Development Center for Industrial Waste Management

Page 1



ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม (กากอุตสาหกรรม)

สุริยา โพธิเวชกุล

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561



Development Center for Industrial Waste Management

SURIYA PHOTIWETCHAKUN

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DEPARMENT OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018


CONTENT บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ ประวัติส่วนตัว

01

INTRODUCTION

1.1 ความเป็นมาของโครงการ 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.4 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการศึกษา 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

02

หน้าที่

กก ข ฃ ค ง จ ฉ

หน้าที่

00 00 00 00 00

THEORY&PRINCIPLE 2.1 ความหมายและการจากัดความ 2.2 ความเป็นมาของเรื่องที่ศึกษา 2.2.1 ผลกระทบของกากอุตสาหกรรม 2.2.2 ประเภทของขยะ 2.2.3 ลักษณะและวิธีการจัดการขยะ 2.3 นโยบายและแผนพัฒนาทีเ่ กี่ยวข้อง 2.4 ทฤษฏีหรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ 2.4.1 การออกแบบนิทรรศการ 2.4.2 หลักการออกแบบพื้นที่ปฏิบัติการ 2.4.3 การออกแบบออฟฟิตยุคใหม่ 2.4.4 หลักการ Smart City 2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

หน้าที่

00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00


หน้าที่

CONTENT

03

SITE ANALYSIS 3.1 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ 3.1.1 ประวัติความเป็นมาของที่ตั้งโครงการ 3.1.2 ศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะ

หน้าที่

00 00

3.2 ศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 00 3.2.1 ประวัติย่านที่ตั้งโครงการ 00 3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ 00 3.2.3 การแบ่งเขตปกครอง 00 3.2.4 การคมนาคม 00 3.2.5 สถานทีส่ าคัญ 00 3.2.6 การวิเคราะห์ด้านผังเมือง 00 3.3 สรุปการเลือกตาแหน่งที่ตั้งโครงการ 00 3.3.1 รายละเอียดที่ตั้งโครงการ 00 3.3.2 สรุปการเลือกตาแหน่งที่ตั้งโครงการ 00 3.3.3 แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัด ระยอง00 3.3.4 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ 00 00 00 00


หน้าที่

CONTENT

04

PROGAM

หน้าที่

4.1 ส่วนโปรแกรมออกแบบ 4.1.1 ประเภทของโครงการ 4.1.2 วัตถุประสงค์โครงการ 4.4.3 กลุ่มผู้ใช้โครงการ 4.4.4 พฤติกรรมผู้ใช้โครงการ

00 00 00 00 00

4.2 โครงสร้างการบริหารงานของโครงการ 4.2.1 การกาหนดอัตรากาลังเจ้าหน้าที่ 4.2.2 การกาหนดจานวนผู้ใช้โครงการ 4.3 การกาหนดกิจกรรมหลัก 4.3.1 ส่วนกลุ่มการใช้สอย 4.3.2 องค์ประกอบหลัก SUMMARY 4.3.3 องค์ประกอบรอง ส่วปนสนับสนุนโครงการ 6.14.3.4บทสรุ ส่วนบริหารโครงการ 6.24.3.5ข้อเสนอแนะ กรม ่เกี่ยวข้อง ระบบวิศวกรรมที 4.4 บรรณานุ ภาคผนวก

00 00 00 00 00 00 00 0000 0000 00


CONTENT

05 CONCEPT AND DESIGN 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5

แนวคิดในการออกแบบ แนวความคิดในการวางผัง แนวความคิดด้านรูปแบบสถาปัตยกรรม แนวคิดด้านโปรแกรมการออกแบบ ผลงานการออกแบบ

06 หน้าที่

00 00 00 00 00

SUMMARY 6.1 บทสรุป 6.2 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

หน้าที่

00 00


INTRODU 1.1 ความเป็นมาของโครงการ

ในปี พ.ศ.2500 ประเทศไทยได้เริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมเปลื่ยน จากสถานประกอบการในครอบครัวเป็นอุตสาหกรรมในการผลิตสินค้าเพื่อ ส่งออกทั้งในประเทศและต่างประเทศ โรงงานอุตสาหกรรมมี ปริ มาณเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วง 20ปีแรก (พ.ศ.2500-2520) มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นถึง 15,000 แห่งทั่วประเทศ ปัจจุบันมีจานวนโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นถึง 150,000 แห่งทั่ว ประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมากในอนาคต

ข้อเสียด้านอุตสาหกรรม ซึ่งอุตสาหกรรมก็มีโทษไม่น้อยกว่าประโยชน์ โดยเฉพาะในด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้รับผลกระทบอย่างมากจากโรงงาน อุตสาหกรรม ปัญหาจากอุตสาหกรรมหลักๆ ก็คือ ปัญหามลภาวะทางอากาศ ปัญหาขยะเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม จะเห็นได้ว่าการพัฒนาประเทศใน ด้านอุตสาหกรรมล่าช้ าเนื่ องจากการที่ มีอุต สาหกรรมมากขึ้น ทาให้ สภาพแวดล้อมเสื่อมเสียไป

รูปภาพ 1. 1 ประท้วงการขยายตัวโรงงาน จ.ตรัง ที่มา http://raktrang.trangzone.com/news (2561)


CTION สถานการณในปัจจุบัน ขยะเหลื อทิ้ง จากอุส าหกรรม หรื อ ที่เ รี ย กว่า กากอุตสาหกรรม มีปริมาณมากกว่า 50 ล้านตัน/ปี ปริมาณขยะอันตรายและขยะไม่อันตรายจากโรงงาน มีการแจ้ง ขนส่งออกไปกาจัด พบว่าประเทศไทยมีกากอุตสาหกรรมมากกว่า 53 ล้านตัน โดยมีขยะอันตรายปีละ 3.35 ล้านตัน และมีขยะไม่อั นตรายปีละ 50.30 ล้านตัน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยกากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายมีแนวโน้ม เพิ่ ม ขึ้ น ปี ล ะ 4.7 แสนตั น และ 8 ล้ า นตั น ส าหรั บ กากอุ ต สาหกรรมไม่ อันตราย

ในขณะที่จานวนโรงงานทาหน้าที่บาบัด/กาจัดกากอุตสาหกรรมมี จานวนน้ อยท าให้ มี ปริ ม าณในการกาจั ด ขยะอุ ต สาหกรรมไม่ เ พีย งพอ เมื่อเทียบกับโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้มีขยะมากมายไม่ได้ถูกกาจัดอย่าง ถูกวิธีซึ่ง ประเด็นปัญหาที่ขยะเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มี จานวน มากขึ้ น และเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในปั จ จุ บั น โรงงานอุ ต สาหกรรมมี ปริมาณเพิ่มขึ้นเพื่อผลิตสินค้าตามความต้องการ ดั้งนั้นจึงมีแนวคิด โครงการศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการ จัดการขยะอุตสาหกรรมเพื่อตอบสนองและแก้ไขปัญหาการลดปริมาณขยะ เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด (ที่มา กรมควมคุมมลพิษ, 2561)


THE OBJECTIV

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพื่อออกแบบพื้นที่การวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการขยะอุตสาหกรรม ที่จะช่วยลด ปริมาณและกาจัดกากอุตสาหกรรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.2.2 เพื่อสร้างและพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการให้ความรู้และเผยแพร่ในด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ จัดการขยะต่อ นักวิจัย,นักพัฒนา,ผู้ประกอบการและคนในชุมชน

1.3 วัตถุประสงค์โครงการ 1.3.1 เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการจัดการขยะเพื่อลดปริ มาณ หรือเพื่อลดปริมาณขยะในอนาคต และมีนวัตกรรมในการจัดการขยะอุตสาหกรรมใหม่ๆ หรือนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.3.2 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดการขยะ และให้ประชาชนได้ศึกษาถึงผลกระทบ วิธีป้องกันและ ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม 1.3.3 เพื่อเป็นศูนย์กลางการวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยี เผยแพร่นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัด การขยะ ต่อ นักวิจัย นักพัฒนา ผู้ประกอบการ และคนในชุมชน

รูปภาพ 1. 2 ขยะริมหาด ที่มา https://www.thairath.co.th/content/1111960


STUDY MAP

1.4 วิธีการและขั้นตอนการดาเนินโครงการ

รูปภาพ 1. 3 วิธีการและขั้นตอนการดาเนินโครงการ


ATION 1.5 ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาโครงการ 1.5.1 เพื่อให้ทราบถึงความเป็นมา หลักการและเหตุผลที่ทาให้เกิดโครงการศึกษาถึงแนว ทางการวิจัยต่อยอดพัฒนานวัตกรรมทางด้านอุตสาหกรรม 1.5.2 ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในหลักการออกแบบพัฒนาการนาขยะอุตสาหกรรมไป ใช้ให้ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.5.3 สามารถนาไปต่อยอดเพื่อเป็นออกแบบนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อภาคอุตสาหกรรมและสังคมต่อไป


รูปภาพ 1. 4 RECYCLING PLASTIC WASTE ที่มา ecoBirdy


DESIGN THEORY 2.1 ความหมายและการจากัดความ 2.1.1 ความหมาย ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม (กากอุตสาหกรรม) ศูนย์ : จุดกลาง, ใจกลาง, แหล่งกลาง, แหล่งรวม (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2554) วิจัย : การสะสม , รวบรวม , ค้นคว้าข้อมูล (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2554) จัดการ : ควบคุมงาน , ดาเนินงานให้เป็นแบบแผน (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2554) กากอุตสาหกรรม : สิ่งที่เหลือเมื่อคั้นหรือคัดเอาส่วนดีออกไปใช้ ในอุตสาหกรรม

Development Center for Industrial Waste Management Center : เป็นจุดศูนย์รวม , จุดสาคัญ , ตั้งให้อยู่ตรงกลาง Development : การเปลื่ยนแปลง , พัฒนา , วัฒนาการ Waste Management : การจัดการระบบขยะให้สามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้สูงที่สุด


2.1.2 คาจากัดความ ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) หมายถึง ศูนย์รวมด้านการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการ กากอุตสาหกรรมเพื่อลดปริมาณหรือให้นามาใช้ให้ได้ประโยชน์สูงสุด

2.1.3 ลักษณะโครงการ โครงการศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) เป็นโครงการศูนย์กลางการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีในการ จัดการกับขยะเพื่อลดปริมาณ หรือนามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดปริมาณขยะ ในอนาคต ซึ่งมีนวัตกรรมในการกาจัดใหม่ๆหรือนาขยะมาใช้ประโยชน์มากขึ้น มีการ ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ใ นเรื่ อ งเทคโนโลยี ก ารจั ด การขยะให้ ผู้ ป ระกอบการ อุต สาหกรรมต่ า งๆ ให้ ค นภายนอกได้ ศึ ก ษาถึ ง ผลกระทบ วิ ธี ป้ องกั น รวมถึ ง ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมต่างๆ


REVOLUTION

การปฏิวัติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution) หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญในด้านเทคโนโลยีในการผลิตจากแรงงานคน สัตว์ มาเปนเครื่องจักรกล รวมทั้งเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม เริ่มตนการ ป ฏิ วั ติ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ ป ร ะ เ ท ศ อั ง ก ฤ ษ ค รั้ ง แ ร ก ใ น ช่ ว ง ป ล า ย คริสตศตวรรษที่ 18 ถึงช่วงตนคริสตศตวรรษที่ 19 โดยใชเครื่องจักรไอ น้า ผลิตสิ่งของในโรงงาน ทาให้ไดผลผลิตจานวนมาก มีต้นทุนราคาสินคา ถูกลง มีการคิดค้นวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เขามาใช้แทนที่การผลิตแบบ หัตถกรรมตามบานเรือน

รูปภาพที่ 2. 1 ยุคเริ่มต้มการปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/อุตสาหกรรม, 2561

INDUSTRIAL

REVOLUTION

INDUSTRIAL

2.2 ความเป็นมา ปัจจุบัน และอนาคตของเรื่องที่ศึกษา

การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มมีการแพร่หลายใน รูไทยเมื ปภาพที่อ่ ปี2. พ.ศ. 2 ยุคเริ2500 ่มต้มการปฏิ วัตวิอัตุ สาหกรรม การปฏิ ิอุตสาหกรรมในประเทศ ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/อุตสาหกรรม, 2561 เป็นการเปลี่ยนสถานที่ประกอบการในครอบครัวมาเป็น โรงงานอุตสาหกรรมที่สร้างขึ้นสาหรับการผลิตสินค้า เพื่อส่งออกจาหน่ายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โรงงาน อุตสาหกรรมก็มีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วง 20 ปี แรก พ.ศ. 2500-2520 มีโรงงานเกิดขึ้นกว่า 15,000 แห่งทั่วประเทศ ปัจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นกว่า 150,000 แห่งทั่วประเทศ

200,000

ตารางที่ 2. 1 ปริมาณจานวนโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2551-2565 (15 ปี)

150,000 100,000 50,000 0 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 จานวนโรงงาน

ที่มา กระทรวงอุตสาหกรรม


ปัจจุบันขยะเหลือทิ้งจากอุสาหกรรม หรือที่เรียกว่ากากอุตสาหกรรม มีปริมาณมากกว่า 50 ล้านตัน/ปี ปริมาณกากอันตรายและกากไม่อันตราย ที่ โ รงงาน มี ก ารแจ้ ง ขนส่ ง ออกไปก าจั ด พบว่ า ประเทศไทยมี ก ากอุ ต สาหกรรมมากกว่ า 53 ล้ า นตั น เลยที เ ดี ย ว โดยมี ก าก อั น ตราย ปี ล ะ 3.35 ล้ า นตั น และมี ก ากไม่ อั น ตรายปี ล ะ 50.30 ล้ า นตั น และมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น โดยกากอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น อั น ตรายมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ปีละ 4.7 แสนตัน สาหรับกากอุตสาหกรรมไม่อันตราย 8 ล้านตัน ปัจจุบันเกิดโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินค้าตามความต้องการของผู้บริโภค และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมากจานวนโรงงานช่วง ปัจจุบันขยะเหลือทิ้งจากอุสาหกรรม หรือที่เรียกว่ากากอุตสาหกรรม มีปริมาณมากกว่า 50 ล้านตัน/ปี ปริมาณกากอันตรายและกากไม่อันตราย ที่ โ รงงาน มี ก ารแจ้ ง ขนส่ ง ออกไปก าจั ด พบว่ า ประเทศไทยมี ก ากอุ ต สาหกรรมมากกว่ า 53 ล้ า นตั น เลยที เ ดี ย ว โดยมี ก ากอั น ตราย ปี ล ะ 3.35 ล้ า นตั น และมี ก ากไม่ อั น ตรายปี ล ะ 50.30 ล้ า นตั น และมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น โดยกากอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น อั น ตรายมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ปีละ 4.7 แสนตัน สาหรับกากอุตสาหกรรมไม่อันตราย 8 ล้านตัน ปัจจุบันเกิดโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินค้าตามความต้องการของผู้บริโภค และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมากจานวนโรงงานช่วง ในขณะที่การเติบโตของโรงงานอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นมี ปริ มาณเพิ่ มขึ้น อย่างรวดเร็ ว เมื่อ เทียบกับปริ มาณโรง บาบัดของเสีย ทาให้มีขยะมากมายไม่ได้ถูกกาจัดอย่างถูก วิธีซึ่ง


PROBLEM

PROBLEM

ประเด็นปัญหาที่ขยะเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีจานวนมากขึ้นและเพิ่มขึ้นอย่างมากในปัจจุบัน เมื่อเทียบกับปริมาณโรงบาบัดของเสีย ทาให้ไม่เพียงพอต่อการจัดการขยะอุตสาหกรรมทาให้เกิดปัญหาขยะตกค้างที่ไม่ได้ถูกกาจัดอย่างถูกวิธี ซึ่งปัญหาหลักของโรงงานอุตสาหกรรม เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งจะเห็นว่าการที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากๆก็ไม่ใช่วิธีที่ดีในการพัฒนาประเทศเพราะว่าการที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากทา ให้สภาพแวดล้อมเสื่อมเสียไป ตารางที่ 2. 2 ปริมาณขยะจาก โรงงาน

ที่มา กรมควบคุมมลพิษ, 2561

จากตารางที่ 2.2 ปริมาณขยะอุตสาหกรรมจะเห็นได้ว่า มีปริมาณขยะอุตสาหกรรมที่ไม่ได้ถูกกาจัดอย่างถูกวิธี มากถึง 31.40 ล้านตัน/ปี


รูปภาพที่ 2. 3 โรงงานกาจัดขยะ รูปภาพที่ 2. 4 โรงงานกาจัดขยะ

ที่มา https://www.matichon.co.th/local/crime/news_965997

จากปัญหาจึงควรมีการจัดตั้ง ศูนทีย์่มวา ิจhttps://www.matichon.co.th/local/crime/news_965997 ัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) เพื่อเป็นศูนย์กลางภาคตะวันออกในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีในการจัดการกับขยะเพื่อลดปริมาณ หรือนามาใช้อย่างมี ประสิทธิภาพเพื่อลดปริมาณขยะในอนาคตและมีนวัตกรรมในการกาจัดใหม่ๆหรือนาขยะมาใช้ประโยชน์มากขึ้น และถ่ายทอดองค์ความรู้ ในเรื่องเทคโนโลยีการจัดการขยะให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่างๆ

จากปัญหาจึงควรมีการจัดตั้ง ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) เพื่อเป็นศูนย์กลางภาคตะวันออกในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีในการจัดการกับขยะเพื่อลดปริมาณ หรือนามาใช้อย่า งมี ประสิทธิภาพเพื่อลดปริมาณขยะในอนาคตและมีนวัตกรรมในการกาจัดใหม่ๆหรือนาขยะมาใช้ประโยชน์มากขึ้น และถ่ายทอดองค์ความรู้ ในเรื่องเทคโนโลยีการจัดการขยะให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่างๆ


INDUSTRIAL PROBLEMS

2.2.1 ผลกระทบกากอุตสาหกรรม - ผลกระทบทางอากาศ ท าให้ เ กิ ด มลพิ ษ ทางอากาศและชั้ น บรรยากาศและอาจส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของ ประชาชนในชุมชน - ผลกระทบทิ้งกากอุตสาหกรรมลงดิน ทิ้งกากอุตสาหกรรมลงดินทาให้พื้นดินปนเปื้อนด้วยสารอันตราย ก่อให้เกิดอันตราย ไม่ สามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่บริเวณดังกล่าว - ผลกระทบต่อผู้คนในชุมชน กระทบต่อสุขภาพสาหรับผู้ใช้แหล่งน้า โดยการกิน หรือหากนามาอุปโภค และบริโภคหรือ หากสูดดมเอาไอระเหยเข้าสู่ร่างกายก็อาจทาให้เกิดโรคติดต่อและเจ็บปวดได้ - ผลกระทบทิ้งกากอุตสาหกรรมลงแหล่งน้า ทิ้งกากอุตสาหกรรมลงน้ายังให้เกิดการรั่วไหลของสารอันตรายสู่แหล่งน้าซึ่งจะเป็น อันตรายต่อผู้ใช้น้าได้

รูปภาพที่ 2. 5ผลกระทบจากอุตสาหกรรม ที่มา http://local.environnet.in.th


IMPACT NATURE 2.2.2 ประเภทของขยะ

ประเภทขยะแบ่งตามสากลหลักๆได้ 4 ประเภท

- ขยะอินทรีย์ คือขยะย่อยสลายง่าย มีความชื้น มีกลิ่น และเน่าเสียได้ง่าย ส่วนใหญ่จึงมัก เป็นขยะที่พบได้ในห้องครัว เช่น เศษเหลืออาหาร เปลือกผลไม้ - ขยะรีไซเคิล คือขยะที่สามารถนากลับมาใช้หรือแปรรูปใหม่ได้ ไม่ว่าจะเป็น แก้ว ขวดน้า กระดาษ กระป๋อง - ขยะอันตราย คือขยะที่มีสารเคมีหรือสารอันตรายปนเปื้อน ซึ่งสามารถก่ออันตราย ให้กับคนและสิ่งแวดล้อมได้ เช่น หลอดไฟฟลูออเรสเซนส์ ถ่านไฟ และแบตเตอรี่ - ขยะทั่วไป คือขยะอื่นๆ ที่ไม่เน่าเสีย ไม่อันตราย แต่ก็นามารีไซเคิลใช้ใหม่ไม่ได้ เช่น ซอง ขนม หรือกิ่งไม้

รูปภาพที่ 2. 6 ปัญหาขยะตกค้าง ที่มา https://news.thaipbs.or.th/content (พ.ศ.2561)


2.2.3ลักษณะและวิธีการจัดการขยะ (1.) ระบบการเผาในเตาเผา (1.1.) เตาเผาระบบ Mass burn

(1.2.) ระบบเตาเผาแบบแก๊สซิฟิเคชั่น (Gasification Incinerator)

เป็นการเผาขยะในเตาที่ได้มีการออกแบบเพื่อใช้กับ ขยะที่มีความชื้นสูงขี้เถ้าที่เหลือจากการเผาไหม้มี ปริมาณร้อยละ 10%ของขยะที่เข้าเตา

เป็ น ระบบการเผาที่ ใ ช้ อ อกซิ เ จนต่ ากว่ า ค่ า ตาม ทฤษฎี ทาให้เกิดการเผาไหม้ไม่ สมบูรณ์ โดยทาให้ได้ น้ามัน หรืออาจจะนาก๊าซที่เกิดขึ้นไปใช้ทาพลังงาน ความร้อนไปใช้ประโยชน์ เช่น ผลิตไฟฟ้าจากไอน้า (SteamTurbine Generator)

(2.) ระบบฝังกลบอย่างถูกสุขาภิบาล

เป็นการกาจัดขยะมูลฝอยโดยการนาไปฝั่งกลบในพื้นที่ มีการจัดเตรียมไว้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ได้รับการคัดเลือกตาม หลั ก วิ ช าการ โดยออกแบบและก่ อ สร้ า งให้ มี ก ารวาง มาตรการ ป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

(1.3.) เตาเผาแบบไพโรไลซิส (Pyrolysis)

เป็ น การเปลี่ ย นของเสี ย ประเภทพลาสติ ก ให้ เ ป็ น น้ ามั น โดยวิ ธี ก ารเผาใน เตาเผาแบบไพโรไลซิ ส (Pyrolysis)และจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อเพลิงเหลว ที่ สามารถ น าไปผ่ า นกระบวนการกลั่ น เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เชือ้ เพลิงเหลวในเชิงพาณิชย์ได้

(3.) เทคโนโลยีการจัดการขยะแบบครบวงจร (Integrated Solid Waste Management)

เทคโนโลยีการบาบัดขยะด้วยวิธีการแบบเชิงกล-ชีวภาพ (MBT, Mechanical and Biological Waste Treatment) ซึ่ง เป็ น เทคโนโลยีที่ ปรั บเสถีย รภาพ ของขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยา


WASTE MANAGEMENT (4.) การจัดการขยะทางกายภาพ การจัดการขยะทางกายภาพ คือ การกาจัดขยะรูปแบบใหม่ต้องการเปลี่ยนวิธีคิดของผู้คนที่มีต่อ เรื่องการกาจัดขยะ เริ่มตั้งแต่ การเปลี่ย น วิธีคิดต่อโรงงานขยะที่มีแต่กองขยะและเครื่องจักร โดยหันมาใช้วัสดุก่อสร้างประเภทรีไซเคิล หรือรียูสแมททีเรียล และออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการออกแบบ

กระบวนการวิจัยพัฒนา

กระบวนการรีไซเคิ้ล Reduce เป็นการป้องกันให้มีขยะเกิดขึ้นน้อยที่สุด

Reuse

Recycle

เป็นการนาใช้วัสดุให้คุ้มค่าที่สุด ก่อนจะทิง้ ไป

เป็นการนาวัสดุที่ใช้แล้วสามารถนา กลับมาใช้ใหม่ได้


2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง - แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ.2555-2574 (1) ด้านความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economic Wealth) เป็นการสร้างการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการเพิ่ม ผลผลิตและประสิทธิภาพในการ (2) ด้านการใช้ศักยภาพของทุนมนุษย์ (Human Wisdom) โดยการใช้ภูมปิ ัญญาเพื่อสร้างให้เกิด นวัตกรรม (Innovation) และมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) เป็นการสร้างการเติบโตจากฐานของภูมิปัญญา ความรู้ นวัตกรรม ในการสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (3) ด้านสังคมการเป็นอยู่ที่ดี (Social Well-Being) เน้นการพัฒนาและสร้างเครือข่ายการผลิต เชื่อมโยงกับ ชุมชน วิสาหกิจเพื่อลด ช่องว่างและความเหลื่อมล้ําที่เกิดขึ้น รวมถึงการสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม (4) ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Wellness) การส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงกฎ ระเบียบให้เอื้อต่อการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการบังคับใช้ กฎหมายเพื่อกากับภาคการผลิต มิให้สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - แผนพัฒนาจังหวัดระยอง พ.ศ.2561–2564 เรื่องที่ 3 พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม ระยองมีแนวโน้มการเกิดอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น เนื่องจากนโยบายของรัฐบาล สนับสนุนการลงทุน ผู้ประกอบการในประเทศต่อเนื่องจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก และยังเป็นพื้นที่ๆมีศักยภาพพัฒนาเป็นศูนย์กลางการ จัดการกากอุตสาหกรรม


- แผนการจัดการกากอุตสาหกรรมปี พ.ศ.2558-2562 โดยกระทรวงฯ ร่วมกับองค์การพัฒนาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม และพลังงานใหม่ (NEDO) กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม แห่งประเทศญี่ปุ่น (METI) (1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การควบคุม /กากับดูแล มีเป้าหมายเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ประสงค์จะปฏิบัติตามกฎหมายอย่าง ถูกต้องและลงโทษผูก้ ระทาความผิดอย่างเป็นขั้นตอน เพื่อให้มีโรงงานที่มีการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้น (2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความร่วมมือและแรงจูงใจกับผู้ประกอบการและประชาชน มีเป้าหมายเพื่อให้มีความตระหนัก ความรู้และความ เข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการกากอุตสาหกรรม และมีระบบฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและต่างประเทศ มีเป้าหมายเพื่อสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของกระทรวงอุตสาหกรรมทั้งด้านวิชาการเทคโนโลยี การจัดหาพื้นที่รองรับการจัดการกากอุตสาหกรรมในอนาคต (4) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การแก้ไข/ปรับปรุงกฎหมาย มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มบทลงโทษให้สามารถติดตามผู้กระทาผิดเกี่ยวกับกากอุตสาหกรรม (เพิ่มโทษจาคุก) แก้ไขกฎระเบียบที่เป็น


2.4.1 การออกแบบนิทรรศการ

DESIGN

หลักเบื้องต้นในการออกแบบและวางผังพื้นที่การจัดนิทรรศการจะเป็นลักษณะในร่ม กลางแจ้ง หรือกึ่งในร่มกึ่ง กลางแจ้ง สิง่ ต้องพิจารณาอันดับแรก ก่อนที่จะทาการวางผัง ก็คือ การศึกษา สภาพเดิมของพื้นที่ ที่จะทาการออกตกแต่งจัดนิทรรศการนั้น ว่าสภาพเดิม เป็นอย่างไร โดยศึกษาในแนวทาง ต่อไปนี้ (1.) ขนาดความกว้าง ความยาว ความสูง และลักษณะรูปร่างของพื้นที่ (2.) วัสดุของตัวอาคาร พื้น ผนัง เพดาน โครงสร้าง (3.) ตาแหน่งของพื้นที่จัดแสดง ทางเข้า ทางออก ผนังด้านเปิด ผนังด้านปิด (4.) ระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ และสิ่งอานวย ความสะดวกอื่น ๆ เช่น ห้องน้า ที่จอดรถ เป็นต้น (5.) ถ้าเป็นสถานทีก่ ลางแจ้ง ต้องสารวจสภาพพื้นที่และสิ่งแวดล้อมประกอบ แนวทางการวางผัง

รูปภาพที่ 2. 7หอจัดแสดง ที่มา http://watkadarin.com/exhibition/Hall, 2561

การวางผัง (Plan) หมายถึงการจัดพื้นที่ ให้ได้ประโยชน์ใช้สอยตาม วัตถุประสงค์ ของ การจัดนิทรรศการ เป็นการวางแผนใช้ประโยชน์ของพื้นที่ให้ได้ประโยชน์ สูงสุด ทั้งนี้เพราะพืน้ ที่ ในการจัดนิทรรศการโดยทั่วไป มักจะมีพื้นที่ไม่มากนัก โดยเฉพาะ หากเป็นนิทรรศการที่มีหลาย หน่วยงานร่วมกันจัด แล้วจะมีการจัดสรร พืน้ ที่ให้อย่างจากัด และบางครั้งการได้มาซึ่งพื้นที่ นั้นจะต้องมีค่าใช้จ่าย ในการเช่าพื้นที่ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูง โดยมีการคิดเป็นตารางเมตร ทีเดียว ฉนัน้ การออกแบบวางผัง จึงเป็นสิ่งแรกที่ควรกระทาก่อนการออกแบบด้านอื่น เพื่อที่จะ ได้ใช้เนือ้ ที่ทุกตารางนิ้วให้เป็นประโยชน์มากที่สุด รูปภาพที่ 2. 8 Moto show ที่มา http://watkadarin.com/exhibition/Hall, 2561


ตัวอย่างแนวทางการกาหนดทางสัญจรรอง คือ เส้นทางที่ต่อเนื่องจาก ทางสัญจรหลัก หรือการเดินเข้าไปชมสิ่งที่แสดงอย่าง เจาะจง มีหลักการก็คือ ต้องมีความสัมพันธ์กันกับครุภัณฑ์ที่จัดแสดง

แบบที่ 1. การวางผังเป็นแนวยาว (ด้านเดียว) เหมาะสาหรับ พื้นที่แสดงงานที่แคบ ยาว และเดินชมได้ด้านเดียว

แบบที่ 4.. การวางผังแบบต่อเนื่อง (สองด้าน) เหมือนกับแบบที่ 3 แต่ต่างตรงทิศทางการติดตั้งบอร์ด

แบบที่ 2. การวางผังเป็นแนวยาว (สองด้าน) เหมาะสาหรับ พื้นที่แสดงงานที่แคบ ยาว เช่นเดียวกับแบบที่ 1 แต่กว้างกว่า สามารถเดินชมได้ทั้ง 2 ด้าน

แบบที่ 5. การวางผังแบบต่อเนื่อง (สองด้าน) เช่นเดียวกับการ จัดแบบที่ 3 และ 4 แต่การจัดลักษณะนี้สามารถกาหนดทิศทาง ของการชมได้

แบบที่ 3. การวางผังแบบต่อเนื่อง (สองด้าน) เหมาะสาหรับ พื้นที่แสดงงานที่กว้าง และสามารถกาหนดการชมได้อย่าง ต่อเนื่อง แต่ไม่สามารถกาหนดทิศทางของการชมได้

แบบที่ 6. การวางผังแบบต่อเนื่อง (สองด้าน) โดยบอร์ดขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับการจัดแบบที่ 4 แต่มีขนาดใหญ่และสามารถกาหนดทิศทาง ของการชมได้ ( http://watkadarin.com/exhibition/Hall ,2561 )

EXHIBITION

การจัดผังบริเวณนิทรรศการ


LABORATORY

2.4.2 หลักการออกแบบพืน้ ที่ปฏิบัติการ (1.) การออกแบบและจัดผังห้องปฏิบัติการ โดยทั่วไปห้องปฏิบัติการมักแบ่งพื้นที่การใช้งานออกเป็น 3 ส่วน (1.1) พื้นที่สาหรับการปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตร์(พื้นที่ทาการทดลอง) (1.2) พื้นที่สาหรับปฏิบัติงานด้านเอกสารและบริหาร (ธุรการ โต๊ะ คอมพิวเตอร์บันทึกข้อมูล บริเวณจัดเก็บเอกสาร) (1.3) พื้นที่สนับสนุนห้องปฏิบัติการ (ห้องเก็บวัสดุอุปกรณ์ ห้องเย็น ห้องน้า ห้องล้าง) (2.) การจัดรูปแบบของห้องปฏิบัติการ โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ (2.1) Modular laboratory design มีลักษณะแบ่งเป็นห้องย่อยๆตามลักษณะและประเภทงาน โดยมี โถงทางเดินกลาง (central corridor) กั้นห้องต่างๆออกเป็นสองฝั่ง ฝาผนังกั้นแต่ละห้อง ซึ่งในแต่ ละห้องมีบริเวณพื้นที่ ปฏิบัติงาน โดยมีพื้นที่ ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนมีพื้นที่ส่วนตัวของตัวเองไม่ รบกวนการทางานของผู้ปฏิบัติงานคนอื่นๆ จุดเด่น: มีการแบ่งขอบเขตการทางานที่ชัดเจน ลดมลภาวะทางเสียง ควบคุมความปลอดภัย ได้ง่าย

รูปภาพที่ 2. 9การจัดห้องปฏิบัติการแบบ modular laboratory design ที่มา :คู่มือความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ, 2561

จุดด้อย: ไม่สะดวกในการประสานงานหรือการใช้เครื่องมือร่วมกัน ขยายพื้นที่การทางานได้ ลาบาก (2.2) Open laboratory design เป็นรูปแบบที่ไม่มีการแบ่งเป็นห้องย่อยๆ ส่วนมากจะแบ่ง ออกเป็น เขตขึ้นกับความอันตรายในการปฏิบัติงาน เช่น เขตปลอดภัย และ เขตปฏิบัติการวิเคราะห์ เป็นต้น การ จัดห้องปฏิบัติการในรูปแบบนี้จะทาให้รู้สึกว่าห้องมี ขนาดใหญ่และมีผู้ร่วมงานค่อนข้างมาก จุดเด่น: ใช้เครื่องมือร่วมกันได้สะดวก การขยายปรับปรุงพื้นที่ทาได้สะดวก จุดด้อย: เกิดมลภาวะทางเสียง ควบคุมความปลอดภัยการแพร่กระจายของสิ่งปนเปื้อนทาได้ยาก (ข้อมูลจาก : อ.ดร.วงศ์วรุตม์ บุญญานุโกมล นางสาวจุฬาลักษณ์ บางเหลือ ,2561)

รูปภาพที่ 2. 10 การจัดห้องปฏิบตั ิการแบบ open laboratory design ที่มา :คู่มือความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ, 2561


WORKFLOW

CREATIVITY

2.4.3 การออกแบบออฟฟิศยุคใหม่ Creativity Workflow “กระบวนการทางานยุคใหม่” คือภาวะการทางานที่ก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ มีทั้งหมด 5 รูปแบบภาวะ (1.) Stimulate - ภาวะที่ต้องการค้นหาไอเดียใหม่ๆ หรือภาวะที่ต้องการกระตุ้นความคิดเพื่อหาวิธีแก้ปัญหา หรือ หาทางที่ดีที่สุดในการตอบโจทย์งาน เป็นภาวะที่กระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เริ่มต้นได้ตั้งแต่พื้นที่ทางเข้า มีมุมหนังสืออ่านเล่นหรือจัดให้มีพื้นที่นั่งคุยกัน, จัดมุมที่สามารถมองเห็นวิวหรือ ความร่มรื่นของต้นไม้ (2.) Focus - ภาวะการทางานที่มีการครุ่นคิด ไตร่ตรอง จดจ่อมุ่งความสนใจกับงาน หรือการแก้ไขปัญหาต่างๆโดยเฉพาะ เป็นภาวะซึ่งปราศจากการ รบกวน หรือ การขัดจังหวะนั่นเอง สามารถออกแบบตั้งแต่ห้องปิดโดยเฉพาะ, ห้องโทรศัพท์ หรือแม้แต่เพียงมีที่กั้นสายตาก็สามารถจดจ่องานตรงหน้าได้ (3.) Collaboration - ภาวะการทางานร่วมกันกับผู้อื่น หรือ การทางานเป็นทีม เพื่อสร้างสรรค์งานให้สาเร็จ บรรลุเป้าหมายงานร่วมกัน มีทั้งรูปแบบ ห้องประชุมปิด หรือการจัดมุมหนึ่งในพื้นที่ทางาน เพื่อเกิดรูปแบบกิจกรรมตั้งแต่การนาเสนอ, เปิดโอกาสให้ขีดเขียน (4.) Play - ภาวะที่เอื้อให้เกิดการเล่น การทดลองอย่างสร้างสรรค์ เป็นรูปแบบการผ่อนคลายจากงาน และ เป็นภาวะที่สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ร่วมงาน เริ่มได้ตั้งแต่พื้นที่โล่งให้ทากิจกรรมร่วมกัน จนไปถึงพื้นที่ออกกาลังกาย หรืออุปกรณ์เกมโดยเฉพาะ (5.) Learn - ภาวะที่เกิดการเรียนรู้ การตกผลึกทางความคิดหลังจากการปฏิบัติงาน หรือ ภาวะที่เกิดการถ่ายทอดความรู้จากผู้มีประสบการณ์ ได้แก่ ห้องสมุด ที่รวบรวมหนังสือหรือเอกสารงาน จนไปถึงห้องสัมมนาสาหรับพนักงาน เป็นต้น หากองค์กรใดสามารถออกแบบพื้นที่ที่ตอบภาวะการทางานทั้ง 5 รูปแบบนี้แล้ว ทาให้มีความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ เพราะการทางานที่ดีนั้น ไม่เพียง แค่โฟกัสที่เป้าหมาย แต่ต้องใส่ใจถึงบุคลากรการทางานเช่นกัน (ข้อมูลจาก : Wurkon ร่วมมือกับ “Baramizi Lab” ,2561)

รูปภาพ 2. 1 ออฟฟิศรูปแบบใหม่ทที่ ันสมัย ที่มา http://www.amarintv.com/lifestyle-update, 2561


SMART CITY

2.4.4 หลักการSmart City Smart City คือเมืองที่ได้รับการออกแบบโดยให้ความสาคัญในองค์ประกอบหลังคือ การพัฒนารูปแบบโครงสร้างของเมืองที่สอดรับกับ แนวคิดของเมืองอัจฉริยะ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ประกอบการนาเทคโนโลยี สารสนเทศและข้อมูลมาช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากรของเมืองเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด อาทิ ระบบบริหารจัดการเครือข่ายพลังงานอัจฉริยะ ที่เรียกว่า Smart Grid ระบบมิเตอร์อัตโนมัติ ระบบควบคุมการจราจรอัจฉริยะ ระบบควบคุมอาคารอัจฉริยะ และระบบตรวจวัดมลภาวะ การพัฒนาเมืองธรรมดาให้กลายเป็น Smart City สามารถทาได้อย่างไร อะไรคือองค์ประกอบสาคัญ มาร่วมฟังประสบการณ์ของบริษัท เทคโนโลยีชั้นนาระดับโลกที่ได้มีส่วนในการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาร่วมแก้ปัญหา ตลอดจนการร่วมสร้าง Business Model เพื่อประโยชน์ของเมืองต่างๆ กันค่ะ


Smart City หรือเมืองอัจฉริยะกาลังมี การพัฒนากันทั่วโลก เพราะเป็นเรื่อง ของการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้กับเมืองเพื่อให้มีความน่าอยู่มากขึ้น ประชาชน สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะของเมืองได้อย่างรวดเร็ว การเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันเพื่อ ช่วยพัฒนาระบบบริการให้มีประสิทธิภาพสูงสุดสาหรับพื้นที่ มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ดีขึ้น สร้างความปลอดภัยได้มากขึ้น แนวคิดในการนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเมืองให้มีความอัจฉริยะนั้น จะต้องมีความ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งภาคธุรกิจ รัฐบาล รวมถึงประชาชนในพื้นที่ร่วมกันพัฒนา เมื อ ง ซึ่ ง ในหลายประเทศก็ไ ด้ มี ก ารลงทุ นร่ ว มกั นระหว่ างภาครั ฐ และภาคธุ ร กิจ เช่ น สิงคโปร์ เกาหลีใต้ สเปน เป็นต้น โดยมีบริษัทเทคโนโลยีชั้นนาระดับโลกได้เข้ามาร่วมมือกับ รัฐบาลในการนาเอาเทคโนโลยี ICT เข้ามาช่วยบริหารจัดการเมืองและชุมชนให้มีความเป็น อัจฉริยะมากขึ้นจนประสบความสาเร็จในการเป็นต้นแบบให้กับประเทศอื่นๆ


2.5 กฎหมายทีก่ ี่ยวข้อง 2.5.1การใช้ประโยชน์ที่ดิน

2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

เขตที่ดินสีม่วง ได้กาหนดไว้ให้เป็นที่ดิน ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินค้า ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมคลังสินค้า สถาบันราชการ การ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สาหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภท นี้ในแต่ละบริเวณ

LAWS

LAWS

ข้อห้ามการใช้ประโยชน์ (๑) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน (๒) สถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริการ (๓) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงเด็ก (๔) สถานสงเคราะห์หรือรับเลี้ยงคนชราการใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งลาคลองหรือแหล่งน้าสาธารณะ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริม ฝั่งตามหรือแหล่งน้าสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่เป็นการก่อสร้างเพือ่ การคมนาคมทางน้าหรือการสาธารณูปโภค


2.5.2 กฎหมายควบคุมอาคาร กฎกระทรวง ฉบับที 55(พ.ศ. 2543) (1) พื้นทีภายในอาคาร - ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามทีกาหนดไว้ดังต่อไปนี้ กฎหมายควบคุ มอาคารใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิงไม่น้อยกว่าตามทีกาหนดไว้ดังต่อตารางที ข้อ 222.5.2 ห้องหรื อส่วนของอาคารที ไปนี้ ่ 2. 3ช่องทางเดินในอาคาร กฎกระทรวง ฉบับที 55(พ.ศ. 2543) ที่มา asa.or.th, 2561 (1) พื้นทีภายในอาคาร - ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามทีกาหนดไว้ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2. 4ช่องทางเดินในอาคาร - ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารทีใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิงไม่น้อยกว่าตามทีกาหนดไว้ดทีัง่มต่าอasa.or.th, ไปนี้ 2561

ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารทีใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิงไม่น้อยกว่าตามทีกาหนดไว้ดังต่อไปนี้ - ข้อ 22 ห้องหรือส่วนของอาคารทีใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิงไม่น้อยกว่าตามทีกาหนดไว้ดังต่อไปนี้

ตารางที่ 2. 5ระยะดิ่งในอาคาร ที่มา asa.or.th, 2561

ตารางที่ 2. 6ระยะดิ่งในอาคาร ที่มา asa.or.th, 2561


(2) บันไดของอาคาร - ข้อ 24 บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษสาหรับที่ ใช้กับชันทีมีพื้นทีอาคารชันเหนือขึ้นไปรวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิ ไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร แต่สาหรับบันไดของอาคารดังกล่าวทีใช้กับชันทีมีพื้นทีอาคารชันเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตาราง เมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้ อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบันไดอย่าง น้อยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร - ข้อ 25 บันไดตามข้อ 24 จะต้องมีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดทีไกลสุดบนพื้นชั้นนั้น - ข้อ 26 บันไดตามข้อ 23 และ ข้อ 24 ทีเป็นแนวโค้งเกิน 90 องศา จะไม่มีชานพักบันไดก็ได้ แต่ต้องมีความกว้าง เฉลี่ยของ ลูกนอนไม่น้อยกว่า 22 เซนติเมตร สาหรับบันไดตามข้อ 23 และไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร สาหรับบันไดตามข้อ 24


(3) แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร - ข้อ 41 อาคารทีก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะทีมีความกว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจาก กึงกลางถนน สาธารณะอย่างน้อย 3 เมตร อาคารทีสูงเกินสองชันหรือเกิน 8 เมตร ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคาร สาธารณะ ป้าย หรือสิงทีสร้างขึ้นสาหรับติดหรือตังป้าย หรือคลังสินค้า ทีก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะ - ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึงกลางถนนสาธารณะ อย่างน้อย 6 เมตร - ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างตังแต่ 10 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่าง จากเขตถนนสาธารณะอย่างน้อย 1 ใน 10 ของความกว้างของถนนสาธารณะ - ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะ อย่างน้อย 2 เมตร - ข้อ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจุดหนึ่งจุดใด ต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบ วัดจากจุดนั้ นไปตังฉากกับ แนวเขตด้านตรงข้าม ของถนนสาธารณะทีอยู่ใกล้อาคารนั้นทีสุด ความสูงของอาคารให้วัดแนวดิงจากระดับถนนหรือระดับพื้ นดินทีก่อสร้างขึ้นไปถึงส่วนของ อาคารทีสูงทีสุด สาหรับ อาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดถึงยอดผนังของชันสูงสุด


CAST STUDY


1 BANGKOKWASTE WASTE

MANAGEMENT LEARNING CENTER

2

3 Shenzhen East Waste-to-Energy Shenzhen East Waste-to-Energy

RISC Well-being in MAGNOLIAS


BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER ศูนย์การเรียนรู้การจัดการมูลฝอยกรุงเทพมหานคร โปรแกรมเน้นย้าถึง 3 โครงการหลัก ได้แก่ 1.พื ้นที่จัดแสดงนิทรรศการการจั ดการและการเรี ยนรู้การสนับสนุLEARNING นและสถานที่รีไซเคิ ล BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT CENTER 2.ผูเ้ ยีย่ มชมจะได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับสภาพแวดล้อมของกรุงเทพมหานครการจัดการของเสียการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนในอนาคต 3.ศูนย์รีไซเคิลของศูนย์ฯ มีหน้าที่จัดการขยะจากชุมชน ศูนย์การเรียนรู้การจัดการมูลฝอยกรุงเทพมหานคร โปรแกรมเน้นย้าถึง 3 โครงการหลัก ได้แก่ 1.พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการการจัดการและการเรียนรู้การสนับสนุนและสถานที่รีไซเคิล 2.ผูเ้ ยีย่ มชมจะได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับสภาพแวดล้อมของกรุงเทพมหานครการจัดการของเสียการพัฒนาที่ยั่งยืนในอนาคต 3.ศูนย์รีไซเคิลของศูนย์ฯ มีหน้าที่จัดการขยะจากชุมชน


RISC Well-being ศูนย์กลางพัฒนานวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนเต็มรูปแบบแห่งแรกของประเทศไทย ภายใต้การดูแลของ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จากัด มุ่งเน้นการคิดค้นนวัตกรรมด้านที่อยู่อาศัย ให้มีความยั่งยืน เพื่อยกระดับวงการอสังหาริมทรัพย์ ให้เน้นการพัฒนาโครงการที่เป็นมิตรต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม และเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยอย่างยั่งยืน รวมทั้ง RISCยังเปิดพื้นที่ให้คน ทั่วไปได้เข้าไปเรียนรู้วัสดุและการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย


สถาปนิก Schmidt Hammer, Lassen, Gottlieb Paludan สถานที่ตั้ง เซินเจิ้น, Guangdong, China Client Area 112,645 sqm Project Year 2020 ผูเ้ ข้าชมสาธารณะได้รบั เชิญเข้าไปในโรงงานผ่านสวนภูมทิ ศั น์ผา่ นทางสะพานทางเข้าที่เพิ่มขึ้นระหว่างกอง กับล็อบบี้ทางเข้าและศูนย์ผู้เยี่ยมชมที่สามารถมองเห็นเครื่องจักรกลโรงงาน เส้นทางวงกลมภายในและ ทางเดินวงกลมล้อมรอบโรงงานอธิบายแต่ละขั้นตอนก่อนที่จะนาทางไปสู่ทางเดินสาธารณะแบบพาโนรา มาระยะทาง 1.5 กิโลเมตรบนหลังคาซึ่งสามารถมองเห็นภูมิทัศน์โดยรอบและเมืองเซินเจิ้นได้


ตารางที่ 2. 7 ตารางเปียบเทียบ CAST STUDY ชื่ออาคาร

BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER

RISC Well-being

Shenzhen East Waste-to-Energy

คอนกรีตเสริมเหล็ก 20,000 sq.m

คอนกรีตเสริมเหล็ก -

คอนกรีตเสริมเหล็ก , เหล็ก 112,645 sq.m

รูปอาคาร

โครงสร้าง พื้นที่ แบบสถาปัตยกรรม

องค์ประกอบ

- พื้นที่เรียนรู้ - พื้นที่สานักงาน - พื้นที่การจัดการขยะ

การนามาประยุกต์ใช้ ดึงในส่วนการออกแบบและการจัดการทางเดินชมเพื่อส่งเสริมการ เรียนรูห้ ้องปฏิบัติการต่างๆ ในส่วนการให้ความรู้

- พื้นที่สานักงาน - Co working - ห้องวิจัย ดึงส่วนของการออกแบบห้องวิจยั co working office ต่างๆ

- ห้องงานระบบการจัดการขยะ - พื้นที่สานักงาน - พื้นที่การเรียนรู้ ส่วนการออกแบบห้องระบบและการจัดการ กับพวกห้องวิจัยที่อาจจะอันตรายต่างๆ


SITE ANALYSIS .

SITE ANALYSIS 3.1 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ

3.1.1 ประวัติความเป็นมาของที่ตั้งโครงการ

จังหวัดระยองมีพื้นที่ประมาณ 3,552 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 2,220,000 ไร่ ในภาคตะวันออกของประเทศไทย จังหวัดระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศ ไทย เป็นจังหวัดที่มีรายได้ประชากรต่อหัวสูงที่สุดในประเทศ และ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดอยู่ในอันดับ 2 ของประเทศไทย เป็น เมืองท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเป็น เมื อ งที่ มี ค วามส าคั ญ ทางเศรษฐกิ จ เป็ น อย่ า งมาก ในด้ า น อุตสาหกรรม การท่องเที่ยว และการเกษตรกรรม

3.1.2 ศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะ (1) ลักษณะภูมิประเทศ

จังหวัดระยองมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาในด้านตะวันออก และตอนกลาง มีพื้นที่ลาดเชิงเขาและที่ราบระหว่างหุบเขาจนถึงที่ราบลุ่ม แม่น้า ด้านตะวันออกบรรจบกับที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตก ทิศใต้เป็นอ่าวเล็กๆ และเกาะต่างๆ (2) อาณาเขต จั ง หวั ด ระยองที่ ตั้ ง และอาณาเขตมี พื้ น ที่ ป ระมาณ 3,552 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 2,220,000 ไร่ ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกของ ประเทศไทย ระหว่างเส้นรุ้งที่ 12 -13 องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 101 - 102 องศาตะวันออก ห่างจากกรุงเทพฯประมาณ 179 กิโลเมตร

3.1 ศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบ 3.1.1 ประวัติความเป็นมาของที่ตั้งโครงการ จังหวัดระยองมีพื้นที่ประมาณ 3,552 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 2,220,000 ไร่ ในภาคตะวันออกของประเทศไทย จังหวัดระยอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศ

3.1.2 ศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะ (เพิ่มแผนที่) (1) ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดระยองมีลักษณะภูมิประเทศเป็นเทือกเขาในด้านตะวันออก และตอนกลาง มีพื้นที่ลาดเชิงเขาและที่ราบระหว่างหุบเขาจนถึงที่ราบลุ่ม


(3) เศรษฐกิจ

(4) การปกครอง

จังหวัดระยองเป็นจังหวัดที่มีสภาพทางเศรษฐกิจดีจังหวัดหนึ่ง จากข้อมูล ของสานักงานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดปี 2547 มีมูลค่า370,104 ล้านบาท ซึ่งเป็น ผลจากการผลิ ต ด้ า นอุ ต สาหกรรมเป็ น ส่ ว นใหญ่ โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรม ปิโตรเลียม และปิโตรเคมี มีมูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัวเท่ากับ 719,718 บาท / คน / ปี เป็นลาดับที่ 1 ของประเทศ

จังหวัดระยอง แบ่งออกเป็น 6 อาเภอ ได้แก่อาเภอเมืองระยอง อาเภอแก ลง อาเภอบ้านค่าย อาเภอปลวกแดง อาเภอบ้านฉาง อาเภอวังจันทร์ และ 2 กิ่งอาเภอ ได้แก่ กิ่งอาเภอเขาชะเมา กิ่งอาเภอนิคมพัฒนา โดยประกอบด้วย 84 ตาบล 440 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลตาบล 16 แห่ง องค์การบริหารส่วนตาบล 52 แห่ง (ที่มา :http://rayong.mots.go.th, 2561)

(3) เศรษฐกิจ จังหวัดระยองเป็นจังหวัดที่มีสภาพทางเศรษฐกิจดีจังหวัดหนึ่ง จากข้อมูล ของสานักงานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพบว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดปี 2547 มีมูลค่า370,104 ล้านบาท ซึ่งเป็น ผลจากการผลิ ต ด้ า นอุ ต สาหกรรมเป็ น ส่ ว นใหญ่ โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรม ปิโตรเลียม และปิโตรเคมี มีมูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อหัวเท่ากับ 719,718 บาท / คน / ปี เป็นลาดับที่ 1 ของประเทศ

(4) การปกครอง

(ที่มา :http://rayong.mots.go.th, 2561)

จังหวัดระยอง แบ่งออกเป็น 6 อาเภอ ได้แก่อาเภอเมืองระยอง อาเภอแก ลง อาเภอบ้านค่าย อาเภอปลวกแดง อาเภอบ้านฉาง อาเภอวังจันทร์ และ 2 กิ่งอาเภอ ได้แก่ กิ่งอาเภอเขาชะเมา กิ่งอาเภอนิคมพัฒนา โดยประกอบด้วย 84 ตาบล 440 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลตาบล 16 แห่ง องค์การบริหารส่วนตาบล 52 แห่ง


DISTRIC ANALUSIS 3.2 ศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ

ANALUSIS DISTRIC 3.2.1 ประวัติย่านที่ตั้งโครงการ

มาบตาพุ ด เป็ น เทศบาลเมื อ งแห่ ง หนึ่ ง ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นเขตอ าเภอเมื อ ง ระยอง และบางส่วนของอาเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง โดยห่างจากตัว เมืองระยองประมาณ 8 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครตามถนน สุขุมวิทเป็นระยะทาง 204 กิโลเมตร เขตเทศบาลมีพื้นที่ 165.565 ตาราง กิโลเมตร มีประชากรในปี พ.ศ. 2557 จานวน 60,251 เมืองมาบตาพุด มี สถานะที่คล้ายกับ เมืองแหลมฉบัง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรั บ โครงการพัฒนาชายฝั่งภาคตะวันออกและยังเป็นเขตอุตสาหกรรมหนักที่ สาคัญของประเทศอีกด้วย ปัจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรม 257 แห่ง เทศบาลเมืองมาบตาพุด เดิมคือ สุขาภิบาลมาบตาพุด ซึ่งยกฐานะเป็น เทศบาลตาบลมาบตาพุด ครอบคลุมพื้นที่ตาบลมาบตาพุด อาเภอเมือง ระยอง และอาเภอบ้านค่าย จัดตั้งเป็นเทศบาลตาบลเมื่อปี พ.ศ. 2534 และ ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง ในปี พ.ศ. 2544 (ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/เทศบาลเมืองมาบตาพุด)

ที่ตั้งและอาณาเขต – ทิศเหนือติดต่อ ตาบลมาบข่า อาเภอเมืองระยอง กิ่งอาเภอนิคมพัฒนา – ทิศใต้ติดต่อ ทะเลอ่าวไทย – ทิศตะวันออกติดต่อ ตาบลเนินพระ ตาบลทับมา อาเภอเมือง จังหวัดระยอง – ทิศตะวันตกติดต่อ อาเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง

ที่ตั้งและอาณาเขต – ทิศเหนือติดต่อ ตาบลมาบข่า อาเภอเมืองระยอง กิ่งอาเภอนิคมพัฒนา

3.2 ศึกษาและวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งโครงการ 3.2.1 ประวัติย่านที่ตั้งโครงการ

– ทิศใต้ติดต่อ ทะเลอ่าวไทย – ทิศตะวันออกติดต่อ ตาบลเนินพระ ตาบลทับมา อาเภอเมือง จังหวัดระยอง


3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ

3.2.3 การแบ่งเขตปกครอง

เทศบาลเมืองมาบตาพุดมีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 165.575 ตารางกิโลเมตร โดยเป็น พื้นที่บนบกที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ประมาณ 144.575 ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ 87.32 ของพื้นที่ทั้งหมด) ที่เหลือเป็นทะเลประมาณ 21.000 ตารางกิโลเมตร

เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งเขตอาเภอเมืองระยองกับอาเภอ นิคมพัฒนา มีพื้นที่ครอบคลุม 5 ตาบล ได้แก่ ตาบลมาบตาพุด ตาบลห้วย โป่ง และพื้นที่บางส่วนของตาบลต่างๆ ได้แก่ ตาบลมาบข่า ตาบลทับมา ตาบลเนินพระ และมีเกาะ 1 เกาะ คือ เกาะสะเก็ด (ภาพที่ 3.1)

เทศบาลเมืองมาบตาพุดอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3 (สุขุมวิท) อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดระยอง (ศูนย์ราชการ จังหวัดระยอง) ประมาณ 8 กิโลเมตร เทศบาลเมืองมาบตาพุดมีนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งเนื่องจาก เป็นพื้นที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรับโครงการพัฒนาชายฝั่งภาคตะวันออกและยังเป็นเขต อุตสาหกรรมหนักที่สาคัญของประเทศ และมีชุมชนย่อย จานวน 33 ชุมชน ปัจจุบันมีการขยายชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างการขยายตัวของชุมชน จานวนประชากร และบ้านจากทะเบียนราษฎรพบว่า เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดมีจานวนครัวเรือน ทั้งสิ้น 31,531 ครัวเรือน ประชากรทั้งสิ้น 43,892 คน เป็นชาย 22,133 คน หญิ ง 21,759 คน ความหนาแน่ น ของประชากรประมาณ 261 คน/ตาราง กิโลเมตร

3.2.3 การแบ่งเขตปกครอง เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งเขตอาเภอเมืองระยองกับอาเภอ นิคมพัฒนา มีพื้นที่ครอบคลุม 5 ตาบล ได้แก่ ตาบลมาบตาพุด ตาบลห้วย โป่ง และพื้นที่บางส่วนของตาบลต่างๆ ได้แก่ ตาบลมาบข่า ตาบลทับมา ตาบลเนินพระ และมีเกาะ 1 เกาะ คือ เกาะสะเก็ด (ภาพที่ 2.6)

3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ เทศบาลเมืองมาบตาพุดมีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 165.575 ตารางกิโลเมตร โดยเป็น พื้นที่บนบกที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ประมาณ 144.575 ตารางกิโลเมตร (ร้อยละ 87.32 ของพื้นที่ทั้งหมด) ที่เหลือเป็นทะเลประมาณ 21.000 ตารางกิโลเมตร เทศบาลเมืองมาบตาพุดอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตามทางหลวงแผ่นดิน

รูปภาพที่ 3. 1 แผนที่แสดงอาณาเขตการปกครอง

ที่มา : http://www.mtp.go.th/public, 2561


3.2.4 การคมนาคม (1) ทางรถยนต์ สามารถเดินทางโดยรถโดยสารประจาทาง ,รถตู้โดยสาร ,รถยนต์ส่วนตัว ถนนสายหลัก 3.2.4 การคมนาคม ถนนสายรอง (1) ทางรถยนต์ สามารถเดินทางโดยรถโดยสารประจ ถนนสายหลัก าทาง ,รถตู้โดยสาร ,รถยนต์ส่วนตัว (2) ทางเรือ ถนนสายรอง 1 ท่าเรือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 2 ท่าเรือไออาร์พีทรี ะยอง 1

(3) สนามบิน

2

ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา

(2) ทางเรือ ท่าเรือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ท่าเรือไออาร์พีทรี ะยอง (3) สนามบิน ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา


1 1

2 2


3.2.5 สถานทีส่ าคัญ 1

สนามบินนานาชาติอู่ตะเภา

2 หาดพยูน 1 สนามบินนานาชาติอู่ตะเภา 3 ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตา 3.2.5 2 สถานที่สาคัพุญด 4 พระสมุทรเจดีย์กลางน้า 3 หาดพยูน 5 นิคมอุตสาหกรรม 4 6 โรงพยาบาลมาบตาพุด ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตา 5 พระสมุ รเจดีย์กลางน้า ตทสาหกรรม 7 วันิดคทัมอุ บมา พุด 6 8 บริษัท บริหารจัดการขยะจังหวัดระยอง จากัด 7 วัโรงพยาบาลมาบตาพุ ด ดทับมา 8

บริษัท บริหารจัดการขยะจังหวัดระยอง จากัด


โรงพยาบาลมาบตาพุด บริษัท บริหารจัดการขยะ จังหวัดระยอง จากัด โรงพยาบาลมาบตาพุด

6

นิคมอุตสาหกรรม

6

นิคมอุตสาหกรรม 5

1

วัดทับมา 8 วัดทับมา

7

บริษัท บริหารจัดการขยะ 8 จังหวัดระยอง จากัด

7

5

2

4

1 3

2

4 3 หาดพยูน พระสมุทรเจดีย์กลางน้า

สนามบินนานาชาติอู่ตะเภา ท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด สนามบินนานาชาติอู่ตะเภา

หาดพยูน พระสมุทรเจดีย์กลางน้า


THE CITY IMAGE OF

0

3.2.6 การวิเคราะห์ด้านผังเมือง

3.2.5 สถานที่สาคัญ 01.PATH เส้นทาง ประกอบด้วยถนนหมายเลข 3, 3392, 364 และถนนสายย่อย ต่างๆ

02. EDGE ขอบเขต ถูกแบ่งเขตด้วยคูคลอง และ ถนนสายย่อยต่างๆ

03. DISTRICT ย่าน ประกอบไปด้วยย่านชุมชน และย่าน สถานที่ราชการ

04. NODE ชุมทาง ประกอบไปด้วย ท่าเรือ ตลาด ชุ ม ชน นิ ค มอุ ต ส าห กรร ม แล ะ สถานที่ราชการ



LOCATION SELECTION 3.3 ศึกษาและวิเคราะห์ที่ตงั้ โครงการ 3.3.1 เกณฑ์ในการเลือกทีต่ ั้งโครงการ - ใกล้แหล่ง โรงงานอุตสาหกรรม - พื้นที่สามารถพัฒนาเป็นศูนย์กลาง - มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค ,สาธารณูปการ - ระบบคมนาคม,เข้าถึงง่าย,ใกล้เส้นทางขนส่ง

 พื้นที่อุตสาหกรรม


C C

A B B

A


3.3.2 สรุปการเลือกตาแหน่งที่ตั้งโครงการ SITE A Location : ถ. สุขุมวิท ต. หนองปรือ อ. เมืองระยอง จ. ระยอง Area : 32,000 ตร.ม.

SITE B Location : นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ. เมืองระยอง จ. ระยอง Area : 40,000 ตร.ม.

SITE C Location : ถ. สุขุมวิท ต. ห้วยโป่ง อ. เมืองระยอง จ. ระยอง 21150 Area : 25,000 ตร.ม.


3.3.3 แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัด ระยอง ที่ ดิ น ประเภทอุ ต สาหกรรมและคลั ง สิ น ค้ า ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ อุตสาหกรรม หรือเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม คลังสินค้า สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ FAR : 1:2 OSR : 15 (กฎกระทรวง ผังเมืองจังหวัดระยอง, 2561)

SITE LOCATION


3.3.4 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ (1) ศึกษาวิเคราะห์ด้านกายภาพ - Land use ลักษณะการใช้ที่ดิน เป็นพื้นที่สาธารณะ - Transportation สามารถน้ารถยนต์เข้ามาจอดในพื้นที่โครงการได้ - โดยรอบทีต่ ั้งโครงการ ส่วนใหญ่เป็นโรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน - ขนาดพื้นที่ 40,000 ตร.ม. - สถานที่ตั้ง นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ. เมืองระยอง จ. ระยอง - การคมนาคมสะดวกติ ด ถนนสาธารณะเส้ นทางล าเลี ย งทาง อุตสาหกรรมทาให้การขนส่งของต่างๆสะดวก - ห่างจากท่าเรือมาบตาพุด 5 กม. ทาให้มีเส้นทางการขนส่งที่ หลากหลายและสะดวกต่อการขนส่งมากขึ้น - ที่ตั้งโครงการอยู่ใกล้แหล่งพื้นที่อุตสาหกรรม จึงเหมาะแก่การ ร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งภาครั ฐ และเอกชน ( ผู้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรม )


40,000 ตร.ม.


(2) การคมนาคม ถนนสายรอง ถนนสายหลัก

ท่าเรือนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด

SITE LOCATION

-

* หมายเหตุ เส้นขอบเขตระยะ 5กิโลเมตร


4 2

(3) สถานที่โดยรอบ

3

โรงพยาบาล

3

1โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มาบตาพุด 2 นิคมอุตสาหกรรม

2 2 1

1 1

SITE LOCATION

1 Maptaphud Industrial Estate 2 Pha Daeng Industrial Estate 3 WHA Eastern Industrial Estate ชุมชน 1 หมู่บ้านฉัฏฑน์ การ์เด้น 2 ชุมชนหนองแตงเม 3 ชุมชนวัดโสภณ 4 การเคหะชุมชนมาบตาพุด สถานศึกษา 1 โรงเรียนวัดตากวน 2 โรงเรียนวุฒินันท์

* หมายเหตุ เส้นขอบเขตระยะ 5กิโลเมตร


WIND

SUN

SOUND

DUST


A

A

B

C B

C



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.