PGVIM Graduate Recital 2018 - 2019

Page 1


Programme 23 March 19

26 April 2019

Phenomenon

Potpourri

By Peerawit Aunruan 6 PM

By Chamamas Kaewbuadee 4 PM

Reminiscene

By Napassorn Pukalanant 5.30 PM

20 April 19

Arrival

Inner Space

By Pongtorn Techaboonakho 7.30 PM

By Yanini Pongpakatien 1 PM

Circus Circle

By Benjamart Maiket 3 PM 2


27 April 19

28 April 19

Through My Eyes

Unbounded

All & Sundry

Dreamcatcher

By Jirayust Thaolipo 2 PM

By Natthapat Kirawiroj 2 PM

By Khetsin Chuchan 4.30 PM

By Phattrachattra Thongma 4.30 PM

Saudade: The Missingness of Time-Space-Memory

In Light

By Natapat Pisutwong 5.30 PM

By Taratawan Krue-On 5.30 PM

Undine

Void

By Phataporn Preechanon 7 PM

By Dhorn Taksinwarajan 7 PM 3


4


Phenomenon By Peerawit Aunruan This is my world. My phenomenon that I want all audiences to travel together with the music I created. I want you all to feel every stories and colour I designed because currently, you’ve already stepped into my world.

This show is inspired by the story of the classical guitar and its evolution from the past to the present. During my exploration, selected repertoires and other findings lead me to name this show as ‘ Phenomenon ’. In the history of music, there are few points in time that classical guitar left an important mark. With this performance, I’d like to showcase different repertoires which explore various roles of the classical guitar, with the repertoire from different eras. In the concert, the audience will experience several sounds from the guitar, starting with a solo piece, followed by a dialogue of two guitars, then exploring the mixture of guitar and other instruments. Later on, we will hear a performance of classical guitar playing an arrangement from other instrument’s repertoire. The concert will finish with a concerto piece, showcasing the magic of classical guitar and the phenomenon in which it reverberate through times.

5


Program ‘ Sonata K.213 - D. Scarlatti ’ of colors and professional guitar techniques from ‘ Aquarelle - S. Assad ’ ‘ Arpeggione - F. Schubert arr. for Guitar & Violin ‘ ‘ Moonlight Sonata - L.Beethoven ’ ‘ Concerto M. Tedesco ’

6


Yanini Pongpakatien

7


Inner Space By Yanini Pongpakatien Programme Sonata for piano and violin No.2 in A Major, Op.100 Composed by : Johannes Brahms I. Allegro amabile II. Andante tranquillo III. Allegretto grazioso Violin Sonata No.2 in A Minor, BWV 1003 Composed by : Johann Sebastian Bach I. Grave IV. Allegro Violin Concerto No.1 in D Major, Op.19 Composed by : Sergey Prokofiev I. Andantino II. Scherzo III. Moderato

Accompanists Usa Napawan Varis Vatcharanukul

8


“I just walked pass by the crowd. This just taken by accident.�

9


โลกปัจจุบนั ทีเ่ ราอยูใ่ นขณะนี้ ทีท่ กุ คนมีแต่ตอ้ งก้าวไปข้างหน้า เวลา เดินไปข้างหน้าตลอดเวลา ผู้คนต่างต้องการที่จะพัฒนาด้านสังคม ของตนเอง ต้องการเป็นจุดศูนย์รวม พัฒนาด้านต่างๆเพิม่ ขึน้ ประเทศ นัน้ ต้องแข่งกับประเทศนี้ ซึง่ ถ้ามองไปในเมือ่ สมัยก่อนตัง้ แต่ยคุ ทีเ่ รา ยั ง มี ค วามค�า นึ ง ถึ ง เราที่ ค นรุ ่ น หลั ง จะต้ อ งเป็ น คนสื บ ทอดศิ ล ปะ วัฒนธรรมของแต่ละพื้นถิ่นของตน อยู่โดยการเกื้อกูล เอื้ออาศัยกัน ซึ่งมันปลูกฝังให้เราเป็นคนในแบบที่ใช้ชีวิตโดยเห็นใจซึ่งกันและกัน การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ฉันเชื่อว่าการถูกปลูกฝังอะไรบางอย่างมา อะไรที่ติดตัวเรามามันส่งผลกับปัจจุบันของเราและความเป็นเราใน ทุกวันนี้ ว่าเราในปัจจุบนั จะเป็นคนยังไง ซึง่ การทีเ่ ราเป็นคนยังไงนัน้ ฉันก็คดิ อีกว่ามันก็สง่ ผลกับสภาพแวดล้อมจนไปถึงสังคมในปัจจุบนั ด้วยเช่นกัน จนไปกระทบถึง การใช้ชีวิตในปัจจุบัน ทุกอย่างมัน สัมพันธ์กัน ด้วยกาลเวลาที่ผ่านไป สิ่งต่างๆที่เคยมีในอดีต ตอนนี้ มันกลับไม่มี บางอย่างถูกลืมเลือน การใช้ชีวิตได้เปลี่ยนไป คนบน โลกสามารถติดต่อกันได้อย่างง่ายดายเพียงแค่หยิบโทรศัพท์จนท�าให้ ตอนนี้เราขาดอะไรบางอย่างไป เราลืมไป ถึงรายละเอียดของชีวิต เรื่องละเอียดอ่อนของชีวิต เช่น การใช้เวลา ณ เวลานั้นให้คุ้มค่า การที่เราเอาตัวเองไปอยู่ในที่ๆนึงแบบจริงๆ เช่น การใช้เวลาอยู่กับ ครอบครัว การจดจ่อกับการท�างานเพือ่ การสร้างงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ หรือการตั้งใจเรียนตลอดคาบเรียน เพราะบางทีเราอาจไม่ทันได้คิด หรือบางทีก็อาจจะคิดว่าเดี๋ยวเราก็สามารถมีเวลาได้ท�าสิ่งนี้อีก เรามีเวลาท�าเรือ่ งนีอ้ กี เยอะเดีย๋ วค่อยท�าละกัน หรือไว้ครัง้ หน้าละกัน เดีย๋ วก็ได้เจอกันอีกตอนนีข้ อท�าอันนีก้ อ่ น ซึง่ พอเราเป็นแบบนีค้ ดิ แบบ นี้กันเยอะๆ ฉันคิดว่ามันส่งผลไปถึงสังคมปัจจุบันด้วย

ได้สมั ผัส ไม่ใช่เพราะเป็นเพลงนีแ้ ต่เป็นการทีไ่ ด้เล่นดนตรี มันท�าให้ เกิดพื้นที่ของตัวฉันขึ้นมาภายในนั้น ดนตรีมันช่วยเยียวยาฉันบนสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน การที่ได้ ท�างานครัง้ นีข้ นึ้ มามันก็เป็นอีกโอกาสนึงทีท่ า� ให้ตวั ฉันเองนัน้ ได้ทา� ให้ ตัวเองต้องหาเวลาในพื้นที่ของตัวเองในแต่ละวัน เพราะในสังคม ปัจจุบนั เราก็ลมื ทีจ่ ะให้พนื้ ทีก่ บั ตัวเอง ลืมทีจ่ ะดูแลตัวเอง ซึง่ ช่วงก่อน ที่ผ่านมานั้น การที่ฉันใช้ชีวิตไปเรื่อยๆตามที่ฉันต้องท�าในทุกๆ วัน มันเริ่มท�าให้ฉันรู้สึกไม่ดีกับการที่จะต้องใช้ชีวิตท่ามกลางสภาพ แวดล้อมแบบทุกๆ วันนี้ ในปั จ จุ บั น จิ ตใจคนเปลี่ ย นไปด้ ว ยเวลาที่ ผ ่ า นเลยมาตามแต่ ล ะ ยุคสมัย ความเข้าใจเรื่องต่างๆก็ต่างกัน แม้จะเรื่องของศาสนา ด้วยเวลาทีแ่ ปรเปลีย่ น ค�าพูดค�าสอนถูกเปลีย่ นค�าถูกส่งต่อถ่ายทอด มาเรือ่ ยๆบอกเล่ากันต่อๆมาจนความหมาย ของค�าสอนนัน้ ได้เปลีย่ น ไปจากค�าสอนแรกเริม่ บทสวดมนต์ตา่ งๆยังมีตอ่ มาเรือ่ ยๆ แต่ความหมาย ค�าแปลนั้นอาจไม่เหมือนเดิม ด้วยความเข้าใจที่ต่างกัน ถ้าพูดถึง บทสวดมนต์ในศาสนาพุทธในแต่ละวัฒนธรรม ในขณะที่เราฟัง ว่าด้วยเรื่องของเสียง ด้วยท�านองของการสวดมนต์นั้นมันเป็นการ สร้างสมาธิ เจริญสติอย่างนึง การที่เราจดจ่ออยู่กับทุกค�าที่สวด ออกมาจริงๆ จิตเรามีความว่างเกิดขึ้น ว่างจากความคิดอื่น และเกิด สมาธิ หลังจากที่เริ่มท�างานนี้ฉันมีความสนใจในเรื่องของวิธีการของ แต่ละวัฒนธรรมในการจะท�าให้เกิดสมาธิ เพราะต้องการจะเอามาใช้ กับในชีวิตประจ�าวันรวมถึงช่วยให้ตนเองจิตใจนิ่งขึ้นเวลาท�าสิ่งต่างๆ และดูแลจิตใจตัวเองในเวลาที่มีอะไรเข้ามาในชีวิตต่างๆ มากมาย รับมือกับสิง่ ต่างๆ ให้ได้กเ็ ลยสนใจอยากรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ งของพุทธศาสนา นิกายต่างๆเพิ่มขึ้น

การทีท่ า� งานในหัวข้อนีส้ นใจในหัวข้อนีม้ นั เกิดขึน้ มาจากการทีฉ่ นั เริม่ ตระหนักถึงสภาพสังคมในปัจจุบัน ผู้คนในสังคมและความเป็นไป ของมันในตอนนี้ ถ้าจะให้มองว่าคนในปัจจุบันท�าไมถึงเป็นแบบนี้ ฉันคิดว่ามันเป็นไปเพราะสภาพแวดล้อมจนเกิดความเคยชินกับ การที่จะใช้ชีวิตเร็วๆแบบนี้ี และลืมนึกถึงคุณภาพบางอย่างของชีวิต รีไซทอลครัง้ นีต้ อ้ งการทีจ่ ะสือ่ ออกมาถึงในเรือ่ งของชีวติ ทีเ่ ราสามารถ มีพนื้ ที่ และฉันต้องการจะบอกกับคนฟังว่าดนตรีทฉี่ นั ก�าลังถ่ายทอด ออกไปให้ผฟู้ งั ฟังนัน้ มันมาจากการทีฉ่ นั ก็รสู้ กึ ว่าดนตรีนนั้ ก็เป็นหนึง่ ในพื้นที่นึงของฉันด้วยเช่นกัน ซึ่งฉันตั้งใจที่จะแบ่งปันส่วนนี้ให้ผู้ฟัง

การสวดมนต์ของศาสนาพุทธในนิกายต่างๆ มีบทสวดมนต์หลากหลาย บทสวด และแต่ละบทสวดมีความหมายต่างกัน ส่วนใหญ่จุดมุ่งเน้น ในการสวดมนต์นี้ในเชิงพัฒนาภายในจิตของเราเพื่อให้เกิดสภาวะ จิตที่ว่าง การเกิดสมาธิ ขัดเกลาจิตใจ การที่ได้จดจ่อกับการท่อง บทสวดอยู่ตลอดก็เป็นกิจกรรมหนึ่งในการเจริญสติ

10


และในส่วนของการฝึกฝนด้านต่างๆของฉันในชีวติ ตอนนีท้ พี่ ยายาม ท�าอยู่คือ คิดเสมอเวลาจะท�าอะไรจะพยายามมีสมาธิกับ สิ่งนั้น อย่างเดียว ไม่วอกแวกคิดอย่างอื่น เพราะรู้สึกว่าการท�าแบบนั้น มันท�าให้เราเริ่มท�าสิ่งต่างๆได้ไม่เต็มที่ เพราะด้วยชีวิตที่เปลี่ยนไป มันมีอะไรที่ต้องท�าต้องคิดเยอะขึ้น นินีเคยเจอสถานการณ์หนึ่งของ ตัวเองที่ทุกๆอย่างที่จะต้องคิดว่างแผนว่าต้องท�าอะไรๆมันเยอะมาก แล้วฉันต้องการจะคิดมันต้องการจะวางแผนทุกอย่างให้มันเสร็จ เรียงๆ ไปพร้อมกัน แต่ท�าไม่ได้ เพราะมันก็มีปัจจัยอื่นมาร่วมด้วย เหมือนกันเช่น ความพร้อมของร่างกายตัวเอง สภาพอารมณ์ของ แต่ละวัน รู้สึกว่าสภาพแวดล้อมก็เป็นส่วนหนึ่งด้วย สภาพอากาศก็ มีส่วน ตอนนี้ก็เลยพยายามท�าสิ่งต่างๆทีละเรื่องๆไป ซึ่งก็เบาใจขึ้น

ตอนนี้เท่าที่รู้สึกในระยะเวลาที่ท�ามา แล้วก็พยายามตามอารมณ์ ความรู้สึกของตัวเองให้ได้ ว่าตอนนี้เรารู้สึกยังไง โดยงานครั้งนี้ฉัน ต้องการจะใช้ทักษะของตนเองมาสร้างผลงานที่จะสร้างความเข้าใจ ในเรื่องของการมีพื้นที่ผ่านทางเสียง หรือการให้ข้อมูลเพื่อสร้าง ความเข้าใจให้เพิ่มขึ้นผ่านจากสารคดี โดยแทรกบางอย่างจากสิ่ง ที่ได้ค้นหาเกี่ยวกับศาสนาพุทธ รวมถึงการพูดถึงสังคมในปัจจุบัน หรือสิ่งที่สะท้อนความเป็นสังคมปัจจุบัน เป็นต้น การท�างานครั้งนี้ ค่อนข้างเน้นที่จะเก็บเกี่ยวข้อมูล หาข้อมูลเพื่อเป็นตัวช่วยของฉัน ในการให้พนื้ ทีก่ บั ตัวเอง และท�าความเข้าใจในเรือ่ ง การพัฒนาทักษะ ภายในจิตใจ และเป็นช่วยในการใช้ชวี ติ ประจ�าวันและรวมถึงการเล่น ดนตรีของฉันเอง

Our world today, people want to be more advanced. The time always goes forward, people want to develop their image in society, to be the center trying to develop NEW things. Countries compete with each other. If we look back in the past that we were respectful to each other and care about the next generation to be the people who will inherit their traditions and culture. It cultivates us to be human who lives to help each other and to be kind to each other. I believe the way that we have been treated will affect our lives nowadays, shaping us to be the people we are now and I think it can affect our society. It’s a circle.

a lot of time to do it later. I have to get the job done first so I can be with them later. When lots of people have thoughts like that I think it also affects society. I’m doing this project because I’m interested and realizing about the way of our society these days, people in the society and the way it is right now. I had a question to myself that why people in these days are like this, and I think it because of the environment and we are getting used to it more and more to the way we live and already forget about the quality of life. This recital project I want to tell the people about our life that we can have space in our life. I want to speak to the people, the music that I’m going to play it for you it came from the way that I think music is my inner space. It is also my space that I’m going to share it to you to feel it. It is not because of the pieces but it is the way I play it and it has my inner space happening in those pieces.

Those past things that exist from the previous days now doesn’t. Something was forgotten. The lifestyle has changed. Now we can contact to someone very easily but because of that, we are missing the small things in our lives like to really be ‘present’. Because sometimes you didn’t even think or you just thought that we will have 11


“Sound of the light.“

12


The music can heal me from nowadays environment. This project is an opportunity for me to find my empty space in my daily lives. I think the people now they forget to give some space to themselves, forget to care for yourself, because from last semester I just did what I have to do and keep doing it again. It felt bad to live like that and surrounded by a society that is full of speed.

And the way I practice, what I’m trying to do is to really focus on what I’m doing, because before this I was always want to think many things in a short time. I was trying very hard to be well organized in everything that I was going to do, and I realize that I can’t do the same now. Since there are many more things to do than before, so I think if I do that way the result it will not be good. Now I’m trying to focus on one thing and I feel more relaxed. I’m trying to know better about my feeling and also about my thoughts.

For the time has changed, the understanding of people is so different. Even beliefs, when the time has passed, the teaching was modified from people’s understanding and some people are misunderstanding it.

With this project I also want to use my other skills to create new things, to reflect the understanding of the way of Buddhism and society through the sounds and videos. This work is my opportunity to find the way to be really into my inner space, and to develop skills that I can use in my daily life and also for my musical expressing.

Buddhism in each cultures has different chants, each of which reveals their own methods for achieving focus. It’s the way to empty your mind. After I started doing this work I found myself interested in the way to have consciousness in asian cultures. The Buddhist prayers have many chants. Each chant is had the different meaning. I want to bring that knowledge to my daily life, to help myself get off from the thoughts and to deal with my mixed-up thoughts.

13




C RC

us LE

By Benjamart Maiket

C RC

20 APRIL 2019 Sangita Vadhana Hall

16


ชีวิตของคนเรามีเรื่องราวมากมายที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ผูค้ นทีเ่ ราพบ ชีวติ และประสบการณ์ทแี่ ตกต่างเต็มเปีย่ มไปด้วยสีสนั อารมณ์ที่เกิดขึ้นและดับลงไปเป็นเรื่องธรรมชาติ สิ่งต่าง ๆ รอบตัว ยังคงท�าหน้าที่ของมันตามกาลเวลา หัวใจของฉันเต้นระรัว เมื่อม่านเปิดขึ้นการแสดงเริ่มต้นขึ้นอีกครั้ง นักแสดงต่างยิ้มร่า บรรเลงกันอย่างสุดฝีมือ ผู้ชมต่างโห่ร้องกึกก้อง ปรบมือสนั่น ตื่นเต้นกับการแสดง “ดูนั่นสิ่ ! เงาอะไรก็ไม่รู้ เธอว่ามันเป็นรูปอะไร ? ” เด็กน้อยพูด พลางชี้มือตาม เสียงดนตรีบรรเลงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เสียงเปียโนเริ่มแว่วมาตามสายลม ต่อด้วยเสียงของคลาริเนท ภาพเริ่มเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ ฉากต่าง ๆ ได้ถูกเปิดขึ้น และปิดลงสลับไปมา บ้างยิ้ม บ้างหัวเราะ บ้างคิดถึง บ้างกลัวจนสุดขีด มีแค่พวกเราในห้องแสดงนี้เท่านั้นที่รู้… “การแสดงชุดต่อไปก�าลังจะเริ่มแสดงแล้วนะครับ... ใครที่ยังไม่มีบัตรชมการแสดง ต่อแถวทางด้านนี้เลยครับ” เสียงโฆษกพูดประกาศ

Guest Performers Varis Vatcharanukul : Piano Khatsara Kit Khongnonkok : Clarinet Patvira Kiratichaiyingyos : Clarinet 17


Programme Clarinet Concerto No.1 in F minor, op.73 Carl Maria von Weber Six clarinet Trio Jacques Jules BOUFIL Fantaisie de concert for Clarinet and piano Avon,Edmond Joseph




Potpourri

Potpourri

J. N. Hummel: Potpourri, Op.94 “Fantasie” By Chamamas Kaewbuadee R. Schumann: Märchenbilder, Op.113

I. Nicht schnell II. Lebhaft III. Op.94 Rasch“Fantasie” J. N. Hummel: Potpourri, IV. Langsam

Programme

R. Schumann: Märchenbilder, Op.113 I. Nicht schnell M. Bruch: Romance in F major for Viola and II. Lebhaft Piano, Op. 85 III. Rasch IV. Langsam M. Bruch: Romance in F major for Viola and Piano, Op. 85 Friday 26th April 2019 4.00 p.m.

Chamamas Kaewbuadee, Viola Performers

Taratawan Krue-On, Piano Chamamas Kaewbuadee, Viola Kansiree Chirawattanaphan, Piano Taratawan Krue-On, KawiratPiano Saimek, Piano Kansiree Chirawattanaphan, Piano Kawirat Saimek, Piano


บทประพันธ์ Märchenbilder คือบทประพันธ์ในช่วง 5 ปีสุดท้ายก่อนเขาเสียชีวิต บทประพันธ์ชิ้นนี้ได้รับแรงบันดาลในจากนิทานกริมม์ ้ โดยหนึ หนึง่ ธรรมชาติ ถอื ก�า่อเนิ ว้ นผลิ าน ส่งกลิน่ หอมเฉพาะตั บทประพัRapunculus นธ์ Märchenbilder คือบทประพั ธ์ใดนช่ ท้าย mm) 3 เรื่อครั งน ่งในสามเรื งนีด้คดอกไม้ ือ ราพัลน เซล บ(rapunzel) ซึ่งชื่อที่มีทวี่มามาจาก Campanula ดอกไม้น ชนิ หนึว่งง ที5่พปี​ี่นส้อุดงตระกริมม์ เลือกจนนำ า ไปสู เ ่ รื อ ่ งเล่ า นิ ท าน ที ก ่ ล่ า วถึ ง เด็ ก สาวคนหนึ ง ่ ที ม ่ ผ ี มหอมและแม่ ม ดใจร้ า ย โรเบิ ร ต ์ ชู ม น ั น์ ห ยิ บ ยกนิ ท านเรื อ ่ งดั ง กล่ า วสู ของดอกไม้นั้น เมื่อดอกไม้ได้รับแสงอาทิตย์สาดส่อง เติบโตและ ก่อนเขาเสียชีวติ บทประพันธ์ชนิ้ นีไ้ ด้รบั แรงบันดาลในจากนิทานกริ่แมรงม์ ดาลใจ อารมณ์ ท อ ่ ี อ ่ นไหวและจิ น ตนาการอั น แรงกล้ า ของเขาคื อ แสงที เ ่ ขาเอ่ ย ถึ ง ในจดหมายเมื อ ่ หลายปี ก อ ่ น แม้ ส ด ุ ท้ า ยแสงนั น ้ จะแผดเผาตั ว ของ แผดเผาในเวลาที่ต่างกัน ท�าให้ข้าพเจ้านึกถึงเรื่องราวการเติบโต (Grimm) 3 เรื่อง โดยหนึ่งในสามเรื่องนี้คือ ราพันเซล (rapunzel) อง เห็นจากบทประพันธ์ชิ้นนี้ของเขาในท่อนสุดท้าย ผ่านความบันดาลใจจากนิทานเรื่องเจ้าหญิงนิทรา ที่ดูท่าทีแล้วเจ้าหญิงคงมิอาจฟื้นขึ้นมา ของมนุษย์ ทีย่ อ่ มมีเกิดและดับลงในสักวันหนึง่ เป็นธรรมดาทีม่ นุษย์ ซึ่งชื่อที่มีที่มามาจาก Rapunculus Campanula ดอกไม้ชนิดหนึ่ง ายคลึงกับ พอทพัวรี ที่หลับไหลอยู่ในโถเช่นเคย

มักจะหวนคิดถึงอดีตเสมอเมื่อพวกเขาอยู่ในเวลาที่เป็นปัจจุบัน?

ที่พี่น้องตระ-กูลกริมม์ เลือกจนน�าไปสู่เรื่องเล่านิทาน ที่กล่าวถึง

เรื่องราวที ่ถูกนำาแมาเล่ เช่นเดีมนุ ยวกั ม พอทพั่นวรี เด็ ผ่กานการให้ ความหมายใหม่ ด้วยการปรุ งแต่างยกลิโรเบิ ่นโดยมนุ เมื่อดอกไม้ ห้งเหีา่ใหม่ ยว ร่วงโรย ษย์บบดอกไม้ รรจงปรุในโถใบเดิ งแต่งรูปรสและกลิ สาวคนหนึ ่ ง ที่ มี ผ มหอมและแม่ ม ดใจร้ ร ์ ต ชูษมย์ั นเพืน์่อ แทนสิ่งที่หายไปในอดี ต แ ห้ บทประพั ่มีการ ่ ก ลิการทำ าใหม่ จากองค์ ม ท ๆ านเรื พร้่ อองดั มกังนกล่ กับาการให้ ความหมายจากผู ้บรรเลงดนตรี ของดอกไม้ งเหล่านีน้ดธ์้วเพลงที ยการแทนที ่นของดอกไม้ ที่หายไปประกอบเดิ หยิบยกนิ วสู่แรง-บั นดาลใจ อารมณ์ ที่อ่อนไหว เห็นทีว่าจะเกิดขึ้นได้ในทุกวัน ราวกับบทประพันธ์ โรมานซ์ ในบันไดเสียง เอฟ เมเจอร์ ของแม็กซ์ บรุค (Max Bruch) ที่เขาได้บรรจงประพันธ์ ตามกาลเวลา เรียกขานในนาม พอทพัวรี (potpourri) และจินตนาการอันแรงกล้าของเขาคือแสงที่เขาเอ่ยถึงในจดหมาย ดยตั้งใจโดยอุทิศให้นักวิโอลา วิลลี เฮส (Willy Hess) เป็นผู้ถ่ายทอดผลงานชิ้นนี้ นักวิโอลาหลายต่อหลายคนได้นิยามความหมายผ่านการ ่ หลายปี ่ ซ้นาำ แล้ แม้วสซ้ดุ าำ ท้อีากยแสงนั น้ จะแผดเผาตั เห็นนในรู จากป เลงและการตีความตามแต่ประสบการณ์ที่แตกต่างกัน หวนให้นึกถึงพอทพัวเมื รี อ ที่ถูกทำกาอ ในหลายชนชาติ ที่ลว้วของเขาเอง นแตกต่างกั ผู้คนบรรจงคั อกดอกไม้ ในสวน บ้างก็นเพืธ์่อเพลงชิ จัดวางลงในโถแก้ นธ์คชวามหมายและมุ ิ้นนี้ของเขาในท่มอมองจากประสบการณ์ นสุดท้าย ผ่านความบันขดาลใจจาก กลิ่น ในการแสดงครั ้งนีด้ขเลื้าพเจ้ าจะนำาเสนอบทประพั ้นนี้ของ บรุวค บทประพั โดยการให้ องข้าพเจ้า.

หรือน�าไปประดับบนแจกัน ข้าพเจ้าเชื่อแน่ว่า ดอกไม้ก็คือดอกไม้ สิ่งที่แตกต่างคือการจัดวางของผู้คนเหล่านั้นต่างหาก จากแนวคิด ดั ง กล่ า วท�าให้ ข ้ า พเจ้ า พบว่ า การจั ด วางงานประพั น ธ์ ข องใน บทประพันธ์ Potpurri ผลงานล�าดับที่ 94 ของ โยฮันน์ เนโพมุค ฮุมเมล (Johann Nepomuk Hummel) ที่ได้รับแรงบันดาลใจ ใ นการประพั น ธ์ ด ้ ว ยการหยิ บ ยื ม องค์ ป ระกอบทางดนตรี จ าก บทประพันธ์อันเลื่องชื่ออย่าง ดอน จิโอวานี (Don Giovani) ของ โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) มาใช้ในบทประพันธ์ชิ้นนี้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการบรรจงรรจงคัดสรร ดอกไม้ลงในโถแล้วเลือกจัดวางจากมุมมองของเขา

นิทานเรื่องเจ้าหญิงนิทรา ที่ดูท่าทีแล้วเจ้าหญิงคงมิอาจฟื้นขึ้นมา คล้ายคลึงกับ พอทพัวรี ที่หลับไหลอยู่ในโถเช่นเคย

เรือ่ งราวทีถ่ กู น�ามาเล่าใหม่ เช่นเดียวกับดอกไม้ในโถใบเดิม พอทพัวรี ผ่ า นการให้ ค วามหมายใหม่ ด ้ ว ยการปรุ ง แต่ ง กลิ่ นโดยมนุ ษ ย์ เพือ่ ทดแทนสิง่ ทีห่ ายไปในอดีต บทประพันธ์เพลงทีม่ กี าร การท�าใหม่ จากองค์ประกอบเดิม ๆ พร้อมกันกับการให้ความหมายจากผูบ้ รรเลง ดนตรีนนั้ เห็นทีวา่ จะเกิดขึน้ ได้ในทุกวัน ราวกับบทประพันธ์ โรมานซ์ ในบันไดเสียง เอฟ เมเจอร์ ของแม็กซ์ บรุค (Max Bruch) ที่เขาได้ บรรจงประพันธ์ขึ้นโดยตั้งใจโดยอุทิศให้นักวิโอลา วิลลี เฮส (Willy Hess) เป็นผู้ถ่ายทอดผลงานชิ้นนี้ นักวิโอลาหลายต่อหลายคน ได้ นิ ย ามความหมายผ่ า นการบรรเลงและการตี ค วามตามแต่ ประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน หวนให้นึกถึงพอทพัวรี ที่ถูกท�าซ�้าแล้ว ซ�า้ อีกในหลายชนชาติทลี่ ว้ นแตกต่างกันในรูปและกลิน่ ในการแสดง ครั้งนี้ข้าพเจ้าจะน�าเสนอบทประพันธ์เพลงชิ้นนี้ของ บรุค โดยการให้ ความหมายและมุมมองจากประสบการณ์ของข้าพเจ้า

วันแล้ววันเล่า… แสงอาทิตย์ วันเวลา ได้พรากความสดใสและ กลิน่ หอมของดอกไม้ในโถเหล่านัน้ หลือไว้เพียงอดีต... แต่ถงึ กระนัน้ แสง-อาทิ ต ย์ มั น แผดเผาอย่ า งเดี ย วเสี ย เมื่ อไหร่ ? ครั้ ง หนึ่ ง แสง ธรรมชาติกลับเป็นตัวแทนแห่งความสว่างไสวในภาพจ�าครั้งหนึ่ง ของชีวิต โรเบิร์ต ชูมันน์ (Robert Schumann) ในจดหมายที่เขียน ถึงผู้เป็นแม่ของเขาในปี 1830 22


Once nature was born, Flowers are blooming with their

Potpourri is one of the names of the repertoire that fragrance. I will raise and is the emergence of thethe whole storythey The method When sunshine touches flowers, the compact series are interpreted through events and stories written about them in the next two compositions which will ta blossom at different times. It makes me think of stories you on a journey and get to know the story and experience of Potpourri from my perspective.

of human growth that inevitably come and go in one day. Is it common for humans to always think of the past when they are in the present? As wilted flowers shrivel delicately, the aroma of the flowers is replaced by the smell of their absence over time. Dried flowers are popularly known as Potpourri. Potpourri is the name of one of the works that I will play. From this work emerges the whole story of the concert. The method of creating this concert program (?) is to interpret, through stories, the next two compositions. The concert will take you on a journey and show you Potpourri from my perspective.

23


24


Reminiscene By Napassorn Pukalanant “การเล่นดนตรีรว่ มกับผูอ้ นื่ เปรียบเสมือนความสัมพันธ์ระหว่างเพือ่ น” ความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี เ กิ ด จากการที่ ทุ ก คนล้ ว นมี ก ารต้ อ งปรั บ ตั ว เข้าหากัน ช่วยเหลือ สนับสนุนซึ่งกันและกัน ไม่แก่งแย่งชิงดีกัน สิ่งเหล่านั้นล้วนก่อให้เกิดมิตรภาพที่งดงาม ดนตรีก็เช่นกัน คอนเสิร์ตครั้งนี้จัดเเสดงขึ้น เพื่ออยากจะบอกกล่าวให้ผู้ชมได้เห็น ถึ วิ ธี ก ารท�า งาน และพั ฒ นาการในการสร้ า งดนตรี กั บ เพื่ อ นๆ ว่าก่อนที่จะออกมาเป็นคอนเสิร์ตครั้งนี้ เราผ่านอะไรกันมาบ้าง ความทรงจ�ามากมายระหว่างเพื่อนๆ ที่สร้างเสียงดนตรีด้วยกัน ตลอดมา มี ท้ั ง ความสุ ข สนุ ก สนาน ทะเลาะกั น บ้ า งเป็ น สี สั น ปะปนกันไป

Making music with each other is like a relationship between friend We have to adapt , help, support, and not compete with others. Working together makes for both good relationships and good music as well. This concert was created in order to communicate to the audience how to work and develop music with friends. Before coming out for this concert, what have we experienced? Memories between friends who creates music together. There have been happy moments, fun, and quarrels—all mixed together.

25


Programme Ballade No.3 in A flat major, Op.47 Frédéric Chopin Violin Sonata No.1 in A minor , Op.105 I. Mit leidenschaftlichem Ausdruck Robert Schumann Suite for piano , Op.14 Béla Bartók Piano trio No.1 in C minor , Op.8 Dmitri Shostakovich

26


Special guests

Yanini Pongpakatien (Violinist)

Wadtawan Ketbunthorn (Violinist)

Pronnapas Santiwarangkul (Cellist)

27


Arrival Music Composition & Recital by

Pongtorn Techaboonakho

28


This concert premieres many of my own compositions. As such, I have decided to name it “arrival,” as in my arrival as a composer in this world. The works on this program expresses my inner thoughts and feelings. They reflect who I am, who I have been and who I will become. It is a collection of my emotions, both positive and negative. It reminisces on those events which I might otherwise have forgotten, except that the feelings remain tangibly real. This collection of my originals can be seen as a vessel which I channeled myself and my inner thoughts into. The musician, the composer, the audience each of these represents a different aspect of myself which is expressed through my music.

Sequence for guitar (15’) Performer Pongtorn Techaboonakho - guitar In Sequence, my roles are composer and performer. Today, it is rare to find a composer who compose for themselves. I find that,these days, many composers neglect performance, and instead they usually compose for others as their main priority. This has been true of me as well. In the past, composers usually played their own works. I think they may express the best interpretation and bring out their very own personality and character into the music.

จากบทบาทของนั ก ดนตรี จากผู ้ ส ร้ า งเสี ย งบนเรื่ อ งราวจาก บทประพันธ์ที่มีผู้อ่ืนสรรค์สร้าง ไปสู่การสร้างสรรค์บทเพลงใหม่ เพื่ อ น�าเสนอแนวความคิดและโลกของเสียงที่อยู่ในจิน ตนาการ การแสดงคอนเสิ ร ์ ต ครั้ ง นี้ จะเป็ น การผสมผสานบทบาทของ ผู ้ ป ระพั น ธ์ ผู ้ แ สดง และผู ้ ช ม ที่ น�า เสนอแนวความทางดนตรี ผ่ า นบทเพลงประพั น ธ์ ใ หม่ ที่ ผ สมผสานประสบการณ์ เ หล่ า นี้ เข้ า ด้ ว ยกั น ท�าให้ เ ป็ น ที่ ม าของชื่ อ งานในครั้ ง นี้ ว ่ า Arrival ซึ่ ง หมายถึ ง ผู ้ ม าเยื อ นหรื อ การมาถึ ง ที่ น�า เสนอการส่ ง ผ่ า น จากประสบการณ์ ความรู้สึก ต่อโลกดนตรี ออกมาเป็นการแสดง ในครั้ ง นี้ ซึ่ งในท้ า ยที่ สุ ด นั้ น มั น คื อ ช่ ว งเวลาที่ ตั ว เราเองนั้ น ต้ อ งออกไปเผชิ ญ สู ่ โ ลกกว้ า งใบนี้ ไม่ ว ่ าในฐานะอะไรก็ ต าม เพื่อสร้างกาลเวลา และตัวของตัวเรา

This recital gives me a great opportunity to compose for myself alone. It’s a new experience for me to work alone on my own composition as I usually worked with other musicians. This piece uses guitar techniques that are hardly ever found in music for other instruments. By its unique sound and limitations, this is one of the most challenging pieces I have worked on. Sequence has three parts: I. Static - From the beginning, the main element is a static sound created by a tremolo. This idea is developed using various guitar techniques and extended techniques. It also uses the full guitar dynamic range from quiet to loud. II. Sequence - In this movement, the music is structured using a ‘sequence,’ or step, as the title suggests. It’s 29


showing articulation on the guitar and pitch motion of a step, by going up and down. As well, this part shows guitar fingering, notation fundamentals and guitar limitations, by break through the limitations.

from Thai musical culture and the sound of Thai society as it is today. The extended techniques within this piece are intended to create a new sound combination. The piece will take you through a day and night in Bangkok in which you can find pollution, high-density living, and traffic jams, one of the biggest problems, through the day. On the other hand, you will also find peace in the temple, birds chirping, and people smiling and living simple lives.

III. Settle - From peace in my mind and the sound of the guitar. This is the most peaceful piece of the 3 parts. It expresses my feelings through the melody and through the sound of the guitar. The melody is combined with harmony and counterpoint from guitar open string techniques which generates enharmonic notes from a different position and string. This is a very unique sound and technique of guitar. I would call this part “a Music for Friends”. I would like to pass this message through to the music to everyone, especially my beloved friends. In the future, I may expand this work to more than 3 parts without limitation. The piece remains endless by ideas and inspirations while my life exists.

Flickering for trombone and loop (8’) Performer Siravith Kongbandalsuk - trombone One day, I’m sitting and working on a laptop. I heard a weird sound from my laptop fan, very loud. The heat raises very quick. Suddenly, the screen becomes a blur and then, in a second, it is back to normal. I think that it was an illusion, or my eyes were blurred from a tough day. This experience keeps happening and becomes more frequent as time passes. Finally, my laptop appeared to get blurry all the time.

String Quartet No.1 ‘til the end of the day’ for strings quartet (10’) Performer Kiratikorn Promdewet - Violin I Khongchai Greesuradej - Violin II Phattarapoj Sawangchaeng - Viola Teerakiat Kerdlarp - Violoncello

The inspiration for this piece for looper is the electronic interference that happens in a loop, throughout the music and also through the concert program in a larger sense., In the piece, certain sounds happened again and again, and get interrupted again and again by new trombone sounds, which make the music increasingly more dense.

String Quartet No. 1 is a portrayal of the scenic atmosphere of my city, Bangkok. It evokes a curiosity of life in a day and the sounds in Bangkok. I pieced together this music based on my own feelings and turning them into music (composer) and expressions in this short piece. Herein, you will find that I have included some elements

This piece is an experimental piece for trombone and a piece of hardware called a ‘looper’. Both are played by one performer. The technique and sound are developed 30


from the ideas of stable and flicker states. This piece explores new sounds through the trombone’s extended Clarirage for clarinet and tape (8’) techniques. These are an important part of the composition as they represent new sounds and are combined with Performer Rittichut Phetmunin - clarinet ordinary sounds. Pongtorn Techaboonakho - tape This is one of the most challenging pieces for me because I worked with a looper. I usually use software to make Nowadays, the world is getting hotter and people easily get hot-headed. As normal people, our lives get involved music and sounds, not hardware such as this. in matters we cannot control, such as other people, the environment, society, and especially politics. These are Dance by Maurizio Colonna for guitar (5’) examples of the things that make people get easily mad and furious. Performer Pongtorn Techaboonakho – guitar This piece tells the story of being out of control and frustrated, as we often are in daily life. The interaction This piece was composed in 2006 by one of the finest between performer and tape is very important in this Italian composer and guitarist who is still alive. He always work, as are the clarinet’s techniques and electronic uses specialized guitar techniques in his compositions to sounds. The title ‘Clarirage’ is a portmanteau of “Clarinet” amaze audiences. and “Rage”. This could mean the rage of the clarinet performer. By the way, he may have a ‘hot-headed’ Maurizio Colonna was born in Turin in 1959. He’s one of during a performance. You have been warned! the representative masters of classical guitar. He is also an electric guitar player and composer. He has a really good reputation in his country and throughout Europe. “Dance” is the third movement from his suite “Moments live in my memory.,” He uses a traditional dance, ‘tarantella,’ which is a couple folk dance of Italy characterized by light, quick steps and teasing, flirtatious between partners in the lively time signature of 6/8. He uses various techniques in this piece by dividing it into sections, each of which shows unbelievable sounds and techniques.

31


Through My Eyes By Jirayust Thaolipo

32


เรื่องราวของดนตรีที่เราบรรเลงมิเพียงแต่เป็นเรื่องเล่าของผู้ประพันธ์ แต่ยังเป็นประสบการณ์ที่นักดนตรีผู้สื่อสารมีต่อโลกใบนี้ สิ่งที่เราเห็น สิ่งที่เราได้ยิน สิ่งที่เราสัมผัส นั้นล้วนเป็นสิ่งที่เชื่อมโยง เข้าด้วยกัน การแสดงในครั้งนี้ จะถูกเล่าเรื่องโดยเติมเต็มผ่านนิทรรศการภาพ ที่บันทึกโดยผู้แสดง ผ่านสายตาของเลนส์กล้อง ที่มองผ่านเรื่องราว ต่างๆ ในชีวิต เชื่อมโยงกับบทเพลงที่บรรเลง

The story of the music that we play is not only the story of the composer, but also the experience that, we, musicians communicate with the world: what we see, what we hear, what we touch. These factors are all woven together. This performance is based on the images seen through the camera by my own eyes. Each has their own meaning which is displayed through the melodies of these carefully chosen pieces.

33


Programme K. serge: Concerto for Double Bass, Op.3 G. Bottesini: Elegy No.1 for Double Bass J. Williams: Schindler’s List M. Gaidot: Carpricio No.5 L. Berio: Psy S. Rachmaninov: Vocalise

34


“สุดท้ายสิ่งที่เราชอบอาจจะแค่ชอบแต่ถ้าเป็นสิ่งที่เรารักมันก็จะกลายเป็นความสุข“ จิรายุส เถาลิโป้

35


By Khetsin Chuchan


Programme A.Nitibhon …. (I - IV) M. RAVEL Valses nobles et sentimentales Modéré – très franc Assez lent – avec une expression intense Modéré Assez animé Presque lent – dans un sentiment intime Vif Moins vif T. LEON Alma for Flute and Piano Phataporn Preechanon, Flute J. S. BACH The Well-Tempered Clavier, Book II Prelude & Fugue in C#, BWV 872 M. RAVEL Valses nobles et sentimentales Epilogue L. V. BEETHOVEN Piano Sonata No. 28 in A, Op. 101 Etwas lebhaft und mit der innigsten Empfindung. Allegretto ma non troppo Lebhaft. Marschmäßig. Vivace alla marcia Langsam und sehnsuchtsvoll. Adagio, ma non troppo, con affetto Geschwind, doch nicht zu sehr, und mit Entschlossenheit. Allegro

37


All & Sundry (idiom); one and all, everybody

Meaning of life changes over time, depending on what we have experienced. And now - as a senior student and young adult - I often find myself interspersed between hope, angst, reverie, and many of things pleasant and not.

ความหมายของชีวิตแปรเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ตามสิ่งที่เราประสบ ในฐานะนักศึกษาชั้นปีที่สี่ที่ก�าลังจะออกไปผจญโลก ข้าพเจ้ารู้สึก ว่าชีวิตเต็มไปด้วยความรู้สึกหลายอย่างปนๆ กันไป

Doubt and hope is always before and after each other. Fantasy and memory can be a collection of anything. Relation and spirit are both delicate tapestry of selves. Present is tinged with either a residue of yesterday or a glimpse of tomorrow.

ความกังขาและความหวังเกิดขึ้นก่อนและหลังกันเสมอ เรื่องเพ้อฝันและความทรงจ�าต่างก็เป็นของสะสมจิปาถะ ความสัมพันธ์และจิตใจคือสิ่งละเอียดอ่อนอันข้องเกี่ยวกับตัวตน และปัจจุขณะก็มักจะเจือด้วยเศษเสี้ยวของวันวานไม่ก็อนาคต

ข้าพเจ้าอยากจะกล่าวถึงความหลากหลายของรสชาติชีวิต ในการแสดงนี้ To express the variety of life, I categorize it into 7 sections โดยได้จา� แนกแง่มุมต่างๆ ของชีวิตไว้ 7 ประเภท ได้แก่ - Doubt, Fantasy, Relation, Present, Spirit, Memory, and ความกังขา เรื่องเพ้อฝัน ความสัมพันธ์ ปัจจุบันขณะ จิตใจ Hope. ความทรงจ�า และความหวัง

องค์ประกอบข้างต้นจะถูกน�าเสนอไปพร้อมกับการแสดง และ sound piece ที่ใช้เสียงพูดของคนจากบทสัมภาษณ์ เป็นส่วนประกอบ

In this concert, each of these sections will be presented along with performance and sound pieces that feature vocal sampling taken from interviews. I intend this project to be a kind of self-reflection on the past, present, and future; and that it may resonate with people alike.

38




Saudade : The Missingness of Time-Space-Memory

•

Taratawan Krue-On


Saudade (n.) a nostalgic longing to be near again to something or someone that is distant, or that has been loved and the lost; ‘the love that remains’


From farewell to longing.

The beauty of missingness through time, space, and memories.

This project focuses on the feelings of loss and longing, and the absence of something, someone, or some place that no longer exists. The feeling, in only a brief moment, shows up and fades away as if it had never existed, leaving behind only emptiness making us inquire at times if that moment really existed or if we are just making our way to fill in the blank while the blank itself is truly the truth.

‘Time is the moving image of reality’ —Plato

Time marches on, so does reality. No matter how hard or how carefully we try to capture each moment in our life, Time still moves. And as it moves it takes the image of the reality with it. As said by Heraclitus:

‘No man ever steps in the same river twice, for it’s not the same river and he’s not the same man.’ Tells us how we can never experience reality twice but reality can’t be reality without changing. Time makes us sentimental, even makes us suffer, of how we can’t re-experience reality. It leads us further and further from our own memory yet it leaves memory on its way. Since everything always change, we, who try to hold tightly on something that had happened before, need memory as our carrier and willingly to pay, with our feelings of longing and face the missingness, only to let our love and bittersweet feeling remain, and to let ourselves sink into the illusion for a short while. In the end, it will remind us of how we lose it and how uncertain and fragile it is. And once in a while, it will show us the fact that nothing can ever last forever. Once we lose it, we lose it for good.

43


จากการจากลาสู่ความโหยหายิ ่ง สุทรียะแห่งความคิ ดถึงและหายไปของกาลเวลา-สถานที่-ความทรงจ�า การท�างานครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่ความรู้สึกของการสูญเสีย ความรู้สึกโหยหา ร�าลึกถึง และการสูญหายไปของบางสิ่ง บางคน บางสถานที่ ในชั่วขณะหนึ่งของช่วงเวลา โดยใช้บทกวี เสียง บทเพลงบรรเลงโดยเปียโนจากหลากหลายคีตกวี ความรูส้ กึ เพียงชัว่ ขณะสัน้ ๆทีผ่ ดุ ขึน้ มาและจางหายไปราวกับไม่เคยมีอยู่ ทิง้ เอาไว้เพียงความว่างเปล่า บางครัง้ ก็เป็นสิง่ ทีช่ วนให้เราตัง้ ค�าถาม เช่นเดียวกันว่าในท้ายที่สุดแล้วสิ่งที่เคยเกิดขึ้นนั้นมีอยู่จริงหรือเราเพียงแค่เติมแต่งมันเพื่อทดแทนพื้นที่ว่างในขณะที่พื้นที่ว่างนั้นต่างหาก ที่เป็นความจริง ‘เวลาคือภาพเคลื่ิอนไหวของความจริง’ —เพลโต

กาลเวลาเคลื่อนผ่านไปเช่นเดียวกันกับความเป็นจริง ไม่ว่าเราจะพยายามทะนุถนอมเก็บรักษาช่วงเวลาแต่ละช่วงในชีวิตของเราแค่ไหน เวลาก็ยงั คงด�าเนินต่อไป และในทุกขณะทีก่ าลเวลาเคลือ่ นผ่านไปมันก็ได้นา� เอาภาพของความเป็นจริงไปกับมันด้วย เหมือนดัง่ ทีเ่ ฮราคลิตสุ เคยได้กล่าวเอาไว้: ‘ไม่อาจมีผู้ใดสามารถเหยียบลงสู่แม่น้า� สายเดิมได้เป็นครั้งที่สอง ด้วยว่าแม่น�า้นั้นมิใช่แม้นา้� สายเดิมและเขาผู้นั้นมิใช่คนเดิม’ สิ่งนี้บอกกับเราว่าเราไม่สามารถที่จะประสบพบกับความเป็นจริงหรือสิ่งใดได้เป็นครั้งที่สอง แต่กระนั้นความเป็นจริงนั้นก็ไม่อาจเป็น ความจริงได้หากไม่มีการเปลี่ยนแปลง กาลเวลาท�าให้พวกเราอ่อนไหว ทั้งยังท�าให้เราทุกข์ทรมานจากการที่เราไม่สามารถจะประสบพบ กับความเป็นจริงได้เป็นครั้งที่สอง มันน�าพาเราเดินทางไกลออกไปห่างออกไปเรื่อยๆจากภาพในความทรงจ�า แต่กระนั้นมันก็ได้ท้ิง ความทรงจ�าทิ้งเอาไว้ระหว่างทางด้วย สิ่งต่างๆ ล้วนเป็นอนิจจัง เราผู้ที่พยายามจะไขว้คว้ายึดสิ่งต่างๆ ในอดีตเอาไว้ในอ้อมแขนต้องการ ความทรงจ�าเพื่อใช้น�าเราย้อนกลับไปและเรายินดีที่จะจ่ายคืนด้วยความรู้สึกโหยหาและเผชิญกับความว่างเปล่าที่จะตามมาเพียงเพื่อให้ ความรักและรสชาติหวานปนขมได้คงอยู่ และเพื่อให้เราได้ดื่มด�่า จมลงสู่ภาพลวงตาที่ถูกสร้างขึ้นมาเลียนแบบความเป็นจริงในชั่วขณะสั้นๆ ในท้ายที่สุดแล้วมันจะย�้าเตือนเราให้เห็นว่าเราได้สูญเสียมันไปอย่างไร และสิ่งเหล่านี้ไม่แน่นอนและเปราะบางเพียงไหน และในบางครั้ง บางคราวมันจะแสดงให้เราเห็นข้อเท็จจริงที่ว่าไม่อาจมีสิ่งใดสามารถคงอยู่ได้ตลอดกาล

44


ิ ิ

“We had found the stars, you and I. And this is given once only.” — André Aciman, Call me by your name.

45



Void By Dhorn Taksinwarajan

ในความเงียบ เต็มไปด้วยความหมาย ความเงียบท�าให้เสียงเกิด คุณค่า เสียงท�าให้ความเงียบมีความหมาย ความสัมพันธ์ระหว่าง เสี ย งและความเงี ย บ เป็ น สิ่ ง ที่ แ ยกออกจากกั นไม่ ไ ด้ เสี ย งของ ความเงียบ ช่างดังกึกก้อง หยุด สงบ สงัด สุข ระทม สมหวัง

In silence, a meaningful sound. The sound of silence echoing through time and space. They are never to be seperated. A space of silence filled with sound creates meaning. And with sound surrounding silence, a message. A solemn silence. Heartbreaking, timeในโลกปัจจุบนั พืน้ ทีส่ ว่ นบุคคลถูกโลกและสังคมบดบังจนลดน้อยลง stopping. A silence in happiness or a silence in sorrow. เรื่อย ๆ ไม่ว่าจะเป็นทั้งโซเชียลมีเดีย เสียงก่อสร้าง การจราจร แสงสี It is always there, silence and sound, time and space. ฝุ่นควัน ความคิด สิทธิ เสรีภาพ การแสดงออก ในโลกที่ข้าพเจ้า ปราถนาความเงียบ ความสงบ แต่เสียงรอบกายนั้นดังสนั่นหวั่นไหว Silence, an echoing void. บทเพลงที่ ไ ด้ เ ลื อ กมาบรรเลง ล้ ว นแต่ มี เ นื้ อ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การตัดออก ตัดทอน แกะสลักส่วนเกินออกไป While the modern day has ripped us of the importance of silence. We lived forgetting how silence affects us; การแสดงครั้งนี้จึงเปรียบเหมือนเครื่องเตือนใจ และก�าลังใจที่คอย how the sounds of others eat away at our silence. เหนี่ ย วรั้ ง สุ ข จิ ต ของข้ า พเจ้ า เป็ น พื้ น ที่ แ ละโอกาสในการสรรหา สรรค์สร้าง พื้นที่ของตนเองขึ้นมา รวมทั้งยังเป็นการแบ่งปันพื้นที่ Eat away our meaning. ที่ข้าพเจ้าค้นพบ และรังสรรค์ให้กับผู้ฟังได้รับรู้ รับฟัง และยอมรับ ให้กับความเป็นไปของโลก เหมือนกับที่ข้าพเจ้าเองยังคงพยายาม In silence, a meaningful sound. A space to create. ท�าอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน To share. To discover. To listen. A space for a meaningful silence.

47


Programme H.Dutilleux: D’ombre et de silence Henri Dutilleux is critically acclaimed as one of France’s outstanding composers of contemporary music. He is unique among contemporary French composers of the postSecond World War generation for his singular affiliation to the development of his own personal style, notably at the avoidance of serialist-influenced compositional processes and resistance to categorization as a member of any aesthetic movement including LaJeune France. In the year of 1973, Henri Dutilleux in his late 50s, composed The first title to the Three Preludes, titled ‘D’ombre et de silence’. Translated as ‘In shadow and silence’. In which, extraordinarily enough, was written for Artur Rubinstein. While the second and the third preludes were composed in much later years, creating one of his most notable piano work, the Three Preludes. In D’ombre et de silence, Dutilleux brilliantly used groups of notes to create notes that resemblance somewhat of clusters

chords along with tiny change in configurations between of whole steps and half steps made the effect of the sound produced by these quasi-clusters became something warm yet, at the same time, very still and cold. R.Schumann: Sonata in g minor no.2, op.22 At times Robert took advice from Clara, his wife, whose judgement as a seasoned performer he respected. Such was the case with the Sonata. Clara wrote in 1838: ‘I am enormously excited with the idea of your Second Sonata; it reminds me of so many happy as well as painful hours. I love it, as I do you. Your whole being is so clearly expressed in it, and besides, it’s not too obscure. Only one thing. Do you want to leave the last movement as it was before? Better to change it and make it a bit easier because it is much too difficult. I understand it and can play it alright, but people, the public, even the connoisseurs for whom one actually writes, don’t understand it. You won’t take this badly, will you?’ 48

Robert wrote another finale which he felt also went better with the first movement. Of his three piano sonatas, the G minor is by far the most concise. It is a work of great sweep and passion, typically combining dramatic urgency with moments of rapt tenderness. Schumann doesn’t wait to get our attention—he demands it in the first bar with that sudden, broken G minor chord. The first challenge he throws at the player is to mark the opening ‘As fast as possible’, only to urge him or her to go ‘faster’ and ‘still faster’ before the end is reached. The opening theme, which is imitated in the bass, uses the partial descending scale that became Clara’s motto in many of his piano works—a ‘cry from the heart’ for her when they were unable to be together. The beautiful slow movement, marked getragen (solemn), was originally a song that Robert wrote when he was eighteen years old. With the Scherzo comes the one bit of humour in the sonata: in its episodes in the major mode there is certainly a twinkle in his eye. The ‘new’ finale makes extensive use of broken octaves to express its restlessness, and the Clara motto appears in the lyrical second subject. The music works up to a feverish climax and a dramatic pause over


a diminished seventh chord. The ensuing cadenza goes like the wind, never once letting up. T.Takemitsu: Rain Tree Sketch II Takemitsu admired Debussy and Messiaen, as is evident in his piano music, and was drawn to composers who were themselves deeply influenced by the musical and philosophical culture of Asia, including John Cage. his music combines elements of Japanese and Western philosophy with the subtle manipulation of instrumental and orchestral timbre, using both western and traditional Japanese instruments, and the use of defined silences to create a unique and extraordinary soundworld. He composed his Rain Tree Sketch II in 1992 in memory of Oliver Messiaen (1908-1992), the French composer who had a strong influence on Takemitsu. The name of the work was probably inspired by a quotation from a novel by Kenzaburo Oe about the miraculous rain tree, whose tiny leaves store up moisture and continue to let fall raindrops long after the rain has ceased.The work is also a dreamy meditation on the flow of life, and was the last piano piece by Takemitsu.

There are suggestions of traditional Japanese instruments in this work specifically the Taiko drum, the long zither koto and the short-necked lute biwa (the ascending arpeggio figure suggests the plucked sound of these instruments). This music requires a particularly sensitive approach: the sounds should be played with absolute clarity, and must also have great beauty, but not too much sentiment. Motifs and forms unfold like a “picture scroll unrolled.” (Toru Takemitsu), emerging out of silence and retreating back into stillness. Interestingly, the power and profundity of this piece comes not from the notes themselves, but the silences between them, which create extraordinary moments of stillness and repose. A pause in time, a void in space all happening during the constant flow of the music. “….sound, in its ultimate expressiveness, being constantly refined, approaches the nothingness of that wind in the bamboo grove.” - Toru Takemistu, ‘Confronting Silence: Selected Writings’

49

เส้น ตกกระทบ สะท้อนเสียง ขนาบ ช่องว่าง สุญญากาศ เสียง สดับ สงบ



Unbounded By Natthapat Kirawiroj I am proud to presented my senior recital under the title “Unbounded.� On this concert I will perform the following pieces: Carnival of Venice (Jean-Baptiste Arban), Romanian Folk Dances (Bela Bartok), La fille aux cheveux de lin (Claude Debussy), Emmanuel (Michel Colombier), Song of a New World (Richard Bissill). As may of you may have noticed, most of these pieces are not French horn pieces. I want to push my limit on horn by playing pieces originally written for other instruments and arrangements made by Eric Ruske, Thanapak Poonpol and myself. In these pieces are different challenges, sonorities, and also each has a totally different character, such as Eastern-European folk music, classical music, and pieces with elements of Jazz.

51


Programme Carnival of Venice Jean-Baptiste Arban arr. by Eric Ruske Romanian Folk Dances Bela Bartok arr. by Natthapat Kirawiroj La fille aus cheveux de lin Claude Debussy arr. by Natthapat Kirawiroj Emmanuel Michel Colombier arr. by Thanapak Poonpol Song of a New World Richard Bissill

52


Natthapat Kirawiroj was born on September 5th, 1994 in Hatyai, Thailand. he started to play horn when he was 13 years old at Hatyai Wittayalai School Marching Band under a guidance of Mr. Narin Suwanraksa, the band director. In 2011, he was accepted to the Young Artist Music Program, Pre-college level at College of Music, Mahidol University where he studied with Dr. Daren Robbins, Horn Professor, and Mr. Suparchai Sorathorn, Principal Horn of Thailand Philharmonic Orchestra. During that time, his friends and he founded a Brass Quintet, Brick Brass, which had the opportunity to perform many times. In 2013, they were awarded 2nd Prize from Thailand Wind International Competition, and 2nd Prize from “All About Brass� Competition organized by Bansomdejchaopraya Rajabhat University in 2015. He also has opportunity to perform with many different ensembles such as Mahidol Concert Band, Mahidol Symphonic Band and Pre-college Orchestra. In 2012, Natthapat attended Silpakorn Summer Music Camp - an intensive orchestral music camp under the direction of Maestor Hikotaro Yazaki. He studies at the Princess Galyani Vadhana Institute of Music in Thailand under a full scholarship. Here, he has got opportunities to take part in many interesting projects such as performing with New Zurich Orchestra, and going on a tour to perform in Cambodia with the Princess Galyani Vadhana Institute of Music Youth Orchestra. Recently, he was participated in a workshop with Professor Martin Studer Professor Leslie Tan for baroque performance practice and Peter Veale for contemporary music. He also has opportunity to participate Kendall Betts Horn Camp 2016 for one week in USA under a scholarship.

53


“ผูใ้ หญ่ทกุ คนเคยเป็นเด็กมาก่อน... แต่นอ้ ยคนทีจ่ ะจดจ�าช่วงเวลานัน ้ ได้” -เจ้าชายน้อย “ All grown-ups were once children… but only few of them remember it.” - Antoine de Saint-Exupéry, The Little Prince

This show will bring the atmosphere and stories from my audio book to life using the lyrics of two famous composers, Astor Piazzolla and Felix Mendelssohn. I was inspired in this project by works such as Sergei Prokofiev’s Peter and the Wolf. This concert begins with “Chapter 1,” which follows the dreaming of the stars. I create the atmosphere based on the music of the Argentinian composer, Astor Piazolla. Chapter 1 is divided into three sections: introduction, represented by Etude Tango No. 3, a middle section, and an ending section, both of which follow the dream represented by L’histoire du Tango. Movement II, “Cafe 1930,” has many emotions, like the journey of the character. The fourth movement, “Concert d’Aujourd’hui,” tells of how the character comes to understand the meaning of power. “Chapter 2,” in this concert is an Audio Book story from “Who is (that)?.” This chapter creates a different atmosphere from the first chapter because the story tells of a girl who finds a strange story on her way home from school. The story is told using the music of German composer Felix Mendelssohn’s Violin Concert in E minor, Op. 64.


Dreamcatcher (ดักความฝัน) By Phattrachattra Thongma Programme Astor Piazzolla (1921-1992) Etude tango no.3 for Violin Histoire du Tango (1986) II. Café 1930 IV. Concert d’aujourd’hui Felix Mendelssoh n(1809-1847) Violin Concerto in E minor, Op.64 (1838) I. Allegro molto appassionato (E minor) II. Andante (C major) III. Allegretto non troppo – Allegro molto vivace (E major)

Performers Phattrachattra Thongma (Violin) Watcharit Kerdchuen (Piano) Pongtorn Techaboonakho (Guitar)


เมื่อเราโตขึ้น บทบาท ภาระ หน้าที่ เรื่มเข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตเรา ทีละน้อยและเมือ่ เริม่ ก้าวเข้าสูโ่ ลกแห่งความจริง มันค่อยๆ กลืนกิน จินตนาการ ความฝัน ความหวัง ของเราในวัยเด็กค่อยๆ เลือนไป ตามกาลเวลา ส�าหรับข้าพเจ้าในช่วงทียงั อยูใ่ นวัยเด็กมีความเห็นว่า ผู้ใหญ่เหล่านี้ช่างน่าสงสารพวกเขามักโหยหาอ�านาจ ชื่อเสียงและมี ความถือตัวเข้ามาแทนที่ ข้าพเจ้ากลัวเหลือเกินที่จะเป็นแบบนั้น จนเคยบอกกับตนเองว่า “จะไม่โตไปเป็นผูใ้ หญ่ในแบบทีข่ า้ พเจ้าไม่ชอบ โดยเด็ดขาด” มีสิ่งหนึ่งที่คอยเตือนจินตนาการ ความฝัน ความหวัง ให้ข้าพเจ้ามาตลอดคือการเขียน เราสามารถ“เพ้อฝัน”มากแค่ไหน ก็ได้โดยทีไ่ ม่มผี ใู้ หญ่คอยห้ามปรามสามารถจินตนาการได้สดุ ขอบโลก ออกไปนอกจักรวาลอยากให้ตวั ละครเป็นใครก็ได้ มีพลังแค่ไหนก็ได้ โดยที่ไม่มีใครมาคอยสงสัยว่าท�าไปท�าไม บ่อยครั้งเวลาที่ข้าพเจ้า เล่นดนตรี ข้าพเจ้ามักจินตนาการท�านองของเพลงออกมาเป็นเรือ่ งราว ในหัว เมือ่ ข้าพเจ้าท�ามันควบคูก่ นั ทุกการเคลือ่ นไหว ทุกความเงียบ ทุกการหายใจ หากข้าพเจ้าควบคุมมันได้ ข้าพเจ้าจะรู้สึก“อิน” และสนุก จนบางครั้งสงสัยว่าเอาแรงจากไหนมาเล่น หลายครั้ง ที่ข้าพเจ้ากับเพื่อนๆ เล่นดนตรีแล้วจินตนาการร่วมกันมันสนุก เหมือนเราผลัดกันคุยแต่เปลี่ยนจากค�าพูดมาเป็นเสียงดนตรี

ในโปรเจคนี้ข้าพเจ้าจึงเขียนเรื่องออกมาในชื่อชุด “ดักความฝัน” “เกลียวคลื ่นสาดซัด ประกอบไปด้วยเรื่องสั้น 2 เรื่อง เรื่องแรกชื่อว่า “ดาว” เนื้อเรื่อง สายลม โชยสะบัด พริ ้วไหว เกี่ยวกับการเดินทางตามล่าความฝันของดวงดาว และอีกเรื่องที่มี ล�าเรื อ โบกลิ ่ว แกว่งไกว กลิ่ นไอคนละขั้ ว กั บ เรื่ อ งแรกชื่ อ ว่ า “นั่ นใคร” เป็ น การเดิ น จาก ล่องลอยล�าในไปทะเล” โรงเรี ย นกลั บ บ้ า นของเด็ ก ผู ้ ห ญิ ง คนหนึ่ ง ที่ เ จอเรื่ อ งราวแปลกๆ ระหว่างทาง ส�าหรับข้าพเจ้าในวัยเด็กการฟังนิทานหรือบทเรียนต่างๆ จาก Audiobooks เรื ่อง “ดาว” มักจะชอบฟังจากตลับเทป (Cassette tape) เพราะมันสามารถฟัง ทีไ่ หนก็ได้และทีช่ อบมากทีส่ ดุ คือฟังตอนทีช่ ว่ ยแม่ทา� ความสะอาดบ้าน แต่เมื่อเวลาผ่านไปตลับเทปก็หมดยุค ข้าพเจ้าจึงเลือกน�าเสนอผล งานในรูปแบบหนังสือเสียง (Audiobooks) แต่มสี ง่ิ หนึง่ เมือ่ ข้าพเจ้า ฟั ง เรื่ อ งราวต่ า งๆ ผ่ า นหนั ง สื อ เสี ย งแล้ ว รู ้ สึ ก ขั ดใจแปลกๆ คื อ น�้าเสียงของผู้เล่า หลายๆ เรื่องช่างน่าเบื่อหน่าย ดูไม่มีอารมณ์ร่วม กับบทบาทเหมือนถูกบังคับให้มาอ่านอะไรสักอย่างและสิง่ ส�าคัญทีส่ ดุ เมื่อข้าพเจ้าฟังแล้วรู้สึกขาดหายไปคือเสียงดนตรี เสียงบรรยากาศ ภาพจาก A world lit only by fire ของเรื่องราวที่กา� ลังฟังอยู่ หากดูบริบทในไทยแล้วเห็นจะมีแค่ละคร - William Manchester วิทยุกระมังที่ฟังแล้วเพลิดเพลินที่สุด 56


ข้าพเจ้าจึงสร้างโปรเจคหนังสือเสียงของตนเองขึน้ มาเติมเต็มในส่วน ทีค่ ดิ ว่ามันหายไป ข้าพเจ้าได้ใส่เสียงประกอบบรรยากาศ รวมทัง้ เสียง ดนตรีที่ได้แรงบันดาลใจจากเพลงคลาสสิคมาเติมเต็มในเรื่องด้วย มี ตั ว อย่ า งผลงานที่ ไ ด้ รั บ แรงบั น ดาลใจจากดนตรี พ รรณนา (Program Music) และดนตรีกวีวรรณนา (Symphonic Poem) เช่น Sheherazade, Op. 35 ประพันธ์โดย นิโคไล ริมสกี คอร์ซาคอฟ (Nikolai Rimsky-Korsakov) หรือแม้กระทั่งการ์ตูนหลายๆ เรื่อง ของวอลต์ ดิสนีย์ (Walt Disney) ยังใช้ดนตรีคลาสสิคมาประกอบ เป็ น ต้ น ที่ ส�า คั ญ ตั ว เนื้ อ เรื่ อ งและบทบาทของตั ว ละครต่ า งๆ ในหนังสือเสียง ข้าพเจ้าได้ขอให้คนใกล้ตัวมาเป็นนักพากย์จา� เป็น ข้าพเจ้ารู้สึกทึ่งที่ได้เห็นความสามารถในการพากย์ของพวกเขา แม้ ค นที่ ขี้ อ ายก็ ไ ด้ เ ห็ น อี ก มุ ม ที่ ไ ม่ เ คยเห็ น มาก่ อ นมั น สนุ ก มาก ท้ า ยที่ สุ ด ก็ อ อกมาในรู ป แบบหนั ง สื อ เสี ย ง (Audiobooks) สามารถเข้ าไปฟั ง เรื่ อ งราวแบบจั ด เต็ ม ได้ ที่ เว็ บ เพจ https:// phattrachattratho.wixsite.com/creative-project หรือสแกน คิวอาร์โค้ด

“ตาข่ายดักฝัน” เครื่องรางของชาวพื้นเมืองอเมริกัน ลักษณะเป็นใยแมงมุม เชื่อว่าป้องกันฝันร้ายได้

ส่วนของการแสดงครัง้ นีจ้ ะน�าบรรยากาศและเรือ่ งราวในหนังสือเสียง (Audiobooks) บางส่ ว นมาน�า เสนอผ่ า นบทเพลงของสอง นั ก ประพั น ธ์ ชื่ อ ดั ง มี ตั ว อย่ า งที่ เ ป็ น แรงบั น ดาลใจของการแสดง คือ Peter and the Wolf ประพันธ์โดย เซอร์เก โปรโคเฟียฟ (Sergei Prokofiev) ในการแสดงเริ่มจากตอนที่1 (Chapter1) เรื่องราวการออกตามล่าความฝันของดวงดาว น�าเสียงบรรยากาศ ของหนังสือเสียงจากเรื่อง“ดาว”มาเล่าผ่านบทเพลงของนักประพันธ์ ชาวอาร์ เ จนติ น าแอสเตอร์ ปิ แ อซโซล่ า (Astor Piazzolla) แบ่งเป็น 3 ช่วง เริ่มจากเกริ่นน�า น�าเสนอเพลงแบบฝึกหัดแทงโก้ หมายเลขสาม (Etude Tango no.3) เป็ น ตั ว แทนจุ ด เริ่ ม ต้ น ของความฝั น ส่ ว นช่ ว งกลางเรื่ อ งและตอนท้ า ยเป็ น บรรยากาศ การเดินทางตามล่าความฝันของตัวเอก ซึ่งท้ายที่สุดก็ได้ค้นพบพลัง

ที่แท้จริงของตน น�าเสนอเพลง“L’histoire du Tango” ในกระบวน ที่ 2 คาเฟ่1930 (Movement II.Café 1930) ที่มีหลายอารมณ์ เฉกเช่นการเดินทางของตัวเอก และกระบวนที่4 คอนเสิร์ตปัจจุบัน (Movement IV.Concert d’aujourd’hui) ดั่งที่ตัวเอกเข้าใจ ความหมายในพลังของตนตอนที2่ (Chapter2) เรือ่ งราวหนังสือเสียง จากเรื่อง “นั่นใคร”ให้ความรู้สึกของบรรยากาศต่างจากช่วงแรก เพราะเป็นการเดินทางจากโรงเรียนกลับบ้านของเด็กหญิงคนหนึ่ง แต่เธอกลับได้พบเจอเรื่องราวแปลกๆระหว่างทางถ่ายทอดเสียง และเรื่ อ งราวบางช่ ว งออกมาผ่ า นบทเพลงไวโอลิ น คอนแชร์ โ ต ในบันไดเสียง อี ไมเนอร์ (Violin Concerto in E minor, Op. 64) ของนักประพันธ์ชาวเยอรมันเฟลิกซ์ เมนเดลโซน (Felix Mendelssohn)

57


In Light

By Natapat Pisutwong


Programme Violin Sonata No.21 in E minor, K. 304 Wolfgang Amadeus Mozart Carmen Fantasy, Op. 25 Pablo de Sarasate Violin Sonata Claude Debussy Violin Sonata no. 1 in G minor for Violin Solo, BWV 1001 I. Adagio IV. Presto Johann Sebastian Bach Fratres Arvo Pärt

Performers Natapat Pisutwong, Violin Dhorn Taksinwarajan, Piano Kawirat Saimek, Piano

59


ในเสียงของดนตรี เราได้ยิ นเสียงเรื ่องราวของผู้คนที่ต่างกัน ผ่านความเศร้า และสิ ่งที่เขาได้พบ Sarasate จับเอาความ บทเพลงแต่ ล ะบทเพลง สะท้ อ นให้ เ รารู ้ สึ ก ถึ ง เรื ่ อ งราวและ เคลื ่ อ นไหว อารมณ์ ข องความปั ่ น ป่ ว น รั ญ จวน และสเน่ห์ อารมณ์ที่เกิ ดขึ้นกับช่วงเวลาต่างๆของชีวิ ต ไม่ว่าจะเป็นทั้ง จากเรื ่องราวของ Carmen Bach หยิ บเอาดนตรีอันสื ่อถึง อารมณ์ เศร้า โกรธ ครวญหา หรื อ แม้แต่ความสงบ ความศั ก ดิ ์ สิ ท ธิ ์ Debussy น� า เสนอความเป็ น ฝรั่ ง เศส ในบทเพลงของเขา Arvo Pärt ใช้เทคนิ คจากเสียงของระฆัง มนุษย์ประดิ ษฐ์ไฟขึ้นเพื ่อจ�าลองแสงอาทิ ตย์ในที่ท่ีแสงอาทิ ตย์ ที่จะท�าให้ผู้ฟังดั่งตกลงในห้วงภวังค์ ไปไม่ถึง ท่ามกลางเมื องที่กว้างใหญ่ ผู้คนมากมาย แสงไฟ ดวงเล็กดวงน้อย ปกคลุมเมื องใหญ่จนดูราวกับว่ากลางคื นไม่มี ผ่ า นมื อ ของผู ้ บ รรเลง เรื ่ อ งราวและความรู ้ สึ ก เหล่ า นั้ น อยูจ่ ริ ง แสงไฟล้วนท�าให้เกิ ดเงา เงาให้ความมื ดทัง้ ทีค่ วามสว่าง ถูกถ่ายทอดให้ผู้ฟังได้รับรู้ เสียงที่บรรเลง การเคลื ่อนไหวที่ถูก ยังไม่จากไปไหน เช่นเดียวกับเสียงที่ไม่ก่อให้เกิ ดความเงียบ จั ด วาง เป็ น สิ ่ ง ที่ ถู ก ก� า หนดโดยจิ น ตนาการของผู ้ ป ระพั น ธ์ ทีแ่ ท้จริ ง แสงสะท้อนเข้านันย์ตาเราสะท้อนให้เห็นภาพ และรับ และถู ก ท� าให้ มี ชี วิ ตโดยการฝึ ก ซ้ อ ม ฝึ ก ฝน ตามกติ ก าของ อารมณ์และความรู้สึกที่แตกต่างกันไป ดังเช่นบทประพันธ์ ตัวโน้ตบนหน้ากระดาษ ในการแสดงครั้งนี้จะไม่เพียงเล่าเรื ่องผ่านท่วงท�านองในบท ประพันธ์เท่านั้น ข้าพเจ้าเชื ่อว่าแสงและความมื ดจะเป็นส่วน ภายใต้การเคลื ่อนไหวที่ล่ื นไหล ใจที่สงบนิ ่ง และความรู้สึก หนึ่ ง ที่ ท� าให้ ผู ้ ช มรั บ รู ้ เ รื ่ อ งราวและอารมณ์ ข องบทประพั น ธ์ ที่เป็นหนึ่งเดียวกับเสียง ผ่านมุมมองของข้าพเจ้าได้มากขึ้น จิ ตวิ ญญาณของบทเพลง จะหวนกลับมามีตัวตนอีกครั้ง... ผูป้ ระพันธ์ได้สรรค์สร้างแต่ละบทเพลงขึน ้ เพื อ่ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรูส้ กึ จากสิ ง่ ทีพ ่ วกเขาได้ประสบ Mozart ถ่ายทอดเรื อ่ งราว

60


ณัฐภัทร พิ ศุทธิ ์วงศ์ เกิ ดในปี 1996 ประเทศไทย เริ ่มเรียน ไวโอลิ นที่โรงเรียนดนตรียามาฮ่า เมื ่อ ณัฐภัทร อายุได้ 13 ปี ได้ศกึ ษาไวโอลิ นอย่างจริ งจังมากขึน้ กับอาจารย์ ณัฐนุชา ศศิ ปรุ าณะ

ในปี 2012 ณั ฐ ภั ท ร ได้ เ ข้ า ศึ ก ษาที่ วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป์ มหาวิ ทยาลัยมหิ ดลหลักสูตร Pre-college และได้ศึกษา ไวโอลิ นกับอาจารย์ Juris Madrevich

ณัฐภัทร ได้เข้าศึกษาต่อที่สถาบันดนตรีกัลยานิ วัฒนาในปี 2015 และได้ศึกษาวิ ชาไวโอลิ นกับอาจารย์ พิ สุทธ์ สายโอบเอื ้อ และ อาจารย์ สิ ท ธิ ชั ย เพ็ ง เจริ ญ ปั จ จุ บั น เรี ย นไวโอลิ น ต่ อ ภายใต้การสอนของอาจารย์ Hayne Kim

61


U ndi ne

By Phataporn Preechanon

62


Programme Undine Sonata for Flute and Piano, Op.167 Carl Reinecke Alma Tania Lion Sonata for Flute and Piano, Op.14 I. Allegro deciso III. Andante Robert Muczynski NoaNoa Kaija Saariaho

Performers Phataporn Preechanon, Flute Khetsin Chuchan, Piano

63


U ndi ne U nder the vast darkness and depths of water, ภายใต้ผืนน�้าอันกว้างใหญ่ ความลึก ความมืดมิด ยังมีสิ่งเร้นลับ hide many mysteries. ซ่อนอยู่มากมาย There are legends that depict stories of love between water nymphs and humans, tales of happiness, sadness and farewell. The water nymph is a story describing through words, the sounds that arise from our imagination.

มีต�านานเล่าขานถึงเรื่องราวความรักระหว่างพรายน�้ากับมนุษย์ ความสุข ความโศกเศร้าเสียใจ และการพลัดพรากจากลา พรายน�า้ คือเรือ่ งราวในจินตนาการของมนุษย์ทบี่ รรยายผ่านตัวอักษร ท�าให้เราคล้อยตามและจินตนาการถึงเสียงที่เกิดขึ้น โดยที่ยังไม่รู้ แน่ชัดว่าสิ่งเหล่านั้นมีจริงหรือไม่?

The Sounds form in the reader’s mind, everyone of us experiencing the narratives and world described in different ways. Deep fluid sounds might evoke some distant underwater mysteries while the continuous sounds of the waves might evoke the pulsating breath of the water nymph.

‘เสี ย ง’ อยู ่ ใ นจิ น ตนาการของผู ้ อ ่ า น ต่ า งคนต่ า งประสบการณ์ ผู้คนจึงพบเจอเรื่องราวและเสียงที่แตกต่างกันออกไป เสียงของน�้า อาจท�าให้ เ ราจิ น ตนาการถึ ง ความลึ ก ลั บใต้ น�้า เสี ย งของคลื่ น อาจเปรียบเสมือนลมหายใจของพรายน�า้ การแสดงคอนเสิ ร ์ ตในครั้ ง นี้ จ ะเป็ น การเล่ า ถึ ง เรื่ อ งราวใต้ น�้า ผ่านเสียงดนตรีโดยจะน�าบทเพลงมาตีความ และเรียบเรียงใหม่ ผ่านประสบการณ์ของพรายน�้าในมุมมองฉัน

This concert tells the story of the underwater world through musical interpretations and re-arrangements reflecting my own vision of those tales.

64





Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.