a day BULLETIN 618

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

25 NOV 2019

Everyday Learning

619 618 617


CONTENTS 618

TODAY EXPRESS PRESENTS

25 NOV 2019

619 618 617

P06

IN CASE YOU MISSED IT สายด่ ว นงู เ ข้ า บ้ า นพร้ อ มแนวทาง การรับมือแบบทันท่วงที

P12

CONVERSATION เข้าใจความเปลี่ยนแปลง และพร้อม รับมือการดิสรัปต์ในโลกไอทีกบ ั ธเนศ อังคศิรส ิ รรพ หัวเรือใหญ่แห่ง Lenovo

Everyday Learning

P19

MONEY LIFE BALANCE ่ งเล่าหารายได้ เจริญพรมาร์เกตติง ้ เรือ ที่น่าประทับใจจากคุณป้าวัยเกษียณ

P20 ทันทีท่ีได้พบกับ ธเนศ อังคศิริสรรพ เราสัมผัสได้ถึงพลัง งาน ที่ล้นเหลือ จากหัวเรือใหญ่ของบริษัทด้านไอทีจากแดนมังกรอย่าง Lenovo คนนี้ วันนั้นเขาตรงดิ่งมาสตูดิโอทันทีหลังเสร็จสิ้นภารกิจ ติดต่องานกับโรงพยาบาลใหม่แห่งหนึ่ง เพื่อออกแบบ PoC (Proofof-Concept) ระบบการท�างานหลังบ้านให้โรงพยาบาลมีประสิทธิภาพ ในการท�างานมากขึ้น แม้จะผ่านงานหนักมา แต่ในบ่ายวันนัน ้ เขาดูสนุกไปกับการถ่ายภาพ ่ เต้นไปกับการทดลองอะไรใหม่ๆ และบทสนทนากับเราก็ออกรสออกชาติ ตืน ถึงประสบการณ์ 28 ปี ในวงการไอที ่ งใหญ่ในวงการ ไม่วา่ จะเป็น หลายหัวข้อทีเ่ ราคุยกันในวันนัน ้ เป็นเรือ การปรับตัวครั้งใหญ่กระแสดิสรัปชัน การสร้างแอตติจูดท�างานเพื่ อ ่ นไป และสิง รองรับพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ ส�าคัญทีเ่ ขาคิดว่าจะท�าให้ ทุกคนรอดจากยุคธุรกิจ ‘ปลาเร็วกินปลาช้า’ ได้ คือการฝึ กตัวเองให้ เรียนรู้ส่ง ิ ใหม่ทุกๆ วัน แบบ Everyday Learning ซึ่งเราอยากชวน ้ ร้อมๆ กับเขาในบทสัมภาษณ์ชน คุณไปเรียนรูแ้ นวคิดเหล่านีพ ้ิ นี้

C

THEY SAID บทสนทนาในชัว ่ โมงแห่งความสุขก่อน คอนเสิรต ์ FRIDAY 22 ปี ยินดีทไี่ ด้รจ ู้ ก ั

M

Y

CM

MY

CY

P22

CMY

K

FEATURE ่ ในสาม รูจ ้ ก ั โรงเรียนพุ ทธจักรวิทยา หนึง ่ า� แนวคิด SLC ของโรงเรียนน�าร่องทีน มาใช้ในการเรียนการสอน

P30

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิ ก าร ทั ศ นคติ ต่ อ ชี วิ ต และสั ง คมผ่ า นสายตาของ วุ ฒิ ชั ย กฤษณะประกรกิจ

TEAM ที่ปรึ กษา สุ ร พงษ์ เตรี ยมชาญชัย บรรณาธิก ารที่ ปรึก ษา นิภา เผ่า ศรี เ จริ ญ บรรณาธิ การผู้ พิมพ์ โ ฆษณา/บรรณาธิ การบริ หาร วุ ฒิชั ย กฤษณะประกรกิ จ บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัตก ิ ล ุ ชยพล ทองสวัสดิ์ กฤตนัย จงไกรจักร นักเขียน/ผูป ้ ระสานงาน ตนุภท ั ร โลหะพงศธร หัวหน้าช่างภาพ กฤตธกร สุทธิกต ิ ติบต ุ ร ช่างภาพ ภาสกร ธวัชธาตรี ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิ้มแย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ ศิลปกรรม ฐิติชญา อนันต์ศิริภัณฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิสูจน์อักษร หัสยา ตั้งพิทยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง รัชต์ภาคย์ แสงมีสินสกุล กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึ กษาฝ่า ยโฆษณา ศรวณี ย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนั ส นั นท์ รุ่ งรั ต นสิ ทธิ กุ ล 08-4491-9241 ผู้ ช่ ว ยผู้ จั ดการฝ่า ยโฆษณา ภรั ณภพ สุ ข อิ น ทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรี จุ ฬ างกู ล 08-1639-1929, พงศ์ธิดา อังศุวัฒนากุล 09-4415-6241, ณัฐวีณ์ ประมุขปฐมศักดิ์ 08-3922-9929 เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผูผ ้ ลิต บริษัท เดย์ โพเอทส์ จ�ากัด เลขที่ 33 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 ติดต่อกองบรรณาธิการ โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www. adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com

02 2



5% - < 10% 10% - <20% 20% - <30% No data

ไม่ได้ท�าการเก็บข้อมูล

No data

เรือ ่ ง : ชยพล ทองสวัสดิ์

DATABASE

0% - < 5%

20% - < 30% 5% - < 10%

ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

0% - < 5%

จ�ำนวนเด็กช่วงปฐมวัย ในภูมิภำคเอเชียแปซิฟก ิ ที่ไม่ได้เข้ำศึกษำในโรงเรียน

10% - < 20%

0% - < 5%

5% - < 10%

10% - < 20%

20% - < 30%

No data

OUT OF SCHOOL CHILDREN IN ASIA-PACIFIC

C

M

Y

MY

213

51 ประเทศไทยมีโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ที่จัดการศึกษาให้แก่ผู้ด้อยโอกาส จ�านวน 51 แห่ง ในสังกัดส�านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน ้ ฐาน และยังมีการจัดการเรียน ้ พืน การสอนอาชีวศึกษาส�าหรับผู้ด้อยโอกาสใน โรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์บางแห่งอีกด้วย

ประเทศไทยมีโรงเรียนต�ารวจตระเวน ชายแดน ซึ่ ง อยู่ ภ ายใต้ สั ง กั ด กองบั ญ ชาการต� า รวจตระเวนชายแดน ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ โดยตัวโรงเรียน ตัง ่ า่ งไกลหรือท้องถิน ้ อยูใ่ นเขตท้องทีห ่ ทุ ร กั น ดารของประเทศจ� า นวนทั้ ง สิ้ น 213 แห่ง ประกอบด้วยโรงเรียนระดับ ประถมศึ ก ษา 211 แห่ ง และระดั บ มัธยมศึกษา 2 แห่ง

48

CY

CMY

K

ในปีการศึกษา 2560 ประเทศไทย มีโรงเรียนเฉพาะความพิการ สังกัด ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้ น พื้ น ฐ า น จ� า น ว น 4 8 แ ห่ ง ทัว ่ เด็กพิเศษทุกประเภท ่ ประเทศ ซึง ความพิ ก ารสามารถเข้ า เรี ย นใน โรงเรียนเฉพาะความพิการเหล่านีไ้ ด้

ASEAN COUNTRY

CAMBODIA

9.44%

INDONESIA

7.27%

LAO PDR

PHILIPPINES

6.66% 4.55%

BRUNEI

3.59%

MYANMAR

2.29%

THAILAND

1.98%

VIETNAM

1.89%

MALAYSIA

1.40%

20

SINGAPORE

0.06%

ทีม ่ า : www.bangkok.unesco.org, www.pmnk.kkzone1.go.th

ใครๆ ก็ รู้ ว่ า การศึ ก ษาเป็ นสิ่ ง ส� า คั ญ แต่ จ ากผลส� า รวจบอกว่ า เด็ ก ๆ ช่ ว ง ปฐมวั ย กว่ า 18.7 ล้ า นคน ในภู มิ ภ าค เอเชี ย แปซิ ฟ ิก ก� า ลั ง ถู ก ลิ ด รอนสิ ท ธิ ขัน ้ ฐานในการเข้าโรงเรียน เนือ ่ งจาก ้ พืน ปั ญหาการเอารัดเอาเปรียบจากการใช้ แรงงานเด็ก ความพิการ ความยากจน ความขัดแย้งจากการสู้รบ และการแต่งงานตัง ั เด็ก ดังนัน ้ แต่วย ้ สิง ่ ส�าคัญ ที่ สุ ด คื อ เราต้ อ งสร้ า งการตระหนั ก รู้ เกีย ่ วกับสิง ่ ทีเ่ ด็กๆ จ�านวนหลายล้านคน ต้องเผชิญอยู่ และร่วมกันสร้างความเปลีย ่ นแปลงให้เกิดขึน ้ เพื่ออนาคตของ เด็กเหล่านี้

CM



IN CASE YOU MISSED IT

ภาพ : REUTERS / SOE ZEYA TUN

งูเหลือมและงูหลามที่จับได้

THAILAND’S STEALTHY SELF-STYLED SNAKE WRANGLER

ขับรถมุ่งหน้าสู่จุดหมายที่ได้รบ ั แจ้งงูเข้าบ้าน

อุปกรณ์ที่ใช้ส�าหรับจับงู

ถึ ง แม้ ว่ า สภาพอากาศในเมื อ งช่ ว งนี้

จะไม่ค่อยหนาวอย่างที่หลายคนคาดหวัง แต่

ความชืน ้ ในอากาศทีล ่ ดลงต่อเนือ ่ ง ก็พอจะท�าให้

รู ส ้ ึกถึงความแห้งและความเย็นในอากาศได้

สัตว์เลื้ อยคลานอย่าง ‘งู’ ที่อุณหภูมิรา ่ งกาย

่ เจองูอยูใ่ นบ้าน แนวทางรับมือเมือ ตกใจได้ แต่ต้องกลับมาตั้งสติให้ได้ไว

ของมั น ขึ้ น อยู่ กั บ สภาวะของสิ่ ง แวดล้ อ ม

ทีส ่ ด ุ งูสว่ นใหญ่จะไม่ทา� ร้ายคนก่อน แต่ทม ี่ น ั ฉก

มากกว่ า แหล่ ง อาศั ย ในธรรมชาติ นี่ จึ ง เป็ น

อย่าเข้าใกล้ และรีบติดต่อสายด่วนขอความ-

จึงต้องหาสถานทีใ่ หม่ทท ี่ า � ให้รา่ งกายอบอุน ่ ได้ เหตุผลให้งูกลายเป็นแขกไม่รบ ั เชิญเข้ามาอยู่ ในบ้านในช่วงอากาศหนาว

นี่ คื อ ภาพถ่ า ยขณะที่ จ.ส.ต. ภิ ญ โญ

พุ ก ภิ ญ โญ พนั ก งานป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัยช�านาญการ ประจ�าสถานีดบ ั เพลิง

ช่ ว ยเหลื อ เปิ ด ไฟให้ ส ว่ า ง จั ด พื้ น ที่ ใ ห้ โ ล่ ง เฝ้าดูมน ั จากระยะทีป ่ ลอดถัย จนกว่าเจ้าหน้าที่

2

ของเขีย ้ ว งูพษ ิ จะมีรอยเจาะคูช ่ ด ั เจน สิง่ ส�าคัญ

ชวนผวาที่ แ อบเลื้ อ ยเข้ า มาร่ ว มอาศั ย ใน

ถ้าสามารถจับตัวได้ ให้น�างูไปที่โรงพยาบาล

199

นักดับเพลิงและกู้ภัย ในเขตกรุงเทพฯ

ว่าเป็นงูพิษหรือไม่ ซึ่งสังเกตได้จากรอยเจาะ

ให้ ไ ด้ เ ยอะที่ สุ ด เพื่ อ ประโยชน์ ในการรัก ษา

1677

ร่วมด้วยช่วยกัน พร้อมประสานช่วยเหลือ

จะเดินทางมาถึง ในกรณีถก ู กัด ควรรีบดูให้แน่ชด ั

คื อ จดจ� า ลั ก ษณะ สี สั น และลวดลายของงู

บ้านคน

1

ก็เพราะรูส ้ ก ึ ถูกคุกคาม ดังนั้น อยูใ่ ห้หา ่ งจากงู

บางเขน เจ้ า ของฉายา Snake Wrangler ออกปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เพื่ อ จั บ เหล่ า งู แ ละอสรพิ ษ

่ เจองู (ในบ้าน) สายด่วนเมือ

3

@sde5248v

ช่วยจ�าแนกชนิดงูจากภาพถ่าย

ด้วยเพื่อความแม่นย�าในการรักษา

06


“ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว”

20 ปี บนเส้นทางแห่งการแบ่งปั นไออุ่น รอยยิ้ม และความห่วงใย สู่พี่น้องคนไทย จากปณิธานแห่งการให้ สู่การร่วมมือร่วมใจจากพันธมิตร ขยายผลให้เกิดการสร้างสังคมแห่งการแบ่งปัน ด้วยเจตนารมณ์ของ คุณเจริญ-คุณหญิงวรรณา สิรว ิ ฒ ั นภักดี ประธานกรรมการและรองประธานกรรมการ บริษท ั ไทยเบฟเวอเรจ จ�ากัด (มหาชน) ได้เล็งเห็น ถึงความเดือดร้อนจากภัยหนาวของพี่นอ ้ งในถิน ั สังคม จึงริเริม ้ แต่ปี 2543 ่ ทุรกันดารและเพื่อเป็นการตอบแทนและคืนก�าไรให้กบ ่ ด�าเนินโครงการแจกผ้าห่มมาตัง ภายใต้ชื่อโครงการ “ช้าง...รวมใจต้านภัยหนาว” ด้วยการแบ่งปันไออุ่นให้กับพี่น้องชาวไทยตามปณิธานที่ยึดถือมาโดยตลอดว่า “คนไทย...ให้กันได้” โดยจัดคาราวานผ้าห่มจ�านวน 200,000 ผืน แจกจ่ายให้กับพี่น้องภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากกระทรวงมหาดไทยผ่าน ผู้ว่าราชการจังหวัด โดยมีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นหน่วยงานหลักที่ให้ข้อมูลจ�านวนผู้ประสบภัยหนาวและคัดเลือกประชากรในแต่ละจังหวัด วันนี้ก้าวสู่ปีที่ 20 ของโครงการ “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว” ซึ่งยังคงสานต่อปณิธานแห่งการให้ และมุ่งมั่นให้เกิดการขยายผลออกไปอย่างไม่มีท่ส ี ้น ิ สุด เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของพี่น้องชาวไทยผู้ประสบภัยหนาวในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยร่วมมือกับพันธมิตรที่ส�าคัญเสมอมา


2549

2543

เริ่ ม ต้ น จั ด อาหารกล่ อ ง ส�าหรับมือ ้ เช้า แจกให้ชาวบ้าน ที่ ม ารอรั บ ผ้ า ห่ ม และเริ่ ม มอบทุ น การศึ ก ษาให้ กั บ

เริม ่ ต้นการแจกผ้าห่ม ภายใต้ช่ือโครงการ “ช้ า ง...รวมใจต้ า น ภัยหนาว”

โรงเรี ย นต่ า งๆ ที่ ใ ช้ เ ป็ น สถานทีแ่ จกผ้าห่ม โครงการฯ ยั ง ประสานงานร่ ว มกั บ สาธารณสุขจังหวัด เพื่อน�า ที ม เจ้ า หน้ า ที่ ล งพื้ น ที่ ค อย ดู แ ล ทุ ก ค น ที่ ม า รั บ ม อ บ ผ้าห่ม

2550

ร้ อ ยเรื่ อ งราวจากผ้ า ห่ ม ผื น แรก สู่ปีที่ 20 สัญลักษณ์แห่งความห่วงใย ที่คนไทยมีให้กันเสมอมา ผ้ า ห่ ม จ� า นวน 4,000,000 ผื น ได้ ก ระจายไปสู่ ผู้ ป ระสบภั ย มากกว่ า 37 จังหวัด ทุกเส้นทางทีผ ่ า้ น ่ า่ น ทุกหมูบ ที่เข้าถึง ผ้าห่มผืนเขียวทุกผืนน�ามาซึ่ง ไออุน ่ พร้อมกับความห่วงใยทีส ่ ถึงพีน ้ ง ่ ง ่ อ คนไทย จากความร่วมมือของหน่วยงาน พันธมิตรทัง ้ ภาครัฐและภาคเอกชน ทีเ่ ข้ามา มี ส่ ว นร่ ว มเดิ น ทางไปกั บ โครงการฯ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังมอบโอกาส ในการเข้ า ถึ ง ความช่ ว ยเหลื อ ในด้ า น ต่ า งๆ ทั้ ง การศึ ก ษาและสาธารณสุ ข ผ่านกิจกรรมอันเป็นประโยชน์หลากหลาย ด้าน น�ามาซึ่งรอยยิ้มและความสุขที่ส่ง

ถึงกัน จากคนไทย...เพื่อคนไทย และนีค ื ่ อ เส้นทางตลอด 20 ปีแห่งการให้ทีย ั่ ยืน ่ ง ของ “ไทยเบฟ...รวมใจต้านภัยหนาว”

ในทุกๆ ปี ผ้าห่มผืนเขียว จ� า นวน 200,000 ผื น ของ โครงการฯ จะถูกส่งไปถึงมือพีน ้ ง ่ อ ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แต่ จากสถิติของกรมการปกครอง และกรมป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย จ�านวนประชากร ทั้งหมดของภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ

เปลี่ ย นชื่ อ เป็ นโครงการ “ ไ ท ย เ บ ฟ . . . ร ว ม ใ จ ต้ า น ภั ย หนาว” และเป็ น ปี แ รก ที่มีเพลงประจ�าโครงการฯ ใ น ชื่ อ ว่ า “ ร ว ม ใ จ ต้ า น ภัยหนาว” ซึ่งสร้างสรรค์ โดยวงคาราบาว นอกจากนี้ ยั ง เ ชิ ญ พั น ธ มิ ต ร จ า ก ภายนอกเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม และร่วมน�าสิ่งของมามอบ ให้ผู้ประสบภัยหนาว

30 กว่าล้านคน ยังมีความต้องการ เครื่องกันหนาวกว่า 6 ล้านคน และเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี มาร่ ว มสร้ า งสั ง คมแห่ ง การให้ ที่ ยั่ ง ยื น มากกว่ า ไออุ่ น จากผู้ ใ ห้ ถึ ง ผู้ รั บ และส่ ง ต่ อ ความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดีนี้ ต่อไปอย่างไม่ส้น ิ สุด 08


2552 จั ด ห น่ ว ย แ พ ท ย์ เ ค ลื่ อ น ที่ เ พื่ อ ต ร ว จ รั ก ษ า ช า ว บ้ า น และนั ก เรี ย นที่ ม ารั บ ผ้ า ห่ ม

อ� า เภอเชี ย งแสน จั ง หวั ด เชียงราย และยังร่วมมือกับ ช้ า งโมบายฟุ ตบอลคลิ นิ ก จัดท�าคลินก ิ ฟุ ตบอล โดยเชิญ โค้ ช และนั ก ฟุ ตบอลที ม ชาติ

มอบผ้าห่ม 5,000 ผืน ให้แก่

2555 - 2562

โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ด อ ย ส ะ โ ง๊ ะ

2554

พร้ อ มทั้ ง สร้ า งห้ อ งสมุ ด ที่

เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ กิ จ ก ร ร ม ชุ ม ช น ดี

ผู้ ป ระสบภั ย สึ น ามิ ที่ ป ระเทศ ญี่ปน ุ่

ไทยมาสอนทักษะและเทคนิค การเล่ น ฟุ ตบอลเบื้องต้ น แก่ น้องๆ ในพื้นที่ รวมถึงมอบ อุปกรณ์ กี ฬ า หนั ง สื อ และ คอมพิ วเตอร์ นอกจากนี้ยัง จั ด ท� า ส า ร ค ดี “ ย้ อ น ร อ ย 1 0 ปี บ น เ ส้ น ท า ง แ ห่ ง การแบ่งปันไออุ่น”

2553 จัดโร้ดโชว์ เพื่ อให้พนักงาน ใ น เ ค รื อ ไ ท ย เ บ ฟ เ ข้ า ม า มี

มีรอยยิม ิ ้ และช้างโมบายฟุ ตบอลคลินก เพื่ อจุดประกายสร้างแรงบันดาลใจ ให้กับเด็กและเยาวชน โดยจับมือกับ พันธมิตรทีม ี วามเชีย ่ ค ่ วชาญเฉพาะด้าน ทั้งศิลปะ ดนตรี และกีฬา เพื่อจัด กิจกรรม รวมถึงมอบทุนการศึกษา และมอบสื่อการเรียนการสอนให้กับ น้องๆ นอกจากนั้นยังประสานงาน กับหน่วยราชการในพื้นทีข ่ อจัดอ�าเภอ เคลื่อนที่ เพื่อมาอ�านวยความสะดวก และบริ ก ารให้ กั บ ประชาชน เช่ น ถ่ า ยบั ต รประชาชน ตั ด ผม ซ่ อ ม เครื่ อ งใช้ ใ นครั ว เรื อ น ให้ ค วามรู้ เกี่ยวกับการดับเพลิง ฯลฯ ประสาน

ส่ ว น ร่ ว ม ม า ก ขึ้ น โ ด ย ร่ ว ม

ความร่วมมือกับมูลนิธิโรงพยาบาล

บ ริ จ า ค ผ้ า ห่ ม เ พื่ อ ม อ บ ใ ห้

สวนดอก ตรวจรักษาโรคทัว ่ ไปพร้อม

ผูป ้ ระสบภัยหนาว และจัดสร้าง

แจกจ่ายยาตามโรคทีว ่ ินิจฉัย ตัดผม

อาคารอเนกประสงค์ ใ ห้ กั บ

ฝังเข็ม รวมถึงโรงพยาบาลรวมแพทย์

โรงเรียนบ้านกวนบุ่น อ�าเภอ เต่างอย จังหวัดสกลนคร

ยโสธร มาบริการตรวจคัดกรองโรคนิว่ ในระบบทางเดินปัสสาวะ

2558

มอบผ้าห่ม 20,000 ผืน พร้อมเงินสนับสนุนแก่ผป ู้ ระสบภัย แผ่นดินไหวที่ประเทศเนปาล


A MUST EVENT

จอยรักเมลา เมื่อท�าเวิรก ์ ช็อปไปแล้ว หาก อยากขายของที่ท�าขึ้นมาจริงๆ ล่ ะ จะเริม ้ า� ให้คลับ ่ ทีไ่ หน จากค�าถามนีท แห่งการเวิรก ์ ช็อปอย่าง ‘จอยรักคลับ’ เปิ ด พื้ น ที่ จั ด งาน จอยรัก เมลา ขึ้ น โดยทางคลับขอสงวนสิทธิ์ไว้ให้กับ 20 แบรนด์ แรก จากสมาชิ ก ชาว จอยรักคลับที่เคยมาลงเรียนคลาส ต่างๆและเปิดโอกาสให้กบ ั อีก10แบรนด์ จากบุคคลทั่วไป น� าของแฮนด์เมด มาวางจ�าหน่าย ไม่วา ่ จะเป็นของกิน หรือ ของใช้ ก็ ดี ต่ อ ใจทั้ ง คนท� า และ คนซื้ อ พบกั บ พื้ น ที่ ป ล่ อ ยของนี้ ได้ ในวันที่ 28-29 ธันวาคมนี้ ณ หน้า อาคารแปลน ซ.สาทร 10 รายละเอียด เพิ่ ม เติ ม www.facebook.com/ Joyrukmela

คอลเล็กชัน Fall/Winter 2019 วางจ�าหน่ายแล้ว ติดตามข่าวสารเพิ่มเติม ของ Bolon ได้ท่เี ว็บไซต์ https://bolon.co.th/ เฟซบุ๊ก Bolon Eyewear Thailand และอินสตาแกรม Boloneyewearth

A C C E S S O RY

BOLON : FALL/WINTER 2019 คอลเลกชันล่าสุดประจ�าฤดูหนาวจากแบรนด์แว่นตา ่ าคาเอือ ้ มถึงง่ายๆ โดยมีทง ระดับโลกทีร ้ั กรอบแว่นสายตา และแว่ น ตากั น แดดให้เ ลือ กตามต้อ งการ โดยมีหลั ก ในการดีไซน์ว่า ต้องมีความหลากหลาย และน�า ความคลาสสิกมาประยุกต์ในการออกแบบให้กลายเป็น ความทันสมัย ราวกับงานศิลปะที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่เหมือนใคร ซึ่งเราจะเห็นได้จากซีรีส์ของแว่นตา กันแดดที่ครั้งนี้เขาน�ามาเสนอถึง 8 ซีรีส์

Anonymous ออกแบบจากสตรีผท ู้ รงอ�านาจ ด้วยดีไซน์แบบเลนส์ชน ิ้ เดียวในกรอบแบนเพรียวบาง Les Jardins ความสง่างามจากสวนพระราชวังแวร์ซาย ผสานกั บเทคโนโลยีช้ันสูงในการตั ดขอบเลนส์รูป กลีบดอกไม้แบบไดมอนด์คต ั และเชือ ่ มด้วยตัวหนีบ เลนส์โลหะรูปดอกไอริส Shadow Play แว่นที่ใช้ กรอบเลนส์แบบลอยตัดขอบด้วยเพชร และไล่ระดับ สี อ่ อ นใสหลายเฉด Cat Chic แว่ น ทรงตาแมว แบบย้ อ นยุ ค ร่ว มสมั ย ที่ ใ ครใส่ ก็ เ ก๋ Half Moon แว่นโอเวอร์ไซซ์สไตล์โฉบเฉีย ่ วทีใ่ ช้หลักการออกแบบ โดยอิงมาจากรูปทรงเรขาคณิต มอบประสบการณ์ ความเบาสบายเป็นพิเศษ Urban Spirit แนวคิดแห่ง อนาคตในสไตล์ยอ ้ นยุค โดดเด่นด้วยก้านบริดจ์เดีย ่ ว ด้านบน The Saddle ออกแบบโดยใช้แรงบันดาลใจ จากความสมดุลของอานม้า เพือ ่ ท�าให้เกิดสมดุลบน ใบหน้า ใส่สบายได้ตลอดวัน Cool Attitude ดีไซน์ กรอบโลหะรูปทรงแปลกตาแต่แฝงด้วยความเรียบง่าย ช่วยเน้นโหนกแก้มและยกคิ้วให้สูงแลดูโดดเด่น

WORKSHOP DESIGN AND CREATE YOUR SCENT ส�าหรับคนทีช ่ น ื่ ชอบเรือ ่ งกลิน ่ เป็ น พิ เ ศ ษ แ ล ะ อ ย า ก เรี ย น รู ้ ถึ ง ศาสตร์ของความหอมให้ลก ึ ซึง้ เราขอ แนะน� า คลาสเรี ย น perfumery knowledge จาก NOSEstory ที่จะสอนทั้งหลักการออกแบบกลิ่น การวางรูปแบบของระดับความหอม ขั้นต้ น กลาง และกลิ่ นหอมแฝงใน ตอนท้ า ย ก่ อ นลงมื อ สร้า งน� า หอม ของตัวเอง ราคาคอร์ส 3,900 บาท รวมหัวน�าหอม อุปกรณ์ และของว่าง ยามบ่าย จัดขึน ้ ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 ที่ Ease Cafe ซอยอารี ย์ รายละเอียดเพิม ่ เติม www.facebook. com/NOSEstory

10


GADGET

MACBOOK PRO (16-INCH MODEL) แล็ปท็อปทีเ่ ป็นทีส ่ ด ุ ของ Apple กับการออก MacBook Pro รุน ่ 16 นิว ้ ซึง่ มาทดแทนตัว 15 นิว ้ และการออกแบบใหม่หมดยกเครือ ่ งทั้งหน้าจอ เรติ นาขนาด 16 นิ้ วเต็ มตา Magic Keyboard ทีใ่ ช้ระบบกลไกแบบกรรไกรทีห ่ ลายคนต้องการ แต่เพิม ี ารขยับขึน ้ ลง ่ เติมการปรับปรุงใหม่ให้มก ของปุม ่ ทีท ่ า � ให้เราพิมพ์งานได้อย่างเพลิดเพลิน กว่าเดิม โดย MacBook Pro รุน ่ ใหม่นม ี้ ป ี ระสิทธิภาพ ในการท�างานทีย ่ อดเยีย ่ มกว่าเดิมสูงสุดถึง 80% สามารถสั่งเพิ่มพื้นที่จัดเก็บข้อมูลสูงสุด 8 TB และใส่หน่วยความจ�าขนาดสูงสุดได้ถึง 64 GB เปิดราคาเริม ่ ต้นที่ 75,900 บาท ดูรายละเอียด เพิ่มเติมที่ www.apple.com

BOOK

คอลเล็กชั่นฆาตกรรม จากคดี ฆ าตกรรมจริง ในญี่ ปุ่ น สู่ แรงบันดาลใจให้นักเขียนชั้นครู อย่าง โยชิดะ ชูอิจิ น� า มาถ่ า ยทอดเป็ น เรือ ่ งสั้น ที่ บ าดลึ ก ลงไปถึ ง จิ ตวิญญาณ ทั้งเรือ ่ งของสองแม่ลูกต่ างถิ่ นที่ ไม่มีใครให้การยอมรับ เรือ ่ งของแม่บ้านที่รูข ้ ่าว ว่าเพื่อนสมัยมัธยมฆ่าสามีของตัวเอง เรือ ่ งของ ลูกชายทีเ่ อาเงินบริษัทของครอบครัวมาเล่นการพนัน เรือ ่ งของชายผูต ้ ั้งใจพัฒนาชุมชนให้ดึงดูด นักท่องเทีย ่ ว แต่กลับถูกมองเป็นความประสงค์รา้ ย และสุดท้ายคือเรือ ่ งของอดีตนักเบสบอลชื่อดัง ที่ ต้ อ งหยุ ด เล่ น เพราะบาดเจ็ บ แต่ ยั ง เลื อ ก ใช้ชว ี ต ิ เหมือนเดิม เรือ ่ งสัน ้ ทัง้ ห้านี้จะปลดปล่อย จิ น ตนาการของคุ ณ ให้ พ บกั บ ความมื ด ด� า ทีใ่ ครบางคนเก็บซ่อนไว้ในใจ (แพรวส�านักพิมพ์/ ราคา 255 บาท)

ISSUE 618 7

12 85 N NO O VV 22 00 11 99

PLACE

GAME

CRIMSON ROOM

YES, YOUR GRACE

ใครเป็นสายดื่มที่รก ั ดนตรีแจ๊ซ รับรองว่า ต้องถูกใจกับ Crimson Room บาร์หรูเปิดใหม่ ที่ ภ ายในตกแต่ ง ด้ ว ยสี แ ดงโทนเลื อ ดหมู ซึ่ ง ได้ แรงบันดาลใจมาจากยุค 1920s ช่วงหลังสงครามโลกครั้ ง ที่ 1 อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารจั ด วางที่ นั่ ง เป็ น ครึง่ วงกลม เพือ ่ ให้เห็นการแสดงบนเวทีขนาดย่อม ซึง่ จะมีดนตรีแจ๊ซบรรเลงคลอเคล้ากับบรรยากาศ อยู่ เป็ น ระยะ ร้ า นตั้ ง อยู่ ใ นโครงการ Velaa Sindhorn Village บนถนนหลั ง สวน ลุ ม พิ นี เปิ ดบริ ก ารทุ ก วั น เวลา 17.00-02.00 น. รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.facebook.com/ crimsonroombkk

เกมจ� า ลองเหตุ ก ารณ์ ให้ คุ ณ สวมมงกุ ฎ รับบทเป็นกษัตริยใ์ นยุคกลาง เพือ ่ ท�าหน้าทีบ ่ ริหาร ทรัพยากรภายในอาณาจักร โดยจะต้องรับฟัง ค� า ร้อ งทุ ก ข์ จ ากประชาชน เหล่ า ขุ น นาง และ เครือญาติในราชวงศ์ แล้วไตร่ตรองให้รอบคอบ ก่อนตัดสินใจว่าใครบ้างทีจ ่ า� เป็นต้องได้รบ ั ความช่วยเหลือจริงๆ เพราะทรัพยากรทีม ่ อ ี ยูไ่ ม่เพียงพอ ส�าหรับช่วยทุกคน ยิง่ ไปกว่านั้นบางคนทีเ่ ข้ามา ร้องทุกข์อาจเคลือบแฝงด้วยความเห็นแก่ได้ ซึง่ จะ น�าความไม่สงบมาสูอ ่ าณาจักรและสัน ่ คลอนบัลลังก์ ในทีส ่ ด ุ ดังนั้น คุณต้องว่าจ้างนักล่า ผูว ้ เิ ศษ และ กองทัพทหาร เพือ ่ สร้างความแข็งแรงและเตรียม ต่อสูใ้ นยามคับขันควบคูไ่ ปด้วย แม้วา่ จะวางจ�าหน่าย อย่างเป็นทางการในปีหน้า แต่เกมนี้เปิดให้เล่น ผ่านระบบทดสอบบนสตรีมแล้ว เข้าลองไปดูกน ั ได้ ว่าเกมสนุกเหมือนทีเ่ ขาว่ากันหรือไม่

MOVIE

A P P L I C AT I O N

CHARLIE'S ANGELS

ADOBE AERO

หลังภารกิจสุดท้ายของแก๊งนางฟ้าชาร์ลี ใน Charlie’s Angels: Full Throttle (2003) ปีนี้ถง ึ เวลาแล้วทีน ่ างฟ้ารุน ่ ใหม่จะกลับมาปฏิบต ั ิ ภารกิจสุดท้าทายอีกครัง้ ทีใ่ นภาคนีพ ้ วกเธอต้อง ปกป้องอาวุธเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดให้ปลอดภัย จากเหล่าผูก ้ อ ่ การร้ายระดับโลก ส่วนสมาชิกของ แก๊งนางฟ้าในครัง้ นีย ้ งั ได้ คริสเตน สจ๊วต กลับมา รับบทน� าอี กครัง้ หลั งจบมหากาพย์ Twilight, นาโอมิ สก็อตต์ นักแสดงดาวรุง่ จาก Aladdin และ เอลลา บาลินสกา ที่เพิ่งแจ้งเกิดจากซีรส ี ์ The Athena เข้าฉายวันที่ 28 พฤศจิกายนนี้ ในโรงภาพยนตร์

ต่อจากนีไ้ ปการสร้างผลงาน 3 มิตเิ สมือนจริง หรือ AR จะสามารถท�าได้งา่ ยขึน ้ เพียงแค่ปลายนิว ้ สัมผัสบนหน้าจอสมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ต เพราะ Adobe ได้ เปิดตั ว Aero ซึ่งเป็นแอพพลิ เคชัน ส�าหรับระบบปฏิบต ั ก ิ าร iOS เพือ ่ อ�านวยความสะดวก ให้ นั ก ออกแบบทั้ ง มื อ อาชี พ และมื อ สมั ค รเล่ น น�าไฟล์ 3 มิติจาก Dimension และเลเยอร์ 2 มิติ จาก Photoshop และ Illustrator มาสร้างเป็น AR ได้อย่างสวยงาม เพื่อจัดวางบนไว้ภาพถ่าย หรือวิดีโอของกล้องสมาร์ตโฟน โดย Aero จะ เริม ี ารท�าอย่างละเอียดทีละขั้นตอน ่ ต้นสอนวิธก เพื่อให้นักออกแบบทุกคนเข้าใจหลักการท�างาน ของแอพฯ อย่างชัดเจน ดาวน์โหลดไปใช้ได้ฟรี ที่ App Store

13 11


เรือ ่ ง : ปริญญา ก้อนรัมย์

่ วง ภาพ : วงศกร ยีด

THE CONVERSATION

12


EvEryday LEarning ยุคก่อน บัญญัติของธุรกิจคือโลกของ ‘ปลาใหญ่ กิ น ปลาเล็ ก ’ แต่ ใ นยุ ค ปั จจุ บั น แทบทุ ก อย่ า งต่ า งเผชิ ญ การดิ ส รั ป ต์ ด้ ว ย เทคโนโลยี ความยิง ่ คลอน ่ ใหญ่ของธุรกิจถูกสัน ด้วยความรุดหน้าอย่างรวดเร็วของนวัตกรรม พ ร้ อ ม กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความส�าเร็จและความล้มเหลวในโลกธุรกิจ จึ ง สามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ ทุ ก วิ น าที จนพู ดได้ ว่ า โฉมหน้าของโลกธุรกิจในวันนี้เปลี่ยนไป และ กลายบัญญัติเป็ น ‘ปลาเร็วกินปลาช้า’ ไปแล้ว เรามีโอกาสได้พูดคุยกับ ธเนศ อังคศิรส ิ รรพ หัวเรือใหญ่ของบริษัทด้านไอทีจากแดนมังกร อย่าง Lenovo ถึงภาพรวมความเปลีย ่ นแปลง ที่ ก� า ลั ง เกิ ด ขึ้ น ในวงการไอที ประสบการณ์ ตลอด 28 ปี ใ นวงการ ท� า ให้ ธ เนศได้ เ ห็ น สัจธรรมหลายประการทีเ่ กิดขึน ้ ทัง ้ เทรนด์ใหม่ๆ

issue 618

25 NOV 2019

ของเทคโนโลยี แนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์ และบริการที่ปรับเปลี่ยนไปตาม Customer Centricity จากเดิมที่มักจะสร้างผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ บนข้อจ�ากัดของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่ มี อ ยู่ เ ป็ น หลั ก ไปจนถึ ง เรื่ อ งการควบรวม กิจการของบริษัทเทคโนโลยีใหญ่ๆ (Merger and Acquisition: M&A) ซึ่งท�าให้เส้นแบ่ง ชั ด เ จ น ร ะ ห ว่ า ง บ ริ ษั ท ที่ ท� า ฮ า ร์ ด แ ว ร์ กั บ ซอฟต์ แ วร์ แ ทบจะเลื อ นหายไปสิ้ น เพราะ ผูป ้ ระกอบการต่างท�าธุรกิจไปในทิศทางเดียวกัน หมดแล้ว ในวันที่มีโจทย์ใหม่ๆ เกิดขึ้นเต็มไปหมด บริ ษั ท ไอที ใ หญ่ บ างแห่ ง ล้ ม หายตายจากไป หัวใจส�าคัญทีธ ่ เนศคิดว่าจะท�าให้ธรุ กิจไอทีเดินหน้า ต่อไปได้ คือการสร้างทัศนคติในการเรียนรู้ และพั ฒ นาตั ว เองเพื่ อ เข้ า ใจความต้ อ งการ ของลูกค้าในทุกๆ วัน เพราะว่าใครที่เรียนรู้ได้

มากกว่า ก็จะได้รับผลตอบแทนที่มากกว่า “ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เราเก็บเกี่ยว ประสบการณ์ ม าเป็ นจ� า นวนมาก เพื่ อท� า ความเข้าใจว่าความต้องการทีแ ่ ท้จริงของลูกค้า คืออะไร กระบวนการคือ Everyday Learning เราต้ อ งเรี ย นรู้ ใ นทุ ก ๆ วั น เพราะลู ก ค้ า จะมี ความต้องการใหม่ๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา” เรื่ อ งราวและประสบการณ์ ชี วิ ต ของ ตัวจริงในวงการไอทีคนนี้ จะท�าให้คุณเข้าใจ ความเปลี่ยนแปลง และพร้อมรับมือโลกแห่ง ‘ปลาเร็วกินปลาช้า’ นี้ได้ดีข้ึน

13


ThE FasTEr, Th ่ งของ “ผมมองว่ายุคนีไ้ ม่ใช่เรือ ปลาใหญ่กน ิ ปลาเล็กอีกต่อไป แล้ว แต่เป็นยุคของปลาเร็วกิน ปลาช้า เพราะถ้าคุณขยับตัวช้า คุณปรับตัวช้า คุณก็ลา้ หลัง”

เป็นปีที่ 3 ของคุณธเนศในฐานะหัวเรือใหญ่ ของ Lenovo ความท้าทายในวันแรกกับวันนี้ เปลี่ยนไปอย่างไรไหม ผมอยู่ในวงการไอทีมา 28 ปี ตั้งแต่เรียน จบ ผมเห็นความเปลี่ ยนแปลงของตลาดไอที และเห็ น ความเปลี่ ย นแปลงของเศรษฐกิ จ เห็ น ความเปลี่ ย นแปลงจากยุ ค คอมพิ ว เตอร์ 286/12 เครือ ่ งอ่านแผ่น floppy disk เครือ ่ งละ แสนสอง แล้วมาถึงวันนี้คอมพิวเตอร์เครือ ่ งละ หมื่ น กว่ า บาท แต่ ป ระสิ ท ธิ ภ าพแตกต่ า งกั น เยอะ เราก็เห็นความเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด ซึง่ ผมคิดว่ามันเป็นสัจธรรม เราจะเห็นว่าตลาด มีแนวโน้มการท�า M&A (Merger and Acquisition) หรือ การควบรวมกิ จ การกั น มากขึ้ น ความชัดเจนระหว่างบริษัทที่ท�าฮาร์ดแวร์กับ ซอฟต์ แวร์แทบจะหมดไป เพราะทุ ก คนท� า แทบจะเป็ น ทิ ศ ทางเดี ย วกั น หมดแล้ ว หรือ การเกิ ด Digital Disruption ที่มีการน� า AI น�าเทคโนโลยีไอทีเข้ามาใช้ในการท�าผลิตภัณฑ์ มากขึน ้ เห็นพฤติกรรมของลูกค้าทีเ่ ปลีย ่ นแปลง ไป เห็ น การหยิ บ เอาเทคโนโลยี ม าใช้ ในชี วิ ต ประจ�าวันแทบจะทุกวินาที ดู จ ากตั ว ผมเอง ทุ ก วั น นี้ น้ อ ยมากที่ จ ะ ไปเดิ น ห้ า ง แม้ แ ต่ ซื้ อ ต้ น ไม้ ซื้ อ ปลา ซื้ อ นก ซือ ้ ของใช้ ผมก็ซอ ื้ ผ่านออนไลน์หมด พฤติกรรม ของผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นไปแบบนี้ สะท้อนให้ผผ ู้ ลิต อย่างเราต้องปรับตัว ซึ่งในแง่ของวงการไอที ถือเป็นการเปลีย ่ นแปลงครัง้ ใหญ่ เรามีการปรับใช้ เทคโนโลยีเข้ามาบริการลูกค้ ามากขึ้น อย่าง Lenovo เราก็ มี ก ารพั ฒ นา Chatbot มาใช้ ในการตอบค�าถามลูกค้า ในระบบการจัดการ หลังบ้าน เรือ ่ งการขนส่ง หรือเรือ ่ งการวางแผน ออกผลิตภัณฑ์ต่างๆ เราก็น�าเทคโนโลยีเข้ามา จัดการ การปรับตัวของ Lenovo มุ่งที่เรื่องใดบ้าง Lenovo มีการวางแผนตั้ งแต่ ช่วงต้ น ปี ที่ ผ่ า นมา เราเรีย กการเปลี่ ย นแปลงครัง้ นี้ ว่ า Intelligent Transformation ซึง่ ประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลักๆ เราเรียกว่า 3S ตัว S แรกคือ Smart IoT หรือ Internet of Things ในวันนีค ้ งไม่มใี คร ไม่รูจ ้ ักแล้ว ซึ่งจะเห็นภาพว่าเราได้ไปควบรวม กับบริษัท IBM PC มาหลายปีแล้ว และวันนี้ กลายมาเป็น Lenovo PC รวมทัง้ เรายังมีสน ิ ค้า ส�าหรับกลุม ่ ผูบ ้ ริโภค และสินค้าในกลุม ่ เชิงพาณิชย์ อืน ่ ๆ เช่น แท็บเล็ต สมาร์ตโฟน และสมาร์ตดีไวซ์ ที่ครอบคลุมในเรือ ่ ง Internet of Things ด้วย ถัดมาคือ Smart Infrastructure ชัดเจน ว่ า เราเป็ น มั ล ติ แบรนด์ ที่ มี บ ริก ารครอบคลุ ม ทุกกลุม ่ ลูกค้า รวมทัง้ การเป็นผูใ้ ห้บริการ Server, Storage หรือระบบปฏิ บัติการหลั งบ้านของ ลูกค้ า ว่าจะท�าอย่างไรให้เหมาะสมกั บโจทย์ และความต้องการที่แตกต่างไปในแต่ละเจ้า ส่ ว นสุ ด ท้ า ยคื อ Smart Vertical หรือ การพัฒนาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เพราะ วันนี้ลก ู ค้ามีความต้องการทีเ่ ฉพาะทางมากขึน ้ เรื่อ ยๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น กลุ่ ม ลู ก ค้ า โรงพยาบาล กลุ่ ม ภาคการศึ ก ษา กลุ่ ม ภาคการผลิ ต หรือ แม้แต่ภาครัฐบาล เพราะฉะนั้น การออกแบบ

ผลิตภัณฑ์ของ Lenovo ก็ตอ ้ งตอบโจทย์เหล่านัน ้ ด้ ว ยการพั ฒ นาศั ก ยภาพ จั ด ที ม ผู้ เชี่ ย วชาญ ดู แ ลลู ก ค้ า เฉพาะด้ า นมากขึ้ น ยกตั ว อย่ า ง ในธุ รกิ จ Health Care เราก็ ต้องเข้าไปรู จ ้ ั ก Pain Point ของเขา ในการทีจ ่ ะดูแลลูกค้าให้ได้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ดู คิ ว จ่ า ยยาอย่ า งไร ไม่ให้ลก ู ค้ารอนาน เราต้องดูวา่ มีเทคโนโลยีอะไร มาช่วยตรงนี้ได้บ้าง

ในวงการไอที แนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ ในอดีตกับปัจจุบน ั มีความแตกต่างกันมากน้อย แค่ไหน แต่ก่อนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จะอิงกับ ซัพพลายเออร์ของเราอีกทอดหนึ่ง ไม่วา ่ จะเป็น ผูผ ้ ลิตชิป หน่วยประมวลผล ฮาร์ดดิสก์ แต่วน ั นี้ วิธค ี ิดในการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการเปลี่ยน ไปหมดแล้ ว ตอนนี้ ต้ องใช้ ค� า ว่า Customer Centricity แทน การมองหานวัตกรรมใหม่ๆ จะเริ่ ม โฟกั ส จากความต้ อ งการของลู ก ค้ า การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะดู ก่ อ นว่ า ลู ก ค้ า มี การใช้ ง านด้ า นไหน อย่ า งเช่ น ลู ก ค้ า องค์ ก ร ขนาดใหญ่ ที่ พ นั ก งานต้ อ งใช้ ก ารค� า นวณ โปรแกรม Excel หนั กๆ การใช้คอมพิวเตอร์ ธรรมดาอาจจะไม่แรงพอ เขาอาจจะต้ องใช้ ้ หรืออย่าง คอมพิวเตอร์ท ี่ CPU ใหญ่และแรงขึน หน้าจอคอมพิวเตอร์ ท�าอย่างไรให้สามารถรองรับ การใช้งานแบบมัลติฟงั ก์ชน ั ได้ เพราะการใช้งาน คอมพิวเตอร์สมัยนี้ คนใช้จะท�าอะไรหลายๆ อย่างไปพร้อมกัน นี่คือการออกแบบผลิตภัณฑ์ แบบ Customer Centricity ท�าอย่างไรที่จะเข้าใจ Insight ของลูกค้า Lenovo เป็นผูผ ้ ลิตอยูใ่ นวงการนีม ้ ายาวนาน เดือนนีเ้ ราฉลองครบรอบ 35 ปี ตลอดระยะเวลา ที่ ผ่ า นมา เราเก็ บ เกี่ ย วประสบการณ์ ม าเป็ น จ�านวนมาก เพือ ่ ท�าความเข้าใจว่าความต้องการ ที่แท้จริงของลูกค้ าคื ออะไร กระบวนการคื อ Everyday Learning เราต้องเรียนรูใ้ นทุกๆ วัน เพราะลูกค้าจะมีความต้องการใหม่ๆ เกิดขึน ้ อยู่ ตลอดเวลา ยกตั ว อย่ า งเมื่ อ เช้ า ก่ อ นมาสั ม ภาษณ์ ผมมีนัดกับลูกค้า Heath Care เจ้าหนึ่ง ผมเดิน ทางเข้าไปเพือ ่ พูดคุยกับอาจารย์หมอทีโ่ รงพยาบาล โดยโจทย์ของเขาคือต้องการจัดระบบปฏิบต ั งิ าน ของโรงพยาบาลใหม่ โจทย์ทไี่ ด้รบ ั เป็นเรือ ่ งใหม่ ส�าหรับเรา เช่น เขาต้องการ tracking ติดตาม ผู้ ป่ ว ยเด็ ก ในกรณี ที่ ถ้ า เด็ ก ดึ ง สายน� า เกลื อ และวิง่ หายออกไปจากวอร์ด ซึง่ เราก็เสนอไปว่า อาจจะมีผลิตภัณฑ์แบบ Internet of Things เป็น ริสต์แบนด์หรือที่ห้อยคอที่สามารถ tracking หาต�าแหน่งของผูป ้ ว ่ ยได้ ในการท�างานของเรา ต้ อ งลงไปเข้ า ใจความต้ อ งการของลู ก ค้ า ซึ่งถ้านั่งอยู่แต่ในออฟฟิศเราไม่มีทางเห็นภาพ ว่าการท�างานเบื้องหลั งของหมอกั บพยาบาล เป็ น อย่ า งไร มั น คื อ การไปเข้ า ใจเรื่ อ งใหญ่ ในมุ ม ของเขา และเราก็ ส ามารถหยิ บ ไอเดี ย เหล่ า นั้ น มาท� า PoC (Proof-of-Concept) ให้เขาได้ ซึง ่ การเข้าใจความต้องการของลูกค้า

14


hE BETTEr ผมว่ามันคือหัวใจของธุรกิจ

การรั บ ฟัง ถื อ เป็ น พื้ น ฐานของการสร้ า ง นวัตกรรม ใช่ อย่างล่าสุดผมเองอยูใ่ นกลุม ่ ของคน ทีช ่ อบ gadget ก็มค ี นมาโพสต์ถามว่า มีหฟ ู งั ตัวไหนไหมที่ใส่ฟังไปด้วยว่ายน�าไปได้ด้วย ก็มค ี นเข้าไปถามว่าเวลาว่ายน�าพีย ่ งั จะฟังเพลง อี กเหรอ (หัวเราะ) บางครัง้ เราไปเห็นหรือ ไปรั บ ฟั ง ความต้ อ งการของลู ก ค้ า แบบนี้ อาจกลายมาเป็นไอเดียทีท ่ า � ให้เกิดนวัตกรรม ใหม่ๆ ขึ้นมา ผมว่ า ในการท� า ธุ ร กิ จ หรื อ ขายของ มันคือ Art and Science เป็นทั้งศิลปะและ วิทยาศาสตร์ในสิง่ เดียวกัน ในแง่วท ิ ยาศาสตร์ มั น มี ท ฤษฎี แบบ Sales101 อยู่ แ ล้ ว แหละ ที่พูดเรือ ่ งเปิดการขาย ท�าอย่างไรถึ งท�าให้ ลูกค้าสนใจผลิตภัณฑ์ของเรา ท�าอย่างไรถึง ปิ ด การขายได้ แต่ ในแง่ ข องฝั่ งของศิ ล ปะ มันคื อการซื้อใจลูกค้ า ท�าอย่างไรให้ลูกค้ า รู ้ สึ ก ดี ไม่ ใ ช่ ม าถึ ง เราคิ ด จะปิ ด การขาย อย่ า งเดี ย ว มี ลู ก ค้ า หลายรายที่ เราท� า งาน ด้ วย ที่บางทีเราไม่ได้ คุยเรือ ่ งขายของเลย พีเ่ ป็นไงบ้าง หมาทีบ ่ า ้ นเป็นไงบ้าง คุยกับเขา ในเรือ ่ งต่ า งๆ ซึ่ งไม่ ใช่ เรือ ่ งงานอย่ า งเดี ย ว แล้ ว บางครั้ง innovation มั น เกิ ด มาจาก ก า ร ฟั ง เรื่ อ ง ร า ว เ ล็ ก ๆ น้ อ ย ๆ เห ล่ า นั้ น หลายๆ ผลิ ตภั ณฑ์ที่ออกมาเพื่อตอบโจทย์ กับไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไปก็เกิดจากการฟัง คุ ณ คิ ด ว่ า ความต้ อ งการลึ ก ๆ ของผู้ ค น ในยุคนี้ ต้องการผลิตภัณฑ์ไอทีแบบไหน ผมว่าในยุคนีเ้ ศรษฐกิจแบบนี ้ คนต้องการ ผลิตภัณฑ์ท ี่ durable มีความทนทานมากขึน ้ แต่ขณะเดียวกันก็ตอ ้ งเป็นอุปกรณ์ทน ี่ า ่ เชือ ่ ถือ และดูด ี เพราะว่าเดีย ๋ วนีค ้ นไม่ตอ ้ งการท�างาน ในออฟฟิศอย่างเดียวแล้ว คนออกไปท�างาน ตามร้านกาแฟ ไปท�างานในร้านอาหาร สิ่งที่ เขาใช้ก็เป็นการสื่อถึงภาพลักษณ์ของเขาไป พร้อมกันด้วย และถัดมาเรือ ่ งสุดท้ายคือเรือ ่ ง ความปลอดภัย อย่างผมเองเป็นคนทีท ่ า � งาน อยู่ข้างนอกตลอดเวลา ท�าอย่างไรให้เวลา ทีผ ่ มไปใช้ไว-ไฟของร้านกาแฟ แล้วข้อมูลของ บริษัทผมไม่ถูกแฮ็ก ไม่หลุดออกไป อุปกรณ์ เหล่ า นี้ ข องเราต้ อ งตอบโจทย์ ไ ลฟ์ ส ไตล์ และความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปให้ได้ ่ มุนเร็วจัดแบบนี้ คุณมีวธ ในวงล้อธุรกิจทีห ิ ี ่ นแปลง สร้างองค์กรให้พร้อมรับความเปลีย ้ ตลอดเวลาอย่างไร ทีเ่ กิดขึน ในบริษัทไอทีเองส่วนใหญ่จะวางโครงสร้าง องค์กรแบ่งตามกลุ่มของลูกค้า กลุ่มองค์กร ใหญ่ๆ กลุ่มผู้ค้าปลีก กลุ่มซื้อรายย่อย อันนี้ คือหนึ่งในหลัก Customer Centricity เลย Lenovo พัฒนาทีมงานที่เข้ามาดูแลลูกค้ า ให้ เป็ น ผู้ เชี่ ย วชาญ คนหนึ่ ง เก่ ง และรอบรู ้ ด้านการศึกษา สามารถคุยกับอาจารย์คย ุ กับ คณบดี รู ้เรื่อ ง เราก็ ให้ เขาดู แ ลกลุ่ ม ลู ก ค้ า ด้านการศึกษาไป หรืออีกคนดูแลภาคราชการ issue 618

25 NOV 2019

อีกคนดูแลกลุม ่ SMEs หรือสตาร์ทอัพทีธ ่ รุ กิจ เกิดเร็วและอาจจะหายไปเร็ว แพ็กเกจอะไร ที่ เหมาะกั บ เขา ท� า โปรฯ ศู น ย์ เปอร์เซ็ น ต์ สิ บ เดื อนไหม หรื อ กลุ่ มลู ก ค้ ารายย่ อ ย มีไลฟ์สไตล์ชอบดูหนังฟังเพลงเล่นเกม เราจะ ออกผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับ gaming ไหม เราต้ อ งพั ฒ นาพนั ก งานให้ มี ค วามรู ้ พื้นฐาน ถ้าเขาดูแลกลุ่มลูกค้าภาคการผลิต ท� า อย่ า งไรเขาจะเข้ า ใจกระบวนการผลิ ต ของลูกค้า ถ้าระบบการใช้งานเก่าของลูกค้า มีหลายขัน ้ ตอนมากกว่าจะใช้แอพพลิเคชันได้ เราจะท�าอย่างไรให้ง่ายขึ้น ปรับระบบเป็น single sign on ได้ ไ หม แทนที่ จ ะต้ อ ง เปิ ด แอพพลิ เ คชั น ที ล ะตั ว ๆ และวั น ๆ หนึ่ ง ต้องกดยืนยันเป็นสิบๆ แอพพลิเคชัน เราแก้ ปั ญ หาตรงนั้ น ให้ เขา แต่ ล ะจุ ด ของธุ ร กิ จ ก็สามารถสร้างโอกาสในการขายของให้เรา ได้ เราจะเห็นรูปแบบการซื้อของแต่ละกลุ่ม ที่แตกต่างกัน และเราก็ต้องหา solutions ที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไปในแต่ ล ะกลุ่ ม ลู ก ค้ า ซึ่งการแบ่งโครงสร้างแบบนี้ท�าให้ Lenovo สามารถปรับตัวกับความเร็วและความต้องการ ของเขาได้

เราเห็ น ข่ า วบริ ษั ท ไอที ใ หญ่ ๆ หลายราย ล้มหายตายจากไป อะไรเป็ นหัวใจส�าคัญ

ให้ บ ริ ษั ท ไอที ส ามารถอยู่ ร อดต่ อ ไปใน อนาคตได้ บริษั ทไอที ก็ ไ ม่ แ ตกต่ า งจากบริษั ท ในธุรกิจประเภทอื่นๆ พวกเราก็ต้องปรับตัว เพือ ่ ให้สามารถอยูร่ อดในยุคดิจิทล ั เหมือนกัน เราจะเห็ น ว่ า ในยุ ค หนึ่ ง บริษั ท ไอที ใ หญ่ ๆ ล้มหายตายจากไปบ้าง เพราะผมมองว่ายุคนี้ ไม่ใช่เรือ ่ งของปลาใหญ่กินปลาเล็กอีกต่อไป แล้ว แต่เป็นยุคของปลาเร็วกินปลาช้า เพราะ ถ้าคุณขยับตัวช้า คุณปรับตัวช้า คุณก็ล้าหลัง จะสังเกตว่าในเรือ ่ งอายุ การวางขาย ของแต่ละผลิตภัณฑ์ จะเร็วขึน ้ และกระชับขึน ้ อย่ า งสมั ย ก่ อ นเราสามารถท� า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตั ว หนึ่ ง ออกมา มี อ ายุ อ ยู่ ในตลาดได้ เกื อ บ สามปี แต่ เ ดี๋ ย วนี้ ห กเดื อ นเก้ า เดื อ นต้ อ งมี รุ น ่ ใหม่ออกมาแล้ว นี่ คือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงใน แวดวงไอที ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า ในแต่ ล ะบริ ษั ท ่ ง จะมี Core Value ของตัวเองว่าจะยึดในเรือ อะไร อย่างของ Lenovo เรามี KPI (Key Performance Indicator) ทีช ่ ด ั เจนว่าภายใน หนึ่ ง ปี สามปี ห้ า ปี เราจะไปอยู่ จุ ด ไหน และเป้าหมายของเราต้องวัดผลได้ ว่าจาก จุดนี้ไปจุดนั้นเราต้องมีอะไรบ้าง แต่ละก้าว ที่เดินทางไปเราจะวัดผลด้วยอะไร ไม่ว่าจะ เป็ น เรือ ่ งผลประกอบการ Market Share หรือการพัฒนาศักยภาพของพนักงานที่เรา เรียกว่า People First เราก็จะวัดในแต่ละตัว ต่างกันไป แต่สงิ่ ส�าคัญคือเราต้องตัง้ เป้าหมาย ถึงจะมองหาวิธไี ปถึงจุดนั้นได้

15


smarTEr TEchnoLogy For aLL คุณมองว่าจุดแข็งของ Lenovo ในวันนี้คืออะไร

ก่อนหน้านี้แท็กไลน์ของ Lenovo ใช้ค�าว่า ‘Different is Better’ เรามองว่าความแตกต่างคือสิง่ ทีด ่ ีกว่า แต่ในวันนี้แค่แตกต่าง ไม่เพียงพอแล้ว วันนี้เราเปลี่ยนคอนเซ็ปต์ของแบรนด์เป็น ‘Smarter Technology for All’ โดยความหมายคือเทคโนโลยีของเรา คือส่วนส�าคัญที่ท�าให้ชีวิตของลูกค้าของเราดีขึ้น และเทคโนโลยีของเราจะสร้างขึ้นเพื่อตอบโจทย์ส�าหรับลูกค้าทุกกลุ่มทุกวัย ประกอบกั บการที่เราอยู่ในวงการไอทีมา 35 ปี เราผ่านร้อนผ่านหนาวมาเยอะ มีการเรียนรู ล ้ องผิดลองถูกมามากมาย และเรามี Best Practice หรือตัวอย่างที่ดีมากมาย Lenovo เป็นแบรนด์จากประเทศจีน ซึ่งที่จีนก็มี Best Practice ที่ดีหลายๆ ตัวอย่าง และเราสามารถหยิบมาใช้ได้ บางเรือ ่ งอาจจะใช้ได้เลย แต่บางเรือ ่ งอาจจะเอามาใส่ขงิ ข่าตะไคร้นด ิ หนึง่ ให้ออกกลิน ่ แบบไทยๆ อย่างเช่น ถ้าเราเอาผลิตภัณฑ์ของกลุ่มที่เป็น commercial จากบริษัทแม่มาขาย ผลิตภัณฑ์ที่ได้มามักจะออกมาในโทนสีขรึมๆ ด�าๆ แต่พอน�ามาวางขายในตลาดอาเซียนมันอาจจะดูขรึมเกินไป เพราะว่าเราเป็นประเทศแถบทรอปิคอล เราก็อาจจะขอไปว่า ปรับเป็นสีเงิน สีเมทัลลิก หรือสีที่ฉด ู ฉาดเพิ่มขึ้นได้ไหม

ค�าว่า Smart ส�าหรับคุณ หมายความว่าอย่างไร

เพื่อนๆ รอบตัวของผมจะชมว่าผมเป็นคนบาลานซ์เรือ ่ งชีวิตและการท�างานได้ดี ผมเองก็มองว่าตัวเองเป็นคนอย่างนั้นจริงๆ น้อยครัง้ ที่จะหยิบงานไปนั่งท�าที่บ้าน เพราะส่วนหนึ่งเป็นคนที่ไม่ชอบเห็นงานค้าง พอมีงานก็พยายามรีบท�าให้เสร็จ พองานเสร็จ เราก็ จ ะมี เวลาว่ า งไปใช้ เวลากั บ ชี วิ ต ด้ า นอื่ น ๆ อย่ า งวั น ศุ ก ร์ที่ แ ล้ ว ผมก็ ไปดู ไ ลอ้ อ นคิ ง มิ ว สิ คั ล กั บ ครอบครัว มา หรือ แม้ แ ต่ ออกก�าลังกาย ผมจะเป็นคนที่ก�าหนดตัวเองให้ต้องออกก�าลังกายทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ห้าโมงเย็น แต่ก่อนผมเป็นคนไม่ชอบ ออกก�าลังกาย แต่ผมเป็นออฟฟิศซินโดรมเมื่อสี่ปีก่อน หมอจะผ่าตัด เพราะไปฝังเข็มไปท�ากายภาพบ�าบัดแล้วก็ไม่หาย ผมเลย ตัดสินใจไปยิมเพื่อออกก� าลังกาย และผมก็มีวินัยกับสัญญาของตัวเองตรงนั้ น ผมว่าเราต้องมีวินัยในการดูแลชีวิตตัวเองด้วย โดยที่ท�าให้ในส่วนของงานไม่บกพร่อง ส่วนเรือ ่ งของการท�างาน คือเรือ ่ งของความเข้าใจและก็รก ั มันมากกว่า เมื่อไหร่ที่คุณเข้าใจ และรักงานของคุณ คุณจะไปได้เร็ว คุณจะไม่งมกับมันนานมากนัก แต่จะใช้เวลากับงานเท่าที่จ�าเป็นเท่านั้น แต่ถ้าถามว่าท�ายังอย่างไรถึงจะรักษาวินัยได้ ผมว่ามันอยู่ที่ใจล้วนๆ เมื่อไหร่ที่คุณตั้งมั่นตั้งใจกับค�าสัญญาของตัวเองได้ คุณก็ จะหาความส�าเร็จได้ ซึ่งในโลกความเป็นจริง เราต้ องตั้ งเป้ากั บชีวิตของตั วเอง รู ว ้ ่าการตั้ งเป้าและเดิ นไปให้ ถึงมันยาก ต้องเก็บเงินเท่านี้ ต้องมีรถ มีบ้าน มีครอบครัว ดูแลสุขภาพ ความสัมพันธ์ สิ่งเหล่านี้ท�าได้ยากหมดแหละ แต่อย่างน้อยเรามีเป้า เอาไว้ก่อน มีค�ามั่นสัญญากับตัวเองไว้ก่อน บางทีเป้าหมายอาจจะไม่ถึงภายในปีนี้ เราก็สามารถอนุญาตให้ดีเลย์ไปอีกปีสักหนึ่ง หรือลดเป้าหมายของเราลงมา แล้วปีต่อไปค่อยไปให้ถึง คือเป้าหมายจริงๆ ไม่ได้เป็นสิ่งที่เราต้องแช่แข็งมันไว้อย่างนั้น มันต้อง ปรับเปลี่ยนได้ ผมก็ใช้วิธน ี ี้แหละที่ดูแลตัวเองมา เพราะว่าเป้าหมายที่ดีมันควรที่จะวัดผลได้และไปถึงได้จริง

คุณเข้าใจเรื่องการบาลานซ์ชีวิตตัวเองแบบนี้มาแต่ไหนแต่ไรเลยไหม

ความจริงชีวต ิ ผมก็มช ี ว ่ งทีเ่ สียบาลานซ์เหมือนกัน ช่วงสักสิบปีทแ ี่ ล้วพอลูกของผมโตได้ประมาณหนึ่ง ผมก็เริม ่ มีเวลาให้ตัวเอง ก็ ออกไปสนุ กเพื่อนๆ ไปปาร์ตี้ ปรากฏว่าเริม เสี ย บาลานซ์ ส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพ มี อ าการออฟฟิ ศ ซิ น โดรมอย่ า งที ่ว่า มีโรครุ มเร้า ่ ผมก็ต้องมาจัดสมดุลใหม่ ต้องเพิ่มส่วนของการออกก�าลังกายเข้ามา ลดปาร์ตี้ลง ผมว่าชีวต ิ มันเหมือนวงกลมหนึง่ วงว่าคุณจะแบ่งมันอย่างไร มีพาร์ตของครอบครัว พาร์ตของการท�างาน พาร์ตของชีวต ิ ส่วนตัว พาร์ตของเพือ ่ นฝูง ซึง่ ในแต่ละช่วงชีวต ิ คุณแบ่งออกเป็นเปอร์เซ็นต์เท่าๆ กันไม่ได้หรอก ในช่วงเริม ่ า � งาน พาร์ตของการท�างาน ่ ต้นทีท อาจจะ 40% ด้วยซ�า พาร์ตของครอบครัว ชีวิตส่วนตัว เพื่อนฝูงก็จะน้ อยลง แต่พอมันมาถึงจุดหนึ่ งเราจะค่อยๆ ถามหาสมดุล และรักษาบาลานซ์ให้ตัวเองได้ รูปร่างของวงกลมในชีวต ิ คุณก็จะเปลี่ยนไป สัดส่วนมันก็จะลงตัวมากขึน ้ ณ วันนี้ผมแบ่งมันได้ลงตัว และพอใจกับมัน

กับคนรุ่นใหม่ที่ก�าลังเผาผลาญพลังชีวิตกับงาน คุณจะแนะน�าพวกเขาอย่างไร

พูดตรงๆ ว่ายากจริงๆ นะ ที่จะบอกว่าคุณต้องแบ่งวงกลมในชีวิตคุณให้เท่ากับผมสิถึงจะถูก เพราะในแง่ปัจจัยของแต่ละคน แต่ละครอบครัวไม่เหมือนกัน ต้องบอกว่าผมโชคดี ทีผ ่ มเข้าไปเรียมหาวิทยาลัยแล้วคบกับแฟน คบกันมา 9 ปีผมก็แต่งงานและมีลก ู ตอนนี้ลก ู อายุ 20 แล้ว ชีวต ิ ผมต้องพูดว่ามันราบเรียบมาตลอด มันไม่มอ ี ะไรทีท ่ า � ให้สะดุดและเป๋ไปมากมายขนาดนั้น ผมไม่รูว้ า ่ เด็ก ยุคใหม่ๆ อาจจะมีส่งิ เร้าอื่นๆ มีโจทย์อื่นๆ ที่ผมไม่อาจคาดเดาได้

มองเรื่องความส�าเร็จกับความล้มเหลวอย่างไร

ผมว่าสองสิ่งนี้ มาคู่กัน คื อไม่ส�าเร็จก็ ล้มเหลว แล้ วโอกาสที่จะส�าเร็จ ไม่ใช่ไม่มี แต่เราจะเห็นว่าโอกาสตรงนี้บางทีในร้อยคนไม่ได้แปลว่าจะส�าเร็จ ทั้ ง ร้อ ยคน แต่ ผ มอยากให้ ม องว่ า สิ่ ง ที่ ล้ ม เหลวคื อ ประสบการณ์ ม ากกว่ า ผมตอนนี้ อยู่ในวัย 50 ปี ที่ผ่านมาผมเองก็ ท�าอะไรล้ มเหลวมาหลายอย่าง และหยิบสิง่ เหล่านั้นมาเป็นบทเรียน เป็นขัน ้ บันไดว่าฉันจะเหยียบความล้มเหลว นี่แหละขึน ้ ไป กับความล้มเหลว ผมไม่ได้เป็นคนทีเ่ อาความล้มเหลวมาฟูมฟาย ว่าท�าไมฉั นท�าไม่ได้ ชีวิตท�าไมแย่แบบนี้ เราแค่ ต้องเข้าใจกั บมัน เข้าใจกั บ สัจธรรมเหล่านี้ เราต้องเข้าใจว่าความล้มเหลวไม่ใช่ความผิด แต่ส่ิงที่ควรท�า คื อ ต้ อ งมองเข้ า ไปในความล้ ม เหลว ว่ า ปั จ จั ย ที่ เกิ ด ขึ้ น คื อ อะไร ที่ ท� า ให้ เรา ไม่ประสบผลส�าเร็จ เราทุม ่ เทเต็มทีห ่ รือยัง เราใส่เต็มร้อยหรือเปล่า หรือมีปจ ั จัย อื่นๆ ทีเ่ ราควบคุมไม่ได้ไหม ซึง่ สิง่ ทีเ่ ราควบคุมไม่ได้ก็เป็นสิง่ ยาก เช่นเศรษฐกิจ โลกอย่างนี้ เราก็ควบคุมไม่ได้ แต่กับความส�าเร็จ ผมมองว่าพอเราไปถึงได้ก็ดีใจนะ แต่แล้วแป๊บเดียว ความรู ส ้ ึกนั้นก็หายไป เวลาเรารู ส ้ ึกสุขกับความส�าเร็จที่ย่ิงใหญ่ แต่พอมอง ออกไปเราจะเห็นว่ามียอดเขาตรงอื่นอีกนี่ ที่เราต้องเดินต่อไป

“ผมไม่ได้เป็นคนทีเ่ อาความล้มเหลวมาฟูมฟาย ว่าท�าไมฉัน ท�าไม่ได้ ชีวิตท�าไมแย่แบบนี้ เราแค่ตอ ้ งเข้าใจกับมัน เข้าใจ กับสัจธรรมเหล่านี้ เราต้องเข้าใจ ว่าความล้มเหลวไม่ใช่ความผิด” 16


Living To LEarn “ผมรูส ้ ก ึ ว่าถ้าเราไปคิดว่าความสุข ความส� า เร็ จ ต้ อ งมาจากสิ่ ง ที่ ยิ่ ง ใหญ่ อ ย่ า งเดี ย ว ความสุ ข แบบนัน ่ บ ั เรานานหรอก ้ จะไม่อยูก เพราะว่ า เราจะอยากมี ค วามสุ ข จ า ก สิ่ ง ใ ห ม่ ไ ป เ รื่ อ ย ๆ อ ยู่ ดี

ผมอยากเป็ น คนที่ มี ค วามสุ ข เรื่อยๆ มากกว่า”

คุ ณ พู ดในช่ ว งต้ น ว่ า การท� า งาน ในวงการไอที ต้ อ งมี วิ ธี คิ ด แบบ Everyday Learning อยากให้

ขยายความว่าส�าหรับคุณ การเรียนรู้ ในทุกๆ วันคืออะไร อันทีจ ่ ริงการเรียนในมหาวิทยาลัย เรียนในห้องเรียน สิง่ ทีไ่ ด้จากการเรียน ก็ เป็ น พื้ น ฐานของเราแหละ แต่ ว่ า Everyday Learning มันคือการหยิบ ประสบการณ์ ที่ เ ราเรี ย นรู ้ ไ ด้ จาก การท�างาน หรือการใช้ชีวิตมาใช้ ผมอยากเล่าเรือ ่ งหนึง่ ผมเรียนจบ เอแบคมาทัง้ ปริญญาตรีและปริญญาโท แต่จบมาผมพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ คือ เวลาเรียนที่เอแบค เขาจะมีการสอบ ปากเปล่าเป็นภาษาอังกฤษ ผมก็จะมี สคริป ต์ แ ละท่ อ งเลย ว่ า วั น นี้ จ ะไป พูดอะไรให้อาจารย์ฟงั บ้าง ห้ามไขว้เขว ห้ า มชวนคุ ย อย่ า งอื่ น เพื่ อ ที่ จ ะผ่ า น การสอบพู ด ปากเปล่ า ได้ (หั ว เราะ) ผ ม ส า ม า ร ถ ฟั ง ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ สามารถอ่านได้เขียนได้เพราะเท็กซ์บก ุ๊ เป็นภาษาอังกฤษหมด แต่ผมพูดภาษา อังกฤษไม่ได้ ผมมาพูดได้ตอนท�างาน เพราะว่ า ต้ อ งดี ล งานกั บ ฝั่ งสิ ง คโปร์ พอเราต้องดีลงานกับต่างชาติก็ได้ใช้ ได้เรียนรูท ้ ก ุ วัน จนทุกวันนีผ ้ มสามารถ ไป on stage และพรีเซนต์เป็นภาษา อังกฤษให้กับลูกค้าต่างชาติได้ อันนี้ คือ Everyday Learning งานของเรา นี่ แหละคื อ การเรีย นรู ้ และทุ ก วั น นี้ ผมก็ยังเรียนรูอ ้ ยู่ น อ ก จ า ก เ รี ย น รู้ กั บ ก า ร ท� า ง า น ้ ณ ทุกๆ วันแล้ว ทุกวันนีค ุ มีสง ิ่ ใดอีก ่ นใจและก�าลังเรียนรู้อยู่ ทีส ผมเป็ น คนที่ ส นใจหลายอย่ า ง ช อ บ ส ะ ส ม ข อ ง เ ก่ า ด้ ว ย ส ะ ส ม เครือ ่ งลายคราม ก็โดนหลอกมาเยอะ เหมือนกัน (หัวเราะ) เฮ้ย นี่มน ั ของสมัย ราชวงศ์ชงิ หรือสมัยราชวงศ์หมิง แล้ว พอยิ่งไปศึกษาดูวิดีโอ โอ้ โฮ เดี๋ ยวนี้ ปลอมกั นได้ มีการเผาหลอกปีซึ่งท�า กันได้เหมือนขนาดนี้เลยเหรอ ก็อยู่ใน ช่วงเรียนรู ว ้ ิธีดูว่า อย่างถ้ าลวดลาย แบบนีเ้ ป็นสมัยราชวงศ์เฉียนหลง รูปร่าง แบบนี้ นี้คือสมัยคั งซีนะ นอกจากนั้ น ก็ เรีย นรู ้เรื่อ งต้ น ไม้ ช่ ว งนี้ ก็ บ้ า เฟิ ร ์น ไปเอาสปอร์เฟิรน ์ มาหัดเพาะ อย่างช่วง ก่อนก็บา ้ เลีย ้ งนก ท�าตัง้ แต่การทดลอง จีโนไทป์เลยนะ ว่านกพันธุน ์ ม ี้ ห ี น้าสีด�า สีแดงสีส้ม ถ้าเราเอานกสีด�ากับแดง ม า ผ ส ม กั น จ ะ ไ ด้ ห น้ า เป็ น สี อ ะ ไร คือเวลาที่ผมสนใจเรือ ่ งอะไรสักอย่าง จะศึกษาลงไปค่อนข้างลึก แต่พอรูแ ้ ล้ว ก็จบ หาอะไรใหม่ที่เราสนุกและอยาก เรี ย นรู ้ แต่ ถ้ าเป็ น สิ่ ง ที่ ผ มไม่ ช อบ ผมก็ไม่สนใจนะ แต่ ก ารจะสร้ า งวิ ธี คิ ด แบบนี้

issue 618

25 NOV 2019

ให้ เ ด็ ก ไปบอกเขาว่ า ศึ ก ษาอะไร ต้ องให้ลึกนะ ท�าอย่างนู้ นท�าอย่างนี้ เราอาจจะพูดไม่ได้ ต้องปล่อยให้เขา ไปเห็ น เองและสนใจเรื่ อ งเหล่ า นั้ น ด้วยตัวเอง

แนวคิ ด เหล่ า นี้ เ ข้ า มาอยู่ ใ นตั ว คุ ณ ได้อย่างไร พืน ้ ฐานบ้านผมเป็นคนจีน มีระบบ กงสี ธุ ร กิ จ ของอากงเขาท� า โลงศพ เขาก็จะมีโรงงาน เราก็จะเข้าไปยุง่ วุน ่ วาย อยู่ ในนั้ น ผมเกิ ด ไม่ ทั น อากง แต่ ว่ า อากงเป็นคนสะสมของเก่า เราตื่นเช้า ออกจากห้องนอนมาก็จะเห็นของเก่า ที่ ว างอยู่ ต รงที่ ต้ั งรู ปอากงตลอด คงจะเห็นทุกวันแล้วก็ตด ิ ตัวมา ผมคิดว่า พื้ น ฐานตั ว ตนของผมได้ ร ับ อิ ท ธิ พ ล จากครอบครัวเป็นหลัก แล้วมันส่งผล กั บเรือ ่ งงานและเรือ ่ งรสนิ ยมส่วนตั ว ผมมาจากครอบครัวทีแ ่ ม่เป็นคนท�างาน พ่อก็ทา � งานเดินทางไปทัว ่ ประเทศไทย ผมเองต้องรับผิดชอบชีวิตน้อง ผมอยู่ ม.1 กลับมาจากโรงเรียนเราก็ไม่ได้ไป เที่ ย วเล่ น เตะบอลกั บ เพื่ อ น แต่ เรา มีหน้ าที่ไปรับน้ องที่อยู่ ป.1 ผมก็ต้อง ไปตลาดหาข้าวให้น้องกิน บางทีรอแม่ กลั บ มากิ น ด้ ว ยอี ก ต่ า งหาก เราก็ จ ะ เข้าใจเรือ ่ งการรับผิดชอบครอบครัว มาตัง้ แต่วน ั นัน ้ มันปลูกฝังมาตัง้ แต่เด็ก เรารูว้ ่าเราต้องจัดการชีวิตให้ได้ พอมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มั น ก็ ส่งผลกับการท�างาน ผมเองกึ่งๆ เป็น เปอร์เฟกชั น นิ ส ต์ ผมก็ อ ยากให้ ง าน ของตัวเองสมบูรณ์แบบ แต่ผมจะติด ขี้ เ กี ย จนิ ด หนึ่ ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น คนขยั น ที่ท�างานเจ็ดโมงเช้าถึงสามทุ่ม ผมจะ เป็ น คนที่ ท� า งานเสร็ จ เร็ ว แต่ ต้ อง ให้สมบูรณ์ เพราะว่าเรามีเรือ ่ งอื่นอีก ให้รบ ั ผิดชอบ เราก็จะหาคียพ ์ อยต์แล้ว มองว่ า งานนี้ เราต้ อ งโฟกั ส ที่ จุ ด ไหน ที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด แล้ ว ผลลั พ ธ์ ข องงาน จะออกมา จริงๆ ความขี้เกียจก็มีข้อดี นะ มี ค นเคยพู ด ไว้ ว่ า เวลาหาคน มาท�างานให้หาคนที่ขี้เกียจ เพราะว่า เขาจะหาทางลั ด ที่ สุ ด เพื่ อ ให้ ง านจบ เร็ ว ๆ แต่ ต้ อ งขี้ เ กี ย จแล้ ว มี ค วาม- รับผิดชอบด้วยนะ (หัวเราะ) ่ งของงานเราอาจจะหาทางลัด ในเรือ ่ งไหนในชีวต ่ ณ ได้ แล้วมีเรือ ิ ทีค ุ คิดว่า ไม่มีทางลัดในการจัดการไหม น่ า จะเป็ น เรื่ อ งครอบครั ว นะ อั นนี้ ส� า คั ญจริ ง ๆ ทุ ก วั น นี้ คุ ณ แม่ ของผมอายุ เจ็ ดสิบกว่าแล้ ว เขาก็ จะ หลงๆ ลื ม ๆ เราก็ ต้ อ งให้ เวลาใส่ ใจ หรือแม้แต่การดูแลลูกของตัวเอง ซึ่ง การดูแลเขาในแต่ละช่วงชีวต ิ ก็แตกต่าง กัน ตอนเขาเล็กๆ เราก็ตว ั ติดกันเหมือน แม่ เหล็ ก ติ ด ตู้ เ ย็ น แต่ พ อตอนนี้ เขา

ก็มีระยะกับเรา กอดปุ๊บสะบัดๆ อันนี้ ก็เป็น Everyday Learning ของผม เหมือนกั นนะ ว่าการดูแลครอบครัว การจั ด การพื้ น ที่ ข องความสั ม พั น ธ์ ในครอบครัว มันมีความยากคนละแบบ กับงานเลย

ทุ ก วั น นี้ นิ ย า ม ค ว า ม สุ ข ใ น ชี วิ ต อย่างไร ผมรูส ้ ึกสุขเรือ ่ ยๆ นะ ผมไม่ชอบ ความรู ้สึ ก สุ ข แบบพี ก สุ ด ๆ แบบนั้ น เพราะรูส ้ ึกว่าความสุขแบบนั้นเดี๋ยวก็ หายไป แต่ถ้าเรามีจังหวะกับความสุข ได้ เ ราก็ ท� า อย่ า งการไปดู มิ ว สิ คั ล หรือใกล้วันเกิดก็นัดเพื่อนๆ ไปชิมไวน์ กั น สั ก หน่ อ ย เสาร์อ าทิ ต ย์ เ ลี้ ย งนก เลี้ยงปลา หรืออย่างอาทิตย์หน้าผมมี ประชุ ม ที่ ไ ต้ ห วั น เราก็ จ องไฟลต์ บิ น ไปถึ ง ให้ เ ช้ า หน่ อ ย จะได้ ไ ปเดิ น ดู บ้านเมือง ไปพิพธ ิ ภัณฑ์ดเู ครือ ่ งลายคราม ของเขาที่ นั่ น ผมว่ า เราท� า ชี วิ ต ให้ มี ความสุขระหว่างทางได้ตลอดเลย ผมรูส ้ ก ึ ว่าถ้าเราไปคิดว่าความสุข ความส�าเร็จต้ องมาจากสิ่งที่ย่ิงใหญ่ อย่างเดียว ความสุขแบบนั้นจะไม่อยู่ กับเรานานหรอก เพราะว่าเราจะอยาก มีความสุขจากสิ่งใหม่ไปเรือ ่ ยๆ อยู่ดี ผมอยากเป็ น คนที่ มี ค วามสุ ข เรื่อ ยๆ มากกว่ า ผมเป็ น คนอย่ า งนั้ น จริง ๆ celebrate กับชีวิตไประหว่างทาง ส่วนเรือ ่ งความทุกข์ ผมใช้ค�าว่า ตั ว เองโชคดี แ ล้ ว กั น คื อ มี ทุ ก ข์ ไหม มีแต่ไม่ได้สาหัส เป็นคนทีเ่ ข้าใจความทุกข์ นะ ว่าความทุกข์กบ ั ความสุขมันเหมือน หัวงูกบ ั หางงู ถ้าเราจับด้านใดด้านหนึง่ ไปนานๆ หัวงูกแ ็ ว้งมากัดเราได้ เหมือน เราเหลิ ง กั บ ความสุ ข ความส� า เร็ จ ในชี วิ ต นี่ แหละ เราให้ ค วามส� า คั ญ กั บ มั น ระดั บ หนึ่ ง พอ เพราะนี่ ไ ม่ ใช่ ค�าตอบเดียวของชีวต ิ หรอก แล้วผมว่า ทุ ก คนรู ้ ค� าตอบแหละว่ า ความสุ ข ในชีวิตของตัวเองนั้นคืออะไร บางคน ต้ อ งการอยู่ กั บ ครอบครั ว บางคน ต้ อ งการมี เ งิ น เยอะๆ มี ร ถสปอร์ ต หรู ๆ ซึ่งแต่ ละคนก็ ต่างกั นไป เราไป ตอบแทนไม่ได้หรอกว่าคืออะไร แต่ละ คนต้องหามันเอง นิยามมันเอง แ ต่ ถ้ า บ า ง อย่ าง ย า กเกิ น ไป ลองแบ่ ง ย่ อ ยความสุ ข ความทุ ก ข์ ออกมาเป็นกล่องๆ เหมือนทีผ ่ มท�า

17


CALENDAR M

T

W

TH

F

SA

S

25

26

27

28

29

30

01

VRwandlung

unspoken TRuTh

The unknown unIVeRse

Blood song

euRopean unIon FIlm FesTIVal

oVeRlappIng

saCRIFICe ChapTeR 1

ชวนคุณมากลายร่าง เป็ น แมลงยั ก ษ์ แ ละ สัมผัสกับความสับสน ใน ‘วีอาร์ เมตามอร์โฟซิ ส ’ นิ ท รรศการ ความจริง เสมื อ นที่ สร้างด้วยแรงบันดาลใจจากเรือ ่ งเมตามอร์โฟซิส ถ่ายทอดผลงาน ของคาฟคาสู่ โ ลก เสมือนจริง วันนี้ถึง 15 ธันวาคม 2562 ณ สถาบันเกอเธ่

นิทรรศการ ‘Unspoken Truth’ โดย เอแลน เลอ ชาเตอลิเย ตัง้ ค�าถาม เกี่ ย วกั บ มิ ต รภาพ ของผู้คนในปัจจุบัน ส� า ร ว จ พื้ น ที่ แ ห่ ง ความเงี ย บงั น และ การขุ ด คุ้ ยเข้ า ไป ในจิตใจ วันนี้ถึง 10 มกราคม 2563 ณ ส ม า ค ม ฝ รั่ ง เ ศ ส กรุงเทพ

นิ ท รรศการ ‘The Unknown Universe’ โดย dadanim พืน ้ ที่ ที่รูส ้ ึกปลอดภัยและ เป็นอิสระทีจ ่ ะระบาย ความอั ด อั้ น ที่ เกิ ด จากการด�าเนินชีวิต บนโลกทีเ่ คลื่อนไหว อย่ า งรวดเร็ว วั น นี้ ถึง 4 มกราคม 2562 ณ 10 ml. Cafe Gallery ซ.โชคชัยร่วมมิตร (เว้นวันจันทร์)

ภาพยนตร์ ‘Blood Song : a Silent Ballad’ เวอร์ชันพิเศษ ในรูปแบบหนังเงียบ ขาวด� า พร้ อ มชม นิ ทรรศการ พูดคุย กับผู้ก�ากั บและทีมงานที่เดียวก่อนใคร วันนี้ เวลา 17.30 น. เป็นต้นไป ณ สมาคม ฝ รั่ ง เ ศ ส ก รุ ง เท พ จ�าหน่ายบัตรที่ Afthailande.org

‘เทศกาลภาพยนตร์ สหภาพยุโรปกลางแจ้ง’ กลับมาอีกครัง้ พบกับ ภาพยนตร์ คุ ณ ภาพ จากยุโรปกว่า 17 เรือ ่ ง วันนี้ ถึง 15 ธันวาคม 2562 ณ อุทยาน 100 ปี จุฬาฯ, ท�าเนียบเอกอั ค รราชทู ต ประเทศ สมาชิกสหภาพยุ โรป และสถาบันวัฒนธรรม ยุ โรป ส� า รองที่ น่ั ง ที่ Ticketmelon.com

นิทรรศการ Overlapping โดย ยุทธ พฤฒาสัจธรรม น�าเสนอผลงาน ภาพพิมพ์แกะไม้ ด้วย แนวความคิดในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงาน ศิลปะที่แสดงให้เห็น ถึงพืน ้ ทีท ่ บ ั ซ้อนระหว่าง เมื อ งใหญ่ กั บ พื้ น ที่ สี เขี ย ว วั น นี้ ถึ ง 15 ธั น วาคม 2562 ณ ห อ ศิ ล ป์ ร่ ว ม ส มั ย อาร์เดล ถ.บรมราชชนนี (เว้นวันจันทร์)

นิทรรศการ ‘Sacrifice Chapter 1 : พลีตน’ โดย สมั ค ร์ กอเซ็ ม เชื้อชวนให้ทวนพินิจ มองความน่าประหลาด ต่ อ ค ว า ม เป็ น จ ริ ง ต่ า งๆ ในพื้ น ที่ ที่ ถู ก เรีย กขานว่ า พื้ น ที่ สี แ ดง วั น นี้ ถึ ง 22 ธั น วาคม 2562 ณ Gallery VER ซ.นราธิวาส 22 (เว้น วันจันทร์และอังคาร)

WHERE TO FIND

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

5

5

7 ร้าน DEAN & DELUCA 7 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

ร้านอินทนิล 5 สาขา สาขาทั่วกรุงเทพฯ

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น.

หมอชิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สยาม อโศก ศาลาแดง

Meet Up Every Monday!

2 0 0

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั ่วประเทศ 20 ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน


​ก า ร ม า ฟั ง ค รั้ ง นี้ พิ เ ศ ษ ก ว่ า ค รั้งก่อนๆ​ เพราะผมชวนภรรยา มาฟังด้วย​สาเหตุทช ี่ วนมาคืออยากให้ ่ วกับเรือ ่ งการเงินบ้าง​ ภรรยามีมม ุ มองเกีย เพราะทุ ก วั น นี้ ผ มพยายามพู ดคุ ย เรื่ อ งการลงทุ น​ ก็ดูเหมือนจะไม่ได้ผลกับเธอ​เลยถือโอกาสดึงมาฟัง เผื่อจะช่วยได้บ้าง ​ผลลัพธ์หลังจบงานถือว่ามีทศ ิ ทางทีด ่ ี​เพราะ

ภรรยาบอกว่ามีประโยชน์มาก​แค่นี้ผมก็มค ี วามสุข

แล้ว​เพราะการเงินกับชีวต ิ คู่ถ้าคลิกไปด้วยกันได้นี่

จะดีมากครับ​อย่างน้อยหลับตาเห็นภาพว่าคู่ชีวิต

ช่วยกันเก็บเงิน​ช่วยกันลงทุน​แม้เงินทุกวันนีย ้ งั ไม่เยอะ มาก​แต่ก็สุขใจได้พอสมควร

​มาถึงประเด็นส�าคัญ​หากถามว่ามีเรือ ่ งอะไร

ที่ผมประทับใจมากที่สุด​คงหนีไม่พ้นเรือ ่ งการหา

รายได้จากคุณป้าใกล้เกษียณคนหนึง่ ในจังหวัดพิจต ิ ร​ ซึง่ ประสบปัญหาการเงินติดลบ​เธอจึงเข้ามา ร่วมฟังการแนะน� าของพี่หนุ่มที่ลงพื้นที่

​เ มื่ อ เวลาผ่ า นไป​คุ ณ ป้ า กลั บ มาพร้อ มกั บ

ผลลัพธ์ที่ท�าได้จริงๆ​ครับ!​​

​คณ ุ ป้าเล่าให้พห ี่ นุ่มฟังว่า​สมัยสาวๆ​ป้าเคย

ท� า อาชี พ ดี เจมาก่ อ น​ป้ า ก็ เ ลยหาวิ ธีคิ ด ว่ า จะท� า

อย่างไรทีจ ่ ะใช้ทก ั ษะทีเ่ คยมีให้สามารถสร้างรายได้​ ป้าจึงคิดว่าการจะมีรายได้น้ันต้องมีอยู่สองอย่าง คือ

​1.​สถานที่จัดรายการวิทยุ ​2.​สปอนเซอร์

ขั้นแรกป้าจึงหาห้องจัดรายการซึ่งมีค่าเช่า​ 3,000​บาทต่อเดือน​ส่วนสปอนเซอร์​ ป้าคิดแล้ว คิดอีกว่าจะหาจากไหนและเจาะกลุ่มไหนดี

​ด้ ว ยพื้ น เพที่ เป็ น คนต่ า งจั ง หวั ด ผนวกกั บ

อายุอานามก็ปูนนี้แล้ว​กลุ่มคนฟังส่วนใหญ่ก็เป็น

ผูใ้ หญ่​ซึง ่ ไม่ได้นิยมฟังเพลงสากลหรือสตริงอะไร ขนาดนั้น​แต่ถ้าเป็นธรรมะละก็ตรงจุดเลย

​ใช่ครับ…​สปอนเซอร์ทป ี่ า้ จะไปขอคือ​วัด!

​ป้ า ตั ด สิ นใจขี่ ม อเตอร์ไซค์ ไปหา

ไปสอนวิธีคิดในการลดหนี้ สินและเพิ่ม

เจ้ า อาวาสตามวั ด ใหญ่ ๆ ​ในจั ง หวั ด​

ตามจังหวัดต่างๆ​ทั่วประเทศไทย​​

ทั้งงานบุ ญ​งานกฐิน​งานฝังลูกนิ มิต​

รายได้ให้แก่ผู้ที่ประสบปัญหาการเงิน ​พห ี่ นุ่มเล่าให้ฟง ั ว่าคนทีเ่ ป็นหนี้

พร้อมกับข้อเสนอทีจ ่ ะช่วยประชาสัมพันธ์

ขอแค่ชว ่ ยค่าสปอนเซอร์เพียงเล็กน้อย​

ในการแก้ไข​การลงไปช่วยเหลือคือการยืน ่ มือไปช่วย​

เชือ ่ ไหมครับว่าเดือนนัน ้ ป้าสามารถระดมทุน จากสปอนเซอร์ได้ถึง​12,000​บาท

รอดจากวิกฤตในระยะยาว​เขาเล่าต่อว่าตอนป้าคนนี้

เยอะแยะ​หนึ่งในนั้นคือการค้นหาความสามารถ

ขอเงิน​30,000​เพือ ่ น�าไปลดหนี​้ เล่นเอาพีห ่ นุ่มช็อก

อย่างชัดเจน

จะมองหาโอกาสไม่เห็น​แม้กระทั่งลู่ทาง

อย่ายืน ่ เงินให้พวกเขา​เพราะวิธค ี ด ิ จะช่วยให้พวกเขา เดิ น เข้ า มาหา​ประโยคแรกที่ คุ ย กั บ พี่ ห นุ่ ม ก็ คื อ ไปตั้งแต่ต้น​จากนั้นพี่หนุ่มก็เริม ่ แชร์ประสบการณ์

​กรณีของคุณป้าคนนี้ให้ขอ ้ คิดอะไรแก่ผมได้

ข อ ง ตั ว เอ ง ​ใน ก ร ณี ข อ ง ป้ า ชี้ ให้ เห็ น ถึ ง ข้ อ นี้

​ขอ ้ ทีส ่ องคือทุกคนเป็นนักการตลาดอยูใ่ นตัว​

แต่บางครัง้ เราเพียงแค่ไม่ได้คด ิ อย่างมุง่ มัน ่ และตัง้ ใจ

เพื่อกระตุ้นก�าลังใจให้แก่คนที่ก�าลังประสบปัญหา

ได้อย่างไม่นา่ เชือ ่ ​ทีส ่ า� คัญ​เมือ ่ กล้าทีจ ่ ะคิด​กล้าทีจ ่ ะ

ปลดล็อกได้ด้วยการหาอาชีพเสริมมาสร้างรายได้​ ​แน่นอนว่าคุณป้าคนนัน ่ ยสนใจสักเท่าไหร่​ ้ ไม่คอ จนเวลาผ่ า นไปหลายสั ป ดาห์ ​สมาชิ ก หลายคน

ที่ประสบปัญหาหนี้สินเริม ่ น�าความคิดของพี่หนุ่ม ไปปรับใช้​จนการเงินเริม ้ น ิ ลดลง​ ่ เกิดสภาพคล่อง​หนีส และใช้ชว ี ต ิ ได้ดีขน ึ้ ​จากติดลบมากกลายเป็นติดลบ น้อยลงเรือ ่ ยๆ

ที่มาขอยืมเงินพี่หนุ่มได้ออกมาแชร์ประสบการณ์

ว่ารายได้เริม ุ ป้าเริม ้ ก ึ ว่า​ ่ ติดบวกแล้ว​จึงท�าให้คณ ่ รูส

ท�า​นอกจากจะสร้างรายได้แล้ว​ยังสร้างความภูมใิ จ ในตัวเองอีกด้วย​ซึ่งความภูมิใจนี่แหละคือปัจจัย

ขั บ เคลื่ อ นชี วิ ต ที่ ส� า คั ญ ในการด� า เนิ น ชี วิ ต ต่ อ ไป​ พร้อมกับความเชือ ่ และความหวังต่อการแก้ไขปัญหา ทางการเงิน

​นี่คือเรือ ่ งราวที่ผมประทับใจจากการไปฟัง

ทอล์ กโชว์ครัง้ นี้ ​ถึ งแม้ไม่ได้ เป็นดี เจเหมือนป้า…​ แต่ใจป้ามันได้ใจผมจริงๆ​

เฮ้ ย !​ถ้ า อี ก คนท� า ได้ ​แล้ ว ท� า ไมเราจะท� า ไม่ ไ ด้​ จนคุณป้าเดินมาบอกพีห ่ นุม ่ ว่า​ป้าจะกลับมาอีกครัง้ พร้อมกับรายได้​10,000​บาทต่อเดือน

เจริญพรมาร์เกตติ้ง​เรื่องเล่าหารายได้ ที่น่าประทับใจจากคุณป้าวัยเกษียณ

​จนกระทั่งมีคุณป้าซึ่งวัยใกล้เคียงกับคุณป้า

เท่านัน ้ เอง​อย่างกรณีของคุณป้าทีเ่ ลือกตีตลาดธรรมะ

เรือ ่ ง :​โอมศิริ​วีระกุล​ ภาพ :​พงศ์ธร​ยิ้มแย้ม

ด้วยการน�าเรือ ่ งราวจากผูท ้ เี่ คยมีหนีส ้ น ิ จนสามารถ

MONEY LIFE BALANCE

​ มมีโอกาสได้ไปดูงาน ผ ทอล์กโชว์ของ​‘พี่หนุ่ม’​ –​จักรพงษ์​เมฆพันธุ์​ หรือที่รู้จักกันในนาม มันนี่โค้ช​ถ้าใครติดตาม เส้นทางชีวิตของพี่หนุ่ม หรือผลงานที่เคยสร้างมา​ จะรูว ้ า่ เขาคือผูแ ้ ปลความคิด ของ​โรเบิร์ต​คิโยซากิ​ ผู้เขียนหนังสือ Rich Dad Poor Dad​หรือ​ พ่อรวยสอนลูก​นั่นเอง

CONTRIBUTOR

โอมศิริ​วีระกุล บรรณาธิการ เว็บไซต์การเงิน aomMONEY

ISSUE 618

25 NOV 2019

19


เรือ ่ ง : ทรรศน หาญเรืองเกียรติ

ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

THEY SAID

20


Music always sounds better on Friday Friday I’m in Love วงดนตรีท่ีเกิดขึ้นในยุค 90s ตอนปลาย เป็นเหมือนทางเลือกของคนฟังเพลงที่ต้องการเสพดนตรีที่แตกต่างออกไป อัลบั้มแรกที่ชื่อเดียว กับวงมีหลายเพลงที่ฟง ั เพราะติดหูมาถึงวันนี้ เช่น ฉันมีความสุข, เหนื่อย หรือ คืนหนึ่งในกรุงเทพฯ แม้ผลตอบรับด้านยอดขายจะไม่ค่อยเข้าเป้านัก แต่พวกเขา ก็ท�างานเพลงออกมาอย่างต่อเนื่อง ไปแจมกับเพื่ อนรุ่นเดียวกันอย่าง 2 Days Ago Kids ตัดชื่อวงให้เหลือแค่ Friday พร้อมกับพาอัลบั้ม Magic Moment มาพบกับคนฟังกลุ่มใหญ่ขึ้น และยังคงสร้างสรรค์งานเพลงดีมีคุณภาพออกมา เชื่อว่ามีหลายเพลงที่เรียกว่าถ้าเปิ ดขึ้นมาแล้ว หลายคนอาจจะเผลอฮัมตามได้ โดยไม่ทันรู้ตัว

Friday I’m in Love

“เราอยากให้ วั ฒ นธรรม การท�าเพลงในประเทศไทย เหมื อ นกั บ ต่ า งประเทศ ที่ไม่ว่าจะอายุเท่าไหร่ก็ยัง ท�าเพลงออกมาได้ และยัง มีคนชอบเพลงของเขาอยู”่

“อัลบัม ้ แรกของพวกเรามีคนฟัง กลุม ่ เล็กๆ เพราะเพลงของ Friday เป็น เพลงสไตล์ easy listening ฟังสบายๆ ซึ่งในยุคนั้นคนที่ฟังเพลงแนวนี้ก็จะ เป็นคนวัยท�างาน เป็นคนกลุ่มเล็กๆ การขายอัลบัม ้ จึงไม่งา่ ย ต่างกับสมัยนี้ ที่ศิลปินสามารถท�าเพลงไปเรื่อ ยๆ จนกว่าจะหาทางของตัวเองเจอ”

Magic Moment

“เรากล้าพูดได้เลยว่า Magic Moment เป็ น อั ล บั้ ม ที่ ดี ที่ สุ ด ของ Friday เราตั้งใจให้อัลบั้มนี้เหมือน การผลิบานของความรูส ้ ก ึ ณ ตอนนัน ้ ซึง่ ตอนทีท ่ า� เพลงในอัลบัม ้ ก ึ ้ นี้ ความรูส ของพวกเราเหมือนกับได้พบอะไรใหม่ๆ ท�าอะไรก็รส ู้ ก ึ เบิกบานไปหมดทุกอย่าง”

Song For Tomorrow

“อัลบัม ้ นี้คือการหนีตัวเอง เรา ต้องการไปให้สด ุ เพือ ่ ทีจ ่ ะรูว้ า่ Friday สามารถไปถึ ง ที่ สุ ด ได้ ใ นจุ ด ไหน เพลงในอัลบัม ้ งึ มีความหลากหลาย ้ นีจ มาก มีความขม ความหม่นมืด พาไป โลกอนาคต ไปยังพืน ้ ทีท ่ เี่ ราไม่เคยไป พอกลั บ มานั่ ง ฟั ง อั ล บั้ ม นี้ ก็ รู ้สึ ก ว่ า วงได้ ไปถึ ง สุ ด ปลายของวงแหวน ที่ Friday อาจจะไม่สามารถไปถึงได้ อีกแล้ว”

EP : Color Code 01-03

“ปี 2551 Friday ลองปล่อยเพลง แบบอีพอ ี ล ั บัม ื่ แต่ละอีพี ้ ออกมา ใช้ชอ เป็นโค้ดสี (Color Code 01 : Sevres, Color Code 02 : Lavender และ Color Code 03 : Butterscotch) มี มิ ว สิ ก วิ ดี โ อเกื อ บทุ ก เพลง เป็ น การทดลองปล่ อ ยเพลงเป็ น ซิ ง เกิ ล ซึ่งตอนหลังเขาก็ท�าแบบนี้กัน ข้อดี ทีพ ่ บคือเราสามารถเอาเพลงมารวม เป็นอัลบั้ม Colorfication เป็นของ ทีจ ่ บ ั ต้องได้ เราอยากให้การท�าอัลบัม ้ เหมือนต่ างประเทศตอนนี้ ที่ศิลปิน ค่ อยๆ ทยอยปล่ อยเพลงเป็นระยะ แล้วใช้เวลารวมเป็นอัลบัม ้ ไม่นานนัก แล้วเอาข้อได้เปรียบนีท ้ า� ให้เขาสามารถ เข้าชิงรางวัลแกรมมีได้ทง้ั สองปี”

Colorfication

“เมือ ่ อัลบัม ้ Song for Tomorrow เป็นการท้าทายตัวเอง ซึ่งตอนที่ท�า เราก็ยงั ไม่รค ู้ า � ตอบ มารูก ้ ต ็ อนทีเ่ สร็จ แล้ว ซึ่งเราก็ชอบอัลบั้มนี้ เวลากลับ มาฟังก็รูส ้ ก ึ ว่าเราไปได้ถึงตรงนี้เลย เหรอ พอมาท�าอัลบัม ้ Colorfication พวกเราก็รูแ ้ ล้วว่าต้องถอยกลับมา แล้ว เราอยากท�าเพลงทีส ่ นุก ไม่ต้อง ท้ า ทายตั ว เองอี ก ต่ อ ไปแล้ ว ไม่ ไ ด้ ต้องการผลลัพธ์อะไรแล้ว ท�าให้เพลง ในชุดนี้มีเพลงที่ใช่จริงๆ ส�าหรับเรา หลายเพลงมาก”

เพลงของ Friday วันนี้ เพื่อใคร

“เราคุ ย กั น ว่ า จะท� า เพลงใน แบ บ ที่ เร า ช อ บ ซึ่ ง เป็ น เพ ล ง ที่ มี เอกลั ก ษณ์ ข อง Friday แล้ ว เพลง ของเราจะรองรับ คนฟั ง กลุ่ ม เดิ ม หรือ ต้ อ งไปอยู่ ในพื้ น ที่ ข องคนฟั ง รุ น ่ ใหม่ๆ นั้ น พวกเราก็ ทอยลูกเต๋ า จนได้คา � ตอบออกมาว่าเพลงของเรา จะไปอยู่กับคนฟังกลุ่มไหนก็ไม่เห็น เป็นไร ถ้าเพลงนัน ่ วกเรา ้ เป็นเพลงทีพ ชอบกันแล้ว ซึง่ วิธค ี ด ิ แบบนีเ้ วิรก ์ มาก ส�าหรับ Friday ในวันนี้”

FRIDAY 22 ปียน ิ ดีทไ่ี ด้รจ ู้ ก ั

“คอนเสิรต ์ นีเ้ ราอยากให้คนฟัง ได้รูส ้ ก ึ ใกล้ชด ิ และพาไปย้อนความรูส ้ ก ึ เดิมของ Friday ว่าเริม ่ ต้นท�าวง มาได้อย่างไร มีเครือ ่ งดนตรีน้อยชิน ้ เน้นอะคูสติกเป็นส่วนใหญ่ เราคิดว่า นี่ คื อ ช่ ว ง ที่ ดี ที่ สุ ด ข อ ง Fr i d a y ในชั่วโมงนี้ แล้ว และถือว่าเป็นช่วง หัวเลี้ยวหัวต่อเหมือนกัน เพราะเรา ได้ ผ่ า นชี วิ ต วั ย รุ ่ น ตอนปลายมา อย่างสมบู รณ์ แบบแล้ ว ก้ าวขึ้นมา เป็นผูใ้ หญ่เต็มตัวทีย ่ งั ท�าเพลงกันอยู่ และก�าลังเตรียมตัวท�าเพลงใหม่เพือ ่ ออกเป็นอัลบัม ้ ชุดต่อไป เราอยากให้ วัฒนธรรมการท�าเพลงในประเทศไทย เหมื อ นกั บ ต่ า งประเทศ ที่ ไ ม่ ว่ า จะ อายุเท่าไหร่ก็ยังท�าเพลงออกมาได้ และยั ง มี ค นชอบเพลงของเขาอยู่ แต่บา้ นเราเหมือนกับว่าแก่แล้วแก่เลย เราอยากท�าให้มค ี วามกระชุม ่ กระชวย เพราะพวกเราส�ารวจตัวเองแล้วว่า

ยังสนุ กกั บการท�าเพลงอยู่ ยังรู ส ้ ึก ว่าการท�าเพลงเหมือนเป็นงานอดิเรก เป็นความสุข ไม่ได้เป็นงานทีเ่ ราต้อง เอาชนะหรือเคร่งเครียดไปกับมัน”

เพื่อนเก่า

“พอเรากลับมารวมตัวกันอีกครัง้ ในคอนเสิรต ์ ‘FRIDAY 22 ปียน ิ ดีทไี่ ด้ รูจ ้ ก ั ’ ทุกอย่างชัดเจนขึน ้ ในความรูส ้ ก ึ เลย เราสามารถเป็ น อะไรก็ ได้ ถ้าช่วยกันท�าสามคน ตอนทีพ ่ วกเรา แยกกั นออกไปท� า งานคนเดี ยว เดีย ๋ วก็จะมีคา� ถามว่าไปตรงนีไ้ ด้เหรอ แบบนี้ก็ได้เหรอ เกิดขึ้นเป็นประจ�า เพราะเราไม่ รู ข ้ ี ด จ� า กั ด ของตั ว เอง มองอะไรไม่ อ อก ไม่ มี ก ารส่ ง พลั ง ร่ว มกั น พวกเราก็ ห วั ง ว่ า Friday จะหล่อเลีย ้ งเราต่อไปได้โดยทีไ่ ม่ตอ ้ ง ไปท�าอย่างอื่น นี่คือความฝันที่มีมา ตลอด แม้ ในชี วิ ต จริง เรามี ง านอื่ น ที่ ต้ องรั บ ผิ ด ชอบ งานที่ ท� า เพื่ อ หล่อเลีย ้ งชีวต ิ อยูก ่ ต ็ าม แต่ไม่วา่ อย่างไร เราทัง้ สามคนก็ยงั อยากท�างานเพลง ไปจนกว่าชั่วฟ้าดินสลาย”

ชอบตอนนี้ ชอบแบบนี้ แค่เท่านี้ พอดีกบ ั ฉัน

“พวกเราไม่ถึงกับคิดว่าการท�างานครัง้ ใหม่คือการเดินขึ้นภูเขา ลูกใหม่ขนาดนั้น แต่เราเชื่อว่าเพลง คือการบันทึกเรือ ่ งราว ณ ปัจจุบัน จิตใจของเราตอนนี้ เรือ ่ งราวของเรา ในตอนนี้ เป็น Friday อย่างทีค ่ วรจะ เป็น เราไม่สามารถก�าหนดได้เลยว่า จะท�าเพลงทีม ่ จ ี ง ั หวะโคตรฮิต ต่อให้ อยากท�าก็เป็นไปไม่ได้ เพราะบริบท ของคนฟั ง เพลงตอนนี้ เป็ น สิ่ ง ที่ พวกเรามองไม่ออกเลย เป็นอีกด้าน ที่เราไม่มีทางศึกษาให้เข้าใจได้ด้วย หลายเพลงที่ ฮิ ต มากตอนนี้ เราฟั ง แล้วก็ชอบ ชอบมากด้วย อยากท�าให้ ได้อย่างเขา แต่สุดท้ายก็ได้แต่มอง เพราะรูต ้ ว ั เองเลยว่าท�าออกมาคงไม่ดี เท่า แต่ เราท�าได้ ดีกับเพลงในแบบ ของเรา เป็ น เพลงที่ ล ะเมี ย ดแบบ Friday ดนตรีขึ้นมาคนก็ จะรู ท ้ ันที เลยว่านีค ่ อ ื เพลงของวง Friday”

คอนเสิรต ์ คืนสูเ่ หย้า ‘FRIDAY 22 ปียน ิ ดีทไี่ ด้รูจ ้ ัก’ เปิดการแสดงในวันเสาร์ที่ 14 และวันอาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม 2562 ณ โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ จ�าหน่ายบัตรที่ Ticketmelon บัตรราคา 1,500 / 2,000 / 2,500 / 3,000 และ 3,500 บาท

issue 618

25 NOV 2019

21


เรือ ่ ง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล

FEATURE ภาพ : ภาสกร ธวัชธาตรี

ANOTHER SCHOOL STORY “ผมคิ ด ว่ า เด็ ก ทุ ก คนที่ จ ะเอา ตัวรอดในยุคนีไ้ ด้ตอ ้ งมาจากการฝึกฝน ให้ ก ล้ า ตั้งค�าถามและมีจิตใจที่อยาก แสวงหาค�าตอบ ถ้าพู ดถึงการออกแบบ ห้ อ งเรี ย น ก็ คื อ ต้ อ งเป็ น ห้ อ งเรี ย น ทีเ่ น้นการเรียนแบบ Project Based Learning หรือเรียนรู้จากกิจกรรม โดยมีครูคอยให้โจทย์ ต้องฝึกให้เด็กรูจ ้ ก ั สังเกตและเก็บข้อมูลจากการลงมือท�า แล้วน�ามาสะท้อนคิดร่วมกัน ่ ะท�าให้ “สภาพของห้องเรียนทีจ เกิดการเรียนรู้ท่ีดีได้นั้นครูต้องสร้าง บรรยากาศทีไ่ ม่เน้นถูกผิด ถ้ามีนก ั เรียน ออกความเห็ น อะไรที่ บ๊ อ งๆ ออกมา เขาต้ อ งไม่ ถู ก เยาะเย้ ย ถากถาง ไ ม่ อ ย่ า ง นั้ น เ ด็ ก ก็ จ ะ ไ ม่ ก ล้ า คิ ด ่ ต ห้องเรียนทีด ี อ ้ งสร้างให้ผเู้ รียนมีทก ั ษะ ของการตั้งค�าถาม รู้จักทดลอง และ คิดใคร่ครวญได้ดว ้ ยตัวเอง” ่ จากบทสัมภาษณ์ของ ตอนหนึง ่ วชาญ ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช ผูเ้ ชีย ่ คน ด้านการเรียนรู้ ชีใ้ ห้เราเห็นว่า เด็กหนึง จะสามารถเรียนรู้ จดจ�าและน�าการเรียนรู้ ไปใช้ได้ดน ี น ั้ นอกจากจะได้รบ ั การอบรม เลี้ยงดูด้วยความรักและความเข้าใจ จากคนในครอบครัว เป็นเสาหลักชีวต ิ ให้มน ั่ คงแล้ว โรงเรียนและครูกถ ็ อ ื ว่าเป็น ครอบครัว หรือบ้านหลังที่สองของ การเรียนรู้ชีวิตที่ส�าคัญอีกส่วนหนึ่ง เช่นกัน แล้ ว สิ่ ง ใดที่ จ ะน� า พาโรงเรี ย น ่ องได้จริง ให้กา้ วไปสูก ่ ารเป็นบ้านหลังทีส ครู แ ละนั ก เรี ย นรู้ สึ ก เช่ น นั้ น จริ ง ๆ ค�าตอบอาจจะอยู่ที่ ‘แนวการเรียนรู้’ อย่ า งที่ น ายแพทย์ วิ จ ารณ์ ก ล่ า วไว้ โดยในปัจจุบน ั ได้มแี นวคิดล่าสุด ทีเ่ ริม ่ น�ามาใช้ในวงการการศึกษาไทย เรียกว่า ‘S LC ( S c h ool as Le arn i n g Community) โรงเรียนเป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู’้ โดยมีโรงเรียนพุ ทธจักรวิทยา เป็ น ตั ว อย่ า งโรงเรี ย นน� า ร่ อ งที่ ใ ช้ แนวคิ ด นี้ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะชี วิ ต ให้นก ั เรียน พร้อมพัฒนาคุณภาพของ ครู เพื่อให้โรงเรียนก้าวไปสูค ่ วามเป็น ่ องได้อย่างเต็มภาคภูมิ บ้านหลังทีส 22


ISSUE 618

25 NOV 2019

23


BUDDHAJAK WITTAYA SCHOOL ่ อ ่ งราวของ ‘โรงเรียนพุ ทธจักรวิทยา’ และเรือ ่ งเล่าเคล้าประสบการณ์จริงทีน ่ า� แนวคิดนีไ้ ปใช้จริงจากครูทง นีค ื เรือ ้ า� นวยการโรงเรียน ้ั สามต�าแหน่ง คือ ผอ. จุฑาธิณี สิงหรัญ ผูอ คนปัจจุบัน, ครูมาลา ชูเกียรติศิริ ครูรุ่นเก่าสอนวิชางานธุรกิจที่เพิ่ งเกษียณได้ไม่นาน และ ‘ครูแตน’ - กาญจนา เชื้อหอม ครูรุ่นใหม่ไฟลุกผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ พร้อมค�าอธิบายเพิ่มเติมจากอาจารย์ผเู้ ป็นทัง ู ’ - ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล ผูอ ้ า� นวยการศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษา ้ ครูนเิ ทศและนักวิชาการ อย่าง ‘อาจารย์ฮก ่ ง เพื่อสร้างพลเมืองประชาธิปไตย และผูอ ้ า� นวยการศูนย์วจ ิ ย ั และพัฒนาการศึกษาเพื่อการพัฒนาทีย ั่ ยืน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SLC (School as Learning Community):

SCHOOL AS LEARNING COMMUNITY แต่สงิ่ ทีท ่ า � ให้ ผอ. รูส ้ ก ึ ว่า SLC เหมาะกับโรงเรียน เล็กๆ แห่งนี้ อยู่ที่ปรัชญาสามประการ ซึ่งเป็นหัวใจ หลักของ SLC ประกอบไปด้วย ‘ปรัชญาความเป็นประชาธิปไตย’ เป็นการใช้ชว ี ต ิ อยู่ กั บ ผู้ อื่ น อย่ า งเคารพ รับ ฟั ง เสี ย งของทุ ก คนและ ไม่ทอดทิ้งใครให้อยู่เพียงล�าพังในห้องเรียน ‘ปรัชญาความเป็นสาธารณะ’ ทั้งในห้องเรียน และโรงเรียน หมายถึงโรงเรียนคือพืน ้ ทีก ่ ารเรียนรูข ้ อง ทุกคน สุดท้ายคือ ‘ปรัชญาว่าด้วยความเป็นเลิศ’ ซึง่ ก็คอ ื การเป็นเลิศตามแนวทางและศักยภาพของตัวนักเรียน เอง “ปรัช ญาทั้ ง สามตรงกั บ สิ่ ง ที่ คิ ด ว่ า คงท� า ได้ ซึง่ เราไม่ได้สงั่ การครูทน ั ที แต่เราเชิญอาจารย์มาอธิบาย ให้คุณครูฟัง เมื่อทุกคนรับฟังแนวคิดและเริม ่ เห็นด้วย เราเองคื อ คนแรกที่ จ ะต้ อ งไปเรี ย นรู ้ วิ ธี ก ารและ หลักการของ SLC ผ่านการเวิรก ์ ช็อปและท�างานร่วมกับ เครือ ข่ า ยหลายภาคส่ ว น ไม่ ว่ า จะเป็ น อาจารย์ จ าก คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือโรงเรียน ในสังกัด กทม. อย่างโรงเรียนประถมวัดหัวล�าโพง” ผู้ อ� า นวยการต้ อ งเรีย นรู ้ต้ั ง แต่ เริ่ม ต้ น อย่ า ง กระบวนการน�า SLC ไปใช้พฒ ั นาบทเรียนร่วมกัน หรือ Lesson Study ว่า Plan-Do-See มีรูปร่างหน้าตา เป็นแบบไหน แล้วจะสะท้อนผลให้ครู ด้วยกันเห็นได้ อย่างไร รวมทัง้ วิธก ี ารปรับแผนการเรียนรูจ ้ ากแผนเดิม ทีท ่ า� อยูต ่ ามปกติ ซึง่ ก็คอ ื PLC (Professional Learning Community) นโยบายจากส�านักงานคณะกรรมการ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานที่ เน้ น เรื่อ งชุ ม ชนการเรีย นรู ้ ทางวิชาชีพ เครือ ่ งมือที่ช่วยให้ครูสร้างความรูข ้ ึ้นมา ผ่านการสะท้อนให้ครูได้เรียนรูจ ้ ากชัน ้ เรียนของตัวเอง พร้อมปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาการจัดการเรียนรู ้ ของตน เพื่อให้ลูกศิษย์เกิดการเรียนรูช ้ นิดรูจ ้ ริง “หลังจากเวิรก ์ ช็อปเรียบร้อย เราก็น�ากลับมาท�า ที่โรงเรียนเลย พร้อมก�าหนดให้เป็นนโนบาย เพื่อให้มี เป้าหมายร่วมกันว่าเราจะใช้แนวคิด SLC ไปพร้อมกัน ทั้ ง โรงเรีย นทุ ก ระดั บ ซึ่ ง ตั้ ง แต่ ช้ั น ม.1-ม.6 มี เพี ย ง 12 ห้องเท่านั้น ท�าให้การขับเคลือ ่ นการเรียนรูเ้ ป็นไปได้ ด้วยดี”

โรงเรียนแนวคิด SLC เกิดขึน ้ โดย ศาสตราจารย์ มานาบุ ซาโต ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ แห่ง มหาวิทยาลัยโตเกียว และศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยกักคุชอ ู น ิ ประเทศญีป ุ่ ่ น

MATCHING WHILE LEARNING แต่ทว่าการจะเริม ่ ต้นด้วยสิง่ ทีไ่ ม่มใี ครเคยเรียนรู ้ มาก่อน อาจจะเป็นการเริม ่ ลุกขลัก ‘อาจารย์ฮูก’ ่ ต้นทีข - ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล จึงได้เข้ามาจัดกระบวน ให้ตั้งแต่ปีแรก เน้นการเรียนรูแ ้ บบ active learning โดยใช้เครือ ่ งมือทีเ่ รียกว่า PLC นโยบายจากส�านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นเรือ ่ งชุมชน การเรียนรูท ้ างวิชาชีพ “เราเซตระบบเริม ่ ต้น ด้วยการให้จับคู่บัดดี้ หรือ Peer Work แบบไม่บง ั คับการจับคู่ ใครอยากคู่กับใคร ก็ได้ ลูปที่หนึ่ งเริม ่ ต้นที่ครู เด็กจับคู่กับครู ผู้ใหญ่ หรือ ครู ผู้ ใหญ่ อ ยากจั บ คู่ กั น เองก็ ไ ด้ แต่ จ ะต้ อ งเป็ น คู่ ค รู ต่างสาระกัน เพราะหากเป็นครูสาระเดียวกันจะกลายเป็น ผิดแผน เพราะจะมาจับผิดกัน แต่หากเป็นการข้ามสาระ ก็จะไปโฟกัสการเรียนรูข ้ องเด็ก เช่น ครูเลขจับคู่กับครู คอมพิวเตอร์ เวลาเข้าไปดูกไ็ ม่ได้ดว ู า่ สอนอะไร แต่ไปดู ว่าเกิดอะไรขึ้นในห้องเรียน และครูสามารถเลือกคาบ ได้วา ่ จะให้เพือ ่ นไปสังเกตการณ์ได้คาบไหน เพือ ่ ให้เกิด ความสบายใจมากที่สุด “แล้วแต่ละเทอมให้มล ี ป ู ในการเข้าไปสังเกตการณ์ การสอนเดื อ นละ 1 ครัง้ เท่ า กั บ 1 เทอม จะมี 3 ครัง้ ที่ครูจะได้ไปดูห้องบัดดี้ตัวเอง แล้วก็ขอให้ปักหมุดว่า ทุกสัปดาห์จะต้องมีคาบ PLC ล็อกไว้เลย วันอังคารบ่าย จะต้องมานั่งแชร์กันว่านักเรียนเรียนรูแ ้ ล้วเป็นอย่างไร แผนที่วางเอาไว้เมื่อน�าไปใช้แล้วนักเรียนเป็นอย่างไร บ้าง เขาตามทันไหม ใครที่ช้า ใครที่ตอบสนองได้ ไว สัญญาณอยูต ่ รงไหน ดูตรงไหนได้ เหมือนมีตาอีกคูห ่ นึง่ อยู่ในห้องด้วย”

ผอ. จุฑาธิณี สิงหรัญ ผูอ ้ า� นวยการโรงเรียน

การเรียนรูท ้ ใี่ ห้ทก ุ คนเป็ นศูนย์กลาง ในการเรียนรู้ ทัง ้ นักเรียน ครู ผูอ ้ า� นวยการ ผูป ้ กครอง และชุมชน เข้ามา มีสว ่ นร่วมกับการเรียนรู้ โดยใช้กจ ิ กรรม การเปิดชัน ุ คนได้ ้ เรียนให้ทก สังเกตการณ์ เพื่อน�าไปสูก ่ ารสะท้อนคิด เกีย ้ องนักเรียน ่ วกับการเรียนรูข

ผศ. อรรถพล อนันตวรสกุล อาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สิง ้ ะช่วยให้ครูพัฒนาการจัดการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสม ่ นีจ กับนักเรียนได้ แนวคิด SLC สามารถสร้างนักเรียน ให้มค ี วามคิดสร้างสรรค์ (creativity) การสืบสอบ (inquiry) และความร่วมมือรวมพลัง (collaboration) ผ่านการเรียนแบบจับกลุม ่ คละผูเ้ รียน เพือ ่ ช่วยกันเรียน และคอยดูแลซึง ่ กันและกัน ซึง ่ เป็ นทักษะแห่งศตวรรษ ที่ 21 ทีส ี ต ิ และการท�างาน ่ า� คัญอย่างยิง ่ ต่อการใช้ชว ในอนาคต 24

ทีม ั ปิโก (ไทยแลนด์) จ�ากัด (มหาชน) ่ า : บทบรรยายของ ดร. นิภาพร กุลสมบูรณ์ ผูเ้ ชีย ่ วชาญด้านการศึกษา บริษท

STRENGTHENING EDUCATION SYSTEM โรงเรียนพุทธจักรวิทยาก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2506 ผ่านหลักสูตรการเรียนการสอนจาก สพฐ. (ส�านักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน) มามากมาย แต่ทว่าก็ยงั ไม่มห ี ลักสูตรหรือรูปแบบการเรียนการสอนใด ที่ จ ะหยุ ด ยั้ ง ปริม าณนั ก เรีย นที่ ล ดลงได้ จนกระทั่ ง เมื่ อ สี่ ปี ก่ อ น จุ ฑ าธิ ณี สิ ง หรัญ เข้ า มาด� า รงต� า แหน่ ง ผู้อ�านวยการโรงเรียน ผู้ที่มาพร้อมกับแนวความคิด ใหม่ ไม่เน้นการเพิม ่ ปริมาณของเด็กในโรงเรียน แต่เน้น การเพิ่มคุณภาพและศักยภาพของเด็กที่ยังศึกษาอยู่ ให้ดีที่สุดมากกว่า “บริบทของสังคมในชุ มชนย่านนี้ เปลี่ ยน นี่ คือ เรือ ่ งจริงทีไ่ ม่สามารถท�าอะไรได้ แต่สิง ่ อ ู้ �านวยการ ่ ทีผ อย่างเราท�าได้กค ็ อ ื หาวิธห ี รือแนวทางทีจ ่ ะท�าให้โรงเรียน ยั ง คงอยู่ มี ค รู ที่ ส นใจเด็ ก และเด็ ก ๆ ได้ ร บ ั การเรีย น ทีเ่ หมาะสม เพราะเราเห็นว่านักเรียนส่วนใหญ่เป็นเด็ก ทีข ่ าดโอกาสด้วยฐานะ อยากไปเรียนพิเศษก็ไม่มโี อกาส ได้ไปเพราะต้องท�างาน ดังนัน ้ เขาก็จะใส่ใจการเรียนน้อย ดูถูกตัวเองมาก ไม่เชื่อมั่นในตัวเอง ความอดทนน้อย หากไปท�างานที่ได้เงินเร็วก็จะเลือกท�า แต่หากจะให้ ประดิษฐ์ของหรือท�าอะไรสักอย่างขึ้นมาขาย เด็กจะ ไม่ทนท�าเพราะใช้เวลานานกว่าจะได้เงิน “ประการต่อมาคือเมื่อสองปีที่ผ่านมา โรงเรียน ของเราจะมีครู รุน ่ เก่าและครู รุน ่ ใหม่เริม ่ ยๆ ่ เข้ามาเรือ ครูรน ุ ่ เก่าก็จะเก่งในเรือ ่ งเทคนิคและมีประสบการณ์สอน เยอะ ส่วนครู รุน ่ ใหม่ยังขาดประสบการณ์ ในการคุม ชั้ น เรี ย น แต่ เ ก่ ง ในเรื่ อ ง ICT (Information and Communications Technology) ฉะนั้น เวลาเราท�า แบบสอบถามการประเมินความเป็นครู ก็พบว่าทุกคน ต้ อ งการพั ฒ นาตั ว เองในเรื่ อ งการจั ด การเรี ย นรู ้ ซึ่งเป็นหัวใจหลักของครูในโรงเรียน” แต่ ท ว่ า แนวคิ ด หรื อ หลั ก สู ต รแบบไหนที่ จ ะ สอดคล้ อ ง ผอ. จุ ฑ าธิ ณี จึ ง นึ ก ออกว่ า ครั้ง หนึ่ ง เคย ไปดูแนวทาง SLC จากโรงเรียนเพลินพัฒนา ทุกอย่างตรง กับสิง่ ทีอ ่ ยากให้เกิดขึน ้ ในโรงเรียนแห่งนี้ ประจวบเหมาะ กั บ ทาง ผศ. ดร. ชญาพิ ม พ์ อุ ส าโห อาจารย์ จ าก คณะครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ น� า แนวคิ ดจากประเทศญี่ปุ่นมาน� าเสนอ แนวทาง SLC หรือ ‘โรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู ’้ ในโรงเรียน พุทธจักรวิทยาก็เริม ้ ท่ามกลางความตืน ่ เต้นยินดี ่ ต้นขึน จากครู ต่อการเปลี่ ยนแปลงโรงเรียน ที่วันนี้ เริม ่ เห็ น ผลลัพธ์แล้ว


เราเซตระบบเริม ่ ต้น ด้วยการให้จับคู่บัดดี้ หรือ Peer Work แบบไม่บังคับการจับคู่ ใครอยากคู่กับใครก็ได้

25

25 NOV 2019

ISSUE 618


ครูมาลา ชูเกียรติศร ิ ิ อดีตครูสอนวิชางานธุรกิจ

้ หอม กาญจนา เชือ ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษ

OPEN CLASSROOM แต่เพื่อให้เห็นภาพชัดขึ้น ผู้อ�านวยการได้พาเรา ไปท�าความรูจ ้ ก ั กับแนวคิด SLC ผ่านการเรียนการสอน ในคาบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ม.2 พลาง อธิบายกึ่งกระซิบให้เราฟังว่า “สังเกตว่าเด็กๆ จะไม่ว่อกแว่กหรือหันมามอง พวกเราที่อยู่หลังห้องเลย” ผู้อ�านวยการชี้ชวนให้เรา สังเกตพฤติกรรมการเรียนรูข ้ องเด็กๆ พร้อมอธิบายต่อ ว่ากระบวนการนีเ้ รียกว่า Open Classroom กระบวนการ เปิดชัน ่ การเรียนรู ้ ซึง่ เป็นการเปิดโอกาสให้ครู ้ เรียนเพือ หรือบุคลากรอืน ่ ทัง้ ในโรงเรียนและต่างโรงเรียน รวมถึง บุคคลภายนอกได้มโี อกาสเข้าสังเกตการณ์ชน ั้ เรียนอยู่ รอบๆ ห้องเรียน เพื่อการเรียนรูร้ ว่ มกัน โดยไม่จับผิด การสอน แต่เป็นการจับตามองลูกศิษย์ ครู แตนและนั กเรียนที่เรียนแบบกลุ่มกันอยู่น้ัน นอกจากจะไม่ได้หันมาสนใจผู้สังเกตการณ์อย่างเรา รวมทั้ ง ครู ม าลา ชู เกี ย รติ ศิ ร ิ ครู อ าวุ โ สวั ย เกษี ย ณ และผู้อ�านวยการที่เข้ามายืนอยู่เงียบๆ หลังห้องแล้ว ยังสามารถจดจ่ออยูก ่ บ ั การเรียนรูต ้ รงหน้าและครูผส ู้ อน ได้อีกด้วย ซึ่งผู้อ�านวยการบอกว่า นี่คือกระบวนการ จัดการเรียนรูข ้ ้ันตอนหนึ่งของ SLC ที่สอดคล้องกับ PLC ได้อย่างลงตัว ครู ม าลาจึ ง ช่ ว ยขยายความให้ ฟั ง เพิ่ ม เติ ม ว่ า “การโอเพนคลาสในแต่ละเดือนนั้นเราเข้าไปดู ไม่ได้ เข้าไปเพือ ่ สังเกตหรือจับผิดครู เราเข้าไปดูการเปลี่ยนแปลงของเด็กว่าเด็กที่สอนร่วมกันนั้นเปลี่ยนแปลงไป หรือเปล่า หลุดโฟกัสการเรียนหรือไม่ และเราในฐานะ ครู สั ง เกตการณ์ ก็ จ ะเห็ น และจดว่ า เด็ ก เป็ น อย่ า งไร พอรอบต่อไปเรากับครู ได้คุยกัน ครู ผู้สอนก็จะเข้าไป ดู แ ลเด็ ก คนที่ มี ปั ญ หาได้ ทั น และมากขึ้ น จากนั้ น ครู ก็จะเริม ่ จับกลุ่มกันเพื่อปรึกษาและหาทางแก้ปัญหา ทั้งยังต้องเตรียมการเรียนรูใ้ ห้เด็กมากขึ้น หรือต้องมี ค�าพูดเพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจมากขึ้น ส�าหรับครูแล้ว SLC จะท�างานกันเป็นทีมและจะไม่ท้ง ิ ใครไว้ข้างหลัง เด็ ก ๆ เองก็ เช่ น กั น การเรีย นรู ้แบบจั บ กลุ่ ม ช่ ว ยกั น เพือ ่ พากันและกันให้ไปสูก ่ ารเรียนรู ้ อย่างน้อยขัน ้ ฐาน ้ พืน จะต้องได้ทุกคน” ทางด้ านอาจารย์ฮูกได้ เพิ่มเติ มว่า “ส่วนใหญ่ คนนอกเข้ามาจะเป็นการช่วยตัง้ ค�าถาม ผ่านการบันทึก พฤติ กรรมของนั กเรียนผ่านการถ่ ายวิดีโอบ้าง หรือ ภาพนิ่ งบ้าง เพื่อสุดท้ายน� ามากางดูว่าเกิ ดอะไรขึ้น ก่ อ นน� า ไปจั ด ท� า แผนการเรี ย นรู ้ ใ นชั่ ว โมงต่ อ ไป ซึ่ ง กระบวนการแบบนี้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ดี ท� า แล้ ว ท้ า ยสุ ด จะกลายเป็นวัฒนธรรมโรงเรียน และสามารถน� าไป ปรับใช้ในชีวิตประจ�าวันภายนอกห้องเรียนได้”

TEACHERS’ LEARNING เราสั ง เกตการณ์ อยู่ อ ย่ า งนั้ นจนหมดคาบ ‘ครูแตน’ - กาญจนา เชือ ้ หอม ครูรุน ่ ใหม่ประจ�าชัน ้ ม.2 จึงแวะมาคุยให้ฟังอย่างออกรสชาติ และอากัปกิรย ิ า ทีช ่ ด ั เจนว่าเธอยินดีกบ ั การเป็นครูและสนุกไปกับการสอน ลูกศิษย์ “ใครจะคิ ด ว่ า เป็ น ครู แ ล้ ว ต้ อ งมางงกั บ ค� า ว่ า PLC, SLC (หั ว เราะ) ตอนแรกแค่ เ จอค� า ว่ า PLC ภาพวิธก ี ารสอนก็ยงั เบลอๆ เรารูแ ้ ค่วา่ จะต้องมีการจับคู่ บั ด ดี้ เพื่ อ นครู เพื่ อ ให้ ร ว ่ มแสดงความคิ ด เห็ น ในด้ า น การจั ดการความรู ก ้ ั บนั กเรียนประจ� าห้องเรียนของ ตั ว เอง เราต้ อ งเปิ ด ใจรับ ฟั ง แนวคิ ด และวิ ธี ก ารน� า จัดกิจกรรมเพื่อน�ามาใช้กับนักเรียนของเรา “ว่าแล้วเราก็ลองลงมือท�า จนเข้าใจและรูส ้ ึกได้ ถึงพลังและคุณค่าของความเป็นครูในตัวเองกลับมา หลังจากที่เริม ่ เหี่ยวเฉา ทั้งๆ ที่เพิ่งเป็นครู ได้ไม่นาน หรือไม่ก็คงเป็นครู ที่เช้าชามเย็นชามแน่ ๆ เพราะเรา ขาดความกระตือรือร้น แต่วันที่เรามาเรียนรูก ้ ารเป็น ครูแบบ PLC ท�าให้เราเข้าใจบทบาทของตัวเองมากขึน ้ สนุ ก กั บ การได้ เ ตรีย มแนวทางการจั ด การเรีย นรู ้ ให้ลูกศิษย์มากขึ้น” แต่จุดส�าคัญทั้ง PLC และ SLC คือการที่เน้นให้ เด็ ก ลงมื อ ท� า ให้ ม ากที่ สุ ด โดยที่ ค รู เป็ น ผู้ เปิ ด โอกาส และจัดหากิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องมารอให้เด็กเก็บเกี่ยวไป จนวันทีโ่ รงเรียนน�าแนวคิด SLC เข้ามา ครูแตนจึงมองว่า เป็ น กระบวนการจั ด การเรีย นรู ้ที่ ค ล้ า ยกั น ซึ่ ง ท� า ได้ อยู่แล้ว อาจแตกต่างกันที่เลเวล “ส�าหรับเรา PLC คื อขั้นพื้นฐาน ส่วน SLE คื อ ขั้นแอดวานซ์ ที่มีต้นทางมาจากอุดมการณ์ของผู้น�า โรงเรียน กลางทางมาจากครูผส ู้ อน และปลายทางคือ การเรียนรูข ้ องลูกศิษย์ที่จะได้รบ ั ไปอย่างเข้มข้น” ส่วนครูมาลา—ในฐานะที่เป็นครูรุน ่ เก่า กล่าวว่า “หากต้องการให้เด็กเรียนรูไ้ ด้ดี ครูต้องเรียนรูแ ้ ละเป็น แบบอย่างทีด ่ ีก่อน ไม่อย่างนั้นก็จะกลายเป็นสักแต่วา ่ สอน ท้ายสุดเด็กก็ไม่ได้อะไร”

SECOND HOME COMING จากค�าบอกเล่าผ่านน�าเสียงและแววตาปีติของ ผู้อ�านวยการ ครู มาลา และครู แตน เราสัมผัสได้ถึง ความมุง่ หวังทีจ ่ ะท�าให้โรงเรียนเป็นเหมือนบ้านหลังทีส ่ อง ที่ ซึ่ ง เด็ ก ๆ จะได้ เ รี ย นรู ้ ก ารด� า เนิ น ชี วิ ต ที่ ถู ก ต้ อ ง จบออกไปแล้วดูแลครอบครัวได้ รับผิดชอบต่อตัวเอง เป็น และไม่สร้างปัญหาให้กับสังคม “โรงเรี ย นของเราไม่ ไ ด้ วั ด ผลลู ก ศิ ษ ย์ กั น ที่ คะแนนสอบหรือการสอบเข้ามหาวิทยาลั ยชื่อดั งได้ แต่หากเด็กท�าได้ คงเป็นเพราะเด็กรูส ้ ก ึ สนุกกับความรู ้ ทีไ่ ด้จากครู เกิดเป็นการใฝ่รู ้ โดยมีโรงเรียนและครูเป็น ผูส ้ นับสนุนอยูเ่ บือ ้ งหลัง พร้อมมีระบบเยีย ่ มบ้านนักเรียน อย่างน้อยเพือ ่ รับรูถ ้ ึงปัญหาทีเ่ ด็กๆ ก�าลังเผชิญ ท�าให้ เราเข้ า ใจ ก่ อ นจะช่ ว ยกั น หาทางออกให้ กั บ นั ก เรีย น เป็นรายบุคคลต่อไป” ผู้อ�านวยการโรงเรียนยืนยัน “เด็กหลายคนไม่มีเป้าหมายในชีวิต พวกเขามี ความสุขที่ได้ มาโรงเรียน แต่ ไม่ได้ ชอบเรียน เพราะ ตอนทีเ่ ราไปเยีย ่ มบ้านของเด็กก็พบว่าบ้านของเขาไม่มี อะไรเลย เมื่อเราเข้าใจ เราก็เรียนรูท ้ ี่จะหาวิธต ี ะล่อม ให้เขากลับมาอยากเรียน และเราก็ทา� ได้” ครูมาลาเสริม ท้ า ยสุ ด แล้ ว คะแนนสอบอาจวั ด ความรู ้ท าง วิชาการ แต่คงไม่มค ี ะแนนอะไรมาวัดความภาคภูมใิ จ ในสิง่ ทีท ่ า� ด้วยตัวเองได้ ครูมาลายกตัวอย่างของนักเรียน ชัน ุ คนพร้อมทีจ ่ ะสนับสนุนและส่งเสริม ้ ม.6 ให้ฟงั ว่า ครูทก ให้ เ ด็ ก เห็ น คุ ณ ค่ า ของตั ว เองและกล้ า แสดงออก ซึ่ ง ทุ ก คนต้ อ งตระหนั กและสร้ า งขึ้ น ด้ ว ยตั ว เอง อย่างในวิชาการงานของครูมาลาทีใ่ ห้เด็กๆ เรียนรูเ้ รือ ่ ง ของการท�าขนม แต่ เป็นตั วของเด็ กๆ เองที่ตัดสินใจ อบคุกกี้แล้วออกไปขายหน้ามูลนิธริ ว่ มกตัญญู ข้างวัด หั ว ล� า โพง ภายในเวลา 70 นาที ได้ เงิ น มาทั้ ง หมด 2,700 บาท พวกเขารีบน�ามาบอกครู จากสีหน้าและ แววตาของเด็กๆ บอกถึงผลลัพธ์จากการเรียนการสอน ให้ครูมาลารับรูโ้ ดยไม่ต้องมีค�าอธิบายใดๆ

26


โรงเรียนของเราไม่ได้วัดผลลูกศิษย์กันทีค ่ ะแนนสอบหรือการสอบเข้ามหาวิทยาลัยชือ ่ ดังได้ แต่หากเด็กท�าได้ คงเป็ นเพราะเด็กรูส ้ ก ึ สนุกกับความรูท ้ ไี่ ด้จากครู เกิดเป็ นการใฝ่รู้ โดยมีโรงเรียนและครูเป็ นผูส ้ นับสนุนอยูเ่ บือ ้ งหลัง ISSUE 618

SLC (School as Learning Community):

25 NOV 2019

นีเ่ ป็ นเพียงหนึง ุ มุง ่ หวังอยูท ่ ค ี่ ณ ุ ภาพของครู และ ่ ในสามของโรงเรียนน�าร่องทีน ่ า� แนวคิด SLC มาใช้ในการเรียนการสอน โดยมีจด ศักยภาพของนักเรียน ทีจ ่ ะเดินเคียงกันไป โดยมีโรงเรียนเป็ นดัง ่ ข็งแรง ครูเป็ นดัง ่ เรือแจวทีแ ่ ไม้พาย มีคนคัดท้ายคือแนวทางการเรียนรู้ เพื่อส่งให้นก ั เรียนคนหนึง ่ ไปทัง ่ ซึง ่ เปรียบดัง ่ ผูโ้ ดยสาร เดินทางไปถึงฝั่ งอย่างปลอดภัย เติบใหญ่ตอ ้ ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา

27


BULLETIN B นิว โนเบิล ศรีนครินทร์-ลาซาล ยืนยันความแรง เคาะราคา สุดช็อก! เปิดราคาแล้ววันนี้ บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหำชน) ประกำศตอกย� ำ ควำมร้อ นแรง โครงกำรคอนโดมิ เนี ย มใหม่ ล่ ำ สุ ด NUE NOBLE SRINAKARIN-LASALLE เปิดรำคำ สุดช็อกทุกยูนิต เริม ่ ต้นเพียง 65,000 บำท ต่อตำรำงเมตร โดยต่อยูนต ิ เริม ่ ต้นที่ 1.59 ล้ำน บำท วันนี้ ที่ส�ำนั กงำนขำย ตอบรับกระแส ผูม ้ ำเยีย ่ มชมส�ำนักงำนขำยพร้อมลงทะเบียน เลือกยูนิตที่สนใจไว้อย่ำงล้นหลำม พบกับ โครงกำร ‘นิว โนเบิล ศรีนครินทร์-ลำซำล’ คอนโดฯ ห้องหน้ำกว้ำง ติดรถไฟฟ้ำ MRT สำยสีเหลือง สถำนีศรีลำซำล จัดเต็มสิง่ อ�ำนวย ควำมสะดวกและพื้ น ที่ ส่ ว นกลำง 8 โซน รวมกว่ำ 17 พื้นที่ ครอบคลุมรอบโครงกำร พิเศษสุดกับโปรโมชันผ่อนเริม ่ 4,900 บำท ต่ อ เดื อ น สอบถำมข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ที่ โทร. 0-2251-9955 หรือ www.noblehome.com

สมัครบัตร Easy Pass ผ่าน TrueMoney Wallet ยกระดับการคมนาคมทางบก ของประเทศไทย

Netflix เปิดตัว ‘เคว้ง’ (The Stranded) ออริจินอลซีรีส์ไทยเรื่องแรก

พิธีเปิดงานวิศวกรรมแห่งชาติ ประจ�าปี 2562

บัตรเครดิต กรุงศรี จับมือ Netflix เอาใจแฟนหนัง ดูฟรีเพิ่มสูงสุด 2 เดือน

กำรทำงพิเศษแห่งประเทศไทย หรือ กทพ. ประกำศร่วมมือกั บ บริษัท ทรู มั น นี่ ประเทศไทย เปิ ด บริ ก ำรสมั ค รใช้ บั ต ร Easy Pass รูปแบบใหม่ ผ่ำนแอพพลิเคชัน TrueMoney Wallet พร้อมจัดส่งอุปกรณ์ฟรี ถึ ง บ้ ำ น อ� ำ นวยควำมสะดวกและกระตุ้ น ให้ผใู้ ช้บริกำรทำงพิเศษเปลี่ยนมำช่องช�ำระ ค่ำผ่ำนทำงพิเศษด้วยระบบเก็บค่ำผ่ำนทำง พิเศษอัตโนมัติ (ETCS) หวังลดควำมคับคั่ง ของกำรจรำจรหน้ำด่ำนลง พร้อมขยำยฐำน ผูใ้ ช้งำนบัตร Easy Pass ไปสูก ่ ลุม ่ คนรุน ่ ใหม่ ในกลุม ่ ผูใ้ ช้งำน TrueMoney Wallet เป็นประจ�ำ กว่ำ 8.4 ล้ำนรำย ดูข้อมูลเพิม ่ เติมเกี่ยวกับ กำรสมัครใช้บัตร Easy Pass ผ่ำนแอพฯ TrueMoney Wallet ได้ที่ www.truemoney. com/easypass

Netflix พร้อมส่งออกควำมเป็นไทย สู่สำยตำชำวโลก จัดงำนแถลงข่ำวเปิดตัว ‘เคว้ง’ (The Stranded) ออริจน ิ อลไทยซีรส ี ์ แนวดรำม่ำ-ไซไฟ-แฟนตำซีเรือ ่ งแรก พร้อม ขนทัพทีมนักแสดงวัยรุน ่ มำกควำมสำมำรถ น�ำโดย ‘บีม’ - ปภังกร ฤกษ์เฉลิมพจน์, ‘แพท’ ชญำนิ ษฐ์ ชำญสง่ำเวช, ‘มำร์ช’ - จุฑำวุฒิ ภัทรก�ำพล, ‘นิง้ ’ - ชัญญำ แม็คคลอรีย ่ ,์ ‘แจ๊ค’ กิ ต ติ ศั ก ดิ์ ปฐมบู ร ณำ, ‘โอบ’ - โอบนิ ธิ วิวรรธนวรำงค์ ฯลฯ ทีไ่ ด้มำร่วมบอกเล่ำถึง กำรเป็นส่วนหนึ่ งของซีรส ี ์สุดพิเศษเรือ ่ งนี้ ณ โรงแรมเดอะ เซนต์ รีจิส กรุงเทพฯ

พระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทรมหำวชิรำลงกรณ พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยูห ่ ว ั ทรงโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมให้ พลเอกบัณฑิตย์ มลำยอริศูนย์ เป็นผู้แทน พระองค์ ในกำรเปิดงำนประชุมใหญ่วศ ิ วกรรม แห่งชำติ ประจ�ำปี 2562 โดยงำนวิศวกรรรม แห่ งชำติ ถือเป็นงำนแสดงเทคโนโลยีทำง วิศวกรรมของประเทศไทยและกำรสัมมนำ วิชำกำรทีห ่ ลำกหลำยสำขำทำงด้ำนวิศวกรรม นั บเป็นงำนจัดแสดงผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ที่ ล� ำ สมั ย และใหญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศ ในกำรนี้ นำงสำวจินตนำ พงษ์ภก ั ดี ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักงำนฝ่ำยสื่อสำรองค์กร บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบช ิ น ่ั แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด และคณะร่วมต้อนรับและมอบมำลัย ณ ห้อง แกรนด์ไดมอนด์ บอลรูม อำคำรอิมแพ็ค ฟอรัม ่

ชีวน ิ ปรำชญำนุพร ผูอ ้ ำ� นวยกำรอำวุโส ฝ่ำยกลยุทธ์กำรตลำด บริษัท บัตรกรุงศรีอยุธยำ จ�ำกัด ร่วมกับ มร. เจโรม บิจโิ อ ผูอ ้ ำ � นวยกำร ฝ่ ำ ยพั น ธมิ ต รด้ ำ นกำรตลำด เน็ ต ฟลิ ก ซ์ จัดโปรโมชันสุดพิเศษส�ำหรับสมำชิกบัตรเครดิต โฮมโปร วีซำ่ แพลทินม ั และสมำชิกบัตรเครดิต กรุงศรี รับสิทธิด ์ ู Netflix ฟรีเพิม ่ สูงสุด 2 เดือน เมือ ่ ช้อปสินค้ำหมวดเครือ ่ งใช้ไฟฟ้ำผ่ำนบัตร ตั้ ง แต่ 30,000 บำทขึ้ น ไปต่ อ เซลล์ ส ลิ ป ทีโ่ ฮมโปร ทุกสำขำ ตัง้ แต่วน ั นีถ ้ งึ 29 มกรำคม 2563 เพียงลงทะเบียนผ่ำนแอพฯ UCHOOSE หรือส่ง SMS พิมพ์ NF เว้นวรรค ตำมด้วย หมำยเลขบัตร 16 หลัก ส่งมำที่ 08-19279999 เพือ ่ ร่วมรำยกำร (เงือ ่ นไขเป็นไปตำม ทีบ ่ ริษัทก�ำหนด) รำยละเอียดเพิม ่ เติม www. krungsricard.com/th/Promotion/Netflix

28


BOARD

TALK OF THE TOWN

อัพเดตแวดวง ข่าวสังคม ที่น่าสนใจ ในรอบสัปดาห์

Digital Delicious ร่ายมนตร์ เสิร์ฟประสบการณ์ดิจิทัลอาร์ต รูปแบบใหม่ในมื้ออาหารสุดล�้า บริ ษั ท Doozy Digilab น� ำ เสนอ ควำมสร้ำงสรรค์ประสบกำรณ์ดจ ิ ท ิ ล ั รูปแบบ ใหม่ดว ้ ย ‘Digital Delicious’ กำรน�ำอำหำร และดิจท ิ ล ั อำร์ตมำรวมไว้ดว ้ ยกัน ในรูปแบบ ของอำหำรไฟน์ไดนิง โดยเชฟชือ ่ ดังมำออกแบบ เมนูทผ ี่ สมผสำนกับเทคโนโลยีดจ ิ ท ิ ล ั ทีจ ่ ด ั เต็ม ทัง้ เทคนิคแบบ 4D Mapping, Multi Touch Screen, Interactive Multi Media ท�ำให้ ได้ทั้งภำพ แสง สี เสียง กลิ่น รส และสัมผัส แบบครบถ้วน กลำยเป็นประสบกำรณ์แบบ Interactive Dining Experiences เต็มรูปแบบ ครัง้ แรกในเมืองไทย โดยตอนนี้มีโปรโมชัน Black Friday ลด 50% ทุกวันศุกร์รอบ 20.30 น. ถึง 12 มกรำคม 2563 ณ โรงแรม โอเรียนเต็ล เรสซิเดนซ์ กรุ งเทพฯ ดูรำยล ะ เอี ย ด ค อ ร์ ส อ ำ ห ำ ร แ ล ะ จ อ ง โ ต๊ ะ ที่ www.digitaldelicious.net

PRAVANA เปิดตัว 12 ซาลอน มาตรฐาน ‘PRAVANA Preferred’

The New Volvo V60 T8 Twin Engine Plug-in Hybrid

‘อยากกู่ร้องบอกรักให้ก้อง โลก’ นิยายรักยอดขายสูงกว่า 3 ล้านเล่ม

Amazing Thailand Countdown 2020

PRAVANA แบรนด์ผลิตภัณฑ์ทำ� สีผม อันดับ 1 จำกประเทศสหรัฐอเมริกำ กำรันตีดว้ ย ผลโหวตจำกช่ำงผมมืออำชีพ 5 ปีตด ิ ต่อกัน จัดงำนอย่ำงยิง่ ใหญ่ ในธีม Bangkok, The City of Colors by ‘PRAVANA’ ทีบ ่ ริเวณ Zen Event Gallery ชัน ้ 8 เซ็นทรัลเวิลด์ ภำยในงำนมีกำรโชว์เทคนิคกำรท�ำสีผมแบบ hands-on โดย สไตลิสต์ชอ ื่ ดังจำกอเมริกำถึง 2 ท่ำน ทีใ่ ห้เกียรติ บินตรงมำ เพื่อมอบควำมรูใ้ ห้กับสไตลิสต์ ชำวไทยโดยเฉพำะ รวมถึงกำรแสดงแฟชัน ่ โชว์ สีผมอันทรงพลังด้วยสีสน ั แห่งศิลปะทีไ่ ม่เหมือน ใครของ PRAVANA พร้อมเปิดตั วซำลอน ในกรุ ง เทพฯ ที่ ไ ด้ ร บ ั มำตรฐำนพรำวำน่ ำ พรีเฟอร์ ‘PRAVANA Preferred’ ติดตำม ควำมเคลื่ อนไหวกิ จกรรม และผลิ ตภั ณฑ์ เกีย ่ วกับ PRAVANA ประเทศไทยได้ที่ www. facebook.com/PravanaThailand

วอลโว่ ส่งเซอร์ไพรส์ใหม่ครัง้ ยิง ่ ใหญ่ ปลำยปี กับสุดยอดยนตรกรรมสวีดช ิ รถยนต์ วอลโว่ วี 60 พรีเมี่ยม เอสเตท ใหม่ ภำยใต้ กำรดี ไซน์ ส ไตล์ ส แกนดิ เนเวี ย นเรีย บหรู ที่จะสะกดทุกสำยตำด้ วยนวัตกรรมกำรขับขีส ่ ด ุ ล�ำ กับเครือ ่ งยนต์ทรงพลัง T8 Twin Engine Plug-in Hybrid ดีไซน์ใหม่ทจ ี่ ะทลำย กรอบยนตกรรมแบบเดิ ม พร้อ มหลั ง คำ พำโนรำมิก ซันรู ฟ เปิดมุมมองใหม่สู่กำรเดิ นทำงที่ เ ปิ ด รั บ ทั ศ นี ยภำพรอบด้ ำ น สะดวกสบำยและกว้ ำ งขวำงกั บ ปริม ำตร ควำมจุสัมภำระที่เพิ่มขึ้นถึง 28% เปิดตัว อย่ำงเป็นทำงกำรครัง้ แรกในประเทศไทย ที่งำน Thailand International Motor Expo 2019 ระหว่ำงวันที่ 29 พฤศจิกำยน10 ธันวำคม 2562

Maxx Publishing ในเครือโมโน กรุป ๊ น�ำเสนอนิยำยรักสุดคลำสสิกทีท ่ ำ � ยอดขำย ได้ ม ำกกว่ ำ 3 ล้ ำ นเล่ ม จนถู ก สร้ำ งเป็ น ภำพยนตร์และซีรส ี ญ ์ ป ี่ ุน ่ ชือ ่ ดัง โดยมีขอ ้ คิด ในกำรด�ำเนินชีวิตและกำรก้ำวข้ำมควำมเจ็ บ ปวดที่ ทุ ก คนต้ อ งเผชิ ญ ท� ำ ให้ เข้ ำ ใจ สิ่งที่เกิดขึ้น และปล่อยวำง เหมำะส�ำหรับ เอำไปใช้ในสังคมปัจจุบัน ภำยใต้ หนั งสือ อยำกกู่รอ ้ งบอกรักให้ก้องโลก โดยนักเขียน นิยำยญี่ปุ่น เคียวอิจิ คำตำยำมะ แปลไทย โดย ฤทั ย วรรณ เกษสกุ ล โดยเนื้ อ เรื่อ ง จะเป็ น เรื่ อ งรำวควำมรั ก ของหนุ่ ม สำว ที่ ไ ด้ พ ำนพบและผู ก พั น กั น อย่ ำ งลึ ก ซึ้ ง หำกแต่ พ วกเขำไม่ อ ำจอยู่ ร ่ว มกั น ได้ แ ต่ เก็บควำมคิดถึงไว้ในควำมทรงจ�ำตลอดไป (รำคำ 299 บำท)

ยุทธศักดิ์ สุภสร ผูว้ ำ่ กำรกำรท่องเทีย ่ ว แห่ ง ป ร ะ เท ศ ไท ย พ ร้ อ ม ด้ ว ย สุ พ จ น์ ชัยวัฒน์ศริ ก ิ ล ุ ผูบ ้ ริหำรไอคอนสยำม รวมพลัง พันธมิตรทั้งภำครัฐและเอกชน ชุมชนและ ผู้ประกอบกำรสองฝั่งริมแม่น�ำเจ้ำพระยำ ร่วมสร้ำงสรรค์มหำปรำกฏกำรณ์งำนเฉลิมฉลอง ส่ ง ท้ ำ ยปี เก่ ำ ต้ อ นรับ ปี ใหม่ อ ย่ ำ งยิ่ ง ใหญ่ ตระกำรตำระดับโลก Amazing Thailand Countdown 2020 ณ ลำนริเวอร์พ ำร์ค ไอคอนสยำม เตรียมเนรมิตมหกรรมควำมบันเทิงและไฮไลต์สุดอลังกำรตลอดค�ำคืน ส่ ง ท้ ำ ยปี เ ก่ ำ ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ เพื่ อ ตอกย� ำ ให้ แ ม่ น� ำ เจ้ ำ พระยำสำยประวั ติ ศ ำสตร์นี้ เป็ น National Iconic Landmark และ จุดหมำยปลำยทำงส�ำคัญแห่งกำรท่องเทีย ่ ว ของโลก

ISSUE 618

25 NOV 2019

29


เรือ ่ ง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ

EDITOR’S NOTE

ทุกข์ - ตัวตนในโซเชียลมีเดียเป็นทุกข์ ทุกข์จะดับไปได้เพราะชาติดับ

ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

ชาติ - การเกิดขึ้นของตัวตนในโซเชียลมีเดีย ชาติจะดับไปได้เพราะภพดับ ภพ - ภาระหน้าที่ ที่จะต้องคอยโพสต์แสดงความเห็นเรื่องโน้นเรื่องนี้ตลอดทั้งวัน ภพจะดับไปได้เพราะอุปาทานดับ

เวียนว่ายตายเกิด

อุปาทาน - ความยึดติดในตัวตน ที่เหมือนว่าด�าเนินมาอย่างต่อเนื่องและคงที่ อุปาทานจะดับไปได้เพราะตัณหาดับ ตัณหา - เพราะความอยากได้ไลก์ อยากได้แชร์ อยากได้คอมเมนต์ช่น ื ชม ตัณหาจะดับไปได้เพราะเวทนาดับ เวทนา - ความรู้สึกโกรธเกลียด รักหลง หรือเฉยๆ กับทุกเรื่องราวที่ผ่านเข้ามา เวทนาจะดับไปได้เพราะผัสสะดับ ผัสสะ - การรับรู้ของเราต่อเรื่องราวมากมาย ด้วยเทคโนโลยีท่ส ี ะดวกรวดเร็ว ผัสสะจะดับไปได้เพราะสฬายตนะดับ สฬายตนะ - ช่องทางการเปิ ดรับสื่อแบบตลอดเวลา บนฝ่ามือ ทุกที่ ทุกเวลา สฬายตนะจะดับไปได้เพราะนามรูปดับ นามรูป - ลองปิ ดสมาร์ตโฟนซะบ้าง นามรูปจะดับไปได้เพราะวิญญาณดับ วิญญาณ - ก็จะค่อยๆ คลายความหมกมุ่น เสพติด ผูกพันกับตัวตนในนี้ วิญญาณจะดับไปได้เพราะสังขารดับ สังขาร - ไม่เอาอารมณ์ไปปรุงแต่งกับเรื่องไร้สาระรายวัน สังขารจะดับไปได้เพราะอวิชชาดับ อวิชชา - ดับความไม่รู้ ว่าทั้งหมดที่เล่นๆ กันมา ไม่มีอะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย

30


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.