Development Center for Industrial Waste Management

Page 1

Â



ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม (กากอุตสาหกรรม)

สุริยา โพธิเวชกุล

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2561



Development Center for Industrial Waste Management

SURIYA PHOTIWETCHAKUN

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DEPARMENT OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2018




CONTENT บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ ประวัติสวนตัว

01

INTRODUCTION

1.1 ความเปนมาของโครงการ 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.3 วัตถุประสงคโครงการ 1.4 วิธีการและขั้นตอนการดําเนินโครงการ 1.5 ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษาโครงการ

หนาที่

กก ข ฃ ค ง จ ฉ

หนาที่

1-2 3 3 4 5-6

02

THEORY&PRINCIPLE

2.1 ความหมายและการจํากัดความ 2.1.1 ความหมาย 2.1.2 คําจํากัดความ 2.1.3 ลักษณะโครงการ 2.2 ความเปนมาของเรื่องทีศ่ ึกษา 2.2.1 ผลกระทบของกากอุตสาหกรรม 2.2.2 ประเภทของขยะ 2.2.3 ลักษณะและวิธีการจัดการขยะ 2.3 นโยบายและแผนพัฒนาทีเ่ กี่ยวของ 2.4 ทฤษฏีหรือแนวคิดที่เกี่ยวของกับการออกแบบ 2.4.1 การออกแบบนิทรรศการ 2.4.2 หลักการออกแบบพื้นที่ปฏิบัติการ 2.4.3 การออกแบบออฟฟตยุคใหม 2.4.4 หลักการ Smart City 2.5 กฎหมายที่เกีย่ วของ 2.6 CAST STUDY

หนาที่

7 8 8 9 -12 13 14 15-16 17-18 19 19-20 21 22 23 25-28 29-38


CONTENT

03

SITE ANALYSIS

3.1 ศึกษาและวิเคราะหองคประกอบ 3.1.1 ประวัติความเปนมาของที่ตั้งโครงการ 3.1.2 ศึกษาและวิเคราะหลักษณะ

4-78

หนาที่

หนาที่

39 39-40

3.2 ศึกษาและวิเคราะหทําเลที่ตงั้ โครงการ 3.2.1 ประวัติยานที่ตั้งโครงการ 3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ 3.2.3 การแบงเขตปกครอง 3.2.4 การคมนาคม 3.2.5 สถานทีส่ ําคัญ 3.2.6 การวิเคราะหดานผังเมือง 3.3 ศึกษาและวิเคราะหที่ตั้งโครงการ 3.3.1 เกณฑในการเลือกทีต่ ั้งโครงการ 3.3.2 สรุปการเลือกตําแหนงที่ตั้งโครงการ 3.3.3 แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน จังหวัด ระยอง 3.3.4 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ

41 41 42 42 43-44 45-46 47-48 49 49-50 51 52 53-64


CONTENT

04

PROGAM

4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6

4-78

หนาที่

ความเปนมาของโครงการ วัตถุประสงคโครงการ การกําหนดโครงสรางการบริหาร โครงสรางการบริหาร ผูใชโครงการ การกําหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ

หนาที่

65 66 67 68 69 70

4.7 พื้นที่ใชสอยของโครงการ 4.8 การประมาณงบประมาญการกอสราง 4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวของ 4.9.1 ระบบโครงสรางอาคาร SUMMARY ระบบการจั ดการโครงการ บทสรุ ป 6.14.9.2 6.2 ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

71-76 77-78 79 80-82 83-92 00 00


CONTENT

05 CONCEPT AND DESIGN

5.1 5.2 5.3 5.4 5.5

4-78

แนวคิดในการออกแบบ แนวความคิดในการวางผัง แนวความคิดดานรูปแบบสถาปตยกรรม แนวคิดดานโปรแกรมการออกแบบ ผลงานการออกแบบ

06 หนาที่

00 00 00 00 00

SUMMARY 6.1 บทสรุป 6.2 ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

หนาที่

00 00


LIST OF ILLUSTRATION

รูปภาพที่ 2. 6 เตาเผาระบบ Mass burn

หนาที่ (ตอ) 2-15

รูปภาพที่ 2. 7 ระบบเตาเผาแบบแกสซิฟเคชั่น

2-15

รูปภาพที่ 2. 8 เตาเผาแบบไพโรไลซิส

2-15

รูปภาพที่ 2. 9 ระบบฝงกลบอยางถูกสุขาภิบาล

2-15

รูปภาพที่ 2. 10 เทคโนโลยีการจัดการขยะแบบครบวงจร

2-15

รูปภาพที่ 1. 1 ประทวงการขยายตัวโรงงาน จ.ตรัง

หนาที่ 1-01

รูปภาพที่ 2. 11 การรีไซเคิลผานกระบวนการออกแบบ

2-16

รูปภาพที่ 1. 2 ขยะริมหาด

1-03

รูปภาพที่ 2. 12 การรีไซเคิลผานกระบวนการวิจัยและพัฒนา

2-16

รูปภาพที่ 1. 3 RECYCLING PLASTIC WASTE

1-06

รูปภาพที่ 2. 13 การรีไซเคิลผานกระบวนการ3R

2-16

รูปภาพที่ 2. 14 หอจัดแสดง

2-19

รูปภาพที่ 2. 15 Moto show

2-19

รูปภาพที่ 2. 16 การวางผังเปนแนวยาว (ดานเดียว)

2-20

รูปภาพที่ 2. 17 การวางผังเปนแนวยาว (สองดาน)

2-20

รูปภาพที่ 2. 18 การวางผังแบบตอเนือ่ ง (สองดาน)

2-20

01

INTRODUCTION

02

THEORY&PRINCIPLE รูปภาพที่ 2. 1 ยุคเริ่มตมการปฏิวัติอตุ สาหกรรม

หนาที่ 2-09

รูปภาพที่ 2.2 จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมเทียบกับโรงงาน บําบัดของเสียในประเทศไทย

2-10

รูปภาพที่ 2. 3 โรงงานกําจัดขยะ

2-12

รูปภาพที่ 2. 19 การวางผังแบบตอเนือ่ ง (สองดาน)

2-20

รูปภาพที่ 2. 4 ผลกระทบจากอุตสาหกรรม

2-13

รูปภาพที่ 2. 20 การวางผังแบบตอเนือ่ ง (สองดาน)

2-20

รูปภาพที่ 2. 5 ปญหาขยะตกคาง

2-14

รูปภาพที่ 2. 21 การวางผังแบบตอเนือ่ ง (สองดาน)

2-20

4-78


LIST OF ILLUSTRATION

02

THEORY&PRINCIPLE รูปภาพที่ 2. 22 การจัดหองปฏิบัติการแบบ modular laboratory

หนาที่ (ตอ) 2-21

หนาที่ (ตอ) รูปภาพ 2. 32 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT 2-30 LEARNING CENTER รูปภาพ 2. 33 RISC Well-being in MAGNOLIAS

2-30

รูปภาพ 2. 34 Shenzhen East Waste-to-Energy

2-30

รูปภาพ 2. 35 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER

2-31

2-25

2-32

รูปภาพ 2. 28 บันไดหนีไฟ ภายนอก

รูปภาพ 2. 36 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER

2-27

รูปภาพ 2. 29 บันไดหนีไฟ ภายใน

รูปภาพ 2. 37 RISC Well-being in MAGNOLIAS

2-33

2-27

รูปภาพ 2. 30 ที่วางโดยรอบอาคาร

รูปภาพ 2. 38 RISC Well-being in MAGNOLIAS

2-34

2-28

รูปภาพ 2. 31 ระยะรนอาคาร

2-35

2-28

รูปภาพ 2. 39 Shenzhen East Waste-to-Energy รูปภาพ 2. 40 Shenzhen East Waste-to-Energy

รูปภาพที่ 2. 23 การจัดหองปฏิบัติการแบบ open laboratory

2-21

รูปภาพ 2. 24 ออฟฟศรูปแบบใหมที่ทันสมัย

2-22

รูปภาพ 2. 25 Smart City

2-23

รูปภาพ 2. 26 Smart City

2-23

รูปภาพ 2. 27 ผังสีที่ดิน จ.ระยอง

4-78

2-36


LIST OF ILLUSTRATION

03

SITE ANALYSIS รูปภาพที่ 3. 1 แผนที่แสดงอาณาเขตการปกครอง

4-78

หนาที่ 3-42

04

PROGAM รูปภาพที่ 4. 1

หนาที่ 00


LIST OF ILLUSTRATION

05

CONCEPT AND DESIGN

รูปภาพที่ 5. 1

4-78

หนาที่ 00

06

SUMMARY รูปภาพที่ 6. 1

หนาที่ 00


LIST OF TABLES

01

03

INTRODUCTION

-

หนาที่ -

THEORY&PRINCIPLE 2-09

ตารางที่ 2. 2 ปริมาณขยะจากอุสาหกรรม

2-11

ตารางที่ 2. 3 ชองทางเดินในอาคาร

2-26

ตารางที่ 2. 4 ระยะดิ่งในอาคาร

2-26

ตารางที่ 2.5 เปรียบเทียบ CAST STUDY

2-37

4-78

-

PROGAM

2551-2565 (15 ป)

หนาที่ -

04

02

ตารางที่ 2. 1 ปริมาณจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ.

SITE ANALYSIS

ตารางที่ 4.1 พื้นที่ใชสอยของโครงการ

4-71 – 4-75


LIST OF TABLES

05

-

CONCEPT AND DESIGN

4-78

หนาที่ -

06

SUMMARY -

หนาที่ -


บทที่ 1 ความเปนมาของโครงการ

1.1 ความเปนมาของโครงการ

ในป พ.ศ. 2500 ประเทศไทยไดเริ่มมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมเปลื่ยน จากสถานประกอบการในครอบครัวเปนอุตสาหกรรมในการผลิตสินคาเพื่อ สงออกทั้งในประเทศและตางประเทศ โรงงานอุ ตสาหกรรมมีปริ มาณเพิ่ มขึ้ นอย างมากในช วง 20ปแ รก (พ.ศ.2500-2520) มีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นถึง 15,000 แหงทั่วประเทศ ปจจุบันมีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นถึง 150,000 แหงทั่ว ประเทศ และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมากในอนาคต

ขอเสียดานอุตสาหกรรม ซึ่งอุตสาหกรรมก็มีโทษไมนอยกวาประโยชน โดยเฉพาะในดานสิ่งแวดลอม ซึ่งไดรับผลกระทบอยางมากจากโรงงาน อุตสาหกรรม ป ญ หาจากอุ ต สาหกรรมหลั ก ๆ คื อ ป ญ หามลภาวะทางอากาศ ปญหาขยะเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม จะเห็นไดวาการพัฒนาประเทศใน ด า นอุ ต สาหกรรมล าช าเนื่ อ งจากการที่ มีอุตสาหกรรมมากขึ้ น ทํ าให สภาพแวดลอมเสื่อมเสียไป

รูปภาพที่ 1. 3 ประทวงการขยายตัวโรงงาน จ.ตรัง ที่มา http://raktrang.trangzone.com/news, (2561)

4-78

1-01


สถานการณในปจจุบัน ขยะเหลื อทิ้ ง จากอุ ส าหกรรม หรื อที่ เ รี ย กว า กากอุ ต สาหกรรม มีปริมาณมากกวา 50 ลานตัน/ป ปริมาณขยะอันตรายและขยะไมอันตรายจากโรงงาน มีการแจง ขนส ง ออกไปกํ า จั ด พบว า ประเทศไทยมี ก ากอุ ต สาหกรรมมากกว า 53 ลานตัน โดยมีขยะอันตรายปละ 3.35 ลานตัน และมีขยะไมอันตรายปละ 50.30 ลานตัน มีแนวโนมเพิ่มขึ้นโดยกากอุตสาหกรรมที่เปนอันตรายมีแนวโนม เพิ่ ม ขึ้ น ป ล ะ 4.7 แสนตั น และ 8 ล า นตั น สํ า หรั บ กากอุ ต สาหกรรมไม อันตราย

ในขณะที่จํานวนโรงงานทําหนาที่บําบัด/กําจัดกากอุตสาหกรรมมี จํ า นวนน อ ยทํ าให มี ปริ ม าณในการกํา จั ด ขยะอุ ต สาหกรรมไม เ พี ย งพอ เมื่อเทียบกับโรงงานอุตสาหกรรม ทําใหมีขยะมากมายไมไดถูกกําจัดอยาง ถูกวิธีซึ่ง ประเด็นปญหาที่ขยะเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีจํานวน มากขึ้ น และเพิ่ ม ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งในป จ จุ บั น โรงงานอุ ต สาหกรรมมี ปริมาณเพิ่มขึ้นเพื่อผลิตสินคาตามความตองการ ดั้งนั้นจึงมีแนวคิด โครงการศูนย วิจัยและพั ฒนาเทคโนโลยีการ จัดการขยะอุตสาหกรรมเพื่อตอบสนองและแกไขปญหาการลดปริมาณขยะ เพื่อนํากลับมาใชใหมใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ที่มา กรมควมคุมมลพิษ, (2561)

1-02 4-78


1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1.2.1 เพื่อออกแบบพื้นที่การวิจัยพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการขยะอุตสาหกรรม ที่จะชวยลด ปริมาณและกําจัดกากอุตสาหกรรมใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

1.2.2 เพื่อสรางและพัฒนาใหเปนศูนยกลางการใหความรูและเผยแพรในดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ จัดการขยะตอ นักวิจัย, นักพัฒนา, ผูประกอบการและ คนในชุมชน

1.3 วัตถุประสงคโครงการ

1.3.1 เพื่อวิจัยและพัฒนานวัตกรรมในการจัดการขยะเพื่อลดปริมาณ หรือเพื่อลดปริมาณขยะในอนาคต และมีนวัตกรรมในการจัดการขยะอุตสาหกรรมใหมๆ หรือนํามาใชไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

1.3.2 เพื่อถายทอดองคความรูในการจัดการขยะ และใหประชาชนไดศึกษาถึงผลกระทบ วิธีปองกันและ ผลกระทบตอสภาพแวดลอม

1.3.3 เพื่อเปนศูนยกลางการวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยี เผยแพรนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการขยะ ตอนักวิจัย นักพัฒนา ผูประกอบการ และคนในชุมชน

4-78

รูปภาพที่ 1. 4 ขยะริมหาด ที่มา https://www.thairath.co.th/content/1111960, (2561)

1-03


STUDY MAP

1.4 วิธีการและขั้นตอนการดําเนินโครงการ

ขยะ

แผนภูมิที่ 1. 1 วิธีการและขั้นตอนการดําเนินโครงการ

4-78

1-04


ATION 1.5 ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษาโครงการ 1.5.1 เพื่อใหทราบถึงความเปนมา หลักการและเหตุผลที่ทําใหเกิดโครงการศึกษาถึงแนว ทางการวิจัยตอยอดพัฒนานวัตกรรมทางดานอุตสาหกรรม 1.5.2 สงเสริมความรูค วามเขาใจในหลักการออกแบบพัฒนาการนําขยะอุตสาหกรรมไป ใชใหไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น 1.5.3 สามารถนําไปตอยอดเพื่อเปนออกแบบนวัตกรรมสิ่งประดิษฐที่กอใหเกิดประโยชน ตอภาคอุตสาหกรรมและสังคมตอไป

1-05

4-78


1-06

รูปภาพที่ 1.4-78 3 RECYCLING PLASTIC WASTE ที่มา ecoBirdy, (2561)


DESIGN THEORY

บทที่ 2

2.1 ความหมายและการจํากัดความ

2.1.1 ความหมาย ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม (กากอุตสาหกรรม) ศูนย จุดกลาง, ใจกลาง, แหลงกลาง, แหลงรวม วิจัย การสะสม , รวบรวม , คนควาขอมูล จัดการ ควบคุมงาน , ดําเนินงานใหเปนแบบแผน (ที่มา พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน, 2554)

Development Center for Industrial Waste Management Center

เปนจุดศูนยรวม , จุดสําคัญ , ตั้งใหอยูตรงกลาง Development การเปลื่ยนแปลง , พัฒนา , วัฒนาการ Waste Management การจัดการระบบขยะใหสามารถนํามาใชประโยชนไดสูงที่สุด

กากอุตสาหกรรม : สิ่งที่เหลือเมื่อคั้นหรือคัดเอาสวนดีออกไปใช ในอุตสาหกรรม

2-07

4-78


2.1.2 คําจํากัดความ ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) หมายถึง ศูนยรวมดานการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีในการจัดการกาก อุตสาหกรรมเพื่อลดปริมาณหรือใหนํามาใชใหไดประโยชนสูงสุด

2.1.3 ลักษณะโครงการ โครงการศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) เปนโครงการศูนยกลางการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีในการจัดการกับขยะ เพื่ อ ลดปริ ม าณ หรื อ นํ า มาใช อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ลดปริ ม าณขยะในอนาคต ซึ่ ง มี นวัตกรรมในการกําจัดใหมๆหรือนําขยะมาใชประโยชนมากขึ้น มีการถายทอดองคความรูใน เรื่องเทคโนโลยีการจัดการขยะใหผูประกอบการอุตสาหกรรมตางๆ ใหคนภายนอกไดศึกษา ถึงผลกระทบ วิธีปองกันรวมถึงผลกระทบตอสภาพแวดลอมตางๆ

2-08

4-78


2.2 ความเปนมา ปจจุบัน และอนาคตของเรื่องที่ศึกษา

ก า ร ป ฏิ วั ติ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ( Industrial Revolution) ห ม า ย ถึ ง การเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในดานเทคโนโลยีในการผลิตจากแรงงานคน สัตวมา เปนเครื่องจักรกล รวมทั้งเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม เริ่มตนการปฏิวัติ อุ ต สาหกรรมที่ ป ระเทศอั ง กฤษครั้ ง แรกในช ว งปลายคริ ส ต ศ ตวรรษที่ 18 ถึงชวงตนคริสตศตวรรษที่ 19 โดยใชเครื่องจักรไอน้ํา ผลิตสิ่งของในโรงงาน ทําใหไดผลผลิตจํานวนมาก มีตนทุนราคาสินคาถูกลงมีการคิดคนวิธีการและ เทคโนโลยีใหมๆ เขามาใชแทนที่การผลิตแบบหัตถกรรมตามบานเรือน

INDUSTRIAL

REVOLUTION

รูปภาพที่ 2. 2 ยุคเริ่มตมการปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/อุตสาหกรรม, (2561)

การปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มมีการแพรหลายใน ไทยเมื่อป พ.ศ. 2500 การปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศ เปนการเปลี่ยนสถานที่ประกอบการในครอบครัวมาเปน โรงงานอุตสาหกรรมที่สรางขึ้นสําหรับการผลิตสินคา เพื่อสงออกจําหนายทั้งในประเทศ และตางประเทศ โรงงาน อุตสาหกรรมก็มีปริมาณเพิ่มขึ้นอยางมากในชวง 20 ป แรก พ.ศ. 2500-2520 มีโรงงานเกิดขึ้นกวา 15,000 แหงทั่วประเทศ ปจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรมเกิดขึ้นกวา 150,000 แหงทั่วประเทศ (ตารางที่ 2.1)

ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/อุตสาหกรรม, (2561)

4-78

200,000

ตารางที่ 2. 4 ปริมาณจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2551-2565 (15 ป)

150,000 100,000 50,000 0 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 จํานวนโรงงาน

ที่มา กระทรวงอุตสาหกรรม, (2560)

2-09


ปจจุบันขยะเหลือทิ้งจากอุสาหกรรม หรือที่เรียกวากากอุตสาหกรรม มีปริมาณมากกวา 50 ลานตัน/ป ปริมาณกากอันตรายและกากไมอันตราย ที่ โ รงงาน มี ก ารแจ ง ขนส ง ออกไปกํ า จั ด พบว า ประเทศไทยมี ก ากอุ ต สาหกรรมมากกว า 53 ล า นตั น เลยที เ ดี ย ว โดยมี ก ากอั น ตราย ป ล ะ 3.35 ล า นตั น และมี ก ากไม อั น ตรายป ล ะ 50.30 ล า นตั น และมี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น โดยกากอุ ต สาหกรรมที่ เ ป น อั น ตรายมี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ปละ 4.7 แสนตัน สําหรับกากอุตสาหกรรมไมอันตราย 8 ลานตัน ปจจุบันเกิดโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินคาตามความตองการของผูบริโภค และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมากจํานวนโรงงานชวง

ในขณะที่การเติบโตของโรงงานอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นมี ปริ ม าณเพิ่ มขึ้น อย า งรวดเร็ว เมื่ อ เทีย บกั บ ปริม าณโรง บําบัดของเสีย ทําใหมีขยะมากมายไมไดถูกกําจัดอยางถูก วิธีซึ่ง

รูปภาพที่ 2.2 จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมเทียบกับโรงงานบําบัดของเสียในประเทศไทย 4-78 ที่มา กระทรวงอุตสาหกรรม, (2560)

2-10


PROBLEM

ประเด็นปญหาที่ขยะเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่มีจํานวนมากขึ้นและเพิ่มขึ้นอยางมากในปจจุบัน เมื่อเทียบกับปริมาณโรงบําบัดของเสีย ทําใหไมเพียงพอตอการจัดการขยะอุตสาหกรรมทําใหเกิดปญหาขยะตกคางที่ไมไดถูกกําจัดอยางถูกวิธี ซึ่งปญหาหลักของโรงงานอุตสาหกรรม เปนปญหาสิ่งแวดลอมซึ่งจะเห็นวาการที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากๆก็ไมใชวิธีที่ดีในการพัฒนาประเทศเพราะวาการที่มีโรงงานอุตสาหกรรมมากทํา ใหสภาพแวดลอมเสื่อมเสียไป ตารางที่ 2. 5 ปริมาณขยะจากอุสาหกรรม

ที่มา กรมควบคุมมลพิษ, (2561)

จากตารางที่ 2.2 ปริมาณขยะอุตสาหกรรมจะเห็นไดวา มีปริมาณขยะอุตสาหกรรมที่ไมไดถูกกําจัดอยางถูกวิธี มากถึง 31.40 ลานตัน/ป

2-11 4-78


รูปภาพที่ 2. 3 โรงงานกําจัดขยะ

ที่มา https://www.matichon.co.th/local/crime/news_965997, (2561)

จากปญหาจึงควรมีการจัดตั้ง ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม ( กากอุตสาหกรรม ) เพื่อเปนศูนยกลางภาคตะวันออกในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีในการจัดการกับขยะเพื่อลดปริมาณ หรือนํามาใชอยางมี ประสิทธิภาพเพื่อลดปริมาณขยะในอนาคตและมีนวัตกรรมในการกําจัดใหมๆหรือนําขยะมาใชประโยชนมากขึ้น และถายทอดองคความรู ในเรื่องเทคโนโลยีการจัดการขยะใหผูประกอบการอุตสาหกรรมตางๆ

2-12 4-78


INDUSTRIAL PROBLEMS

2.2.1 ผลกระทบกากอุตสาหกรรม - ผลกระทบทางอากาศ ทํ า ให เ กิ ด มลพิ ษ ทางอากาศและชั้ น บรรยากาศและอาจส ง ผลกระทบต อ สุ ข ภาพของ ประชาชนในชุมชน - ผลกระทบทิ้งกากอุตสาหกรรมลงดิน ทิ้งกากอุตสาหกรรมลงดินทําใหพื้นดินปนเปอนดวยสารอันตราย กอใหเกิดอันตราย ไมสามารถใชประโยชนจากพื้นที่บริเวณดังกลาว - ผลกระทบตอผูคนในชุมชน กระทบตอสุขภาพสําหรับผูใชแหลงน้ํา โดยการกิน หรือหากนํามาอุปโภค และบริโภคหรือ หากสูดดมเอาไอระเหยเขาสูรางกายก็อาจทาใหเกิดโรคติดตอและเจ็บปวดได - ผลกระทบทิ้งกากอุตสาหกรรมลงแหลงน้ํา ทิ้งกากอุตสาหกรรมลงน้ํายังใหเกิดการรั่วไหลของสารอันตรายสูแหลงน้ําซึ่งจะเปน อันตรายตอผูใชน้ําได ที่มา http://local.environnet.in.th, (2561)

รูปภาพที่ 2. 4 ผลกระทบจากอุตสาหกรรม ที่มา http://local.environnet.in.th, (2561)

2-13

4-78


IMPACT NATURE

2.2.2 ประเภทของขยะ

ประเภทขยะแบงตามสากลหลักๆ ได 4 ประเภท - ขยะอินทรีย คือขยะยอยสลายงาย มีความชื้น มีกลิ่น และเนาเสียไดงาย สวนใหญจึงมัก เปนขยะที่พบไดในหองครัว เชน เศษเหลืออาหาร เปลือกผลไม - ขยะรีไซเคิล คือขยะที่สามารถนํากลับมาใชหรือแปรรูปใหมได ไมวาจะเปน แกว ขวดน้ํา กระดาษ กระปอง - ขยะอันตราย คือขยะที่มีสารเคมีหรือสารอันตรายปนเปอน ซึ่งสามารถกออันตราย ใหกับคนและสิ่งแวดลอมได เชน หลอดไฟฟลูออเรสเซนส ถานไฟ และแบตเตอรี่ - ขยะทั่วไป คือขยะอื่นๆ ที่ไมเนาเสีย ไมอันตราย แตก็นํามารีไซเคิลใชใหมไมได เชน ซอง ขนม หรือกิ่งไม

ที่มา https://www.dek-d.com/board, (2561

2-14 4-78

รูปภาพที่ 2. 5 ปญหาขยะตกคาง ที่มา https://news.thaipbs.or.th/content (2561)


2.2.3ลักษณะและวิธีการจัดการขยะ (1) ระบบการเผาในเตาเผา (1.1) เตาเผาระบบ Mass burn

(1.2) ระบบเตาเผาแบบแกสซิฟเคชั่น (Gasification Incinerator)

(1.3) เตาเผาแบบไพโรไลซิส (Pyrolysis)

รูปภาพที่ 2. 7 ระบบเตาเผาแบบแกสซิฟเคชั่น

รูปภาพที่ 2. 8 เตาเผาแบบไพโรไลซิส

เป น ระบบการเผาที่ ใ ช อ อกซิ เ จนต่ํ า กว า ค า ตาม ทฤษฎี ทําใหเกิดการเผาไหมไมสมบูรณ โดยทําใหได น้ํามัน หรืออาจจะนํากาซที่เกิดขึ้นไปใชทําพลังงาน ความรอนไปใชประโยชน เชน ผลิตไฟฟาจากไอน้ํา (SteamTurbine Generator)

เป น การเปลี่ ย นของเสี ย ประเภทพลาสติ ก ให เ ป น น้ํ า มั น โดยวิ ธี ก ารเผาใน เตาเผาแบบไพโรไลซิ ส (Pyrolysis)และจะไดผลิตภัณฑเปนเชื้อเพลิงเหลว ที่ สามารถ นํ า ไปผ า นกระบวนการกลั่ น เพื่ อ ใช เ ป น เชื้อเพลิงเหลวในเชิงพาณิชยได

รูปภาพที่ 2. 6 เตาเผาระบบ Mass burn

เปนการเผาขยะในเตาที่ไดมีการออกแบบเพื่อใชกับ ขยะที่มีความชื้นสูงขี้เถาที่เหลือจากการเผาไหมมี ปริมาณรอยละ 10%ของขยะที่เขาเตา

(2) ระบบฝงกลบอยางถูกสุขาภิบาล

(3) เทคโนโลยีการจัดการขยะแบบครบวงจร (Integrated Solid Waste Management)

รูปภาพที่ 2. 9 ระบบฝงกลบอยางถูกสุขาภิบาล

เปนการกําจัดขยะมูลฝอยโดยการนําไปฝงกลบในพื้นที่ มีการจัดเตรียมไว ซึ่งเปนพื้นที่ที่ไดรับการคัดเลือกตาม หลั ก วิ ช าการ โดยออกแบบและก อ สร า งให มี ก ารวาง มาตรการ ปองกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

4-78

รูปภาพที่ 2. 10 เทคโนโลยีการจัดการขยะแบบครบวงจร

เทคโนโลยีการบําบัดขยะดวยวิธีการแบบเชิงกล-ชีวภาพ (MBT, Mechanical and Biological Waste Treatment) ซึ่ง เป นเทคโนโลยี ที่ ปรั บเสถี ย รภาพ ของขยะไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยขบวนการทางชีววิทยา ที่มา http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_garbage.html, (2561)

2-15


WASTE MANAGEMENT

(4) การจัดการขยะทางกายภาพ

การจัดการขยะทางกายภาพ คือ การกําจัดขยะรูปแบบใหมตองการเปลี่ยนวิธีคิดของผูคนที่มีตอ เรื่องการกําจัดขยะ เริ่มตั้งแต การเปลี่ยน วิธีคิดตอโรงงานขยะที่มีแตกองขยะและเครื่องจักร โดยหันมาใชวัสดุกอสรางประเภทรีไซเคิล หรือรียูสแมททีเรียล และออกแบบผลิตภัณฑ ที่มา https://www.posttoday.com/life/life/558840, (2561)

รูปภาพที่ 2. 11 การรีไซเคิลผานกระบวนการออกแบบ

กระบวนการออกแบบ

ที่มา www.mgronline.com, (2561) ที่มา www.ihome108.com, (2561) ที่มา https://world.kapook.com, (2561) รูปภาพที่ 2. 12 การรีไซเคิลผานกระบวนการวิจัยและพัฒนา

กระบวนการวิจยั พัฒนา

ที่มา https://mgronline.com/greeninnovation, (2561)

รูปภาพที่ 2. 13 การรีไซเคิลผานกระบวนการ3R

ที่มา http://green4thai.blogspot.com, (2561)

กระบวนการรีไซเคิ้ล

Reduce เปนการปองกันใหมีขยะเกิดขึ้นนอยที่สุด

4-78

Reuse เปนการนําใชวัสดุใหคุมคาที่สุด กอนจะทิ้งไป

ที่มา http://green4thai.blogspot.com, (2561)

Recycle เปนการนําวัสดุที่ใชแลวสามารถนํา กลับมาใชใหมได

2-16


2.3 นโยบายและแผนพัฒนาที่เกี่ยวของ

- แผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574

(1) ดานความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ (Economic Wealth) เปนการสรางการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อยางตอเนื่อง โดยเนนการเพิ่ม ผลผลิตและประสิทธิภาพในการ (2) ดานการใชศักยภาพของทุนมนุษย (Human Wisdom) โดยการใชภูมิปญญาเพื่อสรางใหเกิด นวัตกรรม (Innovation) และมูลคาเพิ่ม (Value Creation) เปนการสรางการเติบโตจากฐานของภูมิปญญา ความรู นวัตกรรม ในการสรางมูลคาเพิ่มเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (3) ดานสังคมการเปนอยูที่ดี (Social Well-Being) เนนการพัฒนาและสรางเครือขายการผลิต เชื่อมโยงกับ ชุมชน วิสาหกิจเพื่อลด ชองวางและความเหลื่อมลาที่เกิดขึ้น รวมถึงการสรางความรับผิดชอบตอสังคม (4) ดานสิ่งแวดลอม (Environmental Wellness) การสงเสริมใหเกิดความตระหนักในการอนุรักษ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปรับปรุงกฎ ระเบียบใหเอื้อตอการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และการบังคับใช กฎหมายเพื่อกํากับภาคการผลิต มิใหสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

ที่มา http://www.oie.go.th, (2555)

- แผนพัฒนาจังหวัดระยอง พ.ศ. 2561–2564

เรื่องที่ 3 พัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรม ระยองมีแนวโนมการเกิดอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น เนื่องจากนโยบายของรัฐบาล สนับสนุนการ ลงทุนผูประกอบการในประเทศตอเนื่องจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก และยังเปนพื้นที่ๆ มีศักยภาพพัฒนาเปนศูนยกลาง การจัดการกากอุตสาหกรรม

ที่มา www.rayong-pao.go.th, (2561)

2-17

4-78


- แผนการจัดการกากอุตสาหกรรมป พ.ศ. 2558-2562 โดยกระทรวงฯ รวมกับองคการพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม และพลังงานใหม (NEDO) กระทรวงเศรษฐกิจ การคา และอุตสาหกรรม แหงประเทศญี่ปุน (METI) (1) ยุทธศาสตรที่ 1 การควบคุม /กํากับดูแล มีเปาหมายเพื่อใหความชวยเหลือผูประกอบการที่ประสงคจะปฏิบัติตามกฎหมายอยาง ถู ก ต อ งและลงโทษผู ก ระทํ า ความผิ ด อย า งเป น ขั้ น ตอน เพื่ อ ให มี โ รงงานที่ มี ก ารจั ด การกากอุ ต สาหกรรมอย า งถู ก ต อ งเพิ่ ม ขึ้ น (2) ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความรวมมือและแรงจูงใจกับผูประกอบการและประชาชน มีเปาหมายเพื่อใหมีความตระหนัก ความรูและความ เขาใจ เกี่ยวกับการจัดการกากอุตสาหกรรม และมีระบบฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพ (3) ยุทธศาสตรที่ 3 การสรางเครือขายกับหนวยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและตางประเทศ มีเปาหมายเพื่อสนับสนุนการ ปฏิ บั ติ ง านของกระทรวงอุ ต สาหกรรมทั้ ง ด า นวิ ช าการเทคโนโลยี การจั ด หาพื้ น ที่ ร องรั บ การจั ด การกากอุ ต สาหกรรมในอนาคต (4) ยุทธศาสตรที่ 4 การแกไข/ปรับปรุงกฎหมาย มีเปาหมายเพื่อเพิ่มบทลงโทษใหสามารถติดตามผูกระทําผิดเกี่ยวกับกากอุตสาหกรรม (เพิ่มโทษจําคุก) แกไขกฎระเบียบที่เปน

ที่มา https://www.ryt9.com/s/cabt/2168576, (2558)

2-18

4-78


2.4.1 การออกแบบนิทรรศการ หลักเบื้องตนในการออกแบบและวางผังพื้นที่การจัดนิทรรศการจะเปนลักษณะในรม กลางแจง หรือกึ่งในรมกึ่ง กลางแจง สิง่ ตองพิจารณาอันดับแรก กอนที่จะทําการวางผัง ก็คือ การศึกษา สภาพเดิมของพื้นที่ ที่จะทําการออกตกแตงจัดนิทรรศการนั้น วาสภาพเดิม เปนอยางไร โดยศึกษาในแนวทาง ตอไปนี้

(1) ขนาดความกวาง ความยาว ความสูง และลักษณะรูปรางของพื้นที่

(2) วัสดุของตัวอาคาร พื้น ผนัง เพดาน โครงสราง

(3) ตําแหนงของพื้นที่จัดแสดง ทางเขา ทางออก ผนังดานเปด ผนังดานปด

(4) ระบบสาธารณูปโภค เชน ระบบไฟฟา ประปา โทรศัพท และสิ่งอํานวย ความสะดวกอื่นๆ เชน หองน้ํา ที่จอดรถ เปนตน

DESIGN

(5) ถาเปนสถานที่กลางแจง ตองสํารวจสภาพพื้นที่และสิ่งแวดลอมประกอบ

แนวทางการวางผัง การวางผัง (Plan) หมายถึงการจัดพื้นที่ใหไดประโยชนใชสอยตามวัตถุประสงคของการ จัดนิทรรศการ เปนการวางแผนใชประโยชนของพื้นที่ใหไดประโยชนสูงสุด ทั้งนี้เพราะพื้นที่ใน การจัดนิทรรศการโดยทั่วไปมักจะมีพื้นที่ไมมากนัก โดยเฉพาะหากเปนนิทรรศการที่มีหลาย หนวยงานรวมกันจัดและมีการจัดสรรพื้นที่ใหอยางจํากัด อีกทั้งการไดมาซึ่งพื้นที่นั้นจะตองมี คาใชจายในการเชาพื้นที่ซึ่งมีราคาคอนขางสูง โดยมีการคิดเปนตารางเมตรทีเดียว ฉะนั้น การออกแบบวางผังจึงเปนสิ่งแรกที่ควรกระทํากอนการออกแบบดานอื่น เพื่อที่จะไดใชเนื้อที่ ทุกตารางนิ้วใหเปนประโยชนมากที่สุด ที่มา http://watkadarin.com/exhibition/Hall, (2561)

4-78

รูปภาพที่ 2. 14 หอจัดแสดง ที่มา http://watkadarin.com/exhibition/Hall, (2561)

รูปภาพที่ 2. 15 Moto show ที่มา http://watkadarin.com/exhibition/Hall, (2561)

2-19


ตัวอยางแนวทางการกําหนดทางสัญจรรอง คือ เสนทางที่ตอเนื่องจาก ทางสัญจรหลัก หรือการเดินเขาไปชมสิ่งที่แสดงอยาง เจาะจง มีหลักการก็คือ ตองมีความสัมพันธกันกับครุภัณฑที่จัดแสดง แบบที่ 1. การวางผังเปนแนวยาว (ดานเดียว) เหมาะ สําหรับ พื้นที่แสดงงานที่แคบ ยาว และเดินชมไดดานเดียว

แบบที่ 4. การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน) เหมือนกับ แบบที่ 3. แตตางตรงทิศทางการติดตั้งบอรด

รูปภาพที่ 2. 16 การวางผังเปนแนวยาว (ดาน

แบบที่ 2. การวางผังเปนแนวยาว (สองดาน) เหมาะ สําหรับ พื้นที่แสดงงานที่แคบ ยาว เชนเดียวกับแบบที่ 1 แตกวางกวา สามารถเดินชมไดทั้ง 2 ดาน

รูปภาพที่ 2. 19 การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน)

แบบที่ 5. การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน) เชนเดียวกับ การจัดแบบที่ 3 และ 4 แตการจัดลักษณะนี้สามารถกําหนด ทิศทางของการชมได

รูปภาพที่ 2. 17 การวางผังเปนแนวยาว (สองดาน)

แบบที่ 3. การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน) เหมาะสําหรับ พื้นที่แสดงงานที่กวาง และสามารถกําหนดการชมไดอยาง ตอเนื่อง แตไมสามารถกําหนดทิศทางของการชมได

รูปภาพที่ 2. 20 การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน)

แบบที่ 6. การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน) โดยบอรด ขนาดใหญเชนเดียวกับการจัดแบบที่ 4 แตมีขนาดใหญและ สามารถกําหนดทิศทางของการชมได

EXHIBITION

การจัดผังบริเวณนิทรรศการ

รูปภาพที่ 2. 18 การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน)

4-78

รูปภาพที่ 2. 21 การวางผังแบบตอเนื่อง (สองดาน) ที่มา http://watkadarin.com/exhibition/Hall, (2561)

2-20


LABORATORY

2.4.2 หลักการออกแบบพืน้ ที่ปฏิบัตกิ าร (1) การออกแบบและจัดผังหองปฏิบัติการ โดยทั่วไปหองปฏิบัติการมักแบงพื้นที่การใชงานออกเปน 3 สวน

(1.1) พื้นที่สําหรับการปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตร(พื้นที่ทําการทดลอง)

(1.2) พื้นที่สําหรับปฏิบัติงานดานเอกสารและบริหาร (ธุรการ โตะ คอมพิวเตอรบันทึกขอมูล บริเวณจัดเก็บเอกสาร)

(1.3) พื้นที่สนับสนุนหองปฏิบัติการ (หองเก็บวัสดุอุปกรณ หองเย็น หองน้ํา หองลาง)

(2) การจัดรูปแบบของหองปฏิบัติการ โดยทั่วไปแบงออกเปน 2 รูปแบบ คือ (2.1) Modular laboratory design มีลักษณะแบงเปนหองยอยๆตามลักษณะและประเภทงาน โดยมี โถงทางเดินกลาง (central corridor) กั้นหองตางๆออกเปนสองฝง ฝาผนังกั้นแตละหอง ซึ่งในแต ละหองมีบริเวณพื้นที่ ปฏิบัติงาน โดยมีพื้นที่ผูปฏิบัติงานแตละคนมีพื้นที่สวนตัวของตัวเองไม รบกวนการทํางานของผูปฏิบัติงานคนอื่นๆ

จุดเดน: มีการแบงขอบเขตการทํางานที่ชัดเจน ลดมลภาวะทางเสียง ควบคุมความปลอดภัย ไดงาย จุดดอย: ไมสะดวกในการประสานงานหรือการใชเครื่องมือรวมกัน ขยายพื้นที่การทํางานได ลําบาก

(2.2) Open laboratory design เปนรูปแบบที่ไมมีการแบงเปนหองยอยๆ สวนมากจะแบง ออกเปน เขตขึ้นกับความอันตรายในการปฏิบัติงาน เชน เขตปลอดภัย และ เขตปฏิบัติการวิเคราะห เปนตน การ จัดหองปฏิบัติการในรูปแบบนี้จะทําใหรูสึกวาหองมี ขนาดใหญและมีผูรวมงานคอนขางมาก

จุดเดน: ใชเครื่องมือรวมกันไดสะดวก การขยายปรับปรุงพื้นที่ทําไดสะดวก

จุดดอย: เกิดมลภาวะทางเสียง ควบคุมความปลอดภัยการแพรกระจายของสิ่งปนเปอนทําไดยาก

ที่มา อ.ดร.วงศวรุตม บุญญานุโกมล นางสาวจุฬาลักษณ บางเหลือ, (2561)

รูปภาพที่ 2. 22 การจัดหองปฏิบตั ิการแบบ modular laboratory ที่มา คูมือความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ, (2561)

รูปภาพที่ 2. 23 การจัดหองปฏิบตั ิการแบบ open laboratory ที่มา คูมือความปลอดภัยในหองปฏิบัติการ, (2561)

2-21 4-78


WORKFLOW

Creativity Workflow “กระบวนการทํางานยุคใหม” คือภาวะการทํางานที่กอใหเกิดความคิดสรางสรรค มีทั้งหมด 5 รูปแบบภาวะ (1) Stimulate - ภาวะที่ตองการคนหาไอเดียใหมๆ หรือภาวะที่ตองการกระตุนความคิดเพื่อหาวิธีแกปญหา หรือ หาทางที่ดีที่สุดในการตอบโจทยงาน เปนภาวะที่กระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค เริ่มตนไดตั้งแตพื้นที่ทางเขา มีมุมหนังสืออานเลนหรือจัดใหมีพื้นที่นั่งคุยกัน, จัดมุมที่สามารถมองเห็นวิวหรือ ความรมรื่นของตนไม (2) Focus - ภาวะการทํางานที่มีการครุนคิด ไตรตรอง จดจอมุงความสนใจกับงาน หรือการแกไขปญหาตางๆโดยเฉพาะ เปนภาวะซึ่งปราศจากการ รบกวน หรือ การขัดจังหวะนั่นเอง สามารถออกแบบตั้งแตหองปดโดยเฉพาะ, หองโทรศัพท หรือแมแตเพียงมีที่กั้นสายตาก็สามารถจดจองานตรงหนาได (3) Collaboration - ภาวะการทํางานรวมกันกับผูอื่น หรือ การทํางานเปนทีม เพื่อสรางสรรคงานใหสําเร็จ บรรลุเปาหมายงานรวมกัน มีทั้งรูปแบบ หองประชุมปด หรือการจัดมุมหนึ่งในพื้นที่ทํางาน เพื่อเกิดรูปแบบกิจกรรมตั้งแตการนําเสนอ, เปดโอกาสใหขีดเขียน (4) Play - ภาวะที่เอื้อใหเกิดการเลน การทดลองอยางสรางสรรค เปนรูปแบบการผอนคลายจากงาน และ เปนภาวะที่สรางความสัมพันธที่ดีกับเพื่อน รวมงาน เริ่มไดตั้งแตพื้นที่โลงใหทํากิจกรรมรวมกัน จนไปถึงพื้นที่ออกกําลังกาย หรืออุปกรณเกมโดยเฉพาะ (5) Learn - ภาวะที่เกิดการเรียนรู การตกผลึกทางความคิดหลังจากการปฏิบัติงาน หรือ ภาวะที่เกิดการถายทอดความรูจากผูมีประสบการณ ไดแก หองสมุด ที่รวบรวมหนังสือหรือเอกสารงาน จนไปถึงหองสัมมนาสําหรับพนักงาน เปนตน หากองคกรใดสามารถออกแบบพื้นที่ที่ตอบสนองรูปแบบการทํางานทั้ง 5 รูปแบบนี้แลว ทําใหมีความคิดสรางสรรคใหมๆ เพราะการทํางานที่ดีนั้น ไมเพียงแคมีการกําหนดเปาหมาย แตตองใสใจถึงบุคลากรการทํางานดวย

ที่มา Wurkon และ “Baramizi Lab, (2561)

CREATIVITY

2.4.3 การออกแบบออฟฟศยุคใหม

รูปภาพ 2. 24 ออฟฟศรูปแบบใหมที่ทันสมัย

ที่มา http://www.amarintv.com/lifestyle-update, (2561)

4-78

2-22


SMART CITY

รูปภาพ 2. 25 Smart City ที่มา www.truesmart, (2561)

2.4.4 หลักการSmart City

Smart City คื อ เมื อ งที่ ไ ด รั บ การออกแบบโดยให ค วามสํ า คั ญ ในองค ป ระกอบหลั ง คื อ การพัฒนารูปแบบโครงสรางของเมืองที่สอดรับกับแนวคิดของเมืองอัจฉริยะ การสงเสริมการอนุรักษ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง การส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งานทดแทน ประกอบการนํ า เทคโนโลยี สารสนเทศและขอมูลมาชวยในการบริหารจัดการทรัพยากรของเมืองเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด อาทิ ระบบบริ ห ารจั ด การเครื อ ข า ยพลั ง งานอั จ ฉริ ย ะ ที่ เ รี ย กว า Smart Grid ระบบมิ เ ตอร อั ต โนมั ติ ระบบควบคุมการจราจรอัจฉริยะ ระบบควบคุมอาคารอัจฉริยะ และระบบตรวจวัดมลภาวะ

การพัฒนาเมืองธรรมดาใหกลายเปน Smart City สามารถทําไดอยางไร อะไรคือองคประกอบ สําคัญ คือการเทคโนโลยีมารวมแกปญหา แนวคิดในการนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเมืองใหมีความอัจฉริยะนั้น จะตองมีความรวมมือจากทุก เพิ่มอทีง่มาใหมีความเปนอัจฉริยะมาก ภาคสวน ทั้งภาคธุรกิจ รัฐบาล รวมถึงประชาชนในพื ้นที่รวมกันพัฒนาเมื ขึ้นจนประสบความสําเร็จในการเปนตนแบบใหกับประเทศอื่นๆ ที่มา https://www.applicadthai.com/editor-talks/smart-city, (2561)

รูปภาพ 2. 26 Smart City ที่มา www.truesmart, (2561)

2-23 4-78

เพิ่มหลักการออกแบบwell


2-24 Â

4-78


2.5 กฎหมายที่กี่ยวของ 2.5.1การใชประโยชนที่ดิน

รูปภาพ 2. 27 ผังสีที่ดิน จ.ระยอง ที่มา http://pvnweb.dpt.go.th, (2560)

เขตที่ดินสีมวง ไดกําหนดไวใหเปนที่ดิน ประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา

การใช ประโยชน ที่ดินประเภทอุ ตสาหกรรมและคลั งสินค า ให ใ ช ประโยชน ที่ดินเพื่ ออุตสาหกรรมคลั งสินคา สถาบั นราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเปนสวนใหญ สําหรับการใชประโยชนที่ดินเพื่อกิจการอื่น ใหใชไดไมเกินรอยละ 20 ของที่ดิน ประเภทนี้ในแตละบริเวณ

ขอหามการใชประโยชน

LAWS

(1) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายวาดวยสุสานและฌาปนสถาน (2) สถานบริการตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ (3) สถานสงเคราะหหรือรับเลี้ยงเด็ก (4) สถานสงเคราะหหรือรับเลี้ยงคนชราการใชประโยชนที่ดินริมฝงลําคลองหรือแหลงน้ําสาธารณะ ใหมีที่วางตามแนวขนานริม ฝงตามหรือแหลงน้ําสาธารณะไมนอยกวา 6 เมตร เวนแตเปนการกอสรางเพือ่ การคมนาคมทางน้ําหรือการสาธารณูปโภค

4-78

2-25


2.5.2 กฎหมายควบคุมอาคาร

กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)

อาคารขนาดใหญพิเศษ หมายความวา อาคารที่กอสรางขึ้นเพื่อใชอาคารหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคารเปนที่อยู อาศัยหรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภทโดยมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันตั้งแต 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป

(1) พื้นทีภายในอาคาร - ขอ 21 ชองทางเดินในอาคาร ตองมีความกวางไมนอยกวาตามทีกําหนดไวดังตอไปนี้

ตารางที่ 2. 6 ชองทางเดินในอาคาร ที่มา asa.or.th, (2561)

- ขอ 22 หองหรือสวนของอาคารทีใชในการทํากิจกรรมตาง ๆ ตองมีระยะดิงไมนอยกวาตามทีกําหนดไวดังตอไปนี้

ตารางที่ 2. 4 ระยะดิ่งในอาคาร ที่มา asa.or.th, (2561)

2-26

4-78


(2) บันไดของอาคาร

- ขอ 24 บันไดของอาคารอยูอาศัยรวม หอพักตามกฎหมายวาดวยหอพัก สํานักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย โรงงาน และอาคารพิเศษสําหรับที่ ใชกับชันทีมีพื้นทีอาคารชันเหนือขึ้นไปรวมกันไมเกิน 300 ตารางเมตร ตองมีความกวางสุทธิ ไมนอยกวา 1.20 เมตร แตสําหรับบันไดของอาคารดังกลาวทีใชกับชันทีมีพื้นทีอาคารชันเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตาราง เมตร ตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 1.50 เมตร ถาความกวางสุทธิของบันไดนอยกวา 1.50 เมตร ตองมีบันไดอยาง นอยสองบันได และแตละบันไดตองมีความกวางสุทธิไมนอยกวา 1.20 เมตร

- ขอ 25 บันไดตามขอ 24 จะตองมีระยะหางไมเกิน 40 เมตร จากจุดทีไกลสุดบนพื้นชั้นนั้น - ขอ 26 บันไดตามขอ 23 และ ขอ 24 ทีเปนแนวโคงเกิน 90 องศา จะไมมีชานพักบันไดก็ได แตตองมีความกวาง เฉลี่ยของ ลูกนอนไมนอยกวา 22 เซนติเมตร สําหรับบันไดตามขอ 23 และไมนอยกวา 25 เซนติเมตร สําหรับบันไดตามขอ 24

รูปภาพ 2. 28 บันไดหนีไฟ ภายนอก ที่มา www.http://www.scgbuildingmaterials.com, (2557)

รูปภาพ 2. 29 บันไดหนีไฟ ภายใน ที่มา www.http://www.scgbuildingmaterials.com, (2557)

2-27

4-78


(3) แนวอาคารและระยะตาง ๆ ของอาคาร

- ขอ 41 อาคารทีกอสรางหรือดัดแปลงใกลถนนสาธารณะทีมีความกวางนอยกวา 6 เมตร ใหรนแนวอาคารหางจาก กึงกลางถนน สาธารณะอยางนอย 3 เมตร อาคารทีสูงเกินสองชันหรือเกิน 8 เมตร หองแถว ตึกแถว บานแถว อาคารพาณิชย โรงงาน อาคาร สาธารณะ ปาย หรือสิงทีสรางขึ้นสําหรับติดหรือตังปาย หรือคลังสินคา ทีกอสรางหรือดัดแปลงใกลถนนสาธารณะ

- ถาถนนสาธารณะนั้นมีความกวางนอยกวา 10 เมตร ใหรนแนวอาคารหางจากกึงกลางถนนสาธารณะ อยางนอย 6 เมตร

- ถาถนนสาธารณะนั้นมีความกวางตังแต 10 เมตรขึ้นไป แตไมเกิน 20 เมตร ใหรนแนวอาคารหาง จากเขตถนนสาธารณะอยางนอย 1 ใน 10 ของความกวางของถนนสาธารณะ

- ถาถนนสาธารณะนั้นมีความกวางเกิน 20 เมตรขึ้นไป ใหรนแนวอาคารหางจากเขตถนนสาธารณะ อยางนอย 2 เมตร - ขอ 44 ความสูงของอาคารไมวาจากจุดหนึ่งจุดใด ตองไมเกินสองเทาของระยะราบ วัดจากจุดนั้นไปตังฉากกับ แนวเขตดานตรงขาม ของถนนสาธารณะทีอยูใกลอาคารนั้นทีสุด ความสูงของอาคารใหวัดแนวดิงจากระดับถนนหรือระดับพื้นดินทีกอสรางขึ้นไปถึงสวนของ อาคารทีสูงทีสุด สําหรับ อาคารทรงจั่วหรือปนหยาใหวัดถึงยอดผนังของชันสูงสุด

รูปภาพ 2. 30 ที่วางโดยรอบอาคาร ที่มา http://www.bloggang.com, (2554)

4-78

รูปภาพ 2. 31 ระยะรนอาคาร ที่มา www.http://www.scgbuildingmaterials.com, (2557)

2-28


2-29

4-78


1 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER

รูปภาพ 2. 32 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER ที่มา http://cargocollective.com/stu80-AR/Center-1, (2561)

2

RISC Well-being in MAGNOLIAS

รูปภาพ 2. 33 RISC Well-being in MAGNOLIAS ที่มา www.facebook.com/riscwellbeing, (2561)

3 Shenzhen East Waste-to-Energy

4-78

รูปภาพ 2. 34 Shenzhen East Waste-to-Energy ที่มา www.archdaily.com, (2561)

2-30


BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER รูปภาพ 2. 35 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER ที่มา http://cargocollective.com/stu80-AR/Center-1, (2561)

ศูนยการเรียนรูการจัดการมูลฝอยกรุงเทพมหานคร โปรแกรมเนนย้ําถึง 3 โครงการหลัก ไดแก 1. พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการการจัดการและการเรียนรูการสนับสนุนและสถานที่รีไซเคิล 2. ผูเยี่ยมชมจะไดเรียนรูเกี่ยวกับสภาพแวดลอมของกรุงเทพมหานครการจัดการของเสียการพัฒนาที่ ยั่งยืนในอนาคต 3. ศูนยรีไซเคิลของศูนยฯ มีหนาที่จัดการขยะจากชุมชน

ที่มา http://cargocollective.com/stu80-AR/Center-1, (2561)

2-31

4-78


4-78

รูปภาพ 2. 36 BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER ที่มา http://cargocollective.com/stu80-AR/Center-1, (2561)

2-32


RISC Well-being

รูปภาพ 2. 37 RISC Well-being in MAGNOLIAS ที่มา www.facebook.com/riscwellbeing, (2561)

ศูนยกลางพัฒนานวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนเต็มรูปแบบแหงแรกของประเทศไทย ภายใตการดูแลของ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเมนต คอรปอเรชั่น จํากัด มุงเนนการคิดคนนวัตกรรมดานที่อยูอาศัย ใหมีความยั่งยืน เพื่อยกระดับวงการอสังหาริมทรัพย ใหเนนการพัฒนาโครงการที่เปนมิตรตอสังคมและ สิ่งแวดลอม และเปนการยกระดับคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยอยางยั่งยืน รวมทั้ง RISCยังเปดพื้นที่ใหคน ทั่วไปไดเขาไปเรียนรูวัสดุและการออกแบบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอีกดวย

ที่มา

www.facebook.com/riscwellbeing, (2561)

2-33

4-78


รูปภาพ 2. 38 RISC Well-being in MAGNOLIAS ที่มา www.facebook.com/riscwellbeing, (2561)

2-34

4-78


Shenzhen East

Waste To Energy

รูปภาพ 2. 39 Shenzhen East Waste-to-Energy ที่มา www.archdaily.com, (2561)

สถาปนิก Schmidt Hammer, Lassen, Gottlieb Paludan สถานที่ตั้ง เซินเจิ้น, Guangdong, China Client Area 112,645 sqm Project Year 2020 ผูเขาชมสาธารณะไดรับเชิญเขาไปในโรงงานผานสวนภูมิทัศนผานทางสะพานทางเขาที่เพิ่มขึ้นระหวาง กองกับล็อบบี้ทางเขาและศูนยผูเยี่ยมชมที่สามารถมองเห็นเครื่องจักรกลโรงงาน เสนทางวงกลม ภายในและทางเดินวงกลมลอมรอบโรงงานอธิบายแตละขั้นตอนกอนที่จะนําทางไปสูทางเดินสาธารณะ แบบพาโนรามาระยะทาง 1.5 กิโลเมตรบนหลังคาซึ่งสามารถมองเห็นภูมิทัศนโดยรอบและเมืองเซินเจิ้น

ที่มา www.archdaily.com, (2561)

4-78

2-35


พื้นที่การเรียนรู

สํานักงาน

แนวคิดการออกแบบและอื่นๆ

4-78

รูปภาพ 2. 40 Shenzhen East Waste-to-Energy ที่มา www.archdaily.com, (2561)

2-36


ตารางที่ 2.5 เปรียบเทียบ CAST STUDY

ตารางเปรียบเทียบ

ชื่ออาคาร

CAST STUDY

BANGKOKWASTE WASTE MANAGEMENT LEARNING CENTER

รูปอาคาร

โครงสราง ขนาดพืน้ ที่โครงการ

คอนกรีตเสริมเหล็ก และ โครงสรางเหล็ก 20,000 ตร.ม.

แบบสถาปตยกรรม

องคประกอบ

การนํามาประยุกตใช

4-78

- พื้นที่เรียนรู 60 % - พื้นที่สํานักงาน 10 % - พื้นที่การจัดการขยะ 30 % ดึงในสวนการออกแบบและการจัดการทางเดินชมเพื่อสงเสริมการ เรียนรูหองปฏิบัติการตางๆ ในสวนการใหความรู

2-37


SHENZHEN EAST WASTE-TO-ENERGY

คอนกรีตเสริมเหล็ก

คอนกรีตเสริมเหล็ก และ โครงสรางเหล็ก

2,000 ตร.ม.

112,645 ตร.ม.

- พื้นที่สํานักงานและวิจัย 30 % - Co Working 20 % - พื้นที่จัดแสดงการเรียนรู 50 %

RISC WELL-BEING

4-78

ดึงสวนของแนวคิดการออกแบบและเทคโนโลยีตางๆ ที่นํามาใชในโครงการ

- หองงานระบบการจัดการขยะ 40 % - พื้นที่สํานักงาน 10 % - พื้นที่การจัดแสดงการเรียนรู 50 % สวนการออกแบบหองระบบและการจัดการกับพวก หองวิจัยที่อาจจะอันตรายตางๆ

2-38


SITE ANALYSIS .

3.1 ศึกษาและวิเคราะหองคประกอบ

3.1.1 ประวัติความเปนมาของที่ตั้งโครงการ

จังหวัดระยองมีพื้นที่ประมาณ 3,552 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 2,220,000 ไร ในภาคตะวันออกของประเทศไทย

จังหวัดระยอง เปนจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศ ไทย เปนจังหวัดที่มีรายไดประชากรตอหัวสูงที่สุดในประเทศ และ ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดอยูในอันดับ 2 ของประเทศไทย เปน เมืองทองเที่ยวที่มีแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากมาย และเปน เมื อ งที่ มี ค วามสํ า คั ญ ทางเศรษฐกิ จ เป น อย า งมาก ในด า น อุตสาหกรรม การทองเที่ยว และการเกษตรกรรม

3.1.2 ศึกษาและวิเคราะหลักษณะ (1) ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดระยองมีลักษณะภูมิประเทศเปนเทือกเขาในดานตะวันออก และตอนกลาง มีพื้นที่ลาดเชิงเขาและที่ราบระหวางหุบเขาจนถึงที่ราบลุม แมน้ํา ดานตะวันออกบรรจบกับที่ราบลุมชายฝงทะเลดานทิศตะวันตก ทิศใตเปนอาวเล็กๆ และเกาะตางๆ (2) อาณาเขต จั ง หวั ด ระยองที่ ตั้ ง และอาณาเขตมี พื้ น ที่ ป ระมาณ 3,552 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 2,220,000 ไร ตั้งอยูในภาคตะวันออกของ ประเทศไทย ระหวางเสนรุงที่ 12 -13 องศาเหนือ และเสนแวงที่ 101 - 102 องศาตะวันออก หางจากกรุงเทพฯประมาณ 179 กิโลเมตร

4-78

3-39


(3) เศรษฐกิจ

จังหวัดระยองเปนจังหวัดที่มีสภาพทางเศรษฐกิจดีจังหวัดหนึ่ง จากขอมูล ของสํ านั กงานคณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจ และสั งคมแห งชาติ พบว า ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดป พ.ศ.2547 มีมูลคา370,104 ลานบาท ซึ่ง เปน ผลจากการผลิตดานอุตสาหกรรมเปนสวนใหญ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ยม และปโตรเคมี มีมูลคาผลิตภัณฑเฉลี่ยตอหัวเทากับ 719,718 บาท / ปโตรเลี คน / ป เปนลําดับที่ 1 ของประเทศ

(4) การปกครอง จังหวัดระยอง แบงออกเปน 6 อําเภอ ไดแกอําเภอเมืองระยอง อําเภอแก ลง อําเภอบานคาย อําเภอปลวกแดง อําเภอบานฉาง อําเภอวังจันทร และ 2 กิ่งอําเภอ ไดแก กิ่งอําเภอเขาชะเมา กิ่งอําเภอนิคมพัฒนา โดยประกอบดวย 84 ตําบล 440 หมูบาน การปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวย องคการบริหาร สวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลนคร 1 แหง เทศบาลเมือง 2 แหง เทศบาลตําบล 16 แหง องคการบริหารสวนตําบล 52 แหง ที่มา http://rayong.mots.go.th, (2561)

4-78

3-40


DISTRIC ANALUSIS

3.2 ศึกษาและวิเคราะหทําเลที่ตั้งโครงการ

3.2.1 ประวัติยานที่ตั้งโครงการ

มาบตาพุ ด เป น เทศบาลเมื อ งแห ง หนึ่ ง ที่ ตั้ ง อยู ใ นเขตอํ า เภอเมื อ ง ระยอง และบางสวนของอําเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง โดยหางจากตัว เมืองระยองประมาณ 8 กิโลเมตร และหางจากกรุงเทพมหานครตามถนน สุขุมวิทเปนระยะทาง 204 กิโลเมตร เขตเทศบาลมีพื้นที่ 165.565 ตาราง กิ โลเมตร มี ป ระชากรในป พ.ศ. 2557 จํา นวน 60,251 เมืองมาบตาพุ ด มีสถานะที่คลายกับเมืองแหลมฉบัง เนื่องจากเปนพื้นที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรับ โครงการพัฒนาชายฝงภาคตะวันออกและยังเปนเขตอุตสาหกรรมหนักที่ สําคัญของประเทศอีกดวย ปจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรม 257 แหง

เทศบาลเมืองมาบตาพุด เดิมคือ สุขาภิบาลมาบตาพุด ซึ่งยกฐานะเปน เทศบาลตําบลมาบตาพุด ครอบคลุมพื้นที่ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมื อง ระยอง และอําเภอบานคาย จัดตั้งเปนเทศบาลตําบลเมื่อป พ.ศ. 2534 และ ไดรับการยกฐานะเปนเทศบาลเมือง ในป พ.ศ. 2544

ที่ตั้งและอาณาเขต – ทิศเหนือติดตอ ตําบลมาบขา อําเภอเมืองระยอง กิ่ง อําเภอนิคมพัฒนา – ทิศใตติดตอ ทะเลอาวไทย – ทิศตะวันออกติดตอ ตําบลเนินพระ ตําบลทับมา อําเภอเมือง จังหวัดระยอง – ทิศตะวันตกติดตอ อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง

4-78

3-41


3.2.2 ลักษณะทางกายภาพ

3.2.3 การแบงเขตปกครอง

เทศบาลเมืองมาบตาพุดมีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 165.575 ตารางกิโลเมตร โดยเปน พื้นที่บนบกที่สามารถใชประโยชนไดประมาณ 144.575 ตารางกิโลเมตร (รอยละ 87.32 ของพื้นที่ทั้งหมด) ที่เหลือเปนทะเลประมาณ 21.000 ตารางกิโลเมตร

เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตั้งอยูบนเสนแบงเขตอําเภอเมืองระยองกับอําเภอ นิคมพัฒนา มีพื้นที่ครอบคลุม 5 ตําบล ไดแก ตําบลมาบตาพุด ตําบลหวย โปง และพื้นที่บางสวนของตําบลตางๆ ไดแก ตําบลมาบขา ตําบลทับมา ตําบลเนินพระ และมีเกาะ 1 เกาะ คือ เกาะสะเก็ด (ภาพที่ 3.1)

เทศบาลเมืองมาบตาพุดอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใต ตามทางหลวงแผนดิน หมายเลข 3 (สุขุมวิ ท) อยู หางจากศาลากลางจั ง หวัดระยอง (ศูนยราชการ จังหวัดระยอง) ประมาณ 8 กิโลเมตร

เทศบาลเมืองมาบตาพุดมีนิคมอุตสาหกรรมหลายแหงเนื่องจาก เปนพื้นที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อรองรับโครงการพัฒนาชายฝงภาคตะวันออกและยังเปนเขต อุตสาหกรรมหนักที่สําคัญของประเทศ และมีชุมชนยอย จํานวน 33 ชุมชน ปจจุบันมีการขยายชุมชนเพิ่มขึ้นอยางการขยายตัวของชุมชน จํานวนประชากร และบานจากทะเบียนราษฎรพบวา เขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดมีจํานวนครัวเรือน ทั้งสิ้น 31,531 ครัวเรือน ประชากรทั้งสิ้น 43,892 คน เปนชาย 22,133 คน หญิ ง 21,759 คน ความหนาแน น ของประชากรประมาณ 261 คน/ตาราง

ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/เทศบาลเมืองมาบตาพุด, (2561)

รูปภาพที่ 3. 2 แผนที่แสดงอาณาเขตการปกครอง ที่มา http://www.mtp.go.th/public, (2561)

4-78

3-42


3.2.4 การคมนาคม

(1) ทางรถยนต

สามารถเดินทางโดยรถโดยสารประจําทาง ,รถตูโดยสาร ,รถยนตสวนตัว

ถนนสายหลัก

ถนนสายรอง

(2) ทางเรือ

1 ทาเรือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด

2 ทาเรือไออารพีทรี ะยอง

(3) สนามบิน

ทาอากาศยานนานาชาติอูตะเภา

3-43

4-78


1

2

4-78

3-44


3.2.5 สถานทีส่ ําคัญ

1

สนามบินนานาชาติอูตะเภา

2

เคหะชุมชนมาบตาพุด

3

ทาเรืออุตสาหกรรมมาบตา

4

สํานักงานอุตสาหกรรมระยอง

5

นิคมอุตสาหกรรม

6

โรงพยาบาลมาบตาพุด

7

ศาลากลางจัดหวัดระยอง

8

บริษัท บริหารจัดการขยะจังหวัดระยอง จํากัด

3-45

4-78


โรงพยาบาลมาบตาพุด

บริษัท บริหารจัดการขยะ จังหวัดระยอง จํากัด

2

6

นิคมอุตสาหกรรม

ศาลากลางจัดหวัดระยอง

8

1

7

5

4

เคหะชุมชนมาบตาพุด

3

สํานักงานอุตสาหกรรมระยอง

สนามบินนานาชาติอูตะเภา ทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด

4-78

3-46


THE CITY IMAGE OF

3.2.6 การวิเคราะหดานผังเมือง

(1) เสนทางการคมนาคม เสนทาง ประกอบดวยถนนหมายเลข 3, 3392, 364 และถนนสายยอยตางๆ

0

(2) ขอบเขตบริบท ขอบเขต ถูกแบงเขตดวยคูคลอง และถนนสายยอยตางๆ

4-78

3-47


(3) ยาน ยาน ประกอบไปดวยยานชุมชน และยาน สถานที่ราชการ

4-78

(4) จุดศูนยรวม ชุมทาง ประกอบไปดวย ทาเรือ ตลาดชุมชน นิคมอุตสาหกรรม และสถานที่ราชการ

3-48


LOCATION SELECTION 3.3 ศึกษาและวิเคราะหที่ตงั้ โครงการ 3.3.1 เกณฑในการเลือกทีต่ ั้งโครงการ - ใกลแหลง โรงงานอุตสาหกรรม - พื้นที่สามารถพัฒนาเปนศูนยกลาง - มีความพรอมดานสาธารณูปโภค ,สาธารณูปการ - ระบบคมนาคม,เขาถึงงาย,ใกลเสนทางขนสง

4-78

3-49


C A B

 พื้นที่อุตสาหกรรม

4-78

3-50


3.3.2 สรุปการเลือกตําแหนงที่ตั้งโครงการ SITE A Location : ถ. สุขุมวิท ต. หนองปรือ อ. เมืองระยอง จ. ระยอง Area : 32,000 ตร.ม.

4-78

SITE B Location : นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ. เมืองระยอง จ. ระยอง Area : 40,000 ตร.ม.

SITE C Location : ถ. สุขุมวิท ต. หวยโปง อ. เมืองระยอง จ. ระยอง 21150 Area : 25,000 ตร.ม.

3-51


3.3.3 แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน จังหวัด ระยอง ที่ดินประเภทอุตสาหกรรมและคลังสินคา ใหใชประโยชนที่ดินเพื่อ อุตสาหกรรม หรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม คลังสินคา สถาบัน ราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ FAR : 1:2 OSR : 15 ที่มา กฎกระทรวง ผังเมืองจังหวัดระยอง, (2561)

SITE LOCATION

4-78

3-52


3.3.4 สรุปรายละเอียดที่ตั้งโครงการ (1) ศึกษาวิเคราะหดานกายภาพ - Land use ลักษณะการใชที่ดิน เปนพื้นที่สาธารณะ - Transportation สามารถน้ํารถยนตเขามาจอดในพื้นที่โครงการได - โดยรอบที่ตั้งโครงการ สวนใหญเปนโรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน - ขนาดพื้นที่ 40,000 ตร.ม. - สถานที่ตั้ง นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ. เมืองระยอง จ. ระยอง - การคมนาคมสะดวกติ ด ถนนสาธารณะเส น ทางลํ า เลี ย งทาง อุตสาหกรรมทําใหการขนสงของตางๆสะดวก - หางจากทาเรือมาบตาพุด 5 กม. ทําใหมีเสนทางการขนสงที่ หลากหลายและสะดวกตอการขนสงมากขึ้น - ที่ตั้งโครงการอยูใกลแหลงพื้นที่อุตสาหกรรม จึงเหมาะแกการ ร ว มมื อ กั น ระหว า งภาครั ฐ และเอกชน ( ผู ป ระกอบการ อุตสาหกรรม )

3-53

4-78


40,000 ตร.ม.

4-78

3-54


(1.1) มุมมองพื้นที่โครงการ

3-55

4-78

1

มุมมองที่ 1 ดานหนาโครงการฝงซายติดถนน สาย 363 , ทางเขานิคมมาบตาพุด ประตูที่ 2

2

มุมมองที่ 2 ดานหนาโครงการฝงขาวติดถนน สาย 363

3

มุมมองที่ 3 ดานหลังโครงการมีโรงงานขนาดเล็ก 1 โรงงาน


2

1 3

4-78

3-56


1 (1.2) ภาพมุมมองพื้นที่โครงการ

4-78

3-57


2

2

4-78

3

3-58


(2) การคมนาคม ถนนสายรอง ถนนสายหลัก

ทาเรือนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด

SITE LOCATION

4-78

* หมายเหตุ เสนขอบเขตระยะ 5กิโลเมตร 3-59


4 2

(3) สถานที่โดยรอบ

3

โรงพยาบาล 1โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล มาบตาพุด

3

2

นิคมอุตสาหกรรม

2 1

1 1

SITE LOCATION

1 Maptaphud Industrial Estate 2 Pha Daeng Industrial Estate 3 WHA Eastern Industrial Estate ชุมชน 1 หมูบานฉัฏฑน การเดน 2 ชุมชนหนองแตงเม 3 ชุมชนวัดโสภณ 4 การเคหะชุมชนมาบตาพุด สถานศึกษา 1 โรงเรียนวัดตากวน 2 โรงเรียนวุฒนิ ันท * หมายเหตุ เสนขอบเขตระยะ 5กิโลเมตร

4-78

3-60


(4) จุดเปลื่ยนถายการขนสง สาธารณะ (4) จุดเปลื่ยนถายการขนสงสาธารณะ

3-61 4-78

1

ทารถตู เคหะชุมชนมาบตาพุด

2

ทารถตู BH มาบตาพุด

3

รถเหลือง ระยอง YELLOW BUS RAYONG (ตางจังหวัด)

4

สถานีขนสงผูโดยสารจังหวัดระยอง แหงที่ 2

5

ขนสงจังหวัดระยอง


––––

1 2 3

4 5

SITE LOCATION

4-78

3-62


1. SUN SUMMER WINTER 06H

6PM 3PM

12H

09H

12H

09H

6PM

3-63

4-78

3PM

06H


– 2. WIND

3-64

4-78


PROGAM 4.1 ความเปนมาของโครงการ ในประเทศไทยมี ก ารเริ่ ม การทํ า อุ ต สาหกรรมโดยการ เปลี่ยนสถานที่ประกอบการในรูปแบบธุรกิจครอบครัวเปนรูปแบบ ของโรงงานอุ ต สาหกรรม โดยในป จ จุ บั น ปริ ม าณโรงงาน อุตสาหกรรมในประเทศไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วทําให เกิ ด ปริ ม าณขยะที่ ม าจากโรงงานอุ ต สาหกรรมเพิ่ ม มากขึ้ น กอใหเกิดพื้นที่สําหรับการกําจัดขยะอุตสาหกรรมที่ไมเพียงพอตอ การรองรับปริมาณขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม

อีกทั้งยังขาดการวิจัยและพัฒนาทางดานเทคโนโลยีในการจัดการ ขยะอุตสาหกรรม และประชาชนทั่วไปมีความรูความเขาใจที่ไมเพียงพอใน การพั ฒ นาเพื่ อ ที่ จ ะนํ า ขยะเหล า นี้ ไ ปต อ ยอดให เ กิ ด นวั ต กรรมใหม ๆ ใหเกิดขึ้นดวย จึ ง ก อ ให เ กิ ด เป น โครงการสํ า หรั บ การพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมสําหรับการจัดการปญหาขยะทางดานอุตสาหกรรม ซึ่งเปน โครงการสําหรับรวบรวมขอมูล เทคโนโลยี นวัตกรรม และใหความรูแก นักวิจัย ประชาชนทั่วไป รวมไปถึงภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใหเกิดเปน นวัตกรรมและงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

4-78

4-65


OBJECTIVE

4.2 วัตถุประสงคของโครงการ 4.2.1 เปนศูนยกลางการวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการกับขยะเพื่อลดปริมาณ หรือ นํามาใชอยางมีประสิทธิภาพเพื่อลดปริมาณขยะในอนาคตและมีนวัตกรรมในการกําจัดใหมๆหรือนําขยะมาใชประโยชน มากขึ้น 4.2.2 เปนศูนยกลางการใหความรูเรื่องการจัดการกากอุตสาหกรรมเพื่อถายทอดองคความรูการจัดการขยะ ความรูในดานนวัตกรรม เทคโนโลยี ในการจัดการขยะ และดึงใหคนภายนอกไดรูถึงผลกระทบและวิธีปองกันการติดเชื่อ จากแหลงปนเปอนตางๆ (1) ศึกษาและวิเคราะหการออกแบบและการแบงพื้นที่ใชสอยภายในอาคารเพื่อการออกแบบ ศูนยวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม (2) มีการจัดรูปแบบพื้นที่ใชสอย โซนจัดแสดงนวัตกรรม ฯลฯ ของศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการ ขยะอุตสาหกรรมเพื่อนําไปตอยอดในการออกแบบ 4.2.3 เพื่อออกแบบและพัฒนาขยะใหสามารถนํากลับมาใชไดอยางมีประสิทธิภาพและยังสรางรายไดอีกดวย

4-78

4-66


4.3 การกําหนดโครงสรางการบริหาร Development Center for Industrial Waste Management ศูนยวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการขยะอุตสาหกรรม (กากอุตสาหกรรม) เปนโครงการเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและสรางนวัตกรรมใหมเพื่อลดปริมาณขยะและนําขยะมา ใชใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด และเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค จึงมีการ แบงรูปแบบการบริหารโครงการ ดังนี้

4.3.1 การกําหนดโครงสรางการบริหาร การวางแผน

เจาหนาที่ประจําโครงการ ซึ่งทําหนาที่ประจําอยูภายในโครงการ

การปฏิบัติงาน

เจาหนาที่สวนตางๆ จากหนอยงานที่เกี่ยวของกับการ ประสานงานโครงการ

การวัดผลและประเมินผล การปรับปรุงและแกไข

4-78

4.3.2 โครงสรางการบริหารงานของโครงการ แบงเจาหนาที่ดังนี้

สวนของวิทยากร,นักวิจัย,พัฒนา และเจาหนาที่พิเศษ

4-67


4.4 โครงสรางการบริหารงาน กระทรวงอุตสาหกรรม โครงการศูนยวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมขยะอุตสาหกรรม คณะกรรมการบริหาร ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ

รองผูอํานวยการโครงการฝายปฏิบัติการ

ฝายวิจัยและพัฒนา

ฝายจัดแสดง -

หัวหนาฝาย รองหัวหนาฝาย เจาหนาที่บริการใหความรู เจาหนาที่ดูแล

รองผูอํานวยการโครงการฝายบริหาร

-

หัวหนาฝาย รองหัวหนาฝาย เจาหนาที่วิจัย เจาหนาที่ดูแลใหความรู

รองผูอํานวยการโครงการฝายบริหารและเทคนิค

ฝายธุรการ -

หัวหนาฝาย รองหัวหนาฝาย ธุรการ แผนกทะเบียน แผนกบุคคล แผนกบัญชี แผนกประชาสัมพันธ

-

ฝายบริการ

ฝายเทคนิคและซอมบํารุง

หัวหนาฝาย รองหัวหนาฝาย เจาหนาที่บริการ

-

หัวหนาฝาย รองหัวหนาฝาย วิศวกรซอมบํารุง เจาหนาที่ควบคุม เครื่องจักรกล

แผนภูมิที่ 4.1 โครงสรางการบริหาร

4-78

4-68


USER

4.5 โครงสรางการบริหารงาน

35 %

MAIN USER ผูประกอบการอุตสาหกรรม 20 - 40 คน

หนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ 20 - 40 คน

นักวิจัย,พัฒนา 30 คน

MAIN USER เปน User ที่เขามาใชโครงการในสวนการ สัมมนาเรียนรูในนวัตกรรม และมีสวนรวมในการวิจัย นวัตกรรมตางๆ

50 % SUB USER ประชาชนทั่วไป 50 คน

นักเรียนและนักศึกษา 150 - 200 คน

SUB USER จะเปน User ที่เขามาใชโครงการในสวนการ เรียนรูและสัมมนาตางๆ

15 % OFFICER

4-78

เจาหนาที่ฝายบริการ 25 คน

เจาหนาที่ฝายบริหาร 15 คน

เจาหนาที่ฝายวิชาการ 20 คน

เจาหนาที่ฝายวิจัย 20 คน

OFFICE USER จะเปน User ประจํ าโครงการที่จะ แบ ง เป น ฝ า ยบริ ห ารและวิ จั ย พั ฒ นานวั ต กรรม ตางๆ และรองรับใหบริการผูที่มาติดตอโครงการ 4-69


PROGRAM ACTIVITY 4.6 การกําหนดรายละเอียดและกิจกรรมของโครงการ

1. RESEARCH

2. EXHIBITION

-ขยะทั่วไป( ถุงพลาสติก,โพม ) -ขยะรีไซเคิล( แกว,กระดาษ,โลหะ ) 1.1 หองแล็ปวิจัย 1.1 หองแล็ปวิจัย 1.2 หองจัดเก็บตัวอยางและผลการทดลอง 1.2 หองจัดเก็บตัวอยางและผลการทดลอง 1.3 หองปฏิบัติการทดลอง 1.3 หองปฏิบัติการทดลอง 1.4 หองเก็บขยะในการทดลอง 1.4 หองเก็บขยะในการทดลอง 1.5 หองทําความสะอาดรางกาย

40%

35% 3. OFFICE 3.1 หองทํางานผูบริหาร 3.2 หองทํางานผูจัดการ 3.3 หองทํางานพนังงาน 3.4 หองประชุมออกแบบและทดลอง 3.5 หองประชุมใหญ 3.6 Pantry

2.1สวนตอนรับ 2.2 หองสัมมนาการใหความรู 2.3 สวนการเดินดูงานวิจัยและใหความรูตางๆ 2.4 พื้นที่จัดแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยี 2.5 โซนจัดกิจกรรมโชวแสดงของหรืออีเวนตางๆ 2.6 สวนการพักผอนและหาความรู ( หองสมุด ) 2.7 Co-Working Space

4.SERVICE 4.1สวนจัดเก็บคัดแยกขยะเบื้องตน 4.2หองระบบTechnical + Service (เครื่องจักรขนาดเล็กถึงกลางใชในการทดลอง) 4.3หองจัดเก็บอุปกรณตางๆ

15%

20%

4-78

4-70


4.7 พื้นที่ใชสอยของโครงการ

PROGRAM ANALYSIS

4-78

ตารางที่ 4.1 พื้นที่ใชสอยของโครงการ

1. RESEARCH

ชื่อหอง

จํานวนคน

ขนาด ( ตร.ม. )

จํานวนหอง

รวม (ตร.ม.)

10 20 5 5

50 200 80 50 15

4 2 1 1 2

200 400 80 50 30

10 20 5 5

50 200 80 50 15

4 2 1 1 2

200 400 80 50 30

ขยะรีไซเคิล( แกว,กระดาษ,โลหะ ) 1.1 หองวิจัย 1.2 หองปฏิบัติการทดลอง 1.3 หองจัดเก็บตัวอยางและผลการทดลอง 1.4หองเก็บขยะรีไซเคิลในการทดลอง 1.5 หองทําความสะอาดรางกาย

-ขยะทั่วไป( ถุงพลาสติก,โฟม ) 1.1 หองวิจัย 1.2 หองปฏิบัติการทดลอง 1.3 หองจัดเก็บตัวอยางและผลการทดลอง 1.4 หองเก็บขยะรีไซเคิลในการทดลอง 1.5 หองทําความสะอาดรางกาย รวมพื้นที่สวน RESEARCH

1,520

ทางสัญจร 50%

760

ขนาดพื้นที่สว น RESEARCH

2,280 4-71


ตารางที่ 4.1 พื้นที่ใชสอยของโครงการ (ตอ)

2. EXHIBITION ชื่อหอง

4-78

จํานวนคน

ขนาด ( ตร.ม. )

จํานวนหอง

รวม (ตร.ม.)

2.1 สวนตอนรับ

300

450

1

450

2.2 หองสัมมนาการใหความรู

200

400

1

400

2.3 สวนการเดินดูงานวิจัยและใหความรูตางๆ

150

300

1

300

2.4 พื้นที่จัดแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยี

150

300

1

300

2.5 โซนจัดกิจกรรมโชวแสดงของหรืออีเวนตางๆ

400

600

1

600

2.6 สวนการพักผอนและหาความรู ( หองสมุด )

150

450

1

450

2.7 Co-Working Space

150

750

1

750

รวมพื้นที่สวน EXHIBITION

3,250

ทางสัญจร 50%

1,625

ขนาดพื้นที่สว น EXHIBITION

4,875

4-72


ตารางที่ 4.1 พื้นที่ใชสอยของโครงการ (ตอ)

3. OFFICE ชื่อหอง

จํานวนคน

ขนาด ( ตร.ม. )

จํานวนหอง

รวม (ตร.ม.)

3.1 หองทํางานผูบริหาร

10

9

10

90

3.2 หองทํางานรองผูบริหาร

10

7

10

70

3.3 หองทํางานพนังงาน

20

100

2

200

3.4 หองประชุมออกแบบและทดลอง

30

90

4

360

3.5 หองประชุมใหญ

50

150

2

300

รวมพื้นที่สวน OFFICE

1,070

ทางสัญจร 30%

321

ขนาดพื้นที่สว น OFFICE

4-78

1,391

4-73


ตารางที่ 4.1 พื้นที่ใชสอยของโครงการ (ตอ)

4.SERVICE ชื่อหอง

จํานวนคน

ขนาด ( ตร.ม. )

จํานวนหอง

รวม (ตร.ม.)

4.1สวนจัดเก็บคัดแยกขยะเบื้องตน

10

500

1

500

4.2หองระบบTechnical + Service

15

100

3

300

4.3หองจัดเก็บอุปกรณตางๆ

5

200

1

200

รวมพื้นที่สวน OFFICE

1,000

ทางสัญจร 30%

300

ขนาดพื้นที่สว น OFFICE

4-78

1,300

4-74


ตารางที่ 4.1 พื้นที่ใชสอยของโครงการ (ตอ)

5.PARKING

ประเภท 5.1 ที่จอดรถยนต 5.2 รถบัส 5.3 จักรยานยนต 5.4 จักรยาน 5.5 พื้นที่รองรับการจอดรถบริการโครงการ รวมพื้นที่สวน OFFICE ทางสัญจร 60%

จํานวนคัน 123.475 5 185 30 5

ขนาด ( ตร.ม. ) 1,852.125 240 277.5 45 150

ทางสัญจร 1,111.275 144 166.5 27 90

ขนาดพื้นที่สว น OFFICE

รวม (ตร.ม.) 2,963.4 384 444 72 240 2587.5 1,552.5 4,140

6. งานระบบ ชื่อหอง 6. งานระบบ 10% - หองระบบแอร - หองไฟฟา - ปมน้ํา - ระบบไฟฟาสํารอง/Solar cell - ระบบบําบัด/กักเก็บน้ํา รวมพื้นที่สวน งานระบบ ทางสัญจร 30%

ขนาดพื้นที่สว น งานระบบ

4-78

สวนพื้นที่ สวนที่ 1-4 30 20 10 20 20

ขนาด ( ตร.ม. ) 10,405 312.15 208.1 104.05 208.1 208.1

จํานวนหอง

รวม (ตร.ม.)

1 1 1 1 1 1,040.5 312.15 1,352.65 4-75


SUMMARY OF PROJECT AREA 1

4-78

สรุปการใชพื้นที่โครงการ 1. RESEARCH ขนาดพื้นที่ = 1,500 * พื้นที่สัญจร 50% = 1,500+ 750 = 2,225 ตร.ม. 2. EXHIBITION ขนาดพื้นที่ = 3,525 * พื้นที่สัญจร 50% = 3,525+1ม762.5 = 5,287.5 ตร.ม.

3. OFFICE

ขนาดพื้นที่ = 935 * พื้นที่สัญจร 30% = 935+280.5 = 1,215.5 ตร.ม. 4. SERVICE

รวมพื้นที่โครงการทั้งหมด 15,585.5 ตร.ม.

ขนาดพื้นที่ = 1,290 * พื้นที่สัญจร 30% = 1ม290 * 387 = 1,677 ตร.ม. 5. PARKING ขนาดพื้นที่ = 2587.5 * พื้นที่สัญจร 60% = 2587.5 + 1,552.5= 4,140 ตร.ม.

6. งานระบบ 10%

ขนาดพื้นที่ = 1,040.5 * พืน้ ที่สัญจร 30% = 1,040.5 + 312.15 = 1,352.65 ตร.

4-76


PROGRAM BUDGET 4.8 การประมาณงบประมาณการกอสราง

4-78

4-77


4.8.1 ราคาที่ดิน

4.8.2 ราคาคากอสราง

ขนาดที่ดิน 40,000 ตร.ม.

1. RESEARCH = 1500 * พื้นที่สัญจร 50% = 1,500+ 750 = 2,225 ตร.ม. 2. EXHIBITION = 3525 * พื้นที่สัญจร 50% = 3,525+1,762.5 = 5,287.5 ตร.ม. 3. OFFICE = 935 * พื้นที่สัญจร 30% = 935+280.5 = 1,215.5 ตร.ม. 4. SERVICE = 1290 * พื้นที่สัญจร 30% = 1,290 * 387 = 1,677 ตร.ม. 6. งานระบบ 10% = สวนที่1-4 (10,405) * 10% = 1,040.5 ตร.ม. พื้นที่โครงการสวนที่ 1-4 , 6 11,445.5 ราคากอสราง 21,400 / ตร.ม. รวมราคาคากอสรางสวนที่ 1-4 , 6 = 11,445.5*21400 = 244,933,700 บาท 5. PARKING = 2,587.5 * พื้นที่สัญจร 60% = 2587.5 + 1,552.5= 4,140 ตร.ม. พื้นที่โครงการสวนที่ 4-6 6,857.5 ราคากอสราง 12,000 / ตร.ม. รวมราคาคากอสรางสวนที่ 5 = 6,857.5*13,000 = 75,432,500 บาท รวมราคาคากอสราง = 320,366,200 บาท

ราคาที่ดิน 3,350 บาท/ตร.ว. 837.5 บาท/ตร.ม. รวมราคาที่ดิน = 33,500,000 บาท งบประมาณราคาที่ดิน = 33,500,000 บาท ที่มา กรมธนารักษ (2561)

-

คาตกแตงเฟอรนิเจอร 20% คาดําเนินการ 5% คาบริหารโครงการ 2% คาความคลาดเคลื่อน 8%

= 64,073,240 = 16,018,310 = 6,407,324 = 25,629,296

บาท บาท นาท บาท

งบประมาณการลงทุนคากอสราง 432,494,370 บาท ที่มา มูลนิธิประเมินคาทรัพยสินแหงประเทศไทย, (2561)

ดั้งนั้นงบประมาณการลงทุนคากอสรางและที่ดิน 465,994,370 บาท

4-78

4-78


RELATED ENGINEERING SYSTEM 4.9 ระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวของ

4-78

4-79


STRUCTURAL 4.9.1 ระบบโครงสรางอาคาร

4-78

4-80


STEEL STRUCTURES

โ ค ร ง ส ร า ง เ ห ล็ ก ที่ ร ว ม ถึ ง โ ค ร ง ส ร า ง ย อ ย ห รื อ ชิ้ น ส ว น ใ น อ า ค า ร ทํ า จ า ก เ ห ล็ ก เหล็ ก โครงสร า งคื อ วั ส ดุ ก อ สร า งที่ ทํ า จากเหล็ ก ซึ่ ง สร า งขึ้ น ให มี รู ป ร า งและองค ป ระกอบทางเคมี ที่ เฉพาะเจาะจง เพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานของแตละโครงการ สวนผสมหลักของเหล็กโครงสราง คือ เหล็กและคารบอน แมงกานีส โลหะผสม และสารเคมีบางอยาง เพิ่มไปยังเหล็กและคารบอนเพื่อเพิ่มความ แข็งแรงและความทนทาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอกําหนดของแตละโครงการกอสรางโครงสรางเหล็ก ถูกสรางขึ้นโดยการมวน แบบรอนหรือเย็น หรือทําโดยการเชื่อมแผนแบนหรืองอเขาดวยกัน

4-78

ประเภทของโครงสรางหลัก โครงสรางโครงถัก : บาร หรือชิ้นสวนโครงถัก โครงสรางโครงอาคาร : คานและเสา โครงสรางแบบตาราง : โครงสรางไมระแนงหรือโดม โครงสรางลักษณะโคง โครงสรางคอนกรีตอัดแรง คานสะพาน สะพานโครงถัก : ชิ้นสวนของโครงถัก สะพานโคง สะพานขึง สะพานแขวน ที่มา https://atad.vn/th/ความรูเบื้องตน, (2561) 4-81


REINFORCED CONCRETE

โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือที่เรียกโดยยอวา “โครงสราง ค.ส.ล.” คอนกรีตมีสวนประกอบ หลักคือ ปู นซีเมนต หิน กรวดหรือทราย และน้ํา มีคุณสมบัติในการรับแรงอัดไดดี แต รับแรงดึ งได คอนขางต่ํามาก เมื่อนําไปทําเปนโครงสรางบาน จึงตองมีการเสริมเหล็ก เพื่อเพิ่มคุณสมบัติในการรับ แรงดึง โครงสราง ค.ส.ล. ราคาทั้งคาของและคาแรงคอนขางต่ํา ใหความรูสึกแข็งแรงมั่นคง สามารถ หลอขึ้นรูปไดหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ คอนกรีตมีคุณสมบัติเรื่องการสะสมความรอนและการนําพา ความชื้น จึงเปนเรื่องที่ควรคํานึงถึงและหาทางระวังปองกันไวดวย ที่มา http://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild, (2561)

4-78

4-82


PROJECT MANAGEMENT SYSTEM

4.9.2 ระบบการจัดการโครงการ

4-78

4-83


AIR CONDITION SYSTEM

CHILLER Water Cooled Water Chiller

Water Cooled Water Chiller ระบบ Water Cooled Water Chiller มีการนํามาใชในกรณีที่โครงการมีขนาดใหญ และมีความตองการความเย็นมาก มักจะนิยมใชเครื่องทําน้ําเย็นชนิดนี้ เพราะจะมีเครื่องทําน้ําเย็นที่ให ประสิทธิภาพสูง ทําใหเปนระบบปรับอากาศที่กินไฟนอยกวาระบบปรับอากาศแบบอื่นๆ อยางไรก็ ตามการเลือกใชระบบนี้จะตองมีหอระบายความรอน และจะตองมั่นใจวามีน้ําเพียงพอ มีคุณภาพ เหมาะสมกับการนํามาเติมที่หอระบายความรอน ลั ก ษณะโครงสร า งของเครื่ อ งทํ า น้ํ า เย็ น ก็ ยั ง คงเหมื อ นกั บ เครื่ อ งแบบ Air-cooled เพียงแตแทนที่จะระบายความรอนดวยอากาศ ก็กลายเปนการระบายความรอนดวยน้ําเทานั้นเอง

4-78

ที่มา https://www.chillerinnovations.com, (2561)

4-84


Membrane Bio Reactor

MBR ระบบบําบัดน้ําเสีย MBR (Membrane Bio Reactor) นวัตกรรมในการบําบัดน้ําเสียแบบ Biological Treatment + Membrane Filtration สําหรับน้ําเสียชุมชนและน้ําเสียอุตสาหกรรม โดยใช การเลี้ยงตะกอนจุลชีพในถังเติมอากาศ รวมกับการกรองดวย Membrane โดยตัดขั้นตอนการ ตกตะกอนออกไป สงผลใหระบบมี ขนาดเล็กลง ไดน้ําทิ้งคุณภาพสูง สามารถนําน้ํากลับไปใชใหมได ทําใหระบบบําบัด สามารถชวยใหผูประกอบการลดรายจายในการใช น้ําประปา และประหยัดคาใชจายในการทิ้งตะกอนสวนเกิน ลดคาใชจายงานโครงสราง ระบบบําบัดน้ําเสีย MBR มีจุดเดนสําคัญดังนี้ 1. คาบีโอดีของน้ําทิ้งต่ํา 5 mg/L 2. คาความขุน ต่ํากวา 1 NTU. สามารถนําไป Re-Used ไดเลย 3. ประหยัดพื้นที่ในการกอสรางระบบ เหมาะสําหรับผูประกอบการที่มีพื้นที่นอย 4. สามารถเพิ่มขีดความสามารถของระบบเดิม โดยไมตองสรางบอเพิ่ม 5. มีตะกอนสวนเกินต่ํา 6. ควบคุมดูแลงาย

4-78

ที่มา http://www.9waree.com/index.php/water-treatment.html, (2561)

4-85


SOLAR CELL

SYSTEM

4-78

แผงเซลลแสงอาทิตย (Solar Module) ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา ซึ่งเปนไฟฟากระแสตรงและมี หนวยเปนวัตต (Watt) มีการนําแผงเซลลแสงอาทิตยหลายๆ เซลลมาตอกันเปนแถวหรือเปนชุด (Solar Array) เพื่อใหไดพลังงานไฟฟาใชงานตามที่ตองการ โดยการตอกันแบบอนุกรม จะเพิ่ม แรงดันไฟฟา และการตอกันแบบขนาน จะเพิ่มพลังงานไฟฟา แผงเซลล แ สงอาทิ ต ย ใ ช ง านได ห ลากหลายประเภท (ทั้ ง ภายในบ า นและนอกอาคาร อุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย) การใชความตองการดานสิ่งแวดลอมต่ํา (- 40ºC ~ +85 ºC เพียงแคตองแดด )

ที่มา http://www.solarhub.co.th/solar-solutions/factory-solar, (2561)

4-86


Backup Power

Generator

ที่มา https://mall.factomart.com/power-distribution, (2561)

4-87

4-78

Generator เครื่องกําเนิดไฟฟาดีเซลประกอบดวยเครื่องยนตดีเซลและเครือ่ งกําเนิดไฟฟา ซึ่งจะใชเพื่อ เปนแหลงไฟฟาสํารองในกรณีที่แหลงจายไฟฟาหลักขัดของ โดยคอนโทรลเลอรของ เครื่องกําเนิดไฟฟาจะทําการเช็คความผิดปกติของระบบไฟฟาหลักและทําการสตารทเครื่อง กําเนิดไฟฟาหากระบบไฟฟาหลักขัดของ


TECHNOLOGY SYSTEM

CRANE ที่มา https://www.xn--42cga4ec0db6j1exa.com, (2561)

4-88

4-78

เครนเหนื อ ศี ร ษะ แบบคานเดี่ ย ว (Single Girder Overhead Crane) มี ค วามเหมาะสมกั บ โรงงาน อุตสาหกรรมที่ใชงานยกน้ําหนักไมหนักมาก ซึ่งควรมีความกวางใชงานตั้งแต 6 - 25 เมตร และควรมีน้ําหนัก ยกตั้งแต 1 ตัน ถึง 10 ตัน เปนมาตรฐาน ซึ่งจะมีรอกไฟฟาสําหรับเครนแบบคานเดี่ยวที่ออกแบบผลิตเปน มาตรฐานรุนตางๆ ไวแลว สําหรับใชงานแขวนประกอบกับเครนชนิดนี้ โดยมีความเหมาะสมและปลอดภัย สําหรับเครนชนิดนี้ถือเปนเครนไฟฟาที่ไดรับความนิยมใชกันมากที่สุดสําหรับทุกงานอุตสาหกรรมในประเทศ ไทย เพราะโครงสรางตัวเครนมีน้ําหนักเบาซึ่งไมเปนภาระหนักสําหรับโครงสรางเสาโรงงาน และใชพื้นที่ความสูง จากรางวิ่งเครนถึงหลังคาไมมากนัก สามารถเคลื่อนที่ยกวัตถุไดชิดซาย-ขวา และชิดหนา-หลัง ของโรงงานได อยางเต็มประสิทธิภาพ เพราะสัดสวนความกวางของชุดขาเครน (เสนผานศูนยกลางจากระยะลอ-ลอ) ตาม มาตรฐาน BS Standard ระยะปลอดภัยอยูที่ประมาณ 1/6 ของความกวางชุดเครนเทานั้น


HIGH SENSITIVITY SMOKE DETECTOR

SYSTEM

SMOKE DETECTOR TITANUS คือ ระบบตรวจจับควันไฟความไวสูง “เวลา” หากคุณตองการมันมีความสําคัญอยาง มาก ในการที่เราจะทราบเหตุการณลวงหนา หรือตองการใชในการแกไขปญหา ซึ่งระบบตรวจจับควันไฟความไวสูงนั้น สามารถทําใหเราทราบถึงอนาคตที่จะเกิดอัคคีภัย เพียงแคตนกําเนิดของการเกิดนั้น ระบบตรวจจับควันไฟความไวสูงนี่จะทํา หนาที่ตรวจสอบ และแจงเตือนผูปฏิบัติการ ใหเขาไปตรวจสอบในพื้นที่ที่มีความเสียง การตรวจสอบหาสาเหตุและตนตอของ การเกิดควันไฟหรือประกายไฟในชวงตน ทําใหลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นตามมาได ระบบตรวจจับควันไฟความไวสูงของ WAGNER TITANUS เปนเทคโนโลยีใหม โดยอาศัยระบบการเก็บตัวอยางอากาศ สําหรับการตรวจจับควัน ผานระบบทอเก็บตัวอยางอากาศควันระบบการตรวจสอบอยางละเอียดใชเวลาตัวอยางอากาศจาก ความเสี่ ย งและส ง ไปยั ง ห อ งออปติ ค อล และลดความผิ ด พลาดในการตรวจจั บ ได ดี สามารถลองรั บ สภาพแวดล อ มได หลากหลาย

ที่มา http://sitem.co.th/language/th/high-sensitivity-smoke-detector-system, (2561)

4-78

4-89


CYLENCE SOUND SOLUTION

การปองกันเสียง

การดูดซับเสียง

เปนการลดพลังงานของเสียงที่สงผาน จากหองหนึ่งไปยังอีกหองหนึ่ง

ลดเสียงกองและปรับสภาพเสียงภายในหอง

วัสดุอะคูสติก CYLENCE เปนเทคโนโลยีที่ชวยในการออกแบบอาคารเพื่อความสงบและความสบายในสภาพแวดลอมที่เหมาะกับการทํางานหรือพัก อาศัย โดยการปองกันหรือควบคุมเสียง ไมวาจะเปนการควบคุมเสียงสะทอน ลดเสียงกองภายในหอง หรือปองกันเสียง จากภายนอกไมใหเขามากอความรําคาญ

4-78

ที่มา http://www.microglassinsulation.com, (2561))

4-90


SMART CONTROL

SYSTEM SMART CONTROL SYSTEM เปนเทคโนโลยีการออกแบบใหไดซึ่งประสิทธิภาพในการใชพลังงาน และ ตอบสนองการควบคุมแบบอัตโนมัติใหเปนไปตามโปรแกรมที่ปอนขอมูลไวสําหรับ ชวงเวลาในแตะวัน หรือสามารถปรับเลือกใชใหสอดคลองกับความตองการใน ช ว งเวลานั้ น ๆ ไม ว า จะเป น การควบคุ ม ระบบไฟฟ า แสงสว า ง การเป ด ป ด มาน การทํางานของโปรเจคเตอรและเครื่องปรับอากาศ การปองกันน้ํารั่วทั้ง จากซิงคน้ําและหองน้ําที่มีคนใชเปนจํานวนมาก เปนการประหยัดทั้งคาไฟ คาน้ํา และเพิ่มการดูแลออฟฟศใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ที่มา http://www.2bsmarthome.com, (2561)

4-78

4-91


CARBON DIOXDE SENSOR

SYSTEM

SENSOR CO2 เปนเครื่องมือสําหรับการวัดที่กาซคารบอนไดออกไซดกาซ หลักการทั่วไปสําหรับ เซ็นเซอร CO2 คือเซ็นเซอรกาซอินฟราเรด ( NDIR ) และเซ็นเซอรกาซเคมี การ วัดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดเปนสิ่งสําคัญในการตรวจสอบคุณภาพอากาศ ภายในอาคารการทํ า งานของปอดในรู ป แบบของอุ ป กรณ capnograph และ กระบวนการทางอุตสาหกรรมจํานวนมาก ที่มา https://www.comcube.co.th/product/co100, (2561)

4-78

4-92


BIBLIOGRAPHY ONLINE สืบคนจากสือออนไลน

ประวัติความเปนมาของที่ตั้งโครงการ ที่มา http://rayong.mots.go.th, 2561

สถานการณในปจจุบัน ที่มา กรมควมคุมมลพิษ, 2561

ระบบโครงสรางอาคาร เหล็ก,คสล ที่มา https://atad.vn/th/ความรูเบื้องตน ที่มา http://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea ระบบการจัดการโครงการ

การปฏิวัติอุตสาหกรรม ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/อุตสาหกรรม, 2561

AIR CONDITION ระบบ Water Cooled Water Chiller ที่มา https://www.chillerinnovations.com, 2561

ปริมาณจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ที่มา กระทรวงอุตสาหกรรม

ระบบบําบัดน้ําเสีย MBR (Membrane Bio Reactor)

ผลกระทบกากอุตสาหกรรม ที่มา http://local.environnet.in.th, 2561

ที่มา http://www.9waree.com/index.php/water-treatment.html, 2561

ประเภทของขยะ ที่มา https://www.dek-d.com/board, 2561

เครื่องบําบัดน้ําระบบรีเวิรส ออสโมซีส ที่มา http://thai.ro-watertreatmentplant.com, 2561 แผงเซลลแสงอาทิตย (Solar Module) ที่มา http://www.solarhub.co.th/solar-solutions/factory-solar, 2561

CASTSTUDY ที่มา ARCHDAILY, 2561

เครื่องกําเนิดไฟฟาดีเซล ที่มา https://mall.factomart.com/power-distribution, 2561 วัสดุอะคูสติก CYLENCE ที่มา http://www.microglassinsulation.com, 2561

4-78


BooK

THESIS

Reuse, The Art Of Reclaim

ยอดชนก สานุ 2559

ผูเขียน ดร. สิงห อินทรชูโต

WTE WASTE TO ENERGY INNOVATION RESEARCH CENTER

ทฤษฎีการออกแบบ (Design Theory)

วิทยานิพนธสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ผูเขียน พรทิพ เรือธรรม

กฤดินิธิ จันทรอุบล 2558 STUDY AND DESING FOR TECHNOLOGY AND CREATIVE TRANSFORMATION CENTER INDUSTRIAL WASTE GARBAGE วิทยานิพนธสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

4-78


Â

4-78


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.