เทคโนโลยีการเพาะกล้าดำนาข้าว

Page 1

เทคโนโลยีการเพาะกล้าดานาข้าว

กลุ่มส่งเสริมการให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร กองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


คานา ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม กล่าวได้ว่าเป็นแหล่งครัวของโลกแหล่งหนึ่ง การทา การเกษตรของไทยพื้นที่กว่าครึ่งเป็นการทานาข้าว ซึ่งกระจายพื้นที่ไปตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทย แต่พื้นที่ส่วนใหญ่แล้วจะอยู่บริเวณภาคเหนือตอนล่าง ที่ราบลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และบริเวณภาคกลาง การทานาข้าวได้มีการพัฒนาขั้นตอนการผลิตไปตามยุคสมัย ซึ่งในปัจจุบันมีการนาเอาเครื่องจักรกลการเกษตร เข้ามาช่วยในการผลิตแทบทุกขั้นตอน เพราะมี ปัญหาหลายอย่างอาทิเช่นการเร่งรีบในการเตรียมพื้นทีเ่ พาะปลูก ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน เป็นต้น การเขตกรรมในพื้นที่ทานา ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จากปัญหาต่างๆที่เกิดมากขึ้นในพื้นที่นา คือการแปรปรวนของสภาวะอากาศ แหล่งดินเสื่อมโทรม การสะสมของโรคแมลง การเผาตอซังฟางข้าว การใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ไม่ได้มาตรฐาน มีกา รปะปนของพันธุ์ข้าว และการใช้เมล็ดพันธุ์ที่มากกว่าปกติ กรมส่งเสริมการเกษตร โดย กองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ได้พัฒนา โครงการนาร่องการพัฒนาการเขตกรรมข้าว เริ่มตั้งแต่ ปี 2552 ขึ้นเพื่อเน้นการพัฒนาวิธีการเขตกรรมของการ เพาะปลูกข้าว โดยนาชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าวซึ่งเป็นเทคโนโลยีทางวิศวกรรมเกษตรมาส่งเสริมให้เกิดการใช้ งาน โดยสามารถแก้ปัญหาข้างต้นได้ส่วนหนึ่ง รวมถึงสามารถลดแรงงานการเพาะปลูก และสร้างแปลง เพาะปลูกที่เป็นแถวเป็นแนว สนับสนุนระบบ GAP ได้เป็นอย่างดี คาดว่าจะมีการขยายตัวของการ ใช้เทคโนโลยี มากขึ้นเป็นลาดับ ท้ายนี้ขอขอบคุณ ผู้อานวยการกองส่งเสริม โครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรม เกษตร ผู้อานวยการศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชัยนาท ให้ความอนุเคราะห์ เทคโนโลยี ความรู้ คาแนะนา และตรวจสอบความถูกต้องข องเอกสาร เจ้าหน้าที่ จากบริษัท กู่หลินโฟโมซ่า เทคโนโลยี จากัด ให้คาแนะนาการใช้งานชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว การใช้และบารุงรักษาเครื่องดานา

กลุ่มส่งเสริมการให้บริการเครื่องจักรกลเกษตร กองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร มกราคม 2559


สารบัญ หน้า 1-2 2-6 6-10 11-13 13-15 16 17-24

เทคโนโลยีการเพาะกล้าดานาข้าว ชุดเครื่องจักรและอุปกรณ์การเพาะกล้าข้าว ขัน้ ตอนการดาเนินงานเพาะกล้าข้าว การเพาะเลี้ยงอนุบาลกล้าข้าว ข้อสังเกตของขั้นตอนการเพาะกล้าข้าว เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก 1. สรุปผลการดาเนินงานจัดทาแปลงสาธิตนาร่องการพัฒนาการเขตกรรมข้าว โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน กิจกรรมนาร่องพัฒนาศูนย์ส่งเสริม วิศวกรรมเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี 2552 2. รายงานการศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว กลุ่มวิศวกรรมการจัดการที่ดิน กองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 2553


เทคโนโลยีการเพาะกล้าดานาข้าว ประเทศไทยถือว่าเป็นแหล่งผลิตอาหารเพื่อเลี้ยงชาวโลก หรือที่เรียกกันว่าเป็นครัวของโลก เพราะอาชีพเกษตรกรเป็นอาชีพหลักของคนไทย ไม่ว่าจะเป็นการปลูกพืช หรือว่าเลี้ยงสัตว์ ข้าวก็ถือว่า มีความสาคัญ เป็นสินค้าที่มีความต้องการทั้งภายในประเทศและเพื่อการส่งออก การปลูกข้าวในประเทศไทย มีหลายวิธีขึ้นอยู่กับสภาพเศรษฐกิจและสังคม และภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องที่ มีทั้งวิธีดานา วิธีหว่านข้าวแห้ง หรือหว่านสารวย วิธีการหว่านข้าวงอกหรือหว่านน้าตม และวิธีการหยอดข้าวในดินแห้ง จากภาวะความรุนแรง ของการขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตรกรรม เกษตรกรทานาจึงหันมาใช้วิธีการหว่านเพิ่มขึ้น เพื่อลดค่าใช้จ่าย แต่แปลงนาหว่านไม่ว่าจะเป็นหว่านน้าตมหรือหว่านแห้ง จะมีปัญหาด้านวัชพืช และการปะปนของข้าวพันธุ์อื่น ทีไ่ ม่พึงประสงค์มากขึ้น จึงต้องฉีดสารเคมีควบคุมป้องกัน และกาจัดวัชพืชหลายครั้ง ตั้งแต่การฉีดควบคุมหญ้า ก่อนการหว่านเมล็ดพันธุ์ การฉีดกาจัดวัชพืชเป็นระยะเพื่อสกัดกั้นวัชพืชไม่ให้สูงหรือเจริญงอกงามกว่าต้นข้าว การผลิตข้าวคุณภาพดี จาเป็นต้องใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพ เพราะพันธุ์ข้าวที่มีคุณ ภาพดี มีความบริสุทธิ์ เมื่อนาไปเพาะปลูกเพื่อจาหน่าย จะได้ข้าวที่มีความบริสุทธิ์ของข้าวตามพันธุ์นั้นๆ แต่ถ้าเมล็ด พันธุ์ข้าวไม่พึงประสงค์เพียง 1 เมล็ด จะงอกเป็นข้าว 1 ต้น และออกรวงเป็นเมล็ดข้าว จานวนมาก ได้ก่อให้เกิด ปัญหาข้าวพันธุ์ปนขึ้นได้มาก ในหลักการวิธีการปักดาเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะควบคุมและจัดการตัดพันธุ์ปนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ เพราะต้นข้าวขึ้นเป็นแถวเป็นแนว เกษตรกรสามารถเดินเข้าไปในแปลงปลูก และมองเห็น ต้นข้าวที่มีลักษณะเป็นต้นพันธุ์ปนที่ต้องการกาจัดได้ชัดเจน และจัดการตัดพันธุ์ปนและกาจัดวัชพืชได้ง่าย ปัจจุบันนี้ได้เกิดปัญหาใหญ่ในระบบผลิตข้าวของประเทศไทย โดยที่ผ่านมาได้เกิดการระบาด ของข้าววัชพืชหรือข้าวป่า ที่ชาวนาเรียกว่า ข้าวดีด ข้าวเด้ง และข้าวแดง ซึ่งเป็นเมล็ดข้าวที่ไ ม่พึงประสงค์ ระบาดปะปนในแปลงนาใน หลายพื้นที่ และกระจายไปทั่วภาคกลาง ที่เป็นพื้นที่หลั กสาคัญในการปลูกข้าว ซึ่งพื้นที่มีการปลูกข้าวตลอดทั้งปีโดยวิธีการหว่านน้าตม และกาลังขยายไปยังพื้นที่อื่นๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง เป็น ปัญหาร้ายแรงต่อการผลิตข้าวของ ไทย เกษตรกรจึงจาเป็นต้องหันมาผลิตข้าวโดยใช้วิธีการปักดาแทน เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าว เพราะกา รปักดา เป็นการปลูกข้าวที่งอกเป็นต้นแล้ว พื้นที่นามีน้าเป็นตัวควบคุม เมล็ดข้าววัชพืชที่ตกอยู่ในแปลงนาไม่ให้งอกหรืองอกช้า และเจริญเติบโตไม่ทันต้นข้าว ต้นข้าวที่ปลูกเป็นแถว เป็นแนว ช่วยให้เกษตรกรเดินเข้าไปจัดการกาจัดข้าววัชพืชได้สะดวก จากเหตุผลดังกล่าวและปัญหาแ รงงาน ขาดแคลน เกษตรกรจึงเริ่มมีความต้องการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรในการเพาะปลูกข้าวเพิ่มมากขึ้น การใช้งานชุดเครื่องมือ เพาะกล้าข้าว เป็นวิธีการที่ปฏิบัติแล้วทาให้การเพาะกล้าข้าวได้กล้าข้าว ที่มีคุณภาพ ปริมาณ และเหมาะสมกับการใช้งานกับเครื่องดานา ส่งผลทาให้ประ สิทธิภาพการทางานเครื่อง ดานาสูงขึ้น จากการศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว กองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ การจัดการพื้นที่ และวิศวกรรมเกษตร ทาการศึกษาเปรียบเทียบผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนการผลิตข้าวในพื้นที่ที่ได้รับ การพัฒนาการเขตกรรมและพื้นที่ปลูกข้าวโดยวิธีปกติข องเกษตรกร ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่าผลผลิตข้าว ในแปลงสาธิตสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบร้อยละ 22 หรือ 151 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ผลผลิตเฉลี่ย 696 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิต พบว่าแปลงสาธิตมีต้นทุนการผลิตรวมต่ากว่าแปลงเปรียบเทียบร้อยละ 9 หรือคิดเป็นเงิน 451 บาทต่อไร่ และผ ลตอบแทนการผลิตข้าวพบว่าแปลงสาธิตสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบร้อยละ 85 หรือ 1,750 บาทต่อไร่ (รายละเอียดตามภาคผนวก 2)


2

ชุดเครื่องจักรและอุปกรณ์การเพาะกล้าข้าว 1. ชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว ประกอบด้วยเครื่อ งมือต่างๆ ประกอบกันเป็นส ายพาน การผลิต การทางานมีชุดสายพา นลาเลียงเป็นตัวเชื่อมต่อลาเลียงถาดเพาะไปยังเครื่องมือต่างเป็นระบบ กึ่งอัตโนมัติ ซึ่งชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว จะประกอบด้วย 1) ถาดเพาะกล้าข้าว ถาดเพาะกล้าข้าว ทาจาก พลาสติกสีดาอาบ UV เพื่อป้องกันแสงแดดได้ ถาดมีขนาด เท่ากันเป็นมาตรฐาน 30x60x4 เซนติเมตร (กว้างxยาวxสูง) บริเวณก้นถาดเจาะรูเพื่อระบายน้า

2) เครือ่ งป้ อนถาดเพาะ เครือ่ งป้อนถาดเพาะ เป็ นเครือ่ งมือแรกของชุดเครือ่ งมือเพาะทีท่ าการป้อนถาด เพาะ สามารถเตรียมถาดเพาะได้ 20 ถาด โดยเรียงซ้อนกัน ก่อนเริม่ การทางานของเครือ่ งป้อนถาดต้อง หมุนชุดสว่านลาเ ลียงให้อยูใ่ นตาแหน่งสูงสุด แล้วจึงนาถาดแรกวางเข้าเครือ่ ง การทางานของเครือ่ งชุด สว่านลาเลียงทาการป้อนถาดทีอ่ ยูด่ า้ นล่างสุดไปตามสายพานลาเลียงทีละถาด โดยมีสวิชท์เปิดปิดแยก ส่วนออกมา เพื่อสะดวกในการทางานหรือเมือ่ เกิดอาการผิดปกติในระบบสามารถทีจ่ ะหยุดการลาเลียงได้ ชัวคราวโดยระบบทั ่ ง้ หมดไม่หยุดทางาน

3) เครื่องโรยดินรองพื้น เครื่องโรยดินรองพื้น เป็นเครื่องที่การทางานต่อจาก เครื่องป้อนถาด เป็นเครื่องที่ทาการ โรยดินผสมให้ลงถาด โดยมีถังเก็บดินผสมอยู่ด้านบน มีชุดอุปกรณ์โรยดินอยู่ด้านล่างของถังเก็บซึ่งจะเคลื่อนที่ โดยชุดสายพานลาเลียงผ่านช่องโรยที่ละหนึ่งถาด


3

4) ระบบให้น้าสาหรับดินรองพื้น น้าที่ใช้สาหรับอุปกรณ์ส่วนนี้ ประกอบด้วยน้าเปล่า 200 ลิตร ผสมสารเคมี การเกษตร ตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งาน ประกอบด้วยไฮฟิกส์ (Naphthyl Acetic Acid 4.5 % SL) จานวน 300 ซีซี โฟโนมิล (Benomyl 50%)จานวน 300 ซีซี ฟอร์กรีน (น้าหมักชีวภาพ ) จานวน 300 ซีซี ปุ๋ยเกร็ด (25-5-5) จานวน 300 กรัม ก่อนทาการเพาะกล้า ต้องทาการผสม สารเคมีการเกษตร ข้างต้นกับน้าสะอาด ใช้ปั๊มขนาด 0.5 แรงม้า ปั๊มสารละลายผ่านกรองน้าขนาด150 เมช ที่แรงดัน 1.5 บาร์ ผ่านท่อฉีดน้าฉีดพ่นลงบนหน้าดินรองพื้น

5) เครื่องโรยเมล็ดข้าว เป็นอุปกรณ์โรยเมล็ดข้าวที่ผ่านการแช่มาแล้ว 3 วัน โรยเมล็ดข้าวด้วยโรตารีที่ติดอยู่ ด้านล่างของถังเก็บ สามารถปรับตั้งอัตราการโรยของเมล็ดข้าวได้ โดยปรับตั้งที่แปรงขนหน้าตัวโรยเมล็ด และ ปรับตั้งที่ตู้คอนโทรล

6) ระบบให้น้าสาหรับเมล็ดข้าว น้าที่ใช้สาหรับอุปกรณ์ส่วนนี้ ประกอบด้วยน้าเปล่า 200 ลิตร ผสมด้วยโฟโนมิล Benomyl 50% จานวน 300 ซีซี ฟอร์กรีน (น้าหมักชีวภาพ ) จานวน 300 ซีซี ปุ๋ยเกร็ต (25-5-5) จานวน 300 กรัม ก่อนทาการเพาะกล้า ต้องทาการผสม สารเคมีการเกษตร ข้างต้นกับน้าสะอาด ใช้ปั๊มขนาด 0.5 แรงม้า ปั๊มสารละลายผ่านกรองน้าขนาด150 เมช ที่แรงดัน 1.5 บาร์ ผ่านท่อฉีดน้าฉีดพ่นลงบนหน้าดินรองพื้น ซึ่งโรยด้วยเมล็ดพันธุ์ข้าวตามอัตราที่กาหนดแล้ว


4

7) เครื่องโรยดินกลบหน้า เป็นอุปกรณ์เหมือนชุดโรยดินรองพื้น ใช้ดินผสมเช่นเดียวกัน อุปกรณ์การโรยด้วยมอเตอร์ ขับ ชุดสายพานลาเลียงดินผ่านช่องโรย ที่สามารถปรับปริมาณการโรยด้วยสกรูปรับช่องให้กว้างหรือแคบ สังเกต จากการทางานเมื่อโรยดินแล้วอุปกรณ์แปรงปัดสามารถปัดให้ระดับดินเสมอกับขอบของถาด

8) เครื่องรับถาด เป็นอุปกรณ์ชุดสุดท้ายของเครื่องเพาะกล้า ซึ่งรับถาดที่ทาการเพาะครบทุกกระบวนการ ผลิต สามารถรับถาดได้ปริมาณหนึ่ง

2. เครื่องมือและอุปกรณ์สนับสนุน 1) เครื่องบดดิน สาหรับเนื้อดินถ้าจะไม่ให้มีปัญหาเรื่องการขัดข้องการเดินเครื่อ งเพาะกล้าข้าว ส่วนผสม ต้องมีความละเอียด ปราศจากหิน หรือวัชพืชต่างๆ เพราะถ้ามีอาจจะทาให้เกิดการติดขัด ขณะทาการเพาะ กล้าข้าวได้ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องใช้เครื่องบดดินบดดินที่จะทาการผสมดิน เครื่องจะทางานโดยการตักดิน ใส่สายพานลาเลียงเข้าส่วนบนของเครื่องบด ลูกบดทาเ ป็นแผ่นเหล็กหนา เหวี่ยงหนีศูนย์กลางอยู่บนแกน ที่ขับด้วยมอเตอร์ ขนาด 5 แรงม้า ตีย่อยดินพร้อมไหลลงมาสู่ตะแกรงล่อนด้านล่าง ซึ่งสามารถแยก วัตถุที่เป็น หินออกไปช่องหนึ่ง ด้านล่างเครื่อง ส่วนเนื้อดินที่ทาการบดจะถูกลาเลียงโดยสายพานในตัวเครื่องไหลออกจาก เครื่องด้านบนของเครื่อง การทางาน 4 ตันต่อชั่วโมง


5

2) เครื่องผสมวัสดุเพาะ การใช้เครื่องเพาะกล้าข้าว ต้องใช้ดินผสมหรือวัสดุเพาะกล้าข้าว ใช้อัตราส่วน เนื้อดิน : ขี้เถ้าแกลบ : แกลบดิบ ( 5 : 3 : 2 ) โดยปริมาตร เครื่องผสมวัสดุเพาะเป็นอุปกรณ์ที่ผสมส่วนผสม ดินเพาะกล้าข้าว มีช่องที่สามารถนาวัสดุเพาะลาเลียงเข้าไปยังส่วนหัวผสม ซึ่งลาเลียงโดยสายพานไหลเข้า เครื่อง ช่องสามารถปรับตั้งความสูงได้โดยใช้สกรูปรับ สามารถปรับการผสมได้ในอัตราส่วนต่างๆ แต่ก็ต้อง อาศัยแรงงานคนตักส่วนผสมลาเลียงเข้าผสมในเครื่อง สายพานลาเลียงขับด้วยมอเตอร์ขนาด 2.5 แรงม้า 3) สายพานลาเลียง สายพานลาเลียงเป็นอุปกรณ์เสริมชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว ใช้เป็นอุปกรณ์ลาเลียงดิน ผสมเข้าเครื่องโรยดินรองพื้นถาด และเครื่องโรยดินกลบหน้า ต้องอาศัยแรงงานคนตักดินผสมลาเลียงเข้าสู่ เครื่องโดยสายพาน ขับด้วยมอเตอร์ ขนาด 2.5 แรงม้า เป็นอุปกรณ์เสริมการทางานของเครื่องที่จัดว่าค่อนข้าง สาคัญ เพราะถ้าเติมดินผสมได้ไม่ทันกับความสามารถของเครื่องก็อาจทาความเสียหายให้กับการเพาะกล้ า และ ทาให้การทางานล้าช้าใช้งานอย่างน้อยจานวน 2 ชุด

4) ถังแช่เมล็ดพันธุ์ข้าว ถังแช่ในกระบวนการเพาะกล้าข้าว จาเป็นต้องหาให้มีขนาดพอเหมาะกับการแช่พันธุ์ข้าว อาจเป็นพลาสติกไฟเบอร์เพื่อมีน้าหนักเบา ปกติจะต้องเตรียมเพื่อมีความจุอย่างน้อย 600 ลิตร และมีหลายถัง เพาะถ้าทาการเพาะกล้าจานวนมากจะต้องมีจานวนมากให้พอดีกับปริมาณการแช่ เพาะกล้าในหนึ่งครั้งจะต้องแช่ พันธุ์ข้าวถึง 3 วัน

ขั้นตอนการดาเนินงานเพาะกล้าข้าว ลาดับขั้นการเพาะกล้าข้าว มีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้คือ 1) การเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว ควรเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ได้มาตรฐานจากแหล่งที่น่าเชื่อถือได้ อาทิเช่นศูนย์ผลิตข้าว ชุมชน เป็นต้น เพื่อที่จะได้แน่ ใจว่าได้พันธุ์ข้าวพันธุ์แท้ ไม่ไม่พันธุ์ปนซึ่งจะทาให้เกิดปัญหาข้าวดีด ข้าวเด้ง ควร


6

เตรียมพร้อมให้มีจานวนเพียงพอในการใช้กับเครื่องเพาะกล้า ทาการแช่พันธุ์ข้าวเพื่อเตรียมพร้อมกับการใช้เครื่อง เพาะกล้าข้าว ต้องเตรียมการตามขั้นตอน ดังนี้ ก) นาพันธุ์ข้าวมาคัดแยก เมล็ดลีบออก โดยการแช่ในถังน้าสะอาดประมาณ 1-2 ชั่วโมง ทาการตักเมล็ดข้าวที่ลอยน้าทิ้ง เลือกเฉพาะเมล็ดข้าวที่จมน้า ข) ตักเมล็ดข้าวที่จมใส่ถุงตาข่ายเพื่อทาการแช่ ใส่ถุงละประมาณ 10-15 กิโลกรัม ค) แช่น้าผสมด้วยยาฆ่าเชื้อรา ราไฟร์ ปริมาณ 300 กรัมต่อน้า 200 ลิตร ในช่วง เวลา 24 ชั่วโมงแรก ทาการกลับถุงแช่ทุกๆ 12 ชั่วโมง ง) เวลา 48 ชั่วโมง แช่ด้วยน้าเปล่าก่อนแช่ควรล้างทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วย ทาการกลับถุงแช่ทุกๆ 6 ชั่วโมง อย่าให้ถุงแช่เกิดเปื้อนดินหากเปื้อนให้ทาความสะอาดก่อนการแช่เพราะอาจจะ เกิดการติดเชื้อ หรืออาจทาให้เมล็ดข้าวเน่า จ) ยกถุงแช่มาผึ่งลม ก่อนทาการเพาะด้วยเครื่องประมาณ 12 ชั่วโมง โดยยกออกจาก ถังแช่ และวางไว้บนพื้นซิเมนต์เพราะว่าอาจทาให้ติดเชื้อจากดิน

ฉ) ทาการเปิดปากถุงเพื่อรอการเทลงชุดโรยกล้าข้าว ข้อสังเกตอย่าให้อุณหภูมิของเมล็ด พัน ธุ์ข้าวสูง อาจต้องใช้วิธีวางกระจายถุงแช่ออกเพื่อมีอากาศระบายโดยรอบถุง เมล็ดพันธุ์ข้าวไม่แห้งสนิท และไม่เปียกจนเกินไป มีรากงอกออกมาประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ในการเพาะกล้าข้าวจะต้องทาการทดสอบอัตรา การโรยก่อนทุกครั้ง เพื่อให้มีการกระจายของเมล็ดพันธุ์ และตามความเหม าะสมของพันธุ์ข้าว (อัตราเฉลี่ยข้าว 220 กรัมต่อถาด)

2) การเตรียมวัสดุเพาะ


7

การจัดการเตรียมวัสดุเพาะกล้าข้าว จะต้องคานึงถึงปริมาณที่ต้องเตรียมสัมพันธ์กับปริมาณ ของเมล็ดพันธุ์ข้าว กล่าวคือปริมาณวัสดุเพาะ : ถาด เท่ากับ 2.5 : 1 (กิโลกรัม : ถาด) หรือคิดเทียบได้ว่า วัสดุเพาะ 1 ตัน สามารถเพาะกล้าได้ 400 ถาด ดังนั้นการจัดเตรียมวัสดุเพาะสาหรับเมล็ดพันธุ์ข้าว 500 กิโลกรัม ต้องทาการ เตรียมวัสดุเพาะ 5 ตัน เมื่อทาการวางแผนการดาเนินงานเพาะกล้าและเครื่องดานา จะได้แผนการจัดหาวัสดุเพาะ กล้าข้าว เพื่อการดาเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพคล่องตัวไม่มีการติดขัด ต้องเตรียมจัดหาวัสดุมาเพื่อทาการ ผสมวัสดุเพาะกล้าให้ได้ปริมาณตามความต้องการใช้กับเครื่องเพาะกล้า แต่อย่างไรก็ตามต้องจัดหาวัสดุเผื่อไว้อีก 10 เปอร์เซนต์ อัตราส่วนดินผสมหรือวัสดุเพาะกล้าข้าว ใช้อัตราส่วน เนื้ อดิน : ขี้เถ้าแกลบ : แกลบดิบ ( 5 : 3 : 2 ) ข้อสังเกตห้ามใช้ขี้เถ้าแกลบจากโรงงานที่ผ่านเตาเผาความร้อนสูง เพราะจะทาให้ขี้เถ้าแกลบไหม้ เกินไป จึงทาให้เกิดกรดสูง มีผลทาให้ต้นข้าวไม่เจริญงอกงามดีเท่าใช้ขี้เถ้าแกลบจากโรงงานเตาเผาจากโรงสีทั่วไป หรือถ้าจะให้ดียิ่งขึ้นต้องเป็นขี้เถ้าแกลบค้างปีจะดีที่สุด

3) การใช้เครื่องเพาะกล้าข้าว เมื่อเตรียมวัสดุต่างๆพร้อมแล้ว ก็ทาการตรวจสอบเครื่องเพาะกล้าข้าวโดยเสียบปลั๊ก ก่อนเดินเครื่องตรวจสอบว่าระบบจ่ายไฟฟ้าปกติหรือไม่ สังเกตจากหน้าปัทม์ตู้คอนโทรลมี หลอดไฟสีแดงสว่าง หรือไม่ ปรับแต่งเครื่องมือเพาะกล้าข้าวที ละเครื่อง ตั้งแต่เครื่องป้อนถาด ระบบน้าสาหรับดินรองพื้น ระบบน้า สาหรับเมล็ดพันธุ์ ต้องเตรียมน้าและผสม สารเคมีการเกษตร ตามหลักที่กล่าวไปแล้วข้างต้น เตรียมเมล็ดพันธุ์ ที่ทาการแช่แล้วใส่ถังพักชุดโรยเมล็ดพันธุ์ข้าว ชุดโรยดิ นรองพื้นถาดและชุดโรยดินกลบหน้า ชุดสายพานลาเลียง โดยการตักดินผสมเข้าถังพัก เช็คระบบสายพานลาเลียงถาดในระบบ ตรวจสอบลูกปืนหรือส่วนเคลื่อนไหวทุกจุด หล่อลื่นด้วยน้ามันเครื่อง ก่อนทาการใช้งานของเครื่องจาเป็นต้องปรับตั้งชุดโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยการเดินถาดเปล่า จานว น 3-5 ถาด ผ่านชุดโรยเมล็ดพันธุ์ข้าว สุ่มตัวอย่างจากถาดที่สองและสามมาทาการชั่งน้าหนัก ให้ได้ น้าหนัก 220 กรัม เป็นค่าแนะนาจากผู้ผลิตเครื่องเฉลี่ยน้าหนักข้าวต่อถาด ในอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ 12.5 กิโลกรัมต่อไร่ ทาการกดสวิชท์อัตโนมัติของชุดระบบการให้น้าดินร องพื้น และระบบน้าเมล็ดพันธุ์ข้าว ให้สามารถทางานได้เลยเมื่อเดินเครื่องเพาะกล้าข้าว รวมทั้งสวิชท์อัตโนมัติของชุดโรยดินรองพื้นและโรยดินกลบ หน้าให้สามารถเริ่มทางานได้เลยเช่นกัน


8

ก่อนเริ่มเดินเครื่องเพาะกล้าข้าว ต้องจัดคนให้อยู่ตามจุดต่างๆ เพื่อคอยเ ติมวัสดุต่างๆ เข้ากับชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว เพื่อให้การทางานไม่ติดขัด ดังนี้ ก) เติมถาดเพาะกล้าให้อยู่บนเครื่องประมาณ 10-20 ถาด ใช้คน 1 คน ข) เติมดินผสมหรือวัสดุเพาะกล้าข้าวให้มีระดับพอเหมาะกับการโรยดินรองพื้น ถาด และคอยสังเกตความสม่าเสมอในการโรยในถาดเพาะรวมทั้งการทางานของชุดแปรงปัด ใช้คน1 คน ค) เติมเมล็ดพันธุ์ข้าวชุดโรยเมล็ดพันธุ์ข้าว และสังเกตการโรยในถาดว่าโรยได้กระจาย ทั่วทั้งถาดหรือไม่ หรือว่ามีก้อนหินหรือสิ่งแปลกปลอม อยู่ในดินรองพื้นหรือไม่เพราะถ้ามีจะมีผลทาให้หัวจับ เครื่องดานาอาจเสียหาย หรือแตกหักได้ ใช้คน 1 คน ง) เติมดินผสมหรือวัสดุเพาะกล้าข้าวให้มีระดับพอเหมาะกับการโรยดินปิดหน้าถาด และคอยสังเกตความสม่าเสมอในการโรยในถาดเพาะไม่ให้ล้นหรือมากเกินไป ใช้คน 1 คน จ) เติมน้าและผสมสารเคมีการเกษตรให้ได้ตามที่กาหนด ฉ) ส่วนลาเลียงถาดออกจากเครื่ องรับถาด เพื่อนาไปเลียงเพื่อบ่มก่อนอย่างน้อย 1 วัน ใช้คน 3 คน สาหรับในการทาการเพาะกล้าข้าวเมื่อเราเตรียมวัสดุทุกอย่างพร้อมแล้ว จะใช้คนในการ ทางานทั้งหมดอย่างน้อย 7 คน ตามจุดต่างๆที่กล่าวแล้วข้างต้น เมื่อทาการเพาะกล้าเสร็จสิ้นในแต่ละวัน ต้องดูแลทาควา มสะอาดชุดเครื่องมือ ทุกครั้งเพราะถ้ามีเมล็ดข้าวอยู่ในส่วนต่างๆ อาจมีทั้งนกและหนูเข้ามาอาจทาความเสียหายให้กับเครื่องมือได้ และวัสดุเพาะบางส่วนอาจกระเด็นออกมาบริเวณรอบๆ ต้องทาความสะอาดเพราะอาจทาให้เกิดสนิม หรืออาจ มีผลทาให้เกิดความเสียหายจากชิ้นส่วนของเครื่อง และทาความสะอาดเครื่องใหญ่เดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้ปั๊มลม และเครื่องเป่าลมทาความสะอาดละอองฝุ่น และทาการเช็ดทาความสะอาดเครื่อง

4) การเตรียมพื้นที่อนุบาลกล้าข้าว


9

ต้นกล้าที่ใช้กับเครื่องดานาส่วนใหญ่จะใช้เพาะในถาดเพาะ ที่มีขนาด กว้าง x ยาว x สูง (30 x 60 x 4 เซนติเมตร) จะเป็นถาดที่มาตรฐานสามารถใช้ได้กับเครื่องดานาทุกประเภท เมื่อหลังเพาะกล้าทา การบ่ม 1 วันแล้ว ต้องทาการขนย้ายออกไปอนุบาลภายนอก ถ้ามากกว่าอาจทาให้เกิดความเสียหาย โดยกล้า ข้าวงอกมากเกินไป จะงอเมื่อนาไปอนุบาลจะทาให้ปักดายากขึ้น การเตรียมพื้นที่ จาเป็นต้องเตรียมเพื่ออนุบาล กล้าข้าว พร้อมทั้งต้องมีความชื้นโดยระบบการให้น้าที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นกล้า อายุกล้าจะอยู่ที่ประมาณ 15-20 วัน ความยาวกล้าที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 12-20 เซนติเมตร ต้องจัดเตรียมพื้นที่มากเพียงพอในการจัดเรียง ในการเตรียมพื้นทีจ่ ัดทาเป็นแปลงยกร่อง ความกว้างของแปลง 5 เมตร ยาว 50 เมตร ร่องกว้าง 50 เซนติเมตร จะมีพื้นที่วางถาดเฉลี่ยแปลงละ 1,200 ถาด จัดเตรียมไว้สาหรับ อนุบาลกล้าข้าว 12 แปลง จะสามารถจัดเรียงได้ทั้งสิ้น14,400 ถาด ในแต่ละแปลงก็จัดเตรียมป้ายแปลงที่สามารถ บอกรายละเอียดของกล้าข้าว อาทิเช่น พันธุ์ วันเพาะกล้า กาหนดวันปลูก ปริมาณการเพาะกล้า เพื่อจะได้จัดการ จ่ายกล้าให้ได้ตามลาดับของการเพาะกล้าข้าว

5) การให้น้าถาดเพาะกล้าข้าว ข้าวเป็นพืชที่มีความต้องการความชื้นค่อนข้างมาก พื้นที่ ดาเนินงาน อนุบาลกล้าข้าว เป็นแปลงปลูก พืชไร่ ทาการปรับพื้นที่และยกแปลงแล้ว จึงออกแบบและติดตั้งระบบการให้น้าแบบมินิสปริง เกลอร์ โดยอัตราการใช้น้าอยู่ที่ 5-10 มิลลิเมตรต่อวัน อัตราการให้น้าของหัวมินิสปริงเกลอร์ 70 ลิตรต่อชั่วโมง แต่ละท่อย่อยมีหัวจ่ายน้า 15 หัว แต่ละหัวติดห่างกัน 3 เมตร ทาการให้น้า 2 ครั้งต่อวัน ครั้งละ 40 นาที การเจริญเติบโตของต้นกล้ามีความสม่าเสมอตลอดทั้งแปลง ความสูงเฉลี่ยของต้นกล้า อายุ 15 วัน ประมาณ 12-20 เซนติเมตร สามารถใช้กับเครื่องดานาได้ การออกแบบระบบน้าต้องคานึงถึงความ สม่าเสมอในการกระจายตัวของเม็ดน้าให้ทั่วถึงตลอดทั้งแปลง เพื่อไม่ให้เกิดการชงักการเจริญเติบโตของต้นกล้า การให้น้าโดยการวางถาดในพื้นนาที่มีการสูบน้าเข้าขังไว้ 20-30 นาที จึงระบายน้าออก ก็มีการเจริญเติบโตสม่าเสมอเหมือนกัน แต่ใช้ปริมาณน้ามากกว่า


10

การเพาะเลี้ยงอนุบาลกล้าข้าว 1) การบ่มถาดเพาะ เมื่อทาการเพาะกล้าข้าวด้วยเครื่องแล้วจะต้องทาการเลียงเป็นชั้นๆ เพื่อทาการบ่มถาด เพาะ เพื่ออบให้ความชื้นกระจายไปทั่วๆ วัสดุเพาะ และช่วยให้เมล็ดข้าวงอกได้อย่างสม่าเสมอทั่วทั้งถาด ทา การทดลองการบ่ม 1 วัน และ 2 วัน ผลปรากฏว่าบ่ม 1 วัน จะดีที่สุดถ้าบ่ม 2 วันต้น กล้าจะยาวชนก้นถาด ด้านบน ทาให้ต้นกล้าที่งอกมาคดงอ เมื่อนาไปอนุบาลในแปลงจะมีเปอร์เซนต์การตายค่อนข้างมาก เวลาที่ เหมาะสมที่สุดคือ 1 วัน ที่อุณหภูมิห้องปกติ ขัอสังเกตการวางชั้นบ่มต้องมีช่องว่างระหว่างชั้นประมาณ 10-20 เซนติเมตรโดยรอบ เพื่อเป็นการระบายความร้อนแ ละความชื้นออกจากชั้นถาดเพาะ ถ้าวางชิดกันจะเกิดความร้อนสะสมภายใน ถาดมาก จะทาให้ข้าวงอกเร็วกว่าปกติ จะทาให้ต้นข้าวคดงอไม่แข็งแรง เมื่อเจ อแดดในแปลงอนุบาลก็จะมี อัตราการตายสูง

เมื่อขนย้ายถาดเพาะออกไปวางในแปลงปลูก ต้องคลุมด้วยซาแลน 60 เปอร์เซนต์ เป็น เวลา 3 วัน เพื่อป้องกันฝนชะ ป้องกันการทาลายจากศัตรูธรรมชาติต่างๆ และเพื่อเป็นการลดผลกระทบจาก แสงแดด และให้น้าเหมือนปกติ หลังจากเอาซาแลนออกแล้วก็อนุบาลต่อจนถึง อายุกล้า 15 วัน


11

2) การเตรียมพื้นที่วางถาดเพาะ ในการเพาะกล้าข้าวและอนุบาลกล้าข้าว ต้อ งใช้พื้นที่ มากในการ วางถาดเพื่ออนุบาล กล้าข้าว และต้องอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้า เพราะต้องการใช้น้าปริมาณมาก ต้องมีการเตรียมพื้นที่วางถาดให้มี ความเหมาะสม โดยปรับระดับพื้นดินให้ใกล้เคียงที่สุด ใช้ขี้เถ้าแกลบโรยพื้นเพื่อปรับสภาพดินและช่วยปรับ ระดับได้ส่วนหนึ่ง เป็นการเตรียมพื้นที่ในครั้งแรกของการวางถาดเพาะกล้า หรือถ้ามีการวางซ้าที่เดิมต้องมีการ เว้นช่วงเวลาเพื่อตากดินฆ่าเชื้อโรคบางตัวก่อนการวางถาด หรือถ้าไม่มีเวลาให้ใช้ สารเคมีการเกษตร ฆ่าเชื้อก่อน ทาการวางถาดเพาะชุดใหม่ การอนุบาลกล้าข้าวโดยใช้ชั้นเพาะเลี้ยง สามารถเพาะ ได้ชั้นละ 28 ถาด จัดวางใน สถานที่ที่มีแสงแดดและอากาศถ่ายเทได้อย่างสะดวก และสามารถให้น้าแบบท่วมผืน โดยมีกะบะพลาสติกวาง ถาดเพาะกล้าแล้วให้น้าแบบขังท่วมผืน วันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็นเวลาประมาณ 30-40 นาที จึงระบายน้าออก การอนุบาลกล้าด้วยวิธีนี้จะสามารถลดพื้นที่เพาะกล้าลงได้ถึง 7 เท่า

3) การจัดวางถาดเพาะ การจัดวางถาดเพาะกล้าข้าว จะต้องวางแผนการจัดวางให้เป็นลาดับและการเพาะกล้า ก่อนหลัง เพราะถ้าไม่มีการจัดการที่ดีก็จะทาให้การใช้งานพื้นที่ได้อย่างไม่เต็มประสิทธิภาพ

4) การดูแลรักษาแปลงอนุบาลกล้าข้าว ทาการตรวจสภาพความผิดปกติของถาดเพาะว่ามีโรคหรือแมลงเข้าทาลายแปลง อนุบาลกล้าหรือไม่ ทาการสารวจทุกๆวันช่วงเวลาการให้น้าตอนเช้า ถ้ามีสิ่งผิดปกติจะได้ทาการแก้ไขได้ทันต่อ


12

เหตุการณ์ และบริเวณโดยรอบแปลง ทาการกาจัดวัชพืชไม่ให้ขึ้นปกคลุมแปลงอนุบาลกล้า เพราะอาจจะ มี เมล็ดหญ้าปนไปกับกล้าข้าวได้ กระบวนการเพาะกล้าโดยรวมจะอยู่ในช่วง 15-20 วัน นับจากวันเริ่มแช่ข้าวจนถึงวันที่ นากล้าไปปักดา เป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุดในการนาไปปลูกโดยใช้เครื่องปักดา หรือมีความสูงระหว่าง 12-20 เซนติเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์และสภาพอากาศใ นช่วงที่ทาการเพาะกล้าข้าว แต่ถ้ามีอายุนานกว่าและความ ยาวมากกว่าก็จะมีผลทาให้การทางานของเครื่องปักดาลดน้อยลง 5) การขนย้ายสู่แปลงเกษตรกร กล้าข้าวเมื่ออนุบาลกล้าครบ 15 วัน ความยาวกล้าที่เหมาะสม กับการใช้สาหรับ เครื่องดานา อยู่ระหว่าง 12-20 เซนติเมตร ก็เริ่ม ดาเนินงานใช้ปลูกโดยเครื่องปักดา การขนย้ายต้นกล้า โดยทา การม้วนกล้าให้เป็นม้วน ดาเนินงานขนส่งไปยังแปลงเกษตรกร ข้อระวังการม้วนกล้าควรไม่เกิน 2 วันก่อนทา การปักดา

ข้อสังเกตของขั้นตอนการเพาะกล้าข้าว 1. ด้านการใช้งานชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว เทคนิคการใช้งานชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว ควรคานึงถึงสิ่งต่างๆดังนี้ ก) ความชื้นของวัสดุเพาะ โดยการกาวัส ดุเพาะน้าหนักพอประมาณคลายมือออก สังเกต การจับตัวของวัสดุเพาะไม่แตกออกจากกัน หรือมีความชื้นพอสมควรถ้าดินมีความชื้นมากก็อาจจะทาให้ อัดติดกับสายพานลาเลียงทาให้ต้องแก้ไขเสียเวลาการทางาน ข) อัตราการโรยวัสดุเพาะลงถาดเพาะ โดยการปรับช่องโรยลงถาดให้มีปริมาณ ที่พอเหมาะกับการใช้งาน กล่าวคือดินรองพื้นควรมีความสูงจากพื้นถาด 2/3 ส่วนของความสูง และชุดดินปิด หน้าต้องมีระดับพอดีกับขอบถาด ค) ความชื้นของข้าว ไม่มากหรือแห้งจนเกินไป สังเกตจากเมื่อกาข้าวแล้วคว่ามือลง ข้าวไม่ติดที่มือหากมีติดที่มือแสดงว่ามีความชื้นค่อนข้างสูง หรือสังเกตจากขอบถังพักเครื่องโรยจะไม่มีเมล็ดข้าว ติดอยู่ ถ้ามีความชื้นพอดีการลื่นไหลของข้าวในการโรยก็จะสม่าเสมอไม่ทาให้ติดลูกกลิ้งโรยเมล็ดและไม่ทาให้ เมล็ดข้าวแตกหักเสียหาย เนื่องจากการอัดตัวกันกับลูกกลิ้ง ง) อัตราการโรยเมล็ดข้าว ปกติจะตั้งอยู่ที่ 220 กรัมต่อถาด จะได้อัตราการปลูกอยู่ ที่ 12.5 กิโลกรัมต่อไร่ สามารถปรับตั้งได้โดยการปล่อยให้ถาดเพาะไหลเข้าสู่กระบวนการเพาะก่อนชุดเครื่อง


13

โรยเมล็ดพันธุ์ข้าว จานวน 3-5 ถาด นาเอาถาดตรงกลางมาชั่ง และสามารถปรับอัตราการโรยที่ตู้คอนโทรล แล้วทาการปรับตั้งอีกครั้งจนได้อัตราการโรยที่ต้องการ จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของพันธุ์ข้าว จ) การใช้งานถาดเพาะกล้า ในการใช้งานครั้งแรกไม่ต้องจัดการอะไรมากนัก แต่เมื่อใช้งานรอบที่สองต้องทาความสะอ าดถาดไม่ให้มีวัสดุเพาะติดค้างอยู่ และต้องทาการตากแดดจัดๆ 2-3 วัน เพื่อทาการฆ่าเชื้อเบื้องต้นที่อาจติดมากับถาดเพาะกล้าได้ หรือเมื่อมีความจาเป็นต้องใช้ติดต่อกัน อาจต้องล้างด้วยน้าผสมน้ายาฆ่าเชื้อรา ก่อนทาการเพาะทุกครั้ง ฉ) การใช้ เครื่องรับถาดควรจะมีจานวน ที่เหมาะสมไม่เกิน 8-10 ถาด เพราะจะทา ให้ยกออกจากเครื่องสะดวกและไม่หนักมาก ช) การเตรียมวัสดุเพาะกล้า ต้องเตรียมให้เพียงพอกับการเพาะกล้าข้าวแต่ละครั้ง อัตราการใช้วัสดุเพาะ 2.50 กิโลกรัมต่อถาด หรือน้าหนัก 1 ตันต่อ 400 ถาด ซ) การเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว ต้องทาการแช่ให้ได้ตามกาหนด และเตรียมให้เพียงพอ กับการใช้เครื่องเพาะแต่ละครั้ง อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว 220 กรัมต่อถาด 2. ด้านวิธีการเพาะเลี้ยงและอนุบาลกล้าข้าว วิธีการเพาะเลี้ยงและอนุบาลกล้าข้าว ควรคานึงถึงสิ่งต่างๆดังนี้ ก) การเตรียมพื้นที่อนุบาลกล้า ขนา ดของถาดเพาะ กว้าง x ยาว x สูง (30 x 60 x 4 เซนติเมตร ) ต้องทาการเตรียมพื้นที่ให้เหมาะสมก่อนการเพาะถ้าไม่มีพื้นที่เพียงพออาจทาความให้ ประสิทธิภาพการเพาะกล้าลดน้อยลง รวมทั้งเตรียมระบบการให้น้าที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการอนุบาลกล้า ข้าว ข) การขนย้ายกล้าข้าว ไม่ควรม้วนเกิน 3 วัน มิเช่นนั้นกล้าข้าวจะเหลือง หรือถ้ามี ความจาเป็นยังไม่ใช้กล้าต้องคลี่ภายในแปลง หรือหาสถานที่ที่เหมาะสม การขนย้ายไม่ควรกองกล้าให้มีความ สูงมากๆ เกินกว่า 6 ชั้น เพราะจะทาให้ม้วนที่อยู่ด้านล่างแบน เสียรูปทรงของแผ่นกล้าข้าว ทาให้การใช้กับ เครื่องดานาเกิดปัญหาติดขัด การขนย้ายระยะทางไกลๆ ให้ใช้ถาดเพาะกล้ารองพื้นไว้ชั้นหนึ่งก่อนเพื่อไม่ให้ม้วน กล้าไหลลื่นถ้าจะให้ได้ผลดีที่สุดต้องใช้ระยะเวลาการขนย้ายจากแปลงเพาะกล้าไปแปลงปลูกใช้ระยะเวลาสั้น ที่สุด ค) การจัดวางถาดเพาะต้องคานึงถึงหลายๆด้าน ดังนี้ 1) จัดวางให้ถาดมีระดับแนวระนาบเท่าๆกัน 2) มีการจัดวางให้มีช่องเดินเพื่อสามารถตรวจสอบความเรียบร้อยได้ทั่วถึง ตลอดทุกถาดทั่วทั้งแปลง 3) จัดวางให้อยู่บนสันร่องเพื่อให้เกิดความเรียบร้อย และได้รับน้าจากระบบน้า ได้อย่างทั่วถึง 4) จัดวางให้ความยาวตั้งฉากกับแนวแสงแดดเพื่อจะได้รับแสงได้อย่างทั่วถึง 5) สาหรับในการเพาะบนชั้นวาง ต้องมีการกลับซ้ายขวาถาดเพาะเพื่อให้ ต้นกล้าได้รับแสงเท่าๆกัน จากวิธีการเพาะกล้าข้าวที่ได้กล่าวมาข้างต้น เป็นวิธีการที่ปฏิบัติแล้วทาให้การเพาะกล้า ข้าวได้กล้าข้าวที่มีคุณภาพ ปริมาณ และเหมา ะสมกับการใช้งานกับเครื่องดานา ส่งผลทาให้ประสิทธิภาพ การทางานเครื่องดานาสูงขึ้น


14

เอกสารอ้างอิง


15

กลุ่มงานวิศวกรรมการจัดการที่ดิน กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. 2553. รายงานการศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว . บริษทั กู่หลินโฟโมซ่า เทคโนโลยี จากัด. 2552. คู่มือการใช้งานชุดเครื่องมือเพาะกล้าข้าว. ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ 6 จังหวัดสุพรรณบุรี กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. 2552. สรุปผลการดาเนินงานจัดทาแปลงสาธิตนาร่องพัฒนาการเขตกรรมข้าว โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน.


16

ภาคผนวก


ภาคผนวก 1 สรุปผลการดาเนินงานจัดทาแปลงสาธิตนาร่องการพัฒนาการเขตกรรมข้าว โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน กิจกรรมนาร่องพัฒนาศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี

สรุปผลการดาเนินการจัดทาแปลงสาธิตนาร่องการพัฒนาการเขตกรรมข้าว


โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรเฉพาะด้าน กิจกรรมนาร่องพัฒนาศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552 กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร (เดิม) ได้ดาเนินการโครงการนาร่องสาธิตและบริการการ พัฒนาการเขตกรรมข้าว โดยมีการส่งเสริม สาธิต และถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีการพัฒนาการเขตกรรม เพื่อยกระดับการผลิตข้าว เน้นหนักในพื้นที่การเกษตรเขตชลประทาน สามารถสรุปผลการดาเนินการได้ดังนี้ 1. จัดทาแปลงสาธิตนาร่องการพัฒนาการเขตกรรมข้าว เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการใช้ เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตรในการลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิ ตข้าว พื้นที่เป้าหมาย 1,500 ไร่ มีกิจกรรมที่ดาเนินการดังนี้ 1.1 การจัดทาแปลงสาธิตและบริการนาร่องการพัฒนาการเขตกรรมข้าว เริ่มดาเนินการติดต่อประสานงาน วางแผนการดาเนินงาน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2552 และ เมื่อได้รับเครื่องจักรกลชุดนาร่องพัฒนาการเขตกรรมข้าว จึงเริ่มดาเนินการจัดทาแปลงสาธิต การเตรียมดิน และปักดาข้าว ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงกันยายน 2552 การดาเนินการแล้วเสร็จจานวน 1,529.25 ไร่ เกษตรกร เข้าร่วมโครงการ 124 ราย โดยมีพื้นที่ดาเนินการ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ตาบลนางบวช ตาบลวังลึก ตาบลสวนแตง ตาบลกระจัน ตาบลยุ้งทะลาย ตาบลพลับพลาไชย ตาบลดอนเจดีย์ ตาบลหนองโพธิ์ ตาบลบ้านกร่าง

อาเภอเดิมบางนางบวช อาเภอสามชุก อาเภอเมือง อาเภออู่ทอง อาเภออู่ทอง อาเภออู่ทอง อาเภอดอนเจดีย์ อาเภอหนองหญ้าไซ อาเภอศรีประจันต์

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

223.5 386 250.75 34 8 68 264 99 196

ไร่ ไร่ ไร่ ไร่ ไร่ ไร่ ไร่ ไร่ ไร่

เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร

19 29 26 3 1 5 19 7 15

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย

รวมทั้งสิ้น 1,529.25 ไร่ เกษตรกร 124 ราย ทั้งนี้รายชื่อเกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรมจัดทาแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้เอกสารแนบท้ าว ดัง าย

ขั้นตอนการดาเนินการจัดทาแปลงสาธิตดังนี้คือ 1.) ขั้นตอนการเตรียมดิน โดยใช้ไถกลบตอซังเพลาหมุนด้วยพีทีโอ ในการเตรียมดินขั้นแรก


2.) ย่อยดินโดยใช้จอบหมุนตีเทือก เตรียมดินขั้นที่สอง

3.) ขั้นตอนการเพาะกล้าและอนุบาลกล้าเพื่อใช้สาหรับปักดาด้วยเครื่องดานา


4.) ทาการปักดาปลูกข้าวด้วยเครื่องดานา


2. จัดงานวันสาธิตและถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยีการพัฒนาการเขตกรรมข้าว ดาเนินการจัดงานวันสาธิตและถ่ายท อดความรู้ด้านเทคโนโลยีการพัฒนาการเขตกรรมข้าว ณ บ้าน ทองเสือข่วน ตาบลดอนโพธิ์ทอง อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2552 มีผู้ร่วมงาน และเกษตรกรเข้าร่วมงานวันสาธิตรวม 1,000 ราย


ทั้งนี้ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องดังนี้ สถานีที่ 1. เทคนิคการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรในการไถกลบตอซังฟางข้าว โดย ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ 6 จังหวัดสุพรรณบุรี

สถานีที่ 2. การผลิตเมล็ดข้าวพันธุ์ดี โดย ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี

สถานีที่ 3. การบริหารศัตรูพืชในนาข้าว โดย ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสุพรรณบุรี

สถานีที่ 4. เทคนิคการใช้เครื่องจักรกลในการเพาะกล้าและปักดาข้าว โดย ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ 6 จังหวัดสุพรรณบุรี และบริษัทผู้ผลิต

สถานีที่ 5. การผลิตน้าหมักชีวภาพเพื่อการย่อยสลายตอซังฟางข้าว โดย สานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดสุพรรณบุรี


เอกสารแนบท้าย รายชื่อเกษตรกรเข้าร่วมโครงการแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าว ปีงบประมาณ 2552 ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29

ตาบล

พื้นที่ อาเภอ

นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช นางบวช

เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช เดิมบางนางบวช

วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก

สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก

จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี

รายชื่อเกษตรกร

นางสาวอารมณ์ ด้วงนิยม นางอารี โพธิ์อ่า นางสาวรุ่งรัตน์ พูลสวัสดิ์ นางจาเริญ อินโต นางมะลิ ด้วงนิยม นางพรทิพย์ สดคมขา นายเพชรา เฉลิมจิตร นายโฉม เฉลิมจิตร นางสุรินทร์ พูลสวัสดิ์ นางพยับ เขาแก้ว นายโสน ล้อมลาย นางสาคร สดคมขา นายบัว สว่างศรี นางสายหยุด วังทอง นางเพื่องฟ้า โสขุมา นางจินดา สังขะมณี นายวีระ แสงนิล นางกมลพรรณ ไกลทอง นายจอน ช่อมะม่วง รวมพื้นที่ทั้งสิ้น นางเม้น เทพสถิตย์ นายอานวย มาประเสริฐ นางจันทร์ เทพสถิตย์ นายอุบล เทพสถิตย์ นายซ้อน ขาวพันธุ์ นางบุญทรง เทพสถิตย์ นายบุญช่วย ศรีวิเชียร นายเสม เกิดสมบูรณ์ นางอาจ สอนพรม นายเพิ่ม ช่วยชูเชิด

พื้นที่ดาเนินการ (ไร่)

4.5 30 14 6.5 10.5 8 9 10 10 30 16 5 18 5 15 5 15 7 5 223.5

6 10 10 16 30 11 9 23 18 20


ลาดับ 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58

ตาบล

พื้นที่ อาเภอ

วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก วังลึก

สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก สามชุก

สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง

เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง

จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี

รายชื่อเกษตรกร

นายสงัด เกิดสมบุญ นายประสาน เกิดสมบุญ นายนที สายทองเย็น นางประภัสสร ปล้องพฤกษา นางยิ่ง เกิดความสุข นางวรรณี แป่มจานัก นายสมมิตร ศรีวิเชียร นางนุชศรา ทัพแสงศรี นายประทุม แสงอินทร์ นายณธายุ อยู่สุข นายสีณวน เกิดสมบุญ นายสมนึก เข็มเพชร นายบรรจง บริสุทธิ์ นายเรียม ทองเจริญ นายธนโชติ อินทร นส.วิชุณี สีทับทิม นางนัดดา มังคลา นายวีรพงศ์ เกิดวงศ์ นายใส รอดเมือง รวมพื้นที่ทั้งสิ้น นายสิงห์ โตทอง นายสมชาย พงษ์สุทัศน์ นายบุญส่ง ดวงแก้ว นางอาจ วศินธรวิสุทธิ์ นางหลงมา ตามสมัย นายวิเชียร วงศ์ทองดี นายประเสริฐ เอี่ยมสาอางค์ นางเหลี่ยม ชีพนุรัตน์ นายเล็ก ดวงแก้ว นายสวัสดิ์ ชีพนุรัตน์

พื้นที่ดาเนินการ (ไร่)

22 8 10 14 10 12 10 10 15 13 10 8 35 10 6 9 5 10 16 386

11 6.75 15 3 2 4 22 10.5 4 12


ลาดับ 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88

ตาบล

พื้นที่ อาเภอ

สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง สวนแตง

เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง เมือง

กระจัน กระจัน กระจัน ยุ้งทะลาย พลับพลาไชย พลับพลาไชย พลับพลาไชย พลับพลาไชย พลับพลาไชย ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์

อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง อู่ทอง ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์

จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี

รายชื่อเกษตรกร

นายจินดา อดทน นายบรรจง พันธ์ตัน นายพิชิต เกียรติสมพร น.ส. ประมวล พงษ์สุทัศน์ นายไสว แตงวงศ์ นายวิโรจน์ เปียปาน นายอุดร รูปโฉม นายสุคิด จันทร์พูน นายจานงค์ พลับวังกล่า นายรังสรรค์ มักเฮง น.ส.คูณ ชีพนุรัตน์ นายสังวาลย์ ชีพนุรัตน์ นายมนตรี อาภารัตน์ นางวิเชียร ชีพนุรัตน์ นายสุรเทพ อุมาบล นายชูเกียรติ สุพรรณแดง รวมพื้นที่ทั้งสิ้น นางจาลอง มากระจันทร์ นายสุนทร ทองกาญจน์ นายกาธร มากระจันทร์ นายประสงค์ หลวงสนาม นางประสิทธิ์ ศรศรีสม นายสมยศ หลวงสนาม นายประสิทธิ์ พุทธจรรยา นายแสน อินทะปัด นายฉลวย เฉยล้อมขา รวมพื้นที่ทั้งสิ้น นายนิคม ปิ่นทะกุล นายง้วน แช่มช้อย นางจีบ จันทรัตน์ นางเป้า โสมโสดา นายชม คล้ายทอง

พื้นที่ดาเนินการ (ไร่)

14 17 9.5 10 8 10 11 20 5 5 5 13 4 6 4 19 250.75

17 8 9 8 8 25 5 22 8 110

25 12 16 10 8


ลาดับ 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 ลาดับ

ตาบล

พื้นที่ อาเภอ

ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์

ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์ ดอนเจดีย์

หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง

หนองหญ้าไซ หนองหญ้าไซ หนองหญ้าไซ หนองหญ้าไซ หนองหญ้าไซ หนองหญ้าไซ หนองหญ้าไซ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ พื้นที่

จังหวัด สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี

รายชื่อเกษตรกร

นายชัยวิวัฒน์ ฉ่าอุ่ม นายสานวน เทียนเทศ นายสุพัฒ ทองโสภา นายดวง ศรีคา นางเฉลียว มีชนะ นส.สาคร เทียนเทศ นายกาพล ทองโสภา นางสายฝน นาตนารี นายสนิท ภูฆัง นายอนันต์ ศรีคา นายบันดิษฐ์ ชินวงศ์จันทร์ นางบุญธรรม กุลเถื่อน นายสุพจน์ ทองโสภา นางแสวง เกิดวัน รวมพื้นที่ทั้งสิ้น นายทรงวิทย์ ภูฆัง นายพนม ระโหฐาน นายสมควร ภูฆัง นายจักรกฤษ ภูฆัง นายสมุด คู่สุวรรณ นายณฤทธิ์ ภูฆัง นายประชุม ภูฆัง รวมพื้นที่ทั้งสิ้น นส.บันลัง เกษแก้ว นางบุญชู บุญโต นางบุญธรรม ขาวโต นายวรานนท์ ชาวบ้านกร่าง นายวิชัย เพียรกิจ นางเพ็ญศรี มนีอินทร์ นส.สีรีลักษณ์ พลเสน นายสาเนียง คล้ายโพธิ์ นางน้าทิพย์ น้าขาว รายชื่อเกษตรกร

พื้นที่ดาเนินการ (ไร่)

12 14 12 13 28 7 18 14 3 5 28 16 16 7 264

12 13 10 12 32 8 12 99

7 15 12 8 10 7 5 18 10 พื้นที่ดาเนินการ


119 120 121 122 123 124

ตาบล

อาเภอ

จังหวัด

บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง บ้านกร่าง

ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์ ศรีประจันต์

สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี สุพรรณบุรี

(ไร่)

นางสาเนียง แตงอ่อน นางโอเลี้ยง แตงอ่อน นางสารวย ผิวแดง นางอาไพร อ่วมคา นายบุญ พุ่มพวง นายบุญเลิศ อิ่มสะอาด รวมพื้นที่ทั้งสิ้น รวมพื้นที่ทั้งหมด

28 9 25 7 15 20 196 1,529.25


ภาคผนวก 2 รายงานการศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว กลุ่มวิศวกรรมการจัดการที่ดิน กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร


รายงาน การศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว

กลุ่มวิศวกรรมการจัดการที่ดิน กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 2553


คก

คานา กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรได้ดาเนินการนา ร่องสาธิตการ พัฒนาการเขตกรรมข้าว เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเป็ นการแก้ไขปญั หาข้าววัชพืช โดยได้ดาเนินการ จัดทาแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุร ี เมือ่ ปี 2552 ซึง่ เป็นการสาธิต และถ่ายทอดความรูด้ า้ นการใช้เทคโนโลยีเครือ่ งจักรกลการเกษตรทีม่ ปี ระ สิทธิภาพสาหรับดาเนินการ ปรับเปลีย่ นวิธกี ารเตรียมดินจากเดิมแบบเผาฟางข้าว เป็นการไถกลบตอซังฟางข้าวทดแทนการเผา และการปรับเปลีย่ นวิธกี ารปลูกข้าวแบบหว่านน้ าตมเป็ นการปกั ดาด้วยเครือ่ งดานา กลุ่มวิศวกรรมการจัดการทีด่ นิ จึงได้ทาการศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าวดังกล่ าว เพื่อนามาใช้ประกอบการวางแผนการส่งเสริมการพัฒนาการผลิตข้าวของประเทศไทยต่อไป

กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร กุมภาพันธ์ 2553


งข

สารบัญ

ความเป็นมา วัตถุประสงค์ พืน้ ทีด่ าเนินงาน วิธกี ารดาเนินงาน ผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน ภาคผนวก 1. ภาคผนวก ก การจัดทาแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าว และแปลงเปรียบเทียบ 2. ภาคผนวก ข ข้อมูลการสารวจการพัฒนาการเขตกรรมข้าว 3. ภาคผนวก ค ประมวลผลข้อมูลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว

หน้ า 1 1 1 1 2 4 5 6 10 22


1

การศึกษาผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว ความเป็ นมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบายพัฒนาการผลิตข้าวซึง่ เป็นการผลิตในภาค การเกษตรทีส่ ่งผลกระทบต่อเกษตรกรจานวนมากทีส่ ุดของประเทศ โดย เน้นหนักการลดต้นทุนและ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต เนื่องจากการผลิตข้าวในปจั จุบนั ประสบปญั หาด้านต้นทุนการผลิตเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง และมีปญั หาข้าววัชพืชทีส่ ่ งผลให้ปริมาณและคุณภาพผลผลิตต่า ซึง่ หาก เกษตรกรทาการปรับเปลีย่ นวิธกี ารเพาะปลูกข้าวเป็ นแบบปกั ดาด้วยเครือ่ งจักรกลการเกษตรจะ สามารถแก้ไขปญั หาทัง้ สองข้างต้นได้อย่างชัดเจนและเป็ นรูปธรรม อีกทัง้ ยังเป็ นการพัฒนาอย่าง ยังยื ่ น เนื่องจากจานวนประชากรในภาคการเกษตรมีแนวโน้ มลดต่าลงอย่างต่อเนื่อง เกษตรกรรุน่ ใหม่ ต้องการความสะดวกสบายในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังนัน้ การดาเนินการเพื่อสนองตอบ นโยบายดังกล่าวข้างต้น และเป็นการเตรียมการรองรับระบบเกษตรสมัยใหม่ทต่ี อ้ งมีการใช้เทคโนโลยี เพื่อเพิม่ ความแม่นยาในการผลิต ต้องใช้เทคนิควิชาการระดับยาก ในปี 2552 กรมส่งเสริมการเกษตรจึงได้ดาเนินการนาร่องและสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าว ทีม่ งุ่ เน้นการปรับเปลีย่ นวิธกี ารเตรียมดินจากเดิมทีม่ กี ารเผาฟางข้าว เป็นการไถกลบตอซังฟางข้าว เพื่อเพิม่ อินทรียวัตถุในดิน และปรับเปลีย่ นวิธกี ารปลูกข้าวจากแบบหว่านน้าตมเป็ นการปกั ดาด้วย เครือ่ งดานา เพื่อแก้ไขปญั หาข้าววัชพืช และยกระดับการผลิตข้าว ซึง่ การติดตามผลการพัฒนาการ เขตกรรมข้าวดังกล่าวเป็นสิง่ ทีจ่ าเป็น เพื่อจะได้นาข้อมูลทีไ่ ด้รบั มาใช้ประกอบการวางแผนงานการ พัฒนาการเขตกรรมข้าวต่อไป วัตถุประสงค์ ศึกษาเปรียบเทียบผลผลิต ต้ นทุน และผลตอบแทนการผลิตข้าวในพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั การ พัฒนาการเขตกรรมและพืน้ ทีป่ ลูกข้าวโดยวิธปี กติของเกษตรกร พื้นที่การดาเนิ นงาน พืน้ ทีป่ ลูกข้าวในจังหวัดสุพรรณบุร ี ซึง่ เป็ นพืน้ ทีเ่ ป้าหมายการดาเนินงานกิจกรรมนาร่องและ สาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเกษตรกร วิ ธีการดาเนิ นการ 1. ประสานงาน ชีแ้ จงทาความเข้าใจกับผูเ้ กีย่ วข้อง 2. สารวจข้อมูลการผลิตข้าวในพืน้ ทีแ่ ปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวและแปลง เปรียบเทียบในจังหวัดสุพรรณบุร ี 3. ประมวลและวิเคราะห์ผลการสารวจข้อมูลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว 4. สรุปและจัดทารายงานผลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว


2

ผลการดาเนิ นการ การศึกษาในครัง้ นี้ ได้ดาเนินการสารวจข้อมูลในพืน้ ทีป่ ลูกข้าวนาปรัง ปีเพาะปลูก 2552 ของ พืน้ ทีแ่ ปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวทีก่ รมส่งเสริมการเกษตรเป็นผูด้ าเนินการพัฒนาวิธกี าร เตรียมดินและปลูกข้าวแบบปกั ดาด้วยเค รือ่ งดานา และแปลงเปรียบเทียบทีท่ าการเตรียมดินและ ปลูกข้าวด้วยวิธเี ดิมของเกษตรกร (แบบหว่านน้าตม ) ซึง่ มีขนั ้ ตอนการดาเนินงานดังภาคผนวก ก โดยได้ทาการสัมภาษณ์เกษตรกรเจ้าของพืน้ ที่ จานวน 11 ราย เพื่อจัดเก็บข้อมูลการผลิตข้าวหลังจาก เกษตรกรทาการเก็บเกีย่ วแล้ว ทัง้ นี้ พืน้ ทีก่ ารศึกษา ประกอบด้วย พืน้ ทีแ่ ปลงสาธิต 113 ไร่ และพืน้ ที่ แปลงเปรียบเทียบ88 ไร่ การศึกษาข้อมูลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว แบ่งเป็น 3 ประเด็นหลัก กล่าวคือ (1) ผลผลิต (2) ต้นทุนการผลิต และ(3) ผลตอบแทนสุทธิสรุปรายละเอียดได้ดงั นี้  ผลผลิต จากการประมวลผลข้อมูล พบว่า ในภาพรวมผลผลิตข้าวในแปลงสาธิตการพัฒนาการ เขตกรรมข้าวสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบร้อยละ 22 หรือ 151 กิโลกรัมต่อไร่ ทีผ่ ลผลิตข้าวเฉลีย่ 696 กิโลกรัมต่อไร่ 1,000

900

921

847

ผลผลิต (กก./ไร่)

889

818

800 730 700 714

706

703

696

680 600

500 หนองหญ ้าไซ

พลับพลาไชย

ยุงทะลาย ้

กระจัน

เฉลีย ่

้ ทีด พืน ่ ำเนินกำร แปลงสาธิต

แปลงเปรียบเทียบ

ภาพที่ 1 : ผลผลิตข้าวในแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวและแปลงปลูกโดยวิธปี กติของเกษตรกร

อย่างไรก็ตาม จากภาพที่ 1 แสดงให้เห็นว่าผลผลิตข้าวในแปลงสาธิตสูงกว่าแปลงเปรียบเทียบมาก ทีส่ ุดถึงร้อยละ 40 หรือ 261 กิโลกรัมต่อไร่ ทีผ่ ลผลิตเฉลีย่ 680 กิโลกรัมต่อไร่ ในพืน้ ทีต่ าบลพลับ พลาไชย อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุร ี


3

ต้นทุนการผลิต การศึกษา ในครัง้ นี้ได้ทาการอ้างอิงค่าใช้จา่ ยในการเตรียมดินและการปลูกข้าวของ แปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวตามราคาทีผ่ ปู้ ระกอบการท้องถิน่ กาหนด และเมือ่ พิจารณา ในประเด็นของต้นทุนการผลิตข้าว พบว่า แปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวมีตน้ ทุนการผลิต รวมต่ากว่าแปลงเปรียบเทียบร้อยละ 9 หรือคิดเป็นเงิน 451 บาทต่อไร่ 4,000

3,478

ต้นทุนการผลิต (บาท/ไร่)

3,500

3,929

3,000 2,500 2,000 1,000 500

1,572

1,325

1,500

944 370

500

339

603

676

500

395 183

0

0 แปลงสาธิต เตรียมดิน

ปลูก

ยาคุม/ฆ่าวัชพืช

แปลงเปรียบเทียบ ปุ๋ย

ค่าตัดพันธุ์ปน

ค่าเก็บเกีย่ วและขนส่ง

รวม

ภาพที่ 2 : ต้นทุนการผลิตข้าว

จากภาพที่ 2 จะเห็นได้ว่าเกษตรกรเจ้าของแปลงสาธิตไม่มคี ่าใช้จา่ ยสาหรับตัดข้าว พันธุป์ นหรือค่ากาจัดข้าววัชพืช ทาให้ค่าใช้จา่ ยในส่วนนี้ของแปลงเปรียบเทียบสูงกว่าแปลงสาธิตถึง ร้อยละ 100 ซึง่ จากข้อมูลนี้แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาการเขตกรรมข้าวโดยใช้เครือ่ งจักรกลการเกษตร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพทาให้เกิดการแก้ไขปญั หาข้าววัชพืชได้อย่างชัดเจนและเป็ นรูปธรรม อีกทัง้ เป็ นการ ลดต้นทุนการผลิตทัง้ ด้านค่าปุ๋ยเคมี และค่าสารเคมีกาจัดวัชพืชได้อย่างชัดเจน คิดเป็ น 628 บาทต่อไร่ และ 56 บาทต่อไร่ ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในประเด็นของปริมาณเมล็ดพันธุข์ า้ วทีใ่ ช้ในการ เพาะปลูก พบว่า ในพืน้ ทีแ่ ปลงสาธิตมีการใช้ปริมาณเมล็ดพันธุข์ า้ วต่ากว่าในแปลงเปรียบเทียบ จานวน 15 กิโลกรัมต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 54 เนื่องจากกา รใช้วธิ ี การเตรียมกล้า และปกั ดาด้วย เครือ่ งจักร ทัง้ นี้ เมล็ดพันธุท์ ท่ี าการปลูกในแปลงสาธิตและแปลงเปรียบเทียบเป็นชนิดเดียวกันคือ พันธุป์ ทุมธานี 1


4

ผลตอบแทนสุทธิ จากภาพที่ 3 แสดงถึงผลตอบแทนสุทธิจากการผลิตข้าวในพืน้ ทีแ่ ปลงสาธิตมีค่าสูง มากกว่าแปลงเปรียบเทียบ จานวน 1,750 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 85 และหากพิจารณาเฉพาะใน ประเด็นของรายได้ พบว่า แปลงสาธิตมีรายได้สงู กว่าแปลงเปรียบเทียบ ร้อยละ 22 หรือ 1,299 บาทต่อไร่ แปลงเปรียบเทียบ

3,928

แปลงสาธิ ต

5,982

3,477

0

2,000

2,054

7,281

4,000

6,000

3,804

8,000

10,000 12,000 14,000 16,000

จานวนเงิ น (บาท/ไร่) ต้นทุนการผลิต

รายได้

ผลตอบแทนสุทธิ

ภาพที่ 3 : เปรียบเทียบต้นทุนการผลิต รายได้ และผลตอบแทนสุทธิการผลิตข้าว

สรุปผลการดาเนิ นการ การส่งเสริมการพัฒนาการเขตกรรมข้าวนับได้ว่าประสบผลสาเร็จเป็ นไปตามเป้าหมายที่ โครงการได้กาหนดไว้ เกษตรกรเกิดการยอมรับเทคโนโลยีดงั กล่าว เนื่องจากได้เห็นถึงประโยชน์ทจ่ี ะ ได้รบั หากทาการปรับเปลีย่ นวิธกี ารเตรียมดินและการปลูกข้าว ซึง่ จากการประมวลและวิเคราะห์ผล การสา รวจข้อมูล พบว่า แปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมข้าวมีผลผลิตข้าวสูงกว่าแปลง เปรียบเทียบ ร้อยละ22 หรือ 151 กิโลกรัมต่อไร่ และสามารถลดต้นทุนการผลิตข้าวได้ถงึ 451 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 9 ส่งผลให้ได้รบั ผลตอบแทนสุทธิเพิม่ มากขึน้ ถึง 1,750 บาทต่อไร่ หรือ ร้อยละ 85 ผูร้ ่วมดาเนิ นการ ตาแหน่ง สังกัด 1. นางสาววิไลวรรณ สอนพูล ผูอ้ านวยการกลุ่มวิศวกรรมการจัดการทีด่ นิ กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร 2. นายบุญส่ง หนองนา วิศวกรการเกษตรปฏิบตั กิ าร กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร 3. นายชัยวัธน์ สมุทรเก่า นายช่างเครือ่ งกลชานาญงาน ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที6 ่ จังหวัดสุพรรณบุร ี


5

ภาคผนวก


6

ภาคผนวก ก การส่งเสริมการพัฒนาการเขตกรรมข้าว


7

การส่งเสริ มการพัฒนาการเขตกรรมข้าว  การจัดทาแปลงสาธิ ตพัฒนาการเขตกรรมข้าว ในปี 2552 กรมส่งเสริมการเกษตรได้จดั ทาแปลงสาธิตการพัฒนาการเข ตกรรมข้าว ในพืน้ ที่ จังหวัดสุพรรณบุร ี จานวน 9 แห่ง รวม 1,529.25 ไร่ รายละเอียด ดังนี้ 1) ตาบลนางบวช อาเภอเดิมบางนางบวช จานวน 223.5 ไร่ เกษตรกร 19 ราย 2) ตาบลวังลึก อาเภอสามชุก จานวน 386 ไร่ เกษตรกร 29 ราย 3) ตาบลสวนแตง อาเภอเมือง จานวน 250.75 ไร่ เกษตรกร 26 ราย 4) ตาบลกระจัน อาเภออู่ทอง จานวน 34 ไร่ เกษตรกร 3 ราย 5) ตาบลยุง้ ทะลาย อาเภออู่ทอง จานวน 8 ไร่ เกษตรกร 1 ราย 6) ตาบลพลับพลาไชย อาเภออู่ทอง จานวน 68 ไร่ เกษตรกร 5 ราย 7) ตาบลดอนเจดีย์ อาเภอดอนเจดีย์ จานวน 264 ไร่ เกษตรกร 19 ราย 8) ตาบลหนองโพธิ ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จานวน 99 ไร่ เกษตรกร 7 ราย 9) ตาบลบ้านกร่าง อาเภอศรีประจันต์ จานวน 196 ไร่ เกษตรกร 15 ราย โดยมีขนั ้ ตอนการจัดทาแปลงสาธิต ดังนี้ 1. เตรียมดิน : ไถกลบตอซังฟางข้า ว และย่อยดินให้ละเอียดพร้อมตีเทือกสาหรับ รองรับการปกั ดาข้าวด้วยเครือ่ งดานา


8

2. เตรียมกล้าข้าว สาหรับการปกั ดาด้วยเครือ่ ง

3. ปกั ดาข้าวด้วยเครือ่ งดานา


9

 การจัดทาแปลงเปรียบเทียบ ขัน้ ตอนการเตรียมดินและปลูกข้าวในแปลงเปรียบเทียบ มีดงั นี้ 1. เผาตอซังฟางข้าวก่อนการทาการเตรียมดิน

2. เตรียมดินเพื่อทาการเพาะปลูกข้าว โดยการตีดนิ ด้วยจอบหมุนตีดนิ จานวน 2 รอบ และทาการลูบเทือกเพื่อปลูกข้าวแบบหว่านน้าตม

3. ทาการปลูกข้าวแบบหว่านน้าตม


10

ภาคผนวก ข ข้อมูลการสารวจการพัฒนาการเขตกรรมข้าว


11

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นางประชุม ภูฆงั บ้านเลขที่ 94 หมู่ 4 ตาบลหนองโพธิ ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุร ี กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

10 25 50 บาท/ไร่ 560 บาท/ไร่

12 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท ไร่ละ 200 บาท

-

7,000 700

9,000 750

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


12

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายณฤทธิ ์ ภูฆงั บ้านเลขที่ 17 หมู่ 4 ตาบลหนองโพธิ ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุร ี กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

10 20 50 บาท/ไร่ 560 บาท/ไร่

8 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท

7,000 700

5,600 700

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


13

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายสมควร ภูฆงั บ้านเลขที่ 83 หมู่ 4 ตาบลหนองโพธิ ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุร ี กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

10 25 50 บาท/ไร่ 560 บาท/ไร่

10 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท

5,680 568

5,980 598

หมายเหตุ


14

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายสมุทร อู่สุวรรณ บ้านเลขที่ 22/1 หมู่ 4 ตาบลหนองโพธิ ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุร ี กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

28 18 45 บาท/ไร่ 560 บาท/ไร่

32 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50

50 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท ไร่ละ 200 บาท

-

22,400 800

25,600 800

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


15

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายพนม ระโหฐาน บ้านเลขที่ 60 หมู่ 4 ตาบลหนองโพธิ ์ อาเภอหนองหญ้าไซ จังหวัดสุพรรณบุร ี กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

10 25 50 บาท/ไร่ 560 บาท/ไร่

13 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท

-

8,000 800

10,400 800

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


16

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายประสิทธิ ์ ศรศรีสม ตาบลพลับพลาไชย อาเภออู่ทอง กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จ่ายในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

บ้านเลขที่ - หมู่ 2 จังหวัดสุพรรณบุร ี

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

5 25 60 บาท/ไร่ 500 บาท/ไร่

8 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท

-

3,250 650

7,600 950

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


17

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายสมยศ หลวงสนาม บ้านเลขที่ 17 หมู่ 3 ตาบลพลับพลาไชย อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุร ี กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

10 25 60 บาท/ไร่ 500 บาท/ไร่

22 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ.

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท

-

6,800 680

19,800 900

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


18

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายประสงค์ ศรศรีสม ตาบลพลับพลาไชย อาเภออู่ทอง กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

บ้านเลขที่ - หมู่ 2 จังหวัดสุพรรณบุร ี

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

5 25 60 บาท/ไร่ 500 บาท/ไร่

8 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 50 บ./300บ. -

50 50 บาท/ไร่ 50 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

50 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 200 บาท

-

3,250 650

7,296 912

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


19

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายกาธร มากระจันทร์ ตาบลยุง้ ทะลาย อาเภออู่ทอง กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

บ้านเลขที่ 8 หมู่ 6 จังหวัดสุพรรณบุร ี แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

6 30 60 บาท/ไร่ 670 บาท/ไร่

9 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 60 บ./70บ. -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 60 บ./70บ. -

30 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

30 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 130 บาท

-

4,236 706

8,000 888.8

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


20

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายสุนทร ทองกาญจน์ ตาบลกระจัน อาเภออู่ทอง กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

บ้านเลขที่ 115 หมู่ 1 จังหวัดสุพรรณบุร ี แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

5 30 60 บาท/ไร่ 680 บาท/ไร่

8 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 60 บ./70บ. -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 60 บ./70บ. -

30 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

30 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 120 บาท -

-

3,500 700

6,500 812.5

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


21

แบบจัดเก็บข้อมูล โครงการพัฒนาการเขตกรรมข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี ชื่อ- นามสกุล นายจาลอง มากระจันทร์ ตาบลกระจัน อาเภออู่ทอง กิ จกรรม การปลูก 1.พืน้ ทีป่ ลูก (ไร่) 2.พันธุข์ า้ ว/ปริมาณ (กก./ไร่) 3.ค่าใช้จา่ ยในการปลูก 4.การเตรียมดิน การดูแลรักษา 1.การกาจัดวัชพืช ครัง้ ที่ 1 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 2 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี ครัง้ ที่ 3 วิธกี าร ค่าแรง/สารเคมี 2.การใส่ป๋ ยุ ครัง้ ที่ 1 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง ครัง้ ที่ 3 - ปริมาณ (กก./ไร่) ค่าแรง 3.การตัดพันธ์ขา้ วปน ครัง้ ที่ 1 ค่าแรง ครัง้ ที่ 2 ค่าแรง 4.การเก็บเกีย่ วผลผลิต - ผลผลิตทัง้ หมด (กก.) - ผลผลิตเฉลีย่ (กก./ไร่)

บ้านเลขที่ 157 หมู่ 2 จังหวัดสุพรรณบุร ี

แปลงหว่านน้าตม

แปลงปักดา

30 60 บาท/ไร่ 670 บาท/ไร่

9 12 -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 60 บ./70บ. -

ฉีดยาคุม/ฆ่า ไร่ละ 60 บ./70บ. -

30 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

30 50 บาท/ไร่ 30 50 บาท/ไร่

ไร่ละ 130 บาท

-

4,236 706

8,000 888.8

หมายเหตุ

ปทุมธานี 1


22

ภาคผนวก ค ประมวลผลข้อมูลการพัฒนาการเขตกรรมข้าว


23

เปรียบเทียบผลผลิ ต ต้นทุน และผลตอบแทนการผลิ ตข้าว

(%)

900 1,050 150 900 1,050 0 300 350 150 900 1,050 -700 300 350 100 600 700 -350 900 950 100 900 1,000 -50 900 1,050 150 900 1,050 0 660 750 130 840 970 -220

0 -67 -50 -5 0 -24

100 50 50 100 100 80

1,400 700 700 1,120 1,400 1,064

1,500 750 750 1,220 1,500 1,144

150 150 150 150 150 150

2,100 2,100 2,100 2,100 2,100 2,100

2,250 2,250 2,250 2,250 2,250 2,250

-750 -1,500 -1,500 -1,030 -750 -1,106

-33 -67 -67 -46 -33 -49

-100 -100 -100 -100 -100 -100

500 500 500 500 500 500

500 500 500 500 500 500

0 0 0 0 0 0

0 0 0 0 0 0

4,745 3,295 3,295 4,365 4,745 4,089

5,385 5,070 4,835 5,174 5,185 5,130

-640 -1,775 -1,540 -809 -440 -1,041

-12 -35 -32 -16 -8 -21

750 700 598 800 800 730

6,450 6,020 5,143 6,880 6,880 6,275

700 700 568 800 800 714

6,020 6,020 4,885 6,880 6,880 6,137

50 0 30 0 0 16

430 0 258 0 0 138

7 0 5 0 0 2

1,705 635 1,070 169 2,725 950 1,775 187 1,848 50 1,798 3,610 2,515 1,706 809 47 2,135 1,695 440 26 2,186 1,007 1,178 117

2. ต.พลับพลาไชย อ.อู่ทอง 1.นายประสิทธิ ์ ศรศรีสม 2.นายสมยศ หลวงสนาม 3.นายประสงค์ หลวงสนาม เฉลี่ย

-130 -130 -130 -130

-26 -26 -26 -26

650 650 650 650

675 675 675 675

1,325 1,325 1,325 1,325

60 60 60 60

575 575 575 575

635 635 635 635

690 690 690 690

109 109 109 109

50 50 50 50

300 300 300 300

350 350 350 350

50 50 50 50

300 300 300 300

350 350 350 350

0 0 0 0

0 0 0 0

50 50 50 50

700 700 700 700

750 750 750 750

150 150 150 150

2,100 2,100 1,820 2,007

2,250 2,250 1,970 2,157

-1,500 -1,500 -1,220 -1,407

-67 -67 -62 -65

200 200 200 200

-200 -200 -200 -200

-100 -100 -100 -100

500 500 500 500

500 500 500 500

0 0 0 0

0 0 0 0

3,295 3,295 3,295 3,295

4,435 4,435 4,155 4,342

-1,140 -1,140 -860 -1,047

-26 -26 -21 -24

950 900 912 921

8,170 7,740 7,843 7,918

650 680 650 660

5,590 5,848 5,590 5,676

300 220 262 261

2,580 1,892 2,253 2,242

46 32 40 40

4,875 4,445 4,548 4,623

1,155 1,413 1,435 1,334

ผลต่าง

บ/ไร่

%

-400 -200 -200 -400 -200 -280

บ/ไร่

400 200 200 400 200 280

ผลต่าง

รายได้ (บ./ไร่)

150 50 50 50 150 90

บ/ไร่

ปริมาณ (กก./ไร่)

112 160 112 186 112 136

แปลงสาธิต รายได้ (บาท/ไร่)

%

ปริมาณ (กก/ไร่)

บ/ไร่

รายได้ (บาท/ไร่)5

บ/ไร่

ปริมาณ (กก/ไร่)

บ/ไร่

700 815 700 861 700 755

ผลต่าง

แปลงเปรียบเทียบ

%

625 510 625 464 625 570

แปลงสาธิต

แปลงเปรียบเทียบ

บ/ไร่

(%)

บ/ไร่

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

แปลงสาธิต

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

บ/ไร่

ค่าปุ๋ย (บ./ไร่)4

575 460 575 414 575 520

ผลต่าง

ค่าแรง (บ./ไร่)

%

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

ค่าแรง (บ/ไร่)

ค่าแรง (บ./ไร่)

ค่าปุ๋ย (บ./ไร่)4

แปลงเปรียบเทียบ

(%)

50 50 50 50 50 50

500 500 500 500

ค่าแรง (บ/ไร่)

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

1,325 1,325 1,325 1,325 1,325 1,325

370 370 370 370

แปลงสาธิต

ค่าวัสดุ (บ./ไร่)

675 675 675 675 675 675

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

(%)

ค่าแรง (บ./ไร่)

650 650 650 650 650 650

ค่าแรง (บ./ไร่)

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

-34 -34 -34 -34 -34 -34

ค่าวัสดุ (บ./ไร่)

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

-190 -190 -190 -190 -190 -190

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

ค่าจ้างหว่าน

ค่าเมล็ดพันธุ์ (บ./ไร่)3

1. ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ 1.นางประชุม ภูฆงั 370 560 2.นายณฤทธิ ์ ภูฆงั 370 560 3.นายสมควร ภูฆงั 370 560 4.นายสมุทร อู่สวุ รรณ 370 560 5.นายพนม ระโหฐาน 370 560 เฉลี่ย 370 560

ชือ่ -สกุล

ผลต่าง

ค่าใช้จ่ายรวม (บ./ไร่)

ผลต่าง

ค่ากล้า (บ/ไร่)2

แปลงเปรียบเทียบ

ค่าจ้างรถดานา (บ./ไร่)2

แปลงสาธิต

(%)

ผลต่าง

ผลต่าง

ค่าจ้าง (บ/ไร่)

แปลงเปรียบเทียบ

ผลตอบแทนสุทธิ

แปลงเปรียบเทียบ

แปลงสาธิต

แปลงสาธิต

แปลงสาธิต

แปลงเปรียบเทียบ

ผลต่าง

ต้นทุนรวม

ค่าจ้าง (บ/ไร่)

แปลงเปรียบเทียบ

ค่าเก็บเกีย่ วและขนส่ง6ุ

ค่าตัดพันธุข์ า้ วปน

ค่าจ้าง (บ/ไร่)1

แปลงสาธิต

ผลผลิต ปุ๋ย

ยาคลุม/ฆ่าวัชพืช

ค่าแรง (บ/ไร่)

ปลูก

แปลงเปรียบเทียบ

ต้นทุนการดาเนินงานต่อไร่ เตรียมดิน

3,720 3,032 3,113 3,288

322 215 217 246

3. ต.ยุ้งทะลาย อ.อู่ทอง 1.นายกาธร มากระจันทร์ 370 เฉลี่ย 370

670 -300 -45 650 675 1,325 60 690 670 -300 -45 650 675 1,325 60 690

750 575 77 60 750 575 77 60

70 70

130 130

60 60

70 70

130 130

0 0

0 0

100 100

840 840

940 940

100 100

840 840

940 940

0 0

0 0

130 130

-130 -100 500 500 -130 -100 500 500

0 0

0 0

3,265 3,120 3,265 3,120

145 145

5 5

889 7,644 889 7,644

706 706

6,072 6,072

183 1,572 26 183 1,572 26

4,379 2,952 1,427 4,379 2,952 1,427

48 48

4. ต.กระจัน อ.อู่ทอง 1.นายสุนทร ทองกาญจน์ 370 2.นางจาลอง มากระจันทร์ 370 เฉลี่ย 370

680 -310 -46 650 675 1,325 60 690 680 -310 -46 650 675 1,325 60 690 680 -310 -46 650 675 1,325 60 690

750 575 77 60 750 575 77 50 750 575 77 55

70 70 70

130 120 125

60 60 60

70 70 70

130 130 130

0 -10 -5

0 -8 -4

100 100 100

840 840 840

940 940 940

100 100 100

840 840 840

940 940 940

0 0 0

0 0 0

120 120 120

-120 -100 500 500 -120 -100 500 500 -120 -100 500 500

0 0 0

0 0 0

3,265 3,120 3,255 3,120 3,260 3,120

145 135 140

5 4 4

813 6,988 882 7,585 847 7,286

700 705 703

6,020 6,063 6,042

113 968 16 177 1,522 25 145 1,245 21

3,723 2,900 823 4,330 2,943 1,387 4,026 2,922 1,105

28 47 38

เฉลี่ยทัง้ หมด 370

603 -233 -38 650 675 1,325 58 619

676 649 100 64 275

339

75

320

395

-56

-7

83

861

944

125

1,447 1,572

-628

-29

183

-183 -100 500 500

0

100 3,477 3,928 -451

-9

847 7,281

696

5,982

151 1,299 22

3,803 2,054 1,750

85

หมายเหตุ : 1 อ้างอิงราคาค่าเตรียมดินของศูนย์เครือ่ งจักรกลการเกษตรปลอดการเผาบ้านวังลึก อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุร ี ปี 2553 2 อ้างอิงราคาค่าจ้างดานา และค่ากล้าของผูป้ ระกอบการท้องถิน่ ในจังหวัดสุพรรณบุร ี ปี 2553 (ค่ากล้า 45 ถาด/ไร่ x 15 บาท/ถาด = 1,325 บาท/ไร่) 3 อ้างอิงราคาเมล็ดพันธุ์ = 23 บาทต่อกิโลกรัม (ปทุมธานี 1 ช่วง มิถุนายนถึงกันยายน 2552) 4 อ้างอิงราคาปุ๋ยสูตร 16-20-0 = 14 บาท/กิโลกรัม (พฤศจิกายนถึงกันยายน 2552) 5 อ้างอิงราคาขายข้าวพันธุป์ ทุมธานี 1 = 8,600 บาท/ตัน (พฤศจิกายน 2552 - มกราคม 2553) 6 อ้างอิงค่าเก็บเกีย่ วและขนส่งในพืน้ ทีข่ องจังหวัดสุพรรณบุร ี ปี 52 ราคา 500 บาท/ไร่

0


24

เปรียบเทียบปริ มาณเมล็ดพันธุข์ ้าว เมล็ดพันธุ์ แปลงเปรียบเทียบ นน.(กก./ไร่)

ค่าใช้จ่าย(บ./ไร่)

นน.(กก./ไร่)

ค่าใช้จ่าย(บ./ไร่)

12 12 12 12 12 12

276 276 276 276 276 276

25 20 25 18 25 23

575 460 575 414 575 520

-13 -8 -13 -6 -13 -11

-299 -184 -299 -138 -299 -244

-52 -40 -52 -33 -52 -46

เฉลี่ย

12 12 12 12

276 276 276 276

25 25 25 25

575 575 575 575

-13 -13 -13 -13

-299 -299 -299 -299

-52 -52 -52 -52

เฉลี่ย

12 12

276 276

30 30

690 690

-18 -18

-414 -414

-60 -60

เฉลี่ย

12 12 12

276 276 276

30 30 30

690 690 690

-18 -18 -18

-414 -414 -414

-60 -60 -60

เฉลี่ยทัง้ หมด

12

276

27

619

-15

-343

-54

ชื่อ - สกุล

1. ต.หนองหญ้าไซ อ.หนองหญ้าไซ 1.นางประชุม ภูฆงั 2.นายณฤทธิ ์ ภูฆงั 3.นายสมควร ภูฆงั 4.นายสมุทร อู่สุวรรณ 5.นายพนม ระโหฐาน เฉลี่ย 2. ต.พลับพลาไชย อ.อู่ทอง 1.นายประสิทธิ ์ ศรศรีสม 2.นายสมยศ หลวงสนาม 3.นายประสงค์ หลวงสนาม 3. ต.ยุ้งทะลาย อ.อู่ทอง 1.นายกาธร มากระจันทร์ 4. ต.กระจัน อ.อู่ทอง 1.นายสุนทร ทองกาญจน์ 2.นางจาลอง มากระจันทร์

%

ค่าใช้จ่าย(บ./ไร่)

ผลต่าง

นน.(กก./ไร่)

แปลงสาธิต


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.