Earthquake disaster lesson

Page 1

0

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

สารบัญ คํานิยม สารบัญ ขอเสนอตอการจัดการภัยพิบัติของจังหวัดเชียงราย บทสรุปของการดําเนินงานใน 3 เดือนที่ผานมา เขาใจกัน...รูทัน แผนดินไหว หาวิธีเตรียมตัวรับแผนดินไหว

หนา ก ข ค 1 4 8

แผนดินไหวสูภัยคุกคามและการรับรูความเสี่ยงของผูประสบภัย ลําดับเหตุการณหลังแผนดินไหวโดยเครือขายภาคประชาชน ความรวมมือของเครือขายภาคประชาชนกับภาคสวนตางๆ ความรูสึก ความชวยเหลือ และการจัดการตนเองของผูประสบภัย

10 17 21

กลไกการฟนฟูและการจัดการตนเองของชุมชน เขาบานหลังแผนดินไหวทํายังไงดี โจทยปญหาและงานฟนฟู บันทึกการฟนฟูชุมชนดวยดงลานโมเดล บันทึกการฟนฟูพื้นที่ 4 โมเดลชุมชนตอมา ชาวบานไดอะไรจากโมเดลชุมชน

28 37 41 50 65

สรุปบทเรียนของปจจัยและความรวมมือ ปจจัยของการจัดการตนเองโดยชุมชน ความรวมมือหนวยงานที่เปนทางการในการจัดการเหตุแผนดินไหวจังหวัดเชียงราย ความรวมมือเครือขายองคกรพัฒนาเอกชนในการจัดการเหตุแผนดินไหวจังหวัดเชียงราย

69 74 79

กิตติกรรมประกาศ

82


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

1

3 เดือนหลังแผนดินไหวเกิดอะไรขึ้นกับเรา หลังการรวมตัวกันขององคก รพัฒนาสังคมในจังหวัดเชียงราย 16 องคกร จัดตั้งเปน ศูนยภัยพิบัติ แผนดินไหวภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย เกิดขึ้นอยางเปนทางการ ในระยะครึ่งเดือนแรก เครือขายได ลงพื้นที่สํารวจความเสียหาย เพื่อรวบรวมความตองการความชวยเหลือและจัดทําเปนฐานขอมูล สําหรับ การประเมินความเสียหาย กอนที่จะขยายผลสูการใหความชวยเหลือ โดยมี www.thaiquake.com เปน ผูใหการสนับสนุนการพัฒนาฐานขอมูลความเสียหายแกสํานักโยธาธิการจังหวัด แมวาการตองเผชิญ ปญหาในการดําเนินงานหลายๆ อยางเนื่องจากเปนความเสียหายที่เกิดจากแผนดินไหวเปนครั้งแรก แต ละภาคสวนก็สามารถปรับตัวตอไปไดอยางมีขั้นตอน ดังจะเห็นไดจากการปรับปรุงกลไกการประเมิน ความเสียหายในระดับชุมชน ที่ใชระบบคณะทํางานของผูใหญบานรวมกับสมาชิกองคกรบริหารสวน ตําบลทําหนาที่ประเมินความเสียหายตามจริงภายใตวงเงินเยียวยา 33,000 บาท แกไขจากเดิมที่ใชการ ประเมินตามเกณฑของระดับความเสียหายซึ่งไมสอดคลองตอความเปนจริง


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

2

Timeline ของการฟนฟูพื้นที่ประสบภัยจากเหตุแผนดินไหว 3 เดือนแรกโดยความรวมของเครือขายฯ ในสวนของเครือขายการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนจังหวัดเชียงรายนั้น เครือขายไดทําหนาที่ เปน ตัวกลางในการประสานผูที่มีความประสงคจะใหความชวยเหลือกับผูประสบภัย ในลักษณะของการ จับคู ผูบริจาคกับผูประสบภัย โดยใชขอมูลในมิติที่ภาครัฐไมไดมีการสํารวจ เชน ขอมูลในมิติทางสังคม หรือ ความช ว ยเหลื อ ด า นอื่ น ๆที่ ไ ม มี ห น ว ยงานใดสํ า รวจ เช น สุ ข ภาพจิ ต ของผู ป ระสบภั ย ซึ่ ง พบว า ผูประสบภัยสวนหนึ่งเขาขายกลุมอาการทางจิตที่เรียกวา PTSD (Posttraumatic stress disorder: ความเครียดภายหลังเกิดเหตุการณสะเทือนขวัญ ) ซึ่งเกิดขึ้นหลัง 1 เดือนจากเหตุการณที่สรางบาดแผล ทางใจ โดยทั่วไปอาการนี้จะคอยๆหายไปราว 4-6 สัปดาหหลังเกิดเหตุการณ จึงจําเปนอยางยิ่งที่ ชวง เดือนแรกจะตองมีคนที่ใหคําปรึกษา รับฟงปญหา และคลี่คลายความกังวลภายในจิตใจของผูประสบภัย สําหรับความชวยเหลือในระยะตน นอกจากการใหความชวยเหลือรายกรณี แกผูประสบภัยที่ไดรับการ สํารวจตกหลนจากฐานขอมูล การเริ่มกระบวนการฟนฟูชุมชนดวยการอบรมทักษะในการซอม-สรางบาน ใหทนตอแรงของแผนดินไหวในเดือนที่ 2 หลังประสบภัยก็เปนภารกิจที่ตามมา

ปฏิบัติการอบรมทักษะการซอม-สรางบานหลังแผนดินไหว ที่จัดขึ้นครั้งแรกนั้นมีชื่อวา "ดงลานโมเดล" ที่ จัดขึ้นที่หมู 17 ชุมชนบานดงลาน ตําบลทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย โดยความรวมมือของ อาจารยประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ซึ่งเปนทีมที่เขาสํารวจตรวจสอบความเสียหาย เก็บขอมูลในตําบลทรายขาวทั้งหมด ใหกับศูนยประสานงานเพื่อตรวจสอบ อาคาร เนื่ อ งจากเหตุ แผ นดินไหว ของสํ านั ก โยธาธิ ก ารจั งหวั ด เชี ยงราย จึ งเป นทีมที่ เข าใจในความ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

3

เสียหาย มีขอมูลเพียงพอสําหรับวิเคราะหปญหา และพรอมที่จะถายทอดความรูแกชุมชน การอบรม โมเดลชุมชนที่เกิดขึ้นนี้มีเปาหมายสําคัญ คือ ใหทั้งเจาของบานที่เปนผูประสบภัยพรอมดวยชางหรือสลา ประจํ าชุ มชน ได รู จัก การเลื อ กใช วั ส ดุ ที่ถู ก ต อ ง รูเ ทคนิ ค และขั้ นตอนที่ ถู ก ต อ งในการซ อ ม-ก อ สร า ง บานเรือนใหมีความแข็งแรงสามารถทนทานแรงแผนดินไหวขนาด 6 ตามมาตราริกเตอร ซึ่งกลไกในการ ดํ า เนิ น งานนั้ น ผู ใ หญ บ า นหรื อ แกนนํ า ของชุ ม ชน จะร ว มมื อ กั บ เครื อ ข า ยการจั ด การภั ย พิ บั ติ ภ าค ประชาชนที่จัดหาเครื่องมือและวัสดุอุปกรณมาเริ่มกระบวนการให ประสานสลาที่ตั้งใจจะเรียนรูเทคนิคใน การสรางบานที่ปลอดภัย โดยเริ่มตนการอบรมและการซอมสรางอยางเปนรูปธรรมจํานวนหมูบานละ 3-4 หลัง ซึ่งมีรูปแบบความเสียหายที่มักจะพบจากเหตุแผนดินไหวคือ 1)เสาเสียหาย 2)ผนังเสียหาย 3) สวน ตอเติมอยางหองน้ํา หองครัวเสีย จนมีการอบรมขยายตอไปอีกรวมเปน 5 ชุมชน ในเดือนที่สามซึ่งยังคง มีการฟนฟูและการถอดบทเรียนตอไป จากความกาวหน าที่ เ กิด ขึ้น แม ว าการซ อมสร างบ านเรือ นที่ ไ ดรับความเสียหายจะดําเนินตอ ไป แต ผลกระทบที่เกิดขึ้นทางจิตใจก็ยังเปนเรื่องละเลยไมไดเชนกัน ผูประสบภัยจํานวนหนึ่งยังคงไมสามารถ นอนหลับไดสนิทตลอดระยะเวลา 3 เดือนที่ผานมา หลายคนยังหวาดผวา ตอเสียงและแรงสั่นสะเทือน ไมวาจะมีความรุนแรงระดับใดก็ตาม การลงพื้นที่พูดคุยและรับฟงปญหาทําใหทราบวา บางคนระดับ ความกังวลลดนอยลงเมื่อไดรับการชวยเหลือจากหนวยงานที่เกี่ยวของหรือเมื่อมีบุคคลภายนอกเขาไป สํารวจในพื้นที่ เมื่อมนุษยไมสามารถคาดการณไดวา แผนดินไหวจะเกิดขึ้นเมื่อไหร และภัยนี้ก็ไมสามารถแจงเตือนภัย ไดในทันที เราจะสรางวิธีการรับมือและเตรียมความพรอมกับภัยเสี่ยงที่ยังคงมีอยูในชุมชนได อยางไร การเตรียมความพรอมเพื่อรับมือภัยควรจะมีอยูตลอดเวลาหรือไม การลดความเสี่ยงและผลกระทบที่จะ กอใหเกิดความเสียหายจากแผนดินไหวควรทําอยางไร ชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของจึงตองมีการวางแผนรองรับเหตุการณพิบัติ ทั้งดานสิ่งกอสราง ดาน การแพทย ด า นสั ง คมและด านจิ ต ใจ โดยกํ า หนดนโยบาย การเตรี ยมพร อ มบุ ค ลากร อุ ป กรณ แ ละ เครื่องมือ รวมไปถึงการประสานงานกับสื่อมวลชนในการใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการปรับตัว การ จัด การความเครี ยด ขอ มู ลเกี่ ยวกั บหน ว ยงานที่ ใ ห ค วามช วยเหลื อ และวิ ธีก ารเข าถึ ง ความช ว ยเหลื อ เหลานั้น เพื่อลดความเขาใจผิด และไมตองจมอยูกับปญหาเพียงลํ าพัง และพรอมสูการแกไขปญหาที่ เกิดขึ้นอยางมีสติและมีกําลังใจ เหตุการณในครั้งนี้แสดงใหเห็นถึงความสํา คัญของการทําความเขาใจเกี่ยวกับรอยเลื่อนมีพลัง และการเตรียมพรอมเพื่อรับมือแผนดินไหวในครั้งตอไป ที่อาจจะเกิดขึ้นเมื่อไรไมมีใครสามารถ พยากรณไดอยางแมนยํา การเตรียมความพรอมเพื่อรับมือกับแผนดินไหว จึงเปนเรื่องที่ควรทํา


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

4

อยางตอเนื่อง กระตุนใหมีการตรวจสอบอาคารที่อยูอาศัยทุกหลัง เมื่อเราอยูในเขตรอยเลื่อนที่ มีพลังแลวก็ตองทําความเขาใจวาแผนดินไหวจะตองเกิดขึ้นอีกแนนอนในอนาคต

เขาใจกัน...รูทัน แผนดินไหว

เวลา 18.08 น. ของ วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 โดยจังหวัดเชียงรายประสบภัยแผนดินไหวครั้งที่ รุนแรงที่สุดที่มีการบันทึกไว แรงสั่นสะเทือนมีขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร ทําใหบานเรือน ถนน และ จิตใจของผูคนตองสั่นไหวไปตามกัน เพราะนี่เปนครั้งในชีวิตที่เผชิญกับแผนดินไหว การรับมือตางๆจึง เกิดขึ้นอยางลองผิดลองถูกและคอยเปนคอ ยไป การเรียนรูเงื่อ นไขของสิ่งแวดลอ มที่ เปลี่ยนไป เพื่ อ เตรียมตัว เตรียมใจ เผชิญกับปญหาที่ไมเคยพบเจอมากอนจึงเปนสิ่งสําคัญในเวลานี้


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

5

แผนที่แสดงตําแหนงศูนยกลางแผนดินไหวและอาฟเตอรช็อคในกลุมรอยเลื่อนพะเยา แผนดินไหวครั้งนี้เกิดขึ้นจากอะไร  เหตุการณนี้เกิดขึ้นเมื่อเวลา 18.08 น. วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 โดยมีศูนยกลางแผนดินไหวที่ ละติจูด 19.68 องศาเหนือ ลองติจูด 99.69 องศาตะวันออก ที่ระดับความลึก 7 กิโลเมตร บริเวณ ต. ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย  หลังจากนั้น เกิดแผนดินไหวที่มีขนาดมากกวา 3 ตามมาตราริกเตอร เกือบ 300 ครั้ง  สาเหตุของแผนดินไหวเกิดจากการขยับตัวของรอยเลื่อนยอยใน "กลุมรอยเลื่อนพะเยา"


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

6

 “กลุ ม รอยเลื่ อ นพะเยา” นี้ มีศู น ย ก ลางแผ นดิ น ไหวอยู บ ริ เ วณตํ า บล ทรายขาว อํ า เภอพาน และ กระจายตัวหลายบริเวณ ในเขตอําเภอแมสรวย อําเภอ แมลาว และอําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย  รอยเลื่อนยอยในกลุมรอยเลื่อนพะเยา สวนใหญเปนรอยเลื่อนตามแนวระดับ จัดแบงได 2 สวน o รอยเลื่อนยอยสวนบน วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต มีลักษณะการ เลื่อนไปทางซาย o รอยเลื่อนยอยสวนลาง วางตัวในแนวเหนือ-ใต มีลักษณะการเลื่อนไปทางขวา

ในอดีตปรากฏหลักฐานทางธรณีวิทยาวา รอยเลื่อนยอยสวนลางในกลุมรอยเลื่อนพะเยา มีการ ขยับตัวมากอน กอใหเกิดแผนดินไหว 5.1 ริกเตอร โดยมีศูนยกลางแผนดินไหวอยูที่อําเภอพาน จังหวัด เชียงราย เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2537 จึงไมใชเรื่อง นาตกใจทางธรณีวิทยาวาทําไมจึงเกิดแผนดินไหว ขนาด 6.3 ริกเตอรขึ้นบนเปลือกโลกของประเทศไทย


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

7

รูไดอยางไรวามีรอยเลื่อน? บริเวณที่มีรอยเลื่อนตัดผานจะแสดงหลักฐานการเลื่อนของแผนดิน ซึ่งสามารถสังเกตเบื้องตนไดจาก ลักษณะภูมิประเทศ เชน ถารอยเลื่อนตัดผานภูเขา จะเกิดหนาผาเปนแนวตรงอยางผิดปกติ ลําน้ําสาย เล็กที่ไหลจากยอดเขาจะมีการเปลี่ยนทิศทางการไหลไปตามแนวรอยเลื่อน เนื่องจากรอยเลื่อนทําใหเกิด แนวรอยแตกมากมายบนแผนดิน ซึ่งงายตอการถูกกัดเซาะ ตัวอยางเชน รอยเลื่อนแมลาวที่ขนานกับ ทางหลวงหมายเลข 118 วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต การกําหนดขอบเขตของ รอยเลื่อนเปนหนาที่ของนักธรณีวิทยา จากการสํารวจในพื้นที่อยางละเอียด รอยเลื่อนบางตัวจะไม สามารถระบุขอบเขตหรือจุดสิ้นสุดไดชัดเจน โดยเฉพาะรอยเลื่อนที่ตัดผานพื้นที่ราบและถูกปดทับดวย ชั้นตะกอนหนา


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

8

รอยแตกที่เกิดจากแผนดินไหว หลังแผนดินไหว มีรอยแตกเกิดขึ้นมากมายตาม ถนน พื้นบาน พื้นดิน ริมตลิ่ง ซึ่งสวนใหญเปน รอยแตกระดั บ พื้ น ผิ ว ที่ เ ป น ผลจากการไหว สะเทือนของพื้นดิน หรือเกิดเนื่องจากการทรุดตัว ตามแรงโนมถวง รอยแตกเหลานี้ไมไดกอใหเกิด แผนดินไหว ลักษณะการแตกและทิศทางการ วางตัวอาจจะไมสอดคลองกับรอยเลื่อนใหญ บาง แหงการทิศทางการแตกถูกควบคุมดวยสิ่งปลูก สราง เชน ทอฝงใตถนน หรือ รอยตอระหวาง สะพานกับถนน การเลื่อนของรอยแตกเหลานี้ก็ ไม ได บงบอกระยะการเลื่อ นของรอยเลื่ อ นใหญ ทั้งหมด เพราะอาจจะมีการขยับไปมาจนกระทั่ง กลับมาอยูใกลตําแหนงเดิม ตัวอยางเชนเสนกลางถนนที่ถูกรอยแตกตัดผาน รอยแตกบางแหงเปน เพียงรอยแยกเปด โดยที่ไมมีการเลื่อนทางดานขางแตอยางใด ปรากฏการณทรายเหลว ทรายเหลว (Liquefaction) เกิดขึ้นเมื่อดินทรายใตดินที่มีน้ํา แทรกอยู เ ต็ ม ถู ก บี บ คั้ น เนื่ อ งจากแรงสั่ น สะเทื อ นจาก แผนดินไหว จนน้ําทะลักขึ้นมาบนผิวดินตามรอยแตก โดยมี ทรายกั บโคลนก็ ไ หลออกมากั บน้ํ าด ว ย เพราะน้ํ าในดิ น บางครั้ ง แทรกอยู ใ นรู พ รุ นของเม็ ด ตะกอนจนแถบไม มี ชอ ง อากาศอยูเลย พอเกิดแผนดินไหวแรงบีบอัดทําใหตะกอน พวกนี้ไหลพุงขึ้นตามมากับน้ําที่อิ่มตัวนี้ ขณะที่น้ําในบอบาดาลหลายบอกลับเหือดแหงไป เพราะน้ําที่ ถูกเคนนั้นถูกฉุดลงไปในพื้นดิน ขอขอบคุณขอมูลจาก บทความ รอยเลื่อนและแผนดินไหว จ.เชียงราย 2557 โดย สุคนธเมธ จิตรมหันตกุล เว็บไซทวิชาการธรณีไทย http://www.geothai.net/2014-chiangrai-earthquake/

5 วิธีเตรียมตัวรับแผนดินไหว

ครั้งนี้แผนดินไหวเกิดขึ้นเปนเวลา 8 วินาที ไมทันที่แรงสั่นจะสงบลง ความตื่นตระหนกของ ผูประสบภัยก็ผุดออกมา หลายคนไมรูแมกระทั่งวิธีการเอาตัวรอดจากเหตุการณแผนดินไหว บางคนใช ความรูจากที่เคยดูในภาพยนตร หรือจากหนังสือการเอาตัวรอดเบื้องตน แตคนสวนใหญก็ไมไดทําตาม


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

9

ความรูที่ได เพราะยังลังเลกับเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางกะทันหัน ในภาวะเสี่ยงเปนเสี่ยงตายแบบนี้ นับวา คนเชียงรายโชคดีมากที่เหตุการณในครั้ง นี้ไมไดคราชีวิตผูคนมากมาย เมื่อเทียบเทากับ ขนาดความ รุนแรงของแผนดินไหวที่เกิดขึ้นถึง 6.3 ตามมาตราริกเตอร สําหรับครั้งตอไป สํานักงานจัดการเหตุ ฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา (FEMA) ไดเสนอขอควรรู 5 วิธีเตรียมตัวรับแผนดินไหวเอาไวดังนี้ 1. ตรวจสอบความปลอดภัยในที่พักอาศัย - ยึดชั้นวางสิ่งของกับผนังใหแนนหนาและปลอดภัย - วางสิ่งของที่มีขนาดใหญหรือมีน้ําหนักมากไวชั้นลางหรือบนพื้น - วัสดุที่แตกงายเชนแกวกระเบื้องเซรามิกควรเก็บไวในระดับต่ําหรือในลิ้นชักที่ปดสนิทและล็อ คอยาง แนนหนา - สิ่งของที่มีน้ําหนักมากเชนกรอบรูปและกระจกควรไวใหหางจากเตียงนอนและเกาอี้พักพิง - ตรวจสอบและยึดไฟเพดานใหแข็งแรง - ตรวจสอบและซอมสายไฟที่ชํารุดเนื่องจากอาจทําใหเกิดเพลิงไหมไดขณะเกิดแผนดินไหว - ตรวจสอบและซ อมรอยแตกของผนั งและเพดานใหแ ข็ งแรงโดยขอคํ าแนะนํ าจากวิ ศ วกรที่ มีความ เชี่ยวชาญดานโครงสราง - ควรเก็บสารเคมีอันตรายเชนยาฆาแมลงวัตถุไวไฟไวในลิ้นชักชั้ นลางอยางมิดชิดและล็อ คอยางแนน หนา 2. กําหนดสถานที่ปลอดภัยทั้งในและนอกที่พักอาศัย - เฟอรนิเจอรตางๆเชนใตโตะที่มีขนาดใหญและแข็งแรง - ในที่ พั ก อาศั ย ให อ ยู ห างจากของมี ค มวั ส ดุ ที่แ ตกหั ก ง ายเช นแก ว น้ํ า หน าต า งกระจกกรอบรู ป หรื อ ฟอรนิเจอรขนาดใหญและมีน้ําหนักมากในขณะแผนดินไหว - นอกที่พักอาศัยใหอยูหางจากสิ่งปลูกสรางขนาดใหญตนไมสายโทรศัพทและสายไฟฟารวมไปถึงทาง ยกระดับสะพานเปนตน 3. ใหความรูกับตนเองและสมาชิกในครอบครัว - ศึกษาหาความรูขอมูลเกี่ยวกับแผนดินไหวและการเตรียมพรอมรับมือภัยแผนดินไหวโดยการติดตอ กับผูเชี่ยวชาญหรือหนวยงานอาทิกรมอุตุนิยมวิทยาศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติมูลนิธิสภาพเตือนภัย พิบัติแหงชาติเปนตน - หากสมาชิกในครอบครัวของทานมีเด็กเล็กควรใหคําแนะนําและสอนบุตรหลานของทานในการแจง เหตุฉุกเฉินโดยทางโทรศัพทเชนเบอรโทรศัพท 191 , 1669 สถาบันการแพทยฉุกเฉิน แหงชาตินอกจากนี้ควรสอนใหรูจักการปรับคลื่นวิทยุ FM ยกตัวอยางเชนจส.100 , สวภ.91 เปนตน 4. เตรียมเปฉุกเฉินไวใหพรอม เชน


10

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

-

ไฟฉายและแบตเตอรี่สํารอง - วิทยุ AM FM แบบพกพาพรอมแบตเตอรี่สํารอง ชุดปฐมพยาบาลและคูมือปฐมพยาบาล - อาหารและน้ําฉุกเฉิน มีดอเนกประสงค - เงินสดเหรียญและธนบัตร รองเทาผาใบ

5. วางแผนการติดตอสื่อสารในยามฉุกเฉิน - ในกรณี ที่ ส มาชิ ก ในครอบครั ว ไม ไ ด อ ยู ที่ เ ดี ย วกั น ในระหว า งแผ น ดิ น ไหวซึ่ ง มี ค วามเป น ไปได สู ง โดยเฉพาะผูใหญตองไปทํางานสวนเด็กตองไปโรงเรียนควรมีการวางแผนสถานที่นัดพบหรือสถานที่ รวมตัวหลังเกิดภัยพิบัติแลว - สมาชิกในครอบครัวทุกคนควรมีชื่อที่อยูหมายเลขโทรศัพทของญาติ เพื่อนหรือบุคคลใกลชิดไวเพื่อ สามารถติดตอกันไดงายหลังเกิดเหตุภัยพิบัติแลว ขอบคุณขอมูลจาก สํานักงานจัดการเหตุฉุกเฉินสหรัฐอเมริกา (FEMA) เรียบเรียง โดย Kongp@thailandsurvival.com

ลําดับเหตุการณหลังแผนดินไหวโดยเครือขายภาคประชาชน ผูใหขอมูล : วีระพงษ กังวานนวกุล สัมภาษณ : นิภาภรณ แสงสวาง


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

11

15 วันแรก หลังเหตุการณ วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18.08 นาที เกิดเหตุการณแผนดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร ถือวา เปนแผนดินไหวครั้งรุนแรงทีส่ ุดเทาที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย ไมมีใครเลยในจังหวัดเชียงราย ที่ไมรับรูถึงแรงสั่นสะเทือนนี้ ผลจากแรงเขยาทําใหบานเรือนของชาวบานทั้งบนที่สูงและพื้นที่ ราบเสียหาย ตั้งแตเล็กๆไปจนถึงบานถลมทั้งหลัง หลังจากภัยพิบัติเงียบสงบลงชาวบานที่ไดรับ ผลกระทบยังคงหวาดกลัวตอเหตุการณดังกลาวการเขยาของพื้นโลกเพียงไมกี่วินาที ฝงจิตฝงใจ อยูในความทรงจํา ยอกย้ําดวยภาพที่อยูอาศัยพังทลายตรงหนา เกือบทุกคนกินไมไดนอนไม หลั บ รอวั นที่ ทุ กอย า งจะกลั บมาเหมื อ นเดิ มอี กครั้ ง ป ญหาใหญ คื อ นี่ คื อ ป ญหาใหม ข องชาว เชียงราย ที่ตองใชเวลาลองผิดลองถูก กอบกูกําลังใจ สติ และทรัพยสินกลับมาอีกครั้ง จากการลงพื้นที่สํารวจความเสียหายพบวา เหตุการณแ ผนดินไหว สรางความเสียหายตอทรัพยสินและ จิตของคนเปนวงกวาง ทุกคนยังคงตื่นกลัวกับอาฟเตอรช็อ ค ที่เกิดขึ้นในเกือบทุกวัน หลังจากทุกอยาง พังทลายตรงหนา ผูประสบภัยไมนอย ตองเปนหนี้ซ้ําซอน บางรายยังหาทางออกใหกับชีวิตไมได บาง รายที่บานเรือนไมเสียหาย ไมไดรับผลกระทบใดๆ ก็แทบจะลืมเหตุการณไมกี่วินาทีนั้นออกจากหัวใจ จากนี้คือคําบอกเลาบางสวนจากทั้งผูประสบภัยและผูเกี่ยวของในเหตุการณแผนดินไหวในครั้งนี้ซึ่งทุก คนตางมีบทบาทหนาที่แตกตางกันแตเชื่อมโยงถึงกัน ไมวาจะในฐานะของผูรับหรือผูให นายวีระพงษ กังวาลนวกุล หรือพี่เบิ้ม สมาชิกเครือขายการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนจังหวัด เชียงราย ไดลําดับสถานการณแผนดินไหวตั้งแตวันแรกจนเริ่มเปนที่รับรูของคนในสังคม เขาเลาวา เหตุ เกิดวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลาหกโมงเย็นอยูดีๆบานก็เคลื่อนอยางกะทันหันตอนนั้นรูสึกมึนงง

“แว็บแรกคืนวันนั้น ผมคิดถึงเขื่อนก็เปนอันดับแรก (เขื่อนแมสรวย)ความรูสึกคือนึกวาหลังคา บานถลมหรือมีอะไรตกลงมาที่หลังคาบานเปนความรูสึกที่รุนแรงมากกําลังนั่งทํางานอยูในบาน คนในครอบครัวก็นั่งกันคนละมุมเสียงครืนครืน รุนแรงมากดังตลอดเกือบ 7-8 วินาที” ถัดจาก เสี ยง บ านก็ เริ่ มสั่นคลอนเฝามองสถานการณ กันอยู สั กพั กแล วสมาชิ กครอบครั วจากที่ อยู กั นกระจั ด กระจายก็เริ่มขยับตัวอยางชาๆมากองกันอยู ที่กลางบานตอนนั้นไมมีชุดความรูอะไรนอกจากหนังสือที่ ปภ.เคยใหไวแตก็เพราะมัวแตตกใจกับเหตุการณปจจุบันทันดวนจึงไมทันไดคิดถึงหนังสือเลมนั้นแทบไม ใชความรู ที่เคยอานเพราะมัวแตตกในกันอยูแ มแตจะวิ่ งกันไปก็ ยังไมแนใ จ เพราะมันแตตั้ งสติกันอยู


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

12

เพราะไมไดทันตั้งตัว เตรียมใจกับเรื่องนี้ไวเลย คงตองรอจนกวาอะไรจะพังโครมลงมาเสียกอน คงไดวิ่ง หนีกันออกมา นี่คือเรื่องจริง

“ชี วิ ต มั น ไม เ คยถู ก ซ อ มเรื่ อ งนี้ ไ ว ต ลอดเวลา” เลยไม ไ ด เ ตรี ย มตั ว ตั้ ง สติ ไ ด สั ก พั ก ก็ เ ริ่ ม นิ่ ง และ สันนิษฐานวาตองเปนแผนดินไหวแนนอนก็เริ่มสํารวจความเสียหายในบาน เอาเฉพาะที่ตาเห็นชัดๆกอน จุดแรก คือระเบียงนอกบาน ลองขยมดูกอนวามีอะไรเสียหายไหม คืนวันนั้นไมกลาขึ้นไปนอนขางบน เลย นอนชั้นลางกันทุกคน เพราะก็ยังมีแรงสั่นสะเทือนตามมาเรื่อยๆเปนระยะๆ อยางสัมผัสได จึงโทร ไปที่แมสรวย หวงพี่นองที่แมสรวยกอนเพราะยังไมรูวาศูนยกลางอยูที่ไหน “ตอนนั้นยังไมมีการรายงานขาวเรื่องแผนดินไหวเลย”ผมโพสสถานการณลงเฟสบุคกอนหลังจาก นั้น 5 นาที ผมใช Facebook ในการสื่อสารเรื่องราวที่เกิดขึ้นกอนหลังจากตั้งสติได เห็นไดวาสื่อบานเรา ยั ง ไม เ ท า ทั น เหตุ ก ารณ เ ท า ที่ ค วร มี ส ถานี โ ทรทั ศ น ไ ทยพี บี เ อส ที่ เ ริ่ ม โทรมาถาม ช ว งนั้ น ก็ ใ ช ยั ง Facebook สวนตัวในการรายงานขาวสถานการณทั่วๆไปที่เกิดขึ้น ยังไมไดติดตอใครในวันแรกเพราะ ตางคน ก็คงตางกําลังตั้งหลักกันอยู วันที่ 6 พฤษภาคม 2557 เริ่มมีการโทรศัพทเช็ค และประสานไปยังเครือขายพี่ๆนองๆในเชียงราย ถึง ความเสียหายในพื้นที่ที่เรารูจักเริ่มชวนเพื่อนๆลงพื้นที่และขณะนั้นมูลนิธิกระจกเงาเริ่มลงพื้นที่กอ น ตอนเย็นจึงประสานไปทาง คุณวีระ อยูรัมย ผูอํานวยการมูลนิธิกระจกเงาเชียงราย เพื่อวางแผนทํางาน เยียวยารวมกัน รุงขึ้นของวันถัดมาก็ใหนองๆที่แมสรวยขึ้นไปสํารวจเขื่อนกอน ยังไมไดสังเกตที่อื่นๆที่ไดรับผลกระทบ เลย ดูแตเขื่อนกอน มีการเริ่มออกมานอนขางนอกบาน เริ่มประมวลความเสียหาย เกิดเพจเชียงราย ขึ้นมานั่งมอนิเตอรกั บพี่ชัยวัฒน สื่อ มวลชนจัง หวัด พะเยา ภาพโคลนผุดก็เ ริ่ม โผลมาที่บานทาวแก น


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

13

จันทร ขอมูลก็เริ่มตรงกันมากขึ้นหลังจากที่ตางคนตางแจงความความเสียหายมาที่เพจแผนดินไหวที่ รวมกันสรางขึ้นกับพี่ชัยวัฒน เริ่มมีพระเอียง “ผมประมาณการณว าความเสี ยหายน าจะมากพอสมควรเพราะแผ นดิ นไหวถึง 6 ริ กเตอร ชวงแรกๆ คนในเมืองยังไมคอยมีใครคนสนใจ จนวันที่ 7 พฤษภาคม ถึงไดมีการนัดหมายกัน อยางจริงจัง ในวันสองหลังเหตุการณ วันแรกยังไมไดไปไหนเพราะยังเปนหวงที่บานอยู วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 เริ่มมีแถลงการณของวสท. (วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย) เรื่องเขื่อน ผม ยังคงสังเกตการณอยูพื้นที่ใกลเคียงและยังคงประสานเพื่ออัพเดทกับเพื่อนในเชียงรายผาน Facebook และโทรศัพทเปนสวนใหญ วันที่ 8 พฤษภาคม 2557 เริ่มมีการประชุมเครือขายครั้งแรก มากัน 10 กวาองคกร โดยมีพี่แดง เตือนใจ ดีเทศนเปนเจาภาพ โดยประสานกับกระจกเงาไวเบื้องตน โดยกอตั้ง เปนศูนยภัยพิบัติภาคประชาชนขึ้น โดยมี ก ารแบ ง งาน มี ยุทธศาสตร ในการขับเคลื่ อน ตอนนั้ นยัง ไมมีเจ าภาพ ผมก็ ทําเองสรุปเอง โดย แบงเปนระยะสั้น และระยะยาว เชื่อมโยงกับสื่อ สวนใหญคุยกันเรื่องอนาคตในระยะสั้นตอนที่ยังไมเห็น พื้นที่ ทําระบบ เตือนภัย ยังไมมีการซอมสราง ยังนึกถึงแผนดินที่ยังไหวอยูสวนระยะยาวคือ การระดม ทุน (กองทุน) ใหเปลา กูยืม สําหรับฟนฟูผูประสบภัย

“ตอนนั้นยังมองกลไกลในสวนของชุมชน ไมไดคิดถึงเรื่องบ านพัง เรื่องทางวิศวกรรมยังไมมา คิดวาฟนฟูสรางบานใหม ไมคิดถึงหลักวิศวกรรมมารองรับในตอนนั้น เรื่องราว ก็ยังไมไดใสใจ อะไรกันยังไมมีการแบงความรุนแรง ผานไปสามสี่วันถึงจะเริ่มตั้งหลักกันไดวาจะตองมีการแบง ความเสียหายของบานเปนสีแดง สีเขียว สีเหลือง เมื่อมีอาฟเตอรช็อคเกิดขึ้นเรื่ องๆก็เริ่มเห็น ความเสียหายมากขึ้น”


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

14

ชวงนั้นชาวบานก็ยังชวยเหลือตัวเอง มีถุงยังชีพ มาถึงในวันแรก คืนนั้นทหารไปกอนเพื่อน (คืนวันที่ 5 พฤษภาคม) ตั้งแคมปบรรเทาทุกข สวนหนวยงานอื่นๆยังเงียบกันอยู ทหารเขามาเคลียรพื้นที่มาดูความ เสียหาย เปนหนวยงานแรกที่เขาพื้นที่ ที่สอง เปน ปภ. เอารถน้ําดื่มเตนท ครัวมา เมื่อจังหวัดประกาศ เปนเขตภัยพิบัติระดับ 2 และมีทีโอที มีรถดาวเทียมเขามาที่บานหวยสาน วันที่ 9-10 พฤษภาคม 2557 ทีม ThaiPBS เริ่มเขามาในพื้นที่ ลุยโดยฝายขาวกอน

วันที่ 9 พฤษภาคม 2557 หลังจากแบงหนาที่กัน ทางเครือขายก็เริ่มออกแบบสอบถามในมิติทางสังคม และสํารวจความ เสียหายเบื้องตน ในพื้นที่เปาหมาย คือ เขตอําเภอแมลาว ตําบลดงมะดะ ตําบลจอม หมอกแกว ชุมชนบานดงลาน และอําเภอแมสรวย ระบบขอมูลในตอนนั้นยังกระจัดกระจาย การแบง ภารกิจของเอ็นจีโอ ตอนนั้นก็เริ่มมีการระดมทุน ระดมรถกัน เพื่อแบงหนางานกันลงสํารวจ มีรถ 3 คัน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

15

กระจกเงา ศู นยพั ฒนาการการศึก ษาเพื่ อ ลูก หญิ งและชุ มชน มู ล นิธิ พั ฒนาประชาชนบนพื้ นที่ สูง ผม ประสานงานภาพรวมและประเมินสถานการณจาก สวนพื้นที่ สวนจังหวัดและสื่อในพื้นที่ วั นที่ 10-14 พฤษภาคม 2557 หลั ง จากที่ รางแบบสอบถามและใช เ วลาเก็ บ ข อ มู ล อยู ห ลายวั น แบบสอบถามจํานวน 111 ชุด จากพื้นที่อําเภอแมลาวกับอําเภอพาน ก็ถูกนํามาเครือขายในวันที่ 14 พฤษภาคม แตขอมูลที่ไดมาในขณะนั้นก็ยังเปนเพียงขอมูลสํารวจ ที่ยังไมสามารถนํามาใชประเมินหรือ วิเคราะหผลกระทบเชิงลึกตอได ชวงนั้น โอต ไผ พี่แดง ก็เริ่มรางโครงการสสส. เพื่อขอทุน ไปพรอมกัน วันที่ 10 พฤษภาคม 2557 เทปแรกของทาฮอ เวทีสถานการณพูดถึงเรื่องความรวมมือ มี นิคม อุตสาหกรรมอมตะ มีคุณวิภาวี (D4D : Design for Disaster) หลังจากนั้นก็แยกกันไปทํางานของตัวเอง วันที่ 11 พฤษภาคม 2557 ทีมขอมูล ก็เริ่มเปดหนางานขอมูลผานการเขาพบกับหัวหนาโยธาธิการ จั ง หวั ด เชี ย งราย เกี่ ย วกั บ การสนั บ สนุ น ด า นการจั ด ระบบข อ มู ล จากข อ มู ล ดิ บ ที่ เ ป น กระดาษ แบบสอบถามที่รวบรวมปริมาณความเสียหาย สูฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส สําหรับ ประมวลขอมูลเพื่ อ นําไปใชตอไป วันที่ 12 พฤษภาคม 2557 รายการสถานีประชาชนไปถายทําการที่บานทามะโอ แลวก็เริ่มมีการคุยกัน เรื่องการซอมบานบาน และเริ่มมีเครือขายผูบริจาคหลั่งไหลเขามาในพื้นที่ ซึ่งกลุม D4D ก็เปนหนึ่งในนั้น แตตอนนั้นกลุม D4D ยังหาทิศทางในการทํางานไมไดเพราะ ชาวบานทรายขาวไมไดตอบรับแบบบาน ตามที่ทาง D4D ไดออกแบบไว


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

16

วันที่ 13-14 พฤษภาคม 2557 ทีมสื่อภาคพลเมืองและนักวิชาการเริ่มสํารวจรอยแยกของพื้นดิน และ รอยร าวบริเวณเขื่ อนแมสรวย โดยมีชาวบานรว มประชุม ขณะที่ทีมสํารวจขอมู ลชุมชนก็ พัฒนาแบบ สํารวจขอมูลอีกครั้ง โดยครั้งนี้มีการปรับปรุงเปนครั้งที่ 3 ไดเพิ่มรายละเอียดของความเสียหายในตัวบาน และเพิ่มการเก็บขอมูลมิติของความเครียด และความตองการในการชวยเหลือเพิ่มเขามา วันที่ 14 พฤษภาคม 2557 ThaiPBS ไดถายทํารายการเวทีสาธารณะ เกี่ยวกับความปลอดภัยของเขื่อน ที่อําเภอแมสรวย และมีการรายงานขาวบานดงลานถึงการจัดระบบขอมูล การจายเงินเยียวยาของทาง จังหวัด การแจกถุงยังชีพ และเริ่มมีการนําเสนอขาวเรื่องอาคารถลม ความเสียหายเชิงโครงสราง และ ความเสียหายของวัดเขามา

วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 จังหวัดเริ่มมีการจายเงินชดเชยที่หวยสาน เว็บ ThaiQuake เริ่มทํางาน พรอมกับสื่อภาคพลเมืองที่เริ่มรายงานเรื่องน้ําผุด วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 วอรรูมที่กรุงเทพได เปดอยางเปนทางการ Spot โฆษณาระดมทุนเริ่ม ออกมา วั นที่ 17 พฤษภาคม 2557 สถาปนิ ค สยาม ร ว มกั บ ชมรมจั ก รยานเชี ยงราย มี ก ารป นจั ก รยานรอบ เชียงรายเพื่อระดมทุนมาชวยเหลือแจกจายใหผูประสบภัย ครั้งนี้ไดเงินบริจาคมาหนึ่งแสนบาท


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

17

วันที่ 18 พฤษภาคม 2557 ครูแดง เตือนใจ ดีเทศน ไดหารือ กับเจาหนาที่สํานักปองกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัดเชียงราย ไดพบอาจารยสนิท และมีการปรึกษากันถึงการเก็บขอมูล จนเกิดความชัดเจน เรื่องขอมูล ขณะที่ทีวีชองสามไดลงพื้นที่ทําขาวปรากฏการณแปลกๆ เชน น้ํารอนผุด วันที่ 19 พฤษภาคม 2557 เปนวันเปดเทอมวันแรกของโรงเรียนทาฮอ ที่ไดรับความเสียหายจากเหตุ แผ นดินไหว พร อมกั บที่ ว อร รูมของเครื อข ายจัด การภั ยพิ บัติ ภาคประชาชนเริ่ มปฏิบัติ ก ารอย างเป น ทางการ โดยหนาที่การตัดสินใจใหความชวยเหลือ จะเปนหนาที่ของผูประสานงานที่รับเรื่องโดยตรงผาน วอรรูม เมื่อไดรับแจงมาจากชาวบานแลว ทีมลงพื้นที่จะลงไปสํารวจขอเท็จจริงความเสียหาย และเก็บ ขอมูลทั้งหมดเพื่อมารายงายกับทีมและรวมกันประเมินความเสียหาย และจับคูผูบริจาคใหตรงกับความ ตองการ ทั้งผูใหและผูรับ วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 สื่อมวลยังคงนําเสนอขาวจากการสํารวจความเสียหายที่เกิดขึ้นเปนวงกวาง วามีการปรากฏของรอยแผนดินแยก ทรายผุด และกลิ่นกํามะถันจากทรายเหลวที่ผุดออกมา

“ระหว า งนั้ น ก็ มี อ าฟเตอร ช็ อ คมาเรื่ อ ยๆ ก็ เ ริ่ ม เห็ น ความเสี ย หายที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ” วี ร ะพงษ กัง วานนวกุ ล กล าวทิ้ ง ท าย พร อ มกั บ ประเมิ นเหตุ ก ารณ ใ นช ว งแรกหลั ง แผ นดิ นไหวว า "เนื่ อ งจาก เหตุการณนี้เพิ่งเกิดเป นครั้ งแรก และยังเกิ ดผลกระทบตอเนื่องตามมามากมายขนาดนี้ การ จัดระบบตางๆจึงเปนไปอยางคอยเปนคอยไป ตามบริบทของชุมชน และการตระหนักรูของชาว เชียงราย "


18

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

ความรวมมือของเครือขายภาคประชาชนกับภาคสวนตางๆ ผูใหขอมูล : นางประไพ เกศรา สัมภาษณ : นิภาภรณ แสงสวาง นางประไพ เกศรา (พี่แปน) ผูประสานงานศูนยจัดการภัยพิบัติภาคประชาชน การจัดตั้งศูนยศูนยภัยพิบัติแผนดินไหวภาคประชาชน จังหวัดเชียงและภารกิจของเครือขายในชวงตน ชวงแรกๆหลังจากลงพื้นที่สํารวจแบบกวางๆ หลายหมูบานยังมีปญหาเรื่องระบบประปา และน้ําดื่มซึ่ง เปนเรื่องแรกที่ควรไดรับการซอมแซม ในวันที่สองหลังจากเกิดเหตุการณ เครือขายองคกรพัฒนาเอกชน ของจังหวัดเชียงราย มีการรวมตัวกันและหารือรวมกันวาจะชวยเหลือชาวบานที่ไดรับผลกระทบอยางไร หลังจากนั้นมูลนิธิกระจกเงาจึงเริ่มลงพื้นที่สํารวจวาแตละชุมชนมีความเสียหายอยางไร

เมื่อถามถึงการสํารวจขอมูลความเสียหายในชวงตน พี่แปนก็ใหขอมูลวา ชวงแรกนั้นภาครัฐเริ่มทํา ขอมูล โดยมีผูใหญบานรวบรวมขอมูลสงใหกับอําเภอ และจังหวัดในลําดับตอไป แตในฐานะที่เราทํางาน ใกลชิดกับชุมชน เราก็พบเห็นวา ความเสียหายนั้นเกิดขึ้นในวงกวาง โดยที่อําเภอพาน และแมลาวมี ความเสียหายมากที่สุด เครือขายฯ จึงเริ่มทําแบบสํารวจ สอบถามเกี่ยวกับปญหาและความตองการใน พื้นที่ พรอมกับที่ตอนนั้นเริ่มมีหลายหนวยงานเขามาใหความชวยเหลือ เชน อิชิตัน ,D4D, อมตะนคร โดยขณะนั้นแบบสํารวจที่ทําขึ้นจุดประสงคในการเก็บขอมูลเพื่อ 1. ใหรูความตองการที่แทจริง 2. ใหรูวามีใครมาชวยเหลือบางแลว


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

19

การลงพื้นที่ในชวงนั้นทีมสํารวจไดพบปะกับผูประสบภัยแลวพบวา ชาวบานตองการเลาระบายความ ทุกขสิ่งที่ยังกังวลใจอยูใหกับทีมงาน กระบวนการถัดมาหลังจากทีมงานก็ไดเก็บถายภาพกลับมา แลวนํา ขอมูลมาหารือกันแลวจึงพบวา เมื่อชาวบานไดระบายความรูสึกออกมาก็ทําใหความกังวลคลายไปได “แลวขอมูลชุดแรกที่ไดมาจํานวน 111 ชุด ก็ถูกรวบรวมใหขอมูลความเสียหายวา มีบานจํานวน เท า ใดเสี ย หายมากจนไม ส ามารถเข า ไปอยู ไ ด บ า นไหนมี ต อ งการความช ว ยเหลื อ เร ง ด ว น อยางไร เปนฐานขอมูลที่เครือขายจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนใช จับคูความชวยเหลือเขากับ หนวยงานที่ตองการใหสนับสนุนในแตละกรณี แตละความตองการ” โดยขอมูลที่สํารวจขึ้นมาชุดนี้ยังไดแชรตอ สถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส ใหเขามาใชขอมูลตรงนี้รวมกันใน การช ว ยเหลื อ รายกรณี เช น มี ค นแก คนป ว ย หรื อ คนพิ ก าร อยู ที่ ไ หนบ า งที่ ยั ง ใครต อ งการความ ชวยเหลือเรงดวน “เราทําหนาที่เหมือนสะพานพาใหทุกคนมาเจอกัน”

เวลาผ านไปนั บเดื อ น ความกั ง วลของชาวบ านที่ ยัง ไม แ น ใ จและยั ง หวาดผวากั บเหตุ ก ารณ อ ยู บาง ครอบครัวปลูกสรางเพิงบางก็เขาไปนอนในบานหรือไมก็ไปนอนบานญาติ “อาจจะเพราะวาชาวบาน เริ่มชินหรือไมก็คิดวาตายเปนตาย”จึงไมยอมออกจากพื้นที่และไมยอม ทิ้งบานของตนเองออกมา อาฟเตอรช็อคที่มีอยูตลอด ก็ทําใหบานที่ยังไมพัง เริ่มพังมากขึ้น ทางศูนยฯจึงเริ่มเชื่อมโยงผูที่เกี่ยวของ เขามาชวยเหลือ เชน โยธาธิการจังหวัด สถาปนิก หรือหนวยงานอื่นๆที่เกี่ยวของใหเขามาชวย ในการ ประเมินความมั่นคงในการพักอาศัยและแนวทางในการซอมแซม จนเกิดโมเดลของการฟนฟูชุมชน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

20

นายศรีศักดิ์ พิกุลแกว ทีมงานเว็บไซท ThaiQuake บทบาทความรวมมือและการนําขอมูลไปใชตอ จากการดําเนินงานรวมกับศูนยประสานงานเพื่อตรวจสอบอาคารเนื่องจากแผนดินไหว จังหวัดเชียงราย เว็บไซท ThaiQuake เกิดขึ้นหลังจากเกิดเหตุการณแผนดินไหวไมเกิน 5 วัน โดยใชโมเดลเดียวกับ เว็บ Thaiflood แตมันไมไดเปนอยางที่คิด เพราะผูประสบภัยไมใชคนเมือง การเขาถึงขอมูลจึงยากลําบาก กวา โมเดลเดิมจึงใชไมได การดึงขอมูลจากแบบสอบถามที่หนวยงานอื่นๆไดรวบรวมกันไว สามารถ นําไปใชตอไดในเรื่องของการระดมทุน และใชเปนระบบในการเตรียมความพรอมสําหรับที่อื่นไดหากเกิด เหตุการณคลายคลึงกัน

“ตอนนี้เว็บไซท ThaiQuake ทําหนาที่เปนฐานขอมูลสําหรับการนําไปใชตอใหกับหนวยงานรัฐ หรือเพื่อรีเช็ค ขอมูลจํานวนตัวเลข พิกัดของความเสียหาย ตรวจสอบการซอมแซมวาถูกตาม หลักความปลอดภัยหรือไม ถายังมีบานที่ซอมสรางไมปลอดภัยจะชวยเหลือตอไดอยางไรบาง” สําหรับตัวเว็บไซตตอนนี้ไดเพิ่มชองสําหรับการคนหารายการที่ตองการสําหรับผูใชไวแลวเพื่องายตอ การคนหาความรูที่ตองการไดรวดเร็วขึ้น ประโยชนสําหรับชาวบานคือสามารถอานขาวอัพเดทรายวันได มีองคความรู การถอดบทเรียนเกี่ยวกับเรื่องแผนดินไหวที่สามารถดาวนโหลดไดทันที ซึ่งเนื้อหาในหนา เว็บไซตประกอบดวยเนื้อหาเกี่ยวกับงานของภาคประชาชน งานดานวิศวะ งานในสวนของโยธาจังหวัด ซึ่งพบวาขอมูลแตละสวนยังไมเชื่อมตอกันเปนฐานขอมูลเดียวกัน ยังตองพัฒนาขอมูลให สามารถเชื่อมโยงตอกันได


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

21

จุดออนของเว็บไซท ThaiQuake ในบางพื้นที่ที่ไมมีสัญญาณอินเทอรเน็ต จะไมสามารถเขาถึงขอมูลได เลย การประชาสัมพันธที่ยังไมสามารถทําใหคนสวนใหญตระหนักถึงเหตุการณแผ นดินไหว อาจเพราะ การนําเสนอขาวยังไมตอเนื่อง มีสื่อเพียงแค ไทยพีบีเอส เทานั้นที่ติดตามสถานการณอยางตอเนื่อง ยัง ไมมีการโปรโมทหนาเว็บไซตอยางจริงจัง จึงทําใหเว็บไซตเปนไดเพียงแคฐานขอมูลเทานั้น เปาหมายหลักของการทํางานในครั้งนี้ก็หวังวาประชาชนผู ประสบภัยจะไดใชขอมูลอยางถูกวิธี และเปน ประโยชนในการเตรียมความพรอมเพื่อรับกับภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นอีก “ผมคิดวาหลังจากนี้บานที่มีความเสียหายสีแดงคือความสําคัญ และขอมูลในเว็บจะสามารถใช ในการยืนยันผลของการทํางานดานซอมสรางที่ผานมาไดทั้งหมด”


22

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

ความรูสึก ความชวยเหลือ และการจัดการตนเองของผูประสบภัย ผูสัมภาษณ : นิภาพร แสงสวาง นางอาสึ มาเยอะ (ชาวอาขา) อายุ 36 ป ชาวบานชุมชนหวยสานอาขา อ.แมลาว จ.เชียงราย กรณีไดรับความชวยเหลือจากปูนอินทรียโดยการประสานงานผานศูนยภัยพิบัติภาคประชาชนฯ “เปนครั้งแรกในชีวิตที่พบเจอกับเหตุการณแผนดินไหว ตอนนั้นเพิ่งอาบน้ําเสร็จ นุงกระโจมอก อยู อยูดีๆก็เกิดเสียงครืนดังสนั่น หลังจากนั้นบานก็เคลื่อน เขยาจนตองรีบมุดเขาไปหลบใต เตี ย ง เหล็ กภายในห อ งนอน ลู กๆสองคนวิ่ ง หนี อ อกจากบ านทั น แต ตั วเธอโป อ ยู จึง ไม ไ ด วิ่ ง ออกไป หลังจากนั้นก็เปนลม เพราะผนังหองทยอยถลมลงที่ละขาง ถลมลงมาที่เตียง ถาหากไม เขาไป หลบใตเตียงก็ไมรูวาจะเปนอยางไร อาจจะพิการหรือเสียชีวิตไปแลวก็ได ตอนนั้นกลัว มากจนเปนลม” ประสบการณครั้งนี้ทําใหรูวา ภัยพิบัติอยูใกลตัวกวาที่คิด ความรูที่มีเกี่ยวกับการปองกันตัวเมื่อเกิดภัย พิบัติสามารถประยุกตใชดวยกันได เชน ความรูเรื่องการหลบไปอยูใตเตียงนั้น เธอบอกวาเธอมักจะสอน ลูกๆอยูเสมอในเวลาที่เกิดลมพายุแรงๆวาใหลูกๆไปหลบอยูใตเตียงเพื่อความปลอดภัย และสําหรับ แผนดินไหวในครั้งนี้เธอก็ใชความรูนั้น จึงสามารถมีชีวิตรอดมาได ความชวยเหลือจาก อบต. และหนวยงานที่เกี่ยวของก็เขามาอยางรวดเร็ว ไมวามีปญหาอะไร ก็รีบมา ชวยเหลือ ชาวบานที่นี่ก็รวมมือรวมแรงกันดี ใครเดือดรอนก็ชวยเหลือกัน ระหวางที่กําลังซอมแซมบาน ซึ่งไดรับความอนุเคราะหปูนจากนกอินทรี ครอบครัวเราปลูกเพิงพักหลังเล็กๆกินอยูหลับนอนอยูไมใกล บานเดิม คอยอํานวยความสะดวกใหกับชางและทีมงานที่เขามาชวยเหลือ

นายศักดา อยูเบาะ สมาชิกองคการบริหารตําบลโปงแพร บานหวยสานอาขา หมู 9 ต.โปงแพร อ.แมลาว จ.เชียงราย กรณีการประสานความชวยเหลือระหวางปูนอินทรียและศูนยภัยพิบัติภาคประชาชนฯ นายศั ก ดา เล าถึ ง การดํ าเนิ นการความช ว ยเหลื อวิ ธี ก ารช ว ยเหลื อ การลํ าดั บความสํ าคั ญ ป ญ หาและ อุปสรรคในการใหความชวยเหลือชาวบานในพื้นที่รับผิดชอบเอาไววา


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

23

“เนื่ องจากขั้ นตอนการทํางานของจังหวัดยั งไม คอยชัด เจน ชวงที่ยัง ไมไ ดงบ เบื้ องต น เราใช แรงงานชาวบานดวยกันชวยกันทุบ เก็บ รื้อ แลวแตความสมัครใจของชาวบานดวย วาเจาบาน ตองการรื้อไหม ถาตองการเราก็ชวยทุบ ชวยรื้อตามความประสงค สมาชิกในชุมชนของเรา 50 หลังคาเรือน มีการประเมินความเสียหายบางแลวผลคือมีแค 5 หลั งประเมินวาเปนสี แดง (หามเข าใช พักอาศัย ) แต ก็มีการประเมินเพิ่ มทีห ลัง หลัง จากที่ วิศวกรอาสาเขามาประเมิน ก็พบวา บานเรือนในชุมชนไดรับ ความเสียหายเกินครึ่ง โดยชุมชน แหงนี้ มีบานที่เสียหายกวา 50 หลั งจากทั้งหมด 90 หลังคาเรือน หลังจากเกิดแผนดินไหว ชาวบ า นไม ก ล า เข า ไปนอนในบ า นมั น เขย า และโยกตลอดเวลาบนดอยที่ สู ง จะรั บ รู แรงสั่นสะเทือนไดมากกวาพื้นที่ราบ”

หลังจากประเมินรอบแรกไปแลว เมื่อมีวิศวกรอาสามาตรวจดูอีกทีก็พบวา บานที่เสียหายเขาขายสีแดงมี เพิ่มเปน 15 หลัง ทําใหชาวบานเกิดความสับสนเป นอยางมาก เพราะการประเมินความเสียหาย ถา ประเมิ นเป นสีแ ดงจะได ง านเยี ยวยาสามหมื่ นสามพั นบาท การสื่ อ สารที่ ผิ ด พลาดจะกอ ให เ กิ ด ความ สูญเสียกับชุมชน สมาชิก อบต. จึงปรึกษากับทานนายกใหมวาเกิดผลกระทบกับชาวบาน การประเมิน ความเสียหายในรอบถัดมาจึงมี การปรับเกณฑในการเยี ยวยาเปนประเมินตามคาเสียหายตามความ เสียหายจริง โดยมีวงเงินที่จายใหไดมากที่สุดอยูที่สามหมื่นสามพันบาทตามระเบียบราชการ และมีการสรางกลไกในการสํารวจเพิ่มเติมเขามาคื อ แตละหมูบานจะคัดกรองกันเองกอน จากนั้นพอ หลวงบาน (ผูใหญบาน) พรอมดวย สมาชิก อบต. 2 คน รวมเปนสามคน จะเปนคณะทํางานรวมกับ องคกรบริหารสวนตําบล สามคนนี้จะเปนตัวยืนในการคัดกรองชุมชน ประมาณการความเสียหายตาม จริง แลวสงใหนายชาง อบต. คัดกรอง แลวรวบรวมขอมูลเสนอตอนายก อบต. จากนั้นนายก อบต. ก็จะ สงขอมูลไปยังที่วาการอําเภอ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

24

เมื่อคณะทํางานระดับอําเภอพิจารณาคัดกรองและตรวจสอบความครบถวนแลวพบวาขอมูลมี ปญหาก็จะ มีการตีกลับขอมูลคืนมา ทางสมาชิก อบต. ก็จะรับกลับมาแกไข สวนหากครบถวนสมบูรณดี ก็จะมีการ สงขอมูลตอไปยังจังหวัด โดยสงไปยังคณะทํางานของจังหวัด ที่ศาลากลางจังหวัด ซึ่งเปนศูนยรวมขอมูล และผูมีอํานาจหนาที่ในการเบิ กจายตอไป จากความเปนไปในเหตุการณครั้ง นี้เห็นได วา ปภ. สํานั ก ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงรายทําอะไรไมไดมาก อะไรที่ชาก็บอกวาชา หนาที่ของ ปภ. ก็คือ แจกถุงยังชีพเบื้องตนรวมกับหนวยงานกาชาด พมจ.บาง หรือองคกรที่เขาสามารถเชื่อมตอได สอง ก็คือ เอาเครื่องจักรเขามาชวยรื้อบาน แตที่นี่มาไมไดเพราะถนนแคบ การรื้อโครงสรางหลักๆโดยเนื้อ งานจริ ง ๆมั น กว า ง ไปที่ ด งมะดะ ทรายขาว ห ว ยส านยาวเป น ส ว นใหญ ในกรณี ที่เ งิ น ไม เ พี ย งพอ ชาวบานก็ชวยเหลือกันเอง

“เบื้องตน เราคิดถึงเรื่องของการรื้อกอน คนที่มีกําลังในการที่จะสราง ตามกําลังที่มีอยู” หนึ่งเดือนที่ผานไป หลายอยางเริ่มเปนรูปธรรม มีหนวยงานของเครือขายภาคประชาชน ทําใหชาวบาน เกิดความเชื่อมั่น ความเชื่อมั่นคือ ฉันจะมีที่อยูแลว มีที่หลับที่นอนที่กินเหมือนเดิม เพราะวาหากจะหวัง เพียงเรี่ยวแรงหรือกําลังทรัพยของชาวบานอยางเดียวเปนเรื่องยาก ชาวบานเขาหาเชากินค่ํา ใครมีก็ทํา ไปกอนแลวแตกําลังของตนเอง เจาของบานมาแจงวาอยากทุบ อยากรื้อ แลวแตความสมัครใจ บางหลัง ก็ยังไมรื้อ แตละหลังไดเทาไหร ผมจดไวหมด เชน เงินเยียวยาที่ไดอีก 2,000 จาก ลูกคา ธกส. “ผมถือวา ถามองเปนผม ผมมองวาเงินจํานวนนี้ถึงแมวาไมไดรอยเปอรเซ็น ต เรานับหนึ่ง ที่ สามหมื่นหาและ นับสองจากการชวยเหลือจากภาคประชาชน ปูน อิฐบล็อกเต็มที่ นับสาม ปูน อินทรีย มีแรงงานอาสาสมัครเขามาชวย เงินจํานวนนี้ชาวบานก็ควรจะมีสวนในการชวยอีกหนึ่ง


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

25

แรง ไมวาหิน ปูน ที่ขาดไปเล็กๆนอยๆ ตามเนื้องาน อาจจะไมพอ แตเปนการเติมเต็มกันและ กัน ถานับกันที่สิบ เขาไดมาแลวที่เจ็ดที่แปดแตอยูในมือคุณสามหรือสี่คุณก็เติมไดเพราะวาเปน บานของคุณเอง" นี่เปนกระบวนการที่ผมพยายามสรางความเขาใจใหกับชาวบาน อยางบานปูนอินทรีย 5 หลัง เขามีน้ําใจ คุณก็ตองมีน้ําใจใหเขาดวยผมตองไปทําความเขาใจกับบานแตละหลัง เรื่องการมีน้ําใจ เรื่องอาหารการ กิน ใหกับคนที่มาชวยคุณผมรูทุกบาทเจาของบานปดไมได เขาจะรูวาตองเติมเงินเทาไหร วัสดุที่ตองซื้อ เพิ่ม ใชเงินเทาไหร ที่เจาของบานตองซื้อมาเติมจากที่ไดรับบริจาคมาทั้งหมด จากบล็อก จากทรายและ ปูที่ไดรับบริจาคมา คุณตองซื้อน้ํา ขนม ใหกับเขาบาง ตอนนี้ของใหชาวบานไดมีบานอยูอาศัยที่สมบูรณกอน ประมาณปลายเดือนนี้ทุกอยางก็นาจะเรียบรอย แตยังมีสิ่งที่ยังกังวลอยูคือ ตอนนี้ถึงฤดูที่จะเพาะปลูกแลว จะเปนไปตามธรรมชาติและกลไกของชุมชน อยางนอยที่สุด ในจํานวน 50 หลัง เสียหายหนักประมาณ 15 หลัง สิ้นเดือนนี้ก็จะเสร็จ สวนที่เหลือที่ เสียหายเล็กนอยเขาก็จะจางสลาที่อื่นมาได สวนของผมเอง ผมก็ทิ้งไว ผมตองรับผิดชอบทั้งขางนอกขาง ใน แตก็ไมถึงกับวาจะพังเยอะ มันราวก็จะซอมที่มันราวแตกเสียหาย “ก็ยังตองสูอยู แรกๆก็ยังสับสน เพราะขั้นตอนการทํางานไมชัดเจน บางครั้งผมก็ตอบไมได” การชวยเหลือแบงเปน 3 สเต็บ เสียหายหนัก 5 หลัง เสียหายปานกลาง อีก 21 หลัง ที่เหลือเพิ่งจาย ไปเมื่ออาทิตยที่แลว แตละขั้นตอนก็หางกันประมาณหนึ่งอาทิตย ตองการความชัดเจนวาคุณมี สเต็บในการทํางานอยางไร “ความเปนจริงก็คือไมเคยเกิด ไมมีแผนในการเยียวยา อยามองวาเคาใหมาแคนี้ ถาคุณมอง อยางนี้คุณมองผิด สมมติ ภาครัฐไมใหเลยคุณจะทําอยางไร คุณตองคิดอยางนี้กอน ไมมีใคร ชวย จะทําอยางไรคนที่มีเงินพอมีกําลัง สวนคนที่หาเชากินค่ําทําไมได” “เขาใหมา ไมใชการชวยเหลือ บรรเทา เขาใหมาเพื่อบรรเทา ลําบากนอ ยลง” คุณก็มีความเชื่อมั่น มาขึ้น มีเงินมาซื้อวัสดุเพิ่มมากขึ้นอาจจะลาชาบาง เพราะชั้นตอนในการทํางานของภาครัฐยังไมชัดเจน บางครั้งก็ทอ และทําไดเปนเพียงแตผูฟง และตอบเทาที่พอจะใหคําตอบได จุดเดนของชุมชนบนพื้นที่สูง คือ ชุมชนที่นี่ การไปลงแขก เจาของบ านตอบแทนโดยการเลี้ยง ขาว เลี้ยงน้ําชา เปนชนเผาแลวชวยเหลือกันความเปนเนื้อแทของเราถูกปลูกฝงมา อยางนี้ไมวา ใครเราก็ชวยเหลือ ไมเหลือ กรอบคือชุมชน ไมวาใครก็ตามที่อยูในชุมชนเราก็ชวยเหลือกันไป แนะแนว แนะนําเขาวาควรจะจัดการกับตัวเองอยางไรในการแกไขปญหา


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

26

นายอุดม สันดอนทอง ชาวบาน ต.จอมหมอกแกว อ.แมลาว จ.เชียงราย กรณีการจัดการตนเองของบานที่เสียหายหลังประสบภัยแผนดินไหว ลุงอุดมชี้ใหเห็นถึงรอยแยกที่เกิดขึ้นบนพื้นดิน พรอมทั้งเลาวาเปนรอยแยกที่ผานรั้วบานและตรงไปที่ใจ กลางบาน บานสองชั้น จึงพังถลมลงมาดูเหมือนเปนบานชั้นเดียว ตอนนั้นผมอยูนอกบาน แผนดินไหว มาแบบไมรูเนื้อรูตัว แผนดินสั่นสะเทือนไมเกิน 1 นาทีบานลมเลยในทันที

“เหมือนฝงระเบิดไวใตดิน แผนดินแตกแยกออกจากกันในเวลาไมถึงหนึ่งนาที จะรื้อบานและ ยายไปปลูกที่ใหม เพราะบานชั้นสองเปนไม ที่ยังใชไดอยู” ลุงเลาใหฟงวาบานหลังนี้อาศัยอยูสองครอบครัว หลาน 2 คน ลูกสะใภ 2 คน ลุงกับปา อาศัยอยูรวมกัน 6 คน วันที่เกิดเหตุ ลุงอยูบานคนเดียวออกไปซื้อของใหหลานๆเพื่อเตรียมเปดเทอม ชวงบายๆในขณะที่ กําลังนอนพักอยูบนเตียงไมกลางบาน อยูดีๆหมาที่เลี้ยงไวก็เหาไมหยุด มันไมสบายอยูแลว จึงเดินออก จากบานมาดู ปรากฏวาเดินพนออกจากบานหันหลังกลับไปบานก็พังลงมาทั้งหลังแลว


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

27

“ถือวาโชคดีมาก เพราะปกติเด็กๆจะขี่รถเลนกับอยูที่ชั้นหนึ่ง” หลังจากบานพังลงมาก็ตองตั้งสติ แตก็ยั งนึกถึงเหตุการณอยูตลอดเวลา นอนไมหลับ กังวลวาจะหาเงิน มาสรางบานจากที่ไหน เงินที่กูมาจาก ธกส. 300,000 ก็ยังตองผอนจาย ขาวของเครื่องใชก็เสียหายไป มาก มอเตอรไซคสองคัน เครื่องซักผา จักรยาน จมอยูใตซากประหลักหักพัง ตอนนี้ก็คิดแกไขปญหาเอง กอน ไมรอใคร เงินที่ไดมาสวนหนึ่งก็นํามาซอมบาน แตหลังนี้คงตองสรางใหม แคชั้นเดียวและเปลี่ยนไป สรางตรงพื้นที่ที่ไมมีรอยแยก บางครั้งการชวยเหลือจากหนวยงานหรือผูมีน้ําใจก็ไมตรงกับความตรงการ ของเรา ลุงก็ไมขอรับไว อยากไดบานแบบเดิม แบบที่เราชอบและลูกๆหลานๆอยู ดวยกันเหมือนเดิม มากกวา

ลุงหนานประสงค กาวี ประธานกรรมการวัดปาแดด อําเภอแมสรวย กรณีการจัดการตนเองของวัดที่เสียหายหลังประสบภัยแผนดินไหว วันที่เกิดเหตุวันที่ 5 ประมาณ 4-5 โมงเย็น ตอนนั้นอยูที่บานอยูดีๆก็ไดยินเสียงดังตึง ตึง นึกวาเปน เครื่ อ งบิ น ไอพ น ข างล า ง ข า งบนเริ่ มเขย า ต น สนแกว ง วิ่ ง มาดู ที่ วั ด ศาลาวั ด เริ่ ม ขยั บ เสาคอขาด กระเบื้องหลนลง พื้นแตกกระจาย หลังจากนั้นก็เกิดอาฟเตอรช็อคอีกเปน 100 ครั้ง ตอนนั้นปะปาใช ไมได ชาวบานวิ่งกันจาละหวั่น ออกมาอยู มานอนกันนอกบาน บานที่ไมไดมาตราฐานเริ่มอยูไมได อาฟ เตอรช็อค ทําใหรอยราวแยกออกมาให เห็นชัดเจนขึ้น ลมพัดแรง นกที่ทํารังอยูบนฝาเพดานวัดตกลงมา ตายหมด หลังจากนกสงเสียงรองเจื่อยแจว สัตวมักจะรับรูถึงความผิดปกติไดกอนมนุษยถือเปนอาเพส “หลังจากนั้นก็ประชาสัมพันธเสียงตามสายเพื่อระดมทุน เพราะทางวัดไมมีงบประมาณในการ สรางซอม การประกาศเสียงตามสายในชวง เสียงสวรรค ขอบริจาคจากของและกําลังจากผูมีจิต ศรั ท ธา ที ละอย างสองอย าง เริ่ ม จากวั ส ดุ ที่ จําเป น เช น กระเบื้ อ ง ค าแรงช าง ก็ ใช ระดมจาก ชาวบาน อุปกรณตางๆที่ตองการใชก็ใชวิธีประกาศขอความรวมมือใครจะเปนเจาภาพ”


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

28

แตละทองถิ่น แตละพื้นที่อาจจะมีวิธีในการหาทุนไมเหมือนกัน ถาทําอยางนี้ก็ไมตองรอ เปนการเริ่มตน โดยอาศัยการพูด โนมนาวจิตใจเปนหลัก โดยจัดลําดับความสําคัญวาตองซอมสิ่งใดกอน เชน หอฉัน ตองใชเงินกี่บาท กี่วัน คาปูน คาแรง จากนั้น ก็ขอเรี่ยไรเงินบริจาคจากชาวบานเพื่อชวยกันนําเงินมา ซอมแซม

“บริ จ าคไม ใช การบั ง คั บ บางคนบริ จ าคซ้ํ า แล ว ซ้ํ า อี ก บางคนไม มีก็ ไ ม เป นไรทํ าไมเราถึ ง ไม ออกไปเรี่ยไรเงินบริจาคจากขางนอก เพราะเขาไมเห็นภาพ ใหคนในชุมชนชวยกันกอนจัดการ ตัวเองกอน” ผมจะประกาศเตรียมไววาพรุงนี้จะทําอะไร แลวปลอยเวลาใหทุกคนกลับไปคิดกลับไปตัดสินใจ แลวรุง เชาวันใหมคอยตัดสินใจอีกครั้งวาจะชวยมากนอยเพียงใดก็แลวแตความสมัครใจ ใชเทคนิคทําบุญเนน การให ใชหลักธรรมะ ใหเกิดศรัทธา “ถาสวนกลางมองไมเห็นเราก็ตองชวยตัวเองกอน” เรือ่ งอยางนี้ตองทําใหเห็น ตองกอสรางใหเห็นกอนถึงจะเกิดการทําตาม เกิดศรัทธา ตองใจเย็น จากเหตุ การณที่เกิดขึ้นทําใหรูวา การกอสรางที่ไมไดมาตรฐานเปนแบบอยางใหคนรุนตอไปตองเรียนรู


29

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

เขาบานหลังแผนดินไหวทํายังไงดี ผูใหขอมูล : อ.เอกชัย กิตติวรากูล ผูสัมภาษณ : ศิรินันต สุวรรณโมลี หลังจากการอบรม 5 วัน (14-18 มิ.ย.ที่ผานมา) ในกิจกรรมปฏิบัติการสอน ซอม-สราง บานหลัง แผนดินไหวที่มีชื่อวา ดงลานโมเดล 1 ระหวางทางที่นั่งรถจากเชียงราย สงอาจารยกลับไปเชียงใหม เรา ไดนั่งคุยกับอาจารยเอก เอกชัย กิตติวรากูล ที่เปนครูใหญของกิจกรรมนี้ 2 ถึงการทํา คูมือชาวบาน สําหรับตรวจบานหลังแผนดินไหว ในแบบที่งาย ชัดเจน และทําไดจริงทีละขั้น เพราะการเดินตาม อาจารย ม า 5 วั น ทํ าให เ ราพบรู ป แบบความเสี ย หายของบ านที่ ต กผลึ ก ออกมาเป น ความรู เ กี่ ยวกั บ ผลกระทบตามรูปแบบอาคาร นอกจากนั้นอาจารยยังชวนเราตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับการตั้งเรือนโบราณ ของชุมชน วาพื้นที่บริเวณนี้อาจจะเคยเผชิญกับแผนดินไหวครั้งใหญมากอน สังเกตจากหลักฐานการตั้ง บานขวางตะวันและการสรางบานเสาใหญ ความนาสนใจของเรื่องราวเหลานี้ ทําใหขาพเจาเฉยนิ่งอยู ไมได จึงตองฉกฉวยเวลางีบของอาจารย มาสนทนาถึงสิ่งที่พบ เพื่อผลิตบทเรียนและคนหาแนวทางใน ปรับตัวตอการดําเนินชีวิตของคนบนรอยเลื่อนดังบทสนทนาตอไปนี้ ขาพเจา อาจารยคะ หลังจากแผนดินไหวแลวนี่ การกลับเขาบานหลังแผนดินไหว สําหรับ ชาวบานทั่วไปอันดับแรกเขาตองดูอะไรบางคะ อาจารยเอก อันดับแรก ดูที่เสาทั้งดานบนและดานลางของเสาทั้งดานซายและขวา

1

กิจกรรมนี้สืบเนื่องมาจาก การประชุมวางแผนใหความชวยเหลือผูประสบภัยแผนดินไหว โดย มทร.ลานนา เชียงราย รวมกับ เครือขายจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2557 นําโดยอาจารย เอกชัย กิตติวรากูล อาจารยประดิษฐ เจียรกุลประเสริฐ และ ดร.มงคลกร ศรีวิชัย อาจารยประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา 2 ดงลานโมเดล คือ พื้นที่แรกของการขยายความรูในการฟนฟูชุมชน ผานกระบวนการซอมสรางบานหลัง แผนดินไหว โดยใหทั้งเจาบานและชางประจําถิ่น ไดรูจักการการเลือกใชวัสดุที่ถูกตอง เทคนิคและขั้นตอนที่ถูกตองใน การกอสรางบานเรือนใหมีความแข็งแรง เมื่อชางประจําถิ่นเขาใจหลักการ ไดความรูที่ถูกตอง ไดรับการสนับสนุนใหเกิด กลไกในการรวมกันลงแรงในชุมชนแลว การจัดการตนเองในขั้นตอไปก็จะเกิดขึ้นไดเองโดยอัตโนมัติ สาเหตุที่ชุมชนดงลาน ไดจัดกิจกรรมเปนพื้นที่แรกก็คือ เมื่อ 1 เดือนกอน (แรกประสบภัย) ทีมวิศวโยธา ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ภาคพายัพเชียงใหม รวมกับโยธาธิการจังหวัดเชียงราย ไดพื้นที่รับผิดชอบใน การสํารวจ-ประเมินความเสียหายหลังแผนดินไหวเปนตําบลทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย ทีมของอาจารยจึง เห็นภาพรวมของพื้นที่และมีขอมูลที่เพียงพอ เพราะไดลงสํารวจบานครบเกือบทั้งตําบล อีกทั้งผูใหญบานหมู 17 ชุมชน ดงลาน มีแนวคิดเชิงกาวหนา จึงทํางานควบคูกับเครือขายจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนทํากิจกรรมตนแบบไดสําเร็จ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

30

อันดับที่สอง ดูที่ฝาเพดานวาจะมีอะไรหลนมั้ย เสร็จแลวดูพื้นของชั้นบนที่อยูเหนือฝาเพดานขึ้น ไป วาพื้นมันจะหลนมั้ย ซึ่งถาเปนพื้นสําเร็จรูปหลนมันมักจะลงมาเลย ถามันคางอยูก็อันตรายหนอย อันดับที่สาม สวนสิ่งของเฟอรนิเจอรในบานมันอยูระดับสายตาหมด มันเปนธรรมชาติแลว

กอนเขาไปขางในบานแหงนหนาขึ้นไปดูกอนวามีฝาเพดานจะรวงลงมาอีกหรือไม อันดับที่สาม หลังจากนั้นเขาไปในบานปุบ ก็ดูคานวามีการแตกราวมั้ย ถาเห็นวามีการแตกราว ใหถอยออกมากอน เพราะมีความเสี่ยงตามมาจาก after shock ยิ่งแตกราวมากยิ่งมีอันตราย ใหออกหาง อาคารไวกอนเลย เพราะมันมักจะมี after shock ตามมาหลังจากนั้นอีกครึ่งชั่วโมงถึงสองวันหลังจากนั้น จนกระทั่งมีผูเชี่ยวชาญหรือมีผูรูหรือ มีคนที่ระบุไดวาอะไรอันตรายอะไรไมอันตรายแลวจึงเขาไป การดู วาอันตรายไหนอันตรายอันไหนไมอันตราย แตดูงายๆเลย ถาคอนกรีตมีรอยแยกออกจากกันชัดเจนอัน นั้นอันตรายแล ว อยาเขาไปใกลก อน แต ถาไมมีอะไรเลยเราก็เขาไป แล วเขาไปสํารวจวามีรอยแตก (crack)เล็กๆตรวจไหนบางก็ใหมารคไวๆ วาหลังจากเกิด after shock ตามมามันเปลี่ยนไปอยางไร สวน กําแพงดานไหนที่มันราวมากเราก็หลีกเลี่ยงอยาไปเดินผานตรงนั้น ขาพเจา รอยราว (crack) สามอันดับแรกที่มักจะพบอยูที่ใดบางคะอาจารย อาจารยเอก ดูที่เสากอนครับ เพราะเสาเปนจุดที่สําคัญที่สุด ที่สําคัญในบานมีสองจุดครับ คือ คาน และ เสา เวลาดูใหดูขางลางแลวก็ดูขางบน ดูเหนือพื้นขึ้นมาสักคืบสองคืบ แลวแต วามีรอยแยกตัวให เห็นชัดเจนมั้ย เสร็จแลวจึงดูดานบนตรงใตคาน เสร็จแล วดูที่มุมเสา ดูเพดานตอ ดูพื้นดานบนตอไดเลย อันนี้เปนอันดับแรกๆเลยที่จะใชประเมินวา เขาไดหรือไมได


31

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

รอยราวที่เสาเหนือพื้น

รอยราวที่เสาดานบนบริเวณคาน

หลังจากนั้นถาเราเขาไปในบานแลวไมมีการสั่นไหวของตัวบานนั่นคือโอเคปลอดภัย แตถาเขาไปในบาน แลวมีอาการสั่นไหว แคคนเดินก็สั่นไหวแลว เดินขึ้นบันได บันไดก็สั่นทั้งที่ปกติมันไมสั่น แสดงวาบันได เสียหายแลว บันไดตัวนั้นหามขึ้นแลว ฟาเพดานที่มันทําทาจะหลนถาเปนไปไดทําใหมันหลนลงมากอน เอาอะไรกระทุงใหมันหลนลงมาเลยมันจะไดไมหลนอีก กําแพงแตกราว ถาเปนเสนเล็กๆเหมือนเสนผม ยังไมอันตราย ถาเมื่อไรที่มันแตกราวชัดเจน เอานิ้วกอย สอดเขาไปได ถาแยกตามขอบมีสิทธิ์ลม ถาแยกเปนกากบาทมีสิทธิ์ หลุดลงมาแนๆ เพราะฉะนั้นกําแพง อยูในระดับสายตา เราก็ปองกันไมใหกําแพงหลนซะ กําแพงหลนลงมาถามวาบานพังมั้ย ขาพเจา ไมพัง อาจารยเอก แตเสา เสาแตก เสาระเบิด เสาขาดเห็นเหล็กเสน อันนี้บานพังได อันตรายที่สุด ขาพเจา ดังนั้นภัยเสี่ยงอันดับแรก คือ ของหลนใสหัว อาจารยเอก ครับ เพราะของหลนลงมางายกวากําแพงลม ดังนั้นอะไรที่มันจะหลนก็เอามันลงมาซะ after shock มามันจะไดไมหลนอีก กําแพงฝงไหนที่เขยาแลวมันสั่นไดใหเอามันลงมาซะ ถาเอามันลง ไมไดใหเอาไมมาค้ํา เพื่อไมใหมันหลน ขาพเจา อยางบานที่เจอมาลาสุดเคาไมรูวาตองค้ํายังไงจะทํายังไงคะ อาจารยเอก ขั้นแรกดูวา เสาเสียหายตนไหน แลวค้ําครับ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

32

"ค้ําผิด ยังดีกวาไมค้ํา" หลังจากนั้นหาคนที่รูเรื่องรูวิธีมาชวยดูตอ งายที่สุดคือ หาชางที่ใกล ๆ กอน ค้ําไมถูก 100%ก็ไมเปนไร หลังจากนั้นวิศวกรมีโอกาสมาตรวจ คอยชี้ใหค้ํายังไงคอยค้ําไปปรับไป คนที่มีความรูทางวิชาการบาน เรามีอยูนอย มีเวลานอย ดังนั้นอะไรที่ทําเองในเบื้องตนกอนไดก็คอยๆ ปรับตัวไป แลวเราก็จําไววาควร จะอยูอยางไรกับบานของเรา ขาพเจา ที่วามานี่คือ การจัดการตัวเองลําดับแรกสําหรับคนทั่วไปที่เปนผูประสบภัยและไมได เปนชาง ทีนี้อันดับที่สอง ความเสียหายจากแผนดินไหวจะมีเคสซ้ําๆกันอยูบ อยๆ ที่พบบอยอันดับแรก คือเคสไหนคะอาจารย อาจารยเอก เคสที่พบบอยที่สุด ถาไมนับกําแพงเสียหาย ที่อันตรายกับตัวอาคารที่เจอเยอะที่สุด ก็ คือ เสาขาด นี่ยังหาสาเหตุไมเจอวาทําไมเสาถึง มีรอยขาดในแนวราบ เพราะปกติ เสาที่เสี ยหายจาก แรงสั่นสะเทือนมักจะมีรอยขาดเปนแนวทแยง 45 องศา จากแรงเฉือน ซึ่งในครั้งนี้อาจจะเปนแรงดึง หรือ เกิดจากเสาเปราะมากเกินไป เหมือนแทงดินสอหักปอกยังงี้เนาะ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

33

รูปแบบของเสาที่ราวในแนวระนาบคลายกับการหักดินสอ ถาเสาเสียหายค้ํา ใหค้ําไปกอนดีกวาไมค้ํา ถาค้ําผิดมันยังลงชา ถาไมค้ํามันลงไว อันดับที่สองที่เสียหาย คือ บันไดที่เราเดินขึ้นเดินลงไดรับความเสียหาย เดินแลวบันไดสั่น อันดับถัดมา คือ ฝาหลนกับกําแพง อีกอันที่เราเจอบอยคือ บันไดเขยาไปชนกับเสาบาน บันไดแข็งเกินไป เสาบานออนกว าบันได พอแผนดินไหวมา เสาก็โยกแลวก็หักแนวเดียวกับที่ยึดติดกับบันได อันนี้เจอเยอะมาก อยาวาแตบันได ทําเสาหักเลยครับ กําแพงที่ยึดติดกับบันไดไมเหมาะสม มันทําใหเกิด ที่เรียกทางวิชาการวา พฤติกรรม เสาสั้น เสาก็จะหักหรือหักแนวเดียวกับหลังกําแพงที่กอไมไดเต็มไปถึงคาน พวกนี้อันตรายครับ

บันไดที่ยึดไมถูกตองและการวางบันไดปูนชิดกับเสาแลวทําใหเกิดการกระแทกทําใหเสาราว


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

34

สวนกําแพงที่แยกกับตัวเสา ที่มีการยึดติดกําแพงกับเสาที่ไมถูกตอง หนวดกุงเปนวิธีหนึ่ง พวก Chemical ก็มี ที่กอแลวเอากาวมาแปะติดกับเสาไดอยางสนิทนะครับ มีหลายวิธีเยอะแยะไปหมดเลย พูดงายๆก็คือตอนกอสรางกําแพงแลว กําแพงยึดติดกับเสาไมไดดีพอกําแพงก็จะหลุด ออกมาเปนแผน แตยึดติดไดดีพอ แตกําแพงรับแรงแผนดินไหวไมไหว ความเสียหายก็จะเกิดเปน 45 องศา เปนกากบาท หรือทแยงมุม พวกนี้ไมคอยหลนนะผมสังเกตดู แตวา ถาเปนเสนตรงตามแนวเสา ตามแนวพื้นคาน อัน นี้มีสิทธิ์หลนเยอะ

ผนังราว 45 องศา

ผนังราวแยกออกจากเสา

สําหรับคาน สวนใหญคานเสียหายจากแผนดินไหวนอยมากครับ แรงแผนดินไหวมันเขาสูฐาน แรงจากแผนดินไหวไมคอยถายเขาสูคาน มันเขาสูพื้น ความเสียหายสวนใหญมักจะเกิดจากการกอสราง ที่ไมดีมากกวา พอมีการขยับตัวนิดหนอยมันก็แสดงความเสียหาย เราจะเห็นวาพื้นที่อยูเหนือดินจะไม คอยเสียหายเพราะมีแผนดินรับแรงอยู แตพื้นที่ไดรับความเสียหายจะอยูชั้นสองชั้นสาม ซึ่งถาพื้นชั้น สองนั้นหลนลงมาแปลวาแผนดินไหวนั้นแรงมาก


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

35

ขาพเจา แลวการซอมผิดวิธีที่พบมากที่สุดคือการซอมแบบไหนหรือคะอาจารย อาจารยเอก การซอมผิดวิธีที่พบบอยก็คือ เสามีรอยราวแลวเอาปูน สําหรับประสานแปะๆเอาไว คิด วาไมเห็นรอยราว อันนี้ผิดวิธี ผมยกตัวอยางงายๆเชน เสามี รอยราวจากคอนกรีตแยกกัน แลวเอาปูน ปอรตแลนแปะๆปดรอยราวเอาไวใหมันยึดเขาดวย อันนี้ มันไมไดทําใหเสาสามารถรับกําลังไดนะครับ ชวยอะไรไมไดเลย มันแคทําใหเราสบายใจ แตไมไดชวยเลยนะครับ อันนี้ตองวิเคราะหนะครับวาจะซอม กันอยางไร ขึ้นอยูกับเจาของบานแลวครับวาจะเอายังไง

การซอมแซมที่ผิดวิธีโดยเอาปูนประสานรอยราวปดรอยราวที่เสาเอาไว ขาพเจา สรุปวาสําคัญที่สุดของการซอมบาน ก็คือ การซอมเสาที่เสียหายจากแผนดินไหว อาจารยเอก ครับ เสานี่หมายถึง ตอมอ ยันขึ้นไปถึงคานชั้นสองหมดเลยนะครับ ขาพเจา ทีนี้เราจะพบวาบานปูนกึ่งไม มันมักจะพบจุดเสียหายอยางไรบางคะ อาจารยเอก บานที่เปนครึ่งปูนครึ่งไม ความแข็งแรงไมเหมือนกัน เสาบานเปนคอนกรีตมีความออน ตัวนอยกวาไม เมื่อแผนดินไหวมา ไมโยกตัวมากกวาคอนกรีต ฉะนั้นจึงเกิดการโยกตัวที่สวนทางกัน ผล ก็คื อ ไมเ หนียวกว า ส วนที่ กรอบที่ สุ ดคื อคอนกรี ต ส วนที่ เสี ยหายที่ สุ ด จึ ง เป นคอนกรี ต แลว ก็ แบบที่ อันตรายที่สุดก็คือ บานหลังเดียวกันบานบางสวนเปนไม บานบางสวนเปนคอนกรีตพอแผนดิ นไหวโยก ไมเขากัน มันก็ชนกัน ชนกันมากๆอันไหนแข็งแรงไมพออันนั้นก็พัง สวนที่เปนไมถาแข็งแรงพอ สวนที่ เปนคอนกรีตสูไมไหว สวนที่เปนคอนกรีตก็พัง ถาสวนที่เปนบานไมออนแอกวา สวนที่เปนบานไมก็ พัง เหมือนเอาบานสองหลังมาชนกัน บานสวนที่ออนกวาก็พังแนนอน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

36

ขาพเจา นอกจากที่ถามมาแลว ทั้งหมดที่ผานมาอาจารยมีขอเสนอทางเทคนิคและทางนโยบาย อยางไรบางคะอาจารย เริ่มจากที่เราพบบอยๆวาบานที่เสียหายจํานวนมากเปนบานที่ใชวัสดุสําเร็จรูป อาจารยเอก อืม พูดงายๆวา นโยบายมันมีหลายสวนนะครับ ในเรื่องของวัสดุ วัสดุสวนประกอบบาน สําเร็จรูป เชน เสาสําเร็จรูป พื้นสําเร็จรูป คานสําเร็จรูป พวกนี้นาจะมีมาตรฐานไดแลว วาเสาสําเร็จรูป แบบนี้ผลิตออกมาสําหรับใชงานอะไร ทั้งนี้ทั้งนั้นทั้งผูใชและผูบริโภคก็ตองเขาใจดวยวา เสาสําเร็จรูป ชนิดนี้นะใชสําหรับทํารั้ว เสาสําเร็จรูปชนิดนี้ใชสําหรับทําศาลานะ เสาสําเร็จรูปชนิดนี้ใชสําหรับเปนเสา ของบานไมนะ เสาสําเร็จรูปชนิดนี้ไมควรจะเปนสวนของบานที่เปนคอนกรีต เพราะวาเนื้อคอนกรีตไม เหมือนกัน การเชื่อมตอถาไมไดใชสารเคมีเปนตัวชวย มันก็ติดกันไมดี อันที่สองก็คือ คนที่จะมาซอ ม ควรเปนคนที่มีความรู ปญหาในเชิงนโยบายมันกําหนดไดงาย ครับวา คนที่จะมาซอมไดความจะมีคุณสมบัติควรจะมีความรูแบบนี้ แตในทางปฏิบัติ ในทางสังคมมัน เปนไปไมได เพราะความเสียหายมีเปนหมื่นหลัง ปญหาความเสียหายดูคลายกันแตไมเหมือนกันรอย เปอร เซ็ นต ดั งนั้ นคนที่ จะมาซอ มควรจะเข าใจว า หลัง นี้เ ปนแบบนี้ ควรจะซอ มอยางไร แต ถาตอ งใช วิศวกรมีชี้ทุกหลังวาจะตองซอมแบบนี้ๆ เราคงจะตองใชวิศวกรเยอะแยะ จากการสํารวจเพื่อประเมิน บานแตละหลังอยางเร็วที่สุดที่เขาไปเราใชเวลาบานแตละหลังอยางนอยครึ่งชั่วโมง สวนกรณีที่ใชเวลา มากที่สุด คือ ใชเวลามากถึง 3-4 วัน กวาจะวิเคราะหไดหลังนึง ตองใชวิศวกรโครงสราง วิศวกรรมธรณี และวิศวกรรมกอสรางชวยวิเคราะหดวย อี ก งานหนึ่ ง ช า งเทคนิ ค และช า งฝ มื อ ที่ จ ะมาทํ า ให ต ามข อ กํ า หนดที่ วิ ศ วกรกํ า หนด ก็ ต อ งรู หลักการจริงๆวา จะทําตองยังไงถึงจะไดตามที่วิศวกรกําหนด ไมอยางนั้นผลก็คือการซอมสรางนั้นไม เกิ ด ประโยชน เ ลย ซ อ ม-สร างมี ส องอยางนะครั บ 1)ซ อ มเพื่อ คงสภาพ 2)ซ อ มเพื่อ รั บแผ นดิ นไหวใน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

37

อนาคต สร างเพื่ อรับแผนดินไหวในอนาคต แตเราคงไมสรางอะไรใหม เพื่อใหมันกลับไปเหมือ นเดิ ม เทากับกอนแผนดินไหวเทานั้น ขาพเจา ขอสุดทายคะ คนเชียงรายจะปรับตัวอยางไร เพราะตอนนี้ที่มีภัยแผนดินไหวเพิ่มขึ้นมา อีกภัยนึงแลว อาจารยเอก จริงๆแลว เราบอกวา คนที่อยูบนพื้นที่เสี่ยงแผนดินไหวดีกวา ภาคเหนือนี่เกือบทั้งภาค นะครับดูไดตามแผนที่เสี่ยงภัยของหลายๆหนวยที่ทําไว ขอแรกเลยเกิดแผนดินไหวจะปฏิบัติตัวอยางไร อันนี้คือเหตุการณเฉพาะหนาแลว หลังจากนั้นคือ หลังแผนดินไหวจะปฏิบัติตัวอยางไร สมมติผมจะเตรียมการรับแผนดินไหว อยางแรกเราตองวิเคราะหตัวเราเองกอน สวนบุคคลกอน เราตองรูตัวแลววาอะไรเปน Center ในการนัดหมาย ทุกคนในครอบครัวจะนัดหมายกันอยางไร อันที่สอง ทุกคนจะไปอยูที่ไหนหลังจาก Main shock มันหยุด หลังจากแผนดินไหวหนึ่งนาทีสอง นาที พอมันหยุดแลว เราออกจากอาคาร เราควรจะไปอยู ที่ไหน ลองนั่งคิดสิค รับ ทุกวันทํางานอยู ที่ ทํางาน ลองคิดนะครับอยูที่ไหนถึงจะปลอดภัย คําตอบที่งายที่สุดนะครับ "ที่โลง" แลวอาคารที่อยูใกล ที่สุดลมทับมาไมถึง ขาพเจา อยาไปยึดคัมภีรญี่ปุน เพราะบานเราไมมี Building Code อาจารยเอก ถูกตองครับ อันตอ ไป เตรี ยมตัว ในบ านทํ าอะไรบาง เราไม รูวาแผ นดินไหวแล วต อ งทํ าอะไรบาง อยางที่ นิวซีแลนดและญี่ปุน ในบานเคาจะมีกระเปาอยูหนึ่งใบ ในนั้นมีอุปกรณยังชีพ ในนั้นมีเทียน ไมขีดไฟ ยา ที่จําเปน อาหาร วิทยุ เสื้อผากันฝน และ หมวก วางายๆคือพรอมที่จะอยูกลางแจง สําหรับวิทยุนี่สวน ใหญแลวเครือขายการสื่อสารมักจะหยุดการทํางาน โทรทั ศนอยาถาม โทรศัพทมือถืออยาใหพูด แตวิทยุ AM อยูหางไป 800 กิโล ยังสื่อสารยังทํางานได

สําหรับตัวบาน ถาโครงสรางไมรองรับ เราตองเพิ่มความแข็งแรงใหโครงสราง เฟอรนิเจอรในบาน เมื่อเกิดแผนดินไหวตองทําใหมันไมลม อะไรที่มันจะลมตองทําใหมันลม ยาก ขึ้น เพื่อปองกันตัวเอง ไมใชนั่งอยูดีๆทีวีลมทับ ตูเย็นลมทับ ตองเตรียมพรอมแลวสรางใหเปนนิสัย ขาพเจา แลวระดับชุมชนละคะตองเตรียมอยางไร เมื่อกี้เปนระดับครัวเรือนแลว อาจารยเอก ระดับชุมชนงายๆ ชุมชนในละแวกนั้น ตองรูวา เมื่อเกิดแผนดิน ไหวใหไปรวมตัวกันที่ ไหน เมื่อคุณไปรวมตัวกันมันก็จะงาย ความชวยเหลือก็จะมางาย คือ มาที่ Center ที่คุณรวมตัว ไมตอง ไปกระจายหากันทั่วไปหมด หากันไมเจอ แลวขอดีก็คือ เมื่อทุกคนรวมครบ มันเช็คยอดกันไดครับวาใคร อยูใครบาง ใครไมอยูบาง ใครทําอะไรอยูที่ไหน สุดทายก็ตามกันงายขึ้น ถาเรามีวัฒนธรรมแบบนี้ความ ชวยเหลือก็จะทําไดงายที่สุด การทําในระดับชุมชนจะเหมาะสมมากที่สุด การเกิดแผนดินไหวแลวเอาคน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

38

ทั้งอําเภอไวรวมกันจุดเดียวในระดับอําเภอ ขนยายก็ยากแลวนะครับ ถาคนอยูเยอะๆความเสียหายก็จะ ถาเกิดอะไรขึ้นอีก ขาพเจา แลวระดับจังหวัดละคะ อาจารยเอก ตองมี workbook วาแตละหนวยงานราชการตองทําอะไร หนวยงานเอกชนที่เกี่ยวของ ตองทําอะไร แบบนี้ก็ ไม ตองเสี ยเวลามานั่ง ประชุม แล วก็ ทะเลาะกั นวาเรื่ องง ายๆต องทํ าอะไร เวลา ประชุมก็แคประชุมวา แตละหนวยตองสัมพันธกันอยางไร Workbook ของแตละหนวยงานตองมีออกมา เลย แตละหนวย Co กั นอยางไร ก็จะรูวาใครจะตองเอาอะไรมาใหใคร เชน ขอของ ของก็มาสงตาม หนาที่เคา ถาจะถามวาปญหานี้ชัดเจนมั้ยจากเหตุที่ผานมาบอกไดเลยวา ชัดเจนเกิน 100 เปอรเซ็นต พูดยากนะเรื่องนี้

โจทยปญหา และ งานฟนฟู สัมภาษณ : นิภาพร แสงสวาง เนื่องจากเพิ่งรูจ ักกับแผนดินไหวเปนครั้งแรก ชาวบานจึงใชเวลาในการตั้งสติและหาทางออกกับ ปญหาสักพัก โดยเริ่มตนสํารวจจากบานของตัวเองกอน เชน มีรอยราวไหม กําแพงพังหรือเปลา หรือ บางบานอาจจะเกิดการพังตั วของสิ่งกอสรางแบบตอหนาตอตา เพราะฉะนั้นสิ่งแรกที่ผูประสบภัยตอง ปรับตัวคือ การยอมรับกับเหตุการณความเสียหายตรงหนาอยางไมมีทางเลือก หลังจากนั้นจึงคอยขยับ ตัวออกไปสํารวจรอบๆบริเวณบาน สอบถามเพื่อนบาน และสํารวจรองรอยความเสียหายพรอมกัน นี่อาจ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

39

เปนปฏิกิริยาแรกๆที่พอจะมีแรงกําลังทําได เพราะยังหวั่นวิตกกับอาฟเตอรช็อคที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา และความกลัวกับเหตุการณที่ยังฝงใจ

ดวยหลักฐานของความเสียหายตรงหนาจากความเสียหายสวนใหญเกิดจากฐานรากของการ กอสรางที่ไมไดมาตรฐาน ไมสามารถรองรับกับแรงเขยาของแผนดินไหวได จึงทําใหเกิดการพังทลาย ของกํ าแพง เสา หลั งคา ส ว นต อเติ ม เช นหอ งน้ํา และระเบี ยง ทําให รูวาสิ่ งหนึ่ง ซึ่ งสํ าคัญ ไม นอยไป การเงินที่จะใชในการซอมสรางบาน คือความรูเรื่องการสรางบานเพื่อรองรับกับเหตุการณแผนดินไหวใน อนาคต ทั้งนี้ไมเฉพาะเจาะจงที่ชางเพียงเทานั้น เจาของบานหรือผูอยูอาศัยก็จําเปนตองเขาใจและเรียนรู ระบบการซอมสรางที่มีประสิทธิภาพ การอบรมใหความรูในการซอมบานอยางถูกวิธีและรับแรงสั่นสะเทือนจากแผนดินไหวใหไดมาก กวาเดิม จึงเปนกลไกสําคัญในการจัดการกับความมั่นคงของที่อยูอาศั ย โมเดลการฟนฟูชุมชนที่ไดรับ ผลกระทบโดยริเริ่มการตั้งทีมชางที่มีทักษะพิเศษ มีเครื่องมือที่จําเปนตองานซอมสราง จึงเริ่มตนขึ้นจาก ชุมชนดงลาน ต.ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย และขยายตอไปยังชุมชนอื่นๆที่มีความพรอมในการเริ่ม กิจกรรมอีก 4 ชุมชน ซึ่งจากการสัมภาษณอาจารยผูฝกอบรมและผูเกี่ยวของตอการจัดกิจกรรม เราจึง พบกระบวนการทํางานและปญหาอุปสรรคจากพื้นที่ดังนี้ อ.เอกชัย กิตติวรากูล อาจารยประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา กรณีปญหาและอุปสรรคจากกิจกรรมฟนฟูชุมชนดวยการอบรมซอมสรางบานในโมเดลชุมชน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

40

ชาวบ า นไม รู ว า บ า นตั ว เองเสี ย หาย นี่ คื อ ปญหา” หลังจากอบรมเสร็จ ผมยังไมไดตามไป ดูวาสลาสามารถตอบสู ตรผสมคอนกรีตไดไหม เข าใจสิ่ ง ที่ ไ ด เ รี ย นรู ม ากน อ ยแค ไ หน สามารถ เลื อ กซื้ อ ของ ผสมคอนกรี ต ฉาบปู น ตามที่ ไ ด ออกแบบไวใหไหม เรื่องเหล็กผูก 7.5 cm เปน เรื่องที่สลาตองใสใจ และซื่อสัตยตอเจาของบาน“ เคล็ดลับที่ทําใหชาวบานสนใจการอบรม ดงลานที่ผานมา คือ เราตองพูดกับเขาใหเห็นถึง ความเสียหายแปลใหเปนคํางายๆที่สุด มันตองชี้ ความเสียหายใหเห็น จะสอนแบบหองเรียนไมได ชองวางของปญหาคือ เราไมมีกฎหมายอะไรไป ควบคุ ม เขาได เ ลยตอนก อ สร า ง ถึ ง แม จ ะผ า น ขอบัญญัติ ถาทําตามขอกําหนด ถารูวาบาน ตัวเองกอสรางไมดี ก็ตองหาวิธีในการซอมแซม สําหรับแผนดินไหวครั้งนี้มันมีความเสียหายที่ไมเปนไป ตามทฤษฏีเยอะมาก เชื่อวาหากไหวอีกสัก 3 ริกเตอร อาจทําใหรอยแยกเพิ่ม

จุดเดนของดงลานคือ มีพอหลวงคอยควบคุมดูแล ขบวนภายนอกตองขออนุญาติจากทองถิ่นกอนทําให เกิดกระบวนการที่รัดกุม และมีขั้นมีตอน สวนกรณีเรงดวนก็อาจจะยืดหยุนได ผูนํา ดงลาน ถึงแมวา อบต.จะไมเอาดวย แตผูใหญ กับชาวบานก็พรอมที่จะเรียนรู ปญหาใหญที่สุดคือ“คน” งบประมาณหาได ปญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมดอยูที่คนเปนหลัก คนในที่นี้หมายถึงผูนํา ชาง ชาวบานครู ประสานงาน คนหาเงิน คนใหเงิน สื่อ ถาทุกคนไมเดินไปดวยกัน ก็เกิดไมได ถึงใหมีผมเปน 100 คนก็ทําไมได ถาพื้นที่ไมเอา ไมมที างขยายไปได


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

41

การขยายงานตอจากดงลานโมเดล ถาไมมีใครมาชวยก็ไดทีเดียว มันก็จบ เมื่อดงลานจบลงทําใหไดเห็น ตัวอยาง การบูรณาการกันของหนวยงาน ปญหามาก็แกกันไป เปนครั้งแรกในชีวิตของทุกคนที่เกี่ยวของ ที่อบรมแตพื้นที่มีลักษณะภัยพิบัติที่ไมเหมือนกัน อยางที่แมพริกตรงนี้ไกลจากศูนยกลางที่นี่นาจะเปน ทราย และเปนแมน้ําเกา ทรายไหลมาเขาไปในบอน้ํา เปนทรายอยางเดียวไมมีน้ํา ไมมีดิน มีสิ่งที่ไม เหมือนกันคือ  ลักษณะการปลูกสรางบาน คือปลูกบานไมดูทิศทาง ปลูกตามเสนถนน  ฐานะทางเศรษฐกิจไมเหมือนกัน ที่นี่ดีกวา ที่ไหนคนมีเงิน ความรวมมือนอย ไมรวมตัวกัน  ใชวิธีการซอมแซมคลายกัน ตามหลักการ ถูก,งาย,พึ่งสารเคมีนอยที่สุด,ชาวบานทําเองได “ที่หองเรียนตําบลอื่นๆยังไมมีกรณีพิสดารมากเหมือนดงลาน”

“การทํางานวิศวะก็ตองมีศิลปะในหัวใจ” อาจารยประกาศหลังจากเห็นผลงานการทําเสาซีเมนทของ ลูกศิษยที่หวยสานพัฒนามีขอดีคือ การแบงงานที่มีประสิทธิภาพ พอหลวงใสใจเปนผูคอยบริการจัดซื้อ ของใหกับฐานปฏิบัติการเรียนรูตางๆทําใหงายตอการจัดการ เปนตัวอยางที่ดีของการตั้งตนระบบในการ จัดการตนเองถือวาดงลานจะเปนพื้นที่ที่แข็งแรงที่สุด เปน ชุมชนจัดการตนเองที่มีประสิทธิภาพ เดินงาน ไมหยุดหลังจากอบรมเสร็จ ถือวาเปนเรื่องที่ดีมาก “อี กสามป ซ อ มเสร็ จหมดทุ กหลั ง ผมถื อ ว าคุ ม รอได สํ าหรั บการผลิ ตสล ามื อ อาชี พ เพื่ อ การ ซอมแซมบานอยางถูกวิธี


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

บันทึกการฟนฟูชุมชนดวยดงลานโมเดล

42

วันที่ 14-18 มิถุนายน 2557 โดย ศิรินันต สุวรรณโมลี


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

43

ผลกระทบที่ตามมาจากเหตุการณแผนดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอรในจังหวัดเชียงราย ทําใหบานเรือนไดรับความเสียหาย ผูประสบภัยตองใชชีวิตอยูดวยความวิตกกังวลตอความเสี่ ยงจาก ความไมมั่นคงในที่อยูอาศัย ความเสียหายแรกเริ่มจาก main shock และความเสียหายตอเนื่องจาก after shock ทําใหชุมชนตองหาวิธีในการฟนฟูอาคารบานเรือนใหสามารถอยูอาศัยไดอยางทนทานเปน อันดับแรก การใหความรูเกี่ยวกับสาเหตุของความเสียหายแกอาคารแตละประเภท ไปจนถึงแนวทางใน การซอมสรางอยางถูกตองตามหลักวิชาการให "บาน" ทนทานตอแผนดินไหวที่จะเกิดขึ้นตอไป เครื อ ข า ยจั ด การภั ย พิ บั ติ ภ าคประชาชนจั ง หวั ด เชี ย งราย และอาจารย ป ระจํ า คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา จึงจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ "ดงลานโมเดล" เพื่ อ สร างตั ว แบบในการฟ นฟู ชุมชนโดยใช กิ จกรรมอบรมการซอ มสร างบ านเรื อนที่ ถูก ต องตามหลั ก วิชาการเปนเครื่องมือในการระดมชางในชุมชนใหออกมาเปนแกนในการวิเคราะหความเสียหายและ ซอมแซมบานในชุมชนอยางถูกวิธี การไดรับปจจัยหนุนเสริมจากสถาบันวิชาการ ทรัพยากรจากภาค ธุรกิจ การจัดระบบจากเครือขายองคกรพัฒนาเอกชน ทําใหชุมชนเกิดรูปธรรมของการของการจัดการ ตนเอง และเปนตัวอยางแกชุมชนอื่นๆในการเรียนรูเกี่ยวกับกลไกในการจัดขบวนชุมชนวา การแกไข ปญหาในครั้งนี้ตองประกอบดวย ความรู ทรัพยากร แรงงาน การประสานงานและขอมูล ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 องคประกอบของการซอมสรางฟนฟูชุมชนหลังแผนดินไหวดวยดงลานโมเดล  ขอมูลและการประสานงาน ในความเปนจริงขอมูลเปนองคประกอบตัวแรกในการทํางานทุกกรณี สํ า หรั บ การฟ น ฟู ชุ ม ชน อย า งน อ ยที่ สุ ด คนทํ า งานต อ งมี ข อ มู ล พื้ น ฐานของชุ ม ชนได แ ก ข อ มู ล ประชากร ตําแหนงที่ตั้งของบานเรือน รายละเอียดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสมาชิกในแตละหลังคา เรือน ลําดับถัดมาตองมีการจัดลําดับความรุนแรงของความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสมาชิกในชุมชนและ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

44

กําหนดขอบเขตของการจัดการ เมื่อ ไดขอมูลขางตนแกนนําชุมชนและคณะทํางานจึงประเมินขีด ความสามารถ กําลังในการลงมือที่ทําไดจริง พรอมกับประสานความเขาใจในชุมชน ไปจนถึงการ อัพเดทความคืบหนาในการทํางาน การเบิกจายเครื่องมือวัสดุในการซอมสรางและรวมเรียนรูทักษะ ในซอมสรางไปพรอมกัน ซึ่ ง กว า จะมาได ถึ ง จุ ด นี้ ต อ งอาศั ย การเชื่ อ มโยงข อ มู ล การรวบรวมข อ มู ล สิ่ ง ที่ ข าด แล ว ประสานงานภาคีจับคูภาคสวนที่ พรอมที่จะใหไดมาพบกับผูรับ เปนบทบาทสํ าคัญของเครือขาย องคกรพัฒนาเอกชนที่ชวยเติมเต็มในสวนที่ชุมชนจัดหาหรือทําเองโดยลําพังไมได เชน ทรัพยากร และความรู ใ นการพั ฒ นาช า งที่ เ ข า อบรม เมื่ อ มองภาพทั้ ง หมดที่ ก ล า วมา จะเห็ น ได ว า การ ประสานงานแบงออกเปนงานภายในและภายนอกที่เชื่อมตอกันดังนี้

ภาพที่ 2 การประสานงานที่พบในการดําเนินกิจกรรม  ทรัพยากร การจัดหางบประมาณเปนปญหาแรกของการทํางานทุกครั้ง ครั้งนี้กวาที่การสนับสนุน ทั้งหมดจะลงตัวก็ผานเขาไปเกือบ 3 สัปดาห จึงจะเกิดระบบของการสนับสนุนทรัพยากรแบงเปน 1) เครื่องมือและวัสดุกอสราง ซึ่งถือเปนสื่อการสอนของกิจกรรม 2)การจัดอบรม ซึ่งตองใชคาเอกสาร คาเดินทาง คาอาหาร คาที่พักแกผูจัดการอบรม


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

45

 แรงงาน การพัฒนาศักยภาพของชาง เปนองคประกอบสําคัญในการซอมสรางของชุมชน ชาง-สลา ที่เปนคนที่อยูติดกับพื้นที่เปนผูที่ฟนฟูบานไดอยางตอเนื่องมากที่สุด เจาของบานสามารถตามชาง ใหมาดูผลการทํางาน หรือติดตามความเสียหายที่ตามมาจาก After shock ไดเร็วกวาชางจาก กรุงเทพหรือชางที่อยูขางนอก อีกทั้งวัฒนธรรมในการสรางบานในทองถิ่น มักจะเปนแบบที่คอยๆ เก็บเงินสะสม แลวคอยสรางและตอเติมไปตามกําลังทรัพยในระยะยาว  ความรู ในครั้งนี้การอบรมเริ่มจากการชี้ใหเห็นถึงปญหาของการใชวัสดุที่ถูกตองและเทคนิคการ กอสรางที่ถูกตอง บทเรียนจากความเคยชินในการกอสรางตามความรูที่จําตอๆกันมาและการใชวัสดุ ที่ลดตนทุน ไดพิสูจนดวยความเสียหายจากแผนดินไหวในครั้งนี้แลว เจาของบานและชางจึงตองลด ความเสี่ยงจากความเสียหายรวมกัน ดวยการเขาใจถึงผลเสียและวิธีแก เพื่อซอมสรางบานใหมให ทนแรงแผนดินไหวซึ่งอาจจะเกิดมากขึ้นตอไปใหมากกวาเดิม

การอบรม "ดงลานโมเดล" เปนเวลา 5 วัน ตั้งแตวันที่ 14-18 มิถุนายน 2557 จึงเริ่มขึ้นดวยการ บรรยายความรูในลักษณะชั้นเรียนในวันแรก โดยชวงเชา อาจารยไดบรรยายให ผูเขารับการอบรมได ทราบวาวัสดุกอสรางแตละชนิดวา หิน ทราย ปูน อิฐ เหล็ก มีมาตรฐานการใชงานที่ถูกตองอยางไร สวน ชวงบาย มีการบรรยายถึงพฤติกรรมของโครงสรางเมื่อเผชิญกับแรงแผนดินไหวและเทคนิคการกอสราง ที่ถูกตองเพื่อการซอมสรางใหทนแรงกระทําจากแผนดินไหว

การบรรยายถึงวัสดุกอสรางแตละชนิด


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

46

การบรรยายถึงพฤติกรรมของโครงสรางเมื่อเผชิญกับแรงแผนดินไหว หลังจากนั้นเปนการเรียนภาคปฏิบัติดวยการลงสํารวจประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้นกับอาคาร ตามดวยการลงมือปฏิบัติตอเนื่องกัน 4 วัน ซึ่งฐานการเรียนรูของการฝกปฏิบัติก็มาจากรูปแบบของ ความเสียหายที่มักจะพบในพื้นที่จริง 3 รูปแบบ คือ 1)เสาและคานเสียหาย 2) ผนังเสียหาย 3) สวนตอ เติม เชน หองน้ํา และ ครัวเสียหาย จึงมีการคัดเลือกบานที่ไดรับความเสียหายในลักษณะดังกลาวมาเปน จุดปฏิบัติการเรียนรู 3 ฐาน คือ  จุดปฏิบัติการที่ 1 การซอมโครงสราง เสา คาน  จุดปฏิบัติการที่ 2 การซอมผนัง  จุดปฏิบัติการที่ 3 การซอมสวนตอเติม ซึ่งจุดฏิบัติการเรียนรูแตละฐานตางมีรายละเอียดของกิจกรรมดังนี้

จุดปฏิบัติการที่ 1 การซอมโครงสราง เสา คาน ลักษณะบาน บานชั้นเดียวยกสูง ตัวบานเปนไม ยกสูงดวยเสาคอนกรีต 1 เมตร ความเสียหาย เสาจํานวน 2 ตน มีการแตกราวจนเห็นเนื้อเหล็กดานใน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

47

มีปฏิบัติการในการซอมเสา ดวยการพอกเสา และขยายฐาน(footing)ใหกวางขึ้นเปน 60 cm.

ในการปฏิบัติจริงบานนี้ไมจําเปนตองมีการซอมคาน เพราะคานเปนไม จุดปฏิบัติการนี้มีการ เรียนรูผูกเหล็กสําหรับเสาสั้น เพื่อเสริมความแข็งแรงใหแกเสาตนที่เสียหาย และเทปูนลงในแบบจนเสร็จ สิ้นในลําดับตอมา


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

48

จุดปฏิบัติการที่ 2 การซอมผนัง ลักษณะบาน บานชั้นเดียว ใชเสาคอนกรีต โครงหลังคาทําดวยเหล็ก ความเสียหาย เสาเสียหาย 6 ตน กําแพงมีการแตกราวและถลมลงมาเกือบหมดทั้งบาน

ในวั น ที่ เ กิ ด เหตุ ย ายที่ เ ป น เจ า ของบ า นถู ก อิ ฐ บล อ คที่ ถ ล ม ลงมาหล น ใส ศ รี ษ ะจนต อ งพั ก ใน โรงพยาบาลถึงสองวัน ในชุมชนประชาคมหมูแลวตกลงใหซอมบานยายใหเสร็จกอนเปนหลังแรก

เมื่อประเมินความเสียหายของบานนี้อยางละเอียด ทีมผูสอนก็พบวา บานนี้มีเสาที่ไดรับความ เสียหายจนตองทําการซอมเสากอนเปนอันดับแรก ประกอบกับบานนี้มีบริเวณบานที่เปดโลง ผูสอนจึงใช จุดปฏิบัติการนี้จึงเปนที่เรียนรู 1)การพอกเสา 2)การเพิ่มความแข็งแรงแกเสาดวยการประกบเหล็กฉาก 3)การเปลี่ยนเสาจากเสาปูนเปนเสาเหล็กแทน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

49

จุดปฏิบัติการนี้ เปนฐานการเรียนรูที่สอนการผสมปูนดวยน้ํายาชนิดพิเศษ คือ Sika Visco Crete หรือที่เรียกวา ปูนเหลว ซึ่งมีคุณสมบัติในการไหลสูงกวาปูนทั่วไป ทําใหปูนที่ผสมน้ํายาแลวมี ความสามารถในการยึดเกาะมากขึ้น เหมาะที่จะใชในการซอมสรางอาคารใหทนตอแรงจากแผนดินไหว มากกวาเดิม

การซอมเสาโดยใชเหล็กฉากประกบ และ การเปลี่ยนเสาคอนกรีตที่เสียหายดวยเสาเหล็กแทน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

50

หลังจากที่ซอมเสาเรียบรอย ก็มีการสอนวิธีกอผนังโดยทําทับหลังเมื่อกอสูงขึ้นมาครบ 1 เมตร และกอไปจนเสร็จครบทุกดาน

จุดปฏิบัติการที่ 3 การซอมสวนตอเติม ลักษณะบาน บานชั้นเดียวยกสูง 1 เมตร เสาคอนกรีต พื้นคอนกรีต โครงหลังคาทําดวยไม ความเสียหาย ครัวซึ่งเปนสวนตอเติมเสียหาย จนตองทุบทิ้งและสรางใหม


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

51

จุดปฏิบัติการนี้มีการสอนวิธีดัดเหล็ก ผูกเหล็กไขวเพื่อยึดเหล็กปลอกใหถูกตอง การผูกเหล็ก ปลอกสําหรับเสายาวโดยเพิ่มความถี่ของเหล็กปลอกที่โคนเสา และจุดเชื่อมตอเพื่อเพิ่มความแข็งแรง รองรับกับแรงของแผนดินไหว

จุดปฏิบัติการนี้เริ่มตั้งแตการขุดดินใหลึกลงไปจนถึงดินแข็ง การเทลีน ทํา footing ไปจนถึงการ ผูกคานและเทคานในที่สุด

สุดทายวันพุธที่ 18 มิถุนายน 2557 การอบรมก็เสร็จสิ้น อาจารยเอกชัย กิตติวรากุล ไดทบทวน ความรูแกชางที่เขารับการอบรมและมอบประกาศนียบัตรแกผูที่รวมอบรมเสร็จสิ้นในเวลา 12.00 น.


52

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

บันทึกการฟนฟูพื้นที่ 4 โมเดลชุมชนตอมา วันที่ 23-29 มิถุนายน 2557 โดย ศิรินันต สุวรรณโมลี หลังจากที่การอบรมเชิงปฏิบัติการซอม-สรางบานหลังแผนดินไหวดวยดงลานโมเดลเสร็จสิ้นใน วันที่ 18 มิถุนายน 2557 สัปดาหถัดมา บทเรียนของดงลานก็ไดรับการขยายผลไปอีก 4 ชุมชน ที่ไดรับ ผลกระทบจากแผ นดิ น ไหวและ Aftershock ที่ ยั ง เกิ ด ขึ้ น อย างต อ เนื่ อ ง ครั้ ง นี้ ที ม วิ ศ วโยธา ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา (มทร.ลานนา) ไดจัดกิจกรรมขึ้นพรอมกัน 4 ชุมชนในสัปดาห เดียวกัน โดยใชรูปแบบการเรียนการสอนเปนระยะเวลา 5 วัน เชนเดียวกับดงลานโมเดล คือ วันแรกเปน การเรียนภาคทฤษฏีครึ่งเชาในชั้นเรียน จากนั้นชวงบายจึงลงไปวิเคราะหหนางานรวมกับผูรับการอบรม การเรียนภาคปฏิบัติในวันถัดมา คือ การลงมือซอมสรางจริ งในฐานการเรียนรูที่มักจะพบในพื้นที่จริง 3 รูปแบบ คือ 1)เสาและคาน 2) ผนัง 3) สวนตอเติมเสียหาย เชนเดียวกับดงลานโมเดล โดยมีอาจารยจาก มทร.ลานนา ทั้งสามวิทยาเขต ชมรมชางอาสา จาก อบจ.เชียงราย เปนผูดูแลปฏิบัติการประจําแตละ พื้นที่ ขณะที่อาจารยเอกชัย กิตติวรากูล เดินทางหมุนเวียนใหคําแนะนําแตละพื้นที่ไปตามลําดับ ลําดับ พื้นที่อบรม-ปฏิบัติการ 1 ชุมชนทุงฟาผา หมูที่ 7 ต.แมพริก อ.แมสรวย 2 3 4

ชุมชนหวยสานพลับพลา หมูที่ 6 ต.โปงแพร อ.แมลาว ชุมชนปาออ หมูที่1 ปาแดด อ.แมสรวย ชุมชนหวยสานพัฒนา หมูที่ 6 ต.เวียงสรวย อ.แมสรวย

ทีมอบรมประจําพื้นที่ มทร.ลานนา วิทยาเขต จ.ตาก มทร.ลานนา วิทยาเขต จ.เชียงราย ชมรมชางอาสา จาก อบจ.เชียงราย ชมรมชางอาสา จาก อบจ.เชียงราย

วันที่ 23-27 มิ.ย. 2557 24-28 มิ.ย. 2557 25-29 มิ.ย. 2557 25-29 มิ.ย. 2557


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

53

ปญหาและอุปสรรค การเดินทางติดตามทีมอบรมตลอดหนึ่งสัปดาหทําใหทีมถอดบทเรียน สามารถประมวลปญหา และขอเสนอแนะ แบงตามบทบาทของผูดําเนินงานไดดังนี้ 1) ผูประสานงาน - การขาดผูประสานงานประจําพื้นที่ เมื่อเปดหนางาน 4 หนางานพรอมกัน การติดตามการ ปฏิบัติงานจึงทําไดไมใกลชิดเหมือนเปดหนางานเดียวอยางครั้งดงลานโมเดล การขาดตัวแทน จากเครือขายฯ ซึ่งควรประสานงานประจําพื้นที่ อํานวยความสะดวกแกอาจารยผูสอน จัดระบบ อาสา และดึงชาวบานในพื้นที่ใหมารวมกิจกรรม ทําใหพื้นที่การเรียนรูที่แกนนําไมสามารถดึงให ชาวบานมามีสวนรวมอยางเขมขนได กลายเปนฐานของการชวยเหลือโดยทีมอบรมไปทําซอม สรางใหมากกวาที่ สลาชาวบานจะไดเรียนรูเทคนิคใหมและจัดชุมชนเขาระบบการจัดการตนเอง - ผูประสานงานทํางานแทนชุมชนมากเกินไป ปญหานี้เปนปญหาตรงกันขามกับขอที่กลาวไป ในขางตนที่ ดูแลชุ มชนน อยเกิ นไปจนทีม อบรมทําแทนหมด การที่ผูประสานงานทํางานแทน ชุมชนไปหมด เชน สั่งของแทน ดูแลคลังวั สดุแทนในชวงเริ่มตนทั้งหมด ก็เปนผลเสียตอการรับ ชวงตอในการบริหารหลังจากผูประสานงานกลับไป ดังนั้นผูประสานงานควรทํางานในลักษณะที่ เปนพี่เลี้ยงมากกวา ควรกําหนดขอบเขตของหนาที่ใหชัดเจนวาใครมีหนาที่ในการประสานฝาย ใดบาง เพื่อความเปนระบบและความคลองตัวในการทํางาน 2) ทีมอบรมวิชาการ - ที ม อบรมแต ล ะพื้ น ที่ ใ ช ชุ ด ความรู ที่ แ ตกต า งกั น จากป ญ หาความแตกต า งของวิ ธี ส อน ภาคปฏิ บัติของที มวิชาการที่ มาจากต างที ม จนตอ งมีก ารรื้ อ -ปรั บแก วิ ธี การซอ มบานในฐาน ปฏิ บั ติ ก าร ในอนาคตที ม อบรมจะต อ งตกลงกั น ให ชั ด เจนถึ ง ทฤษฏี -วิ ธี ก ารซ อ มสร า งที่ มี ประสิทธิภาพจริง กอนที่จะนํามาใชในการสอนและปฏิบัติ เพื่อลดความขัดแยงในพื้นที่ 3) ชางอาสา จาก องคกรเครือขายฯ - ชางอาสาไมรวมอบรมภาคทฤษฏีกอนปฏิบัติ จากปญหาการลงมือในหนางานที่ไมเปนไป ตามหลักสูตรการอบรม หากจะมีการสงชางอาสาจากภายนอกชุมชนมาลงพื้นที่ในครั้งตอไป ชางอาสาที่มาชวยจะตองอบรมในหลักสูตรใหเขาใจ และทําความเขาใจกับกลไกการทํางานกอน จึงจะปฏิบัติงานดวย - ชางอาสาไมถูกวางระบบเขาไปในกลไกการทํางาน ทําใหไมสามารถควบคุมการทํางานของ อาสาใหเชื่อฟงและปฏิบัติงานตามหลักสูตรได ดังนั้นหากตองมีชางอาสาจากเขามาทํางาน ผู ประสานงานตนสังกัดจะตองมาคุมอาสาในหนางานดวย ไมเชนนั้นอาสาที่เขามาจะตองรายงาน ตัวตอผูประสานงานประจําพื้นที่ เพื่อรับภารกิจในการปฏิบัติงานรวมใหเปนเนื้อเดียวกัน 4) ผูนําทองถิ่น


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

54

- การจัดระบบการจัดการตนเองตอไปโดยชุมชน แกนนําชุมชน หรือ อบต. ตองทําหนาที่จัด ขบวนแกนนําทองถิ่นและชาวบานในชุมชน ใหเกิดกระบวนการรับชวงตอกิจกรรมซอมสรางของ ชุมชน เชน การบริหารเครื่องมือ การจัดหาวัสดุอุปกรณ และ งบประมาณ 5) ชาวบาน - ชาวบานไมเขาใจกระบวนการ ตองมีการสื่อสารในชุมชนใหมีความเขาใจรวมกันวากิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ มีวิธีการและเปาหมายอยางไร เพื่อใหสมาชิกในชุมชนเห็นความสําคัญและ จัดลําดับการมีสวนรวมได

ปจจัยหนุนเสริม กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการทั้งหมดนี้ นอกจากหนางานของการซอมสรางในพื้นที่แลว ยังมี เบื้องหลังที่ใหการสนับสนุนจนกระบวนการดําเนินไปไดจากภาคสวนตางๆ คือ 1) สื่อ - ThaiPBS และ ผูผลิตอิสระ ชวยขยายบทเรียนจากการดําเนินงาน และรายงานความคืบหนา ใหประชาชนรับทราบวาในพื้นที่ยังมีปญหาและตองการความชวยเหลืออยู - ศูนยเพื่อน ThaiPBS ชวยรายงานขาว เจาะประเด็น ทําสื่อ สารคดี เกร็ดความรู - Facebook ชวยบันทึกบทเรียนจากการปฏิบัติงานสูสาธารณะ ลดภาระในการตอบคําถาม 2) ภาควิชาการ - อาศรมศิลป และ สถาปนิกชุมชน ชวยบันทึกบทเรียนเทคนิคการแกปญหา ซอมสราง บันทึก แบบ Sketch Up สําหรับการขยายผลอบรมใน 4 พื้นที่ตอมา 3) ภาคเอกชน - ปตท. สนับสนุนงบประมาณในการจัดกระบวนการชุมชน การสนับสนุนเครื่องมือ และ ถอด บทเรียน 4) ภาครัฐ - อบจ. เชียงราย อนุมัติการจัดซื้อน้ํายา ViscoCrete น้ํายาพิเศษสําหรับผสมปูนในการซอมสราง 5) องคกรพัฒนาเอกชนในเครือขายการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย - ทําหนาที่ประสานชุมชนตั้งแตการสํารวจความเสียหาย จัดกระบวนการซอมสรางโดยชุมชน ไป จนประสานภาคธุรกิจที่ตองการใหความชวยเหลือชุมชนโดยตรง


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

55

ขอเสนอแนะ สําหรับการอบรมครั้งตอไป - ควรมีคนที่ตามทํา Shetch up (แบบ) บันทึกแบบที่ซอมแซม - ควรมีผูประสานงานที่คุมอาสาประจําพื้นที่ หรือ อาจารยที่คุมพื้นที่ตลอด - ควรแสดงผังการบริหารโครงการ หรือ ความรวมมือที่เขามารวมในชุมชน - ควรมีสื่อการสอน โมเดล คูมือ หรือวิดิโอ ประกอบการอบรม หลังการอบรม - ทุกชุมชนที่อบรมไปแลว ควรทําทะเบียนชางที่ผานการอบรม - ชางที่มีทะเบียนแลว ควรไดรับการจัดคิว สนับสนุนการซอมแซมบาน - ชุมชนควรทําขอมูลความคืบหนาในการฟนฟูชุมชนดวยการซอมบานจากสลาที่ผานการอบรม - การบริหารคลังพัสดุ และ การหมุนเวียนงบประมาณ ตองสื่อสารใหสลาและสมาชิกในชุมชน ทราบโดยทั่วกัน

ผลการอบรมการซอม-สรางดวยโมเดลชุมชน แมพริกโมเดล • แมพริก บานเลขที่ 189 หมู 7 จุดปฏิบัติการซอมผนัง • แมพริก บานเลขที่ 92 หมู 7 จุดปฏิบัติการซอมเสา • แมพริก บานเลขที่ 99 หมู 7 จุดปฏิบัติการสวนตอเติม


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

รวมจัดกิจกรรมโดย

56


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

57


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

โปงแพรโมเดล • 87 หมู 6 ต.โปงแพร จุดปฏิบัติการซอมสวนตอเติม • 240 หมู 6 ต.โปงแพร จุดปฏิบัติการซอมผนัง • 272 หมู 6 ต.โปงแพร จุดปฏิบัติการซอมเสา • 309 หมู 6 ต.โปงแพร จุดปฏิบัติการซอมเสาและคาน

รวมจัดกิจกรรมโดย

58


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

59


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

60


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

หวยสานพัฒนาโมเดล • 127 หมู 6 บานหวยสานพัฒนา ต.เวียงสรวย อ.แมสรวย จุดปฏิบัติการซอมสวนตอเติม • 82 หมู 6 บานหวยสานพัฒนา ต.เวียงสรวย อ.แมสรวย จุดปฏิบัติการซอมผนัง • 4 หมู 6 บานหวยสานพัฒนา ต.เวียงสรวย อ.แมสรวย จุดปฏิบัติการซอมเสา

รวมจัดกิจกรรมโดย

61


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

62


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

63


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

ปาแดดโมเดล • 78 หมู 1 ต.ปาแดด อ.แมสรวย จุดปฏิบัติการซอมผนัง • 1 หมู 1 ต.ปาแดด อ.แมสรวย จุดปฏิบัติการซอมเสา • 29 หมู 12 ต.ปาแดด อ.แมสรวย จุดปฏิบัติการซอมสวนตอเติม

รวมจัดกิจกรรมโดย

64


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

65


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

66


67

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

ขอบคุณ ชาวบานไดอะไรจากโมเดลชุมชน

สัมภาษณ : นิภาพร แสงสวาง

พอหลวงบานหวยสานพัฒนา ผูประสานกลไกการอบรมซอมสรางบานหลังแผนดินไหวดวยโมเดลชุมชน “ตอนแผนดินไหวผมอยูหนาบาน ไดยินเสียงครืนนน ชาวบานก็แตกตื่น ผมก็ประชาสัมพันธ เสียงตามสายวาใหออกมาอยูขางนอก อันตราย กางเต็นท นอนอยูขางนอก 5 วันพอมันเบาลงก็ ค อ ยเข า บ า น ผมไปอบรมที่ เ ชี ย งรายมา ที่ พ านก็ นํ า ความรู เ รื่ อ งการเตรี ย มตั ว หลั ง เกิ ด แผนดินไหว ตองทําอยางไร เตนวางไวสี่จุดกางอยูที่หนาบานผม กลางหมูบาน”


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

68

วันสองวันก็สํารวจความเสียหาย มันก็ไมนิ่งๆ ขยับไปเรื่อยๆ เพราะเกิดอาฟเตอรช็อคตลอดเวลา บาง บานก็ไมสามารถนอนที่บานไดเลย ยังมีบานที่มีอาการหนักๆอีกสามหลัง แตเขายังไมพรอม เพราะเงิน ทางการไดมานิดเดียว แตไดเงินชวยเหลือครบหมดแลวทั้ง 69 หลังที่รายงานไปกอน ทั้งหมูบาน เสียหายทั้งหมด79 หลังสีแดง 3 หลัง บานที่อยูไมได หลังจากนั้นมีพอช.เขามา มีธกส. และบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด นายอําเภอมาดูแล นอกนั้นชาวบานก็จัดการกันเอง “ผมเรียกมาประชุมมาคุยตกลงกันวาจะทําแบบไหน ใครมีปญหาก็มาทําเรื่องที่ผม ทําเรื่องสง กํ า นั น กํ า นั น ก็ ร ายงานผู บั ง คั บ บั ญ ชา เรื่ อ งอาหารการกิ น ผมได ง บจากพอช. หน ว ยงานที่ ชวยเหลือเรื่องภัยพิบัติกํานันผูใหญบาน ไดมา 5,000 เงินไมพอ ชาวบานชวยกัน รวมไมรวมมือ กัน ผานมาเปนเดือนกวาจะมีหนวยงานเขามาชวยเหลือเรื่องการซอมแซมบาน กอนหนานั้นก็ ชาวบานก็ชวยเหลือกันเอง อยูไดบางอยูไมไดบาง บางคนก็ยายไปอยูกับญาติ บานที่อยูไมไดผม ก็สั่งทุบ ชาวบานก็ตองหาเงินมาซอมเองเปนหนี้เปนสินอีก” หลังจากทราบวา จะมีสนับสนุนกระบวนการอบรมซอมสรางและฟนฟู ผมดีใจมาก เรียกชาวบานมาคุย วาใครพรอมที่จะชวยเหลือตัวเองบาง ทางการชวยมาบาง คัดเลือกจากเจาของบานวาพรอมไหม เรา ไดรับความเสียหายตอ งชวยเหลือ ตัวเองบาง เงิ นแคส ามหมื่ นกวาบาทไมพอ การเตรียมพื้นที่ เรียก ประชุม และแบงงานกัน มีสลา และสลาอาสาที่มาชวย “มีคุณคามหาศาล ความรูเรื่องแปลกใหมที่สลาจะไดเรียนรู” เทคนิคในการรวมคน ใชวาทศิลป ก็มีเวนใหเขาไปทํางานทํามาหากินดวย หมุนเวียนกัน สงสารเขา ที่เขาตองมาหาวัน ความตางของที่นี่คือ ชาวบานมีความรวมมือกัน ตองใชความเสียสละ สําหรับที่นี่ ไมวาปญหาเรื่องอะไรมักไดรับความรวมมือจากชาวบานเสมอ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

69

“ดีใจมากที่มีคนมาชวยบานเรามากขนาดนี้” พอหลวงกลาวทิ้งทาย

แมอัมพร อิ่นคํา ผูประสบภัยบานหวยสานพัฒนา ความรูสึกจากเจาของบานฐานการเรียนรูท ี่ 1 การซอมแซมเสาและผนัง “เมื่อคืนนี้มีแรงเขยาแตก็รูสึกวาเชื่อมั่น มั่นใจกวาเดิมวาเสาบานเราแข็งแรงแลว ไดเทานี้ก็ดี ที่สุด” แมอัมพรพูดพลางยิ้มชื่นใจหลังจากไดอาสาใหบานของตัวเองเปนหองทดลองสําหรับการเรียนรู ของสลาพื้นบาน ในคืนวันที่ 26 มิถุนายน 2557 ของตารางเรียนเกิดแผนดินไหวที่ 4.6 ริกเตอร

แมอัมพรเลาเสริมวา วันที่เกิดเหตุการณ กําลังทํากับขาวอยูในครัว อยูๆก็เกิดเสียงดังตึง ไมรู วามาจาก ทิศทางไหน ของที่วางอยูหลังตูกับขาวหลนมาที่พื้นหมด ทีวีลมพัง หลังจากบานเขยาไดไมนานก็วิ่ง ออกมาขางนอก ตอนนี้อยูคนเดียว พอหลวงประกาศเสียงตามสายวาแผนดินไหว มองตนลําไยตนใหญที่ ปลูกไวหนาบาน มันเองไปเอียงมา เกิดอาฟเตอรช็อคตออีกหลายครั้งเปนชวงๆหางกัน 10-20 นาที ได ยินเสียงเหมือนฟาถลมแลวแผนดินก็สั่น กลัวมาก สั่นและทําอะไรไมถูก บ านอื่นๆก็เหมือนกัน ทุกคนวิ่ง ออกมานอกบานกันหมดหลังจากไดยินเสียงประกาศ “ไฟดับทันที ตองใชเทียนชวยกันตรวจดูความเสียหาย พอหลวงกางเต็นทใหทุกคนออกมานอน รวมกัน นอนขางนอกอยู 4 คืน ชวงนั้นก็ชวยกันดูสถานการณ พอเห็นวาแรงสั่นเริ่มนอยลงก็ กลับเขาไปนอนใตถุนบาน”


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

70

รูสึกดีใจมาก ไมคาดคิดวาจะมีหนวยงานเขามาดูแลบานเราไดดีขนาดนี้ มีความมั่นใจมาก เชื่อมั่นวาฐาน เราแนน ไมตองกังวล เพิ่งจะนอนหลับคืนนี้เปนคืนแรก หลับสนิทที่สุดและสบายใจมาก เพราะทุกคืน มันดิ้น ชาวบานที่นี่ผอมลงทุกคนเพราะกินไมไดนอนก็ไมหลับกันมาหลายเดือน

นายคงเดช มาศภมร สลาชุมชนแมพริก ประโยชนที่ไดรับจากการอบรมสลามืออาชีพ ผมรูสึกวาสิ่งที่ไดเรียนรูจากหองเรียนนี้ถือวาสุดยอดที่สุด น้ํายาตัวนี้สุดยอดมาก ถาใครไมไดมาเรียน ตรงนี้ถือวาเสียโอกาสมาก ชางทุกคนที่ชนบทถาไดมาเรียนตรงนี้ ไดมาปฏิบัติงานตรงนี้จะรูวาการสราง บานในวันขางหนาตองทําอยางไร เพราะวางานสรางบานต องยอมรับวามีฝมืออยางเดียวไมพอตองมี หลักสูตรการผสมปูนใหแนนอน และตองมีตัวน้ํายาที่เหนียวที่ทําใหปูนแข็งตัวเร็ว กระจายปูนไปทั่ว ทํา ใหความมั่นคงของเสาของคานแข็งแรงสุดยอด ถือวาเปนความรูใหมทั้งหมดการทําปลอกก็ถือวาเปน เรื่องใหม ปลอกตองหาง 7.5 ซม.จากเดิม แทนที่ชาวบานจะใช 10-15 ซม. ทําใหการเขมแข็งของเหล็ก จะดีกวา เพราะฉะนั้นถาเกิดแผนดินไหวมันจะสามารถรองรับได กอ นหนานี้ ถ ายั ง ไมไ ด เ ขาห อ งเรี ยน วิ ธี ซอ มสรางก็ ค งจะเหมื อ นเดิ ม ไม ไ ด ปรั บเปลี่ ยนอะไรคงจะไม แข็งแรงเทานี้ ไมวาจะการหลอเสา หรือการมั ดปลอกคงไมสามารถรองรับแผนดินไหวที่อาจจะเกิดขึ้น อีกได “หลังจากนี้มั่นใจวาจะสามารถซอมบานใหกับชาวบานที่ประสบภัยได มั่นใจสามารถหลับนอน ไดสบายใจมากขึ้น” “ชางที่ไมไดเขาอบรม หรือมาแลวมาไมเต็มคอรส ถือวาเสียโอกาสมาก เพราะวาการเรียนรูครั้ง นี้เปนการเปลี่ยนแปลงงานที่เราเคยทํา เปนการเปลี่ยนแปลงที่ดี ถาไมไดมาถือวาเสียโอกาส รู แตก็รูเทาไมถึงการณ ไมไดปฏิบัติไมไดลงมือทํา ก็จะไมรูจริง อาจทําใหเสียชื่อไดในอนาคต ถา เรามั่นใจตัวเองแตไมมั่นใจผูบริโภคมันก็ไมได”


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

71

อยากใหมีการอบรมอีก อยากใหชางคนอื่นๆไดมีโอกาสไดเรียนรู จะไดทํางานดวยกัน เขาใจกัน ไมตอง ฝนกัน ผมไมเห็นดวยกับชางที่มั่นใจในตัวเองมากเกินไปเพราะวาทุกสิ่งทุกอยางเราไมรูลวงหนามากอน อยางแผนดินไหวครั้งนี้ถือวาเปนครั้งแรก และยิ่งใหญมากที่สุดทําใหชาวบานและตั วเราเองขวัญเสีย บางครั้งเรารับงานก็กังวลวางานที่เคยรับไวจะเปนอยางไรก็ตองตามไปดูวายังแข็งแรงอยูไหม แตตอนนี้ องคประกอบของแผนดินไหว ที่ 6.3 ริกเตอร เรารูเลยวางานเราตองเสีย เราจะรูจุดออนของเรา “ทุกสิ่งทุกอยางถาทําดีไว ทุกอยางก็จะดี” คติประจําใจของสลาบานแมพริก

ปจจัยของการจัดการตนเองโดยชุมชน โดย ศิรินันต สุวรรณโมลี บริบทของชุมชน – รูปแบบการดําเนินงานที่เอื้อตอการจัดการตนเองของชุมชน การศึกษาโครงสรางขององคกรและกลไกความรวมมือที่เหมาะสมตอการบริหารจัดการภัยพิบัติ และมิติของการสนับสนุนการฟนฟูชุมชนที่สอดคลองกับความตองการของชุมชนจากภาครัฐ ทีมถอด


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

72

บทเรียนจึงใชแนวคิดกลไกและปจจัยขับเคลื่อนการจัดการตนเอง ของ Seixas และคณะ (2008) มา พิจารณาองคประกอบที่ใชในการอบรมพัฒนาทักษะปฏิบัติการซอม-สราง เพื่อแสดงองคประกอบของ ปจจัยที่เอื้อตอการฟนฟูชุมชนดังนี้

กลไกและปจจัยขับเคลื่อนการจัดการตนเอง (Seixas et al, 2008) 3 ปจจัยในการริเริ่มและสานตอการจัดการตนเองของชุมชน 1. ปจจัยริเริ่มที่กอใหเกิดการจัดการตนเอง ชุมชนทั้ง 4 ไดรับ "โอกาส" จากเครือขายจัดการภัยพิบัติภาคประชาชน ในการนําเขากิจกรรมที่ ขึ้นรูปการจัดการตนเองนี้ จากการที่แกนนําชุมชนไดพบกับเครือขายระหวางการสํารวจความเสียหายใน

3

Seixas et al,. 2008, Self-organization in integrated conservation and development Initiatives, International Journal of the Commons, Vol 2, no 1 January 2008, pp. 99-125.


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

73

ระยะแรก ความตองการในการฟนฟูชุมชนและการสนับสนุนใหสมาชิกไดมีสวนรวมในการจัดการนี่เองที่ เปน ปจจัยที่กอใหเกิดการเริ่มตนการจัดการ ดังนั้นในระยะถัดไป ชุมชนควรจะเกิดภาคีในการแลกเปลี่ ยนเรียนรูกันและกัน พรอมกับการ พัฒนาศักยภาพใหสมาชิกมีทักษะที่เพียงพอ ทั้งเพื่อการจัดการปญหาเฉพาะหนาในชุมชน การหาความ รวมมือกับองคกรภายนอก สรางความสัมพันธระหวางชุมชนกับองคกรภายนอกชุมชนหรือชุมชนอื่นๆ ซึ่งเรียนและรูไปพรอมๆกันเพื่อสรางอํานาจในการตอรองตอไป 2. ปจจัยในการดําเนินงาน หลังจากที่แกนนําตัดสินใจที่จะใชกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการมาเปนกลไกเริ่มตนในการซอมสรางบานหลังจากประสบภัย ชุมชนสวนใหญไดใชปจจัยที่สําคัญใชในการดําเนินกิจกรรม คือ 2.1 การสรางขอตกลงรวมกันของคนในชุมชน การทําความเขาใจกับสมาชิกในชุมชน เริ่มตั้งแต 1) การคัดเลือกบาน 3 หลังแรก ที่จะเปนพื้นที่ เรียนรูการซอม-สราง 2) การทําความเขาใจกับเงื่อนไขของกิจกรรมแกสมาชิกในชุมชน วานี่ไมใชการ สงเคราะหโดยหนวยงานภายนอกมาทําให แตเปนการสนับสนุนใหสลาชุมชนซอมบานในชุมชนด วย ตนเอง ดั ง นั้ นเจ าบ านจะต อ งมาลงแรงและสนั บ สนุ น งบประมาณส ว นหนึ่ ง ในการซ อ มสร า ง ขณะที่ เครือขายฯซึ่งเปนหนวยงานภายนอกจะเปนฝายสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ และความรูใหชุมชน ทําการซอมสรางตอไปไดดวยตนเอง หลังจากที่กระบวนการดําเนินตอไป เครือขายจึงควรจะติดตาม ใหคําปรึกษาแกชุมชนที่เห็นวา มีจุดออนในการสื่อสารดานการทําขอตกลงรวมกันใหเกิดขอที่ 3) คือ การจัดลําดับบานที่จะซอมและการ เอามื้อเอาแรงรวมกัน ใหการซอมสรางสามารถดําเนินไดตอไป 2.2 ความสามารถของผูนํา จาก 4 ชุมชนที่รวมกระบวนการ จะเห็นไดวา ผูนําของการจัดกิจกรรมมีทั้ง ผูนําที่เปนทางการ อยางกํานัน ผูใหญบาน และผูนําที่ไมเปนทางการอยางนักกิจกรรมในชุมชน อยางไรก็ตามคุณสมบัติที่ ผูนําทั้งสองลักษณะไดนํามาใชในการจัดการ ก็คือ

ความเปนผูนํา มีความคิดริเริ่ม สรางสรรค

คุณสมบัติ - สามารถหาวิธีการ อุดชองวางดึงทรัพยากร ดึงคนมารวมงานได - มี ค วามสามารถในการจั ด การความเสี่ ย งและความไม แ น น อน


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

มีทักษะในการสื่อสารที่ดี มีการเรียนรู เชื่อมโยงความสัมพันธ ของเครือขายได มีวิธีคิดที่เปนระบบ

-

74

แกปญหาเฉพาะหนาได มี ค วามสามารถในการแสดงออกและการสื่ อ สารเชิ ง บวก มี ประสิทธิภาพในการสื่อสาร มีความเปนผูนําในการเรียนรู ปรับตัวตอสถานการณได สามารถสรางเครือขายของสมาชิกทั้งภายในและภายนอกชุมชน มีความสามารถในการจัดการความขัดแยง มองเห็นปฏิสัมพันธ กระบวนการและมองเห็นความเปนไปได

จริงๆแลวนอกจากผูนําของชุมชน องคประกอบของผูที่ใหการสนับสนุนกิจกรรมก็มีความสําคัญ มากพอๆกับตัวชาวบาน หากจัดหมวดหมูองคกรผูสนับสนุนที่มีสวนเกี่ยวของในกิจกรรมตามบทบาท หนาที่ขององคกรก็จะพบวา ผูสนับสนุนนั้นมีอยู 3 ประเภทดวยกันคือ 1) สถาบันวิชาการ ไดแก ทีมวิศวโยธามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา วิทยาเขตจังหวัด เชียงใหม วิทยาเขตจังหวัดเชียงราย และวิทยาเขตจังหวัดตาก ที่สนับสนุนความรูและการฝก ปฏิบัติในถูกตองตามหลักวิชาการ 2) องคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดแก องคกรบริหารสวนจังหวัด องคการบริหารสวนตําบล กํานัน ผูใหญบาน ที่เปนการสนับสนุนเชิงโครงสราง สูความรวมมืออยางเปนทางการระหวาง ชุมชนและภาครัฐ นํามาสูงบประมาณ วัสดุอุปกรณ และการพัฒนาทักษะของสลาชุมชน 3) องค ก รพั ฒ นาเอกชน ได แ ก เครื อ ข า ยจั ด การภั ย พิ บั ติ ภ าคประชาชนจั ง หวั ด เชี ย งราย ที่ ประสานทั้งสถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจที่สนับสนุนงบประมาณและวัสดุอุปกรณ รวมไปถึงองคกร ปกครองสวนทองถิ่นที่ตองการเริ่มตนการจัดการตนเอง 2.3 ภาคีที่รวมสนับสนุนการดําเนินงาน และจากที่กลาวไปแลวขางตนชุมชนยังควรจะสานภาคีกับหนวยงานที่เขามาสนับสนุนในระยะ ยาวโดยภาคีเหลานี้สามารถในการสนับสนุนระยะยาวตอไปในประเด็นตางๆไดแก 1) ภาคีที่เปนทางการ ไดแก สถาบันวิชาการและองคกรของรัฐ สามารถสนับสนุน จัดการอบรม ใหการสนับสนุนทางกฎหมายหรือใหทุน 2) สวนภาคีที่ไมเปนทางการ ไดแก องคกรพัฒนาเอกชนหรือชุมชนที่มีประเด็นรวมกัน ก็สามารถ สรางกระบวนการเรียนรูกันอยางไมเปนทางการ ดวยการอบรม พบปะ แบงปนขอมูลขาวสาร รวมถึงแลกเปลี่ยนบทเรียนจากความสําเร็จและความผิดพลาดของกันและกันดวยกัน 2.4 ทุน และทรัพยากรอื่นๆ การมี "ปูน" อยางเดียวไมใชจะสรางบานได แตการมี "แผน" ตางหากที่จะทําใหทั้งคนและของ สามารถหมุนไป การบริจาคปูนหรือวัสดุกอสรางอาจเปนรูปธรรมที่ชัดเจนของการสนับสนุนการฟนฟู แต


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

75

ในความเปนจริง หลายชุมชนที่ไดรับไปตางก็จัดการซอมแซมตอไปโดยปจเจก ไมไดอยูบนฐานความรูใน การซอมแซมบานใหทนทานกวาเดิม และไมไดอยูบนฐานคิดของการรวมมือเพิ่มขีดความสามารถ ทุนและทรัพยากรที่แทจริง ที่ถูกนํามาใชจึงไมใชสิ่งของหรือเงินทองเทานั้น แตเปนการใชทุนทั้ง 5 ประการ รวมกันเปน "แผน" ของการจัดการ กลาวคือ 1) ทุนมนุษย (Human Capital) คือ การรวมกลุม การใชความรู ทักษะในการทํางาน การถอด บทเรียนมาทบทวน-ปรับตัว โดยมีสิ่งที่ตองทําไปพรอมกัน ก็คือ การฟนฟู คืนความเปนอยูขั้น พื้นฐานกลับมา เมื่อสุขภาพจิตซึ่งเปนสิ่งที่บงชี้ความสามารถในการรับมือกับความเครี ยดและ กําลังใจที่จะฟนตัวจากภัยพิบัติก็จะกลับมา สมาธิในทุนมนุษยที่จะตั้งรับกับปญหาก็จะมากขึ้น 2) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) การมีขอมูลภัยเสี่ยงและทรัพยากรในชุมชน เปนการรูตนทุน ของการฟนฟู เพราะทรัพยากรเปนสิ่งที่กําหนดอาชีพ ปฏิทินการผลิตของชุมชนและรายไดที่จะ นํามาฟนฟูหรือใชเตรียมพรอมที่รับมือกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาหลังจากภัยในวงรอบ ตอไป 3) ทุนทางการเงิน (Financial Capital) เชน เงินเดือน กองทุนในชุมชน บาน เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณเปนปจจัยที่สามารถดึงคนในชุมชนเขามารวมตัวดวยกันไดก็คือ “การลดตนทุนในการ ดําเนินงาน” การที่ชุมชนแตละชุมชนมีเครื่องมือและกองทุนอยูตรงกลาง เปนปจจัยที่ชวยชักนํา ใหคนในชุมชนทํากิจกรรมตอไปไดในระยะยาว 4) ทุนกายภาพ (Physical Capital) เชน ถนน ไฟฟา ประปา และสาธารณูปโภคตางๆ การ เตรียมพรอมทางเทคนิคและโครงสรางจากภัยพิบัติ เมื่อประสบภัยเราสิ่งแรกที่เรามักจะประสบ ปญหาทันทีก็คือ ถนนขาด ไฟดับ น้ําประปาขาด โทรศัพทไมมีสัญญาณ ขาดจุดหลบภัย หรือ จุดอพยพ สาธารณูปโภคสวนใหญของชุมชนยังไมไดออกแบบสําหรับ เตรียมพรอมในการเผชิญ เหตุที่ไมคาดคิด หลังจากซอมสรางบานเสร็จ การวางแผนสํารองสําหรั บปองกันความเสียหาย กับสาธารณูปโภค ควรจะเปนลําดับถัดมา 5) ทุนทางสังคม (Social Capital) เชน การรวมกลุม ภาคีเครือขาย ประชาสังคมที่สนับสนุน เครือ ข ายทางสัง คมเป นกํ าลั ง สํารองที่เ ชื่ อมโยงความช ว ยเหลื อ เข ามาสูชุมชน ชุมชนไมอ าจ พึ่ง พาแต คูมือ หรื อ เครื่อ งมือ ที่ ภายนอกหามามอบใหไ ด อย างเดี ยวเท านั้ น การแลกเปลี่ ยน เรียนรูกับชุมชนที่เผชิญภัยในลักษณะเดียวกันใหทราบถึงบทเรียนของความสําเร็จและความ ผิดพลาด คือการลงทุนในระยะยาวที่คุมคาที่สุด

จากปจจัยทั้งหมดที่กลาวมานี้ อาจสรุปไดวา สุดทายแลวในกรอบที่เปนเงื่อนไขลอมการจัดการ ทั้งหมดเอาไวก็คงหนีไมพน โครงสรางของปกครองและวัฒนธรรมชุมชน โดยโครงสรางของการปกครอง จากองคกรบริหารสวนตําบลและสวนจังหวัด จะเปนผูที่เปดชองทางให ผูนําที่เปนทางการไมวาจะเปน กํานัน ผูใหญบาน หรือ สมาชิกองคการบริหารสวนตําบลไดสรางสรรคงานฟ นฟูชุมชนโดยนําเขาการ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

76

สนับสนุนจากภายนอก ไมวาจะเปนวิชาการในการสรางบานที่ทนแรงแผนดินไหว และการสนับสนุน ทรัพยากร ทั้งวัสดุ อุปกรณ และ งบประมาณจากภาคเอกชน โดยมีเครือขายองคกรพัฒนาเอกชนมี บทบาทในการประสานความรวมมือทั้งสามมิติเขาดวยกัน แตชุมชนจะเขาสูกลไกการจัดการตนเองไมไดเลย หากชุมชนขาดพื้นฐานทางวัฒนธรรมของ ชุมชนชวยเหลือเกื้อกูล การมีสวนรวมในการตัดสินใจและการเอามื้อเอาแรงกัน ซึ่งหลังจากถอดบทเรียน นี้ แ ล ว ผู ป ระสานงานชุ ม ชนก็ จ ะต อ งติ ด ตามต อ ไปว า การเรี ย นรู สิ่ ง ใหม ๆ ของชุ ม ชน จะไปสู ก าร Feedback จนเกิดการปรับปรุงวิถีชีวิตบนความเสี่ยงในการดํารงชีวิตบนรอยเลื่อนไดตอไปเพียงใด

ความรวมมือหนวยงานที่เปนทางการในการจัดการเหตุแผนดินไหวจังหวัดเชียงราย โดย ศิรินันต สุวรรณโมลี


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

77

เพื่อทําความเขาใจกับบทบาทของภาครัฐในการบริหาร / บัญชาการเหตุ / การฟนฟู ทีมถอด บทเรียนไดประมวลภารกิจของหนวยงานภาครัฐ จากการสังเกตและการดําเนินงานรวมกัน สูการสะทอน บทเรียนในการปรับตัวสูอนาคตที่มีโอกาสเกิดเหตุซ้ํา โดยพิจารณาการดําเนินงานตางๆ โดยใชชุมชน เปนศูนยกลาง จึงพบวาหนวยงานที่เขามาเกี่ยวของกับชุมชนในภารกิจตางๆ มีอยู 6 กลุมภารกิจ ดังนี้

1) กลุมภารกิจเยียวยาตามผลกระทบ เชน โรงพยาบาล และ รพ.สต. ทําหนาที่รักษาผูที่ไดรับบาดเจ็ด จากอาคารบานเรือนที่ไดรับความเสียหาย โรงเรียนและสถานศึกษา ทําหนาที่ออกหนวยซอมแซมความ เสียหายขั้นตนหรือเปนจุดอพยพสําหรับบางพื้นที่ ซึ่งกรณีที่อาคารของโรงเรียนหรือโรงพยาบาลไดรับ ความเสียหายดวยเชนกัน หนวยงานนั้นก็จะสํารวจความเสียหายและประเมินงบประมาณที่ใชในการ ซอมแซมสงตอกระทรวงที่เปนตนสังกัดของตนเอง กรมศิลปากร ทําแผนแมบทบริหารจัดการโบราณ สถานที่อาจเกิดภัยพิบัติ สวน ธกส. และ ธอส. ทําหนาที่จายเงินเยียวยาลูกคาที่ไดรับผลกระทบ ขณะที่ ภาคธุรกิจ/เอกชน ก็จัดการผลกระทบที่เกิดขึ้นกับตัวเอง 2) กลุมภารกิจบัญชาการเหตุและบรรเทาทุกข เชน ผูวาราชการ(มหาดไทย) ทหาร ตํารวจ ทําหนาที่ บัญชาการเหตุในระยะฉุกเฉินใหเกิดความสงบ สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ครั้งนี้ทําหนาที่ ให ความชวยเหลือขั้นตน เชน เต็นท น้ํา อาหาร สําหรับผูประสบภัย สวนคลัง ครม.และสํานักนายก ทํา หนาที่พิจารณางบประมาณในการซอมแซมถนน สาธารณูปโภค และบริหารเงินเยียวยาแกประชาชนที่


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

78

ไดรับผลกระทบ และ หนวยงานในระดับพื้นที่อยางอําเภอ ตําบล เทศบาล องคกรบริหารสวนตําบล ทํา หนาที่ในการประเมินความเสียหายของครัวเรือนที่ไดรับผลกระทบแลวสงขอมูลไปยังสวนจังหวัด ซึ่งมี ผูวาราชการเปนผูบัญชาการ เพื่อเบิกจายเงินเยียวยาสูผูประสบภัยตอไป 3) กลุมภารกิจชาง เชน สํานักโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด ทําหนาที่ สํารวจ-ประเมินความเสียหาย ของบานเรือนประชาชนและอาคารสาธารณะ รวมถึ งใหคํ าแนะนํ าในการใชอ าคาร ส วนหนว ยงานที่ เกี่ยวของกับสาธารณูปโภคอยางถนน ประปา ไฟฟา และการสื่อสาร ก็จะทําหนาที่ซอมแซมสิ่งที่ไดรับ ความเสียหายใหสิ่งจําเปนขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิตกลับมาใชงานไดเปนปกติ จะเห็ น ได ว า หน ว ยที่ มี ภ ารกิ จ ในการปฏิ บั ติ ง านลงมื อ ฟ น ฟู แก ไ ขสถานการณ แ ละเยี ย วยา จะเป น หนวยงานระดับจังหวัด ที่มีระบบการดําเนินงานเชื่อมโยงกันโดยหลักการ ตามขั้นตอนการบริหารงาน จากระดับชาติสูระดับทองถิ่น ที่เมื่อ ครม.อนุมัติงบประมาณในการบริหารจัดการแลว ทางจังหวัดก็จะรับ ชวงตอในระดับพื้ นที่อี กทอด ซึ่ง ระยะแรกพบว า การดําเนินงานในระดับพื้นที่ นั้นมี ความชุล มุน และ ดําเนินงานไปไดอยางชามาก เพราะ จังหวัดเชียงรายยังไมมีแผนรับมือกับเหตุแผนดินไหว การสงตอ ขอมูลตางๆยังสับสน ประกอบกับคนในพื้นที่ยังไมมี ความรูเกี่ยวกับวิธีจัดการ และยังขาดประสบการณ ในการบริหารงาน ตัวอยางเชน วิธีประเมินความเสียหายของอาคารเพื่อรับการเยียวยา ในครั้งแรกสํานักงานโยธาฯ รวมกับ สถาบันวิชาการ ซึ่งมีหนาที่หลักในการออกแบบการประเมินเห็นวา ควรจายเงินเยียวยาตามระดับความ เสียหายของอาคารโดยแบงความเสียหายออกเปน สีเขียว คือ อาคารไดรับความ เสียหายนอย (ยังใชพัก อาศัยได) เหลือง = เสียหายในระดับปานกลาง (หามเขาใชอาคารในสวนที่มีความเสียหาย) แดง = เสียหายรุนแรง ไมควรเขาใชอาคาร และไมควรซอมแซม ควรทุ บ รื้อทิ้ง แลวสรางใหม โดยมีกรอบใน การชดเชยอยู ที่ว งเงิ น 33,000 บาท ซึ่ ง กระทรวงการคลั ง ได กํ าหนดไว แต ก็ ยัง มี ค วามคลุ มเครื อ ว า สําหรับอาคารที่เปนสีเขียวและสีแดงจะใหการชดเชยอยางไร ในเวลาเกือบ 1 เดือนถัดมาจึงมีการสํารวจ ความเสียหายโดยคณะทํางานทองถิ่นเพื่อประเมินมูลคาและเบิกจายตามจริงในวงเงินไมเกิน 33,000 บาทอีกครั้ง ซึ่งวงเงินนี้ก็ยังนับวานอยเกินไปสําหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นกับบานทั้งหลัง เมื่อเทียบกับ วงเงินของการชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจากอุทกภัยในป 2554 ที่จะไดรับการชวยเหลือเปนคาวัสดุ กอสรางไมเกินหลังละ 240,000 บาท จากกองทุนเงินชวยเหลือผูประสบภัย ของ สํานักนายกรัฐมนตรี นอกจากทั้ ง สามกลุ มภารกิ จข างต นที่ บ ริ ห ารสถานการณ ด ว ยการฟ น ฟู สิ่ ง จํ า เป น ขั้ นพื้ นฐานที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากแผนดินไหว และการบรรเทาความเดือดรอนจากสาธารณภัยแลว ยังมีอีกสามกลุมภารกิจ ที่ใหการสนับสนุนพื้นที่ประสบภัยดวยขอมูล ขาวสาร การรายงานสถานการณและปรากฏการณที่เกิดขึ้น ตามมา จะสังเกตไดวาหนวยงานเหลานี้สวนใหญเปนหนวยงานระดับภูมิภาค ที่มีขอมูลจําเพาะ หรือ ลง เก็บขอมูลเชิงลึกนํามาขยายผลผานสื่อมวลชนสูพื้นที่ประสบภัยอีกที กลุมภารกิจนี้ประกอบดวย


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

79

4) กลุมภารกิจสื่อสารมวลชน เชน สถานีโทรทัศน สื่อทองถิ่น และ สถานีทีวีดิจิตอล ที่ลงทําขาวใน พื้นที่ ดึงขอมูลความเสียหายออกมาเผยแพรสูสาธารณะ แตสถานีโทรทัศนสวนใหญก็ทําหนาที่ในการ สรางความรูความเขาใจตอที่มาของปรากฏการณที่เกิดขึ้นนอยกวาการฉายภาพความเสียหาย และยัง เปนสื่อกลางของการใหความชวยเหลือนอยกวาความคาดหวัง 5) กลุมภารกิจ รายงาน บันทึก แจงเหตุ เชน ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ กรมอุตุนิยมวิทยา และกรม ทรัพยากรธรณี เปนฝายที่เผยแพรขอมูลความเสี่ยงจากภัยพิบัติและแจงเตือนภัยสูสาธารณะ 6) กลุมภารกิจวิชาการ เชน มหาวิทยาลัยระดับภูมิภาค สถาบันวิชาชีพอยางวิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ทําหนาที่ เผยแพรขอมูล สรางความรูความเขาใจผานสื่อมวลชน ลงพื้นที่สํารวจ-ประเมิน ความเสียหายรวมกับหนวยงานพื้นที่ ในสามกลุมภารกิจขางตน มีการอบรมใหความรู พัฒนาทักษะใน การซอมสรางบานใหรับมือกับแผนดินไหว จะเห็นไดวา ในทางปฏิบัติกลุมภารกิจดานขอมูลและการสื่ อสาร เปนฝายที่มีบทบาทเปนตัวกลางของ การเชื่อมโยงการดําเนินงานระหวางกลุมภารกิจ ขณะที่ชุมชนเปนฝายที่มีชองทางในการสื่อสารออกไปสู ภาคส ว นอื่ นน อ ยมาก กล าวคื อ มี ขอ มู ล ขาเข า มากกว าข อ มู ล ขาออก ขณะที่ ก ารแลกเปลี่ ยนข อ มู ล ระหวางชุมชนก็ยังไมมีระบบและไมมีสื่อกลางที่เพียงพอ การไหลเวียนของความคิดและขอมูลขาวสารที่ ยังมีไมมากพอ ทําใหแรงขับของการสรางสรรควิธีที่ปรับตัวรับกับความเสี่ยงที่เพิ่มเขามามีนอยลงไปดวย สวนปญหาเกี่ยวกับความเชื่อมโยงระหวางหนวยงานที่เปนทางการ จากเหตุการณครั้งที่ผานมา พบวา ระยะฉุกเฉิน แตละหนวยงานตางก็เปนผูประสบภัยไปดวยพรอมกัน ทามกลางความสับสนใน ปรากฏการณที่ไมเคยเกิดขึ้น หนวยงานภายนอกจากพื้นที่ใกลเคียง อาจจะตั้งสติไดเร็วกวา แต การ เขาถึงพื้นที่ก็ยังทําไดไมทันเหตุเทาคนในพื้นที่และคนตางพื้นที่มักจะไมทราบพิกัดที่ที่ควรจะลงไป การ เตรียมแผนรับมือกับเหตุฉุกเฉินในระดับพื้นที่จึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับภัยอยางแผนดินไหว ระยะถัดมา การสํารวจและเก็บขอมูลก็ยังคงพบปญหา เชนเดียวกับพื้นที่ประสบภัยอื่นๆ กลาวคือ มี ทั้ง การที่ ห ลายหน ว ยงานลงไปเก็ บ ข อ มู ล ซ้ํ ากั น หลายครั้ ง ในพื้ นที่ แ ละป ญ หาการเก็ บข อ มู ล ตกหล น ใน อนาคตหากองคกรระดับทองถิ่นสามารถเปนตัวแทนในการเก็บขอมูลและประเมินสูสวนกลางไดโดยตรง ปญหาความซ้ําซอนและการตกหลนนาจะบรรเทาลงได สุดทายในระยะฟนฟูภาครัฐสามารถเสริมพลังแก ชุมชนได ดวยการสรางกลไกการจัดการตนเอง เสริมทักษะที่จําเปนตอการจัดการความเสียหายหรือภัย เสี่ยง จัดการหาทรัพยากรที่จําเปนตองานฟนฟู ควบคูกับใหขอมูลขาวสารที่สําคัญตอประชาชนมากกวา การสงเคราะหและจัดการใหโดยขาดการมีสวนรวมอยางเหตุการณในครั้งที่ผานมา การทบทวนแนวทางในการปรับตัวตอภัยพิบัติ ซึ่งมีผลกระทบที่ตามมาอยางซับซอน จึงควรพิจารณา แนวคิดระบบที่มีการปรับตัวในภาวะที่ซับซอน (complex adaptive systems : CAS) มาใชรับมือกับภัย พิบัติซึ่งแนวคิดนี้มีองคประกอบพฤติกรรมที่นําไปสูการเกิดการปรับตัว คือ


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

80

1) การจัดการตัวเอง (self organize) 2) การเผชิญปญหาเฉพาะหนา (emergence) 3) การเชื่อมโยงขอมูลขาวสาร (relation) 4) การถอดบทเรียนกลับ (feedback) 5) การปรับตัว (adaptive) 6)การจัดการความไมแนนอน (non-linear) การจัดการภัยพิบัติของภาครัฐตองพิจารณาองคประกอบนี้ใน 3 มิติ คือ 1) มิติความยืดหยุนขององคกร 2) มิติของโครงสรางพื้นฐานทางเทคนิค 3) มิติของการเปดรับทางวัฒนธรรม ดังนั้นเมื่อใชกรอบของแนวคิดนี้มาพิจารณาสิ่งที่พบจากการบริหารจัดการเหตุแผนดินไหวที่ผานมาเรา จะพบขอจํากัดที่มีผลตอการปรับตัวตอการรับภัยกลาวคือ

มิติความยืดหยุนขององคกร 1) การจัดการตัวเอง (self organize) ยังขาดบุคคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการรับมือภัยพิบัติ ภายในพื้นที่ 2) การเผชิญปญหาเฉพาะหนา (emergence) มีการตั้งศูนยบริหารสั่งการ และ ระบบกระจาย ขาวสารเกี่ยวกับภัยพิบัติที่เชื่อถือไดลงสูพื้นที่ในทิศทางเดียว 3) การเชื่อมโยงขอมูลขาวสาร (relation) มีการสรางความรวมในการประสานงานเฉพาะภาค ประชาชนแตยังสั่งการขามภาคสวนกันไมได 4) การถอดบทเรียนกลับ (feedback) มีการทําลิสตรายชื่อ – เบอรติดตอ เฉพาะสวนราชการ ที่ เกี่ ยวข อ งกั บภั ยพิ บัติ แต ยัง ขาดการถอดบทเรี ยนและทบทวนระเบี ยบการปฏิ บัติ ง านที่ เ ป น ขอจํากัด ในระยะกอน ระหวาง หลังเกิดภัยถายทอดสูชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัย 5) การปรับตัว (adaptive) ไมมีการปรับแผนเผชิญเหตุ ไมมีแผนสํารองในการรับมือภัยพิบัติ 6) การจัดการความไมแนนอน (non-linear) ไมมีกองทุนสํารองสําหรับรับเหตุภัยพิบัติ

มิติของโครงสรางพื้นฐานทางเทคนิค 1) การจัดการตัวเอง (self organize) มีผูเชี่ยวชาญทางเทคนิค แตอยูหางไกลจากพื้นที่เสี่ยงภัย 2) การเผชิญปญหาเฉพาะหนา (emergence) มีแผนเผชิญเหตุระดับพื้นที่ แตยังไมมีคูมือการ รับมือภัย ระดับชุมชน 3) การเชื่อมโยงขอมูลขาวสาร (relation) มีชองทางสื่อสารและเครื่องมือสื่อสารสํารองในภาวะ ฉุกเฉิน และหรือพาหนะสํารองไวใช ภายใตความรวมมือในการสื่อสารรวมกันในพื้นที่ แตยังไมมี การทําขอมูลแผนที่ภูมินิเวศนของชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยแผนดินไหว ควบคูกับ เสนทางน้ํา สภาพลําน้ํา ขอมูล-แผนที่ประชากรกลุมเสี่ยง กลุมเปราะบาง 4) การถอดบทเรียนกลับ (feedback) ยังไมมีการสํารวจ จุดเสี่ยง จุดปลอดภัยในพื้นที่


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

81

5) การปรับตัว (adaptive) มีการจัดสรรสิ่งจําเปนขั้นพื้นฐานในระยะฉุกเฉิน เชน แหลงอาหาร สํารอง ครัวสนาม และที่พักชั่วคราว แตยังไมมีการใหความรูเกี่ยวกับการซอม-สรางอาคารที่ ทนทานหรือเหมาะสมกับแผนดินไหวอยางทั่วถึง 6) การจัดการความไมแนนอน (non-linear) มีอุปกรณพิเศษที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน แต อุปกรณบางชนิด อยางเครนยกสะพานตองยืมที่อื่น มีชองทางในการเขาถึงการพยากรณภัย เชนขอมูลน้ํา ขอมูลพยากรณอากาศ และมีระบบเตือนภัยที่เชื่อมกับสวนกลาง แตยังไมมีการ ซอมแผนเผชิญเหตุแผนดินไหว

มิติของการเปดรับทางวัฒนธรรม 1) การจัดการตัวเอง (self organize) การบริหารสถานการณและการฟนฟูเปนไปในลักษณะ สงเคราะห หรื อ ดํ าเนิ น งานแทนให มากว าที่ จะหนุ นเสริ ม ให ประชาชนในพื้ นที่ เ สี่ ย งภั ย เห็ น ความสําคัญในการจัดการตนเองในสิ่งที่ประชาชนจัดการเองได 2) การเผชิญปญหาเฉพาะหนา (emergence) การดําเนินกิจกรรมในแตละหนวยยังเปนไปดวย การทํางานแยกสวน 3) การเชื่อมโยงขอมูลขาวสาร (relation) ผูดําเนินกิจกรรมเห็นความสําคัญ ของการเชื่อมโยง ขาวสารแตไมสามารถแกไขขอจํากัดในการแลกเปลี่ยนขอมูลกันได 4) การถอดบทเรีย นกลับ (feedback) ผูดําเนิ นกิจกรรมเห็นความสําคัญในการทบทวนการ ปฏิบัติงาน แตมีขอจํากัดจึงทบทวนไดเพียงบางหนวยงาน 5) การปรับตัว (adaptive) ผูดําเนินกิจกรรมเห็นความสําคัญ ของการปรับตัว แตยังไมพรอมที่จะ ทดลองปรับวิธีทํางานที่เหมาะสมได 6) การจัดการความไมแนนอน (non-linear) ผูบริหารสถานการณเห็นปญหาแตไมพรอมที่จะลง มือแกไขขอปญหาที่ซับซอนในพื้นที่ ระยะเวลาที่เพิ่งผานไป 3 เดือน อาจเปนเวลาที่ยังเร็วเกินไปสําหรับการเริ่มตนกระบวนการปรับตัว สําหรับการบริหารจัดการภัยพิบัติของจังหวัดเชียงราย แตยังไมสายสําหรับการถอดบทเรียน แลวมองไป ขางหนาสูการพัฒนาแนวทางในการใชชีวิตอยางปลอดภัยสําหรับประชาชน

ความรวมมือเครือขายองคกรพัฒนาเอกชนในการจัดการเหตุแผนดินไหวจังหวัดเชียงราย โดย ศิรินันต สุวรรณโมลี


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

82

เครื อข ายจั ดการภั ยพิ บัติ ภาคประชาชนจังหวัด เชี ยงราย คือ กลุมขององคกรพัฒนาเอกชนที่ เกิ ดขึ้ น หลังจากเหตุการณแผนดินไหวในวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 มีภารกิจที่หลักของการดําเนินงานคือ  จัดการฐานขอมูลผลกระทบจากภัย ออกแบบ-สํารวจ-ลงพื้นที่ที่มีความเสียหาย-ประมวล ขอมูลความเสียหายเบื้องตนจากเหตุการณแผนดินไหวในระดับหมูบาน-ครัวเรือน  กิจกรรมฟนฟูพื้นที่จากผลกระทบของแผนดินไหว จัดกิจกรรมฟนฟูสภาพจิตใจ และสราง กลไกฟนฟูชุมชน-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการซอมสรางบานสําหรับทนแรงแผนดินไหว  จับคูการใหความชวยเหลือและการฟนฟูพื้นที่ประสบภัย รับหนาที่เปนตัวกลางระหวางภาค ธุ ร กิ จ ที่ ป ระสงค จ ะช ว ยเหลื อ ผู ป ระสบภั ย ในการซ อ มแซมบ า น สร า งบ า น ฟ น ฟู ร ะบบ สาธารณูปโภคของชุมชน หรือ ซอมแซมสิ่งกอสรางสาธารณประโยชน การก อตัว และการขยายวงของเครือข ายไดเกิ ดผลสู การขยับตัว ใหภาคสว นตางๆได รวมมือกั นตาม บทบาทของตนเองจนคลองตัว ทีมถอดบทเรียนจึงใชการวิเคราะหเครือขายทางสังคม (Social Network Analysis) แสดงโครงสรางของความสัมพันธตามบทบาทของหนวยงานที่เกี่ยวของไดดังแผนภาพนี้

จะเห็นวาการดําเนินงานในครั้งนี้ มีความรวมมือขามภาคสวนเกิดขึ้น ดังจะเห็นไดจาก ความรวมมือที่ เกิดขึ้นระหวางภาครัฐอยางสํานักโยธาธิการจังหวัด และองคกรพัฒนาเอกชนในการจัดการฐานขอมูล


83

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

ความเสียหาย ความรวมมือระหวางสถาบันวิชาการ ชุมชน และ องคการบริหารสวนจังหวัด ที่สนับสนุน งบประมาณและวิทยากรในการอบรมพัฒนาทักษะการซอมสราง ความรวมมือระหวางผูสนับสนุนที่เปน ภาคธุรกิจเอกชนและชุมชนในการสนับสนุนงบประมาณสําหรับวัสดุและอุปกรณกอสรางในงานฟนฟู ชุมชน ความสัมพันธเหลานี้เปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดยากในภาวะปกติ ซึ่งครั้งนี้ความสัมพันธเหลานี้เกิดขึ้นได โดยมีเครือขายจัดการภัยพิบัติฯเปนตัวกลางประสานขับเคลื่อนจนเกิดกลไกการฟนฟู โดยอาศัยความ รวมมือจากผูนําทองถิ่นอยางกํานัน ผูใหญบาน หรือหนวยงานสวนทองถิ่นอยางองคการบริหารสวน ตําบล ซึ่งมีอํานาจในการบริหารอยางเปนทางการและมีทรัพยากรที่จําเปนตองานฟนฟูในระยะยาว และเมื่อพิจารณาตอไปอีกจะพบวา รูปแบบของกลไกความรวมมือที่เอื้อตอการดําเนินงานและเชื่อมโยง ขอมูลขามภาคสวน ก็คือ การดําเนินงานตามบทบาทหนาที่หลักของตนเองโดยเปดกวางตอการหนุ น เสริมใหภาคสวนที่เกี่ยวของไดแสดงศักยภาพของตัวเองออกมา กลาวคือ ภาครัฐสามารถมีบทบาทใน การบริหารนโยบาย ปรับปรุงกฎหมายหรือขอกําหนดใหสอดคลองกับภัยเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม ไปจนถึงจัด งบประมาณและความรูในการฟนฟู โดยอยูบนฐานที่ ใหชุมชนหรือทองถิ่นเกิดกลไกเชิงรุกในการจัดการ ตนเอง เพื่อลดปญหาการสงเคราะหที่ไมตรงกับความตองการ เชน แบบบานไมตรงความตองการ หรือ งบประมาณในการซอมไมเพียงพอ โดยที่องคกรพัฒนาเอกชนสามารถเปนตัวชวยในการรวมกลุมและ ประสานเครือขายการเรียนรูไปในทิศทางเดียวกันกับนโยบายของภาครัฐ ในฐานะที่ปรึกษาได

ภาครัฐ

องคกร ชุมชน

นโยบาย งบประมาณ ความรู

องคกร พัฒนา เอกชน

สรางการรวมกลุม ประสานเครือขาย ความรู

การจัดการตนเอง

ดังนั้นโครงสรางของความรวมมือที่เหมาะสมกับงานฟนฟูและการบริหารจัดการภัยพิบัติ ควรมีลักษณะที่ เปดกวางตอความรวมมือขามภาคสวน เปดโอกาสในการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร ไปจนถึงการ กําหนดทิศทางในการบริหารงานรวมกัน ดังตัวอยางของภารกิจของงานฟนฟูที่เกิดขึ้นในครั้งนี้


เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

84

นอกจากความสัมพันธที่เปนทางการซึ่งขับเคลื่อนกลไกการฟนฟูดังที่กลาวไปแลวในขางตน เรายังพบ การใชทุนทางสังคมที่เปนตัวหลอลื่นการดําเนินงานในมิติอื่นๆ แทรกอยูในการดําเนินงานทุกขั้นกลาวคือ  มิติความสัมพันธของภาคธุรกิจ ภาคเอกชน ในฐานะผูบริจาคและอาสาสมัคร  มิ ติ ข องสื่ อ สารมวลชน ในการเป น ตั ว กลางระหว า งผู ป ระสบภั ย ส ง ต อ ข อ มู ล สู ผู ใ ห ค วาม ชวยเหลื อ ผานรายการสถานี ประชาชน และ ศูนยประสานงานชวยผูประสบภัยแผ นดินไหว ThaiPBS  มิติขององคกรพัฒนาเอกชน ที่ขยายโมเดลการเรียนรู การพัฒนาทักษะไปยังพื้นที่อื่น  มิติของความสัมพันธในชุมชน จากการเอามื้อ เอาแรง ชวยกันซอมแซมบานที่เสียหายจาก แผนดินไหว ซึ่งดําเนินไปไดดวยวัฒนธรรมชุมชน ความเชื่อใจกัน และการมีผูนําที่เขมแข็ง โดย ทุนทางสังคมที่ถูกใชครั้งนี้มีลักษณะที่ปรากฏอยู 3 ระดับดังภาพ คือ

1) การใชทุนทางสังคมจากโยงใยความสัมพันธในชุมชน (bonding social capital) ซึ่งเปน ฐานของโมเดลชุมชนที่ใชฟนฟูความเสียหายดวยการซอมสราง 2) การใชทุนทางสังคมสานสัมพันธระหวางพื้นที่ (bridging social capital) ของการดึง หนวยงานขามภาคสวนเขามาขับเคลื่อนกระบวนการ จนสามารถขยายพื้นที่การเรียนรูออกไป 3) การใชทุนทางสังคมเชื่อมชุมชนสูภายนอก (linking social capital) ที่เปดตัวใหชุมชนที่ ผานการอบรมทักษะไปแลว ไดเขาใจวิธีประสานทรัพยากร ประสานความรวมมือ ทั้งลักษณะที่ เปนทางการและไมเปนทางการ เขาสูการจัดการตนเองไดตอไป


85

เครือขายจัดการภัยพิบัติ ภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย

ดังนั้นชุดความรูเกี่ยวกับปจจัยที่ใชในการจัดการตนเองของชุมชน และ ทุนทางสังคมที่ถูกใชในการฟนฟู ชุมชนจะตองถูกใชควบคูกัน เพราะ งานฟนฟูจะใชตนทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนอยางเดียวไมได และ จะใชทรัพยากรแตเพียงอยางเดียวก็ไมได ผูที่เปนตัวกลางจะตองใชความรูในทุกมิติไปควบคูกัน

กิตติกรรมประกาศ เครือขายจัดการภัยพิบัติภาคประชาชนจังหวัดเชียงราย ขอขอบคุณชาวบานชุมชนบานดงลาน ชาวบานหวยสานพัฒนา ชาวบานหวยสานยาว ชาวบานหวยสานอาขา ชาวบานปาแดด ชาวบานทุง ฟาผา ที่ตอนรับคณะทํางานเปนอยางดี และตองขอบคุณทุกทานที่มีสวนรวมในครั้งนี้โดยเฉพาะ คณาจารยและนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ที่เปน ทั้งผูใครความรูและลงแรงฟนฟูชุมชน อาจารยและนักศึกษา สถาบันอาศรมศิลป ที่รวมเรียนรูและถอดแบบการซอมสรางในแตละจุด ปฏิบัติการ กิจกรรมในครั้งนี้คงจะสําเร็จ ลุลวงลงไมไปได หากปราศจากจิตอาสาของเราทุกคนที่มุง มั่นจะ สรางความปลอดภัยและบรรเทาความเดือดรอนใหกับชุมชนบนพื้นที่เสี่ยงภัย


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.