การแยกประเภทค่าตอบแทนฯ

Page 1

คู่มือการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง การแยกประเภทค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และครุภัณฑ์

กองกิจการนิสิตกําแพงแสน (กําแพงแสน) ประจําปีการศึกษา 2556


คํานํา คู่มือคู่มือการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง การแยกประเภท ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และครุภัณฑ์ เป็นการรวบรวมความรู้ของบุคลากรในกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดทําขึ้นเป็นคู่มือเพื่อประกอบการปฏิบัติงานและเพื่อช่วยลด ข้อผิดพลาดในการทํางาน หากคู่มือคู่มือการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง การแยกประเภท ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และครุภัณฑ์ มีข้อผิดพลาดประการใดทางคณะกรรมการการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทํา คณะกรรมการการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน)


สารบัญ เรื่อง ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศ เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าสมนาคุณ ค่าตอบแทนวิทยากร ผู้ช่วยวิทยากร ผู้ดําเนินการอภิปราย ค่าเช่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เอกสารประกอบการเบิกจ่าย (กรณีเงินยืม) ภาคผนวก

หน้า 1 3 4 7 8 9 11 12


ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เอกสารประกอบการเบิกจ่าย 1. คําสั่งให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 1.1 ระบุเหตุผลการขอปฏิบัติงาน 1.2 ระบุระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน เช่น (15 - 30 เมษายน 2557) 1.3 ระบุรายชื่อผู้ปฏิบัติงาน 1.4 เสนอผู้มีอาํ นาจลงนาม (ผู้อํานวยการกอง/ศูนย์) 2. บันทึกข้อความขออนุมัติหลักการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 2.1 ระบุเหตุผลการขอปฏิบัติงาน 2.2 ระบุระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน เช่น (15 - 30 เมษายน 2557) 2.3 ระบุการใช้งบประมาณ 2.4 ระบุรายชื่อผู้มาปฏิบตั ิงาน 2.5 ต้องได้รับอนุมัติก่อนปฏิบัติงาน รายการ อัตรา คําอธิบาย 2.1 ไม่เกิน 4 ชม. ๆ ละ 50 บาท วันทําการคือ จันทร์ - ศุกร์ หรือปฏิบัติงานเป็นผลัดหรือกะ วันทําการ 200 บาท/วัน 2.2 ไม่เกิน 7 ชม. ๆ ละ 60 บาท วันเสาร์ - อาทิตย์ หรือวันหยุดราชการประจําสัปดาห์ ที่สว่ น วันหยุดราชการ 420 บาท/วัน ราชการกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น วันหยุดราชการประจําปี วันหยุดที่ คณะรัฐมนตรีกําหนด 3. แบบบัญชีลงเวลาการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 3.1 ระบุวันเดือนปีที่ปฏิบัติงาน 3.2 ระบุเวลามา - เวลากลับ ในการปฏิบัติงานแต่ละวัน 3.3 ลงลายมือชื่อผู้ปฏิบัติงาน ทั้งไปและกลับ 3.4 ลงลายมือชื่อผู้รับรองการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยผู้ปฏิบัติคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ รับรอง 4. เอกสารประกอบรายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ - ระบุรายละเอียดการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ


5. ตารางรายงานการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ประจําปีงบประมาณ ...(ระบุ)... ด้านขวา - ระบุวันที่ปฏิบัติงานประจําเดือน - ระบุจํานวนเงินรวมที่ขอเบิกในครั้งนั้น - ลงลายมือชื่อผู้จัดทํา/หัวหน้าหน่วย ด้านซ้าย - ระบุจํานวนเงินที่ได้ปฏิบัติงานและขออนุมัติเบิกแล้วจนถึงปัจจุบัน แต่ไม่รวม จํานวนเงินที่เบิกครั้งนี้ 6. บันทึกข้อความรายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ (เสนอรองอธิการบดีทราบ) สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน เสนอรองอธิการบดีเพื่อโปรดพิจารณาทราบ ภายใน 5 วัน หลังจากการปฏิบัติงานราชการเสร็จสิ้น 7. บันทึกข้อความขออนุมัติเบิกจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 7.1 ระบุบันทึกข้อความอ้างถึงที่ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 7.2 ระบุวันที่ปฏิบัติงานราชการ 7.3 ระบุเบิกจากเงินรายได้ หน่วยงาน หมวดค่าตอบแทน 7.4 ระบุจํานวนเงินที่ขอเบิกตัวเลขและตัวอักษร 7.5 เสนอรองอธิการบดีอนุมัติ 7.6 แสดงข้อมูลกันเงิน (กันเงินรายได้) 8. แบบหลักฐานการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนทุกช่อง ดังนี้ 8.1 ระบุชื่อส่วนราชการ 8.2 ระบุเดือน พ.ศ (ที่ขอเบิก) 8.3 ระบุลําดับ (จํานวนคนผู้ปฏิบัติงาน) 8.4 ระบุชื่อผู้ปฏิบัติงาน 8.5 ระบุวันที่ปฏิบัติงาน 8.6 ระบุเวลาปฏิบัติงาน ตั้งแต่เวลาใดถึงเวลาใด ในแต่ละวัน แต่ละคน 8.7 ระบุชั่วโมงแยก วันปกติ กับวันหยุด 8.8 ระบุจํานวนเงินที่จ่ายจริง, จํานวนเงินรวม 8.9 ลงลายมือชื่อผู้รับเงินแต่ละคน 8.10 ลงชื่อผู้รับรองการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยผู้ปฏิบัติงานคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ รับรอง


หมายเหตุ ; กรณีมีผู้ปฏิบัติงานผู้เดียว ให้ผู้นั้นเป็นผู้รับรองการปฏิบัติงาน 9. ใบสําคัญรับเงิน กรณี เบิกค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายคน แนบใบสําคัญรับเงินและใบมอบฉันทะ (ถ้ามี) - ให้ระบุชื่อผู้อํานวยการกอง/ศูนย์ - ให้ระบุจํานวนเงินเบิกรวมทั้งหมด กรณี เบิกค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการคนเดียว ไม่ต้องแนบใบสําคัญรับเงิน (ใช้หลักฐานการเบิกจ่ายตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ)

เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ให้จัดเรียงเอกสารตามลําดับ ดังนี้ 1. ใบขออนุมัติการเบิกจ่าย (ERP) 2. ใบสําคัญรับเงิน (ระบุชื่อหัวหน้าหน่วยงาน) 3. ใบมอบฉันทะ (ถ้ามี) 4. บันทึกข้อความขออนุมัติเบิกค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 5. แบบหลักฐานการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 6. บันทึกข้อความรายงานผลการการปฏิบัติงานนอกเวลา 7. ตารางรายงานการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ปีงบประมาณ (ระบุ) 8. แบบบัญชีลงเวลาการปฏิบัติราชการ ประจําเดือน (ระบุ) 9. บันทึกข้อความขออนุมัติหลักการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการปกติ 10. คําสั่ง เรื่อง ให้บุคลากรปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 11. ใบจองเงินงบประมาณ (ERP)


ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในประเทศ เอกสารประกอบการเบิกจ่าย 1. แบบขออนุมัติเดินทางไปราชการ ต้องได้รับก่อนการเดินทาง มีรายละเอียดดังนี้ - ระบุชื่อผู้เดินทาง หรือมอบหมายให้ใครเดินทาง จํานวน คน - ระบุสถานที่ วันที่ เหตุผลที่เดินทาง - ระบุจะขอเดินทางด้วยพาหนะใด เช่นรถตู้ของหน่วยงาน ระบุทะเบียนรถและชื่อพนักงานขับรถ - ระบุระยะทางไป - กลับ กี่กโิ ลเมตร - ระบุค่าใช้จ่ายในการเดินทาง - ระบุจํานวนเงิน ตัวเลขและตัวอักษร และระบุหมวด ค่าใช้สอย - เสนอรองอธิการบดีเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ ระบุค่าใช้จ่ายในการเดินทาง โดยละเอียดดังนี้ ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง อัตรา (แบบเหมาจ่าย) (บาท / วัน / คน) - ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส ลงมาตําแหน่งประเภทวิชาการ 240 ระดับชํานาญการพิเศษลงมา ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดับต้น - ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ตําแหน่งประเภทวิชาการ 270 ระดับเชี่ยวชาญ ขึ้นไป ตําแหน่งระดับอํานวยการระดับสูง ตําแหน่งประเภท บริหาร (เกิน 12 ชั่วโมงขึ้นไป ถือเป็น 1 วัน , เกิน 6 ชั่วโมงแต่ไม่ถึง 12 ชั่วโมง ถือเป็นครึ่งวัน) (แบบใบรับรองการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางในประเทศ) ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรือ่ ง กําหนดอัตราค่าบํารุงรักษารถยนต์ พ.ศ. 2539 อัตรา ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง (บาท / วัน / คน) - พนักงานขับรถบัส (หน่วยงานราชการ) 300 (แนบใบสําคัญรับเงิน)


ค่ายานพาหนะ คําอธิบาย 1. ค่าน้ํามันเชื้อเพลิง ค่าทางด่วน ค่าผ่านทาง ค่า เบิกจ่ายได้เฉพาะรถราชการเท่านั้น จอดรถ 2. ค่าชดเชยยานพาหนะ เป็นรถยนต์ส่วนตัว เบิกได้กิโลเมตรละ 4 บาท เป็นรถมอเตอร์ไซค์ส่วนตัว เบิกได้กิโลเมตรละ 2 บาท 3. ค่าช่วยเหลือพนักงานขับรถ ตั้งแต่ 4-6 ชั่วโมง หรือระยะทางไปกลับเกิน 50 กิโลเมตร เบิกได้คนละ 50 บาท หากเกินกว่า 6 ชั่วโมง ให้ได้รับเพิ่ม อีก 50 บาท 4. ค่าโดยสารประจําทาง เช่น รถตู้โดยสาร รถไฟ รถทัวร์ รถมอเตอร์ไซค์รับจ้าง 5. ค่าเช่ารถยนต์ (รวมน้ํามันเชื้อเพลิง) ต้องจัดทํารายงานขอจ้าง ได้รับอนุมัติก่อนเดินทางฯ หมายเหตุ ค่าน้ํามันเชื้อเพลิง (ข้อ 1) มิต้องทําจัดซื้อวัสดุ

ค่าเช่าที่พัก ค่าเช่าทีพ่ ัก แบบตามที่เหมาจ่าย - ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส ลงมา ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการพิเศษ ลงมา ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดับต้น - ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ ขึ้นไป ตําแหน่งระดับอํานวยการระดับสูง ตําแหน่งประเภท บริหาร ค่าเช่าทีพ่ ัก แบบตามที่เหมาจ่าย - ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับอาวุโส ลงมา ตําแหน่ง ประเภทวิชาการระดับชํานาญการพิเศษ ลงมา ตําแหน่ง ประเภทอํานวยการระดับต้น - ผู้ดํารงตําแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ตําแหน่ง ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ขึ้นไป ตําแหน่งระดับ อํานวยการระดับสูง ตําแหน่งประเภทบริหาร

อัตรา (บาท / วัน / คน) 800 1,200

ห้องพักเดี่ยว (บาท / วัน / คน) 1,500

ห้องพักคู่ (บาท / วัน / คน) 850

2,200

1,200


ค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ 1. ค่าลงทะเบียน 2. ค่าอบรม

คําอธิบาย แนบใบเสร็จรับเงินของหน่วยงานที่จัด แนบใบเสร็จรับเงินของหน่วยงานที่จัด

2. ใบรับรองการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางในประเทศ ช่องจํานวนเงินรวมตามหมวด รวมตามช่อง ลงชื่อโดยหัวหน้าคณะเดินทาง - ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าลงทะเบียน 3. ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) พร้อมระบุเหตุผล ในช่องหมายเหตุ ต้องแนบเมื่อเป็นรายการดังนี้ - กรณี มิสามารถเรียกเก็บใบเสร็จรับเงินได้ เช่น ค่ารถตู้โดยสาร ค่ามอเตอร์ไซค์รับจ้าง เป็นต้น - กรณี ค่าพาหนะ แนบใบเสร็จรับเงินไม่สมบูรณ์ เช่น ค่าผ่านทางด่วน ค่าจอดรถ 4. ใบเสร็จรับเงิน/บิลเงินสด/ใบสําคัญรับเงิน - ค่าเช่าที่พัก ที่หากเป็นลักษณะจ่ายจริง แนบใบเสร็จรับเงิน - ค่าน้ํามันเชื้อเพลิง ระบุทะเบียนรถ (มิต้องทําจัดซื้อ) - ค่าลงทะเบียน, ค่าอบรม - ค่าชดเชยยานพาหนะ - ค่าช่วยเหลือพนักงานขับรถยนต์ - ค่าเช่ารถยนต์/รวมน้ํามันเชื้อเพลิง (ต้องทําจัดซื้อ) (ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนําเงินส่งคลัง พ.ศ.2551) 5. รายงานผลการปฏิบัติราชการ โดยหัวหน้าคณะเดินทาง - ระบุจํานวนคนที่เดินทาง วันที่เดินทาง จํานวนเงินรวม - ระบุผลการเดินทางไปราชการ ได้ผลการปฏิบัติราชการอย่างใดบ้าง - ระบุเวลาไป - กลับ (กรณีเบิกค่าเบี้ยเลี้ยง เกิน 12 ชั่วโมงขึ้นไป ถือเป็น 1 วัน, เกิน 6 ชั่วโมงแต่ไม่ถึง 12 ชั่วโมง ถือเป็นครึ่งวัน) - ลงลายมือชื่อผู้ร่วมเดินทางทุกคน


- หากมีชื่อผู้ที่ขออนุมัติเดินทางไว้ แต่มิได้เดินทาง ให้หมายเหตุและระบุชื่อบุคคลนั้น

เอกสารประกอบการเบิกจ่าย 1. ใบขออนุมัติการเบิกจ่าย (ERP) 2. ใบสําคัญรับเงิน (ระบุชื่อผู้เดินทาง หรือหัวหน้าคณะเดินทาง) 3. ใบมอบฉันทะ (ถ้ามี) 4. รายงานผลการปฏิบัติราชการ (โดยหัวหน้าคณะเดินทาง) 5. เอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน (ใบเสร็จรับเงิน ใบค่าทางด่วน ใบรับรองใบแทนใบเสร็จรับเงิน) 6. ใบรับรองการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางในประเทศ 7. แบบขออนุมัติเดินทางไปราชการในประเทศ (ต้องได้รับอนุมัติก่อนเดินทาง) 8. ใบจองเงินงบประมาณ (ERP)


ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม นิยาม การฝึกอบรม หมายความว่า การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนา ทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโครงการหรือหลักสูตรและช่วงเวลาการจัดที่แน่นอน ทีมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยไม่มีการรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ การดูงาน หมายความว่า การเพิ่มพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งกําหนดไว้ ในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม หรือกําหนดไวในแผนจัดการประชุมระหว่างประเทศให้มีการดูงาน ก่อน ระหว่าง หรือหลังการฝึกอบรมหรือการประชุมระหว่างประเทศ และหมายความรวมถึงโครงการหรือหลักสูตร การฝึกอบรมเฉพาะการดูงานภายในประเทศที่หน่วยงานของรัฐจัดขึ้น

การจัดประเภทการฝึกอบรม ประเภท ก

การฝึกอบรมทีผ่ ู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการ

ตําแหน่งประเภททั่วไประดับทักษะพิเศษ ข้าราชการตําแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญและระดับ ทรงคุณวุฒิ ข้าราชการตําแหน่งประเภทอํานวยการระดับสูง ข้าราชการตําแหน่งประเภทบริหารระดับต้นและ ระดับสูง หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า ประเภท ข

การฝึกอบรมทีผ่ ู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการ

ตําแหน่งประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน ระดับชํานาญงานและระดับอาวุโส ข้าราชการตําแหน่งประเภท วิชาการระดับปฏิบัติการ ระดับชํานาญการและระดับชํานาญการพิเศษ ข้าราชการตําแหน่งประเภทอํานวยการ ระดับต้น หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า บุคลากรภายนอก การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ


ค่าสมนาคุณ ค่าตอบแทนวิทยากร ผู้ช่วยวิทยากร ผู้ดําเนินการอภิปราย ประกาศ มก. (ตามข้อ 5) ประเภทและรายการ

ค่าตอบแทนวิทยากร บรรยาย ชั่วโมงละไม่เกิน 1,000 บาท

ปฏิบัติ ชั่วโมงละไม่เกิน 800 บาท

วุฒิการศึกษาของผู้ร่วมอบรมต่ํากว่า ปริญญาตรี วุฒิการศึกษาของผู้ร่วมอบรมปริญญาตรีขึ้น ชั่วโมงละไม่เกิน 2,000 บาท ชั่วโมงละไม่เกิน 1,000 บาท ไป บรรยายเป็นภาษาอังกฤษ ชัว่ โมงละไม่เกิน 3,000 บาท ชั่วโมงละไม่เกิน 1,500 บาท นิมนต์พระสงค์เป็นวิทยากร ครั้งละไม่เกิน 1,500 บาท กระดาษขนาด A4 หน้าละไม่เกิน 100 บาท แต่ไม่เกิน 1,000 บาท ค่าตอบแทนบทความใหม่ ของวิทยากร - ภาษาไทย ต่อบทความหนึ่งเรื่อง (บทความเก่า จะได้ค่าตอบแทนเป็นครึ่งหนึ่งของบทความใหม่) ค่าตอบแทนบทความใหม่ กระดาษขนาด A4 หน้าละไม่เกิน 200 บาท แต่ไม่เกิน 2,000 บาท ของวิทยากร - ภาษาอังกฤษ ต่อบทความหนึ่งเรื่อง (บทความเก่า จะได้ค่าตอบแทนเป็นครึ่งหนึ่งของบทความใหม่) 1. ควรมีกําหนดการที่ชัดเจน 2. การแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ หรือแบ่งกลุ่มทํากิจกรรม หรือแบ่งกลุ่มอภิปราย ซึ่งจําเป็นต้องมีวิทยากร ประจํากลุ่ม ให้จ่าค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกินกลุ่มละ 3 คน ถ้ามีวิทยากรประจํากลุ่มเกินกว่า 3 คน ให้เฉลี่ย ค่าสมนาคุรวิทยากรในวงเงินที่จ่ายได้ 3. การบรรยายหรืออภิปราย หรือการแบ่งกลุ่ม 1 ชั่วโมง ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 50 นาที หากมีเวลา ไม่เต็ม 1 ชั่วโมง แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกจ่ายค่าสมนาคุณได้กึ่งหนึ่ง (ไม่หักเวลาพักรับประทานอาหาร ว่าง)


ใบสําคัญรับเงินค่าตอบแทนวิทยากร ควรระบุ 1. วันที่ ระบุวันที่บรรยายหรือปฏิบัติ หากมีหลายวัน ลงวันที่วันสุดท้ายที่บรรยายหรือปฏิบัติ 2. รายการ 2.1 เป็นบรรยายหรือปฏิบัติ 2.2 เรื่องที่บรรยายหรือปฏิบัติ (ควรตรงกับกําหนดการ) หากมีหลายวัน แยกเป็นวัน 2.3 เวลาเริ่ม - เวลาสิ้นสุดการบรรยายหรือปฏิบัติของวิทยากร 2.4 รวมจํานวนชั่วโมง 2.5 อัตราค่าตอบแทน - หากเป็นจํานวนเงินที่แน่นอน เช่น 1,000 บาท ระบุช่วั โมงละ 1,000 บาท - หากเป็นอัตราเหมาต่อครั้ง ระบุเป็นราคาเหมาต่อครั้ง (เพราะหากคํานวณเป็นค่าตอบแทนต่อ ชั่วโมง จะเป็นจํานวนเงินที่มีเศษทศนิยม ซึ่งผู้เบิกหรือผู้รับผิดชอบโครงการควรพิจารณาตั้งแต่เริ่มโครงการแล้ว ว่า ค่าตอบแทนต่อชั่วโมงที่คํานวณได้ต้องไม่เกินอัตราต่อชั่วโมงที่ระบุตามตาราง) - หากค่าตอบแทนนั้นเกินจากอัตราตามตาราง ให้ขออนุมตั ิเป็นกรณีพิเศษต่อผู้มีอํานาจอนุมัติสั่ง จ่ายเงิน หรือผู้ที่อธิการบดีมอบหมาย เป็นผูพ้ ิจารณาอนุมัติครั้งต่อไป โดยระบุเหตุที่ต้องจ่าค่าตอบแทนเกิน อัตรา 3. ระบุจํานวนเงิน จํานวนเงินรวมทั้งตัวเลขและตัวอักษร 4. ช่องผู้รับเงิน ลงลายมือชื่อวิทยากร 5. ช่องผู้จ่ายเงิน ลงลายมือชื่อผู้ยืมเงิน 6. ไม่ต้องมีกรรมการตรวจรับพัสดุ 7. สําเนาบัตรประชาชนของวิทยากร พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง (ถ้ามี) 8. วิทยากรทีเป็นพระสงฆ์ ผูร้ ับผิดชอบโครงการเป็นผู้ลงชื่อรับเงินแทนในใบสําคัญรับเงิน 9. หนังสือเชิญวิทยากร


ค่าเช่าที่พัก ค่าเช่าที่พักและค่าอาหาร ตามระเบียบกระทรวงการคลัง (4) หมายเหตุ กรณีค่าเช่าห้องประชุม ห้องสัมมนา หรือค่าใช้จ่ายในลักษณะเดียวกัน ต้องทํารายงานการ ขอซื้อขอจ้าง

ค่าอาหาร เบิกได้ตามประกาศ มก. (6) โดยให้ใช้ระเบียบกระทรวงการคลังเป็นการอนุโลม (4) การแสดงในรายละเอียดการใช้จ่ายโครงการ - ตามระเบียบกระทรวงการคลัง ฯ เบิกได้ในอัตราราคาต่อวันต่อคน จึงแสดงรายการแยกเป็นวัน - การแสดงราคาต่อวันต่อคน นําค่าอาหารทุกมื้อรวมกัน เป็นราคารวมหารด้วยจํานวนคน

ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เบิกได้ตามประกาศ มก. (7) โดยเบิกจ่ายได้ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50 บาทต่อคนต่อครั้ง (มื้อ) โดยสามารถเบิกได้มื้อก่อนเที่ยงและหลังเทีย่ ง การแสดงในรายละเอียดการใช้จ่ายโครงการ - ตามประกาศ มก. เป็นราคาต่อครั้ง (มื้อ) ต่อคน จึงแสดงรายการเป็นครั้ง (มื้อ) - การแสดงราคาต่อมื้อต่อคน แสดงโดยนําราคาของอาหารว่างทั้งหมด มาหารด้วยจํานวนคน เพื่อทราบ ว่าราคาต่อมื้อต่อคนเป็นจํานวนเท่าไหร่ อยู่ในอัตราที่เบิกได้หรือไม่ - หากเป็นการซื้อจากผู้ขายหลายรายในมื้อเดียวกัน หรือซื้อมาเพื่อใช้หลายมื้อ แสดงโดยนําราคารวม ของอาหารว่างทั้งหมด หารด้วยจํานวนคนและจํานวนมื้อ การเบิกค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ให้ใช้ระเบียบของค่าใช้จ่ายนั้น ได้แก่ - ค่าวัสดุ ค่าใช้สอย ทํารายงานการขอซื้อ/ขอจ้าง ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ - ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ - ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ - ค่าตอบแทนอื่น ๆ เช่น - ค่าตอบแทนกรรมการประเมินคุณภาพภายใน - ประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์และอัตราการเบิกจ่ายเงินบางประเภท จากเงินรายได้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประกาศ ณ วันที่ 8 มีนาคม 2549


เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ให้จัดเรียงตามลําดับ ดังนี้ กรณียืมเงิน 1. แบบ บจ.2 2. ใบสําคัญรับเงินส่งใช้เงินยืม - ช่องผู้รับเงิน ระบุ “ส่งใช้คืนเงินยืม” เนื่องจากมิได้รับเงิน - ช่องผู้จ่ายเงิน ลงลายมือชื่อผู้ยืมเงิน 3. ใบจองเงินระบบ ERP (หากมีเงินเหลือจากการจอง แนบใบคืนเงินงบประมาณ) 4. เรื่องขออนุมัติเบิกเงินโครงการ ........(ระบุ)........ ที่ได้รับอนุมัติและกันเงินแล้ว โดยระบุจํานวนเงินแยก เป็นค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค เป็นต้น และรวมเงินทั้งหมด 5. สรุปรายละเอียดค่าใช้จ่ายโครงการ ลงลายมือชื่อหัวหน้าโครงการหรือผู้จัดทํา หมายเหตุ รวมค่าใช้จ่ายที่โอนระหว่างหน่วยงาน มก. โดยระบุ “ (โอนเงิน)” ต่อท้ายค่าใช้จ่ายนั้น เมื่อรวม เงินทั้งหมดแล้ว หักจํานวนเงินที่โอนระหว่างหน่วยงานออก เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายโครงการที่จ่ายไป 6. รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ 7. ใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใบสําคัญรับเงิน ลงลายมือชื่อรับรองการจ่ายเงิน และกรรมการตรวจรับพัสดุ (กรณีที่ตั้งไว้) จัดเรียงตามลําดับในสรุปรายละเอียดค่าใช้จ่ายในโครงการ 8. รายงานการขอซื้อ/ขอจ้าง โดยแนบคู่กับใบเสร็จรับเงิน บิลเงินสด ใบสําคัญรับเงิน ที่เป็นเรื่องเดียวกัน เป็นชุด ๆ 9. ต้นฉบับบันทึกข้อความ เรื่องขออนุมัติโครงการ ที่ได้รับอนุมัติแล้ว 10. ต้นฉบับรายละเอียดโครงการ หัวข้องบประมาณโครงการ ระบุว่าใช้เงินจากงบใด โครงการใด และ หมายเหตุว่า ขอถั่วเฉลี่ยจ่ายทุกรายการและจํานวนคน 11. ต้นฉบับบันทึกข้อความ เรื่อง ขออนุมัติเปลี่ยนแผน และแบบ กผง.4 (ถ้ามี) หมายเหตุ เอกสารข้อ 8 – 11 กรณีเบิกมากกว่า 1 ครั้ง แนบเป็นสําเนาพร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง และหมาย เหตุว่า ต้นฉบับแนบชุดใด พร้อมลงลายมือชื่อหัวหน้าโครงการ 12. กรณีจัดนอกที่ตั้ง แนบเรื่องขออนุมัติเดินทางไปราชการที่ได้รับอนุมัติแล้ว 13. สําเนาสัญญาเงินยืม


ภาคผนวก


คําสั่งกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ที่ ๐๐๓๑/ ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ........................................ ด้วย คณะกรรมการบริหาร กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) จะดําเนินการจัดการความรู้ในองค์กร (Knowledge Management: KM) นั้น เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตาม วัตถุประสงค์ จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ดังนี้ ๑. ผู้อํานวยการกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ที่ปรึกษา ๒. นางสาววรรณีย์ เล็กมณี ประธานคณะกรรมการ ๓. นายณรงค์ชัย มีสง่า กรรมการ ๔. นางณัฐกมล หิรัญบุญญานุกุล กรรมการ ๕. นางสาวปุณยวีร์ โพธิ์ศรี กรรมการ ๖. นางสาวเกษรินทร์ ชินโน กรรมการ ๗. นายธนกฤต มากงลาด กรรมการ ๘. นางสาวขนิษฐา พรมชาติ กรรมการ ๙. นางสาวพรรณพนัช จันหา กรรมการ ๑๐. นางสาวทัดชาวดี นฤทุม กรรมการและเลขานุการ ๑๑. นางสาวอรชร โกยกิจเจริญ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โดยให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งมีหน้าที่ ๑. ประชุมกําหนดขั้นตอนและแนวทางการทํางานร่วมกัน ๒. รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทําการจัดการความรู้ (KM) ของกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๓. จัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๔. ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๕. สรุปผลการจัดการความรู้ ๖. ประเมินผลการดําเนินงาน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและถือปฏิบัติ สั่ง ณ วันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล) ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต กีฬา และศิลปวัฒนธรรม ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน)


คําสั่งกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ที่ ๐๐๓๔ / ๒๕๕๖ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) เพิ่มเติม ........................................ ด้วย คณะกรรมการบริหาร กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) จะดําเนินการจัดการความรู้ในองค์กร (Knowledge Management: KM) นั้น เพื่อให้การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตาม วัตถุประสงค์ จึงขอแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) เพิ่มเติม ๑ ราย คือ นางบังอร บรรณจิระกุล

กรรมการ

โดยให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งมีหน้าที่ ๑. ประชุมกําหนดขั้นตอนและแนวทางการทํางานร่วมกัน ๒. รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทําการจัดการความรู้ (KM) ของกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๓. จัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๔. ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๕. สรุปผลการจัดการความรู้ ๖. ประเมินผลการดําเนินงาน จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและถือปฏิบัติ สั่ง ณ วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๖

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล) ผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต กีฬา และศิลปวัฒนธรรม ปฏิบัติหน้าที่ผู้อํานวยการกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน)


รายงานการประชุม คณะกรรมการการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๑๕.๐๐ น. ณ ห้องประชุม กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) **************************

ผู้มาประชุม ๑. ผู้อํานวยการกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๒. นางสาววรรณีย์ เล็กมณี ๓. นายณรงค์ชัย มีสง่า ๔. นางณัฐกมล หิรัญบุญญานุกุล ๕. นางบังอร บรรณจิรกุล ๖. นางสาวปุณยวีร์ โพธิ์ศรี ๗. นางสาวเกษรินทร์ ชินโน ๘. นายธนกฤต มากงลาด ๙. นางสาวขนิษฐา พรมชาติ ๑๐. นางสาวพรรณพนัช จันหา ๑๑. นางสาวทัดชาวดี สิทธิสาร ๑๒. นางสาวอรชร โกยกิจเจริญ

ที่ปรึกษา ประธานคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ผู้ไม่มาประชุม ไม่มี ผู้เข้าร่วมประชุม ไม่มี เริ่มประชุมเวลา ๑๕.๑๔ น. วาระที่ ๑

เรื่องแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ดังนี้ ๑๒. ผู้อํานวยการกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ที่ปรึกษา ๑๓. นางสาววรรณีย์ เล็กมณี ประธานคณะกรรมการ ๑๔. นายณรงค์ชัย มีสง่า กรรมการ ๑๕. นางณัฐกมล หิรัญบุญญานุกุล กรรมการ ๑๖. นางบังอร บรรณจิรกุล กรรมการ


๑๗. นางสาวปุณยวีร์ ๑๘. นางสาวเกษรินทร์ ๑๙. นายธนกฤต ๒๐. นางสาวขนิษฐา ๒๑. นางสาวพรรณพนัช ๒๒. นางสาวทัดชาวดี ๒๓. นางสาวอรชร

โพธิ์ศรี ชินโน มากงลาด พรมชาติ จันหา นฤทุม โกยกิจเจริญ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

โดยให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งมีหน้าที่ ๗. ประชุมกําหนดขั้นตอนและแนวทางการทํางานร่วมกัน ๘. รวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทําการจัดการความรู้ (KM) ของกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๙. จัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๑๐. ถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคลากรกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๑๑. สรุปผลการจัดการความรู้ ๑๒. ประเมินผลการดําเนินงาน ๑.๒ นโยบายจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน โดยผู้ช่วยรองอธิการบดีฝ่าย บริหารและประกันคุณภาพ ที่ปรึกษาการจัดทําการจัดการความรู้ (KM) มีความประสงค์ให้การจัดทําประกัน คุณภาพได้รับคะแนนเต็ม ๕ โดยกระตุน้ ให้ทกุ หน่วยงานมีการจัดทําการจัดการความรู้ (KM) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงานให้บุคลากรทุกคน รวมถึงการมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ และการเผยแพร่ความรู้ ให้ทกุ คนรับทราบ ๑.๓ สํานักงานวิทยาเขตกําแพงแสนจัดทําการจัดการความรู้ให้บุคลากรสายสนับสนุนในเรื่อง ของ ๑. การอบรมภาษาอังกฤษ ๒. การใช้งานระบบ e-office ๓. การเขียนหนังสือราชการ วาระที่ ๒

เรื่องเพื่อพิจารณา ที่ปรึกษากรรมการการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) เสนอให้จัดทํา การจัดการความรู้ในภาพรวมของกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ทั้ง ๕ งาน ทําร่วมกันได้และเกิดประโยชน์ สูงสุด โดยให้เริ่มพิจารณาจากปัญหา อุปสรรคในการทํางาน หรือบางงานที่มีความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน ให้ ดําเนินการถ่ายทอดความรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและทํางานไปในทิศทางเดียวกัน โดยเริ่มจากแต่ละงาน


พูดคุยแลกเปลีย่ นความรู้กันก่อน ถ้ายังขาดความรู้ประเด็นใดให้ดําเนินการเชิญวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญมา บรรยายให้ความรู้เพิ่มเติม คณะกรรมการการจัดการความรู้ (KM) กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) เสนอหัวข้อการจัดทําการ จัดการความรู้ ดังนี้ ๑. ความรู้ / การจัดหมวดหมูก่ ารจัดซื้อจัดจ้าง ๒. ความรู้เรื่องการประกันคุณภาพภายใน ๓. ความรู้เรื่องการประเมินผลโครงการ และรายงานสรุปโครงการ มติที่ประชุมพิจารณาให้ดําเนินการจัดทําความรู้ในหัวข้อ “ความรู้/ การจัดหมวดหมู่การจัดซื้อ จัดจ้าง” และ “ความรู้เรื่องการประเมินผลโครงการ และรายงานสรุปโครงการ” ควบคู่กันเพื่อให้การดําเนินงาน โครงการต่ าง ๆ ของทุ กหน่ วยงานเป็ นไปในทิ ศทางและรู ปแบบเดี ยวกั น เพื่ อให้ เกิ ดประสิ ท ธิ ภาพในการ ปฏิบัติงาน หัวข้อ “ความรู้/ การจัดหมวดหมู่การจัดซื้อจัดจ้าง” ดําเนินการโดยให้บุคลากรสํานักงานของ กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ทุกคนค้นหาและรวบรวมความรู้เรื่องการทําจัดซื้อจัดจ้างในหน่วยงานของตนเอง มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และเชิญผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ทางด้านการทําจัดซื้อจัดจ้าง โดยคุณสม พิศ ชยันโต (หัวหน้างานพัสดุ) จากกองคลัง (บางเขน) มาให้ความรู้ เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจไปใน ทิศทางเดียวกัน จะได้มีการนําความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ที่เป็นลายลักษณ์อักษร และจากความรู้ทักษะ ของผู้มีประสบการณ์ตรง ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง โดยจะจัดทําเป็น “คู่มือขั้นตอน การทําจัดซื้อจัดจ้าง ของกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน)” ในลําดับต่อไป โดยกําหนดจัดโครงการการจัดการ ความรู้ หัวข้อ “ความรู้/ การจัดหมวดหมู่การจัดซื้อจัดจ้าง” ในวันพุธที่ ๘ มกราคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องนนทรี อาคารกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ในส่วนของหัวข้อ “การประเมินผลโครงการ และรายงานสรุปโครงการ” ดําเนินการโดยให้บุคลากรของ กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ทุกคนค้นหาและรวบรวมความรู้ในหน่วยงานของตนเอง และนํารูปเล่มรายงาน สรุปโครงการของหน่วยงานตนเองมาแลกเปลี่ยนและให้บุคลากรที่ได้เข้าร่วมโครงการอบรมสัมมนาด้านประกัน คุ ณภาพ สํ าหรั บอาจารย์ แ ละบุ ค ลากร เรื่ อ งการเขี ย นโครงการ และการประเมิ น โครงการประกอบแผน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ มาถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับจากการอบรมมา และทํา ความเข้ าใจร่วมกั น และรวบรวมความรู้ ประสบการณ์ จากผู้ปฏิ บัติงานจริ ง มาจั ดทํ ารูปแบบรายงานสรุป โครงการที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ให้กับทุกงานในกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยกําหนดจัดโครงการการจัดการความรู้ หัวข้อ “การประเมินผลโครงการ และ รายงานสรุปโครงการ” ในวันอังคารที่ ๗ มกราคม ๒๕๕๗ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ ห้องนนทรี อาคารกอง กิจการนิสิต (กําแพงแสน)


บุคคลที่เกี่ยวข้องภายในองค์กร บุคคลที่จะต้องแบ่งปันแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ร่วมกัน คือ บุคลากรสํานักงาน สังกัดกอง กิจการนิสิต กําแพงแสนทั้ง ๕ งาน คือ งานธุรการ งานหอพัก งานกิจกรรมและพัฒนานิสิต งานแนะแนวและ ทุนการศึกษา และงานอนามัย รวมทั้งสิ้น ๓๘ คน แผนการดําเนินงานการจัดการความรู้ KM ที่ ๒ การบริหารและจัดทําโครงการ

กิจกรรม

ปี พ.ศ.๒๕๕๖ ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ เม.ย. พ.ค. มิ.ย.

ก.ค.

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการการการจัดการความรู้ KM ๒. ประชุมครั้งที่ ๑ ปรึกษาหารือการทํางานร่วมกัน ๓. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเชิญวิทยากรวิทยากร มาให้ความรู้/การจัดหมวดหมู่การจัดซื้อจัดจ้าง ๔. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินผลโครงการ และรายงานสรุปผลการทําโครงการ ๕.รวบรวมความรู้ จัดทําคู่มือขั้นตอนการเบิกจ่าย และ การจัดซื้อจัดจ้าง ของกองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) ๖. รวบรวมความรู้เพื่อจัดทํารูปแบบ การประเมินผล โครงการ และรายงานสรุปโครงการ ๗. ถ่ายทอดความรู้ให้บุคลากรกองกิจการนิสิต และ เผยแพร่ทาง Website ๘. นําความรู้จริงไปใช้งานจริง ปรับปรุงและปรับใช้ใน การปฏิบัติงาน ๙. ติดตามและประเมินผล

วาระที่ ๓ วาระที่ ๔

เรื่องเพื่อทราบ ไม่มี เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) ไม่มี

ปิดประชุมเวลา ๑๖.๓๐ น.

(นางสาวทัดชาวดี นฤทุม) ผู้จดรายงานการประชุม

(นางสาววรรณีย์ เล็กมณี) ผู้ตรวจรายงานการประชุม

ส.ค.

ก.ย.


สรุปผลการพัฒนาความรู้ เรื่อง การแยกประเภทค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และครุภัณฑ์ วันที่ 8 มกราคม 2557 ณ ห้องนนทรี กองกิจการนิสิต (กําแพงแสน) จากการรวบรวมความรู้ ในเรื่องการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับการแยกประเภทค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และครุภัณฑ์ มีดังนี้ ค่าตอบแทน - ค่าตอบแทนพนักงานขับรถ - ค่าสมนาคุณแพทย์ / พยาบาล - ค่าเช่าบ้านข้าราชการ - ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานด้านรักษาความเจ็บป่วยนอกเวลา ราชการ - ค่าคุมสอบ - ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ - ค่าที่พักวิทยากร - ค่าล่วงเวลา (OT) - ค่าตอบแทนกรรมการตัดสินงานต่าง ๆ - ค่าตอบแทนพนักงานอยู่เวรของหอพัก - ค่ากรรมการตรวจการจ้าง - ค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง - ค่ากําลังคนด้านสาธารณสุข - ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ - ค่าตอบแทนการสอน - ค่าตอบแทนอาจารย์ที่ปรึกษา - ค่าตอบแทนแม่บ้าน - ค่าตอบแทนประจําตําแหน่ง

ค่าใช้สอย - ค่าเบี้ยลี้ยงเดินทางไปราชการ - ค่าอาหาร / อาหารว่าง - ค่าเย็บเล่มหนังสือ - ค่าเช่าที่พัก - ค่าถ่ายเอกสาร - ค่าของขวัญ ค่าของที่ระลึก ของรางวัล เงินรางวัล - ค่าธรรมเนียมต่าง ๆ - ค่าเช่าทรัพย์สิน - ค่าเช่าห้องประชุม - ค่าจ้างเหมาบริการ - ค่าอาหารพนักงานขับรถ - ค่าแท็กซี่ - ค่าน้ํามัน - ค่ายานพาหนะในการจัดกิจกรรมภายนอกของนิสิต 300 บ. /วัน - ค่าลงทะเบียนการฝึกอบรมต่าง ๆ - ค่าจ้างติดตั้งระบบไฟฟ้า


จากการรวบรวมความรู้ ในเรื่องการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับการแยกประเภทค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่า วัสดุและครุภณ ั ฑ์ มีดังนี้ (ต่อ) ค่าวัสดุทั่วไป วัสดุสิ้นเปลือง (ครุภัณฑ์ที่ต่ํากว่าเกณฑ์ 5,000 บ.) - ค่าปากกา/ดินสอ/ยางลบ/ไม้บรรทัด/กาว/สก็อตเทป/แฟ้ม - ค่าหมึกพิมพ์ - ค่าถ่ายเอกสาร - ค่ากระดาษ A4 - เครื่องเย็บกระดาษ - ป้ายอิงค์เจ็ท , ป้ายไวนิล - ไมโครโฟน - ตรายาง - เครื่องชั่ง - เครื่องคิดเลข - น้ํามันเชื้อเพลิง - ค่าถ้วยรางวัล วัสดุงานบ้าน – งานครัว - แปรง - ถังแก็ส - ไม้กวาด - หม้อไฟฟ้า - ผ้าปูที่นอน/ปลอกหมอน/ผ้าห่ม/หมอน - ผ้าปูโต๊ะ - ค่าวัตถุดิบประกอบอาหาร - ถ้วยชาม , ช้อนส้อม - เต็นท์ - แก้วน้ํา – จานรองแก้ว วัสดุทางการแพทย์ - ถุงมือ , เข็ม - แอลกอฮอล์ - หลอดแก้ว - ลําสีและผ้าพันแผล - ออกซิเจน - น้ํายาต่าง ๆ - ขวดใส่น้ํายา วัสดุก่อสร้าง - อิฐ , ทราย , กระเบื้อง - ปูนซีเมนต์ , ปูนขาว -หลอดไฟ - สี - ทินเนอร์ - แปรงทาสี , ตะปู , จอบ

ค่าครุภัณฑ์ - ตู้ - เตียง - ที่นอน - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ราคา 20,000 บาท ขึ้นไป - คอมพิวเตอร์ - ตู้เก็บเอกสาร / ชั้นเก็บเอกสาร - อัพเกรดครุภัณฑ์ - โทรทัศน์ - โทรศัพท์ - เครื่องเล่น DVD - กล้องถ่าย VDO - เครื่องถ่ายเอกสาร - คูลเลอร์น้ํา - เครื่องปรับอากาศ - เครื่องดูดฝุ่น - เครื่องเชื่อมโลหะ - เครื่องพ่นสี - เครื่องอัดจาระบี - เครื่องเจาะเหล็ก - สว่าน - พัดลม - เครื่องวัดความดันโลหิต - เครื่องช่วยหายใจ - รถทําแผล - เปลตัก - รถเข็น


(แบบฟอร์ม) ชื่อ ............................................................................ นามสกุล .......................................................................... ตําแหน่ง ................................................................... หน้าที่ปัจจุบัน ................................................................. ความเข้าใจในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับแนวทางการจัดซื้อจัดจ้างและแยก ประเภทวัสดุ ครุภัณฑ์ ให้กบั บุคลากร โดยความชัดเจนในการจัดประเภท ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ทีน่ ํามาใช้ ในการในการทํางาน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจ่าย จัดซื้อ / จัดจ้าง เบิกจ่าย มีรายละเอียดดังนี้ 1. ค่าตอบแทน 1.1 …ค่าตอบแทนนิสิตช่วยงาน…………………………………………………………………………………………… 1.2 …ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน / ภายนอก……………………………………………………………………… 1.3 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.4 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.5 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.6 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.7 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.8 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.9 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.10 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ค่าใช้สอย 2.1 …ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ……………………………………………………………………………………… 2.2 …ค่าอาหาร / อาหารว่าง………………………………………………………………………………………………… 2.3 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.4 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.5 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.6 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.7 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.8 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.9 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.10 ………………………………………………………………………………………………………………………………………


3. ค่าวัสดุ 3.1 …ค่าปากกา………………………………………………………………………………………………………………… 3.2 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.3 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.4 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.5 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.6 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.7 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.8 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.9 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.10 ……………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ครุภัณฑ์ 4.1 …โต๊ะ……………………………………………………………………………………………………………………………. 4.2 …เก้าอี้…………………………………………………………………………………………………………………………… 4.3 …เครื่องคิดเลข……………………………………………………………………………………………………………… 4.4 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.5 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.6 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.7 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.8 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.9 …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.10 …………………………………………………………………………………………………………………………………… ท่านต้องการความรู้ / การฝึกอบรม ในเรื่องใดเพิ่มเติมโปรดระบุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.