การจัดการข้าวเปลือกเพื่อลดการสูญเสีย* 1. การสูญเสียของข้าว กระบวนการการเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บเกี่ยวมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากในแต่ละกิจกรรม ในกระบวนการ นอกจากจะมีผลต่อการสูญเสียข้าวจากการขาดความระมัดระวังทาให้ข้าวตกหล่นเสียหายแล้ว ยังมีผลต่อผลได้จากการขัดสี โดยทั่วไปการสูญเสีย จะเกิดขึ้นในสองลักษณะ คือ การสูญเสียในเชิงปริมาณและ ในเชิงคุณภาพ และการสูญเสียในเชิงปริมาณ การสูญเสียในเชิงปริมาณ หรือ น้าหนัก ได้แก่น้าหนักของข้าวลดลง หรือหายไปจากสาเหตุต่างๆ เช่นร่วงหล่นในนาขณะเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวไม่หมด นวดไม่หมด ถูกแมลงศัตรู นกและหนูทาลาย ทั้งในนาและใน โรงเก็บ เป็นต้น โดยพบว่ามี การสูญเสียรวมเฉลี่ย โดยวิธีการใช้แรงงานคนและเครื่องนวด 14.0% และโดย วิธีการใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าว 10.73% โดยรายละเอียดการสูญเสียจากขั้นตอนต่างๆ แสดงตามตารางที่ 1 และ 2 ตารางที่ 1 การสูญเสียข้าวรวมโดยวิธีการใช้แรงงานคนและเครื่องนวด ขั้นตอน ความสูญเสีย (%) การเกี่ยว 0.51 ตากแผ่ 0.52 มัดฟ่อน 0.91 ขนย้าย 0.49 การนวดโดยใช้เครื่องนวด 5.65 การขนใส่ภาชนะหรือยุ้งฉาง 0.92 การเก็บรักษา 5.00 รวม 14.00 ตารางที่ 2 การสูญเสียข้าวรวมโดยวิธีการใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าว ขั้นตอน การเกี่ยว การนวด การคัดแยกและทาความสะอาด การขนใส่ภาชนะหรือยุ้งฉาง การเก็บรักษา รวม
ความสูญเสีย (%) 3.43 0.0062 1.37 0.92 5.00 10.73
การสูญเสียในเชิงคุณภาพ ส่วนใหญ่จะเป็นผลมาจากการเก็บเกี่ยวข้าวที่ไม่ถูกต้องตามระยะเวลาที่ เหมาะสม การเก็บเกี่ยวข้าวที่มีความชื้นสูงหรือเปียกฝนแล้วไม่รีบนาไปลดความชื้นก็จะทาให้เนื้อข้าวมีสีเหลือง มีกลิ่นเหม็น ขึ้นราหรือเกิดท้องไข่ และเมื่อนามาสีก็จะมีผลทาให้เมล็ดเกิดการแตกหักจะได้ข้าวเต็มเมล็ดหรือ ต้นข้าวน้อย อีกทั้งเครื่องสีข้าวที่ไม่ได้มาตรฐานก็จะทาให้ประสิทธิภาพการสีต่าไปด้วย รวมทั้ง หากผู้ใช้เครื่องสี ข้าวมีการปรับแต่งลูกกะเทาะหรือลูกสีไม่ถูกต้องแ ละเหมาะสมกับคุณลักษณะของพันธุ์ข้าวก็จะทาให้มีการ *
เรียบเรียงโดยนางสาวฐิติกานต์ กลัมพสุต
ผู้อานวยกลุ่มส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลเกษตรรายย่อย กองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร