รูปแบบของไฟล์วิดีโอ

Page 1

รู ปแบบของไฟล์ วดิ ีโอ ไฟล์วดิ ีโอที่นำมำใช้งำนกับนั้นมีหลำยรู ปแบบ โดยเรำจะมำทำควำมรู ้จกั กับไฟล์วดิ ีโอแบบต่ำง เพื่อเป็ นแนวทำงในกำรเลือกใช้ได้อย่ำงถูกต้องและตรงตำมประเภทของงำน ไฟล์ MPEG MPEG ( Motion Picture Exports Group ) เป็ นมำตรฐำนสำหรับกำรบีบอัดวิดีโอและเสี ยงแบบ ดิจิตอล ซึ่ งเป็ นรู ปแบบของวิดีโอที่มีคุณภำพสู งและนิยมใช้กบั งำนทุกประเภทโดยไฟล์ MPEGนี้ ก็ยงั แยก ประเภทออกไปตำมคุณสมบัติต่ำง ๆ อีกด้วย ดังนี้ MPEG -1 ถือกำเนิดขึ้นมำในปี 2535 ซึ่งเป็ นรู ปแบบของไฟล์ที่เข้ำรหัสมำด้วยกำรบีบอัดให้ได้ไฟล์ที่มี ขนำดเล็ก เพื่อสำหรับกำรสร้ำงวิดีโอแบบ VCD โดยจะมีกำรบีบอัดข้อมูลสู ง มีค่ำบิตเรตอยู่ ที่ 1.5 Mb/s ซึ่ งมีคุณภำพใกล้เคียงกับเทปวิดีโอ MPEG -2 ถือกำเนิดขึ้นในปี 2538 ซึ่งเป็ นรู ปแบบของไฟล์ที่เข้ำรหัสมำเพื่อกำรสร้ำงภำพยนตร์ โดยเฉพำะ โดยสำมำรถสร้ำงเป็ น SVCD หรื อ DVD ก็ได้ ซึ่งอัตรำกำรบีบอัดข้อมูลจะน้อย กว่ำ MPEG-1 ไฟล์ที่ได้จึงมีขนำดใหญ่กว่ำและได้คุณภำพสู งกว่ำด้วย อีกทั้งค่ำบิตเรตก็ไม่ ตำยตัว ทำให้สำมำรถกำหนดอัตรำกำรบีบอัดข้อมูลได้เอง MPEG -4 เป็ นรู ปแบบของไฟล์แบบใหม่ที่ถือกำเนิดขึ้นในเดือนตุลำคม 2541 จำกควำมร่ วมมือกันของ วิศวกรทัว่ โลกและได้เป็ นมำตรฐำนของนำนำชำติเมื่อปี 2542 ซึ่งถือเป็ นกำรปฏิวตั ิวงกำร ดิจิตอลวิดีโอ เพรำะมีรูปแบบกำรบีบอัดที่ดีกว่ำ MPEG-1 และ MPEG-2 โดยไฟล์ ประเภทนี้ จะมีคุณภำพของวิดีโอสู ง สำมำรถสร้ำงรหัสภำพวิดีโอได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพโดยมี จุดประสงค์เพื่อกำรใช้งำนอยู่ 3 ประเภท คือ ระบบโทรทัศน์แบบดิจิตอล งำนด้ำนแอพพลิเค ชันกรำฟิ กและมัลติมีเดียต่ำงๆ แต่ปัจจุบนั ยังมีสื่อที่รองรับไฟล์ประเภทนี้อยูน่ อ้ ย จึงไม่ค่อย ได้รับควำมนิยมมำกนัก ระบบการส่ งสั ญญาณโทรทัศน์ ในปั จจุบนั นี้มีระบบกำรส่ งสัญญำณโทรทัศน์ที่นิยมใช้ในแถบภูมิภำคต่ำงๆ คือ 1. ระบบ NTSC (National Televion Standards Committee) เป็ นระบบโทรทัศน์สีระบบแรกที่ใช้งำนใน ประเทศสหรัฐอเมริ กำ ตั้งแต่ปีค.ศ.1953 ประเทศที่ใช้ระบบนี้ต่อ ๆ มำได้แก่ ญี่ปุ่น แคนำดำ เปอเตอริ โก้ และ เม็กซิโก เป็ นต้น 2.ระบบ PAL (Phase Alternation Line) เป็ นระบบโทรทัศน์ที่พฒั นำมำจำกระบบ NTSC ทำให้มีกำร เพี้ยนของสี นอ้ ยลง เริ่ มใช้งำนมำตั้งแต่ปีค.ศ.1967 ในประเทศทำงแถบยุโรป คือ เยอรมันตะวันตก อังกฤษ ออสเตรเลีย เบลเยีย่ ม บรำซิล เดนมำร์ก นอร์เวย์ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และมีหลำยประเทศในแถบเอเซีย ที่ใช้กนั คือ สิ งคโปร์ มำเลเซี ย รวมไปถึงประเทศไทยก็ใช้ระบบนี้


3. ระบบ SECAM (SEQuentiel A Memoire("memory sequential") เป็ นระบบโทรทัศน์อีกระบบหนึ่ง คิดค้นขึ้นโดย Dr.Henry D.France เริ่ มใช้มำตั้งแต่ปีค.ศ.1967 นิยมใช้กนั อยูห่ ลำยประเทศแถบยุโรป ตะวันออก ได้แก่ ฝรั่งเศส อัลจีเรี ย เยอรมันตะวันออก ฮังกำรี ตูนีเซีย รู มำเนีย และรัสเซีย เป็ นต้น มาตรฐานวิดีโอ

MPEG-1

MPEG-2

MPEG-4

ควำมละเอียดสู งสุ ด 352 x 288 1920 x 1152 720 x 576 มำตรฐำนในระบบ PAL 352 x 288 720 x 576 720 x 576 มำตรฐำนในระบบ NTSC 352 x 288 640 x 480 640 x 480 ควำมถี่ของคลื่นเสี ยงสู งสุ ด 48 kHz 96 kHz 96 kHz ช่องสัญญำณเสี ยงสู งสุ ด 2 8 8 จำนวนเฟรมต่อวินำทีในระบบ PAL 25 25 25 จำนวนเฟรมต่อวินำทีในระบบ NTSC 30 30 30 คุณภำพของวิดีโอ พอใช้ ดีถึงดีมำก ดีมำก ประสิ ทธิภำพของระบบ ต่ำ สู ง สู งมำก รายละเอียดของเทคโนโลยี MPEG ไฟล์ประเภทอืน่ ๆ เป็ นไฟล์สำหรับโปรแกรม QuickTime จำกบริ ษทั Apple ซึ่งนิยมใช้ MOV สำหรับเครื่ องแมคอินทอช แต่เครื่ องพีซีก็สำมำรถใช้ได้ โดยจะต้องมี โปรแกรม QuickTime เพื่อใช้เปิ ดไฟล์ โดยไฟล์ประเภทนี้จะมี ( Quick Time Movie ) คุณภำพสู งและประกอบด้วยรำยละเอียดต่ำงๆ มำกมำย เป็ นรู ปแบบของไฟล์ประเภท DVD – Video ที่มีคุณภำพสู งทั้งด้ำนภำพ และเสี ยง สำมำรถเล่นได้กบั เครื่ องเล่นดีวดี ีหรื อไดรฟ์ ดีวีดีจำกเครื่ อง VOB คอมพิวเตอร์ เป็ นรู ปแบบของไฟล์ประเภท Video CD ที่มีควำมละเอียดต่ำกว่ำไฟล์ ประเภทดีวีดี โดยได้รับกำรเข้ำรหัสมำจำกเทคโนโลยีของ MPEGDAT 1 คุณภำพของวิดีโอก็พอ ๆ กับเทป VHS สำมำรถเล่นได้กบั เครื่ องเล่น วีซีดีโดยทัว่ ไป หรื อเล่นได้จำกคอมพิวเตอร์ เป็ นมำตรฐำนไฟล์วดิ ีโอที่เริ่ มมีมำพร้อมกับ Windows 3.11 พัฒนำโดย AVI ไมโครซอฟต์ ซึ่ งมีควำมละเอียดสู งเหมำะกับกำรใช้งำนในกำรตัดต่อ ( Audio – Video Interleave ) วิดีโอ แต่ไม่นิยมใช้ในกำรส่ งสัญญำณหรื อโอนย้ำยไปยังปลำยทำง


WMV ( Windows Media Video )

อื่นๆ เพรำะไฟล์มีขนำดใหญ่ เป็ นไฟล์วดิ ีโอของไมโครซอฟต์อีกเช่นกัน ถือกำเนิดขึ้นมำจำก เทคโนโลยีของ Microsoft Windows Media ซึ่ งสำมำรถสร้ำงขึ้นมำ ได้จำกโปรแกรม Microsoft Movie Maker โดยไฟล์ประเภทนี้กำลัง ได้รับควำมนิยมทำงอินเตอร์เน็ต เช่น กำรชมวิดีโอแบบ Movie on Demand เพรำะด้วยขนำดไฟล์ที่เล็กและมีคุณภำพดี ทำให้สำมำรถโอนถ่ำย ข้อมูลได้รวดเร็ ว

มาตรฐานของวิดีโอแบบต่ าง ๆ มำตรฐำนของวิดีโอมีอยูด่ ว้ ยกัน 3 รู ปแบบ คือ VCD , SVCD และ DVD ซึ่ งคุณภำพของวิดีโอก็มีควำมแตกต่ำงกันไปตำมแต่ละประเภท โดยแต่ละรู ปแบบก็มีคุณสมบัติดงั นี้ VCD ( Video Compact Disc ) VCD เป็ นรู ปแบบของวิดีโอที่ได้รับควำมนิยมกันโดยทัว่ ไปประกอบด้วยภำพและเสี ยงแบบ ดิจิตอล ควำมจุของแผ่น VCD โดยปกติจะอยูท่ ี่ 74/80 นำทีหรื อประมำณ 650/700 เมกกะไบต์ โดย ได้รับกำรเข้ำรหัสมำจำกเทคโนโลยีของ MPEG – 1 มีควำมละเอียดของภำพอยูท่ ี่ 352 x 288 พิกเซลใน ระบบ PAL และ 352 x 240 พิกเซลในระบบ NTSC คุณภำพของวิดีโอใกล้เคียงกับเทป VHS ซึ่ง สำมำรถเล่นได้กบั เครื่ องเล่นวีซีดีโดยทัว่ ไปหรื อจำกไดรฟ์ ซี ดีรอมของเครื่ องคอมพิวเตอร์ และแผ่นซี ดีที่ใช้ เขียน VCD ได้ก็จะมีอยู่ 2 แบบคือแผ่น CD-R ซึ่ งเป็ นชนิดที่เขียนข้อมูลได้ครั้งเดียว และแผ่น CDRW ที่สำมำรถเขียนและลบเพื่อเขียนข้อมูลลงไปใหม่ได้ แต่ แผ่น CD-RW มักจะอ่ำนไม่ได้จำกจำกเครื่ องเล่น VCD หลำยๆ รุ่ น SVCD ( Super Video Compact Disc ) SVCD เป็ นรู ปแบบของวิดีโอที่คล้ำยกับ VCD แต่จะให้คุณภำพของวิดีโอทั้งในด้ำนภำพและ เสี ยงที่ดีกว่ำ โดยเข้ำรหัสมำจำกเทคโนโลยีของ MPEG – 2 จะมีควำมละเอียดของภำพอยูท่ ี่ 482 x 576 พิกเซลในระบบ PAL และ 480 x 480 พิกเซลในระบบ NTSC ซึ่ งแผ่นประเภทนี้ยงั มีเครื่ อง เล่น VCD หลำย ๆ รุ่ นที่อ่ำนไม่ได้ โดยจำเป็ นต้องอ่ำนจำกเครื่ องเล่น DVD หรื อ VCD บำงรุ่ นที่ สนับสนุนหรื อเล่นจำก CD – ROM จำกเครื่ องคอมพิวเตอร์ เท่ำนั้น DVD ( Digital Versatile Disc ) DVD เป็ นรู ปแบบกำรเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่ให้คุณภำพของวิดีโอสู งทั้งด้ำนภำพและเสี ยงซึ่ งมำกกว่ำ รู ปแบบของ VCD หลำยเท่ำตัว โดยให้ควำมละเอียดของภำพอยูท่ ี่ 720 x 480 พิกเซลในระบบ PAL และ 720 x 576 พิกเซลในระบบ NTSC โดยมำตรฐำนของแผ่น DVD ก็มีหลำยประเภท เช่น DVD + R/RW , DVD – R/RW , DVD + RDL และ DVD + RAM ซึ่ งควำมจุของแผ่น DVD ก็มีให้เลือกใช้ตำม


ชนิดของแผ่น โดยมีต้ งั แต่ 4.7 กิกะไบต์ไปจนถึง 17 กิกะไบต์ ทำให้สำมำรถบันทึกภำพยนตร์ ท้ งั เรื่ อง ได้อย่ำงสบำย ซึ่ งคำดกำรณ์กนั ว่ำสื่ อประเภท DVD คงจะเข้ำมำแทนที่ VCD ได้ในไม่ชำ้

รู ปแบบของไฟล์เสี ยงชนิดต่ าง ๆ ในกำรบันทึกเสี ยงในระบบ Hard disk Recording จะมีรูปแบบของกำรเก็บข้อมูลเสี ยงมำกมำย และแต่ละรู ปแบบก็สำมำรถเปลี่ยนไปมำกันได้ บำงรู ปแบบที่มีกำรบีบอัด เมื่อเปลี่ยนกับมำเป็ นรู ปแบบที่ไม่ มีกำรบีบอัดก็จะได้คุณภำพเสี ยงเหมือนที่บีบอัดไปแล้ว เพรำะมีกำรสู ญเสี ยคุณภำพสัญญำณไปในขั้นตอน ของกำรบีบอัดไปแล้วไม่สำมำรถเรี ยกกลับคืนมำได้โปรแกรมดนตรี มกั จะเก็บข้อมูลเสี ยงดังนี้ AIFF ย่อมำจำก Audio Interchange File Format เป็ นรู ปแบบที่ใช้กนั มำกกับโปรแกรมบน Mac เพรำะ Apple เป็ นผูร้ ิ เริ่ ม เป็ นได้ท้ งั Mono และ Stereo ควำมละเอียดเริ่ มต้นที่ 8 Bit/22 kHz ไปจนถึง 24 bit/ 96 kHz และมำกกว่ำนั้น MP3 เป็ นรู ปแบบที่รู้จกั กันดีในปั จจุบนั ในฐำนะที่คุณภำพเสี ยงที่ดีในขณะที่ขอ้ มูลน้อยมำก ประมำณ 1 MB ต่อ เพลงควำมยำว 1 นำทีแบบ Stereo ซึ่ งเป็ นกำรบีบอัดโดยลดควำมซ้ ำซ้อนของข้อมูลเสี ยง และตัด เสี ยงที่หูของมนุษย์ไม่สำมำรถได้ยนิ โดยอ้ำงอิงจำกงำนวิจยั Psychoacoustic แต่ไม่สำมำรถให้คุณภำพเสี ยง ที่ดีกว่ำเสี ยงแบบ Full Bandwidth หรื อ Hi-fi ได้ เพรำะมันเป็ นกำรบีบอัดที่สูญเสี ยหรื อเรี ยกว่ำ “Lossy Technology” ถึงแม้วำ่ เจ้ำของค่ำยเพลงในเมืองไทยหรื อทัว่ โลกไม่ชอบมัน แต่ในเมื่อมันคุม้ ค่ำสำหรับเก็บไว้ ฟังหรื อส่ งต่องำนให้เพื่อน โปรแกรมดนตรี ส่วนใหญ่ก็ให้เรำสำมำรถ import /export งำนเป็ น MP3 ได้ QuickTime แม้ไม่ได้เป็ นรู ปแบบของกำรเก็บข้อมูลเสี ยงโดยเป็ นโปรแกรมเล่น media ที่พฒั นำโดย Apple แต่ โปรแกรมดนตรี บำงตัวก็สำมำรถ Save หรื อ Load ข้อมูลเสี ยง , Video , MIDI เป็ น File ของ QuickTime ได้ สิ่ งสำคัญที่ควรรู ้อีกอย่ำงก็คือข้อมูลเสี ยงที่ save มำจำก QuickTime หรื อโปรแกรมที่ Compatible กับ QT อย่ำง TC Works Spark อำจจะเป็ นไฟล์ Extension อย่ำง .mov , .aif หรื อ .WAV ก็ได้ แต่ไม่ตอ้ งเป็ น ห่วงเรื่ องนี้ เนื่ องจำกโปรแกรมดนตรี ส่วนใหญ่จะสำมำรถเล่นไฟล์ QT โดยไม่สนใจว่ำจะเป็ นไฟล์ Extension แบบไหนก็ตำม RealAudio คนชอบฟังเพลงบน Internet คงรู ้จกั กันดี ไฟล์ RealAudio จะแสดง Extension เป็ น .ra หรื อ .rm ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบ RealSystem G2 ไว้สำหรับกำรเล่น multimedia จำก RealNetworks ซึ่งจะมี Tools ในกำรเล่น, encode รวมไปถึง tools ในกำรทำ server ให้ใช้ฟรี ๆ ในกำรส่ ง Audio, Video, Animation ผ่ำนเวป แต่แม้วำ่ โปรแกรมดนตรี ส่วนใหญ่จะไม่ใช้ RealAudio ในกำรบันทึก แต่ กับบำงโปรแกรม เรำสำมำรถเก็บงำนของเรำเป็ น RealAudio เพื่อใช้บนเว็ป ซึ่ งแน่นอน ว่ำ RealAudio ก็เป็ น Lossy Format เหมือนกับ MP3REX เป็ นไฟล์เสี ยงของโปรแกรม Propellerhead Recycle ซึ่งเป็ นโปรแกรมที่


แบ่งไฟล์เสี ยงประเภท Loop (เป็ นวลีดนตรี หรื อจังหวะที่สำมำรถเล่นซ้ ำไปเรื่ อย ๆ ต่อเนื่องกันได้) ออกเป็ น ชิ้น ๆ เช่นเสี ยงกระเดื่อง กลองสแนร์ หรื อ ไฮ-แฮท ซึ่ งไฟล์ที่ถูกแบ่งเหล่ำนี้สำมำรถนำไปใช้กบั Sampler แล้ว Trigger โดย MIDI Sequence ที่สร้ำงขึ้นมำโดย Recycle เช่นกัน ทำให้เรำสำมำรถที่จะเร่ งหรื อลด ควำมเร็ วโดยที่ pitch ของเสี ยงไม่มีกำรเปลี่ยนเลย ซึ่ งเป็ นหลักกำรเดียวกันกับ Technology Groove Control จำก Spectrasonics และ ILIO แต่ต่ำงกันตรงที่ Groove Control นั้นมีกำรเตรี ยมไฟล์ที่หนั่ ไว้แล้วกับ MIDI โดยทำง Spectrasonics เอง ไม่รู้วำ่ ทำง Spectrasonics จะใช้ Recycle ทำรึ เปล่ำนะครับ ไฟล์ REX เองมี Extension อยูห่ ลำยอันเลยอย่ำง .rx2 (Recycle 2.0 หรื อสู งกว่ำ).ryc และ .rex ซึ่งสร้ำงมำจำกเวอร์ชนั แรก Sound Designer II โด่งดังมำจำก โปรแกรม Sound Designer Stereo Editing จำก Digidesign และใช้กบั Pro Tools ด้วย Sound Designer II หรื อ SD II สนับสนุนไฟล์เสี ยงที่ควำมละเอียด ต่ำง ๆ เหมือนกับ WAV และ AIFF โปรแกรมดนตรี ส่วนใหญ่ก็จะมีคุณสมบัติในกำรแปลงไฟล์ WAV หรื อ AIFF มำเป็ น SD IIWAV ถูกสร้ำง ขึ้นจำกกำรรวมตัวกันของ Microsoft กับ IBM WAV format สำมำรถใช้ได้กบั bit depths และ sample rate ในระดับต่ำงกัน ในขณะที่ AIFF เป็ นที่นิยมในหมู่ผใู ้ ช้ PC ด้วย ในเร็ วๆนี้ Acidized WAV files ได้รับควำม นิยมเพิม่ ขึ้นอีก นี่คือชนิดของ WAV files ที่รวมข้อมูลของ pitch กับ tempo เข้ำไว้ดว้ ยกัน Acidized WAV สำมำรถถูกอ่ำนได้โดย Sonic Foundry Acid และโปรแกรมอื่นๆที่สำมำรถให้ samples ที่จดั pitch and tempo ได้โดยอัตโนมัติ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.