นึก และวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการ ปฏิบัติงานสำ�หรับผู้ปฏิบัติงานของบริษัทฯ อีกด้วย สรุปการดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมที่สำ�คัญ ดังนี้ 3.1 การลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดย ใช้ ก๊ า ซธรรมชาติ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ทดแทนน้ำ � มั น เตาที่ ใ ช้ ในกระบวนการผลิตโรงงานปิโตรเคมีขั้นกลางและโรงกลั่น น้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน

ปลูกต้นไม้รอบเขตประกอบการฯ

เพิ่มอีก 35,000 ต้น

ช่วยให้การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งหมดเพิ่มขึ้นเป็น

2,800 ตันต่อปี 176

3.6 การดำ�เนินโครงการเพื่อเพิ่มความรู้และประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยของบริษัทฯ และผูร้ บั เหมา ทำ�ให้สถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุทตี่ อ้ งรับการรักษา โดยแพทย์ลดลง 3.7 ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ใน การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กับเมืองคิตะคิวชู และกรมโรงงานอุตสาหกรรมประเทศไทย โดยสาระสำ�คัญ ของบันทึกข้อตกลง ได้แก่ การแลกเปลีย่ นข้อมูลเพือ่ ประโยชน์ ต่อการลดคาร์บอนในภูมิภาคเอเชีย ร่วมกันเผยแพร่การ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยกรอบการปฏิบัติ Reduce, Reuse, Recycle (3R) และเป็นการส่งเสริมให้เกิดสัมพันธภาพของภาคธุรกิจทั้ง 2 ประเทศ


3.8 ได้รับการรับรองเป็นโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ หรือ Eco Factory แล้วจำ�นวนทัง้ สิน้ 4 โรงงาน ได้แก่ โรงงาน ผลิตเอทิลีน โรงผลิตพลังงานไอน้ำ�และไฟฟ้าร่วม โรงกลั่น น้ำ�มัน และโรงผลิตน้�ำ มันหล่อลื่นพื้นฐาน

4.3 การจัดให้มีช่องทางให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมีส่วนในการ เสนอวาระการประชุมผูถ้ อื หุน้ และเสนอชือ่ บุคคลเป็นกรรมการ บริษทั ฯ สำ�หรับการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำ�ปี 2559 ตัง้ แต่ วันที่ 25 กันยายน–31 ธันวาคม 2558

3.9 รางวัลด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่งแวดล้อม ดังนี้

4.4 การจัดประเมินกรรมการบริษัทฯ โดย Governance Matters Thailand ในปี 2558 ตามมาตรฐาน ASEAN CG Scorecard ซึ่งควรมีการประเมินกรรมการโดยผู้ประเมิน อิสระ หรือ Independent Assessment อย่างน้อยทุก 3 ปี

• รางวัล CSR DIW Award 2015 จากกรมโรงงาน อุตสาหกรรม โดยได้รบั รางวัล CSR-DIW Continuous Award จำ�นวน 11 ทะเบียนโรงงาน และได้รับรางวัล สถานประกอบการที่ได้รับเกียรติบัตรความมุ่งมั่นใน การดำ�เนินงานพัฒนาชุมชนในระดับดี จำ�นวน 1 โรงงาน • รางวัล Thailand Quality Prize 2015 จากสมาคม ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) โดยกลุ่ม QCC ของ สายงานปฏิบัติการปิโตรเคมีและการกลั่นได้รับรางวัล ทั้งสิ้น จำ�นวน 6 รางวัล ได้แก่ รางวัลระดับ Golden 4 รางวัล และระดับ Silver 2 รางวัล • รางวัล Carbon Footprint for Organization 2015 โดย ท่าเรือไออาร์พซี ไี ด้รบั มอบโล่รางวัลและประกาศนียบัตร คาร์บอนฟุตพริน้ ท์ ในโครงการจัดทำ�แนวทางการปฏิบตั ิ ทีเ่ ป็นเลิศ เพือ่ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรม เพื่อการส่งออกเป็นรายแรกของประเทศไทย • รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานระดับ ประเทศ ประจำ�ปี 2558 ได้แก่ โรงงานบีทีเอ็กซ์ คลัง น้�ำ มันอยุธยา คลังน้ำ�มันพระประแดง และคลังน้�ำ มัน ชุมพร • โล่ประกาศเกียรติคุณ ระดับทองแดง ตามโครงการ รณรงค์ลดสถิติการประสบภัยอันตรายจากการทำ�งาน ให้เป็นศูนย์ จากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้แก่ คลังน้ำ�มันอยุธยา และคลังน้ำ�มันพระประแดง

4. ด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ มุ่งเน้นการปรับปรุงพัฒนาการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี อย่างต่อเนื่องและสม่ำ�เสมอ ตามแนวทางของมาตรฐาน สากลและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สรุปการดำ�เนินงานด้านการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ที สี่ �ำ คัญ ดังนี้ 4.1 การประเมิ น การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ข องบริ ษั ท จดทะเบียนไทย ประจำ�ปี 2558 โดย สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการไทย (IOD) บริษทั ฯ ได้ 92 จาก 100 คะแนน จัดอยูใ่ น ระดับดีเลิศ 4.2 การประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ปี 2558 โดยสมาคมผู้ลงทุนไทย หรือ Thai Investors Association บริษัทฯ ได้ 94 จาก 100 คะแนน จัดอยู่ในระดับดีเลิศ

4.5 การจัดตั้งหน่วยงาน Compliance โดยใช้ชื่อว่า ส่วนงานเลขานุการบริษัทและกำ�กับกฎเกณฑ์ รายงานต่อ สำ�นักกิจการองค์กร มีหน้าที่กำ�กับกฎเกณฑ์ที่บริษัทฯ ต้อง ปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาดของผู้ปฏิบัติงาน ทั้งใน แง่กฎหมายและการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี 4.6 การจัดพิมพ์คมู่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 ให้พนักงานลงนามรับทราบและถือปฏิบัติทั้งองค์กร รวมทัง้ รณรงค์สร้างจิตสำ�นึกเรือ่ งการปฏิบตั งิ านโดยยึดหลัก การกำ�กับดูแลกิจการที่ดีผ่านระบบ E-learning 4.7 การให้พนักงานทุกระดับทำ�รายงานความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ผ่านระบบอินทราเน็ต 4.8 การพัฒนาบทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี หรือ Corporate Citizenship ซึ่งประกอบด้วย การร่วมจัดตั้ง UN Global Compact Local Network ในประเทศไทยกับ องค์กรธุรกิจเพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานตามหลัก Global Goals 17 ข้อ ของสหประชาชาติ และการลงนามส่งเสริม สิทธิเด็กและหลักปฏิบตั ทิ างธุรกิจตามแนวทางของ UNICEF หรือ Children’s Rights and Business Principles (CRBP) ที่เน้นย้ำ�ให้ภาคธุรกิจตระหนักว่า ทุกองค์กรสามารถมีส่วน ในการดู แ ลเด็ ก ผ่ า นทางความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมใน กระบวนการธุรกิจของตน 4.9 การดำ�เนินการในฐานะสมาชิกของโครงการแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านคอร์รัปชัน หรือ Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption ด้วยการอบรมผู้บริหารและพนักงานหลักสูตร การต่อต้านคอร์รปั ชัน ซึง่ จัดไว้เป็นแผนการอบรมของสายงาน บุคคลต่อเนื่องจากปี 2557 โดยได้จัดการอบรมแล้ว 28 รุ่น มีพนักงานเข้าร่วม 2,872 คน คิดเป็นร้อยละ 56 ของพนักงาน ทั้งหมด และจะดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องต่อไป นอกจากนี้ กรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้บริหารร่วมกิจกรรมวันต่อต้าน คอร์รปั ชัน และเข้าร่วมการอบรมเพือ่ เพิม่ แนวคิดและกลยุทธ์ ใหม่ๆ โดยบริษทั ฯ ได้รบั ผลการประเมินจากสถาบันไทยพัฒน์ เรื่อง Anti-Corruption ของบริษัทจดทะเบียนไทยในระดับ 4 (Certified) ทั้งยังเตรียมความพร้อมเพื่อการต่ออายุสมาชิก CAC ในปี 2559 และพัฒนาระดับการดำ�เนินงานไปสู่ระดับ 5 (Extended) โดยมีแผนการสนับสนุนให้บริษัทในเครือและ คู่ค้าเป็นสมาชิก CAC เช่นเดียวกัน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

177


4.10 การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสีย บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญ กับการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียแต่ละ กลุ่ม โดยใช้ช่องทางที่หลากหลาย ทั้งการสื่อสารตรงกับ กลุม่ เป้าหมายโดยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ การจัดกิจกรรมร่วมกัน การสื่อสารผ่านสื่อมวลชน การสัมมนา/ฝึกอบรม และมีการ บูรณาการระหว่างผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ โดยใช้กิจกรรม เดียวที่ได้ประโยชน์ตรงตามต้องการของแต่ละกลุ่ม อาทิ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่พบนักลงทุนร่วมกับสือ่ มวลชน เป็นต้น 4.11 ร่วมกับกลุ่ม ปตท. จัดงาน PTT Group CG Day 2015 ในวันที่ 25 สิงหาคม 2558 ภายใต้แนวคิด “Shade of Sharing” โดยเน้นความมีส่วนร่วมกับคู่ค้าในการดำ�เนิน ธุรกิจด้วยความโปร่งใส และต่อต้านคอร์รัปชัน 4.12 รางวัลด้านการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ • ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิก DJSI: Emerging Market ประเภท Oil & Gas ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 • รางวัลคณะกรรมการแห่งปีดีเด่น และรางวัลคณะ กรรมการตรวจสอบแห่งปี จากการประกาศเกียรติคุณ “คณะกรรมการแห่งปีประจำ�ปี 2558 (Board of the Year Awards 2015)” • รางวัล Thailand Sustainability Investment 2015 ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • รางวัล Sustainability Report Awards ของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • รางวัล ESG100 จากสถาบันไทยพัฒน์ • รางวัล ASEAN Corporate Governance Awards ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ในฐานะบริษัท

178

• • • •

จดทะเบียนไทยที่ได้รับผลการประเมินในระดับ Top 50 ASEAN PLCs ตามหลักเกณฑ์ ASEAN CG Scorecard 2015 รางวัล Corporate Governance Asia: 11th Corporate Governance Asia Recognition Awards 2015 – The Best of Asia จากนิตยสาร Corporate Governance Asia รางวัล Corporate Governance Asia (Investor Relation) จากนิตยสาร Corporate Governance Asia รางวัล Asia Responsible Entrepreneurship Awards 2015 ด้าน Social Empowerment จากโครงการ “From Bench to Community” รางวัล The Winner of the ‘Golden Peacock Global Award for Excellence in Corporate Governance 2015 โดยสถาบัน Institute of Directors (IOD) ประเทศ อินเดีย เป็นปีที่ 3 รางวัล The 6th Asia’s Best Employer Brand Awards จาก ประเทศสิงคโปร์

5. ด้านการบริหารความเสี่ยง บริษทั ฯ มุง่ เน้นการบริหารความเสีย่ งทัว่ ทัง้ องค์กร โดยกำ�หนด เป็นนโยบายเพื่อให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน ทุกระดับ นำ�ไปปฏิบัติอย่างเคร่งครัด โดยบริษัทฯ ได้จัดตั้ง คณะกรรมการขั บ เคลื่ อ นการบริ ห ารความเสี่ ย ง (Risk Management Steering Committee) ซึ่งมีกรรมการ ผู้จัดการใหญ่เป็นประธาน และคณะกรรมการบริหารความ เสีย่ ง (Risk Management Committee) ซึง่ มีคณะกรรมการ ที่ได้รับคัดเลือกและแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัทฯ อย่าง น้อย 3 ท่าน เพื่อทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย กำ�กับดูแล และ ให้แนวทางในการบริหารความเสีย่ งขององค์กร เพือ่ ลดความ


บริษัทฯ รับรางวัลคณะกรรมการแห่งปีดีเด่น และรางวัลคณะกรรมการตรวจสอบแห่งปี จากการประกาศเกียรติคุณ “คณะกรรมการแห่งปีประจำ�ปี 2558”

เสี่ยงขององค์กรให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมทั้งส่งเสริม และสร้างวัฒนธรรมในการบริหารความเสี่ยงให้ผู้บริหาร และพนักงาน มีความตระหนัก มีความรู้และความเข้าใจใน การนำ�กรอบและมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ไปปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สรุปการดำ�เนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงที่สำ�คัญ ดังนี้

5.1 ความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาวัตถุดิบและ ผลิตภัณฑ์ (Price Volatility Risk) จากแนวโน้มราคาน้ำ�มันดิบยังคงผันผวนอย่างมาก ภาวะ เศรษฐกิจที่ชะลอตัวของโลกและประเทศจีน แนวทางการลดความเสีย่ ง : บริษทั ฯ ดำ�เนินการด้วยความ ร่วมมือกับบริษทั ในกลุม่ ปตท. อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ลดต้นทุนจาก การใช้น�้ำ มันดิบจากแหล่งในประเทศมากขึน้ การบริหารจัดการ สินค้าคงคลังให้อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม การปรับปรุงเครือ่ งมือ ในการบริหารการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผน การซื้อวัตถุดิบ การผลิตและการขายผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีกรอบนโยบายในการทำ�สัญญาซื้อขายตราสาร อนุพันธ์โดยมีการกำ�หนดเป้าหมายของราคา ปริมาณ และ ระยะเวลาในการดำ�เนินการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม และสอดคล้องกับแผนธุรกิจภายใต้การกำ�กับดูแลของคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงด้านห่วงโซ่อุปทานและด้าน การเงิน (Hedging Committee) และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง (Risk Management Committee)

5.2 ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Currency Exchange Risk) เป็นความเสี่ยงซึ่งส่งผลต่อรายได้ ต้นทุนวัตถุดิบ และเงินกู้ เพื่อใช้ลงทุนในโครงการต่างๆ เป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ

แนวทางการลดความเสีย่ ง : บริษทั ฯ มีแนวทางการบริหาร ความเสี่ยงโดยจัดสัดส่วนเงินกู้สกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ รวมถึงการ บริ ห ารจั ด การสั ด ส่ ว นและเงื่ อ นไขการจั ด ซื้ อ น้ำ � มั น ดิ บ เช่น การชำ�ระเงินค่าน้ำ�มันดิบจากการใช้เงินเหรียญสหรัฐฯ มาเป็นเงินบาท ซึ่งจะช่วยลดความผันผวน หรือการขาย สกุ ล เงิ น เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ ล่ ว งหน้ า เพื่ อ รองรั บ การชำ � ระ ค่าใช้จ่ายที่เป็นสกุลเงินบาท

5.3 ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operation Risk) จากกระบวนการผลิต หรือกระบวนการสนับสนุนการผลิต โดยอาจส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน บุคลากร และสูญเสีย โอกาสในการสร้างรายได้ โดยบริษัทฯ มีแนวทางในการ บริหารความเสี่ยงที่สำ�คัญ ดังนี้ 5.3.1 ความไม่พร้อมในการผลิตของโรงงานหรือการหยุด ชะงักของการผลิตโดยไม่ได้วางแผนล่วงหน้า (Plant Reliability Risk) จากการที่หน่วยผลิตมีอายุการใช้งานมา ยาวนานและดำ�เนินการผลิตอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้เครื่องจักร และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เกิดการเสือ่ มสภาพ หากไม่ได้รบั การบำ�รุง รักษาที่ดีเพียงพอ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ดำ�เนินมาตรการใน การบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง จากโครงการปรับปรุง และพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรและอุปกรณ์ โดยมีโครงการย่อย เช่น โครงการเพิ่มเสถียรภาพการผลิต เพื่อไม่ให้เกิดการหยุดการผลิตโดยไม่ได้วางแผนล่วงหน้า (Zero Unplanned Shutdown) การตรวจสอบสภาพของ เครื่องจักรและอุปกรณ์ของโรงงานอย่างทั่วถึงในจุดเสี่ยง ต่างๆ การลดระยะเวลาที่ใช้ในการซ่อมบำ�รุงให้สั้นที่สุดโดย การวางแผนและบริหารจัดการผู้รับเหมา และอุปกรณ์สำ�รอง รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

179


ให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงการดำ�เนินงานตามโครงการ บริหารจัดการระบบปฏิบัติการที่เป็นเลิศ (Operational Excellence Management System) 5.3.2 ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตของพนักงาน ผู้รับเหมา และผู้รับจ้างจากภายนอก (Safety Risk) ซึ่งมักเกิดจาก ความประมาท การไม่ตระหนักถึงความปลอดภัย หรือความรู้ ของผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ดำ�เนินการส่งเสริม วัฒนธรรมด้านความปลอดภัย โดยกำ�หนดเป็นนโยบาย และดำ � เนิ น การในกิ จ กรรมต่ า งๆ เช่ น โครงการสร้ า ง พฤติกรรมความปลอดภัย (Behavior Based Safety) ซึ่งดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง มีจัดทำ�วารสารความปลอดภัย และประชาสัมพันธ์อย่างสม่ำ�เสมอ จัดฝึกอบรมด้านความ ปลอดภัยให้กับพนักงานทุกระดับ ผู้รับเหมาและผู้รับจ้าง รวมถึงกำ�หนดแนวทางปฏิบัติให้หัวหน้างานกำ�กับดูแล กลุ่มผู้รับจ้างภายนอกอย่างใกล้ชิดเสมือนเป็นพนักงาน ของบริษัทฯ นอกจากนี้ได้มีการจัดตั้งทีมงานตรวจสอบ การปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บความปลอดภั ย และในกรณี ที่ เกิดเหตุแล้ว บริษัทฯ จะจัดตั้งคณะกรรมการสอบสวน เพื่อหาสาเหตุ จัดทำ�เป็นองค์ความรู้และถ่ายทอดให้กับ พนักงานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหตุซ้ำ�อีก 5.3.3 การดำ�เนินโครงการลงทุน (Capital Projects Risk) ในโครงการ UHV จากมูลค่าการลงทุนทีส่ งู และเป็นโครงการที่ สำ�คัญ เพือ่ เพิม่ มูลค่าและเสริมศักยภาพในการแข่งขันให้กบั องค์กร แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ บรรจุโครงการลงทุน สำ�คัญเข้าเป็นความเสี่ยงระดับองค์กร เพื่อติดตามความ คืบหน้าในการดำ�เนินงานอย่างใกล้ชิด และแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึน้ ได้อย่างทันท่วงที และให้มนั่ ใจว่าการดำ�เนินโครงการ

180

สามารถบรรลุเป้าหมายในทุกมิติ ได้แก่ ระยะเวลาการดำ�เนิน โครงการ การบริหารงบประมาณ คุณภาพของโครงการ ความปลอดภัย และความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและ ชุมชนอย่างต่อเนื่อง 5.3.4 ความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อมและชุมชน (Environmental and Community Risk) จากที่หน่วยผลิตของบริษัทฯ ตั้งอยู่ใกล้แหล่งชุมชน หากไม่มีระบบการควบคุมที่ดีอาจ ส่งผลกระทบต่อชุมชนใกล้เคียงได้ แนวทางการลดความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม : บริษัทฯ มุ่งเน้นการดำ�เนินกิจการภายใต้กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ ด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม มาตรฐานระบบจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก./OHSAS 18001 และมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001 อย่ า งเคร่ ง ครั ด การศึ ก ษาแนวทางการลดสารอิ น ทรี ย์ ระเหยง่าย (VOCs) การตรวจเฝ้าระวังในจุดเสี่ยงต่างๆ โดยมีทีมงานที่สามารถเข้าไปวิเคราะห์และแก้ไขได้ทันที หากพบค่าการตรวจวัดที่สูงขึ้นผิดปกติ และการร่วมมือกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรมในการพัฒนาเขตประกอบการฯ ให้เป็นเขตประกอบการฯ เชิงนิเวศรายละเอียดในรายงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม หน้า 200 แนวทางการลดความเสีย่ งด้านชุมชนและสังคม : บริษทั ฯ ดำ�เนินการเพื่อสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดี อย่ า งต่ อ เนื่อ งสม่ำ� เสมอ เช่ น การสร้ า งและบู ร ณะ สาธารณูปโภคต่างๆ การให้ทุนการศึกษา การเปิดโอกาส ให้ชุมชน และบริษัทฯ ได้สร้างความเข้าใจในการดำ�เนิน กิจการจากโครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) การดำ�เนินงานศูนย์ประสานงานภาคสนามเพื่อลงพื้นที่ ในกิจกรรมของชุมชน ตลอดจนการร่วมซ้อมแผนฉุกเฉิน กับชุมชนและหน่วยงานภาครัฐ รายละเอียดในรายงานความ รับผิดชอบต่อสังคม หน้า 212


5.4 ความเสี่ยงในการพัฒนาศักยภาพองค์กร (Organizational Capability Risk)

5.6 ความเสี่ยงใหม่ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (Emerging Risk)

จากการบริหารงานและการปฏิบัติงานของพนักงานต้องมี การปรั บ เปลี่ ย นให้ เ หมาะสมกั บ การแข่ ง ขั น ในธุ ร กิ จ ที่ เพิ่มสูงขึ้น แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ดำ�เนินการเพื่อ เสริมสร้างความแข็งแกร่งและความเป็นเลิศด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคลและพัฒนาขีดความสามารถขององค์กร ได้แก่ การพัฒนาระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ระบบการ บริหารความก้าวหน้าในอาชีพ ระบบการพัฒนาศักยภาพของ พนักงาน รวมถึงการปรับปรุงโครงสร้างขององค์กรให้สามารถ แข่งขันได้

ใน 3-5 ปีขา้ งหน้า จากการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม กฎหมาย เทคโนโลยี และอื่นๆ เช่น

5.5 ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ฉุกเฉินและภาวะวิกฤต ที่อาจ ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดำ�เนินธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง (Business Continuity Risk) จากภัยคุกคามหลายประเภทที่อาจส่งผลกระทบทำ�ให้ธุรกิจ เกิดการหยุดชะงักได้ เพื่อช่วยลดความสูญเสีย ปกป้องภาพ ลักษณ์ ชื่อเสียง และกิจกรรมสำ�คัญทางธุรกิจ แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ได้นำ�มาตรฐาน และระบบการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ Business Continuity Management (BCM) มาใช้ โดยมีการจัด ทำ�แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ Business Continuity Plan (BCP) อย่างเต็มรูปแบบรวมถึงดำ�เนินการซ้อมแผนฯ โดยนำ�มาตรฐานสากล BS 25999 และ ISO 22301 มาใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ วิกฤตการณ์ต่างๆ

5.6.1 ความเสีย่ งในการจัดสรรค่าการปล่อยมลพิษ สำ�หรับ โครงการใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอีก 5 ปีข้างหน้า (Emission Management for Future Project Risk) โดยมีขอ้ กำ�หนด ตามกฎหมายที่บริษัทฯ จะไม่สามารถเพิ่มการปล่อยมลพิษ ที่สูงกว่าที่อนุญาตในปัจจุบัน อาจทำ�ให้ไม่สามารถขยาย การเติบโตของธุรกิจได้อีก แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ จัดตั้งทีมงานเพื่อ ศึกษาการลดการปลดปล่อยมลพิษในโรงงานที่มีอยู่เดิมใน ปัจจุบนั และจัดทำ�คูม่ อื ปฏิบตั กิ ารเพือ่ ลดการปลดปล่อยมลพิษ ในกิจกรรมเสีย่ งต่างๆ รวมถึงการนำ�เทคโนโลยีสะอาดมาใช้ สำ�หรับโครงการใหม่ เป็นต้น 5.6.2 ความเสี่ยงจากการกำ�หนดเขตการค้าเสรีและ กฎระเบียบทางการค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เช่น Trans-Pacific Partnership (TPP) บริษทั ฯ อาจได้รบั ผลกระทบจากการสูญ เสียโอกาสทางธุรกิจและตลาดการค้าที่มีอยู่ในปัจจุบัน แนวทางการลดความเสี่ยง : บริษัทฯ ได้ศึกษาผลกระทบ ของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่ผลิตและจำ�หน่าย การพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งและเป็ น ไปตามกฎระเบี ย บที่ เปลี่ยนแปลงไปและสนับสนุนการวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม และประหยัดการใช้พลังงาน เป็นต้น

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

181


การบริหารทรัพยากรบุคคล

ทรัพยากรมนุษย์นนั้ ถือเป็นหัวใจสำ�คัญทีจ่ ะสร้างความแข็งแกร่งใหแก่องค์กรอย่างยัง่ ยืน เพราะความสำ�เร็จเกิดจากพนักงานทุกคน ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานที่ดีให้กับองค์กร คณะกรรมการบริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญกับสุขภาพองค์กร โดย กำ�หนดให้อยูใ่ นดัชนีวดั ตัวหนึง่ ในระดับองค์กร และเสนอแนะ ให้มกี ารแก้ปญ ั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบงานทรัพยากรบุคคล การ พัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน และการแก้ปัญหา แรงงานเพื่อมิให้มีข้อขัดแย้ง ซึ่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ ให้ ความสำ�คัญอย่างยิ่งในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พัฒนาในระบบงานทรัพยากรบุคคลในทุกบริบท จนเป็นทีม่ า ของ HR Excellence ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ DELTA ในปี 2557 และ 2558 ประกอบด้วย module ต่างๆ ที่เร่ง ดำ�เนินการสอดประสานควบคู่กันไป ในการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์นนั้ บริษทั ฯ ได้ เนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตั้งแต่การศึกษาทิศทาง การทำ�ธุรกิจและวิสัยทัศน์ขององค์กร เพื่อเป็นพื้นฐานใน การออกแบบกระบวนการทางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์ให้บุคลากรทุกคนของบริษัทฯ มีสมรรถนะในการทำ�งานอย่างมืออาชีพ สามารถปฏิบตั พิ นั ธกิจ ของบริษทั ฯ ทัง้ ในปัจจุบนั และตอบสนองวิสยั ทัศน์ของบริษทั ฯ ในอนาคต ให้มีศักยภาพสูงสุดในการแข่งขันที่เทียบเคียง ได้กับบริษัทชั้นนำ� โดยในปี 2558 มีโครงการที่สำ�คัญดังนี้ 1. การปรับปรุงโครงสร้างองค์กรให้กระชับและทันสมัย มุง่ เน้นให้ทกุ หน่วยงานเพิม่ ขีดความสามารถและความรับผิดชอบ ทัง้ ในด้านการพัฒนาระบบงานควบคูไ่ ปกับการพัฒนาทรัพยากร บุคคลไปพร้อมๆ กัน ในการดำ�เนินการดังกล่าวทำ�ให้บริษทั ฯ

182

สามารถดำ�เนินงานด้านการจัดการความรู้ การสร้างมูลค่าเพิม่ ในด้านต่างๆ โดยสามารถใช้บคุ ลากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ 2. การศึกษาเพื่อทบทวนกระบวนการบริหารงานบุคคลให้ สอดรับกับทิศทางการดำ�เนินธุรกิจ เริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์ อัตรากำ�ลังที่จำ�เป็นโดยการทบทวนกระบวนการทำ�งานให้ ทันสมัยและกระชับ การพัฒนาสมรรถนะในสายวิชาชีพ การ บริหารผลการปฏิบัติงาน รวมถึงระบบความก้าวหน้าในงาน โดยทุกกิจกรรมจะมีการเชือ่ มโยงและส่งเสริมกันกันอย่างเป็น ระบบ และมีการติดตามผลเพือ่ นำ�มาเป็นข้อมูลในการกำ�หนด นโยบายประจำ�ปีต่อไป 3. ด้านการพัฒนาผูน้ �ำ มีการสร้างสมรรถนะผูน้ �ำ ในทุกระดับ ทัง้ ในด้านการอบรมและพัฒนา อาทิหลักสูตร Seven Habits of highly Effective People หลักสูตร Leadership Greatness เป็นต้นการศึกษาดูงานจากองค์กรทีม่ ี Good practice ในด้าน ต่างๆ การพัฒนาจิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม สำ�หรับผูบ้ ริหารเพือ่ เป็น Role Model ของพนักงานทุกระดับ 4. การส่งเสริมพัฒนาตนเองของพนักงานโดยการให้รางวัล เชิดชูเกียรติ โดยบริษทั ฯ จัดให้มรี างวัล Presidential Award ได้แก่ ด้านความปลอดภัย ด้านการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ องค์กร ด้านปฏิสัมพันธ์กับชุมชนภายนอก และพนักงานผู้มี พฤติกรรมดีเยี่ยม


รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

183


การวิจัยและพัฒนาเพื่อความเป็นเลิศ

การวิจัยพัฒนาเป็นหนึ่งในกลยุทธ์การสร้างสรรค์มูลค่าเพิ่มในสายงานการผลิต และการตลาดสู่ความเป็นเลิศของบริษัทฯ ทำ�ให้ตลอดระยะเวลากว่า 2 ปีที่ผ่านมา ได้มีการทุ่มเททรัพยากรอย่างต่อเนื่องในหลาย ๆ ด้าน ดังนี้ 1. การเพิม่ งบประมาณ R&D บริษทั ฯ ได้เพิม่ งบประมาณ การสนับสนุนด้านวิจยั และพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง โดยการกำ�หนด ให้ค่าใช้จ่ายประจำ�ปีของงานวิจัยและพัฒนาเป็นสัดส่วนกับ รายได้ของกลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี และเพิ่มขึ้นเป็นขั้นบันได ต่อเนื่องจนถึงปี 2569 ไว้ที่ร้อยละ 3 ซึ่งใกล้เคียงกับ ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาเฉลี่ยของบริษัทชั้นนำ�ที่ ผลิตสินค้าเชิงเทคโนโลยีของโลก หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 1,500 ล้านบาทต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้น 5 เท่า ของงบประมาณของ ปีที่ผ่านมา โดยในปี 2559 นี้ มีเป้าหมายงบประมาณ ค่าใช้จ่ายด้านวิจัยและพัฒนาอยู่ที่ร้อยละ 1 หรือ 500 ล้านบาท ของรายได้กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมี 2. การเพิ่มบุคลากรอย่างมีนัยสำ�คัญ ความสำ�เร็จของ งานวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมา เป็นผลงานที่มีคุณค่าของ นักวิจยั และการสนับสนุนขององค์กร จนสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมออกสูต่ ลาดได้อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ได้จดสิทธิบตั รเพือ่ ปกป้องทรัพย์สนิ ทางปัญญา เพือ่ เพิม่ ความได้เปรียบทางด้าน การแข่งขันทางธุรกิจ บริษทั ฯ จึงได้ให้ความสำ�คัญกับโครงการ

184

เพิ่มบุคลากรด้านวิจัยในระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มากกว่า 100 คน ในระยะ เวลา 5 ปี นับจากปี 2558 ซึ่งจะทำ�ให้อัตราส่วนของนักวิจัย ต่อบุคลากรทัง้ หมดของบริษทั ฯ ใกล้เคียงกับอัตราส่วนค่าเฉลีย่ นักวิจยั ต่อบุคลากรทัง้ หมดของบริษทั ปิโตรเคมีชนั้ นำ�ระดับโลก 3. การขยายศูนย์วิจัยและพัฒนา บริษัทฯ ได้เตรียมเงิน ลงทุนในการปรับปรุงอาคารสำ�นักงานเดิมทีม่ อี ยูใ่ ห้เป็นศูนย์วจิ ยั และพัฒนาส่วนขยาย เพื่อรองรับกับการใช้งานอย่างเร่งด่วน พร้อมทัง้ จัดสร้างศูนย์แสดงสินค้าและผลงานด้านการวิจยั ของ บริษัทฯ ให้กับผู้เข้าเยี่ยมชมกิจการในปี 2558 ทั้งนี้ศูนย์วิจัย ส่วนขยายนีจ้ ะมีวตั ถุประสงค์ในการรองรับงานในอนาคต นับ จากปี 2558 อีก 5 ปี ส่วนในระยะยาว บริษัทฯ ได้พิจารณา ก่อสร้างสำ�นักวิจยั แห่งที่ 2 ในทีด่ นิ ของบริษทั ฯ จังหวัดระยอง 4. การจัดทำ�แผน 10 ปี R&D Roadmap บริษัทฯ ได้ มีการว่าจ้างบริษัทที่ปรึกษาชั้นนำ� เพื่อทำ�การศึกษาจำ�ลอง การเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด พฤติกรรมของผู้บริโภค


S-Curve of Business Cycle New Business

Growth

Value Added Business

R&D to seek New Opportunity from New technology Platforms

R&D help to seek for New Opportunity from emerging technology trend ot Value Added existing business

R&D help to maintain Product Position and drive Business Growth by Cost Reduction, New Product Development, Application Development, Technical Solution, etc.

Time

ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเทคโนโลยีใหม่ในอนาคต เพือ่ เป็นข้อมูล ในการจัดทำ�แผน 10 ปี R&D Roadmap ใช้เป็นแนวทางใน การกำ�หนดหัวข้องานวิจยั ผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าสูง มีคณ ุ สมบัติ พิเศษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตรงตามความต้องการ ของลูกค้าในอนาคต โดยแผนดังกล่าวจะมีความสอดคล้อง กับแผนการตลาดและการพัฒนาธุรกิจในระยะยาว ทั้งนี้เพื่อ ให้การนำ�สินค้าออกสูต่ ลาดเชิงพาณิชย์ให้ได้มลู ค่าสูงสุด โดย แผน 10 ปี R&D Roadmap สามารถสรุปสาระสำ�คัญโดยย่อ ดังนี้ • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปจั จุบนั ด้วยเทคโนโลยีทเี่ ชีย่ วชาญ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ทีมนักวิจัยของบริษัทฯ ได้พัฒนา ผลิตภัณฑ์พเิ ศษ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์โพลิเอทิลนี ความหนาแน่นสูง สำ�หรับการ ผลิตท่อส่งน้ำ�และแก๊ส และการพัฒนาผลิตภัณฑ์โพลิเอทิลีน ประเภทโมเลกุลสูงยิ่งยวด สำ�หรับการผลิตชิ้นส่วนพลาสติก เชิงวิศวกรรม โดยเป็นผู้ผลิตรายแรกในกลุ่มประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ เป็นต้น • การพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษด้วยเทคโนโลยีใหม่ จะเป็นแผนการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีเดิมของบริษัทฯ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อผลิต สินค้าเฉพาะกลุ่มลูกค้าที่ต้องการสินค้าที่มีคุณสมบัติพิเศษ เช่น ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง เหมาะสำ�หรับ อุตสาหกรรมอาหาร เพื่อความปลอดภัย เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ ดีตอ่ ผูบ้ ริโภคมากยิง่ ขึน้ หรือวัสดุสงั เคราะห์ทที่ นทานต่อการ ขีดข่วน สำ�หรับอุตสาหกรรมรถยนต์เพื่อลดการซ่อมแซมสี เป็นต้น ผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษเหล่านี้จะมีผลตอบแทนได้สูง ขึ้นกว่าร้อยละ 20 เมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าปัจจุบัน • การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง บริษัทฯ มีแผนการลงทุนสร้างฐานเทคโนโลยีชั้นสูงขึ้นใหม่ เพื่อวิจัย

และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ สำ�หรับอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ ในอนาคต เช่น การลงทุนสร้างศูนย์ความเป็นเลิศด้านนาโน เทคโนโลยีเชิงพาณิชย์ ที่แม้ในปัจจุบันมีการพูดถึงสมรรถนะ นาโนเทคโนโลยีอย่างมาก แต่กลับมีการนำ�มาใช้พัฒนาวัสดุ สังเคราะห์ไม่กว้างขวางนัก บริษัทฯ จึงมีโครงการสร้างศูนย์ ความเป็นเลิศขึน้ เพือ่ นำ�สมรรถนะของนาโนเทคโนโลยีมาผลิต สินค้าเกรดพิเศษ เช่น สารเติมแต่งขนาดนาโน สำ�หรับใช้กับ วัสดุสงั เคราะห์เพือ่ ให้ได้น�้ำ หนักเบาพิเศษ แต่มคี วามแข็งแรง มากยิ่งขึ้นกว่าเดิมหลายเท่าตัว ซึ่งนำ�มาใช้กับอุตสาหกรรม รถยนต์ บรรจุภัณฑ์เกรดพิเศษ ที่ต้องการความสะอาดสูง ในอุตสาหกรรมยาและอาหาร เป็นต้น ซึ่งเทคโนโลยีขั้น สูงที่บริษัทฯ จะลงทุนนี้ นอกเหนือจากจะนำ�มาผลิตสินค้า เกรดพิเศษที่มีความต้องการสูงในอนาคตแล้ว ยังสนับสนุน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปัจจุบันของบริษัทฯ ให้มีคุณสมบัติอัน โดดเด่นและทันสมัย เป็นการยกระดับคุณภาพสินค้าตลอด ห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์จนถึงผู้บริโภค ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับทุกฝ่ายที่อยู่ในวงจรห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมุ่งเน้นสร้างทรัพย์สินทางปัญญาที่สำ�คัญให้มาก ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของประเทศไทย อีกด้วย • การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบธรรมชาติ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการค้นคว้าวิจยั วัสดุสงั เคราะห์ จากวัตถุดบิ ทางธรรมชาติ เช่น ปาล์มน้�ำ มัน ยางพารา เส้นใย ธรรมชาติ ฯลฯ มาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษในรูปของ สารเคมีและพลาสติก โดยมีผลิตภัณฑ์ที่ได้จำ�หน่ายแล้วใน ท้องตลาด เช่น Green ABS, Wood polymer composite, Natural color compound และกำ�ลังพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิด พิเศษทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรมน้�ำ มันหล่อลืน่ เพือ่ ใช้กบั เครือ่ งจักร ในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยสามารถจัดหาได้ภายในประเทศ เป็นการส่งเสริมการใช้ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรอีกทางหนึ่ง รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

185


5 เป้าหมายระยะยาว บริษัทฯ ได้ตั้งเป้าหมายที่จะสร้าง กำ�ไรของบริษัทฯ จากสินค้าเชิงเทคโนโลยี ไม่ต่ำ�กว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรทัง้ หมดของบริษทั ฯ และมีก�ำ ไรเบือ้ งต้นเฉลีย่ ของ ผลิตภัณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ในแต่ละผลิตภัณฑ์ ภายใน ปี 2569 ซึ่งจะเป็นการใช้เทคโนโลยีทั้งจากการค้นคว้าวิจัย ภายในบริษัทฯ หรือนวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว หลากหลาย ทันสมัย และลดความ เสี่ยงจากการพัฒนาเทคโนโลยี โดยบริษัทฯ ได้มีการปรับ เปลีย่ นโครงสร้างสายงานวิจยั และพัฒนา ให้มคี วามสามารถ ด้านการวิจัยทัดเทียมกับบริษัทชั้นนำ�ของโลก พร้อมทั้งแต่ง ตั้งกลุ่มที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีทั้งไทยและต่าง ประเทศ เพื่อคัดเลือกเทคโนโลยีที่สามารถสร้างผลตอบแทน ให้กับผู้ถือหุ้น คุ้มค่ากับการลงทุน เป็นประโยชน์ต่อบริษัทฯ ผู้มีส่วนได้เสีย และประเทศไทยได้อย่างแท้จริง

ผลิตภัณฑ์เด่นในรอบปี 2558 บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงความต้องการใช้วัสดุที่มีสมบัติพิเศษ และมีมูลค่าสูง จึงได้มีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกรด พิเศษทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ฉพาะ เหมาะสำ�หรับงานในอุตสาหกรรม ต่างๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในธุรกิจต่างๆ เช่น

1. ผลิตภัณฑ์ โพลิโพรพิลีนชนิดนำ�ไฟฟ้าได้ เกรด PP C3104BKC เป็นการนำ�โพลิเมอร์ชนิดโพลิโพรพิลีนซึ่งปกติมีคุณสมบัติ เป็นฉนวน (Insulator) มาเติมแต่งด้วยผงคาร์บอนแบล็กช นิดที่มีโครงสร้างพิเศษ มีคุณสมบัตินำ�ทางไฟฟ้า ทำ�ให้ได้ โพลิเมอร์เชิงประกอบ (PP Composites) ที่มีคุณสมบัติ ในการกระจายประจุไฟฟ้าได้ดี ซึ่งเมื่อนำ�ไปวัดค่า Surface Resistivity จะอยู่ในช่วง 103-104 Ω/sq. เหมาะสำ�หรับงาน Extrusion Sheet ทีต่ อ้ งการคุณสมบัตกิ ระจายไฟฟ้าสถิตในงาน บรรจุภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อลดผลกระทบของการประทุ

ของไฟฟ้าสถิตต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นการป้องกัน อุปกรณ์จากประจุทเี่ กิดจากการเคลือ่ นทีข่ องอุปกรณ์เองภายใน บรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ จะช่วยให้ผู้ผลิตสามารถลดความเสียหายของ สินค้าก่อนส่งถึงมือลูกค้าปลายทางได้เป็นจำ�นวนมาก

2. ผลิตภัณฑ์พลาติกคอมพาวด์ชนิดโพลิเอทิลีนความหนา แน่นสูง (High Density Polyethylene) ผสมสารเติมแต่งชนิดพิเศษเพื่อให้มีคุณสมบัติที่สามารถทน แสงแดด รังสีอัลตราไวโอเลต มลภาวะ และความสามารถ ในการทนการเกิดรอยไหม้ POLIMAXX C2307 B018 หรือ Track Resistant PE Compound ถูกพัฒนาขึ้นสำ�หรับ งานอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูงทีอ่ ยูภ่ ายนอกอาคารประเภท Cable Spacer สำ�หรับงาน Suspension Line System ซึง่ โดยปกติ วัสดุทหี่ มุ้ ด้วยฉนวนพลาสติกจะได้รบั ผลกระทบจากมลภาวะ รุนแรงเป็นระยะเวลานาน ไม่ว่าจะเป็นความชื้น สิ่งสกปรก ต่างๆ มูลสัตว์ รวมถึงรังสีอลั ตราไวโอเลต ซึง่ มลภาวะเหล่านี้ เป็นปัจจัยสำ�คัญทีท่ �ำ ให้อายุการใช้งานและคุณภาพของฉนวน อุปกรณ์ไฟฟ้าเสือ่ มลง อันอาจทำ�ให้เกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรได้

3. ผลิตภัณฑ์เอบีเอสเกรดท่อ POLIMAXX EP601 8E83 ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อให้มีคุณสมบัติที่เหมาะสม สามารถนำ�ไป ใช้ในกระบวนการผลิตขึน้ รูปเป็นท่อส่งน้�ำ ได้ มีคณ ุ สมบัตโิ ดด เด่นในด้านการใช้งานในช่วงอุณหภูมกิ ว้างระหว่าง -30 Cํ ถึง 70 ํC ทนต่อแรงกระแทกได้สูง สามารถทนการกัดกร่อนได้ดี และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่มีส่วนประกอบของสารโลหะ หนักเป็นส่วนผสม ดังนั้นจึงไม่มีสารพิษและโลหะปนเปื้อน เข้าสูข่ องเหลวหรือน้�ำ ทีไ่ หลผ่านท่อเอบีเอส อีกหนึง่ ผลิตภัณฑ์ คุณภาพของไออาร์พีซีที่เติมเต็มทางเลือกในการใช้งานท่อ ส่งน้�ำ ทีน่ อกเหนือจากท่อโพลิเอทิลนี ชนิดความหนาแน่นสูงที่ ไออาร์พซี เี ป็นผูผ้ ลิตเม็ดพลาสติกรายใหญ่ในภูมภิ าค ตอกย้�ำ ความเป็นผูน้ �ำ ในด้านการผลิตพลาสติกเกรดท่อทีต่ อบสนอง ต่อทุกความต้องการของผู้บริโภคอย่างแท้จริง

POLYPROPYLENE CONDUCTIVE POLIMAXX C3104BKC

ABS PIPE GRADE POLIMAXX EP601 8E83

186


4. Green ABS wood composite เม็ดพลาสติกทีม่ กี ารนำ�น้�ำ ยางพาราจากธรรมชาติมาทดแทน การใช้ยางสังเคราะห์เพียงรายเดียวในโลก โดยปัจจุบนั สามารถ ทดแทนในอัตรา 10-40% ของปริมาณยางสังเคราะห์เดิม นอกจากนีย้ งั มีการนำ�ผงไม้ซงึ่ เป็นวัสดุทางธรรมชาติมาผสม ในสัดส่วน 10-20% อีกด้วย Green ABS wood composite จึงเป็นอีกหนึง่ แรงสนับสนุน ในการเพิ่มมูลค่าและปริมาณความต้องการใช้ยางพาราของ ประเทศ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง และนับเป็น อีกทางหนึ่งในการช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากแหล่งฟอสซิล ที่ลดน้อยลงไปเรื่อยๆ รวมทั้งช่วยลดการตัดไม้ทำ�ลายป่า เนื่องจากสามารถนำ�มาทำ�เป็นวัสดุที่ทดแทนไม้ได้ ในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้มีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ Green ABS wood composite grade NRG350VC ซึ่งมียางพาราเป็น ส่วนผสม 10% และผงไม้ 10% โดยลูกค้านำ�ไปขึ้นรูปเป็น สินค้าประเภท Decoration เพื่อส่งจำ�หน่ายในต่างประเทศ โดยมีการเปิดตัวสินค้าที่ประเทศฝรั่งเศสในงาน Maison เดือนมกราคม 2559 และประเทศเยอรมันในงาน Avente เดือนกุมภาพันธ์ 2559

5. โพลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene, HDPE) เกรดท่อความดันสำ�หรับน้ำ�และแก๊ส บริษทั ฯ ได้พฒ ั นาผลิตภัณฑ์เกรดพิเศษต่างๆ เพือ่ สร้างมูลค่า เพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เดิม เช่น เกรดท่อความดันสำ�หรับน้ำ� และแก๊ส โดยมีการพัฒนาทั้งตัวเร่งปฏิกิริยาและกระบวน การผลิตในส่วนของการผลิตโพลิเมอร์ (polymerization) และ ในกระบวนการผสมพลาสติก (Compounding) ซึ่งการวิจัย และพั ฒ นาทั้ ง หมดนี้ เ พื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ กรดใหม่ สำ�หรับท่อความดันที่เรียกว่า PE100 สามารถขายได้ใน ทุกตลาดทั่วโลก มีมูลค่าผลิตภัณฑ์สูง โดยผลิตภัณฑ์นี้ สามารถใช้งานได้ทั้งการขนส่งน้ำ�และแก๊ส โพลิเอทิลีนความหนาแน่นสูงเกรดท่อความดันสำ�หรับน้ำ� และแก๊ส ได้ถูกพัฒนาขึ้นจากการคัดเลือกตัวเร่งปฏิกิริยาที่ เหมาะสม การปรับปรุงกระบวนการผลิตในขั้นตอนการเกิด polymerization ในโรงงานผลิต HDPE ให้มีประสิทธิภาพ ดีขึ้น พัฒนาเครื่องจักร สูตรการผลิต และสภาวะปฏิกิริยาที่ เหมาะสม เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพที่ดี โดยได้รับการ รับรองจากการผ่านมาตรฐานการผลิตท่อความดันที่ยอมรับ ในระดับสากล เช่น มาตรฐาน ISO มาตรฐาน PIPA ของ ออสเตเรีย มาตรฐาน GOST ของรัสเชีย มาตรฐาน SABS ของแอฟริกา มาตรฐาน PE100+ ของกลุ่มประเทศยุโรป และมาตรฐาน มอก. ของประเทศไทย เป็นต้น

6. ผลิตภัณฑ์ ไม้พลาสติก ผงไม้เป็นเส้นใยธรรมชาติ ที่ถูกผสมกับพลาสติกเพื่อผลิตไม้พลาสติก (Wood Plastic Composite, WPC) สามารถนำ�มาใช้งานแทนไม้ธรรมชาติและพลาสติกได้ เป็นวัสดุ ที่มีน�้ำ หนักเบาเมื่อเทียบกับไม้ธรรมชาติแต่แข็งแรงมากกว่า พลาสติก ผงไม้บางส่วนเป็นของเสียในอุตสาหกรรมไม้และ เฟอร์นิเจอร์ เป็นวัตถุดิบที่ปลูกใหม่ทดแทนได้ (renewable) สามารถย่ อ ยสลายได้ (biodegradable) เป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม จากการสำ�รวจตลาดของ WPC ที่ใช้ทั่วโลกมี ปริมาณถึง 1,620 กิโลตันต่อปี และมีอัตราการเติบโตอยู่ที่ ประมาณร้อยละ 18 ต่อปี ในประเทศไทยมีผงไม้จากขีเ่ ลือ่ ยซึง่ เป็นของเสียจากอุตสาหกรรม ไม้และเฟอร์นิเจอร์ เป็นจำ�นวนมากและมีราคาถูก มีพื้นที่ เกษตรกรรมจำ�นวนมากสามารถปลูกไม้โตเร็วเพือ่ การผลิตผงไม้ อีกทั้งเป็นผู้นำ�ทางด้านอุตสาหกรรมการขึ้นรูปพลาสติกใน ภูมิภาคนี้ มีผู้ประกอบการเป็นจำ�นวนมาก ประเทศไทยจึงมี ความได้เปรียบในการผลิต WPC ทีส่ ามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก บริษัทฯ ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพดังกล่าว จึงได้ทุ่มเทวิจัย พัฒนาผลิตภัณฑ์ WPC ทีม่ คี ณ ุ ภาพเข้าสูต่ ลาดอย่างต่อเนือ่ ง ทดแทนการใช้พลาสติกที่ผลิตจากปิโตรเลียม 100% พร้อม กันนี้คุณสมบัติ WPC ที่ได้จะมีความโดดเด่นในด้านความ แข็งแรงทีเ่ พิม่ ขึน้ จากผงไม้ทเี่ ติมเมือ่ เปรียบเทียบกับพลาสติก ทั่วไป และยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับปรัญญา องค์กรของบริษัทฯ อีกด้วย รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

187


ทิศทางดำ�เนินธุรกิจเชิงกลยุทธ์ Leading Integrated Petrochemical Complex in Asia by 2020

Operational Efficiency Improvement , Margin Asset Utilization Enhancement, Improvement Product and Service Improvement, Capacity and Products Expansion Project Completion • CHP I: Electricity +220 MW, Steam +420 T/hr • PRP: Propylene +100 KTA • EURO IV: Gasoline 15 KBD, Diesel 10 KBD, Jet 15 KBD • TDAE +28 KTA, 150BS +25 KTA • EBSM +60 KTA, ABS/SAN +60 KTA • Lube Blending +60 M.Ltrs./year

Incremental Margin Organization Health

Fully Integrated PP

• Capability Building • Owner mindset & Performance Orientation • Cultural Changes • UHV Propylene +320 KTA

• Operational Excellence • Commercial Excellence • Procurement & HR Excellence Benefit +135 MUSD 2015

• PP Expansion +160 KTA • PP Compounding +140 KTA

New investments through JV • PX • AA/SAP

2020 ROIC 14%

2017

2013 INDIVIDUAL OWNERSHIP SYNERGY PERFORMANCE EXCELLENCE

2010

INNOVATION RESPONSIBILITY FOR SOCIETY INTEGRITY & ETHICS TRUST & RESPECT

บริษัทฯ มีวิสัยทัศน์ ในการก้าวไปสู่การเป็น “บริษัทปิโตรเคมีชั้นนำ�ของเอเชีย ภายในปี 2563” หรือ “Leading Integrated Petrochemical Complex In Asia by 2020” โดยสร้างผลกำ�ไรที่เพิ่มสูงขึ้นจากการดำ�เนินธุรกิจและ โครงการใหม่ๆ ซึ่งส่งผลให้ผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นร้อยละ 14 เข้าสู่ระดับ Top Quartile Performance ของกลุ่ม ธุรกิจปิโตรเคมีภายในปี 2563 รวมทั้งสามารถแข่งขันและรักษาระดับทางธุรกิจได้อย่างยั่งยืน ควบคู่กับการดูแลสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม จากวิสยั ทัศน์และเป้าหมายดังกล่าว บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินโครงการสำ�คัญเชิงกลยุทธ์ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั รวมไปถึงการวางแผนโครงการสำ�คัญในอนาคต เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ จะสามารถบรรลุวิสัยทัศน์ที่กำ�หนดไว้

188


“PHOENIX” ยุคของการเกิดใหม่ กับการลงทุนขนาดใหญ่ เพื่อสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โครงการเชิงกลยุทธ์ขนาดใหญ่ดว้ ยเม็ดเงินลงทุนกว่า 43,000 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ ของบริษทั ฯ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ยกระดับการ ใช้ประโยชน์สินทรัพย์ปัจจุบันให้เกิดประโยชน์สูงสุด พัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์และบริการ รวมทั้งขยายกำ�ลังการผลิตใน สายผลิตภัณฑ์ทมี่ ศี กั ยภาพ โดยมีโครงการสำ�คัญทีด่ �ำ เนินการ แล้วเสร็จ ได้แก่ โครงการขยายกำ�ลังการผลิตโพรพิลนี (PRP) โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพน้�ำ มันได้ตามมาตรฐาน EURO IV โครงการเพิ่มกำ�ลังการผลิตหน่วยผลิต TDAE (Treated Distillate Aromatic Extract oil) และเพิ่มกำ�ลังการผลิต หน่วยผลิต Bright Stock โครงการเพิ่มกำ�ลังการผลิต สไตรีนโมโนเมอร์ ABS และ SAN โครงการขยายโรงผสม น้ำ�มันหล่อลื่น และโครงการเพิ่มมูลค่าเพื่อผลิตภัณฑ์สะอาด หรือ Upstream Project for Hygiene and Value Added Products (UHV) สามารถปรับปรุงคุณภาพน้�ำ มันทีม่ มี ลู ค่าต่�ำ ให้เป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูง ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์โพรพิลีนเพิ่ม ขึ้น 320,000 ตันต่อปี

“DELTA” ยุคของการสร้างความแข็งแกร่งจากภายใน ด้วยประสิทธิภาพการดำ�เนินงานที่เป็นเลิศ โครงการปรับปรุงกระบวนการผลิตและการดำ�เนินงานให้ มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศด้านการผลิต (Operational Excellence) ด้วยการนำ�ซอฟท์แวร์ที่ทันสมัยมาช่วยบริหาร จัดการกระบวนการผลิตในสายห่วงโซ่อุปทาน เพื่อพัฒนา ระบบการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและต้นทุนการผลิต โดยรวมลดต่ำ�ลง การปฏิบัติการที่เป็นเลิศด้านการตลาด (Commercial Excellence) ด้วยการปรับกลยุทธ์การขาย เพิ่มคุณภาพสินค้าและบริการ รวมทั้งการใช้ซอฟท์แวร์ที่ ทันสมัยมาวิเคราะห์ทำ�ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพบนพื้นฐานข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ� และสร้าง ผลกำ�ไรสูงสุด การปฏิบัติการที่เป็นเลิศด้านการจัดซื้อ จัดจ้าง (Procurement Excellence) ด้วยการจัดซื้อจัดหา วัตถุดิบ สารเคมี และอุปกรณ์ต่างๆ ในคุณภาพที่ดีและราคา ที่ต่ำ�ลงโดยการขยายเครือข่ายการติดต่อผู้ขายในประเทศไป สู่ผู้ขายจากทั่วทุกมุมโลก และการปฏิบัติการที่เป็นเลิศด้าน การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Excellence) ด้วยการ พัฒนาปรับปรุงระบบบริหารจัดการงานทรัพยากรบุคคลที่ ทันสมัยและครบถ้วนตามมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นเครื่อง มือในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถแข่งขันได้ โดย กระตุ้นให้ทุกคนตระหนักในการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผล กำ�ไรของบริษัทฯ รวมทั้งปลูกฝังแนวคิดในการทำ�งานภาย ใต้ค่านิยมองค์กรเดียวกัน โดยความสำ�เร็จของการดำ�เนิน โครงการสามารถสร้างผลประโยชน์ได้รวมทั้งสิ้นมากกว่า 4,000 ล้านบาท

“EVEREST” ยุคของการเพิ่มศักยภาพการดำ�เนินงานทั่วทั้ง องค์กรควบคู่ ไปกับการพัฒนาสุขภาพองค์กรเพื่อความยั่งยืน (Oraganization Health) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างผลประโยชน์ส่วนเพิ่มและ พัฒนาสุขภาพองค์กร โดยดำ�เนินการร่วมกับบริษัทที่ปรึกษา ชัน้ นำ�ของโลกในการพัฒนาการดำ�เนินงานทุกด้านของบริษทั ฯ ตามแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practices) มีกระบวนการที่ช่วย สนับสนุนและเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ พร้อมทัง้ สร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้ สอดรับกับการปรับปรุงประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กรได้อย่าง ต่อเนือ่ ง โดยมีเป้าหมายในการสร้างกำ�ไรส่วนเพิม่ 3,500 ล้าน บาทต่อปี ในปี 2559 และเพิ่มอีกเป็น 7,000 ล้านบาทต่อปี ในปี 2560 เพือ่ ผลักดันให้บริษทั ฯ สามารถบรรลุเป้าหมายด้วย อัตราส่วนผลตอบแทนต่อการลงทุน (ROIC) มากกว่าร้อยละ 14 ภายใต้การดำ�เนินงานที่ครอบคลุมทั้ง 5 ด้านหลัก ได้แก่ การผลิต การตลาดและการขาย การจัดซือ้ จัดจ้าง การบริหาร จัดการด้านภาพรวมองค์กร และการพัฒนาสุขภาพองค์กร

“Fully Integrated PP & Other Projects” เพื่อเพิ่ม ศักยภาพการผลิตปิโตรเคมี การดำ�เนินโครงการขยายกำ�ลังการผลิตพลาสติกโพลิโพรพิลนี จำ�นวน 300,000 ตันต่อปี ด้วยงบประมาณการลงทุนกว่า 7,700 ล้านบาท เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ตอบสนองความต้องการของลูกค้าปัจจุบัน และรองรับการ เติบโตของตลาดในอนาคต โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมทีม่ กี าร เติบโตสูง เช่น รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และบรรจุภัณฑ์อาหาร ซึ่งโครงการประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ได้แก่ โครงการ ปรับปรุงสายการผลิตโพลิโพรพิลีน (PP Expansion: PPE) เพิม่ เติม เพือ่ ขยายกำ�ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ อีก 160,000 ตันต่อปี และโครงการขยายกำ�ลังการผลิตเม็ดพลาสติกโพลิโพรพิลีน คอมพาวด์ (PP Compounding: PPC) เพิ่มขึ้นอีก140,000 ตันต่อปี โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตคอมพาวด์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ สูงเพียงขัน้ ตอนเดียวจากบริษทั ชัน้ นำ�ของประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ จะ ช่วยลดขัน้ ตอนการผลิตและลดต้นทุนได้เป็นอย่างดี หลังจาก การดำ�เนินโครงการเสร็จสิน้ จะทำ�ให้บริษทั ฯ มีก�ำ ลังการผลิต พลาสติกโพลิโพรพิลีนรวมเป็น 775,000 ตันต่อปี กลายเป็น ผู้ผลิตที่มีกำ�ลังการผลิตสูงสุดเป็นอันดับต้นๆ ของภูมิภาค นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีแผนการลงทุนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ เกรดพิเศษที่มีมูลค่าสูง โดยต่อยอดจากผลิตภัณฑ์เดิมที่มี ศักยภาพ อันได้แก่ โครงการ Para Xylene (PX) และโครงการ Acrylic Acid (AA) / Super Absorbent Polymer (SAP) ซึง่ อยูร่ ะหว่างการศึกษาโครงการร่วมกับบริษทั ในกลุม่ ปตท.

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

189



CORPORATE RESPONSIBILITY ความรับผ�ดชอบขององค กร

การบร�หารจัดการอย างยั่งยืน การจัดการด านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ�งแวดล อม การดำเนินธุรกิจด วยความรับผ�ดชอบต อสังคม การลงทุนในกิจการเพ�่อสังคม


การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) มีปรัชญาในการดำ�เนินธุรกิจเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยเน้นการเติบโตทางธุรกิจ ที่ควบคู่ไปกับการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สร้างความสัมพันธ์อันดีและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของชุมชน ให้มีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น สนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข รวมถึงได้รับความไว้วางใจ จากผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ

เมื่อปลายปี 2557 บริษัทฯ ได้จัดตั้งสำ�นักบริหารความยั่งยืน ขึน้ เพือ่ ทำ�หน้าทีบ่ ริหารจัดการกลยุทธ์ความยัง่ ยืนขององค์กร ซึง่ ครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และการกำ�กับ ดูแลกิจการทีด่ ี และในปี 2558 ได้มกี ารแต่งตัง้ คณะกรรมการ การดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน กลุ่มไออาร์พีซี โดยมีผู้ช่วย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ สำ�นักบริหารความยัง่ ยืน เป็นประธาน กรรมการ และมีผชู้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูจ้ ดั การฝ่าย จากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องร่วมเป็นกรรมการ ทำ�หน้าทีก่ �ำ หนด

นโยบายและกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน พิจารณากลั่นกรอง ให้ความเห็นแผนงานการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เพื่อขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการจัดการและคณะกรรมการ บริษทั ฯ กำ�กับดูแล ติดตาม สนับสนุน และส่งเสริมการดำ�เนินงาน ด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนให้เป็นไปตามนโยบายและกลยุทธ์ เพื่อก้าวไปสู่องค์กรที่เป็นเลิศและยั่งยืน ตามวิสัยทัศน์ “บริษัทปิโตรเคมีชั้นนำ�ของเอเชีย ภายในปี 2563”

SUPPLIER

SHAREHOLDER ECONOMIC

NGOs

CREDITOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT

MEDIA

CUSTOMER ENVI

SO CIAL

GOVERNMENT

GOVE

RNANCE

COMMUNITY

192

RON MENTAL

EMPLOYEE


ประกาศ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) เรื่อง นโยบายการบริหารจัดการความยั่งยืน บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) มุ่งมั่นเป็นผู้น�ำ ในการดำ�เนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้วยการสร้าง ความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียผ่านการดำ�เนินงานที่เป็นเลิศ โปร่งใส และมีการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยมีกรอบการบริหารจัดการความยั่งยืนไออาร์พีซี เป็นแนวปฏิบัติให้ เป็นไปในทิศทางเดียวกันตามมาตรฐานสากล และมีนโยบายการดำ�เนินงาน ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

คำ�นึงถึงการรักษาความสมดุลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่ายในการดำ�เนินงาน เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจ ลดผลกระทบจากการดำ�เนินงานตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่า ไปพร้อมกับการเติบโตทางธุรกิจ โดยครอบคลุมมิติ ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัย และความปลอดภัย พัฒนากลยุทธ์การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสำ�คัญต่อเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ที่ยั่งยืน ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในการดำ�เนินงาน เพื่อสร้างอนาคตที่ยั่งยืน เปิดเผยพันธสัญญา มาตรฐาน และผลการดำ�เนินงานด้านความยัง่ ยืนอย่างโปร่งใส เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ปลูกฝังบุคลากรให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบและคำ�นึงถึงผูม้ สี ว่ นได้เสีย เพือ่ สร้างวัฒนธรรมการดำ�เนินงาน อย่างยั่งยืน

ทั้งนี้ ผู้บริหารและพนักงานไออาร์พีซีทุกคน มีหน้าที่สนับสนุน ผลักดัน และปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบาย และกรอบการบริหารจัดการความยั่งยืนที่กำ�หนด จึงประกาศมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม 2558

(นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ) กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายการบริหารจัดการความยั่งยืน กลุม่ ไออาร์พซี ี ขึน้ เพือ่ เป็นแนวปฏิบตั ขิ องบริษทั ฯ ในทิศทาง เดียวกันตามมาตรฐานสากล โดยนโยบายฯ ครอบคลุม ประเด็นที่มีความท้าทายในการสร้างความเจริญเติบโตทาง ธุรกิจอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งสร้างมูลค่าและคุณค่าร่วมแก่ผู้มี ส่วนได้เสียทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ ทุกกลุม่ โดยมีสาระสำ�คัญ 6 ข้อ บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญและเน้นย้ำ�การดำ�เนินงานเพื่อ ตอบสนองเป้าหมายการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยได้ มี ก ระบวนการประเมิ น ประเด็ น สำ � คั ญ ต่ อ ความยั่ ง ยื น (Materiality Assessment) ครอบคลุมประเด็นที่ส่งผล กระทบสำ�คัญต่อบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในปี 2558 ประเด็นสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ของบริษัทฯ ประกอบไปด้วย

• การบริหารจัดการสายโซ่อปุ ทาน คูค่ า้ ถือเป็นพันธมิตร ทางธุรกิจทีส่ �ำ คัญ ด้วยเหตุนบี้ ริษทั ฯ จึงให้ความสำ�คัญในการ ส่งเสริมการบริหารจัดการของคูค่ า้ ให้เป็นไปตามแนวทางการ ปฏิบตั อิ ย่างยัง่ ยืนสำ�หรับคูค่ า้ และบริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินการบริหาร จัดการความเสีย่ งจากคูค่ า้ เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งในการจัดซือ้ จัดหาและเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันให้ดียิ่งขึ้น • ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ ตระหนักถึง ความสำ�คัญของการพัฒนานวัตกรรมที่ช่วยสร้างมูลค่า และคุณค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเพิ่มโอกาสทาง การตลาดและตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่าง และมีความหลากหลาย ด้วยการให้ความสำ�คัญกับการวิจัย และพัฒนานวัตกรรม และมุง่ เน้นทีจ่ ะตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าผ่านกลยุทธ์การสร้างความเป็นเลิศด้านการตลาด (Commercial Excellence) และการวิจยั พัฒนา (Research & Development Excellence) เพือ่ ให้ลกู ค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

193


• การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้วยการตระหนักว่าธุรกิจของบริษทั มีความเกีย่ วข้องกับการ ใช้และการผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งส่งผลต่อการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกไปสูช่ นั้ บรรยากาศโลก บริษทั ฯ จึงมุง่ มัน่ และ แสดงเจตนารมณ์ ทีจ่ ะร่วมเป็นส่วนหนึง่ ในการแก้ปญ ั หาการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้วยการพัฒนาประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน ตลอดจนมีการปรับปรุงการดำ�เนินงานอย่าง ต่อเนือ่ ง เพือ่ พัฒนากระบวนการผลิตให้เป็นกระบวนการทีส่ ะอาด • การปฏิบัติการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มี เ ป้ า หมายที่ จ ะใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ต่ า งๆ อย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด และเกิ ด ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม น้อยที่สุด ตลอดจนได้กำ�หนดเป้าหมายให้ได้รับการรับรอง การเป็นโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศครบทุกโรงงานภายใต้ การดำ�เนินงานของไออาร์พซี ี ภายในปี 2560 ตามกรอบแนวคิด อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) ของสถาบันสิง่ แวดล้อม อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อเป็น รากฐานในการพัฒนาไปสูก่ ารเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ (Eco Industrial Zone) ตามกรอบการพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) • ความรับผิดชอบต่อทรัพยากรน้ำ� เนื่องจากน้ำ�เป็น ทรัพยากรสำ�คัญต่อประชากรโลก อีกทั้งเขตประกอบการ อุตสาหกรรมไออาร์พีซี ตั้งอยู่บนพื้นที่ที่อาจมีความเสี่ยง ต่อการขาดแคลนทรัพยากรน้ำ� บริษัทฯ จึงบริหารจัดการน้�ำ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยบริหารจัดการความเสี่ยง ด้ า นน้ำ � จั ด ทำ � แผนงานและมาตรการป้ อ งกั น และ แก้ไขผลกระทบจากการใช้น้ำ� ที่อาจเกิดขึ้นต่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม

• การปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภัย บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญ กับความปลอดภัยของบุคลากรและกระบวนการผลิต จึงได้มี การส่งเสริมวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยให้เกิดขึน้ และเสริม สร้างทักษะที่จำ�เป็นให้กับพนักงานและผู้รับเหมา ตลอดจน ใช้กระบวนการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในการป้องกัน และตอบสนองกับสถานการณ์หรือปัจจัยที่เป็นความเสี่ยง ต่อความปลอดภัยของบุคลากรและกระบวนการผลิต • การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้วยการตระหนักว่า ความสำ�เร็จขององค์กรเริม่ ต้นจากความสามารถในการสรรหา การพั ฒ นา และการรั ก ษาบุ ค ลากรที่ มี ศั ก ยภาพไว้ กั บ องค์กร บริษัทฯ จึงมุ่งมั่นในการปรับปรุงระบบการบริหาร จั ด การด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คล เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของ พนักงาน ตลอดจนรักษาความผูกพันของพนักงานที่มีต่อ องค์กร โดยมีแนวทางการบริหารจัดการแบ่งออกเป็น 3 ด้านหลัก ได้แก่ การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ ด้านทรัพยากรบุคคล การพัฒนาศักยภาพพนักงาน และ การรักษาบุคลากรให้อยู่กับองค์กรในระยะยาว • การเป็นองค์กรที่ดีของสังคม บริษัทฯ มุ่งมั่นใน การดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ ชุมชนรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร์พีซี โดย มุ่ ง เน้ น การเสริ ม สร้ า งสุ ข ภาพอนามั ย ที่ ดี ต่ อ ชุ ม ชนและ การลงทุนเพื่อสร้างการพัฒนาสู่สังคม โดยมีเป้าประสงค์ สูงสุดในการสร้างคุณค่าร่วมและเติบโตไปพร้อมกันกับ สังคมไทย ตลอดจนได้รบั การยอมรับและเชือ่ มัน่ ในการดำ�เนิน ธุรกิจต่างๆ ของบริษัทฯ

รายละเอียดการบริหารจัดการประเด็นสำ�คัญต่อความยั่งยืนและผลการดำ�เนินงานได้เปิดเผยในรายงานความยั่งยืน (Corporate Sustainability Report) ประจำ�ปี 2558

ผลการประเมินประเด็นสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน (Materiality Assessment) ประจำ�ปี 2558 ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสีย

1. การบริหารจัดการสายโซ่อุปทาน 2. ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ 3. การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. การปฏิบัติการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 5. ความรับผิดชอบต่อทรัพยากรน้�ำ 6. การปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย 7. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 8. การเป็นองค์กรที่ดีของสังคม

4

6 2 8

3 7

4

2

3 5

1

1

2

ความสำ�คัญต่อไออาร์พีซี

194

1

3

4


ในป 2558 บร�ษัทฯ ได รับคัดเลือกเข าเป นสมาชิกดัชนีความยั่งยืนดาวโจนส กลุ มตลาดเกิดใหม หร�อ DJSI Emerging Market ในกลุ มอุตสาหกรรมประเภท Oil & Gas ต อเนื่องเป นป ที่ 2 ซึ่งเป นการรับรองว า บร�ษัทฯ เป นหนึ่งในบร�ษัทชั้นนำของโลก ด านการพัฒนาอย างยั่งยืน สะท อนให เห็นถึงความมุ งมั่นในการดำเนินธุรกิจด วยความสมดุล ทั้งทางด านเศรษฐกิจ สังคม และสิ�งแวดล อม เพ�่อตอบสนองผู มีส วนได เสียทุกๆ ด าน

บริษัทฯ ได้นำ�ประเด็นที่สำ�คัญดังกล่าว มาเป็นแนวทางใน การกำ�หนดกลยุทธ์ในการพัฒนาการดำ�เนินงานที่คำ�นึง ถึงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Environmental Social and Governance: ESG Enhancement) พร้อมทั้งดำ�เนินการจัดทำ�แผนงานการบริหารจัดการอย่าง ยั่งยืน (Sustainability Roadmap) ประจำ�ปี 2559-2563 ตลอดจนนำ�ประเด็นที่สำ�คัญมาเป็นกรอบในการกำ�หนด เนื้อหาในรายงานความยั่งยืน เพื่อเปิดเผยให้ผู้มีส่วนได้เสีย รับทราบการดำ�เนินงานของบริษัทฯ อย่างโปร่งใส รายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2558 ได้จัดทำ�โดยประยุกต์ จากหลักการของ Sustainability Reporting Guideline: Oil and Gas Sector Disclosure ภาคที่ 4 ของ Global Reporting Initiative (GRI) ในระดับสูง (Core) ซึ่งเป็นหลัก การจัดทำ�รายงานความยั่งยืนที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยบริษัทฯ ได้รับรางวัลรายงานความยั่งยืนประจำ�ปี 2558 (Sustainability Report Award 2015) ระดับดีเด่น จาก โครงการประกาศรางวัลรายงานความยัง่ ยืน ซึง่ เป็นโครงการ ความร่วมมือของ CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ต.ล.) และสถาบันไทยพัฒน์ โดยบริษัทฯ ได้รับรางวัล ดังกล่าวต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ในปี 2559 บริษัทฯ จะมีการกำ�หนดตัวชี้วัดการดำ�เนินงาน (Performance Indicator) ของหน่วยงานต่างๆ ที่สนับสนุน เป้ า หมายการดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น การดำ�เนินงานในทุกๆ ด้านเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของ องค์กรสู่ก้าวย่างที่สำ�คัญตามวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ

ความสำ�เร็จของการดำ�เนินงานด้านความยั่งยืนของ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ที่สะท้อนอยู่ใน ผลของการได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิก DJSI มีดังนี้ ด้านเศรษฐกิจ บริษัทฯ มีการกำ�กับดูแลองค์กรด้วยความโปร่งใส โดย กำ�หนดจรรยาบรรณในการดำ�เนินธุรกิจ (Code of Conduct) เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม และ ให้ความสำ�คัญกับการต่อต้านคอร์รัปชัน มีการประกาศ นโยบายและให้ความรู้กับพนักงานเพื่อให้เกิดการตระหนัก และนำ�ไปปฏิบัติอย่างถูกต้อง ตลอดจนมีการบริหารความ เสี่ยงเชิงบูรณาการตั้งแต่ระดับคณะกรรมการบริษัทฯ จนถึง ระดับพนักงาน ตามแนวทางการบริหารความเสีย่ งทีเ่ ป็นสากล โดยครอบคลุมความเสี่ยงในมิติของสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (ESG) นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีการเตรียมความพร้อมในการดำ�เนินธุรกิจ โดยได้ จัดทำ�การทดสอบภาวะวิกฤต (Stress Test) เพื่อประเมิน ผลกระทบจากสภาวะวิกฤตและเตรียมแผนรองรับเหตุ ฉุกเฉินต่างๆ เพือ่ ให้ธรุ กิจดำ�เนินได้อย่างต่อเนือ่ ง มีการบริหาร จัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) โดยคำ�นึงถึงความเสี่ยงด้าน ESG ตลอดจนมีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการทีด่ ี มีคณ ุ ภาพ ตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้า ผ่านการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีใน การผลิตผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบโจทย์แนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้งของโลก

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

195


ไออาร์พีซี รับรางวัล “โรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ Eco Factory” สำ�หรับโรงงานผลิตเอทิลีน โรงผลิตพลังไอน้�ำ และไฟฟ้าร่วม โรงกลั่นน้�ำ มัน และโรงผลิตน้ำ�มันหล่อลื่น พื้นฐาน จาก ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ในงานสัมมนาวิชาการประจำ�ปี 2558 “Eco Innovation and Solution 2015” จัดโดยสถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

ด้านสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ มีระบบติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อมเชิงรุก และ เปิดเผยข้อมูลผลการตรวจวัดคุณภาพด้านสิง่ แวดล้อมอย่างโปร่งใส อีกทั้งมีการกำ�หนดกลยุทธ์ในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ตลอดจนมีการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ี หลากหลายซึ่งเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค โดยมีผลิตภัณฑ์ท่นี ำ�ออกจำ�หน่ายแล้ว อาทิ ผลิตภัณฑ์ Green ABS ผลิตภัณฑ์ Wood Plastic Composite และผลิตภัณฑ์ Natural Color Compound เป็นต้น นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้สง่ เสริมและสนับสนุนการดำ�เนินการผลิต ให้เกิดดุลยภาพทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม โดยการ ให้แต่ละโรงงานมีระบบการบริหารจัดการเชิงนิเวศทีด่ ี ตามกรอบ แนวคิดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Factory) ของสถาบัน สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเพื่อ เป็นรากฐานในการพัฒนาไปสูก่ ารเป็นเขตประกอบการอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ (Eco Industrial Zone) ตามกรอบการพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ในปี 2558 บริษัทฯ มีโรงงานที่ได้รับการรับรองการเป็นโรงงาน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศแล้วทั้งสิ้น 4 โรงงาน คือ โรงงาน ผลิตเอทิลีน โรงผลิตพลังงานไอน้ำ�และไฟฟ้าร่วม โรงกลั่น น้ำ�มัน และโรงผลิตน้ำ�มันหล่อลื่นพื้นฐาน และมีเป้าหมายที่ จะได้รับการรับรองการเป็นโรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศครบ ทุกโรงงานภายในปี 2560 ด้านสังคม บริษัทฯ คำ�นึงถึงกระบวนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรใน องค์กร การสร้างวัฒนธรรมให้พนักงานเกิดการตระหนักถึง ความปลอดภัย และสร้าง DNA ด้านความยั่งยืนให้เกิดขึ้นกับ พนักงานทุกคน อันจะส่งผลให้พนักงานปฏิบัติงานโดยคำ�นึง ถึงสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสังคม ผ่านค่านิยมองค์กร “i SPIRIT” ซึง่ รวมถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและผูม้ สี ว่ นได้เสีย

196

(Responsibility for Society) ความมุ่งมั่นในการดำ�เนินงาน ด้วยความซือ่ สัตย์ โปร่งใสและมีคณ ุ ธรรม (Integrity and Ethics) และการสร้างความเชือ่ มัน่ ไว้วางใจ เคารพให้เกียรติซง่ึ กันและกัน (Trust and Respect) ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการสื่อความเรื่องการพัฒนา อย่างยั่งยืนให้กับพนักงานทั่วทั้งองค์กรผ่านการประชุมสำ�คัญ ของบริษัทฯ เช่น การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม โรงงานระยอง (Rayong Management Committee) วาระพิเศษ การอบรมหลักสูตรการเรียนรู้ IRPC Cubic Academy การประชุม คู่ค้า (Supplier Conference 2015) เป็นต้น โดยตั้งเป้าหมาย ในการสร้ า งการตระหนั ก รู้ แ ก่ พ นั ก งานให้ ค รบทุ ก ระดั บ ทั่ ว ทัง้ องค์กร ภายในปี 2563 นอกจากนีไ้ ด้มกี ารมอบรางวัล Eternity Award ให้กับหน่วยงานที่มีการดำ�เนินงานที่มีความตระหนัก ถึ ง ความยั่ ง ยื น อย่ า งโดดเด่ น ในด้ า นการขยายโครงการ ที่มีการขยายกำ�ลังการผลิตและโครงการใหม่ บริษัทฯ ได้สร้าง การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย ผ่านการประชุมเพื่อรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและการสำ�รวจความพึงพอใจของ ชุมชนเป็นประจำ�ทุกปี และได้นำ�เสียงสะท้อนที่ได้รับมาพัฒนา ศักยภาพการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่องต่อไป

บริษัทฯ ได้จัดพิธีมอบรางวัล Eternity Award ประจำ�ปี 2558 ให้กับหน่วยงานที่มี การดำ�เนินงานที่มีความตระหนักถึงความยั่งยืนอย่างโดดเด่น


การบริหารจัดการด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิต อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก มุ่งสู่องค์กรที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน ในระดับ Top Quartile ภายในปี 2563

ด้วยวิสัยทัศน์ ในการก้าวไปสู่การเป็นบริษัทปิโตรเคมีของเอเชียภายในปี 2563 และปรัชญาการดำ�เนินธุรกิจเพื่อ การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น ขององค์ ก ร บริ ษั ท ไออาร์ พี ซี จำ � กั ด (มหาชน) และบริ ษั ท ในเครื อ จึ ง มี ค วามตระหนั ก และให้ความสำ�คัญด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (QSHE) เป็นอย่างสูงเพื่อให้ เกิดกระบวนการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Operational Excellence) และตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายใน และภายนอกองค์กร บริษัทฯ มีนโยบายในการดำ�เนินงานแบบบูรณาการสำ�หรับทุกหน่วยงาน ดังนี้ ด้านคุณภาพ มีการนำ�ระบบมาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้ มุ่งเน้นการปรับปรุงการผลิต การให้บริการ และการพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์ มีการดำ�เนินการปรับปรุงประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตและกระบวนการทำ�งานอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นการตอบสนองและสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า ด้านสิง่ แวดล้อม นอกจากการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อกำ�หนดที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมาตรการป้องกันและลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามที่กำ�หนดไว้ในรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA/EHIA) แล้ว องค์กรยัง มุ่งเน้นการปรับปรุงกระบวนการผลิตที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ที่ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งการควบคุมมลพิษทางน้ำ� ทาง อากาศ และกากอุตสาหกรรม เน้นหลักการ 3R (Reduce, Reuse, Recycle) และการลดมลพิษจากแหล่งกำ�เนิดเป็น สำ�คัญ ตลอดจนการอนุรกั ษ์พลังงานและการจัดการการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกเพือ่ มุง่ สูส่ งั คมคาร์บอนต่�ำ รวมถึงส่งเสริมการ ใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด และลด ผลกระทบที่เกิดจากกิจกรรมของบริษัทฯ ให้เหลือน้อยที่สุด

ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย บริษัทฯ มุ่งมั่นใน การส่งเสริมวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยที่แข็งแกร่งให้กับ ผู้ปฏิบัติงานทุกกลุ่ม อาทิ พนักงาน ผู้รับเหมา ชุมชน ตลอด จนผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ มีการบริหารจัดการโครงการต่างๆ ได้แก่ โครงการดูแลความปลอดภัยในการทำ�งานด้วยความ “ห่วงใย และใส่ใจซึ่งกันและกัน” โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของผู้รับเหมา (Enhancing Contractor Safety Management Improvement Program) โครงการการบริหารกระบวนการด้านความปลอดภัย (Process Safety Management: PSM) เพือ่ นำ�ไปสูเ่ ป้าหมายให้ปลอด อุบัติเหตุ (Zero Accident) โดยดำ�เนินการปรับปรุงและ ป้องกันอันตรายอันจะเกิดขึน้ ในการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนการส่งเสริมการสร้างจิตสำ�นึกและวัฒนธรรมในการ ปฏิบัติงาน ให้ผู้ปฏิบัติงานตระหนักถึงความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยในการทำ�งานตลอดเวลา

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

197


กลยุทธ์การบริหารจัดการด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ มีการทบทวนวิสยั ทัศน์และแผนการดำ�เนินธุรกิจอย่าง สม่ำ�เสมอ ภายใต้การดำ�เนินการที่เป็นเลิศในการปฏิบัติงาน ทุกด้าน โดยมุ่งเน้นกลยุทธ์หลัก 4P (Process, Partners, People และ Professional) ดังนี้ Process มีการกำ�หนดมาตรการควบคุม ตรวจสอบ และ ลดความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากกระบวนการทำ�งานตัง้ แต่ชว่ ง วางแผนโครงการ ช่วงดำ�เนินงาน จนสิ้นสุดการดำ�เนินงาน มีการปรับปรุงการดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง ป้องกันมลพิษ ที่แหล่งกำ�เนิด การจัดการพลังงาน พัฒนากระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มีการนำ�ระบบการ ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ กลุ่ม ปตท. (PTT Group Operational Excellence Management System: OEMS) มาประยุกต์และ บูรณาการการบริหารจัดการร่วมกับระบบการจัดการ QSHE ตลอดจนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการบริหารจัดการด้าน QSHE Partners เน้นการสร้างความแข็งแกร่งและเป็นผู้นำ�ด้าน QSHE ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีและการกลั่น โดยมุ่งสร้าง เครือข่ายกับทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ เอกชน และ ชุมชน อาทิ ดำ�เนินโครงการอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของ เขตประกอบการอุตสาหกรรม EIZ (Eco Industrial Zone) จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและสร้างองค์ ความรูส้ ชู่ มุ ชน และการสร้างความสัมพันธ์กบั หน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วน เพือ่ ร่วมให้ความเห็นต่อการยกร่างและปรับปรุง กฎระเบียบด้าน QSHE People สร้างจิตสำ�นึกและวัฒนธรรมด้าน QSHE แก่ผมู้ สี ว่ น ได้เสียทุกระดับ โดยเริม่ ต้นจากพนักงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพ ของกระบวนการสอนงาน (Coaching) และการสื่อสารอย่าง ต่อเนื่อง สม่ำ�เสมอ เช่น การสร้างวัฒนธรรมด้านความ ปลอดภัย (Behavior Based Safety: BBS) การสรุป Safety Talk และ Environment Talk การให้ความรู้ด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อมต่อชุมชน และการ อนุรักษ์พลังงาน เป็นต้น

Professional พัฒนาความเป็นมืออาชีพด้าน QSHE มุง่ สร้าง และบริหารจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management: KM) มีการแลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ ผลการปฏิบตั งิ าน ระหว่างบริษทั (Lesson Learned & Best Practice Sharing) เพื่อมุ่งสู่การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ โดยได้รับการยอมรับจาก ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมวงกว้างอื่นๆ ตลอดจนการ ได้รับการรับรองจากหน่วยงานภายนอก

การดำ�เนินโครงการต่างๆ ด้าน QSHE ที่สำ�คัญ ในปี 2558 สรุป ได้ดังนี้ การจัดทำ�ทำ�เนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Registers: PRTR) PRTR เป็นโครงการภาคสมัครใจทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ Japan International Cooperation Agency (JICA) ของรัฐบาลญี่ปุ่น ริเริ่มจัดทำ� โครงการรายงานข้อมูลสถานประกอบการ ปริมาณการปลดปล่อย เคลื่อนย้ายมลสาร ของเสียสู่อากาศ ดิน น้ำ� ในพื้นที่น�ำ ร่อง จังหวัดระยอง ตัง้ แต่ปี 2555 เป็นต้นมา กลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียม ของบริษัทฯ ได้เข้าร่วมเป็นโครงการนำ�ร่องและร่วมดำ�เนิน การจัดทำ�คูม่ อื การดำ�เนินงานตามรายงานการปลดปล่อยและ เคลื่อนย้ายมลพิษจากแหล่งกำ�เนิด (PRTR) โดยในปี 2557 บริษัทฯ ได้มีส่วนร่วมในการรายงานผล PRTR ของโรงงาน กลุ่มปิโตรเลียมและกลุ่มปิโตรเคมี โดยทดลองรายงานผล ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในปี 2558 บริษัทฯ ได้เข้าร่วมสนับสนุนการจัดเตรียมข้อมูล ในการนำ�เสนอและเผยแพร่ข้อมูล PRTR จากแหล่งกำ�เนิด ประเภทต่างๆ ในจังหวัดระยองสู่สาธารณะ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้มีส่วนได้เสียจากภาคต่างๆ พร้อมทั้งรับฟัง ข้อคิดเห็น เพื่อนำ�มาพัฒนารูปแบบและพัฒนาระบบ PRTR ของประเทศให้สามารถดำ�เนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป ขณะเดียวกันบริษัทฯ ก็มีโอกาสในการปรับปรุงระบบ การจัดการสารเคมี มลสารต่างๆ ภายในโรงงาน ส่งเสริมให้มี มาตรการใช้สารเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ หาแนวทางป้องกัน และลดการสูญเสียวัตถุดิบและสารเคมีในกระบวนการผลิต ตลอดจนการดำ�เนินมาตรการ โครงการลดการปลดปล่อย มลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม

การลดการระบายก๊าซเรือนกระจก บริษัทฯ ตระหนักถึงความจำ�เป็นและคำ�นึงถึงผลกระทบ ในอนาคต จึงปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิตอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและการลด การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยความมุ่งมั่นในการ เป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานในระดับ Top Quartile ภายในปี 2563 โดยบริษัทฯ มีการกำ�หนดทิศทาง การดำ�เนินการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมไปกับ การลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

198


นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการ ด้านพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งส่งเสริมการ ใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด สนองต่อนโยบายการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานของ ภาครัฐ ที่จะทำ�ให้ลดต้นทุนการผลิตและเกิดการอนุรักษ์ พลังงานอย่างมีระบบและยั่งยืน ซึ่งเป็นการช่วยลดภาวะโลก ร้อนและมลสารทางอากาศ โดยใช้หลักการมีส่วนร่วมของ พนักงานทุกคน โครงการอนุรกั ษ์พลังงานทัง้ ด้านไฟฟ้าและด้านความร้อนในปี 2558 ได้แก่ การลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยการใช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิงทดแทนน้�ำ มันเตาทีใ่ ช้ใน กระบวนการผลิตโรงงานปิโตรเคมีขนั้ กลาง (EBSM) และโรงกลัน่ น้�ำ มันหล่อลืน่ พืน้ ฐาน (LUBE BASE OIL) การใช้พลังงานอย่าง คุ้มค่าด้วยโครงการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมความเร็วรอบ มอเตอร์ (Variable Speed Drive: VSD) โครงการเปลี่ยน

ปี 2558 ปลูก Protection Strip

เพิ่มจำ�นวน 39 ไร่ รวมเป็นต้นไม้ 318,000 ต้น ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ประมาณ 2,800 ตันต่อปี เพิ่มขึ้นจากปี 2557

ร้อยละ 11

ทดแทนพัดลมระบายอากาศที่มีประสิทธิภาพช่วยประหยัด พลังงานของหอหล่อเย็นในกระบวนการผลิตน้ำ�หล่อเย็น การติดตัง้ Motion switch สำ�หรับระบบไฟแสงสว่างในอาคาร โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพของอุปกรณ์แลกเปลีย่ นความร้อน (Exchanger) โครงการเปลีย่ นอุปกรณ์กบั ดักไอน้�ำ (Steam trap) ทีช่ �ำ รุดเพือ่ ลดการสูญเสียไอน้�ำ ในระบบ โครงการปรับเปลีย่ น การใช้เชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในการผลิตมาเป็นก๊าซธรรมชาติ โครงการ ปรับปรุงหัวเผา (Burner) ของเครือ่ งกังหันก๊าซทีใ่ ช้ในการผลิต ไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าเพื่อลดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ออก สู่บรรยากาศ อันเป็นผลให้สามารถลดปริมาณไอน้ำ�ที่ต้องใช้ กับระบบก่อนดำ�เนินการปรับปรุง ช่วยประหยัดเชื้อเพลิง สำ�หรับการผลิตไอน้ำ�และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

การสร้างป่าธรรมชาติรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม (Protection strip) การสร้างป่าธรรมชาติรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรม เพื่อเป็นแนวป้องกันระหว่างเขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พีซีกับชุมชน โดยในปี 2558 ได้ทำ�การปลูกต้นไม้ รอบเขตประกอบการอุ ต สาหกรรมต่ อ จากแนวเดิ ม ที่ มี การดำ�เนินงานมาตั้งแต่ปี 2537 โครงการ Protection strip เริ่มต้นในปี 2554 และดำ�เนินการต่อเนื่องมาจนถึง ปัจจุบัน ได้ปลูกต้นไม้แล้วทั้งหมดจำ�นวน 318,000 ต้น รวมถึงมีแผนดูแลบำ�รุงรักษาต้นไม้อย่างสม่�ำ เสมอ ในปี 2558 ได้ปลูกเพิ่มเติม 39 ไร่ จำ�นวน 35,000 ต้น สามารถ ดูดซับปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิม่ ขึน้ จำ�นวน 300 ตัน คิดเป็นปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดูดซับได้ท้ังหมด ประมาณ 2,800 ตันต่อปี หากเทียบกับปี 2557 สามารถ ดูดซับได้เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 11 ช่วยลดผลกระทบทางด้าน อากาศและเสียงต่อชุมชนโดยรอบรวมทัง้ การเพิม่ ทัศนียภาพ ตามแบบป่าธรรมชาติอีกด้วย

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

199


การประชุมของคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพ โครงการและพั ฒ นาชุ ม ชนและสั ง คม เขต ประกอบการอุตสาหกรรมบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง (คพอ.) ซึง่ ประกอบด้วยภาคประชาชน ส่วนราชการ ผูท้ รง คุณวุฒิและบริษัทฯ

การจัดการสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในเขตประกอบการ

มีการหยุดระบบเพือ่ ซ่อมบำ�รุง โดยการใช้ Mobile activated carbon เพื่อดูดซับไอสารอินทรีย์ระเหยง่ายในช่วงที่มีการ Decontaminate ระบบ ป้องกันการระบายออกสูบ่ รรยากาศ และมีการเฝ้าระวังพิเศษด้วยการตรวจวัด VOCs แบบ Canister รอบพืน้ ทีใ่ นช่วงเวลาดังกล่าว

บริษทั ฯ ให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมรอบ เขตประกอบการอุตสาหกรรม โดยควบคุมการปลดปล่อย มลพิษทางอากาศที่อาจจะส่งผลกระทบด้านสุขภาพ ดำ�เนิน การปรับปรุงและพัฒนากระบวนการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง และ มีการจัดทำ�บัญชีปริมาณการระบายสารอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs Emission Inventory) มาตลอดตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน เพื่อประเมินและหาแนวทางในการจัดการ ด้านคุณภาพอากาศในพื้นที่ให้ดีข้นึ บริษัทฯ มีการควบคุม และลดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ระเหยง่าย (Volatile Organic Compounds: VOCs) โดยการเพิม่ ประสิทธิภาพของ เครือ่ งมือวัดการรัว่ ซึมโดยใช้กล้องตรวจจับ (VOCs Camera) ทำ�ให้สามารถแก้ไขและลดการปลดปล่อยจากแหล่งกำ�เนิด ได้อย่างมีประสิทธิภาพและนำ�มาซึ่งการติดตั้งชุดอุปกรณ์ ดักจับและลดการปลดปล่อยจากแหล่งกำ�เนิด

การบริหารจัดการข้อร้องเรียน บริษทั ฯ มีการบริหารจัดการข้อร้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล โดยบริษัทฯ ตระหนักถึงการอยู่ร่วมกันกับชุมชน และสิง่ แวดล้อม สร้างระบบการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมแบบ มีส่วนร่วมในการพัฒนาโครงการต่างๆ ในพื้นที่เขตประกอบ การอุตสาหกรรม โดยผ่านคณะกรรมการพัฒนาศักยภาพ โครงการและพัฒนาชุมชนและสังคม เขตประกอบการ อุตสาหกรรม บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง (คพอ.) และคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ และเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EIA/EHIA Monitoring Committee) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนภาค ประชาชน ส่วนราชการ ผูท้ รงคุณวุฒิ และตัวแทนบริษทั ฯ โดย

ในปี 2558 บริษทั ฯ โครงการลดการปลดปล่อยสารอินทรีย์ ระเหยง่ายจากแหล่งกำ�เนิด ใช้งบประมาณกว่า 100 ล้าน บาท รวมทัง้ นำ�มาตรการลดผลกระทบในพืน้ ทีโ่ รงงานช่วงที่

ปริมาณก าซซัลเฟอร ไดออกไซด (SO2) ในบรรยากาศโดยรอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมไออาร พีซี 150 120

รพ.สต. บ้านก้นหนอง อบต. บ้านแลง

วัดปลวกเกตุ วิทยาลัยเทคโนโลยี ไออาร์พซี ี บ้านพักพนักงาน ไออาร์พซี ี

มาตรฐานก าซซัลเฟอร ไดออกไซด (SO2) ในบรรยากาศโดยทั่วไป ค าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ไม เกิน 120 ส วนในล านส วน

140

ส วนในพันล านส วน

มีค่าลดลงจากการใช้เชื้อเพลิงและติดตั้งอุปกรณ์เผาไหม้ที่สะอาด

100 80 60 40 20 0

200

2551

2552

ที่มา : ส่วนบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม IRPC

2553

2554

2555

2556

2557

2558


คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเรือ่ งร้อง เรียนของบริษัทฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงพืน้ ทีเ่ ยีย่ มชุมชนเพือ่ รับฟังปัญหา ผลกระทบ จากการดำ�เนินกิจกรรมของบริษัทฯ เป็น ประจำ�ทุกเดือน

คณะกรรมการจะให้ขอ้ เสนอแนะและเข้าตรวจสอบการดำ�เนิน โครงการและกิจกรรมภายในพืน้ ทีเ่ ขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออาร์พีซี เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการควบคุมและลด ผลกระทบจากการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ของบริษทั ฯ และเป็น ช่องทางในการติดต่อสือ่ สารระหว่างชุมชน ราชการ และโรงงาน ควบคุมแหล่งกำ�เนิดมิให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน บริษัทฯ ได้ ตัง้ คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาเรือ่ งร้องเรียน ซึง่ มี ผู้บริหารระดับสูงเป็นประธาน พบว่าข้อร้องเรียนมีแนวโน้ม ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2558 สามารถลดข้อร้องเรียน ด้านสิ่งแวดล้อมลงร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปี 2557 นอกจากนี้ ในส่วนของปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ และฝุ่นละอองในแต่ละปี พบว่า ในปี 2558 ทั้ง 3 ค่า มีแนวโน้มลดลงกว่าปีที่ผ่านมาอย่าง ชัดเจน จากการใช้เชื้อเพลิงและติดตั้งอุปกรณ์เผาไหม้ที่ สะอาดทำ�ให้สามารถลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และฝุ่นละอองอย่างต่อเนื่อง รวมถึงลดการปลดปล่อย ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ได้ 920 ตันต่อปี

สถิติอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ถึงขั้นรักษาทางการแพทย์ต่อ 1 ล้าน ชั่วโมงทำ�งาน

ลดลงจาก 0.63 เป็น 0.39 และอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ถึงขั้นหยุดงานต่อ 1 ล้าน ชั่วโมงทำ�งาน

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาเป็นเขตประกอบการ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industrial Zone: EIZ) ตาม กรอบการพัฒนาและแผนกลยุทธ์ระยะยาว 5 ปี ในปี พ.ศ. 2555-2560 และเป็นต้นแบบในการพัฒนาอุตสาหกรรม เชิงนิเวศของจังหวัดระยอง โดยบริษัทฯ มีการจัดทำ�แผน การดำ�เนินงานในเชิงบูรณาการอย่างละเอียด เพือ่ สอดคล้อง กับนโยบายหรือมาตรฐานอื่นๆ ที่มีอยู่ในองค์กร นอกจากนี้ ยังได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเข้าร่วมโครงการ พัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยมีกรอบการดำ�เนินงานเพื่อประเมินความสอดคล้องของ การดำ�เนินงานเทียบกับตัวชี้วัดความเป็นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และจัดทำ�ต้นแบบ เพื่อวัดประสิทธิภาพของการจัดการกากของเสีย ในปี 2558 บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองเป็นโรงงานอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ (Eco Factory) แล้วจำ�นวนทั้งสิ้น 4 โรงงาน โดยมี แผนงานทีจ่ ะเพิม่ จำ�นวนโรงงานทีไ่ ด้รบั การรับรองให้มากกว่า ร้อยละ 80 เพื่อมุ่งสู่ Eco Industrial Zone ในปี 2560 นอกจากนั้นยังมีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระหว่าง เทศบาลเมืองคิตะคิวชู กรมโรงงานอุตสาหกรรม และบริษัท ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) โดยสาระสำ�คัญของบันทึกข้อตกลง ได้แก่ การแลกเปลีย่ นข้อมูลเพือ่ ประโยชน์ตอ่ การลดคาร์บอน ในภูมิภาคเอเชีย ร่วมกันเผยแพร่การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยกรอบการปฏิบัติ 3R (Reduce, Reuse, Recycle) เสริมสร้างกิจกรรม 3R และ ส่งเสริมให้เกิดสัมพันธภาพของภาคธุรกิจทั้ง 2 ประเทศ

ลดลงจาก 6.67 เป็น 0.59 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน เป็นตัวชี้วัดประสิทธิผลการดำ�เนินงาน ด้านความปลอดภัยที่ส�ำ คัญ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

201


โครงการดูแลความปลอดภัยในการทำ�งานด้วยความ “ห่วงใยและใส่ใจซึง่ กันและกัน” i-CARES

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของผู้รับเหมา

การสร้างจิตสำ�นึกและวัฒนธรรมด้าน QSHE

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านความปลอดภัยในการ ปฏิบตั งิ านของผูร้ บั เหมา (Enhancing Contractor Safety Management Improvement Program) เนือ่ งจากมีพนักงาน ผู้รับเหมาเข้าปฏิบัติงานในบริษัทฯ และบริษัทในเครือเป็น จำ�นวนมาก ซึ่งเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติการณ์ในรูปแบบต่างๆ ดั ง นั้ น บริ ษั ท ฯ จึ ง จั ด โครงการเพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู้ แ ละ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านให้กบั เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย และผู้เฝ้าระวังไฟของผู้รับเหมา ซึ่งจากการติดตามผล การดำ�เนินงานพบว่าการปฏิบัติงานของ จป. ผู้เฝ้าระวังไฟ เหล่านี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และสถิติการเกิดอุบัติเหตุ ที่ต้องรับการรักษาโดยแพทย์ลดลง (Total Reportable Injury Rate, TRIR)

เพือ่ เป็นการส่งเสริมวัฒนธรรมด้านความปลอดภัยทีแ่ ข็งแกร่ง ให้กับพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ ตลอดจน ผูร้ บั เหมา อันจะช่วยควบคุมป้องกันการเกิดอุบตั กิ ารณ์ตา่ งๆ จากกระบวนการผลิตและจำ�กัดหรือลดผลกระทบที่อาจเกิด ขึน้ กับพนักงาน องค์กร และชุมชนโดยรอบโรงงาน บริษทั ฯ ได้ยึดหลักการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยที่แข็งแกร่ง และต้องเกิดจากภายในจิตใจ (Psychological Safety) ของพนักงานทุกระดับ ในปีนี้นอกจากการสร้างพฤติกรรม ด้านความปลอดภัย (Behavior-based safety: BBS) ทีด่ �ำ เนิน การมาอย่างต่อเนื่องแล้ว บริษัทฯ ยังมีโครงการต่างๆ อาทิ โครงการดูแลความปลอดภัยในการทำ�งานด้วยความ “ห่วงใยและใส่ใจซึ่งกันและกัน” (i-CAREs) พนักงาน ทุกคนจะถูกหล่อหลอมด้วยบรรยากาศทีอ่ ยากช่วยเหลือซึง่ กัน และกัน (Cares) และมีคณ ุ ลักษณะทีส่ �ำ คัญ 2 ประการ คือ ต้อง มีมุมมองเชิงรุก (Proactive) และต้องยกระดับปัญหาต่างๆ อย่างทันท่วงที (Timely voice related to failures) อันเป็น ส่วนหนึง่ ของการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยภายในบริษทั ฯ

โครงการบริหารกระบวนการด้านความปลอดภัย (Process Safety Management: PSM) ซึง่ มีการทบทวนปรับปรุงคูม่ อื การดำ�เนินการ PSSR และการทบทวนเทียบเคียงการปฏิบตั ิ ตามข้อกำ�หนดของระบบ PSM กับระบบอื่นๆ ที่ใช้บริหาร จัดการด้านความปลอดภัยของบริษัทฯ เช่น OEMS, TIS/ OHSAS18001 เพือ่ การปรับปรุงให้ดยี งิ่ ขึน้ รวมถึงมีการพัฒนา

เปรียบเทียบค่าสถิติระหว่างอัตราการบาดเจ็บจากการทำ�งานรวม (TRIR) และอัตราความรุนแรงของอุบัติเหตถึงขั้นหยุดงาน (LTSR) ปี 2557-2558 TRIR

1.29

1.66

1.47 1.12

0.60

0.53

0.43

Jan

Feb

Mar

0.34 April

LTSR

0.95 0.42 May

0.43 June

0.66

0.70

0.36 0.37 July Aug

0.60 0.41 Sep

0.63 0.39 Oct

0.56 0.46 0.47 Nov

Dec

TRIR 2558 TRIR 2557

TRIR = จำ�นวนผู้บาดเจ็บตั้งแต่ Medical Treatment ขึ้นไป

12.32 9.89

10.19 4.99 0 Jan

202

0.81

0 Feb

8.09

8.15

5.33 0.09 Mar

0.07 April

0.11 May

0.21 June

ทีม่ า : ฝ่ายบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัย IRPC

0.18 July

0.16 Aug

7.09

6.67

0.41

0.59

Sep

Oct

5.95

4.88

0.54

0.58

Nov

Dec

LTSR 2558 LTSR 2557

LTSR = จำ�นวนวันหยุดงานต่อ 1 ล้านชั่วโมงการทำ�งาน


ผลการป้องกันอุบตั กิ ารณ์มใิ ห้เกิดซ้�ำ โดยนำ�ผลและมาตรการ แก้ไขที่ได้จากการสรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุอุบัติการณ์ มาจัดทำ�เป็น Lesson Learned เผยแพร่แก่ทุกหน่วยงาน เพื่อการเรียนรู้อุบัติการณ์และพิจารณาลักษณะการทำ�งาน รวมถึงปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่ปฏิบัติงาน การประเมินผลการดำ�เนินการด้านความปลอดภัย จะมีการ ประเมินผลผ่านสถิตอิ บุ ตั เิ หตุ โดยสถิตอิ ตั ราการเกิดอุบตั เิ หตุ ถึงขั้นรักษาทางการแพทย์ต่อ 1 ล้านชั่วโมงทำ�งาน (Total Reportable Injury Rate, TRIR) และอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ถึงขัน้ หยุดงานต่อ 1 ล้านชัว่ โมงทำ�งาน (Lost Time Severity Rate, LTSR) เป็นตัวชีว้ ดั ผลการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัย ทีต่ วั บุคคล และจำ�นวนครัง้ ของการเกิดเหตุการณ์สารเคมีรวั่ ไหล ไฟไหม้ เป็นตัวชีว้ ดั ผลการดำ�เนินงานของการบริหารกระบวนการ ด้านความปลอดภัย นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังมีโครงการ สนับสนุนให้พนักงานช่วยกันดูแลสถานที่ทำ�งานให้มีความ ปลอดภัย สามารถรายงานสภาวะการทำ�งานที่ไม่ปลอดภัย หากพบเห็นและดำ�เนินการติดตามแก้ไขอย่างทันท่วงที นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมอื่นๆ อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความ เข้มแข็งด้านวัฒนธรรม QSHE ซึง่ เป็นการจัดสัมมนาฝึกอบรม หลักสูตรต่างๆ ให้แก่พนักงานภายในองค์กร เช่น

- จัดอบรมหลักสูตร Safety Awareness ให้กบั พนักงาน กลุม่ เป้าหมาย เพือ่ เป็นการเสริมสร้างความตระหนัก ด้านความปลอดภัย (Safety Awareness) และให้ พนักงานมีการปฏิบตั งิ านด้วยความระมัดระวังมากขึน้

- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ Safety Role Model โดย มีพนักงานที่ได้รับรางวัลดีเด่นด้านความปลอดภัย เข้าร่วมงานจำ�นวน 19 คน เพื่อส่งเสริมการเป็น พนักงานต้นแบบที่ดีด้านความปลอดภัย (Safety Role Model) และให้พนักงานทัว่ ไปยึดถือเป็นแนวทาง ปฏิบัติงาน

อบรมหลักสูตร Safety Awareness

ประชุมเชิงปฏิบัติการ Safety Role Model

อบรมการตรวจสอบอาคารตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร

- จัดอบรมหลักสูตร PSSR และ PSSR Checklist ให้ กับพนักงานกลุม่ เป้าหมาย เพือ่ ให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจการจัดทำ� PSSR และการใช้ PSSR Checklist อบรมหลักสูตร PSSR และ PSSR Checklist

กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยสําหรับพนักงาน outsource

อบรมความปลอดภัยในการทํางานกับสารปรอท รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

203


- จัดอบรม ชี้แจง การตรวจสอบอาคาร ตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร เพือ่ ให้พนักงานมีความเข้าใจเกีย่ วกับ แนวทางการตรวจสอบอาคารตามกฎหมาย สำ�หรับ นำ�ไปปรับปรุงอาคารให้เกิดความปลอดภัย

- จัดอบรมความปลอดภัยในการทำ�งานกับสารปรอท ให้กับพนักงานกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับสารปรอทและสามารถปฏิบัติงานได้ อย่างปลอดภัย

นอกจากการอบรม สัมมนาดังกล่าว ยังมีการฝึกอบรม หลักสูตรต่างๆ ด้านความปลอดภัยฯ ตามมาตรฐานการฝึก อบรมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ซึง่ เป็นการดำ�เนินการ ตามแผนพัฒนาบุคลากรประจำ�ปี และนอกจากนี้ยังได้มี กิจกรรมรณรงค์ ส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใน การทำ�งานสำ�หรับพนักงาน Outsource โดยจัดดำ�เนินการ โครงการร่วมกับบริษัท BSA

การสนับสนุนการสื่อสารและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน QSHE บริษทั ฯ เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการสือ่ สารและการถ่ายทอด องค์ความรู้ด้าน QSHE มาอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2558 ได้ให้การสนับสนุนการประชุมวิชาการสาธารณสุขแห่งชาติ ครัง้ ที่ 15 เรือ่ งการสาธารณสุขและสิง่ แวดล้อมในศตวรรษที่ 21 : มุมมองอนาคตและการจัดการเชิงระบบ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ เผยแพร่พระเกียรติคณ ุ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 60 พรรษา และเพือ่ เป็นการแลกเปลีย่ นความรูใ้ หม่ๆ ทัง้ ด้าน การพัฒนาและจัดการงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ฯลฯ บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญอย่างต่อเนื่องกับการจัดการ องค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยเปิดโอกาส ให้พนักงานทุกคนสามารถค้นหา แลกเปลี่ยน แบ่งปัน องค์ความรูภ้ ายในองค์กรและภายในกลุม่ อย่างมีระบบ สามารถ นำ�ความรู้ไปใช้ในการพัฒนางาน เพื่อเพิ่มคุณค่าของคนและ องค์กร เพื่อก้าวสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้

204

และเพือ่ ให้การจัดการด้านสิง่ แวดล้อม อาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นระบบพืน้ ฐานในการ ดำ�เนินงานทุกประเภท บริษทั ฯ และบริษทั ในเครือทุกบริษทั ได้ด�ำ เนิน การตามระบบการจัดการคุณภาพ (ISO 9001) ระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม (ISO 14001) และระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (มอก. 18001) มีการตรวจประเมินและ ทบทวนประสิทธิผลของระบบการจัดการอย่างต่อเนื่องทุกปี

รางวัลด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม บริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คัญกับการบริหารจัดการอย่างมีคณ ุ ภาพ คำ�นึงถึงความพอใจและตอบสนองความต้องการของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า/คู่ค้า ผู้ถือหุ้น พนักงาน ชุมชน และสังคม รวมทั้งการให้ความ สำ�คัญต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้บริษัทฯ ได้รบั การยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ดังจะเห็นได้จากรางวัลต่างๆ ทีไ่ ด้รบั ซึง่ แสดงให้เห็นถึงความ มุง่ มัน่ อย่างต่อเนือ่ งในการพัฒนาและปรับปรุงระบบการจัดการ ทุกๆ ด้านให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยในปี 2558 นี้ บริษัทฯ ได้รับรางวัลด้านคุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สิ่งแวดล้อมรวมหลายรางวัล อาทิ • CSR DIW Award 2015 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการทัง้ สิน้ 12 ทะเบียนโรงงาน ได้รบั รางวัลทัง้ 12 ทะเบียนโรงงาน และได้ สอบผ่านการพิจารณาจากคณะผูช้ �ำ นาญการ โดยได้รบั โล่และ เกียรติบตั รจากกรมโรงงาน จำ�แนกประเภทรางวัล ดังนี้ - รางวัล CSR-DIW Continuous Award จำ�นวน 11 โรงงาน - รางวัลสถานประกอบการที่ได้รับเกียรติบัตรความ มุ่งมั่นในการดำ�เนินงานพัฒนาชุมชน ในระดับดี จำ�นวน 1 โรงงาน


สำ�หรับโครงการ CSR-DIW ปี พ.ศ. 2558 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ - กลุ่มที่ 1 : CSR-DIW Award ดำ�เนินตามมาตรฐาน CSR-DIW ทั้ง 7 หัวข้อหลัก - กลุ่มที่ 2 : CSR-DIW Continuous หมายถึงกลุ่ม โรงงานอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั เกียรติบตั ร CSR-DIW ปี 2551-2557 และมีการดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมอย่างต่อเนื่องในรูปแบบเครือข่ายเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ประเภทรางวัล CSR-DIW Award CSR-DIW Award CSR-DIW Continuous Award CSR-DIW Award CSR-DIW Continuous Award CSR-DIW for Beginner CSR-DIW Award CSR-DIW Continuous Award CSR-DIW Network CSR-DIW in Supply Chain Award CSR-DIW Award CSR-DIW Continuous, Advance 4 Award CSR-DIW Award CSR-DIW Continuous Award

โครงการ CSR-DIW มีเป้าหมายยกระดับสูว่ ฒ ั นธรรมสีเขียว (Green Culture) มุง่ เน้นการดำ�เนินงานทีเ่ ป็นเครือข่ายสีเขียว (Green Network) ในการทำ�กิจกรรมเพือ่ สังคม ชุมชน อย่างมี คุณภาพ มีการแลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ ความชำ�นาญการ เพือ่ มุง่ สูก่ ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืนและเป็นก้าวสูม่ าตรฐานความ รับผิดชอบต่อสังคมในระดับสากล ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ดำ�เนินโครงการ CSR-DIW มาตั้งแต่ปี 2552 โดยมีโรงงานของบริษัทฯ และบริษัทในเครือ เข้าร่วม โครงการและได้รับรางวัลและเกียรติบัตรแล้วตั้งแต่ปี 25522558 รวมทั้งสิ้น 23 โรงงาน ชื่อโรงงาน

PP ETP, PS PP HDPE, BTX PP, ETP, PS AB CHP, LBOP, CON, EPS, IRPC POLYOL, PP, ETP, PS, HDPE, BTX PP, ETP, PS, HDPE, BTX ETP EBSM, CD1, PTK, DCC, ADU2, WWT1, 2, WW3, CCM, ABS-SAN, ACB, PP, ETP, PS, HDPE, BTX, CHP, LBOP, CON, EPS, IRPC POLYOL PRP, โรงกรองน้�ำ บ้านค่าย, UT1, PP, ETP, PS, HDPE, CD1, PTK,CHP, LBOP, ACB, WWT1, 2, WWT3, IRPC POLYOL PP, โรงกรองน้ำ�บ้านค่าย, PS, ADU2, ETP, PRP, ACB, LOBE, PW, WWT1, 2, Polyol

ปีที่ ได้รับ 2552 2553 2554 2555

2556 2557 2558

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

205


• รางวัล Carbon Footprint for Organization 2015 ท่าเรือไออาร์พซี ี รับมอบโล่รางวัลและประกาศนียบัตร คาร์บอนฟุตพริน้ ท์ขององค์กร ในโครงการจัดทำ�แนวทาง การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อ Green Supply Chain ของอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก เป็นรายแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558 พร้อมกันนี้ได้เข้าร่วมเสวนาในงาน Industrial Supply Chain Logistics Conference 2015 เพื่อ เป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สร้างแรงจูงใจ และ สร้างความตระหนักในการดำ�เนินการด้านสิง่ แวดล้อม อันเป็นประโยชน์ต่อการดำ�เนินธุรกิจและการส่งออก • จัดบูธนิทรรศการในงาน ร้อยดวงใจ ร่วมใจ ลด โลกร้อน ประจำ�ปี 2558 และรับมอบประกาศนียบัตร คาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2558 ซึง่ จัดโดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรติผู้ประกอบ การและภาคส่วนต่างๆ ที่มีผลงานและเป็นตัวอย่างที่ ดีในการบริหารจัดการและดำ�เนินการกิจกรรมเพื่อลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในประเทศ • รางวัล Thailand Quality Prize 2015 จาก สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) โดยกลุ่ม QCC ของสายงานปฏิบัติการปิโตรเคมีและการกลั่น ได้รบั รางวัลทัง้ สิน้ จำ�นวน 6 รางวัล ได้แก่ รางวัลระดับ Golden 4 รางวัล และระดับ Silver 2 รางวัล เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 • รางวัลจากกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ได้แก่ - รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทำ�งาน ระดับประเทศ 2015 ได้แก่ โรงงาน บีทีเอ็กซ์ - รางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้าน ความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพ แวดล้อมในการทำ�งาน ระดับประเทศ 2015 ได้แก่ คลังน้�ำ มันอยุธยา คลังน้�ำ มันพระประแดง คลังน้ำ�มันแม่กลอง และคลังน้ำ�มันชุมพร - รางวัลคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานดีเด่น (คปอ.) ระดับประเทศ 2015 ได้แก่ คลังน้ำ�มัน อยุธยา • รางวัลโครงการรณรงค์ลดสถิติการประสบ อันตรายจากการทำ�งานให้เป็นศูนย์ ระดับประเทศ (Zero Accident Campaign) 2015 ได้แก่ คลัง น้�ำ มันอยุธยา คลังน้�ำ มันชุมพร คลังน้�ำ มันพระประแดง และคลังน้ำ�มันแม่กลอง

206

ไออาร์พีซี ร่วมงาน Industrial Supply Chain Logistics Conference 2015 ของกระทรวงอุตสาหกรรม

ไออาร์พีซี ร่วมงาน “ร้อยดวงใจลดโลกร้อน 2558” ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

รางวัล Thailand Quality Prize 2015

รางวัลสถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทำ�งานระดับประเทศ 2015

รางวัลโครงการรณรงค์ลดสถิตกิ ารประสบอันตรายจากการทำ�งานให้เป็นศูนย์ ระดับประเทศ (Zero Accident Campaign) 2015


การดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม

กรรมการผู้จัดการใหญ่ และเด็กๆ จากโครงการขาเทียม

บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ดำ�เนินธุรกิจบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลควบคู่กับการดูแลรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้บริษัทฯ สามารถดำ�เนินธุรกิจอย่างเจริญเติบโตและยั่งยืน และดูแลผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ภายใต้แนวคิด “ห่วงใย แบ่งปัน และ ใส่ใจ” (Care Share Respect) คณะกรรมการบริษัทฯ ได้กำ�หนดทิศทางและนโยบายการ ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม โดยให้แผนกลยุทธ์ ด้าน CSR เป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์ระยะยาว (5 ปี) ของบริษัทฯ และคำ�นึงถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มร่วมกันระหว่าง บริษัทฯ กับผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานของ บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ในเครื อ ใช้ เ ป็ น แนวปฏิ บั ติ ใ นการ ดำ�เนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม สรุปสาระสำ�คัญ ดังนี้ 1. ดำ�เนินธุรกิจโดยยึดหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มี ความสุจริต เป็นธรรม โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียและการปฏิบัติ ต่อผู้มีส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม 2. ประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม หลีกเลีย่ งการดำ�เนิน การทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ส่งเสริมการ แข่งขันทางการค้าอย่างเสรี ไม่ดำ�เนินการใดๆ ที่มีลักษณะ เป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ ส่งเสริมการ ต่อต้านคอร์รปั ชันและต่อต้านการติดสินบน รวมถึงมีระบบการ แจ้งเบาะแสทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยให้มกี ารประเมินความเสีย่ ง ด้านคอร์รปั ชัน ซึง่ รวมถึงความเสีย่ งจากการดำ�เนินโครงการ CSR ของบริษัทฯ ด้วย

3. ปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานสากล ซึ่ง เป็นรากฐานของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทัง้ นีร้ วมถึงการ ปฏิบัติต่อลูกค้าและคู่ค้า 4. มีความรับผิดชอบต่อผูบ้ ริโภค โดยควบคุม พัฒนา และ ปรับปรุงมาตรฐานของสินค้าและบริการให้มีความปลอดภัย ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอต่อผู้บริโภค และไม่เปิดเผย ข้อมูลหรือส่งต่อข้อมูลของผู้บริโภคให้แก่ผู้อื่น นอกจากจะ ได้รับความยินยอมจากผู้บริโภคก่อน 5. ดำ�เนินการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยตรวจสอบ แก้ไข และปรับปรุง เพื่อป้องกันมิให้การดำ�เนินธุรกิจหรือโครงการ ของบริษัทฯ ส่งผลกระทบในทางลบแก่ชุมชนและสังคมทั้ง โดยทางตรงและทางอ้อม อีกทั้งส่งเสริมให้มีโครงการหรือ กิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยใช้ศักยภาพ องค์ ความรู้ และทรัพยากรของบริษัทฯ 6. ดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม โดยส่งเสริมและจัดให้มรี ะบบการ บริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม และติดตามประเมิน ผลการดำ�เนินการดังกล่าวอย่างสม่ำ�เสมอ ส่งเสริมให้มีการ ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานการประหยัด พลังงานและมีการนำ�ทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ พัฒนาสินค้า/ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

207


บริการที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีความปลอดภัยใน การใช้งาน และจัดเตรียมแผนฉุกเฉินเพื่อจัดการกับปัญหา เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่อาจจะเกิดขึ้น

การทบทวนทุกปี ในปี 2558 มีการจัดพิมพ์ฉบับปรับปรุงใหม่ เพือ่ มอบให้บุคลากรทุกระดับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติอย่าง เคร่งครัด รายละเอียดในหน้า 68

7. คิดค้นและพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจจากการดำ�เนินการ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ที่สามารถสร้างประโยชน์และ ความสามารถในการแข่งขันและมูลค่าเพิม่ ให้แก่บริษทั ฯ ควบคู่ ไปกับการสร้างประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมาย อาทิ นวัตกรรม พลาสติกต้านแบคทีเรีย เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคในด้าน สุขอนามัย เป็นต้น

3. การต่อต้านการทุจริต

8. จัดทำ�รายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมตามรูปแบบ ที่สากลยอมรับ เพื่อเปิดเผยข้อมูลในการดำ�เนินการด้าน สังคมและสิ่งแวดล้อมของบริษัทฯ แก่ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย โดยบริษัทฯ กำ�หนดให้ผู้บริหารทุกสายงานให้ความร่วมมือ และส่งเสริมให้พนักงานร่วมกันดำ�เนินการตามนโยบายนี้ให้ ประสบความสำ�เร็จ บริษัทฯ สรุปการดำ�เนินงานด้าน CSR ที่สำ�คัญในปี 2558 ตามกรอบแนวทางการนำ�เสนอข้อมูลด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Guidelines for Social Responsibility และ Guidelines for CSR Report) ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ดังนี้

1. การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ดำ�เนินงานตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริ ษั ท ฯ อย่ า งเคร่ ง ครั ด และพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รายละเอียดในหน้า 67-93

2. การประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม บริษัทฯ มีคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณใน การดำ�เนินธุรกิจ เผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ และมี

บริษัทฯ ได้รับการรับรองเป็นสมาชิกในโครงการแนวร่วม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption: CAC) เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2557 และคณะกรรมการ บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายและมาตรการต่อต้านคอร์รัปชัน เพื่อใช้ทั่วทั้งองค์กรและบริษัทในเครือ และเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจให้พนักงานตามช่องทางการสื่อสารของบริษัทฯ อย่างสม่ำ�เสมอ รายละเอียดในหน้า 69

4. การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ เคารพและสนับสนุนการปกป้องสิทธิมนุษยชน ที่ ประกาศในระดับสากล (UN Global Compact: UNGC) ในการไม่เลือกปฏิบัติด้วยสาเหตุอันเนื่องมาจากความ เหมือนหรือความแตกต่าง ทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพ รวมถึงเคารพสิทธิเสรีภาพส่วน บุคคล และคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยได้บรรจุเนื้อหาไว้ ในคู่มือการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ในหัวข้อ “จรรยาบรรณใน การดำ�เนินธุรกิจ” บริษัทฯ ได้สนับสนุนงบประมาณในการ ดำ�เนินงานด้านสิทธิมนุษยชนของ UNGC เป็นประจำ�ทุกปี และในปี 2558 ได้ร่วมให้ค�ำ มั่นในการส่งเสริมสิทธิเด็กและ หลักปฏิบัติทางธุรกิจ (Children’s Rights and Business Principles: CRBP) ในงานความยั่งยืนในมิติเด็ก : ธุรกิจ เพื่อวันหน้า (Children Sustainability Forum: Business for the Future) ซึ่งจัดโดยสถาบันไทยพัฒน์และองค์การ ยูนเิ ซฟ ณ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผนวก โครงการด้านสิทธิเด็กไว้ในแผนกลยุทธ์ ปี 2559

บริษัทฯ ร่วมให้คำ�มั่นในการส่งเสริมสิทธิเด็กและหลักปฏิบัติทางธุรกิจ (Children’s Rights and Business Principles: CRBP) ในงานความยั่งยืนในมิติเด็ก : ธุรกิจเพื่อ วันหน้า (Children Sustainability Forum: Business for the future

208


หลักการสิทธิเด็กและหลักปฏิบัติทางธุรกิจ หรือ CRBP เป็น หลักการที่พัฒนาขึ้นโดยองค์การยูนิเซฟ ข้อตกลงโลกแห่ง สหประชาชาติ (UN Global Compact) และองค์การช่วย เหลือเด็ก (Save the Children) ซึ่งเสนอให้ภาคธุรกิจเคารพ และสนับสนุนสิทธิเด็กภายใต้หลัก 10 ประการ ครอบคลุม บทบาทในสถานประกอบการ (Workplace) บทบาทใน ตลาด (Marketplace) และบทบาทในชุมชนและสิ่งแวดล้อม (Community and Environment) โดยเน้นการผนวกเรื่อง สิทธิเด็กเข้าไว้ในนโยบายการดำ�เนินงานบรรษัทภิบาลและ กลยุทธ์องค์กร ที่ขับเคลื่อนด้วยกระบวนงานหลักทางธุรกิจ (Core Business) แทนการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมรายครั้ง หรือโครงการพัฒนาทีแ่ ยกต่างหากจากการดำ�เนินธุรกิจปกติ นายอานันท์ ปันยารชุน ทูตสันถวไมตรีองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย กล่าวกับบริษัทที่ได้ร่วมให้คำ�มั่น โดยเน้นย้�ำ ให้ ภาคธุรกิจตระหนักว่า ทุกองค์กรสามารถมีส่วนในการดูแล เด็กผ่านทางความรับผิดชอบต่อสังคมในกระบวนการธุรกิจ ของตน เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาความยั่งยืนทั้งกับตัวเด็กและ กิจการไปพร้อมกัน ในปี 2558 บริษัทฯ ได้ด�ำ เนินการส่งเสริมสิทธิเด็กทั้งในเรื่อง การเปิดโอกาสให้เด็กพิการหรือเด็กด้อยโอกาสได้มีโอกาส ในการยกระดับชีวิตความเป็นอยู่และคุณภาพการศึกษาโดย ไม่เลือกปฏิบตั ิ ในโครงการขาเทียมสำ�หรับเด็กชาวกระเหรีย่ ง โครงการมอบทุนการศึกษาสำ�หรับเด็กมุสลิมในจังหวัด ชายแดนภาคใต้และเด็กทีค่ รอบครัวประสบภัยสึนามิ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีนโยบายในการจ้างงานนิสิตนักศึกษาเพื่อ ปฏิบตั งิ านตามโครงการต่างๆ ของบริษทั ฯ อาทิ นิสติ นักศึกษา ชมรม Four U For You เพื่อร่วมดำ�เนินโครงการ ๑ ช่วย ๙ นักศึกษารับงานถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวในโครงการ บูรณะโบราณสถานวัดขรัวตาเพชร และนักศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีไออาร์พีซีดำ�เนินโครงการกองกำ�ลังอาสา IRPC ซ่อม เสริม เติมสุข เป็นต้น

5. การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม บริษัทฯ มีการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม ยึดตามหลัก สากล (UN Global Compact) โดยจัดให้มีระบบการทำ�งาน ที่มุ่งเน้นความปลอดภัยและสุขอนามัยในสถานที่ทำ�งาน อย่างเหมาะสม มีการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มพูนทักษะของ พนักงานอย่างสม่ำ�เสมอตามโครงการวางแผนพัฒนาราย บุคคล (Individual Development Plan: IDP) มีการใช้ระบบ การประเมินผลทีม่ ปี ระสิทธิภาพและเป็นธรรม (Performance Management System) มีการดูแลและปรับปรุงในเรื่อง สวัสดิการให้แก่พนักงานตามความเหมาะสม

“กิจกรรมกรรมการผู้จัดการใหญ่พบพนักงาน” เพื่อเปิดโอกาสให้พนักงานได้รับฟัง ซักถาม และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างใกล้ชิดกับกรรมการผู้จัดการใหญ่

โดยในปี 2558 มีการปรับปรุงสวัสดิการ อาทิ เพิ่มวงเงิน ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก (OPD) ให้พนักงานมีสิทธิเบิก ค่าทันตกรรมของบิดา มารดา ส่งเสริมให้พนักงานมีดลุ ยภาพ ในการใช้ชีวิตระหว่างการทำ�งานและชีวิตส่วนตัว มีขั้นตอน การพิจารณาในการดำ�เนินการจากการร้องเรียนหรือเรียก ร้องความเป็นธรรมของพนักงานอย่างโปร่งใส เป็นธรรม และ ชัดเจน ผ่านระบบข้อร้องเรียนซึ่งสำ�นักตรวจสอบภายในเป็น ผูค้ วบคุมกลัน่ กรอง มีการสนับสนุนการหารือระหว่างนายจ้าง และพนักงานและตัวแทนพนักงาน รวมถึงเคารพสิทธิในการ แสดงความคิดเห็นของพนักงาน โดยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เป็นประธานในการประชุมหารือ พนักงานมีอิสระในการให้ ความเห็นอันปราศจากการแทรกแซง สามารถได้รับข้อมูล หรือความคิดเห็นผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ ของบริษัทฯ รวมทัง้ จัดให้มชี อ่ งทางการสือ่ สารเพือ่ รับฟังความคิดเห็นของ พนักงานอย่างเสรี เช่น Teammate Blog ในอินทราเน็ตซึ่ง เป็นการสื่อสารสองทาง เป็นต้น

6. ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค โครงการวิจัยพัฒนาเพื่อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของ ผู้บริโภค บริษัทฯ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมการกลั่นและปิโตรเคมี รวมทั้งมีการผลิตเม็ดพลาสติก ซึ่งผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ จะต้องเป็นไปตามสูตรและเงื่อนไข (Spec) ที่ลูกค้ากำ�หนด และเป็นไปตามกฎหมายในเรื่องของสิ่งแวดล้อม อย่างไร ก็ตามบริษัทฯ มีนโยบายดำ�เนินการให้ลูกค้าหรือผู้บริโภค ปลายทาง ซึ่งผลิตภัณฑ์มาจากวัตถุดิบต้นทางของบริษัทฯ ได้รับผลิตภัณฑ์ที่ดีและมีคุณลักษณะพิเศษที่สูงขึ้น และ ตอบสนองความต้ อ งการของตลาดและลู ก ค้ า ด้ ว ย การวิจยั พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ เม็ดพลาสติก POLIMAXX BANBAX ต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งบริษัทฯ ลงทุนสร้าง โรงงานนาโนเคมิคัลเพื่อผลิตเม็ดพลาสติกดังกล่าว รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

209


ลำ�ไทรโยงโมเดล โครงการต้นแบบ “หนึ่งองค์กร หนึ่งอ่างเก็บน้�ำ ช่วยแก้ปัญหาภัยแล้งได้”

นอกจากนั้นยังมี POLIMAXX Green ABS ผลิตภัณฑ์ที่เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม และยังมีสว่ นช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวน ยางที่ประสบปัญหาราคายางตกต่�ำ ผลิตภัณฑ์ POLIMAXX Wood Plastic Composite ซึ่งผลิตภายใต้แนวคิดการใช้ ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า ผลิตภัณฑ์ปลอดจากสารโลหะหนัก ตกค้าง สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ และผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ได้ผา่ นการทดสอบตามมาตรฐานยุโรป (EU10/2011) เป็นต้น

การบริหารจัดการช่องทางการจัดจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ ให้มีประสิทธิภาพ บริษทั ฯ ได้วางกลยุทธ์บริหารจัดการช่องทางการจัดจำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยคำ�นึงถึงพฤติกรรม และความต้องการของลูกค้าทีแ่ ตกต่างกัน และให้ความสำ�คัญ ในด้านความพึงพอใจของลูกค้า โดยมุ่งเน้นตอบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่มให้อยู่ในระดับสูงสุด อีกทั้ง มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการฐานข้อมูลต่างๆ ที่ สำ�คัญสำ�หรับธุรกิจแต่ละประเภท ให้พร้อมตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ระบบ IRIS (IRPC Relationship Information System) ใช้รองรับการ บริหารจัดการงานลูกค้าสัมพันธ์ส�ำ หรับธุรกิจปิโตรเลียม โดย รวบรวมข้อมูลจากการดำ�เนินธุรกิจกับลูกค้า นำ�มาเป็นฐาน ข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์ พัฒนาตอบสนองความต้องการและ แก้ไขปัญหาที่ลูกค้าร้องเรียนอย่างเป็นระบบ ระบบ CRM iAsset ซึ่งเริ่มใช้ในปี 2558 สำ�หรับการบริหารจัดการความ สัมพันธ์กบั ลูกค้าในธุรกิจทรัพย์สนิ โดยรวบรวมข้อมูลสำ�คัญ ต่างๆ ของลูกค้า เพือ่ ใช้ในการประสานงานและจัดการข้อร้อง เรียนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น

210

7. การร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม บริษัทฯ มีหลักการในการคัดเลือกโครงการ CSR ด้วยการ วิเคราะห์ความรุนแรงของผลกระทบต่อสังคมและบริษัทฯ และระยะเวลาที่โครงการจะก่อให้เกิดผลกระทบนั้นได้ เพื่อ ให้ยังประโยชน์สูงสุดทั้งในเรื่องการใช้งบประมาณ การสร้าง ประโยชน์ต่อสังคม บริษัทฯ ผู้มีส่วนได้เสีย และส่งเสริมภาพ ลักษณ์องค์กรด้านการสร้างความเชือ่ มัน่ ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย

โครงการด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม เป็นโครงการที่บริษัทฯ ดำ�เนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่ก่อตั้ง บริษัทฯ สรุปโครงการที่สำ�คัญในปี 2558 ดังนี้ โครงการลำ�ไทรโยงโมเดล เป็นโครงการที่เริ่มดำ�เนินการในปี 2557 ต่อเนื่องมาถึงปี 2558 เดิมใช้ชื่อว่า โครงการสร้างคลอง สร้างคน เพื่อช่วย พัฒนาแหล่งน้�ำ และยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านหนอง ยาง ตำ�บลลำ�ไทรโยง อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้ ทักษะและประสบการณ์ของพนักงานไออาร์พีซีในเรื่องการ บริหารจัดการน้ำ�ในชุมชนรอบเขตประกอบการฯ ไออาร์พีซี มาประยุกต์ใช้ในโครงการนี้ เพื่อให้ชุมชนมีแหล่งน้ำ�สำ�รอง สำ�หรับทำ�น้ำ�ประปาหมู่บ้านที่ได้มาตรฐาน เพื่ออุปโภค บริโภคและปลูกพืชผักสวนครัว ซึง่ ผลที่ได้รับแสดงเด่นชัดใน ปี 2558 ว่าสามารถช่วยลดผลกระทบจากภัยแล้ง ชาวบ้าน หนองยางกว่า 440 ครัวเรือน มีน้ำ�ใช้อย่างเพียงพอตลอด หน้าแล้ง มีสขุ อนามัยทีด่ ขี นึ้ และมีรายได้เพิม่ ขึน้ จากปี 2557 โดยเฉลี่ยครัวเรือนละ 30,000 บาท จากกรณีตัวอย่างที่เห็น ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมทำ�ให้บริษัทฯ เผยแพร่แนวทาง สู้ ภั ย แล้ ง โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของบริ ษั ท ฯ ผ่ า นไดอารี


ปฏิทินประจำ�ปี 2559 และสื่อประชาสัมพันธ์ของบริษัทฯ เรียกว่า โครงการลำ�ไทรโยงโมเดล เพื่อมุ่งหวังให้เป็นต้น แบบหนึ่งของการแก้ปัญหาภัยแล้ง และเชิญชวนองค์กร อื่นๆ มาร่วมกันดำ�เนินการตามพื้นที่ที่แห้งแล้งทั่วประเทศ ด้วยสโลแกน “เพียง 1 องค์กร 1 อ่างเก็บน้ำ�” ช่วยบรรเทา ปัญหาของประเทศชาติได้ บริษัทฯ ได้สนับสนุนข้าวประเภทต่างๆ จากชุมชนลำ�ไทรโยง ที่ปลูกได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ำ�เพียงพอกับการเพาะปลูก โดย ได้ช่วยเหลือในด้านการตลาด อาทิ การสร้างแบรนด์ การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ และการประชาสัมพันธ์ในเบื้องต้น เพื่อ ให้ชุมชนดำ�เนินธุรกิจต่อไปได้อย่างมั่นคง โครงการพัฒนาสิ่งก่อสร้างสาธารณประโยชน์ เป็นการดำ�เนินโครงการต่างๆ ในจังหวัดระยอง ที่ตรงตาม ความต้องการของชุมชนรอบเขตประกอบการฯ ไออาร์พีซี อย่างแท้จริง และส่งผลให้ชุมชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึง เช่ น จั ด ทำ � ลานออกกำ�ลังกาย ที่หมู่ 2 ตำ � บลเชิ ง เนิ น ปรั บ ปรุ ง ศาลาเอนกประสงค์ ห นองตาโพธิ์ ที่ ห มู่ 1 ตำ�บลเชิงเนิน ปรับปรุงศาลาที่พักผู้โดยสารหน้าองค์การ บริ ห ารส่ ว นตำ � บลตะพงก่ อ สร้ า งที่ ทำ � การชมรมกำ � นั น ผู้ใหญ่บ้าน ตำ �บลบ้านแลง ปรับปรุงศาลาการเปรียญ วัดจุฬามุนี และปรับปรุงพืน้ ทีห่ น้าโบสถ์ วัดเนินพุทรา เป็นต้น โครงการสร้างงานรับเชือกเรือ เป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจท้องถิน่ ผ่านการจ้างงานรับเชือกเรือ ณ ท่าเรือไออาร์พซี ี ดำ�เนินการมาตัง้ แต่ปี 2556 โดยได้มกี าร จ้างงานชาวบ้านในชุมชนมากกว่า 30 อัตรา เพื่อปฏิบัติงาน รับเชือกเรือควบคู่กับการทำ�ประมง ส่งผลให้สามารถสร้าง รายได้แก่ชุมชนประมงกว่า 3.2 ล้านบาทต่อปี เกิดการรวม กลุม่ อาชีพทีเ่ หนียวแน่นและเป็นชุมชนทีเ่ ข้มแข็งอยูใ่ นปัจจุบนั โครงการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน บริษัทฯ ได้สนับสนุนกลุ่มอาชีพจำ�นวน 100 กลุ่ม มีสมาชิก 1,311 คน ด้วยการจัดหาวิทยากรมาให้ความรู้ เพื่อพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชนให้สามารถตอบสนองต่อตลาดได้ และได้นำ� สมาชิกของกลุ่มอาชีพไปศึกษาดูงานในพื้นที่ต่างๆ เพื่อนำ� ข้อดี ข้อเสีย มาปรับปรุงภายในกลุม่ ช่วยหาช่องทางจำ�หน่าย สินค้า การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัย จนสามารถผลักดัน กลุ่มต้นแบบ จำ�นวน 3 กลุ่ม ให้ได้รับรางวัลและมาตรฐาน ต่างๆ อาทิ กลุม่ ปลูกผักปลอดภัยจากสารเคมี ได้รบั มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) กลุ่มแม่บ้านเกษตรปลวกเกตุ ได้รับ เลือกเป็นวิสาหกิจชุมชนดีเด่น กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรยายดา ได้รับ อย. จากสำ�นักงานอาหารและยา เป็นต้น โครงการผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อชุมชน ดำ�เนินการมาตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน ในปี 2558 ได้ คัดเลือกโรงเรียนที่มีความพร้อมในการดูแลอย่างต่อเนื่อง จำ�นวน 5 โรงเรียน จาก 21 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน วัดปลวกเกตุ โรงเรียนบ้านหนอกจอก โรงเรียนมัธยม ตากสินฯ โรงเรียนวัดป่าประดู่ โรงเรียนระยองวิทยาคม

การพัฒนาแหล่งน้�ำ และยกระดับคุณภาพชีวิต ผ่านโครงการ “ลำ�ไทรโยงโมเดล” ช่วยให้ชาวบ้านหนองยาง

กว่า 440 ครัวเรือน

มีน้ำ�ใช้อย่างเพียงพอตลอดหน้าแล้ง และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากปี 2557

โดยเฉลี่ยครัวเรือนละ 30,000 บาท ปากน้ำ � เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด ความเข้ ม แข็ ง พร้ อ มที่ จ ะ ดำ�เนินโครงการนี้ได้เองในอนาคต โครงการน้�ำ ดื่มเพื่อชุมชน บริษัทฯ จัดทำ�น้ำ�ดื่มสะอาดและแจกจ่ายให้กับชุมชนในพื้นที่ เทศบาลนครระยอง ตะพง เชิงเนิน บ้านแลง และนาตาขวัญ เพื่อใช้ในงานสาธารณประโยชน์ ในปี 2558 ได้สนับสนุน น้ำ�ดื่มชนิดแก้ว จำ�นวน 244,656 แก้ว และน้�ำ ดื่มชนิดขวด จำ�นวน 15,216 ขวด โครงการหัวใจอาสาพัฒนาชุมชน บริษทั ฯ จัดกิจกรรมหัวใจอาสาพัฒนาชุมชนในทุกๆ พืน้ ทีโ่ ดย รอบเขตประกอบการฯ ไออาร์พซี ี เช่น กิจกรรม Big Cleaning กิจกรรมบรรจุถงุ ทรายช่วยน้�ำ ท่วม กิจกรรมหัวใจอาสาพัฒนา โรงเรียนวัดบ้านดอน กิจกรรมค่ายเยาวชนป้องกันและแก้ ปัญหายาเสพติดโรงเรียนสาธิต กิจกรรมทาสีโรงเรียนเด็ก เล็กมัสยิดนูรุ้ลอิสลาม เป็นต้น โดยในปี 2558 มีชุมชนเข้า ร่วมกิจกรรมรวม 1,564 คน และพนักงาน 1,282 คน คิด เป็น 6,083 ชั่วโมงจิตอาสา

ด้านการสื่อสารเพื่อชุมชน โครงการหอกระจายช่าวชุมชน บริษัทฯ สร้างหอกระจายข่าวในพื้นที่ 3 ตำ�บล ที่ติดรอบรั้ว โรงงาน ได้แก่ ตำ�บลตะพง บ้านแลง และเชิงเนิน จำ�นวน 7 จุด เพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ อันจะช่วยบรรเทาข้อ วิตกกังวลของชุมชน ให้ความรู้ด้านอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย มาตรการจัดการเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน และเป็นช่อง ทางการสื่อสารเพื่อแจ้งเหตุแก่ประชาชนได้อย่างทันท่วงที โดยมีชุมชนที่ได้รับข้อมูลผ่านหอกระจายข่าวครอบคลุมกว่า 18 ชุมชน หรือประมาณ 13,800 คน โครงการ Public’s Right to Know บริษทั ฯ จัดอบรมชุมชนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง โดยเฉพาะกลุม่ อาสาสมัครสาธารณสุขพืน้ ที่ (อสม.) ให้ได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

211


สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดโรงเรียนกำ�เนิดวิทย์ และสถาบันวิทยสิริเมธี

ที่ถูกต้อง อาทิ เรื่องก๊าซที่ระบายออกทางหอเผา (Flare) ซึ่ง เป็นก๊าซทีต่ กค้างในกระบวนการผลิตอันเนือ่ งมาจากการหยุด ผลิตฉุกเฉินทีต่ อ้ งระบายออกเพือ่ ความปลอดภัย เรือ่ งการเริม่ ต้นเดินเครื่องจักรโครงการ UHV และ CHP II เรื่องความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย หรือสารเคมีกับชีวิตประจำ�วัน เป็นต้น โดยในปี 2558 จัดการอบรม 5 รุ่น รวม 1,074 คน โครงการศูนย์ประสานงานภาคสนาม บริษัทฯ จัดตั้งศูนย์ประสานงานภาคสนาม โดยเริ่มดำ�เนิน การมาตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2554 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน มี ภารกิจในการลงพืน้ ทีส่ งั เกตการณ์และเฝ้าระวังผลกระทบจาก กิจกรรมของโรงงานที่เกิดขึ้นกับชุมชน รวมถึงการสอบถาม ข้อมูล ข้อห่วงกังวลของชุมชนในพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบ จากการดำ�เนินการก่อสร้างโครงการใหม่ และการวางแผน เฝ้าระวังเหตุที่อาจเกิดขึ้น ในปี 2558 ได้ดำ�เนินการร่วมกับ โครงการ UHV และ CHP II เพื่อเฝ้าระวังและประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลในพื้นที่ดังกล่าวเป็นระยะๆ ตลอดช่วงการก่อสร้าง และทดสอบเครื่องจักร โครงการเปิดบ้านสานสัมพันธ์ (Open House) บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมเปิดบ้านสานสัมพันธ์เป็นประจำ�ทุกปี เพื่อเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้มีส่วนได้เสียรับรู้ถึงการดำ�เนินธุรกิจ และการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมของบริษทั ฯ โดยในปี 2558 ได้ ให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการ UHV และ CHP II ทั้งหมด 15 ครั้ง จำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 580 คน จากตำ�บลเชิงเนิน บ้านแลง ตะพง นาตาขวัญ คณะครูและนักเรียนในโรงเรียน โดยรอบเขตประกอบการฯ เป็นต้น

212

ด้านการศึกษา โครงการ KVIS และ VISTEC บริษทั ฯ เป็น 1 ในกลุม่ บริษทั ปตท. ทีม่ สี ว่ นร่วมในการพัฒนา เยาวชนซึ่งเป็นทรัพยากรมนุษย์อันเป็นเลิศของประเทศ ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยจัดตัง้ โรงเรียนวิทยาศาสตร์ “กำ�เนิดวิทย์” (Kamnoetvidya Science Acadmy-KVIS) ซึง่ เป็นชือ่ ทีไ่ ด้รบั พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีความหมายว่า “โรงเรียนที่เป็นแหล่ง เรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์” เปิดการเรียนการสอนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โดยจัดการศึกษาให้แก่นักเรียน ทีม่ คี วามสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ส่วนสถาบันอุดมศึกษานั้น ได้รับพระราชทานชื่อจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ว่า “สถาบัน วิทยสิริเมธี” (Vidyasirimedhi Institute of Science and Technology-VISTEC) มีความหมายว่า “สถาบันแห่งผู้รู้ อันยอดเยี่ยมด้านวิชาวิทยาศาสตร์” เปิดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกด้านวิทยาศาสตร์ โดยทัง้ 2 สถาบัน ได้รับการออกแบบให้สามารถตอบสนองผู้มีความ สามารถให้ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ และมีเป้าหมาย ในการเป็น “มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำ�” สร้างบุคลากรชั้นยอด และนักวิจัยชั้นเยี่ยมที่มีความรับผิดชอบต่อวิชาชีพ รวมทั้ง ส่งเสริมการพัฒนางานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้และผลักดันขีดความสามารถทางการ แข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย โดยทั้งโรงเรียน กำ�เนิดวิทย์และสถาบันวิทยสิริเมธี ตั้งอยู่บนถนนทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 344 หลักกิโลเมตรที่ 66 ตำ�บลป่ายุบใน อำ�เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง


โครงการ ๑ ช่วย ๙ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บริษัทฯ ร่วมดำ�เนินโครงการ ๑ ช่วย ๙ กับสำ�นักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2557 ซึ่งเป็นนวัตกรรมใน การพัฒนาการศึกษามิตใิ หม่ทส่ี อดคล้องกับเจตนารมณ์ของ บริษัทฯ ในการดำ�เนินธุรกิจบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วม รับผิดชอบต่อสังคม โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการฯ 3 ประการ คือ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาให้ดียิ่งขึ้น การพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษา ด้วยการช่วยเหลือสถานศึกษา 9 แห่ง ให้มี การพัฒนาตามแนวทางวงจรคุณภาพ และการนำ�ศักยภาพ และความพร้อมของบริษัทฯ มาช่วยเหลือสถานศึกษาให้มี การพั ฒ นาได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น บริ ษั ท ฯ และโรงเรี ย นที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการฯ ได้ออกแบบการพัฒนาร่วมกันโดยเน้นใน 4 ด้าน คือ สาระความรู้ด้านวิชาการ การส่งเสริมจริยธรรม ความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัยของนักเรียน และบทบาทของ โรงเรียนในการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยจัดไว้เป็น ส่วนหนึง่ ของโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู”้ ของรัฐบาล มีผลการดำ�เนินงาน ดังนี้ • บริษัทฯ ได้ร่วมกับชมรม Four U For You ประกอบ ด้วยนิสิตนักศึกษาอาสาสมัครจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัย ศิลปากร จัดกิจกรรมค่ายสาระความรู้ทางวิชาการ เสริม ความรู้ในด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ให้แก่นักเรียนชั้นประถมปีที่ 4-6 จำ�นวน 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทพเสนานุสรณ์ โรงเรียนฤทธิไกรศึกษา และโรงเรียน กัลยวิทย์ ซึง่ มีนกั เรียนเข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 900 คน และ กิจกรรมสอนเสริมเพือ่ เตรียมความพร้อมในการสอบ O-Net ให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำ�นวน 314 คน จาก 4 โรงเรียน โดยเพิ่มโรงเรียนบีคอนเฮ้าส์ แย้มสอาด ลาดพร้าว เน้นในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยสอนเสริมในเรื่องการเพิ่มศักยภาพด้านกระบวนการคิด และตีความโจทย์ข้อสอบ

• กองกำ�ลังอาสา IRPC ซ่อม เสริม เติมสุข ประกอบ ด้วยพนักงานจิตอาสา และคณะครูและนักเรียนจากวิทยาลัย เทคโนโลยีไออาร์พีซี จำ�นวน 100 คน ได้เข้าร่วมดำ�เนิน การด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของโรงเรียน โดย ทำ�การตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เครือ่ ง คอมพิวเตอร์ โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องเล่น และทำ�การซ่อมแซมให้ อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์และปลอดภัย จำ�นวน 4 โรงเรียน ณ โรงเรียนบ้านหนองทองลิ่ม และโรงเรียนบ้าน หนองยาง ตำ�บลลำ�ไทรโยง อำ�เภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ โรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดนบ้านคลองแดง และโรงเรียน ตำ�รวจตระเวนชายแดนบ้านหางแมว จังหวัดจันทบุรี • ในปี 2558 บริษัทฯ ยังส่งเสริมบทบาทของโรงเรียน ในการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยนำ�คณะครูจาก โรงเรียนในโครงการ ๑ ช่วย ๙ และเจ้าหน้าที่จาก สมศ. จำ�นวน 50 คน เข้าเยี่ยมชมกิจการของบริษัทฯ และศึกษาดู งานทีว่ สิ าหกิจชุมชนแบบพอเพียง กลุม่ เกษตรอินทรีย์ ตำ�บล เชิงเนิน อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง เช่น การปลูกพืชสวนครัว การทำ�ปุ๋ยหมักอินทรีย์ และการทำ�น้ำ�หมักชีวภาพ ซึ่งเป็น กิจกรรมที่คณะครูให้ความสนใจและสามารถนำ�ความรู้ ดังกล่าวไปเป็นแนวคิดในการจัดทำ�โครงการด้านพัฒนา ชุมชนและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน โครงการศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชนไออาร์พีซี ศูนย์การเรียนรู้ตั้งขึ้นเพื่อดำ�เนินโครงการสร้างกิจกรรม สัมพันธ์ร่วมกับชุมชนและประชาชนทั่วไป ตั้งอยู่ที่ตำ�บล เชิงเนิน จังหวัดระยอง ให้บริการห้องประชุม กิจกรรม วั น หยุ ด สำ � หรั บ เยาวชน ในแต่ ล ะเดื อ นจะมี กิ จ กรรม สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป เช่น การเรียนภาษาอังกฤษ เรียน ทำ�ขนม ศิลปะการต่อผ้า (Quilt) ชมรมเทควันโด้ จังหวัด ระยอง ชมรมลีลาศ เป็นต้น เริ่มดำ�เนินการมาตั้งแต่ปี 2553 โดยในปี 2558 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 9,479 คน

“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

ร่วมโครงการ “๑ ช่วย ๙” โดยนำ�ศักยภาพและความพร้อม ของบริษัทฯ มาพัฒนา

สถานศึกษา 9 แห่ง

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

213


โครงการทุนการศึกษาเพื่อชุมชน ตัง้ แต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบนั บริษทั ฯ ได้มอบทุนการศึกษาให้ กับนักเรียน/นักศึกษา ที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ตั้งแต่ ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับปริญญาตรี โดยได้รบั ความร่วม มือจากผู้นำ�ชุมชนในจังหวัดระยองเป็นผู้พิจารณาคัดเลือก เยาวชนในชุมชนของตนเอง จำ�นวน 89 ชุมชน การมอบทุน แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา/ อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา สำ�หรับปี 2558 ในเขตอำ�เภอเมือง ได้จัดมอบทุนเมื่อ วันที 28 ตุลาคม 2558 จำ�นวน 238 ทุน เป็นเงิน 1,698,000 บาท และอำ�เภอบ้านค่าย ได้จัดมอบทุน เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2558 จำ�นวน 74 ทุน เป็นเงิน 528,000 บาท โครงการบูรณะโบราณสถานวัดขรัวตาเพชร ประมาณปี 2552 ได้มีการค้นพบซากวัดร้างภายในพื้นที่ คลังน้�ำ มันไออาร์พีซี อยุธยา บริษัทฯ จึงได้ประสานกับสำ�นัก ศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา ในการบูรณะเพือ่ การอนุรกั ษ์ วัดร้างดังกล่าวไว้ โดยบริษัทฯ เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ แบ่งการทำ�งานออกเป็น 2 ระยะ คือ

จากการศึกษาวัดร้างดังกล่าวพบว่า วัดนี้มีชื่อว่า “วัดขรัวตา เพชร” นับเป็นโบราณสถานที่เก่าแก่กว่า 300 ปี ไม่ทราบ นามผูส้ ร้าง ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีต่ �ำ บลโพธิเ์ อน อำ�เภอท่าเรือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ริมฝัง่ ด้านตะวันออกของแม่น�้ำ ป่าสัก เดิม มีชื่อเรียกตามชาวบ้านย่านนั้นหลายชื่อด้วยกัน บ้างเรียกวัด หัวพรวน บ้างเรียกวัดหมู โดยเรียกขานตามชื่อชุมชนเดิม ซึ่งมีชาวเวียงจันทน์อพยพไปอยู่ อาชีพของคนในชุมชนนี้ คือ ตีมีด และทำ�ทองคำ� เป็นชุมชนที่มีช่ือเสียงโด่งดัง เรียกว่า “ชุมชนหมู่บ้านอรัญญิก” ทำ�ให้ชุมชนแห่งนี้มี ความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ยุคนั้นจนถึงต้นรัตนโกสินทร์ และ ยังเป็นที่รู้จักจนทุกวันนี้ สำ�หรับชื่อวัดขรัวตาเพชรนั้น เป็น ชื่อที่ปรากฏในโฉนดที่ดินของสำ�นักพุทธศาสนา และเป็น ที่ยอมรับมาจนถึงปัจจุบัน

ระยะที่ 1 งานวิชาการโบราณคดี-ขุดศึกษาทางโบราณคดี โดยทางสำ�นักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา ดำ�เนินการ ศึกษาค้นคว้าทางวิชาการโบราณคดีอย่างละเอียด เพื่อให้ ได้มาซึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์โบราณคดีท่ชี ัดเจนและ ถูกต้อง โดยศึกษาข้อมูลการซ้อนทับของชัน้ ดินและอายุสมัยของ การก่อสร้างอาคารเดิม ซึง่ เป็นการสืบค้นหาหลักฐานเกีย่ วกับ ลักษณะของอาคารแต่ละสมัยเท่าทีส่ ามารถทำ�ได้ ตลอดจนการ ศึกษาถึงการตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชนเดิมก่อนทีจ่ ะมีการสร้างวัดขึน้

ในปี 2558 งานบูรณะและปรับปรุงภูมิทัศน์โบราณสถาน วัดขรัวตาเพชรแล้วเสร็จสมบูรณ์ บริษัทฯ จึงกำ�หนดจัดงาน พิธบี วงสรวงสมโภชน์โบราณสถานวัดขรัวตาเพชร เพือ่ แสดง ถึงศรัทธามุ่งมั่นในการอนุรักษ์โบราณสถานและพุทธศาสนา อันเป็นสมบัติของชาติ และเป็นศิริมงคลแก่บริษัทฯ ชุมชน อยุธยาและประชาชนทั่วไป และในปี 2559 บริษัทฯ มี โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้การบูรณะโบราณสถาน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อเยาวชนและผู้ที่สนใจต่อไป

ด้านศิลปวัฒนธรรม

โบราณสถานวัดขรัวตาเพชร

214

ระยะที่ 2 งานบูรณะและปรับปรุงภูมทิ ศั น์-ขุดค้น ขุดแต่ง โบราณคดี งานบูรณะโบราณสถานวัดขรัวตาเพชร ใช้หลักการอนุรักษ์ โบราณสถานเพื่อให้เกิดความมั่นคง (Restoration) โดยยัง คงยึดรูปแบบและรูปทรงเดิม วัสดุเดิมและเทคนิคการก่อสร้าง เดิมของโบราณสถาน มีขนั้ ตอน คืองานบูรณะวิหาร งานบูรณะ เจดีย์ราย และงานบูรณะกำ�แพงแก้ว


กรรมการผู้จัดการใหญ่ รับพระราชทานโล่จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ มูลนิธิขาเทียมฯ จังหวัดเชียงใหม่

8. การจัดการสิ่งแวดล้อม บริ ษั ท ฯ มี โ ครงการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มในหน่ ว ยผลิ ต ต่ า งๆ (CSR in Process) เพื่ อ ลดผลกระทบต่ อ ผู้ มี ส่วนได้เสียให้มากที่สุด สำ�หรับโครงการด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อชุมชนรอบเขตประกอบการฯ ไออาร์พีซี จังหวัดระยอง ที่สำ�คัญ ได้แก่

โครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ชุมชนอยู่คู่อุตสาหกรรม บริษัทฯ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำ�บลตะพง จัดทำ� แผนผังพื้นที่สีเขียว ผังชุมชนพื้นที่โล่ง ตามโครงการเพิ่ม พื้นที่สีเขียว ชุมชนอยู่คู่อุตสาหกรรม ของสำ�นักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมีระยะ เวลาตั้งแต่ธันวาคม 2558 – กันยายน 2559 ในขั้นต้น มีพื้นที่โครงการนำ�ร่องจำ�นวน 20 แห่ง ดำ�เนินการบำ�รุง รักษาต้นไม้ในพื้นที่และดูแลพื้นที่ให้มีสภาพสมบูรณ์เช่นเดิม โดยบริษัทฯ รับผิดชอบ 3 แห่ง ได้แก่ สวนรัชมังคลาภิเษก พื้นที่ริมถนนสุขุมวิท สาย 3 ด้านหน้าของบริษัทฯ และพื้นที่ บริเวณด้านใต้ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ดำ�เนินการปลูก ต้นไม้ไปแล้ว 598 ต้น และจากการสรุปผลการดำ�เนินงาน คณะทำ�งานโครงการชุมชนอยู่คู่อุตสาหกรรม สรุปให้ตำ�บล

ไออาร์พีซี สนับสนุนโครงการบูรณะโบราณสถานวัดขรัวตาเพชร

ตะพงเป็นพื้นที่นำ�ร่อง สรุปว่าได้พื้นที่ที่เหมาะสมมีจำ�นวน 49 แปลง เนื้อที่รวม 2,339 ไร่ โดยในขั้นตอนต่อไปบริษัทฯ จะร่วมกับตำ�บลตะพงจัดทำ�ผังชุมชนและร่วมพัฒนาพื้นที่ สีเขียวในหมู่ 4 ตำ�บลตะพง ต่อไป

โครงการ Protection Strip ดำ�เนินการในระยะแรกแล้วเสร็จในปี 2557 และดำ�เนินการ ระยะที่ 2 ในปี 2558 ด้วยการปลูกต้นไม้จำ�นวน 34,680 ต้น ระยะทาง 2.29 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ 39 ไร่ รวมเป็น จำ�นวนทั้งหมด 276,340 ต้น ระยะทาง 13.14 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ 371 ไร่ สามารถดูดซับก๊าซคาร์ไดออกไซด์ 3,008 ตั น ต่ อ ปี และยั ง มี แ ผนที่ จ ะดำ � เนิ น การให้ ค รบ ตามระยะทางที่ ว างไว้ ภ ายในปี 2559 ซึ่ ง จะทำ � ให้ มี แนวป้องกันตามธรรมชาติรอบโรงงานยาว 18.09 กิโลเมตร คิดเป็น 424 ไร่ และยังมีแผนดำ�เนินการในพืน้ ทีอ่ นื่ อีก 122 ไร่ อันจะช่วยป้องกันมลพิษทางอากาศให้กบั ชุมชนได้ระดับหนึง่

9. นวัตกรรมและการเผยแพร่นวัตกรรมจากการ ดำ�เนินความรับผิดชอบต่อสังคม โครงการขาเทียม (From Bench to Community) บริษทั ฯ ได้ด�ำ เนินโครงการบริจาคเม็ดพลาสติก PP (Polypropylene) ที่ ผ สมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ต่ อ ต้ า นเชื้ อ แบคที เ รี ย ให้มูลนิธิขาเทียม ในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ใช้ในการทำ�ขาเทียม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้พิการ ให้ดีขึ้น ตามแนวทางสร้างคุณค่าร่วม (Creating Shared Value: CSV) ซึง่ บริษทั ฯ ได้ใช้ผลิตภัณฑ์ทางการค้าของบริษทั ฯ สร้างโอกาสให้ผู้พิการได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน ในปี 2558 ไออาร์พีซี ได้บริจาคเม็ดพลาสติก จำ�นวน 25 ตัน ให้แก่ทาง มูลนิธิฯ และเปิดโอกาสให้พนักงานจิตอาสา ประกอบด้วย วิศวกรและพนักงานที่มีความรู้ด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมออกหน่วยทำ�ขาเทียมให้กับผู้พิการ เพื่อให้พนักงานได้ ใช้ความรู้ความสามารถช่วยปฏิบัติงานร่วมกับทางมูลนิธิฯ ในการติดตั้งเครื่องมือ อุปกรณ์ และร่วมผลิตขาเทียมให้แก่ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

215


บรรยากาศกิจกรรมภายใต้โครงการ “IRPC Cubic Acadamy” รุ่นที่ 1 และ รุ่นที่ 2

ผู้ป่วย ระหว่างวันที่ 27 พฤศจิกายน - 2 ธันวาคม 2558 ณ โรงพยาบาลอุม้ ผาง อำ�เภออุม้ ผาง จังหวัดตาก ซึง่ สามารถให้ บริการแก่ผปู้ ว่ ยจำ�นวน 151 คน ส่วนใหญ่เป็นชาวกระเหรีย่ ง ทำ�ขาเทียมทั้งสิ้นจำ�นวน 232 ขา ซึ่งเป็นทั้งขาแบบสวยงาม และขาเกษตร (สำ�หรับผู้ป่วยใส่ทำ�งานในแปลงนาหรือทำ�ไร่) นับจากปี 2554 รวมจำ�นวนขาเทียมทีจ่ ดั ทำ�ทัง้ หมด 6,694 ขา จำ�นวนผู้ป่วย 5,040 คน คิดเป็นเม็ดพลาสติก 90 ตัน โครงการดั ง กล่ า วได้ รั บ รางวั ล Asia Responsible Entrepreneurship Awards (AREA Awards) และใช้เป็น กรณีศกึ ษาสำ�หรับการประชุม 10th International Conference on Corporate Social Responsibility จัดโดย Institute of Directors ประเทศอินเดีย

IRPC Cubic Academy โครงการ IRPC Cubic Academy เป็นโครงการใหม่ที่เริ่ม ดำ�เนินการในปี 2558 โดยบริษทั ฯ ได้สร้างสถาบันการเรียนรู้ IRPC Cubic Academy ด้วยวัตถุประสงค์ในการพัฒนาให้ เกิดองค์กรและสังคมแห่งการเรียนรู้ที่ประกอบด้วยบุคลากร ที่มีทั้งคุณภาพและคุณธรรม IRPC Cubic Academy ได้ พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมขึ้นโดยมีเนื้อหาหลัก 6 หมวด

216

ที่สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แบ่งเป็น ธรรมาภิบาล การตอบแทนสู่สังคม การสื่อสาร ธุรกิจรักษ์ สิ่งแวดล้อม การส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและความน่าเชื่อ ถือทางสังคม และการดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ซึ่งบริษัทฯ มีการดำ�เนินการในเรื่องดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่องและมี องค์ความรู้จากประสบการณ์ในการปฏิบัติงานที่พร้อมจะ แบ่งปันออกสู่ภายนอก ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วย พนักงานและบุคคลภายนอกที่สนใจ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย โดยบริษัทฯ ได้ประชาสัมพันธ์ผ่านทางสื่อสาธารณะและ ช่องทางประชาสัมพันธ์ของบริษัทฯ การฝึกอบรม ประกอบด้วยการบรรยาย การแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น การสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร และการทำ�กิจกรรมเพือ่ สังคมร่วมกัน โดยมีวทิ ยากรทัง้ จากภายในบริษทั ฯ และผูท้ รง คุณวุฒิจากภายนอก การฝึกอบรมใช้เวลาประมาณ 4 เดือน มีผเู้ ข้าร่วมอบรมรวมรุน่ ละประมาณ 100 คน จัดอบรมทุกวัน พฤหัสบดี ตั้งแต่เวลา 13.00 - 17.00 น. ณ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) โดยรุ่นที่ 1 ได้จัดการอบรมระหว่าง วันที่ 7 พฤษภาคม - 20 สิงหาคม 2558 ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรม รุ่นที่ 1 ได้ร่วมทำ�กิจกรรมเพื่อสังคม โดยใช้ชื่อโครงการ “ปลูกผัก แปลง ฝัน ปันอิ่ม” เพื่อขับเคลื่อนหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติของนักเรียนในสถาน


ศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ๑ ช่วย ๙ กับบริษัทฯ ช่วยสร้าง ความภาคภูมใิ จให้นกั เรียนและได้เรียนรูจ้ ากการปฏิบตั โิ ดยตรง รุ่นที่ 2 จัดการอบรมระหว่างวันที่ 3 กันยายน - 25 ธันวาคม 2558 ซึ่งผู้เข้าร่วมอบรมได้ร่วมกันทำ�กิจกรรม “คิวบิก ซุ้มหรรษา พาสุข” ในงานบวงสรวงสมโภชโบราณสถาน วัดขรัวตาเพชร ที่คลังน้ำ�มันไออาร์พีซี อยุธยา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2558 เพื่อหารายได้จัดซื้อสุขภัณฑ์มอบให้แก่ โรงพยาบาลอุ้มผาง อำ�เภออุ้มผาง จังหวัดตาก นำ�ไปสร้าง ห้องน้ำ�ที่ถูกสุขลักษณะให้แก่ชาวกระเหรี่ยงที่อาศัยอยู่ที่ อำ�เภออุ้มผาง เพื่อสุขอนามัยที่ดีและช่วยลดการระบาดของ โรงอหิวาต์ในพื้นที่ดังกล่าว ในปี 2559 บริษัทฯ ยังมีแผนดำ�เนินโครงการ IRPC Cubic Academy 2 รุน่ เช่นเดียวกันและต่อยอดด้วยโครงการ Cubic Academy Advance และ Cubic Academy Awards

โครงการสุขภาพและเฝ้าระวังโรคของประชาชน บริษทั ฯ จัดทำ�ระบบฐานข้อมูลชุมชนในพืน้ ทีต่ ามแนวทิศทาง ลม โดยคาดการณ์จากการเคลือ่ นทีแ่ ละกระจายตัวของมลพิษ ทางอากาศ โดยใช้แบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์รอบเขต ประกอบการฯ ไออาร์พีซี เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำ�หนด แผนงานและมาตรการต่างๆ ในการป้องกัน แก้ไข และบรรเทา ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น สร้างความเชื่อมั่นให้ชุมชนต่อการ ดำ�เนินงานของบริษทั ฯ จำ�นวน 10,398 ครัวเรือน (38,256 คน) ในปีแรกจะสุม่ ตัวอย่างจำ�นวน 900 ตัวอย่าง เพือ่ ทำ�การตรวจ สุขภาพและวิเคราะห์ผลตรวจของกลุ่มตัวอย่างว่ามีแนวโน้ม การเจ็บป่วย หรือเป็นโรค อย่างไร จากนั้นจะทำ�การตรวจ สุขภาพของกลุ่มตัวอย่างซ้ำ�อีก 2 ปี เพื่อยืนยันผลการตรวจ สุขภาพของชุมชนดังกล่าว นอกจากนั้น บริษัทฯ ได้จัดตั้งคลินิกปันน้�ำ ใจขึ้นในพื้นที่ของ ศูนย์การเรียนรู้เครือข่ายชุมชนไออาร์พีซี โดยเปิดให้บริการ ตรวจรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐานให้กับชุมชนที่อยู่รอบเขต ประกอบการฯ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ดำ�เนินการอย่าง

ข้อมูลสุขภาพชุมชนจากคลินิกปันน้�ำ ใจ ได้ถูกส่งให้ โรงพยาบาลระยอง นำ�เข้าระบบฐานข้อมูลสุขภาพ เป็นระบบที่มก ี ารบูรณาการ

กับเครือข่ายสาธารณสุข

ของภาครัฐอย่างครบวงจร

ต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลากว่า 5 ปี ในปี 2558 มีประชาชน ให้ความไว้วางใจเข้ามาใช้บริการจำ�นวน 4,787 คน และมี ยอดการทำ�บัตรสุขภาพ IRPC Card รวม 687 ใบ รวมทั้ง สิ้นเป็นจำ�นวน 7,925 ใบ บัตรดังกล่าวมีประโยชน์ในการใช้ บริการรักษาฟรีทคี่ ลินกิ ปันน้�ำ ใจและใช้ลดราคาค่าน้�ำ มันทีส่ ถานี บริการน้ำ�มันไออาร์พีซี ในอัตราลิตรละ 50 สตางค์ จากนั้น บริษัทฯ จะนำ�ข้อมูลสุขภาพส่งให้กับโรงพยาบาลระยอง นำ�เข้าระบบฐานข้อมูลสุขภาพ เพื่อใช้วางแผนในการรักษา ประชาชนในชุมชนในกรณีที่เกิดการเจ็บป่วยต่อไป ถือเป็น การดำ�เนินงานเพื่อชุมชนอย่างเป็นระบบและบูรณาการ กับเครือข่ายสาธารณสุขของภาครัฐอย่างครบวงจร สำ�หรับผู้ที่ไม่สะดวกมาใช้บริการคลินิกปันน้ำ�ใจ บริษัทฯ ได้จัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ตรวจสุขภาพชุมชน (Mobile Clinic) ร่ ว มกั บ โรงพยาบาลสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ กรมแพทย์ ท หารเรื อ ออกหน่ ว ยแพทย์ เ คลื่ อ นที่ แ ละ ทันตกรรมโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย เดือนละ 1 ครั้ง ในปี 2558 มีผู้เข้ารับบริการ 1,288 คน ครอบคลุม 3 ตำ�บล 2 เทศบาล โรคที่พบส่วนใหญ่จากการออกหน่วยแพทย์ ได้แก่ โรคเส้ น และกระดู ก โรคทางเดิ น หายใจ และโรคทาง เดินอาหาร

10. การจัดทำ�รายงานความยั่งยืน

หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ กิจกรรมภายใต้โครงการสุขภาพและเฝ้าระวังโรคของประชาชน

บริษัทฯ จัดทำ�รายงานประจำ�ปีเพื่อรายงานต่อผู้ถือหุ้น และ จัดทำ�รายงานความยั่งยืน (Sustainability Report) ประจำ� ปี 2558 ตามแนวทางของ GRI ในระดับ G4 ซึ่งจัดส่งให้ ผู้ถือหุ้นพร้อมกับรายงานประจำ�ปี เพื่อให้ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ได้รบั ภาพรวมของการดำ�เนินงานของบริษทั ฯ อย่างครบถ้วน ทุกมิติ นอกจากนั้น ยังจัดทำ�รายงาน Communication on Progress เสนอต่อ UN Global Compact ในระดับ Advance และมีแผนจัดทำ�รายงาน Integrated CSR Report ประจำ�ปี 2558-2559 รายละเอียดจะนำ�เสนอในเว็บไซต์ของบริษทั ฯ www. irpc.co.th ต่อไป รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

217


การลงทุนในกิจการเพื่อสังคม

โครงการลงทุนในกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี หรือ IRPCT เป็นสถาบันอาชีวศึกษาที่บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) มีการลงทุน ร้อยละ 99.9 เพื่อตอบสนองความต้องการชาวระยอง ให้มีสถานศึกษาที่ผลิตช่างฝีมือที่มีความเชี่ยวชาญในภาค อุตสาหกรรมของประเทศ เนื่องจากจังหวัดระยองเป็นเพื้นที่มีนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่ง จึงมีความต้องการแรงงาน ฝีมือจำ�นวนมาก เปิดการเรียนการสอนเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2538 ภายใต้แนวคิด วิทยาลัยของชุมชนเพื่อชุมชน วิทยาลัย เทคโนโลยีไออาร์พีซี จึงได้พัฒนาการเรียนการสอนแบบ “โรงเรียน-โรงงาน” บนความร่วมมือระหว่างวิทยาลัยกับ ภาคอุตสาหกรรม คือ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) โดย ผูเ้ รียนจะได้ใช้อปุ กรณ์ เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรทีม่ คี วามทันสมัย และฝึกงานในโรงงานของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ ทำ�ให้นักเรียน นักศึกษาที่สำ�เร็จการ ศึกษาจากวิทยาลัยแห่งนี้ เป็นช่างฝีมือที่มีความรู้ท้ังทาง ด้านทฤษฎีและปฏิบัติตรงตามความต้องการของตลาด แรงงานทั้งภาคตะวันออกและทั่วประเทศ และปัจจุบันได้ ขยายออกไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม AEC

218

นอกจากการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพแล้ว บริษัทฯ ยังสนับสนุนให้นักเรียนนักศึกษา มีจิตอาสาและทำ�กิจกรรมเพื่อสังคมตามความชำ�นาญใน สายอาชีพของตน อาทิ โครงการกองกำ�ลังอาสา IRPC ซ่อม เสริม เติมสุข โครงการผลิตเป็ดน้อยเตือนภัยเพื่อตรวจสอบ กระแสไฟฟ้ารั่วในช่วงน้�ำ ท่วมปี 2554 เป็นต้น ในปี 2558 รัฐบาลกำ�หนดนโยบาย ประชารัฐในการขับเคลื่อนการบริหาร ราชการแผ่ น ดิ น โดยใช้ ก ารทำ � งาน ในลักษณะบูรณาการความเชื่อมโยง ระหว่ า งภาครั ฐ ภาคเอกชนและ ภาคประชาชนที่ ทั้ ง สามส่ ว นจะต้ อ ง


สนับสนุนการทำ�งานระหว่างกัน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ� พัฒนาคุณภาพคน และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันอัน เป็นเป้าหมายการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ และได้มกี าร แต่งตัง้ คณะกรรมการเพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายดังกล่าว จำ�นวน 12 ชุด โดยหนึ่งในคณะทำ�งานนั้น คือ คณะทำ�งานยกระดับ คุณภาพวิชาชีพอาชีวศึกษา ซึ่งมีตัวแทนจากภาคเอกชน ชั้นนำ�ระดับประเทศ จำ�นวน 13 องค์กร รวมถึงบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) ซึ่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ของ บริษัทฯ ได้รับมอบหมายเป็นหัวหน้าทีมคณะทำ�งานย่อย Quick Win Project: Database of Demand and Supply ทิศทางการจัดการอาชีวศึกษาตามนโยบายประชารัฐนั้น มีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาวิทยาลัย โดยปัจจุบนั วิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา สู่ความเป็นวิทยาลัยอาชีวศึกษาชั้นนำ�ของประเทศภาย ในปี 2563 มีแผนการดำ�เนินงาน ดังนี้ 1. การเพิ่ ม 2 สาขาใหม่ พร้ อ มยกระดั บ มาตรฐาน (Excellence Model) ในการผลิตนักศึกษาเพื่อสนองตอบ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและพลังงานของกลุม่ ปตท. และกลุม่ อุตสาหกรรมชัน้ นำ� โดยการเพิม่ สาขาใหม่ในปี 2559 จำ�นวน 2 สาขาวิชา คือ สาขาปิโตรเคมีและสาขาเทคนิคพลังงาน และการยกระดับคุณภาพของนักศึกษาให้เป็น Premium Grade ผ่านการพัฒนาโดยใช้โปรแกรม ACE (Advance Competency in Engineering) ในสาขาเคมีอุตสาหกรรม Chem ACE สาขาปิโตรเคมี Petro ACE และสาขาเทคนิค พลังงาน Energy ACE ถือเป็นการยกระดับคุณภาพนักศึกษา (Quality) โดยใช้การร่วมมือในการลงทุนและบริหารจัดการ ร่วมกับบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

การประชุมคณะทำ�งานย่อย Quick Win Project: Database of Demand and Supply

2. การยกระดับคุณภาพในสาขาที่มีอยู่แล้วโดยการปรับ การเรียนการสอนเป็น Mini English Program หรือ English Program และการทำ�ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ ทัง้ การแลกเปลีย่ นนักศึกษา บุคลากร และองค์ความรูใ้ นกลุม่ ประเทศอาเซียน ได้แก่ เมียนมาร์ กัมพูชา ลาว เวียดนาม และ ฟิลิปปินส์ นับเป็นการดำ�เนินการเพื่อเข้าสู่ AEC และ Global Standard โดยปัจจุบันมีนักศึกษาจากเมียนมาร์ จำ�นวน 88 คน ลาว 11 คน และกัมพูชา 3 คน จากจุดกำ�เนิดของการก่อตั้งวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี เพือ่ ตอบสนองความต้องการของชุมชนระยอง ปัจจุบนั บริษทั ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) สนับสนุนให้วิทยาลัยฯ ผลิต นักศึกษาทีต่ อบสนองความต้องการของสังคมไทยเรือ่ งแรงงาน ที่มีศักยภาพสูง รองรับอุตสาหกรรมในประเทศและ AEC และที่น่าภาคภูมิใจคือวิทยาลัยเทคโนโลยีไออาร์พีซี และ บริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) จะเป็นส่วนหนึง่ ของนโยบาย ประชารัฐทีภ่ าคเอกชนช่วยสนันสนุนภาครัฐเพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ

นักศึกษา IRPCT เป็นตัวแทนประเทศไทยรุน่ อายุ 19 ปี เข้าแข่งขันหุน่ ยนต์โอลิมปิค 2015 WRO “World Robot Olympiad” ด้านการออกแบบ สร้าง และเขียนโปรแกรม ควบคุมหุ่นยนต์ “LEGO Education MindStorms” ณ กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ ทำ�เวลาเร็วเป็นอันดับที่ 7 ของโลก รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

219



FINANCIAL STATEMENT รายงานทางการเง�น

รายงานความรับผ�ดชอบของคณะกรรมการ บร�ษัทต อรายงานทางการเง�น รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต งบการเง�น ภาคผนวก การปฏิบัติตามเกณฑ การกำกับดูแลกิจการที่ดี การปฏิบัติตามเกณฑ ความรับผ�ดชอบต อสังคม คำย อและศัพท เทคนิค



รายงานความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน เรียน ท่านผู้ถือหุ้น งบการเงินของบริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ได้จัดทำ�ขึ้นตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ประกาศใช้โดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ ภายใต้พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 และ ตามข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดทำ�และนำ�เสนอรายงานทางการเงิน ภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการบริษทั ฯ รับผิดชอบต่อรายงานทางการเงินของบริษัท ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) และบริษทั ย่อย ทีจ่ ดั ทำ�ขึ้นเพื่อให้ มีความมัน่ ใจว่าได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และกระแสเงินสด ถูกต้องตามควรในสาระสำ�คัญ โดยจัดให้มรี ะบบการ ควบคุมภายในที่ดี มีการบันทึกข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้องครบถ้วนและเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน รวมทั้งป้องกันการ ทุจริตและการดำ�เนินการทีผ่ ดิ ปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ในการจัดทำ�รายงานทางการเงินได้มกี ารพิจารณาเลือกใช้นโยบายบัญชีที่ เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน รวมทั้งได้มีการเปิดเผยข้อมูลสำ�คัญ อย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึง่ ผูส้ อบบัญชีได้ตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษทั ไออาร์พซี ี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งแสดงไว้ในรายงานประจำ�ปีนี้แล้ว

(นายเทวินทร์ วงศ์วานิช)

(นายสุกฤตย์ สุรบถโสภณ)

ประธานกรรมการ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

223


รายงานของผู้สอบบัญชี รับอนุญาต เสนอผูถ้ ือหุน้ และคณะกรรมการของบริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงิ นรวม และงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ของ บริ ษทั ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของเฉพาะ บริ ษทั ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ซึ่ งประกอบด้วยงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะบริ ษทั งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไร ขาดทุน เบ็ดเสร็ จเฉพาะบริ ษทั งบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ ยนแปลงส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น เฉพาะบริ ษ ัท และงบกระแสเงิ นสดรวมและงบกระแสเงิ นสดเฉพาะบริ ษทั สําหรับปี สิ้ น สุ ดวัน เดี ยวกัน รวมถึ งหมายเหตุ สรุ ป นโยบายการบัญชี ที่สําคัญและหมายเหตุเรื่ องอื่น ๆ ความรั บผิดชอบของผู้บริ หารต่ องบการเงิ น ผูบ้ ริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงิ นเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น และ รับผิดชอบเกี่ ยวกับการควบคุมภายในที่ ผูบ้ ริ หารพิ จารณาว่าจําเป็ นเพื่ อให้สามารถจัดทํางบการเงิ นที่ ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ ขดั ต่ อ ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญไม่วา่ จะเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ความรั บผิดชอบของผู้สอบบัญชี ข้าพเจ้าเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงิ นดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบตาม มาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่ งกําหนดให้ขา้ พเจ้าปฏิ บตั ิ ตามข้อกําหนดด้านจรรยาบรรณ รวมถึ งวางแผนและปฏิ บตั ิ งานตรวจสอบเพื่อให้ได้ ความเชื่ อมัน่ อย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงิ นปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญหรื อไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่ งหลักฐานการสอบบัญชี เกี่ ยวกับจํานวนเงิ นและการเปิ ดเผยข้อมูลใน งบการเงิ น วิธีการตรวจสอบที่ เลื อกใช้ข้ ึ นอยู่กบั ดุลยพินิจของผูส้ อบบัญชี ซึ่ งรวมถึงการประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ ขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญของงบการเงิ นไม่วา่ จะเกิ ดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด ในการประเมิ นความเสี่ ยงดังกล่าว ผูส้ อบบัญ ชี พิ จ ารณาการควบคุม ภายในที่ เกี่ ยวข้อ งกับ การจัดทําและการนําเสนองบการเงิ น โดยถู กต้อ งตามที่ ค วรของกิ จ การ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่ เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิ ทธิ ผลของการควบคุม ภายในของกิ จการ การตรวจสอบรวมถึ งการประเมิ นความเหมาะสมของนโยบายการบัญชี ที่ผบู ้ ริ หารใช้และความสมเหตุสมผล ของประมาณการทางบัญชี ที่จดั ทําขึ้นโดยผูบ้ ริ หาร รวมทั้งการประเมินการนําเสนองบการเงิ นโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่ อว่าหลักฐานการสอบบัญชี ที่ขา้ พเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช้เป็ นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

224

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้


ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงิ นรวมและฐานะการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ของบริ ษ ัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย และของเฉพาะบริ ษทั ไออาร์ พี ซี จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ ผลการดําเนิ นงานรวมและผลการดําเนิ นงานเฉพาะบริ ษทั และกระแสเงิ นสดรวมและกระแสเงิ นสดเฉพาะบริ ษ ัทสํ าหรับปี สิ้ นสุ ด วันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น

วิเชี ยร กิ่งมนตรี ผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตเลขที่ 3977 บริ ษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด กรุ งเทพมหานคร 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

225


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

สินทรัพย์

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท

7 8 33

3,575,852,749 8,942,402,960 21,098,133

2,008,634,173 11,192,220,002 1,029,720,603

3,244,325,766 9,726,889,056 42,694,537

1,693,329,193 11,883,941,714 1,044,969,021

33 9 10

21,306,087,346 69,434,719 953,231,502 118,439,231 997,773,811

25,344,146,875 135,999,168 3,077,804,594 144,366,282 1,209,010,571

3,825,155,093 19,574,099,924 65,415,480 915,705,770 118,439,231 890,276,060

650,874,034 23,179,370,996 120,830,402 2,960,358,056 144,366,282 1,115,047,741

35,984,320,451

44,141,902,268

38,403,000,917

42,793,087,439

11 11 11 12

22,995,897 3,073,160 6,116,672,829 1,124,638,318

6,144,394,936 731,664,318

2,503,917,514 6,474,251,713 1,124,638,320

4,358,265,314 6,130,770,151 731,664,320

33

-

3,309,971,902

3,492,224,332

6,587,607,392

1,190,448,919 1,248,033,864 1,150,082,737 114,806,893,969 100,871,789,961 106,881,965,377 1,121,939,839 1,331,028,979 1,115,231,817 2,574,170,140 4,930,772,629 2,246,568,446 228,521,028 88,830,291 226,280,799

1,152,522,363 92,719,298,473 1,328,916,310 4,607,859,762 85,079,211

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี�การค้า - สุทธิ ลูกหนี�กิจการหรือบุคคลที�เกี�ยวข้องกัน - สุทธิ เงินให้กู้ยืมระยะสั�นและดอกเบี�ยค้างรับ แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - สุทธิ สินค้าคงเหลือ - สุทธิ ลูกหนี�อื�น ภาษีมูลค่าเพิ�มรอเรียกคืน ภาษีสรรพสามิตจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย - สุทธิ เงินลงทุนในกิจการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษัทร่วม - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื�น - สุทธิ เงินให้กู้ยืมและดอกเบี�ยค้างรับ แก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - สุทธิ รายการกับกลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการ ที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม - สุทธิ อสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน - สุทธิ ที�ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�น - สุทธิ

34 13 14 15 16 17

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

127,189,354,099 118,656,486,880 125,215,161,055 117,701,983,296

รวมสินทรัพย์

163,173,674,550 162,798,389,148 163,618,161,972 160,495,070,735

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

226

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

3


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท

18 19 33

203,941,150 25,741,188,454 183,969,272

8,846,585,173 25,815,278,568 155,102,941

133,268,729 26,819,768,015 190,840,796

8,792,329,452 26,381,022,327 161,414,527

33

22,637,823

-

22,637,823

168,977,723

18

4,265,076,000 2,525,029,725 398,634,247 1,794,919,180 522,621,356 551,944,448

7,701,132,000 1,938,164,837 485,448,139 846,576,879 375,377,235 665,479,625

4,265,076,000 2,407,422,106 398,634,247 1,640,955,553 456,987,076 455,043,841

7,701,132,000 1,845,778,505 485,447,710 780,538,350 253,047,264 505,536,758

36,209,961,655

46,829,145,397

36,790,634,186

47,075,224,616

18

49,235,326,451

44,243,337,309

49,235,326,451

44,243,337,309

33 20

1,850,436,976

2,254,892,788 1,567,088,025

1,725,194,864

2,254,892,788 1,452,770,837

รวมหนี�สินไม่หมุนเวียน

51,085,763,427

48,065,318,122

50,960,521,315

47,951,000,934

รวมหนี�สิน

87,295,725,082

94,894,463,519

87,751,155,501

95,026,225,550

หนี�สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

หนี�สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี�การค้า เจ้าหนี�กิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินกู้ยืมและดอกเบี�ยค้างจ่าย จากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ที�ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ�งปี เจ้าหนี�อื�น ดอกเบี�ยค้างจ่าย โบนัสค้างจ่าย เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า หนี�สินหมุนเวียนอื�น รวมหนี�สินหมุนเวียน หนี�สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ - สุทธิ เงินกู้ยืมและดอกเบี�ยค้างจ่าย จากกิจการที�เกี�ยวข้องกัน ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

4

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

227


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

หนี�สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ)

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท

20,475,000,000

20,475,000,000

20,475,000,000

20,475,000,000

20,434,419,246

20,434,419,246

20,434,419,246

20,434,419,246

21

28,554,212,397

28,554,212,397

28,554,212,397

28,554,212,397

22

2,047,500,000 24,908,698,002

2,047,500,000 17,252,352,664

2,047,500,000 24,862,177,048

2,047,500,000 14,778,394,962

23

(124,282,649)

(124,282,649)

-

-

15,177,080 (31,302,220)

15,177,080 (345,681,420)

(31,302,220)

(345,681,420)

75,804,421,856 73,527,612

67,833,697,318 70,228,311

75,867,006,471 -

65,468,845,185 -

75,877,949,468

67,903,925,629

75,867,006,471

65,468,845,185

หมายเหตุ

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน (หุ้นสามัญจํานวน 20,475 ล้านหุ้น มูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ทุนที�ออกและชําระแล้ว (หุ้นสามัญจํานวน 20,434.42 ล้านหุ้น มูลค่าที�ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ กําไรสะสม - จัดสรรแล้ว - สํารองตามกฎหมาย - ยังไม่ได้จัดสรร หัก หุ้นทุนซื�อคืน -หุ้นสามัญของบริษัท ที�ถือโดยบริษัทย่อย ส่วนเกินทุนหุ้นทุนซื�อคืน - หุ้นสามัญ ของบริษัทที�ถือโดยบริษัทย่อย องค์ประกอบอื�นของส่วนของผู้ถือหุ้น รวมส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี�สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

21

24

163,173,674,550 162,798,389,148 163,618,161,972 160,495,070,735

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

228

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

5


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุน สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบการเงินรวม พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

บาท

บาท

บาท

บาท

32, 33

214,171,787,898

281,589,437,340

222,510,721,953

293,071,434,062

33

(197,913,497,719)

(287,930,221,470)

(206,826,818,238)

(299,989,690,382)

16,258,290,179

(6,340,784,130)

15,683,903,715

(6,918,256,320)

หมายเหตุ รายได้จากการขาย ต้นทุนขาย

งบการเงินเฉพาะบริษัท

กําไร (ขาดทุน) ขั�นต้น รายได้อื�น - สุทธิ

25

4,347,570,983

5,806,190,276

7,072,397,310

6,156,490,409

ค่าใช้จ่ายในการขาย

33

(1,207,106,327)

(1,103,256,870)

(1,381,266,635)

(1,262,855,546)

26, 33

(4,965,190,028)

(4,341,133,106)

(4,733,089,786)

(4,146,419,259)

14,433,564,807

(5,978,983,830)

16,641,944,604

(6,171,040,716)

28

(2,480,814,797)

(1,493,650,272)

(2,499,973,129)

(1,531,545,471)

11

(183,798,787)

(138,544,260)

-

-

11,768,951,223

(7,611,178,362)

14,141,971,475

(7,702,586,187)

(2,345,841,265)

2,397,751,749

(2,310,847,792)

2,491,344,928

9,423,109,958

(5,213,426,613)

11,831,123,683

(5,211,241,259)

9,401,762,643

(5,234,637,216)

11,831,123,683

(5,211,241,259)

21,347,315

21,210,603

-

-

9,423,109,958

(5,213,426,613)

11,831,123,683

(5,211,241,259)

0.46

(0.26)

0.58

(0.26)

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงาน ต้นทุนทางการเงิน ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนใน บริษัทร่วมและส่วนได้เสียใน กิจการร่วมค้า กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ ภาษีเงินได้

29

กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับปี การแบ่งปันกําไร (ขาดทุน) ส่วนที�เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที�เป็นของส่วนได้เสีย ที�ไม่มีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับปี กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้น กําไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั�นพื�นฐาน

30

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

6

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

229


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท

9,423,109,958

(5,213,426,613)

11,831,123,683

(5,211,241,259)

392,974,000

(241,474,000)

392,974,000

(241,474,000)

(78,594,800)

48,294,800

(78,594,800)

48,294,800

314,379,200

(193,179,200)

314,379,200

(193,179,200)

ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - ภาษีเงินได้เกี�ยวกับขาดทุน

(140,756,377)

(194,724,628)

(140,756,377)

(188,463,965)

ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

28,151,275

38,854,381

28,151,275

37,692,793

(112,605,102)

(155,870,247)

(112,605,102)

(150,771,172)

201,774,098

(349,049,447)

201,774,098

(343,950,372)

กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสําหรับปี

9,624,884,056

(5,562,476,060)

12,032,897,781

(5,555,191,631)

การแบ่งปันกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม: ส่วนที�เป็นของบริษัทใหญ่

9,603,536,741

(5,583,686,663)

12,032,897,781

(5,555,191,631)

21,347,315

21,210,603

-

-

9,624,884,056

(5,562,476,060)

12,032,897,781

(5,555,191,631)

กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับปี กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื�น: รายการที�จะจัดประเภทรายการใหม่เข้าไป ไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง - กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื�อขาย - ภาษีเงินได้เกี�ยวกับการวัดมูลค่า เงินลงทุนเผื�อขาย รวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 บาท บาท

รายการที�จะไม่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไป ไว้ในกําไรหรือขาดทุนในภายหลัง - ขาดทุนจากการประมาณการ

รวม กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี - สุทธิจากภาษี

ส่วนที�เป็นของส่วนได้เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

230

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

7


รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

231

20,434,419,246

20,434,419,246 -

20,434,419,246

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เงินปันผลจ่าย กําไรสุทธิสําหรับปี กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

28,554,212,397 2,047,500,000 24,908,698,002

28,554,212,397 2,047,500,000 17,252,352,664 - (1,632,812,203) - 9,401,762,643 - (112,605,102)

28,554,212,397 2,047,500,000 17,252,352,664

28,554,212,397 2,047,500,000 24,683,897,749 - (2,041,037,622) - (5,234,637,216) - (155,870,247)

กําไรสะสม ส่วนเกินมูลค่า สํารอง หุ้นสามัญ ตามกฏหมาย ยังไม่ได้จัดสรร บาท บาท บาท

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

(31,302,220)

(345,681,420) 314,379,200

(345,681,420)

(152,502,220) (193,179,200)

องค์ประกอบอื�นของ ส่วนของผู้ถือหุ้น กําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื�น เงินลงทุนเผื�อขาย บาท

ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

20,434,419,246 -

ทุนที�ออกและ ชําระแล้ว บาท

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เงินปันผลจ่าย กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับปี ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี

สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

(124,282,649)

(124,282,649) -

(124,282,649)

(124,282,649) -

หุ้นของบริษัท ที�ถือโดย บริษัทย่อย บาท

15,177,080

15,177,080 -

15,177,080

15,177,080 -

ส่วนเกินมูลค่า หุ้นทุนซื�อคืน บาท

75,804,421,856

67,833,697,318 (1,632,812,203) 9,401,762,643 201,774,098

67,833,697,318

75,458,421,603 (2,041,037,622) (5,234,637,216) (349,049,447)

รวมส่วนของผู้ถือ หุ้นบริษัทใหญ่ บาท

รวมส่วนของ ผู้ถือหุ้น บาท

8

73,527,612 75,877,949,468

70,228,311 67,903,925,629 (18,048,014) (1,650,860,217) 21,347,315 9,423,109,958 201,774,098

70,228,311 67,903,925,629

68,174,466 75,526,596,069 (19,156,758) (2,060,194,380) 21,210,603 (5,213,426,613) - (349,049,447)

ส่วนได้เสีย ที�ไม่มีอํานาจ ควบคุม บาท

งบการเงินรวม


232 20,434,419,246

28,554,212,397

28,554,212,397 -

28,554,212,397

28,554,212,397 -

ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ บาท

หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษัทในหน้ ถึงหน้ า 105เป็เป็ วนหนึ �งของงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษัทในหน้ า 235า 12 ถึงหน้ า 328 นส่นวส่นหนึ ่งของงบการเงิ นนี้ นนี�

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

31

20,434,419,246 -

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2558 เงินปันผลจ่าย กําไรสุทธิสําหรับปี กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี

20,434,419,246 20,434,419,246

31

หมายเหตุ

ทุนที�ออกและ ชําระแล้ว บาท

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ยอดคงเหลือ ณ วันที� 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เงินปันผลจ่าย ขาดทุนสุทธิสําหรับปี ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื�นสําหรับปี

สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

งบแสดงการเปลี�ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน)

2,047,500,000

2,047,500,000 -

2,047,500,000

2,047,500,000 -

24,862,177,048

14,778,394,962 (1,634,736,495) 11,831,123,683 (112,605,102)

14,778,394,962

22,183,827,856 (2,043,420,463) (5,211,241,259) (150,771,172)

(31,302,220)

(345,681,420) 314,379,200

(345,681,420)

(152,502,220) (193,179,200)

9

75,867,006,471

65,468,845,185 (1,634,736,495) 11,831,123,683 201,774,098

65,468,845,185

73,067,457,279 (2,043,420,463) (5,211,241,259) (343,950,372)

องค์ประกอบอื�นของ ส่วนของผู้ถือหุ้น กําไรสะสม กําไรขาดทุน สํารอง เบ็ดเสร็จอื�น ตามกฎหมาย ยังไม่ได้จัดสรร เงินลงทุนเผื�อขาย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น บาท บาท บาท บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ รายการปรับปรุงกําไร (ขาดทุน) สุทธิเป็นเงินสดสุทธิที�ได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน - ค่าเสื�อมราคา - ค่าตัดจําหน่าย - ดอกเบี�ยรับ - เงินปันผลรับ - หนี�สูญและหนี�สงสัยจะสูญ (กลับรายการ) - ค่าเผื�อการลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ (กลับรายการ) - กําไรจากอัตราแลกเปลี�ยนที�ยังไม่เกิดขึ�นจริง - การกลับรายการค่าเผื�อหนี�สงสัยจะสูญของรายการกับ กลุ่มผู้บริหารเดิมและกิจการที�เกี�ยวข้องกับกลุ่มผู้บริหารเดิม - เงินมัดจําสัญญาเช่าอาคารระยะยาว - เงินให้กู้ยืมแก่กลุ่มผู้บริหารเดิม - ค่าเผื�อการด้อยค่าของเงินลงทุนระยะยาวอื�น - กลับรายการด้อยค่าเงินลงทุนในบริษัทย่อยที�อยู่ระหว่างการชําระบัญชี - กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม - กําไรจากการจําหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื�น - (กําไร) ขาดทุนจากการจําหน่ายสินทรัพย์ถาวรและอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน - ค่าเผื�อการด้อยค่า (การกลับรายการ) ของสินทรัพย์ถาวร และอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน - สุทธิ - ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมและกิจการร่วมค้า - ตามวิธีส่วนได้เสีย - ต้นทุนทางการเงิน - กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - ผลประโยชน์ระยะยาวอื�น - ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน

หมายเหตุ

25 25

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินรวม พ.ศ. 2557 บาท

พ.ศ. 2558 บาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท พ.ศ. 2557 บาท

11,768,951,223

(7,611,178,362)

14,141,971,475

(7,702,586,187)

5,199,342,893 256,997,492 (30,010,701) (26,865,378) (2,782,089,606) (2,891,140,155) (9,855,401)

4,959,203,564 250,723,385 (82,023,302) (38,337,252) 3,716,078 3,295,616,283 (24,009,262)

4,742,065,798 256,704,577 (219,050,006) (2,302,230,599) (2,725,846,352) (2,891,178,177) (10,010,554)

4,543,489,210 250,337,948 (274,963,151) (258,637,030) 3,894,042 3,288,606,123 (22,973,914)

25 25 25 25 25 25 25

249,864,582

(470,000,000) (3,289,189,780) 3,289,189,780 (50,000,000) (166,905,594) (253,316,175)

(22,995,837) (190,857,453) 241,083,724

(420,140,000) (3,287,299,780) 3,287,299,780 (50,000,000) (78,499,594) (252,458,707)

11 28

(267,607,500) 183,798,787 2,480,814,797

256,990,117 138,544,260 1,493,650,272

(267,047,500) 2,499,973,130

267,048,080 1,531,545,471

20

161,582,579

(52,198,948) 149,176,717

148,803,425

(43,469,964) 140,264,855

14,293,783,612

1,799,651,781

13,401,385,651

921,457,182

2,216,320,104 6,929,199,685 66,575,425 1,008,622,471 2,124,573,093 25,927,051 223,796,078 (75,298,258) 113,844,932 28,866,332 948,342,301 147,244,121 (116,091,614) (18,990,005)

9,602,977,038 6,158,602,595 248,122,154 (992,873,152) (1,169,097,215) (52,705,849) (460,468,329) (10,522,168,185) 275,919,957 114,865,873 (218,322,121) (29,575,264) 36,890,901 (23,857,425)

2,122,918,284 6,496,449,249 55,732,362 1,002,274,483 2,044,652,286 25,927,051 274,936,324 438,042,309 65,310,989 29,426,269 860,417,202 203,939,812 (50,492,917) (17,135,775)

10,404,769,587 6,213,302,159 255,503,077 (992,812,842) (1,193,751,147) (52,705,849) (415,164,261) (11,030,168,816) 284,497,578 115,344,537 (203,769,978) (148,187,014) (43,372,830) (23,165,255)

เงินสดได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน - ภาษีเงินได้จ่าย

27,916,715,328 (76,663,346)

4,767,962,759 (171,863,226)

26,953,783,579 (50,164,558)

4,091,776,128 (124,130,568)

เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดําเนินงาน

27,840,051,982

4,596,099,533

26,903,619,021

3,967,645,560

การเปลี�ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี�สินดําเนินงาน - ลูกหนี�การค้า - สินค้าคงเหลือ - ลูกหนี�อื�น - ลูกหนี�กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - ภาษีมูลค่าเพิ�มรอเรียกคืน - ภาษีสรรพสามิตจ่ายล่วงหน้า - สินทรัพย์หมุนเวียนอื�น - เจ้าหนี�การค้า - เจ้าหนี�อื�น - เจ้าหนี�กิจการที�เกี�ยวข้องกัน - โบนัสค้างจ่าย - เงินรับล่วงหน้าค่าสินค้า - หนี�สินหมุนเวียนอื�น - จ่ายผลประโยชน์พนักงาน

20

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

233 10


บริษัท ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปีสิ�นสุดวันที� 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริษัท

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

บาท

บาท

บาท

บาท

ดอกเบี�ยรับ

700,439,448

82,023,302

799,696,192

270,027,984

เงินปันผลรับ

26,865,378

62,637,251

2,302,230,599

258,637,030

168,200,000

-

(3,175,000,000)

(20,330,000)

หมายเหตุ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

เงินสดรับ (จ่ายคืน) จากเงินให้กู้ยืมระยะสั�นแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน เงินสดรับ (จ่ายคืน) จากเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที�เกี�ยวข้องกัน

5,298,698,194

(17,158,990)

5,286,530,712

(17,158,990)

เงินสดรับจากการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทย่อย

11

-

-

1,875,000,000

-

เงินสดจ่ายลงทุนเพิ�มในกิจการร่วมค้าและบริษัทร่วม

11

(406,687,104)

(301,632,173)

(401,800,000)

(301,637,691)

251,519,528

288,530,394

251,519,528

141,900,394

(17,219,166,418)

(22,104,032,193)

(16,953,685,472)

(21,573,667,697)

96,375,684

581,402,641

37,015,297

548,504,892

-

470,000,000

-

420,140,000

เงินสดจ่ายซื�อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

(47,908,353)

(65,300,452)

(43,020,085)

(63,529,008)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื�นเพิ�มขึ�น

(139,690,736)

(36,307,296)

(141,201,588)

(36,465,579)

(11,271,354,379)

(21,039,837,516)

(10,162,714,817)

(20,373,578,665)

ดอกเบี�ยจ่ายและจ่ายต้นทุนทางการเงิน

(3,282,580,482)

(2,418,997,741)

(3,308,711,813)

(2,452,874,009)

เงินปันผลจ่าย

เงินสดรับจากการจําหน่ายเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม เงินสดจ่ายซื�อสินทรัพย์ถาวรและอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน เงินสดรับจากการจําหน่ายสินทรัพย์ถาวรและอสังหาริมทรัพย์เพื�อการลงทุน เงินสดรับคืนจากการยกเลิกสัญญาเช่าระยะยาว

เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน

(1,632,812,203)

(2,041,037,622)

(1,634,736,495)

(2,043,420,463)

เงินสดรับ (จ่ายคืน) สุทธิจากสัญญาอนุพันธ์ทางการเงิน

(192,937,644)

112,443,606

(192,937,644)

112,443,606

เงินสดรับ (จ่ายคืน) จากเงินกู้ยืมจากบริษัทที�เกี�ยวข้องกัน

(1,519,940,000)

-

(1,688,140,000)

146,800,000

เงินสดรับ (จ่ายคืน) สุทธิจากเงินกู้ยืมระยะสั�นจากสถาบันการเงิน

(8,645,622,684)

8,698,912,077

(8,655,843,679)

8,788,694,399

เงินสดจ่ายชําระคืนเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินและหุ้นกู้

(7,709,538,000)

(9,000,000,000)

(7,709,538,000)

(9,000,000,000)

เงินสดรับจากเงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

8,000,000,000

3,000,000,000

8,000,000,000

3,000,000,000

เงินสดรับจากการออกจําหน่ายหุ้นกู้

-

15,000,000,000

-

15,000,000,000

เงินสดจ่ายชําระหนี�สินตามสัญญาเช่าการเงิน

-

(3,995,990)

-

(3,995,990)

(18,048,014)

(19,156,758)

-

-

(15,001,479,027)

13,328,167,572

(15,189,907,631)

13,547,647,543

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ�มขึ�น (ลดลง) สุทธิ

1,567,218,576

(3,115,570,411)

1,550,996,573

(2,858,285,562)

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี

2,008,634,173

5,124,204,584

1,693,329,193

4,551,614,755

เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ�นปี

3,575,852,749

2,008,634,173

3,244,325,766

1,693,329,193

1,156,772,480

684,468,450

1,135,658,165

-

3,289,189,780

เงินปันผลจ่ายให้แก่ส่วนได้เสียที�ไม่มีอํานาจควบคุม เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

18

24

รายการที�ไม่กระทบเงินสด เจ้าหนี�ซื�อสินทรัพย์ถาวร เงินลงทุนระยะยาวอื�นเพิ�มจากการแปลงหนี�เป็นทุน

-

640,023,316 3,287,299,780

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 12 ถึงหน้า 105 เป็นส่วนหนึ�งของงบการเงินนี�

234

หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทในหน้า 235 ถึงหน้า 328 เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ 11


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 1

ข้ อมูลทั่วไป บริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) “บริ ษทั ” เป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด ซึ่ งจัดตั้งขึ้ นในประเทศไทยและมี ที่อยูต่ ามที่ได้จดทะเบียน คื อ เลขที่ 299 หมู่ 5 ถนนสุ ขุมวิท ตําบลเชิ งเนิ น อําเภอเมื อ ง จังหวัดระยอง บริ ษ ัทและบริ ษทั ย่อยมี ที่ทาํ การอยู่ที่เลขที่ 555/2 ศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ อาคารบี ชั้น 6 ถนนวิภาวดีรังสิ ต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 บริ ษทั เป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อวัตถุประสงค์ในการรายงานข้อมูลจึงรวมเรี ยกบริ ษทั และ บริ ษทั ย่อยว่า “กลุ่มบริ ษทั ” กลุ่ ม บริ ษ ัท ดํา เนิ น ธุ ร กิ จ หลัก ในธุ ร กิ จ ปิ โตรเคมี แ ละธุ ร กิ จ ปิ โตรเลี ย ม ซึ่ งผลิ ต ภัณ ฑ์ ห ลัก ได้แ ก่ เม็ด พลาสติ ก นํ้ ามัน ใส นํ้ามันหล่อลื่น และผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอื่นๆ งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

2

นโยบายการบัญชี นโยบายการบัญชี ที่สําคัญซึ่ งใช้ในการจัดทํางบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี้

2.1

เกณฑ์ การจัดทํางบการเงิน งบการเงิ นรวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษทั ได้จดั ทําขึ้ นตามหลัก การบัญ ชี ที่รั บ รองทั่วไปภายใต้พ ระราชบัญ ญัติการบัญ ชี พ.ศ. 2543 ซึ่ งหมายถึ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ ออกภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชี พบัญ ชี พ.ศ. 2547 และข้อกําหนด ของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์วา่ ด้วยการจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงิ นภายใต้พระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษ ัท ได้จดั ทําขึ้ น โดยใช้เกณฑ์ร าคาทุ น เดิ ม ในการวัดมู ล ค่ า ขององค์ป ระกอบของ งบการเงิ น ยกเว้นการวัดมูลค่าของเงิ นลงทุนเผื่อขายที่รับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรมซึ่ งได้อธิ บายไว้ในนโยบายการบัญชี ที่เกี่ยวข้อง การจัดทํางบการเงิ นให้สอดคล้องกับหลักการบัญชี ที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย กําหนดให้ใช้ประมาณการทางบัญชี ที่สาํ คัญ และการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หารซึ่ งจัดทําขึ้นตามกระบวนการในการนํานโยบายการบัญชี ของกลุ่มกิ จการไปถือปฏิ บตั ิ และ ต้องเปิ ดเผยเรื่ องการใช้ดุลยพินิจของผูบ้ ริ หาร หรื อ ความซับซ้อน หรื อ เกี่ยวกับข้อสมมติฐานและประมาณการที่มีนัยสําคัญต่อ งบการเงิ นรวมในหมายเหตุฯ ข้อ 4 งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ฉบับภาษาอังกฤษจัดทําขึ้นจากงบการเงิ นตามกฎหมายที่ เป็ นภาษาไทย ในกรณี ที่มี เนื้ อ ความขัดแย้ง กัน หรื อ มี ก ารตี ค วามในสองภาษาแตกต่ า งกัน ให้ใ ช้ง บการเงิ น ตามกฎหมายฉบับ ภาษาไทยเป็ นหลัก

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

12

235


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ มีการปรับปรุ ง ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ ณ วัน ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2557) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2557)

236

เรื่ อง การนําเสนองบการเงิ น เรื่ อง สิ นค้าคงเหลือ เรื่ อง งบกระแสเงิ นสด เรื่ อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด เรื่ อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่ อง สัญญาก่อสร้าง เรื่ อง ภาษีเงิ นได้ เรื่ อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่ อง สัญญาเช่า เรื่ อง รายได้ เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่ อง การบัญชี สําหรับเงิ นอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรื่ อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงิ นตราต่างประเทศ เรื่ อง ต้นทุนการกูย้ ืม เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เรื่ อง การบัญชี และการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เรื่ อง งบการเงิ นเฉพาะกิจการ เรื่ อง เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เรื่ อง การรายงานทางการเงิ นในสภาพเศรษฐกิจที่เงิ นเฟ้ อรุ นแรง เรื่ อง กําไรต่อหุน้ เรื่ อง งบการเงิ นระหว่างกาล เรื่ อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เรื่ อง ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

13


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง (ต่อ) ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ มีการปรับปรุ ง ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ ณ วัน ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การรวมธุรกิจ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดําเนิ นงาน ที่ยกเลิก มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง ส่ วนงานดําเนิ นงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 10 เรื่ อง งบการเงิ นรวม มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 11 เรื่ อง การร่ วมการงาน มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 12 เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื่น มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 13 เรื่ อง การวัดมูลค่ายุติธรรม การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณี ที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนิ นงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง สัญญาเช่าดําเนิ นงาน-สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง ภาษีเงิ นได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรื อผูถ้ ือหุน้ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การประเมินเนื้ อหาสัญญาเช่าที่ทาํ ขึ้นตามรู ปแบบกฎหมาย การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 1 เรื่ อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้ สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน (ปรับปรุ ง 2557) การบูรณะและหนี้ สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 4 เรื่ อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ (ปรับปรุ ง 2557) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 5 เรื่ อง สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะและ (ปรับปรุ ง 2557) การปรับปรุ งสภาพแวดล้อม การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 7 เรื่ อง การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2557) (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ องการรายงานทางการเงิ น ในสภาพเศรษฐกิจที่เงิ นเฟ้ อรุ นแรง การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 10 เรื่ อง งบการเงิ นระหว่างกาลและการด้อยค่า (ปรับปรุ ง 2557) รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

14

237


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง (ต่อ) ก) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ มีการปรับปรุ ง ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ ณ วัน ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้า การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 14 เรื่ อง ข้อจํากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนดเงิ นทุนขั้นตํ่าและปฏิสัมพันธ์ ของรายการเหล่านี้ สําหรับมาตรฐาน การบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ ของพนักงาน การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงิ นสดให้เจ้าของ การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2557) เรื่ อง การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 20 เรื่ อง ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิต สําหรับเหมืองผิวดิน กลุ่มบริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าวข้างต้น ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 โดยผูบ้ ริ หาร ของกลุ่มบริ ษทั ได้ประเมิ นและเห็นว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบ การเงิ นที่นาํ เสนอ ยกเว้นมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังต่อไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2557) การเปลี่ ยนแปลงที่ สําคัญได้แก่ การเพิ่มเติ มข้อกําหนดให้กิจการจัดกลุ่มรายการ ที่แสดงอยู่ใน “กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่ น” โดยใช้เกณฑ์ว่ารายการนั้นสามารถจัดประเภทรายการใหม่เข้าไปในกําไรหรื อ ขาดทุนในภายหลังได้หรื อไม่ มาตรฐานที่ปรับปรุ งนี้ ไม่ได้ระบุวา่ รายการใดจะแสดงอยูใ่ นกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่ น แต่ให้ อ้างอิ งถึ งมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับอื่ น ๆที่ เกี่ ยวข้อง ซึ่ งกลุ่ม บริ ษ ัทได้จดั ประเภทรายการใหม่ ในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จให้สอดคล้องกับมาตรฐานฉบับนี้ แล้ว มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นฉบับที่ 13 มีวตั ถุประสงค์เพื่อปรับปรุ ง และลดความซํ้าซ้อนของคํานิ ยามของมูลค่ายุติธรรม โดยการกําหนดนิ ยามและแหล่งข้อมูลในการวัดมูลค่ายุติธรรม และการเปิ ดเผยข้อมูลสําหรับใช้ในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิ น มาตรฐานดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบกับงบการเงิ นของกลุ่มบริ ษทั ยกเว้นเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูล

238

15


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง (ต่อ) ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ มีการปรับปรุ ง ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ซึ่ งกลุม่ บริ ษทั ยังไม่ได้ นํามาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ มีดงั นี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 21 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 26 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 28 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 34 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 41

เรื่ อง การนําเสนองบการเงิ น เรื่ อง สิ นค้าคงเหลือ เรื่ อง งบกระแสเงิ นสด เรื่ อง นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และ ข้อผิดพลาด เรื่ อง เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เรื่ อง สัญญาก่อสร้าง เรื่ อง ภาษีเงิ นได้ เรื่ อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เรื่ อง สัญญาเช่า เรื่ อง รายได้ เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่ อง การบัญชี สําหรับเงิ นอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผยข้อมูล เกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล เรื่ อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงิ นตราต่างประเทศ เรื่ อง ต้นทุนการกูย้ ืม เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล หรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกัน เรื่ อง การบัญชี และการรายงานโครงการผลประโยชน์เมื่อออกจากงาน เรื่ อง งบการเงิ นเฉพาะกิจการ เรื่ อง เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และการร่ วมค้า เรื่ อง การรายงานทางการเงิ นในสภาพเศรษฐกิจที่เงิ นเฟ้ อรุ นแรง เรื่ อง กําไรต่อหุน้ เรื่ อง งบการเงิ นระหว่างกาล เรื่ อง การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เรื่ อง ประมาณการหนี้ สิน หนี้ สินที่อาจเกิดขึ้น และสิ นทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน เรื่ อง อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน เรื่ อง เกษตรกรรม

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

16

239


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง (ต่อ) ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่ มีการปรับปรุ ง ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ซึ่ งกลุม่ บริ ษทั ยังไม่ได้ นํามาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ มีดงั นี้ (ต่อ) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 2 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 3 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 6 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 8 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 11 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 25 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 1 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 4 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 7 (ปรับปรุ ง 2558)

240

เรื่ อง การจ่ายโดยใช้หุน้ เป็ นเกณฑ์ เรื่ อง การรวมธุรกิจ เรื่ อง สัญญาประกัน เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดําเนิ นงานที่ยกเลิก เรื่ อง การสํารวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากรแร่ เรื่ อง ส่ วนงานดําเนิ นงาน เรื่ อง งบการเงิ นรวม เรื่ อง การร่ วมการงาน เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับส่ วนได้เสี ยในกิจการอื่น เรื่ อง การวัดมูลค่ายุติธรรม เรื่ อง ความช่วยเหลือจากรัฐบาล - กรณี ที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง อย่างเฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนิ นงาน เรื่ อง สัญญาเช่าดําเนิ นงาน-สิ่ งจูงใจที่ให้แก่ผเู ้ ช่า เรื่ อง ภาษีเงิ นได้-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของ กิจการหรื อผูถ้ ือหุน้ เรื่ อง การประเมินเนื้ อหาสัญญาเช่าที่ทาํ ขึ้นตามรู ปแบบกฎหมาย เรื่ อง การเปิ ดเผยข้อมูลของข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื่ อง รายได้-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริ การโฆษณา เรื่ อง สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน-ต้นทุนเว็บไซต์ เรื่ อง การเปลี่ยนแปลงในหนี้ สินที่เกิดขึ้นจากการรื้ อถอน การบูรณะและหนี้ สินที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน เรื่ อง การประเมินว่า ข้อตกลงประกอบด้วยสัญญาเช่าหรื อไม่ เรื่ อง สิ ทธิ ในส่ วนได้เสี ยจากกองทุนการรื้ อถอน การบูรณะ และการปรับปรุ งสภาพแวดล้อม เรื่ อง การปรับปรุ งย้อนหลังภายใต้มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุ ง 2558) เรื่ องการรายงานทางการเงิ น ในสภาพเศรษฐกิจที่เงิ นเฟ้ อรุ นแรง 17


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.2

มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่ และมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรั บปรุ ง (ต่อ) ข) มาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที่มีการปรับปรุ ง ซึ่ งมีผลบังคับใช้ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ยังไม่ได้ นํามาใช้ก่อนวันถือปฏิบตั ิ มีดงั นี้ (ต่อ) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 10 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 12 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 13 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 14 (ปรับปรุ ง 2558)

การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 15 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 17 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 18 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 20 (ปรับปรุ ง 2558) การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 21

เรื่ อง งบการเงิ นระหว่างกาลและการด้อยค่า เรื่ อง ข้อตกลงสัมปทานบริ การ เรื่ อง โปรแกรมสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้า เรื่ อง ข้อจํากัดสิ นทรัพย์ตามโครงการผลประโยชน์ ข้อกําหนด เงิ นทุนขั้นตํ่าและปฏิสัมพันธ์ของรายการเหล่านี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่ อง ผลประโยชน์ของพนักงาน เรื่ อง สัญญาสําหรับการก่อสร้างอสังหาริ มทรัพย์ เรื่ อง การจ่ายสิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่เงิ นสดให้เจ้าของ เรื่ อง การโอนสิ นทรัพย์จากลูกค้า เรื่ อง ต้นทุนการเปิ ดหน้าดินในช่วงการผลิตสําหรับเหมืองผิวดิน เรื่ อง เงิ นที่นาํ ส่ งรัฐ

กลุ่มบริ ษทั จะปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นดังกล่าวข้างต้น ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 โดยผูบ้ ริ หาร ของกลุ่ มบริ ษ ัทได้ประเมิ นแล้วว่ามาตรฐานการรายงานทางการเงิ นเหล่ านี้ จะไม่ มี ผลกระทบอย่างเป็ นสาระสํ าคัญต่ อ งบการเงิ นที่นาํ เสนอ

18 รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

241


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชี กลุ่มบริ ษัท - เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (1)

บริ ษัทย่ อย บริ ษทั ย่อยหมายถึงกิจการ (ซึ่ งรวมถึงกิจการเฉพาะกิจ) ที่กลุ่มบริ ษทั ควบคุม กลุ่มบริ ษทั ควบคุมกิจการเมื่อกลุ่มบริ ษทั มีการเปิ ดรับหรื อมีสิทธิ ในผลตอบแทนผันแปรจากการเกี่ยวข้องกับผูไ้ ด้รับการลงทุนและมีความสามารถทําให้เกิดผลกระทบ ต่อผลตอบแทนจากการใช้อาํ นาจเหนื อผูไ้ ด้รับการควบคุม กลุ่มบริ ษทั รวมงบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยไว้ในงบการเงิ นรวม ตั้งแต่วนั ที่ กลุ่ม บริ ษทั มี อาํ นาจในการควบคุมบริ ษทั ย่อย กลุ่ม บริ ษ ัทจะไม่นํางบการเงิ นของบริ ษทั ย่อยมารวมไว้ใน งบการเงิ นรวมนับจากวันที่กลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยอํานาจควบคุม กลุม่ บริ ษทั บันทึ กบัญชี การรวมธุรกิจโดยถือปฏิ บตั ิตามวิธีซ้ื อ สิ่ งตอบแทนที่โอนให้สําหรับการซื้ อบริ ษทั ย่อย ต้องวัดด้วย มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ผซู ้ ้ื อโอนให้และหนี้ สินที่ก่อขึ้ นเพื่อจ่ายชําระให้แก่เจ้าของเดิ มของผูถ้ ูกซื้ อและส่ วนได้เสี ย ในส่ วนของผูถ้ ื อ หุ ้นที่ อ อกโดยกลุ่มบริ ษ ัท รวมถึ งมู ลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ หรื อหนี้ สิน ที่ คาดว่าจะต้องจ่ายชําระ ต้นทุนที่ เกี่ ยวข้องกับการซื้ อจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่ อเกิดขึ้ น และวัดมูลค่าเริ่ มแรกของสิ นทรัพย์ที่ได้มาที่ ระบุได้ และ หนี้ สินและหนี้ สินที่อาจจะเกิดขึ้นในการรวมธุรกิจด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ ในการรวมธุรกิจแต่ละครั้ง กลุ่มบริ ษทั วัดมูลค่าของส่ วนได้เสี ยที่ ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อด้วยมูลค่ายุติธรรม หรื อมูลค่าของสิ นทรัพย์สุทธิ ที่ระบุได้ของ ผูถ้ ูกซื้ อตามสัดส่ วนของหุน้ ที่ถือ ในการรวมธุ รกิ จที่ ดาํ เนิ นการสําเร็ จจากการทยอยซื้ อ ผูซ้ ้ื อต้องวัดมูล ค่าส่ วนได้เสี ยที่ ผซู ้ ้ื อถื ออยู่ในผูถ้ ูกซื้ อก่อนหน้า การรวมธุ รกิ จใหม่โดยใช้มูลค่ายุติธรรม ณ วัน ที่ ซ้ื อและรับรู ้ผลกําไรหรื อขาดทุ นที่ เกิ ดขึ้ นจากการวัดมู ลค่าใหม่น้ ัน ในกําไรหรื อขาดทุน สิ่ งตอบแทนที่ คาดว่าจะต้องจ่ายโดยกลุ่มบริ ษทั รับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ซ้ื อ การเปลี่ ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรม ของสิ่ งตอบแทนที่ คาดว่าจะต้องจ่ายที่รับรู ้ภายหลังวันที่ ซ้ื อซึ่ งจัดประเภทเป็ นสิ นทรัพย์หรื อหนี้ สินให้รับรู ้ผลกําไรขาดทุน ที่เกิ ดขึ้ นในกําไรหรื อขาดทุน หรื อในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สิ่ งตอบแทนที่ คาดว่าจะต้องจ่ายซึ่ งจัดประเภทเป็ นส่ วนของ ผูถ้ ือหุน้ ต้องไม่มีการวัดมูลค่าใหม่ และให้บนั ทึกการจ่ายชําระในภายหลังไว้ในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ กรณี ที่มูลค่าสิ่ งตอบแทนที่โอนให้ และมูลค่าส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้ อธุรกิ จ ของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ของผูถ้ ูกซื้ อที่ผซู ้ ้ื อถืออยูก่ ่อนการรวมธุรกิจ มากกว่ามูลค่าสุ ทธิ ณ วันที่ซ้ื อของสิ นทรัพย์ ที่ได้มาที่ระบุได้และหนี้ สินที่รับมา ผูซ้ ้ื อต้องรับรู ้ค่าความนิ ยม หากมูลค่าของมูลค่าสิ่ งตอบแทนที่ โอนให้ มูลค่าส่ วนได้เสี ย ที่ไม่มีอาํ นาจควบคุมในผูถ้ ูกซื้ อ และมูลค่ายุติธรรม ณ วันซื้ อธุ รกิ จของส่ วนได้เสี ยในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นของผูถ้ ูกซื้ อที่ ผูซ้ ้ื อถื ออยูก่ ่อนการรวมธุ รกิ จ น้อยกว่ามูลค่าราคายุติธรรมของสิ นทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยเนื่ องจากมี การต่อรองราคาซื้ อ จะรับรู ้ส่วนต่างโดยตรงไปยังงบกําไรขาดทุน กิจการจะตัดรายการบัญชี ระหว่างกิจการ ยอดคงเหลือและรายการกําไรหรื อขาดทุนที่ยงั ไม่ได้เกิดขึ้ นจริ งระหว่างกลุ่มบริ ษทั นโยบายการบัญชี ของบริ ษทั ย่อยได้ถูกเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการบัญชี ของกลุม่ บริ ษทั

242

19


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชี กลุ่มบริ ษัท - เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (1)

บริ ษัทย่ อย (ต่อ) ในงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยจะบันทึกบัญชี ดว้ ยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ต้นทุนจะมี การปรับ เพื่อ สะท้อนการเปลี่ ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่ เกิ ดขึ้ นจากสิ่ งตอบแทนที่ คาดว่าจะได้รับ ต้นทุ นนั้นจะรวมถึ งส่ วนแบ่ ง ต้นทุนทางตรง รายชื่ อของบริ ษทั ย่อยหลักของกลุ่มบริ ษทั และผลกระทบทางการเงิ นจากการซื้ อและการจําหน่ ายบริ ษทั ย่อยได้แสดงไว้ใน หมายเหตุฯ ข้อ 11

(2)

รายการและส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มีอาํ นาจควบคุม กลุ่มบริ ษ ัทปฏิ บตั ิ ต่อรายการกับส่ วนได้เสี ยที่ ไ ม่มีอ ํานาจควบคุม เช่ นเดี ยวกันกับ ส่ วนที่ เป็ นของผูถ้ ื อหุ ้นกลุ่มบริ ษ ัท สําหรับการซื้ อส่ วนได้เสี ยที่ไม่มีอาํ นาจควบคุม ผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทนที่ จ่ายให้และมูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์สุทธิ ของหุ ้นที่ ซ้ื อมาในบริ ษทั ย่อยจะถูกบันทึ กในส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้น และกําไรหรื อขาดทุนจากการขายในส่ วนได้เสี ยที่ไม่มี อํานาจควบคุมจะถูกบันทึกในส่ วนของผูถ้ ือหุน้

(3)

การจําหน่ ายบริ ษัทย่ อย เมื่ อกลุ่มบริ ษทั สู ญเสี ยการควบคุม ส่ วนได้เสี ยในหุ ้นที่เหลืออยูจ่ ะวัดมูลค่าใหม่โดยใช้ราคายุติธรรม การเปลี่ ยนแปลง ในมูลค่าจะรับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน มูลค่ายุติธรรมนั้นจะถื อเป็ นมูลค่าตามบัญชี เริ่ มแรกของมูลค่าของเงิ นลงทุนที่ เหลื อ ของบริ ษ ัทร่ วม กิ จการร่ วมค้า หรื อ สิ น ทรั พย์ท างการเงิ น สํ าหรับ ทุ กจํานวนที่ เคยรั บรู ้ ในกําไรขาดทุ น เบ็ดเสร็ จอื่ น ในส่ วนที่ เกี่ ยวข้อ งกับ กิ จการนั้ นจะถู ก จัดประเภทใหม่ เสมื อ นว่ากลุ่ ม กิ จ การมี ก ารจํา หน่ า ยสิ นทรั พ ย์ห รื อ หนี้ สิ น ที่เกี่ยวข้องนั้นโดยตรง

(4)

บริ ษัทร่ วม บริ ษทั ร่ วมเป็ นกิจการที่กลุ่มบริ ษทั มีอิทธิ พลอย่างเป็ นสาระสําคัญแต่ไม่ถึงกับควบคุม ซึ่ งโดยทัว่ ไปก็คือการที่กลุ่มบริ ษทั ถื อหุ ้นที่ มีสิทธิ อ อกเสี ยงอยู่ระหว่างร้อยละ 20 ถึ งร้อยละ 50 ของสิ ทธิ ออกเสี ยงทั้งหมด เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมรับ รู ้ โดยใช้วิธีส่วนได้เสี ยในการแสดงในงบการเงิ นรวม ภายใต้วิธีส่วนได้เสี ย กลุ่มบริ ษทั รับรู ้เงิ นลงทุนเมื่อเริ่ มแรกด้วยราคาทุน มูลค่าตามบัญชี ของเงิ นลงทุนนี้ จะเพิ่มขึ้ นหรื อลดลงในภายหลังวันที่ ได้มาด้วยส่ วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของผูไ้ ด้รับ การลงทุนตามสัดส่ วนที่ ผลู ้ งทุนมีส่วนได้เสี ยอยู่ เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มบริ ษทั รวมถึ งค่าความนิ ยมที่ ระบุได้ ณ วันที่ซ้ื อเงิ นลงทุน ถ้าส่ วนได้เสี ยของเจ้าของในบริ ษทั ร่ วมนั้นลดลงแต่ยงั คงมีอิทธิ พลอย่างมีนยั สําคัญ กิจการต้องจัดประเภทรายการที่เคยรับรู ้ ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นเข้ากําไรหรื อขาดทุนเฉพาะสัดส่ วนในส่ วนได้เสี ยของเจ้าของที่ลดลง รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

20

243


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชี กลุ่มบริ ษัท - เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (4)

บริ ษัทร่ วม (ต่อ) ส่ วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมที่เกิดขึ้ นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรหรื อขาดทุน และ ส่ วนแบ่งในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่นที่ เกิดขึ้ นภายหลังการได้มาจะรวมไว้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่ น ผลสะสมของ การเปลี่ ยนแปลงภายหลังการได้มาจะปรับปรุ งกับราคาตามบัญชี ของเงิ นลงทุน เมื่ อส่ วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริ ษ ัท ในบริ ษทั ร่ วมมี มูลค่าเท่ากับหรื อเกินกว่ามูลค่าส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วมนั้น กลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู ้ส่วนแบ่ง ขาดทุนอีกต่อไป เว้นแต่กลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพันในหนี้ ของบริ ษทั ร่ วมหรื อรับว่าจะจ่ายหนี้ แทนบริ ษทั ร่ วม กลุ่ มบริ ษ ัทมี ก ารพิ จ ารณาทุก สิ้ น รอบระยะเวลาบัญ ชี ว่ามี ข ้อบ่ ง ชี้ ที่ แ สดงว่าเงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ัท ร่ วมเกิ ดการด้อยค่ า หรื อไม่ หากมีขอ้ บ่งชี้ เกิดขึ้นกลุ่มบริ ษทั จะคํานวณผลขาดทุนจากการด้อยค่า โดยเปรี ยบเทียบมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคื น กับมูลค่าตามบัญชี ของเงิ นลงทุน และรับรู ้ผลต่างไปที่ส่วนแบ่งกําไร(ขาดทุน)ของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมในงบกําไรขาดทุน รายการกํา ไรที่ ย งั ไม่ ไ ด้เกิ ดขึ้ น จริ ง ระหว่างกลุ่ม บริ ษ ัท กับ บริ ษ ัท ร่ ว มจะตัดบัญ ชี เท่ า ที่ ก ลุ่ ม บริ ษ ัท มี ส่ วนได้เสี ย ใน บริ ษทั ร่ วมนั้น รายการขาดทุ นที่ ยงั ไม่ ได้เกิ ดขึ้ นจริ งก็จะตัดบัญชี ในลักษณะเดี ยวกัน เว้นแต่รายการนั้นมี ห ลักฐานว่า สิ นทรัพย์ที่โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า บริ ษทั ร่ วมจะเปลี่ ยนนโยบายการบัญชี เท่ าที่ จาํ เป็ นเพื่อให้ส อดคล้องกับนโยบายการบัญชี ข องกลุ่มบริ ษทั กําไรและ ขาดทุนเงิ นลงทุนจากการลดสัดส่ วนในบริ ษทั ร่ วมจะรับรู ้ในงบกําไรขาดทุน ในงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม จะบันทึ กบัญชี ดว้ ยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ต้นทุนจะมี การ ปรับเพื่อสะท้อนการเปลี่ ยนแปลงสิ่ งตอบแทนที่ เกิดขึ้นจากสิ่ งตอบแทนที่คาดว่าต้องจ่าย ต้นทุนจะรวมต้นทุนทางตรงที่ เกี่ยวข้องจากการได้มาของเงิ นลงทุนนี้ รายชื่ อ ของบริ ษ ัท ร่ ว มและผลกระทบทางการเงิ น จากการได้ม าและจําหน่ ายบริ ษ ัท ร่ ว มออกไปได้เปิ ดเผยไว้ใ น หมายเหตุฯ ข้อ 11

(5)

การร่ วมการงาน กลุ่มบริ ษทั นํามาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 11 เรื่ อง การร่ วมการงานมาปฏิบตั ิเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ฉบับที่ 11 เรื่ อง การร่ วมการงาน เงิ นลงทุนในการร่ วมการงานจะถูกจัดประเภท เป็ นการดําเนิ นงานร่ วมกัน หรื อการร่ วมค้า โดยขึ้นอยูก่ บั สิ ทธิ และภาระผูกพันตามสัญญาของผูล้ งทุนแต่ละราย กลุ่มบริ ษทั ได้ประเมินลักษณะของการร่ วมการงานที่มีและพิจารณาว่าเป็ นการร่ วมค้า ซึ่ งการร่ วมค้ารับรู เ้ งิ นลงทุนโดยใช้วธิ ี ส่วนได้เสี ย

244

21


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.3

บัญชี กลุ่มบริ ษัท - เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) (5)

การร่ วมการงาน (ต่อ) ตามวิธีส่ วนได้เสี ยเงิ น ลงทุ นในการร่ วมค้ารับรู ้เมื่ อเริ่ มแรกด้วยราคาทุ นและปรับ ปรุ งมู ลค่าตามบัญ ชี ของเงิ น ลงทุ น เพื่อรับรู ้ส่วนแบ่งกําไรหรื อขาดทุนและการเปลี่ยนแปลงในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของผูไ้ ด้รับการลงทุนตามสัดส่ วน ที่กลุ่มบริ ษทั มี ส่วนได้เสี ย หากส่ วนแบ่งขาดทุนของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้ามี จาํ นวนเท่ากับหรื อสู งกว่าส่ วนได้เสี ย ของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้านั้น(ซึ่ งรวมถึ งส่ วนได้เสี ยระยะยาวใดๆซึ่ งโดยเนื้ อหาแล้วถือเป็ นส่ วนหนึ่ งของเงิ นลงทุนสุ ทธิ ของกลุ่มบริ ษทั ในการร่ วมค้านั้น) กลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู ้ส่วนแบ่งในขาดทุนที่ เกินกว่าส่ วนได้เสี ยของตนในการร่ วมค้านั้น นอกจากว่ากลุ่มบริ ษทั มีภาระผูกพัน หรื อได้จ่ายเงิ นเพื่อชําระภาระผูกพันแทนการร่ วมค้าไปแล้ว รายการกําไรที่ยงั ไม่ได้เกิดขึ้นจริ งระหว่างกลุ่มบริ ษทั กับการร่ วมค้าจะตัดบัญชี เท่าที่กลุ่มบริ ษทั มีส่วนได้เสี ยในการร่ วมค้านั้น รายการขาดทุ น ที่ ย งั ไม่ ได้เกิ ดขึ้ น จริ งก็จ ะตัดบัญ ชี ใ นทํานองเดี ย วกัน เว้น แต่ ร ายการนั้น มี ห ลัก ฐานว่าสิ น ทรั พ ย์ที่ โอนระหว่างกันเกิดการด้อยค่า

2.4

การแปลงค่ าเงินตราต่ างประเทศ (ก) สกุลเงิ นที่ใช้ในการดําเนิ นงานและสกุลเงิ นที่ใช้นาํ เสนองบการเงิ น รายการที่ รวมในงบการเงิ นของแต่ละบริ ษทั ในกลุ่มบริ ษทั ถูกวัดมูลค่าโดยใช้สกุลเงิ นของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิ จหลัก ที่ บริ ษทั ดําเนิ นงานอยู่ (สกุลเงิ นที่ ใช้ในการดําเนิ นงาน) งบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั แสดงในสกุลเงิ นบาท ซึ่ งเป็ นสกุลเงิ นที่ใช้ในการดําเนิ นงานและสกุลเงิ นที่ใช้นาํ เสนองบการเงิ นของบริ ษทั (ข) รายการและยอดคงเหลือ รายการที่ เป็ นสกุลเงิ นตราต่างประเทศแปลงค่าเป็ นสกุลเงิ นที่ ใช้ในการดําเนิ นงานโดยใช้อตั ราแลกเปลี่ ยน ณ วันที่ เกิ ด รายการหรื อวันที่ ตีราคาหากรายการนั้นถูกวัดมูลค่าใหม่ รายการกําไรและรายการขาดทุนที่ เกิดจากการรับหรื อจ่ายชําระ ที่ เป็ นเงิ น ตราต่ างประเทศ และที่ เกิ ดจากการแปลงค่ าสิ น ทรั พ ย์แ ละหนี้ สิ น ที่ เป็ นตัว เงิ น ซึ่ งเป็ นเงิ น ตราต่ างประเทศ ได้บนั ทึกไว้ในงบกําไรขาดทุน เมื่อมี การรับรู ้รายการกําไรหรื อขาดทุนของรายการที่ ไม่เป็ นตัวเงิ นไว้ในรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น องค์ประกอบ ของอัตราแลกเปลี่ ยนทั้งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั้นจะรับรู ้ไว้ในรายการกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นด้วย ในทางตรงข้าม หากมีการรับรู ้กาํ ไรหรื อขาดทุนของรายการที่ไม่เป็ นตัวเงิ นไว้ในรายการกําไรขาดทุน องค์ประกอบของอัตราแลกเปลี่ยน ทั้งหมดของกําไรหรื อขาดทุนนั้นจะรับรู ้ไว้ในรายการกําไรขาดทุนด้วย รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

22

245


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.5

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ในงบกระแสเงิ นสดรวมและงบกระแสเงิ นสดเฉพาะบริ ษทั เงิ นสดและรายการเที ยบเท่าเงิ นสดรวมถึ งเงิ นสดในมื อ เงิ นฝาก ธนาคารประเภทจ่ายคืนเมื่อทวงถาม เงิ นลงทุนระยะสั้นอื่ นที่ มีสภาพคล่องสู งซึ่ งมี อายุไม่เกิ นสามเดือนนับจากวันที่ ได้มา และ เงิ นเบิ กเกิ นบัญชี เงิ นเบิ กเกิ นบัญชี จะแสดงไว้ในส่ วนของหนี้ สินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะ การเงิ นเฉพาะบริ ษทั

2.6

ลูกหนี้การค้ า ลูกหนี้ การค้ารับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่าตามใบแจ้งหนี้ และจะวัดมูลค่าต่อมาด้วยจํานวนเงิ นที่ เหลื ออยูห่ ักด้วยค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งประมาณจากการสอบทานยอดคงเหลื อ ณ วันสิ้ นปี ค่ าเผื่อหนี้ สงสั ยจะสู ญหมายถึ งผลต่างระหว่างราคาตามบัญชี ของลูกหนี้ การค้าเปรี ยบเที ยบกับมูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับจากลูกหนี้ การค้า หนี้ สูญที่เกิดขึ้ นจะรับรู ้ไว้ในงบกําไรขาดทุนโดยถื อเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของค่าใช้จ่ายในการบริ หาร

2.7

สิ นค้ าคงเหลือ สิ นค้าคงเหลื อแสดงด้วยราคาทุ นหรื อมูลค่ าสุ ทธิ ท่ี จะได้รั บแล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า ราคาทุนของสิ นค้าคํานวณโดยวิธีถวั เฉลี่ ย ถ่วงนํ้าหนัก ต้นทุนของการซื้ อประกอบด้วยราคาซื้ อ และค่าใช้จ่ายที่เกี่ ยวข้องโดยตรงกับการซื้ อสิ นค้านั้น เช่ น ค่าอากรขาเข้าและค่าขนส่ ง หักด้วยส่ วนลดจากการจ่ายเงิ นตามเงื่ อนไข ต้นทุนของสิ นค้าสําเร็ จรู ปและงานระหว่างทําประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายอื่นทางตรง และค่าโสหุย้ ในการผลิตซึ่ งปันส่ วนตามเกณฑ์การดําเนิ นงานตามปกติแต่ไม่รวมต้นทุนการกูย้ ืม มูลค่าสุ ทธิ ที่ จะได้รับประมาณจากราคาปกติ ที่คาดว่าจะขายได้ของธุ รกิ จหักด้วยค่าใช้จ่ายที่ จาํ เป็ นเพื่ อให้สิ นค้านั้นสําเร็ จรู ป รวมถึ งค่าใช้จ่ายในการขาย กลุ่มบริ ษทั บันทึ กบัญชี ค่ าเผื่อการลดมูลค่าของสิ นค้าเก่า ล้าสมัย หรื อเสื่ อมคุณภาพเท่าที่ จาํ เป็ น โดยจะคํานึ งถึงการใช้ประโยชน์ในอนาคต

246

23


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.8

เงินลงทุนอืน่ กลุ่ม บริ ษทั จัดประเภทเงิ นลงทุน ที่ กิ จการลงทุ นที่ นอกเหนื อจากเงิ นลงทุน ในบริ ษ ัท ย่อยและบริ ษ ัทร่ ว มเป็ น 2 ประเภท คื อ (1) เงิ นลงทุนเผื่อขาย และ (2) เงิ นลงทุนทัว่ ไป การจัดประเภทขึ้ นอยู่กบั จุดมุ่งหมายขณะลงทุน ฝ่ ายบริ หารจะเป็ นผูก้ าํ หนดการ จัดประเภทที่เหมาะสมสําหรับเงิ นลงทุน ณ เวลาลงทุนและทบทวนการจัดประเภทอย่างสมํ่าเสมอ (1)

(2)

เงิ นลงทุนเผื่อขาย คื อ เงิ นลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื่อเสริ มสภาพคล่องหรื อเมื่ออัตราดอกเบี้ ย เปลี่ยนแปลง ได้แสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เว้นแต่กรณี ท่ี ฝ่ายบริ หารแสดงเจตจํานงที่ จะถื อไว้ในช่ วงเวลา น้อยกว่า 12 เดือนนับแต่วนั สิ้ นรอบระยะเวลารายงาน ก็จะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน หรื อเว้นแต่กรณี ที่ฝ่ายบริ หาร มีความจําเป็ นที่ตอ้ งขายเพื่อเพิ่มเงิ นทุนดําเนิ นงานจึงจะแสดงรวมไว้ในสิ นทรัพย์หมุนเวียน เงิ นลงทุนทัว่ ไป คือ เงิ นลงทุนในตราสารทุนที่ไม่มีตลาดซื้ อขายคล่องรองรับ

เงิ น ลงทุน ทั้ง 2 ประเภทรับรู ้มู ลค่าเริ่ มแรกด้วยราคาทุน ซึ่ งหมายถึ งมู ลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ ให้ไปเพื่อ ให้ได้มาซึ่ ง เงิ นลงทุนนั้นรวมทั้งค่าใช้จ่ายในการทํารายการ เงิ น ลงทุ นเผื่อ ขายวัดมูล ค่าในเวลาต่อ มาด้ว ยมูล ค่ายุติธรรม มู ลค่ายุติธรรมของเงิ นลงทุน วัดตามราคาเสนอซื้ อ ที่ อ ้างอิ งจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ณ วันทําการสุ ดท้ายของวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน โดยอ้างอิ งราคาเสนอซื้ อล่าสุ ดจาก ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รายการกําไรและขาดทุ นที่ ยงั ไม่เกิ ดขึ้ น จริ งของเงิ นลงทุนเผื่อขายรับรู ้ในงบกําไรขาดทุ น เบ็ดเสร็จอื่น เงิ นลงทุนทัว่ ไปแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า กลุ่มบริ ษ ัทจะทดสอบค่ าเผื่อการลดลงของมู ลค่าของเงิ นลงทุนเมื่ อมี ขอ้ บ่ งชี้ ว่าเงิ นลงทุ นนั้นอาจมี การด้อยค่ าเกิ ดขึ้ น หากราคา ตามบัญชี ของเงิ นลงทุนสู งกว่ามูลค่าที่ คาดว่าจะได้รับคืน กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกรายการขาดทุนจากการด้อยค่ารวมไว้ในงบกําไรขาดทุน ในการจําหน่ ายเงิ นลงทุน ผลต่างระหว่างมูลค่ายุติธรรมของผลตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจากการจําหน่ ายเมื่ อเปรี ยบเทียบกับราคา ตามบัญชี ของเงิ นลงทุนนั้นจะบันทึ กรวมอยู่ในกําไรหรื อขาดทุน กรณี ที่จาํ หน่ ายเงิ นลงทุนที่ถือไว้ในตราสารหนี้ หรื อตราสารทุน ชนิ ดเดียวกันออกไปบางส่ วน ราคาตามบัญชี ของเงิ นลงทุนที่ จาํ หน่ายจะกําหนดโดยใช้วิธีถวั เฉลี่ ยถ่วงนํ้าหนักของราคาตามบัญชี จากจํานวนทั้งหมดที่ถือไว้

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

24

247


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.9

อสั งหาริ มทรั พย์ เพื่อการลงทุน อสังหาริ มทรัพย์ที่ถือครองโดยกลุ่มบริ ษทั เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่ า หรื อจากการเพิ่มขึ้ นของมูลค่าของสิ นทรัพย์หรื อ ทั้ง สองอย่าง และไม่ไ ด้มี ไว้ใช้ง านโดยกิ จ การในกลุ่ มบริ ษ ัท จะถู กจัดประเภทเป็ นอสัง หาริ มทรั พย์เพื่ อ การลงทุ น รวมถึ ง อสังหาริ มทรัพย์ที่อยูร่ ะหว่างก่อสร้างหรื อพัฒนาเพื่อเป็ นอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนในอนาคต อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ได้แก่ ที่ ดินและอาคารที่ ถือครองไว้เพื่อหาประโยชน์จากรายได้ค่าเช่าระยะยาว หรื อจากการเพิ่มมูลค่าของสิ นทรัพย์ และรวมถึงที่ดินซึ่ งยังมิได้ระบุวตั ถุประสงค์ของการใช้ในอนาคต การรับรู ้ รายการเมื่ อเริ่ มแรกของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อ การลงทุ นด้วยวิธีราคาทุน รวมถึ งต้น ทุน ในการทํารายการและต้นทุ น การกู้ยืม ต้นทุ น การกู้ยืม ที่ เกิ ดขึ้ น เพื่อ วัตถุ ป ระสงค์ข องการได้มา การก่อ สร้ างหรื อผลิ ตอสั งหาริ มทรัพ ย์เพื่ อการลงทุ น นั้น จะรวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุนของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ต้นทุนการกูย้ ืมจะถูกรวมในขณะที่การซื้ อหรื อการก่อสร้าง และจะหยุดพักทันที เมื่อสิ นทรัพย์น้ นั ก่อสร้างเสร็จอย่างมี นยั สําคัญหรื อระหว่างที่ การดําเนิ นการพัฒนาสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่ อนไข หยุดชะงักลง หลัง จากการรับ รู ้เมื่ อ เริ่ ม แรก อสั งหาริ ม ทรัพ ย์เพื่ อ การลงทุ น จะบัน ทึ กด้ว ยวิ ธีร าคาทุ น หัก ค่ าเสื่ อมราคาสะสมและค่ าเผื่ อ ผลขาดทุนจากการด้อยค่า ที่ ดินไม่มีการหักค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาของอสังหาริ มทรัพย์เพื่ อการลงทุนอื่ นๆ ได้แก่ อาคารจะคํานวณตามวิธีเส้นตรง เพื่อที่ปันส่ วนราคาทุนตลอดประมาณการอายุการให้ประโยชน์เป็ นเวลา 20 - 40 ปี การรวมรายจ่ ายในภายหลังเข้าเป็ นมู ลค่ าบัญ ชี ข องสิ น ทรัพ ย์จะกระทําก็ต่อเมื่ อมี ความเป็ นไปได้ค่ อนข้างแน่ ที่ ก ลุ่ม บริ ษ ัท จะได้รับ ประโยชน์ เชิ งเศรษฐกิ จในอนาคตในรายจ่ายนั้น และต้น ทุ นสามารถวัดมู ลค่ าได้อ ย่างน่ าเชื่ อถื อ ค่าซ่ อ มแซมและ บํารุ งรักษาทั้งหมดจะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อเกิดขึ้น เมื่อมีการเปลี่ยนแทนชิ้ นส่ วนของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน จะมีการตัด มูลค่าตามบัญชี ของส่ วนที่ถูกเปลี่ยนแทนออก

248

25


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.10 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่ดินและค่าปรับปรุ งที่ดินแสดงด้วยราคาทุนหักค่าเผื่อการด้อยค่า ส่ วนอาคารและอุปกรณ์ รับรู ้เมื่อเริ่ มแรกด้วยราคาทุน และต่อมา แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาทุนรวมถึงรายจ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่ งสิ นทรัพย์น้ นั ต้นทุ นที่ เกิ ดขึ้ น ภายหลังจะรวมอยู่ในมู ลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพ ย์หรื อ รับรู ้แ ยกเป็ นอี กสิ นทรัพย์หนึ่ งตามความเหมาะสม เมื่อต้นทุนนั้นเกิดขึ้นและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตแก่กลุ่มบริ ษทั และต้นทุนดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้ อย่างน่าเชื่ อถือ และจะมีการตัดรายการชิ้ นส่ วนที่ถูกเปลี่ยนแทนออกด้วยมูลค่าตามบัญชี คงเหลือของชิ้ นส่ วนนั้น สําหรับค่าซ่อมแซม และบํารุ งรักษาอื่นๆ กลุ่มบริ ษทั จะรับรู ้ตน้ ทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายในกําไรหรื อขาดทุนเมื่อเกิ ดขึ้น ที่ดินและส่ วนปรับปรุ งที่ดินไม่คิดค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์อื่ นคํานวณโดยวิธี เส้ นตรงหรื อตามหน่ วยของผลผลิ ตเพื่ อลดราคาทุนตลอดอายุการให้ประโยชน์ ที่ ประมาณการไว้ของสิ นทรัพย์แต่ละชนิ ด ดังต่อไปนี้ อัตราค่ าเสื่ อมราคา อาคารและส่ วนปรับปรุ ง เครื่ องจักรและท่อ เครื่ องจักรอื่น เครื่ องมือ เครื่ องใช้และอุปกรณ์ โรงงาน เครื่ องตกแต่ง ติ ดตั้งและอุปกรณ์สํานักงาน ยานพาหนะ

20 - 40 ปี 20 - 30 ปี ตามหน่วยของผลผลิ ต 10 ปี 5 - 10 ปี 5 - 10 ปี

ทุกสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริ ษทั ได้มีการทบทวนและปรับปรุ งมูลค่าคงเหลื อและอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ ให้เหมาะสม ในกรณี ที่มูลค่าตามบัญชี สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน มูลค่าตามบัญชี จะถูกปรับลดให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนทันที ผลกําไรและหรื อขาดทุนจากการจําหน่ ายที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ คํานวณโดยเปรี ยบเที ยบจากสิ่ งตอบแทนสุ ทธิ ที่ได้รับจาก การจําหน่ายสิ นทรัพย์กบั มูลค่าตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ และจะรับรู ้บญั ชี ผลกําไรหรื อขาดทุนอื่นสุ ทธิ ในกําไรหรื อขาดทุน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

26

249


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.11 สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนประกอบด้วยรายจ่ายในการขุดลอกร่ องนํ้าทะเล ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่าพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ งแสดงในราคาทุนหักค่าตัดจําหน่ายสะสมและขาดทุนจากการด้อยค่า รายจ่ายในการขุดลอกร่ องนํ้าทะเลเป็ นรายจ่ายที่ จ่ายไปเพื่อเตรี ยมพื้นที่ใต้ทะเลบริ เวณท่าเรื อนํ้าลึกให้มีความพร้อมในการที่ จะใช้งาน (ให้เรื อเข้าเทียบท่า) สิ น ทรัพ ย์ไม่ มี ตวั ตนของกลุ่ ม บริ ษ ัทเป็ นสิ นทรั พ ย์ป ระเภทที่ มีอ ายุก ารใช้งานจํากัดและคํานวณโดยวิธี เส้น ตรงตามเกณฑ์ ระยะเวลาที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ของสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนแต่ละประเภท ค่าตัดจําหน่ายบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน อัตราการตัดจําหน่ าย รายจ่ายในการขุดลอกร่ องนํ้าทะเล รายจ่ายรอตัดบัญชี ได้แก่ ระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และค่าพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์

10 - 20 ปี 5 - 10 ปี

2.12 การด้ อยค่ าของสิ นทรั พย์ สิ นทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ ชดั (เช่ น ค่าความนิ ยม) ซึ่ งไม่มีการตัดจําหน่ ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็ นประจํา ทุกปี สิ นทรัพย์อื่นที่มีการตัดจําหน่ ายจะมีการทบทวนการด้อยค่า เมื่อมีเหตุการณ์หรื อสถานการณ์บ่งชี้ ว่าราคาตามบัญชี อาจสู งกว่า มู ลค่ าที่ คาดว่าจะได้รับคื น รายการขาดทุ นจากการด้อยค่ าจะรับรู ้ เมื่ อราคาตามบัญชี ของสิ น ทรัพย์สู งกว่ามู ลค่ าสุ ทธิ ที่ คาดว่า จะได้รับคื น ซึ่ งหมายถึ งจํานวนที่ สู งกว่าระหว่างมู ลค่ายุติธรรมหักต้นทุ นในการขายเที ยบกับมูลค่าจากการใช้ สิ นทรัพย์จะถู ก จัดเป็ นหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้เพื่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สิ นทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิ น นอกเหนื อจากค่าความนิ ยมซึ่ งรับรู ้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมิ นความเป็ นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุ น จากการด้อยค่า ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน

250

27


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.13 สั ญญาเช่ าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริ ษัทเป็ นผู้เช่ า สัญญาระยะยาวเพื่อเช่ าสิ นทรัพย์ซ่ ึ งผูใ้ ห้เช่าเป็ นผูร้ ับความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเป็ นส่ วนใหญ่ สัญญาเช่านั้น ถื อเป็ นสั ญญาเช่ าดําเนิ นงาน เงิ นที่ ตอ้ งจ่ายภายใต้สัญญาเช่ าดังกล่าว (สุ ทธิ จากสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ ได้รับจากผูใ้ ห้เช่ า) จะบันทึ ก ในงบกําไรหรื อขาดทุนโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุของสัญญาเช่านั้น สัญ ญาเช่ าที่ ดิน อาคาร และอุป กรณ์ ซ่ ึ งผูเ้ ช่ าเป็ นผูร้ ับความเสี่ ยงและผลตอบแทนของความเป็ นเจ้าของเกื อบทั้งหมดถื อ เป็ น สัญญาเช่าการเงิ น ซึ่ งจะบันทึ กเป็ นรายจ่ายฝ่ ายทุนด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่ า หรื อมูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิ ของจํานวนเงิ น ที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาเช่า แล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่ากว่า จํานวนเงิ นที่ ตอ้ งจ่ายดังกล่าวจะปั นส่ วนระหว่างหนี้ สินและค่าใช้จ่ายทางการเงิ นเพื่อให้ได้อตั ราดอกเบี้ ยคงที่ต่อหนี้ สินคงค้างอยู่ โดยพิจารณาแยกแต่ละสัญญา ภาระผูกพันตามสัญญาเช่ าหักค่าใช้จ่ายทางการเงิ นจะบันทึ กเป็ นหนี้ สินระยะยาว ส่ วนดอกเบี้ยจ่าย จะบันทึ กในงบกําไรหรื อขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเช่ าเพื่อทําให้อตั ราดอกเบี้ ยแต่ละงวดเป็ นอัตราคงที่ สําหรับยอดคงเหลื อของ หนี้ สินทรัพย์ที่เหลืออยู่ สิ นทรัพย์ที่ได้มาตามสัญญาเช่าการเงิ นจะคิ ดค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ที่เช่าหรื ออายุ ของสัญญาเช่า แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้อยกว่า สั ญญาเช่ าระยะยาว - กรณีที่กลุ่มบริ ษัทเป็ นผู้ให้ เช่ า สิ นทรั พย์ที่ ให้เช่ าตามสั ญญาเช่ าการเงิ นบันทึ กเป็ นลู กหนี้ สั ญญาเช่ าทางการเงิ นด้วยมู ลค่ าปั จจุ บ ันของจํานวนเงิ น ที่ จ่ายตาม สัญญาเช่ า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี้ เบื้ องต้นกับมูลค่าปัจจุบนั ของลูกหนี้ บนั ทึ กเป็ นรายได้ทางการเงิ นค้างรับ รายได้จาก สัญญาเช่าระยะยาวรับรู ้ตลอดอายุของสัญญาเช่ าโดยใช้วิธีเงิ นลงทุนสุ ทธิ ซ่ ึ งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงที่ ทุกงวด ต้นทุนทางตรง เริ่ มแรกจะรวมอยูใ่ นการวัดมูลค่าลูกหนี้ สัญญาเช่าทางการเงิ นเริ่ มแรกและจะทยอยรับรู ้โดยลดจากรายได้ตลอดอายุของสัญญาเช่า สิ น ทรั พ ย์ที่ ให้เช่ า ตามสั ญ ญาเช่ าดําเนิ น งานรวมแสดงอยู่ใ นงบแสดงฐานะการเงิ น ในส่ วนที่ ดิน อาคาร และอุป กรณ์ และ ตัดค่าเสื่ อมราคาตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสิ นทรัพย์ดว้ ยเกณฑ์เดี ยวกันกับรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ของกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งมี ลกั ษณะคล้ายคลึ งกัน รายได้ค่าเช่ า (สุ ทธิ จากสิ่ งตอบแทนจูงใจที่ ได้จ่ายให้แก่ผูใ้ ห้เช่า) รับรู ้ดว้ ยวิธีเส้นตรงตลอดช่ วงเวลา การให้เช่า

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

28

251


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.14 เงินกู้ยืมและหุ้นกู้ เงิ นกูย้ ืมและหุน้ กูร้ ับรู ้เริ่ มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ่ งตอบแทนที่ได้รับหักด้วยต้นทุนการจัดทํารายการที่เกิ ดขึ้นในเวลาต่อมา เงิ นกูย้ ืมและหุ ้นกูว้ ดั มูลค่าในเวลาต่อมาด้วยวิธีราคาทุนตัดจําหน่ ายตามวิธีอตั ราดอกเบี้ ยที่ แท้จริ ง ผลต่างระหว่างสิ่ งตอบแทน (สุ ท ธิ จากต้น ทุ น การจัดทํารายการที่ เกิ ดขึ้ น ) เมื่ อเที ยบกับ มู ล ค่าที่ จ่ ายคื น เพื่ อ ชําระหนี้ น้ ัน จะรั บรู ้ ในงบกําไรขาดทุ น ตลอด ช่วงเวลาการกูย้ ืม ค่าธรรมเนี ยมที่ จ่ายไปเพื่อให้ได้เงิ นกูม้ าจะรับรู ้เป็ นต้นทุนการจัดทํารายการเงิ น กูใ้ นกรณี ที่มีค วามเป็ นไปได้ที่จะใช้วงเงิ น กู้ บางส่ วนหรื อทั้งหมด ในกรณี น้ ี ค่ าธรรมเนี ยมจะรอการรับรู ้จนกระทัง่ มี ก ารถอนเงิ น หากไม่มี หลักฐานที่ มีค วามเป็ นไปได้ ที่ จะใช้ว งเงิ นบางส่ วนหรื อทั้งหมด ค่าธรรมเนี ยมจะรั บรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายจ่ ายล่ วงหน้า สําหรับ การให้บ ริ ก ารสภาพคล่องและ จะตัดจําหน่ายตามระยะเวลาของวงเงิ นกูท้ ี่เกี่ยวข้อง เงิ นกูย้ ืมจัดประเภทเป็ นหนี้ สิ นหมุนเวียนเมื่ อกลุ่มบริ ษทั ไม่มีสิทธิ อนั ปราศจากเงื่ อนไขให้เลื่อนชําระหนี้ ออกไปอี กเป็ นเวลา ไม่นอ้ ยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน 2.15 ต้ นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกูย้ ืมที่ เกี่ ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรื อการผลิ ตสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่ อนไขต้องนํามารวมเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของราคาทุนของสิ นทรัพย์น้ นั โดยสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่ อนไขคือสิ นทรัพย์ที่จาํ เป็ นต้องใช้ระยะเวลานานในการเตรี ยมสิ นทรัพย์น้ ัน ให้อยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์หรื อพร้อมที่จะขาย การรวมต้นทุนการกูย้ ืมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ตอ้ งสิ้ นสุ ดลง เมื่ อการดําเนิ น การส่ วนใหญ่ ที่ จาํ เป็ นในการเตรี ยมสิ นทรัพย์ที่ เข้าเงื่ อนไขให้อ ยูใ่ นสภาพพร้อมที่ จะใช้ได้ตามประสงค์ห รื อ พร้อมที่จะขายได้เสร็จสิ้ นลง รายได้จากการลงทุนที่เกิดจากการนําเงิ นกูย้ ืมที่ กมู้ าโดยเฉพาะ ที่ยงั ไม่ได้นําไปเป็ นรายจ่ายของสิ นทรัพย์ที่เข้าเงื่ อนไขไปลงทุน เป็ นการชัว่ คราวก่อน ต้องนํามาหักจากต้นทุนการกูย้ ืมที่สามารถตั้งขึ้นเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์ ต้นทุนการกูย้ ืมอื่นๆ ต้องถือเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดขึ้น

252

29


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.16 ภาษีเงินได้ งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ค่าใช้จ่ายภาษี เงิ นได้สําหรับงวดประกอบด้วย ภาษีเงิ นได้ของงวดปั จจุบนั และภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ภาษี เงิ นได้จะรับรู ้ใน กําไรหรื อขาดทุน ยกเว้นส่ วนภาษีเงิ นได้ที่เกี่ยวข้องกับรายการที่ รับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื่ น หรื อรายการที่ รับรู ้โดยตรงไปยัง ส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ในกรณี น้ ี ภาษีเงิ นได้ตอ้ งรับรู ้ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น หรื อโดยตรงไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ตามลําดับ ภาษี เงิ นได้ของงวดปัจจุบนั คํานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีที่มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่ คาดได้ค่อนข้างแน่ วา่ จะมี ผลบังคับใช้ ภายในสิ้ น รอบระยะเวลาที่ รายงานในประเทศที่ บ ริ ษ ัทและบริ ษทั ย่อยได้ดาํ เนิ นงานอยู่ และเกิ ดรายได้เพื่ อเสี ยภาษี ผูบ้ ริ หาร จะประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเป็ นงวด ๆ โดยคํานึ งถึงสถานการณ์ที่สามารถนํากฎหมายภาษีอากรไปปฏิ บตั ิ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั การตีความ และจะตั้งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีอากร หากคาดว่าจะต้องจ่ายชําระภาษีแก่หน่วยงานจัดเก็บ ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี ต้ งั เต็มจํานวนตามวิธีหนี้ สิน เมื่ อเกิดผลต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสิ นทรัพย์และหนี้ สิน และ ราคาตามบัญชี ที่แสดงอยูใ่ นงบการเงิ น อย่างไรก็ตามกลุ่มบริ ษทั จะไม่รับรู ้ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี ที่เกิดจากการรับรู ้เริ่ มแรก ของรายการสิ นทรั พ ย์ห รื อรายการหนี้ สิ นที่ เกิ ดจากรายการที่ ไม่ ใช่ ก ารรวมธุ รกิ จ และ ณ วัน ที่ เกิ ดรายการ รายการนั้ น ไม่มี ผลกระทบต่อ กําไร (ขาดทุ น) ทางบัญ ชี และกําไร (ขาดทุน ) ทางภาษี ภาษี เงิ น ได้รอการตัดบัญ ชี ค ํานวณจากอัตราภาษี (และกฎหมายภาษี อากร) ที่ มีผลบังคับใช้อยู่ หรื อที่ คาดได้ค่อนข้างแน่ วา่ จะมี ผลบังคับใช้ภายในสิ้ นรอบระยะเวลาที่ รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดงั กล่าวจะนําไปใช้เมื่อสิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอตัดบัญชี ที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์ หรื อหนี้ สินภาษี เงิ นได้ รอตัดบัญชี ได้มีการจ่ายชําระ สิ น ทรัพ ย์ภ าษี เงิ น ได้ร อตัดบัญ ชี จ ะรั บ รู ้ ห ากมี ค วามเป็ นไปได้ค่ อ นข้างแน่ ว่า กลุ่ ม บริ ษ ัท จะมี ก ําไรทางภาษี เพี ย งพอที่ จ ะ นํา จํานวนผลต่ างชั่ว คราวนั้น มาใช้ป ระโยชน์ กลุ่ ม บริ ษ ัท ได้ต้ งั ภาษี เงิ น ได้ร อตัด บัญ ชี โ ดยพิ จ ารณาจากผลต่ า งชั่ว คราว ของเงิ น ลงทุน ในบริ ษ ัทร่ วม บริ ษ ัท ย่อย และส่ วนได้เสี ย ในกิ จการร่ ว มค้าที่ ตอ้ งเสี ยภาษี เว้นแต่ กลุ่ม บริ ษทั สามารถควบคุ ม จังหวะเวลาของการกลับรายการผลต่างชั่วคราวและการกลับรายการผลต่างชัว่ คราวมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่วา่ จะไม่เกิ ดขึ้ นได้ ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต สิ น ทรั พ ย์ภ าษี เงิ น ได้ร อการตัด บัญ ชี แ ละหนี้ สิ นภาษี เงิ น ได้ร อการตัดบัญ ชี จ ะแสดงหั ก กลบกัน ก็ ต่อ เมื่ อ กิ จ การมี สิ ทธิ ตามกฎหมายที่ จะนําสิ นทรัพย์ภาษี เงิ นได้ของงวดปั จจุบ ันมาหักกลบกับหนี้ สิ นภาษี เงิ นได้ของงวดปั จจุบ ัน และทั้งสิ นทรัพย์ ภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญ ชี และหนี้ สิ นภาษี เงิ นได้รอการตัดบัญชี เกี่ ยวข้องกับภาษี เงิ นได้ที่ ประเมิ นโดยหน่ วยงานจัดเก็บภาษี หน่ วยงานเดี ยวกันโดยการเรี ยกเก็บเป็ นหน่ วยภาษี เดี ยวกันหรื อหน่ วยภาษี ต่างกันซึ่ งตั้งใจจะจ่ายหนี้ สินและสิ นทรัพย์ภาษี เงิ นได้ ของงวดปัจจุบนั ด้วยยอดสุ ทธิ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

30

253


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.17 ผลประโยชน์ พนักงาน ผลประโยชน์พนักงานของกลุ่มบริ ษทั ประกอบด้วยผลประโยชน์หลังออกจากงานทั้งที่ เป็ นโครงการสมทบเงิ นและโครงการ ผลประโยชน์ โครงการสมทบเงิ น เป็ นโครงการที่ ก ลุ่ ม บริ ษัท จ่ า ยเงิ น สมทบให้ ก ับ กิ จ การที่ แ ยกต่ า งหาก กลุ่ ม บริ ษ ั ท ไม่มีภาระผูกพันตามกฎหมาย หรื อภาระผูกพันจากการอนุ มานที่ จะต้องจ่ายชําระเพิ่มเติ มจากที่ ได้สมทบไว้แล้วหากกองทุน ไม่มี สิน ทรัพ ย์เพียงพอที่ จะจ่ายชําระภาระผูก พัน จากการให้บ ริ การของพนัก งานทั้งในงวดปั จจุบ ันและงวดก่อน โครงการ ผลประโยชน์ เป็ นโครงการที่ ไม่ ใ ช่ โ ครงการสมทบเงิ น โดยปกติ โ ครงการผลประโยชน์ จ ะกําหนดจํานวนผลประโยชน์ ที่พนักงานจะได้รับเมื่ อเกษี ยณอายุ ซึ่ งจะขึ้ นอยู่กบั ปั จจัยหนึ่ งหรื อหลายปั จจัย เช่ น อายุพนักงาน อายุการทํางาน และค่าตอบแทน เป็ นต้น • โครงการสมทบเงิน - กองทุนสํารองเลี้ยงชี พ กลุ่ ม บริ ษ ัท จะจ่ า ยสมทบให้ ก ับ กองทุ น สํ ารองเลี้ ย งชี พ ซึ่ งบริ ห ารโดยผู ้จ ัดการกองทุ น ภายนอกตามเกณฑ์ แ ละ ข้อกําหนดของ พระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ ยงชี พ พ.ศ. 2530 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีภาระผูกพันที่จะจ่ายเงิ นเพิ่มอี กเมื่ อ ได้จ่ายเงิ นสมทบไปแล้ว เงิ นสมทบจะถูกรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเมื่อถึงกําหนดชําระ • โครงการผลประโยชน์ - ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ ตามกฎหมายแรงงานในประเทศไทยและนโยบายการจ้างงานของกลุ่มบริ ษทั พนักงานที่ ทาํ งานครบ 120 วัน มี สิทธิ ได้รับค่าชดเชยเนื่ องจากการเลิ กจ้าง การให้ออกจากงานโดยไม่มีค วามผิดตามระเบี ยบข้อบังคับเกี่ ยวกับ การทํางาน หรื อ เมื่ อ ทํางานครบอายุเกษี ย ณ 60 ปี ตามอัตราที่ ก ฎหมายกํา หนดโดยขึ้ น อยู่ก ับ ระยะเวลาทํางานซึ่ งอัตราที่ ใ ช้ ในปั จจุบนั กําหนดไว้สูงสุ ดไม่ เกิ น 300 วัน ของเงิ นเดื อนเดื อนสุ ดท้าย นอกจากนี้ กลุ่มบริ ษทั มี นโยบายในการมอบ ทองคําให้แก่พนักงานเมื่อทํางานครบเกษียณอายุ - ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น กลุม่ บริ ษทั มีนโยบายในการมอบทองคําให้แก่พนักงานที่ทาํ งานครบ 10 ปี และ 20 ปี และ 30 ปี

254

31


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.17 ผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) • โครงการผลประโยชน์ (ต่อ) หนี้ สินสําหรับโครงการผลประโยชน์จะรับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิ นด้วยมูลค่าปั จจุบนั ของภาระผูกพัน ณ วันที่สิ้นรอบ ระยะเวลารายงานและปรับปรุ งด้วยต้นทุนบริ การในอดี ตที่ ยงั ไม่รับรู ้ ภาระผูกพันนี้ คาํ นวณโดยนักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัย (Actuary) ด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ซึ่ งมูลค่าปัจจุบนั ของโครงการผลประโยชน์จะประมาณโดยการคิดลด กระแสเงิ นสดออกในอนาคต โดยใช้อตั ราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลที่ มี กาํ หนดเวลาใกล้เคี ยงกับระยะเวลาของ หนี้ สิ น ดังกล่ าว โดยประมาณการกระแสเงิ นสดที่ ค าดว่าจะต้องจ่ ายในอนาคตนั้นประมาณการจากเงิ นเดื อนพนักงาน อัตราการลาออก อัตราการตาย อายุงาน และปัจจัยอื่น กําไรและขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ ประกันภัยเกิ ดขึ้ นจากการปรับปรุ งหรื อเปลี่ ยนแปลงข้อสมมติฐาน และจะรับรู ้ในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ผ่านกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นในงวดที่เกิดขึ้น ต้นทุนบริ การในอดีตจะรับรู ท้ นั ทีในงบกําไรขาดทุน 2.18 ประมาณการหนี้สิน กลุ่มบริ ษทั จะบันทึ กประมาณการหนี้ สินอันเป็ นภาระผูกพันในปั จจุบนั ตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงที่ จดั ทําไว้ อันเป็ นผล สื บเนื่ องมาจากเหตุการณ์ในอดี ตซึ่ งการชําระภาระผูกพันนั้นมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่าจะส่ งผลให้กลุ่มบริ ษทั ต้องสู ญเสี ย ทรั พยากรออกไป และประมาณการจํา นวนที่ ต้อ งจ่ ายได้อ ย่า งน่ าเชื่ อถื อ ในกรณี ที่ ก ลุ่ ม บริ ษ ัท คาดว่า ประมาณการหนี้ สิ น เป็ นรายจ่ายที่จะได้รับคืน กลุ่มบริ ษทั จะบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์แยกต่างหากเมื่อคาดว่าน่าจะได้รับรายจ่ายนั้นคืนอย่างแน่นอน 2.19 หุ้นทุนซื้อคืน หุน้ ทุนซื้ อคืนแสดงในงบแสดงฐานะการเงิ นด้วยราคาทุน และแสดงเป็ นรายการหักจากส่ วนของผูถ้ ือหุน้ ทั้งหมด หากราคาขาย ของหุน้ ทุนซื้ อคืนสู งกว่าราคาซื้ อหุน้ ทุนซื้ อคื นให้รับรู ้ผลต่างเข้าบัญชี ส่วนเกินมูลค่าหุ ้นทุนซื้ อคื น และหากราคาขายของหุ ้น ทุน ซื้ อคื นตํ่ากว่าราคาซื้ อ หุ ้นทุ น ซื้ อ คื น ให้นําผลต่างหัก จากส่ ว นเกิ นมู ลค่ าหุ ้น ทุน ซื้ อคื นให้ห มดไปก่ อน แล้ว จึ งนําผลต่า ง ที่เหลืออยูไ่ ปหักจากกําไรสะสม

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

32

255


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.20 การรั บรู้ รายได้ การขายสิ นค้ าและการให้ บริ การ รายได้ประกอบด้วยมูลค่ายุติธรรมที่จะได้รับจากการขายสิ นค้าและที่ให้บริ การซึ่ งเกิ ดขึ้ นจากการกิ จกรรมตามปกติ ของกลุ่มบริ ษทั รวมถึงภาษีสรรพสามิ ต ภาษี ทอ้ งถิ่ น และกองทุนนํ้ามัน โดยเป็ นจํานวนเงิ นที่สุทธิ จากเงิ นคื นและส่ วนลด และไม่รวมรายการ ขายภายในกลุ่มบริ ษทั สําหรับงบการเงิ นรวม รายได้จากการขายสิ นค้ารับรู ้เมื่ อผูซ้ ้ื อรับโอนความเสี่ ยงและผลตอบแทนที่ เป็ น สาระสําคัญของความเป็ นเจ้าของสิ นค้า ส่ วนรายได้จากการให้บริ การรับรู ้เมื่อมีการให้บริ การ ดอกเบี้ยรั บและเงินปันผล รายได้ดอกเบี้ยต้องรับรู ้ตามเกณฑ์อตั ราผลตอบแทนที่แท้จริ ง ส่ วนรายได้เงิ นปันผลรับรู ้เมื่อสิ ทธิ ที่จะได้รบั เงิ นปันผลนั้นเกิ ดขึ้น รายได้ อื่น รายได้อื่นบันทึกในงบกําไรขาดทุนตามเกณฑ์คงค้าง 2.21 เงินอุดหนุนจากรั ฐบาล เงิ นอุดหนุ น จากรัฐบาลรับรู ้ดว้ ยมูลค่ายุติธรรมเมื่ อกลุ่ม บริ ษทั มี ความเชื่ อมั่นอย่างสมเหตุผลว่าจะได้รับเงิ นอุดหนุ นนั้นและ กลุ่มบริ ษทั จะสามารถปฏิบตั ิตามเงื่ อนไขของเงิ นอุดหนุนที่กาํ หนดไว้ เงิ นอุดหนุ นที่เกี่ ยวข้องกับรายได้จะหักจากต้นทุนที่ เกี่ยวข้องอย่างเป็ นระบบตลอดระยะเวลาซึ่ งกิจการรับรู ้ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง กับต้นทุนที่ได้รับการชดเชย 2.22 การจ่ ายเงินปันผล เงิ นปันผลจ่ายบันทึ กในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั เมื่ อได้รับอนุ มตั ิ จากที่ประชุ มผูถ้ ือหุน้ ของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย เงิ นปันผลระหว่างกาลบันทึ กในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั เมื่ อได้รับอนุ มตั ิ จากคณะกรรมการของบริ ษทั และ บริ ษทั ย่อย

256

33


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 2

นโยบายการบัญชี (ต่อ)

2.23 ข้ อมูลจําแนกตามส่ วนงาน ส่ วนงานดําเนิ นงานได้ถูกรายงานในลักษณะเดี ยวกับรายงานภายในที่นําเสนอให้ผมู ้ ีอาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงาน ผูม้ ี อาํ นาจตัดสิ นใจสู งสุ ดด้านการดําเนิ นงานหมายถึ งบุคคลที่ มีหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมิ นผลการปฏิ บตั ิงาน ของส่ วนงานดําเนิ นงาน ซึ่ งพิจารณาว่าคือกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ที่ทาํ การตัดสิ นใจเชิ งกลยุทธ์ กลุ ่ม บริ ษ ทั นํา เสนอข้อ มูล ทางการเงิ น จํา แนกตามส่ ว นงานโดยแสดงส่ ว นงานธุ ร กิ จ เป็ นรู ป แบบหลัก ในการรายงาน โดยพิจารณาจากโครงสร้างการบริ หารและการรายงานทางการเงิ นภายในของกลุ่มบริ ษทั เป็ นเกณฑ์ในการกําหนดส่ วนงาน (ดูรายละเอียดในหมายเหตุฯ ข้อ 6) 3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงินและความเสี่ ยงด้ านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์

3.1

ปัจจัยความเสี่ ยงทางการเงิน กิ จ กรรมของกลุ่ มบริ ษ ัทมี ค วามเสี่ ยงทางการเงิ น ที่ ห ลากหลายซึ่ งได้แก่ ความเสี่ ยงจากตลาด (รวมถึ งความเสี่ ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยน ความเสี่ ยงด้านมูลค่ายุติธรรมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ ย ความเสี่ ยงด้านกระแสเงิ นสดอันเกิ ดจาก การเปลี่ ยนแปลงอัตราดอกเบี้ ย และความเสี่ ย งด้านราคา) ความเสี่ ย งด้า นการให้ สิ น เชื่ อ และความเสี่ ยงด้านสภาพคล่ อ ง แผนการจัดการความเสี่ ยงโดยรวมของกลุ่มบริ ษทั จึงมุ่งเน้นความผันผวนของตลาดการเงิ นและแสวงหาวิธีการลดผลกระทบที่ ทําให้เกิดความเสี ยหายต่อผลการดําเนิ นงานทางการเงิ นของกลุ่มบริ ษทั ให้เหลื อน้อยที่สุด เท่าที่เป็ นไปได้ กลุ่มบริ ษทั จึงใช้เครื่ องมื อ อนุ พนั ธ์ทางการเงิ น ได้แก่ สัญญาแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ยเพื่อป้ องกันความ เสี่ ยงที่ จะเกิ ดขึ้ น โดยการทําธุ รกรรมที่ เกี่ ยวกับ อนุ พ นั ธ์ท างการเงิ น ดัง กล่ าวข้างต้น ต้องเป็ นไปตามนโยบายที่ ก ําหนดโดย คณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารเป็ นผูท้ าํ รายการตามระดับอํานาจการอนุ มตั ิ ของกลุ่มบริ ษทั และจะต้องรายงานผลให้กบั คณะกรรมการบริ ษทั ทราบ 3.1.1 ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลีย่ น เนื่ อ งจากกลุ่ ม บริ ษ ัท มี ก ารทํา ธุ ร กิ จ กับ ต่ างประเทศจึ ง ย่อ มมี ค วามเสี่ ยงจากอัต ราแลกเปลี่ ย นเงิ น ตราต่ า งประเทศ ซึ่ งเกิดจากสกุลเงิ นที่หลากหลาย เช่ น สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา อีกทั้งบริ ษทั ยังมี หุน้ กูส้ กุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา โดยกิจการในกลุ่มบริ ษทั ใช้สัญญาแลกเปลี่ยนเงิ นตราต่างประเทศเพื่อป้ องกันความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนดังกล่าว

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

34

257


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงินและความเสี่ ยงด้ านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (ต่อ) 3.1.2 ความเสี่ ยงจากอัตราดอกเบีย้ รายได้และกระแสเงิ นสดจากการดําเนิ นงานของกลุ่มบริ ษทั ส่ วนใหญ่ไม่ข้ ึ นกับการเปลี่ ยนแปลงอัตราดอกเบี้ ยในตลาด กลุ่มบริ ษทั มี ความเสี่ ยงด้านอัตราดอกเบี้ ยที่ เกิดจากเงิ นกูย้ ืมและหุน้ กูซ้ ่ ึ งมีท้ งั อัตราดอกเบี้ยลอยตัวและคงที่ โดยกลุ่มบริ ษทั ใช้เครื่ องมื อทางการเงิ นที่ เป็ นสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ ย ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ตกลงกับคู่สัญญาที่ จะแลกเปลี่ยนผลต่าง ระหว่างจํานวนเงิ นตามอัตราดอกเบี้ยคงที่ กบั ตามอัตราดอกเบี้ ยลอยตัวในช่ วงเวลาที่ กาํ หนดไว้ โดยอ้างอิ งจากจํานวน ฐานที่ใช้เป็ นเกณฑ์คาํ นวณเงิ นต้นตามที่ตกลงกันไว้ 3.1.3 ความเสี่ ยงด้ านการให้ สินเชื่ อ กลุ่มบริ ษทั ไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนยั สําคัญของความเสี่ ยงด้านการให้สินเชื่ อ นโยบายของกลุ่มบริ ษทั คื อทําให้เชื่ อมัน่ ได้ว่าได้ขายสิ นค้าและให้บริ การแก่ลูกค้าที่ มีประวัติสินเชื่ ออยู่ในระดับที่ เหมาะสม คู่สัญญาในอนุ พนั ธ์ทางการเงิ นและ รายการเงิ นสดได้เลื อกที่ จะทํารายการกับสถาบันการเงิ นที่ มีคุณภาพและมี ความน่ าเชื่ อถื อสู ง กลุ่มบริ ษทั มี นโยบายจํากัด วงเงิ นการทําธุรกรรมกับสถาบันการเงิ นแต่ละแห่งอย่างเหมาะสม 3.1.4 ความเสี่ ยงด้ านสภาพคล่อง การจัดการความเสี่ ยงด้านสภาพคล่องอย่างรอบคอบหมายถึ งการดํารงไว้ซ่ ึ งเงิ น สดและหลักทรัพย์ที่ มีตลาดรองรั บ อย่างเพียงพอ ความสามารถในการหาแหล่งเงิ นทุนที่เพียงพอและความสามารถในการบริ หารความเสี่ ยง ส่ วนงานบริ หารเงิ น ของกลุ่มบริ ษทั ตั้งเป้ าหมายจะดํารงความยืดหยุ่นในการระดมเงิ น ทุนโดยการรักษาวงเงิ นสิ นเชื่ อให้มีความเพียงพอ เนื่ องจากลักษณะปกติทางธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั มีกระแสเงิ นสดเข้าออกเป็ นจํานวนเงิ นค่อนข้างสู ง

3.2

ปัจจัยความเสี่ ยงด้ านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ กลุ่ มบริ ษ ัทมี การบริ หารจัดการความเสี่ ยงทางด้านราคาวัตถุ ดิบ และผลิ ตภัณ ฑ์โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง ด้านห่ วงโซ่ อุ ปทานและด้านการเงิ นขึ้ นมาเพื่ อดําเนิ นการจัดการบริ หารความเสี่ ยงให้ เป็ นไปตามนโยบายที่ ได้รั บอนุ ม ัติโดย คณะกรรมการของบริ ษทั คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงด้านห่วงโซ่อุปทานและด้านการเงิ นจะชี้ ประเด็น ประเมิ น และป้ องกัน ความเสี่ ยงเกี่ ยวกับผลิ ตภัณฑ์ดว้ ยการร่ วมมื อกันทํางานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยปฏิบตั ิงานต่างๆ ภายในกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งจะต้องปฏิบตั ิ ตามหลักการภายใต้นโยบายที่ได้รับอนุมตั ิ กลุ่มบริ ษทั ใช้เครื่ องมืออนุพนั ธ์ทางการเงิ น ได้แก่ สัญญาแลกเปลี่ยนส่ วนต่างราคานํ้ามัน สําเร็ จรู ปและราคานํ้ามันดิบล่วงหน้า สัญ ญาแลกเปลี่ ยนส่ วนต่างระหว่างเวลาของราคานํ้ามันดิ บ และสัญญาแลกเปลี่ ยนราคา นํ้ามันดิ บและนํ้ามันสําเร็จรู ปล่วงหน้า เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงของการเปลี่ ยนแปลงของราคานํ้ามันและผลิ ตภัณฑ์ท่ีจะเกิ ดขึ้ น โดยการทําธุ รกรรมที่ เกี่ ยวกับอนุ พ ันธ์ ทางการเงิ นดังกล่ าวข้างต้นต้องเป็ นไปตามนโยบายที่ ก ําหนดโดยคณะกรรมการบริ ษัท โดยคณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยงด้านห่ วงโซ่ อุ ปทานและด้านการเงิ นเป็ นผูไ้ ด้รับมอบหมายให้ดาํ เนิ นการได้ตามนโยบาย ที่กาํ หนดไว้

258

35


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงินและความเสี่ ยงด้ านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (ต่อ)

3.2

ปัจจัยความเสี่ ยงด้ านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (ต่อ) ความเสี่ ยงจากการผันผวนของราคานํ้ามัน กลุ่มบริ ษทั มี ความเสี่ ยงจากกิจกรรมดําเนิ นงานอันเนื่ องมาจากความผันผวนของราคานํ้ามัน ซึ่ งเป็ นผลมาจากการเคลื่ อนไหว ของราคานํ้ามันในตลาดโลก ในการบริ หารความเสี่ ยงดังกล่าว กลุ่มบริ ษทั ใช้สัญญาแลกเปลี่ยนส่ วนต่างราคานํ้ามันสําเร็จรู ป และราคานํ้ามันดิ บล่วงหน้า (Crack Spread Swap Contracts) สัญญาแลกเปลี่ ยนส่ วนต่างระหว่างเวลาของราคานํ้ามันดิ บ (Time Spread Swap Contracts) และสั ญ ญาแลกเปลี่ ย นราคานํ้ ามั น ดิ บ และนํ้ ามัน สํ า เร็ จ รู ป ล่ ว งหน้ า (Crude Oil and Petroleum Products Swap Contracts) เพื่อป้ องกันความผันผวนของราคานํ้ามันจากการดําเนิ นธุรกิจของกลุ่มบริ ษทั

3.3

การบัญชี สําหรั บอนุพันธ์ ทางการเงิน กลุ่ ม บริ ษ ัท เป็ นคู่ สั ญ ญาในอนุ พ ัน ธ์ ที่ เป็ นเครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ซึ่ งส่ ว นมากจะประกอบด้ว ยสั ญ ญาแลกเปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ย และสัญญาที่ เกี่ยวกับการป้ องกันความเสี่ ยงของนํ้ามันดิ บและผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับนํ้ามัน เครื่ องมือทางการเงิ นดังกล่าวไม่รับรู ้ในงบการเงิ นในวันเริ่ มแรกและจะรับรู ้เมื่อครบกําหนดตามสัญญา สัญ ญาแลกเปลี่ ยนเงิ น ตราต่างประเทศล่ว งหน้าช่ วยป้ องกันกลุ่ม บริ ษทั จากความเคลื่ อ นไหวของอัตราแลกเปลี่ ยนด้วยการ กําหนดอัตราที่จะใช้รับสิ นทรัพย์หรื ออัตราที่จะจ่ายหนี้ สินที่เป็ นสกุลเงิ นต่างประเทศ จํานวนที่เพิ่มขึ้นหรื อลดลงจากจํานวนเงิ น ที่จะได้รับจากสิ นทรัพย์หรื อที่จะต้องจ่ายชําระหนี้ สินจะนําไปหักกลบกับมูลค่าของสัญญาอัตราแลกเปลี่ยนล่วงหน้าที่ เกี่ยวข้อง รายการกําไรและขาดทุนจากอนุ พนั ธ์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับเงิ นกูย้ ืมจะนํามาหักกลบกันในการนําเสนอรายงานทางการเงิ นโดยแสดงอยูใ่ น ต้นทุนทางการเงิ นในงบกําไรขาดทุน ส่ วนรายการกําไรและขาดทุนจากอนุพนั ธ์ซ่ ึ งเกี่ ยวข้องกับรายการค้าปกติ จะนํามาหักกลบกัน ในการนําเสนอรายงานทางการเงิ นโดยแสดงอยูใ่ นรายได้อื่น - สุ ทธิ ในงบกําไรขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยช่วยป้ องกันกลุ่มบริ ษทั จากความเคลื่อนไหวของอัตราดอกเบี้ย ส่ วนต่างที่ จะต้องจ่ายหรื อที่จะได้รับ จากสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ ยรับรู ้เป็ นส่ วนประกอบของรายได้ดอกเบี้ยรับหรื อดอกเบี้ ยจ่ายตลอดอายุของสัญญา รายการกําไร และขาดทุนจากการเลิกสัญญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยก่อนกําหนดหรื อจากการจ่ายชําระเงิ นกูย้ ืมจะแสดงรวมอยู่ในต้นทุน ทางการเงิ นในงบกําไรขาดทุน สัญญาป้ องกันความเสี่ ยงของนํ้ามันดิ บและผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยม ซึ่ งได้แก่ สัญญาแลกเปลี่ยนส่ วนต่างราคานํ้ามันสําเร็ จรู ปและ ราคานํ้ามันดิบล่วงหน้า สัญญาแลกเปลี่ยนส่ วนต่างระหว่างเวลาของราคานํ้ามันดิบ และสัญญาแลกเปลี่ยนราคานํ้ามันดิบและนํ้ามัน สําเร็ จรู ปล่วงหน้า ช่ วยป้ องกันการผันผวนของราคานํ้ามัน โดยมี การกําหนดราคาส่ วนต่างระหว่างราคานํ้ามันดิ บและนํ้ามัน สําเร็ จรู ปไว้ล่วงหน้าผลต่างระหว่างราคาคงที่ที่กาํ หนดในสัญญาและราคาตลาดที่เกิดขึ้ นจริ งบันทึกในงบกําไรขาดทุนเมื่อครบ กําหนดตามสัญญาโดยแสดงรวมอยูใ่ นรายได้อื่น - สุ ทธิ ในงบกําไรขาดทุน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

36

259


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 3

การจัดการความเสี่ ยงทางการเงินและความเสี่ ยงด้ านราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (ต่อ)

3.4

การประมาณมูลค่ ายุติธรรมของอนุพันธ์ ทางการเงินสํ าหรั บการวัดมูลค่ าและการเปิ ดเผยข้ อมูลในงบการเงิน มูล ค่ายุติธรรมของอนุ พ นั ธ์ ท างการเงิ น ที่ มี ตลาดซื้ อขายคล่อ งรองรับ กําหนดมู ลค่ าโดยขึ้ น อยู่กบั ราคาตลาดที่ มี การเปิ ดเผย ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิ น โดยมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศล่วงหน้าและมูลค่ ายุติธรรมของ สัญ ญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยกําหนดโดยใช้อ ัตราตลาดของแต่ล ะสั ญ ญาที่ คาํ นวณโดยสถาบัน การเงิ น ของกลุ่ มบริ ษ ัท ณ วัน ที่ ใ นงบแสดงฐานะการเงิ น ส่ ว นมู ล ค่ ายุติธรรมของสั ญ ญาป้ องกันความเสี่ ยงของนํ้ามัน ดิ บและผลิ ตภัณฑ์ ปิ โตรเลี ยม คํานวณโดยใช้ราคาเสนอซื้ อและเสนอขายเฉลี่ ยของสถาบันการเงิ นที่ กลุ่มบริ ษทั ใช้บริ การ ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิ น รายละเอียดอนุพนั ธ์ทางการเงิ นเปิ ดเผยในหมายเหตุฯ ข้อ 35

4

ประมาณการทางบัญชี ทสี่ ํ าคัญและข้ อสมมติฐาน กลุ่มบริ ษทั มี การประมาณการทางบัญชี และใช้ขอ้ สมมติฐานที่ เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในอนาคต ผลของประมาณการทางบัญชี อาจไม่ตรงกับผลที่ เกิ ดขึ้นจริ ง ประมาณการทางบัญชี ที่สําคัญและข้อสมมติ ฐานที่ มีความเสี่ ยงอย่างเป็ นสาระสําคัญที่อาจเป็ นเหตุ ให้เกิดการปรับปรุ งยอดคงเหลือของสิ นทรัพย์และหนี้ สินในรอบระยะเวลาบัญชี หน้า มีดงั นี้ 4.1

การด้ อยค่ าของเงินให้ ก้ ยู ืมระยะสั้ นแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ อง ลูกหนี้กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อยและบริ ษัทร่ วม และเงินลงทุนระยะยาวอืน่ กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ก ารประมาณความเป็ นไปได้ที่ จ ะได้รั บ คื น ในมู ล ค่ าของเงิ น ให้กูย้ ืม และลูก หนี้ กิ จ การที่ เกี่ ย วข้อ งกัน โดยพิจารณาจากความสามารถในการจ่ายชําระหนี้ สําหรับเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม และเงิ นลงทุนระยะยาวอื่ น กลุ่ มบริ ษ ัท มี ก ารพิ จารณาการด้อยค่าโดยประมาณการจากกระแสเงิ นสดของผลตอบแทนที่ คาดว่าจะได้รับจากบริ ษ ัท เหล่านั้นในอนาคต

260

37


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 4

ประมาณการทางบัญชี ที่สําคัญและข้ อสมมติฐาน (ต่อ) 4.2

การรั บรู้ สินทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี การรับรู ้สินทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอตัดบัญชี ข้ ึนอยูก่ บั ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะ นําผลแตกต่ างชั่ว คราวมาใช้หั ก ภาษี ไ ด้ ในการพิ จ ารณากําไรทางภาษี ใ นอนาคต กลุ่ ม บริ ษ ัท ได้มี ก ารพิ จารณาถึ ง การคาดการณ์ ผลประกอบการล่าสุ ดที่ มีอยู่ ดังนั้น การรับรู ้สินทรัพย์ภาษี เงิ นได้รอตัดบัญชี จึงมาจากการใช้สมมติฐาน เกี่ยวกับผลประกอบการในอนาคตของการกลุ่มบริ ษทั

4.3

ผลประโยชน์ พนักงาน มู ล ค่ า ปั จ จุ บ ัน ของโครงการผลประโยชน์ ข้ ึ นอยู่ก ับ ปั จ จัย ที่ ใ ช้ ใ นการคํา นวณตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ป ระกัน ภัย โดยประกอบด้วยสมมติฐานหลายตัว รวมถึ งสมมติฐานเกี่ ยวกับอัตราคิ ดลด อัตราการขึ้ นเงิ นเดือนและอัตราการลาออก การเปลี่ยนแปลงของสมมติ ฐานเหล่านี้ จะส่ งผลกระทบต่อภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน รายละเอียดสมมติฐานที่ สําคัญเปิ ดเผยอยูใ่ นหมายเหตุฯ ข้อ 20

5

การจัดการความเสี่ ยงในส่ วนของทุน วัตถุประสงค์ของกลุ่มบริ ษทั ในการบริ หารทุนของบริ ษทั นั้นเพื่อดํารงไว้ซ่ ึ งความสามารถในการดําเนิ นงานอย่างต่อเนื่ องของ กลุ่มบริ ษทั เพื่อสร้างผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้นและเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่ มีส่วนได้เสี ยอื่ น และเพื่อดํารงไว้ซ่ ึ งโครงสร้างของทุน ที่เหมาะสมเพื่อลดต้นทุนของเงิ นทุน ในการดํารงไว้หรื อปรับโครงสร้างของทุน กลุ่มบริ ษทั อาจปรับนโยบายการจ่ายเงิ นปั นผลให้กบั ผูถ้ ื อหุ ้น การคืนทุนให้แก่ผูถ้ ือหุ ้น การออกหุน้ ใหม่ หรื อการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้ สิน

6

ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน กลุ่ ม บริ ษ ัท นํ า เสนอข้อ มู ล ทางการเงิ น จํา แนกตามส่ ว นงานโดยแสดงส่ ว นงานธุ ร กิ จ เป็ นรู ป แบบหลัก ในการรายงาน โดยพิจารณาจากโครงสร้างการบริ หารและการรายงานทางการเงิ นภายในของกลุ่มบริ ษทั เป็ นเกณฑ์ในการกําหนดส่ วนงาน กลุ่มบริ ษทั เสนอส่ วนงานธุรกิจที่สําคัญ ดังนี้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม หน่วยงานอื่นๆ

ได้แก่ โอเลฟิ นส์ อะโรเมติกส์ ซึ่ งเป็ นวัตถุดิบในการผลิตเม็ดพลาสติกชนิ ดต่างๆ ได้แก่ นํ้ามันเชื้ อเพลิงชนิ ดต่างๆ นํ้ามันหล่อลื่น ยางมะตอย ได้แก่ โรงไฟฟ้ า ท่าเรื อ และสาธารณูปโภคอื่น

นโยบายการบัญชี สําหรับส่ วนงานดําเนิ นงานเป็ นไปตามนโยบายการบัญชี ที่กล่าวไว้ในหัวข้อสรุ ปนโยบายการบัญชี ที่สําคัญ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

38

261


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 6

ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ) งบการเงินรวม ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเคมี ล้านบาท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 รายได้จากการขาย กําไรจากการดําเนิ นงาน รายได้อื่นที่ไม่สามารถปันส่ วนได้ ต้นทุนทางการเงิ น ส่ วนแบ่งขาดทุนจากเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า ภาษีเงิ นได้

53,112 6,244

ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเลียม หน่ วยงานอืน่ ๆ ล้านบาท ล้านบาท 156,935 5,133

4,125 200

ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเคมี ล้านบาท

สิ นทรัพย์ท้ งั สิ้ นในงบการเงิ นรวม

262

214,172 11,577 2,856 (2,480) (184) (2,346) 9,423

กําไรสุ ทธิ สําหรับปี

สิ นทรัพย์ถาวรของส่ วนงาน สิ นทรัพย์ถาวรที่ ไม่สามารถปันส่ วนได้ สิ นทรัพย์อื่นของส่ วนงาน สิ นทรัพย์อื่นที่ไม่สามารถปันส่ วนได้

รวม ล้านบาท

ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเลียม หน่ วยงานอืน่ ๆ ล้านบาท ล้านบาท

ตัดรายการ ระหว่ างกัน ล้านบาท

27,165

21,885

16,774

87

11,205

20,325

6,463

(6,201)

รวม ล้านบาท 65,911 48,896 31,792 16,575 163,174

39


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 6

ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน (ต่อ) งบการเงินรวม ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเคมี ล้านบาท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 รายได้จากการขาย กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนิ นงาน รายได้อื่นที่ไม่สามารถปันส่ วนได้ ต้นทุนทางการเงิ น ส่ วนแบ่งขาดทุนจากเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ภาษีเงิ นได้

63,853 (1,589)

ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเลียม หน่ วยงานอืน่ ๆ ล้านบาท ล้านบาท 213,341 (5,674)

4,395 651

ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเลียม หน่ วยงานอืน่ ๆ ล้านบาท ล้านบาท

ตัดรายการ ระหว่ างกัน ล้านบาท

ขาดทุนสุ ทธิ สําหรับปี ผลิตภัณฑ์ ปิ โตรเคมี ล้านบาท สิ นทรัพย์ถาวรของส่ วนงาน สิ นทรัพย์ถาวรที่ ไม่สามารถปันส่ วนได้ สิ นทรัพย์อื่นของส่ วนงาน สิ นทรัพย์อื่นที่ไม่สามารถปันส่ วนได้ สิ นทรัพย์ท้ งั สิ้ นในงบการเงิ นรวม

26,321

22,422

16,709

10

13,014

25,338

3,928

(2,818)

รวม ล้านบาท 281,589 (6,612) 634 (1,494) (139) 2,398 (5,213)

รวม ล้านบาท 65,462 35,409 39,462 22,465 162,798

ข้ อมูลเกีย่ วกับภูมิศาสตร์ รายการขายกับลูกค้าภายนอกส่ วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 ของกลุ่มบริ ษทั เป็ นการขายภายในประเทศ โดยรายการขายต่างประเทศ ส่ วนใหญ่มาจากประเทศในแถบเอเชี ย นอกจากนี้ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนส่ วนใหญ่ของกลุ่มบริ ษทั อยู่ในประเทศไทย ลูกค้ ารายใหญ่ กลุม่ บริ ษทั ไม่มีรายได้จากรายการขายกับลูกค้าภายนอกรายใดรายหนึ่ งที่ มากกว่าร้อยละ 10 ของรายได้ของกลุ่มบริ ษทั จึงมิ ได้มีการ เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้ารายใหญ่

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

40

263


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 7

เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงิ นสดในมือ เงิ นฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เงิ นฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์

1 1,847 1,728 3,576

รวม

1 1,397 611 2,009

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 1,611 1,633 3,244

1,166 527 1,693

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงิ นฝากธนาคารประเภทกระแสรายวันและออมทรัพย์มีอตั ราดอกเบี้ยอยูท่ ี่ร้อยละ 0.04 ถึง ร้อยละ 1.45 ต่อปี (พ.ศ. 2557 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.10 ถึงร้อยละ 1.40 ต่อปี ) เงิ นสดและรายการเที ยบเท่าเงิ นสดส่ วนใหญ่เป็ นสกุลเงิ นบาท 8

ลูกหนี้การค้ า - สุ ทธิ

หมายเหตุ ลูกหนี้การค้ า - กิจการอื่นๆ - กิจการที่เกี่ ยวข้องกัน รวม หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

264

33

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 6,165 2,859 9,024 (82) 8,942

7,295 3,976 11,271 (79) 11,192

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 5,985 3,822 9,807 (80) 9,727

7,053 4,899 11,952 (68) 11,884

41


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 8

ลูกหนี้การค้ า - สุ ทธิ (ต่อ) ลูกหนี้ การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 สามารถวิเคราะห์ตามอายุหนี้ ที่คา้ งชําระได้ดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท กิจการอืน่ ยังไม่ครบกําหนด เกินกําหนดชําระ - น้อยกว่า 3 เดือน - เกินกว่า 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน - เกินกว่า 12 เดือน

หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน ยังไม่ครบกําหนด เกินกําหนดชําระ - น้อยกว่า 3 เดือน - เกินกว่า 3 เดือนแต่ไม่เกิน 12 เดือน - เกินกว่า 12 เดือน

หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

5,848

7,185

5,673

6,968

235 55 27 317 6,165 (82) 6,083

38 72 110 7,295 (72) 7,223

232 55 25 312 5,985 (80) 5,905

24 61 85 7,053 (61) 6,992

2,851

3,969

3,814

4,892

8 8 2,859 2,859 8,942

2 5 7 3,976 (7) 3,969 11,192

8 8 3,822 3,822 9,727

2 5 7 4,899 (7) 4,892 11,884

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

42

265


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 9

สิ นค้ าคงเหลือ - สุ ทธิ

วัตถุดิบ สิ นค้าระหว่างผลิต สิ นค้าสําเร็จรู ป สารเคมีและนํ้ามันเชื้ อเพลิง อะไหล่และวัสดุเพื่อการซ่อมบํารุ ง สิ นค้าระหว่างทาง สุ ทธิ

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 5,952 19 11,632 945 1,914 844 21,306

5,886 21 16,233 863 1,995 346 25,344

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 5,722 11 10,565 697 1,763 816 19,574

5,489 10 14,960 634 1,838 248 23,179

ภายใต้ขอ้ กําหนดของกระทรวงพลังงาน กําหนดให้บริ ษทั ต้องสํารองนํ้ามันดิ บไว้ที่อตั ราร้อยละ 6 ก๊าซปิ โตรเลี ยมเหลวและ นํ้ามันสําเร็จรู ปไว้ที่อตั ราร้อยละ 1 ของปริ มาณการผลิ ตในแต่ละงวด (พ.ศ. 2557 ตั้งสํารองนํ้ามันดิบ ก๊าซปิ โตรเลี ยมเหลวและ นํ้ามันสําเร็จรู ปไว้ที่อตั ราร้อยละ 6 และนํ้ามันหล่อลื่นที่อตั ราร้อยละ 5 ของปริ มาณการผลิตในแต่ละงวด) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดสิ นค้าคงเหลื อในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ได้รวมนํ้ามันดิ บ ก๊าซปิ โตรเลียม เหลวและนํ้ามันสําเร็ จรู ปที่ บ ริ ษ ัทต้องสํารองไว้ข้ นั ตํ่าจํานวน 2,990 ล้านบาท และ 2,987 ล้านบาท ตามลําดับ (พ.ศ. 2557 จํานวน 6,572 ล้านบาท และ 6,530 ล้านบาท ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ) ซึ่ งเป็ นจํานวนสุ ทธิ จากค่าเผื่อการ ลดลงของมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ ต้นทุนของสิ นค้าคงเหลื อที่ รับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายและรวมอยูใ่ นต้นทุนขายเป็ นจํานวน 177,926 ล้านบาท และจํานวน 186,984 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 274,163 ล้านบาท และจํานวน 286,350 ล้านบาท) ในงบกําไรขาดทุ นรวมและงบกําไรขาดทุ นเฉพาะบริ ษ ัท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สิ นค้าคงเหลือข้างต้นแสดงโดยสุ ทธิ จากค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าสุ ทธิ ที่จะได้รับ จํานวน 682 ล้าน บาท และ 649 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 3,573 ล้านบาท และ 3,540 ล้านบาท) ในงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะ การเงิ นเฉพาะบริ ษ ัท ตามลําดับ ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 มี ค่ าเผื่ อ(กลับรายการ) จากการลดลงของมู ลค่าสุ ทธิ ที่ จะได้รั บจํานวน (2,891) ล้านบาท รับรู ้ในงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะบริ ษทั (พ.ศ. 2557 ค่าเผื่อจากการลดลงของมูลค่าสุ ทธิ ที่จะ ได้รั บ จํานวน 3,296 ล้านบาท และจํานวน 3,289 ล้านบาท รั บ รู ้ ใ นงบกํา ไรขาดทุ น รวมและงบกํา ไรขาดทุ น เฉพาะบริ ษัท ตามลําดับ)

266

43


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 10

ลูกหนี้อนื่

ลูกหนี้ กรมสรรพสามิตและกองทุนนํ้ามันเชื้ อเพลิง อื่นๆ รวม 11

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 13 56 69

92 44 136

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 13 52 65

91 30 121

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า รายการเคลื่ อนไหวของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ยอดคงเหลือต้นปี - สุ ทธิ ส่ วนแบ่งผลขาดทุนเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมและ กิจการร่ วมค้าตามวิธีส่วนได้เสี ย เงิ นปันผลรับจากบริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลดทุนจดทะเบียน บริ ษทั ย่อยที่เลิกกิจการและอยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี ตัดจําหน่ายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยที่ชาํ ระบัญชี เสร็จแล้ว กลับรายการด้อยค่าเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย ลงทุนเพิ่มในกิจการร่ วมค้าและบริ ษทั ร่ วม จําหน่ายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ยอดคงเหลือปลายปี - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

6,144

6,006

10,489

10,187

(184) 23 407 (247) 6,143

(139) (25) 302 6,144

(1,875) (3) 23 402 (58) 8,978

302 10,489

การเปลี่ยนแปลงในเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้าสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดงั ต่อไปนี้ 1) บริ ษทั ไทย เอบีเอส จํากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ได้จดทะเบี ยนลดทุนจํานวน 1,875 ล้านบาท (จากทุนจดทะเบี ยน จํานวน 250 ล้านหุ ้น ราคาตามมูลค่าหุ ้นละ 10 บาท ลดลงเหลื อทุนจดทะเบี ยนจํานวน 62.5 ล้านหุ ้น ในราคามูลค่าหุ ้นละ 10 บาท) โดยบริ ษทั ยังคงสัดส่ วนการถือหุน้ เดิม รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

44

267


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 11

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) รายการเคลื่ อนไหวของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า สําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดงั นี้ (ต่อ) 2) บริ ษทั ไออาร์พีซี โพลี ออล จํากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ได้เข้าถือหุน้ สามัญในบริ ษทั ไออาร์พีซี พีซีซี จํากัด จํานวน 499,998 หุน้ มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยจ่ายซื้ อที่ ราคา 10 บาทต่อหุ ้น รวมเป็ นจํานวนเงิ น 5 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่ วน การลงทุนที่ร้อยละ 49.99 ของหุน้ จดทะเบียนทั้งหมดของบริ ษทั ไออาร์พีซี พีซีซี จํากัด โดยถือเป็ นกิจการร่ วมค้าของกลุ่มบริ ษทั ซึ่ งบริ ษทั ใหม่แห่งนี้ ได้มีการจดทะเบียนเป็ นบริ ษทั จํากัดต่อกระทรวงพาณิ ชย์ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 3) บริ ษทั ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จํากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ร่ วมของบริ ษทั ได้มีการเรี ยกชําระค่าหุ ้นเพิ่มทุน ซึ่ งบริ ษทั ได้จ่ายเพิ่มทุน ดังกล่าวตามสัดส่ วนการลงทุนเดิมด้วยจํานวนเงิ นทั้งสิ้ น 402 ล้านบาท ในราคาหุน้ ละ 3.32 บาท 4) ตามมติ ที่ ป ระชุ ม สามัญ ผูถ้ ื อ หุ ้น เมื่ อ วัน ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 ของบริ ษ ัท อุ ตสาหกรรมโพลี ยูเรเทนไทย จํากัด และ บริ ษทั ไออาร์ พีซี พลังงาน จํากัด (บริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ) และบริ ษทั ที พีไอ อิ นเตอร์ เน็ต พอร์ ทลั จํากัด (บริ ษทั ย่อยของ บริ ษทั นํ้ามันไออาร์พีซี จํากัด) ได้มีมติให้บริ ษทั เลิกกิจการ เนื่ องจากบริ ษทั ย่อยเหล่านี้ ได้หยุดดําเนิ นการแล้ว ซึ่ งได้มีการ ดําเนิ น การจดทะเบี ย นขอเลิ ก กิ จ การกับ กระทรวงพาณิ ชย์แ ล้ว เมื่ อ วัน ที่ 25 มิ ถุ นายน พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ นับ ตั้งแต่ ว นั ที่ จดทะเบี ย นเลิ ก กิ จ การ ข้อ มู ล ทางการเงิ น ของบริ ษั ท ย่ อ ยทั้ ง 3 แห่ ง นี้ ไม่ ไ ด้ร วมอยู่ ใ นงบการเงิ น รวม และขณะนี้ บริ ษทั อุตสาหกรรมโพลียเู รเทนไทย จํากัด ได้จดทะเบียนชําระบัญชี แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ส่ วนอีก 2 บริ ษทั อยู่ระหว่างการชําระบัญ ชี ซ่ ึ งถื อ เป็ นขั้น ตอนการเลิ กกิ จการตามกฎหมาย เงิ น ลงทุ น ที่ เหลื ออยู่ในบริ ษทั ย่อยทั้ง 2 แห่ ง ในงบการเงิ นรับรู ้รายการด้วยมูลค่ายุติธรรม ทําให้มีการกลับรายการด้อยค่าของเงิ นลงทุนจํานวน 23 ล้านบาท 5) บริ ษ ัท มี ก ารจําหน่ ายเงิ น ลงทุ น ทั้งจํา นวนในบริ ษ ัท พี ที ที โพลิ เมอร์ มาร์ เก็ตติ้ ง จํากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษ ัท ร่ ว มของบริ ษ ัท เป็ นจํานวนเงิ นสุ ทธิ 247 ล้านบาท เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558

268

45


รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

269

11

10

กิจการร่ วมค้า บริ ษทั ไออาร์พีซี พีซีซี จําก ัด

รวมเงินลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ร่ วม และ ส่ วนได้เสียในกิจการร่ วมค้ า

บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จําก ัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชนั่ ส์ จําก ัด บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จําก ัด (มหาชน) (หมายเหตุฯ 11 ง) บริ ษทั ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จําก ัด (หมายเหตุฯ 11 ง)

-

-

40 150 10,739 1,516

150 10,739 2,336

-

-

-

-

-

4,100

-

ทุนชําระแล้ว พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้ านบาท ล้ านบาท

บริษทั ย่อยที่อยู่ระหว่ างการชําระบัญชี บริ ษทั ระยอง แท้งค์ เทอร์มินลั จําก ัด บริ ษทั ไออาร์พีซี พลังงาน จําก ัด บริ ษทั ทีพีไอ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จําก ัด (ยอดตํ่ากว่า 1 ล้านบาท)

บริ ษทั ทีพไี อ อะโรเมติกส์ จําก ัด (มหาชน) บริ ษทั อาร์.โซลูชนั่ จําก ัด (ยอดตํ่ากว่า 1 ล้านบาท) (เดิมชื่อ บริ ษทั ไออาร์พีซี เซอร์วิส จําก ัด)

บริษทั ย่อยที่อยู่ภายใต้กระบวนการล้ มละลาย

-

5 5

5,300 743 6,131 11,231

5,300 1,144 6,474 10,236

58 30

1,000

3,757

30

1,000 -

4,100

1,000 2,757

4,100

-

วิธีราคาทุน พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้ านบาท ล้ านบาท

6,120

4,753 1,321 6,117

43

3 3

-

-

-

-

6,144

4,938 932 6,144

235 39

-

-

-

-

-

วิธีส่วนได้เสีย พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้ านบาท ล้ านบาท

(3,734)

-

-

-

(3,734)

(1,000) (2,734)

-

-

(5,100)

-

-

-

(1,000)

(1,000) -

(4,100)

(4,100)

การด้อยค่า พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้ านบาท ล้ านบาท

ก) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ในงบการเงิ นรวม มีดงั นี้

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

6,143

4,753 1,321 6,117

43

3 3

23

23

-

-

6,144

4,938 932 6,144

235 39

-

-

-

-

-

สุ ทธิ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้ านบาท ล้ านบาท

-

-

-

-

-

-

-

-

46

25

25

23 2

-

-

-

-

-

งบการเงินรวม เงินปันผลรับ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้ านบาท ล้ านบาท


270

11

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง จําก ัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชนั่ ส์ จําก ัด บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จําก ัด (มหาชน) (หมายเหตุฯ 11 ง) บริ ษทั ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จําก ัด (หมายเหตุฯ 11 ง)

บริษทั ร่ วม บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชนั่ ส์ จําก ัด บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จําก ัด (มหาชน) (หมายเหตุฯ 11 ง) บริ ษทั ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จําก ัด (หมายเหตุ 11 ง)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กิจการร่ วมค้า บริ ษทั ไออาร์พีซี พีซีซี จําก ัด

บริษทั ร่ วม

ไทย ไทย ไทย ไทย

ผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ าและไอนํ้า

ไทย

ผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ าและไอนํ้า

จําหน่ายเม็ดพลาสติก ที่ปรึ กษาทางวิศวกรรม ผลิตและจําหน่ายปิ โตรเคมี

ไทย ไทย

ไทย

ประเทศที่จดทะเบียน

ที่ปรึ กษาทางวิศวกรรม ผลิตและจําหน่ายปิ โตรเคมี

จําหน่ายปิ โตรเคมี

ลักษณะธุรกิจ

สินทรัพย์ (ล้ านบาท)

2,007

2,222 85 3,918

4,363

84 3,667

15

40 656

12

1,274

1,987 42 761

3,245

หนีส้ ิน (ล้ านบาท)

28

-

22,592 111 3,593

129

106 2,963

รายได้ (ล้ านบาท)

(3)

34 6 (177)

(13)

3 (185)

(2)

ส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) (ล้ านบาท)

ข) สิ นทรัพย์ หนี้ สิน รายได้ และส่ วนแบ่งกําไร (ขาดทุน) จากส่ วนได้เสี ยในกิจการร่ วมค้าและบริ ษทั ร่ วมของกลุ่มบริ ษทั ตามสัดส่ วนการลงทุน สามารถแสดงได้ดงั ต่อไปนี้

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

47

48.99

25.00 20.00 25.00

48.99

20.00 25.00

49.99

อัตราส่ วนการถือหุ้น (ร้ อยละ)


รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

271

11

- บริษัทย่ อยที่อยู่ระหว่างการชําระบัญชี บริษทั ระยอง แท้งค์ เทอร์มินลั จํากัด บริษทั อุตสาหกรรมโพลียรู ี เทนไทย จํากัด บริษทั ไออาร์พซี ี พลังงาน จํากัด บริษทั ทีพีไอ อินเตอร์เน็ต พอร์ทลั จํากัด (ยอดตํ่ากว่า 1 ล้านบาท) รวมเงินลงทุนในบริษัทย่ อย

- บริษัทย่ อยที่อยู่ภายใต้ กระบวนการล้มละลาย บริษทั ทีพีไอ อะโรเมติกส์ จํากัด (มหาชน) บริษทั อาร์.โซลูชนั่ จํากัด (เดิมชือ่ บริษทั ไออาร์พซี ี เซอร์วสิ จํากัด) (ยอดตํ่ากว่า 1 ล้านบาท)

- บริษทั ย่ อยที่ยังดําเนินกิจการ บริษทั ไทย เอ บี เอส จํากัด และบริษทั ย่อย บริษทั ไออาร์พซี ี เอแอนด์แอล จํากัด บริษทั นํ้ามัน ไออาร์พซี ี จํากัด และบริษทั ย่อย บริษทั รักษ์ป่าสัก จํากัด (เดิมชื่อ บริษทั นํ้ามัน ทีพีไอ (2001) จํากัด) บริษทั ไออาร์พซี ี โพลีออล จํากัด บริษทั เทคโนโลยี ไออาร์พซี ี จํากัด

บริษัทย่ อย

ให้บริ การเช่าถังสําหรับบรรจุสารเคมี ผลิตและจําหน่ายโพลียรู ี เทน ผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ า จําหน่ายผลิตภัณฑ์น้าํ มัน

99.99 99.99 99.99

99.50

99.99 99.99

ผลิตและจําหน่ายฟองนํ้าวิทยาศาสตร์ โรงเรียนอาชีวะ

ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ให้บริ การรักษาความปลอดภัย

99.99 59.94 99.99 99.99

ผลิตและจําหน่ายเม็ดพลาสติก ผลิตและจําหน่ายปิ โตรเคมี จําหน่ายผลิตภัณฑ์น้าํ มันและก๊าซ ให้บริ การเช่าเรือบรรทุกนํ้ามัน

ลักษณะธุรกิจ

99.99 99.99 99.99 99.99

99.99 99.50

99.99 99.99

99.99 59.94 99.99 99.99

สัดส่ วนการถือหุ้น พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ร้ อยละ ร้ อยละ

2,757 -

-

2 2,757 -

4,100 -

300 750

2,000

2,000

300 750

2,500

625

ทุนชําระแล้ว พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

1,000 2 2,757 13,409

7,432

4,100 -

300 750

2,000

2,500

1,000 2,757 -

-

300 750

2,000

625

วิธีราคาทุน พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

ค) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ในงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั มีดงั นี้

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

(4,928)

(1,000) (2,734) -

-

(476)

(718)

-

(9,051)

(1,000) (2,757) -

(4,100) -

(476)

(718)

-

การด้อยค่า พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

2,504

23 -

-

300 274

1,282

625

4,358

2 -

-

300 274

1,282

2,500

สุ ทธิ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

2,172

-

-

-

160

2,012

48

196

-

-

6 -

150

40

เงินปันผลรับ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษทั


272

11

150 10,739 2,336

40 150 10,739 1,516

30 5,300 1,144

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

13,906

25.00 20.00 25.00 48.99

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

รวมเงินลงทุนในบริษัทย่ อยและบริษัทร่ วม

20.00 25.00 48.99

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

19,540

6,131

58 30 5,300 743

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

วิธีราคาทุน

6,474

จําหน่ายเม็ดพลาสติก ที่ปรึ กษาทางวิศวกรรม ผลิตและจําหน่ายปิ โตรเคมี ผลิตและจําหน่ายไฟฟ้ าและไอนํ้า

ลักษณะธุรกิจ

พ.ศ. 2557 ร้ อยละ

ทุนชําระแล้ว

รวมบริษัทร่ วม

บริ ษทั พีทีที โพลิเมอร์ มาร์เก็ตติง้ จํากัด บริ ษทั พีทีที เอนเนอร์ยี่ โซลูชนั่ ส์ จํากัด บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จํากัด (มหาชน) บริษทั ไออาร์พซี ี คลีน พาวเวอร์ จํากัด

บริษัทร่ วม

พ.ศ. 2558 ร้ อยละ

สัดส่ วนการถือหุ้น

ค) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ในงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั มี ดงั นี้ (ต่อ)

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

(4,928)

-

-

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

(9,051)

-

-

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

การด้อยค่า

8,978

6,474

30 5,300 1,144

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

สุ ทธิ

10,489

6,131

58 30 5,300 743

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

2,172

-

-

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

49

221

25

23 2 -

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

เงินปันผลรับ

งบการเงินเฉพาะบริษทั


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 11

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) ง) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที่มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั รายการข้างล่างนี้ แสดงรายชื่ อบริ ษทั ร่ วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที่ มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั บริ ษทั ร่ วมดังกล่าว มีทุนเรื อนหุ ้นทั้งหมดเป็ นหุน้ สามัญ ซึ่ งกลุ่มบริ ษทั ได้ถือหุน้ ทางตรง ประเทศที่ จดทะเบียนจัดตั้งเป็ นแห่งเดียวกับสถานที่หลัก ในการประกอบธุรกิจ ลักษณะของเงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วม ในปี พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 สถานทีป่ ระกอบธุรกิจ/ ประเทศทีจ่ ดทะเบียน จัดตั้ง

สัดส่ วนของส่ วนได้เสีย (ร้ อยละ)

บริ ษทั อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชีย) จําก ัด (มหาชน)

ประเทศไทย

ร้อยละ 25.00

บริ ษทั ไออาร์พีซี คลีน พาวเวอร์ จํากดั

ประเทศไทย

ร้อยละ 48.99

ชื่อ

ลักษณะความสัมพันธ์

วิธีการวัดมูลค่า

ซื้อขายสินค้าระหว่าง กลุ่มบริ ษทั ขายกระแสไฟฟ้ าและ ไอนํ้าแก่กลุ่มบริ ษทั

วิธีส่วนได้เสีย วิธีส่วนได้เสีย

หุ ้นของบริ ษทั อู เบะ เคมิ ค อลส์ (เอเชี ย) จํากัด (มหาชน) และหุ ้นของบริ ษ ัท ไออาร์ พี ซี คลี น พาวเวอร์ จํากัด ไม่ มีราคา เสนอซื้ อขายในตลาด ไม่มีหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นซึ่ งเกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วม

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

50

273


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 11

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) ง) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที่มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ปสํ าหรั บบริ ษัทร่ วมที่มีสาระสํ าคัญต่ อกลุ่มบริ ษัท ข้อมูล ทางการเงิ นสํ าหรับบริ ษทั อูเบะ เคมิ คอลส์ (เอเชี ย) จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ไออาร์ พี ซี คลี น พาวเวอร์ จํากัด ซึ่ งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี้ งบแสดงฐานะการเงินโดยสรุ ป

ส่ วนที่หมุนเวียน เงิ นสดและรายการเทียบเท่าเงิ นสด สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น (ไม่รวมเงิ นสด) สิ นทรัพย์หมุนเวียนรวม หนี้ สินทางการเงิ นหมุนเวียน(ไม่รวมเจ้าหนี้ การค้า) หนี้ สินหมุนเวียนอื่น(รวมเจ้าหนี้ การค้า) หนี้ สินหมุนเวียนรวม ส่ วนที่ไม่ หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้ สินทางการเงิ น (ไม่หมุนเวียน) หนี้ สินไม่หมุนเวียนอื่น หนี้ สินไม่หมุนเวียนรวม สิ นทรัพย์สุทธิ

274

บริ ษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชี ย) จํากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

บริ ษัท ไออาร์ พีซี คลีน พาวเวอร์ จํากัด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

260 4,542 4,802 1,365 1,117 2,482

362 4,816 5,178 1,719 1,172 2,891

235 509 744 209 209

182 66 248 146 146

9,867 143 143 12,044

10,493 154 154 12,626

8,161 6,223 191 6,414 2,282

3,849 2,455 2,455 1,496

51


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 11

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) ง) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที่มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั (ต่อ) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ปสํ าหรั บบริ ษัทร่ วมที่มีสาระสํ าคัญต่ อกลุ่มบริ ษัท (ต่อ) ข้อมูล ทางการเงิ นสํ าหรับบริ ษทั อูเบะ เคมิ คอลส์ (เอเชี ย) จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ไออาร์ พี ซี คลี น พาวเวอร์ จํากัด ซึ่ งปฏิบตั ิตามวิธีส่วนได้เสี ย แสดงดังต่อไปนี้ (ต่อ) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จโดยสรุ ป

รายได้ ต้นทุนขาย รายได้ (ค่าใช้จ่าย) อื่น ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจําหน่าย รายได้ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ ย ขาดทุนจากการดําเนินงานต่ อเนื่อง ค่าใช้จ่ายภาษีเงิ นได้ ขาดทุนหลังภาษีจากการดําเนินงานต่ อเนื่อง กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอืน่ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวม เงินปันผลรั บจากบริ ษัทร่ วม

บริ ษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชี ย) จํากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

บริ ษัท ไออาร์ พีซี คลีน พาวเวอร์ จํากัด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

11,852 (10,688) 37 (1,034) (885) 3 (21) (736) 154 (582)

14,533 (13,124) (159) (1,161) (775) 3 (13) (696) 148 (548)

263 (197) (46) (16) (21) 1 (9) (25) (25)

2 (9) 2 (5) (5)

-

-

-

-

(582)

(548)

(25)

(5)

-

-

-

-

ข้อมูลข้างต้นเป็ นจํานวนที่ รวมอยูใ่ นงบการเงิ นของบริ ษทั ร่ วม (ซึ่ งไม่ใช่ เพียงแค่ส่วนแบ่งของกลุ่มบริ ษทั ในบริ ษทั ร่ วม ดังกล่าว) และปรับปรุ งเกี่ยวกับความแตกต่างของนโยบายการบัญชี ของกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั ร่ วม งบการเงิ น ของบริ ษ ัท อู เบะ เคมิ ค อลส์ จํา กัด (มหาชน) มี ร อบระยะเวลาบัญ ชี ต้ งั แต่ ว นั ที่ 1 เมษายน ถึ ง 31 มี น าคม ซึ่ งมี ค วามแตกต่ างจากรอบระยะเวลาบัญ ชี ข องกลุ่ ม บริ ษ ัท อย่า งไรก็ดีข ้อมู ล ข้างต้น เป็ นข้อ มู ล ที่ ไ ด้ป รับ ปรุ งให้เป็ น รอบระยะเวลาบัญ ชี เดี ย วกัน กับ กลุ่ ม บริ ษ ัท แล้ว ส่ ว นงบการเงิ น ของบริ ษ ัท ไออาร์ พี ซี คลี น พาวเวอร์ จํากัด มี รอบ ระยะเวลาบัญชี เดียวกันกับกลุ่มบริ ษทั 52

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

275


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 11

เงินลงทุนในบริ ษัทย่ อย บริ ษัทร่ วม - สุ ทธิ และส่ วนได้ เสี ยในกิจการร่ วมค้ า (ต่อ) ง) เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที่มีสาระสําคัญต่อกลุ่มบริ ษทั (ต่อ) การกระทบยอดรายการข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ป การกระทบยอดรายการระหว่างข้อมูลทางการเงิ นโดยสรุ ปกับมูลค่าตามบัญชี ของส่ วนได้เสี ยของกิจการในบริ ษทั ร่ วม ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ป

สิ นทรั พย์สุทธิ ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ ทุนในระหว่างปี ขาดทุนในระหว่างปี กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สิ นทรั พย์สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม ส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ร่ วม (ร้อยละ ) มูลค่ าตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 12

เงินลงทุนระยะยาวอืน่ - สุ ทธิ

หลักทรัพย์เผื่อขาย - ตราสารทุน หัก ค่าเผื่อการลดมูลค่าเงิ นลงทุน เงิ นลงทุนทัว่ ไป (ตราสารทุน) - ราคาทุน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงิ นลงทุน สุ ทธิ

276

บริ ษัท อูเบะ เคมิคอลส์ (เอเชี ย) จํากัด (มหาชน) 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 12,626 (582) 12,044 25.00 3,011

13,174 (548) 12,626 25.00 3,157

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 1,442 (338) 1,104 4,061 (4,040) 21 1,125

1,442 (731) 711 4,061 (4,040) 21 732

บริ ษัท ไออาร์ พีซี คลีน พาวเวอร์ จํากัด 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 1,496 820 (34) 2,282 48.99 1,118

885 616 (5) 1,496 48.99 733

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 1,442 (338) 1,104 4,059 (4,038) 21 1,125

1,442 (731) 711 4,059 (4,038) 21 732

53


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 12

เงินลงทุนระยะยาวอืน่ - สุ ทธิ (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของเงิ นลงทุนระยะยาวอื่นสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี้ งบการเงินรวม

ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ การเปลี่ยนแปลงในราคามูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

เงินลงทุน ทั่วไป - ราคาทุน ล้านบาท

หลักทรั พย์ เผื่อขาย ล้านบาท

รวม ล้านบาท

21 21

711 393 1,104

732 393 1,125

เงินลงทุน ทั่วไป - ราคาทุน ล้านบาท ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ การเปลี่ยนแปลงในราคามูลค่ายุติธรรม ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

21 21

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท หลักทรั พย์ เผื่อขาย รวม ล้านบาท ล้านบาท 711 393 1,104

732 393 1,125

การวัดมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์เผื่อขายใช้ราคาเสนอซื้ อล่าสุ ดที่ อา้ งอิงจากตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ณ วันทําการ สุ ดท้ายของวันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

54

277


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13

อสั งหาริ มทรั พย์ เพื่อการลงทุน - สุ ทธิ กลุ่มบริ ษทั มีอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนซึ่ งประกอบด้วยที่ ดินซึ่ งส่ วนใหญ่ยงั ไม่ได้ระบุวตั ถุประสงค์การใช้งาน และอาคาร ซึ่ งส่ วนใหญ่มีไว้ให้เช่าแสดงอยูใ่ นงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ดังนี้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

278

ที่ดิน ล้านบาท

งบการเงินรวม อาคาร รวม ล้านบาท ล้านบาท

1,624 (365) 1,259

88 (60) 28

1,712 (60) (365) 1,287

สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ การจําหน่าย - สุ ทธิ ค่าเสื่ อมราคา กลับรายการการด้อยค่า ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

1,259 (38) 10 1,231

28 (8) (3) 17

1,287 (46) (3) 10 1,248

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,586 (355) 1,231

50 (33) 17

1,636 (33) (355) 1,248

สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ การจําหน่าย - สุ ทธิ ค่าเสื่ อมราคา กลับรายการการด้อยค่า ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

1,231 (44) 1 1,188

17 (13) (1) 3

1,248 (57) (1) 1 1,191

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,542 (354) 1,188

19 (16) 3

1,561 (16) (354) 1,191

55


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13

อสั งหาริ มทรั พย์ เพื่อการลงทุน - สุ ทธิ (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ที่ดิน ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท อาคาร รวม ล้านบาท ล้านบาท

1,490 (329) 1,161

21 (15) 6

1,511 (15) (329) 1,167

สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ การจําหน่าย - สุ ทธิ ค่าเสื่ อมราคา ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

1,161 (9) 1,152

6 (4) (1) 1

1,167 (13) (1) 1,153

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,481 (329) 1,152

3 (2) 1

1,484 (2) (329) 1,153

สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ การจําหน่าย - สุ ทธิ ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ

1,152 (2) 1,150

1 (1) -

1,153 (3) 1,150

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

1,479 (329) 1,150

1 (1) -

1,480 (1) (329) 1,150

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

56

279


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 13

อสั งหาริ มทรั พย์ เพื่อการลงทุน - สุ ทธิ (ต่อ) ในระหว่างปี พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั ได้กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่าเป็ นจํานวน 1 ล้านบาท ในงบการเงิ นรวม (พ.ศ. 2557 จํานวน 10 ล้านบาท ในงบการเงิ นรวม) เนื่ องจากมีการขายที่ดิน จํานวนเงิ นที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุนที่ได้รับรู ้ในกําไรหรื อขาดทุน ได้แก่ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท รายได้ค่าเช่า

37

40

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 35

37

มูลค่ายุติธรรมของอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ที่ดิน อาคาร

1,612 23 1,635

1,651 31 1,682

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 1,560 1 1,561

1,560 8 1,568

มูล ค่ ายุติธ รรมของอสั งหาริ ม ทรัพ ย์เพื่ อการลงทุ น ที่ เปิ ดเผยข้า งต้น ได้ม าจากการประเมิ น โดยผูป้ ระเมิ น อิ ส ระด้ว ยวิ ธีก าร เปรี ย บเที ย บราคาตลาด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2555 ซึ่ งสภาพแวดล้อ มและสมมติ ฐานที่ ใ ช้ในการประเมิ น ไม่ ได้มี ก ารเปลี่ ย นแปลง อย่างเป็ นสาระสําคัญกับปี ปัจจุบนั

280

57


รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

281

14

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้ อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคา ค่าเผื่อการด้อยค่า

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

4,660 (181) 4,479

4,499 (20) 4,479

4,680 (181) 4,499

ทีด่ ินและ ค่าปรับปรุงทีด่ ิน ล้านบาท

26,229 (12,671) (162) 13,396

13,915 11 357 (887) 13,396

25,861 (11,784) (162) 13,915

อาคารและ ส่ วนปรับปรุ ง ล้านบาท

89,184 (43,340) (470) 45,374

47,680 152 (261) 1,865 (3,795) (267) 45,374

87,428 (39,545) (203) 47,680

เครื่องจักร และท่อ ล้านบาท

2,382 (1,497) 885

821 140 74 (150) 885

2,191 (1,370) 821

941 (684) 257

319 28 8 (98) 257

909 (590) 319

เครื่องมือ เครื่องตกแต่ ง เครื่องใช้ และ ติดตั้งและ อุปกรณ์ โรงงาน อุปกรณ์ สํานักงาน ล้านบาท ล้านบาท

741 (584) 157

143 41 (1) (26) 157

730 (587) 143

ยานพาหนะ ล้านบาท

36,324 36,324

15,764 22,864 (2,304) 36,324

15,764 15,764

งานระหว่ าง ก่อสร้ าง ล้านบาท

58

160,461 (58,776) (813) 100,872

83,141 23,236 (282) (4,956) (267) 100,872

137,563 (53,876) (546) 83,141

รวม ล้านบาท

งบการเงินรวม


282

14

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า

ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้ อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคา กลับรายการด้อยค่า

ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

8,949 (181) 8,768

4,479 4,224 (8) 73 8,768

4,660 (181) 4,479

ทีด่ ินและ ค่าปรับปรุงทีด่ ิน ล้านบาท

27,119 (13,572) (162) 13,385

13,396 14 (3) 895 (917) 13,385

26,229 (12,671) (162) 13,396

อาคารและ ส่ วนปรับปรุ ง ล้านบาท

92,317 (47,019) (203) 45,095

45,374 103 (278) 3,613 (3,984) 267 45,095

89,184 (43,340) (470) 45,374

เครื่องจักร และท่อ ล้านบาท

2,732 (1,650) 1,082

885 75 299 (177) 1,082

2,382 (1,497) 885

965 (756) 209

257 15 30 (93) 209

941 (684) 257

เครื่องมือ เครื่องตกแต่ ง เครื่องใช้ และ ติดตั้งและ อุปกรณ์ โรงงาน อุปกรณ์ สํานักงาน ล้านบาท ล้านบาท

683 (553) 130

157 (27) 130

741 (584) 157

ยานพาหนะ ล้านบาท

46,138 46,138

36,324 14,724 (4,910) 46,138

36,324 36,324

งานระหว่ าง ก่อสร้ าง ล้านบาท

59

178,903 (63,550) (546) 114,807

100,872 19,155 (289) (5,198) 267 114,807

160,461 (58,776) (813) 100,872

รวม ล้านบาท

งบการเงินรวม


รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

283

14

4,044 4,044 4,044 (20) 4,024 4,024 4,024

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้ อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคา ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ล้านบาท

ทีด่ ินและ ค่าปรับปรุงทีด่ ิน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

22,790 (10,604) 12,186

12,685 6 339 (844) 12,186

22,445 (9,760) 12,685

อาคารและ ส่ วนปรับปรุ ง ล้านบาท

80,072 (38,876) (456) 40,740

42,892 148 (261) 1,689 (3,461) (267) 40,740

78,496 (35,415) (189) 42,892

เครื่องจักร และท่อ ล้านบาท

1,873 (1,157) 716

688 128 29 (129) 716

1,737 (1,049) 688

เครื่องมือ เครื่องใช้ และ อุปกรณ์ โรงงาน ล้านบาท

838 (621) 217

278 21 7 (89) 217

815 (537) 278

เครื่องตกแต่ ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สํานักงาน ล้านบาท

559 (411) 148

128 41 (1) (20) 148

548 (420) 128

ยานพาหนะ ล้านบาท

34,688 34,688

14,355 22,397 (2,064) 34,688

14,355 14,355

งานระหว่ าง ก่อสร้ าง ล้านบาท

60

144,844 (51,669) (456) 92,719

75,070 22,741 (282) (4,543) (267) 92,719

122,440 (47,181) (189) 75,070

รวม ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท


284

14

4,024 4,224 (8) 73 8,313 8,313 8,313

สํ าหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชีตน้ ปี - สุ ทธิ ซื้ อสิ นทรัพย์ จําหน่ายสิ นทรัพย์ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ โอนเปลี่ยนประเภทสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคา กลับรายการด้อยค่า ราคาตามบัญชีปลายปี - สุ ทธิ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ 23,475 (11,471) 12,004

12,186 3 682 (867) 12,004

22,790 (10,604) 12,186

อาคารและ ส่ วนปรับปรุ ง ล้านบาท

82,467 (42,212) (189) 40,066

40,740 85 (267) 2,874 (3,633) 267 40,066

80,072 (38,876) (456) 40,740

เครื่องจักร และท่อ ล้านบาท

1,946 (1,293) 653

716 70 3 (136) 653

1,873 (1,157) 716

เครื่องมือ เครื่องใช้ และ อุปกรณ์ โรงงาน ล้านบาท

855 (685) 170

217 11 25 (83) 170

838 (621) 217

เครื่องตกแต่ ง ติดตั้งและ อุปกรณ์ สํานักงาน ล้านบาท

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั ไม่มีสินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงิ นในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั (พ.ศ. 2557 ไม่มี)

4,024 4,024

ทีด่ ินและ ค่าปรับปรุงทีด่ ิน ทีด่ ินและ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม ค่าเผื่อการด้อยค่า ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ)

บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

500 (375) 125

148 (23) 125

559 (411) 148

ยานพาหนะ ล้านบาท

45,551 45,551

34,688 14,520 (3,657) 45,551

34,688 34,688

งานระหว่ าง ก่อสร้ าง ล้านบาท

61

163,107 (56,036) (189) 106,882

92,719 18,913 (275) (4,742) 267 106,882

144,844 (51,669) (456) 92,719

รวม ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริษัท


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 14

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุ ทธิ (ต่อ) ต้น ทุ น การกู้ยื ม จํา นวน 1,490 ล้า นบาท และ 1,464 ล้านบาท ในงบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษ ัท ตามลํา ดับ (พ.ศ. 2557 จํา นวน 887 ล้า นบาท และ 852 ล้า นบาท สํ า หรั บ งบการเงิ น รวมและงบการเงิ น เฉพาะบริ ษัท ตามลํา ดับ ) เกิ ดจากเงิ นกูย้ ืมที่ ยืมมาเพื่อสร้างโรงงานใหม่ และได้บนั ทึ กเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์รวมอยู่ในรายการซื้ อสิ นทรัพย์ กลุ่มบริ ษทั ใช้อตั ราการตั้งขึ้นเป็ นทุนตั้งแต่ร้อยละ 4.07 ถึงร้อยละ 5.75 ในการคํานวณต้นทุนที่รวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 แสดงได้ดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ค่าเสื่ อมราคาอาคาร และอุปกรณ์ - ต้นทุนขาย - ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ค่าเสื่ อมราคาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน - ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร รวมค่ าเสื่ อมราคา

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

5,004 194 5,198

4,770 186 4,956

4,654 88 4,742

4,451 92 4,543

1 5,199

3 4,959

4,742

1 4,544

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

62

285


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15

สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ แสดงอยูใ่ นงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั มีดงั นี้ งบการเงินรวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ เพิ่มขึ้นระหว่างปี ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ เพิ่มขึ้นระหว่างปี ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

286

รายจ่ ายในการ ขุดลอกร่ องนํ้าทะเล ล้านบาท

ระบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ และค่ าพัฒนาระบบ ล้านบาท

รวม ล้านบาท

2,640 (1,815) 825

1,060 (369) 691

3,700 (2,184) 1,516

825 (142) 683

691 64 (107) 648

1,516 64 (249) 1,331

2,640 (1,957) 683

1,124 (476) 648

3,764 (2,433) 1,331

683 (142) 541

648 46 (113) 581

1,331 46 (255) 1,122

2,640 (2,099) 541

1,170 (589) 581

3,810 (2,688) 1,122

63


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 15

สิ นทรั พย์ ไม่ มีตัวตน - สุ ทธิ (ต่อ) สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนที่ แสดงอยูใ่ นงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั มีดงั นี้ (ต่อ)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ เพิ่มขึ้นระหว่างปี ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ เพิ่มขึ้นระหว่างปี ค่าตัดจําหน่าย ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราคาทุน หัก ค่าตัดจําหน่ายสะสม ราคาตามบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท

รายจ่ ายในการ ขุดลอกร่ องนํ้าทะเล ล้านบาท

ระบบโปรแกรม คอมพิวเตอร์ และค่ าพัฒนาระบบ ล้านบาท

2,640 (1,815) 825

1,060 (369) 691

3,700 (2,184) 1,516

825 (142) 683

691 62 (107) 646

1,516 62 (249) 1,329

2,640 (1,957) 683

1,122 (476) 646

3,762 (2,433) 1,329

683 (142) 541

646 41 (113) 574

1,329 41 (255) 1,115

2,640 (2,099) 541

1,163 (589) 574

3,803 (2,688) 1,115

รวม ล้านบาท

ค่าตัดจําหน่ ายจํานวน 255 ล้านบาท ได้แยกแสดงอยู่ในต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริ หารเป็ นจํานวน 152 ล้านบาทและ จํา นวน 103 ล้า นบาท ตามลํา ดับ สํ า หรั บ งบกําไรขาดทุ น รวมและงบกํา ไรขาดทุ น เฉพาะบริ ษ ัท สํ า หรั บ ปี สิ้ นสุ ดวัน ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 (พ.ศ. 2557 จํานวน 249 ล้านบาท ได้แยกแสดงอยู่ในต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริ หารเป็ นจํานวน จํานวน 151 ล้านบาท และ 98 ล้านบาท รวมอยูใ่ นต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ตามลําดับ)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

64

287


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 16

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี สิ นทรัพย์และหนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี สามารถวิเคราะห์ได้ดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ที่จะใช้ประโยชน์ ภายใน 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ที่จะใช้ประโยชน์ เกินกว่า 12 เดือน หนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี หนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ที่จะจ่ายชําระภายใน 12 เดือน หนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี ที่จะจ่ายชําระเกินกว่า 12 เดือน สิ นทรัพย์ภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี - สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

25

20

25

20

2,712 2,737

5,118 5,138

2,385 2,410

4,795 4,815

84

84

84

84

79 163 2,574

123 207 4,931

79 163 2,247

123 207 4,608

รายการเคลื่อนไหวของภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี มีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ณ วันที่ 1 มกราคม เพิม่ / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน เพิ่ม / (ลด) ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม

288

4,931 (2,307) (50) 2,574

2,374 2,470 87 4,931

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 4,608 (2,311) (50) 2,247

2,031 2,491 86 4,608

65


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 16

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี มีดงั นี้ งบการเงินรวม

สิ นทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน เพิ่ม / (ลด) ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน เพิ่ม / (ลด) ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ พนักงาน ล้านบาท

การด้ อยค่ า ลูกหนี้และ เงินลงทุน ล้านบาท

ขาดทุน ทางภาษี ล้านบาท

อืน่ ๆ ล้านบาท

รวม ล้านบาท

257 17 39

1,610 (104) -

429 2,391 -

420 31 48

2,716 2,335 87

313 27 28 368

1,506 (1,505) 1

2,820 (894) 1,926

499 21 (78) 442

5,138 (2,351) (50) 2,737

งบการเงินรวม สิ นทรั พย์ ถาวร ล้านบาท หนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

342 (135) 207 (44) 163

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

66

289


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 16

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของสิ นทรัพย์และหนี้ สินภาษีเงิ นได้รอการตัดบัญชี มีดงั นี้ งบการเงินเฉพาะบริ ษัท

สิ นทรั พย์ ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน เพิม่ / (ลด) ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน เพิ่ม / (ลด) ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ภาระผูกพัน ผลประโยชน์ พนักงาน ล้านบาท

การด้ อยค่ า ลูกหนี้และ เงินลงทุน ล้านบาท

ขาดทุน ทางภาษี ล้านบาท

อืน่ ๆ ล้านบาท

รวม ล้านบาท

239 14 38 291 26 28 345

1,468 (104) 1,364 (1,363) 1

422 2,396 2,818 (1,052) 1,766

244 50 48 342 34 (78) 298

2,373 2,356 86 4,815 (2,355) (50) 2,410

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท สิ นทรั พย์ ถาวร ล้านบาท หนี้สินภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เพิ่ม / (ลด) ในกําไรหรื อขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

290

342 (135) 207 (44) 163

67


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 16

ภาษีเงินได้ รอตัดบัญชี (ต่อ) กลุ่ ม บริ ษ ัท มี ร ายการขาดทุ น ทางภาษี ที่ ยงั ไม่ ได้ใ ช้ย กไปเพื่ อ หั ก กลบกับ กําไรทางภาษี ใ นอนาคตเป็ นจํานวนเงิ น ทั้ง หมด 13,745 ล้า นบาท ซึ่ งจะสิ้ น สุ ดเวลาการหั ก กลบกัน กับ กําไรทางภาษี ใ นอนาคตในปี พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2562 และ พ.ศ.2563 จํานวน 3,394 ล้านบาท จํานวน 9,543 ล้านบาท และ จํานวน 808 ล้านบาท ตามลําดับ โดยกลุ่ม บริ ษทั มี การบันทึ กสิ นทรัพ ย์ ภาษี เงิ นได้รอตัดบัญชี สําหรับรายการขาดทุน ทางภาษี ดงั กล่าว เป็ นจํานวน 9,639 ล้านบาท โดยมี ขาดทุนทางภาษี อีกจํานวน 4,106 ล้านบาท ที่ มิได้มีการรับรู ้สินทรัพย์ภาษี เงิ นได้รอตัดบัญชี โดยได้มีการพิจารณาถึ งความเป็ นไปได้วา่ จะมีกาํ ไรทางภาษี ในอนาคตเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ทางภาษีหรื อไม่

17

สิ นทรั พย์ ไม่ หมุนเวียนอืน่ – สุ ทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงิ นมัดจําค่าที่ดิน หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า อื่นๆ สุ ทธิ

131 (128) 3 226 229

128 (128) 89 89

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 131 (128) 3 223 226

128 (128) 85 85

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

68

291


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม

ส่ วนของหนี้สินหมุนเวียน เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ นที่ไม่มีหลักประกัน ส่ วนของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวที่ ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่ งปี ส่ วนของหุน้ กูท้ ี่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่ งปี รวมเงิ นกูย้ ืมในส่ วนของหนี้ สินหมุนเวียน ส่ วนของหนี้สินไม่ หมุนเวียน หุน้ กูท้ ี่ไม่มีหลักประกัน - สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา หัก ส่ วนลดมูลค่าหุน้ กู้ สุ ทธิ - สกุลเงิ นบาท รวมหุน้ กู้ เงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น รวมหุน้ กูแ้ ละเงิ นกูย้ มื ระยะยาว หัก ค่าธรรมเนี ยมในการออกหุน้ กูแ้ ละจัดหาเงิ นกู้ รอตัดบัญชี รวมหุน้ กูแ้ ละเงิ นกูย้ ืมระยะยาว รวมเงินกู้ยืม

292

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

204 4,265 4,469

8,847 2,701 5,000 16,548

134 4,265 4,399

8,793 2,701 5,000 16,494

8,628 (6) 8,622 22,640 31,262 18,047 49,309

7,881 (10) 7,871 22,640 30,511 13,793 44,304

8,628 (6) 8,622 22,640 31,262 18,047 49,309

7,881 (10) 7,871 22,640 30,511 13,793 44,304

(74) 49,235 53,704

(61) 44,243 60,791

(74) 49,235 53,634

(61) 44,243 60,737

69


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะสั้ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นที่ไม่มีหลักประกันจากสถาบันการเงิ นจํานวน 204 ล้านบาท และ 134 ล้านบาท ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ มีอตั ราดอกเบี้ ยร้อยละ 0.62 ถึ งร้อยละ 0.65 ต่อปี และมี อตั ราดอกเบี้ ย ร้อยละ 0.62 ตามลําดับ โดยมีระยะเวลาครบกําหนดภายใน 1 - 3 เดือน (พ.ศ. 2557 จํานวน 8,847 ล้านบาท และ 8,793 ล้านบาท ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ มี อตั ราดอกเบี้ ยร้ อยละ 0.50 ถึ งร้อ ยละ 2.15 ต่อปี โดยมี ระยะเวลา ครบกําหนดภายใน 1- 3 เดือน) เงินกู้ยืมระยะยาว (1) บริ ษทั ลงนามในสัญญาเงิ นกูย้ มื ระยะยาวจํานวน 10,000 ล้านบาทกับธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศ 5 แห่งเพื่อใช้ในโครงการ ลงทุนของกลุม่ บริ ษทั บริ ษทั สามารถเบิกถอนวงเงิ นได้ตามความคื บหน้าของโครงการที่ ตอ้ งการใช้เงิ น เงิ นกูย้ ืมดังกล่าว ไม่มีหลักประกันและมี อายุสัญญา 8 ปี มี อตั ราดอกเบี้ ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ ยเงิ นฝากประจําสู งสุ ด 6 เดื อนบวกอัตราส่ วน เพิ่มคงที่ สํา หรับวงเงิ น จํานวน 5,400 ล้านบาท (Facility A) และอัตราดอกเบี้ ย THBFIX 6 เดื อนบวกอัตราส่ วนเพิ่ มคงที่ สําหรั บวงเงิ นจํานวน 4,600 ล้านบาท (Facility B) ดอกเบี้ ยจะมี การชําระทุ กสิ้ นเดื อน ส่ วนการจ่ ายชํา ระคื น เงิ นต้นแบ่ ง ออกเป็ น 10 งวด โดยจะเริ่ มชําระงวดแรก ณ วันที่ 30 มิ ถุนายน พ.ศ. 2555 (วันสุ ดท้ายของเดื อนที่ 42 นับจากวันที่ ตาม สัญญา) และจะชําระคืนเงิ นต้นทุกครึ่ งปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เบิกเงิ นกูย้ ืมเต็มจํานวนแล้ว (2) บริ ษทั ลงนามในสัญญาเงิ นกูย้ ืมระยะยาวกับสถาบันการเงิ นในประเทศและต่างประเทศรวม 3 แห่ ง เพื่อใช้ในโครงการ ลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ดังนี้ -

เงิ นกูว้ งเงิ น 100 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ไม่มีหลักประกันและมี อายุสัญญา 8 ปี มี อตั ราดอกเบี้ ย LIBOR บวกส่ วนเพิ่ม คงที่ต่อปี โดยดอกเบี้ยจะมีการชําระทุก 3 เดือน หรื อ 6 เดื อน ส่ วนการจ่ายชําระคื นเงิ นต้นจะชําระคื นเงิ นต้นทุก 6 เดื อน โดยแบ่งออกเป็ น 10 งวด เริ่ มชําระงวดแรก ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (วันครบกําหนดเดื อนที่ 42 นับจากวันที่ ตามสัญญา) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เบิกเงิ นกูย้ ืมจํานวนเต็มวงเงิ นแล้ว

-

เงิ นกูว้ งเงิ น 3,700 ล้านบาท ไม่มีหลักประกันและมีอายุสัญญา 8 ปี มี อตั ราดอกเบี้ ย THBFIX สามเดื อนบวกส่ วนเพิ่ม คงที่ ต่อปี โดยดอกเบี้ ยจะมี การชําระทุ ก 3 เดื อน ส่ วนการจ่ายชําระคื นเงิ นต้นจะชําระคื นเงิ นต้นทุ ก 6 เดื อน โดยแบ่ ง ออกเป็ น 10 งวด เริ่ มชําระงวดแรก ณ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (วันสุ ดท้ายของเดื อนที่ 42 นับจากวันเบิ กเงิ นกู้ งวดแรกเป็ นต้นไป) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เบิกเงิ นกูย้ ืมจํานวนเต็มวงเงิ นแล้ว

-

เงิ นกูว้ งเงิ น 75 ล้านเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา ไม่มีหลักประกันและมี อายุสัญญา 6 ปี มี อตั ราดอกเบี้ ย LIBOR บวกส่ วนเพิ่ม คงที่ต่อปี โดยดอกเบี้ยจะมีการชําระทุก 1 เดื อน หรื อ 3 เดื อน หรื อ 6 เดื อน โดยเงิ นต้นจะจ่ายคื นภายในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2561 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้เบิกเงิ นกูย้ ืมเต็มวงเงิ นแล้ว

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

70

293


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม (ต่อ) เงินกู้ยืมระยะยาว (ต่อ) (3) บริ ษทั ได้ลงนามในสัญญาเงิ นกูย้ ืมระยะยาวกับสถาบันการเงิ นในประเทศเพื่อใช้ในโครงการลงทุนของกลุ่มบริ ษทั ดังนี้ - เงิ นกูว้ งเงิ น 10,000 ล้านบาท กับสถาบันการเงิ นในประเทศ 3 แห่ ง เป็ นเงิ นกู้ไม่ มีหลักประกันและมี อายุสัญญา 8 ปี โดยอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยสู งสุ ดของเงิ นฝากประจําหกเดือนถัวเฉลี่ยของธนาคารพาณิ ชย์ 4 แห่ง บวกส่ วนเพิ่ม คงที่ต่อปี โดยจะมีการชําระดอกเบี้ยทุกเดือน ส่ วนการชําระคืนเงิ นต้นจะชําระคื นทุก 6 เดื อน ตามสัดส่ วนที่ กาํ หนด ในสัญญาโดยแบ่งออกเป็ น 12 งวด เริ่ มชําระงวดแรกเดื อนมิ ถุนายน พ.ศ. 2559 โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้มีการเบิกเงิ นกูย้ ืมแล้วจํานวน 8,000 ล้านบาท - เงิ นกูว้ งเงิ น 3,000 ล้านบาท กับสถาบันการเงิ นในประเทศแห่งหนึ่ ง เป็ นเงิ นกูไ้ ม่มีหลักประกันและมี อายุสัญญา 8 ปี โดยอัตราดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ ยสู งสุ ดของเงิ นฝากประจําหกเดื อนสําหรับลูกค้าบุคคลธรรมดาบวกส่ วนเพิ่ม คงที่ต่อปี มีการชําระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน ส่ วนการชําระคื นเงิ นต้นจะชําระคื นทุก 6 เดื อน โดยแบ่งออกเป็ น 10 งวด เริ่ มชําระงวดแรกวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2560 (วันครบกําหนดเดื อนที่ 42 นับจากวันที่ ตามสัญญา) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั มีการเบิกใช้เงิ นกูย้ ืมดังกล่าวเต็มจํานวนแล้ว หุ้นกู้ หุน้ กูข้ องบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีดงั นี้ (1) หุน้ กูส้ กุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กาเป็ นหุน้ กูท้ ี่ไม่มีหลักประกันและไม่ดอ้ ยสิ ทธิ โดยมี มูลค่าที่ ตราไว้จาํ นวน 250 ล้านเหรี ยญ สหรั ฐอเมริ ก าและมี ส่ วนลดในราคาร้ อ ยละ 99.323 ของมู ลค่ าที่ ตราไว้ รวมเป็ นมู ล ค่ า สุ ท ธิ ท้ ังสิ้ น 248.31 ล้านเหรี ย ญ สหรั ฐอเมริ กา หุ ้นกู้มีอ ัตราดอกเบี้ ยคงที่ ร้อยละ 6.375 ต่อปี และมี กาํ หนดการจ่ ายชําระดอกเบี้ ยทุกครึ่ งปี เริ่ มตั้งแต่ ว นั ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และหุน้ กูจ้ ะครบกําหนดไถ่ถอนในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 (2) หุน้ กูส้ กุลเงิ นบาทเป็ นหุน้ กูท้ ี่ไม่มีหลักประกันและไม่ดอ้ ยสิ ทธิ โดยมีมูลค่าที่ ตราไว้จาํ นวน 10,000 ล้านบาท และได้เสนอขาย แก่นกั ลงทุนประเภทสถาบันการเงิ นจํานวน 2 ครั้ง เป็ นจํานวนเงิ น 7,000 ล้านบาทและ 3,000 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้

อายุหุน้ กู้ อัตราดอกเบี้ยคงที่ต่อปี (ร้อยละ) กําหนดการจ่ายดอกเบี้ย ครบกําหนดไถ่ถอน

หุ้นกู้จํานวน 7,000 ล้านบาท

หุ้นกู้จํานวน 3,000 ล้านบาท

7 ปี 5.05 ทุกครึ่ งปี วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

10 ปี 5.29 ทุกครึ่ งปี วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

เงื่ อนไขของการเสนอขายหุ ้น กูไ้ ด้ระบุขอ้ จํา กัดบางประการให้บริ ษทั ต้องปฏิ บตั ิ ตาม เช่ น การไม่ก่อให้เกิ ดภาระผูกพัน ในสิ นทรั พย์ใดของบริ ษทั และบริ ษ ัทย่อยในอนาคต การควบรวมกิ จ การและขายสิ น ทรัพย์ของบริ ษทั จะต้องได้รับการ ยินยอมจากผูถ้ ือหุน้ กู้ และการรักษาสัดส่ วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ของบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็ นต้น

294

71


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม (ต่อ) หุ้นกู้ (ต่อ) (3) เมื่ อวันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 บริ ษ ัท ได้ออกหุ ้ นกู้ชุ ดที่ 1 จํานวน 5,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ ยคงที่ ร้ อยละ 4.35 ต่ อ ปี ครบกําหนดไถ่ ถอนวันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 และชุ ดที่ 2 จํานวน 5,000 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ ยคงที่ ร้อยละ 4.76 ต่ อปี ครบกําหนดไถ่ถอนวันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2561โดยหุ ้นกู้ท้ งั 2 ชุ ดมี การชําระดอกเบี้ ยทุก ๆ 6 เดื อ น โดยจะชําระดอกเบี้ ย งวดแรกในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และจะชําระดอกเบี้ ยงวดสุ ดท้ายของหุ ้นกูแ้ ต่ละชุ ดในวันครบกําหนดไถ่ถอน หุน้ กูช้ ุดที่เกี่ยวข้อง เงื่ อนไขของการเสนอขายหุ ้น กูไ้ ด้ระบุ ขอ้ จํากัดบางประการให้บริ ษทั ต้องปฏิ บตั ิ ตาม เช่ น การไม่ก่อให้เกิ ดภาระผูกพัน ในสิ นทรั พ ย์ใ ดของบริ ษ ัท และบริ ษ ัท ย่อ ยในอนาคต การรั ก ษาสั ดส่ ว นการถื อ หุ ้น ในบริ ษ ัท ของบริ ษ ัท ปตท. จํา กัด (มหาชน) ทั้งทางตรงและทางอ้อม และการดํารงไว้ซ่ ึ งสัดส่ วนทางการเงิ นตามที่ระบุไว้ในข้อกําหนดผูอ้ อกหุน้ กู้ เป็ นต้น (4) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 บริ ษทั ได้ออกหุน้ กูช้ นิ ดระบุช่ื อผูถ้ ือ ประเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิ ไม่มีประกัน และมี ผแู ้ ทนผูถ้ ือหุน้ กู้ เป็ นจํานวนเงิ นรวมทั้งสิ้ น 15,000 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้ - หุ ้นกู้ชุดที่ 1 จํานวน 1,366 ล้านบาท และหุ ้น กูช้ ุ ดที่ 4 จํานวน 3,380 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ ยคงที่ ร้อ ยละ 3.96 ต่อ ปี ครบกําหนดไถ่ถอนวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 - หุ ้นกู้ชุดที่ 2 จํานวน 1,944 ล้านบาท และหุ ้น กูช้ ุ ดที่ 5 จํานวน 1,420 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ ยคงที่ ร้อ ยละ 4.50 ต่อ ปี ครบกําหนดไถ่ถอนวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - หุ ้นกู้ชุดที่ 3 จํานวน 2,940 ล้านบาท และหุ ้น กูช้ ุ ดที่ 6 จํานวน 3,950 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ ยคงที่ ร้อ ยละ 4.96 ต่อ ปี ครบกําหนดไถ่ถอนวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 โดยหุน้ กูท้ ้ งั 6 ชุดมีการชําระดอกเบี้ยทุก 6 เดือน โดยจะชําระดอกเบี้ยงวดแรกในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 และจะชําระ ดอกเบี้ยงวดสุ ดท้ายของหุน้ กูแ้ ต่ละชุดในวันครบกําหนดไถ่ถอนหุน้ กูช้ ุดที่เกี่ยวข้อง เงื่ อนไขของการเสนอขายหุ ้น กูไ้ ด้ระบุ ขอ้ จํากัดบางประการให้บริ ษทั ต้องปฏิ บตั ิ ตาม เช่ น การไม่ก่อให้เกิ ดภาระผูกพัน ในสิ นทรัพย์ใดของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อยในอนาคต การรักษาสัดส่ วนการถือหุน้ ในบริ ษทั ของบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ทั้งทางตรงและทางอ้อม และการดํารงไว้ซ่ ึ งสัดส่ วนทางการเงิ นตามที่ระบุไว้ในข้อกําหนดผูอ้ อกหุน้ กู้ เป็ นต้น

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

72

295


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม (ต่อ) อัตราดอกเบี้ยของเงิ นกูย้ มื และหุน้ กูข้ องกลุ่มบริ ษทั และบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท - เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นและหุน้ กู้ ณ อัตราคงที่ - เงิ นกูย้ ืมระยะยาว ณ อัตราลอยตัว รวม

31,449 22,255 53,704

44,296 16,495 60,791 งบการเงินรวม

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง (ร้อยละ) - เงิ นกูย้ ืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิ น - หุน้ กู้ - เงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ น

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 31,379 22,255 53,634

44,242 16,495 60,737

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

0.62 - 0.65 3.960 - 6.375 1.607 - 3.917

0.50 - 2.15 3.960 - 6.375 1.366 - 4.308

0.62 3.960 - 6.375 1.607 - 3.917

0.50 - 2.15 3.960 - 6.375 1.366 - 4.308

ระยะเวลาครบกําหนดของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นและหุ ้นกูม้ ีดงั ต่อไปนี้ งบการเงินรวม

ครบกําหนดภายใน 1 ปี ครบกําหนดเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ครบกําหนดหลังจาก 5 ปี รวม

296

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

4,265 39,459 9,776 53,500

7,701 35,163 9,080 51,944

4,265 39,459 9,776 53,500

7,701 35,163 9,080 51,944

73


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นและหุ ้นกูส้ ําหรับปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 สามารถวิเคราะห์ ได้ดงั นี้ งบการเงินรวม/ งบการเงินเฉพาะบริ ษัท ล้านบาท ราคาตามบัญชี ตน้ ปี - สุ ทธิ ตัดจําหน่ายค่าธรรมเนี ยมในการจัดหาเงิ นกูย้ ืมรอตัดบัญชี รับรู ้ส่วนลดมูลค่าหุน้ กู้ เงิ นกูร้ ะยะยาวเพิ่มขึ้น ต้นทุนทางการเงิ นในการกูย้ ืมเงิ นกูร้ ะยะยาว จ่ายชําระคืนเงิ นกูย้ ืมและหุน้ กู้

51,944 18 5 8,000 (31) (7,687) 1,251 53,500

ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิ ดขึ้นจริ ง ราคาตามบัญชี ปลายปี - สุ ทธิ มูลค่ ายุติธรรม ราคาตามบัญชี และมูลค่ายุติธรรมของหุน้ กูใ้ นงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี้ ราคาตามบัญชี พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท - สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา - สกุลเงิ นบาท รวม

8,622 22,640 31,262

7,871 27,640 35,511

มูลค่ ายุติธรรม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 8,980 23,741 32,721

8,335 28,517 36,852

มูลค่ ายุติธรรมของหุ ้นกู้สกุลเงิ นบาทคํานวณโดยใช้อ ัตราดอกเบี้ ยที่ อ ้างอิ งล่าสุ ดจากสมาคมตลาดตราสารหนี้ ไทยในการคิ ดลด กระแสเงิ นสดเพื่อหามูลค่ายุติธรรม ส่ วนมูลค่ายุติธรรมของหุ ้นกูส้ กุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กาคํานวณโดยใช้อตั ราเฉลี่ ยสุ ดท้าย ที่อา้ งอิงในตลาดตราสารหนี้ ต่างประเทศ ณ วันปิ ดราคาล่าสุ ด มูลค่ายุติธรรมของเงิ นกูย้ ืมระยะสั้นที่ มีอตั ราดอกเบี้ ยคงที่มีมูลค่าใกล้เคี ยงกับราคาตามบัญชี เนื่ องจากระยะเวลาครบกําหนดที่ ส้ ัน ส่ วนเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นมีอตั ราดอกเบี้ยลอยตัว ดังนั้น มูลค่ายุติธรรมจึงใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

74

297


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 18

เงินกู้ยืม (ต่อ) วงเงินสิ นเชื่ อ กลุ่มบริ ษทั มีวงเงิ นสิ นเชื่ อจากธนาคารพาณิ ชย์เป็ นวงเงิ นรวม 55,682 ล้านบาท โดยมีอตั ราดอกเบี้ยอ้างอิงตามอัตราตลาด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีวงเงิ นสิ นเชื่ อคงเหลือจํานวน 35,565 ล้านบาท

19

เจ้ าหนี้การค้ า

หมายเหตุ - กิจการที่เกี่ ยวข้องกัน - กิจการอื่นๆ รวม 20

33

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 24,913 828 25,741

25,060 755 25,815

26,140 680 26,820

25,897 484 26,381

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท งบแสดงฐานะการเงิน ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น งบกําไรขาดทุน ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น

298

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

1,737 113 1,850

1,451 116 1,567

1,619 106 1,725

1,344 109 1,453

150 12 162

137 12 149

138 11 149

129 11 140

75


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 20

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) รายการเคลื่อนไหวของภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ระหว่างปี มีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท มูลค่าตามบัญชี ตน้ ปี ต้นทุนบริ การปัจจุบนั ต้นทุนดอกเบี้ย ต้นทุนบริ การในอดีตที่ยงั ไม่รับรู ้ตดั จําหน่าย ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิ ตศาสตร์ ประกันภัยที่ เกิดขึ้นจากการเปลี่ ยนแปลง ข้อสมมติทางการเงิ น จ่ายผลประโยชน์พนักงาน มูลค่าตามบัญชี ปลายปี

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

1,567 90 70 2

1,299 83 64 2

1,453 82 65 2

1,191 79 59 2

140 (19) 1,850

142 (23) 1,567

140 (17) 1,725

145 (23) 1,453

ต้นทุนบริ การปัจจุบนั และต้นทุนดอกเบี้ยรับรู ้ในงบกําไรขาดทุนทั้งจํานวน ค่าใช้จ่ายจํานวน 97 ล้านบาทและจํานวน 65 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 90 ล้านบาทและจํานวน 59 ล้านบาท) ได้รวมอยู่ใน ต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริ หารในงบการเงิ นรวม ตามลําดับ ค่าใช้จ่ ายจํานวน 87 ล้านบาทและจํานวน 62 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 82 ล้านบาทและจํานวน 58 ล้านบาท) ได้รวมอยู่ใน ต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายในการบริ หารในงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ ข้อสมมติฐานจากการประมาณการตามหลักคณิ ตศาสตร์ประกันภัยที่สําคัญ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะ การเงิ นเฉพาะบริ ษทั มีดงั ต่อไปนี้ พ.ศ. 2558 อัตราคิดลด ณ วันที่ 31 ธันวาคม อัตราการขึ้นเงิ นเดือน อัตราการลาออก

พ.ศ. 2557

ร้อยละ 3.4 ร้อยละ 4.4 ร้อยละ 4.5 ถึงร้อยละ 7.5 ร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 8 ร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 2 ร้อยละ 0 ถึงร้อยละ 2

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

76

299


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 20

ภาระผูกพันผลประโยชน์ พนักงาน (ต่อ) ผลกระทบต่ อภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ ที่กําหนดไว้ การเปลี่ยนแปลงในข้ อสมมติ การเพิ่มขึน้ ของข้ อสมมติ การลดลงของข้ อสมมติ อัตราคิดลด อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดื อน

ร้อยละ 1 ร้อยละ 1

ลดลง ร้อยละ 13 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 15

เพิ่มขึ้น ร้อยละ 16 ลดลง ร้อยละ 13

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวข้างต้นนี้ อา้ งอิ งจากการเปลี่ ยนแปลงข้อสมมติ ขณะที่ ให้ขอ้ สมมติ อื่นคงที่ ในทางปฏิบตั ิสถานการณ์ ดังกล่าวยากที่ จะเกิดขึ้ น และการเปลี่ยนแปลงในข้อสมมติอาจมีความสัมพันธ์กนั ในการคํานวณการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของ ภาระผูกพันผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ที่มีต่อการเปลี่ ยนแปลงในข้อสมมติหลักได้ใช้วิธีเดียวกับการคํานวณหนี้ สินบําเหน็จบํานาญ ที่รับรู ้ในงบแสดงฐานะการเงิ น ณ วันสิ้ นรอบระยะเวลารายงาน (มูลค่าปัจจุบนั ของภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์ที่กาํ หนดไว้ คํานวณด้วยวิธีคิดลดแต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ (Projected Unit Credit Method)) วิธีการและประเภทของข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทําการวิเคราะห์ความอ่อนไหวไม่ได้เปลี่ยนแปลงจากปี ก่อน กลุ่มบริ ษทั มีความเสี่ ยงที่ เกี่ ยวข้องกับโครงการผลประโยชน์เมื่ อเกษี ยณอายุที่กาํ หนดไว้ และโครงการผลประโยชน์ระยะยาวอื่ น โดยความเสี่ ยงที่มีนยั สําคัญมีดงั ต่อไปนี้ การเปลี่ยนแปลงในอัตราผลตอบแทนที่แท้จริ งของพันธบัตร อัตราผลตอบแทนที่แท้จริ งของพันธบัตรรัฐบาล ที่ลดลงจะทําให้หนี้ สินของโครงการเพิ่มสู งขึ้น ระยะเวลาถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์คือ 19 ปี กลุม่ บริ ษทั ใช้กระแสเงิ นสดจากกิจกรรมดําเนิ นงานมาจ่ายผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุและผลประโยชน์ระยะยาวอื่น การวิเคราะห์การครบกําหนดของการจ่ายชําระผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุที่กาํ หนดไว้ และผลประโยชน์ระยะยาวอื่น:

ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวม

300

ผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ ผลประโยชน์ระยะยาวอื่น รวม

น้ อยกว่ า 1 ปี ล้านบาท

ระหว่ าง 1-5 ปี ล้านบาท

เกินกว่ า 5 ปี ล้านบาท

งบการเงินรวม รวม ล้านบาท

29 20 49

152 33 185

1,556 60 1,616

1,737 113 1,850

น้ อยกว่ า 1 ปี ล้านบาท

ระหว่ าง 1-5 ปี ล้านบาท

29 19 48

150 29 179

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท เกินกว่ า 5 ปี รวม ล้านบาท ล้านบาท 1,440 58 1,498

1,619 106 1,725 77


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 21

ทุนเรื อนหุ้นและส่ วนเกินมูลค่ าหุ้น

จํานวนหุ้น ล้านหุ้น ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 การออกหุน้ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

20,434 20,434

ส่ วนเกิน หุ้นสามัญ มูลค่ าหุ้นสามัญ ล้านบาท ล้านบาท 20,434 20,434

28,554 28,554

รวม ล้านบาท 48,988 48,988

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หุ ้น สามัญ จดทะเบี ยนทั้งหมดมี จาํ นวน 20,475 ล้านหุ ้น ซึ่ งมี ราคามู ลค่ าที่ ตราไว้หุ้นละ 1 บาท หุน้ จํานวน 20,434 ล้านหุน้ ได้ออกและชําระเต็มมูลค่าแล้ว 22

สํ ารองตามกฎหมาย งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 จัดสรรระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 จัดสรรระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558

2,048 2,048 2,048

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

2,048 2,048 2,048

2,048 2,048 2,048

2,048 2,048 2,048

ตามพระราชบัญญัติบริ ษ ัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 บริ ษ ัทต้องสํ ารองตามกฎหมายอย่างน้อยร้ อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิ ห ลังจาก หักส่ วนของขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองนี้ จะมีมูลค่าไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ10 ของทุนจดทะเบียน สํารองตามกฎหมาย ไม่สามารถจัดสรรได้ บริ ษทั ได้จดั สรรเงิ นสํารองตามกฎหมายครบเต็มจํานวนตามที่กฎหมายกําหนดแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

78

301


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 23

หุ้นทุนซื้อคืน - หุ้นของบริ ษัทที่ถือโดยบริ ษัทย่ อย งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท บริ ษทั นํ้ามัน ไออาร์พีซี จํากัด รวม

124 124

124 124

ณ วันที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 หุ ้นสามัญของบริ ษทั จํานวน 23,828,400 หุ ้น ถื อโดยบริ ษ ัทย่อยแห่ งหนึ่ งได้แก่ บริ ษทั นํ้ามัน ไออาร์พีซี จํากัด (พ.ศ. 2557 จํานวน 23,828,400 หุน้ ) โดยหุน้ เหล่านี้ แสดงด้วยราคาทุนและได้นาํ ไปแสดงไว้เป็ นรายการหักก่อน แสดงส่ วนของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ย่อยมีแผนจะจําหน่ายหุน้ ของบริ ษทั เมื่อผลตอบแทนมีมูลค่าสู งกว่าราคาทุน 24

ส่ วนได้ เสี ยที่ไม่ มีอาํ นาจควบคุม งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ยอดคงเหลือต้นปี ส่ วนแบ่งกําไรสุ ทธิ เงิ นปันผลจ่าย ยอดคงเหลือปลายปี

302

70 22 (18) 74

68 21 (19) 70

79


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 25

รายได้ อนื่ - สุ ทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ดอกเบี้ยรับ เงิ นปันผลรับ กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กําไร(ขาดทุน) จากสัญญาที่เกี่ยวกับการป้ องกัน ความเสี่ ยงของนํ้ามันดิบและผลิ ตภัณฑ์เกี่ยวกับนํ้ามัน รายได้รับคืนจากภาษีนาํ เข้าศุลกากร การกลับรายการค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญของรายการกับ กลุ่มผูบ้ ริ หารเดิมและกิจการที่ เกี่ยวข้อง - เงิ นมัดจําสัญญาเช่าอาคารระยะยาว - เงิ นให้กยู้ ืมแก่กลุ่มผูบ้ ริ หารเดิม ค่าเผื่อการด้อยค่าเงิ นลงทุนระยะยาวอื่น กลับรายการค่าเผื่อการด้อยค่าของเงิ นลงทุนใน บริ ษทั ย่อยที่อยูร่ ะหว่างการชําระบัญชี กําไรจากการจําหน่ายเงิ นลงทุนในบริ ษทั ย่อย และบริ ษทั ร่ วม กําไรจากการจําหน่ายเงิ นลงทุนระยะยาวอื่น กําไร(ขาดทุน) จากการจําหน่ายสิ นทรัพย์ถาวรและ อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน กลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่าของ สิ นทรัพย์ถาวรและอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน ค่าเผื่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์จากเหตุการณ์เพลิงไหม้ กลับรายการค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญและ ตัดจําหน่ายหนี้ สูญ เงิ นชดเชยค่าสิ นไหมทดแทนจากประกันภัย อื่นๆ รวม

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

30 27 896

82 38 1,002

219 2,302 894

275 259 998

(1,176) 133

1,725 219

(1,176) 133

1,725 219

-

470 3,289 (3,289)

-

420 3,287 (3,287)

-

-

23

-

-

50 167

191 -

50 78

(250)

253

(241)

252

268 -

10 (267)

267 -

(267)

2,823 1,313 284 4,348

1,710 347 5,806

2,766 1,313 381 7,072

1,710 437 6,156

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

80

303


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 26

ค่ าใช้ จ่ายในการบริ หาร

หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายพนักงาน ค่าที่ปรึ กษา ค่าเสื่ อมราคา ค่าเช่า ค่าโฆษณา หนี้ สงสัยจะสู ญ ค่าตอบแทนกรรมการ อื่นๆ

14

รวม 27

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 3,066 281 195 150 55 40 29 1,149 4,965

2,549 538 189 188 75 4 34 764 4,341

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 2,948 288 88 168 54 41 20 1,126 4,733

2,457 430 93 181 74 4 31 876 4,146

ค่ าใช้ จ่ายพนักงาน งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงิ นเดือนและค่าแรง ค่าล่วงเวลา โบนัส จ่ายสมทบเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชี พและประกันสังคม ผลประโยชน์พนักงาน อื่นๆ รวม

3,629 588 2,072 361 162 1,431 8,243

3,443 521 1,121 349 149 1,181 6,764

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 3,290 520

3,128 460

1,897

1,023

333 149 1,266 7,455

322 140 1,054 6,127

ค่าใช้จ่ายพนักงานจํานวน 5,177 ล้านบาท และ 4,507 ล้านบาท ได้รวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของต้นทุนขายในงบกําไรขาดทุนรวมและ งบกําไรขาดทุ นเฉพาะบริ ษ ัทสํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ตามลําดับ (พ.ศ. 2557 จํานวน 4,215 ล้านบาท และ 3,670 ล้านบาทในงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ) ค่าใช้จ่ายพนักงานจํานวน 3,066 ล้านบาท และ 2,948 ล้านบาท ได้รวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการบริ หารในงบกําไรขาดทุนรวมและ งบกําไรขาดทุ นเฉพาะบริ ษ ัทสํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวัน ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ตามลําดับ (พ.ศ. 2557 จํานวน 2,549 ล้านบาท และ 2,457 ล้านบาท ในงบกําไรขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ)

304

81


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 28

ต้ นทุนทางการเงิน งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ดอกเบี้ยจ่าย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงิ นกูย้ ืม และดอกเบี้ยค้างจ่าย (กําไร) ขาดทุนจากสัญญาแลกเปลี่ ยนเงิ นตราต่างประเทศ และสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ ยล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายในการกูย้ ืม รวม

29

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

981

1,515

1,007

1,549

1,289

70

1,282

74

193 18 2,481

(112) 21 1,494

193 18 2,500

(112) 21 1,532

ภาษีเงินได้ งบการเงินรวม

ภาษีเงิ นได้ในปี ปัจจุบนั ภาษีเงิ นได้รอตัดบัญชี

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

พ.ศ. 2558 ล้านบาท

พ.ศ. 2557 ล้านบาท

39 2,307 2,346

72 (2,470) (2,398)

2,311 2,311

(2,491) (2,491)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั มี ขาดทุนสะสมยกมาซึ่ งยังสามารถนํามาใช้ประโยชน์ทางภาษี ได้ จึ งไม่มีภาษี เงิ นได้ใน งบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ส่ วนภาษีเงิ นได้ที่แสดงในงบกําไรขาดทุนรวมคํานวณจากกําไรสุ ทธิ ทางภาษีของบริ ษทั ย่อยในอัตราร้อยละ 20 ต่อปี

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

82

305


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 29

ภาษีเงินได้ (ต่อ) ภาษีเงิ นได้สําหรับกําไร (ขาดทุน) ก่อนภาษี เงิ นได้ของกลุ่มบริ ษทั มี ยอดจํานวนที่แตกต่างจากการคํานวณกําไรทางบัญชี คูณกับ อัตราภาษี โดยมีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท กําไร(ขาดทุน)ก่อนภาษี ภาษีคาํ นวณจากอัตราภาษีร้อยละ 20 ผลกระทบ: ผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ร่ วมสุ ทธิ จากภาษี รายได้ที่ตอ้ งถือเป็ นรายได้ทางภาษี รายได้ที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี รายได้ที่ได้รับลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษี ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถหักภาษี ค่าใช้จ่ายที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษี ขาดทุนทางภาษีในรอบระยะเวลาบัญชี ก่อน ที่รับรู ้เป็ นภาษีเงิ นได้รอตัดบัญชี ภาษีเงิ นได้

306

11,769

(7,611)

14,142

(7,703)

2,354

(1,522)

2,828

(1,540)

37 115 (189) (112) 143 (2)

28 53 (119) (69) 34 (2)

115 (614) (112) 96 (2)

30 (145) (69) 36 (2)

2,346

(801) (2,398)

2,311

(801) (2,491)

83


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 30

กําไร (ขาดทุน) ต่ อหุ้น กําไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ ที่เป็ นของผูถ้ ือหุ ้นสามัญของบริ ษทั ใหญ่ดว้ ยจํานวน หุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ถือโดยผูถ้ ือหุน้ โดยไม่รวมหุน้ สามัญซื้ อคืน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

พ.ศ. 2557

9,402

(5,235)

11,831

(5,211)

20,410

20,410

20,434

20,434

0.46

(0.26)

0.58

(0.26)

.

กําไร (ขาดทุน) สุ ทธิ ส่วนที่เป็ นของบริ ษทั ใหญ่ (ล้านบาท) จํานวนหุน้ สามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ออกจําหน่าย ในระหว่างปี หักด้วยหุน้ ของบริ ษทั ใหญ่ ที่ถือโดยบริ ษทั ย่อย (ล้านหุน้ ) กําไร (ขาดทุน) ต่อหุน้ ขั้นพื้นฐานที่เป็ นของ บริ ษทั ใหญ่ (บาท)

ในงบการเงิ นรวมจํานวนหุ ้น สามัญ ถัวเฉลี่ ยถ่วงนํ้าหนักที่ ออกจําหน่ ายในระหว่างปี ได้หักด้วยหุ ้นของบริ ษทั ใหญ่ ที่ถือโดย บริ ษทั ย่อยเป็ นจํานวน 24 ล้านหุน้ กลุม่ บริ ษทั ไม่มีการออกหุน้ สามัญเทียบเท่าปรับลดในระหว่างงวดที่นําเสนอรายงาน ดังนั้นจึงไม่มีการนําเสนอกําไรต่อหุน้ ปรับลด 31

เงินปันผล ที่ประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี ของบริ ษทั เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558 มี มติ อนุ มตั ิการจ่ายเงิ นปั นผลจากผลการดําเนิ นงาน ของปี พ.ศ. 2557 ในอัตราหุน้ ละ 0.08 บาทต่อหุน้ สําหรับหุน้ จํานวน 20,434 ล้านหุน้ รวมเป็ นเงิ นทั้งสิ้ นประมาณ 1,635 ล้านบาท ซึ่ งเงิ นปั นผลดังกล่าวได้จ่ายให้ผูถ้ ื อหุ ้นในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558 (พ.ศ. 2557 เงิ นปั นผลจ่ายจากดําเนิ นงานปี พ.ศ. 2556 จํานวน 0.10 บาทต่อหุน้ เป็ นจํานวนเงิ นทั้งสิ้ น 2,043 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

84

307


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 32

สิ ทธิประโยชน์ ตามบัตรส่ งเสริ มการลงทุน คณะกรรมการส่ งเสริ มการลงทุนอนุ มตั ิให้บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยแห่งหนึ่ งได้รับสิ ทธิ ประโยชน์หลายประการในฐานะผูไ้ ด้รับ การส่ งเสริ มการลงทุ นตามพระราชบัญ ญัติ ส่ งเสริ มการลงทุ น พ.ศ. 2520 เกี่ ยวกับการผลิ ต Acetylene Black , Compounded Plastic, โครงการโรงไฟฟ้ าพลังงานร่ วมและไอนํ้า (‘CHP’) โครงการ Propylene (‘PRP’) โครงการ Blown Film โครงการ Recovery from Purge Gas at PP Plant โครงการ EBSM Upgrading for ABS Specialties (‘EBSM’) โครงการ Multi Product Pipeline (‘MPPL’) โครงการ HDPE Catalyst Commercialisation (‘Jet Mill’) และโครงการลงทุนในเขตอุตสาหกรรมซึ่ งพอสรุ ปสาระสําคัญได้ดงั นี้ (ก) ให้ได้รับยกเว้นอากรขาเข้าและภาษี สําหรับ วัตถุดิบ และวัสดุ จาํ เป็ นรวมถึ งเครื่ องจักรที่ ไ ด้รับอนุ มตั ิ โดยคณะกรรมการ ส่ งเสริ มการลงทุน (ข) ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงิ นได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุ ทธิ ที่ได้จากการประกอบกิ จการที่ ได้รับการส่ งเสริ มมีกาํ หนดเวลาห้าปี ถึงแปดปี นับแต่วนั ที่เริ่ มมีรายได้จากการประกอบกิจการนั้น (ค) ให้ไ ด้รับ ลดหย่อนภาษี เงิ น ได้นิ ติบุ คคลร้ อยละ 50 สํ าหรับ กําไรสุ ท ธิ ที่ ได้จ ากการประกอบกิ จ การที่ ได้รับการส่ งเสริ ม มีกาํ หนดเวลาห้าปี นับแต่วนั สิ้ นสุ ดสิ ทธิ ประโยชน์ตามข้อ (ข) และ (ง) ให้ได้รับอนุ ญาตให้หักค่าขนส่ ง ค่าไฟฟ้ า และค่าประปาเป็ นสองเท่าของค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็ นระยะเวลาอี ก 10 ปี นับแต่ วันที่มีรายได้ เนื่ องจากเป็ นกิ จการที่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุน บริ ษทั และบริ ษทั ย่อยจะต้องปฏิ บตั ิตามเงื่ อนไขและข้อกําหนดตามที่ระบุไว้ ในบัตรส่ งเสริ มการลงทุน รายได้จากการขายที่ ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนและที่ ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนที่ แสดงในงบกําไรขาดทุนสําหรับปี สิ้ นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 แสดงได้ดงั นี้ งบการเงินเฉพาะบริ ษัท ส่ วนที่ได้ รับ ส่ วนที่ไม่ ได้ รับ การส่ งเสริ ม การส่ งเสริ ม รวม ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท พ.ศ. 2558 รายได้จากการขาย - ต่างประเทศ - ในประเทศ รวม พ.ศ. 2557 รายได้จากการขาย - ต่างประเทศ - ในประเทศ รวม

308

702 5,230 5,932

68,546 148,033 216,579

69,248 153,263 222,511

1,754 4,673 6,427

89,535 197,109 286,644

91,289 201,782 293,071

บริ ษทั มิได้มีการเปิ ดเผยรายได้จากการขายที่ รับการส่ งเสริ มการลงทุนและที่ ไม่ได้รับการส่ งเสริ มการลงทุนสําหรับงบการเงิ นรวม เนื่ องจากรายได้จากการขายของบริ ษทั ย่อยที่ได้รับสิ ทธิ ประโยชน์น้ นั เป็ นรายได้จากการขายที่จาํ หน่ายให้กบั บริ ษทั ทั้งจํานวน 85


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน กิจการและบุคคลที่ ควบคุมบริ ษทั หรื อถูกควบคุมโดยบริ ษทั หรื ออยูภ่ ายใต้การควบคุมเดียวกับบริ ษทั ทั้งทางตรงหรื อทางอ้อม ไม่วา่ จะโดยทอดเดี ยวหรื อหลายทอด กิ จการและบุค คลดังกล่ าวเป็ นบุค คลหรื อกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกับ บริ ษ ัท บริ ษทั ย่อยและ บริ ษ ทั ย่อ ยลําดับถัดไป บริ ษ ัท ร่ ว มและบุ ค คลที่ เป็ นเจ้าของส่ ว นได้เสี ยในสิ ท ธิ ออกเสี ยงของบริ ษ ัท ซึ่ ง มี อิท ธิ พ ลอย่า งเป็ น สาระสําคัญเหนื อกิ จการ ผูบ้ ริ หารสําคัญรวมทั้งกรรมการและพนักงานของบริ ษทั ตลอดจนสมาชิ กในครอบครัวที่ ใกล้ชิดกับ บุคคลเหล่านั้น กิจการและบุคคลทั้งหมดถือเป็ นบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ในการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรื อกิจการที่เกี่ ยวข้องกันซึ่ งอาจมี ข้ ึนได้ตอ้ งคํานึ งถึงรายละเอียดของความสัมพันธ์ มากกว่ารู ปแบบความสัมพันธ์ตามกฎหมาย ผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 ได้แก่ บริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ซึ่ งถื อหุ ้นใน บริ ษทั คิ ดเป็ นอัตราร้อยละ 38.51 ส่ วนผูถ้ ือหุน้ ในลําดับรองลงมาได้แก่ ธนาคารออมสิ น กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (กบข.) และบริ ษทั ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด นโยบายการกําหนดราคาสําหรับรายการแต่ละประเภทอธิ บายได้ดงั ต่อไปนี้ รายการ รายได้จากการขายสิ นค้า รายการซื้ อสิ นค้า ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ส่ วนใหญ่ได้แก่ ค่าผ่านท่อและค่าเช่าถังที่คลังสิ นค้า ดอกเบี้ยรับและดอกเบี้ยจ่าย

ค่าตอบแทนกรรมการ ได้แก่ เบี้ยประชุม และโบนัส

นโยบายการกําหนดราคา ราคาตลาด ตามรายละเอียดที่อธิ บายไว้ขา้ งล่าง ราคาที่ ตกลงกันตามสัญญา ระยะสั้ น - อั ต ราดอกเบี้ ยเงิ น กู้ร ะหว่ า งธนาคารพาณิ ชย์ (BIBOR) ถัวเฉลี่ย 1 เดือนและถัวเฉลี่ย 6 เดือนปรับเพิ่มด้วยส่ วนต่างคงที่ ระยะยาว - อัตราดอกเบี้ ยเงิ นฝากประจําเฉลี่ยธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศ สี่ แห่ง และอัตราดอกเบี้ยลูกค้ารายใหญ่ช้ นั ดีประเภทเงิ นกูร้ ะยะยาวที่ มี กําหนดเวลาที่แน่นอน (MLR) ปรับลดด้วยส่ วนต่างคงที่ ตามอัตราที่ ได้รับอนุมตั ิโดยคณะกรรมการและผูถ้ ือหุน้

สําหรับรายการซื้ อสิ นค้าจากผูถ้ ื อหุน้ ใหญ่ ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ทาํ หน้าที่ให้บริ การดําเนิ นการจัดการเกี่ยวกับการซื้ อและการชําระเงิ นค่าซื้ อ สิ นค้า ซึ่ งค่าสิ นค้าบวกอัตราค่าบริ การที่ เรี ยกเก็บโดยผูถ้ ื อหุ ้นใหญ่ ใกล้เคี ยงกับราคาที่ กลุ่มบริ ษทั จัดหาเอง นอกจากนี้ บริ ษทั ยังมี การทํารายการเกี่ ยวกับอนุ พนั ธ์เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิ ตภัณฑ์กบั ผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ดว้ ย ส่ วนรายการซื้ อสิ นค้า จากบริ ษทั ย่อยใช้เกณฑ์ราคาต้นทุนบวกส่ วนเพิ่ม

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

86

309


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกันสรุ ปได้ดงั นี้ (ก)

รายการซื้อขายสิ นค้ า การให้ บริ การและรั บบริ การ รายการระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 มีดงั นี้ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

ขายสิ นค้ า - ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ - บริ ษทั ย่อย - บุคคลหรื อบริ ษทั อื่นที่เกี่ ยวข้องกัน

19,806 32,150

28,444 49,071

19,475 18,204 32,066

28,067 24,495 49,037

ซื้อสิ นค้ า - ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ - บริ ษทั ย่อย - บุคคลหรื อบริ ษทั อื่นที่เกี่ ยวข้องกัน

128,922 26,247

175,327 70,934

128,921 13,815 24,967

175,325 17,126 69,175

ค่ าใช้ จ่ายในการขายและบริ หาร - ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ - บริ ษทั ย่อย - บุคคลหรื อบริ ษทั อื่นที่เกี่ ยวข้องกัน

50 1,569

53 1,009

49 239 1,458

53 229 917

ดอกเบีย้ รั บ เงินปันผลรั บ และรายได้ อน่ื - สุ ทธิ - ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ - บริ ษทั ย่อย - บุคคลหรื อบริ ษทั อื่นที่เกี่ ยวข้องกัน

20 1,116

454 1,728

20 2,500 1,113

454 521 1,725

รายได้อื่น - สุ ทธิ ซึ่ งเกิดจากรายการเกี่ ยวกับอนุ พนั ธ์เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงด้านราคาวัตถุดิบและผลิ ตภัณฑ์แสดงเฉพาะ ส่ วนที่เกิดจริ งในปี เท่านั้น

310

87


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกันสรุ ปได้ดงั นี้ (ต่อ) (ข)

ลูกหนี้การค้ ากิจการที่เกีย่ วข้ องกัน - สุ ทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการที่ เกี่ยวข้องกันอื่น หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

(ค)

866 1,993 2,859 2,859

1,099 2,877 3,976 (7) 3,969

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 845 1,014 1,963 3,822 3,822

1,045 982 2,872 4,899 (7) 4,892

ลูกหนี้กิจการหรื อบุคคลที่เกีย่ วข้ องกัน - สุ ทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ลูกหนี้อนื่ และเงินทดรองจ่ าย ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บุคคลหรื อกิจการที่เกี่ยวข้องกันอื่น หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

13 69

23 1,068

13 33 50

23 29 1,048

82 (61) 21

1,091 (61) 1,030

96 (53) 43

1,100 (55) 1,045

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

88

311


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกันสรุ ปได้ดงั นี้ (ต่อ) (ง)

เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ นและดอกเบีย้ ค้ างรั บจากกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน - สุ ทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงินให้ ก้ยู ืมระยะสั้ นและดอกเบีย้ ค้ างรั บ บริ ษทั ย่อย หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ บริ ษัทย่ อยที่อยู่ภายใต้ กระบวนการล้ มละลาย - ลูกหนี้ เงิ นทดรองจ่าย - เงิ นให้กยู้ ืมระยะสั้นและดอกเบี้ยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ รวม สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

-

-

3,825 3,825

651 651

56 145 (201) -

56 145 (201) -

56 145 (201) 3,825

56 145 (201) 651

อัตราดอกเบี้ ย ถัวเฉลี่ ยของเงิ น ให้กู้ยื มระยะสั้ นแก่ กิ จการที่ เกี่ ย วข้อ งกัน คื อ อัตราร้อ ยละ 2.06 ถึ งร้อ ยละ 2.14 ต่ อ ปี (พ.ศ. 2557 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.59 ถึ งร้อยละ 2.68 ต่อปี ) รายการที่ ต้ งั ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญได้มีการหยุดคิ ดดอกเบี้ ย ระหว่างกันแล้ว

312

89


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกันสรุ ปได้ดงั นี้ (ต่อ) (จ)

เงินให้ ก้ยู ืมและดอกเบีย้ ค้ างรั บแก่กิจการที่เกีย่ วข้ องกัน - สุ ทธิ งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงินให้ ก้ยู ืมระยะยาวและดอกเบีย้ ค้ างรั บ บริ ษทั ย่อย หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ บริ ษัทย่ อยที่อยู่ภายใต้ กระบวนการล้ มละลาย - ลูกหนี้ เงิ นทดรองจ่าย - เงิ นให้กยู้ ืมระยะสั้นและดอกเบี้ ยค้างรับ - เงิ นให้กยู้ ืมระยะยาวและดอกเบี้ยค้างรับ หัก ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ สุ ทธิ รวม สุ ทธิ

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

-

-

3,492 3,492

3,494 3,494

-

73 1,252 5,415 (3,430) 3,310 3,310

3,492

73 403 5,331 (2,714) 3,093 6,587

อัตราดอกเบี้ ย ถัว เฉลี่ ย ถ่ ว งนํ้ าหนั ก ของเงิ น ให้ กู้ยื ม ระยะยาวแก่ กิ จ การที่ เกี่ ย วข้อ งกัน คื อ อัตราร้ อ ยละ 4.98 ต่ อ ปี (พ.ศ. 2557 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.23 ต่อปี ) เมื่ อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้มี การซื้ อที่ ดินของบริ ษ ัท ที พี ไอ อะโรเมติ กส์ จํากัด (มหาชน) จากการขาย ทอดตลาดสิ นทรั พ ย์ข องเจ้า พนั ก งานพิ ท ัก ษ์ ท รั พ ย์ต ามมติ ที่ ป ระชุ ม เจ้า หนี้ เมื่ อ เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2558 จํา นวน 103 แปลง เป็ นจํานวนเงิ นรวม 4,244 ล้านบาท โดยเงิ น ที่ ได้รับจากการขายที่ ดินของบริ ษ ทั ที พีไอ อะโรเมติ กส์ จํากัด (มหาชน) ได้มีการใช้ชําระหนี้ ให้กบั กลุ่มบริ ษทั จํานวน 3,878 ล้านบาท โดยเป็ นการชําระหนี้ ให้กบั บริ ษทั ซึ่ งเป็ นเจ้าหนี้ ที่มีหลักประกัน จํานวน 1,776 ล้านบาท (จํานวนเงิ นที่ รวมเงิ นต้นและดอกเบี้ยสะสมที่อตั ราร้อยละ 7.50 ต่อปี จนถึงวันที่ มติ ที่ ประชุ มเจ้าหนี้ ให้ขายทอดตลาดสิ น ทรัพ ย์) ส่ ว นเงิ นที่ เหลื อจํานวน 2,102 ล้านบาท ได้จ่ายชําระคื นให้กบั เจ้าหนี้ กลุ่ ม บริ ษ ัท แต่ ล ะรายโดยแบ่ ง ตามสั ดส่ ว นหนี้ ที่ ยื่น ขอรั บ ชํ าระ โดยกลุ่ ม บริ ษ ัท ได้รั บ ชํ าระเสร็ จ สิ้ นแล้ว เมื่ อ วัน ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2558 ดังนั้น ในระหว่างปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั ได้กลับรายการค่าเผื่อหนี้ สงสัย จะสู ญจํานวน 2,823 ล้านบาท และ 2,766 ล้านบาท (ซึ่ งเป็ นจํานวนที่รวมดอกเบี้ยค้างรับของหนี้ ท่ี มีประกันจํานวน 620 ล้านบาท) ในงบการเงิ นรวมและงบการเงิ นเฉพาะบริ ษทั ตามลําดับ เมื่ อวัน ที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ศาลล้มละลายกลางได้มีค ําสั่ง อนุ ญ าตให้ปิดคดี และเจ้าพนักงานพิท ักษ์ทรั พย์ไ ด้ ดําเนิ น การเกี่ ยวกับ ทรัพ ย์สิ น และหนี้ สิ น ของ บริ ษทั ที พี ไอ อะโรเมติ กส์ จํากัด (มหาชน) เสร็ จสิ้ น บริ ษ ัท จึ งทําการ ตัดจําหน่ายสิ นทรัพย์และหนี้ สินทั้งจํานวนแล้วในงบแสดงฐานะการเงิ นรวมและงบแสดงฐานะการเงิ นเฉพาะบริ ษทั รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

90

313


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกันสรุ ปได้ดงั นี้ (ต่อ) (ฉ) เจ้ าหนี้การค้ ากิจการที่เกีย่ วข้ องกัน

ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการที่ เกี่ยวข้องกันอื่น รวม (ช)

เจ้ าหนี้กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน

เจ้ าหนี้อนื่ และเงินทดรองจ่ าย ผูถ้ ือหุน้ ใหญ่ บริ ษทั ย่อย กิจการที่ เกี่ยวข้องกันอื่น รวม

314

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 22,758 2,155 24,913

22,752 2,308 25,060

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 4 180 184

57 98 155

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 22,758 1,322 2,060 26,140

22,752 981 2,164 25,897

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 4 14 173 191

57 14 90 161

91


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 33

รายการกับบุคคลหรื อกิจการที่เกีย่ วข้ องกัน (ต่อ) รายการที่สําคัญกับบุคคลหรื อกิจการที่ เกี่ยวข้องกันสรุ ปได้ดงั นี้ (ต่อ) (ซ)

เงินกู้ยืมและดอกเบีย้ ค้ างจ่ ายแก่ กจิ การที่เกีย่ วข้ องกัน งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงินกู้ยืมระยะสั้ นและดอกเบีย้ ค้ างจ่ าย บริ ษทั ย่อย รวม บริ ษัทย่ อยที่อยู่ภายใต้ กระบวนการล้ มละลาย เงิ นกูย้ ืมและดอกเบี้ ยค้างจ่าย รวม

(ฌ)

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

23 23

-

23 23

169 169

-

2,255 2,255

-

2,255 2,255

ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริ หาร งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท เงิ นเดือนและผลประโยชน์ระยะสั้นอื่น รวม

157 157

96 96

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 147 147

85 85

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

92

315


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 34

รายการกับกลุ่มผู้บริ หารเดิมและกิจการที่เกีย่ วข้ องกับกลุ่มผู้บริ หารเดิม - สุ ทธิ กลุ่ มบริ ษ ัทมี รายการกับกลุ่มผูบ้ ริ หารเดิ ม คื อ คุ ณประชัย เลี่ ยวไพรัตน์ และครอบครั ว และกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกับกลุ่ มผูบ้ ริ ห ารเดิ ม ซึ่ งในอดีตเคยเป็ นกิ จการที่เกี่ ยวข้องกัน โดยยอดคงค้างจากเหตุการณ์ ในอดี ตส่ วนใหญ่ที่กลุ่มบริ ษทั มี กบั กลุ่มผูบ้ ริ หารเดิมและ กิจการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผูบ้ ริ หารเดิมได้มีการตั้งสํารองเต็มจํานวนแล้ว รายการกับกลุ่ มผูบ้ ริ หารเดิ มและกิ จการที่ เกี่ ยวข้องกับกลุ่ มผูบ้ ริ หารเดิ ม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 สามารถ สรุ ปได้ดงั ต่อไปนี้

สั ดส่ วนการถือหุ้น พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 เงินลงทุนระยะยาวอืน่ บริ ษทั พรชัยวิสาหกิจ จํากัด บริ ษทั ทีพีไอ อี โออีจี จํากัด บริ ษทั ทีพีไอ โฮลดิ้ง จํากัด บริ ษทั อุตสาหกรรมเหล็กกล้าไทย จํากัด (มหาชน) หัก ค่าเผื่อการด้อยค่า สุ ทธิ

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

23.65 36.31 35.00

23.65 36.31 35.00

1,119 829 1,416

1,119 829 1,416

1,117 829 1,416

1,117 829 1,416

16.24

16.24

673 4,037 (4,037) -

673 4,037 (4,037) -

673 4.035 (4,035) -

673 4,035 (4,035) -

กลุ่มบริ ษทั มี เงิ นลงทุ นในบริ ษ ัท พรชัยวิสาหกิ จ จํากัด บริ ษ ทั ที พีไ อ อี โออี จี จํากัด บริ ษ ัท ที พี ไอ โฮลดิ้ ง จํากัด และบริ ษ ัท อุตสาหกรรมเหล็กกล้าไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ จดั ตั้งและดําเนิ น งานในประเทศไทยในสั ดส่ วน ร้อยละ 23.65 ร้อยละ 36.31 ร้อยละ 35.00 และร้อยละ 16.24 ของจํานวนหุ ้น สามัญทั้งหมดในแต่ละบริ ษทั ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม บริ ษ ัท ไม่มีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการบริ ษทั ทั้ง 4 แห่ง โดยกลุ่มบริ ษทั ได้พิจารณาการด้อยค่าของเงิ นลงทุนทั้งหมดดังกล่าวแล้ว

316

93


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 35

เครื่ องมือทางการเงิน (ก)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 และ พ.ศ. 2557 กลุ่มบริ ษัทมีสินทรั พย์ และหนี้สินทางการเงินที่เป็ นเงินตราต่ างประเทศ ดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะบริ ษทั พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท สิ นทรั พย์ สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงิ นยูโร รวม หนี้สิน สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา - หุน้ กู้ สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา - เงิ นกูย้ ืม สกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กา สกุลเงิ นยูโร สกุลเงิ นอื่นๆ รวม

(ข)

4,050 49 4,099

4,860 27 4,887

4,020 49 4,069

4,786 27 4,813

8,628 5,982 146 7 6 14,769

7,881 5,795 228 6 13,910

8,628 5,982 101 4 2 14,717

7,881 5,795 58 2 13,736

กลุ่มบริ ษัทมีสัญญาที่เกีย่ วข้ องกับอนุพันธ์ ทางการเงิน ดังต่ อไปนี้ สั ญญาแลกเปลีย่ นอัตราดอกเบีย้ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553 บริ ษทั เข้าทําสัญญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวสกุลเงิ นบาทจํานวน 2 สัญญากับสถาบันการเงิ น 2 แห่ ง เป็ นจํานวนเงิ นรวม 2,200 ล้านบาท โดยแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ยลอยตัว THBFIX 6 เดื อ นต่ อปี เป็ นอัตราดอกเบี้ ยคงที่ สัญ ญามี ระยะเวลา 7 ปี โดยเริ่ มมี ผลบัง คับ ใช้ต้ งั แต่ วนั ที่ 30 ธัน วาคม พ.ศ. 2552 ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดคงเหลื อตามสั ญ ญาแลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยของเงิ น กู้ยืม ระยะยาวสกุล เงิ น บาท มีจาํ นวนรวม 440 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 880 ล้านบาท)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

94

317


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 35

เครื่ องมือทางการเงิน (ต่อ) (ข)

กลุ่มบริ ษัทมีสัญญาที่เกีย่ วข้ องกับอนุพันธ์ ทางการเงิน ดังต่ อไปนี้ (ต่อ) สั ญญาแลกเปลีย่ นสกุลเงินต้ นและอัตราดอกเบีย้ บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาแลกเปลี่ ยนเงิ นต้นและอัตราดอกเบี้ ยของหุ ้นกูส้ กุลเงิ นบาทจํานวน 2,640 ล้านบาท โดยเปลี่ ยนเป็ น เงิ นต้นสกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กาตามอัตราแลกเปลี่ ยนที่กาํ หนดตามสัญญา และเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ ยจากอัตราคงที่ สกุลเงิ น บาทเป็ นอัตราดอกเบี้ ยคงที่ ส กุลเงิ น เหรี ยญสหรัฐ อเมริ กา สั ญ ญาเริ่ ม มี ผ ลบัง คับ ใช้ต้ งั แต่ว นั ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ถึงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ซึ่ งเป็ นวันครบกําหนดไถ่ถอนหุ ้นกู้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดคงเหลื อ ตามสัญ ญาแลกเปลี่ ยนสกุล เงิ น ต้น และอัตราดอกเบี้ ยของหุ ้น กู้สกุลเงิ น บาทมี จ ํานวนรวม 2,640 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 2,640 ล้านบาท) บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาแลกเปลี่ยนเงิ นต้นและอัตราดอกเบี้ ยของหุ ้นกูส้ กุลเงิ นบาทจํานวน 5,000 ล้านบาท โดยเปลี่ ยนเป็ น เงิ นต้นสกุลเงิ นเหรี ยญสหรัฐอเมริ กาตามอัตราแลกเปลี่ยนที่ กาํ หนดตามสัญญา และเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยจากอัตราคงที่ สกุลเงิ น บาทเป็ นอัตราดอกเบี้ ยคงที่ สกุลเงิ น เหรี ยญสหรัฐ อเมริ กา สั ญ ญาเริ่ ม มี ผลบัง คับ ใช้ต้ งั แต่ วนั ที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2555 ถึ งวันที่ 24 สิ งหาคม พ.ศ. 2561 ซึ่ งเป็ นวันครบกําหนดไถ่ถอนหุน้ กู้ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ยอดคงเหลื อ ตามสัญ ญาแลกเปลี่ ยนสกุล เงิ นต้น และอัตราดอกเบี้ ย ของหุ ้น กูส้ กุล เงิ นบาทมี จาํ นวนรวม 5,000 ล้านบาท (พ.ศ. 2557 จํานวน 5,000 ล้านบาท) สั ญญาที่เกีย่ วกับการป้ องกันความเสี่ ยงของนํ้ามันดิบและผลิตภัณฑ์ เกีย่ วกับนํ้ามัน บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาแลกเปลี่ยนส่ วนต่างราคานํ้ามันสําเร็จรู ปและราคานํ้ามันดิบล่วงหน้า (Crack Spread Swap Contracts) จํานวนหลายฉบับกับบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) และสถาบันการเงิ นหลายแห่ ง โดยแลกเปลี่ยนส่ วนต่างระหว่างราคา ของผลิตภัณฑ์น้ าํ มันและนํ้ามันดิบลอยตัวถัวเฉลี่ ยของเดือนที่มีการจ่ายชําระเป็ นส่ วนต่างราคาคงที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษ ทั มี ปริ มาณนํ้ามัน คงเหลื อที่ ได้ท ําไว้ภายใต้สั ญญาดังกล่าวทั้งสิ้ นจํานวน 1.65 ล้านบาร์ เรล (พ.ศ. 2557 จํานวน 5.22 ล้านบาร์เรล) บริ ษทั ได้ท ําสั ญญาแลกเปลี่ ยนราคานํ้ามัน ดิ บและนํ้ามันสําเร็ จรู ป ล่วงหน้าจํานวนหลายฉบับ กับบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) และสถาบันการเงิ นหลายแห่ งโดยแลกเปลี่ ยนราคานํ้ามันดิ บลอยตัวถัวเฉลี่ ยของเดื อนที่ มีการจ่ายชําระเป็ น ช่ วงของราคาคงที่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั มี ปริ มาณนํ้ามันคงเหลื อที่ ได้ท ําไว้ภายใต้สั ญญาดังกล่าวทั้งสิ้ น จํานวน 4.58 ล้านบาร์เรล (พ.ศ. 2557 จํานวน 1.30 ล้านบาร์เรล)

318

95


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 35

เครื่ องมือทางการเงิน (ต่อ) (ค)

มูลค่ ายุติธรรม ราคาตามบัญชี ของเงิ นสดและรายการเที ยบเท่าเงิ นสด เงิ นลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้ การค้า ลูกหนี้ ระยะสั้นอื่ นๆ เจ้าหนี้ การค้า เจ้าหนี้ อื่ น เงิ นกู้ยื มระยะสั้ นจากสถาบัน การเงิ น เงิ น ให้กู้ยื ม ระยะสั้ นแก่ กิ จการที่ เกี่ ยวข้องกัน และเงิ นกู้ยื ม ระยะสั้ น จากกิจการที่เกี่ยวข้องกันมีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรมเนื่ องจากมีระยะเวลาครบกําหนดที่ส้ ัน เงิ นให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิ จการที่ เกี่ ยวข้องกันมี มูลค่าราคาตามบัญชี ใกล้เคี ยงกับมูลค่ายุติธรรมเนื่ องจากมี อ ัตราดอกเบี้ ย ลอยตัว มูลค่ายุติธรรมของเงิ นกูย้ ืมระยะยาวจากสถาบันการเงิ นและหุน้ กูไ้ ด้เปิ ดเผยในหมายเหตุฯ ข้อ 18 มูลค่ายุติธรรมสุ ทธิ ของเครื่ องมืออนุพนั ธ์ทางการเงิ น ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิ น มีดงั นี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท สั ญญาอนุพันธ์ ทางการเงิน สัญญาที่มีมูลค่ายุติธรรมเชิ งลบ

(1,175)

(660)

สั ญญาอนุพันธ์ เกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ นํ้ามัน สัญญาที่มีมูลค่ายุติธรรมเชิ งบวก สัญญาที่มีมูลค่ายุติธรรมเชิ งลบ

(4,079)

145 (1,617)

มู ล ค่ ายุติ ธรรมของสั ญ ญาอนุ พ ัน ธ์ ท างการเงิ น ได้แก่ สั ญ ญาแลกเปลี่ ยนเงิ น ตราต่ างประเทศล่ วงหน้าและสั ญ ญา แลกเปลี่ ยนอัตราดอกเบี้ ยกําหนดโดยใช้อตั ราตลาดของแต่ละสัญญาที่ คาํ นวณโดยสถาบันการเงิ นของกลุ่มบริ ษทั ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะการเงิ น ส่ วนมูลค่ายุติธรรมของสัญญาป้ องกันความเสี่ ยงของนํ้ามันดิ บและผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยม คํานวณโดยใช้ราคาเสนอซื้ อและเสนอขายเฉลี่ ยของสถาบันการเงิ นที่ กลุ่มบริ ษทั ใช้บริ การ ณ วันที่ ในงบแสดงฐานะ การเงิ น

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

96

319


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 36

ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ และสั ญญาที่สําคัญ (ก)

ภาระผูกพันรายจ่ ายฝ่ ายทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาที่ยงั ไม่รับรู ้ในงบการเงิ น - สัญญาซื้ อเครื่ องจักรและก่อสร้างโรงงาน - สัญญาค่าที่ปรึ กษา รวม

(ข)

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 11,144 78 11,222

12,081 48 12,129

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท 10,966 78 11,044

11,897 48 11,945

ภาระผูกพันจากสั ญญาเช่ าดําเนินงานที่ยกเลิกไม่ ได้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม สัญญาเช่าพื้นที่อาคารสํานักงาน : - ภายในระยะเวลา 1 ปี - ระยะเวลาหลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี สัญญาเช่าที่ ดิน : - ภายในระยะเวลา 1 ปี - ระยะเวลาหลังจาก 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี - ระยะเวลาหลังจาก 5 ปี รวม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

86 7 93

82 7 89

86 7 93

82 7 89

1 1 5 7 100

1 1 5 7 96

1 1 5 7 100

1 1 5 7 96

13

27

13

25

ภาระผูกพันอืน่ ๆ : เลตเตอร์ออฟเครดิตที่ ยงั ไม่ได้ใช้

320

97


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 36

ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ และสั ญญาที่สําคัญ (ต่อ) (ค)

หนี้สินที่อาจเกิดขึน้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

งบการเงินรวม พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

งบการเงินเฉพาะบริ ษัท พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2557 ล้านบาท ล้านบาท

หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ : - หนังสื อคํ้าประกันจากธนาคาร (ง)

1,299

2,472

1,297

2,472

คลังนํ้ามันของบริ ษัทและพืน้ ที่แนวเวนคืนเพื่อก่อสร้ างถนน ถังนํ้ามันบางส่ วนของบริ ษทั ตั้งอยูบ่ ริ เวณพื้นที่สีเหลือง (เขตที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นน้อย) และพื้นที่สีเขียวอ่อน (เขตนันทนาการ และรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม) โดยเป็ นแนวถนนโครงการในอนาคตซึ่ งได้แก่สาย ค3 และ ก9 ตามข้อกําหนดกฎกระทรวง ผังเมืองรวมเมืองระยอง พ.ศ. 2549 ซึ่ งห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตดังกล่าวเพื่อก่อสร้างโรงงาน หรื อสถานที่ เก็บนํ้ามัน เชื้ อเพลิ งและก๊าซ ปั จจุบนั ได้มีคาํ สั่งคณะกรรมการผังเมื อง กรมโยธาธิ การและผังเมื อง เพื่อพิจารณาปรับปรุ งแก้ไ ข ผังเมืองรวมระยอง ตามที่บริ ษทั ร้องขอแก้ไขจากพื้นที่ สีเหลื องและสี เขี ยวอ่อนให้เป็ นพื้นที่ สีม่วง (พื้นที่ อุตสาหกรรม และคลังสิ นค้า) เพื่อให้สามารถประกอบกิจการสถานที่เก็บนํ้ามันเชื้ อเพลิงและก๊าซได้ และการแก้ไขร่ างถนนทั้ง 2 สาย ออกจากพื้นที่คลังนํ้ามันของบริ ษทั ซึ่ งผลกระทบจากการไม่สามารถแก้ไขผังเมืองและการตัดร่ างถนน 2 สาย อาจส่ งผล กระทบต่อการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ที่ใช้ในการดําเนิ นงานของบริ ษทั ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ความคื บหน้าในเรื่ องการปรับปรุ ง ผังเมื องรวมเมื องระยอง ขณะนี้ ร่างกฎกระทรวง ผังเมืองรวมระยอง (ฉบับปรับปรุ งครั้งที่ 4) ได้ผา่ นการพิจารณาของคณะกรรมการผังเมื องกรมโยธาธิ การและผังเมื อง แล้ว โดยอยูใ่ นขั้นตอนการส่ งเรื่ องกลับมาที่จงั หวัดระยองเพื่อดําเนิ นการต่อไป

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

98

321


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 36

ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ สั ญญาที่สําคัญ (ต่อ) (จ)

สั ญญาสํ าคัญที่ทํากับกิจการที่เกีย่ วข้ องกันและกิจการอืน่ ๆ สั ญญาซื้อขายนํ้ามันสํ าเร็ จรู ปจากคลังนํ้ามันจังหวัดชุมพร บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื้ อขายนํ้ามันสําเร็ จรู ปจากคลังนํ้ามันชุ มพร กับบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) โดยบริ ษทั ตกลงขาย นํ้ามันสําเร็จรู ปจากคลังนํ้ามันจังหวัดชุมพรในปริ มาณและราคาเป็ นไปตามที่กาํ หนดไว้ในสัญญา โดยสัญญามีระยะเวลา 1 ปี ครบกําหนดวัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ บริ ษ ัท ได้มีก ารต่ อสั ญ ญาไปจนถึ ง วัน ที่ 31 ธัน วาคม พ.ศ. 2559 ข้อกําหนดต่างๆ ในสัญญาเป็ นไปตามที่กาํ หนดในสัญญาใหม่ สั ญญาจัดหานํ้ามันดิบและวัตถุดิบอื่น บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื้ อนํ้ามันดิ บและวัตถุดิบอื่นกับบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) สัญญามีกาํ หนด 1 ปี และครบกําหนดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 โดยปริ มาณและราคาของการซื้ อนํ้ามันดิบและวัตถุดิบอื่นเป็ นไปตามที่กาํ หนดในสัญญา และบริ ษทั ได้มีการต่อสัญญาไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 โดยข้อกําหนดต่างๆ ในสัญญาเป็ นไปตามที่กาํ หนด ในสัญญาใหม่ สั ญญาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ เมื่ อวันที่ 9 มิ ถุนายน พ.ศ. 2552 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาซื้ อขายก๊าซกับบริ ษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) (“ปตท.”)โดยปริ มาณ การซื้ อขายและราคาซื้อขายก๊าซให้เป็ นไปตามที่ระบุไว้ในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีอายุ 10 ปี นับจากวันที่ปตท.ได้ส่งมอบ ก๊าซและบริ ษทั ได้รับซื้ อก๊าซ และสามารถต่ออายุออกไปได้ ทั้งนี้ ตอ้ งเป็ นไปตามเงื่ อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา สั ญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียม บริ ษทั มี สัญญาซื้ อขายผลิ ตภัณฑ์ปิโตรเลี ยมกับบริ ษทั ที่ เกี่ ยวข้องกันแห่ งหนึ่ งโดยปริ มาณการซื้ อขายและราคาซื้ อขาย ผลิ ตภัณ ฑ์ให้เป็ นไปตามที่ ระบุ ไว้ในสั ญ ญาดังกล่ าว โดยมี ระยะเวลา 15 ปี นับ จากวัน ที่ ที่มี ผ ลบังคับ ตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ในสัญญาและจะมี ผลสิ้ นสุ ดในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2571 ยกเว้นจะมีการบอกเลิกสัญญาล่วงหน้าเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร โดยความยินยอมของคู่สญ ั ญาทั้งสองฝ่ าย

322

99


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 36

ภาระผูกพัน หนี้สินที่อาจเกิดขึน้ สั ญญาที่สําคัญ (ต่อ) (จ)

สั ญญาสํ าคัญที่ทํากับกิจการที่เกีย่ วข้ องกันและกิจการอืน่ ๆ (ต่อ) สั ญญาซื้อขายไฟฟ้ า บริ ษ ัท ได้ท ําสั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ้ ากับ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย (“กฟผ.”) เพื่ อ ผลิ ตพลังไฟฟ้ าและนําส่ ง พลังงานไฟฟ้ าตามอัตราที่ กาํ หนดในสัญญา สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลา 25 ปี บริ ษทั ได้ทาํ สัญญาโอนสิ ทธิ และหน้าที่ ในสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ าดังกล่าวแก่บริ ษทั ที่เกี่ยวข้องกันแห่งหนึ่ ง สั ญญาซื้อขายไฟฟ้ าและไอนํ้า บริ ษทั ได้เข้าทําสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ าและไอนํ้ากับกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันแห่งหนึ่ ง โดยบริ ษทั จะรับซื้ อไฟฟ้ าและไอนํ้าตาม อัตราที่กาํ หนดในสัญญา โดยสัญญาซื้ อขายไฟฟ้ ามีระยะเวลา 25 ปี และสัญญาซื้ อขายไอนํ้ามีระยะเวลา 27 ปี สั ญญาให้ บริ การต่ างๆ บริ ษทั ได้เข้าทําสัญญาให้บริ การสาธารณูปโภค สัญญาพัฒนาและควบคุมก่อสร้างโครงการ และสัญญาให้บริ การควบคุม และซ่ อมเครื่ องจักรกับกิ จการที่เกี่ ยวข้องกันแห่ งหนึ่ งซึ่ งเกี่ยวเนื่ องกับโครงการโรงไฟฟ้ า ซึ่ งบริ ษทั จะจัดหาสาธารณู ปโภค ให้บริ การในการพัฒนาและควบคุมงานก่อสร้างโครงการและให้บริ การในการควบคุมซ่ อมบํารุ งเครื่ องจักร โดยอัตรา ค่าจ้างในการให้บริ การเป็ นไปตามที่กาํ หนดในสัญญา

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

100

323


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 37

ข้ อพิพาททางกฎหมายทีส่ ํ าคัญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่สําคัญโดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มคดี ดังนี้ (1)

คดีแรงงานที่เกีย่ วข้ องกับกลุ่มผู้บริ หารเดิม คือ กลุ่มเลีย่ วไพรั ตน์ คดีแรงงานที่ คุณประที ป เลี่ ยวไพรัตน์ และคุณประมวล เลี่ ยวไพรัตน์เป็ นโจทก์ฟ้องบริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) จากการผิดนัดสัญ ญาจ้างแรงงาน และเรี ยกค่ าสิ น จ้างแทนการบอกกล่ าวล่ วงหน้า ค่าชดเชย และค่า เสี ยหายเลิ กจ้า ง ไม่ เป็ นธรรมโดยมี ทุ น ทรั พ ย์การฟ้ องรวมกัน เป็ นจํานวนเงิ น 243.17 ล้านบาท เนื่ อ งจากคดี มี แ นวโน้ม ที่ ท้ งั 2 ฝ่ าย สามารถหาข้อสรุ ปจากการเจรจากันได้ ศาลจึงให้นดั ไกล่เกลี่ยในวันที่ 21 สิ งหาคม พ.ศ. 2558 และเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2558 โจทก์ได้ยอมรับค่าชดเชยจํานวน 14.4 ล้านบาทและดอกเบี้ยจํานวน 5.4 ล้านบาท ซึ่ งถือว่าคดีเป็ นอันสิ้ นสุ ด ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ได้มีการจ่ายชําระค่าชดเชยและดอกเบี้ ยจากคดี แรงงานดังกล่าวจํานวน 19.8 ล้านบาทแล้ว

(2)

กลุ่มคดีแพ่ ง อันได้ แก่ (2.1) คดี ค่าเสี ยหายจากการบอกเลิ กสั ญญาขายโอเลฟิ นส์ กับบริ ษัท ไทยโอเลฟิ นส์ จํากัด (มหาชน) (ปั จจุบันบริ ษัทนี ้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ของบริ ษั ท ปตท. โกลบอล เคมิ ค อล จํา กั ด (มหาชน)) ซึ่ งเป็ นผลจากการควบรวมกิ จ การคดีหมายเลขแดงที่ 5155-5156/2547 คดีความระหว่างบริ ษทั กับบริ ษทั ไทยโอเลฟิ นส์ จํากัด (มหาชน) ในฐานะเจ้าหนี้ รายที่ 364 ได้ยื่นคําขอรับชําระ หนี้ เกี่ ย วกับค่ าเสี ย หายจากการที่ บ ริ ษ ัทได้บ อกเลิ ก สั ญ ญาขายโอเลฟิ นส์ เป็ นเงิ น จํานวน 4,461.26 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ย MOR บวกอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 ต่อปี ต่อเจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ ต่อมาศาลล้มละลายกลางได้ มี คาํ สั่ งเมื่ อ วัน ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ให้เจ้าหนี้ รายที่ 364 ได้รับ ชําระหนี้ เป็ นเงิ น จํานวน 259.82 ล้านบาท พร้อ มดอกเบี้ ย อัตรา MOR บวกอัตราดอกเบี้ ยร้ อ ยละ 2 ต่ อ ปี ของเงิ น ต้น ดัง กล่า วนับ แต่ว นั ที่ ผูบ้ ริ ห ารแผน (ซึ่ งในขณะนั้น คื อ บริ ษ ทั แอ็ฟ เฟ็ คที พแพลนเนอร์ จํากัด) บอกเลิ กสั ญ ญาเมื่ อวันที่ 14 กุม ภาพัน ธ์ พ.ศ. 2544 จนกว่า จะได้รับ ชํา ระเสร็ จ สิ้ น จากลู ก หนี้ หลัง จากนั้น บริ ษ ัท และเจ้าหนี้ รายที่ 364 ได้ยื่ น อุ ท ธรณ์ ค ัดค้า น คําพิพากษาของศาลล้มละลายกลางต่อศาลฎี กาซึ่ งปั จจุบนั คดี อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลฎี กา โดยบริ ษทั เห็นว่าค่าเสี ยหายที่ เกิ ดจากการบอกเลิกสัญญาของผูบ้ ริ หารแผนที่ศาลล้มละลายกลางได้มีคาํ สั่งให้บริ ษทั ชําระ ให้กบั เจ้าหนี้ น้ นั ไม่เป็ นธรรมแก่การฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี้ (ในขณะนั้น) อี กทั้ง บริ ษทั เห็นว่าเจ้าหนี้ ไม่ได้รับ ความเสี ยหายแต่อย่างไรจากการบอกเลิ กสัญญาของบริ ษ ัท ซึ่ งเป็ นลูกหนี้ ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 บริ ษทั ยังมิได้มีการตั้งสํารองใดๆ เกี่ยวกับหนี้ สินที่อาจเกิดขึ้นจากกรณี ดงั กล่าวไว้ในงบการเงิ นนี้

324

101


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 37

ข้ อพิพาททางกฎหมายทีส่ ํ าคัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่สําคัญโดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มคดี ดังนี้ (ต่อ) (2)

กลุ่มคดีแพ่ ง อันได้ แก่ (ต่อ) (2.2) คดีนิคมอุตสาหกรรมบ้ านค่ าย หมายเลขคดีดาํ ที่ ส.8/2554 (คดีหมายเลขแดงที่ ส.13/2555) นายเศรษฐา ปิ ตุเตชะ และพวกจํานวน 386 คน ได้ยื่นฟ้ องการนิ คมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็ นจําเลยที่ 1 และคณะกรรมการการนิ ค มอุ ตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย เป็ นจํา เลยที่ 2 เพื่ อ ขอให้ศ าลมี ค ําสั่ งเพิ ก ถอน ประกาศคณะกรรมการการนิ ค มอุ ตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย เรื่ อ งจัดตั้ง เขตอุ ต สาหกรรมทั่ว ไปนิ ค ม อุตสาหกรรมระยอง(บ้านค่าย) ฉบับลงวัน ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554 เมื่ อวันที่ 19 ตุ ลาคม พ.ศ. 2554 โดยศาล ปกครองระยองได้มีคาํ สั่งเรี ยกบริ ษทั ไออาร์พี ซี จํากัด (มหาชน) ให้เข้ามาเป็ นคู่กรณี ในฐานะผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที่ 3 โดยผูถ้ ู กฟ้ องคดี ที่ 3 เป็ นเอกชนผูร้ ่ วมดํา เนิ น งานกับ การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทยในการดําเนิ น โครงการนิ คมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) ซึ่ งเป็ นการดําเนิ นการภายใต้แนวคิ ดอุตสาหกรรม เชิ งนิ เวศน์ เน้นรองรับเฉพาะอุตสาหกรรมที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมและอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ความคื บหน้ าของคดีสาํ หรั บปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558: - ศาลปกครองได้มีคาํ พิพากษาเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม พ.ศ.2555 เพิกถอนประกาศจัดตั้งเขตอุตสาหกรรมทัว่ ไป นิ คมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) โดยเห็นว่าขณะคณะกรรมการการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย อนุ มตั ิ โครงการดังกล่ าว การจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมยังไม่ ได้รับความเห็นชอบ ทั้งนี้ คณะกรรมการการนิ ค มอุ ตสาหกรรมแห่ งประเทศไทยสามารถนํา รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบ สิ่ งแวดล้อมไปพิจารณาเพื่ออนุ มตั ิ ให้การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย และบริ ษทั ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) ร่ วมกันจัดตั้งนิ คมอุตสาหกรรมและมี มติ ประกาศจัดตั้งเขตอุตสาหกรรมทัว่ ไปนิ คมอุตสาหกรรม ระยอง (บ้านค่าย) ได้อีก - ปั จ จุ บ ัน คดี อ ยู่ ใ นขั้น ตอนที่ ก ารนิ คมอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทยซึ่ งเป็ นคู่ ค วามโดยตรงอุ ท ธรณ์ คําพิพากษาของศาลปกครองระยอง ต่อศาลปกครองสู งสุ ด แต่ไม่กระทบต่อแผนงานของบริ ษทั เนื่ องจาก การนิ ค มฯได้ท ํา การเพิ ก ถอนประกาศเขตนิ ค มอุ ตสาหกรรมระยอง(บ้านค่ า ย) เดิ ม ตามคําสั่ ง ศาลและ ดําเนิ นการกระบวนการพิจารณาอนุ มตั ิ โครงการและประกาศให้ที่ดินของบริ ษทั เป็ นเขตนิ คมอุตสาหกรรม ใหม่ถูกต้องตามขั้นตอนที่ศาลปกครองระยองให้ความเห็นไว้ในคําพิพากษาเรี ยบร้อยแล้ว

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

102

325


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 37

ข้ อพิพาททางกฎหมายทีส่ ํ าคัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่สําคัญโดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มคดี ดังนี้ (ต่อ) (2)

กลุ่มคดีแพ่ ง อันได้ แก่ (ต่อ) (2.2) คดีนิคมอุตสาหกรรมบ้ านค่ าย หมายเลขคดีดาํ ที่ ส.8/2554 (คดีหมายเลขแดงที่ ส.13/2555) (ต่อ) ความคื บหน้ าของคดีสาํ หรั บปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558: (ต่อ) - เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ผูร้ ้องได้ยื่นคําร้องต่อศาลปกครองสู งสุ ดเพื่อให้ศาลไต่สวนฉุ กเฉิ นเพื่อขอให้ ศาลมี ค ํา สั่ ง คุ ้ม ครองประโยชน์ ส าธารณะและสิ่ ง แวดล้อ มชั่ว คราว โดยกล่ า วอ้า งว่ า บริ ษ ัท ได้เ ข้า ไป ดําเนิ นการก่อสร้าง สิ่ งปลูกสร้างในที่ดินพิพาทโดยฝ่ าฝื นคําพิพากษาของศาลปกครองในขณะที่ คดี ยงั อยู่ใน ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสู งสุ ด ซึ่ งตามข้อเท็จจริ งนั้น หลังจากที่ ศ าลปกครองมี คาํ พิพากษา บริ ษทั ได้ปฏิบตั ิตามคําพิพากษาของศาลปกครองทุกประการ จนบริ ษทั ได้รับการพิจารณาอนุ มตั ิ โครงการและ ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้ที่ดินของบริ ษทั เป็ นนิ คมอุตสาหกรรมใหม่ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว คําร้องคัดค้านของผูร้ ้องจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย เนื่ องจากบริ ษทั มิ ได้เป็ นการกระทําขัดต่อคําพิพากษาของ ศาลปกครองแต่อ ย่า งใด บริ ษทั ได้ยื่น คัดค้า นยื่ นต่ อ ศาลปกครองสู งสุ ดตามกฎหมายแล้ว คดี อยู่ระหว่า ง รอคําสั่งศาลปกครองสู งสุ ด (2.3) คดีฟ้องร้ องผิดสั ญญาจ้ างทํางาน - คดีหมายเลขดําที่ 649/2556 บริ ษทั ทองล้นฟ้ า จํากัด (โจทก์) ฟ้ องร้องบริ ษทั ให้ชดใช้ค่าเสี ยหายเนื่ องจากผิดสัญญาจ้างทํางานเป็ นทุนทรัพย์ จํานวน 32.81 ล้านบาท แต่บริ ษทั ได้ยื่นคําให้การและฟ้ องแย้งให้โจทก์ชดใช้ค่าเสี ยหายเนื่ องจากผิดสัญญาเป็ น จํานวนทุนทรัพย์ 28.99 ล้านบาท ความคื บหน้ าของคดีสาํ หรั บปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558: เมื่ อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ศาลจังหวัดระยองพิพากษายกฟ้ องโจทก์ และให้โจทก์ชดใช้ค่าเสี ยหายให้ก ับ บริ ษทั เป็ นจํานวนเงิ นประมาณ 27 ล้านบาท คดีอยูร่ ะหว่างการบังคับคดี

326

103


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 37

ข้ อพิพาททางกฎหมายทีส่ ํ าคัญ (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 กลุ่มบริ ษทั มีขอ้ พิพาททางกฎหมายที่สําคัญโดยแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มคดี ดังนี้ (ต่อ) (3)

กลุ่มคดีอนื่ ๆ ได้ แก่ (3.1) คดีสาํ นักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม (คดีหมายเลขดําที่ ส.16/2555) นายน้อย ใจตั้ง และพวกจํานวน 92 คน (ผูฟ้ ้ องคดี ) ได้ยื่นฟ้ องสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมเป็ นผูถ้ ู กฟ้ องคดี ที่ 1 คณะกรรมการผูช้ ํานาญการพิ จารณารายงานการวิ เคราะห์ ผลกระทบ สิ่ งแวดล้อมด้านอุตสาหกรรมและระบบสาธารณูปโภคที่ สนับสนุน เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดีที่ 2 และบริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) เป็ นผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที่ 3 โดยฟ้ องเกี่ยวกับการที่ หน่วยงานปกครองและเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทําการ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขอให้ศาลมีคาํ สั่งหรื อคําพิพากษา ดังนี้ 1) เพิกถอนรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (EIA) หรื อ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม และสุ ขภาพ (E/HIA) ที่ อาํ เภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ของการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย และบริ ษทั ไออาร์พีซี จํากัด (มหาชน) 2) ให้ผถู ้ ูกฟ้ องคดี เพิกถอนคําสั่งหรื อมติ การเห็นชอบรายงานผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (EIA) หรื อ รายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ (E/HIA) สําหรับโครงการนิ คมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) ที่ อําเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง ของการนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย และบริ ษ ัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) 3) ให้ผถู ้ ูกฟ้ องคดี ดาํ เนิ นการหรื อปฏิบตั ิ ต่อสิ ทธิ หรื อหน้าที่ ของผูฟ้ ้ องคดี ให้ครบถ้วนตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ก่อนที่จะดําเนิ นการใดๆ ที่อาํ เภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง 4) ให้ผถู ้ ูกฟ้ องคดีดาํ เนิ นการหรื อให้เจ้าของโครงการพิพาทดําเนิ นการศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ทางยุทธศาสตร์ หรื อการประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้อมเชิ งกลยุทธ์ ในท้องที่ จงั หวัดระยองทั้งหมด และ ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่งชาติ และผูม้ ีส่วนได้เสี ยก่อน โดยบริ ษทั ในฐานะผูถ้ ูกฟ้ องคดี ที่ 3 ต้องจัดทําคําให้การภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทราบคําสั่ง (ครบกําหนดวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2558) อย่างไรก็ตาม บริ ษทั ได้ขออนุ ญาตศาลขยายระยะเวลาการยืน่ คําให้การไปเป็ นวันที่ 16 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2558 และบริ ษ ัทได้ยื่น คําให้การต่ อศาลแล้วเมื่ อ วัน ที่ 13 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2558 คดี อ ยู่ ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองจังหวัดระยอง

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

104

327


บริ ษัท ไออาร์ พีซี จํากัด (มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริ ษัท สํ าหรั บปี สิ้ นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 38

เหตุการณ์ ภายหลังวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ก)

การจ่ายเงิ นปันผล ตามมติ ที่ ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ได้อนุ มตั ิ เสนอให้จ่ายเงิ นปั นผลจากกําไรสุ ทธิ ของปี พ.ศ. 2558 ในอัตราหุ ้นละ 0.22 บาทต่อหุ ้น เป็ นจํานวนเงิ นรวม 4,496 ล้านบาท ทั้งนี้ การอนุ มตั ิ เสนอให้จ่ายเงิ นปั นผล ดังกล่าวจะได้นาํ เสนอต่อที่ประชุมใหญ่ผถู ้ ือหุน้ ประจําปี พ.ศ. 2559 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป

ข)

การควบรวมกิจการของบริ ษทั ไทย เอบีเอส จํากัด ตามมติ ที่ประชุ มคณะกรรมการบริ ษทั วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 มีมติ เห็นชอบให้มีการปรับโครงสร้างกลุ่มบริ ษทั โดยการรับโอนกิ จการทั้งหมดของบริ ษทั ไทย เอบี เอส จํากัด โดยบริ ษทั จะรับโอนทรัพย์สิน หนี้ สิน สิ ทธิ หน้าที่ และ ภาระผูกพันทั้งหมดที่ มีอยูใ่ นปั จจุบนั และที่ จะมี ในอนาคตจากบริ ษทั ไทย เอบี เอส จํากัด ทั้งนี้ การอนุ มตั ิ การควบรวม กิจการดังกล่าวจะได้นาํ เสนอต่อที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ ประจําปี พ.ศ. 2559 เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป

328

105


การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR) ประจำ�ปี 2558 ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

หมวดสิทธิของผู้ถือหุ้น A01

บริษัทได้ให้สิทธิอื่นแก่ผู้ถือหุ้นนอกเหนือจากสิทธิในการลงคะแนน เสียงหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ - ความรับผิดชอบกรรมการ

71-75 81

A02

ค่าตอบแทนกรรมการบริษัททุกรูปแบบได้รับการอนุมัติ จากผู้ถือหุ้นเป็นประจำ�ทุกปีหรือไม่ IRPC: ใช่

• - • -

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สิทธิของผู้ถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท

71-72

ในการเสนอวาระค่าตอบแทนกรรมการให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณามีการนำ� เสนอนโยบายและวิธกี ารในการกำ�หนดค่าตอบแทน หรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• - • -

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สิทธิของผู้ถือหุ้น โครงสร้างการจัดการ ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท

A03

130-131

71-72 130-131

• หนังสือเชิประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 • หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า 6-7) • รายงานการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า19-20) • รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 19-20)

A04

ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการบริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการเป็นรายบุคคลหรือไม่ - การดำ�เนินการในวันประชุม IRPC: ใช่

73

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 16-19)

A05

บริษัทได้เปิดเผยไว้ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นถึงการจัดให้มีผู้ตรวจ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สอบการนับคะแนนเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ - การดำ�เนินการในวันประชุม IRPC: มี

73

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 2)

A06

บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุมหรือส่งคำ�ถามเกี่ยว กับบริษัทล่วงหน้าก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้นได้หรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การปฏิบัติต่อถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน

74

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ

A07

บริษัทได้เปิดเผยนโยบายในการอำ�นวยความสะดวกและส่งเสริมให้ผู้ ถือหุ้น ซึ่งรวมถึงนักลงทุนสถาบันเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : การดำ�เนินการในวันประชุม

72-73

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558

คุณภาพของหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น A08

บริษัทได้กำ�หนดวาระการประชุมผู้ถือหุ้นไว้เป็นเรื่องๆ อย่างชัดเจน หรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือ : คุณภาพของ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น

71

• หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1–9)

A09

วาระพิจารณาแต่งตั้งกรรมการ มีการระบุชื่อพร้อมประวัติ กรรมการที่ต้องการเสนอแต่งตั้งให้ผู้ถือหุ้นทราบหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือ : คุณภาพของ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น

71

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า 3–4 ,16-31 )

A10

วาระแต่งตั้งผู้สอบบัญชี มีการระบุชื่อผู้สอบบัญชี บริษัทที่สังกัดประวัติ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือ ข้อมูลที่จะช่วยให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาความสามารถและความ - สิทธิของผู้ถือ : คุณภาพของ เหมาะสมของ ผู้สอบบัญชี รวมทั้งค่าบริการไว้ครบถ้วนชัดเจนหรือไม่ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น IRPC: ใช่

72

• หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 7–8)

A11

ในวาระอนุมัติจ่ายเงินปันผล มีการเปิดเผยนโยบายการจ่ายเงินปันผล • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จำ�นวน เงินปันผลที่เสนอจ่ายพร้อมทั้งเหตุผลและข้อมูลประกอบการ - สิทธิของผู้ถือ : คุณภาพของ พิจารณาหรือไม่ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น IRPC: ใช่

72

• หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 2–3)

A12

ในหนังสือนัดประชุม มีการระบุวัตถุประสงค์และเหตุผลของแต่ละวาระ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ที่เสนอหรือไม่ - สิทธิของผู้ถือ : คุณภาพของ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น IRPC: ใช่

71

• หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1–9)

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

329


ข้อ A13

หลักเกณฑ์ ในหนังสือนัดประชุม มีการระบุความเห็นของคณะกรรมการในแต่ละ วาระที่เสนอหรือไม่ IRPC: ใช่

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือ : คุณภาพของ หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น

71

• หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1–9)

คุณภาพของหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น A14

มีการบันทึกเกี่ยวกับการแจ้งวิธีการลงคะแนนและนับคะแนนให้ ผู้ถือหุ้น ทราบหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : หลังการประชุม

74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 3)

A15

มีการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นซักถามและบันทึกคำ�ถามคำ�ตอบไว้หรือไม่ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุ้น : IRPC: ใช่ หลังการประชุม

74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 3-27)

A16

ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ได้มีการบันทึกมติที่ประชุมไว้อย่าง • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ชัดเจน พร้อมทั้งคะแนนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง - สิทธิของผู้ถือหุ้น : ในทุกๆ วาระที่ ต้องมีการลงคะแนนเสียงหรือไม่ หลังการประชุม IRPC: ใช่

74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 3-27)

A17

ในรายงานการประชุมผู้ถือหุ้นมีการบันทึกรายชื่อกรรมการที่เข้าร่วม ประชุมไว้หรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : หลังการประชุม

73

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

A18

บริษัทได้เปิดเผยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นพร้อมผลการลงคะแนนเสียงใน วันทำ�การถัดไปจากวันประชุมผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: เปิดเผยในวันเดียวกับวันประชุม

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : หลังการประชุม

74

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

A19

ประธานกรรมการบริษัทได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือ หุ้น หรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : หลังการประชุม

74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

A20

ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร/กรรมการผู้จัดการ (ผู้บริหารสูงสุด) ของ บริษัทได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปีผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : หลังการประชุม

74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

การเข้าร่วมประชุมสามัญประจำ�ปีของประธานอนุกรรมการชุดต่างๆ A21

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ� • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ปี ผู้ถือหุ้นหรือไม่ - สิทธิของผู้ถือหุ้น : การดำ�เนินการในวันประชุม IRPC: ใช่

73

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

A22

ประธานคณะกรรมการค่าตอบแทนได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญ ประจำ�ปีผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ไม่ (เนื่องจากติดภารกิจเร่งด่วน)

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : การดำ�เนินการในวันประชุม

73

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

A23

ประธานคณะกรรมการสรรหาได้เข้าร่วมในการประชุมสามัญประจำ�ปี ผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: ไม่ (เนื่องจากติดภารกิจเร่งด่วน)

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : การดำ�เนินการในวันประชุม

73

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

A24

บริษัทจัดประชุมผู้ถือหุ้น ณ สถานที่ที่ผู้ถือหุ้นสามารถเดินทางไปได้ ง่ายหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : การดำ�เนินการในวันประชุม

72

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 1)

A25

มีการถือหุ้นไขว้ในกลุ่มของบริษัทหรือไม่ IRPC: ไม่มี

• โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น

97

A26

มีโครงสร้างการถือหุ้นแบบปิรามิดในกลุ่มของบริษัทหรือไม่ IRPC: ไม่มี

• โครงสร้างธุรกิจและการถือหุ้น

97

A27

คณะกรรมการของบริษัทมีการถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 25 ของ หุ้นที่ออกแล้วของบริษัทหรือไม่ (Bonus) IRPC: ไม่มี

• โครงสร้างการจัดการ - คณะกรรมการบริษัท

A28

บริษัทมีสัดส่วนของหุ้น free float เท่าใด IRPC: 46.91 (ข้อมูล ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558)

A29

ในการประชุมสามัญ/วิสามัญผู้ถือหุ้นแต่ละครั้ง ได้มีการเพิ่มวาระอื่นๆ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสือนัดประชุมให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ - สิทธิของผู้ถือหุ้น : การดำ�เนินการ ในวันประชุม หรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC:ไม่มีการเพิ่มวาระอื่นๆ ที่ ไม่ ได้ระบุไว้ ในหนังสือเชิญประชุมฯ

A30

บริษัทได้ละเลยต่อการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกันในเรื่องการ ซื้อหุ้นคืนหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มีกรณีการซื้อหุ้นคืน

โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทได้แสดงให้เห็นถึงการมีกลไกในการป้องกันการครอบงำ�กิจการดังต่อไปนี้หรือไม่อย่างไร

330

136-137 • เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ 73-74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 28) • เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

A31

บริษัทได้กีดกันหรือสร้างอุปสรรคในการเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถ ติดต่อ สื่อสารระหว่างกันหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่กีดกัน

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

A32

บริษัทได้ละเลยต่อการเปิดเผยถึงข้อตกลงระหว่างผู้ถือหุ้น (Shareholders agreement) ที่มีผลกระทบอย่างนัยสำ�คัญต่อบริษัท หรือผู้ถือหุ้นรายอื่น หรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่

• แบบ 56-1

หมวดการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน B01

บริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการออกเสียงลงคะแนนในแบบหนึ่งหุ้นต่อ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หนึ่งเสียง ใช่หรือไม่ - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน IRPC: ใช่

74

B02

ในกรณีที่บริษัทมีหุ้นมากกว่าหนึ่งประเภท (One class of Share) • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้เปิดเผยถึงสิทธิในการออกเสียงของหุ้นแต่ละประเภทหรือไม่ - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน IRPC: ไม่มี

74

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 3)

B03

บริษัทมีกระบวนการ/ช่องทางให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยมีส่วนในการสรรหา และแต่งตั้งกรรมการหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน

74

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • เว็บไซต์บริษัทฯ

B04

บริษัทมีนโยบายป้องกันการใช้ข้อมูลภายในของบริษัทและได้เผยแพร่ ให้ พนักงาน ผู้บริหาร และกรรมการบริษัททราบหรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน

75

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

B05

ในกรณีที่มีการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกันที่เข้าข่ายจะต้องเปิดเผยข้อมูล • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือ ขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ ก่อน - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น การทำ�ราย การ บริษัทได้มีการเปิดเผยรายละเอียดและเหตุผลของ อย่างเท่าเทียมกัน การทำ�รายการให้ ผู้ถือหุ้นทราบ ก่อนที่จะทำ�รายการหรือไม่อย่างไร IRPC: ใช่

B06

บริษัทได้เปิดเผยว่ารายการระหว่างกันได้กระทำ�อย่างยุติธรรมตาม ราคาตลาดและเป็นไปตามปกติธุรกิจการค้า (Fair and at arms’ length) หรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน • รายการระหว่างกัน

109-113

B07

บริษัทมีโครงสร้างแบบกลุ่มธุรกิจที่มีการทำ�รายการระหว่างกันใน ลักษณะที่อาจมีความขัดแย้งของผลประโยชน์มากน้อยเพียงใด IRPC: บริษัทฯ และบริษัทในเครือดำ�เนินธุรกิจประเภทเดียวกับกลุ่ม ปตท. จึง ทำ�ให้เกิดธุรกรรมระหว่างบริษัทฯ และกลุ่ม ปตท. ซึ่งเป็นการทำ�ธุรกิจตามปกติ

• รายการระหว่างกัน

109-113

B08

บริษัทได้อำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุม ด้วยตนเองโดยการส่งแบบการมอบฉันทะไปพร้อมหนังสือนัดประชุม หรือไม่ IRPC: ใช่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : ก่อน การประชุม

71-72

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า 11-13 และ 43-52) • เว็บไซต์บริษัทฯ

B09

ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น ได้มีการระบุถึงเอกสาร/ หลักฐานที่ใช้ใน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การ มอบฉันทะไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ - สิทธิของผู้ถือหุ้น : ก่อน การประชุม IRPC: ใช่

71-72

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า 11-13 และ 43-52) • เว็บไซต์บริษัทฯ

B10

บริษัทมีการกำ�หนดเงื่อนไขซึ่งทำ�ให้ยากต่อการมอบฉันทะของผู้ถือหุ้น • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือไม่ - สิทธิของผู้ถือหุ้น : ก่อน การประชุม IRPC: ไม่

71-72

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า 11-13 และ 43-52) • เว็บไซต์บริษัทฯ

B11

บริษัทจัดส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อนการ ประชุม เป็นเวลากี่วัน IRPC: 22 วัน

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : ก่อน การประชุม

71

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558

B12

บริษัทได้นำ�เสนอหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นฉบับสมบูรณ์ไว้บนเว็บไซต์ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทล่วงหน้ามากกว่า 30 วันก่อนวันประชุมผู้ถือหุ้น - สิทธิของผู้ถือหุ้น : ก่อน การประชุม IRPC: 33 วัน

71

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ

B13

บริษัทได้กำ�หนดวิธีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการโดยการลง คะแนนเสียงแบบสะสม (Cumulative Voting) หรือไม่ (Bonus) IRPC: ไม่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : ก่อน การประชุม

• รายงานการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 3) • ข้อบังคับ (เว็บ ไซต์บริษัทฯ)

74-75

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

74-75

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

74-75 รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

331


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - สิทธิของผู้ถือหุน้ : ก่อนการประชุม - การปฏิบัติต่อผูถ้ ือหุ้นอย่างเท่า เทียมกัน

71 74

• หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 • เว็บไซต์บริษัทฯ

B14

บริษัทมีการส่งหนังสือนัดประชุมและเอกสารประกอบการประชุมเป็น ภาษาอังกฤษให้กับผู้ถือหุ้นต่างชาติหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่

B15

บริษัทมีรายการที่เป็นการให้ความช่วยเหลือทางทรัพยากรแก่บริษัทที่ ไม่ใช่บริษัทย่อยของบริษัทหรือไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่

B16

บริษัทเคยเกิดกรณีที่กรรมการ/ผู้บริหารของบริษัทมีการซื้อขายหลัก ทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายในหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน

75

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

B17

บริษัทมีกรณีฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การทำ�รายการระหว่างกัน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือไม่อย่างไร (Penalty) - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน IRPC: ไม่มีการฝ่าฝืน

75

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

B18

บริษัทมีกรณีฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การซื้อขายสินทรัพย์หรือ ไม่อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่มีการฝ่าฝืน

74-75

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

B19

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บริษัทได้ก�ำ หนดนโยบายให้กรรมการและผู้บริหารระดับสูงแจ้งต่อ คณะกรรมการหรือผู้ที่คณะกรรมการมอบหมายเกี่ยวกับการซื้อขาย - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น หุ้นของบริษัทตนเองอย่างน้อย 1 วันล่วงหน้าก่อนทำ�การซื้อขายหรือ อย่างเท่าเทียมกัน ไม่ (Bonus) IRPC: รายงานการถือครองหลักทรัพย์และการเปลี่ยนแปลงซื้อขาย ทุกครั้งต่อ คณะกรรมการบริษัทฯ

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น อย่างเท่าเทียมกัน

75

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

หมวดการคำ�นึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย

332

C01

บริษัทได้จัดทำ�รายงานความรับผิดชอบทางสังคมหรือไม่ IRPC: มี

• ความรับผิดชอบขององค์กร

207

• รายงานความยั่งยืน

C02

คณะกรรมการมีการกำ�หนดโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับความ ปลอดภัย และสุขอนามัยในสถานที่ทำ�งาน รวมถึงเปิดเผยสถิติการ เกิดอุบัติเหตุ หรืออัตราการหยุดงานหรืออัตราการเจ็บป่วยจากการ ทำ�งานหรือไม่ อย่างไร IRPC: มี

• การบริหารจัดการด้านคุณภาพ และความปลอดภัยอาชีว อนามัย และสิ่งแวดล้อม

197

• รายงานความยั่งยืน

C03

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับค่า ตอบแทนและสวัสดิการแก่พนักงานหรือไม่ อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ส่วนได้เสีย : พนักงาน

77-78

C04

คณะกรรมการได้จัดให้มีกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพสำ�หรับพนักงานหรือไม่ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี IRPC: มี ส่วนได้เสีย : พนักงาน

77-78

C05

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนา • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ความรู้ศักยภาพของพนักงาน และเปิดเผยตัวเลขจำ�นวนชั่วโมงเฉลี่ย - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ของการฝึกอบรมของพนักงานต่อปีหรือไม่อย่างไร ส่วนได้เสีย : พนักงาน IRPC: มี

C06

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายที่จะไม่เกี่ยวข้องกับการละเมิด สิทธิมนุษยชนหรือไม่ IRPC: มี

C07

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านสิทธิมนุษยชน

77-78

• รายงานความยั่งยืน

91-92

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

คณะกรรมการได้ก�ำ หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับลูกค้าไว้หรือ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไม่ อย่างไร - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ส่วนได้เสีย : ลูกค้า / ผู้บริโภค IRPC: มี

76

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C08

คณะกรรมการได้ก�ำ หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับคู่แข่งไว้หรือ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไม่ อย่างไร - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ส่วนได้เสีย : คู่แข่ง IRPC: มี

77

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C09

คณะกรรมการได้ก�ำ หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับคู่ค้าโดย เฉพาะเรื่องการคัดเลือกคู่ค้าไว้หรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ส่วนได้เสีย : คู่ค้า

76-77

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C10

คณะกรรมการได้ก�ำ หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเจ้าหนี้ โดย เฉพาะ เรื่องเงื่อนไขค้ำ�ประกันการบริหารเงินทุน และกรณีที่เกิดการ ผิดนัดชำ�ระหนี้ ไว้หรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ส่วนได้เสีย : เจ้าหนี้

77

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

C11

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการ ไม่ ล่วงละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเคารพลิขสิทธิ์และ ทรัพย์สินทางปัญญา

78

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C12

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการต่อต้านการทุจริต คอร์รัปชัน และห้ามจ่ายสินบนเพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจของบริษัท หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต

92-93

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • เว็บไซต์บริษัทฯ

C13

บริษัทมีกระบวนการในการประเมินความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชัน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือไม่ - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต IRPC: มี

91-93

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C14

บริษัทได้กำ�หนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลและควบคุมดูแล เพื่อป้องกันและติดตามความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชันหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต

91-93

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C15

บริษัทได้กำ�หนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการกำ�กับดูแลและควบคุมดูแล เพื่อป้องกันและติดตามความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชันหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต

91-93

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C16

บริษัทได้จัดให้มีการฝึกอบรมแก่พนักงานเพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับ นโยบายและแนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันของบริษัท หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต

91-93

C17

คณะกรรมการได้กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสังคมไว้หรือ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไม่ อย่างไร - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ชุมชนและสังคม IRPC: มี

78-79

C18

คณะกรรมการได้จัดกิจกรรมหรือเข้าไปมีส่วนร่วมสนับสนุนกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนหรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ชุมชนและสังคม

78-79

C19

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายการดำ�เนินธุรกิจภายใต้มาตรฐาน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สิ่งแวดล้อมหรือไม่ - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : IRPC: มี

79-80

C20

คณะกรรมการส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพหรือ ไม่ อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : สิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

79-80

C21

คณะกรรมการมีการให้ความรู้และฝึกอบรมพนักงานในเรื่อง สิ่งแวดล้อมหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : สิง่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

79

C22

คณะกรรมการได้จัดให้มีช่องทางที่ผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถ ติดต่อ / ร้องเรียนในเรื่องที่อาจเป็นปัญหากับคณะกรรมการได้ โดยตรงไว้หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

C23

บริษัทได้จัดให้มีกระบวนการในการจัดการกับเรื่องที่พนักงานร้องเรียน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ว่าอาจเป็นการกระทำ�ผิดหรือไม่ ด้านการต่อต้านการทุจริต IRPC: มี

92-93

C24

บริษัทได้ก�ำ หนดนโยบายหรือแนวทางในการปกป้องพนักงานหรือผู้ แจ้งเบาะแสในการกระทำ�ผิดหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต

92-93

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

C25

บริษัทได้จัดให้มีช่องทางสำ�หรับผู้มีส่วนได้เสียในการแจ้งหรือร้องเรียน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรณีที่ถูกละเมิดสิทธิ พร้อมให้ข้อมูลในการติดต่ออย่างชัดเจนหรือไม่ - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านการทุจริต IRPC: มี

92-93

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • รายงานความยั่งยืน

C26

บริษัทมีนโยบายค่าตอบแทนพนักงานที่สอดคล้องกับผลการดำ�เนิน งาน ของบริษัททั้งในระยะสั้นและระยะยาวหรือไม่ IRPC: มี

77-78

C27

มีกรณีที่บริษัทฝ่าฝืนกฎหมายด้านแรงงาน การจ้างงาน ผู้บริโภค การ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี แข่งขันทางการค้า สิ่งแวดล้อมหรือไม่ (Penalty) - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านแรงงาน IRPC: ไม่มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การคำ�นึงถึงบทบาทผู้มี ส่วนได้เสีย : พนักงาน

92

• รายงานความยั่งยืน

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • รายงานความยั่งยืน • รายงานความยั่งยืน • รายงานความยั่งยืน • รายงานความยั่งยืน • เว็บไซต์บริษัทฯ

• เว็บไซต์บริษัทฯ

• รายงานความยั่งยืน

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

333


ข้อ C28

หลักเกณฑ์ บริษัทถูกดำ�เนินการโดยหน่วยงานกำ�กับดูแลเนื่องจากไม่ได้ประกาศ ข้อมูลจากเหตุการณ์ส�ำ คัญภายในระยะเวลาที่ทางการกำ�หนด (Penalty) IRPC: ไม่มี

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

67-93

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

หมวดการเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส บริษัทมีการเปิดเผยโครงสร้างผู้ถือหุ้นอย่างโปร่งใสหรือไม่อย่างไร D01

มีการแจกแจงโครงสร้างผู้ถือหุ้นหรือไม่ IRPC: มี

• โครงสร้างผู้ถือหุ้น

97

D02

โครงสร้างผู้ถือหุ้นที่เปิดเผยแสดงให้เห็นถึงผู้ถือหุ้นที่แท้จริงของบริษัท • โครงสร้างผู้ถือหุ้น ได้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: ใช่

97

D03

มีการเปิดเผยข้อมูลการถือหุ้นของกรรมการทั้งทางตรงและทางอ้อม ไว้หรือไม่ IRPC: มี

• โครงสร้างผู้ถือหุ้น

136

D04

มีการเปิดเผยข้อมูลการถือหุ้นของผู้บริหารทั้งทางตรงและทางอ้อม ไว้หรือไม่ IRPC: มี

• โครงสร้างผู้ถือหุ้น

136-137

คุณภาพของรายงานประจำ�ปี

334

D05

บริษัทได้เปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีว่าได้มีการปฏิบัติตามหลักการ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กำ�กับดูแลกิจการที่ดีหรือไม่ อย่างไร ในกรณีที่ยังไม่ได้ปฏิบัตินั้น เป็น เพราะเหตุผล IRPC: เปิดเผยการปฏิบัติ

D06

วัตถุประสงค์/เป้าหมายระยะยาวของบริษัท (Corporate Objective/ Long Term Goal) IRPC: มี

• รายงานผลการดำ�เนินงาน

165-182

D07

ฐานะทรัพยากรและผลการดำ�เนินงาน IRPC: มี

• รายงานผลการดำ�เนินงาน

165-182

D08

ตัวชี้วัดผลการดำ�เนินงานของบริษัทที่ไม่ใช่ทรัพยากร เช่น ส่วนแบ่ง ทางการตลาด ระดับความพึงพอใจของลูกค้าเป็นต้น IRPC: มี

• จุดเด่นการดำ�เนินงาน

86

D09

ลักษณะการประกอบธุรกิจและภาวะการแข่งขัน IRPC: มี

• ภาวะตลาดและแนวโน้ม อุตสาหกรรม

156-160

D10

โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ (ถ้ามี) IRPC: มี

• โครงสร้างธุรกิจและผู้ถือหุ้น

D11

ความเสี่ยงหลัก (Key Risks) ในการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท IRPC: มีการเปิดเผย

• การควบคุมภายใน

D12

นโยบายการจ่ายเงินปันผล IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - นโยบายการจ่ายเงินปันผล

72

D13

นโยบายการแจ้งเบาะแสการกระทำ�ผิด (Whistle Blowing) IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลกที่ดี : ด้านการต่อต้านทุจริต

92-93

D14

ประวัติของคณะกรรมการ IRPC: มี

• คณะกรรมการบริษัท

28-41

D15

การระบุว่ากรรมการรายใดเป็นกรรมการอิสระ IRPC: มี

• คณะกรรมการบริษัทฯ • โครงสร้างการจัดการ

28-41 116

D16

การเปิดเผยหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ IRPC: มี

• โครงสร้างการจัดการ - ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท

130-131

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

D17

นโยบายและหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูง IRPC: มี

• โครงสร้างการจัดการ - ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท

132-133

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

D18

การเปิดเผยค่าตอบแทนกรรมการเป็นรายบุคคล IRPC: มี

• โครงสร้างการจัดการ - ค่าตอบแทนกรรมการบริษัท

131

D19

การเปิดเผยข้อมูลจำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ IRPC: มี

• โครงสร้างการจัดการ - การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ

126

66-93

97 179-181

• แบบ 56-1


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

D20

การเปิดเผยข้อมูลการเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละคน IRPC: มี

• โครงสร้างการจัดการ - การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ

D21

การเปิดเผยข้อมูลการเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการ แต่ละคนในปีที่ผ่านมา IRPC: มีการเปิดเผย

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การพัฒนากรรมการ • คณะกรรมการบริษัท

D22

บริษัทมีการเปิดเผยข้อมูลการทำ�รายการระหว่างกันไว้อย่างครบถ้วน หรือไม่ IRPC: มี

• รายการระหว่างกัน

109-113

D23

บริษัทมีการกำ�หนดนโยบายให้กรรมการต้องเปิดเผย/รายงานการซื้อ- • รายการระหว่างกัน ขายหุ้น/ ถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทให้ทราบทุกครั้ง IRPC: มี

109-113

D24

บริษัทเปิดเผยการเปลี่ยนแปลงการถือครองหุ้นบริษัทของกรรมการ และผู้บริหารระดับสูงโดยแสดงจำ�นวนหุ้นที่ถือ ณ ต้นปีสิ้นปีและที่มี การซือ้ ขายระหว่างปีไว้ในรายงานประจำ�ปี หรือไม่ IRPC: มี

109-113

D25

บริษัทมีการกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการรายงานการมีส่วนได้เสียของ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการหรือไม่ - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส IRPC: มี

80-81

D26

บริษัทกำ�หนดและเปิดเผยไว้ถึงนโยบายที่ว่า การทำ�รายการระหว่าง • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กันที่ส�ำ คัญต้องได้รับการพิจารณาและอนุมัติจากคณะกรรมการหรือไม่ - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส IRPC: มี โดยปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ ตลท. กำ�หนดไว้อย่างเคร่งครัด • รายการระหว่างกัน

80-81

• รายการระหว่างกัน

เอกสารอื่น

126 89-90 28-41

109-113

D27

บริษัทได้ว่าจ้างผู้สอบบัญชีที่มีความเป็นอิสระ และมีความน่าเชื่อถือ หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี

91

D28

บริษัทเปิดเผยค่าสอบบัญชีที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชีหรือบริษัทสอบบัญชี • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ - ค่าตอบแทนผู้สอบบัญชี IRPC: มี

91

D29

บริษัทเปิดเผยค่าบริการอื่นๆ ที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชีหรือบริษัทสอบ บัญชี ไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี

91

D30

งบการเงินของบริษัทได้รับการรับรองโดยมีเงื่อนไขจากผู้สอบบัญชี หรือไม่ IRPC: งบการเงินของบริษัทฯ ได้รับการรับรองโดยไม่มีเงื่อนไข

• รายงานทางการเงิน

224-225

บริษัทได้จัดให้มีการสื่อสารข้อมูลของบริษัทผ่านช่องทางที่หลากหลาย D31

รายงานประจำ�ปี IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D32

รายงานผลการดำ�เนินงานรายไตรมาส IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D33

เว็บไซต์ของบริษัท IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D34

การพบปะกับนักวิเคราะห์ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D35

การแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน/การจัดทำ�จดหมายข่าวที่นำ�เสนอถึงฐานะ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ทางทรัพยากรของบริษัท - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส IRPC: มี

80-81

D36

บริษัทมีประวัติการส่งรายงานทางทรัพยากรทั้งรายไตรมาส และรายปี • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ล่าช้าหรือไม่ - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส IRPC: ไม่มี

80-81

• เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

335


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

บริษัทมีเว็บไซต์ที่น�ำ เสนอข้อมูลที่ทันเหตุการณ์เกี่ยวกับบริษัทในเรื่องเหล่านี้หรือไม่ D37

ลักษณะการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท IRPC: มี

• ลักษณะการประกอบธุรกิจ

98-99

D38

งบการเงินของบริษัท IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D39

เอกสารข่าว (Press Release) ของบริษัท IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D40

โครงสร้างการถือหุ้นของบริษัท IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D41

โครงสร้างองค์กร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D42

โครงสร้างกลุ่มธุรกิจ (ถ้ามี) IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D43

ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D44

ข้อมูลด้านนักลงทุนสัมพันธ์ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D45

ข้อบังคับบริษัท IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D46

รายงานประจำ�ปีที่สามารถดาวน์โหลดได้ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D47

หนังสือนัดประชุมที่สามารถดาวน์โหลดได้ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D48

จัดทำ�เว็บไซต์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80-81

D49

บริษัทมีการจัดตั้งหน่วยงานนักลงทุนสัมพันธ์และเปิดเผยข้อมูลในการ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ติดต่อสอบถามที่สะดวกไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส IRPC: มี

80-81

D50

บริษัทมีประวัติการถูกสั่งให้แก้ไขงบทรัพยากรโดยสำ�นักงาน ก.ล.ต.หรือไม่ อย่างไร (Penalty) IRPC: ไม่มี

80-81

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

• เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ • เว็บไซต์บริษัทฯ

หมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

336

E01

คณะกรรมการมีการจัดทำ�นโยบายกำ�กับดูแลกิจการเป็นของตนเอง หรือไม่ อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

67-68 81

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • เว็บไซต์บริษัทฯ

E02

คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีนโยบายจริยธรรมธุรกิจและ/หรือคู่มือ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณสำ�หรับกรรมการผู้บริหารและพนักงานของบริษัทและเปิด - นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เผยไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือเว็บไซต์ของบริษัทหรือไม่ - ความรับผิดชอบของกรรมการ IRPC: มี

67-68 81

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • เว็บไซต์บริษัทฯ

E03

บริษัทได้กำ�หนดให้กรรมการผู้บริหารพนักงานปฏิบัติตามจริยธรรม ธุรกิจและ/หรือคู่มือจรรยาบรรณสำ�หรับกรรมการผู้บริหารและ พนักงานของบริษัท หรือไม่ IRPC: มี

67-68 81

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • เว็บไซต์บริษัทฯ

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

เอกสารอื่น

E04

บริษัทได้กำ�หนดและเปิดเผยแนวทางการส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติ ตามจริยธรรมธุรกิจและ/หรือคู่มือจรรยาบรรณรวมถึงติดตามการ ปฏิบัติดังกล่าวหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

67-68 81

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • เว็บไซต์บริษัทฯ

E05

คณะกรรมการมีการกำ�หนดวิสัยทัศน์/ภารกิจของบริษัทไว้หรือไม่ อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82-83

E06

คณะกรรมการได้พิจารณาทบทวนและอนุมัติวิสัยทัศน์และภารกิจของ บริษัทอย่างน้อยทุกๆ 5 ปี หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82-83

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E07

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่ กรรมการแต่ละคนจะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการได้ไม่เกิน 5 แห่งไว้ใน นโยบายกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E08

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนบริษัทจดทะเบียนที่ กรรมการแต่ละคนจะดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการได้ไม่เกิน 3 แห่ง ไว้ใน นโยบายกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทหรือไม่ (Bonus) IRPC: มีการกำ�หนดนโยบายการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน ไม่เกิน 5 แห่ง

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E09

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายในการไปดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ที่บริษัทอื่นของกรรมการผู้จัดการหรือไม่ - ความรับผิดชอบของกรรมการ IRPC: มี

82

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E10

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนปีในการดำ�รง ตำ�แหน่งของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 9 ปี ไว้หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E11

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายจำ�กัดจำ�นวนปีในการดำ�รง ตำ�แหน่งของกรรมการอิสระไว้ไม่เกิน 6 ปี ไว้หรือไม่ (Bonus) IRPC: กำ�หนดไว้ ไม่เกิน 9 ปี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82

E12

มีกรรมการอิสระในคณะกรรมการที่ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการมาเกิน 9 ปีหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

82

E13

บริษัทละเลยต่อการเปิดเผยว่า กรรมการคนใดเป็นกรรมการอิสระหรือ • โครงสร้างการจัดการ ไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี

E14

กรรมการหรือผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเคยเป็นพนักงานหรือหุ้นส่วน • คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร ของบริษัทสอบบัญชีภายนอกที่บริษัทใช้บริการอยู่ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา หรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี

32-59

E15

ในคณะกรรมการของบริษัท มีกรรมการอิสระที่ด�ำ รงตำ�แหน่งเป็น กรรมการในบริษัทจดทะเบียนมากกว่า 5 แห่งหรือไม่ IRPC: ไม่มี

• คณะกรรมการบริษัท

32-41

E16

ในคณะกรรมการของบริษัท มีกรรมการที่เป็นผู้บริหารที่ไปดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียนอื่นมากกว่า 2 แห่งหรือไม่ IRPC: ไม่มี

• คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหาร

E17

ในคณะกรรมการของบริษัท มีกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารอย่างน้อย 1 คน ที่มีประสบการณ์การทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี

• คณะกรรมการบริษัท

E18 E19

บริษัทได้จัดให้มีหน่วยงานกำ�กับการปฏิบัติงานหรือไม่ (Compliance Unit) (Bonus) IRPC: มี

E20

คณะกรรมการจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายในขึ้นเป็นหน่วยงานหนึ่ง • โครงสร้างองค์กร ภายในบริษัทหรือไม่อย่างไร IRPC: มี

116

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

41 32-41

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

บริษัทมีประวัติการกระทำ�ผิดกฎระเบียบของก.ล.ต./ตลาดหลักทรัพย์ฯ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือไม่อย่างไร IRPC: ไม่มี

67-93

• เว็บไซต์ของ ตลาดหลักทรัพย์ฯ

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

69-70 42

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

337


ข้อ

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

E21

ในกรณีที่มีการจัดตั้งหน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานนี้มีสาย การรายงานไปยังส่วนใดของบริษัท IRPC: เป็นหน่วยงานขึ้นตรง และรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ สำ�หรับโครงสร้างภายในองค์กรขึ้นกับกรรมการผู้จัดการใหญ่

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ • โครงสร้างองค์กร

84 42

E22

บริษัทได้เปิดเผยชื่อของหัวหน้าของหน่วยงานตรวจสอบภายใน (Head • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี of Internal Audit) หากเป็นการว่าจ้างภายนอกได้ระบุว่า ใช้บริษัท - ความรับผิดชอบของกรรมการ สอบบัญชีใดหรือไม่ • โครงสร้างการจัดการ IRPC: มี/ ผู้บริหารภายใน

84 121

เอกสารอื่น

การประเมินคุณภาพรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ E23

การเปิดเผยจำ�นวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบใน รอบปีนั้น IRPC: มี

• โครงสร้างการจัดการ - การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ

E24

การประเมินและสอบทานระบบการควบคุมภายใน IRPC: มี

• รายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ

E25

การทำ�รายการระหว่างกัน IRPC: มี

• โครงสร้างธุรกิจ - รายการระหว่างกัน

E26

การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี IRPC: มี

• รายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ

60-63

E27

การสอบทานรายงานทางการเงิน IRPC: มี

• รายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ

60-63

E28

การดูแลด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย IRPC: มี

• รายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ

60-63

E29

ข้อสรุป /ความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบต่อการดำ�เนินการ ในด้านต่างๆ โดยรวม IRPC: มี

• รายงานของคณะ กรรมการตรวจสอบ

60-63

E30

คณะกรรมการได้ก�ำ หนดและเปิดเผยถึงนโยบายความหลากหลายใน โครงสร้างของคณะกรรมการ (Board Diversity) หรือไม่ เช่น ทาง ด้านทักษะวิชาชีพ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพศ เป็นต้น IRPC: มี

• - • -

E31

E32

คณะกรรมการได้เปิดเผยหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกกรรมการใหม่หรือ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไม่ - การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ • โครงสร้างการจัดการ IRPC: มี - การสรรหากรรมการ

62-63 109-113

83

83 123

• - • -

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ โครงสร้างการจัดการ การสรรหากรรมการ

ในการสรรหากรรมการ ได้กำ�หนดคุณสมบัติของกรรมการ ที่ต้องการสรรหา โดยพิจารณาจากทักษะที่จำ�เป็นที่ยังขาด อยู่ในคณะกรรมการหรือไม่ (Bonus) IRPC: มี

• - • -

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ โครงสร้างการจัดการ การสรรหากรรมการ

คณะกรรมการได้ใช้บริษัทที่ปรึกษา (Professional Search Firm) หรือฐานข้อมูลกรรมการ (Director Pool) ในการสรรหากรรมการใหม่ หรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช้ Director Pool ประกอบการพิจารณา

• - • -

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ โครงสร้างการจัดการ การสรรหากรรมการ

E35

คณะกรรมการได้จัดให้มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่หรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ : ปฐมนิเทศกรรมการใหม่

89

E36

คณะกรรมการมีนโยบายส่งเสริมให้กรรมการพัฒนาความรู้อย่าง ต่อเนื่อง หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การพัฒนาความรู้

89-90

E37

กรรมการของบริษัทได้เข้าร่วมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติ หน้าที่กรรมการหรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การพัฒนาความรู้ • กรรมการบริษัท

89-90

E34

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

123

คณะกรรมการได้เปิดเผยกระบวนการในการแต่งตั้งกรรมการใหม่ หรือไม่ IRPC: มี

E33

338

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ โครงสร้างการจัดการ การสรรหากรรมการ

126

83 123 83 123 83 123

31-41

• หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 4-5) • หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 4-5) • หนังสือเชิญประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจำ� ปี 2558 (หน้า 4-5) • คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • หนังสือเชิญประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2558 (หน้า 4-5) • คูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี • คูม่ อื การกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ี • คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี


ข้อ

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

คณะกรรมการสนับสนุนกรรมการให้เข้าอบรมหลักสูตรหรือเข้าร่วม กิจกรรมสัมมนาที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติงานอย่าง ต่อเนื่องหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การพัฒนาความรู้ • กรรมการบริษัท

89-90

E39

ในปีที่ผ่านมา คณะกรรมการได้จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการรวม กี่ครั้ง

• โครงสร้างการจัดการ

126

E40

ในปีทผ่ี า่ นมา กรรมการของบริษทั เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการมากน้อย • โครงสร้างการจัดการ เพียงใด

126

E41

บริษัทได้กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับจำ�นวนองค์ประชุมขั้นต่ำ� ณ ขณะที่ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมคณะกรรมการว่าต้องมีกรรมการอยู่ - ความรับผิดชอบของกรรมการ ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำ�นวนกรรมการทั้งหมดหรือไม่ : การประชุมกรรมการ IRPC: กำ�หนดให้ปฏิบัติเป็น Best Practice

E42

คณะกรรมการมีการกำ�หนดตารางการประชุมล่วงหน้าทุกปีหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การประชุมกรรมการ

85-86

E43

กรรมการแต่ละคนมีสัดส่วนของการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ อย่างน้อยร้อยละ 75 ของการประชุมทั้งปีหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การประชุมกรรมการ

85-86

E44

คณะกรรมการได้รับเอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการล่วงหน้า • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ก่อนวันประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 5 วันทำ�การหรือไม่ - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การประชุมกรรมการ IRPC: อย่างน้อย 5 - 7 วัน

85-86

E45

ในปีที่ผ่านมากรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารได้มีการประชุมระหว่างกันเอง • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี หรือไม่ อย่างไร - ความรับผิดชอบของกรรมการ : การประชุมกรรมการ IRPC: มี

85-86

E46

คณะกรรมการได้จัดทำ�นโยบายบริหารความเสี่ยงหรือไม่ IRPC: มี

E38

หลักเกณฑ์

• - • -

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รายงานผลการดำ�เนินงาน บริหารความเสี่ยง

31-41

85-86

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

85 179

E47

คณะกรรมการได้จัดให้มีและเปิดเผยถึงระบบควบคุมภายในและระบบ • รายงานผลการดำ�เนินงาน บริหารความเสี่ยงหรือไม่ - บริหารความเสี่ยง IRPC: มี

179-181

E48

คณะกรรมการได้พิจารณาระบบควบคุมภายในและระบบบริหารความ • รายงานผลการดำ�เนินงาน เสี่ยงของบริษัทและเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ - บริหารความเสี่ยง IRPC: มี

179-181

E49

คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานถึงความคิดเห็นที่มีต่อ ความเพียงพอของระบบควบคุมภายในและระบบบริหาร ความเสี่ยงของบริษัทไว้ในรายงานประจำ�ปี (Bonus) IRPC: มี

E50

คณะกรรมการได้เปิดเผยถึงแนวทางในการจัดการกับความเสี่ยงหลัก • ควบคุมภายใน (Key Risk) ของบริษัทหรือไม่ • รายงานผลการดำ�เนินงาน - บริหารความเสี่ยง IRPC: มี

• รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

เอกสารอื่น

60-63

62 179-181

E51

คณะกรรมการมีการกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับความขัดแย้ง ของผลประโยชน์หรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การเปิดเผยข้อมูลและ ความโปร่งใส

80

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E52

คณะกรรมการมีการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง คณะกรรมการและฝ่ายจัดการไว้ชัดเจนหรือไม่อย่างไร IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การแยกตำ�แหน่งประธาน กรรมการและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่

83

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

E53

บริษัทได้เปิดเผยถึงเรื่องที่เป็นอำ�นาจอนุมัติของคณะกรรมการหรือไม่ • โครงสร้างการจัดการ IRPC: มี

E54

คณะกรรมการมีการประเมินผลงานประจำ�ปีของทั้งคณะหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ

86

E55

คณะกรรมการได้เปิดเผยกระบวนการในการประเมินผลงานคณะ กรรมการทั้งคณะหรือไม่ IRPC: มี

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ

86

120

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

339


ข้อ E56

คณะกรรมการได้เปิดเผยหลักเกณฑ์การประเมินผลงาน คณะกรรมการทั้งคณะหรือไม่ IRPC: มี

E57

คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลงานเป็นรายบุคคลหรือไม่ IRPC: มี

E58 E59 E60 E61 E62 E63 E64 E65

E66 E67

E68 E69 E70

E71

E72

E73

340

หลักเกณฑ์

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

(หน้า)

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ

86

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ คณะกรรมการได้เปิดเผยกระบวนการในการประเมินผลงาน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการเป็นรายบุคคลหรือไม่ - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ IRPC: มี คณะกรรมการได้เปิดเผยหลักเกณฑ์การประเมินผลงาน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการเป็นรายบุคคลหรือไม่ - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ IRPC: มี คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลงานของคณะกรรมการชุดย่อย • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - การประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือไม่ ของคณะกรรมการ IRPC: มี คณะกรรมการได้จัดให้มีการประเมินผลงานประจำ�ปีของ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ผู้บริหารสูงสุด (CEO) ขององค์กรหรือไม่ - การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของคณะกรรมการ IRPC: มี • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการได้ดูแลให้มีการจัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่ง ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร - แผนการสืบทอดตำ�แหน่ง IRPC: มี คณะกรรมการได้เปิดเผยนโยบายค่าตอบแทนของ CEO ทั้งระยะสั้น • โครงสร้างการจัดการ และระยะยาวรวมถึงตามผลการปฏิบัติงานของ CEOหรือไม่ IRPC: มี คณะกรรมการได้เปิดเผยโครงสร้างค่าตอบแทนของกรรมการที่ไม่เป็น • โครงสร้างการจัดการ ผู้บริหารหรือไม่ IRPC: มี ผู้ถือหุ้น/คณะกรรมการได้อนุมัติค่าตอบแทนของกรรมการบริหาร/ • โครงสร้างการจัดการ ผู้บริหารระดับสูงหรือไม่ IRPC: มี คณะกรรมการมีการแต่งตั้งผู้ดำ�รงตำ�แหน่งเลขานุการบริษัทไว้หรือไม่ IRPC: มี เลขานุการบริษัทจบการศึกษาด้านกฎหมายหรือบัญชีหรือได้ผ่านการ อบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัท หรือไม่ IRPC: เลขานุการบริษัทได้ผ่านการอบรมที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัท ประธานกรรมการของบริษัทเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ IRPC: ไม่เป็น แต่ ได้รับการแต่งตั้งเนื่องจากความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ ในธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ประธานกรรมการและผู้บริหารสูงสุดของบริษัทเป็นคนเดียวกันหรือไม่ IRPC: ไม่

86 86 86 86-87 86-87 90 132 130-131 130-132

• โครงสร้างการจัดการ

129

• โครงสร้างการจัดการ

129

• คณะกรรมการบริษัท • โครงสร้างการจัดการ

32 116

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - ความรับผิดชอบของกรรมการ

83

คณะกรรมการได้กำ�หนดและเปิดเผยบทบาทหน้าที่ของประธาน • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี กรรมการไว้หรือไม่ - ความรับผิดชอบของกรรมการ • โครงสร้างการจัดการ IRPC: มี การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบหรือไม่ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - คณะกรรมการตรวจสอบ IRPC: มี • โครงสร้างการจัดการ : คณะกรรมการตรวจสอบ มีการกำ�หนดหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ - คณะกรรมการตรวจสอบ • โครงสร้างการจัดการ : IRPC: มี คณะกรรมการตรวจสอบ มีการเปิดเผยประวัติและคุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบไว้ให้เป็น • คณะกรรมการบริษัท ที่ทราบหรือไม่ IRPC: มี

เอกสารอื่น

83-84 120

84 121 84 121 32-41

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี


ข้อ E74 E75 E76 E77 E78

E79

หลักเกณฑ์

สมาชิกของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นกรรมการอิสระทั้งหมดหรือไม่ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - คณะกรรมการตรวจสอบ IRPC: มี • โครงสร้างการจัดการ คณะกรรมการตรวจสอบได้ประชุมอย่างน้อยปีละ 4 ครั้งหรือไม่ • โครงสร้างการจัดการ : การเข้าร่วมประชุมของ IRPC: มี คณะกรรมการ มีการเปิดเผยสถิติการเข้าประชุมคณะกรรมการตรวจสอบของ • โครงสร้างการจัดการ : กรรมการตรวจสอบแต่ละคนในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ IRPC: มี คณะกรรมการตรวจสอบมีกรรมการอย่างน้อย 1 คนที่จบการศึกษา • คณะกรรมการบริษัท ด้านบัญชีหรือไม่ IRPC: มี คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทหน้าที่ในการเสนอแต่งตั้ง และเลิก • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - คณะกรรมการตรวจสอบ จ้างผู้สอบบัญชีภายนอกหรือไม่ • โครงสร้างการจัดการ : IRPC: มี คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทหน้าที่ในการเสนอแต่งตั้ง โยกย้าย • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี และเลิกจ้างผู้ตรวจสอบภายในหรือไม่ - คณะกรรมการตรวจสอบ • โครงสร้างการจัดการ : IRPC: มี คณะกรรมการตรวจสอบ การจัดตั้งคณะกรรมการค่าตอบแทน

E80

คณะกรรมการมีการจัดตั้งคณะกรรมการค่าตอบแทนหรือไม่ IRPC: มี

E81

มีการกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ค่าตอบแทนไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: มี คณะกรรมการค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการอิสระเป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) หรือไม่ IRPC: ใช่ (2 ใน 3 ท่าน) ประธานคณะกรรมการค่าตอบแทนเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ IRPC: ใช่

E82 E83 E84

คณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนได้จัดประชุมอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้งหรือไม่ IRPC: ใช่

E85

มีการเปิดเผยสถิติการเข้าประชุมคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน ของกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทนแต่ละคนในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี บริษัทมีการจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาหรือไม่ IRPC: มี

E86 E87 E88 E89 E90 E91

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี

มีการกำ�หนดหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ สรรหาไว้อย่างชัดเจนหรือไม่ IRPC: มี คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการอิสระทั้งหมดหรือไม่ (Bonus) IRPC: มีกรรมการอิสระ 2 ใน 3 ท่าน คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการอิสระ เป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) หรือไม่ IRPC: กรรมการอิสระ 2 ใน 3 ท่าน ประธานกรรมการสรรหาเป็นกรรมการอิสระหรือไม่ IRPC: ใช่ มีการเปิดเผยสถิติการเข้าประชุมคณะกรรมการสรรหาของ กรรมการสรรหาแต่ละคนในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี

• - • • - • • - • • - • • - • • • - • • - • • - • • - • • - • •

รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ : การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ โครงสร้างการจัดการ : การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการสรรหาฯ โครงสร้างการจัดการ โครงสร้างการจัดการ : การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ

(หน้า)

เอกสารอื่น

84 116 126 126 32-41

84 121 84 121

84 122 84 122

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

84 122 84 122 84 126 126

84 122 84 122

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

84 116 84 116 84 116 126

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

341


ข้อ E92

คณะกรรมการสรรหาได้จัดประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้งหรือไม่ IRPC: ใช่

E93

คณะกรรมการมีการจัดตั้ง CG Committee หรือไม่ IRPC: มี

E94

คณะกรรมการมีการจัดตั้ง Risk Management Committee หรือไม่ IRPC: มี

E95

คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการจำ�นวน 5-12 คน หรือไม่ IRPC: ปัจจุบัน 15 คน

E96

คณะกรรมการมีกรรมการอิสระที่เป็นผู้หญิงอย่างน้อย 1 คนหรือไม่ (Bonus) IRPC: ไม่มี คณะกรรมการบริษัทมีกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารเป็นจำ�นวนเท่าไร IRPC: 14 คน จาก 15 คน (ร้อยละ 93.34 ของคณะกรรมการทั้งคณะ) คณะกรรมการบริษัทมีกรรมการที่เป็นกรรมการอิสระเป็นจำ�นวนเท่าไร IRPC: กรรมการอิสระจำ�นวน 6 คน (ร้อยละ 40 ของกรรมการทั้งคณะ) บริษัทมีการกำ�หนดนิยามความเป็นอิสระของกรรมการ และเปิดเผยไว้ให้เป็นที่ทราบหรือไม่ IRPC: มี

E97 E98 E99

E100 E101 E102

E103 E104 E105 E106

342

หลักเกณฑ์

กรรมการอิสระมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทหรือไม่ IRPC: มี คณะกรรมการมีการจัดทำ�รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต่อรายงานทางทรัพยากรเสนอไว้ในรายงานประจำ�ปีหรือไม่ IRPC: มี บริษัทจัดให้มีโครงการให้สิทธิแก่ผู้บริหารในการซื้อหลักทรัพย์ ของบริษัท โดยมีระยะเวลาในการใช้สิทธิมากกว่า 3 ปี และกำ�หนดราคาการใช้สิทธิที่สูงกว่าราคาตลาด ณ ช่วงเวลาที่มีการ จัดสรรสิทธิ รวมถึงไม่มีการกระจุกตัวเกิน 5% (Bonus / Penalty) IRPC: ไม่มี บริษัทได้เข้าร่วมเป็นแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริตหรือไม่ (Bonus) IRPC: ใช่ ในรอบปีที่ผ่านมา มีกรณีการกระทำ�ผิดด้านการทุจริต (Fraud) หรือ กระทำ�ผิดจริยธรรมหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี มีกรณีที่กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารลาออกอันเนื่องจาก ประเด็นเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทหรือไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี มีกรณีเกี่ยวกับชื่อเสียงในทางลบของบริษัท อันเนื่องมาจาก ความล้มเหลวในการทำ�หน้าที่สอดส่องดูแลของคณะกรรมการหรือ ไม่ (Penalty) IRPC: ไม่มี

อ้างอิงรายงานประจำ�ปี • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - คณะกรรมการสรรหาฯ • โครงสร้างการจัดการ : การเข้าร่วมประชุมของ คณะกรรมการ • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - คณะกรรมการชุดย่อย • โครงสร้างการจัดการ : คณะกรรมการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - คณะกรรมการชุดย่อย • โครงสร้างการจัดการ : คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง • โครงสร้างการจัดการ

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

(หน้า)

เอกสารอื่น

84 126

84 124

85 124 116

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี • ข้อบังคับ (เว็บ ไซต์บริษัทฯ)

67-93

• โครงสร้างการจัดการ

116

• โครงสร้างการจัดการ

116

• โครงสร้างการจัดการ : กรรมการอิสระ

117-118

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

• โครงสร้างการจัดการ : กรรมการอิสระ

117-118

• คู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี

• รายงานความรับผิดชอบของคณะ กรรมการต่อรายงานทางการเงิน

223

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

67-93

• รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลก ที่ดี : ด้านการต่อต้านทุจริต • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี - บทบาทการเป็นพลเมืองโลก ที่ดี : ด้านการต่อต้านทุจริต • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี • รายงานการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

92-93 92-93 67-93 67-93


การปฏิบัติตามเกณฑ์ความรับผิดชอบต่อสังคม

การปฏิบัติตามเกณฑ์ความรับผิดชอบต่อสังคม

หน้า

บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจควบคู่ไปกับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักธรรมาภิบาล และ การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพื่อนำ�ไปสู่การดำ�เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทฯ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี

124

บริษัทฯ เปิดเผยผลรวมของค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง

132

บริษัทฯ เปิดเผยค่าตอบแทนพนักงานทั้งหมด

304

บริษัทฯ เปิดเผยค่าสอบบัญชีที่จ่ายให้กับผู้สอบบัญชี

91

บริษัทฯ มีนโยบายและกลยุทธ์เกี่ยวกับความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง

179

บริษัทฯ มีนโยบายต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชัน

92

บริษัทฯ มีแนวปฏิบัติในการแจ้งเบาะแส (Whistleblowing)

93

บริษัทฯ เปิดช่องทางให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถรายงานต่อบุคคล/หน่วยงานที่รับผิดชอบ

93

บริษัทฯ เข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการต่อต้านคอร์รัปชัน

92

บริษทั ฯ กำ�หนดวิสยั ทัศน์/นโยบายทีส่ ง่ เสริมการพัฒนานวัตกรรมทางธุรกิจและสังคมของบริษทั ฯ

165 / 172-175

บริษทั ฯ ปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดความคิด/สินค้าหรือกระบวนการทำ�งาน จนเกิดการพัฒนา เป็นนวัตกรรมทางธุรกิจและสังคม

165 / 209-213

บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน

192

บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับการจัดการและดูแลสิ่งแวดล้อม

197

บริษัทฯ ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

192-194

บริษํทฯ ดำ�เนินการในการป้องกันและลดมลพิษ/ของเสีย

198-201

บริษัทฯ ดำ�เนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก บริษัทฯ กำ�หนดนโยบายด้านความรับผิดชอบต่อสังคม

198 207-217

บริษัทฯ เคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม

209

บริษัทฯ แสดงเจตนารมณ์อย่างชัดเจนที่จะไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน

208

บริษัทฯ มีการดำ�เนินโครงการพัฒนาศักยภาพพนักงาน

182

บริษัทฯ สนับสนุนและช่วยเหลือให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน

210-214

บริษัทฯ มีการระบุกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียที่สำ�คัญ

75-79

บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถมีส่วนร่วมกับบริษัทฯ

75-77

บริษัทฯ จัดทำ�รายงานเปิดเผยการดำ�เนินงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม

217 รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

343


คำ�ย่อและศัพท์เทคนิค ชื่อย่อ ABS

ชื่อ (A-Z) Acrylonitrile Butadiene Styrene

Green ABS

ACN

Acrylonitrile

Aromatic

ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกที่มีคุณสมบัติในการทนแรงกระแทกได้ดี ทนต่อความร้อนสูง แ ข็งแกร่ง และทนต่อสารเคมีได้ดี ใช้ส�ำ หรับผลิตอุปกรณ์รถยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ผลิตจาก ปฏิกริ ยิ าระหว่าง โพลิบิวทาไดอีนกับสไตรีน และอะคริโลไนไทรล์ ซึ่งทำ�ได้ 3 วิธี คือ แบบบัลค์ แบบอีมัลชันและ แบบแขวนลอย ใช้ท�ำ อุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วกับการขนส่ง เครือ่ งใช้ ภายในบ้าน ได้แก่ ตูเ้ ย็น จักรเย็บผ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น คอมพิวเตอร์ ทีวี วิทยุ โทรศัพท์ ตั้งโต๊ะ ท่อและข้อต่อใช้ในงานก่อสร้าง บรรจุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ กระเป๋าเดินทาง และลำ�เรือ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ทีบ่ ริษทั ฯ สามารถผลิตได้เป็นรายแรกของโลก จากการนำ�ยาง ธรรมชาติมาทดแทนการใช้ยางสังเคราะห์ในการผลิตเม็ดพลาสติกเอบีเอส ของเหลวใสไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นหอม และติดไฟง่าย ผลิตจากโพรพิลีน โดยให้ทำ� ปฏิกิริยา กับแอมโมเนียและอากาศ ซึง่ เป็นวิธที ด่ี ที ส่ี ดุ เพราะมีตน้ ทุนการผลิตต่�ำ อะคริโลไนไทรล์เป็นสารเคมี ที่ว่องไวมาก จะโพลิเมอไรซ์หรือ โคโพลิเมอไรซ์ทันที ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเส้นใยสังเคราะห์และ พลาสติกชนิดต่างๆ นอกจากนี้ ยังเป็นวัตถุดบิ ใ นการผลิตอะคริลกิ แอซิด อะคริแลมีด และแอมีนต่างๆ แต่ไม่มีการใช้ประโยชน์จาก อะคริโลไนไทรล์โดยตรง ใช้เป็นสารเคมีสำ�หรับ ผลิต ABS และ SAN ไฮโดรคาร์บอนที่มีโครงสร้างเป็นวงหกเหลี่ยมของคาร์บอน 6 อะตอมซึ่งต่อกันด้วยพันธะ เดีย่ วสลับกับพันธะคูต่ ลอดวง ทำ�ให้มคี ณ ุ สมบัตทิ างเคมีแตกต่างจากไฮโดรคาร์บอน อิ่มตัว ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว อะโรเมติกส์ ที่เป็นที่ต้องการทั้งในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี หน่วยกลัน่ น้�ำ มันดิบ โดยแยกน้�ำ มันตามอุณหภูมจิ ดุ ควบแน่นของน้�ำ มันทีแ่ ตกต่างกัน ได้แก่ แอลพีจี เบนซิน แนฟทา น้�ำ มันก๊าด และน้ำ�มันดีเซล หน่วยกลั่นบรรยากาศ ร ะบบการแยกน้ำ�มันดิบ ด้วยการกลั่นลำ�ดับส่วนที่ความดันบรรยากาศปกติ โดยอาศัย ความแตกต่างของจุดเดือดของ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดต่างๆ ที่อยู่ในน้ำ�มันดิบ ทำ�ให้แยกน้ำ�มันดิบออกเป็นส่วนกลั่น แต่ละส่วนที่เหมาะสมสำ�หรับการผลิตผลิตภัณฑ์​์น้ำ�มันช นิดต่างๆ ได้แก่ แอลพีจี น้ำ�มันเบนซิน น้ำ�มันก๊าด น้�ำ มันดีเซล และน้ำ�มันเตา โพลิเมอร์ทถ่ี กู พัฒนาเพือ่ ให้มสี มบัตดิ กี ว่าโพลิสไตรีน ได้แก่ ทนความร้อน ไม่เปราะ แตกง่าย มี ความแข็ง และใสเช่นเดียวกับโพลิสไตรีน แต่ราคาไม่แพง โดยปกติแล้วมี อะคริโลไนไทรล์ ร้อยละ 20-30 ทนแรงกระแทกดีขน้ึ ทนต่อสารไฮโดรคาร์บอนและน้�ำ มันมากกว่าโพลิสไตรีน ถ้ามีส่วนของ อะคริโลไนไทรล์ สูงขึ้น จะทำ�ให้ทนความร้อนได้สูงขึ้น แต่การขึ้นรูปจะทำ�ยากขึ้น ใช้ประโยชน์ในงานต่างๆ แทนโพลิสไตรีน เมื่อต้องการ ความแข็งแรงมากขึ้น ดังนั้น จึงใช้ผลิต ของใช้ในบ้านเช่น แก้วน้�ำ เหยือกน้ำ� เป็นต้น น้ำ�มันหนักที่กลั่นจากส่วนล่างของหอกลั่น สามารถนำ�ไปแตกโมเลกุลต่อได้ หรือส ามารถใช้ เป็นน้ำ�มันเตา ได้จากส่วนกลั่นที่เหลืออยู่ที่ก้นหอกลั่นบรรยากาศ หลังจาก กลั่นน้ำ�มันเบาออก จากน้ำ�มันดิบแล้ว มีความหนาแน่นสูง (0.92 กิโลกรัมต่อลิตร) ม ีสีน้ำ�ตาลเข้ม ประกอบด้วย โมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนขนาดใหญ่ และ มีปริมาณซัลเฟอร์ประมาณร้อยละ 5

ADU

Atmospheric Distillation Unit

AS / SAN

Acrylonitrile Styrene

ATB

Atmospheri Tower Bottoms

bbl

Barrel

หน่วยวัดในอุตสาหกรรมปิโตรเลียมที่ใช้วัดปริมาตรน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์น้ำ�มัน

Butadiene

แก๊สไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว เป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้ชนิดหนึ่งของกระบวนการสทีมแ ครกกิง องแนฟทา หรือแก๊สออยล์ ซึ่งอยู่ในส่วนกลั่นที่เรียกว่าซีฟอร์แฟรกชัน หรือ มิกซ์ซีฟอร์ และแยก ออกจากมิกซ์ซีฟอร์ได้ด้วยวิธีกลั่นสกัด โดยใช้ตัวทำ�ละลายที่มีขั้วแ ละมีจุดเดือดแตกต่าง จากบิวทาไดอีนในขณะที่ไฮโดรคาร์บอนอื่นๆ ได้แก่ บิวเทนและบิวทีน ไม่ละลาย โรงงานบาง แห่งผลิตบิวทาไดอีนจากบิวเทนและบิวทีนด้วย โดยทำ�ดีไฮโดรเจเนชันใช้เป็นวัตถุดิบในการ ผลิตยาง ยางเอสบีอาร์สำ�หรับผลิตยางรถยนต์ เอสบีอาร์ลาเท็กซ์สำ�หรับผลิตแผ่นรองพรม และพลาสติก เอบีเอส ใช้เป็นวัตถุดิบใน การผลิตสารเคมี ได้แก่ เฮกซาเมทิลีนไดแอมีน สำ�หรับผลิตไนลอนไม่มีการใช้ประโยชน์ จากบิวทาไดอีนโดยตรง

BD

344

ความหมาย


ชื่อย่อ

ชื่อ (A-Z)

Benzene

Upstream Project for Hygiene & Value Added Products

BTX

Ben Zene, Toluene and Mixed Xylene

EBSM

Ethylbenzene StyrenMonomer Plant

EPS

ETP GO

HDPE

HIPS

KTA LR

ความหมาย ของเหลวไม่มีสี ไวไฟ และเป็นสารก่อมะเร็ง ได้จากกระบวนการแคทาลิทิกรีฟอร์มิงของ แนฟทา และกระบวนการไฮโดรดีแอลคิเลชันของโทลูอีน และเป็นองค์ประกอบหนึ่งอยู่ใน ไพโรลิซิส แก๊สโซลีน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากกระบวนการสทีมแครกกิงของแนฟทา หรือแก๊สออยล์ ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทิลเบนซีน คิวมีน ไซโคลเฮกเซน และไนโทร เบนซีน การใช้ ประโยชน์จากเบนซีน โดยตรง คือ เป็นตัวทำ�ละลายสำ�หรับอุตสาหกรรม และเป็นส่วนผสม ในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้แก่ เครื่องสำ�อาง น้ำ�หอม น้ำ�ยาลอกสีทาเล็บ แล็กเกอร์ น้ำ�ยาซักแห้ง สีเพนต์ น้�ำ ยาทำ�ความสะอาด รอยด่างดำ� และวาร์นิช เป็นต้น ส่วนผสมของเบนซีน โทลูอีน และไซลีน ซึ่งเป็นอะโรเมติกส์ได้จากรีฟอร์เมตในกระบวนการ แคทาลิทิกรีฟอร์มิงและไพโรลิซิสแก๊สโซลีนในกระบวนการสทีมเครกกิงใช้ผสมในน้ำ�มัน เบนซิน เพื่อปรับปรุงค่าอ๊อกเทน หรือนำ�มากลั่นเพื่อแยกเบนซีน โทลูอีน และไซลีน ซึ่งเป็นส าร ปิโตรเคมี ขั้นต้น หรือสารเคมีหลัก 3 ชนิด จากทั้งหมด 7 ชนิด สำ�หรับเป็นวัตถุดิบใ นสาย การผลิต สารปิโตรเคมีต่างๆ จัดเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น ใช้เป็นสารทำ�ละลาย หน่วยผลิตเอทิลเบนซีนและสไตรีนโมโนเมอร์ โดยใช้เบนซีนและเอทิลีนเป็นวัตถุดิบ

ผลิตภัณฑ์โฟมโพลิสไตรีน เป็นโพลิสไตรีนที่เติมก๊าซเพนเทน โฟมจึงเป็นวัสดุที่มีความ หนา แน่นต่ำ� เนื่องจากมีโพรงจำ�นวนมากอยู่ในเนื้อของวัสดุ ซึ่งเกิดจากการแทรกของ ฟองแก๊ส Expanded Poly ที่กำ�เนิดขึ้นจากสารเร่งให้เกิดโฟมจากภายในของเนื้อโพลิเมอร์ นอกจากนี้ แบ่งโฟมตาม styrene ลักษณะของเซล ได้แก่ โฟมที่มีโพรงไม่ต่อถึงกัน หรือเรียกว่าโคลสเซล และโฟมที่โพรง ต่อเชื่อมกันทำ�ให้แก๊สหรืออากาศหมุนเวียนถึงกันได้ เรียกว่า โอเพนเซล โ พลิเมอร์ ที่นิยม นำ�มาผลิตเป็นโฟมใช้ทำ�ภาชนะบรรจุอาหาร วัสดุกันกระเทือน ฉนวน กันความร้อน Ethylene Plant/ หน่วยผลิตเอทิลีนและโพรพิลีน โดยใช้แนฟทาและแก๊ส Olefin Plant ปิโตรเลียมเหลวเป็นวัตถุดิบห ลักในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำ�มันดิบ ซึ่งมีช่วงจุดเดือด 250-350 องศาเซลเซียส ป ระกอบด้วย ไฮโดรคาร์บอน C15–C25 ส่วนใหญ่มีโครงสร้างแบบสายโซ่ตรงใช้เป็น น�้ำ มันเชื้อเพลิงสำ�หรับ Gas Oil เครื่องยนต์ดีเซล และเป็นวัตถุดิบสำ�หรับกระบวนการผลิตโ อเลฟินส์ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่ระหว่าง 0.94-0.96 กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร มีจำ�นวนกิ่งก้านน้อยที่สุดในตระกูลโพลิเอทิลีน ทำ�ให้เรียงตัวกันได้ดี จึงมีความ High เป็นผลึกสูง มีจุดหลอมเหลวสูงและแข็งแรง โพลิเมอร์ชนิดนี้ส่วนใหญ่นำ�ไปใช้ในการผลิตเป็น Density Polyethylene บรรจุ ภัณฑ์ชนิดต่างๆ เช่น ขวด แห แวน ถุงชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยขึ้นรูปแบบเป่า หรือนำ�ไปผลิตท่อด้วยวิธีการอัดรีด โพลิสไตรีนที่ดัดแปลงโดยใส่อนุภาคของยาง เช่น โพลิบิวทาไดอีน ทำ�ให้โพลิเมอร์ สามารถทน High แรงกระแทกได้สงู ถ้าไม่เติมอนุภาคยางสังเคราะห์ โพลิสไตรีนจะมีสภาพเปราะ ปริมาณอนุภาค Impact Polystyrene ยางสังเคราะห์สามารถใส่ได้ถึงร้อยละ 20 ซึ่งทนแรงกระแทกได้ 3.5 จูล เหมาะสำ�หรับใช้งาน ที่ต้องรับแรงกระแทก เช่น ตู้เย็น เฟอร์นิเจอร์ หน่วยวัดปริมาณ มีค่าเท่ากับ พันตันต่อปี หน่วยวัดปริมาตรน้ำ�มันดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม Kilotons per annum 1 บาร์เรล เท่ากับ 42 แกลลอน (US) ห รือ 35 แกลลอน (imperial) หรือ 159 ลิตร หรือ 5.6 ลูกบาศก์ฟุต Long Residue

กากที่เหลือจากการกลั่นภายใต้หอกลั่นบรรยากาศ ใช้เป็นวัตถุดิบนำ�มาผลิตน้ำ�มันหล่อลื่น

MEG

Mono Ethylene Glycol

ของเหลวใสไม่มีสี ผลิตจากเอทิลีน ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตการใช้ ประโยชน์จากเอทิลีนไกลคอลโดยตรง คือ ใช้ลดจุดเยือกแข็งและเพิ่มจุดเดือดของน้ำ� และใช้ รักษาความชุ่มชื้น ผลิตภัณฑ์ที่ใช้เอทิลีนไกลคอลเป็นส่วนผสม ได้แก่ น้ำ�ยาเติมห ม้อน้ำ�รถยนต์ เพือ่ ป้องกันน้�ำ เป็นน้�ำ แข็งในประเทศทีม่ อี ากาศหนาว และป้องกันน้�ำ เดือด ในประเทศร้อน ปัม๊ น้�ำ ระบบทำ�ความร้อน และทำ�ความเย็นในอุตสาหกรรม และระบบ พลังงานแสงอาทิตย์ น้�ำ มันไฮดรอลิก สำ�หรับเบรกรถยนต์และระบบกันกระเทือน หมึกพิมพ์ ห มึกสำ�หรับปากกาลูกลื่น หมึกสำ�หรับ ประทับตรา น้�ำ ยาเคลือบเส้นใยสิ่งทอ กระดาษและ หนังสัตว์ เครื่องสำ�อาง น้ำ�ยาย้อมสีไม้

PE

Polyethylene

โพลิเมอร์ที่สังเคราะห์จากโพลิเอทิลีนมอนอเมอร์ เพื่อให้ได้โครงสร้างที่เป็นระเบียบ

รายงานประจำ�ปี 2558 l บริษัท ไออาร์พีซี จำ�กัด (มหาชน)

345


ชื่อย่อ

ชื่อ (A-Z)

PP

Polypropylene

PS

Polystyrene

Propylene

RAE

Residue Aromatic Extract

TDAE

Treated Distillate Aromatic Extract

ULTRAMO

Acetylene Black Bivalves Settlement Resistance HDPE Pipe Grade/ Marine Pipe Endurance (Ultra High Molecular Weight Polyethylene, UHMW-PE,)

ความหมาย โพลิเมอร์ที่สังเคราะห์จากโพรพิลีนโดยวิธีการเตรียมโพลิเมอร์แบบโคออร์ดิเนต เพื่อให้ได้โครงสร้างเป็นระเบียบและมีความเป็นผลึกสูง เทอร์โมพลาสติกประเภทโพลิโอเลฟินส์ผลิตจากสไตรีน มีลักษณะแข็ง เปราะ ดูดความ ชื้นต่ำ� ไม่นำ�ไฟฟ้า เฉื่อยกับสารเคมี ทนกรดและเบส ทนแรงดึงสูง แต่ทนความร้อนต่ำ� ละลายใน ตัวทำ�ละลายประเภทอะโรเมติกส์ ขึ้นรูปง่าย นิยมใช้การขึ้นรูปแบบฉีด มักผสม แอดดิทีพ เพื่อปรับสมบัติของโพลิสไตรีนให้ดีขึ้น ใช้ทำ�ถังพลาสติก ขวดพลาสติก ภาชนะ ใส่อาหารชนิด ใส ของเล่น ไม้บรรทัดพลาสติก โครงด้านนอกของโทรทัศน์ ชิ้นส่วนตู้เย็น ชิ้นส่วนภายใน รถยนต์ นอกจากนี้ยังใช้ผลิตโฟมกันกระแทกอีกด้วย ดังนั้นโพลิสไตรีน จึงเป็นผลิตภัณฑ์เม็ด พลาสติกที่จัดเป็นเทอร์โมพลาสติก มีลักษณะโปร่งแสงและใส มีคุณสมบัติเด่น คือมีความ แข็งมาก ไม่ยืดหยุ่นและเปราะไม่ดูดความชื้นและน้ำ� เป็นฉ นวนไฟฟ้า ทนความร้อนได้ต่ำ� แก๊สไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว (C3) ไม่มีสี ติดไฟได้ มีกลิ่นหอมเล็กน้อย บางครั้งเรียกว่า โพรพีน (Propene) แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ Refinery grade propylene, Chemical grade propylene และ Polymer grade propylene ผลิตภัณฑ์น�้ำ มันอะโรเมติกส์ สามารถใช้สำ�หรับการผลิตยางรถยนต์ ยางสังเคราะห์ ซึ่งมี คุณสมบัติใกล้เคียงกับ TDAE จากนวัตกรรมไออาร์พีซี เพื่อให้เหมาะสมกับการ ใช้งาน ของลูกค้าทุกประเภท ส่งผลให้มี RAE ออกสู่ตลาดถึง 3 เกรด เป็นที่ยอมรับจ ากบริษัท ชั้นนำ�ทั้งในและต่างประเทศ ผลิตภัณฑ์น�้ำ มันอะโรเมติกส์ ใช้เป็นวัตถุดิบสำ�หรับการผลิตยางรถยนต์ ยางสังเคราะห์ จาก นวัตกรรมไออาร์พีซี สามารถผลิตสารอะโรเมติกส์ที่มีค่า PCA ต่ำ�กว่าค่ามาตรฐาน สากล ไม่ก่อให้เกิดมะเร็งและการเปลี่ยนแปลงพันธุกรรมในมนุษย์ ผลิตภัณฑ์ผงคาร์บอน ได้จากการเผาก๊าซอะเซทิลีน มีความละเอียดสูง ใช้ทำ�ถ่านไฟฉาย และ ผสมในยางรถยนต์ หมึกพิมพ์ ผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ ผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนเกรดท่อสูตรพิเศษที่มีคุณสมบัติป้องกันหอย เจาะ ท่อหรือทำ�ลายท่อโพลิเอทิลีน ในพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลและพื้นที่น้ำ�กร่อย ผลิตภัณฑ์โพลิเอทิลีนชนิดหนึ่งที่มีน้ำ�หนักของโมเลกุลสูง เป็นวัตถุทึบแสง มีสีขาวขุ่น ผิวมีลักษณะลื่น ทนทานต่อแรงกระแทก เสียดสี และการกัดกร่อนของสารเคมี

ผลิตภัณฑ์สารเติมแต่งซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักในการผสมเม็ดพลาสติกที่ต้องการเพิ่มค ุณสมบัติ Impact modifier-MBS ความทนทานต่ อแรงกระแทกของพลาสติก

UHV

346

POLIMAXX

เครื่องหมายการค้าของกลุ่มผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ไออาร์พีซี

Polyolefins

เทอร์โมพลาสติกที่ผลิตจากโพลิเมอร์ที่สังเคราะห์จากมอนอเมอร์ที่เป็นไฮโดรคาร์บอน ไม่อิ่มตัว ได้แก่ โพลิเอทิลีนจากเอทิลีน โพลิโพรพิลีนจากโพรพิลีน โพลิไวนิลคลอไรด์จาก ไวนิลคลอไรด์ โพลิสไตรีนจากสไตรีน โพลิไอโซบิวทีน จากไอโซบิวทีน โพลิบิวทีนจาก บิวทีน-1 บิวทีน-2 และ ไอโซบิวทีน เป็นต้น มีลักษณะเหนียว ยืดหยุ่นได้ดี มีอุณหภูมใิ นการหลอมเหลว 100-245 องศาเซลเซียส ใช้ประโยชน์สำ�หรับงานทั่วไป ได้แก่ ถุงพลาสติก เส้นใย ท่อประปา ท่อส่งน้ำ� ท่อน้ำ�ทิ้ง ชิ้นส่วนรถยนต์ ชิ้นส่วนตู้เย็น ถังน้ำ� เครื่องมือแพทย์ โคมไฟ พลิโอเลฟินส์ จึงเป็นต้น ลุ่มผลิตภัณฑ์โพลิโอเลฟินส์ ที่เกิดจาก กระบวนการโพลิเมอไรเซชัน หรือการนำ�โมโนเมอร์ ของโอเลฟินส์มาต่อกันจนเป็นโพลิเมอร์

Upstream Project for Hygiene & Value Added Products

โครงการเพิ่มกำ�ลังการผลิตสายผลิตภัณฑ์โพรพิลีน เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพทาง การ แข่งขันให้กับธุรกิจปิโตรเลียมและต่อยอดเพิ่มสัดส่วนในธุรกิจปิโตรเคมีและ ผลิตภัณฑ์พิเศษ


บร�ษัท ไออาร พ�ซี จำกัด (มหาชน) 555/2 ศูนย เอนเนอร ยี่คอมเพล็กซ อาคาร บี ชั้น 6 ถนนว�ภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร : 66 (0) 2649–7000, 66 (0) 2649–7777 โทรสาร : 66 (0) 2649–7001 www.irpc.co.th


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.