Manualajchainew

Page 1

ระบบการสํารวจขอมูลการมีงานทําของบัณฑิต/ความพึ่งพอใจนายจาง 1.บทนํา 1.1 ความตองการเบื้องตน ความตองการในการจัดเก็บขอมูลของบัณฑิตในแตละปการศึกษา มหาวิทยาลัยสามารถนําขอมูลดังกลาวไปชวยใน การปรับปรุง กําหนดทิศทาง สรางแผนกลยุทธในการเปดรับนักศึกษาใหมไดอยางสะดวกรวดเร็ว ขอมูลที่จัดเก็บที่เครื่องแม ขาย(Server) จะทําใหเรียกคนไดจากการเชื่อมตอของคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย ดังนั้น ความตองการที่สําคัญคือ การ พัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการจัดเก็บขอมูลบัณฑิต ตองเกิดอยางมีประสิทธิภาพ จากในอดีตการจัดเก็บขอมูล หรือการสํารวจ จะเกิดตอนที่บัณฑิตเขามารายงานตัวเพื่อเขารวมพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ลักษณะของขอมูลจะผานทางการทําแบบสํารวจในรูปแบบของแบบสอบถาม(Survey Form) การจัดเก็บขอมูล ลักษณะนี้ ตองทําการแปลขอมูลลงในระบบคอมพิวเตอร โดยสวนมากจะใชโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยวิเคราะหขอมูล อาทิ โปรแกรมไมโครซอฟตเอกเซล(Microsoft Excel) หรือ โปรแกรมเอสพีเอสเอส (SPSS) เปนตน ขั้นตอนของการจัดเก็บจากแบบสอบถาม อาจใหเกิดความไมสมบูรณของขอมูล อาทิเชน กรอกขอมูลไมครบถวน เก็บแบบสอบถามไดไมครบตามจํานวนที่ตองการ การวิเคราะหขอมูลดังกลาวตองใชเวลาในการกรอกหรือบันทึกขอมูลอีกครั้ง ดังนั้น ทําใหผลของการสํารวจขอมูลตองการเวลามากขึ้น

รูป 1 ภาพของระบบการสํารวจออนไลน


สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จึงเห็นประโยชนของการพัฒนา ระบบสารสนเทศบัณฑิตและนายจางขึ้น เพื่อแกไขปญหาตางๆขางตน ตลอดจนเปนการพัฒนาสารสนเทศขึ้นมาใชงานเองของ หนวยงานและมหาวิทยาลัย ตลอดจนยังสามารถในการติดตามผลการประกันคุณภาพในแตละป ที่ตองรายงานตอสํานักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษา และ สํานักมาตรฐานการศึกษาอีกทางหนึ่ง

1.2 หนวยงานที่เกี่ยวของ หนวยงานที่ดําเนินการจัดเก็บขอมูลบัณฑิต เปนหนาที่ของหนวยงานที่มีบัณฑิต เริ่มตั้งแตในระดับหลักสูตร คณะ และหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัย สํานักสงเสริมวิชาการ ที่เปนหนวยงานในการเปนฐานขอมูลกลางที่ทราบรายละเอียดของ การอนุมัติบัณฑิตที่จบการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัยในแตละเดือน หลักสูตรเปนหนวยงานที่ใกลชิดกับบัณฑิตมากที่สุด อาจารยในหลักสูตรจะทราบและรูจักบัณฑิตเปนอยางดี เมื่อ ตองการติดตามหรือทราบขอมูลในรายละเอียดสวนตัวจะสามารถติดตอทางหลักสูตรไดอีกทางหนึ่ง ขอมูลที่หนวยงานนี้ ตองการคือ การประสบความสําเร็จในการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรในตลาดแรงงาน การทํางานที่ตรงกับสาขาวิชาที่สําเร็จ หรือ แมกระทั้งระดับเงินเดือน มีความสําคัญเปนอยางยิ่ง ที่ทางคณะกรรมการประจําหลักสูตรจะนําไปใชในการปรับปรุงเนื้อหาที่ สอน คณะเปนหนวยงานหลักของมหาวิทยาลัยที่ทําการพิจารณาและควบคุมหลักสูตรตางๆที่จะเปดรับนักศึกษาในแตละ เทอมการศึกษา ความชัดเจนของคุณภาพ ของคณาจารยและนักศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนศักยภาพในการผลิตบัณฑิตของ หลักสูตรตางๆภายในคณะ จําเปนตองไดรับสารสนเทศในสวนนี้เชนเดียวกัน สํานักสงเสริมวิชาการ รับบทบาทที่สําคัญในการติดตามความสําเร็จของแผนและทิศทางตามกลยุทธของการ ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย โดยมีการควบคุมและดูแลการผลิตบัณฑิตของคณะตางๆใหไดตรงตามคุณภาพที่กําหนด การวาง ระดับความสําคัญของสารสนเทศที่เกิดขึ้นจึงเปนเสมือนหัวใจหลักของการพัฒนาระบบสารสนเทศของสถาบันวิจัยและพัฒนา ในการพัฒนาระบบการสํารวจขอมูลบัณฑิตออนไลน ผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต 1.3 ประโยชนที่ไดจากการทํางาน ระบบการสํารวจออนไลนจะทําหนาที่รองรับการจัดเก็บขอมูลจากบัณฑิต ในฐานขอมูลจะกอใหเกิดประโยชนตางๆดังตอไปนี้ -

การจัดเก็บขอมูลมีความสะดวกรวดเร็ว

-

ขอมูลที่ไดมีความถูกตองและสมบูรณ

-

หนวยงานตางๆสามารถเขาถึงขอมูลที่ตองการไดอยางสะดวก

-

การติดตามบัณฑิตสามารถทําไดผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต

-

รูปแบบรายงานมีหลากหลายเพื่อใชประกอบการตัดสอนใจ

-

ความสอดคลองของขอมูลและความตองการของผูใชสามารถปรับเปลี่ยนไดงาย


-

นําขอมูลและสารสนเทศที่ไดไปสนับสนุนการตัดสินใจและการวิเคราะหดานอื่นๆ

-

มหาวิทยาลัยมีฐานขอมูลของศิษยเกา

2.ระบบฐานขอมูล 2.1 ประเภทของขอมูล ขอมูลที่เกิดจากระบบการสํารวจจะแบงออกเปน 2 กลุมดวยกันคือ ขอมูลที่ใชในการอางอิง (Referencing Data) และ ขอมูลที่ไดจากการสํารวจ (Survey Data) ทั้งสองสวนนี้ จะประกอบกันเปนระบบฐานขอมูลเพื่อการจัดการสํารวจออนไลน (Survey Database System)

ขอมูลที่ใชในการอางอิง เปนขอมูลหลักของการทํางาน การจัดเก็บของขอมูลที่ใชเปนแหลงอางอิง จะไมมีการ เปลี่ยนแปลง อาทิ ขอมูลนักศึกษา(Student) ขอมูลจังหวัด(Province) ขอมูลระดับการศึกษา(Level of Study) ขอมูลคณะ(Faculty) ขอมูลหลักสูตร(Major) ประเภทของนักศึกษา(Student Type) เปนตน ดังนั้น เปนสวนที่มีความสําคัญตอการตีความ หรือให ความหมายกับระบบการทํางาน หากขอมูลในสวนของการอางอิงไมถูกตอง ก็จะทําใหระบบการทํางานของโปรแกรมที่ใชใน การสํารวจขอมูลจากบัณฑิต มีความนาเชื่อถือนอยลง ขอมูลจากการสํารวจ เปนขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด เกิดจากผูใช บัณฑิตทําการเพิ่มขอมูลเขาสูระบบ ฐานขอมูล ซึ่งก็คือขอมูลใหมนั่นเอง เปนขอมูลที่ใชในการประมวลผล หรือมีการเรียกใชมากที่สุด ความถูกตองของการทํางาน ขึ้นอยูกับ การอางอิงขอมูลจากขอมูลประเภทอางอิงนั่นเองอาทิ ขอมูลการสวนตัวของบัณฑิต(Budit) ขอมูลที่อยูอาศัย(Address) ที่ทํางาน(Company Address) การมีงานทํา(Work) การศึกษาตอ(Education) หรือ ขอมูลเบื้องตนของนายจาง(Company) และสวน ของขอมูลการสํารวจความพึงพอใจ เปนตน

2.2 ตารางขอมูล ขอมูลของระบบการสํารวจออนไลนจะทําการจัดเก็บไวใน ระบบฐานขอมูลในรูปแบบ ตาราง(Table) ที่ประกอบดวย กลุมขอมูลที่สําคัญๆ ตลอดจนมีการกําหนดคุณลักษณะ ขนาดการจัดเก็บขอมูล(Field width) ประเภท(Data type) หรือการ กําหนดการเขาถึงขอมูลผานทางคีย( Primary key) เปนตน

รูป 2 ตารางขอมูลหลักสูตร


ตารางของขอมูลหลักสูตรจะใชในการจัดเก็บขอมูลชื่อหลักสูตร รหัส คณะที่สังกัด

รูป 3 ตารางขอมูลของคณะ

ตาราง REF_FAC ใชในการจัดเก็บขอมูลของคณะ ชื่อและรหัสของคณะที่อยูในระบบ

รูป 4 ตารางขอมูลระดับการศึกษา

ตารางการจัดระดับการศึกษาของมหาวิทยาลัย อาทิ ระดับปริญญาตรี โท หรือ เอก เปนตน

รูป 5 ตารางขอมูลจังหวัด

ตารางการจัดเก็บรหัสของจังหวัดทั้ง 77 จังหวัดของประเทศไทย ขอมูลจังหวัดจะแทนคาความหมายของการจัดเก็บ ขอมูลในแบบสํารวจทําใหทราบรายละเอียดที่อยูและที่ทํางานของบัณฑิต

รูป 6 ตารางขอมูลประเภทนักศึกษา


ตารางขอมูลประเภทนักศึกษา จะเปนขอมูลในการอางอิงและแยกประเภทของนักศึกษา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรหัส ประจําตัวนักศึกษา อาทิ ประเภทนักศึกษาภาคปกติ ภาคพิเศษ กศ.ปช. หรือเรียนตามศูนยการศึกษาที่เปดสอนตางๆ

รูป 7 ตารางขอมูลเชื้อชาติ

ตารางขอมูลการกําหนดประเภทของเชื้อชาติ ขอมูลสวนนี้เปนสวนที่ใชแยกประเภทนักศึกษาที่เปนคนไทย หรือ นักศึกษาชาวตางประเทศ

รูป 8 ตารางขอมูลนักศึกษา

การระบุถึงคณะที่บัณฑิตศึกษา หรือสําเร็จการศึกษา จะถูกจัดเก็บลงในตารางขอมูลชื่อ

faculty โดยแบงตามคณะที่

ทําการเปดรับนักศึกษาของทางมหาวิทยาลัย ในตารางดังกลาวมีการระบุชื่อของคณะทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

รูป 9 ตาราง faculty ขอมูลรายชื่อคณะตางๆ

สําหรับขอมูลของหลักสูตร ตาราง major จะใชเปนสวนเก็บรายชื่อของหลักสูตรของคณะตางๆ ในที่นี้ จะเปนการ เชื่อมโยงไปยังคณะในตารางของ faculty โดยมีการจัดเก็บขอมูลรายชื่อของหลักสูตรเปนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ


รูป 10 ตาราง major เก็บขอมูลรายชื่อของหลักสูตร

ตารางขอมูลนักศึกษา เปนขอมูลที่ใชในการอางอิงหลักของระบบการสํารวจ ขอมูลในตารางนี้จะเปนการจัดเก็บ ขอมูลบัณฑิตที่จะเขารับพระราชทานปริญญาบัตรในแตละป จะประกอบดวยรายละเอียดเบื้องตนของบัณฑิต หมูเรียน และ หลักสูตรที่สําเร็จการศึกษา ลําดับตอไปเปนตารางขอมูลที่ใชในการจัดเก็บขอมูลของบัณฑิตที่ไดทําแบบสอบถามเรียบรอยแลว ดดยที่มีการ จัดเก็บขอมูลดังกลาวลงในตาราง

bundit ดังตอไปนี้ ขอมูลเหลานี้ไดมาจากการกรอกของบัณฑิต อาทิ เลขประจําตัวบัตร

ประชาชน ขอมูลเชื้อชาติ สัญชาติและโดยเฉพาะอยางยิ่ง การมีงานทําของบัณฑิตที่จบการศึกษาจากทางมหาวิทยาลัย

รูป 11 ตาราง bundit เพื่อเก็บขอมูลบัณฑิต

การจัดเก็บขอมูลของตารางนี้ จําเปนตองอาศัยตารางอื่นๆที่ใชในการอางอิงความหมายของขอมูล แตสําหรับ แบบสอบถามแลว จะมีการสรางตารางเพื่อจัดเก็บขอมูลเฉพาะของแบบสํารวจ เริ่มจาก ตารางงการทํางานที่มีชื่อวา

work เปน

สวนสําคัญที่ใชประกอบการวิเคราะหการไดงานทําของบัณฑิตแตละคน เมื่อมีการระบุประเภทของงานที่ทํา รายได หรือแม กระทั้งระยะเวลาของการไดงานทําของบัณฑิตแตละคน


ตารางที่จัดเก็บที่อยูของบัณฑิตในปจจุบัน หรือที่อยูที่สามารถติดตอได กลาวคือ สําหรับที่อยูที่ติดตอไดจะเก็บไวที่ ตาราง address และที่อยูบานหรือที่พักอาศัยหรือภูมิลําเนาของบัณฑิตไดนั้นจะเก็บไวที่ ตาราง home

รูป 12 ตาราง address เก็บที่อยูที่สามารถติดตอได

รูป 13 ตาราง home เก็บที่อยูตามภูมิลําเนา

ขอมูลของการมีงานทําในตาราง

work จะแสดงถึงรายละเอียดของสถานที่ทํางาน ที่อยู และตําแหนงของงานที่ทํา

เปนสวนที่ทางมหาวิทยาลัยจะนําไปใชในการสรางหรือพัฒนาเปนฐานขอมูลศิษยเกาไดอีกทางหนึ่ง ทายที่สุดมีการศึกษาตอใน ขณะที่ทํางาน ความตองการศึกษาตอจะทําใหวิเคราะหถึง การพัฒนาหลักสูตรที่สามารถทําการศึกษาตอได


รูป 14 ตาราง work จัดเก็บขอมูลการมีงานทําของบัณฑิต

ตาราง study เปนตารางที่ทําหนาที่ในการจัดเก็บขอมูลการศึกษาตอของทั้งบัณฑิตที่ไดงานทําและยังมิไดงานทํา เฉพาะขอมูลของบัณฑิตที่ทําการศึกษาตอ ดังนั้น เพื่อใหไดขอมูลที่ใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด ตารางนี้ จะทําหนาที่ เก็บขอมูลถึงระดับการศึกษา สาขาวิชาที่ศึกษาตอ

รูป 15 ตาราง study เก็บขอมูลกาสรศึกษาตอ

สําหรับขอมูลที่ผูที่ไดงานทําแตตอการศึกษาตอ จะแยกจัดเก็บไวที่ ทํา หรือสาเหตุของการยังไมไดงานทํา ไวในตารางนี้

jobstudy โดยจะใชในการแยกกลุมของผูที่ไดงาน


รูป 16 ตาราง jpbstudy เก็บขอมูลความตองการศึกษาตอ

ระบบสํารวจจะมีขอมูลจากนายจางหรือผูประกอบการที่ทางมหาวิทยาลัยตองการทราบ รายละเอียดสวนนี้ลงใน ตาราง company จะเปนขอมูลที่ไดจากนายจางโดยตรง สําหรับบัณฑิตที่มีงานทํา หรือมีรายไดในแตละเดือน ขอมูลความพึ่ง พอใจ เปนตัวใชในการบงบอกคุณภาพของการผลิตบัณฑิตของทางมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ ยังทําการสํารองไวสําหรับการ เรียกคนจากทางคณะและหลักสูตรในตารางชื่อ companyFaculty เพื่อความรวดเร็วในการเขาถึงขอมูลในกรณีที่มีการเรียกใชงาน จากตารางพรอมๆกัน แบบสอบถามนายจาง จะเปนการจัดกลุมวัดความพึ่งพอใจในแตละดานของบัณฑิต ที่ทํางานตามองคกรตางๆ อาทิ ดานความรู ดานคุณธรรม และจิตอาสา เปนตน นอกจากนี้ ขอมูลที่สําคัญคือ การที่มีโอกาสไดไปทํางานในตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในกลุมประเทศอาเซียน สําหรับลักษณะเฉพาะของหลักสูตร หรือ คณะตาๆง ก็ไดมีการสํารวจเฉพาะขึ้น ซึ่งคําถามของกลุมเฉพาะนี้ เพื่อ ประโยชนในการนําขอมูลที่ไดจากการสํารวจไปพัฒนาและปรับปรุงทิศทางของการผลิตบัณฑิต


รูป 17 ตาราง company เก็บขอมูลจากนายจาง

2.3 ฐานขอมูลของระบบ การพัฒนาฐานขอมูลของระบบการสํารวจออนไลน จําเปนตองอาศัยความรูทางดานการออกแบบฐานขอมูล เหมือนกับการพัฒนาระบบฐานขอมูลในรูปแบบอื่นๆ แตจะแตตางกันที่ ฐานขอมูลชนิดออนไลน จะเปดโอกาสใหผูใชงานได เขามาเพิ่ม ปรับปรุงหรือแกไขขอมูลผานทางเครือขายอิเนเทอรเน็ต หรือที่เรียกวา ฐานขอมูลบนเว็บ(web database)


เครือแมขาย จะแบงออกเปนสองสวนดวยกัน คือ สวนของการเก็บขอมูลเว็บไซต (Web Server) และสวนของการร จัดเก็บฐานขอมูล (Database Server) อยางไรก็ตามเพื่อความสะดวก ระบบฐานขอมูลที่พัฒนาขึ้นนนี้จะใชเครื่องแมขายชนิด เดียวงกันกับเครื่องแมขายเว็บ

รูป 18 ภาพรวมระบบฐานขอมูล และเครื่องแมขาย

ฐานข้ อมูลของแบบสํารวจ จะใช้ ข้อมูลหลักคือ ข้ อมูลนักศึกษา(Student) ที่เชื่อมไปยัง แบบสํารวจประเภทต่าง คือ แบบสํารวจของการมีงานทํา (work) แบบสํารวจการศึกษาต่อ(Study) แบบสํารวจการมีงานทําและต้ องการศึกษาต่อ ุ คือข้ อมูลจากแบบสํารวจของนายจ้ างหรื อผู้ประกอบการ(company) (jobstudy) และท้ ายที่สด

รูป 19 ระบบฐานขอมูลการสํารวจออนไลน

ระบบฐานข้ อมูลของการสํารวจออนไลน์ จะเชื่อมโยงข้ อมูลที่ใช้ ในการอ้ างอิง (Reference table) และข้ อมูลที่ ใช้ ในการจัดเก็บจากสมาชิกหรื อผู้ใช้ โดยตรง (Database Table) จากรูปแผนผัง UML ข้ างต้ น ข้ อมูลหลัก อาทิ Student


Faculty และ Major จะใช้ เป็ นข้ อมูลที่ได้ จากหน่วยงาน สํานักส่งเสริ มวิชาการของมหาวิทยาลัย ซึง่ ในแต่ละปี

ข้ อมูลของ

ผู้สําเร็จการศึกษาจะได้ รับอนุมตั ิจาก คณะกรรมการสภาวิชาการของมหาวิทยาลัย การจําแนกข้ อมูลของการสํารวจจะ แยกลงถึงระดับหลักสูตร เพื่อใช้ ประกอบข้ อมูลการประกันคุณภาพ ข้ อมูลที่ได้ จากผู้ใช้ โดยตรง จากนักศึกษาหรื อผู้สําเร็จการศึกษาคือ และมีการจัดเก็บข้ อมูลจากผู้ประกอบการคือ

Work Bundit JobStudy และ Study

Company ที่มีการจัดเก็บความพึง่ พอใจในแต่ละด้ าน

3.ออกแบบการทํางาน ในการทํางานของการสํารวจออนไลน ตองแบงออกเปนขั้นตอนตางๆอยางชัดเจน โดยเฉพาะ ผูใชที่แบงออกเปน 2 ประเภท คือ บัณฑิต และผูประกอบการหรือนายจาง การควบคุมการทํางานของแตละขั้นตอน ไมสามารถที่จะขามขั้นตอนตางๆได โดย มีการแบงการจัดเก็บขอมูลในแตละขั้นตอนลงในตาราง

3.1 การรับขอมูล

รูป 20 สวนของขอมูลการสํารวจออนไลน

ในการรับขอมูลจะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนคือ สวนที่ 1 รายงาน สวนที่ 2 ขอมูล และสวนที่ 3 การทํา แบบสอบถาม โดยที่ สวนที่ 1 จะแสดงรายงานในระดับตางๆ โดยเริ่มจาก ภาพรวมของมหาวิทยาลัย รายงานระดับหลักสูตร และ ตลอดจนการพิมพใบรายงานตัว เพื่อนําไปชําระเงินที่ธนาคาร


สวนที่ 2 เปนสวนของการแสดงความเคลื่อนไหวของขอมูลตางๆ อาทิ การแสดงขั้นตอนการทํางาน จํานวนของคนที่ ทําแบบสอบถาม ทั้งสวนของบัณฑิตและนายจาง นอกจากนี้ ยังนําเสนอออกเปนรอยละ เพื่อใชในการติดตามผลการทําแบบ วอบถามตางๆ สวนที่ 3 สวนของการเขาทําแบบสอบถามของบัณฑิตและนายจาง/ผูประกอบการ ซึ่งสวนนี้มีความสําคัญในการเปด ใหผูใชเขาไปทําแบบสอบถาม นอกจากนี้เปนการเชื่อมโยงขอมูล หรือสิทธิในการเขาทําแบบสอบถามจากฐานขอมูลที่กําหนด

รูป 21 การปอนขอมูลสําหรับบัณฑิต

สําหรับบัณฑิตก่อนที่จะทําแบบสอบถามได้ จะต้ องเข้ าสูร่ ะบบการสํารวจด้ วยการกรอก รหัสประจําตัวนักศึกษา และวันเดือนปี เกิดให้ ถกู ต้ อง ข้ อมูลที่ได้ จากการอ้ างอิงนี ้ หน่วยงานสํานักส่งเสริ มวิชาการ ข้ อมูลที่ป้อนต้ องมีความถูกต้ อง ทังสองส่ ้ วน

รูป 22 การปอนขอมูลของนายจาง

สําหรับผู้ใช้ บณ ั ฑิต หรื อนายจ้ างต้ องทําการกรอกรหัสประจําตัวนักศึกษาก่อนที่จะเข้ าทําแบบสอบถามโดยปกติ นายจ้ างจะต้ องได้ รับการติดต่อ หนังสือจากทางมหาวิทยาลัย ที่บณ ั ฑิตสามารถที่จะทําการขอได้ ผา่ นทางเว็บการทําแบบ สํารวจออนไลน์ หนังสือขอความอนุเคราะห์จากนายจ้ าง เพื่อทําแบบสอบถาม จะกล่าวถึงรายละเอียดข้ อมูลที่สําคัญ เพื่อให้ นายจ้ างสามารถเข้ ามาทําการทําแบบสอบถามจากเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยได้ ข้ อมูลดังกล่าว บัณฑิตจะทําการกรอก รหัสประจําตัวนักศึกษา เพื่อแสดงรายละเอียดของการจบการศึกษาของบัณฑิตได้ ซึง่ จะประกอบด้ วย รหัส หลักสูตรและ คณะที่สําเร็จการศึกษา และสําคัญที่สดุ คือ

URL ของเว็บไซต์ที่จะให้ นายจ้ างเข้ าไปทําแบบสอบถาม


รูป 23 การปอนเพื่อของหนังสือใหนายจาง

รูป 24 หนังสือขอความอนุเคราะหนายจางใหทําแบบสอบถาม

3.2 การออกแบบขัน้ ตอน สําหรับขันตอนที ้ ่สําคัญคือการทําแบบสอบถามจากทางบัณฑิต ที่แบ่งออกเป็ น 4 ขันตอน ้ คือข้ อมูลทัว่ ไป ข้ อมูล การทํางาน ข้ อมูลการศึกษาต่อ ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ ตอนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป จะเป็ นการเก็บรายละเอียดข้ อมูลของบัณฑิต ส่วนมากเป็ นข้ อมูลพื ้นฐาน อันได้ แก่ เลขประจําตัว ประชาชน สัญชาติ เชื ้อชาติ ที่อยูต่ ามทะเบียนบ้ าน และที่สําคัญคือ การระบุสถานะภาพการทํางานของบัณฑิตที่ระบบ จะใช้ ในการควบคุมการป้อนข้ อมูลในขันตอนต่ ้ อไป ในการป้อนข้ อมูล ระบบจะมีการจัดเก็บข้ อมูลทุกครัง้ โดยสามารถที่จะ เข้ ามาทําการปรับปรุงข้ อมูลให้ ถกู ต้ องได้ ตลอดเวลา


รูป 25 ขั้นตอนการปอนขอมูลทั่วไป

ตอนที่ 2 การสมัครงานและการทํางาน ขันตอนนี ้ ้ เป็ นการระบุรายละเอียดการทํางาน ระยะเวลาการทํางาน ประเภท การทํางาน เงินเดือนที่ได้ รับ นอกจากนี ้ ยังระบุถึงตําแหน่งของการทํางาน ชื่อหัวหน้ าหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ใน ส่วนนี ้จะใช้ ในการเชื่อมต่อไปยังความพึง่ พอใจต่อการผลิตบัณฑิตในด้ านต่างๆ นอกจากนี ้ยังมีการกําหนดระยะเวลาของการได้ งานทํา เงินเดือนที่ได้ รับ ตลอดจนงานที่ทํามีความสอดคล้ องกับ วาขาที่สําเร็จการศึกษาหรื อไม่ การที่มีข้อมูลในส่วนนี ้ จะเป็ นประโยชน์ให้ เห็นภาพรวมของการผลิตบัณฑิตในสาขาและ หลักสูตรต่างๆของคณะที่ทําการเปิ ดรับนักศึกษา ท้ ายที่สดุ ของขันตอนนี ้ ้ คือการศึกษาต่อ หรื อมีความต้ องการจะศึกษาต่อหรื อไม่ หากมีการศึกษาต่อจะมีการระบุ รายละเอียดเพิ่มมากขึ ้นในขันตอนที ้ ่4 ตอนที่ 3 การมีงานทํา เป็ นส่วนสําหรับบัณฑิตที่ยงั ไม่ได้ มีรายได้ จากการทํางาน หรื อประกอบอาชีพอิสระต่างๆ ข้ อมูลที่ ต้ องการเพิ่มจากส่วนนี ้ จะเป็ นสาเหตุของการไม่ได้ งานทํา หรื อเหตุผลของการที่ไม่ได้ งาน เป็ นข้ อมูลที่ทางหลักสูตรหรื อ คณะ จะนําไปใช้ ประกอบการปรับปรุงการผลิตบัณฑิตป้อนสูต่ ลาดแรงงาน ตอนที่ 4 การศึกษาต่ อ เป็ นการระบุรายละเอียดของการทํางานที่ต้องการศึกษาต่อในระดับที่สงู ขึ ้น หรื อมีการศึกษาต่อ ในระดับใด สาขาที่ต้องการศึกษาต่อเป็ นสาขาเดียวกันกับที่จบการศึกษาหรื อไม่


รูป 26 สวนของการปอนขอมูลการมีงานทํา

แบบสอบถามในแต่ละแบบ จะมีการออกแบบที่ไม่เหมือนกัน การตรวจสอบความถูกต้ องของข้ อมูลจะทําอยูท่ กุ คําถาม เพื่ออํานวยความสะดวกให้ ผ้ ใู ช้ ใช้ งานได้ ง่ายที่สดุ

รูป 27 สวนการปอนขอมูลการมีงานทํา


รูป 28 สวนการปอนขอมูลการศึกษาตอ

ในการดําเนินการทําแบบสอบถามของบัณฑิตทุกคน เมื่อดําเนินการเรี ยบร้ อย ขันตอนท้ ้ ายที่สดุ คือการชําระเงิน ในระบบการทําแบบสํารวจออนไลน์ยงั มีการสร้ างใบชําระเงิน เพื่อไปยื่นชําระที่ธนาคารทุกแห่งทัว่ ประเทศ ในส่วนนี ้มีการ ประสานการทํางานระหว่างมหาวิทยาลัย และทางธนาคาร (ในที่นี ้ มหาวิทยาลัยได้ ประสานกับธนาคารกรุงไทย) เพื่อให้ เกิดความสะดวกต่อบัณฑิตในการชําระเงินค่าฝึ กซ้ อมต่างๆ

รูป 29 ใบชําระเงินคาฝกซอม


นอกจากนี ้ส่วนของการเก็บข้ อมูลจากนายจ้ างหรื อผู้ประกอบการ จะทําให้ เราได้ ข้อมูลของการผลิตบัณฑิตจากหลักสูตรที่ เปิ ดสอนของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัย

รูป 30 แบบสํารวจขอมูลจากนายจาง

ในแบบสอบถามนายจ้ างจะแบ่งออกเป็ นสองส่วนคือ ส่วนข้ อมูลของนายจ้ าง และส่วนของการแสดงความ คิดเห็นต่อบัณฑิตที่ทํางานในหน่วยงาน ด้ านต่างๆจํานวน 5 ด้ านคือด้ านความรู้ ด้ านคุณธรรมจริ ยธรรม ด้ านทักษะทาง ปั ญญา ด้ านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้ านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ เทคโนโลยีสารสนเทศ และอีกหนึง่ ด้ านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย นอกจากนี ้ ยังมีการสอบถามการทํางานในกลุม่ ประเทศอาเซียนของหน่วยงานในการส่งบัณฑิตไปดูงาน หรื อทํางานในกลุม่ ประเทศดังกล่าว


4.รายงาน รายงานของการสํารวจออนไลนจะถูกประมวลผลไดตลอดเวลาเมื่อมีการปอนขอมูลเขาสูระบบ รายงานดังกลาวจะเรียกคน จากฐานขอมูลที่ออกแบบไวโดยตรง เพื่อใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วจึงไดแบงรายงานออกเปนสองสวนดวยกันคือ รายงาน ระดับมหาวิทยาลัย และรายงานระดับหลักสูตร

6.1 รายงานระดับมหาวิทยาลัย

รูป 31 รายงานระดับมหาวิทยาลัย

รายงานระดับมหาวิทยาลัย จะแสดงให้ เห็นถึงภาพในระดับคณะต่างๆของมหาวิทยาลัย ต่อการมีงานทําของบัณฑิต ทัง้ ระดับการศึกษาตังแต่ ้ ปริญญาตรี โท และเอก นอกจากนี ้ ภาพรวมทุกระดับการศึกษายังสามารถแสดงให้ เห็นอย่างชัดเจน ทังในรู ้ ปแบบของข้ อมูลดิบ และร้ อยละ ในส่วนนี ้จะมีรายงานทังสิ ้ ้น 4 รายงาน คือ รายงานข้ อมูลทัว่ ไป รายงานของการสมัครงานและการมีงานทํา รายงานการหา งานทํา และรายงานการศึกษาต่อ ในส่วนท้ ายจะมีภาพของรายงานความพึง่ พอใจของนายจ้ างต่อการผลิตบัณฑิต

6.2 รายงานระดับคณะ/หลักสูตร รายงาน


7. บทสรุปและขอเสนอแนะ 7.1 ผลการใชงาน 7.2 ขอเสนอแนะ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.