คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและ โครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
ชื่อหนังสือ คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค ISBN 978-616-11-4841-6 พิ มพ์ ครั้งที่ 1 จ�ำนวนพิ มพ์ 50 เล่ม จัดท�ำโดย นางเบญจมาภรณ์ ภิญโญพรพาณิชย์
ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร นางนวพรรณ สันตยากร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการพิเศษ นางจุฑารัตน์ บุญผ่อง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช�ำนาญการ นางสาวศิรดา บุญเกิด นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นางสาวสุพัตรา มูณี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นายศุภกร พึ่งฉิมรุจ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ออกแบบและจัดพิ มพ์ โดย บริษัท คิวคัมเบอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด สงวนลิขสิทธิ์โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค
คำ�นำ� การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร เป็นเครื่องมือและกลไกสำ�คัญประการหนึ่งของ ผู้บริหารงานภาครัฐ เพื่อให้เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจและอำ�นาจหน้าที่ในปัจจุบัน และรองรับกับอนาคตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น สามารถตอบสนองต่อบริบทโลก ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การปรับปรุงโครงสร้างจึงมีความจำ�เป็น ที่ทุกองค์กรไม่สามารถ หลีกเลี่ยงได้ หากต้องการขับเคลื่อนภารกิจ อำ�นาจหน้าที่ และระบบกระบวนการทำ�งาน ให้ประสบความสำ�เร็จบรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้ การบริหารราชการภายในส่วนราชการ มีความคล่องตัว ตอบสนองประชาชน การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และ ภารกิจที่มีความสำ�คัญเร่งด่วนของรัฐบาล ตลอดจนบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกและ แนวโน้มที่สำ�คัญในอนาคต จึงมอบอำ�นาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม ซึ่งได้มี การปรับปรุงรายละเอียดและขั้นตอนการแบ่งส่วนราชการภายในกรม ตามที่คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2561 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมควบคุมโรค จึงได้จัดทำ�คู่มือการปรับบทบาทภารกิจ และโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค ฉบับนี้ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นเครื่องมือ ในการสร้างความรู้ความเข้าใจกระบวนการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ที่ถูกต้อง ชัดเจน ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้เป็นแนวทางในการดำ�เนินงานได้อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องตามแนวทางทีส่ ำ�นักงาน ก.พ.ร. กำ�หนด นำ�ไปใช้ใน การถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานใหม่และผู้สนใจ
คณะผู้จัดทำ� กันยายน 2564
สารบัญ
เรื่อง บทที่ 1
หน้า
บทน�ำ
1
1.1 ที่มา 1.2 ทิศทางการพัฒนาประเทศและโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ 1.3 วัตถุประสงค์และเหตุผลความจ�ำเป็น
1 2 2
บทที่ 2 การปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
4
2.1 การปรับบทบาทภารกิจ 4 2.2 การขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน 6 2.3 ขั้นตอนการด�ำเนินการการขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน 8 2.4 การขอจัดตั้งหน่วยงานที่ถูกต้องตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ 9 2.5 โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการ 11 ภายในของกรมควบคุมโรค 2.6 แนวทางและกระบวนการการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ 13 บทที่ 3 องค์ประกอบแบบค�ำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายใน
23
กรมควบคุมโรค
1. แบบฟอร์มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. หนังสือเวียนของส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่ง ส่วนราชการ 3. ตัวอย่างค�ำสั่งคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรมควบคุมโรค 4. ผังโครงสร้างกรมควบคุมโรค ณ วันที่ 7 กันยายน 2564 5. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2562
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
26
26 28 30 31 32 44
บทที่ 1 บทน�ำ
คู่มือการขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายในและการขอจัดตั้งหน่วยงานที่ถูกต้อง ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ กรมควบคุมโรค ฉบับนี้ ประกอบด้วย ที่มาและ หลักการมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม วัตถุประสงค์ โครงสร้างหน้าที่ และอ�ำนาจของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในของกรมควบคุมโรค กระบวนการ และแนวทางการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงาน องค์ประกอบแบบค�ำชี้แจง ประกอบการแบ่งส่วนราชการภายในกรมควบคุมโรค และแบบฟอร์มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.1 ที่มา
คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2561 ได้มีมติเห็นชอบ ในหลักการการมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม ตามที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. เสนอ เพื่อให้การบริหารราชการภายในส่วนราชการของหัวหน้าส่วนราชการมีความคล่องตัว รวดเร็ว สามารถจัดตั้ง ยุบเลิก และปรับเปลี่ยนส่วนราชการได้ ตอบสนองต่อประชาชน การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และภารกิจที่มีความส�ำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ตลอดจนบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกและแนวโน้มที่ส�ำคัญในอนาคต โดยหลักการ ดังกล่าวสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ ที่มุ่งหมายให้องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบทการพัฒนา ประเทศ ปรับโครงสร้างและระบบบริหารงานราชการใหม่ ในรูปแบบที่มีความหลากหลาย มีการด�ำเนินงานที่ยืดหยุ่น การกระจายอ�ำนาจการตัดสินใจ สามารถปรับตัวเข้าสู่การเป็น ส�ำนักงานสมัยใหม่ น�ำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงสามารถปฏิบัติงานเทียบได้กับ มาตรฐานสากล ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไข เพิ่มเติม มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิง ภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ ไม่จ�ำเป็น การกระจายภารกิจ และทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอ�ำนาจตัดสินใจ การอ�ำนวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมี ผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน และตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
1
1.2 ทิศทางการพั ฒนาประเทศและโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
ทิศทางการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เน้นองค์การภาครัฐ ให้มีความยึดหยุ่น คล่องตัว ปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ และ 2) แผนปฏิรูปประเทศ เน้นองค์การภาครัฐให้มีความกะทัดรัดปรับตัวเร็วมีผลสัมฤทธิ์สูง (Agile Government Transformation) และมีรูปแบบเรียบง่าย (Simplicity) โครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ 1) ปรับตัวทันต่อสถานการณ์ (Adaptive) 2) มีความคล่องตัวรวดเร็ว (Agile) และ 3) มีความยืดหยุ่น (Flexible) 1.3 วัตถุประสงค์และเหตุผลความจ�ำเป็น
1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ก�ำหนดแนวนโยบาย ในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเฉพาะการพัฒนาระบบราชการไว้ในหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ และก�ำหนดเรื่องการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ไว้ในหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 ข ด้านการบริหารราชการ (3) โดยก�ำหนด ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนก�ำลังคน ภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ โดยต้องด�ำเนินการให้เหมาะสม กับภารกิจของหน่วยงานของรัฐ แต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกัน 2) ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ได้ก�ำหนดให้องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ โดยปรับโครงสร้างและระบบการบริหารราชการใหม่ ในรูปแบบที่มีความหลากหลาย มีการด�ำเนินงานที่มีความยืดหยุ่น สามารถปรับตัว เข้าสู่การเป็นส�ำนักงานสมัยใหม่ น�ำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง สามารถ ปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล มีความคล่องตัว ไม่ยึดติดกับการจัดโครงสร้าง องค์กรแบบราชการ สามารถ ยุบ เลิก ปรับเปลี่ยน โครงสร้างองค์กร กฎ ระเบียบ ได้ตามสถานการณ์ ประกอบกับแผนการปฏิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ได้ก�ำหนดประเด็นปฏิรูปที่ 3 โครงสร้างภาครัฐ กะทัดรัด ปรับตัวได้เร็วและระบบงาน ที่มีผลสัมฤทธิ์สูง โดยมีเป้าหมายหรือผลอันพึงประสงค์และผลสัมฤทธิ์ประการหนึ่งว่า “มุ่งสู่การเป็นรัฐบาลที่คล่องตัว (Agile Government Transformation) โดยเน้น การปรับปรุงบทบาทภารกิจและโครงสร้างองค์การที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบ เรียบง่าย (Simplicity) มีระบบการท�ำงานที่คล่องตัว รวดเร็ว ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ในการท�ำงานเน้นการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) และสามารถยุบเลิก ปรับเปลี่ยน องค์กรได้ตามสถานการณ์ของการพัฒนา โดยศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่ 2
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
ฉับพลันของเทคโนโลยี (Disruptive Technology) และรูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารราชการในกระทรวงที่มีความส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ” 3) โดยการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการในปัจจุบันต้องสามารถตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุนี้ การปรับโครงสร้างของ ส่วนราชการ จึงต้องสามารถด�ำเนินการได้อย่างรวดเร็วไปพร้อมกันด้วย มิฉะนั้นส่วนราชการ จะไม่สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างเหมาะสม อย่างไรก็ดี การแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแบ่งส่วนราชการภายในกรมซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติโดยตรง มีกระบวนการ ขั้นตอนที่ต้องใช้เวลาด�ำเนินการไม่ต�่ำกว่า 6 เดือน นับตั้งแต่การจัดท�ำค�ำขอปรับปรุง โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรม การพิจารณาของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการ ภายในกรม และคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง การพิจารณา ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เพื่ออนุมัติการจัดตั้งส่วนราชการ ระดับกองขึ้นใหม่ รวมถึงการพิจารณากฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการของส�ำนักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา ทั้งนี้ ยังไม่รวมขั้นตอนการจัดต�ำแหน่ง และการจัดคนลงตาม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการใหม่ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ (ก.พ.) ก�ำหนด ซึ่งส่วนราชการ ร่วมกับ ส�ำนักงาน ก.พ. จะต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จก่อนน�ำเสนอ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาให้ความเห็นชอบ จะเห็นได้ว่า ขั้นตอนดังกล่าว มีความซับซ้อนและอาจไม่ทัน ต่อการขับเคลื่อนภารกิจของส่วนราชการที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างทันท่วงที
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
3
บทที่ 2
การปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค 2.1 การปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงาน
การปรับปรุงโครงสร้างองค์การ ตามความหมายการพัฒนาระบบราชการ หมายถึง 1) การยุบส่วนราชการ การรวมส่วนราชการ และการจัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่ ทั้งในกรณีการขอจัดตั้งส่วนราชการระดับกรม และกรณีการขอจัดตั้งส่วนราชการ ระดับต�่ำกว่ากรม (ขอจัดตั้งหรือขยายหน่วยงาน) (มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550 : ที่ นร 1200/ว 13 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2550) 2) การปรับปรุงการท�ำงานของส่วนราชการ กรณีที่ท�ำให้ต้องมีการปรับปรุง โครงสร้างตามขั้นตอนของ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. จะต้องเป็นการปรับปรุงที่มีผลให้มี การปรับแก้กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ประกอบด้วย 2.1) ในภาพรวมของส่วนราชการ มีการแก้ไขภารกิจ หรืออ�ำนาจหน้าที่ 2.2) ในส่วนของหน่วยงานในสังกัด มีการแก้ไขอ�ำนาจหน้าที่ หรือเปลี่ยน ชื่อหน่วยงานจากการปรับปรุงขอยกฐานะ หรือขอจัดตั้งใหม่ ส่วนราชการ หมายถึง หน่วยงานที่รับผิดชอบการให้บริการสาธารณะทาง ปกครอง ซึ่งเป็นภารกิจหลักของรัฐ ให้บริการเป็นการทั่วไป และไม่มุ่งก�ำไร โดยมี ความสัมพันธ์กับรัฐ ประกอบด้วย 1) รัฐจัดตั้ง 2) รัฐปกครองบังคับบัญชา 3) ใช้งบประมาณแผ่นดิน 4) ใช้อ�ำนาจฝ่ายเดียวของรัฐเป็นหลักในการด�ำเนินกิจกรรม 5) บุคลากรมีสถานะเป็นข้าราชการ 6) รัฐต้องรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวในการกระท�ำของหน่วยงาน (หลักการจ�ำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐในก�ำกับของฝ่ายบริหาร : ISBN 978-616-7145-20-4) องค์การมหาชน หมายถึง หน่วยงานที่รับผิดชอบการให้บริการสาธารณะ ทางสังคมและวัฒนธรรม เช่น การศึกษา การวิจัย การบริการทางสาธารณสุขและการแพทย์ การอ�ำนวยการการบริการแก่ประชาชน หรือการด�ำเนินการอันเป็นสาธารณะประโยชน์
4
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
อื่นใด ซึ่งไม่เหมาะที่จะใช้วิธีการของทางราชการในการบริหาร และไม่มีวัตถุประสงค์ ในการแสวงหาก�ำไร มีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยมีความสัมพันธ์กับรัฐ ประกอบด้วย 1) รัฐจัดตั้ง 2) ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ หรือสามารถเลี้ยงตัวเองได้ (ยกเว้นแต่มหาวิทยาลัย ต้องด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง) 3) รัฐมีอ�ำนาจบริหารจัดการ (ผ่านการแต่งตั้งคณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง และการให้นโยบาย) 4) การลงทุนต้องขอความเห็นชอบจากรัฐ 5) บุคลากรมีสถานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ 6) วิธีการด�ำเนินการไม่ใช้อ�ำนาจฝ่ายเดียวเป็นหลัก แต่ใช้สัญญา ไม่ใช้กฎระเบียบ ของทางราชการ (ยกเว้นกิจกรรมที่ต้องใช้อ�ำนาจฝ่ายเดียวต้องออกเป็นพระราชบัญญัติ รวมทั้งกรณีจัดตั้งมหาวิทยาลัย) หน่วยบริการรูปแบบพิ เศษ (Service Delivery Unit: SDU) เป็นรูปแบบหน่วยงาน ที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ได้ศึกษาแนวทางการจัดรูปแบบหน่วยงานของรัฐ เพื่อการส่งเสริม ประสิทธิภาพการพัฒนาระบบราชการตามเจตนารมณ์และเงื่อนไขตามมาตรา 3/1 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และแผนยุทธศาสตร์พัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546-2550) เกี่ยวกับการจัดโครงสร้าง รูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ได้ก�ำหนดขึ้นโดยระเบียบ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงานของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ พ.ศ. 2548 มีสถานะเป็นหน่วยงานให้บริการภายในของระบบราชการ โดยมีลักษณะกึ่งอิสระ แต่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลยังคงถือเป็นส่วนหนึ่งของกระทรวงหรือกรม และอยู่ภายใต้ การบังคับบัญชาของปลัดกระทรวงหรืออธิบดี มีเป้าหมายให้บริการหน่วยงานแม่เป็น อันดับแรก และหากมีก�ำลังการผลิตส่วนเกินจะให้บริการหน่วยงานอื่นได้ ในการส่งมอบ ผลผลิตต้องมีระบบการประกันคุณภาพ มีลักษณะของการจัดโครงสร้างการบริหารในแบบการกระจายอ�ำนาจ แยกส่วน ออกมาเป็นหน่วยงานเอกเทศ หรือเรียกกันว่า ศูนย์รับผิดชอบ (Responsibility Center) ที่สามารถดูแลรับผิดชอบการด�ำเนินงานการบริหารทรัพยากรและการส่งมอบผลผลิต ของตนเองในลักษณะเดียวกันกับศูนย์ก�ำไร (Profit Center) ที่นิยมจัดตั้งขึ้นในบริษัทธุรกิจ โดยทั่วไป คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
5
มีการถ่ายโอนและโยกย้ายข้าราชการและลูกจ้างบางส่วนออกไป ลดภาระ ต้นทุน ค่าใช้จ่ายรวมถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพของการด�ำเนินงานให้ดีขึ้น องค์ประกอบของลักษณะงานที่อาจก�ำหนดเป็นหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ มีลักษณะงานเป็นการให้บริการ สามารถด�ำเนินการได้อย่างชัดเจนภายใต้กรอบนโยบายที่ก�ำหนดขึ้น มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงและสร้างภาระรับผิดชอบต่อหน่วยงานแม่ต้นสังกัดได้ สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม มีขนาดที่เหมาะสมเพียงพอต่อการแยกส่วนออกมาจากหน่วยงานแม่ต้นสังกัด ไม่มีผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การบริหารงาน อาจด�ำเนินการในรูปของคณะกรรมการอ�ำนวยการหรือ คณะกรรมการบริหารที่ได้รับการแต่งตั้งจากหน่วยงานแม่ต้นสังกัด โดยให้มีผู้อ�ำนวยการ ซึ่งผ่านการคัดเลือกตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด ท�ำหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารงาน ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการจัดตั้งหน่วยงานดังกล่าว ทั้งนี้ หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ จะต้องมีอิสระความคล่องตัวในการจัดโครงสร้างองค์กร อัตราก�ำลังและค่าตอบแทนของ ตนได้เองตามความเหมาะสม โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการอ�ำนวยการ หรือคณะกรรมการบริหาร หรือผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานแม่สุดแล้วแต่กรณี ซึ่งในปัจจุบันมีหน่วยบริการรูปแบบพิเศษในประเทศไทย จ�ำนวน 2 หน่วยงาน คือ 1) สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ และ 2) ส�ำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา เป็นหน่วย บริการรูปแบบพิเศษ ในสังกัดส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี 2.2 การขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน
ดังนี้
2.2.1 การจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน อาศัยอ�ำนาจตามพระราชบัญญัติ
1) ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 32 กรมมีอ�ำนาจหน้าที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวงตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการของกรม หรือตามกฎหมายว่าด้วยอ�ำนาจหน้าที่ของกรมนั้น ในกรมหนึ่งมีอธิบดีคนหนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติราชการของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์และเป็นไปตามเป้าหมาย แนวทาง และ แผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงและในกรณีที่มีกฎหมายอื่นก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ ของอธิบดีไว้เป็นการเฉพาะ การใช้อ�ำนาจและการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าว 6
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
ให้ค�ำนึงถึงนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด หรือ อนุมัติ และนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงด้วย ในกรมหนึ่งจะให้มีรองอธิบดีเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการรองจากอธิบดี และช่วยอธิบดีปฏิบัติราชการก็ได้ และรองอธิบดีมีอ�ำนาจหน้าที่ตามที่อธิบดีก�ำหนด หรือมอบหมาย 2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 ก�ำหนดให้การบริหารราชการแผ่นดินต้องเป็นไปเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานที่ไมจําเปน การกระจาย ภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถิ่น การกระจายอํานาจตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และการตอบสนองความตองการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผูรับผิดชอบตอผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแตงตั้งบุคคลเขาดํารงตําแหนง หรือปฏิบัติหนาที่ตองคํานึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง ในการปฏิบัติหนาที่ของสวนราชการ ตองใชวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่งใหคํานึงถึงความรับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสม ของแตละภารกิจ เพื่อประโยชนในการดําเนินการใหเปนไปตามมาตรานี้ จะตราพระราช กฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการปฏิบัติราชการ และการสั่งการให สวนราชการและขาราชการปฏิบัติก็ได 2.2.2 ความแตกต่างระหว่างการขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายในและ การขอจัดตั้งหน่วยงานตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ การขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 อธิบดีกรมควบคุมโรค สามารถออกค�ำสั่งจัดตั้งหน่วยงาน เป็นการภายในได้ การขอจัดตั้งหน่วยงานตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ เป็นการขอจัดตั้ง ส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรม (กรณีเพิ่มจ�ำนวนส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรม) เริ่มต้น จากส่วนราชการในสังกัดเสนอขอปรับปรุงโครงสร้าง จนถึงมีกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ที่ก�ำหนดอ�ำนาจหน้าที่ และโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการที่ก�ำหนดขึ้นใหม่ปรากฏใน คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
7
กฎกระทรวง โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) ส่วนราชการ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. และส�ำนักงาน ก.พ. ร่วมกันจัดท�ำข้อเสนอ การแบ่งส่วนราชการ ตามรายละเอียดแบบค�ำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการ ภายในกรม 2) คณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรมร่วมกันพิจารณาข้อเสนอการแบ่ง ส่วนราชการภายในกรม 3) ส่วนราชการสอบถามความเห็นหน่วยงานกลาง จ�ำนวน 7 หน่วยงาน ประกอบด้วย ส�ำนักงาน ก.พ./ส�ำนักงาน ก.พ.ร./ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา/ ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี/ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ/ กระทรวงการคลัง/ส�ำนักงบประมาณ เพื่อให้จัดท�ำความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษร ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง 4) คณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง พิจารณาข้อเสนอฯ ของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรม 5) รัฐมนตรีส่งข้อเสนอการแบ่งส่วนราชการ และรายละเอียดตามค�ำชี้แจงฯ พร้อมแนบรายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง มายังส�ำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อน�ำเสนอคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการ (อ.ก.พ.ร.) พิจารณา 2.3 ขั้นตอนการด�ำเนินการการขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน
1) กลุ่มพัฒนาระบบบริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับมอบนโยบายจาก ผู้บริหารกรมควบคุมโรค เพื่อเป็นกรอบในการด�ำเนินการ 2) กลุ่มพัฒนาระบบบริหารจัดประชุมและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาหน้าที่และอ�ำนาจของหน่วยงาน และจัดท�ำค�ำสั่งจัดตั้งหน่วยงานเป็นการ ภายในกรมควบคุมโรค เสนออธิบดีให้ความเห็นชอบ 3) กลุ่มพัฒนาระบบบริหารแจ้งเวียนค�ำสั่งฯ ให้หน่วยงานภายในกรมควบคุมโรค รับทราบและถือปฏิบัติ โดยการจัดท�ำค�ำสั่งให้ครอบคลุมกับภารกิจของกรมควบคุมโรค เกี่ยวกับ การพัฒนาวิชาการ เพื่อการควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ โดยมีการศึกษา วิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม วินิจฉัย และรักษาโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีจากการป้องกัน และควบคุมโรคและภัยที่คุกคามสุขภาพ และเพื่อให้การด�ำเนินงานภายในกรมควบคุมโรค 8
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
เป็นไปอย่างต่อเนื่อง คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 32 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ผังกระบวนการ
กพร.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รับนโยบายจากผู้บริหาร กพร.จัดประชุมและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องฯ กพร.จัดทำ�คำ�สั่งเสนออธิบดีฯ
No
Yes กพร.แจ้งเวียนคำ�สั่งฯ
ภาพที่ 1 การขอจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน
2.4 การขอจัดตั้งหน่วยงานที่ถูกต้องตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
2.4.1 หลักการมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม การมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ส่วนราชการมีความยืดหยุ่น คล่องตัว สามารถจัดตั้ง ยุบเลิก และปรับเปลี่ยน ส่วนราชการได้ ตอบสนองต่อประชาชน การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และภารกิจที่มีความส�ำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ตลอดจนบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลก และแนวโน้มที่ส�ำคัญในอนคต ก.พ.ร. จึงมอบอ�ำนาจให้ส่วนราชการพิจารณาจัดโครงสร้าง ส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรมได้เอง ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) เป็นการจัดโครงสร้าง (Rearrange) เพื่อให้การด�ำเนินภารกิจ ของส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่เพิ่มจ�ำนวนกองในภาพรวมของ ส่วนราชการ เช่น การยุบเลิก/ยุบรวมกองเดิม และจัดตั้งกองใหม่เพื่อรับผิดชอบภารกิจ ใหม่ ๆ ตามยุทธศาสตร์ นโยบายและภารกิจที่มีความส�ำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล โดย ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ จ�ำนวนกองที่ปรากฎในกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการยังคงเท่าเดิม ส�ำหรับภารกิจอื่น ๆ ประกอบด้วย งานยุทธศาสตร์ และแผนงาน งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร งานตรวจราชการ งานบริหาร ทรัพยากรบุคคล งานบริหารการคลัง งานกฎหมาย งานการต่างประเทศ งานพัฒนา บุคลากร และงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. ก�ำหนด คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
9
2) เป็นการจัดหน่วยงานของราชการส่วนกลางในภูมิภาคใหม่ โดยไม่เพิม่ จ�ำนวนหน่วยงาน เช่น การจัดพื้นที่จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบใหม่ รวมถึง การย้ายสถานที่ตั้งของส�ำนักงานจากจังหวัดหนึ่งไปยังอีกจังหวัดหนึ่ง ตามการจัดพื้นที่ จังหวัดที่อยู่ในความรับผิดชอบใหม่ 3) เป็นการจัดหน่วยงานในต่างประเทศใหม่ โดยไม่เพิ่มจ�ำนวนหน่วยงาน เช่น การย้ายสถานที่ตั้งของส�ำนักงานจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนี่งซึ่งอยู่ใน กลุ่มประเทศประเภทเดียวกัน หรือจากเมืองหนึ่งไปยังอีกเมืองหนึ่งภายในประเทศ เดียวกัน ทั้งนี้ ส�ำนักงานดังกล่าวต้องเป็นส�ำนักงานตามกฎหมาย/ตามที่รัฐมนตรีประกาศ ก�ำหนด 2.4.2 การก�ำหนดต�ำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการที่ต�่ำกว่าระดับกรม ตามการมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม กรณีที่ส่วนราชการมีกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการใหม่ให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์การก�ำหนดต�ำแหน่งประเภทอ�ำนวยการ ตามที่ ก.พ. ก�ำหนด 2.4.3 การด�ำเนินการปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 1) ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ได้ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินการการปรับปรุง การแบ่งส่วนราชการภายในกรมหลายครั้งและได้แจ้งให้ส่วนราชการทราบแล้ว ได้แก่ 1.1) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1204/ว 6 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2547 เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในกรม (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2547) 1.2) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 3 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2549 เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในกรม (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2547) 1.3) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 18 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2549 เรื่อง การปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรี เรื่องกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ (ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2549) 1.4) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 13 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2550 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐ (ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550) 1.5) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 27 ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เรื่อง การปรับปรุงแนวทางการจัดส่วนราชการในภูมิภาค (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2560)
10
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
2) โดยที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการการมอบอ�ำนาจ การแบ่งส่วนราชการภายในกรมตามที่ส�ำนักงาน ก.พ.ร. เสนอ เพื่อให้ส่วนราชการ พิจารณาจัดโครงสร้างส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรมได้เองอย่างรวดเร็ว เหมาะสมกับ บทบาทภารกิจที่เปลี่ยนแปลง และตอบสนองต่อประชาชนตามหลักการมอบอ�ำนาจ ข้างต้น ส�ำนักงาน ก.พ.ร. จึงเห็นควร 1) ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการ พัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง และคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรม และ 2) ปรับปรุงขั้นตอนการแบ่งส่วนราชการภายในกรม นอกจากนี้ ให้ส่วนราชการ คงด�ำเนินการปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการภายในกรมตามแนวทางปฏิบัติที่ปรากฎใน หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. 2.5 โครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการ
ภายในของกรมควบคุมโรค
2.5.1 โครงสร้างของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในของกรมควบคุมโรค คณะทำ�งานแบ่งส่วนราชการภายในของกรมควบคุมโรค 1. อธิบดีกรมควบคุมโรค เป็นประธาน 2. รองอธิบดีกรมควบคุมโรค เป็นรองประธาน (อธิบดีกรมควบคุมโรคมอบหมาย) 3. - ผู้แทนสำ�นักงาน ก.พ. เป็นคณะทำ�งาน - ผู้แทนสำ�นักงาน ก.พ.ร. เป็นคณะทำ�งาน - ผู้แทนสำ�นักงบประมาณ เป็นคณะทำ�งาน 4. ผู้อำ�นวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เป็นคณะทำ�งานและเลขานุการ
องค์ประกอบ
หน้าที่และอำ�นาจ
1. พิจารณาข้อเสนอการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในกรม โดยปรับปรุงการจัดและพัฒนาส่วนราชการและวิธีปฏิบัติงาน ให้เป็นไป ตามมาตรา 3/1 แห่ง พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพรฎ.บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2. พิจารณากำ�หนดหน้าที่และอำ�นาจ รวมถึงขอบเขตความรับผิดชอบ ของส่วนราชการและองค์กรรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ 3. เรียกให้ส่วนราชการและองค์กรรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการในสังกัด จัดส่งเอกสารข้อมูลฯ 4. แต่งตั้งคณะทำ�งานย่อยเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ ตามที่มอบหมาย 5. ปฏิบัติการอื่นเพื่อช่วย ก.พ.ร.
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
11
ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2561 เห็นชอบกับข้อเสนอ ของส�ำนักงาน ก.พ.ร. เกี่ยวกับหลักการการมอบอ�ำนาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม ซึ่งได้มีการปรับปรุงรายละเอียดและขั้นตอนการแบ่งส่วนราชการภายในกรม โดยหลักการ ดังกล่าวมุ่งหมายให้การบริหารราชการภายในส่วนราชการมีความคล่องตัว ตอบสนองต่อประชาชน การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และภารกิจที่มีความส�ำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ตลอดจนบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกและแนวโน้มที่ส�ำคัญในอนาคต เพื่อให้การแบ่งส่วนราชการภายในกรมควบคุมโรค เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับทิศทางการบริหารราชการแนวใหม่ที่เน้นการจัดการ เพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ ต่อภารกิจของรัฐและประโยชน์สุขของประชาชน จึงแต่งตั้งคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการ ภายในของกรมควบคุมโรค โดยมีองค์ประกอบ และหน้าที่และอ�ำนาจดังนี้ 2.5.2 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) อธิบดีกรมควบคุมโรค เป็นประธาน 2) รองอธิบดีกรมควบคุมโรค ที่อธิบดีมอบหมาย เป็นรองประธาน 3) ผู้แทนส�ำนักงาน ก.พ. เป็นคณะท�ำงาน 4) ผู้แทนส�ำนักงาน ก.พ.ร. เป็นคณะท�ำงาน 5) ผู้แทนส�ำนักงบประมาณ เป็นคณะท�ำงาน 6) ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เป็นคณะท�ำงานและเลขานุการ 2.5.3 หน้าที่และอ�ำนาจ 1) พิจารณาข้อเสนอการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ภายในกรม โดยปรับปรุงการจัดและพัฒนาส่วนราชการและวิธีปฏิบัติงาน ตลอดจน ระบบบุคคลให้ทันสมัยและรองรับกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายและภารกิจที่มีความส�ำคัญ เร่งด่วนของรัฐบาล รวมทั้งบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกและแนวโน้มที่ส�ำคัญในอนาคต และให้เป็นไปตามมาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 2) พิจารณาก�ำหนดหน้าที่และอ�ำนาจ รวมถึงขอบเขตความรับผิดชอบ ของส่วนราชการและองค์กรรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการภายในสังกัด รวมถึงกรอบอัตรา ก�ำลัง หน้าที่ความรับผิดชอบของต�ำแหน่ง 3) เรียกให้ส่วนราชการและองค์กรรูปแบบอื่นที่มิใช่ส่วนราชการ ภายในสังกัด จัดส่งเอกสารข้อมูลเข้าชี้แจงข้อเท็จจริงและด�ำเนินการอื่น ๆ แก่คณะท�ำงาน และผู้ได้รับแต่งตั้ง หรือได้รับมอบหมาย 12
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
4) แต่งตั้งคณะท�ำงานย่อยเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่มอบหมาย 5) ปฏิบัติการอื่นเพื่อช่วย ก.พ.ร. ในการด�ำเนินการให้เป็นไปตาม มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม 2.5.4 หลักในการปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ 1) กะทัดรัด : ก�ำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้าง ระดับกระทรวง และคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรมให้มีเท่าที่จ�ำเป็น เพื่อความคล่องตัว ในการปฏิบัติงาน และสามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) ร่วมกันท�ำงาน : สร้างกลไกการร่วมกันท�ำงานของส่วนราชการและ หน่วยงานกลาง เพื่อความรวดเร็วในการจัดท�ำข้อเสนอ และเป็นการลดขั้นตอนใน การพิจารณาในส่วนของหน่วยงานกลาง 3) เพิ่มศักยภาพกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร : ก�ำหนดให้เจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาระบบบริหารเป็นกรรมการและเลขานุการร่วม ในคณะกรรมการ พัฒนาโครงสร้างฯ และคณะท�ำงานเพื่อเสริมสร้างศักยภาพและความเชี่ยวชาญในงานพัฒนา ระบบบริหาร 2.6 แนวทางและกระบวนการการปรับปรุงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
2.6.1 การแบ่งส่วนราชการภายในกรมตามหลักการมอบอ�ำนาจ มีขั้นตอนสรุปได้ ดังนี้ 1) ส่วนราชการส�ำนักงาน ก.พ.ร. และส�ำนักงาน ก.พ. ร่วมกันจัดท�ำ ข้อเสนอการแบ่งส่วนราชการ โดยมีรายละเอียดตามค�ำชี้แจงประกอบการแบ่ง ส่วนราชการภายในกรม และสรุปความเห็น เพื่อน�ำเสนอต่อคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการ ภายในกรมและคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง 2) คณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรมร่วมกันพิจารณาข้อเสนอ การแบ่งส่วนราชการภายในกรมจนได้ข้อยุตเิ บื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องหน้าที่และอ�ำนาจ ของส่วนราชการตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ การจัดแบ่งงานภายในกอง การจัดอัตราก�ำลังและการก�ำหนดต�ำแหน่งเพื่อน�ำข้อเสนอฯ เสนอต่อคณะกรรมการ พัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวงเพื่อพิจารณา 3) ส่วนราชการถามความเห็นหน่วยงานกลาง ได้แก่ ส�ำนักงาน ก.พ. ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงการคลัง และส�ำนักงบประมาณ คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
13
เพื่อให้จัดท�ำความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ พัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง 4) คณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวงพิจารณา ข้อเสนอฯ ของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรม 5) รัฐมนตรีส่งหน้าที่และอ�ำนาจของส่วนราชการตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ การแบ่งส่วนงานภายใต้กอง กรอบอัตราก�ำลังและการก�ำหนดต�ำแหน่ง พร้อมแนบรายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง มายังส�ำนักงาน ก.พ.ร. 6) ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ด�ำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการแล้วรายงาน ก.พ.ร. เพื่อทราบ และแจ้งผลให้ส่วนราชการด�ำเนินการ ต่อไปโดย (ก) กรณีที่ต้องปรับปรุงแก้ไขกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการให้ ส่วนราชการ จัดส่งกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการให้ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พิจารณาด�ำเนินการตามขั้นตอนปกติต่อไป (ข) กรณีที่ไม่ต้องปรับปรุงแก้ไขกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ให้ส่วนราชการด�ำเนินการตามขั้นตอนปกติต่อไป เช่น การออกประกาศกระทรวง เป็นต้น ทั้งนี้ ให้ส่วนราชการจัดต�ำแหน่งตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ใหม่ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ. ก�ำหนด เพื่อเสนอ อ.ก.พ. กระทรวงให้ความเห็นชอบ 2.6.2 การแบ่งส่วนราชการภายในกรมที่ส่วนราชการต้องเสนอให้ ก.พ.ร. พิจารณา เป็นการขอจัดตั้งส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรม กรณีเพิ่มจ�ำนวน ส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรม เช่น การจัดตั้งกอง การจัดตั้งหน่วยงานส่วนกลาง ในภูมิภาค การจัดตั้งส่วนราชการส่วนภูมิภาค การจัดตั้งหน่วยงานในต่างประเทศขึ้นใหม่ โดยมีขั้นตอนสรุปได้ดังนี้ 1) ส่วนราชการ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. และส�ำนักงาน ก.พ. ร่วมกันจัดท�ำ ข้อเสนอการแบ่งส่วนราชการ โดยมีรายละเอียดตามค�ำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการ ภายในกรม และสรุปความเห็น เพื่อน�ำเสนอต่อคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรม และคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง
14
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
2) คณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรมร่วมกันพิจารณาข้อเสนอ การแบ่งส่วนราชการภายในกรม เพื่อน�ำข้อเสนอฯ เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนา โครงสร้างระบบราชการของกระทรวง เพื่อพิจารณา 3) ส่วนราชการถามความเห็นหน่วยงานกลาง ได้แก่ ส�ำนักงาน ก.พ. ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงการคลัง และส�ำนักงบประมาณ เพื่อให้จัดท�ำความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ พัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวง 4) คณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการของกระทรวงพิจารณา ข้อเสนอฯ ของคณะท�ำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรม 5) รัฐมนตรีส่งข้อเสนอการแบ่งส่วนราชการ และรายละเอียดตาม ค�ำชี้แจงฯ พร้อมแนบรายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการ ของกระทรวงมายังส�ำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อน�ำเสนอ ก.พ.ร. พิจารณา 6) เมื่อ ก.พ.ร. พิจารณาแล้ว ให้ส�ำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งผลการพิจารณา เพื่อให้ส่วนราชการด�ำเนินการต่อไป (ก) กรณี ก.พ.ร. เห็นชอบข้อเสนอฯ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงส่งร่าง กฎกระทรวงฯ ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา และส่งร่างกฎกระทรวงฯ ดังกล่าวให้ส�ำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาต่อไป (ข) กรณี ก.พ.ร. มีความเห็นไม่สอดคล้องกับคณะกรรมการพัฒนา โครงสร้างระบบราชการของกระทรวง ให้ส�ำนักงาน ก.พ.ร. เสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา และเมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล้ว ให้ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีส่งร่าง กฎกระทรวงฯ ให้ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา และส่งร่างกฎกระทรวงฯ ดังกล่าวให้ส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีและประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาต่อไป ทั้งนี้ ให้ส่วนราชการจัดต�ำแหน่งตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการใหม่ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.พ. ก�ำหนด เพื่อเสนอ อ.ก.พ. กระทรวง ให้ความเห็นชอบ (ขั้นตอนการแบ่งส่วนราชการภายในกรมปรากฏตามภาพที่ 2)
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
15
ภาพที่ 2 ขั้นตอนการแบ่งส่วนราชการภายในกรม 16
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
17
4
3
2
1
No.
Yes
พิจารณา*
No
จัดทำขอมูลเอกสารแบบคำชีแ้ จง ประกอบการแบงสวนราชการฯ
จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงาน จัดเตรียมขอมูล
จัดทำคำสั่ง
ผังกระบวนการ
คณะทำงานแบงสวนราชการภายใน ฯ พิจารณาขอเสนอ เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาโครงสรางระบบ ราชการของกระทรวงฯ เพื่อพิจารณา * สำหรับกรณีที่ 1 ใหเสนอขอเสนอจนไดขอยุติ
คณะทำงานแบงสวนราชการ ภายในฯ
คณะทำงานจัดเตรียมขอมูลฯ
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงานจัดเตรียมขอมูลแบบคำ ชี้แจงประกอบการแบงสวนราชการภายในกรม เสนอ ผูบริหารลงนาม คณะทำงานจัดเตรียมขอมูล จัดทำขอเสนอ ตรวจสอบ/ กลั่นกรอง/ศึกษา/วิเคราะห ตามเอกสารแบบคำชี้แจง ประกอบการแบงสวนราชการภายในของกรมควบคุมโรค ที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด เสนอตอคณะทำงานแบงสวน ราชการภายในของกรมควบคุมโรค
ผูรับผิดชอบ กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
รายละเอียด จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงานแบงสวนราชการภายในของ กรมควบคุมโรค ตามแนวทางทีส่ ำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด เสนอผูบริหารลงนาม
กระบวนการจัดดทำ ท�ำ กระบวนการจั ที่ 1 : การแบ่ งส่วนราชการภายในกรมตามหลั กการมอบอ�ำนาจ กรณีทกรณี ี่ 1 : การแบ งสวนราชการภายในกรมตามหลั กการมอบอำนาจ
18
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
8
7
6
5
No.
จัดสง กฎกระทรวง 2
กรณีที่ 1
ติดตามผลการตรวจสอบ
ติดตามผลการพิจารณา
สอบถามความเห็น หนวยงานกลาง
ผังกระบวนการ
ติดตามผลการตรวจสอบความถูกตองของกฎกระทรวงแบง สวนราชการ มี 2 กรณี 1. กรณีที่ตองปรับปรุงแกไขกฎกระทรวงแบงสวนราชการ 2. กรณี ท ี ่ ไ ม ต อ งปรั บ ปรุ ง แก ไ ขกฎกระทรวงแบ ง ส ว น ราชการ กรณีที่ตองปรับปรุงแกไขกฎกระทรวงแบงสวนราชการ จัดสงกฎกระทรวงฯ ใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อพิจารณาตามขั้นตอนปกติ
รายละเอียด สอบถามความเห็นหนวยงานกลาง ไดแก สำนักงาน ก.พ. สำนักงาน ก.พ.ร สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักงานสภาพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงการคลัง และ สำนักงบประมาณ เพื่อใหจัดทำความเห็นเปนลายลักษณ อักษรประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการพัฒนา โครงสรางระบบราชการของกระทรวง ติดตามผลการพิจารณาขอเสนอจากคณะกรรมการ พัฒนาโครงสรางระบบราชการของกระทรวง
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุมงานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุมงานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุมงานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
ผูรับผิดชอบ
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
19
10
9
No.
แจงหนวยงาน ทราบ
จัดทำประกาศ กระทรวงเสนอ รัฐมนตรีฯ
ผังกระบวนการ กรณีที่ 2
แจงผลการพิจารณาการปรับโครงสรางสวนราชการ ใหหนวยงานทราบ
รายละเอียด กรณีที่ไมตองปรับปรุงแกไขกฎกระทรวงแบงสวนราชการ จัดทำประกาศกระทรวงเสนอรัฐมนตรีพจิ ารณาลงนาม
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
ผูรับผิดชอบ กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
20 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
4
3
2
1
No.
Yes
พิจารณา*
No
จัดทำขอมูลเอกสารคำชี้แจง ประกอบการแบงสวนราชการฯ
จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงาน จัดเตรียมขอมูลฯ
จัดทำคำสั่งฯ
ผังกระบวนการ
คณะทำงานจัดเตรียมขอมูลฯ
คณะทำงานแบงสวนราชการ ภายใน ฯ
คณะทำงานแบงสวนราชการภายในของกรมฯ พิจารณา ขอเสนอ เพื่อนำเสนอตอคณะกรรมการพัฒนาโครงสราง ระบบราชการของกระทรวง เพื่อพิจารณา
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงานจัดเตรียมขอมูลแบบคำชี้แจง ประกอบการแบงสวนราชการภายในกรมควบคุมโรค เสนอผูบริหารลงนาม คณะทำงานจัดเตรียมขอมูล จัดทำขอเสนอ ตรวจสอบ/ กลั่นกรอง/ศึกษา/วิเคราะห ตามเอกสารแบบคำชี้แจง ประกอบการแบงสวนราชการภายในของกรมควบคุมโรค ที่สำนักงาน ก.พ.ร กำหนด เสนอตอคณะทำงานแบงสวน ราชการภายในของกรมควบคุมโรค
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
ผูรับผิดชอบ
จัดทำคำสั่งแตงตั้งคณะทำงานแบงสวนราชการภายในของ กรมควบคุมโรค ตามแนวทางทีส่ ำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด เสนอผูบริหารลงนาม
รายละเอียด
่ต้องเสนอให้ กรณี : การแบ่ ส่วนราชการภายในกรมที พิ จารณา เพิ่ มวจ�นราชการระดั ำนวนส่วนราชการระดั บต�่ำกว่ากรม) กรณี ที่ท2ี่ 2: การแบ งสงวนราชการภายในกรมที ่ตองเสนอให ก.พ.ร.ก.พ.ร. พิจารณา (กรณีเพิ(กรณี ่มจำนวนส บต่ำกวากรม)
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
21
7
6
5
No.
ติดตามผลการพิจารณาจาก ส.ก.พ.ร
ติดตามผลการพิจารณา
สอบถามความเห็น หนวยงานกลาง
ผังกระบวนการ
ผูรับผิดชอบ
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
ติดตามผลการพิจารณาขอเสนอจากคณะกรรมการพัฒนา โครงสรางระบบราชการของกระทรวง
ติดตามผลการตรวจสอบความถูกตองของกฎกระทรวงแบง สวนราชการ มี 2 กรณี คือ 1) กรณี ก.พ.ร เห็นชอบขอเสนอ ฯ 2) กรณี ก.พ.ร มีความเห็นไมสอดคลองกับคณะกรรมการ พัฒนาโครงสรางระบบราชการของกระทรวง
สอบถามความเห็นหนวยงานกลาง ไดแก สำนักงาน ก.พ. กลุม งานพัฒนาราชการ สำนักงาน ก.พ.ร สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงาน กลุมพัฒนาระบบบริหาร เลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ กระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ เพื่อใหจัดทำความเห็นเปนลายลักษณอักษรประกอบการ พิจารณาของคณะกรรมการพัฒนาโครงสรางระบบราชการ ของกระทรวง
รายละเอียด
22
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
11
10
9
8
No.
แจงหนวยงาน
ติดตามผลการพิจารณา และประสานฯ
ติดตามผลการพิจารณาของ คณะรัฐมนตรี
กรณีความเห็นไมสอดคลองฯ
จัดสง กฎกระทรวง
กรณีเห็นชอบ
ผังกระบวนการ
ผูรับผิดชอบ
แจงผลการพิจารณาการปรับโครงสรางสวนราชการ ใหหนวยงานทราบ
กรณี ก.พ.ร มีความเห็นไมสอดคลองกับคณะกรรมการพัฒนา โครงสรางระบบราชการของกระทรวง สำนักงาน ก.พ.ร. จะ เสนอเรื่องตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาแลว สำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีจะสงรางกฎกระทรวงใหสำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาตรวจพิจารณาและสงรางกฎกระทรวง ใหสำนัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา ติดตามผลการพิจารณาและประสานการจัดทำกฎกระทรวง แบงสวนราชการประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุม งานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กลุมงานพัฒนาราชการ กลุมพัฒนาระบบบริหาร
กรณี ก.พ.ร เห็นชอบขอเสนอฯ จัดสงรางกฎกระทรวงแบง กลุม งานพัฒนาราชการ สวนราชการใหสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ กลุมพัฒนาระบบบริหาร พิจารณา และสงรางกฎกระทรวงฯ ดังกลาว ใหสำนัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา
รายละเอียด
บทที่ 3
องค์ประกอบแบบค�ำชี้แจงประกอบการแบ่งส่วนราชการภายใน กรมควบคุมโรค 3.1 การทบทวนบทบาทภารกิจภาพรวมของส่วนราชการ
ส่วนราชการจะต้องวางแนวทางว่าในอนาคตส่วนราชการต้องการเป็นหน่วยงาน ที่ด�ำรงอยู่เพื่อท�ำอะไรให้กับประเทศชาติ และตอบสนองประชาชนอย่างไร สอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งหน่วยงานหรือไม่อย่างไร และเป็นภารกิจที่ไม่ซ�้ำซ้อน กับส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐ นอกจากนี้เหตุใดจึงจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการ โดยส่วนราชการ ไม่สามารถให้ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม หรือหน่วยงานของรัฐ รูปแบบอื่นด�ำเนินการแทนได้ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลประกอบให้ชัดเจน 3.2 เหตุผลความจ�ำเป็นในการขอจัดตั้ง
ต้องระบุเหตุผลความจ�ำเป็นของการขอจัดตั้งที่ชัดเจน เช่น เหตุใดจึงจ�ำเป็นต้อง ขอปรับปรุง/ขอจัดตั้งเป็นหน่วยงานขึ้นใหม่ มีความสอดคล้องของภารกิจของหน่วยงาน กับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายส�ำคัญของรัฐบาล แผนการปฏิรูปประเทศ และมติคณะรัฐมนตรี สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงในด้านใด รวมทั้งเมื่อจัดตั้งขึ้นแล้วมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นอย่างไร และแสดงถึงประโยชน์ที่ประชาชน จะได้รับอย่างชัดเจน ให้ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) ที่มีผลกระทบต่อการท�ำงานของหน่วยงาน รวมถึงการเตรียมพร้อมและรองรับการเปลี่ยนแปลง 2) ปัญหาการด�ำเนินงาน หรือการบริหารงานของกรม อันเนื่องมาจากโครงสร้าง ส่วนราชการเดิมไม่เหมาะสม 3) การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของหน่วยงานในอนาคต หน้าที่ ความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงไป โดยชี้แจงรายละเอียดมีงานเพิ่มขึ้นอย่างไร หรือลักษณะงานเปลี่ยนแปลงไปประการใด 4) มีการเปลี่ยนแปลงระบบ หรือวิธีการท�ำงาน เฉพาะหน่วยงานหรือในภาพรวม ของกรม แสดงกระบวนการด�ำเนินงานระหว่างหน่วยงานภายในกรม และให้เสนอ แผนการน�ำ Digital Technology มาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อสร้างประสิทธิภาพในการท�ำงาน หรือน�ำมาทดแทน เพื่อลดภาระงานที่มีอยู่เดิม
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
23
3.3 ภารกิจของส่วนราชการที่จะมีการแบ่งส่วนราชการใหม่
ต้องระบุให้ชัดเจนว่าส่วนราชการที่จะจัดตั้งมีกรอบภารกิจอะไรบ้างที่จะด�ำเนินการ บทบาทของส่วนราชการนั้นคืออะไร มีหน้าที่และอ�ำนาจอย่างไร โดยให้ระบุ 1) ขอบเขตหน้าที่และอ�ำนาจของส่วนราชการระดับกรม 2) ให้แสดงแผนภูมิการแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน 3) ให้แสดงการเปรียบเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอ ปรับปรุงใหม่ โดยให้จัดเป็นตารางเปรียบเทียบ ทั้งนี้ ให้ระบุด้วยว่ามีการปรับปรุงอย่างไร (รายละเอียดตามเอกสารแนบหมายเลข 1) 4) หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ 4.1) ให้ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการในปัจจุบัน 4.2) ส�ำหรับส่วนราชการที่ขอปรับปรุง ให้ชี้แจงหน้าที่และความรับผิดชอบ ของส่วนราชการที่ขอปรับปรุงเปรียบเทียบกับหน้าที่ความรับผิดชอบในปัจจุบัน (รายละเอียดตามเอกสารแนบหมายเลข 2) 3.4 อัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่
1) ให้สรุปกรอบอัตราก�ำลังเจ้าหน้าที่ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (ข้าราชการ/ พนักงานราชการ/ลูกจ้างประจ�ำ ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานจ้าง) 2) ให้แสดงแผนภูมิอัตราก�ำลังเฉพาะกอง/ส�ำนักที่เกี่ยวข้องกับการขอปรับปรุง การแบ่งส่วนราชการ พร้อมทั้งรายละเอียดการจัดอัตราก�ำลังที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และ อัตราก�ำลังที่จะปรับปรุงให้สอดคล้องกับการแบ่งส่วนราชการภายในกรมใหม่ 3.5 ปริมาณงาน
ให้แสดงว่างานส�ำคัญ ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันได้แก่งานอะไรบ้าง มีปริมาณงาน มากน้อยเพียงใด โดยให้แสดงสถิติปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี ส�ำหรับงานใหม่ให้แสดงว่า ได้ลงมือด�ำเนินการอะไรไปบ้างแล้วอย่างไร หรือไม่ และให้แสดงประมาณการปริมาณงาน ล่วงหน้า 3 ปี ตามงานที่จะพึงมี หรือเป้าหมายของงานตามแผน (รายละเอียดตาม เอกสารแนบหมายเลข 3) 3.6 แสดงตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่เป็นผลจากการด�ำเนินงานปรับปรุงโครงสร้าง
และภารกิจของส่วนราชการ/ส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรมใหม่ 3.7 ค่าใช้จ่าย
ให้แสดงรายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในปีปัจจุบัน และประมาณการค่าใช้จ่าย ในปีงบประมาณถัดไป (3 ปีข้างหน้า) (รายละเอียดตามเอกสารแนบหมายเลข 4) 24 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
3.8 ร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
ให้เสนอร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ส�ำหรับกรณีส่วนราชการระดับต�่ำกว่ากรม ให้เสนอร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ พร้อมเหตุผลในการปรับปรุงกฎกระทรวง 3.9 รายละเอียดอื่น ๆ
ให้ระบุรายละเอียดอื่น ๆ ที่เห็นว่าเกี่ยวข้องและจ�ำเป็นเพื่อประโยชน์ใน การพิจารณาหรือที่เป็นประเด็นส�ำคัญที่นอกเหนือจากระบุข้างต้น
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
25
ภาคผนวก 1. แบบฟอร์มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เอกสารแนบหมายเลข 1 ตารางเปรียบเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอปรับปรุงใหม่
การแบ่งส่วนราชการ การแบ่งส่วนราชการ หมายเหตุ ในปัจจุบัน ที่ขอปรับปรุงใหม่ กรม.................................. กรม.................................. (ตัวอย่าง) ก. ราชการบริหาร ก. ราชการบริหาร เป็นการขอปรับปรุงชื่อ ส่วนกลาง ส่วนกลาง ส่วนราชการใหม่ เป็น (1).................... (1).................... การแยกงาน................... (2).................... (2).................... ของกอง.......................... (3).................... (3).................... ....................................... (4).................... (4).................... (และกอง)....................... ข. ราชการบริหาร ข. ราชการบริหาร ....................................... ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค มาจัดตั้งเป็นส่วน (1)..................... (1)..................... ราชการใหม่ เอกสารแนบหมายเลข 2 รายการเปรียบเทียบหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ
ก่อนปรับปรุง
ปรับปรุงหรือจัดใหม่แล้ว
เหตุผลของ การเปลี่ยนแปลง
26 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
เอกสารแนบหมายเลข 3 ตารางแสดงปริมาณงานย้อนหลัง และเป้าหมายล่วงหน้า
งาน/ กิจกรรม
ตัวชี้วัด
หน่วยนับ
ปริมาณงานย้อน หลัง
เป้าหมายล่วงหน้า
หมายเหตุ
ปี.... ปี.... ปี.... ปี.... ปี.... ปี....
เอกสารแนบหมายเลข 4 กรอบค่าใช้จ่ายล่วงหน้า
แหล่งเงิน
งบประมาณ ปัจจุบัน ปี....
ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า ปี....
ปี....
ปี....
รวมทั้งสิ้น เงินงบประมาณ • งบบุคลากร • งบดำ�เนินงาน • งบลงทุน • งบเงินอุดหนุน • งบรายจ่ายอื่น เงินนอกงบประมาณ
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
27
2. หนังสือเวียนของส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งส่วนราชการภายในกรม
ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ได้ก�ำหนดแนวทางปฏิบัติในการด�ำเนินการการปรับปรุง การแบ่งส่วนราชการภายในกรมหลายครั้งและได้แจ้งให้ส่วนราชการทราบแล้ว ได้แก่ 1) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1204/ว 6 ลงวันที่ 8 ธันวาคม 2547 เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายใน กรม (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2547) (รายละเอียดตาม QR Code) 2) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 3 ลงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2549 เรื่อง การแบ่งส่วนราชการ ภายในกรม (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2547) (รายละเอียดตาม QR Code) 3) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 18 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2549 เรื่อง การปรับปรุงมติคณะรัฐมนตรี เรื่องกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2549) (รายละเอียดตาม QR Code) 4) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 13 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2550 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจ เกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐ (ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550) (รายละเอียดตาม QR Code) 5) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 27 ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เรื่อง การปรับปรุงแนวทาง การจัดส่วนราชการในภูมิภาค (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2560) (รายละเอียดตาม QR Code)
28 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
6) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 1 ลงวันที่ 25 มกราคม 2562 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจ เกี่ยวกับมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง การทบทวนข้อเสนอให้ จัดตั้งหน่วยงานของรัฐตามแผนการปฏิรูปประเทศ (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 มกราคม 2562) (รายละเอียดตาม QR Code) 7) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 3 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2562 เรื่อง การมอบอ�ำนาจการแบ่ง ส่วนราชการภายในกรม (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2561) (รายละเอียดตาม QR Code) 8) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1008/ว 5 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การก�ำหนดต�ำแหน่งประเภทอ�ำนวยการ กรณีส่วนราชการ มีกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการใหม่ (รายละเอียดตาม QR Code) 9) หนังสือส�ำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว 1 ลงวันที่ 25 มกราคม 2565 เรื่อง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ ขั้นตอนการขอจัดตั้งและการประเมินผลหน่วยบริการ รูปแบบพิเศษ (รายละเอียดตาม QR Code)
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
29
3. ตัวอยางคำสั่งคณะทำงานแบงสวนราชการภายในกรมควบคุมโรค ่งคณะท�ำงานแบ่ วอย่ างค�ำ่งสั ส่วนราชการภายในกรมควบคุ 3.3.ตัวตัอย างคำสั คณะทำงานแบ งสวงนราชการภายในกรมควบคุ มโรคมโรค
30 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
33 33
4. ผังโครงสร้างกรมควบคุมโรค ณ วันที่ 7 กันยายน 2564
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
31
5. กฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2562
5. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2562
32
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
33
34 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
37
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
35
36 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
39
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
37
38 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
39
40 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
41
42 คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
คู่มือการปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างหน่วยงานกรมควบคุมโรค
43
บรรณานุกรม กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2552. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562. สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564), 2559. ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580), ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ: ประเด็นที่ 4.3 การพัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะสูงใน การปฏิบัติงานอย่างเป็นมืออาชีพและมีมาตรฐานระดับสากล. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 24 กรกฎาคม 2550 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจ เกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐ. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 1 พฤษภาคม 2561 เรื่อง การขอจัดตั้งหน่วยงาน ตามแผนการปฏิรูปด้านต่าง ๆ. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 4 ธันวาคม 2561 เรื่อง หลักการมอบอำ�นาจการ แบ่งส่วนราชการภายในกรม. มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 มกราคม 2562 เรื่อง การทบทวนข้อเสนอให้จัด ตั้งหน่วยงานของรัฐตามแผนการปฏิรูปประเทศ. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารงานของหน่วยบริการ รูปแบบพิเศษ พ.ศ. 2548 หนังสือสำ�นักงาน ก.พ.ร. ด่วนที่สุด ที่ นร 1200/ว3 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2562 เรื่อง การมอบอำ�นาจการแบ่งส่วนราชการภายในกรม หนังสือสำ�นักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ว27 ลงวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เรื่อง การปรับปรุงแนวทางการจัดส่วนราชการในภูมิภาค