FACEBOOK

Page 1

คู่มือการใช้งาน Facebook ตอนที่ 1 การใช้งาน Facebook เบื้องต้น 1. ทาความรู้จักกับ Facebook Facebook ถือกาเนิดขึ้นในปี 2004 โดย Mark Elliot Zuckerberg ด้วยวัยเพียง 26 ปี เขาเกิดใน ครอบครัวเชื้อสายยิว -อเมริกันเมื่อปี 1984 และใช้ชีวิตแสนธรรมดาอยู่ในรัฐนิวยอร์ก แม้กระทั่งทุกวันนี้เขาก็ยังใส่ เสื้อเชิ้ตลากรองเท้าแตะไปทางานย่านพาโลอัลโต เคลิฟอร์เนียเป็นประจาทุกเช้า Mark Elliot Zuckerberg ได้ถูกจัดอันดับเป็นมหาเศรษฐีที่อายุน้อยที่สุดในโลก ได้มีการประมาณการ รายได้ของเขาโดยนิตยสารฟอร์บว่า รายได้ต่อปีประมาณ 300 ล้านเหรียญ มูลค่าทรัพย์สินสุทธิประมาณ 1,500 ล้านเหรียญ เรามาดูชีวิตในวัยเด็กดีกว่าว่าเขาทาอะไรกัน … ชั้นประถม: เขาสามารถที่จะเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ ชั้นไฮสคูล : เขาและเพื่อนสามารถเขียน plugin สาหรับโปรแกรม winamp สาหรับเครื่องเล่น MP 3 ได้ จนบริษัท AOL และ Microsoft ชวนไปทางานด้วย แต่เขาก็ปฏิเสธ!! ตอนเรียนที่มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด : เขาได้ Hack เข้าไปในระบบทะเบียนของนักศึกษาเพื่อดึงรูปจาก ฐานข้อมูลมาใส่ใน website: Facemask.com ผลที่ตามมาก็คือเขาถูกระงับการใช้ internet ทั้งที่ก่อนหน้านี้ เขา ได้เสนอให้ทางมหาวิทยาลัยจัดทา web directory สาหรับข้อมูลที่รวบรวมรายชื่อ ภาพถ่ายของนักศึกษาที่เรียกว่า Facebook แต่ทางมหาวิทยาลัยก็ปฏิเสธ!!! จากผลของการถูกลงโทษในมหาวิทยาลัยทาให้ Mark เกิดความรู้สึกท้าทายอยากทาให้ Facebook.com ถือกาเนิดและเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมาได้ ดังนั้นเขาจึงได้เช่น hosting ในราคา 85 เหรียญ ในเวลา 3 เดือนหลังจาก นั้น และต่อมา เพื่อนๆของเขาได้แนะนาให้รู้จักกับผู้บุกเบิกกิจการ Paypal เขาได้ใช้เวลาในการนาเสนอไม่เกิน 15 นาที ก็ได้เงินมาลงทุน 500,000 เหรียญ เมื่อคิดถึงมหาเศรษฐีอย่าง Bill Gate ก็เลยตัดสินใจลาออกจาก มหาวิทยาลัย ผลปรากฏว่า ภายในปี 2008 มีสถิติผู้เข้าชม 5 ล้านคน และยอดทะลุถึง 300 ล้านคนในปี 2009!!. ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่า yahoo ยื่นข้อเสนอในการซื้อกิจการ 1,000 ล้านเหรียญ และนิตยสาร Time ได้จัดให้ Mark เป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลของโลกในปี 2008 เขามีคติในการทางานที่เข้าใจง่ายว่า “ทาในสิ่งที่รัก และรักในสิ่งที่ทา” เรามาดูวัตถุประสงค์ของการตั้ง Facebook กันก่อนว่ามีวัตถุประสงค์ อย่างไร คนที่มาเป็นสมาชิกใน เครือข่าย จะต้องมีการเปิดเผยความจริงใจให้กับเพื่อนโดยการแสดงข้อมูลที่เป็นจริง เพราะคนที่คิดว่าจะเพื่อนกัน ใน Facebook ก็ต้องเปิดเผยตัวตนที่แท้จริงด้วย แต่ถ้าเพื่อนคนไหนไม่ได้เปิดเผยตัวตนเลย อาจจะมองว่าคนนั้นไม่ จริงใจกับเพื่อนฝูงก็ได้นะค่ะ ดังนั้น เราจะเห็นว่าในหน้า Profile จะเป็นหน้าหลักที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวตนของ แต่ละคนและคนที่เป็นสมาชิกในเครือข่ายของเขาสามารถเห็นได้ (http://www.ziddu.com/download/9881313/1.docx.html สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2553) กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

1


คู่มือการใช้งาน Facebook

2

2. สัญลักษณ์ของ Facebook

ผู้ก่อตั้ง/สร้าง Facebook

3. Facebook ทาอะไรได้บ้าง 3.1 สาหรับสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ 3.2 ใช้ติดต่อเพื่อนในกลุ่ม 3.3 การแบ่งบันข้อมูลต่าง ๆ เช่น ความรู้ ความคิดเห็น ภาพ วิดีโอ ฯลฯ 3.4 สร้างอัลบั้มภาพส่วน 3.5 เป็นเว็บไซต์ส่วนตัว 3.6 เล่นเกม 3.7 การสร้างกลุ่มเครือข่าย 3.8 การ Chant Online 3.9 การสร้างกิจกรรม 3.10 การสร้าง Fanpage 3.11 ใช้โฆษณาสินค้า 3.12 วงการศึกษา เช่น ใช้สร้างเครือข่ายระหว่างครูนักเรียน การสั่งงาน การบ้านนักเรียน ฯลฯ 3.13 การติดต่อเชื่อมโยงกับเว็บอื่นๆ เช่น Wordpress, MSN, Twitter, Slideshare 3.14 Application ต่างๆ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

3

4. การสมัครใช้งาน ข้อกาหนดของการใช้งานต้องมีอีเมล์ ใช้สาหรับสมัครลงทะเบียน เช่น hotmai.com, Gmail.com 4.1 ขั้นตอนแรกเข้าเว็บไซต์ http://www.facebook.com

4.1 เข้าเว็บไซต์ http://www.facebook.com

4.2 เริ่มกรอกข้อมูลสาหรับลงทะเบียน

กรอกข้อมูลให้ครบ จารหัสผ่านไว้ สาคัญมาก

คลิก ลงทะเบียน กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

4

4.3 แสดงจอภาพดังนี้ ให้พิมพ์ตัวอักขระที่แสดง ให้เว้นวรรค ตามภาพ กรณีที่อ่านตัวอักขระให้ออกหรือ มองเห็นไม่ชัดเจนให้คลิก ลองใช้คาอื่น เพื่อเปลี่ยนตัวอักขระใหม่ พิมพ์ข้อความในกรอบ กด ลงทะเบียน

พิมพ์ตัวอักษรตามกรอบ คลิกปุ่ม ลงทะเบียน

4.4 แสดงขั้น Step 1 การค้นหาเพื่อน (ใช้สาหรับเชิญชวนเพื่อน หรือเพื่อนที่มีการใช้งาน Facebook ก่อนหน้านี้แล้วขั้นตอนนี้สามารถกาหนดหรือค้นหาได้ภายหลังให้ คลิก ข้ามขั้นตอนนี้ ไปก่อน

พิมพ์ตัวอักษรตามกรอบ คลิกปุ่ม ลงทะเบียน

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

5

4.5 แสดง Step 2 ข้อมูลส่วนตัว ในขั้นตอนนี้จะกรอกหรือไม่ก็ได้ สามารถกรอกได้ภายหลัง กรณีที่ยังไม่ กรอกให้คลิก ข้าม กรณีที่กรอกข้อมูลให้ คลิก บันทึกและดาเนินการต่อ

พิมพ์ตัวอักษรตามกรอบ คลิกปุ่ม ลงทะเบียน

4.6 Step 3 รูปประจาตัว (สามารถอัพโหลดรูปประจาตัวภายหลังได้) กรณีที่ไม่อัพโหลดรูป คลิก ข้าม กรณี อัพโหลดรูปภาพให้คลิก อัพโหลดรูปภาพ (ในที่นี้คลิกอัพโหลดรูปภาพ)

4.6.1 คลิก

4.6.2 คลิก เลือกไฟล์ รูปภาพที่ต้องการ

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

6

4.6.3 แสดงภาพประจาตัว ของเราที่อัพโหลด

4.6.4 คลิก เลือกไฟล์ รูปภาพที่ต้องการ

4.7 แสดงหน้าจอดังนี้ ระบบแจ้งให้ยืนยันการสมัคร ผ่านอีเมล์ที่เราใช้สมัคร

4.8 เข้าไปตรวจสอบเช็คเมล์ของ Facebook ที่ส่งมายังเมล์ของเรา

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

7

คลิกเมล์ ชื่ออีกเมล์หนึ่งก้าวของการ เริ่มต้นบนเฟชบุ๊ค

คลิกเมล์ ชื่ออีกเมล์หนึ่งก้าวของการ เริ่มต้นบนเฟชบุ๊ค

คลิก URL เพื่อยันยันการสมัครการ เป็นสมาชิก

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook 4.9 เมื่อคลิกยืนยันผ่านอีเมล์เรียบร้อยแล้ว

5. การเข้าสู่ระบบ และออกจากระบบ การออกจากระบบ เพื่อความปลอดภัยป้องกันคนอื่นแอบใช้ Facebook ของเรา หลังเลิกใช้งาน

การเข้าสู่ระบบ เข้าเว็บไซต์ http://www.facebook.com

กรอกอีเมล์ และรหัสผ่านที่ใช้สมัคร คลิก เข้าสู่ระบบ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

8


คู่มือการใช้งาน Facebook

9

6. เมนูการใช้งาน 6.1

6.2

6.3

6.6

6.4 6.5

6.8 6.7 6.9

6.11

6.12 6.10

6.1 เมนูแจ้งเตือนจากระบบ 6.2 สาหรับค้นหาเพื่อน อีเมล์ ข้อความ กลุ่ม 6.3 เมนูหลักจัดการข้อมูลส่วนตัวและอื่นๆ 6.4 รูปภาพประจาตัว และแก้ไขรูปประจาตัว 6.5 สาหรับพิมพ์ข้อความแบ่งบัน 6.6 กิจกรรม และแจ้งเตือนวันเกิดเพื่อน 6.7 แนะนาเพื่อนอาจเป็นคนที่คุณรู้ 6.8 เมนู Application ต่างๆ 6.9 ข้อความที่แบ่งบันจากเพื่อนๆ และตัวเรา 6.10 เพื่อนที่กาลังออนไลน์เล่น Facebook อยู่ 6.11 การแจ้งเตือนคาขอจากเกม และ Application ต่างๆ 6.12 สาหรับสนทนาเพื่อน Chat

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

10

7. การค้นหาเพื่อน ข้อมูล กลุ่ม ข้อความ อื่นๆ

7.1

7.1 สามารถพิมพ์ข้อความ อีเมล์ ชื่อคนที่เราต้องการ กรณีพิมพ์ เช่น teem ถ้าในระบบมีข้อมูลดังกล่าว จะแสดงชื่อที่เราต้องการให้คลิกเลือก กรณีไม่พอให้ Enter กรณีพบให้คลิก เพิ่มเป็นเพื่อน เพื่อขอ เป็นเพื่อน 7.2 กรณีกดปุ่ม Enter จะแสดงภาพการค้นหาดังนี้

7.2.1 พิมพ์คาที่ต้องการค้นหา

เมนูค้นหา

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

11

คาอธิบายเมนูการค้นหา

สามารถคลิกเมนูที่ต้องการ ค้นหาเฉพาะด้าน

เมนูการค้นหา ผลการค้นค้นหาทั้งหมด บุคคล หน้าต่างๆ แอพพลิเคชั่น กิจกรรม ผลการค้นหาจากเว็บ ข้อความจากเพื่อน โพสต์จากทุกคน

คาอธิบาย ค้นหาข้อมูลทุกอย่างทุกหัวข้อในเมนู ค้นหาเพื่อน บุคคลอื่นๆ ค้นหาหน้า pages ต่างๆ ค้นหา Application ค้นหากิจกรรมต่างๆ ค้นหาข้อมูลจากเว็บต่างๆ ค้นหาข้อความที่เพื่อนแบ่งบันโพสต์ ค้นหาข้อความจากทุกๆคนที่เป็นสมาชิกของ Facebook

8. เมนูหลัก หน้าแรก ข้อมูลส่วนตัว บัญชีผู้ใช้งาน หน้าแรก คือ ดูข่าวใหม่จากการแบ่งบันจากเพื่อนของเรา ข้อมูลส่วนตัว คือ ดูหน้าของเราเอง เช่น ข้อความ รูปภาพ ประวัติ กระดานข้อความ บัญชีผู้ใช้งาน คือ ใช้สาหรับกาหนดตั้งค่าเพื่อน ข้อมูล ส่วนตัว การแจ้งเตือน วิธีการใช้สาหรับความช่วยเหลือใน การใช้งาน

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

12

9. ตั้งค่าบัญชีผู้ใช้ คลิกเมนู บัญชีผู้ใช้ เลือก ตั้งค่าบัญชีผู้ใช้ 9.1

9.2

สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล โดยคลิกที่คาว่า เปลี่ยน เช่น เปลี่ยนชื่อผู้ใช่ รหัสผ่าน

ตั้งค่า เครือข่าย การแจ้งเตือน โทรศัพท์มือถือ ภาษา ชาระเงิน โฆษณาบน Facebook

ตั้งค่าข้อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อ สกุล ชื่อผู้ใช้ อีเมล์ เปลี่ยนรหัสผ่าน สร้างเครือข่าย กาหนดการแจ้งเตือนทางอีเมล์ เช่น วันเกิด เพื่อนแสดงความคิดเห็น ฯลฯ สมัครบริการ Text Messages สาหรับ Facebook เปลี่ยนภาษา เมนูภาษาการใช้งาน เช่น ไทย อังกฤษ จีน ชาระเงินไอเทมเกม เครดิต Facebook สร้างป้ายการโฆษณา

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

13

10. ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว ตั้งค่าความเป็นส่วนตัวให้ใครเห็นข้อมูลอะไรบ้าง เช่น ดูรายชื่อเพื่อน การส่งข้อความ ที่อยู่ การศึกษาประวัติการทางาน ดูรายชื่อเพื่อน สิ่งที่เราชื่นชอบ โดยสามารถกาหนดว่าให้ใครเห็นบ้างสามารถ กาหนดได้ดังนี้ ทุกคน เพื่อนของเพื่อน เพื่อนเท่านั้น เช่น กาหนดวันเกิดให้เฉพาะเพื่อนเท่านั้นที่เห็น ไม่ให้เพื่อนของเพื่อน และคนที่ไม่ใช่เพื่อนเรามองไม่เห็น

10.1

10.2

11. การแจ้งเตือนจากระบบ ระบบจะแจ้งเตือนเป็น ตัวเลขสีแดง ว่าเกิดอะไรกับ Facebook และเพื่อนของเราบ้าง และสามารถคลิก ดูได้จากเมนู การแจ้งเตือน คาร้องขอเป็นเพื่อน ข้อความ

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

14

คำร้องขอเป็นเพื่อน แจ้งเตือนว่ามีบุคคลที่ต้องการร้องขอเป็นเพื่อนเรา สามารถคลิกรับเพื่อน ข้อควำม แจ้งเตือนว่ามีคนส่งข้อความมาถึงเรา สามารถเปิดอ่านได้ทัน กำรแจ้งเตือน แจ้งเตือนต่างๆ เช่น เตือนว่าเพื่อนแสดงความคิดเห็น แท็กภาพ ถูกใจ 12. หน้า-->ข้อมูลส่วนตัว

12.1

12.2

12.3 12.4

12.5

12.6

12.8

12.7

12.1 12.2 12.3 12.4 12.5 12.6 12.7 12.8

คลิก ข้อมูลส่วนตัว เมนู กระดานข้อความ ข้อมูลของเรา รูปภาพ กล่องบันทึก ลิงก์ ฯลฯ สาหรับแบ่งบันรูปภาพ วิดีโอ กิจกรรม ลิงก์ ดูรูปภาพทั้งหมดของเรา แก้ไขข้อมูลส่วนตัว ใส่ข้อความสถานะประจาวัน ข้อมูลเบื้องต้น ความสัมพันธ์ วันเกิด จานวนเพื่อนทั้งหมดของคุณ ส่วนที่แสดงข้อมูลที่เราแบ่งบัน และเพื่อนมาโพสต์

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

15

13. การแบ่งบันข้อมูล กระดานข้อความสามารถโพสต์ข้อความได้ไม่เกิน 420 ตัวอักขระ สิ่งที่สามารถโพสต์แบ่งบันได้ นอกจากข้อความ เช่น URL, Website, Youtube รูปภาพ, VDO

9.3 คลิกแบ่งบัน 9.1 พื้นที่สาหรับใส่ข้อความ , URL 9.2 กาหนดการแบ่งบันให้ใคร เห็น

ในการแบ่งบันสามารถกาหนดได้ คือ ให้เห็นสิ่งที่เราแบ่งบันได้ บ้างโดยสามารถคลิกเลือกได้ที่ รูป แม่กุญแจ คือ แบ่งบันให้ทุกคน เพื่อนของเพื่อน เพื่อนเท่านั้น ปรับแต่ง (ให้เฉพาะบางคน เฉพาะกลุ่ม กาหนดเอง) ตัวอย่างการแบ่งบันข้อความ และวีดีโอจาก Youtube A. พิมพ์ข้อความ และนา link Url จาก Youtube มาใส่

B. คลิกแบ่งบัน

C. แสดงที่หน้า FB กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

16

14. การสร้างอัลบั้มภาพ และการแบ่งบันภาพ

14.1

14.1 คลิกปุ่มรูปภาพ 14.2 แสดงภาพดังนี้

14.2

14.3

อัพโหลดภาพจากเครื่อง คือ ใส่ภาพ 1 ภาพ หรือภาพจากอีเมล์ ถ่ายรูป คือ ถ่ายรูปจากกล้องเว็บแคม สร้างอัลบั้ม คือ สร้างอัลบั้มใส่ภาพได้มากว่า 1 ภาพ 14.3 สาธิตการสร้างอัลบั้ม คลิก ข้อความ สร้างอัลบั้ม ดังภาพ 14.3

อ่านคาแนะนาสักนิดเพื่อ ความเข้าใจ และใช้ ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

14.4

14.4 เลือกรูปภาพที่ต้องการอัพโหลด เมื่อเลือกรูปภาพที่ต้องการเรียบร้อย

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

17

แสดงภาพดังนี้ แสดงเวลาของการอัพโหลดทั้งหมด จานวนรูปภาพ

14.5 14.6

14.7

14.9

15.8

14.5 แสดงจานวนภาพ 7/13 กาลังอัพโหลดได้ 7 ภาพ จากทั้งหมด 13 ภาพ 14.6กาหนดชื่ออัลบั้ม และสถานที่ ที่ต้องการ 14.7 คุณภาพ คือ คุณภาพของภาพ มาตรฐาน ความละเอียดสูง (ภาพมีความคมชัด ใช้เวลาอัพ โหลดนานกว่า ภาพมาตรฐาน) 14.8 แบ่งบันอัลบั้มให้กับใครบ้างที่มองเห็น ทุกคน เพื่อน เพื่อนของเพื่อน ฯลฯ 14.9 หากต้องการเพิ่มรูปภาพอื่นอีก 14.10 คลิกสร้างอัลบั้มเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว

14.10

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

18

14.11 แสดงให้คุณติด Tag ภาพเพื่อนของคุณ การ Tag ภาพ คือ การกาหนดให้รูปนั้นรู้ว่าเป็นรูปของใคร ขั้นตอนนี้สามารถติด Tag หรือ ข้ามไป คลิก Skip Tagging Friends

พิมพ์ชื่อที่ต้องการ Tag เสร็จแล้วคลิก Save Tags คลิกข้ามไป กรณีไม่ติดแท็ก ระบบจะแสดงภาพที่คุณอัพโหลดดังนี้

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

19

15. กิจกรรม เหตุการณ์หรือการสร้างปฏิทินกิจกรรมบน Facebook เจ้าของ Facebook สามารถที่จะสร้าง กิจกรรมค้นหากิจกรรม หรือเผยแพร่กิจกรรมบน Facebook ตาแหน่งที่อยู่ของกิจกรรม อยู่ที่จุดต่างๆ จากเมนู หน้าแรก สร้างสามารถเข้าได้ 3 วิธีดังนี้

กิจกรรม

กิจกรรม กิจกรรม เมื่อคลิกเรียบร้อยแล้ว 15.1

15.1 คลิกปุ่มสร้าง + สร้างกิจกรรม

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

20

15.2 แสดงหน้าจอสร้างกิจกรรม 15.3 15.4 15.5 15.8

15.6 15.7 15.10

15.9

15.3 กาหนดเวลาเริ่มต้น และเวลาสิ้นสุดของกิจกรรม 15.4 หัวข้อของกิจกรรมว่าจะทาอะไร เช่น เชิญประชุม นัดหมาย ฯลฯ 15.5 สถานที่เข้าร่วมกิจกรรม 15.6 ใส่รายละเอียดเพิ่มเติม 15.7 เลือกแขกรับเชิญ (ชวนเพื่อนเข้าร่วมกิจกรรม) สามารถเลือกเชิญแขกภายหลังได้ 15.8 เพิ่มรูปภาพสาหรับกิจกรรมนี้ 15.9 เช็คเพื่อให้ทุกคนใครก็ได้ที่เข้าร่วมกิจกรรมนี้ได้ และแสดงรายชื่อแขก (เพื่อนที่หน้า กิจกรรม) 15.10 คลิกสร้างกิจกรรม เมื่อคลิกเสร็จแสดงภาพดังภาพด้านล่างนี้

แก้ไขกิจกรรม เพิ่มเติม เลือกเชิญแขก เพิ่มเติม กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

21

15.11 คลิกรายชื่อเพื่อนที่ต้องการเชิญ

เชิญผ่านอีเมล์

ข้อความเชิญชวน คลิกส่งคาเชิญ กิจกรรมนี้จะถูกส่งไปยังแขกหรือเพื่อนที่คุณเชิญ เพื่อนให้เพื่อนของคุณตอบกลับ ว่าจะเข้าร่วม กิจกรรม ไม่เข้าร่วม หรืออาจจะเข้าร่วม

16. การสร้าง URL Facebook ของตัวเอง การสร้าง URL Book ของตัวเพื่อให้ง่ายต่อการจดจา และบอกเพื่อน บุคคลอื่น เช่น กฎของการ ตั้ง URL ถ้ามีเพื่อน Fan ไม่ถึง 25 คน ต้องยื่นยันผ่าน sms มือถือระบบจะให้เรากรอกหมายเลขโทรศัพท์มือ แต่ถ้ามีเพื่อนเกินแล้วสามารถสามารถสร้างได้ทันที โดยปกติเวลาเข้า Facebook จะเป็น www.facebook.com ซึ่งบางครั้งเราต้องการนา URL ของเราหรือหน่วยงานของให้บุคคลอื่นรู้จักและเพิ่ม คุณเป็นเพื่อน ต้องสร้าง URL เช่น http://www.facebook.com/..........จุด คือ ชื่อที่เราสามารถตั้งได้ไม่ซ้า ใครแล้ว คล้ายกับ Username ของ การสมัครอีเมล์ เช่น http://www.facebook.com/pakornkrits pakornkrits คือ ชื่อใหม่ที่ตั้งขึ้น สามารถตั้งเปลี่ยนได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น วิธีการตั้งค่าทาได้ดังนี้ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

22

16.1

16.2

16.3

กรณีเพื่อนไม่ถึงจานวนที่ระบบกาหนดไว้ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

23

สามารถสร้าง เปลี่ยน URL 16.4 16.5

เมื่อ Facebook ตรวจสอบแล้วว่าชื่อที่คุณตั้งสามารถใช้งานจะแสดง URL และให้เราคลิกยันยืน สามารถเปลี่ยนชื่อผู้ใช้ได้เพียงครั้งเดียวไม่สามารถเปลี่ยนภายหลังได้อีก

16.6

16.7

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook 17. การเชื่อมต่อ Facebook กับ Twitter ให้เข้าเว็บไซต์ http://www.facebook.com/twitter ทาขั้นตอนของระบบที่แจ้ง ต้องมีการสร้าง page ก่อนถึงจะสามารถเชื่อมโยงกันได้ 18. ข้อจากัดที่ควรรู้ใน Facebook  คุณสามารถมี Friend Lists ได้ 100 และแต่ละ List มีเพื่อนได้ 1,000 คนและมีเพื่อน ซ้ากันได้ในหลาย List  คุณสามารถมี Fan Page ได้ 500 Pages  ไม่มีข้อจากัดจานวน Admin ในแต่ละ Fan Page  ไม่มีข้อจากัดจานวน Application ในแต่ละ Profile  คุณสามารถอัปโหลดรูปถ่ายได้ 200 รูปต่ออัลบั้ม และสร้างอัลบั้มได้มากเท่าที่คุณ ต้องการ  คุณสามารถอัปโหลดรูปถ่ายได้ 100 รูปลงในอัลบั้มที่เป็น Mobile และถ้าคุณมีรูปภาพ มากกว่า 100 รูป Mobile อัลบั้มที่สองถูกสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติ  Facebook สนับสนุนการอัปโหลดรูปในนามสกุลไฟล์ .jpg, .gif, .bmp และ .png ขนาดไฟล์ใหญ่ที่สุดคือ 15 MB  คุณสามารถเข้าร่วมกลุ่มได้ 300 Group  คุณสามารถส่งข้อความแก่ผู้รับ 20 รายชื่อเพื่อนหรือที่อยู่อีเมล์ใน 1 ครั้งที่ส่งออกไป  คุณสามารถเชิญเพื่อนได้ไม่จากัดจานวนใน Events แต่คุณสามารถเชิญ 100 คนเท่านั้น แต่ละครั้งที่กด Invites เมื่อคุณเชิญบุคคลแรก 100 คุณสามารถแล้วก็สามารถเริ่มเชิญ เพิ่มเติมได้ต่อ นอกจากนี้คุณสามารถมีคาเชิญค้างได้ 300 invitesได้สาหรับเหตุการณ์ที่ ค้างอยู่ บางคนจะต้อง ตอบรับ/ปฏิเสธ ต่อการเชิญเหตุการณ์ของคุณก่อนที่คุณจะ สามารถเห็นเพิ่มมากขึ้น  ในการ Login ของ Facebook ในโฆษณา 1 ชิ้นสามารถเพิ่มเป็น 2 บัญชีในการ Login ได้ เพื่อจ่ายเงินที่อยู่ในสกุลเงินที่แตกต่าง และ 1 Login จะมีโฆษณาได้แค่ 1 สกุลเงิน เท่านั้น  โฆษณาของคุณ ที่ต้องใส่ชื่อเรื่องและเนื้อความ ถูกจากัดที่ 25 อักขระสาหรับชื่อเรื่อง และ 135 อักขระสาหรับเนื้อความ  คุณสามารถกาหนดเป้าหมายโฆษณา (Ads Target) แต่ละชิ้นไปถึง 25 ประเทศ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

24


คู่มือการใช้งาน Facebook

25

ตอนที่ 2 เทคนิคการใช้งาน Facebook จุดเน้นของ Facebook คุณสมบัติที่สาคัญของ Facebook นั่นคือการสร้างเครือข่าย ดังนั้น จุดเน้นของ Facebook ที่จะ นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ก็คือ การสร้างเครือข่ายระหว่างครูและนักเรียน ทั้งในและนอกโรงเรียน เมื่อ เครือข่ายดังกล่าวได้เกิดขึ้นแล้ว จะนาไปสู่การแลกเปลี่ยนและกระจายความรู้ ความคิด ข่าวสารและความ เคลื่อนไหวต่างๆ รวมไปถึงการติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียนบนโลกออนไลน์ได้ต่อไป คุณสมบัติของ Facebook ที่เอื้อต่อการสร้างเครือข่าย นอกเหนือไปจาก การติดตามข้อมูลส่วนตัว (Profile) ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว ยังประกอบไปด้วย กลุ่ม (Group) และหน้า (Page) ซึ่งคุณสมบัติทั้ง 3 ประการ มี รายละเอียดดังตาราง

จานวนสมาชิกสูงสุด การส่งข้อความไปให้สมาชิก การจัดการสมาชิก

ข้อมูลส่วนตัว (Profile) 5,000 ครั้งละ 20 ทาได้

กลุ่ม (Group) ไม่จากัด ส่งเป็น update ทาได้

ระบบแชต แอพพิลเคชั่นเสริม สถิติผู้เข้าชม Custom URL ปรับแต่งหน้าตา

ได้ (1 ต่อ 1) เยอะมาก ไม่มี มี ด้วยแอพพิลเคชั่น

ได้ (แบบกลุ่ม) ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่ได้

คุณสมบัติ

หน้า (Page) ไม่จากัด ส่งเป็น update ปฏิเสธไม่ได้ แต่ลบออกได้ ไม่ได้ น้อย มี มี ได้ด้วย FBML

แม้คุณสมบัติจะแตกต่างกัน แต่ก็สามารถนาไปใช้สร้างเครือข่ายได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับความต้องการของ ครูผู้สอนว่าจะใช้เครื่องมือชนิดใด รายละเอียดของการใช้ กลุ่ม และหน้า มีดังต่อไปนี้ การสร้างและใช้งานกลุ่ม การสร้างและใช้งานกลุ่ม มีขั้นตอนและวิธีการดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างกลุ่ม

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

26

1

2

1. คลิกที่เมนู หน้าแรก 2. คลิกที่คาสั่ง สร้างกลุ่ม

3

4 6

5

3. พิมพ์ชื่อกลุ่มตามที่ต้องการ 4. เพิ่มสมาชิกในกลุ่มอย่างน้อย 1 คน (สามารถเพิ่มได้อีกภายหลัง) 5. เลือกตั้งค่าความเป็นส่วนตัว 6. คลิกปุ่ม สร้าง

7

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

27

7. โปรแกรมแสดงข้อความการสร้างกลุ่ม คลิก ตกลง

เมื่อสร้างกลุ่มเรียบร้อยแล้ว จะแสดงข้อมูลของกลุ่มที่สร้างใหม่ ดังภาพ ขั้นตอนที่ 2 แก้ไขกลุ่ม ถึงแม้กลุ่มที่สร้างขึ้นนั้น จะสามารถใช้งานได้ทันที แต่เราสามารถกาหนดค่าข้อมูลเบื้องต้น รูปภาพ เพิ่มและลบสมาชิกได้ โดยคลิกที่ปุ่ม (ด้านบนขวาของหน้า ปุ่มนี้จะแสดงก็ต่อเมื่อเป็นกลุ่มที่ คุณเป็นเจ้าของ) เมื่อคลิกแล้วจะสามารถแก้ไขข้อมูลได้ดังนี้

1

2

1. แก้ไขข้อมูลเบื้องต้น ประกอบด้วย ชื่อกลุ่ม ความเป็นส่วนตัว อีเมล์ และคาอธิบาย กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

28

2. เมื่อเสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม Save Changes 3

4

3. คลิกลิงค์ รูปประจาตัว 4. คลิกปุ่มเรียกดู เพื่อเลือกรูปที่จะนามาใช้

5

6

5. คลิกเลือกรูปที่ต้องการนาไปใช้เป็นรูปประจาตัว 6. คลิกปุ่ม Open

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

29

โปรแกรมจะดาเนินการอัพโหลดรูปภาพ

เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว โปรแกรมจะแสดงรูปภาพที่ได้อัพโหลดในที่นี้สามารถแก้ไขรูปตัวอย่าง ลบรูป อัพโหลดรูปภาพใหม่ หรือจะถ่ายรูปจากกล้องที่ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้

8 7

7. คลิกลิงค์ สมาชิก เพื่อดาเนินการเพิ่ม/ลบ สมาชิก 8. คลิกลิงค์ เพิ่มเพื่อนไปยังกลุ่ม

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

30

9

1 1 1 0

9. พิมพ์รายชื่อเพื่อน ที่ต้องเพิ่มให้เป็นสมาชิก 10. คลิกชื่อเพื่อน ที่โปรแกรมแสดงมาให้ 11. คลิกปุ่ม เพิ่ม เพื่อเพิ่มสมาชิกของกลุ่ม เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม (ด้านบนขวาของหน้า) เพื่อกลับไปแสดงกลุ่ม ขั้นตอนที่ 3 เปลี่ยนการตั้งค่า

1 2

3

1. คลิกปุ่ม เปลี่ยนการตั้งค่า 2. แก้ไขการตั้งค่าๆ สาหรับกลุ่ม 3. คลิกปุ่ม บันทึกการตั้งค่า

โปรแกรมจะรายงานผลการเปลี่ยนการตั้งค่า กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

31

ขั้นตอนที่

4 การใช้งานกลุ่ม โดยทั่วไปจะมีการนากลุ่มไปใช้งานใน 2 ลักษณะ ได้แก่ การแบ่งปันข้อมูล และการแชต ซึ่งมี รายละเอียดดังนี้

การแบ่งปันข้อมูล เป็นการแบ่งปันข้อมูลให้แก่สมาชิกในกลุ่ม ซึ่งข้อมูลที่แบ่งปัน สามารถมีได้หลาย รูปแบบ เช่น ข้อความ รูปภาพ วีดีโอ เป็นต้น ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่ต้องการแบ่งปัน การแชต เป็นการสนทนาผ่านโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ ( Web Browser) ลักษณะเดียวกับการแชตใน ข้อมูลส่วนตัว แตกต่างกันตรงที่ ถ้าเป็นกลุ่มจะสามารถแชตได้หลายคนพร้อมกัน โดยโปรแกรมจะแสดงให้ทราบว่า มีสมาชิกในกลุ่มคนใดกาลังออนไลน์และอยู่ในการสนทนา การสร้างและใช้งานหน้า การสร้างและใช้งานหน้า มีขั้นตอนและวิธีการดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างหน้า (Page) เรียกใช้ URL ดังต่อไปนี้ http://facebook.com/pages

1

1. คลิกปุ่ม สร้างหน้าใหม่

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

32

โปรแกรมจะแสดงการสร้างหน้าใหม่ ในที่นี้ จะมี 2 ลักษณะให้เลือก ได้แก่ หน้าชุมชน และหน้าหลัก โดยหน้าชุมชุนจะถูกดูแลโดย Facebook ขณะที่หน้าหลัก ผู้สร้างหน้าจะเป็นผู้ดูแล ในที่นี้จะสร้างหน้าหลัก เพื่อให้ สามารถดูแลได้

2

3

4

5

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

33

2. เลือกประเภท 3. ตั้งชื่อของหน้า 4. คลิกยืนยันว่า เป็นตัวแทนของหน้า 5. คลิกปุ่ม สร้างเพจ

6

6. ถ้าชื่อดังกล่าวสามารถตั้งได้ จะปรากฏข้อความดังภาพ ให้คลิกปุ่ม สร้างหน้าใหม่

7

7. เมื่อสร้างหน้าเสร็จแล้ว จะแสดงผลดังภาพ ให้คลิกลิงค์ ส่งรูปภาพเข้าระบบ

8

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

34

8. คลิกปุ่ม เรียกดู

9

10

9. คลิกภาพที่ต้องการนาไปเป็นภาพประจาหน้า 10. คลิกปุ่ม Open

โปรแกรมจะดาเนินการอัพโหลดรูปภาพ

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

เมื่อเสร็จแล้วจะปรากฏภาพประจาหน้า (ด้านบนซ้าย) ขั้นตอนที่ 2 ชวนเพื่อน เมื่อสร้างหน้าเสร็จแล้ว ขั้นต่อไปเป็นการแนะนา ให้เพื่อนเข้ามาใช้งาน โดยจะส่งคาเชิญไปยัง รายชื่อเพื่อน

1

1. คลิกที่ แนะนาให้เพื่อน หรือ นาเข้ารายชื่อผู้ติดต่อ

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

35


คู่มือการใช้งาน Facebook

36

2

3

4

5

2. พิมพ์ชื่อเพื่อนที่ต้องการค้นหา 3. เมื่อโปรแกรมแสดงรายชื่อเพื่อนขึ้นมาแล้ว ให้คลิกเลือกรายชื่อที่ต้องการแนะนา 4. เพิ่มข้อความส่วนตัว ข้อความนี้จะถูกส่งไปแนะนาเพื่อนเข้ามาดูหน้า 5. คลิกปุ่ม ส่งคาเชิญ

6

6. คลิกปุ่ม ตกลง เมื่อเพื่อนได้รับคาแนะนา และเปิดเข้ามาชมหน้าของท่านแล้ว จะพบปุ่ม ถูกใจ อยู่ข้างหลังชื่อกลุ่ม ถ้าต้องการเป็นสมาชิกของหน้า ให้คลิกปุ่ม ถูกใจ ขั้นตอนที่

3 เพิ่มข้อมูลพื้นฐาน กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

37

สิ่งสาคัญที่ขาดไม่ได้สาหรับหน้า ก็คือข้อมูลพื้นฐานของหน้า โดยทั่วไปจะบอกเกี่ยวกับข้อมูล ส่วนตัวของบุคคล หรือองค์กร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า หน้าที่คุณสร้างเป็นหน้าประเภทใด

1

1

1. คลิกที่ แก้ไขหน้า หรือ แก้ไขหน้านี้ (เลือกคลิกที่ใดที่หนึ่ง)

2

3

2. กรอกข้อมูลพื้นฐานลงไปในแบบฟอร์ม (แบบฟอร์มจะแตกต่างกันออกไปตามแต่ประเภทของหน้า ที่กาหนดไว้ในตอนสร้างหน้า) 3. คลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

38

4

หน้านี้ ขั้นตอนที่

4. เมื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงเสร็จแล้ว จะปรากฏข้ ภ อความ ปรับปรุงข้อมูลของคุณแล้ว ให้คลิกปุ่ม ดู

4 โพสอัพเดทสถานะ การโพสอัพเดทสถานะ ผ่านทางกระดานข้อความ ถือเป็นช่องทางหลัก ที่จะเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ไปยังสมาชิกและผู้ที่เข้าชมหน้าดังกล่าว มีวิธีการดังนี้

1 2

3

1. คลิกป้าย กระดานข้อความ 2. พิมพ์ข้อความตามต้องการ 3. คลิกปุ่ม แบ่งปัน

ข้อความที่โพส จะถูกนาไปแสดงบนกระดานข้อความ ทั้งนี้ ข้อความที่โพส อาจประกอบด้วย ตัวอักษร ลิงค์ รูปภาพ หรือวีดีโอ ขึ้นอยู่กับว่าต้องการจะเผยแพร่ข้อมูลชนิดใด ขั้นตอนที่ 5 การใช้งานเวบบอร์ด สิ่งที่หน้า (Page) แตกต่างจากข้อมูลส่วนตัว (Profile) ก็คือ หน้าจะมีเวบบอร์ด เพื่อให้สมาชิกได้ เข้ามาถามและตอบหัวข้อสนทนาได้ เป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกนอกเหนือไปจากการโพสบนกระดาน ข้อความตามปกติ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

39

1

ภ 2

1. คลิกที่ป้าย เวบบอร์ด 2. คลิกที่ปุ่ม ตั้งหัวข้อสนทนาใหม่

3

4 5

3. พิมพ์หัวข้อสนทนา 4. พิมพ์รายละเอียดที่ต้องการโพสต์ 5. คลิกปุ่ม โพสต์หัวข้อสนทนาใหม่

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

40

6 7

6. จะปรากฏข้อความที่ได้โพสเอาไว้ และสามารถพิมพ์ข้อความตอบได้ที่ ตอบกลับ 7. เมื่อเขียนข้อความตอบ เรียบร้อยแล้ว ให้คลิกปุ่ม เขียนตอบกลับ

จะปรากฏข้อความที่มีการเขียนโต้ตอบกันบนเวบบอร์ด และเปิดโอกาสให้สมาชิกคนอื่นๆ ได้เข้า มาโพสข้อความโต้ตอบกันได้ การสร้างเครือข่ายด้วย Facebook จะช่วยให้ครูและนักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันบนโลกออนไลน์ แต่ เครือข่ายนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนมากเพียงใด ขึ้นอยู่กับการใช้งานของทั้งครูและนักเรียน เป็นหลัก ดังนั้น เมื่อเครือข่ายเกิดขึ้นแล้ว จะต้องนาเครือข่ายนี้ไปใช้งานด้วย จึงจะเป็นการใช้ประโยชน์จาก เครื่องมือดังกล่าวได้อย่างแท้จริง Add on ของ Facebook Facebook มี Add on ให้เลือกใช้มากมาย โดยอยู่ในรูปของแอพพลิเคชั่น (Application) ซึ่งที่ได้รับ ความนิยมมักจะเป็นแอพพลิเคชั่นที่ให้ความบันเทิง เช่น เกม หรือแบบสอบถาม เป็นต้น

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

41

แอพพลิเคชั่นตัวหนึ่งที่ได้รับความนิยมใน Facebook นั่นคือ Quiz Planet ซึ่งมีความสามารถในการ สร้างแบบทดสอบได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เหมาะสาหรับผู้ที่ไม่เคยพัฒนาแอพพลิเคชั่นบน Facebook มาก่อน การใช้งานแอพพลิเคชั่น Quiz Planet มีขั้นตอนและวิธีการ ดังต่อไปนี้

2

1

1. ป้อนชื่อ Quiz Planet ในกล่องค้นหา 2. โปรแกรมจะแสดงรายการแอพพลิเคชั่น ให้คลิกที่ Quiz Planet

3

3. คลิกปุ่ม ไปที่แอพพลิเคชั่น

4

ภ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

42

4. ถ้าคุณไม่เคยใช้งานแอพพลิเคชั่นนี้มาก่อน โปรแกรมจะส่งคาขอ ให้คลิกปุ่ม อนุญาต

5

ภ 6

7

8

ภ 9

10

5. Quiz Name ระบุ ชื่อของแบบทดสอบ 6. Quiz Description ระบุคาอธิบายของแบบทดสอบ 7. Quiz Language ระบุภาษาที่ใช้สาหรับแบบทดสอบ 8. This quiz is for เลือกกลุ่มผู้ใช้งาน 9. Upload Picture อัพโหลดรูปภาพประจาแบบทดสอบ 10. คลิกปุ่ม Next

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

43

11

12

13

ภ ภ

14

11. Result Title ระบุหัวข้อของผลสอบ เช่น ดีมาก ผ่าน ฯลฯ 12. Description ระบุคาอธิบายของผลสอบ 13. Upload Picture อัพโหลดภาพประกอบ 14. ก่อนคลิกปุ่ม Next ให้ระบุ Result ให้ได้อย่างน้อย 3 ระดับ

15

16

17

ภ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

44

15. Question 1 ระบุโจทย์ 16. Answer ระบุคาตอบ ให้ตัวเลือกสัมพันธ์กับ Result ที่กาหนดไปก่อนหน้า 17. เมื่อตั้งคาถามครบตามต้องการแล้วคลิกปุ่ม Next

18

18. ขั้นตอนสุดท้ายคือต้องไปแจ้งให้ Facebook ยอมรับแอพพลิเคชั่น ที่สร้างขึ้น โดยในที่นี้ให้คลิก ปุ่ม Click here ตามภาพ

19

ภ 20

21

19. โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างใหม่ขึ้นมา ให้ระบุชื่อแอพพลิเคชั่น 20. คลิกเห็นด้วย เพื่อยอมรับข้อตกลง 21. คลิกปุ่ม Create Application

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

45

22

23

22. ระบุข้อมูลเกี่ยวกับแอพพลิเคชั่น เช่น ชื่อ คาอธิบาย ภาษา เป็นต้น 23. คลิกปุ่ม บันทึกการเปลี่ยนแปลง

24 4

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

46

24. เมื่อสร้างแอพพลิเคชั่นเรียบร้อย ให้คัดลอก รหัส API หลัก และรหัสแอพพลิเคชั่นลับ กลับไป กรอกที่หน้าสร้างแบบทดสอบ

25 4

25. คลิกปุ่ม Create My Application 26

4

26. จะปรากฏข้อความแจ้งให้ทราบว่า แบบทดสอบสร้างเสร็จแล้ว คลิกที่ My Quizzes

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

จะปรากฏจานวนแบบทดสอบที่คุณสร้างขึ้นด้วย Quiz Planet จากตรงนี้คุณสามารถเรียกใช้ แบบทดสอบที่สร้างขึ้นมา โดยคลิกที่ชื่อแบบทดสอบของคุณ แบ่งกันแบบทดสอบให้เพื่อน (Share with Friends) หรือเชิญชวนเพื่อน (Invite Friends) มาใช้แบบทดสอบของคุณได้ นอกจากนี้ คุณยังสามารถกลับไปแก้ไข แบบทดสอบของคุณได้อีกด้วย เนื่องจากใน Facebook มีแอพพลิเคชั่นจานวนมาก ทั้งที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม ดังนั้น จึงควรมี ความระมัดระวังในการเลือกใช้ รวมไปถึงพัฒนาแอพพลิเคชั่นที่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน

การประยุกต์ใช้ Facebook เพื่อการจัดการเรียนรู้ Facebook นับได้ว่าเป็น Social Media ที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ หากมีการนาเอา Facebook เข้ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ย่อมจะสามารถเข้าถึงผู้ใช้งานที่เป็นครู อาจารย์และนักเรียนได้อย่างกว้างขวาง มหาวิทยาลัยชั้นนาของโลกหลายแห่ง ได้สร้างหน้า ( Page) เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของ มหาวิทยาลัย รวมทั้งเผยแพร่ความรู้และผลงาน ผ่านทาง Facebook เช่น มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University), มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด (University of Oxford) เป็นต้น

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

47


คู่มือการใช้งาน Facebook

ภาพหน้า (Page) ของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และมหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด นอกจากสถาบันการศึกษา ที่นา Facebook มาใช้ในการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ความรู้แล้ว ยังมี หน่วยงานของรัฐบาลอังกฤษ พัฒนา Teachers TV ผ่านทาง Facebook เพื่อเผยแพร่เทคนิค วิธีการสอน สื่อการ เรียนรู้ เป็นต้น

ภาพหน้า (Page) ของ Teachers TV เวบบอร์ดของ Facebook สามารถนาไปใช้เป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น หน้าของโรงเรียนเจริญศิลป์ศึกษา “โพธิ์คาอนุสรณ์ ” จังหวัดสกลนคร (http://facebook.com/charoensin) ได้ให้นักเรียนสนทนา และเปลี่ยนความคิดเห็น ส่งการบ้าน และทา กิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านทางเวบบอร์ดใน Facebook เป็นต้น กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน

48


คู่มือการใช้งาน Facebook

49

ภาพเวบบอร์ดที่ใช้ในการทากิจกรรมการเรียนรู้ การพัฒนาแอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษา ถือเป็นอีกวิธีหนึ่งในการประยุกต์ใช้ Facebook ในการจัดการ เรียนรู้ แม้ส่วนใหญ่จะเป็นผู้พัฒนาต่างประเทศ และส่วนใหญ่จะพัฒนาเพื่อความบันเทิงและการค้าเท่านั้น ถ้าหาก มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นเกี่ยวกับการศึกษา ก็จะช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนและลดพฤติกรรมการใช้ Social Media ในทางที่ไม่เหมาะสมได้อีกด้วย

ภาพแอพพลิเคชั่น Typing Maniac ใช้ฝึกทักษะการพิมพ์ กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

50

การประยุกต์ใช้ Facebook เพื่อการจัดการเรียนรู้ อาจมีหลากหลายรูปแบบนอกเหนือไปจากที่ได้ ยกตัวอย่าง ซึ่งต้องอาศัยการเรียนรู้และฝึกฝน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างชานาญ อาจเริ่มต้นด้วยวิธีการง่ายๆ เช่น โพสข้อความ ลิงค์ หรือวีดีโอ ที่มีสาระ เพื่อให้ผู้ติดต่อได้อ่านหรือรับข้อมูลที่มีประโยชน์ ก็ถือว่าเป็นการ ประยุกต์ใช้ Facebook เพื่อการจัดการเรียนรู้ได้เช่นกัน จริยธรรมในการใช้ Facebook การที่ Facebook มีจานวนผู้ใช้งานหลายสิบล้านคนทั่วโลก ย่อมหมายถึงข้อมูลจานวนมหาศาลที่จะถูก โพสบน Facebook ในแต่ละวัน และแน่นอนว่าย่อมมีทั้งข้อมูลที่มีประโยชน์และโทษ ปะปนกันไป ถึงแม้ว่าผู้ดูแล ระบบ จะมีการดูแลและกลั่นกรองข้อมูลในระดับหนึ่ง แต่นั่นก็ไม่เพียงพอที่จะป้องกันอันตรายต่างๆ ที่แฝงมากับ Facebook ได้ ดังจะเห็นได้จาก ข่าวสารเกี่ยวกับผู้ที่ได้รับความเสียหายจากการใช้งาน Facebook ที่ไม่เหมาะสม อยู่เป็นประจา การสร้างจริยธรรมในการใช้ Facebook จึงเป็นอีกทางแก้ ที่จะช่วยลดปัญหาการละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่นใน Facebook ได้ โดยทุกครั้งที่มีการโพสข้อมูลต่างๆ จะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. ใช้ข้อความที่สุภาพ 2. ไม่ละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น 3. ไม่สร้างความแตกแยก 4. ไม่หลอกลวงหรือทาให้คนอื่นเข้าใจผิด 5. ไม่ผิดศีลธรรมและวัฒนธรรมอันดีของสังคม จากที่กล่าวมาข้างต้น ล้วนเป็นสิ่งที่ผู้ใช้งาน Facebook ทุกคนทราบเป็นอย่างดี แต่ก็ยังมีผู้ใช้งาน บางส่วนไม่มีจริยธรรมในการใช้งาน ซึ่งทางผู้ดูแลระบบ ได้เปิดโอกาสให้ผู้ใช้งาน Facebook ทุกคนมีส่วนร่วมใน การสอดส่องดูแล โดยหากพบข้อมูลที่ไม่เหมาะสม ก็สามารถแจ้งลบ หรือรายงานข้อมูลดังกล่าว เพื่อดาเนินการ ต่อไปได้

1 2 3

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


คู่มือการใช้งาน Facebook

51

นอกจากนี้ให้พึงตระหนักว่า การใช้ Facebook อย่างไม่เหมาะสม นอกจากจะสร้างความเดือดร้อนให้ บุคคลอื่นแล้ว ยังอาจมีโทษตามกฎหมายอีกด้วย

คณะผู้จัดทา ปกรณ์กฤช กันทะเลิศ บธ.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ) วท.ม. (เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตและสารสนเทศ) โรงเรียนพานพิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 E-mail: pakornkrit@live.com @pakornkrits http://facebook.com/pakornkrits http://pakornkrits.wordpress.com

นายวรวิทย์ ไชยวงศ์คต วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์ ) กศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) โรงเรียนเจริญศิลป์ศึกษา "โพธิ์คาอนุสรณ์ " สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 teemtaro@hotmail.com @teemtaro http://facebook.com/teemtaro http://teemtaro.wordpress.com

กลุ่มเผยแพร่และพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี | สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.