อินเตอ์เน็ต 2 สำหรับ อิสซูสสส

Page 1

1

รายงานเรื่องอินเตอร์ เน็ต เสนอ อาจารย์ สุจิตตรา จันทร์ ลอย จัดทาโดย 1.นางสาวพัชนี ใสหาร รหัสนักศึกษา 564104003 2.นางสาวอภิญญา ลมมูลตรี รหัสนักศึกษา 564104004 3.นางสาวอาภาพร ดีแป้ น รหัสนักศึกษา 564104026 ชั้นปี ที่ 1 โปรแกรมวิชาดนตรีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ และสั งคมศาสตร์ รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา PC54504 เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อการสาหรับครู ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2556 มหาวิยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึงอินเทอร์ เน็ต


2

คานา รายงานเรื่ อง อินเตอร์เน็ต เป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา PC54504 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อการสาหรับครู ได้มีการสื บค้นข้อมูลและรวบรวมเกี่ยวกับ ประวัติความเป็ นมาของ อินเตอร์เน็ต ความหมาย ความสาคัญของอินเตอร์ เน็ต ประโยชน์และโทษของอินเตอร์ เน็ต โดยมุ่งที่จะให้ผอู ้ ่านรายงานเรื่ อง อินเตอร์เน็ตและความสาคัญ มีความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับอินเตอร์ เน็ตมากขึ้น คณะผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ารายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์แก่ท่านในการนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน หากมีขอ้ บกพร่ องประการใด ก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้

คณะผูจ้ ดั ทา


3

สารบัญ เรื่ อง

หน้า

ประวัติความเป็ นมาของอินเตอร์เน็ต

1

ความหมายของอินเตอร์เน็ต

3

การประยุกต์ใช้งานอินเตอร์เน็ต

4

อินเตอร์เน็ตในประเทศไทย

5

ความสาคัญของอินเตอร์เน็ต

6

ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต

8

โทษของอินเตอร์เน็ต

10

สภาพความต้องการและปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ต

12

องค์ประกอบระบบเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต

13

ผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต

20

สรุ ปเรื่ องอินเตอร์เน็ต

24


4

อินเตอร์ เน็ต

ประวัติความเป็ นมา อินเทอร์เน็ต คือ การเชื่อมโยงเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกัน ตามโครงการของ อาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็ นหน่วยงานสังกัด กระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเมื่อประมาณ ปี ค.ศ. 1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพัฒนาเรื่ อยมา ค.ศ.1969(พ.ศ.2512) อาร์ป้าเน็ตได้รับทุนสนันสนุนจากหลายฝ่ าย และเปลี่ยนชื่อเป็ นดา ป้ าเน็ต (DARPANET = Defense Advanced Research Projects Agency Network) พร้อมเปลี่ยน แปลงนโยบาย และได้ทดลองการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ คนละชนิดจาก 4 เครื อข่ายเข้าหากันเป็ น ครั้งแรก คือ 1)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ลองแองเจอลิส 2)สถาบันวิจยั สแตนฟอร์ด 3)มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานตาบาบาร่ า 4)มหาวิทยาลัยยูทาห์ เครื อข่ายทดลองประสบความสาเร็ จอย่างมาก ดังนั้นในปี ค.ศ.1975(พ.ศ.2518) จึงได้ เปลี่ยนจากเครื อข่ายทดลอง เป็ นเครื อข่ายที่ใช้งานจริ ง ซึ่งดาป้ าเน็ตได้โอนหน้าที่รับผิดชอบ ให้แก่หน่วยการสื่ อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency )


5

ปัจจุบนั คือ (Defense Informations Systems Agency) แต่ในปัจจุบนั อินเทอร์ เน็ตมี คณะทางานที่รับผิดชอบบริ หารเครื อข่ายโดยรวม เช่น ISOC (Internet Society) ดูแล วัตถุประสงค์ หลัก, IAB (Internet Architecture Board) พิจารณาอนุมตั ิมาตรฐานใหม่ใน อินเทอร์เน็ต, IETF (Internet Engineering Task Force) พัฒนามาตรฐานที่ใช้กบั อินเทอร์เน็ต ซึ่ ง เป็ นการทางานโดยอาสาสมัครทั้งสิ้ น ค.ศ.1983(พ.ศ.2526) ดาป้ าเน็ตตัดสิ นใจนา TCP/IP (Transmission ControlProtocal/ Internet Protocal) มาใช้กบั เครื่ องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องในระบบ จึงเป็ นมาตรฐานของวิธีการ ติดต่อ ในระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตมาจนถึงปัจจุบนั เพราะ TCP/IP เป็ นข้อกาหนดที่ทาให้ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่ องในโลกสื่ อสารด้วยความเข้าใจบนมาตรฐานเดียวกัน ค.ศ.1980(พ.ศ.2523) ดาป้ าเน็ตได้มอบหน้าที่รับผิดชอบการดูแลระบบอินเทอร์เน็ต ให้มูลนิธิวทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (National Science Foundation - NSF) ร่ วมกับอีกหลาย หน่วยงาน ค.ศ.1986(พ.ศ.2529) เริ่ มใช้การกาหนดโดเมนเนม (Domain Name) เป็ นการสร้าง ฐานข้อมูลแบบกระจาย (Distribution Database) อยูใ่ นแต่ละเครื อข่าย และให้ ISP(Internet Service Provider) ช่วยจัดทาฐานข้อมูลของตนเอง จึงไม่จาเป็ นต้องมีฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ เหมือนแต่ก่อน เช่น การเรี ยกเว็บไซต์ www.yonok.ac.th จะไปที่ตรวจสอบว่ามีชื่อนี้ในเครื่ อง บริ การโดเมนเนมหรื อไม่ ถ้ามีกจ็ ะตอบกับมาเป็ นหมายเลขไอพี ถ้าไม่มีกจ็ ะค้นหาจากเครื่ อง บริ การโดเมนเนมที่ทาหน้าที่แปลชื่ออื่น สาหรับชื่อที่ลงท้ายด้วย .th มีเครื่ องบริ การที่ thnic.co.th ซึ่งมีฐานข้อมูลของโดเมนเนมที่ลงท้ายด้วย th ทั้งหมด ค.ศ.1991(พ.ศ.2534) ทิม เบอร์เนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) แห่งศูนย์วจิ ยั CERN ได้ คิดค้นระบบไฮเปอร์เท็กซ์ข้ ึน สามารถเปิ ดด้วย เว็บเบราวเซอร์ (Web Browser) ตัวแรกมีชื่อว่า WWW (World Wide Web) แต่เว็บไซต์ได้รับความนิยมอย่างจริ งจัง เมื่อศูนย์วจิ ยั NCSA ของ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์เออร์แบน่าแชมเปญจ์ สหรัฐอเมริ กา ได้คิดโปรแกรม MOSAIC (โมเสค) โดย Marc Andreessen ซึ่งเป็ นเว็บเบราว์เซอร์ ระบบกราฟฟิ ก หลังจากนั้นทีมงานที่ทาโมเสคก็ได้ ออกไปเปิ ดบริ ษทั เน็ตสเคป


6

(Browser Timelines: Lynx 1993, Mosaic 1993, Netscape 1994, Opera 1994, IE 1995, Mac IE 1996, Mozilla 1999, Chimera 2002, Phoenix 2002, Camino 2003, Firebird 2003, Safari 2003, MyIE2 2003, Maxthon 2003, Firefox 2004, Seamonkey 2005, Netsurf 2007, Chrome 2008) ในความเป็ นจริ งไม่มีใครเป็ นเจ้าของอินเทอร์ เน็ต และไม่มีใครมีสิทธิ ขาดแต่เพียงผู ้ เดียว ในการกาหนดมาตรฐานใหม่ ผูต้ ิดสิ น ผูเ้ สนอ ผูท้ ดสอบ ผูก้ าหนดมาตรฐานก็คือผูใ้ ช้ที่ กระจายอยูท่ วั่ ทุกมุมโลก ก่อนประกาศเป็ นมาตรฐานต้องมีการทดลองใช้มาตรฐานเหล่านั้นก่อน ส่ วนมาตรฐานเดิมที่เป็ นพื้นฐานของระบบ เช่น TCP/IP หรื อ Domain Name ก็จะยึดตามนั้น ต่อไป เพราะอินเทอร์เน็ตเป็ นระบบกระจายฐานข้อมูล การจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลพื้นฐานอาจ ต้องใช้เวลา

อินเทอร์ เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ที่มีการ เชื่อมต่อระหว่างเครื อข่ายหลายๆ เครื อข่ายทัว่ โลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่าง คอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผูใ้ ช้เครื อข่ายนี้สามารถสื่ อสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสื บค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทั้งคัดลอก แฟ้ มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้


7

อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1969 (พ.ศ. 2512) จากการเกิดเครื อข่าย ARPANET (Advanced Research Projects Agency NETwork) ซึ่ งเป็ นเครื อข่ายสานักงานโครงการวิจยั ชั้นสู ง ของกระทรวงกลาโหม ประเทศสหรัฐอเมริ กา โดยมีวตั ถุประสงค์หลักของการสร้างเครื อข่ายคือ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารเชื่อมต่อ และมีปฏิสมั พันธ์กนั ได้ เครื อข่าย ARPANET ถือเป็ น เครื อข่ายเริ่ มแรก ซึ่งต่อมาได้ถูกพัฒนาให้เป็ นเครื อข่าย อินเทอร์ เน็ตในปั จจุบนั การประยุกต์ ใช้ งานอินเทอร์ เน็ต การประยุกต์ใช้อินเทอร์ เน็ตในปั จจุบนั ทาได้หลากหลาย อาทิเช่น ไปรษณี ย ์ อิเล็กทรอนิกส์ หรื อ อีเมล (e-Mail) , สนทนา (Chat), อ่านหรื อแสดงความคิดเห็นในเว็บบอร์ ด, การติดตามข่าวสาร, การสื บค้นข้อมูล / การค้นหาข้อมูล, การชม หรื อซื้ อสิ นค้าออนไลน์ , การ ดาวโหลด เกม เพลง ไฟล์ขอ้ มูล ฯลฯ, การติดตามข้อมูล ภาพยนตร์ รายการบันเทิงต่างๆ ออนไลน์, การเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ออนไลน์,การเรี ยนรู้ออนไลน์ (e-Learning), การประชุม ทางไกลผ่านอินเทอร์ เน็ต (Video Conference), โทรศัพท์ผา่ นอินเทอร์ เน็ต (VoIP), การอับโหลด ข้อมูล หรื อ อื่นๆ แนวโน้มล่าสุ ดของการใช้อินเทอร์เน็ตคือการใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นแหล่งพบปะสังสรรค์ เพื่อสร้างเครื อข่ายสังคม ซึ่ งพบว่าปั จจุบนั เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมดังกล่าวกาลังได้รับ ความนิยมอย่างแพร่ หลาย เช่น เฟซบุก๊ ทวิตเตอร์ ไฮไฟฟ์ และการใช้เริ่ มมีการแพร่ ขยายเข้าไปสู่ การใช้อินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) มากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีปัจจุบนั สนับสนุนให้การเข้าถึงเครื อข่ายผ่านโทรศัพท์มือถือทาได้ง่ายขึ้นมาก

จานวนผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตทั่วโลก สัดส่ วนการผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตแยกตามทวีป ปั จจุบนั จานวนผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตทัว่ โลก โดยประมาณ 2.095 พันล้านคน หรื อ 30.2 % ของประชากรทัว่ โลก (ข้อมูล ณ เดือน มีนาคม 2554) โดยเมื่อเปรี ยบเทียบในทวีปต่างๆ พบว่าทวีปที่มีผใู ้ ช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุดคือ เอเชีย โดย คิดเป็ น 44.0 % ของผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด และประเทศที่มีประชากรผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตมาก


8

ที่สุดคือประเทศจีน คิดเป็ นจานวน 384 ล้านคน หากเปรี ยบเทียบจานวนผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตกับ จานวนประชากรรวม พบว่าทวีปอเมริ กาเหนือมีสัดส่ วนผูใ้ ช้ต่อประชากรสูงที่สุดคือ 78.3 % รองลงมาได้แก่ ทวีปออสเตรเลีย 60.1 % และ ทวีปยุโรป คิดเป็ น 58.3 % ตามลาดับ

อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่ มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื่อมต่อมินิคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัย สงขลานคริ นทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยัง มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครั้งนั้นยังเป็ นการ เชื่อมต่อโดยผ่าน สายโทรศัพท์ ซึ่ งสามารถส่ งข้อมูลได้ชา้ และไม่เป็ นการถาวร จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทาการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ , ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรี ยกว่า "เครื อข่ายไทยสาร" การให้บริ การอินเทอร์ เน็ตในประเทศไทยได้เริ่ มต้นขึ้นเป็ นครั้งแรกเมื่อ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2538 โดยความร่ วมมือของรัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง คือ การสื่ อสารแห่งประเทศไทย องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย และสานักงานส่ งเสริ มวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยให้บริ การในนาม บริ ษทั อินเทอร์เน็ต ประเทศไทย (Internet Thailand) เป็ นผู้ ให้บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์รายแรกของประเทศไทย


9

จานวนผู้ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในประเทศไทย จานวนผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ ปี 2534 (30คน) ปี 2535 (200 คน) ปี 2536 (8,000 คน) ปี 2537 (23,000 คน) ... ข้อมูลล่าสุ ดของสานักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2551 จากจานวนประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปประมาณ 59.97 ล้านคน พบว่า มีผใู ้ ช้คอมพิวเตอร์ 16.99 ล้านคน คิดเป็ น ร้อยละ 28.2 และมีผใู้ ช้อินเทอร์เน็ต 10.96 ล้านคน คิดเป็ นร้อยละ 18.2 อินเทอร์ เน็ตแบนด์ วทิ ปัจจุบนั (มกราคม 2553) ประเทศไทยมีความกว้างช่องสัญญาณ (Internet Bandwidth) ภายในประเทศ 110 Gbps และระหว่างประเทศ 110 Gbp


10

ความสาคัญของอินเทอร์ เน็ต ในปัจจุบนั อินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวติ ประจาวันของคนเราเป็ นอย่าง มาก เพราะทาให้วถิ ีชีวติ เราทันสมัยและทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตจะมีการ เสนอข้อมูลข่าวปั จจุบนั และสิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้ผใู้ ช้ทราบเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน สารสนเทศ ที่เสนอในอินเทอร์เน็ตจะมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนองความสนใจและความต้องการของ ผูใ้ ช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคนเพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ตอ้ งเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่การรับรู ้ ข่าวสารทัว่ โลกก็สามารถอ่านได้ในอินเทอร์เน็ตจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ของหนังสื อพิมพ์ ดังนั้นอินเทอร์เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวติ ของคนเราในปัจจุบนั เป็ นอย่างมากใน ทุกๆ ด้าน ไม่วา่ จะเป็ นบุคคลที่อยูใ่ นวงการธุรกิจ การศึกษา ต่างก็ได้รับประโยชน์จาก อินเทอร์เน็ตด้วยกันทั้งนั้น 1. ด้ านการศึกษา อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญ ดังนี้ 1.1 สามารถใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่วา่ จะเป็ นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการ บันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ 1.2 ระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต จะทาหน้าที่เปรี ยบเสมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่ 1.3 นักเรี ยนนักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรื อโรงเรี ยนอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กาลังศึกษาอยูไ่ ด้ ทั้งที่ขอ้ มูลที่เป็ นข้อความเสี ยง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ 2. ด้ านธุรกิจและการพาณิชย์ อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 2.1 ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจทางธุรกิจ 2.2 สามารถซื้ อขายสิ นค้า ทาธุรกรรมผ่านระบบเครื อข่าย 2.3 เป็ นช่องทางในการประชาสัมพันธ์ โฆษณาสิ นค้า ติดต่อสื่ อสารทางธุรกิจ


11

2.4 ผูใ้ ช้ที่เป็ นบริ ษทั หรื อองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิ ดให้บริ การ และสนับสนุนลูกค้า ของตนผ่านระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปั ญหาต่าง ๆ ให้แก่ ลูกค้า แจกจ่ายตัวโปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3. ด้ านการบันเทิง อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญดังนี้ 3.1 การพักผ่อนหย่อนใจ สันทนาการ เช่น การค้นหาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่เรี ยกว่า Magazine Online รวมทั้งหนังสื อพิมพ์และข่าวสารอื่น ๆ โดย มีภาพประกอบที่จอคอมพิวเตอร์เหมือนกับวารสารตามร้านหนังสื อทัว่ ๆ ไป 3.2 สามารถฟังวิทยุหรื อดูรายการโทรทัศน์ผา่ นระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ 3.3 สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตร์มาดูได้

ประโยชน์ ของอินเตอร์ เน็ต อินเตอร์เน็ตเปรี ยบเสมือนชุมชนเมืองแห่งใหม่ของโลก เป็ นชุมชนของคนทัว่ มุมโลก จึงมีบริ การต่างๆเกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา 1.ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์(Electronic mail=E-mail) ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ หรื อ E-mail เป็ นการส่ งจดหมายผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตโดยผูส้ ่ งสามารถส่ งข้อความไปยังที่อยูข่ อง ผูร้ ับในรู ปแบบของอีเมล์ เมื่อผูส้ ่ งเขียนจดหมาย แล้วส่ งไปยังผูร้ ับ ผูร้ ับจะได้รับจดหมายภายใน เวลาไม่กี่วนิ าที แม้จะอยูห่ ่างกันคนละซีกโลกก็ตาม นอกจากนี้ยงั สามารถส่ งแฟ้ มข้อมูลหรื อ ไฟล์แนบไปกับอีเมล์ได้ดว้ ย 2.กรขอเข้าระบบจากระยะไกลหรื อเทลเน็ต(Telnet)เป็ นบริ การอินเน็ตรู ปแบบ หนึ่ง โดยที่เราสามารถเข้าไปใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่ องหนึ่งที่อยูไ่ กลๆได้ดว้ ยตนเอง เช่น ถ้าเราอยู่ ที่โรงเรี ยนทางานโดยใช้อินเตอร์เน็ตของโรงเรี ยนแล้วกลับไปที่บา้ น เรามีคอมพิวเตอร์ที่บา้ น และต่ออินเตอร์ เน็ตไว้เราสามารถเรี ยกข้อมูลจากที่โรงเรี ยนมาทาที่บา้ นได้ เสมือนกับเราทางาน


12

ที่โรงเรี ยนนัน่ เอง 3.การโอนถ่ายข้อมูล(File Transfer Protocol หรื อ FTP) เป็ นบริ การอีกรู ปแบบหนึ่งของ ระบบอินเตอร์เน็ต เราสามารถค้นหาและเรี ยกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ในเครื่ องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสื อ รู ปภาพและเสี ยง 4.การสื บค้นข้อมูล(Gopher,Archie,World wide Web) หมายถึง การใช้เครื่ อข่าย อินเตอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยูม่ ากมายแล้วช่วยจัดเรี ยงข้อมูลข่าวสารหัวข้ออย่างมี ระบบ เป็ นเมนู ทาให้เราหาข้อมูลได้ง่ายหรื อสะดวกมากขึ้น 5.การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น(Usenet)เป็ นการให้บริ การแลกเปลี่ยน ข่าวสาร และแสดงความคิดเห็นที่ผใู ้ ช้บริ การอินเตอร์เน็ตทัว่ โลกสามารถพบปะกัน แสดงความ คิดเห็นของตน โดยมีการจัดการผูใ้ ช้เป็ นกลุ่มข่าวหรื อนิวกรุ๊ ป(Newgroup)แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกันเป็ นหัวข้อต่างๆ เช่น เรื่ องหนังสื อ เรื่ องการเลี้ยงสัตว์ ต้นไม้ คอมพิวเตอร์ และ การเมือง เป็ นต้น ปัจจุบนั มี Usenet มากกว่า15,000 กลุ่ม นับเป็ นเวทีขนาดใหญ่ให้ทุกคนจากทัว่ มุมโลกแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง 6.การสื่ อสารด้วยข้อความ(Chat,IRC-Internet Relay chat) เป็ นการพูดคุยกันระหว่าง ผูใ้ ช้อินเตอร์เน็ต โดยพิมพ์ขอ้ ความตอบกัน ซึ่งเป็ นวิธีการสื่ อสารที่ได้รับความนิยมมากอีกวิธี หนึ่ง การสนทนากันผ่านอินเตอร์เน็ตเปรี ยบเสมือนเรานัง่ อยูใ่ นห้องสนทนาเดียวกัน แต่ละคนก็ พิมพ์ขอ้ ความโต้ตอบกันไปมาได้ในเวลาเดียวกัน แม้จะอยูค่ นละประเทศหรื อคนละซี กโลกก็ ตาม 7.การซื้อขายสิ นค้าและบริ การ(E-Commerce = Eletronic Commerce) เป็ นการจับจ่าย ซื้ อ - สิ นค้าและบริ การ เช่น ขายหนังสื อ คอมพิวเตอร์ การท่องเที่ยว เป็ นต้น ปั จจุบนั มีบริ ษทั ใช้ อินเตอร์เน็ตในการทาธุรกิจและให้บริ การลูกค้าตลอด24ชัว่ โมง ในปี 2540 การค้าขายบน อินตอร์เน็ตมีมูลค่าสูงถึง1แสนล้านบาท และจะเพิ่มเป็ น1ล้านล้านบาทในอีก5ปี ข้างหน้า ซึ่งเป็ น โอกาสทางธุรกิจแบบใหม่ที่น่าสนใจ และเปิ ดทางให้ทุกคนเข้ามาทาธุรกิจได้โดยใช้ทุนไม่มาก


13

นัก 8.การให้ความบันเทิง(Entertain) ในอินเตอร์เน็ตมีบริ การด้านความบันเทิงในทุก รู ปแบบต่างๆ เช่น เกมส์ เพลง รายการโทรทัศน์ รายการวิทยุ เป็ นต้น เราสามารถเลือกใช้บริ การ เพื่อความบันเทิงได้ตลอด24ชัว่ โมงและจากแหล่งต่างๆทัว่ ทุกมุมโลก ทั้งประเทศไทย อเมริ กา ยุโรปและออสเตรเลีย เป็ นต้น

โทษของอินเตอร์ เน็ต 1.โรคติดอินเทอเน็ต(Webaholic) การเล่นอินเตอร์ เน็ต ทาให้คุณเสี ยงาน ผูใ้ ดเป็ นผูท้ ี่ติด การพนัน การติดการพนันประเภทที่ถอนตัวไม่ข้ ึน มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับ การติดอินเตอร์ เน็ต เพราะทั้งสองอย่าง เกี่ยวข้องกับการล้มเหลว ในการควบคุมความต้องการของตนเอง โดยไม่มี ส่ วนเกี่ยวข้องกับสารเคมีใดๆ (อย่างสุ รา หรื อยาเสพติด) ผูท้ ี่มีอาการอย่างน้อย 4 อย่าง เป็ น เวลานานอย่างน้อย 1 ปี ถือได้วา่ มีอาการติดอินเตอร์เน็ต • รู้สึกหมกมุ่นกับอินเตอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อกับอินเตอร์เน็ต • มีความต้องการใช้อินเตอร์ เน็ตเป็ นเวลานานขึ้น • ไม่สามารถควบคุมการใช้อินเตอร์ เน็ตได้ • รู้สึกหงุดหงิดเมื่อต้องใช้อินเตอร์เน็ตน้อยลงหรื อหยุดใช้ • ใช้อินเตอร์ เน็ตเป็ นวิธีในการหลีกเลี่ยงปั ญหาหรื อคิดว่าการใช้อินเตอร์ เน็ตทาให้ตนเอง รู้สึกดีข้ ึน • หลอกคนในครอบครัวหรื อเพื่อน เรื่ องการใช้อินเตอร์เน็ตของตัวเอง • การใช้อินเตอร์เน็ตทาให้เกิดการเสี่ ยงต่อการสู ญเสี ยงาน การเรี ยน และความสัมพันธ์ ยังใช้ อินเตอร์เน็ต ถึงแม้วา่ ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายมาก


14

• มีอาการผิดปกติ อย่างเช่น หดหู่ กระวนกระวายเมื่อเลิกใช้อินเตอร์เน็ต • ใช้เวลาในการใช้อินเตอร์เน็ตนานกว่าที่ตวั เองได้ต้ งั ใจไว้ มีผล กระทบต่อการเรี ยน อาชีพ สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของคนคนนั้น ถึงแม้วา่ การวิจยั ที่ผา่ นมาได้แสดงให้เห็นว่า การติดเทคโนโลยีอย่างเช่น การติดเล่นเกมส์ ส่ วนใหญ่จะ เกิดขึ้นกับเพศชายแต่ผลลัพธ์ขา้ งต้น แสดงให้เห็นว่า ผูท้ ี่ติดอินเตอร์ เน็ต ส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง วัยกลางคนและไม่มีงานทา 2.เรื่ องอณาจารผิดศีลธรรม(Pornography/Indecent Content) เรื่ องของข้อมูลต่างๆที่มี เนื้อหาไปในทางขัดต่อศีลธรรม ลามกอนาจาร หรื อรวมถึงภาพโป๊ เปลือยต่างๆนั้นเป็ น เรื่ องที่มี มานานพอสมควรแล้วบนโลกอินเทอเน็ต แต่ไม่โจ่งแจ้ง เนื่องจากสมัยก่อนเป็ นยุคที่ WWW ยังไม่พฒั นา มากนักทาให้ไม่มีภาพออกมา แต่ใน ปัจจุบนั ภายเหล่านี้เป็ นที่โจ่งแจ้งบนอินเทอเน็ตและสิ่ งเหล่านี้สามารถเข้าสู่ เด็ก และเยาวชนได้ ง่ายโดยผูป้ กครองไม่สามารถที่จะให้ความดูแลได้เต็มที่ เพราะว่าอินเทอเน็ตนั้นเป็ นโลกที่ไร้ พรมแดนและเปิ ดกว้างทาให้สื่อเหล่านี้สามรถเผยแพร่ ไปได้รวดเร็ วจนเรา ไม่สามารถจับกุมหรื อ เอาผิดผูท้ ี่ทาสิ่ งเหล่านี้ข้ ึนมาได้ 3.ไวรัส ม้าโทรจัน หนอนอินเตอร์เน็ต และระเบิดเวลา ไวรัส : เป็ นโปรแกรมอิสระ ซึ่งจะสื บพันธุ์โดยการจาลองตัวเองให้มากขึ้นเรื่ อยๆเพื่อที่จะทาลาย ข้อมูลหรื อทาให้เครื่ องคอมพิวเตอร์ทางานช้าลงโดยการแอบใช้สอยหน่วยความจาหรื อพื้นที่วา่ ง บนดิสก์โดยพลการ ม้ าโทรจัน : ม้าโทรจันเป็ นตานานนักรบที่ซ่อนตัวอยูใ่ นม้าไม้ แล้วแอบเข้าไปในเมืองจนกระทัง่ ยึดเมืองได้สาเร็ จ โปรแกรมนี้กท็ างานคล้ายๆกัน คือโปรแกรมนี้จะทาหน้าที่ไม่พึงประสงค์ มัน จะซ่อนตัวอยูใ่ นโปรแกรมที่ไม่ได้รับอนุญาต มักจะทาในสิ่ งที่เราไม่ตอ้ งการและสิ่ งที่มนั ทานั้น ไม่มีความจาเป็ นต่อเราด้วย หนอนอินเตอร์ เน็ต : ถูกสร้างขึ้นโดย Robert Morris, Jr. จนดัง กระฉ่อนไปทัว่ โลก มันคือโปรแกรมที่จะสื บพันธุ์โดยการจาลองตัวเองมากขึ้นเรื่ อยๆ จากระบบ


15

หนึ่ง ครอบครองทรัพยากรและทาให้ระบบช้าลง ระเบิดเวลา : คือรหัสซึ่งจะทาหน้าที่เป็ น ตัวกระตุน้ รู ปแบบเฉพาะของการโจมตีน้ นั ๆ ทางานเมื่อสภาพการโจมตีน้ นั ๆมาถึง ยกตัวอย่าง เช่น ระเบิดเวลาจะทาลายไฟล์ท้ งั หมดในวันที่ 31 กรกฎาคม 2542 สภาพความต้ องการและปัญหาการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตในการเรียนการสอน ในสถาบันอุดมศึกษา สั งกัดทบวงมหาวิทยาลัย ABSTRACT วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 การวิจยั ครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ความต้องการ และปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตในการเรี ยนการสอน ในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างคือสมาชิกระบบเครื อข่าย อินเทอร์เน็ตในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ในเขตกรุ งเทพมหานคร 7 แห่ง จานวน 794 คน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่ ผูบ้ ริ หารระดับหัวหน้าภาควิชา 155 คน อาจารย์ ผูส้ อน 306 คน และนิสิตนักศึกษา 333 คน วิเคราะห์ขอ้ มูลโดย การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั พบว่า 1.ประเภทบริ การในระบบเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตที่อาจารย์และนิสิตนักศึกษาใช้ประโยชน์ ทางการศึกษาบ่อยที่สุด คือการสื บค้นข้อมูลแบบเวิลด์ ไวด์เว็บ ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ การถ่าย โอนแฟ้ มข้อมูลและการขอเข้าใช้เครื่ องระยะไกล ตามลาดับ 2.นโยบายในการนาอินเทอร์เน็ตมาใช้ในการเรี ยนการสอนในระดับภาควิชา ส่ วนใหญ่มี นโยบายที่จะผลักดันให้คณะ หรื อ สถาบันมีการขยายหรื อปรับปรุ งทางด้านอุปกรณ์พ้นื ฐานให้ พร้อม โดยเฉพาะคู่สายและความเร็ วในการสื่ อสารและมีการปรับปรุ งกระบวนการเรี ยนการ สอนในหลักสู ตรวิชาต่างๆ ให้คน้ หาทางอินเทอร์เน็ตด้วย 3.ผูบ้ ริ หารระดับหัวหน้าภาควิชา มีความเห็นด้วยอย่างมาก กับแนวคิดในการนา อินเทอร์เน็ตมาใช้ในการเรี ยนการสอนที่วา่ ควรมีการวางแผนระยะยาวในการนาอินเทอร์ เน็ตมา ใช้ ควรมีการปรับปรุ งบุคลากร ให้มีความรู้ มีประสิ ทธิภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต ควรให้ผเู้ รี ยน มีความรู้พ้นื ฐานในการใช้อินเทอร์เน็ตโดยสอดแทรกในการเรี ยน เรื่ องของระบบคอมพิวเตอร์


16

หรื อระบบสารสนเทศและควรจัดอุปกรณ์ให้เพียงพอในการให้บริ การเพื่อกระตุน้ ให้มีการใช้ อย่างเต็มที่เป็ นการเพิ่มทักษะและความชานาญในการใช้มากยิง่ ขึ้น 4.อาจารย์และนิสิตนักศึกษาส่ วนใหญ่มีความต้องการใช้บริ การอินเทอร์เน็ตในการเรี ยน การสอนมากที่สุดในเรื่ องการเพิ่มความเร็ วในการสื่ อสารกับศูนย์บริ การ การเพิ่มงบประมาณใน การจัดสภาพศูนย์บริ การ ติดตั้งเครื่ องบริ การให้เพียงพอกับความต้องการ การเพิ่มความเร็ วใน การถ่ายโอนแฟ้ มข้อมูล และการขยายช่องกว้างสัญญาณให้สามารถทางานได้คล่องตัวขึ้น 5.ปัญหาการบริ หารจัดการเกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตในระดับภาควิชา ส่ วนใหญ่คือ เรื่ องงบประมาณสนับสนุนมีไม่เพียงพอ 6.ปัญหาการใช้บริ การอินเทอร์เน็ตในการเรี ยนการสอนของอาจารย์ที่พบมากคือ การ สนับสนุนจากสถาบันยังมีไม่มากพอทั้งในส่ วนของการจัดสถานที่ วัสดุอุปกรณ์และบุคลากรที่ จะให้คาแนะนาและไม่มีการจัดฝึ กอบรมการใช้หรื อมีอย่างไม่ทวั่ ถึงทาให้ผใู ้ ช้ส่วนใหญ่ขาด ทักษะหรื อแนวทางปฏิบตั ิที่เหมาะสม 7.ปัญหาการใช้บริ การอินเทอร์เน็ตในการเรี ยนการสอน ของนิสิตนักศึกษาที่พบมากคือ ผูเ้ รี ยนบางคนยังไม่มีเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนตัวทาให้ใช้งานได้ ไม่เต็มที่และการสนับสนุนจากสถาบันยังมีไม่มากพอทั้งในส่ วนของการจัดสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และบุคลากรที่จะให้คาแนะนา องค์ ประกอบระบบเครือข่ ายอินเตอร์ เน็ต ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการนาเครื่ องคอมพิวเตอร์ มา เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่ อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่าง เครื่ องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่ วมกัน (Shared Resource) ในเครื อข่ายนั้น องค์ประกอบของระบบเครื อข่าย ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ เพื่อการ เชื่อมต่อเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ 1. คอมพิวเตอร์ แม่ ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทาหน้าที่เป็ นผูใ้ ห้บริ การทรัพยากร


17

(Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยความจาสารอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็ นต้น ในระบบเครื อข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรี ยกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครื อข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรื อ มินิคอมพิวเตอร์ เป็ นศูนย์กลางของ เครื อข่าย เรานิยมเรี ยกว่า Host Computer และเรี ยกเครื่ องที่รอรับบริ การว่าลูกข่ายหรื อสถานีงาน 2. ช่ องทางการสื่ อสาร ช่องทางการสื่ อสาร หมายถึง สื่ อกลางหรื อเส้นทางที่ใช้เป็ นทางผ่าน ในการรับส่ งข้อมูล ระหว่างผูร้ ับ (Receiver) และผูส้ ่ งข้อมูล (Transmitter) ปั จจุบนั มีช่องทางการสื่ อสาร สาหรับการ เชื่อมต่อเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวน หุม้ (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุม้ (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนาแสง คลื่นไม โครเวป และดาวเทียม เป็ นต้น 3. สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรื อเครื่ องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมต่อ กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่เป็ นสถานีปลายทางหรื อสถานีงาน ที่ได้รับการ บริ การจากเครื่ อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรี ยกว่าเป็ นคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย (Workstation) ในระบบ เครื อข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรื อซีพียขู องตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม เป็ นศูนย์กลาง เรี ยกสถานีปลายทางว่าเทอร์ มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพ และแป้ นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรื อ Host 4. อุปกรณ์ ในเครือข่ าย - การ์ ดเชื่ อมต่ อเครื อข่ าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสาหรับ ใช้ ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครื อข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นเครื่ องแม่ข่าย และเครื่ องที่เป็ นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ ส่งผ่านไปตาม สายสัญญาณ ทาให้คอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้


18

- โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สาหรับการแปลงสัญญาณ ดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ ดา้ นผูส้ ่ ง เพื่อส่ งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก (Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ดา้ นผูร้ ับ โมเด็มก็จะทาหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็ น ดิจิตอลนาเข้าสู่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อทาการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบ เครื อข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็ นสื่ อกลาง เช่น เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เป็ นต้น - ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็ นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความ สะดวก ในการเชื่อมต่อของเครื อข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็ นจุดรวมการเชื่อมต่อ สายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ 5. ซอฟต์ แวร์ ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ าย ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ ที่ทาหน้าที่ จัดการระบบเครื อข่ายของ คอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยูก่ บั เครื อข่าย สามารถติดต่อสื่ อสาร แลกเปลี่ยน ข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิ ทธิภาพ ทาหน้าที่จดั การด้านการรักษาความปลอดภัย ของ ระบบเครื อข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนาโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่ อสาร มา ทางานในระบบเครื อข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบตั ิการเครื อข่าย มีความสาคัญต่อ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิง่ ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบตั ิการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็ นต้น องค์ ประกอบของระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต องค์ประกอบของระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต หมายถึง ส่ วนประกอบสาคัญที่ทาให้การ สื่ อสารผ่านระบบเครื อข่าย อินเทอร์เน็ต เกิดขึ้นได้ ทั้งนี้ เนื่องจากอินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื อข่าย ระดับโลก เป็ นเครื อข่ายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์ จานวนมาก จึงมีรูปแบบการ เชื่อมโยงข้อมูลเฉพาะของตนเอง องค์ประกอบของระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต มี 5 ส่ วนดังนี้ 1.ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) หมายถึง ตัวเครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง อื่น ๆ เช่น เครื่ องพิมพ์ กล้องดิจิทลั และลาโพงเป็ นต้น คอมพิวเตอร์ จะต้องมีคุณสมบัติพร้อม สาหรับการเชื่อมโยงเข้ากับเครื อข่าย แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ


19

1.1 คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) หรื อ โฮสต์ (Host) ได้แก่ คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางทาหน้าที่ ให้บริ การข้อมูล และประมวลผลข้อมูลที่รับมาจากคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ โดยทัว่ ไปต้องเป็ นเครื่ อง คุณภาพสู ง เพื่อรองรับการถ่ายโอนข้อมูล จานวนมาก

1.2 คอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) ได้แก่ คอมพิวเตอร์ ทวั่ ไปที่รับ-ส่ งข้อมูลมากจากเครื่ องแม่ข่าย อาจจะเป็ นเครื่ องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ เครื่ องโน๊ตบุค๊ เครื่ องแลปท็อป ฯลฯ ผูใ้ ช้บริ การ อินเทอร์เน็ตทัว่ ไป ก็จดั เป็ นเครื่ องลูกข่ายทั้งสิ้ น 2. ตัวกลางและอุปกรณ์ การสื่ อสาร (Communication Device) หมายถึงอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ ระหว่าง คอมพิวเตอร์ แม่ข่ายหรื อส่ วนกลางกับคอมพิวเตอร์ ลูกข่าย เป็ นช่องทางสาหรับการรับส่ งข้อมูล ประกอบด้วย


20

2.1 โมเด็ม (Modem) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนรู ปแบบสัญญาณข้อมูลระหว่างอะนาล็อก และดิจิทลั ความเร็ วในการส่ งผ่านข้อมูลของโมเด็มมีหน่วยเป็ นบิตต่อนาที (bps) โมเด็มที่มีอตั รา ความเร็ วบิตต่อนาทีสูง เช่น 512 mbps จะรับ-ส่ งข้อมูลได้ดีกว่าโมเด็มขนาด 128 mbps

2.2 สายโทรศัพท์ (Telephone) หมายถึง ระบบโทรศัพท์ทวั่ ไปซึ่งสามารถนาเอาสายสัญญาณ เสี ยบเข้ากับช่องสาหรับเสี ยบสายเชื่อมต่อของคอมพิวเตอร์


21

2.3 สายใยแก้วนาแสง (Optical Fiber) เป็ นสายสัญญาณอีกชนิดหนึ่งที่ทาจากเส้นใยพิเศษที่ สามารถรับ-ส่ งข้อมูลได้ดีกว่าสายโทรศัพท์ทวั่ ไป

2.4 คลื่นวิทยุและดาวเทียม (Microwave and Satellite) เป็ นระบบการสื่ อสารโดยใช้คลื่นวิทยุ และคลื่นไมโครเวฟรับ-ส่ งสัญญาณแบบไร้สายจากดาวเทียม


22

3. มาตรฐานการควบคุมและการส่ งผ่ านข้ อมูลบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต (Control/Internet Protocal) หมายถึง มาตรฐานที่ใช้ควบคุมและกาหนดเงื่อนไขในการรับ-ส่ งข้อมูลผ่านเครื อข่าย อินเทอร์เน็ต ได้แก่ 3.1 มาตรฐานทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocal/Internet Protocal) เป็ น โพรโตคอลมาตรฐานสาหรับรับ-ส่ งข้อมูลของเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต 3.2 มาตรฐานเฮชทีทีพี (HTTP : Hypertext transfer protocol) เป็ นมาตรฐานสาหรับการสื บค้น ข้อมูลชนิดไฮเปอร์เท็กซ์ (HTML) กาหนดและควบคุมวิธีการสื่ อสาร ผ่านโปรแกรมสาหรับ ติดต่ออินเทอร์เน็ต หรื อเบราว์เซอร์ (Browser) กับเครื่ องแม่ข่ายหรื อเว็บเซิ ร์ฟเวอร์ (Web Server) 3.2 มาตรฐานเอฟทีพี (FTP : File Transfer Protocal ) เป็ นมาตรฐานที่ใช้ในการควบคุมและ กาหนดวิธีการ โอนย้ายแฟ้ มข้อมูล 4. โปรแกรมสาหรับติดต่ ออินเทอร์ เน็ต (Internet Browser Program) ได้แก่โปรแกรมที่ใช้อ่าน ข้อมูลไฮเปอร์เท็กซ์ตามมาตรฐานเฮชทีเอ็มแอล (HTML) หรื อเรี ยกว่าเบราว์เซอร์ เช่น Internet Explorer , Mozilla Firfox , Netscape Navigator และ Operaเป็ นต้น เบราว์เซอร์ ทาหน้าที่อ่าน ข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ เสมือนอ่านหนังสื อทีละหน้า สามารถแสดงผลได้ท้ งั ข้อความ ภาพ เสี ยง และอื่น ๆ 5. ผู้ให้ บริการอินเทอร์ เน็ตหรือไอเอสพี (ISP : Internet Service Provider) หมายถึงหน่วยงาน หรื อ องค์กร ผูท้ ี่ให้บริ การอินเทอร์เน็ตแก่บุคคลทัว่ ไป โดยผูใ้ ห้บริ การแต่ละรายจะเป็ นสมาชิก ของเครื อข่าย ระดับประเทศนั้น ๆ แล้วเชื่อมโยงไปยังประเทศต่าง ๆ สาหรับผูใ้ ห้บริ การ อินเทอร์เน็ตรายสาคัญหรื อรายใหญ่ที่สุด ของไทย คือ การสื่ อสารแห่งประเทศไทย หรื อ กสท.


23

ผลกระทบจากการใช้ เทคโนโลยีอนิ เทอร์ เน็ต

1. โทษของอินเทอร์ เน็ต โทษของอินเทอร์ เน็ต มีหลากหลายลักษณะ ทั้งที่เป็ นแหล่งข้อมูลที่เสี ยหาย, ข้อมูล ไม่ดี ไม่ถูกต้อง, แหล่งประกาศซื้ อขาย ,ของผิดกฏหมาย, ขายบริ การทางเพศ ที่รวมและกระจาย ของไวรัสคอมพิวเตอร์ต่างๆ •

อินเทอร์ เน็ตเป็ นระบบอิสระ ไม่มีเจ้าของ ทาให้การควบคุมกระทาได้ยาก

มีขอ้ มูลที่มีผลเสี ยเผยแพร่ อยูป่ ริ มาณมาก

ไม่มีระบบจัดการข้อมูลที่ดี ทาให้การค้นหากระทาได้ไม่ดีเท่าที่ควร

เติบโตเร็ วเกินไป

ข้อมูลบางอย่างอาจไม่จริ ง ต้องดูให้ดีเสี ยก่อน อาจถูกหลอกลวง-กลัน่ แกล้งจากเพื่อน

ถ้าเล่นอินเทอร์เน็ตมากเกินไปอาจเสี ยการเรี ยนได้

ข้อมูลบางอย่างก็ไม่เหมาะกับเด็กๆ


24

ขณะที่ใช้อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์จะใช้งานไม่ได้ (นัน่ จะเป็ นเฉพาะการต่ออินเทอร์ เน็ต

แบบ Dial up แต่ในปัจจุบนั อินเทอร์เน็ตความเร็ วสูงจะสามารถใช้งานโทรศัพท์ที่ต่ออินเทอร์เน็ต ได้ดว้ ย) •

เป็ นสถานที่ที่ใช้ติดต่อสื่ อสาร เพื่อก่อเหตุร้าย เช่น การวางระเบิด หรื อล่อลวงผูอ้ ื่นไป

กระทาชาเรา •

ทาให้เสี ยสุ ขภาพ เวลาที่ใช้อินเตอร์เนตเป็ นเวลานานๆ โดยไม่ได้ขยับเคลื่อนไหว

2. โรคติดอินเทอร์ เน็ต โรคติดอินเทอร์เน็ต (Webaholic) เป็ นอาการทางจิตประเภทหนึ่ง ซึ่งนักจิตวิทยาชื่อ Kimberly S Young ได้ศึกษาและวิเคราะห์ไว้วา่ บุคคลใดที่มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 4 ประการ เป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี แสดงว่าเป็ นอาการติดอินเทอร์เน็ต •

รู้สึกหมกมุ่นกับอินเทอร์เน็ต แม้ในเวลาที่ไม่ได้ต่อเข้าระบบอินเทอร์ เน็ต

มีความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นเวลานานขึ้นอยูเ่ รื่ อยๆ ไม่สามารถควบคุมการใช้

อินเทอร์เน็ตได้ •

รู้สึกหงุดหงิดเมื่อใช้อินเทอร์เน็ตน้อยลง หรื อหยุดใช้

คิดว่าเมื่อใช้อินเทอร์ เน็ตแล้ว ทาให้ตนเองรู้สึกดีข้ ึน

ใช้อินเทอร์เน็ตในการหลีกเลี่ยงปัญหา

หลอกคนในครอบครัว หรื อเพื่อน เรื่ องการใช้อินเทอร์เน็ตของตนเอง

มีอาการผิดปกติเมื่อเลิกใช้อินเทอร์ เน็ต เช่น หดหู่ กระวนกระวาย ซึ่ งอาการดังกล่าว ถ้ามีมากกว่า 4 ประการในช่วง 1 ปี จะถือว่าเป็ นอาการติดอินเทอร์เน็ต

ซึ่ งส่ งผลเสี ยต่อระบบร่ างกาย ทั้งการกิน การขับถ่าย และกระทบต่อการเรี ยน สภาพสังคมของ คนๆ นั้นต่อไป


25

3. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

เทคโนโลยีที่ทนั สมัย แม้จะช่วยอานวยความสะดวกได้มากเพียงใดก็ตาม สิ่ งที่ตอ้ ง ยอมรับความจริ งก็คือ เทคโนโลยีทุกอย่างมีจุดเด่นและข้อด้อยของตนทั้งสิ้ น ทั้งที่มาจากตัว เทคโนโลยีเอง และมาจากปั ญหาอื่นๆ เช่น บุคคลที่มีจุดประสงค์ร้าย ในโลก cyberspace อาชญากรรมคอมพิวเตอร์เป็ นปัญหาหลักที่นบั ว่ายิง่ มีความรุ นแรง เพิ่มมากขึ้น ประมาณกันว่ามี ถึง 230% ในช่วงปี 2002 และแหล่งที่เป็ นจุดโจมตีมากที่สุดก็คือ อินเทอร์ เน็ต นับว่ารุ นแรงกว่า ปัญหาไวรัสคอมพิวเตอร์ เสี ยด้วยซ้ า หน่วยงานทุกหน่วยงานที่นาไอทีมาใช้งาน จึงต้องตระหนักในปั ญหานี้เป็ นอย่างยิง่ จาเป็ นต้อง ลงทุนด้านบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัย ระบบซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ที่ มีประสิ ทธิภาพ การวางแผน ติดตาม และประเมินผลที่ตอ้ งกระทาอย่างสม่าเสมอต่อเนื่ องแต่ไม่ ว่าจะมีการป้ องกันดีเพียงใด ปัญหาการโจมตีระบบคอมพิวเตอร์ กม็ ีอยูเ่ รื่ อยๆ ทั้งนี้ระบบการ โจมตีที่พบบ่อยๆ ได้แก่ •

Hacker & Cracker อาชญากรที่ได้รับการยอมรับว่ามีผลกระทบต่อสังคมไอทีเป็ นอย่างยิง่

บุคลากรในองค์กร หน่วยงานใดที่ไล่พนักงานออกจากงานอาจสร้างความไม่พึงพอใจ

ให้กบั พนักงานจนมาก่อปั ญหาอาชญากรรมได้เช่นกัน •

Buffer overflow เป็ นรู ปแบบการโจมตีที่ง่ายที่สุด แต่ทาอันตรายให้กบั ระบบได้มากที่สุด

โดยอาชญากรจะอาศัยช่องโหว่ของระบบปฏิบตั ิการ และขีดจากัดของทรัพยากรระบบมาใช้ใน การจู่โจม การส่ งคาสัง่ ให้เครื่ องแม่ข่ายเป็ นปริ มาณมากๆ ในเวลาเดียวกัน ซึ่งส่ งผลให้เครื่ องไม่


26

สามารถรันงานได้ตามปกติ หน่วยความจาไม่เพียงพอ จนกระทัง่ เกิดการแฮงค์ของระบบ เช่น การสร้างฟอร์ มรับส่ งเมล์ที่ไม่ได้ป้องกัน ผูไ้ ม่ประสงค์อาจจะใช้ฟอร์ มนั้นในการส่ งข้อมูล กระหน่าระบบได้ •

Backdoors นักพัฒนาเกือบทุกราย มักสร้างระบบ Backdoors เพื่อช่วยอานวยความ

สะดวกในการทางาน ซึ่งหากอาชญากรรู ้เท่าทัน ก็สามารถใช้ประโยชน์จาก Backdoors นั้นได้ เช่นกัน •

CGI Script ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่นิยมมากในการพัฒนาเว็บเซอร์วสิ มักเป็ นช่องโหว่

รุ นแรงอีกทางหนึ่งได้เช่นกัน •

Hidden HTML การสร้างฟอร์มด้วยภาษา HTML และสร้างฟิ ลด์เก็บรหัสแบบ Hidden

ย่อมเป็ นช่องทางที่อานวยความสะดวกให้กบั อาชญากรได้เป็ นอย่างดี โดยการเปิ ดดูรหัสคาสัง่ (Source Code) ก็สามารถตรวจสอบและนามาใช้งานได้ทนั ที •

Failing to Update การประกาศจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ผใู ้ ช้นาไปปรับปรุ งเป็ นทาง

หนึ่งที่อาชญากร นาไปจู่โจมระบบที่ใช้ซอฟต์แวร์ น้ นั ๆ ได้เช่นกัน เพราะกว่าที่เจ้าของเว็บไซต์ หรื อระบบ จะทาการปรับปรุ ง (Updated) ซอตฟ์ แวร์ ที่มีช่องโหว่น้ นั ก็สายเกินไปเสี ยแล้ว •

Illegal Browsing ธุรกรรมทางอินเทอร์ เน็ต ย่อมหนีไม่พน้ การส่ งค่าผ่านทางบราวเซอร์

แม้กระทัง่ รหัสผ่านต่างๆ ซึ่ งบราวเซอร์บางรุ่ น หรื อรุ่ นเก่าๆ ย่อมไม่มีความสามารถในการ เข้ารหัส หรื อป้ องกันการเรี ยกดูขอ้ มูล นี่กเ็ ป็ นอีกจุดอ่อนของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ได้เช่นกัน •

Malicious scripts จะมีการเขียนโปรแกรมไว้ในเว็บไซต์ แล้วผูใ้ ช้เรี ยกเว็บไซต์ดูบน

เครื่ องของตน อย่างมัน่ ใจหรื อว่าไม่เจอปัญหาอะไร อาชญากรอาจจะเขียนโปรแกรมแฝงใน เอกสารเว็บ เมื่อถูกเรี ยก โปรแกรมนั้นจะถูกดึงไปประมวลผลฝั่งไคลน์เอ็นต์ และทางานตามที่ กาหนดไว้อย่างง่ายดาย โดยที่ผใู้ ช้จะไม่ทราบว่าตนเองเป็ นผูส้ ั่งรันโปรแกรมนั้นเอง •

Poison cookies ขนมหวานอิเล็กทรอนิกส์ ที่เก็บข้อมูลต่างๆ ตามแต่จะกาหนด จะถูก

เรี ยกทางานทันทีเมื่อมีการเรี ยกดูเว็บไซต์ที่บรรจุคุกกี้ชิ้นนี้ และไม่ยากอีกเช่นกันที่จะเขียน โปรแกรมแฝงอีกชิ้น ให้ส่งคุกกี้ที่บนั ทึกข้อมูลต่างๆ ของผูใ้ ช้ส่งกลับไปยังอาชญากร


27

ไวรัสคอมพิวเตอร์ ภัยร้ายสาหรับหน่วยงานที่ใช้ไอทีต้ งั แต่เริ่ มแรก และดารงอยูอ่ ย่าง

อมตะตลอดกาล ในปี 2001 พบว่าไวรัส Nimda ได้สร้างความเสี ยหายได้สูงสุ ด เป็ นมูลค่าถึง 25,400 ล้าบบาท ในทัว่ โลก ตามด้วย Code Red, Sircam, LoveBug, Melissa ตามลาดับที่ไม่ หย่อนกว่ากัน ปัญหาของโลกไอที มีหลากหลายมาก การทานายผลกระทบที่มีขอ้ มูลอ้างอิงอย่าง พอเพียง การมีทีมงานที่มีประสิ ทธิภาพ การวางแผน ติดตาม ประเมินผลอย่างสม่าเสมอ คงจะ ช่วยให้รอดพ้นปัญหานี้ได้บา้ ง สรุ ป การใช้งานอินเทอร์เน็ตต้องมีความรู ้ความเข้าใจในการเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต ควรเลือกให้ เหมาะสมลักษณะการใช้งาน ปริ มาณการใช้งาน รวมถึงจานวนผูใ้ ช้ รู ปแบบการติดตั้ง อินเทอร์เน็ตเพื่อใช้งานภายในบ้านกับเพื่อใช้ในองค์กร สานักงานและรู ปแบบการเชื่อมต่อที่ แตกต่างกัน ปัจจุบนั ได้มีบริ การอินเทอร์เน็ตความเร็ วสู งในรู ปแบบต่างๆ ที่สามารถรอรับบริ การได้ เมื่อได้ทาการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแล้ว จะต้องมีโปรแกรมสาหรับใช้งานอินเทอร์ เน็ต เช่น โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ โปรแกรมเว็บบราวน์เซอร์ โปรแกรมรับส่ งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงรู ปแบบการบริ การบนอินเทอร์เน็ต มีหลากหลายรู ปแบบได้รับความนิยม ได้แก่ ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ การโอนย้ายข้อมูลข้ามเครื อข่าย การค้นหาข้อมูล การสนทนา ออนไลน์ เป็ นต้น อินเทอร์เน็ตเปรี ยบเสมือนดาบสองคมที่มีท้ งั ประโยชน์และโทษ ถ้าใช้อย่างไม่ ระมัดระวัง ดั้งนั้นผูป้ กครองควรเอาใจใส่ บุตรหลาน หรื อให้ขอ้ แนะนาเพื่อจะได้นาด้านทีดีมา ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดในการดาเนินชีวติ หรื อนักเรี ยนนักศึกษาควรใช้วจิ ารณญานในการใช้ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เกิดความรู้และเป็ นประโยชน์ในด้านการเรี ยนอย่านาความรู ้ไปใช้ในสิ่ งที่ ผิด จนทาให้เกิดความเสี ยหายแก่ผอู้ ื่น


28

ปัจจุบนั มีกลุ่มที่ไม่หวังดีใช้ในช่องทางบนทางอินเทอร์เน็ต เป็ นช่องทางแสวงหา ผลประโยชน์แก่ตนเอง แต่เป็ นการทาลายเยาวชนของสังคม ดั้งนั้นทุกคนที่ใช้อินเทอร์ เน็ตควร มีจิตสานึก คานึงถึงประโยชน์ส่วนร่ วมมากกว่าส่ วนตัว จะทาให้โลกใบนี้น่าอยูย่ งิ่ ขึ้น


29

บรรณานุกรม ที่มา: http://www.thaiall.com/article/internet.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2556 ที่มา: th.wikipedia.org/wiki/อินเทอร์เน็ต‎สื บค้นเมื่อวันที่ 21 สิ งหาคม 2556 ที่มา : http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/3056-00/ สื บค้นเมื่อวันที่ 21สิ งหาคม 2556 ที่มา: http://www.ladyinter.com/forum_posts.asp?TID=4691 สื บค้นเมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2556 ที่มา: http://www.ladyinter.com/forum_posts.asp?TID=4691 สื บค้นเมื่อวันที่ 24 สิ งหาคม 2556 ที่มา: http://www.sawi.ac.th/elearning/5_4.htm สื บค้นเมื่อวันที่ 25 สิ งหาคม 2556 ที่มา: http://www.learners.in.th/blogs/posts/462713 สื บค้นเมื่อวันที่ 25 สิ งหาคม 2556


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.