a day BULLETIN 589

Page 1

TODAY EXPRESS PRESENTS

06 MAY 2019

590 589 588


F E AT U R E

LONG LIVE THE KING

02 issue 589 06 may 2019


ทรงพระเจริ ญ พระราชพิธบ ี รมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 10 เป็นพระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขึ้นเป็น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว อย่ า งสมบู ร ณ์ ต ามโบราณราชประเพณี เกิ ด ขึ้ น ระหว่ า งวั น ที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ณ โอกาสอันเป็นมหามงคลยิ่งนี้ a day BULLETIN ขอน้อมน�าพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิ ร าลงกรณ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว มาเผยแพร่ เ พื่ อ ให้ พ สกนิ ก รชาวไทยได้ รั บ รู้ ถึ ง พระราชปณิ ธ าน พระปรี ช าสามารถ พระราชกรณียกิจ และแง่มุมทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจของประเทศไทย

03 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin


04 issue 589 06 may 2019


ธ ทรงเป็ น ดวงใจไทยทั้ ง ชาติ ตัง้ แต่เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2515 ได้มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เพื่อทรงแต่งตั้ง สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ขึน้ เป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เป็นพระรัชทายาทเพื่อทรงสืบราชสันตติวงศ์ พระนามเมื่อแรกประสูติ ‘สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธ�ารงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิ ต ลาดุ ล เดช ภู มิ พ ลนเรศวรางกู ร กิ ต ติ สิ ริ สมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร’ ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ประสู ติ ณ พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน ในพระราชวังดุสติ เมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม พุทธศักราช 2495 เวลา 17 นาฬิกา 45 นาที ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 6 ค�่า เดือน 9 ปีมะโรง จัตวาศก อธิกวาร จุลศักราช 1314 ค�าบอกเล่าของ หม่อมราชวงศ์สุมนชาติ สวัสดิกลุ เรือ่ งพระประสูตกิ าล จากหนังสือ สมเด็จพระบรมโอรสาธิ ร าช สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร กรมศิ ล ปากรจั ด พิ ม พ์ เฉลิ ม พระเกี ย รติ เ นื่ อ งใน พระราชพิธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้ า ฟ้ า มหาวชิ ร าลงกรณ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร วันที่ ๒๘ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ “วันนี้ครึ้มฟ้าครึ้มฝนตั้งแต่เช้า ฝนไม่ได้ตก มานาน พวกชาวไร่ชาวนาเห็นเค้าฝนต่างก็พากัน ชืน่ ชมยินดี เพราะตัง้ แต่เข้าพรรษามาไม่คอ่ ยจะมีฝน เลย แห้งแล้งไปทัว่ เกือบทุกต�าบลในประเทศนี้ ชาวบ้าน พากันสนใจในเรือ่ งฝน เมือ่ ไรจะตกสักที จะได้ชมุ่ ชืน่ กันบ้าง วันนี้ตรงกับวันจันทร์ ราวๆ 9 นาฬิกาเศษ ได้ยนิ เสียงลือกันว่าสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี จะประสูตเิ พราะประชวรพระครรภ์แล้ว ที่พระที่นั่ง อั ม พรสถาน พระราชวั ง ดุ สิ ต อั น เป็ น ที่ประทับ มีการเคลื่อนไหวเล็กน้อย และพอสายเข้าก็มีผู้คน เข้ า ออกกั น มากเข้ า ราชสั ก ขี ที่ ท รงพระกรุ ณ า โปรดเกล้ า ฯ แต่ ง ตั้ ง ไว้ ก็ ไ ปประชุ ม พร้ อ มกั น คณะนายแพทย์ก็รออยู่อย่างพร้อมเพรียง” จิรภา อ่อนเรือง เขียนถึงสถานการณ์โดยรอบ พระที่นั่งอัมพรสถานในวันประสูติว่า จากหนังสือ พระราชพิธีหมั้น อภิเษกสมรส พระประวัติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ พระวรชายา ประมวลภาพ พระฉายาลักษณ์โดยละเอียด ส�านักพิมพ์พีจี เพรส พ.ศ. 2520 “ที่ พ ระที่ นั่ ง อั ม พรสถานนี้ บริ เ วณชั้ น ใน ที่ติดต่อกับพระที่นั่งมีต้นรวงผึ้งหลายต้น พระบาท-

05 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

สมเด็ จ พระพุ ท ธเจ้ า หลวง (พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) โปรดต้นรวงผึ้งมาก ทรงปลูกไว้ด้วยพระหัตถ์ “เมื่ อ วั น ที่ 28 กรกฎาคม 2495 ก่ อ นที่ ทูลกระหม่อมฟ้าชายวชิราลงกรณฯ จะประสูติ ท้องฟ้า ครึ้ม อากาศไม่ร้อนจัด ต้นรวงผึ้งทุกต้นออกดอก บานสะพรัง่ พร้อมกันหมด และฝนโปรยเป็นละออง” เช้าวันนัน้ หน่วยงานต่างๆ พร้อมทีจ่ ะปฏิบตั ิ งานตามราชประเพณีได้ทนั ที ส่วนทางวิทยุกระจายเสียงของรัฐบาลก็เริม่ ประกาศข่าวเตรียมการประสูติ ท� า ให้ ป ระชาชนหลั่ ง ไหลไปสู ่ ห น้ า ลานพระที่ นั่ ง อนันตสมาคมไม่ขาดสาย ทางวิทยุได้นัดหมาย กั บ ประชาชนในการที่ จ ะแจ้ ง ข่ า วการประสู ติ อย่ างละเอียด พร้ อ มถ่ ายทอดเสียงจากภายใน พระราชฐานให้ประชาชนได้รับทราบ พอตกเย็น ผู้คนก็มารอกันอย่างคับคั่งจนถึง บริเวณเขาดินวนา คนหนาแน่นราวกับวันอาทิตย์ เขามาท�าไม เขามาเพื่อดูให้ใกล้ที่สุด ในวังก็วิ่งกัน วุ่นวาย มหาดเล็กวิ่งกันสับสน นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ ผู้ถวายการประสูติก็เข้าประจ�าที่ สักครู่ก็ประสูติ พระราชกุมาร เวลา 17 นาฬิกา 45 นาที จิ ร ภา อ่ อ นเรื อ ง เขี ย นถึ ง นายแพทย์ หม่ อ มหลวงเกษตร สนิ ท วงศ์ ว่ า ได้ ชั่ ง น�้ า หนั ก พระองค์สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเมื่อแรกประสูติ หนักประมาณ 6 ปอนด์ สมเด็จพระอัยยิกาได้เสด็จ ไปทอดพระเนตร รับสั่งว่าเหมือนทูลกระหม่อม สมเด็จพระราชบิดา พระราชนัดดาทรงมีพระฉวี ขาวมาก พระโอษฐ์เป็นสีชมพูสด เมือ่ ทรงเจริญพระชนมายุได้ 1 เดือน กับ 18 วัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบ พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ เมื่อวันที่ 14 และวันที่ 15 สิงหาคม พุทธศักราช 2495 ประกอบ พระราชพิธี ณ พระทีน่ งั่ อัมพรสถาน พระราชวังดุสติ ในพระราชพิธีนี้ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิ ร ญาณวงศ์ ได้ มี พ ระลิ ขิ ต ไปถวาย พระพรชัยมงคลในนามแห่งคณะสงฆ์ไทย เนื่องใน อภิลกั ขิตสมัยมหามงคลสมโภชเดือนและขึน้ พระอูด่ ว้ ย หม่อมราชวงศ์สมุ นชาติ สวัสดิกลุ ได้กล่าวถึง พิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ไว้ดังนี้ “เนื่องจากการประสูติเช่นนี้และการสมโภช เช่นนี้ ไม่ได้มกี นั มานานหลายสิบปีแล้ว เป็นธรรมดา อยู่เองเมือ่ จะรือ้ ฟืน้ ขึน้ มาท�ากันอีก ก็จา� เป็นต้องได้รบั การปรับปรุงให้เหมาะสมัยขึน้ พระบาทสมเด็จพระ-

ปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช แม้ จ ะทรงได้ รั บ การศึกษามาจากต่างประเทศก็จริง แต่ยงั ทรงเห็นอยู่ เหมือนกันว่าประเพณีบางอย่างทีม่ เี หตุมผี ล ทีเ่ คยท�า มาแต่โบราณ อันควรจะรักษาไว้ก็ยังมี สิ่งใดที่ทรง เห็นว่าเป็นเรือ่ งล้าสมัยไม่เหมาะสมแก่กาละ ก็โปรดให้ แก้ไขเสียบ้าง ในพระราชพิธสี มโภชเดือนคราวนี้ ได้ทรง ปรึกษาพระวรวงศ์เธอกรมหมืน่ พิทยาลาภพฤฒิยากร ประธานองคมนตรีสมัยนัน้ ถึงการทีจ่ ะแก้ไขราชประเพณี ให้รดั กุมยิง่ ขึน้ และเสด็จในกรมพระองค์นกี้ ไ็ ด้ถวาย ค�าปรึกษาให้เป็นไปตามพระราชประสงค์” เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จมายังพระอู่ ทรงวางราชภัณฑ์ที่ พระแสงเพชรน้อย (มีดปลอกฝังเพชร) พระแสงปืน นพรัตน์ (ปืนพกโบราณประดับพลอยเก้าสี) ทองค�าแท่ง (หนักหนึง่ ร้อยบาท) เงินแท่ง (หนักยีส่ บิ ห้าบาท) เงินบาท ฯลฯ ลงในพระอูต่ ามราชประเพณี แล้วพระมหาราชครู ก็เชิญเสด็จทูลกระหม่อมฟ้าชายขึ้นพระอู่ จนเมื่อทรงเจริญพระชนมายุได้ 1 พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระราชทาน พระนาม สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นผูต้ งั้ ถวายดวงพระชาตา อ้างถึงหลักฐาน การพระราชทานพระนาม สมเด็จเจ้าฟ้าชายวชิราลงกรณ ของสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธ�ารงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร โดยยึดหลักในพระราชตระกูลเป็นเกณฑ์ อั ญ เชิ ญ พระนามฉายาในพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหามงกุฎฯ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ผูท้ รงเป็น พระปัยกาธิราช ซึง่ ปรากฏในขณะทรงพระผนวชว่า ‘วชิรญาณะ’ ถือว่าเป็นพระมงคลนาม ดังจะเห็นได้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระนามแด่ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชายทัง้ สองพระองค์ ซึ่งทรงด�ารงต�าแหน่งพระสยามมกุฎราชกุมารว่า สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช เจ้ า ฟ้ า วชิ รุ ณ หิ ศ และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้าวชิราวุธ ล้ ว นแล้ ว แต่ มี พ ระนามน� า ด้ ว ย ‘วชิ ร ะ’ ทั้ ง นั้ น และพระนามตอนท้ายว่า ‘อลงกรณ์’ ก็เป็นพระนาม ของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ คือ ‘จุฬาลงกรณ์’ น�ามาต่อกันเข้าเพื่อให้มีพระนามทั้งสองพระองค์ รวมอยู่ในพระนามนี้


สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ เสด็จพระราชด�าเนินกลับถึงท่าอากาศยานดอนเมือง เมื่อเวลา 17.45 นาฬิกา วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ท่ ามกลางประชาชนนิสิต นักศึกษา จ� า นวนนับ พัน ถวายการต้อนรับอย่างคับคั่ง เมื่อย่างพระบาทแรกลงสู่ พื้นดิน อย่างที่ทรงปฏิบัติตลอดมา ทรงหมอบกราบ ลงยังฝ่าพระบาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมือ่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เนือ่ งในโอกาสทรง เจริญพระชนมายุครบ 20 พรรษา ทรงบรรลุนติ ภิ าวะตาม กฎหมาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มให้ ตั้ ง การพระราชพิธสี ถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ให้ด�ารงพระอิสริยยศ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร ตามโบราณขัตติยราชประเพณี พระนามาภิไธยตามจารึก พระสุ พ รรณบั ฏ ว่ า สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สิริกิตยสมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จักรีนเรศยุพราชวิสุทธิ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ได้ทรงถวายสัตย์ปฏิญาณในการพระราชพิธีถือน�า้ พระพิพัฒน์สัตยา ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม “ข้ า พระพุ ท ธเจ้ า ขอพระราชทานกระท� า สัตย์ ปฏิญาณสาบานต่อประเทศชาติและประชาชนชาวไทย เฉพาะพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เฉพาะพระพุทธมหามณีรตั นปฏิมากร ท่ามกลางสันนิบาตนีว้ า่ ข้าพเจ้าผูเ้ ป็น สยามมกุฎราชกุมาร จะรักษาเกียรติยศและอิสริยศักดิ์ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานไว้เสมอด้วย ชีวิต จะภักดีต่อชาติบ้านเมือง จะซื่อสัตย์ต่อประชาชน จะปฏิบัติภาระหน้าที่ทุกอย่าง โดยเต็มก�าลังสติปัญญา ความสามารถ และโดยความเสียสละ เพื่อความเจริญ สงบสุ ข และความมั่ น คงไพบู ล ย์ ข องประเทศไทย จนตราบเท่าที่ชีวิตร่างกายจะหาไม่”

พระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร

พระปรี ช าสามารถมากมายหลายด้ า น

พระปณิ ธ านเข้ ม แข็ ง แน่ ว แน่

สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ทรงเข้าศึกษาชั้นอนุบาลปีที่ 1 เมื่อเดือนกันยายน พุ ท ธศั ก ราช 2499 พระชนมายุ 4 พรรษา ณ โรงเรียนจิตรลดา ชัน้ อนุบาล ตัง้ อยูท่ พี่ ระทีน่ งั่ อุดร ในพระราชวังดุสิต ต่อมาโรงเรียนย้ายไปตั้งใน บริเวณพระราชฐานสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ทรงศึ ก ษาจนถึ ง ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 1 จึ ง เสด็ จ ไปทรงศึ ก ษาต่ อ ที่ ป ระเทศอั ง กฤษ ณ โรงเรียนคิงส์มีด เมืองซีฟอร์ด แคว้นซัสเซกซ์ เมือ่ เดือนมกราคม พ.ศ. 2509 และในเดือนกันยายน ปีเดียวกันนัน้ ได้เสด็จไปทรงศึกษาทีโ่ รงเรียนมิลฟิลด์ เมืองสตรีท แคว้นโซเมอร์เซต พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชด�าริเห็นว่า การศึกษาวิชาทหาร ในประเทศออสเตรเลีย มีหลักสูตรการสอนกว้างขวาง และมีการฝึกอบรมเข้มงวดอีกประการ ดังนัน้ ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2513 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ เสด็จจากประเทศอังกฤษไปทรงศึกษาวิชาการทหาร ณ ประเทศออสเตรเลีย ในชัน้ แรกทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหาร คิงส์สกูล ต�าบลพารามัตตา นครซิดนีย์ จนถึง ในภาคแรกแห่งปีการศึกษา พ.ศ. 2515 ก็เสด็จเข้า ทรงศึกษาในวิทยาลัยการทหารที่กรุงแคนเบอร์รา หลั ก สู ต รของวิ ท ยาลั ย การทหารแห่ ง นี้ ก�าหนดศึกษา 4 ปี แบ่งออกเป็น 2 ภาค คือ ภาควิ ช าการทหาร รั บ ผิ ด ชอบและด� า เนิ น การ โดยกองทัพบกออสเตรเลีย ซึง่ นักเรียนทีส่ า� เร็จตาม หลักสูตรนีจ้ ะได้เป็นนายทหารยศร้อยโท ส่วนอีกภาค หนึง่ เป็นการศึกษาวิชาสามัญ หลักสูตรชัน้ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ รับผิดชอบการวาง หลักสูตร แบ่งออกเป็นสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ อักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ นักเรียนนายร้อย ทีผ่ า่ นหลักสูตรดังกล่าวจะได้รบั ปริญญาตรีตามสาขา วิชาที่ตนเลือกศึกษาด้วย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ ทรงเลือกศึกษาในสาขาวิชา อักษรศาสตร์ และทรงสนพระทัยในวิชาประวัตศิ าสตร์ และเศรษฐศาสตร์เป็นอย่างมาก

การขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์พระองค์ ใหม่ของไทย ทรงขึน้ ครองราชย์มาตัง้ แต่วนั ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ตามบทบัญญัติของกฎมนเทียรบาลว่าด้วย การสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 ถือว่า สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 สวรรคต คือวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 รัฐธรรมนูญได้กา� หนดกระบวนการไว้ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. ทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรีแจ้งเรือ่ งไปยังประธาน รัฐสภา 2. ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาและชี้แจง ต่อที่ประชุมเพื่อรับทราบ 3. ประธานรัฐสภาอัญเชิญองค์พระรัชทายาท ขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์สืบไป 4. เมื่ อ พระองค์ ท รงรั บ ให้ ป ระธานรั ฐ สภา ประกาศให้ประชาชนทราบ เมื่อเสร็จสิ้น 4 ขั้นตอนนี้ แล้ว จะต้องเรียกพระองค์ว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จนกว่าจะมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก จึงจะเรียกว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยมีพระราชอ� านาจ เท่ากันทุกประการ ซึง่ ทัง้ หมดนีจ้ ะต้องมีการประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา ในการอัญเชิญขึน้ ทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ ครั้งนี้ อ้างอิงตามกฎหมาย 3 ฉบับ คือ บทบัญญัติ ของกฎมนเที ย รบาล ว่ า ด้ ว ยการสื บ ราชสั น ตติ ว งศ์ พุทธศักราช 2467, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2557 มาตรา 2 วรรค 2 ว่ า ด้ ว ยพระมหากษั ต ริ ย ์ ประกอบกั บ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 23 วรรค 1 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จขึ้นทรงราชย์ในขณะที่พระองค์ มีพระชนมพรรษา 64 พรรษา ปฐมบรมราชโองการฉบับแรกในรัชกาลที่ 10 เกิดขึ้นในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 โดยมีใจความว่า ระหว่ า งที่ ยั ง ไม่ มี ก ารถวายพระปรมาภิ ไ ธยเนื่ อ งใน พระราชพิ ธีพ ระบรมราชาภิ เ ษก สมควรให้ เ ฉลิ ม พระปรมาภิไธยเป็นการชัว่ คราว ว่า ‘สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร’ พระราชพิ ธีบ รมราชาภิ เ ษกในรั ช กาลที่ 10 เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร ขึ้ น เป็ น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อย่างสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

06 issue 589 06 may 2019


07 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin


พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสน ิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ทรงบ�าเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการเพือ ่ ประโยชน์ แก่บา้ นเมืองตัง้ แต่ยงั ทรงพระเยาว์ ทรงทราบและเข้าพระราชหฤทัยถึงความเป็นอยูแ ่ ละความต้องการของราษฎรในแต่ละท้องถิน ่ ความเป็นอยู่ และทุกข์สุขของราษฎรเป็นสิ่งที่ทรงค�านึงและติดตามสม�่าเสมอ มีพระมหากรุณาธิคุณให้พสกนิกรเข้าเฝ้าฯ อย่างใกล้ชิดโดยไม่ถือพระองค์ ทรงสืบสานพระราชปณิธานแห่งสมเด็จพระบรมชนกนาถและสมเด็จพระบรมราชชนนี เพราะพระองค์ทรงตระหนักในพระราชหฤทัยว่า ความทุกข์ของราษฎรคือความทุกข์ของพระองค์เช่นกัน

01

02

03

04

ด้ า น การแพทย์ แ ละการสาธารณสุข

ด้านการกีฬา

ด้านการพระศาสนา

ด้านเกษตรกรรม

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงตระหนักว่า สุขภ าพพลานามัยอันดีของประชาชนเป็น ปัจจัยส�าคัญในการสร้างสรรค์ทรัพยากรบุคคล อันมีคณ ุ ภาพไว้เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ จึ ง ทรงสนพระราชหฤทั ย ในการประกอบ พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทั้ง ทางตรงและทางอ้อม พระองค์ทรงพระอุตส าหะเสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเยี่ยม โรงพยาบาลทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคของประเทศ พระราชทานพระราชทรัพย์ สนับ สนุน ให้ มี อุปกรณ์การแพทย์ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ทที่ นั สมัย เพื่ อสามารถให้บริการที่ดีแก่ประชาชน และ ทรงรับผู้ป่วยยากไร้ไว้ในพระราชานุเคราะห์ อย่างสม�่าเสมอด้วยพระราชหฤทัยเปี่ยมด้วย พระเมตตาธรรม ทรงเป็ น แบบอย่ า งของ การท�าความดี พระเกียรติคณ ุ จึงเป็นทีป่ ระจักษ์ แก่ประชาชนชาวไทยและนานาชาติ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระราชวโรกาสให้นกั กีฬาไทยผูน้ า� ความส�าเร็จ น�าเกียรติยศมาสู่ประเทศ เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับพระราชทานรางวัลนักกีฬา ยอดเยี่ยม รับพระราชทานพร และทรงแสดง ความชืน่ ชมยินดี ซึง่ นักกีฬาของไทยต่างส�านึก ในพ ระมหากรุณาธิคุณ มีความปลาบปลื้ม และมีขวัญก�าลังใจที่จะน�าความส�าเร็จและ น�าเกียรติยศมาสู่ตนเอง สู่วงศ์ตระกูล และ ประเทศชาติต่อไป ทรงเชิญชวนประชาชน ทั่ว ประเทศเป็นแขกของพระองค์ ร่วมปั่น จักร ยานอย่างพร้อมเพรียงกันในกิจกรรม เฉลิมพระเกียรติ ‘ปั่นเพื่อแม่ Bike For Mom’ และ ‘ปั่นเพื่อพ่อ Bike For Dad’ พร้อมทั้ง พระราชทานเสื้ อ ส� า หรั บ ใส่ ป ั ่ น จั ก รยาน เข็มกลัดของขวัญทีร่ ะลึก น�้าดืม่ พระราชทาน ภาพฝีพระหัตถ์ และมีพระราชกระแสขอบใจ พสกนิกรในกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงแสดงพระองค์ เป็นพุทธมามกะที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมือ่ วันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2509 และมีพระราชศรัทธาทรงออกผนวชในพระบวรพระพุทธศาสนา เมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 ทรงศึกษา และปฏิ บั ติ พ ระธรรมวิ นั ย อย่ า งเคร่ ง ครั ด นอกจากนัน้ ได้เสด็จพระราชด�าเนินแทนพระองค์ ไปปฏิบัติพระราชกิจทางศาสนาเป็นประจ�า เสมอ ทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศลในวันส�าคัญ ทางพระพุทธศาสนา และการถวายกฐินหลวง ตามวัดต่างๆ พระองค์ได้ทรงท�าการบินเทีย่ วบิน มหากุศลในต�าแหน่งนักบินที่ 1 เทีย่ วบินพิเศษ ของบริ ษั ท การบิ น ไทย จ� า กั ด (มหาชน) น�าคณะพุทธศาสนิกชนไปสักการะปูชนียสถาน ส�าคัญ และยังทรงบริจาคพระราชทรัพย์เพื่อ ประโยชน์ทางศาสนา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงบ�าเพ็ญ พระราชกรณียกิจเพือ่ ส่งเสริมด้านการเกษตรกรรมอันเป็นอาชีพหลักของปวงชนชาวไทย ตลอดมา ทรงมีพระราชด�าริให้จดั ตัง้ โครงการ คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2545 เพือ่ ช่วยเหลือราษฎรในท้องถิน่ ให้ได้มเี ทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม่ และน�า มาปรั บ ปรุ ง งานเกษตรกรรมของตนให้ ไ ด้ ผลผลิตมากขึ้น และได้เสด็จพระราชด�าเนิน ไปทรงเป็นประธานในการท�านาสาธิตโดยใช้ ปุ๋ยหมัก ณ ต�าบลดอนโพธิ์ทอง อ�าเภอเมือง จั ง หวั ด สุ พ รรณบุ รี เมื่ อ วั น ที่ 28 มี น าคม พ.ศ. 2529 ทรงปฏิบัติการสาธิตการท� านา ด้วยพระองค์เอง ทรงถอดฉลองพระบาท ถลกพระสนับเพลา ทรงลุยโคลนหว่านพันธุ์ ข้าวปลูกและปุ๋ยหมักในแปลงนาสาธิตโดย มิได้มีก�าหนดการไว้ก่อน ยังความชื่นชมและ ซาบซึง้ ในพระราชจริยาวัตรแก่บรรดาข้าราชการ และประชาชนทีม่ าเฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาท ในพิธีการวันนั้นเป็นอย่างยิ่ง

ทีม ่ า : จดหมายเหตุเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เนือ ่ งในโอกาส พ ระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๕ รอบ ๒๘ กรกฏาคม ๒๕๕๕, หนังสือสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยกระทรวงวัฒนธรรม

H.M. King Maha Vajiralongkorn พระปรมาภิไธยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10

คณะพราหมณ์ ก ราบบั ง คมทู ล พระปรมาภิ ไ ธยของ สมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ 10 ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2562 พระนามว่า ‘พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสน ิ ทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว’ โดยอ่านออกเสียงว่า พระ-บาด-สม-เด็ด-พระ-ปอ-ระ-เมนทะ-ระ-รา-มา-ธิ-บอ-ดี-ศรี-สิน-ทอน-มะ-หา-วะ-ชิ-รา-ลงกอน-พระ-วะ-ชิ-ระ-เกล้า-เจ้า-อยู-่ หัว

The Symbolic Tree of King Rama X พรรณไม้ประจ�ารัชกาลที่ 10

08 issue 589 06 may 2019


05

06

07

08

ด้านการศึกษา

ด้านการต่างประเทศ

ด้านสังคมสงเคราะห์

ด้านการทหาร

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทราบดีว่า เยาวชนในถิน่ ทุรกันดารยังด้อยโอกาสในการศึ ก ษา ทรงรั บ โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาในถิ่ น ทุรกันดารไว้ในพระราชูปถัมภ์ พระราชทาน วัสดุอุปกรณ์การศึกษาอันทันสมัย และทรง ส่งเสริมให้โรงเรียนด�าเนินโครงการอันเป็น ประโยชน์ แ ก่ นั ก เรี ย น ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา พระองค์ได้ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชด�าเนิน แทนพระองค์ไปพระราชทานปริญญาบัตรแก่ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในปี พ.ศ. 2552 ได้มพี ระราชด�าริให้จดั ตัง้ มูลนิธทิ นุ การศึกษา พ ระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ส ยามมกุฎราชกุมาร เพื่อเสริมสร้างโอกาส ทางการศึกษาแก่เยาวชนผู้ยากไร้แต่เรียนดี ความประพฤติ ดี ให้ ไ ด้ ศึ ก ษาในระดั บ มัธยมศึกษาตอนปลายทั้งสายสามัญและ สายอาชี พ ต่ อ เนื่ อ งไปจนจบปริ ญ ญาตรี เพื่อเป็นการสร้างทรัพยากรบุคคลของชาติ ให้มีคุณภาพ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประกอบ พระราชกรณี ย กิ จ ส� า คั ญ ๆ ในการเจริ ญ สัมพันธไมตรีกบั ประเทศต่างๆ เสมอมา ได้เสด็จพระราชด�าเนินแทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ ในรั ช กาลที่ 9 ไปทรงเยื อ นมิ ต รประเทศทั่ ว ทุ ก ทวี ป อย่ า ง เป็นทางการเป็นประจ�าทุกปีๆ ในการเสด็จ พระราชด�าเนินไปประเทศใดนัน้ จะทรงเตรียม พระองค์ด้วยการศึกษาเกี่ยวกับประเทศที่จะ เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเยือนอย่างละเอียด ทุกครัง้ ระหว่างประทับอยูใ่ นประเทศดังกล่าว ก็จะทรงมุง่ มัน่ เจริญสัมพันธไมตรีและมีความสนพระราชหฤทัยที่จะเสด็จพระราชด�าเนิน ไปทอดพระเนตรกิจการด้านต่างๆ เพือ่ ทรงน�า กลับ มาปรับและประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดในการพัฒนาประเทศ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา ห่วงใยในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชน โดยเฉพาะเยาวชนทีด่ อ้ ยโอกาสและขาดแคลน ทรงพระกรุณาพระราชทานเครือ่ งอุปโภคบริโภค เครื่ อ งกี ฬ า เครื่ อ งดั บ เพลิ ง โปรดเกล้ า ฯ ให้ก รมทหารในบังคับ บัญชาของพระองค์ ร่วมกับประชาชนพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทั้งยัง พระราชทานพระราชทรัพย์สนับสนุนโครงการ ของชุมชน เพือ่ ให้เยาวชนผูด้ อ้ ยโอกาสเหล่านัน้ เติบโตเป็นพลเมืองดีและเป็นทรัพยากรบุคคล ที่ มี คุ ณ ค่ า ในการพั ฒ นาประเทศต่ อ ไปใน อนาคต เมื่อประเทศชาติประสบกับภัยพิบัติ ธรรมชาติต่างๆ พระองค์ได้ทรงพระราชทาน พระราชานุเคราะห์แก่ราษฎรผู้ประสบภัย มาโดยตลอด ได้ เ สด็ จ พระราชด� า เนิ น ไป ทรงเยีย่ มในสถานทีป่ ระสบภัยด้วยพระองค์เอง และทรงติดตามความเป็นอยูข่ องผูป้ ระสบภัย อย่างใกล้ชิด

โดยต้นรวงผึง้ ยังจัดเป็นพืชถิน ่ เดียว (endermic plant) มีถน ิ่ ก�าเนิดทีป ่ ระเทศไทย พบได้มากทางภาคเหนือ เมือ ่ ดอกสีเหลืองบานพร้อมกันทัง้ ต้นจะดูงดงามอร่ามตา และให้กลิน ่ หอมตลอดทัง้ วัน

ทีม ่ า : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ ์ ช ื , ส�านักการอนุญาต กรมป่าไม้, อุทยานหลวงราชพฤกษ์

09 adaybulletin.com facebook.com/adaybulletin

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์

เหนือสุดสยามไพร บ่มิคลายพนาพรรณ รวงผึ้งวิลาวัณย์ ดรุนั้นประจ�าองค์ เจ้าฟ้าสยามแดน นฤแคว้นฤดีคง เทิดไท้ ธ ยืนยง องค์บรมราชกุมาร

ต้นรวงผึ้งเป็นพรรณไม้ประจ�าพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั เนือ ่ งด้วยดอกรวงผึง ้ มีสเี หลืองเข้ม ซึง ่ เป็นสีประจ�าวันพระราชสมภพ และผลิดอกตรงกับช่วงเดือนพระราชสมภพ เมือ ่ พระองค์เสด็จฯ ประกอบพระราชกรณียกิจตามสถานที่ ต่างๆ ก็จะทรงปลูกต้นรวงผึง ้ พระราชทานไว้เพือ ่ เป็นตัวแทนแห่งพระองค์และเพือ ่ เป็นสิรม ิ งคลแก่ราษฎร

พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงปฏิ บั ติ พระราชกรณียกิจด้านการทหารตั้งแต่ทรง พระเยาว์ โดยเริ่มต้นทรงศึกษาการทหารบก ณ ประเทศออสเตรเลี ย เมื่ อ เสด็ จ นิ วั ต ประเทศไทย ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ด้านการทหารอย่างเต็มพระราชก�าลังแม้จะ เป็นพระราชกรณียกิจเสี่ยงอันตรายก็ตาม ทรงตระหนักถึงความส�าคัญของการศึกษา เพือ่ พัฒนาศักยภาพทางการทหาร ทรงปรับปรุง การฝึกทหารทัง้ ด้านความรูแ้ ละเทคนิคการฝึก อย่างสากล ทรงเห็นความส�าคัญในการบ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุขเหล่าทหารผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอย่างทัว่ ถึง ได้เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเยีย่ มปลอบขวัญ ทหารในถิน่ ทุรกันดาร พระราชทานพระราชทรัพย์ ส่วนพระองค์เป็นทุนการศึกษาแก่บตุ รของทหาร ทรงรับอุปการะเด็กก�าพร้าจากเหตุความไม่สงบ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ และเป็นความภาคภูมิใจ ของกองทัพและปวงชนชาวไทยอย่างยิ่ง

ชื่อไทย : รวงผึ้ง ชื่ อ ท้ อ งถิ่ น : น�้ า ผึ้ ง (กรุ ง เทพฯ), สายน�้าผึ้งและดอกน�้าผึ้ง (ภาคเหนือ) ชื่อสามัญ : Yellow Star ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร์ : Schoutenia glomerate King subsp. peregrina (Craib) Roekm. ชื่อวงศ์ : MALVACEAE


DATABASE เปิดประวัติศาสตร์รายปีของ พระมหาพิชัยมงกุฎ สุดยอด ศิราภรณ์ของพระมหากษัตริย์ ไทยในราชวงศ์จักรี

IN CASE YOU MISS IT ร่วมส�านึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั รัชกาลที่ 10 กับพระราชกรณียกิจด้านต่างๆ

FEATURE พระราชประวัตพ ิ ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสน ิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห ่ วั

ISSUE 589

A MUST ตามไปเก็บ 6 แรร์ไอเทม ทีเ่ กีย ่ วกับงานพระราชพิธี

เนื่องจากการผิดพลาดด้าน การพิ สู จ น์ อั ก ษร จึ ง ท� า ให้ บทสัมภาษณ์ของ โจน จันใด ใน a day BULLETIN 587: Chiang Mai Nowadays มี ข้ อ ความซึ่ ง ผู้ ถู ก สั ม ภาษณ์ ไม่ ไ ด้ เ ป็ น คนพู ด หลุ ด เข้ า มา ในหน้ า 15 ของนิ ต ยสาร นั่นคือ “โมเมนต์ที่ดีที่สุดคือ ช่ ว งที่ เ ราไม่ แ คร์ แ ล้ ว ว่ า คน เขาเข้าใจในสิ่งที่เราร้องออก ไปหรือเปล่า อาจจะสื่อสาร ไม่เข้าใจผ่านภาษา แต่มก ี ารเชื่ อ มต่ อ ในการเป็ น มนุ ษ ย์ ค น ห นึ่ ง กั บ อี ก ค น ห นึ่ ง ที่ ก� า ลั ง ส่ ง พลั ง งานดี ๆ ให้ กัน” a day BULLETIN ต้อง อภัยทั้งผู้อ่าน และผู้มีส่วน เกี่ยวข้องเป็นอย่างสูง และ จะน� า ความผิ ด พลาดนี้ ไ ป ปรับปรุงในครั้งต่อไป

บรมราชาภิเษก

THE CONVERSATION สนทนากับสองบุคคล สาธารณะถึงเรือ ่ งงาน พระราชพิธบ ี รมราชาภิเษก สายสวรรค์ ขยันยิง่ กับเส้นทางการเป็นผูบ ้ รรยาย งานพระราชพิธี ศ. พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ กับความคิดเห็นเรือ ่ ง บริบทสังคมไทยยุคใหม่ กับงานพระราชพิธด ี งั้ เดิม

EDITOR’S NOTE บทบรรณาธิการ ทัศนคติต่อชีวิตและสังคม ผ่านสายตา วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ

ทีป ่ รึกษา สุรพงษ์ เตรียมชาญชัย บรรณาธิการทีป ่ รึกษา นิภา เผ่าศรีเจริญ บรรณาธิการผูพ ้ ม ิ พ์ผโู้ ฆษณา/บรรณาธิการบริหาร วุฒชิ ย ั กฤษณะประกรกิจ รองบรรณาธิการบริหาร ฆนาธร ขาวสนิท บรรณาธิการบทความ ทรรศน หาญเรืองเกียรติ ปริญญา ก้อนรัมย์ กองบรรณาธิการ ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล พัทธมน วงษ์รัตนะ ชยพล ทองสวัสดิ์ นั ก เขี ย น/ผู้ ป ระสานงาน ตนุ ภั ท ร โลหะพงศธร หั ว หน้ า ช่ า งภาพ กฤตธกร สุ ท ธิ กิ ต ติ บุ ต ร ช่ า งภาพ ภาสกร ธวั ช ธาตรี รัชต์ภาคย์ แสงมีสน ิ สกุล ธนดิษ ศรียานงค์ บรรณาธิการศิลปกรรม พงศ์ธร ยิม ้ แย้ม ศิลปกรรมอาวุโส สิรล ิ ก ั ษณ์ ตะเภาหิรญ ั ศิลปกรรม ฐิตชิ ญา อนันต์ศร ิ ภ ิ ณ ั ฑ์ อุษา นพประเสริฐ พิ สู จ น์ อัก ษร หั ส ยา ตั้ ง พิ ท ยาเวทย์ ศักดิ์สิทธิ์ ไม้ล�าดวน พิสูจน์อักษร/ผู้ดูแลสื่อออนไลน์ ธมนวรรณ กัวหา ฝ่ายผลิต วิทยา ภู่ทอง บรรณาธิการดิจิตอลคอนเทนต์ ภัทรพร บุญน�าอุดม ฝ่ายสร้างสรรค์วิดีโอ วงศกร ยี่ดวง กวินนาฏ หัวเขา ที่ปรึกษาฝ่ายโฆษณา ศรวณีย์ ศิริจรรยากุล ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา มนัสนันท์ รุ่งรัตนสิทธิกุล 08-4491-9241 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายโฆษณา ภรั ณ ภพ สุ ข อิ น ทร์ 08-9492-3444, ธนาภรณ์ ศรี จุ ฬ างกู ล 08-1639-1929, พงศ์ ธิ ด า อั งศุ วั ฒ นากุ ล 09-4415-6241, ณั ฐ วี ณ์ ประมุ ข ปฐมศั ก ดิ์ 08-3922-9929 ฝ่ายโฆษณาอาวุโส ณัฐเศรษฐ ใหม่เมธี 08-1886-9569, เลขานุการฝ่ายโฆษณา อัจจิมา กาญจนสมทรัพย์ ฝ่ายธุรการ ศันสนีย์ สีเขียว ผู้ ผ ลิ ต บริ ษั ท เดย์ โพเอทส์ จ� า กั ด เลขที่ 33 ซอยศู น ย์ วิ จั ย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ ว ยขวาง กรุ ง เทพฯ 10310 ติ ด ต่ อ กองบรรณาธิ ก าร โทร. 0-2716-6900 อีเมล contact@adaybulletin.com เว็บไซต์ www.adaybulletin.com, www.daypoets.com ฝ่ายสมาชิก โทร. 0-2007-0155-7, www.godaypoets.com

CONTENTS

10 ISSUE 589 06 MAY 2019


C o m m e m o r at e His majest y tHe King พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นโบราณราชประเพณีที่อยู่คู่สังคมไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย สะท้อนถึงขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ผ่านงานพระราชพิธีที่พระมหากษัตริย์ เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติเป็นประมุขของแผ่นดินโดยสมบูรณ์ และเป็นการถวายพระเกียรติยศแด่ในหลวง รัชกาลที่ 10 ซึ่งไม่เพียงเป็นวันส�าคัญในประวัติศาสตร์ของประเทศไทย เท่านั้น ยังเป็นห้วงเวลาแห่งความปลื้มปีติแก่พสกนิกรชาวไทยทั้งประเทศด้วย

เอสซีจี จึงได้เชิญชวนภาคีเครือข่ายจิตอาสา ภาคีเครือข่าย และเหล่าพนักงาน ผนึกก�าลังจัดโครงการเฉลิมราชย์ราชา ซึ่งนอกจากจะเป็นการร่วมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในมหามงคลสมัย ที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามพระราชประเพณีในวันที่ 4-6 พฤษภาคม 2562 ยังเป็นการร่วมกันท�ากิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อบรรเทาภัยแล้งระยะเร่งด่วน บรรเทาภัยแล้งระยะยาว และพัฒนาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทั่วไทยไปพร้อมๆ กัน C ommemorate His majest y tHe King, Volunteers alleViating DrougHt กิจกรรม ‘เฉลิมราชย์ราชา จิตอาสาบรรเทาภัยแล้ง’ เป็นการแก้ปัญหาภัยแล้งระยะเร่งด่วนที่เกิดขึ้นในช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม 2562 โดยร่วมกับกองทัพบก จัดคาราวานส่งมอบถังเก็บน�า้ Elixir ขนาด 2,000 ลิตร จ�านวน 1,000 ใบ ไปยังชุมชนที่ประสบภัยแล้งในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพื้นที่ที่ประสบภัยแล้งอย่างหนัก พร้อมเชิญชวนเครือข่ายจิตอาสาในพื้นที่ร่วมท�าฐานติดตั้ง ถังเก็บน�้าจากวัสดุรีไซเคิลที่เหลือจากการก่อสร้าง ซึ่งออกแบบโดยทีมงานเอสซีจี ให้สอดคล้องกับแนวทาง SCG Circular Way หรือการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าที่สุด และน�ากลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด C ommemorate His majest y tHe King, Volunteers C onserVing Water กิจกรรม ‘เฉลิมราชย์ราชา จิตอาสารักษ์น�้า’ เพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งระยะยาว โดยทางเอสซีจีร่วมกับชุมชนและเหล่าจิตอาสา มาช่วยกันสร้างฝายชะลอน�า้ 10,000 ฝาย และปลูกต้นไม้จากภูผาสู่มหานที 10,000 ต้น สร้างสระพวงเชิงเขา และสร้างระบบแก้มลิงในพื้นที่ราบ เพื่อให้เกษตรกรมีน�้าใช้ท�าการเกษตรอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด โดยโครงการนี้ยังได้ร่วมมือกับมูลนิธิอุทกพัฒน์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในการส่งเสริมการบริหารจัดการน�้าในฤดูแล้ง ให้พื้นที่ชุมชนเป้าหมายที่ประสบภัยแล้งซ�้าซาก 18 จังหวัด อาทิ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ และร้อยเอ็ด เป็นต้น C ommemorate His majest y tHe King, Volunteers DeVeloping nationWiDe CroWn prinCe Hospitals กิจกรรม ‘เฉลิมราชย์ราชา จิตอาสาพัฒนาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทั่วไทย’ จัดขึ้นโดยมูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับเครือข่ายจิตอาสา ด�าเนินการปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่ให้บริการ ตามความประสงค์ของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จ�านวน 21 แห่งครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ เพื่อให้ประชาชน โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ผู้มีรายได้น้อย ผู้พิการ และผู้สูงอายุ ที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดารห่างไกล สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น

Crown PrinCe HosPitals

elixir by sCG

โรง พ ย า บาลสมเด็ จ พร ะ ยุ พ ราชได้ ใ ห้ ก ารดู แ ลรั ก ษาประชาชนใน ถิ่ น ทุ รกันดารมากว่ า 4 0 ปี ซึ่งโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชก่อตั้งขึ้น ด้ว ย ค ว ามร่วมมือระ ห ว่ า งภาครัฐกับพสกนิกรที่บริจาคสมทบทุนสร้าง เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดิ น ท ร เทพยวรางกูร ( เ มื่อครั้งด�ารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) ตั้งแต่ปี 2520

ถังเก็บน�้ำที่สร้ำงจำกวัสดุที่เรียกว่ำ Elixir (เอลิเซอร์) ผ่ำนกำรรับรอง มำตรฐำนระดับสำกลจำกองค์กำรอำหำรและยำประเทศสหรัฐอเมริกำ (FDA) ว่ำ ไม่เป็นอันตรำย สำมำรถสัมผัสอำหำรและน�้ำดื่มได้อย่ำงปลอดภัย ไร้สำรตะกั่ว ปรอ ท แ ละสำรหนู จึง มั่ น ใจได้ว่ำน�้ำสะอำดที่บรรจุอยู่ในถังเก็บน�้ำนี้จะไม่มี กำรถูกเพิม ่ สำรปนเปือ ้ นทีเ่ ป็นอันตรำยลงไป และไม่เกิดตะไคร่นำ�้ ทีจ่ ะกลำยเป็น แหล่งสะสมของสิ่งสกปรกรวมถึงเชื้อแบคทีเรียต่ำงๆ ในน�้ำ

ส่วนใครที่สนใจเข้าร่วมเป็นจิตอาสาในโครงการ ‘เฉลิมราชย์ราชา’ สามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.scg.com/volunteerproject


2325

พระมหาพิชัยมงกุฎ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2325 ในสมัยรัชกาลที่ 1 ท�าด้วยทองค�า ลงยาราชาวดีประดับเพชรและอัญมณี โดยหมายถึงยอดวิมานของพระอินทร์ ผูเ้ ป็นประชาบดีของสวรรค์ชน ั้ สอง คือชัน ้ ดาวดึงส์

พระมหาวิเชียรมณี ปลียอด กระจัง - บัวกลุ่ม ลูกแก้ว ปลี - บัวแวง

ดอกไม้ติศ

งานพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถื อ เป็ น ครั้ ง แรกที่ ค นไทยจ� า นวน หลายสิบล้านคนจะได้เห็นราชศิราภรณ์ ทีม ่ ค ี วามส�าคัญทางประวัตศ ิ าสตร์มา ตั้งแต่สมัยโบราณ โดยหนึ่งในนั้นคือ พระมหาพิชย ั มงกุฎ สุดยอดศิราภรณ์ ของพระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์ จักรี สัญลักษณ์ที่แสดงถึงการเป็น พระมหากษัตริย์ที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่ รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

สูง 66 เซนติเมตร

G R E AT CROWN OF VICTORY

ดอกไม้ไหว เกี้ยว เชิงนาคร

กระจังตาอ้อย

ผ้าจีบ

ทับจอน กรรเจียกจร

น�้าหนัก 7.3 กิโลกรัม

เหตุผลทีม ่ น ี า�้ หนักมาก เพราะต้องการสือ ่ ว่าการเป็นกษัตริย์ ต้องทรงแบกรับความทุกข์ ความโศก และโรคภัยของประชาชนทัง้ ปวง กุณฑล

2394

4 สมัยรัชกาลที่ 4 ทรงมีรบ ั สัง่ ให้นา� เพชร ขนาด 40 กะรั ต จากประเทศอิ น เดี ย มาประดับไว้บนยอดพระมหาพิชย ั มงกุฎ แ ล ะ ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล้ า ฯ พระราชทานขนานนามเพชรเม็ดนี้ว่า ‘พระมหาวิเชียรมณี’

DATA BA S E เรื่อง : พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : สิริลักษณ์ ตะเภาหิรัญ

ในสมั ย โบราณ พระมหากษั ต ริ ย์ ทรงรับมงกุฎมาแล้วจะทรงวางไว้ขา้ ง พระองค์เท่านัน ้ แต่ตง ั้ แต่พระราชพิธี บรมราชาภิ เ ษกสมั ย รั ช กาลที่ 4 ปี พ.ศ. 2394 จึงนิยมตามราชส�านัก ยุ โ รปที่ ถื อ ว่ า ภาวะแห่ ง ความเป็ น พระมหากษัตริยอ ์ ยูท ่ ก ี่ ารสวมมงกุฎ

2558 1 ใน 5

พระมหาพิ ชั ย มงกุ ฎ คื อ สุ ด ยอด ศิราภรณ์ ซึง ่ เป็น 1 ใน 5 เครือ ่ งราชกกุ ธ ภั ณ ฑ์ แ ห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ประกอบด้ ว ย พระมหาพิ ชั ย มงกุ ฎ พระแสงขรรค์ชัยศรี ธารพระกรชั ย พฤกษ์ วาลวิ ช นี กั บ แส้ จ ามรี และฉลองพระบาทเชิงงอน

ที่มา : www.bbc.com, www.tnews.co.th, www.siammanussati.com

ในปี พ.ศ. 2558 เกิ ด เหตุ โ จรกรรม ในพิพธ ิ ภัณฑ์พระราชวังฟงแตงโบล ทีฝ ่ รัง ่ เศส โดยคนร้ายบุกเข้าไปขโมย วัตถุลา�้ ค่า จ�านวน 15 ชิน ้ ซึง่ หนึง่ ในนัน ้ มีพระมหาพิชยั มงกุฎจ�าลอง ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถวาย แด่จก ั รพรรดินโปเลียนที่ 3 ในปี พ.ศ. 2404 ด้วย

12 ISSUE 589 06 MAY 2019


ǁˎDŽǗǏǏ Ǘ˯DŽǛǣDŽ

ɉp p Ɋ ǫdžǛ

lj˯ǒ ː ǟˎ njLjǥǗ˱Dž ː ǖǥDŽǭǖƮ '0? +< ò ²·²³ L"- = ýC , ý$I0;"ï 8 !?P $ î = N "<P2&.;H"3 0ï2$I0ï2I î,@H8 0< 4 òI0;8< 0< 4 òH )=; <2"@P $î=5$K "2î=,@H)@- L,î,= $< "@P ;5=,=.!)< $= C +=)I0; ,= . =$ $5=,=.!I î <$Hý? #C. ? <%'D'ï 0? 8B$P N L ï "< Q K$.; <% &.;H"3I0;.; <%5= 0 õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč õėĤċėěûĕğĦĈĴċĖijğŖøěĦĕĞĽĦøĥāõĥĎõĦėĒĥĆčĦ ĕĦĉėĄĦčĐęĨĉĔĥćąř ','( ĕĦIJĈĖĉęġĈ IJĈĖ čĨĞĨĉ üĥčċėřĞĕěûĜř ġČĨĎĈĩ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčy İďŌĈİĐĖěŕĦ İďőĦğĕĦĖğčĪûĸ öġûõĦėĒĥĆčĦøīġ İĒīġĸ ijğŖ ','( ĴċĖ õŖĦěĞĭŕøěĦĕİďŝčĞĦõę IJĈĖİýĒĦĤċĬõěĥččĩĹċĩĸĕĩþŕġûċĦûõĦėĉęĦĈĕĦõĖĨĸûöĪĹč İĒėĦĤ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčĴĈŖėŕěĕõĥĎõėĤċėěûĉŕĦûďėĤİċĜ čĽĦĞĨčøŖĦ ','( ĴďıĞĈûıęĤ üĽĦğčŕĦĖijčûĦč , ū Ų ū OûĦčİċĜõĦęĴċĖP ijčďėĤİċĜĉŕĦûĶ ċĥĸěIJęõ ėěĕĊĪû õĦėüĥĈõĦėĞŕûİĞėĨĕõĦėöĦĖijčĉŕĦûďėĤİċĜ ĐĭŖďėĤõġĎõĦėüĪûĉŖġûĒĥĆčĦĐęĨĉĔĥćąř ','( öġûĉčİġûijğŖĕøĩ ć Ĭ ĔĦĒıęĤĕĦĉėĄĦč İĒīġĸ ėġûėĥĎõĦėİöŖĦıöŕûöĥčijčĉęĦĈĞĦõę ğčĪĸûijčIJøėûõĦėĞĽĦøĥāIJĈĖõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčċĩĸüĤčĽĦĴďĞĭŕİďőĦğĕĦĖ ĈĥûõęŕĦě øīġ øĥĈĞėėĞĬĈĖġĈğčĪĸûĉĽĦĎę ğčĪĸûĐęĨĉĔĥćąřĴċĖy O','( ( Ñ ŭ ū W '( P ÿĪûĸ üĥĈöĪčĹ ċĬõĶ 4 ďō İĒīġĸ ĞŕûİĞėĨĕĞčĥĎĞčĬčijğŖĐĐŖĭ ęĨĉ ĐĭďŖ ėĤõġĎõĦė ','( ĴĈŖĕĩIJġõĦĞĒĥĆčĦøĬćĔĦĒıęĤĕĦĉėĄĦčĐęĨĉĔĥćąř ','( ijğŖĐęĨĉĔĥćąř İďŝčċĩĸĖġĕėĥĎüĦõĐĭŖĎėĨIJĔøċĥĹûþĦěĴċĖıęĤþĦěĉŕĦûþĦĉĨ ĉęġĈüčİĒīĸġİďŝčõĦėõėĤĉĬŖč ijğŖİõĨĈõėĤĎěčõĦėĕĩĞŕěčėŕěĕöġûĐĭŖĐęĨĉ ĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( ıęĤþĬĕþč ijčõĦė ėŕěĕõĥčĒĥĆčĦĐęĨĉĔĥćąř ','( ijğŖõĦŖ ěĞĭĞŕ Ħõę ĞĦĕĦėĊĞėŖĦûėĦĖĴĈŖıęĤøěĦĕİöŖĕıöķû ijğŖõĥĎþĬĕþčĴĈŖġĖŕĦûıċŖüėĨû ıęĤijčďōčĩĹĐĭŖĐęĨĉ ĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( ċĥĸěďėĤİċĜċĩĸ õĽĦęĥûėġøġĖõķİĉėĩĖĕĉĥěĴĈŖİęĖ İĒėĦĤõėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþčĴĈŖďėĤõĦĜĈĽĦİčĨčõĦė IJøėûõĦėıęŖě õĦėĈĽĦİčĨčIJøėûõĦėøĥĈĞėėģ øėĥĹûčĩĹ ĊīġěŕĦİďŝčõĦėĈĽĦİčĨčûĦčċĩĸĞĽĦøĥā ċĩĸİďŌĈIJġõĦĞijğŖıõŕĐĭŖĐęĨĉ ĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( ĴĈŖİöŖĦĞĭŕõĦėĒĥĆčĦĐęĨĉĔĥćąř ġĖŕĦûĕĩİďőĦğĕĦĖ ÿĪĸûčĽĦĴďĞĭŕõĦėĞėŖĦûĜĥõĖĔĦĒċĦûõĦėıöŕûöĥčċĥĹûijčėĤĈĥĎďėĤİċĜ ıęĤėĤĈĥĎĞĦõę İĒėĦĤĕĩĐĭŖİþĩĸĖěþĦāõěŕĦ 6<< ċŕĦčĕĦijğŖøĽĦıčĤčĽĦijčĈŖĦčĉŕĦûĶ

ġĦċĨ ĈŖĦččěĥĉõėėĕ ĈŖĦčõĦėĉęĦĈ ĈŖĦčõĦėġġõıĎĎ ıęĤĈŖĦčõĦėěĦûıĐčČĬėõĨü ÿĪĸûİďŝčĐęĈĩĉŕġõĦėĒĥĆčĦĐęĨĉĔĥćąř ','( öġûĐĭŖĐęĨĉ ĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( ĉŕġĴďijčġčĦøĉ İĒīĸġčĽĦĴďĞĭŕõĦėĞėŖĦûĞėėøřĐęĨĉĔĥćąřċĩĸøĬćĔĦĒĕĦõĖĨĸûöĪĹčy øĬ ć ĞĕĎĥ ĉĨ ö ġûĐĭ Ŗ Đ ęĨ ĉ Đĭ Ŗ ď ėĤõġĎõĦė ','( ċĩĸ Ğ ĦĕĦėĊĞĕĥ ø ėİöŖ Ħ ėĥ Ď õĦėøĥ Ĉ ĞėėĴĈŖ øī ġ üĤĉŖ ġ ûİďŝ č Đĭ Ŗ Đ ęĨ ĉ Đĭ Ŗ ď ėĤõġĎõĦė ','( ċĩĸ ĕĩ þīĸ ġ ġĖĭ ŕ ij č õĦėĞĽĦėěüıęĤęûċĤİĎĩĖčĐĭŖĐęĨĉ ĐĭŖďėĤõġĎõĦė ','( ďō Ē^Ĝ^ 4779 üčĊĪû ěĥčċĩĸ 53 ĕĩčĦøĕ Ē^Ĝ^ 4784 ıęĤĐęĨĉĔĥćąřĉŖġûĴĈŖõĦėėĥĎėġûĕĦĉėĄĦčĉĦĕċĩĸ õĂğĕĦĖõĽĦğčĈġĖŕĦûijĈġĖŕĦûğčĪĸû õŕġčěĥčĞĕĥøėİöŖĦėĥĎõĦėøĥĈĞėėģ ıęĤõėġĎ ijčõĦėøĥĈĞėėģ üĤĒĨüĦėćĦüĦõĐęĨĉĔĥćąřċĩĸĞĦĕĦėĊĞŕûġġõĴĈŖ ĕĩøěĦĕıõėŕû öġûĉėĦĐęĨĉĔĥćąř O ū Ñ P ĐęĨĉĴĈŖġĖŕĦûĉŕġİčīĸġûıęĤøĬćĔĦĒøûİĈĨĕ ıęĤĕĩďėĤěĥĉĨøěĦĕİďŝčĕĦöġûĐęĨĉĔĥćąř ċĩĸĞĤċŖġčġĥĉęĥõĝćřöġûþĬĕþčİþĨûĒīĹčċĩĸ ĕĩøěĦĕİõĩĸĖěİčīĸġûõĥĎþĬĕþč ċĽĦijğŖİõĨĈİďŝčĞĬĈĖġĈğčĪĸûĉĽĦĎę ğčĪĸûĐęĨĉĔĥćąřĴċĖ ċĩĸĴĕŕĴĈŖĞėŖĦûøĬćøŕĦİýĒĦĤĉĥěĐęĨĉĔĥćąřİċŕĦčĥĹč ıĉŕĖĥûþŕěĖĞŕûİĞėĨĕøěĦĕİöŖĕıöķû öġûþĬĕþč ĉęġĈüčĉŕġĖġĈĴďĞĭŕõĦėĞėŖĦûĕĭęøŕĦİĒĨĸĕijğŖõĥĎġûøřďėĤõġĎġīĸčöġû þĬĕþč ċĥĹûčĩĹ õĦėøĥĈĞėėĐęĨĉĔĥćąřėĤĈĥĎüĥûğěĥĈüĤĕĩöĪĹčijčėĤğěŕĦûěĥčċĩĸ 3< 39 ĒĘĝĔĦøĕ Ē^Ĝ^ 4784 ıęĤĞŕûĉŕġİĒīĸġİöŖĦėĥĎõĦėøĥĈĞėėĐęĨĉĔĥćąřėĤĈĥĎďėĤİċĜ ėĤğěŕĦûěĥčċĩ ĸ 46 ĒĘĝĔĦøĕ 4 ĕĨĊčĬ ĦĖč Ē^Ĝ^ 4784 IJĈĖüĤďėĤõĦĜĐęõĦė øĥĈĞėėėġĎıėõ ijčěĥčċĩĸ 3< ĕĨĊĬčĦĖč Ē^Ĝ^ 4784 ĞĽĦğėĥĎĐęĨĉĔĥćąřċĩĸĴĕŕĉŖġûėġ ĐęõĦėĉėěüěĨİøėĦĤğř ıęĤďėĤõĦĜĐęėġĎĞġûijčěĥčċĩĸ 47 ĕĨĊĬčĦĖč Ē^Ĝ^ 4784 ğĦõĐĭĐŖ ęĨĉ ĐĭďŖ ėĤõġĎõĦė ','( ėĦĖijĈ ĞčijüĉĨĈĉŕġĞġĎĊĦĕėĦĖęĤİġĩĖĈ İĒĨĕĸ İĉĨĕċĩĞĸ ĦĽ čĥõĞŕûİĞėĨĕĔĭĕďĨ ā ś āĦċŖġûĊĨčĸ ıęĤěĨĞĦğõĨüþĬĕþč İĎġėřIJċė <N4365N:;3<

^ ūŭŲŬ ^ŭ a ŭÑÑ õėĕõĦėĒĥĆčĦþĬĕþč ĕĬŕûĕĥĸčİĞėĨĕĞėŖĦûİĜėĝĄõĨüĄĦčėĦõĕĥĸčøû İĒĨĸĕøěĦĕĞĬöĕěęėěĕijğŖďėĤþĦþč


16

WHERE TO FIND

issue 589 06 may 2019

Where the conversations begin. adaybulletin.com

หมอชิต

Meet

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

Up

สยามสแควร์

Every อโศก

Monday!

ศาลาแดง

BTS: 5 สถานี เวลา 17.30-20.00 น. หมอชิต อโศก

06

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ศาลาแดง

M 07

Starbucks 200 สาขาทั่วกรุงเทพฯ

สยาม

T 08

ร้านกาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์การค้า และสถานที่ชั้นน�ากว่า 100 จุดทั่วประเทศ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ที่ปากช่อง-เขาใหญ่ เชียงใหม่ และหัวหิน

W 09

TH 10

F 11

SA 12

S

Anthology

Sou•ve•nir

Troye Sivan Bloom Tour

PlaneT KryPTon

FaiTH

TimeleSS ConCerT

WiTCH love

นิทรรศการ ‘สรรนิพนธ์’ โดย วีรพงษ์ ศรีตระกูลกิจการ น�าเสนอผลงาน ใหม่ชนิ้ ส�าคัญทีแ่ สดงถึง ความมุง่ มัน่ พากเพียรใน การงาน เพื่อให้เข้าถึง ค�าว่าศิลปะทีแ่ ท้จริง และ รวบรวมคุณค่าของความงามความจริงที่แฝงอยู่ ในความหลากหลาย แตกต่ า งไว้ ใ นผลงาน วันนีถ้ งึ 2 สิงหาคม 2562 ณ ชัน้ 23 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์

นิทรรศการ ‘Sou•ve•nir’ โดย ทศพร สุธรรม, Rabin Huissen และ Robert Stroomberg แสดงถึงการอยู่ ร่วมกันระหว่างธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ไม่ ว ่ า จะเป็ น รู ป ทรง เรขาคณิ ต กั บ รู ป ทรง ธรรมชาติ ความมืดมิด กับสีสนั สดใส เวลากับ ปัจจุบนั ขณะ และความทรงจ�ากับสิ่งของ วันนี้ ถึง 26 พฤษภาคม 2562 ณ People’s Gallery ชัน้ 2 หอศิลป์กรุงเทพฯ (เว้น วันจันทร์)

เตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มกั บ คอนเสิร์ต ‘Troye Sivan Bloom Tour Bangkok 2019’ ครัง้ แรกในเมืองไทย ของ ทรอย ซีวาน ดาวรุง่ พุ่งแรงที่สื่อทั่วโลกก�าลัง จับตามองในฐานะศิลปิน ที่ จ ะมาพลิ ก บทบาท วงการเพลงพ็อพแห่งยุค วั น นี้ ประตู เ ปิ ด เวลา 18.30 น. ณ อิมแพ็ก เอ็ ก ซิ บิ ชั น ฮอลล์ 5 เมืองทองธานี จ�าหน่าย บัตรทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์

นิ ท รรศการ ‘Planet Krypton’ โดย ภรณ์ทพิ ย์ มัน่ คง ร่วมกับ พิสฐิ กุล ควรแถลง น�าเสนอผลงาน ศิลปะแนว Immersive ทีซ่ งึ่ ผูช้ มจะถูกเชิญชวน ให้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ นิทรรศการอันน�าไปสู่ การเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง ความคลุ ม เครื อ ทาง ความคิ ด ที่ ค นทั่ ว ไป มั ก เผลอมองข้ า มไป วั น นี้ ถึ ง 2 มิ ถุ น ายน 2562 ณ WTF แกลเลอรี (เว้นวันจันทร์)

นิทรรศการ ‘Faith’ โดย ชัยยศ จินดากุล น�าเสนอ ผลงานศิ ล ปะที่ จ ะท� า หน้าทีเ่ ป็นสือ่ กลางสร้าง ความสะเทือนอารมณ์ กระตุน้ ผัสสะจินตนาการ ลุ ่ ม ลึ ก ต่ อ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ ชม ให้มากที่สุดเท่าที่ก�าลัง และศั ก ยภาพศิ ล ปิ น จะพึงมีได้ในช่วงชีวิตนี้ ข อ ง เ ข า วั น นี้ ถึ ง 30 มิ ถุ น ายน 2562 ณ หอศิ ล ป์ ศุ ภ โชค ดิ อาร์ ต เซ็ น เตอร์ (เว้นวันจันทร์)

คอนเสิร ์ ต ‘Timeless Concert ดนตรี บทเพลง และศิ ล ปะเหนื อ กาล เวลา’ น�าโดย โก้ มิสเตอร์ แซกแมน และศิลปิน ดารานั ก ร้ อ งคุ ณ ภาพ อาทิ เจนนิเฟอร์ คิ้ม, วินัย พันธุรักษ์ และวง The Sound of Siam, ป๊อด ธนชัย, ปุ๊ อัญชลี ฯลฯ วันนี้ เวลา 19.00 น. และ 12 พฤษภาคม 2562 เวลา 15.00 น. ณ โรงละคร อั ก ษรา คิ ง เพาเวอร์ จ� า ห น ่ า ย บั ต ร ที่ เคาน์ เ ตอร์ เ ซอร์ วิส ใน ร้าน 7-Eleven

นิ ท รรศการ ‘Witch Love’ โดย Fahfahs ไม่ใช่นิทรรศการที่บอก เล่ า เรื่ อ งราวความรั ก ของแม่มด แต่เป็นการบอกเล่ า เรื่ อ งราวของ สาวน้ อ ยคนหนึ่ ง ที่ มี เวทมนตร์เพียง 1 วั น เธอจะท�า อะไร ท�าให้ สมหวังในสิ่งที่รักและ ปรารถนา ท�าเพือ่ คนอืน่ หรื อ เพื่ อ ตั ว เธอเอง? วันนี้ถึง 29 พฤษภาคม 2562 ณ 10 ml. Cafe Gallery ซ.โชคชั ย ร่วมมิตร (เว้นวันจันทร์)

CALENDAR

14 issue 589 06 MAY 2019


B O OK ส มเด็ จ พ ระ เจ้ า อยู่ หั ว ม ห า ว ชิ ร าล ง ก ร ณ บดิ น ทรเ ทพย ว ร า ง กู ร

MOVIE

ส�ำหรับผูท้ สี่ นใจและต้องกำร ข้อมูลเกีย่ วกับในหลวง รัชกำลที่ 10 หนั ง สื อ เล่ ม นี้ ท ำงฝ่ ำ ยวิ ช ำกำร ส�ำนักพิมพ์สถำพรบุค๊ ส์ได้รวบรวม ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ พระรำชประวั ติ พระรำชพิ ธี พระรำชกรณี ย กิ จ และพระอั จ ฉริ ย ภำพด้ ำ นต่ ำ งๆ ของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รวมถึ ง ประมวลพระรำชด� ำ รั ส พร้อมพระบรมฉำยำลักษณ์ทหี่ ำชม ได้ยำก อำทิ พระบรมฉำยำลักษณ์ ขณะทรงพระเยำว์ เรื่ อ งรำว ที่ พ ระองค์ ท รงเข้ ำ รั บ กำรศึ ก ษำ ตั้ ง แ ต ่ ร ะ ดั บ อ นุ บ ำ ล ศึ ก ษ ำ ณ โรงเรียนจิตรลดำ จนถึงทรง ได้รับปริญญำนิติศำสตรบัณฑิต มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช รวมทัง้ ค�ำบอกเล่ำของ หม่อมรำชวงศ์ สุมนชำติ สวัสดิกลุ เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระองค์ ประสูติ ซึ่งคัดมำจำกในหนังสือ สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าช

FACEB O OK

เพจที่รวบรวมข้อมูลและคลิปวิดีโอที่หำดูยำกของพระบำทสมเด็จพระปรเมนทรรำมำธิบดีศรีสินทรมหำวชิรำลงกรณ พระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว เอำไว้ เพื่อควำมสะดวก ของนักท่องโลกออนไลน์ ในกำรเข้ำไปศึกษำ ค้นคว้ำและซึมซับพระรำชกรณียกิจ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 10 ได้ตลอดเวลำ โดยไม่มีเสียค่ำใช้จ่ำยใดๆ โดยเข้ำไปทีเ่ ฟซบุก๊ แฟนเพจ www.facebook.com/10.10.Rachakhoranee ส่วนใครต้องกำร รำยละเอียดข้อมูลต่ำงๆ เพื่อกำรท�ำรำยงำนหรือกำรศึกษำ สำมำรถติดต่อขอข้อมูล เพิ่มเติมได้ที่อีเมล rachakhoranee10@gmail.com

(ส�ำนักพิมพ์สถำพรบุ๊คส์ / รำคำ 238 บำท)

ข อ ช ว น ทุ ก ค น ที่ ชื่ น ช อ บ ประวั ติ ศ ำสตร์ ไ ทย ชมภำพยนตร์ บั น ทึ ก พระรำชพิ ธีบ รมรำชำภิ เ ษก รัชกำลที่ 7 ปี พ.ศ. 2468 ฉบับที่ไม่เคย ฉำยที่ใดมำก่อน ซึ่งเป็นกำรสแกนจำก ต้นฉบับฟิลม์ ไนเตรต 35 มม. พร้อมฟัง เรื่องรำวที่น่ำสนใจจำก ผศ. ดร. ดินำร์ บุญธรรม นักประวัตศิ ำสตร์ผเู้ ชีย่ วชำญ งำนพระรำชพิธีร่วมบรรยำย พร้อมกับ โดม สุ ข วงศ์ ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง หอภำพยนตร์ ส ำ ม ำ ร ถ เ ข ้ ำ ช ม บั น ทึ ก กิ จ ก ร ร ม ภำพยนตร์ได้แล้ววันนี้ที่ยูทูบแชนแนล Film Archive Thailand (หอภำพยนตร์)

C O L L EC T I O N

ตรา ไปรษณี ย ากร ที่ ร ะลึ ก ชุ ด พระราชพิ ธี บรมราชาภิเษก

MU SIC ดุจดังสายฟ้า

10.10. RACHAKHORANEE

สยามมกุฎราชกุมาร กรมศิลปากร จัดพิมพ์ เฉลิมพระเกียรติเนื่องใน พระราชพิ ธีสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ถึ ง พระประสู ติ ก ำล จั ด เก็ บ โดย ห้องสมุดกลำง กรมศิลปำกร ภำยในเล่ ม ยั ง มี ภ ำพถ่ ำ ย วีรกษัตริยแ์ ห่งสมรภูมบิ ำ้ นหมำกแข้ง ซึ่งเป็นพระบรมฉำยำลักษณ์และ พระรำชประวั ติ ข องพระองค์ ที่ ข ณะนั้ น ทรงด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ร้ อ ยเอกสมเด็ จ พระบรมโอรสำธิ ร ำชฯ สยำมมกุ ฎ รำชกุ ม ำร เสด็จพระรำชด�ำเนินไปทรงเยี่ยม ทหำร ต�ำรวจ และรำษฎรในพื้นที่ ที่มีคอมมิวนิสต์เมื่อปี พ.ศ. 2519 ไว้ด้วย

UNSEEN ภาพยนตร์บันทึกพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ร.7

พระผู้ เ ป็ น แสงสว่ า งกลางใจไทย

PRODUC T

เข็มทีร่ ะลึกตราสัญลักษณ์พระราชพิธบ ี รมราชาภิเษกฯ ทำงส�ำนักงำนปลัดส�ำนักนำยกรัฐมนตรีได้จัดท�ำเข็มที่ระลึก ตรำสัญลักษณ์พระรำชพิธีบรมรำชำภิเษกฯ รัชกำลที่ 10 เพื่อให้ ประชำชนได้อัญเชิญประดับไว้บนหน้ำอกเสื้อ โดยตัวเข็มมีขนำด 3.8 เซนติเมตร ท�ำจำกดีบุกผสมทองแดง ชุบทองด้ำนหน้ำและหลัง ลงยำสีขำวและสีม ่วงอมชมพู ขอบสีทอง มำพร้อมกล่อ ง ชุด ละ 300 บำท สำมำรถสั่งจองได้แล้ววันนี้ที่ www.thailandpostmart.com สอบถำมรำยละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กองคลัง ส�ำนักงำนปลัดส�ำนักนำยกรัฐมนตรี โทร. 0-2283-4344

15 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN

ใครทีเ่ ป็นนักสะสมแสตมป์ตอ้ ง ไม่พลำดคอลเลกชันตรำไปรษณียำกร ที่ระลึกชุดพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษก รัชกำลที่ 10 ชนิดรำคำ 10 บำท (1 แผ่น มี 10 ดวง) ที่เพิ่มควำมสวยงำมด้วย กำรใช้ เ ทคนิ ค พิ ม พ์ สี่ สี บ นฟอยล์ กระจกครัง้ แรกของโลก พร้อมผิวสัมผัส สะดุดปลำยนิว้ ด้วยกำรปัม๊ ดุนนูนอักษร พระปรมำภิไธย ว.ป.ร. ข้อควำมชื่อ ประเทศ ชนิ ด รำคำ และองค์ พ ระฉำยำลักษณ์ ผลิตจำกประเทศฝรัง่ เศส หำซื้อได้แล้ววันนี้ที่ที่ท�ำกำรไปรษณีย์ ทั่วประเทศ

หลำยครัง้ ทีด่ นตรีและเสียงเพลง ท�ำให้ใจเรำเป็นสุข ฮึกเหิม เหงำเศร้ำ แต่มีบทเพลงไม่กี่บทที่ฟังแล้วจะรู้สึก อ บ อุ ่ น ด ้ ว ย ค ว ำ ม รู ้ สึ ก ส� ำ นึ ก ใ น พระมหำกรุ ณ ำธิ คุ ณ ของพระบำทสมเด็ จ พระเจ้ ำ อยู ่ หั ว เช่ น เดี ย วกั บ ดุจดังสายฟ้า เพลงที่ชนะกำรประกวด โครงกำรบทเพลงแห่ ง แผ่ น ดิ น ของ กองทัพบก ให้เป็นเพลงเฉลิมพระเกียรติ แต่งค�ำร้องและท�ำนองโดย พงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยำ หรือ ปุม้ วงตำวัน ผู ้ แ ต่ ง ท� ำ นองเพลง King of Kings ขั บ ร้ อ งโดย อำทิ ว รำห์ คงมำลั ย สำมำรถหำฟังกันได้ทำงยูทูบ

A MUST


TO WITNES THE GREAT HISTORICA EVENT ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ งานพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ รั ช กาลที่ 10 ท� า ให้ ป ระชาชนทั่ ว ประเทศปี ติ สุ ข และได้ รั บ ความรู้ ดี ๆ มากมาย เพราะทั่วทั้งประเทศมีโอกาสเป็นส่วนหนึ่งของงานพระราชพิธี ตั้งแต่พิธีพลีกรรม การตักน�้าศักดิ์สิทธิ์จาก 76 จังหวัด เพื่อน�ามาเป็นน�้าสรง พระมุรธาภิเษกและน�้าอภิเษก มาจนถึงในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ที่เป็นโอกาสเพียงครั้งเดียวในชีวิตของใครหลายๆ ที่จะได้ใกล้ชิดกับ พระมหากษัตริย์ ได้เป็นส่วนหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์ และสักครั้งในชีวิตที่จะได้เห็นความจริงใกล้ตา โอกาสเช่นนี้เป็นเหตุผลเดียวกันกับ ศาสตราจารย์พเิ ศษ ธงทอง จันทรางศุ ศาสตราภิชานประจ�าคณะนิตศ ิ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เลือกทีจ่ ะปัดฝุน ่ ความรู้ รือ ้ ต�าราโบราณ มาอธิบายใหม่เพื่อด�ารงไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรม พร้อมเก็บเกี่ยวความทรงจ�าอันมีค่านี้ และบันทึกไว้เพื่อให้ลูกหลานสืบต่อไป

C O N V E R SAT I O N เรื่อง : ศรัญญา อ่าวสมบัติกุล, พัทธมน วงษ์รัตนะ ภาพ : กฤตธกร สุทธิกิตติบุตร, ธนดิษ ศรียานงค์

16 ISSUE 589 06 MAY 2019


SS TEST AL

17 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


ผมว่ า การที่ค นเราจะมาอยู ่ ร วมกั น เป็ น ป ระเทศชาติบ้านเมืองได้นนั้ ล้วนแล้วแต่มปี ัจจัย ที่เป็นเครื่องปรุงแต่งให้บ้านเมืองและคนในชาติ มีความมัน่ ใจในตัวตน รูจ้ กั รากเหง้าของตัวเอง ก็จะ เดินต่อไปข้างหน้าได้ เมืองไทยเองก็มปี ระวัตศิ าสตร์ ทีส่ า� คัญ และมีองค์ความรูด้ งั้ เดิมทีน่ า่ สนใจอยูไ่ ม่นอ้ ย ผมจึงมองว่า การเรียนรู้ทจี่ ะรักษาขนบธรรมเนียม ข องบ้านเมืองเราเอาไว้ เป็นเรือ่ งทีค่ วรท�าเพราะมี คุณประโยชน์สา� หรับคนรุน่ ใหม่และรุน่ หลังจากนี้ งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปีนี้ คือ การสร้างมิตใิ หม่ๆ ผูค้ นในชาติจะรูส้ กึ ว่าได้มสี ว่ นร่วม กับพระราชพิธมี ากขึน้ จากแต่กอ่ นทีเ่ ป็นเรือ่ งของ คนในรัว้ ในวังมียศถาบรรดาศักดิเ์ ท่านัน้ ประชาชน ไม่อาจรับรูร้ บั เห็นขัน้ ตอนก่อนจะมาเป็นพระราชพิธี บัดนีค้ ณ ุ เองก็จะเห็นว่าประชาชนทุกคน ไม่วา่ จะเป็น เด็กเล็ก ผู้ใหญ่ อาชีพใดๆ ก็ตามแต่ทั่วหัวระแหง ของประเทศ ได้มสี ว่ นร่วมในการเสกน�า้ ตามวัดต่างๆ ซึ่งจะเห็นได้ว่าแต่ละที่ก็มีคนเรือนหมื่นที่ตั้งหน้า ตัง้ ตามาเป็นหนึ่งในผู้อยู่เบื้องหลังงานพระราชพิธี บรมราชาภิเษกครั้งนี้ และหากคุณได้มีโอกาสไป พูดคุยกับคนเหล่านัน้ ผมเชือ่ ว่าพวกเขาต่างรูส้ กึ ยินดี และภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นส่วนหนึง่ ของงานประวัตศิ าสตร์ เพราะไม่มใี ครท�านายอนาคตได้เลยว่า พระราชพิธนี ี้ จะเกิดขึน้ อีกครัง้ เมือ่ ไหร่ อาจจะอีก 70 ปีขา้ งหน้า หรือไม่กสี่ บิ ปีขา้ งหน้า ก็ไม่มใี ครรูไ้ ด้ แต่ทที่ กุ ๆ คน รูก้ ค็ อื วันนี้ ปีนี้ ตอนนี้ โอกาสนัน้ มาอยูต่ รงหน้าแล้ว ต้องรีบคว้าเอาไว้ ในฐานะนักวิชาการ คุณสืบทอดองค์ความรูม ้ ากมาย ทีเ่ กีย ่ วข้องกับงานพระราชพิธฯี มีวธ ิ ใี ดบ้าง

ทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ใช้โอกาสนี้ เปิดการบรรยายพิเศษ 4 เรือ่ ง เรือ่ งแรกคือ ทีม่ าทีไ่ ป ของงานพระราชพิธี ส่วนอีก 3 หัวข้อจะเป็นเรือ่ งที่ อยูเ่ บือ้ งหลัง อาทิ สถาปัตยกรรม สถานทีท่ ปี่ ระกอบ พระราชพิธ ี จะมีการสร้างพระมณฑปพระกระยาสนาน ซึ่งเป็นอาคารชั่วคราว มีกติกาอะไรบ้าง อะไรคือ สหัสธารา ทีจ่ ะมีถงั เก็บน�า้ อภิเษกอยูด่ า้ นบนส�าหรับ สรง เพื่อสรงก่อนเข้าพิธีส�าคัญต่อไป หัวข้อถัดมาก็คือ งานพระราชพิธีจะมีทั้ง พราหมณ์และพุทธ พราหมณ์จะต้องกล่าวมนตรา เพื่ออัญเชิญพระพุทธเจ้าลงมาสถิตในพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ ส่วนฝ่ายพระสงฆ์ก็จะเจริญ พระพุทธมนต์ เราเองเป็นชาวพุทธยังไม่เคยรูเ้ ลยว่า ที่ท่านพูดนั่นภาษาอะไร เพราะฉะนั้น ทางจุฬาฯ

ในฐานะฝ่ายวิชาการ จึงต้องมีเวทีที่มาพูดถึงเรื่อง เหล่านี้ ท�าให้บรรดาอาจารย์ตา่ งๆ ต้องกลับไปค้นคว้า เพื่อมาบรรยาย แต่ไม่ใช่ให้ความรู้เฉพาะในงาน พระราชพิธี ต่อๆ ไปชาวพุทธทุกคนก็ยงั ต้องฟังพระ สวดมนต์ต่ออยู่ดี และนี่แหละคือโอกาสที่เราจะ สื่อสารเรื่องราวเล็กๆ เหล่านี้ให้คนทั่วไปรับรู้ได้ โดยความอยากรูข้ องตัวบุคคลเองจริงๆ ส่วนหัวข้อสุดท้ายก็คือดนตรี เพราะตลอด เวลาของงานพระราชพิธีจะต้องมีดนตรีประกอบ พระองค์ไม่ได้สรงน�้าเงียบๆ หรือช่วงเดินริ้วขบวน มีคนประโคมกลองมโหระทึก เป่าแตร เป่าสังข์ เป็น ท�านองหรือเปล่า มีความหมายหรือเปล่า สิง่ เหล่านี้ คือเบือ้ งหลังการถ่ายท�าทีน่ า่ รูเ้ ป็นอย่างมาก หากไม่มีงานพระราชพิธีนี้ เรื่องราวเหล่านี้คงจะ ไม่ถก ู หยิบยกขึน ้ มาปัดฝุน ่ ใหม่

ใช่เลย ทางด้านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเอง ก็อาจจะไม่มีโอกาสได้จัดงานบรรยาย ไม่มีการรือ้ ค้นต�าราเก่า จุดเล็กๆ ทีค่ วรรูก้ อ็ ยูแ่ ค่ในต�าราต่อไป หรือต่อให้เราจัดงานบรรยายเรื่องนี้เหมือนเดิม ก็คงไม่มใี ครมา เพราะไม่ใช่เรือ่ งทีค่ นทัว่ ไปจะสนใจ จริงไหม? และนีไ่ งคือค�าตอบอีกอย่างจากค�าถามแรก ว่า ท�าไมเราต้องเรียนรู้ ต้องสนใจงานพระราชพิธี เพราะสุดท้ายแล้วยังยืนยันค�าตอบเดิมว่า สิง่ นีท้ า� ให้ คนได้รู้ ได้เข้าใจตัวตนของตัวเองมากยิง่ ขึน้ สิง่ ละอันพันละน้อยทีท ่ ก ุ คนจะได้รบ ั จากงานพระราชพิธี ในมุมมองของคุณคือเรือ ่ งอะไร

ฟั ง ดู ก็ รู ้ ว ่ า คนไทยทุ ก คนจะมี ค วามสุ ข ทุกคนต่างพากันเตรียมเนื้อเตรียมตัวเพื่อเข้าร่วม พิธกี าร บ้านเรือนประดับตกแต่งธงทิว ประทีปโคมไฟ ออกมาท�ากิจกรรมบ�าเพ็ญกุศล ท�าความดีจติ อาสา ทัง้ หลาย และสิง่ ทีเ่ ห็นได้ชดั เลยก็คอื ช่วงทีผ่ า่ นมา ทุกคนต่างลดทอนความขัดแย้งจากเรื่องที่เกิดขึ้น แล้วหันไปเห็นความสุขทีจ่ ะมีร่วมกัน ได้รบั ความรู้ เรือ่ งเดียวกัน เกิดประสบการณ์ทไี่ ม่อาจประเมินค่า ได้ชุดเดียวกัน บันทึกประวัติศาสตร์เรื่องเดียวกัน มีเรือ่ งทีป่ ยู่ า่ ตายายของเราเคยเห็นและเล่าให้เราฟัง ก็ถงึ ทีคนในยุคนีบ้ า้ งแล้ว และวันหนึง่ ผมหรือคุณ อาจจะกลายเป็นทวด เป็นย่ายาย แล้วเล่าเรื่องนี้ ให้ลูกหลานฟังในน�้าเสียงที่บอกเล่าเรื่องความประทับใจให้ฟงั แทน คุณมีเหตุการณ์พระราชพิธค ี รัง้ ใดทีป ่ ระทับใจและ บันทึกไว้ในความทรงจ�า

เมื่อครั้งวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 รอบ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ในปี 2506 มีการเสด็จเลียบพระนคร ตอนนัน้ ผมอายุแค่ 8 ขวบ เด็กเกินกว่าจะออกจากบ้านมาเพียงล�าพังเพื่อชม พระบารมี ตามความทรงจ�าของเด็ก 8 ขวบ เราดูผา่ น ทีวีขาวด�าก็รางเลือน แต่วันนี้ผมอายุ 64 ปีแล้ว มัน่ ใจว่าความทรงจ�ายังท�าหน้าทีไ่ ด้ดี คุณจะบันทึกความทรงจ�านีด ้ ว ้ ยรูปแบบใด

ตัง้ ใจว่าจะเขียนเป็นบันทึก แล้วน�าไปเผยแพร่ ผ่านหนังสือพิมพ์ เพือ่ ให้คนอืน่ ได้อา่ นด้วย แทนทีจ่ ะ เก็บไว้อา่ นคนเดียว ให้หนังสือพิมพ์เป็นตัวแทนสิง่ ที่ บรรจุความทรงจ�าของผม ก่อนจะเก็บเข้าหอสมุด แห่งชาติ รวบรวมไว้เป็นหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ชาติสืบต่อไป ดังนั้น ผมก็อยากจะชวนให้ทุกคน มาเป็นมนุษย์จดหมายเหตุกนั คือช่วยกันถ่ายภาพ และจดบั น ทึ ก คนละ 3-5 บรรทั ด อาจจะเป็ น การเขียนสเตตัสบนเฟซบุก๊ เขียนลงไลน์แจกเพือ่ นๆ ถึงความประทับใจหรือเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ ตลอดงาน พระราชพิธี เผื่อวันหนึ่งบันทึกเหล่านี้อาจจะถูก เปิดเผยและรวบรวมขึน้ มาใหม่กไ็ ด้ แต่ก็จะมีทีมเก็บรวบรวมข้อมูลหรือบันทึกต่างๆ

เหล่านีไ้ ว้อยูด ่ ี

มีอนุกรรมการหอจดหมายเหตุเป็นผู้ดูแล แต่ลา� พังเจ้าหน้าทีเ่ พียง 5-10 คน จะให้เก็บเรือ่ งราว ทุกมุมทุกแง่ก็คงเป็นไปไม่ได้ ในขณะที่พวกเรา เป็นเรือนแสนเรือนล้าน ถ้ามาช่วยกันเก็บก็คงจะดี ไม่นอ้ ยเลย ผมจ�าได้วา่ เมือ่ หลายปีกอ่ น ในขณะทีผ่ ม ด�ารงต�าแหน่งปลัดส�านักนายกรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2555 พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลก่อนเสด็จออกมหาสมาคม ณ สีหบัญชร พระทีน่ งั่ อนันตสมาคม ผมนึกอยูว่ า่ ใครๆ ต่างก็มภี าพทางการทีถ่ า่ ยโดยส�านักพระราชวัง และกรมประชาสัมพันธ์ แล้วคนเดินถนนที่มาจาก ทั่วประเทศเป็นแสนๆ คนจะท�าอย่างไรดี เพราะ ทุกคนก็ถา่ ยไว้ในมือถือ แต่ไม่มกี ารน�าภาพออกมา ผมจึงไปชวนกลุม่ ช่างภาพทีม่ ชี อื่ ว่า ‘สห+ภาพ’ น�าโดย ‘จี๊ด’ - จิระนันท์ พิตรปรีชา ชวนมาคุยเพื่อระดม ให้ชา่ งภาพในกลุม่ มาช่วยกันถ่ายรูป สุดท้ายเราก็ได้ ภาพดีๆ มาเยอะมาก และเราก็นา� มาพิมพ์เป็นหนังสือ แล้วส่งเก็บไว้ในหอจดหมายเหตุ ส่วนในปัจจุบัน ผมเกษียณจากต�าแหน่งนัน้ มา 4 ปีแล้ว ป่านนีค้ งมี ใครสักคนด�าเนินการไปแล้ว และหากเกิดขึ้นจริง คงเป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดีไม่ใช่นอ้ ย คุณพร้อมหรือยังทีจ่ ะไปชมการเสด็จเลียบพระนคร ในวันที่ 5 พฤษภาคมทีจ ่ ะถึงนี้

“ ”

พร้อมมากๆ ผมได้จองห้องที่โรงแรมเล็กๆ ย่านเฟือ่ งนครเอาไว้แล้ว ตัง้ แต่เย็นวันที่ 4 พฤษภาคม ผมก็จะไปอยูท่ นี่ นั่ เพราะต่อให้เขาเริม่ ปิดถนน ก็จะ ไม่เดือดร้อน ระหว่างนั้นก็เตรียมเสบียงให้พร้อม ส�ารวจพืน้ ทีอ่ กี หน่อย ตัง้ ใจว่าตอนเช้าราว 8-9 โมง จะออกไปส�ารวจ และเริม่ จับจองทีน่ งั่ ด้านหน้าๆ แล้ว ผมไปพร้อมลูกศิษย์ เพราะหากเป็นลมเป็นแล้งไป อย่างน้อยก็จะได้มคี นหามกลับมาได้ ตามหมายก�าหนดการจะเริม่ ตัง้ แต่ 4 โมงเย็น แล้วเสร็จราว 2 ทุม่ แต่ผมคิดว่าจากการซ้อมในวันล่าสุด อาจจะยาว ไปจนถึง 4 ทุม่ ได้ แต่กไ็ ม่เป็นไร การทีผ่ มได้เห็นด้วยตา ของตัวเอง ไม่ใช่ผา่ นจอโทรทัศน์เหมือนครัง้ 8 ขวบ ก็เป็นสิง่ ทีส่ ดุ ยอดครัง้ หนึง่ ในชีวติ ของผมแล้ว

“เมื่อครั้งวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 รอบ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในปี 2506 มีการเสด็จ เลียบพระนคร ตอนนั้น ผมอายุ 8 ขวบ ผมก็ เด็กเกินกว่าจะออกจาก บ้านมาเพียงล�าพัง เพื่อชมพระบารมี ตามความทรงจ�าของ เด็ก 8 ขวบผ่านทีวข ี าวด�า ก็ดูรางเลือน แต่วันนี้ ผมอายุ 64 ปีแล้ว มั่นใจว่าความทรงจ�า ยังท�าหน้าที่ได้ดี”

ความรูเ้ กีย ่ วกับงานพิธโี บราณต่างๆ ทีเ่ ราได้เห็นกัน เกีย ่ วข้องกับวิถช ี ว ี ต ิ และผูค ้ นในปัจจุบน ั อย่างไร

ฟังดูกร็ วู้ า่ คนไทยทุกคนจะมีความสุข ทุกคนต่างพากันเตรียมเนือ้ เตรียมตัวเพือ่ เข้าร่วมพิธก ี าร บ้านเรือนประดับตกแต่งธงทิว ประทีปโคมไฟ ออกมาท�ากิจกรรมบ�าเพ็ญกุศล ท�าความดีจิตอาสาทั้งหลาย และสิ่งที่เห็นได้ชัดเลยก็คือ ช่วงที่ผ่านมาทุกคนต่างลดทอนความขัดแย้งจากเรื่องที่เกิดขึ้น แล้วหันไปเห็นความสุขที่จะมีร่วมกัน

18 ISSUE 589 06 MAY 2019


19 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


20 ISSUE 589 06 MAY 2019


BRINGING N AT I O N A L HISTORY TO LIFE สายสวรรค์ ขยันยิ่ง หากย้อนไปตั้งแต่พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี และพระราชพิธีงานพระบรมศพของในหลวง รัชกาลที่ 9 สายสวรรค์ ขยันยิ่ง ท�างานเป็น ผู้บ รรยายอยู่ เบื้อ งหลั ง อย่ า งยาวนาน ติ ด ต่ อ กั น เป็ นเวลาหลายวัน นอกจากน�้ า เสี ยงฉะฉาน และความเป็ น มื อ อาชี พแล้ ว เธอยั ง ก้าวข้ามขีด จ� า กัด ของ ‘ผูบ ้ รรยาย’ ไปสูก ่ ารเป็น ‘นักเล่าเรือ ่ ง’ ทีถ ่ า่ ยทอดเรือ ่ งราวทางประวัตศ ิ าสตร์ สอดแทรกเกร็ดความรูเ้ กีย ่ วกับขัน ้ ตอน ความหมาย และบริบทของพระราชพิธี ต่างๆ ด้วยความรัก ความหลงใหล และความขยันยิ่ง โดยไม่มีแม้แต่สคริปต์อยู่ในมือ ท�าให้การบรรยายทุกครั้งของเธอเต็มไปด้วยความน่าสนใจ และความรู้ เบื้อ21 งลึกที่ไม่ได้เสาะแสวงหากันได้ง่ายๆ เช่นเดียวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในครั้งนี้ ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


22 ISSUE 589 06 MAY 2019


เราเข้ามาท�างานตอนมีสถานีโทรทัศน์ไอทีวี เมือ่ ปี พ.ศ. 2539 พอออกอากาศไปสักพักก็ได้รบั เกียรติให้ไปเข้าร่วมโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจ แห่งประเทศไทย ซึง่ ท�าให้ไอทีวตี อ้ งมีคนบรรยาย ของช่องตัวเอง เอาล่ะสิ ตอนนั้นไอทีวีใหม่มาก คนก็ใ หม่ เราเองก็ไ ม่ เ คยท�ามาก่ อน พอได้ รับ มอบหมายให้เป็นผูบ้ รรยาย ก็ตอ้ งท�าการบ้านเอง เรียนรู้เองใหม่ทั้งหมด โดยดูจากการถ่ายทอด กันมาเมื่อครั้งก่อน ศึกษา ค้นคว้า และเริ่มท�า ตั้งแต่ตอนนั้น จนได้เป็นผู้บรรยายของไอทีวี งานแรกของการบรรยายพระราชพิ ธี จริงๆ คือพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปงั กรรัศมีโชติ นัน่ เป็น งานแรกทีเ่ ราไม่เคยมีประสบการณ์ดา้ นนีม้ าก่อนเลย ต้องไปค้นคว้าหาข้อมูล อ่านหนังสือ ถามผูร้ เู้ อาเอง ทั้งหมด และครั้งที่เป็นประสบการณ์พิเศษที่สุด ในชีวติ คือ พระราชพิธฉี ลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 60 ปี ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ซึง่ เป็นงานทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ยาวทีส่ ดุ และข้อมูลน้อยทีส่ ดุ ในชีวติ ผูบ้ รรยายทีเ่ คย ท�ามา ในฐานะผูบ้ รรยายการต้องแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า ด้วยการบรรยายตามภาพสดๆ ไปเรือ่ ยๆ นับเป็น งานทีเ่ ราได้เรียนรูม้ ากทีส่ ดุ หลังจากนัน้ เราก็ได้รบั ความไว้วางใจและได้รบั มอบหมายให้ทา� มาตลอด จนถึงตอนนี้ บรรยายกับภาพสดๆ หมายถึงไม่มส ี คริปต์เลยใช่ไหม

ไม่มสี คริปต์ ไม่มใี ครมาเขียนให้วา่ ต้องพูด อะไร จะมีแค่หมายก�าหนดการมาให้ ผู้บรรยาย แต่ละท่านจึงต้องมีความรูค้ วามเข้าใจจากการหา ข้อมูล ท�าการบ้าน หรือฟังจากผูร้ ู้ ถึงแม้เราจะรูว้ า่ วันนัน้ คือวันอะไร ตัง้ แต่เริม่ จนจบจะเกิดเหตุการณ์ อะไรขึ้นบ้างเพราะมีหมายก�าหนดการบอกอยู่ แต่ในการเชือ่ มเรือ่ งจากขัน้ ตอนนีไ้ ปสูอ่ กี ขัน้ ตอนหนึง่ บางทีมันมีช่องว่าง มีความช้า มีเดดแอร์ มีสิ่งที่ บางทีขนั้ ตอนนัน้ ก�าลังเกิดอยู่ แต่กล้องไม่สามารถ เข้าไปถ่ายได้ เพราะอาจเป็นเรื่องส่วนพระองค์ ท�าให้ประชาชนทางบ้านไม่เห็น บางทีคนดูอาจจะเฝ้ารอชมภาพในหลวง ภาพพระบรมวงศานุวงศ์ ท�าไมมีแต่ภาพพระราชวัง ภายนอกแทน ไม่เห็นพระองค์สกั ที ตรงนัน้ แหละ ทีผ่ บู้ รรยายต้องใช้ทกั ษะปฏิภาณไวพริบ และข้อมูล จากการท�าการบ้านมา เพือ่ แก้ปญ ั หาเฉพาะหน้า ให้ได้ แล้วผู้บรรยายก็ไม่สามารถรู้ได้ว่าพระองค์ จะเสด็จกลับออกมาในงานพระราชพิธใี นส่วนทีม่ ี พระราชานุญาตให้ถา่ ยได้เมือ่ ไหร่ นัน่ คือโจทย์ทยี่ าก

ท�าอย่างไรให้ไม่เดดแอร์ เราต้องเชือ่ มโยงเรือ่ งนัน้ เรื่องนี้ ให้ข้อมูล จนกระทั่งทุกอย่างจะกลับเข้าสู่ ขัน้ ตอนให้หมายก�าหนดการต่อ การบรรยายให้สนุก หนึง่ คือความหลงใหล ในประวัติศาสตร์ งานพระราชพิธี เรื่องสถาบัน พระมหากษัตริย์ แล้วก็ชอบฟัง ชอบอ่าน ชอบดู ชอบจับสังเกตเกีย่ วกับเรือ่ งนัน้ ๆ พวกนีค้ อื การเก็บ ข้อมูลหมดเลย เรารักอะไรก็มักจะให้เวลากับ สิ่ ง นั้ น มากเป็ น พิ เ ศษใช่ ไ หมล่ ะ เราเห็ น เรื่ อ ง ประวัตศิ าสตร์กร็ บี คว้าเลย มันเป็นความชอบจาก ข้างใน ถ้าเรารัก เราก็จะเสาะแสวงหาข้อมูลจาก ความรั ก อ่ า น ดู ฟั ง มี บ รรยายที่ ไ หนเราก็ ไ ป ซึง่ เรือ่ งพวกนีม้ นั ไม่มใี ครมาก�าหนดให้เราท�า แต่เรา แสวงหามันเอง ซึ่งความรักนี้มันท�าให้เราท�างาน ออกมาได้ดเี สมอ สอง คือต้องเรียนรูต้ ลอดเวลา เพราะการบรรยายพระราชพิธีไม่ใช่เรื่องที่เราจะได้พบเห็น ในชีวติ ประจ�าวัน ไม่วา่ จะเป็นเหตุการณ์ ความหมาย ขนบธรรมเนียม หรือศัพท์แสงที่จะต้องเล่าเรื่อง เหล่านี้ ไม่ใช่สิ่งที่ทุกคนพูดกันเป็นประจ�าอยู่แล้ว แต่การเรียนรูม้ นั จะยากแค่ชว่ งเริม่ ต้นเท่านัน้ แหละ พอเรียนรูไ้ ปสักพัก เราจะเริม่ ต่อยอดและเชือ่ มโยง ได้ด้วยตัวเอง พอเกิดความรู้ความเข้าใจแล้ว ผูบ้ รรยายก็ตอ้ งถ่ายทอดออกมาได้เหมือนนักเล่า เรือ่ ง ต่างจากการฟังอาจารย์สอนหนังสือ หรือ ผู้บรรยายที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นมากๆ แ ต่บางทีท่านอาจจะเล่าเรื่องแล้วเราไม่เข้าใจก็มี เราต้องเข้าใจและสามารถถ่ายทอดออกมาให้คนอืน่ เข้าใจได้ด้วย มันต่างกัน ถ้าใครถ่ายทอดด้วย การเสิรช์ กูเกิล แล้วพรินต์บทความมาอ่านระหว่าง การบรรยาย แค่นนั้ ไม่พอนะ เพราะต่อให้เราเข้าใจ เราก็เป็นเพียงผู้ส่งสารจากบทความนั้นออกไป เท่านัน้ เอง แต่การเล่าได้ เราไม่จา� เป็นต้องมีกระดาษ แผ่นนัน้ เราเป็นผูเ้ ล่าด้วยตัวเอง การเล่าเรือ่ งด้วย ความรักและความเข้าใจมันลึกซึง้ กว่าการทีแ่ ค่อา่ น ออกเสียงหลายเท่า อยากรู้ ว่ า ตอนพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ ในหลวง รั ช กาลที่ 9 บรรยากาศ เต็มไปด้วยความโศกเศร้า คุณควบคุมและจัดการ บรรยายได้อย่างไร

จริงๆ เราร้องไห้บ่อยนะ เราเชื่อว่าทุกคน มีอารมณ์เดียวกันในงานนั้น แต่ร้องอย่างไรที่จะ กลัน้ สะอืน้ ไม่ให้เสียงดังออกอากาศ คือทุกคนทีน่ งั่ อยู่หลังไมค์ตอนนั้นร้องไห้กันทุกคน เราโชคดี ทีบ่ รรยายแบบกล้องไม่จบั หน้า แต่ถา้ รูส้ กึ ว่าตัวเอง ร้องไห้หนักจริงๆ ต้องหยุด กลัน้ หายใจ สูดลมหายใจ ลึกๆ แล้วค่อยพูดใหม่ คือน�า้ ตาไหลได้ แต่เสียงต้อง

ไม่เปลีย่ น ไม่สะอึกสะอืน้ ออกมา เหมือนกับตอน 60 ปีครองราชย์ ตอนนัน้ ไม่ได้เศร้านะ แต่รสู้ กึ ปีติ หั ว ใจพองโต เพราะเสี ย งประชาชนตะโกนว่ า ทรงพระเจริญดังมาก น�้าตามันไหลออกมาเอง จนเราต้องก้มลงสะอืน้ ใต้โต๊ะ ตัง้ สติและบรรยาย ต่อ นี่เป็นสิ่งที่อยู่เบื้องหลังการบรรยายที่คนดู อาจจะไม่เคยรูเ้ ลย

พระมหากษัตริย์ที่ยึดโยงความเป็นชาติเอาไว้ได้ ยังมีอกี กีช่ าติในโลก เราไม่ควรปล่อยให้ใกล้เกลือ กินด่าง แล้วให้สอื่ ต่างชาติมาถ่ายทอดออกไปให้ ฝรัง่ เขาดูแบบเข้าใจบ้างไม่เข้าใจบ้าง เราควรเป็น หนึ่งในคนที่ร่วมสัมผัส และร่วมบันทึกเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์นี้ด้วยหู ด้วยตา ด้วยความรู้ ความเข้าใจของตัวเอง นีค่ อื ความรูส้ กึ ทีห่ าไม่ได้

ในฐานะที่เป็นสื่อมวลชน คุณคิดว่าการท�างาน รับหน้าทีน ่ ี้ มีคณ ุ ค่าอะไรต่อคุณ

ในฐานะที่เราเป็นสื่อ แล้วก็เป็นคนหนึ่ง ที่มีหน้าที่รักษาประเทศชาติ เราไม่ได้แค่ตั้งใจ ท� า งานพระราชพิ ธีเ ท่ า นั้ น แต่ เ ราตั้ ง ใจท� า สื่ อ ทุกแบบ ทั้ง อ่ านข่ าว ท�าสารคดี ท�าทอล์ กโชว์ การเกิดมาเป็นสื่อมวลชน เรามีโอกาสที่เราพูด 1 ครัง้ มีคนฟังมากกว่า 1 คน นัน่ คืออิทธิพลของ สือ่ ทีเ่ ราจะสามารถสร้างสรรค์สงิ่ ดีๆ ได้ ปัจจุบนั นี้ โลกมันเปลีย่ นแปลงไปมาก สังคมมีความหลากหลาย มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารซึง่ หลัง่ ไหลมาจากทุกทิศ ทุกทาง บวกบ้าง ลบบ้าง กลางๆ บ้าง เราไม่สามารถ รูไ้ ด้เลยว่าคนทีร่ บั สารจากเรา สามารถตีความเรือ่ ง ทีเ่ ขารับได้อย่างมีคณ ุ ภาพมากขนาดไหน เพราะ ฉะนัน้ เราในฐานะสือ่ จึงควรท�าสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ เท่าทีจ่ ะ ท�าได้ เพื่อให้สารที่ส่งออกไปมีคุณภาพมากที่สุด ไม่ใช่แค่เรื่องงานพระราชพิธี แต่เราพยายามท�า ทุกอย่างด้วยแนวคิดนี้ เพราะเมือ่ เรามีอุดมการณ์ แบบนี้ ไม่ ว ่ า หน้ า งานจะเป็ น อะไร เราจะ สามารถแปลสิ่ ง ที่ เ ราอยากสื่ อ ออกไปได้ หมด เลยด้วยหัวใจดวงเดิม คุณคิดว่างานพระราชพิธีครั้งนี้มีความน่าสนใจ ส�าหรับคนรุน ่ ใหม่อย่างไร

เราเชือ่ ว่า งานพระราชพิธบี รมราชาภิเษก เป็ น โอกาสพิ เ ศษที่ ห าดู ที่ ไ หนไม่ ไ ด้ สมั ย ก่ อ น สถาบันพระมหากษัตริย์มีพระราชพิธีที่สืบทอด ตามประเพณีโบราณมากมาย หากเราเกิดในยุค รัตนโกสินทร์ แปลว่าสิง่ ต่างๆ ทีเ่ ราเห็นนีไ้ ด้สบื ทอด มาตั้ ง แต่ ก รุ ง ธนบุ รี ย้ อ นไปอยุ ธ ยา บางอย่ า ง ก็เก่าแก่ถงึ สุโขทัย ถามว่าเราเกิดมาชาตินี้ แต่เรา ได้ เ ห็ น สิ่ ง ที่ ถ ่ า ยทอดมาเป็ น เวลาหลายร้ อ ยปี นีค่ อื โชคดีของเรา ถึงแม้วา่ บางอย่างจะมีการพัฒนา และปรับเปลี่ยนไปตามบริบทของกาลเวลาและ สภาพสังคมในปัจจุบนั บางอย่างอาจจะมีการลด ทอน แต่อย่างน้อยเราก็ยังโชคดีที่เราเกิดมาแล้ว ได้ เ ห็ น สิ่ ง ที่ ม าจากการสื บ ทอดอย่ า งเข้ ม แข็ ง จากบรรพบุรษุ แล้วเราจะละเลยสิง่ ทีเ่ ราเกิดมาได้ โชคดีขนาดนีไ้ ปโดยเปล่าประโยชน์ทา� ไม สอง คือพระราชพิธตี า่ งๆ เหล่านีท้ สี่ ะท้อน ให้ เ ห็ น ถึ ง โบราณราชประเพณี ข องสถาบั น

“ ”

ในฐานะทีเ่ ราเป็นสือ ่ เราไม่ได้แค่ตงั้ ใจท�างาน พระราชพิธเี ท่านัน ้ แต่เราตัง้ ใจท�าทุกเรือ ่ ง ทัง้ อ่านข่าว ท�าสารคดี ท�าทอล์กโชว์ เพราะ เราถือว่า เกิดมาเป็น สือ่ มวลชน เรามีโอกาส ที่เราพูด 1 ครั้ง มีคน ฟังมากกว่า 1 คน นัน ่ คืออิทธิพลของสือ่ ที่เราจะสามารถ สร้างสรรค์สิ่งดีๆ ได้

เชือ ่ ว่าหลายคนได้รบ ั ชมงานพระราชพิธแ ี ละได้ยน ิ เสียงการบรรยายของคุณมาหลายครัง้ แต่ไม่เคย ทราบเรือ่ งราวความเป็นมา และเบือ้ งหลังการท�างาน ของคุณ

งานพระราชพิธท ี เี่ ราเห็นเป็นสิง่ สืบทอดมาตัง้ แต่กรุงธนบุรี ย้อนไปอยุธยา บางอย่างก็เก่าแก่ถงึ สุโขทัย เราเกิดมาชาตินี้ แต่เราได้เห็นสิ่งที่ถ่ายทอดกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นี่คือโชคดีของเรา

23 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


TA L K O F T H E T O W N ‘ข้าวแช่เอสแอนด์พี มีดท ี เี่ ครือ ่ งเคียง’ คลายร้อนด้วยต�ารับโบราณ บริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จ�ากัด (มหาชน) จัดกิจกรรมเวิรก์ ช็อป ‘ข้าวแช่เอสแอนด์พี มีดที เี่ ครือ่ งเคียง’ เพื่อสืบสานและอนุรักษ์ ‘ข้าวแช่’ เมนูคลายร้อนต�ารับ ไทยโบราณให้เป็นทีร่ จู้ กั แก่สาธารณชน รวมถึงคนรุน่ ใหม่ ด้วยข้าวแช่เอสแอนด์พี มีดที เี่ ครือ่ งเคียง ทัง้ ความพิถพี ถิ นั และคุณประโยชน์ทหี่ ลากหลายของลูกกะปิทอด พริกหยวก สอดไ ส้ปูจ๋า ไชโป๊หวาน หมูฝอยหวาน และผักผลไม้ แกะสลัก โดยมี ภัทรา ศิลาอ่อน ประธานกรรมการ บริษทั เอส แอนด์ พี ซิน ดิเ คท จ�า กัด (มหาชน) พร้ อ มด้ ว ย เกษสุดา ไรวา ประธานกรรมการบริหาร วิทูร ศิลาอ่อน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ก�าธร ศิลาอ่อน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่สายการผลิตและการเงิน มณีสดุ า ศิลาอ่อน ผูอ้ า� นวยการส�านักพัฒนาความยัง่ ยืนและสือ่ สารองค์กร และแขกรับเชิญพิเศษ ‘ฐิสา’ - วริฏฐิสา ลิ้มธรรมมหิศร นัก แสดงชื่อ ดัง ร่ ว มพู ด คุย และโชว์ เ สน่ ห ์ ป ลายจวัก ณ ศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ศูนย์การเรียน บริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จ�ากัด (มหาชน)

พช. ปลื้มความส�าเร็จชุมชน ท่ อ ง เ ที่ ย ว OTO P น วั ต วิ ถี จังหวัดตราด

DEV Thesis Exhibition 2019

โซลาร์ ดี ชวนสัมผัสนวัตกรรม พ ลั ง ง า น ส ะ อ า ด ในงาน สถาปนิก’62

จากกูรู สู่ ‘คุณทุเรียน’ ท็อปส์ เดินหน้าอัพเกรดคุณภาพทุเรียน

นิสิต จันทร์สมวงศ์ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน (พช.) น�าคณะเยี่ยมชมชุมชน ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ชุมชนท่าระแนะ หมู่ที่ 2 ต�าบลหนองคันทรง อ�าเภอเมือง จังหวัดตราด โดยชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถแี ห่งนีเ้ ป็นแหล่งศึกษาเรียนรูท้ อ่ งเทีย่ ว เชิงนิเวศที่มีผืนป่าชายเลนอันอุดมสมบูรณ์ เป็นป่าชายเลนผืนใหญ่ ขนาด 2,000 ไร่ อายุ กว่า 100 ปี เป็นแหล่งอาหารอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านได้อาศัยผืนป่าแห่งนี้ท�ามาหากิน จับปู ปลา กุ้ง หอย เป็นเวลา 10 ปีมาแล้ว จนกลายเป็นอัศจรรย์ปา่ ชายเลน 1 ในสถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว Unseen แห่ ง จั ง หวั ด ตราด ซึ่งความมหัศจรรย์อยู่ตรงที่การนั่งเรือไป ลานตะบูน 10 นาที ผ่านช่วงป่าในคลองถึง 3 ป่า คือ ป่าโกงกาง ป่าจาก และป่าตะบูน ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ สึ ก เหมื อ นเราได้ เ ข้ า ไปในป่ า ดึกด�าบรรพ์

นักศึกษาชัน้ ปีที่ 4 สาขาวิชาการถ่ายภาพ สร้างสรรค์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ภู มิใจน�าเสนอนิท รรศการกลุ่ ม DEV Thesis Exhibition 2019 นิทรรศการ ศิลปนิพนธ์ที่รวบรวมผลงานของนักศึกษา ทีพ่ ฒ ั นาตลอดระยะกว่า 1 ปีทผี่ า่ นมา น�าเสนอ ในประเด็นต่างๆ ตามทีน่ กั ศึกษาสนใจ ผ่าน ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว โดยระยะเวลา จัดแสดงเริ่มตั้งแต่วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม ถึงวันเสาร์ที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 ณ หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

บริษัท โซลาร์ ดี คอร์ปอเรชัน จ� ากัด ผู้ออกแบบและติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าบน หลังคาแบบครบวงจร ภายใต้สโลแกน ‘Simply Clean Energy’ ทีเ่ ชือ่ ว่าการเปลีย่ นวิธกี ารผลิต และการใช้พลังงานสามารถท�าให้โลกของเรา น่ าอยู่ขึ้นได้ ไม่ใช่เพียงเพราะเป็นพลังงาน สะอาดเท่านัน้ แต่ยงั เป็นเพราะมันเปิดโอกาส ให้ทกุ คนได้มสี ว่ นร่วมในการผลิต อันน�ามาซึง่ การแบ่งปันซึ่งกันและกันในสังคม ภายใต้ การด�าเนินงานโดย สัมฤทธิ์ สิทธิวรานุวงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โซลาร์ ดี คอร์ปอเรชัน จ�ากัด เตรียมร่วมออกบูธในงานสถาปนิก’62 งานแสดงเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมและวัสดุ ก่อ สร้างที่ใหญ่สุดในอาเซียน จัดขึ้นภายใต้ แนวคิดสถาปัตยกรรมเพือ่ ความยัง่ ยืนทีเ่ ป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม ‘Living Green: กรีน อยู่ ดี’

ท็ อ ปส์ ร่ ว มกั บ ดร. ทรงพล สมศรี กูรูทุเรียนหนึ่งเดียวของประเทศ ควบคุม คุณภาพทุเรียนตัง้ แต่ไร่จนถึงซูเปอร์มาร์เกต พร้อมปั้น ‘คุณทุเรียน’ พนักงานผู้เชี่ยวชาญ ด้ า นทุ เ รี ย นประจ� า สาขา เพื่ อ ตอบสนอง ทุ ก ความพึ ง พอใจของทุ เ รี ย นเลิ ฟ เวอร์ น�าร่อง 43 คน ประจ�าที่เซ็นทรัล ฟู้ด ฮอลล์, ท็ อ ปส์ มาร์ เ ก็ ต และท็ อ ปส์ ซู เ ปอร์ ส โตร์ โดยเป้าหมายของบริษัทอยู่ที่การผลักดัน เรือ่ งคุณภาพทุเรียน รวมถึงผลไม้ไทย เพือ่ ให้ สามารถเป็นจุดขายของประเทศในการดึงดูด นักท่องเที่ยวเข้ามาจับจ่ายใช้สอย ที่ผ่านมา บริษทั ได้เข้าไปให้ความรูก้ บั เกษตรกร การยก ระดับคุณภาพทุเรียน ซึง่ หลังจากคัดทุเรียน คุ ณ ภาพจากสวนถึ ง ซู เ ปอร์ ม าร์ เ กตแล้ ว ก็ อ ยากจะให้ ลู ก ค้ า ได้ รั บ ประทานทุ เ รี ย น คุณภาพตามระดับความสุกที่ชื่นชอบ

BULLETIN BOARD

24 ISSUE 589 06 MAY 2019


อั พ เ ด ต แ ว ด ว ง ข่าวสังคมทีน ่ า่ สนใจ ในรอบสัปดาห์

กรุ งศรีเฟิร์สช้อยส์ ชวนสมาชิกบัตร ‘รูดแล้ววาร์ป! บินลัดฟ้าสูด ่ ไู บ Marvel Zone’ กรุ ง ศรี เ ฟิ ร ์ ส ช้ อ ยส์ น� า โดย ณญาณี เผื อ กข� า กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วสิ เซส จ�ากัด จัดงานกรุงศรีเฟิร์สช้อยส์ เอ็กซ์คลูซีฟ มูฟวี่ เดย์ 2019 ชวนสมาชิกบัตรกรุงศรีเฟิรส์ ช้อยส์ระดับ Blue Plus และ Blue มาร่วมสัมผัสเรื่องราวบทสรุปมหากาพย์ พร้อมเปิดตัวแคมเปญสุดพิเศษ ‘รูดแล้ววาร์ป! บินลัดฟ้า สูด่ ไู บ Marvel Zone’ ทุม่ งบกว่า 4.4 ล้านบาท มอบโอกาส ลุน้ โชคแก่ลกู ค้ากรุงศรีเฟิรส์ ช้อยส์โดยเฉพาะ ณ โรงภาพยนตร์ สยามภาวลัย สยามพารากอน โดยร่วมลุ้นเป็นผู้โชคดี ง่ายๆ เพียงลงทะเบียนผ่าน SMS พิมพ์ EAG (เว้นวรรค) ตามด้วยหมายเลขบัตร 16 หลัก (ค่าบริการขึน้ กับผูใ้ ห้บริการ) ส่งไปที่ 08-1256-3333 หรือลงทะเบียนผ่าน UCHOOSE Application โดยสมาชิกฯ มียอดใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิต ตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไปต่อเซลส์สลิป หรือผ่อนช�าระ สินค้า หรือเบิกถอนเงินสดผ่านบัตรตั้งแต่ 3,000 บาท ขึ้นไป รับ 1 สิทธิ์ชิงโชค ได้ตั้งแต่วันนี้ถึง 30 มิถุนายน 2562 ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.firstchoice.co.th/th/ Special_Campaign/AvengersEndgame หรือสอบถามโทร. 0-2345-6789

วอลโว่คาดการณ์เติบโตปี 2019 ทุบสถิติต่อเนื่อง

ส น า ม บิ น น า น า ช า ติ ช า ง งี แห่งประเทศสิงคโปร์ เปิดตัว Jewel Changi Airport ห้างหรูแห่งใหม่ใกล้ในสนามบิน

มธ. เปิ ด รั บ สมั ค รหลั ก สู ต ร นานาชาติ (GEMBA) รุ่นที่ 4

‘Cath Kidston’ เปิดตัวร้าน โฉมใหม่แห่งแรกในประเทศไทย ณ เซ็นทรัล พระราม 9

วอลโว่ ป ระกาศความส� า เร็ จ หลั ง มี ยอดจ�าหน่ายรถยนต์ทวั่ โลกในปี 2018 มากถึง 642,253 คัน ซึง่ ทุบสถิตยิ อดขายสูงสุดในรอบ 5 ปี (เพิม่ ขึน้ 12.4% จากปี 2017) สอดคล้องกับ ทีว่ อลโว่ คาร์ (ประเทศไทย) ได้กระแสตอบรับ ที่ดีเยี่ยมจากลูกค้าในปีที่ผ่านมา ด้วยยอด จ�าหน่ายถึง 1,292 คัน (เพิม่ ขึน้ 13% จากปี 2017) โดยวอลโว่มีส่วนแบ่งตลาดรถยนต์หรูระดับ พรีเมียมในประเทศสูงถึง 4.2% โดยมียอดขาย เติบโตสูงขึ้นถึง 50% ต่อเนื่อง 2 ปีที่ผ่านมา (ปี 2016-2018) พร้อมน�าเสนอรถยนต์วอลโว่ รุ่น All New XC40 ซึ่งวอลโว่ ประเทศไทย จั ด งานเปิ ด ตั ว อย่ า งยิ่ ง ใหญ่ แ ละประสบ ความส�าเร็จสูงสุด โดยรุน่ ทีข่ ายดีทสี่ ดุ ได้แก่ XC60, XC90 และ S90

Jewel Changi Airport หรือ Jewel ไลฟ์สไตล์ เดสทิเนชันแห่งแรกของสิงคโปร์ ด้านในจะมี ร้านค้าและร้านอาหารกว่า 280 ร้าน และกว่า 60% ของจ�านวนร้านทัง้ หมดล้วนเป็นแบรนด์ใหม่ ทีไ่ ม่เคยเปิดให้บริการทีช่ างงีมาก่อน ผูท้ ตี่ อ้ งการ มาเยี่ยมชมอาคาร Jewel สามารถเดินทาง มาได้อย่างง่ายดายด้วยรถไฟหรือรถประจ�าทาง โดยนอกจากสถานี MRT สนามบินชางงีแล้ว ยังมีรถประจ�าทางให้บริการที่เทอร์มินัล T1, T2 และ T3 จ�านวนมาก นอกจากนี้ T1 ยัง เชือ่ มต่อกับ Jewel ทีบ่ ริเวณชัน้ 1 ของอาคาร ผู้โดยสารขาเข้า ส่วน T2 และ T3 ก็เชื่อมต่อ กับ Jewel ด้วยทางเดินพร้อมระบบปรับอากาศ เพื่อความสะดวกสบาย

รองศาสตราจารย์ เกศิ นี วิ ฑู ร ชาติ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เผยถึง ความส�าเร็จของโครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจสากล หลักสูตร นานาชาติ (GEMBA) ทั้ง 3 รุ่น ซึ่งได้พัฒนา กระบวนความคิดวิเคราะห์ของนักเรียนซึง่ เป็น ระดับผูบ้ ริหาร เพือ่ น�าไปต่อยอดในการบริหาร ธุรกิจ โดยเน้นการสอนแบบสาระการเรียนรู้ เป็น ‘Global MBA’ โฟกัสให้ผเู้ รียนได้เข้าใจธุรกิจ นานาชาติในระดับโลก ส�าหรับนักบริหารทีส่ นใจ โครงการปริญญาโทบริหารธุรกิจ สาขาวิชา การจัดการธุรกิจสากล หลักสูตรนานาชาติ (GEMBA) รุ ่ น ที่ 4 สมั ค รได้ ตั้ ง แต่ วั น นี้ ถึ ง 30 มิถุน ายน 2562 สอบถามรายละเอียด หลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.gemba. tbs.tu.ac.th

‘Cath Kidston’ แบรนด์ ไ ลฟ์ ส ไตล์ สั ญ ชาติ อั ง กฤษ ภายใต้ ก ารบริ ห ารของ TANACHIRA ฉลองการเปิดตัวร้านโฉมใหม่ แห่งแรกในประเทศไทย ภายใต้คอนเซ็ปต์ การดีไซน์แบบ ‘Modern Vintage’ ผสมผสาน ความเป็นอังกฤษแบบดัง้ เดิมเข้ากับสีสนั และ ความทันสมัย พร้อมกิจกรรม Snap & Share ภาพในบรรยากาศที่ถูกเนรมิตให้มีกลิ่นอาย ของฤดูรอ้ นในประเทศอังกฤษ โดยมี ‘Flower Wall’ ก�าแพงดอกไม้แสนสวย และ ‘Flower Cart’ รถเข็นดอกไม้ที่ได้รับแรงบันดาลใจ มาจากวั น สบายๆ ใน English Garden ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พระราม 9

25 ADAYBULLETIN.COM FACEBOOK.COM/ADAYBULLETIN


จิตอาสา 1. สองสามปีทผี่ า่ นมา ผมไปเป็นอาสาสมัคร ให้กบั กลุม่ TEDxBangkok ในฐานะของคิวเรเตอร์ ท�าให้มีโอกาสได้ร่วมงานกับคนรุ่นใหม่ไฟแรง มากหน้าหลายตา มาในปีนี้ ผมน่าจะมีส่วน เข้ า ไปช่ ว ยเขาท� า คอนเทนต์ อ อนไลน์ บ ้ า ง นิดหน่อย ก็หวังว่าน่าจะได้พบปะและร่วมงาน กับอีกหลายคน การได้ ร ่ ว มงานกั บ คนกลุ ่ ม นี้ ท� า ให้ ได้ เ รี ย นรู ้ อ ะไรมากไปกว่ า เดิ ม ได้ ม องเห็ น ความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมอย่ า งชั ด เจน ผ่ า นมุ ม มองและแนวคิ ด ของผู ้ ค นเหล่ า นั้ น ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ น อกวงการสื่ อ และเป็ น คน ต่างรุ่น ต่างยุคสมัย ความแตกต่างที่สังเกต เห็ น ได้ ชั ด เจนคื อ มุ ม มองที่ มี ต ่ อ ชี วิ ต และ การงาน ในงาน TEDxBangkok เมื่อสองปีก่อน ที่ ห ลั ง เวที ผมคุย กับ เพื่อ นคิว เรเตอร์ ค นอื่น ๆ เราตั้งค�าถามกันว่า ท�าไมงานอีเวนต์ขนาดใหญ่ ที่ จั ด โดยอาสาสมั ค รล้ ว นๆ ถึ ง ได้ อ อกมาดี แบบนี้? ผมตอบกลับไปว่า เพราะนี่คืองานอาสาสมัครล้วนๆ มันจึงออกมาดี พวกเราลองช่วยกันค�านวณบวกลบคูณหาร ต้นทุนการจัดงาน ว่าถ้าเราร่วมกันเปิดบริษัท รั บ จั ด งานอี เ วนต์ ท อล์ ก แบบนี้ ใช้ เ วนิ ว ใหญ่ ขนาดนี้ มี ซั พ พลายเออร์ ม ากมายขนาดนี้ ใช้สปีกเกอร์เป็นคนมีชื่อเสียงระดับนี้ และมี ทีมงานอีกเป็นร้อยๆ คน เราจะต้องมีต้นทุน ค่าใช้จ่ายเท่าไหร่ และต้องหาสปอนเซอร์ให้ได้ มากกว่านี้อีกกี่เท่าถึงจะจัดงานแบบนี้ได้ ค�าตอบคือมันแทบจะเป็นไปไม่ได้เลย ในโลกแห่งความจริง เราจัดงานแบบนี้ไม่ได้ การท�างานในโลกแห่งความจริงแตกต่างจากนี้ ราวฟ้ากับเหว 2. บางทีสงิ่ ทีผ่ มจะอธิบายต่อไปนีม้ นั อาจจะ ไม่ได้เกี่ยวกับ TED เท่าไหร่ เพราะมันก็แค่เป็น นอนโปรฟิ ต ออร์ แ กไนเซชั น ที่ ป ล่ อ ยไลเซนส์ มาให้ใครก็ได้ไปใช้จดั งานในรูปแบบทอล์กคล้ายๆ กันนี้ สิ่งที่ผมก�า ลังจะเขียนถึงน่าจะเกี่ยวกับ ทีมงานและการวางระบบการท�างานของทีมนี้ มากกว่า สิ่งที่เกิดขึ้นภายนอกก็คือ โลกได้เปลี่ยนแปลงไปมาก เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงไป จนท�าให้คนรุ่นใหม่ที่เรียนจบ มหาวิทยาลัยออกมาไม่ยอมเดินต่อไปบนเส้นทาง เดิมๆ เงินทองและความมั่น คงไม่ใช่ค� า ตอบ ส�าหรับคนรุ่นใหม่ หรือถึงแม้คนรุ่นใหม่จะยังคง อยากได้เงินทองและความมั่นคงอยู่ แต่พวกเขา คิดว่ามีสิ่งอื่นที่ส�าคัญกว่านั้น แล้วอะไรที่กระตุ้นให้คนรุ่นใหม่ท�างาน ถ้าไม่ใช่เงินทองและความมั่นคง ในหนังสือ The Upside of Irrationality ของ แดน อาเรี ย ลี อธิ บ ายถึ ง ผลงานกั บ ค่าตอบแทน เขาบอกว่าการกระตุน้ การท�างานด้วย การให้รางวัล กั บ การลงโทษไม่ ไ ด้ ใ ห้ ผ ลลั พ ธ์ ชัดเจนทุกกรณี เพราะมนุษย์มีความคิดซับซ้อน กว่านั้น งานแบบซ�้าซากจ�าเจและใช้ทักษะต�่า จะตอบสนองได้ ดี เ มื่ อ เที ย บกั บ ค่ า ตอบแทน ที่สูงขึ้น แต่งานที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์

หรือทักษะเฉพาะเจาะจงจะไม่ตอบสนองกับ ข้อเสนอเรื่องค่าตอบแทนที่สูงขึ้น ดังนั้น พวกผู้บริหารระดับสูงในองค์กร ขนาดใหญ่ทมี่ เี งินเดือนมากกว่าพนักงานระดับล่าง หลายสิบเท่า ถึงแม้จ ะได้เงินโบนัส ประจ� าปี ในเรตเดี ย วกั บ พนั ก งานทุ ก คน เขาก็ ไ ม่ ไ ด้ บริหารธุรกิจได้ดีขึ้นในอัตราเดียวกัน รวมถึง ผลงานของนั ก คิ ด นั ก เขี ย น ครี เ อที ฟ ฯลฯ งานแบบนี้จึงไม่ได้ถูกกระตุ้นด้วยค่าตอบแทน แล้วงานเหล่านี้ถูกกระตุ้นด้วยอะไรล่ะ? แดเนียล เอช. พิงก์ อธิบายถึงสิง่ ทีก่ ระตุน้ ให้คนท�างานทีแ่ ท้จริง ในหนังสือ Drive คนท�างาน ต้องการสามสิ่งส�าคัญ ประกอบด้วย

Purpose ทีส่ า� คัญและสูงส่งแค่ไหน เขาจะยิง่ รูส้ กึ ว่ามันท้าทายที่จะมุ่งไปทางนั้น ด้วยการแสดง ฝีมอื ความถนัด หรือ Mastery ของเขาออกมา อย่างเต็มก�าลัง และต้องการให้คุณเปิดโอกาส ให้เขามีอิสระในการท�างาน หรือ Autonomy อย่างเต็มที่ ผมคิดว่า อาสาสมัครทีม นี้ต อบโจทย์ นี้ ทุ ก ข้ อ สโลแกนว่ า Idea Worth Spreading เป็ น นามธรรมลอยๆ มากพอที่ จ ะเป็ น Why หรือ Purpose ให้กบั คนหนุม่ สาวทีเ่ ข้ามาร่วมงาน มันเปิดกว้างให้ทุกคนตีความให้สอดคล้องกับ ตัวเอง ว่าเขาจะมีจุดประสงค์อะไรในการเข้ามา ท�า เขาอยากท�าอะไร และเขาจะท�าอะไรได้บ้าง

1. Autonomy หมายถึ ง การมี อิ ส ระ ทีเ่ ขาสามารถควบคุมตัวเอง สัง่ การหรือก�าหนด การท�างานด้วยตัวเอง 2. Mastery หมายถึ ง การที่ เ ขาได้ ใ ช้ ความสามารถพิเศษหรือความถนัดเฉพาะตัว อย่างเต็มที่ในการท�างาน 3. Purpose งานนัน้ ให้จดุ มุง่ หมายทีส่ า� คัญ และสูงส่งขึ้นไปกว่าตัวคนท�างาน เรือ่ ง Purpose นีค้ ล้ายกับคอนเซ็ปต์ Start With Why ของ ไซมอน ซินเนก ที่บอกว่าผู้น�า องค์กรจะต้องเริ่มต้นคิดด้วยค�าถามว่า ‘Why’ คือต้องถามว่าท�าไมเราจึงมาท�างานนี้ ท�าไม จึงมีองค์กรนี้ แล้วหลังจากนั้นเราค่อยมาลงใน รายละเอียดการท�างาน ว่าจะท�าอย่างไร คือ ‘Why’ และท�าอะไร คือ ‘What’ ในขณะที่องค์กร แบบเก่ามักจะเริม่ ต้นทีจ่ ะท�าสินค้าอะไร จะผลิต ออกมาอย่างไร แล้วค่อยหาค�าอธิบายมาใช้ เพื่อโฆษณาว่า ‘ท�าไม’ ลูกค้าจึงควรอุดหนุนเรา คนรุ ่ น ใหม่ จ ะรู ้ สึ ก อยากท� า งานให้ คุ ณ หรือไม่? มันขึน้ อยูก่ บั ว่าเขาสนใจ ‘Why’ ของคุณ หรือเปล่า คุณเองในฐานะผูน้ า� องค์กรหรือทีมงาน มี Why แล้วหรือยัง? งานนี้มีจุดมุ่งหมายหรือ

โดยไม่เกีย่ วว่าจะมีเงินทองหรือความมัน่ คง อะไรให้เลยด้วยซ�า้ เพราะส่วนใหญ่เวลาพวกเรา นัดประชุมกัน แต่ละคนช่วยกันควักเงินค่ากาแฟ เพื่อต่อเวลาเช่าห้องโคเวิร์กกิ้งสเปซไปเรื่อยๆ ไม่มใี ครยอมให้การประชุมจบลงง่ายๆ เพราะว่า มันสนุก ท้าทาย ทุกคนน�า Mastery ของตัวเองออกมา แสดงให้เพื่อนประจักษ์ บางคนมีเน็ตเวิร์กรู้จัก ผู ้ ค นกว้ า งขวาง บางคนเชี่ ย วชาญการสร้ า ง เส้นเรื่อง บางคนคิดแบบคอนเซปชวล คอยจับ ประเด็นเนื้อหาทั้งหมด บางคนที่รู้เรื่อง Design Thinking ก็จะช่วยน�าการประชุมไป ในที่ประชุม ไม่มีล�าดับขั้น ไม่มีหัวโต๊ะ ไม่มคี นเคาะ มีแค่โพสต์อติ ไม่มคี �าสัง่ การ เพราะ มันเป็นงานอาสาสมัครไม่ได้เงินแบบนี้ จึงไม่มใี คร กล้าสั่งใคร มีแค่ค�าขอร้องจากเพื่อนว่ามาช่วย กันหน่อยนะ และทุกคนก็จะมีอสิ ระ มี Autonomy ที่จะรับผิดชอบส่วนงานของตัวเองไป จนกระทั่ง การค้นหาสปีกเกอร์และเพอร์ฟอร์เมอร์ครบถ้วน สคริปต์ส�าเร็จเสร็จสิ้น ด�าเนินการซ้อมครั้งแล้ว ครั้ ง เล่ า และปรากฏให้ เ ห็ น เป็ น ผลพวงของ แรงงานอาสาสมัครนับร้อยในวันงานจริง

EDITOR,S NOTE เรื่อง : วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ ภาพ : อุษา นพประเสริฐ

3. ค� า ถามต่ อ ไป แล้ ว ถ้ า มี เ รื่ อ งเงิ น ทอง เข้ า มาเกี่ย วข้ อ ง จะเกิด อะไรขึ้น ? สมมติว ่ า ไลเซนส์โฮลเดอร์ออกมาประกาศว่าผลประกอบการ ในปีทผี่ า่ นมาเราดีเยีย่ ม มีเงินก�าไรสะสมต่อเนือ่ ง ไปสูก่ ารจัดงานปีหน้าล้นเหลือ ท�าให้อาสาสมัคร ทุกคนในปีหน้าจะได้รับเงินเดือน ค�าตอบคือ มันจะไม่เกี่ยวกับผลงานเลย มันจะไม่ได้ทา� ให้คนทีอ่ ยูก่ นั ตอนนีท้ า� งานออกมา ได้ดกี ว่านี้ และก็ไม่ได้จงู ใจให้คนหน้าใหม่เข้ามา ท�างานนี้มากนัก แถมมันอาจจะท�าให้สปิริต บางอย่างในทีมเปลี่ยนแปลงไป ในหนังสือ The Upside of Irrationality อ้างถึงโครงการสร้างโรงไฟฟ้าแห่งหนึง่ ในตอนแรก คนในเมื อ งนี้ โ หวตให้ ก ารสนั บ สนุ น มากกว่ า ต่อมาเมื่อทางการประกาศว่าจะมีการจ่ายเงิน ชดเชยความเดือดร้อนให้ ผลโหวตในตอนหลัง กลับมีผู้สนับสนุนลดลง คนส่วนใหญ่อยากเสียสละและท�าอะไร เพื่อคนอื่น ถ้ามันไม่เหลือบ่ากว่าแรกมากนัก แต่ ร ะบบเศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บั น ตี ค ่ า ทุ ก อย่ า ง เป็นเงินทีน่ า� มาแลกเปลีย่ นกัน และมันก็ทา� ให้เรา สูญเสียสปิริตนี้ไปในที่สุด เมือ่ ปีทแี่ ล้ว หัวหน้าทีมคิวเรเตอร์ถามผม ในฐานะอาสาสมั ค รที่ อ ายุ ม ากที่ สุ ด ในที ม ว่าประทับใจอะไรมากที่สุดกับการมาท�างานนี้ ผมบอกว่าผมชอบสปิรติ ของการให้ ชอบการท�างาน อาสาสมัคร มันเป็นสิง่ ทีผ่ มหาแทบไม่ได้ และมัน เลือนรางเต็มทีในโลกการท�างานในชีวิตจริง สปิริตของทีมท�าให้ผมนึกถึงตอนยังเป็น เด็กนักศึกษา เวลาเราไปค่ายอาสาฯ เราจะช่วย กันแบกข้าวของ ช่วยกันท�างาน มีงานเข้ามา เราจะแย่งกันเข้าไปช่วย ไม่มีใครเกี่ยง ไม่มีใคร ถามถึงค่าแรง ทุกคนแค่อยากช่วย อยากท�า ผมชอบความรู้สึกที่ว่า เมื่อเรามีปัญหา หรืออุปสรรคอะไรเข้ามา เมื่อเรามีงานหนักหนา อะไรเข้ามา แล้วทุกคนในทีมจะเข้ามารุมช่วยกัน ช่วยได้บ้าง ไม่ได้บ้าง แก้ได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ก็ไม่เป็นไร เพราะไม่มีใครโกรธกัน เพราะนี่ มันคืองานอาสาสมัคร นี่คืองานในอุดมคติ เท็ ด เป็ น โลกการท� า งานในอุ ด มคติ มีหลายคนมีหน้าที่การงานประจ�าที่ดี พอมา รับท�างานอาสาสมัครที่นี่ แล้วสักพักก็กลับไป ลาออกจากงานประจ�า จนเรามีแฮชแท็กตลกๆ ประจ�ากลุ่มเราว่า #ท�าเท็ดลาออก ในขณะทีเ่ ด็กๆ ทีเ่ พิง่ เรียนจบแล้วมาท�างาน อาสาสมัคร ก็เริ่มตั้งค�าถามกับหน้าที่การงาน ของตัวเอง จนท�าให้หลายคนยอมเป็นฟรีแลนซ์ ไปยาวๆ เพือ่ เลือกรับงานทีเ่ หมาะกับตัวเองเท่านัน้ หลายคนยอมว่างงานโดยสมัครใจ แล้วไปหา ประสบการณ์ ท� า งานอะไรก็ไ ด้ ได้ ห รือ ไม่ ไ ด้ ค่าตอบแทนก็ได้ เพียงแค่ต้องการความท้าทาย แปลกใหม่กว่าจะเดินเข้าระบบเก่า หลายคนไป ท�างานในองค์กรธุรกิจเพื่อสังคม หรือในองค์กร เล็กๆ ที่ไม่ได้เน้นความมั่นคงหรือรายได้ ไม่ใช่ อาชีพการงานแบบเดิมๆ ที่คนรุ่นก่อนคุ้นเคยกัน นี่ คื อ ปรากฏการณ์ ที่ ผ มสั ง เกตเห็ น กั บ คนรุน่ ใหม่ พวกเขาให้คณ ุ ค่ากับเรือ่ งงานในแบบที่ แตกต่างจากคนรุน่ เก่า นอกจากเรือ่ งเงินทองและ ความมั่ น คง ผมรู ้ ว ่ า มี สิ่ ง อื่ น ที่ ส� า คั ญ ไม่ น ้ อ ย ไปกว่ากัน

26 issue 589 06 MAY 2019


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.