การผลิตไหลสตรอเบอรี่เพื่อระบบการค้า ระบบ gap ของสตรอเบอรี่

Page 1

1

การผลิตไหลสตรอเบอรี่เพือ่ การค้า ระบบ GAP ของสตรอเบอรี่ ลักษณะทัว่ ไปของสตรอเบอรี่ สตรอเบอรี่ เป็ นพืชมีลกั ษณะการเจริ ญเติบโตจะแตกกอเป็ นพุ่มเตี้ย สู งจากพื้นดิน 6 - 8 นิ้ว ทรงพุ่ม กว้าง 8 -12 นิ้ว ระบบรากส่ วนใหญ่อยูร่ ะดับลึกประมาณ 12 นิ้วจากผิวดิน ลาต้นปกติยาว 1 นิ้ว ความยาว ของก้านใบขึ้นกับพันธุ์ ขอบใบหยัก ใบส่ วนใหญ่ประกอบด้วย 3 ใบย่อย ตาที่โคนของก้านใบจะพัฒนาเป็ น ตาดอก ลาต้นสาขา ไหล หรื อพักตัว โดยขึ้นอยูก่ บั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ดอกจะออกเป็ นช่อ มีกลีบรอง ดอกสี เขียว กลีบดอกสี ขาวหรื อชมพู เกสรตัวผูส้ ี เหลืองและเกสรตัวเมียเรี ยงอยูบ่ นฐานรองดอก ซึ่ งฐานรอง ดอกนี้จะพัฒนาเป็ นเนื้อของผล ส่ วนเมล็ดอยูต่ ิดกับผิวนอกของผล ผลมีหลายรู ปทรง เช่น ทรงกลม ทรงกลมแป้ น ทรงกลมปลายแหลม ทรงแหลม ทรงแหลมยาว ทรงลิ่ มยาว และทรงลิ่ มสั้น มีหลายขนาดขี้นอยู่กบั พันธุ์ ผลจะมีสีเขียวในระยะแรก และค่อยๆเปลี่ยนเป็ นสี ขาว เมื่อผลแก่จะเปลี่ยนเป็ นสี แดงเข้ม รสเปรี้ ยวอมหวาน กลิ่นหอมน่ารับประทาน สภาพดินฟ้ าอากาศทีเ่ หมาะสม พันธุ์สตรอเบอรี่ มีความแตกต่างกันมากในการตอบสนองต่ออุณหภูมิ และช่ วงแสงของวันในการ สร้างตาดอก ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ประเภทที่ตอ้ งการอุณหภูมิต่า ความยาวของวันสั้นกว่า 11 ชัว่ โมง (ชัว่ โมงกลางวัน) ซึ่ งในประเทศไทยปลูกบนที่สูง ได้แก่ พันธุ์พระราชทานเบอร์ 16 พัยธุ์พระราชทานเบอร์ 70 เบอร์ 35 และเนี ยวโฮ เป็ นต้น เรี ยกว่า Junebearing cultiver ประเภทที่ตอ้ งการช่วงแสงของวันยาวเกิ น 12 ชัว่ โมงขึ้นไป ส่ วนใหญ่ปลูกนอกฤดู ได้แก่ พันธุ์เจนีวา โอซาค บิวตี้ เรี ยกว่า Everbearing cultivar ประเภทที่ ออกดอกได้ท้ งั สภาพวันสั้นและสภาพวันยาว แต่มีปัญหา เรื่ องการผลิตไหลได้นอ้ ย ได้แก่ พันธุ์เซลวา ทริ บิวเต้ และทริ สตาร์ เป็ นต้น เรี ยกว่า Dayneutral cultiver พันธุ์ที่ใช้ในปั จจุบนั ได้แก่ พันธุ์พระราชทาน เบอร์ 16, 20, 50, 70, 80 เนียวโฮ แลัเซลวา เป็ นต้น ซึ่ งแต่ละพันธุ์มีลกั ษณะที่ แตกต่างกัน สาหรับการผลิ ตเป็ นการค้านั้น จะผลิ ตเพื่อจาหน่ ายให้แก่ผบู ้ ริ โภค ทั้งตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ ในลักษณะของผลรับประทานสดและผลผลิตเพื่อส่ งโรงงานแปรรู ป พันธุ์เพื่อการบริ โภคสด ได้แก่ พันธุ์พระราชทานเบอร์ 70 เบอร์ 50 และเบอร์ 20 เป็ นต้น พันธุ์เพื่อการแปรรู ป ได้แก่ พันธุ์พระราชทานเบอร์ 16 และเซลวา


2 การขยายพันธุ์ การขยายพันธุ์สตรอเบอรี่ ทาได้หลายวิธีโดยขึ้นกับวัตถุประสงค์และลักษณะประจาพันธุ์ ได้แก่การ ใช้ไหล ขยายต้นไหลจากพันธุ์ที่สามารถให้ไหลได้ดี การแยกต้น แยกต้นจากพันธุ์ที่ออกไหลไม่ดี ซึ่ งส่ วน ใหญ่เป็ นพวกพันธุ์ป่า การใช้เมล็ด ใช้ในกรณี ที่มีการผสมพันธุ์เพื่อให้ได้พ นั ธุ์ใหม่เกิดขึ้น การเพาะเลี้ยง เนื้ อเยื่อ เป็ นขบวนการผลิตต้นไหลที่ปลอดโรค และสามารถขยายพันธุ์ให้มีปริ มาณต้นไหลเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ ว การขยายพันธุ์ที่นิยมปฎิบตั ิจะใช้ตาที่เจริ ญเติบโตมาจากต้นแม่ตรง ซอกของก้านใบ ซึ่ งเรี ยกว่า ไหล โดยใช้ไหลจากต้นแม่ที่ปลอดโรคจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ มาปลูกเป็ นต้นใหม่ ต้นไหลที่จะนามาปลูกควรมี ขนาดพอเหมาะ ไม่แก่หรื ออ่อนเกิ นไป การใช้ตน้ ไหลที่ผ่านการเกิ ดตาดอกบนพื้นที่สูงมาแล้ว จะทาให้ ผลผลิตเร็ วและมีช่วงการเก็บเกี่ยวยาวนานขึ้น การปลูกและการดูแลรักษา การปลูกสตรอเบอรี่ มี 2 ช่วงที่สาคัญ คือ การปลูกเพื่อการเก็บเกี่ยวผลผลิต และการปลูกเพื่อผลิตต้นไหล การปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตควรปลูกในเดือนกันยายน - กลางเดือนตุลาคม โดยใช้ส่วนที่เรี ยกว่า ต้นไหลมาปลูก การเตรียมแปลงปลูกและวัสดุคลุมแปลง ในการเตรี ยมดิน ควรใส่ ปูนขาวในอัตรา 60 - 80 กิโลกรัม/ไร่ เพื่อปรับสภาพดินพร้อมการไถดะไถแปร และผึ่งดินไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ เพื่อกาจัดวัชพืชและศัตรู พืช หลังจากนั้นหว่านปุ๋ ยหมักหรื อปุ๋ ยคอกให้ทวั่ แปลง ในอัตรา 2 - 2.5 ตัน/ไร่ พร้อมการไถพรวน เตรี ยมแปลงปลูกแบบยกร่ องให้ฐานแปลงกว้าง 75 เซนติเมตร สู งประมาณ 20 - 30 เซนติเมตร และมีสันแปลงเหลือกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร เว้นทางเดินระหว่างแปลง ไว้ประมาณ 30 เซนติเมตร เพื่อช่วยรักษาความชื้ นของดินในแปลงปลูก และช่วยในการควบคุมวัชพืชบนแปลง รวมทั้งป้ องกันไม่ให้ผลสตรอเบอรี่ เกิดการเสี ยหายเนื่ องจากสัมผัสกับดิน ให้ใช้วสั ดุคลุมแปลงซี่ งได้แก่ ฟางข้าว ใบหญ้าคา พลาสติก ใบตองเหียงหรื อใบตองตึง คลุมแปลงปลูก ซึ่ งวัสดุคลุมแปลงแต่ละชนิ ดก็มีขอ้ ดีขอ้ เสี ย แตกต่างกัน เช่นฟางข้าว หาง่ายในท้องถิ่น ราคาถูก แต่มกั จะเน่าสลายตัวได้เร็ ว ต้องใส่ ฟางเพิ่มเติมหลังปลูก และพบบ่อยๆว่าทาให้ผลสตรอเบอรี่ เสี ยหาย เน่าช้ าง่าย เมื่อเศษฟางหลงติดไปกับผลสตรอเบอรี่ หลังการเก็บเกี่ยว ทาความสะอาดยาก เป็ นปั ญหากับผูส้ ่ งออก พลาสติก ได้มีการทดลองใช้พลาสติกสี ดาเป็ นวัสดุคลุมดินปรากฎว่า มีผลเสี ยแก่การปลูกสตรอเบอรี่ หลายประการ เช่น พลาสติกมีราคาแพง ทาให้ตน้ ทุนสู ง ทาให้อุณหภูมิดินใต้พลาสติกสู ง เป็ นอันตรายต่อ ระบบราก และผลสตรอเบอรี่ ที่แนบติดกับพลาสติกที่ร้อนจัดจะเสี ยหายเป็ นรอยตาหนิ ถ้าหากใช้พลาสติกสี ขาวขุ่นปรากฏว่าไม่สามารถลดปั ญหาวัชพืชได้ เป็ นต้น


3 วัสดุคลุมดินโดยทัว่ ไปนิยมใช้ใบตองตึงหรื อใบตองเหี ยงที่ทาเป็ นตับ (ไพ) เช่นเดียวกันกับที่ใช้มุงหลังคา ซึ่ งแต่ละตับจะยาวประมาณ 1 เมตร มาคลุมทั้งสองด้าน และด้านบนของแปลงชิ ดกับต้นที่ปลูกเป็ นแถว จะมี ที่วา่ งระหว่างต้นสาหรับให้น้ าและปุ๋ ยได้ แล้วใช้ไม้ไผ่ตอกประกับตามแนวยาวเพื่อยึดใบตองตึงกับพื้นดิน ระยะปลูกและวิธีการปลูก ระยะที่ใช้ปลูกจะใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 30 - 40 เซนติเมตร ระหว่างต้น 25 - 30 เซนติเมตร ปลูกแบบ สลับฟันปลา โดยทัว่ ไปจะใช้ตน้ ไหลสาหรับปลูกประมาณ 8,000 ต้น (ในกรณี ปลูกในพื้นที่นาที่ยงั คงสภาพคันนา) ถึง 10,000 ต้น/พื้นที่ 1 ไร่ ปลูกโดยขุดหลุมทะลุผา่ นวัสดุคลุมดินให้พอดีกบั ขนาดของต้นไม่ลึกเกินไป แล้วรองก้นหลุมด้วย ปุ๋ ยคอกประมาณ 30 กรัม/ต้น โดยผสมคลุกเคล้าให้เข้ากับดิน ไม่ควรใส่ ปุ๋ยเคมีตอนปลูกใหม่ เพราะอาจทาให้ ระบบรากเสี ยหายและต้นตายได้ การปลูกต้นไหลนั้นระดับรอยต่อของรากและลาต้นจะต้องพอดีกบั ระดับ ของผิวดิน ไม่ปลูกลึกหรื อตื้นเกินไป ถ้าปลูกลึก คือ ส่ วนลาต้นจมอยูต่ ่ากว่าผิวดิน หากเชื้ อโรคเข้าทางยอด ของลาต้นจะทาให้ยอดเน่า ต้นเจริ ญเติบโตช้าและอาจถึงตายได้ ถ้าปลูกตื้น คือ ปลูกต้นไหลแล้วรากลอยขึ้นมา เหนือผิวดิน ทาให้รากถูกอากาศและแห้ง ต้นเจริ ญเติบโตช้า ไม่สมบูรณ์ และอาจเป็ นสาเหตุให้ตน้ ตายได้เช่นกัน การปลูกควรให้ข้ วั ไหลด้านที่เจริ ญมาจากต้นแม่หนั เข้ากลางแปลง เพื่อที่จะให้ผลสตรอเบอรี่ ที่ผลิตออกมา อยู่ดา้ นนอกของแปลงได้รับแสงแดดเต็มที่ ทาให้รสชาติดี สะดวกในการเก็บเกี่ ยวและลดปั ญหาเรื่ องโรค ของผลได้ ปลูกหลุมละ 1 ต้น ระดับของการปลูกและการกระจายของรากต้ นสตรอเบอรี่ทเี่ จริญเต็มที่ ต้นไหลที่จะนามาปลูกควรมีขนาดพอเหมาะ คือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของต้นประมาณ 10 -13 มิลลิเมตร ไม่แก่หรื ออ่อนเกินไป การใช้ตน้ ไหลที่ผา่ น การเกิดตาดอกจากพื้นที่สูงจะทาให้ได้ผลผลิตเร็ ว และมีช่วงการเก็บเกี่ยว ยาวนานขึ้น เมื่อปลูกต้นไหลแล้ว ระยะตั้งแต่เดือนตุลาคมไปจนถึงประมาณเดื อนธันวาคม ต้นไหลบางพันธุ์ จะผลิตส่ วนไหลออกมาเรื่ อยๆ ให้ชาวสวนเด็ดหรื อตัดส่ วนไหลออกให้หมดทุกต้น ไม่ควรเลี้ยงไหลไว้เพื่อ ใช้ปลูกต่อไป เพราะจะทาให้ตน้ ที่ยา้ ยปลูก (ต้นเดิมที่นาลงมาจากภูเขา) สร้างตาดอกรุ่ นต่อมาช้าลง และทาให้ ต้นโทรม ขาดความแข็งแรงได้ นอกจากนี้ยงั จะกระทบกระเทือนต่อผลผลิตรวมทั้งแปลงอีกด้วย


4 การให้ นา้ เนื่องจากสตรอเบอรี่ เป็ นพืชที่มีระบบรากตื้นอยูใ่ กล้ผวิ ดิน จึงจาเป็ นต้องระวังในเรื่ องการให้น้ าเป็ นพิเศษ ในช่ วงสองสัปดาห์ แรกหลังจากย้ายปลู กก่ อนต้นตั้งตัว คือ เมื่อปลูกสตรอเบอรี่ เสร็ จแล้วให้รดน้ าทันที และเมื่อต้นสตรอเบอรี่ โตมีระบบรากแข็งแรง ก็ให้รดน้ าด้วยบัวรดน้ าทุกวันๆละครั้งในกรณี ที่ฝนไม่ตก หรื อ จะให้น้ าโดยการปล่อยน้ าเข้าท่วมทางเดินระหว่างแปลงปลูกจนกระทัง่ ดินอิ่มตัวก็ได้ อย่าปล่อยให้น้ าท่วมขัง เป็ นเวลานาน ควรปล่อยน้ าประมาณ 2 - 3 วัน/ครั้ง แต่วิธีน้ ี จะทาให้โรคจากแปลงหนึ่ งกระจายไปสู่ แปลงอื่นได้ การให้น้ าอีกวิธีก็คือ การใช้สปริ งเกอร์ เป็ นวิธีที่พอใช้ได้ แต่ตน้ ทุนสู ง การที่จะทราบว่าควรให้น้ ามากน้อย เพียงใดนั้น ให้ใช้การคาดนะเนดูความชื้ นของดิ นเป็ นเกณฑ์ สตรอเบอรี่ เป็ นพืชที่ตอ้ งการความชื้ นในดิ น อย่างสม่าเสมอ หากดินมีความชื้ นน้อยจนถึงแห้ง ต้นสตรอเบอรี่ ก็ลดการเจริ ญเติบโตจนถึงหยุดเจริ ญเติบโต เมื่อดินแห้งจัด ในทางตรงกันข้ามเมื่อดินมีความชื้นมาก น้ าขัง รากสตรอเบอรี่ ก็จะเน่าและตายได้ นอกจากนี้ การรดน้ าที่มากเกินไปยังทาให้ลาต้นอวบน้ า ใบมีขนาดใหญ่ การออกดอกลดลง สี ของผลซี ด ผลสดนิ่ม อายุผลสั้น มักเกิ ดการชอกช้ าและเชื้ อราเข้าทาลายได้ง่าย ไม่เป็ นที่ตอ้ งการของตลาด ฉะนั้นเมื่อผลสุ กจึงควรเก็บผล ก่อนที่จะให้น้ า การให้ ปุ๋ย สตรอเบอรี่ มีความต้องการธาตุอาหารทั้งในกลุ่มธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โปแตสเซี ยม ในกลุ่มธาตุอาหารรอง ได้แก่ แมกนี เซี ยม แคลเซี ยม และธาตุอาหารเสริ ม คือ โบรอน เหล็ก และสังกะสี ซี่ งโดยปกติท้ งั กลุ่มธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริ ม จะมีอยูใ่ นดินตามธรรมชาติ อยูแ่ ล้ว แต่จะมีมากหรื อน้อยนั้นขึ้นอยูก่ บั สภาพของพื้นที่ในแต่ละแห่ ง ธาตุอาหารที่มีมากหรื อน้อยเกินไป จะส่ งผลกระทบถึงปริ มาณและคุณภาพผลผลิตของสตรอเบอรี่ ฉะนั้น การที่จะทราบว่าจะใส่ ปุ๋ยสู ตรอะไร อัตราเท่าใด จะต้องเก็บตัวอย่างดิ นของแปลงที่จะปลูกสตรอเบอรี่ มาวิเคราะห์ เพี่อตรวจสอบว่าดิ นนั้น มีปริ มาณธาตุอาหารอยูใ่ นดินปริ มาณเท่าใด จะได้ใส่ ปุ๋ยเพิ่มเติมในส่ วนที่ดินยังขาดอยู่ นอกจากนั้นยังทาให้ เราทราบสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่างของดินเพื่อที่จะได้ปรับสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่างของดินให้เหมาะสมกับพืช สาหรั บ คาแนะนาการใช้ปุ๋ยเคมี กบั สตรอเบอรี่ โดยทัว่ ๆไปนั้นให้ป ฎิ บตั ิ ดังนี้ คื อ หลังจากปลูก ไปแล้ว ประมาณ 20 วัน ให้ใส่ ปุ๋ยเคมีสูตร 12-24-12 หรื อ 9-24-24 ในอัตรา 5 - 10 กรัม/ต้น หรื อประมาณ 20-25 กิโลกรัม/ไร่ และต่อจากนั้นไปอีก 10 วัน ให้ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 หรื อ12-12-17+2 อย่างใดอย่างหนึ่ ง ใส่ ในอัตราส่ วน 10 กรัม/ต้น/ครั้ง แบ่งใส่ 4 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 7 - 10 วัน โดยวิธีโรยระหว่างแถวแล้วพรวนดินกลบการ


5 กาจัดวัชพืช การปล่อยให้มีวชั พืชขึ้นในแปลงสตรอเบอรี่ จะมีผลทาให้ผลผลิตลดลงได้ เนื่องจากวัชพืชเป็ นตัวแย่งน้ า แย่งอาหาร ทั้งยังเป็ นแหล่งสะสมโรคและแมลงที่จะระบาดทาความเสี ยหายให้แก่สตรอเบอรี่ ดว้ ย เกษตรกร ต้องหมัน่ กาจัดวัขพืชอย่าสม่ าเสมอ พร้อมทั้วตัดแต่งใบและลาต้นแขนงที่ไม่สมบูรณ์ ออกทิ้ง ซึ่ งแต่ละกอ ควรเก็บหน่อไว้ประมาณ 6 - 8 หน่อ และอย่าทิ้งเศษพืชไว้ในแปลงปลูก เพราะจะทาให้เป็ นที่สะสมโรค ควรเก็บเศษพืชอัดใส่ ถุงปุ๋ ยให้แน่นผูกปากถุงทิง้ ไว้ เมื่อสลายตัวแล้วจะได้นาไปใช้เป็ นปุ๋ ยต่อไป การปลูกเพือ่ ผลิตต้ นไหล เกษตรกรผูป้ ลูกสตรอเบอรี่ อาจทาการผลิตต้นไหลสตรอเบอรี่ เพื่อใช้ปลูกเอง หรื อจะใช้ซ้ื อต้นไหล มาปลูกก็ได้ หากเกษตรกรจะทาการผลิตต้นไหลไว้ใช้ปลูกเองหรื อเพื่อจาหน่ายให้กบั เกษตรกรผูป้ ลูกรายอื่น มีขอ้ ควรพิจารณาดังนี้ ต้นแม่พนั ธุ์ ต้นแม่พนั ธุ์จะต้องมีลกั ษณะดี คือ มีการสร้างไหลที่แข็งแรงและปริ มาณมากตรงตามสายพันธุ์ ให้ผลผลิตสู ง ปลอดจากโรค โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส พื้นที่ที่ผลิตต้นไหล พื้นที่ที่เหมาะสมกับการผลิตต้นไหลจะต้องสะอาดปลอดจากเชื้ อสาเหตุของโรค โดยเฉพาะเชื้อราที่เป็ นสาเหตุของโรคแอนแทรดโนส ใกล้แหล่งน้ า สามารถนาน้ ามาใช้ได้ในช่วงฝนทิ้งช่วง การคมนาคมสะดวก สามารถขนย้ายวัสดุเพาะชาไปยังแปลงแม่พนั ธุ์ และขนส่ งต้นไหลไปยังแหล่งปลูกได้ โดยไม่บอบช้ าเสี ยหาย และที่สาคัญที่สุดก็คือ ความสู งของพื้นที่ จากสาเหตุที่เมื่อช่วงแสงของวันสั้นลงและ อุณหภูมิของอากาศเย็นลง ทาให้ตน้ สตรอเบอรี่ เปลี่ยนสภาพการเจริ ญเติบโตทางด้านสร้างไหลต้นไหล เป็ นสภาพการเจริ ญเติบโตทางสร้างตาดอก ซึ่ งส่ งผลให้ตน้ สตรอเบอรี่ ที่เจริ ญเติบโตบนภูเขาสร้างตาดอกได้ เร็ วกว่าต้นสตรอเบอรี่ บนพื้นที่ราบ เป็ นผลให้ผลผลิตสตรอเบอรี่ ที่เกิดจากต้นสตรอเบอรี่ ที่ผลิตบนภูเขาที่มี อากาศหนาวเย็นออกสู่ ตลาดได้เร็ วกว่าผลผลิ ตสตรอเบอรี่ พนั ธุ์ เดี ยวกันที่ เกิ ดจากต้นที่ ผลิ ตจากพื้นที่ ราบ ประกอบกับสภาพดินบนที่สูงหรื อภูเขามีการระบายน้ าได้ดีกว่าพื้นที่ราบ ปั ญหาโรคมีนอ้ ยกว่า ทาให้ตน้ ไหล แข็งแรงมีคุณภาพดี ด้วยเหตุน้ ีจึงต้องผลิตต้นไหลสตรอเบอรี่ บนภูเขาที่มีความสู งจากระดับน้ าทะเลไม่ต่ากว่า 1,000 เมตร มีอากาศหนาวเย็น แล้วขนต้นไหลลงมาปลูกยังพื้นที่ราบ แต่ท้ งั นี้ แหล่งผลิตต้นไหลจะต้องไม่เป็ น พื้นที่ ภายในลุ่ ม น้ า ที่ ค วรจะต้องสงวนรั ก ษาไว้เป็ นพื้ นที่ ต้นน้ าล าธารโดยเฉพาะ แรงงาน เนื่ องจาก กระบวนการผลิตต้นไหลสตรอเบอรี่ เป็ นงานที่ตอ้ งใช้แรงงานมาก เริ่ มตั้งแต่การเตรี ยมแปลงปลูกต้นแม่พนั ธุ์ การปลูกดูแลรักษาต้นแม่พนั ธุ์ บรรจุวสั ดุเพาะชาลงถุง การรองไหล การตัดไหล และการขนย้ายเพื่อนาไปปลูก ดังนั้น ในการผลิตไหลจึงควรพิจารณาถึงแรงงานที่จะต้องใช้ดว้ ย


6 การเตรียมแปลงปลูก ความสู งของพื้นที่ที่ใช้ในการผลิตต้นไหลมีผลต่อคุณภาพของต้นไหลที่ผลิตได้ โดยเฉพาะในเรื่ องของ การให้ผลผลิตเมื่อนาต้นสตรอเบอรี่ ไปปลูก ดังนั้น เมื่อเราจาเป็ นต้องทาการผลิตต้นไหลบนพื้นที่สูง ความลาดเท ของพื้นที่ไม่ควรเกิ น 15 % การเตรี ยมปลงปลูกต้องยกแปลงขวางแนวลาดเท (แบบขั้นบันได) เพื่อขจัด ปัญหาการชะล้างและพังทลายของดิน สาหรับการเตรี ยมดินก็ปฏิบตั ิเช่นเดียวกันกับการปลูกเพื่อต้องการผล วิธีการปลูก เริ่ มปลูกต้นแม่พนั ธุ์ประมาณเดื อนพฤษภาคม ปลูกแบบแถวเดี่ ยวห่ างจากสันแปลงด้านระดับสู ง ประมาณ 15 ซม. เพื่อให้มีพ้ืนที่เหลือสาหรับวางถุงเพาะชาต้นไหลจากสายไหลที่ทอดลงมา เว้นระยะห่ าง ระหว่างแถวประมาณ 1 เมตร ระยะห่ างระหว่างต้นประมาณ 80 - 90 ซม. ในระยะแรกต้องบารุ งต้นแม่พนั ธุ์ ให้แข็งแรงพร้อมทั้งตัดไหลที่ออกมาทิ้งให้หมด เพื่อให้ตน้ แม่พนั ธุ์แตกกอประมาณ 4 -5 ต้น/กอ ประมาณ เดือนกรกฎาคมจึงเริ่ มปล่อยให้ตน้ แม่พนั ธุ์แตกไหลได้ตามปกติ หลังจากที่ตน้ ไหลโตและเริ่ มมีตุ่มรากเกิดขึ้น ให้นาถุงพลาสติกขนาด 3 x 5 นิ้ว ที่ใส่ วสั ดุปลูกจะเป็ นดินล้วนหรื อดินผสมก็ได้มารองรับต้นไหล แล้วใช้ ไม้ไผ่เล็กๆพับกลางเสี ยบยึดสายไหลให้ติดกับดิ นในถุ งพลาสติก รอจนต้นไหลสร้ างรากและแข็งแรงดี ประมาณปลายเดือนสิ งหาคมถึงต้นเดือนกันยายน จึงตัดต้นไหลออกจากต้ตแม่พนั ธุ์โดยตัดสายไหลที่เจริ ญ มาจากต้นแม่ห่างจากต้นไหลประมาณ 3 เซนติเมตร เพื่อป้ องกันโรคเข้าต้นไหลและใช้ในการจับระดับปลูก ส่ วนไหลด้านปลายให้ตดั ชิดต้นไหล การผลิตไหลอีกลักษณะหนึ่งคือ เกษตรกรไม่ตอ้ งใช้วสั ดุเพาะชารองไหลในช่วงแรก ปล่อยให้ตน้ แม่ แตกไหลไปเรื่ อยๆแล้วใช้วิ ธี ตลบไหลขึ้ นแปลง เพื่อไม่ใ ห้รากยึดเกาะกับดิ นในแปลง รอจนถึ ง ช่ วง กลางเดือนสิ งหาคมจึงเริ่ มรองไหล ต้นแม่พนั ธุ์ 1 กอ จะสามารถผลิตไหลได้ประมาณ 15 - 20 สาย ซึ่ งแต่ละสาย จะมีตน้ ไหลประมาณ 10 ต้น ในการนาไปปลูกเกษตรกรจะต้องคัดเลื อกต้นไหลที่ไม่แก่หรื ออ่อนเกินไป จึงทาให้ในแต่ละกอมีตน้ ไหลที่สามารถปลูกได้ดีเพียง 40 - 60 ต้นเท่านั้น การคัดเลือกต้ นไหลคุณภาพดี ในการคัดเลือกต้นไหลเพื่อนามาปลูกเพื่อต้องการผลนั้นควรจะพิจารณาดังนี้ ต้องเป็ นต้นไหลจากแหล่งผลิตที่เชื่ อถือได้ โดยเฉพาะสภาพพื้นที่และภูมิอากาศของแหล่งที่ใช้ผลิต ต้องเป็ นไปตามคาแนะนาเรื่ องพื้นที่ที่จะผลิตต้นไหลและสายพันธุ์ตามที่ตอ้ งการ ต้องเป็ นต้นไหลที่ไม่เป็ นโรคหรื อถูกแมลงทาลาย ส่ วนใหญ่จะสังเกตได้จากลักษณะภายนอก เช่น อาการใบหงิก ใบม้วน การเปลี่ยนแปลงในเรื่ องสี ของใบ ใบเป็ นจุด การควัน่ รอบส่ วนของไหลและส่ วนก้านใบ เป็ นต้น


7 มีระบบรากที่สมบูรณ์ สังเกตได้จากปริ มาณรากที่เจริ ญอยูภ่ ายในถุงต้องมีมากพอ ไม่มีอาการเป็ นปุ่ ม หรื ออาการเน่าให้เห็น ต้นและใบมีความสมบูรณ์ ปกติควรมีใบไม่นอ้ ยกว่า 3 - 4 ใบ อายุของไหลเหมาะสมกับช่วงเวลาปลูก ไม่อ่อนหรื อแก่เกินไป คือ ใช้ตน้ ไหลต้นที่ 2 - 5 ของแต่ละสายเท่านั้น โรค แมลง และศัตรู พชื สตรอเบอรี่ เป็ นพืชหนึ่งที่มีโรค แมลง และศัตรู รบกวนมาก นับตั้งแต่ระยะกล้าไปจนถึงระยะเก็บเกี่ยว การป้ องกันตั้งแต่ระยะแรกจึงเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นอย่างยิ่ง เพราะโรคของสตรอเบอรี่ บางโรคการป้ องกันไม่ให้ เกิดโรคจะสามารถทาได้ง่ายกว่าการกาจัดหลังจากที่โรคระบาดทาความเสี ยหายแล้ว เช่น โรคที่เกิดจากเชื้ อไวรัส การป้ องกันไม่ให้โรคและแมลงเข้าทาลายส่ วนต่างๆของสตรอเบอรี่ ทาได้หลายวิธี ได้แก่ การใช้พนั ธุ์ที่ตา้ นทานโรค ใช้ต้นไหลที่ แข็ง แรงจากต้นแม่ พนั ธุ์ ที่ป ลอดโรคและต้านทานโรค ซึ่ งได้จากวิธีก ารเพาะเลี้ ยงเนื้ อเยื่อ การจัดการเขตกรรมที่ดี มี การให้น้ าและปุ๋ ยอย่างถู กต้องเหมาะสม การป้ องกันกาจัดศัตรู พืชโดยชี ววิธี ก็จะสามารถลดปั ญหาการเข้าทาลายของศัตรู สตรอเบอรี่ ได้ระดับหนึ่ ง ส่ วนการใช้สารเคมีในการป้ องกัน กาจัดศัตรู สตรอเบอรี่ น้ นั เกษตรกรควรใช้เป็ นทางเลื อกสุ ดท้า ย เพราะการใช้สารเคมี อย่างไม่ ถูก ต้อง และเหมาะสม จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุ ขภาพทั้งของเกษตรกรและผูบ้ ริ โภค โรคสตรอเบอรี่ทสี่ าคัญ 1.โรคที่เกิดจากเชื้ อไวรัส จะแสดงอาการใบหงิก ย่น หรื อมีอาการใบด่าง ใบผิดรู ปร่ าง ใบม้วนขึ้น ต้นเตี้ย แคระแกรน ข้อสั้น ทรงพุ่มมีใบแน่นขนาดใบเล็กกว่าปกติ ต้นพืชอ่อนแอ ชะงักการเจริ ญเติบโตและ ทาให้ผลผลิตลดลง พบว่าแมลงพวกปากดูด ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ และไส้เดือนฝอยบางชนิ ดเป็ นพาหะ ของโรค โรคนี้ เมื่อเกิ ดแล้วไม่สามารถรักษาให้หายได้ นอกจากการป้ องกันโดยคัดเลื อกกล้าที่ไม่เป็ นโรค ซึ่ งเกิดจากต้นแม่พนั ธุ์ที่ได้จากวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ มาปลูก ทาการอบดินเพื่อทาลายไส้เดือนฝอยที่เป็ นพาหะ ของโรคไวรัส กาจัดแมลงพวกเพลี้ ยไฟ เพลี้ ยอ่อน ซึ่ งเป็ นพาหะของโรค เมื่อพบว่ามีตน้ ที่แสดงอาการ ผิดปกติดงั กล่าวให้ขดุ ออกไปเผาทาลายทันที และการบารุ งพืชให้แข็งแรงอยูเ่ สมอจะช่วยต้านทานเชื้ อโรคได้ การป้องกันกาจัดแมลงพาหะของเชื้อไวรัส ใช้สารสกัดสะเดา ฉี ดพ่นเพื่อขับไล่และยับยั้งการกินอาหาร การเจริ ญเติบโตของแมลง ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ใช้กบั ดักกาวเหนียวสี เหลือง วิธีการนี้สามารถดักจับตัวเต็มวัยของแมลงศัตรู พืช เช่น เพลี้ยไฟ ผีเสื้ อต่างๆ ที่เป็ นตัวแก่ของศัตรู พืช ทาให้ลดปริ มาณศัตรู พืชลงได้


8 สู ตรผสมของกาวเหนียว 1. น้ ามันละหุ่ง 150 ซีซี. 2. ยางสน 100 กรัม 3. ขี้ผ้ งึ คาร์ นาว่า 10 - 12 กรัม วิธีทา นาน้ ามันละหุ่ งมาใส่ ภาชนะตั้งไฟให้ร้อน มีไอขึ้นที่ผิวหน้า แล้วจึงทยอยใส่ ผงยางสนและ ขี้ผ่ งึ คาร์ นาว่าลงไป ใช้ไม้พายคนให้เข้ากันจนละลายหมด ใช้เวลาประมาณ 5 นาที อย่าใช้ไฟแรงนักเพราะ จะทาให้ยางสนไหม้ หลังจากนั้นยกภาขนะลงวางในถังหรื อกาละมังที่ใส่ น้ าแข็งทุบเป็ นก้อนเล็กๆ เพื่อให้ ได้รับความเย็นอย่างรวดเร็ ว จากนั้นบรรจุใส่ ภาขนะปิ ดฝาให้แน่นเก็บไว้ใช้งาน วิธีใช้ ใช้ภาชนะที่ใช้แล้ว เช่น กระป๋ องน้ ามันเครื่ องหรื อแผ่นพลาสติกสี เหลือง (สี เหลืองจะช่วย ดึงดูดแมลงตัวเต็มวัยให้บินเข้ามาติดกับดักและตาย) หุ ้มด้วยพลาสติกใส เพื่อสะดวกในการเปลี่ยนกาวเมื่อ กาวแห้งหรื อปริ มาณของแมลงหนาแน่น ทากาวเหนี ยวด้วยแปรงทาสี ให้รอบ แล้วใช้แผ่นเหล็กหนาครึ่ งหุ น ขนาด 1*3 นิ้ว ปาดกาวให้กาวติดบางที่สุด ไม่ให้ไหลเยิม้ เพื่อเป็ นการประหยัดกาวที่ใช้ กาววางกับดักกาว เหนียวสี เหลือง ควรวางให้อยูร่ ะดับสู งเหนื อยอดต้นสตรอเบอรี่ ประมาณ 1 ฟุต ในฤดูหนาวซึ่ งมีการระบาด ของแมลงน้อย อาจวางกับดัก 15 - 20 กับดัก/ไร่ แต่ในฤดูร้อนและฤดูฝน ซึ่ งจะมีการระบาดของแมลง ศัตรู พืชควรวางกับดัก 60 -80 กับดัก/ไร่ 2. โรคแอนแทรคโนส (โรคกอเน่า) เกิดจากเชื้ อราคอลเล็คโตตริ คมั จะแสดงอาการเริ่ มจากแผลเล็กๆ สี ม่วงแดงบนไหล แล้วลุกลามไปตลอดความยาวของสายไหล แผลที่ขยายยาวมากขึ้นจะเปลี่ยนเป็ นสี น้ าตาล รอบนอกของแผลเป็ นสี เหลืองอมชมพูซีด แผลที่แห้งเป็ นสี น้ าตาลทาให้เกิดรอยคอดของไหลบริ เวณที่เป็ นแผล ต้นไหลอาจจะยังไม่ตาย แต่เมื่ อย้ายต้นไหลที่มีการติดเชื้ อลงมาปลูกบริ เวณพื้นราบ หากสภาพอากาศ เหมาะสมกับการเจริ ญเติบโตของเขื้อ(อากาศร้อนชื้ น) สตรอเบอรี่ จะแสดงอาการใบเฉาและต่อมาจะเหี่ ยว อย่างรวดเร็ ว พบว่าเนื้ อเยื่อส่ วนกอด้านในมีลกั ษณะเน่ าแห้ง มีสีน้ าตาลแดง หรื อบางส่ วนเป็ นแผลขีดสี น้ าตาลแดง และต้นจะตายในที่สุด โรคนี้ สามารถเกิดที่ผลสตรอเบอรี่ ได้ดว้ ย พบอาการเป็ นแผลลักษณะวงรี สี น้ าตาลเข้ม แผลบุ๋มลึ กลงไปในผิวผล เมื่ออากาศชื้ นสามารถมองเห็ นหยดสี ส้ม ซึ่ งเป็ นกลุ่มของสปอร์ ขยายพันธุ์ของเชื่อราอยูใ่ นบริ เวณแผล การป้ องกันกาจัด ในฤดูกาลผลิตผลสตรอเบอรี่ ในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดื อนเมษายน ควรวางแผน จัดการในการผลิตต้นไหลให้ปราศจากเชื้ อโรคทั้งที่เป็ นอาการแบบต่างๆของโรคแอนแทรคโนสที่ปรากฎให้เห็น ได้แก่ อาการโรคใบจุดดา ขอบใบไหม้ แผลบนก้านใบ และแผลบนสายไหลตลอดจนต้นไหลที่มีการติดเชื้ อ แบบแฝง โดยที่ตน้ ไหลยังแสดงอาการปกติ แต่จะตายเมื่อมรการย้ายลงมาปลูกบริ เวณพื้นที่ราบ ในสภาพอากาศ


9 เหมาะสมกับการเจริ ญของเชื้ อ นอกจากนี้ ไม่ควรใส่ ปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป ในช่วงที่ตน้ สตรอเบอรี่ กาลังตั้งตัว และควรพ่นสารป้ องกันกาจัดเชื้อราคอลเล็คโตรตริ คมั เป็ นระยะๆจนสภาพอากาศหนาวเย็นลง ซึ่ งเป็ นสภาพ ที่ไม่เหมาะสมต่อการเกิดเชื้อ 3.โรคใบจุด เกิดจากเชื้อรารามูลาเรี ย โรคนี้จะปรากฎกับต้นแม่และต้นกล้า พบอาการระบาดรุ นแรง ในแปลงที่ปลูกกันมานาน การควบคุมโรคไม่ดีพอ แปลงที่มีวชั พืชมาก อาการเริ่ มแรกจะเห็นแผลขนาดเล็ก สี ม่วงแก่บนใบ ต่อมาแผลขยายขนาด รอบแผลสี ม่วงแดง กลางแผลสี น้ าตาลอ่อนถึงขาวหรื อเทา แผลค่อนข้างกลม คล้ายตานก สี อาจเปลี่ยนไปบ้างแล้วแต่ความรุ นแรงของโรคและการตอบสนองของพืช อาการอาจปรากฎ บนก้านใบ หรื อบางครั้งพบอาการที่ผลด้วย การป้ องกันกาจัด ถ้าพบอาการของโรคที่ใบให้เด็ดใบที่เป็ นโรคออกแล้วนาไปเผาทาลาย อย่าทิ้งไว้ บริ เวณแปลงปลูกเพราะจะทาให้เป็ นแหล่งสะสมของโรคต่อไป บารุ งพืชให้แข็งแรงในระยะปลูกเพื่อผลิตไหล อย่าปล่อยให้วชั พืชขึ้นรก เพราะวัชพืชเป็ นแหล่งอาศัยของโรค ควรดู แลความสะอาดของแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะช่วงฤดูฝน 4. โรคเหี่ยว เป็ นผลมาจากอาการรากเน่าโคนเน่า ซึ่ งเกิดจากเชื้ อราไฟทอปทอร่ า จะพบการตายของราก โดยเริ่ มจากปลายรากแล้วลุกลามต่อไปรากแขนงจะเน่าบริ เวณท่อน้ าท่ออาหารเป็ นสี แดง อาการเน่าสามารถ ลามขึ้นไปจนถึงโคนต้น ถ้าหากอาการไม่รุนแรงพืชจะแสดงอาการเพียงแคระแกรน แต่ถา้ อาการรุ นแรง จะเหี่ ยวทั้งต้น ใบเป็ นสี เหลืองจนถึงสี แดง และทาให้พืชตายได้ภายใน 2 – 3 วัน เมื่อถอนต้นดูพบว่าก้านใบ จะหลุดออกจากกอได้ง่าย ท่อลาเลียงภายในรากถูกทาลายจนเน่าทั้งหมด การป้องกันกาจัด การควบคุมโรคทีเ่ กิดกับราก ควรปฏิบตั ิดงั นี้ หลี ก เลี่ ยงการปลู ก สตรอเบอรี่ ซ้ า ในที่ ที่ มีโรคระบาดติ ดต่ อกันหลายปี ควรปลูก พืชหมุ นเวีย น เพื่อช่วยตัดวงจรของโรค และสร้างความสมดุลย์แก่ธาตุอาหารในดิน ในการเตรี ยมดิน ควรไถดินผึ่งทิ้งไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนเตรี ยมแปลงปลูก ดินต้องโปร่ ง มีการระบายน้ าดี มีการปรับปรุ งโครงสร้างของดินให้ดีข้ ึน โดยใส่ ปุ๋ยคอกและปุ๋ ยหมัก เมื่อเริ่ มพบอาการของโรครากเน่ าเกิ ดขึ้น ให้ขุดต้นนั้นเผาทาลาย อย่าทิ้งไว้ในบริ เวณแหล่งปลู ก แล้วใช้สารเคมีฉีดพ่นหรื อราดลงดินบริ เวณหลุมที่ขุดออกและต้นที่อยูใ่ กล้เคียง อนึ่ ง การใช้สารเคมีฆ่าเชื้ อในดิน จะมีผลกระทบต่อระบบนิ เวศน์ จุลินทรี ยอ์ ื่นๆที่มีประโยชน์ที่อาศัยในดินอาจถูกทาลายไปด้วย จึงแนะนา ให้ใช้เฉพาะจุดที่โรคระบาดเมื่อมีความจาเป็ นเท่านั้น


10 การใช้เชื้ อจุลินทรี ยต์ ่อต้านเชื้ อที่เป็ นสาเหตุของโรค เช่น เชื้ อราไทรโคเดอร์ มาเป็ นเชื้ อราปฎิ ปักษ์ ที่สามารถควบคุมเชื้ อราไฟทอปทอร่ าที่ทาให้เกิดโรคเน่าโคนเน่าได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดนนาเชื้ อราไทร โคเดอร์ มาที่เจริ ญบนเมล็ดข้าวฟ่ างผสมกับราและปุ๋ ยหมักตามอัตราส่ วนที่กาหนด มาคลุกกับดินในสภาวะ ชุ่มชื้นราว 1 - 2 สัปดาห์ก่อนปลูก ข้ อควรระวังในการใช้ เชื้อราไทรโคเดอร์ มา ไม่ใช้เชื้อราไทรโคเดอร์ มาควบคุมโรคพืชในบริ เวณที่ดินแฉะ ไม่ควรใช้สารกาจัดวัชพืชในแปลงที่มีการใช้เชื้อราไทรโคเดอร์ มา ศัตรู สตรอเบอรี่ทสี่ าคัญ 1. ไรสองจุด เป็ นศัตรู ที่สาคัญของการผลิ ตผลสตรอเบอรี่ ไรจะดูดน้ าเลี้ ยงจากใบสตรอเบอรี่ โดยเฉพาะบริ เวณใต้ใบ ทาให้ผิวใบบริ เวณที่ไรดูดทาลายมีลกั ษณะกร้ าน ใต้ใบเปลี่ ยนเป็ นสี น้ าตาลแดง ผิวใบด้านบนจะเห็นเป็ นจุดด่างขาวเล็กๆกระจายอยูท่ วั่ ไป เมื่อการทาลายรุ นแรงขึ้น จุดด่างขาวเล็กๆเหล่านี้ จะค่อยๆแผ่ขยายติดต่อกันไปเป็ นบริ เวณกว้าง จนทาให้ทวั่ ทั้งใบมีลกั ษณะเหลืองซี ด ใบร่ วง เป็ นผลทาให้ สตรอเบอรี่ ชงักการเจริ ญเติบโต ต้นแคระแกรน ให้ผลผลิตน้อยลง พบระบาดมากในสภาพอากาศแห้ง ความชื้นต่า ความสู ญเสี ยระดับเเศรษฐกิจเนื่ องจากการทาลายของไรสองจุดบนใบสตรอเบอรี่ ในหน้าหนาว คือ 20 -25 ตัว/ใบ แต่ในหน้าร้อนจะอยูท่ ี่ 50 ตัว/ใบ การป้ องกันให้ใช้สารฆ่า"รโปรปาไจท์ ฉี ดพ่นในช่วงที่ไม่มี แสงแดดจัด และควรสลับชนิ ดของสารฆ่าไรเพื่อป้ องกันการดื้ อยา ไม่ควรใช้สารป้ องกันกาจัดศัตรู พืช แบบครอบจักรวาล ให้เลือกใช้สารที่จาเพาะเจาะจงและเป็ นสารที่มีพิษย้อยต่อตัวห้ าตัวเบียน ศัตรู ธรรมชาติ ที่สาคัญของไรสองจุด ที่พบในแปลงสตรอเบอรี่ ได้แก่ ไรตัวห้ า ซึ่ งมี รายงานค้นพบว่ามีประสิ ทธิ ภาพ สามารถควบคุมไรสองจุดได้ดี นอกจากนั้น การให้น้ าแบบใช้สปริ งเกอร์ จะช่วยลดประชากรไรได้ เพราะจะ เป็ นการชะล้างไรให้หลุดจากใบพืช ชะล้างฝุ่ นละอองที่ไรชอบหลบอาศัยอยู่ และเป็ นการสร้างสภาพแวดล้อม ให้ชุ่มชื้น เหมาะกับการอยูอ่ าศัยของศัตรู ธรรมชาติของไร หมัน่ ทาความสะอาดแปลง ไม่ให้มีวชั พืชขึ้นในแปลงปลูก และไม่ควรปลูกพืชผักโดยเฉพาะ เช่น กระเทียม ขึ้นฉ่ าย แซมในแถวปลูกสตรอเบอรี่ เพราะเป็ นการเพิ่มพืชอาศัย ให้ไรสองจุด 2. หนอนด้วงขาว เป็ นหนอนของด้วงปี กแข็ง ตัวสี ขาว ปากมี ลกั ษณะปากกัด สี น้ าตาลอ่อน เจริ ญเติบโตจากไข่ที่อยูใ่ ต้ดิน จะเริ่ มกัดกินรากสตรอเบอรี่ ในช่วงปลายฤดูฝน ทาให้รากไม่สามารถดูดน้ าได้ เมื่อใบคายน้ าจึงทาให้ใบเหี่ ยว รู ใบปิ ด ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ไม่สามารถฟุ้ งกระจายเข้าสู่ ใบ การสังเคราะห์แสง จะลดลง ทาให้ตน้ สตรอเบอรี่ อ่อนแอ ชงักการเจริ ญเติบโต เมื่อพบอาการดังกล่าวให้ขุดหาหนอนแล้วทาลาย


11 ในการเตรี ยมแปลงให้ย่อยดินให้ละเอียด โดยเฉพาะพื้นที่เปิ ดใหม่ใกล้ป่าหรื อใกล้กองปุ๋ ยหมัก ใช้สารเคมี ประเภทคลอร์ ไพริ ฟอสราดบริ เวณที่พบ สารเคมีดงั กล่าวเป็ นสารเคมีกาจัดแมลงประเภทสัมผัสและกินตาย มีพิษตกค้าง 20 - 25 วันในดิน 3. เพลี้ยอ่อน เป็ นแมลงปากดูด จะดูดน้ าเลี้ยงของใบ ก้านใบ ด้านท้ายลาตัวเพลี้ยอ่อนมีท่อยื่นออกมา 2 ท่อ ใช้ปล่อยสารน้ าหวานเป็ นอาหารของเชื้ อรา ทาให้พืชสกปรกเกิดราดา พืชสังเคราะแสงได้ลดลง ทาให้ชงัก การเจริ ญเติบโต ใบหงิกย่น เพลี้ยอ่อนจะอยูร่ วมกันเป็ นกลุ่มตามส่ วนยอดช่อดอกและขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ ว นอกจากศัตรู ดงั กล่าวแล้ว บางพื้นที่ยงั พบว่าทากและหนูเป็ นศัตรู สาคัญที่เข้าทาลายผลสตรอเบอรี่ ได้ การติดดอกออกผล และการเก็บเกีย่ ว ต้นสตรอเบอรี่ จะเริ่ มแทงช่อดอกประมาณเดือนพฤศจิกายน เมื่ออุณหภูมิลดต่าลงและช่วงแสงของวันสั้นเข้า คือ ประมาณหนึ่งเดือนหลังจากปลูก เมื่อดอกบานมรการผสมเกสรแล้วประมาณหนึ่งเดือน ผลจะเริ่ มทยอย แก่พร้อมที่จะเก็บเกี่ยวได้ โดยผลสุ กมากที่สุดในช่วงเดือนมีนาคมและจะวายประมาณปลายเดือนเมษายน การเก็บผลผลิ ตควรเก็บช่วงที่มีอากาศเย็น คือ ตอนเช้ามืดในสภาพอากาศแห้ง เมื่อเก็บแล้วไม่ควร ให้ผลถูกแสงแดด เนื่องจากผลสตรอเบอรี่ มีอตั ราการหายใจสู ง เมื่อถูกแสงแดดจะทาให้ผลเน่าเร็ ว ในต้นหนึ่งๆ จะมีผลสุ กแตกต่างกัน ควรเลือกเก็บผลที่มีความแก่ตามที่กาหนดไว้เท่านั้น เก็บทุก 1 - 2 วัน โดยใช้ส่วนเล็บ หัวแม่มือและนิ้ วชี้ เด็ดออกจากขั้ว หรื อใช้กรรไกรชนิ ดที่ตดั ขั้วผลและหนี บส่ วนขั้วผลได้ดว้ ย ทาให้ผล สามารถติดมากับกรรไกรได้ นับว่าเป็ นวิธีที่ทาให้ผลและต้นสตรอเบอรี่ ไม่ชอกช้ า ภาชนะที่ใช้บรรจุสตรอเบอรี่ ขณะเก็บผลในแปลง ควรใช้ภาชนะทรงตื้นมีขนาดที่พอเหมาะ สามารถคัดเลือกคุณภาพของผลได้โดยไม่ตอ้ ง เปลี่ยนภาชนะ เพื่อให้มีการจับต้องผลให้นอ้ ยครั้งที่สุด และไม่ควรบรรจุผลสตรอเบอรี่ มากเกินไป เพราะจะเกิด การกดทับทาให้ผลช้ าได้ ถึ งแม้ว่าสตรอเบอรี่ จะเป็ นผลไม้ชนิ ดบ่มไม่สุก แต่สตรอเบอรี่ สามารถมีสีแดง เพิ่มขึ้นได้หลังจากเก็บเกี่ ยว ดังนั้นสตรอเบอรี่ ที่เก็บเกี่ ยวในขณะที่ผลยังไม่แดงทั้งผลจึงสามารถแดงพอดี เมื่อถึงตลาดปลายทาง การเก็บเกี่ยวผลสตรอเบอรี่ ที่มีผิวสี แดง 100 เปอร์ เซนต์ จะทาให้การเกิดช้ าและมีเชื้ อรา เข้าทาลายระหว่างการขนส่ งได้ง่าย การเก็บเกี่ยวผลิตเกษตรกรจะต้องคานึ งถึงความต้องการของตลาด ทั้งใน เชิงคุณภาพและปริ มาณ ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ประเภทของตลาดว่าจะเป็ นตลาดเพื่อโรงงานแปรรู ปหรื อตลาดเพื่อการ บริ โภคสด


12 การใช้ ภาชนะทรงตืน้ บรรจุในการเก็บเกีย่ วผลผลิตในแปลง ข้อกาหนดเชิงคุณภาพของสตรอเบอรี่ เพื่อส่ งจาหน่ายโรงงานแปรรู ป 1. รู ปทรงของผลสตรอเบอรี่ เป็ นปกติ ไม่บิดเบี้ยว ตรงตามสายพันธุ์ (มีเปอร์ เซ็นต์เนื้อ หลังการตัดแต่งสู ง เนื้อภายในมีสีแดง ผลไม่กลวง) 2. ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของผลไม่ต่ากว่า 2 เซนติเมตร 3. ความยาวของก้านผลไม่เกิน 1.5 เซนติเมตร 4. ผลไม่แสดงอาการเน่า ช้ า หรื อเสี ยหายเพราะถูกทาลายจากศัตรู พืช 5. ผลมีสีแดงหรื อสี ชมพู และมีส่วนสี ขาวได้ไม่เกินหนึ่งในห้าส่ วนของทั้งผล นโยบายการจัดการคุณภาพสตรอเบอรี่ GAP ในการผลิตสตรอเบอรี่ ระบบ GAP นั้นเกษตรกรจะต้องผลิตสตรอเบอรี่ ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน เป็ นที่พึงพอใจของลู กค้าและผูบ้ ริ โภค ผูผ้ ลิ ตสตรอเบอรี่ ภายใต้ระบบการเพาะปลูกที่ดีน้ นั มี วตั ถุ ประสงค์ ของการจัดการคุณภาพคือ 1. ผลิ ตสตรอเบอรี่ ที่ตรงตามพันธุ์ เก็บเกี่ ยวระยะเวลาที่ เหมาะสม ขนาดผลสม่ าเสมอ ผิวผลสวย ปราศจากรอยช้ าหรื อตานิจากการทาลายของศัตรู พืชและสาเหตุอื่นๆกลีบเลี้ยงสมบูรณ์และไม่เหี่ ยว 2. ผลิตสตรอเบอรี่ ที่ปลอดภัยจากสารตกค้าง 3. ผลิตสตรอเบอรี่ ที่ปลอดจากศัตรู พืช และเพื่อเสริ มสร้างความมัน่ ใจในผลิตผลของสตรอเบอรี่ GAPนั้นเกษตรกรจะต้องปฏิบตั ิดงั นี้ 1. มีการจัดการการสุ ขลักษณะฟาร์ม 2. มีการจัดการเครื่ องมือและอุปกรณ์การเกษตร 3. มีการจัดการปัจจัยการผลิต 4. มีการปฏิบตั ิและการควบคุมการผลิต 5. มีการบันทึกและควบคุมเอกสาร


13 แผนการควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่GAP 1. ผลิตสตรอเบอรี่ ที่ตรงตามพันธุ์ เก็บเกี่ยวระยะเวลาที่เหมาะสมขนาดผลสม่าเสมอ ผิวผลสวยปราศจากรอยช้ า หรื อตาหนิจากการทาลายศัตรู พืชสาเหตุอื่นๆกลีบเลี้ยงสมบูรณ์และไม่เหี่ ยว 1.1 การใช้พนั ธุ์ที่ปลูก อันตราย

- ผลผลิตมีลกั ษณะไม่ตรงตามพันธุ์ไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพ

มาตรการควบคุม

- ใช้ตน้ ไหลจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้

จุดควบคุม / จุดวิกฤต - จุดวิกฤต ค่าควบคุม

- ต้องไม่มีผลผลิตที่ผดิ พันธุ์ปะปน

การเฝ้ าระวัง

- สารวจแปลงปลูกเพื่อตรวจสอบต้นสตรอเบอรี่ ที่ที่ผดิ พันธุ์เมื่อเริ่ มให้ผลผลิต

การแก้ไขปั ญหา

- การถอนทาลายต้นสตรอเบอรี่ ที่ผิดพันธุ์และปะปนอยูใ่ นแปลงออกจากแปลงปลูก

สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- ผลการปฏิบตั ิสารวจแปลง

1.2 การป้ องกันกาจัดโรคและแมลง อันตราย

- ผลผลิตมีตาหนิจากการทาลายของโรคแมลงไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ คุณภาพมาตร

การควบคุม

- ควบคุมและป้ องกันกาจัดโรคแมลงและศัตรู พืชตามคาแนะนา

จุดควบคุม / จุดวิกฤต - จุดวิกฤต ค่าควบคุม

- ไม่มีผลผลิตที่มีตาหนิจากการทาลายของศัตรู พืชติดไป

การเฝ้ าระวัง

- สารวจชนิดและปริ มาณของศัตรู พืชทาลายผลสตรอเบอรี่ ต้ งั แต่หลังปลูก จนสิ้ นฤดูเก็บเกี่ยว

สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- ผลการปฏิบตั ิสารวจแปลง

1.3 การเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยว อันตราย

- ผลผลิตด้อยคุณภาพไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพมาตรฐาน

การควบคุม

- เก็บเกี่ยวด้วยความระมัดระวังและปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยวในสวนตามคาแนะนา

จุดควบคุม / จุดวิกฤต - จุดวิกฤต ค่าควบคุม

- ไม่มีผลผลิตที่คุณภาพไม่ตรงกับชั้นมาตรฐานคุณภาพติดไป

การเฝ้ าระวัง

- ใช้แรงงานที่มีความชานาญ สถานที่และอุปกรณ์อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน สะอาด และขนย้ายผลผลิตอย่างเหมาะสม

การแก้ไขปั ญหา

- เลือกแรงงานที่มีความชานาญในการเก็บเกี่ยวและคัดบรรจุสตรอเบอรี่


14 และใช้แรงงานในปริ มาณที่เหมาะสมเลือกสถานที่และอุปกรณ์ที่สะอาด อยูใ่ นสภาพ พร้อมใช้งานและเหมาะสมกับการใช้งาน ทาคัดแยกผลผลิต ด้อยคุณภาพออกจากผลผลิตคุณภาพดี และมีแผนการนาผลผลิตด้อยคุณภาพ ไปใช้ประโยชน์ สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- การเก็บเกี่ยวและคัดบรรจุผลผลิต - จานวนผลผลิตที่เก็บเกี่ยว - จานวนผลผลิตที่ดอ้ ยคุณภาพ - จานวนผลผลิตที่คุณภาพดี

2. การจัดการเพื่อผลิตสตรอเบอรี่ ที่ปลอดภัยจากสารพิษ อันตราย

- ผลผลิตมีสารพิษตกค้างเกินค่าความปลอดภัยไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพ

มาตรการควบคุม

- ใช้สารเคมีตามที่ระบุในการแก้ไขปั ญหาของแผนควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่

จุดควบคุม / จุดวิกฤต - ใช้สารเคมีเฉพาะที่ระบุไว้ในแผนควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่ โดยใช้ ในอัตราและเวลาที่ เหมาะสม การเฝ้ าระวัง

- ติดตามการใช้และจดบันทึกชนิดอัตราปริ มาณการใช้และช่วงเวลาที่ใช้สารเคมี

การแก้ไขปั ญหา

- ปฏิบตั ิตามวิธีการแก้ไขปั ญหาในแผนควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่ อย่างเคร่ งครัด

สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- ชนิด อัตราปริ มาณการใช้และช่วงเวลาที่ใช้สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรู พืช - บัญชีแหล่งที่มาของปั จจัยการผลิต

3. การจัดการเพื่อผลิตสตรอเบอรี่ ที่ปลอดจากศัตรู พืช 3.1 สารวจการเข้าทาลายและป้ องกันกาจัดศัตรู ทาลายสตรอเบอรี่ อันตราย

- ผลผลิตมีศตั รู พืชติดไปไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพ

มาตรการควบคุม

- สารวจชนิดและปริ มาณศัตรู พืชเข้าทาลายผลสตรอเบอรี่ ทุก 7-10 วัน ตั้งแต่หลังปลูก จนถึงสิ้ นฤดูเก็บเกี่ยว เพื่อประเมินความเสี ยหายและ ป้ องกัน กาจัดเมื่อพบปริ มาณศัตรู สตรอเบอรี่ เกินค่าควบคุมตามคาแนะนา

ค่าควบคุม

- เพลี้ยอ่อนมากกว่า 45 ตัวต่อใบ - ไรสองจุดมากกว่า 20 ตัวต่อใบ - หนอนกระทูผ้ กั มากกว่า 15 ตัวต่อ 1,000 ต้น


15 - ทาก ทาลายผลเสี ยหายมากกว่า 5 ผลต่อแถวปลูกยาว 100 เมตร - โรคผลเน่าสี เทา เมื่อพบการระบาด การเฝ้ าระวัง

- สารวจชนิดและปริ มาณศัตรู ทาลายผลสตรอเบอรี่ ทุก 7 – 10 วัน ตั้งแต่ หลังดอกบานจนถึงสิ้ นฤดูเก็บเกี่ยว โดยการจาแนกชนิดแมลงหรื อโรค ที่ทาลายผลและประเมินความเสี ยหายของการทาลายเพื่อประกอบ การตัดสิ นใจกาหนดวิธีการแก้ไขปั ญหา

สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- ชนิด อัตราปริ มาณการใช้และช่วงเวลาที่ใช้สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรู พืช - บัญชีแหล่งที่มาของปั จจัยการผลิต

การแก้ไขปั ญหา

- สารวจชนิดและปริ มาณศัตรู พืชทาลายสตรอเบอรี่ หรื อประเมินความเสี ยหาย เนื่องจากการทาลายของศัตรู

เปรียบเทียบกับค่ าควบคุมและกาจัดด้ วยวิธีการดังนี้ เพลีย้ อ่อน ด้วยคาร์ โบซัลแฟน 20 % อีซี อัตรา 50 มิลลิตร หรื อ แลมบ์ดาไซฮาโลทริ น 2.5% อีซี อัตรา 10 มิลลิตรต่อน้ า 20 ลิตร ไรสองจุด พ่นด้วยโพรพาร์ ไกต์ 30% ดับบิวพี อัตรา 30 กรัม หรื อเพนไพร็ อคซิ เมต 5% เอสซี อัตรา 20 มิลลิตรต่อน้ า 20 ลิตร หนอนกระทู้ผัก พ่นด้วยเชื้ อแบคทีเรี ยบาซิ ลลัส ทูริงเยนซิ ลอัตรา 60-100 มิลลลิตรหรื อฟิ โฟรนิ ล 5% อีซี อัตรา 20 มิลลิตร หรื อ เดลทาเมทริ น 3% อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร ทาก ใช้เหยือ่ พิษเมทัลดีไฮด์ 5% จีบี โรยหัวแปลงปลูก โรคผลเน่ าสี เทา พ่นด้วยคาร์ เบนดาซิ ม 50 % ดับบิวพี อัตรา 6-12 กรัม หรื อไฮโปรไดรอน 50 % ดับบิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- ผลการสารวจศัตรู พืชและวิธีป้องกันกาจัดศัตรู พืช - ผลการตรวจสอบการปฏิบตั ิงานป้ องกันกาจัด


16 3.2 การป้ องกันการคละปนของผลิตผลที่มีศตั รู พืชติดไปกับผล อันตราย

- ผลผลิตมีศตั รู พืชติดไปไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพ

มาตรการควบคุม

- ตรวจสอบและคัดแยกผลสตรอเบอรี่ ที่มีร่องรอยการทาลายของศัตรู พืช และ/หรื อมีศตั รู พืชติดอยูก่ บั ผลออกจากผลผลิตที่มีคุณภาพ ตั้งแต่หลังปลูก จนถึงสิ้ นฤดูเก็บเกี่ยว เพื่อประเมินความเสี ยหายและ ป้ องกัน กาจัดเมื่อพบปริ มาณศัตรู สตรอเบอรี่ เกินค่าควบคุมตามคาแนะนา

ค่าควบคุม

- ไม่มีการคละปน

การเฝ้ าระวัง

- ตรวจสอบและคัดแยกสตรอเบอรี่ ที่ถูกทาลายจากศัตรู พืชและหรื อพบ ศัตรู พืชติดอยูท่ ี่ผลในระหว่างการบรรจุผลผลิต

สิ่ งที่ตอ้ งบันทึก

- จานวนผลผลิตที่เก็บเกี่ยว - จานวนผลผลิตที่ดอ้ ยคุณภาพ - จานวนผลผลิตที่มีคุณภาพ

ระเบียบปฏิบัติ GAP ( G00d Agricultural Practice ) ระบบการผลิตสตรอเบอรี่ระดับเกษตรกร ข้อกาหนดวิธีการปฏิบตั ิ เกณฑ์ที่กาหนด และวิธีการตรวจประเมินว่าเป็ นไปตามระบบการผลิตสต รอเบอรี่ ลาดับข้อกาหนด 1. แหล่งน้ า เกณฑ์ที่กาหนด - น้ าที่ใช้ ต้องได้จากแหล่งที่ไม่มีสภาพแวดล้อมซึ่ งก่อให้เกิดการปนเปื้ อน วิธีตรวจประเมิน - ตรวจพินิจสภาพแวดล้อม หากอยูใ่ นสภาวะเสี่ ยงให้ตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพน้ า 2. พื้นที่ปลูก เกณฑ์ที่กาหนด - ต้องเป็ นพื้นที่ที่ไม่มีวตั ถุอนั ตรายที่จะทาให้เกิดการตกค้างหรื อปนเปื้ อนในผลิตผล วิธีตรวจประเมิน - ตรวจพินิจสภาพแวดล้อมหากอยูใ่ นสภาวะเสี่ ยงให้ตรวจสอบ และวิเคราะห์คุณภาพดิน


17 3. การใช้วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตร เกณฑ์ที่กาหนด - หากมีการใช้ให้ใช้ตามคาแนะนาหรื ออ้างอิงคาแนะนาของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตร - ต้องใช้สารเคมีให้สอดคล้องกับรายการสารเคมีที่ประเทศคู่คา้ อนุ ญาตให้ใช้ - ห้ามใช้วตั ถุอนั ตรายที่ระบุในทะเบียนวัตถุอนั ตรายทางการเกษตรที่หา้ มใช้ - ห้ามใช้วตั ถุอนั ตรายที่ระบุในทะเบียนวัตถุอนั ตรายทางการเกษตรที่มูลนิธิโครงการหลวงห้ามใช้ - ห้ามใช้วตั ถุอนั ตรายที่ระบุในทะเบียนวัตถุอนั ตรายที่ประเทศญี่ปุ่นห้ามใช้ วิธีตรวจประเมิน - ตรวจสอบสถานที่เก็บรักษาวัตถุอนั ตราย (รายละเอียดภาคผนวก ก ข้อ ๑.๓) - ตรวจบันทึกข้อมูลการใช้วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตรและสุ่ มตัวอย่างวิเคราะห์ สารพิษตกค้างใน ผลิตผลกรณี มีขอ้ สงสัย 4. ปลอดจากศัตรู พืช เกณฑ์ที่กาหนด - ผลิตผลที่เก็บเกี่ยวแล้ว ต้องไม่มีไรสองจุด ทาก เพลี้ยอ่อน หนอนกระทูผ้ กั และโรคผลเน่า สี เทาและศัตรู พืชอื่นๆถ้าพบต้องคัดแยกไว้ต่างหาก วิธีตรวจประเมิน - ตรวจพินิจที่ผวิ ผล - ตรวจบันทึกข้อมูลการใช้วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตร - ตรวจบันทึกผลการคัดบรรจุผลิตผล 5. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยว เกณฑ์ที่กาหนด - เก็บเกี่ยวสตรอเบอรี่ เมื่อผลมีอายุประมาณ ๗o วัน หลังดอกบานสังเกตจาการพัฒนาของ สี ผวิ ผลมี สี แดงเกิดขึ้นประมาณ ๗๕ เปอร์เซ็นต์ - ต้องมีการคัดคุณภาพตามชั้นมาตรฐานที่กาหนด - อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บเกี่ยว ภาชนะบรรจุและวิธีการเก็บเกี่ยวจะต้อง ไม่ก่อให้เกิด อันตรายต่อคุณภาพผล และปนเปื้ อนสิ่ งอันตรายที่มีผลต่อการบริ โภค วิธีตรวจประเมิน - ตรวจพินิจสถานที่ อุปกรณื ภาชนะ บรรจุ ขั้นตอนและวิธีการ เก็บเกี่ยวและคัดบรรจุ


18 6. การเก็บรักษาและขนย้ายผลิตผล เกณฑ์ที่กาหนด - สถานที่เก็บรักษาต้องสะอาด มีอากาศถ่ายเทได้ดี สามารถป้ องกันการปนเปื้ อน จากวัตถุแปลกปลอม วัตถุอนั ตราย และสัตว์พาหนะนาโรค - อุปกรณ์และพาหนะในการขนย้ายต้องสะอาดปราศจากการปนเปื้ อนสิ่ งอันตราย ที่มีผลต่อความปลอดภัยในการบริ โภค - ต้องขนย้ายผลิตผลอย่างระมัดระวัง วิธีตรวจประเมิน - ตรวจพินิจสถานที่ อุปกรณ์ภาชนะบรรจุ ขั้นตอนและวิธีการเก็บเกี่ยวและคัดบรรจุ - ตรวจพินิจสถานที่ อุปกรณ์ ภาชนะบรรจุ ขั้นตอน และวิธีการขนย้ายผลิตผล 7. การบันทึกข้อมูล เกณฑ์ที่กาหนด - ต้องมีการบันทึกข้อมูลที่เกี่ยวกับการใช้วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตร - ต้องมีการบันทึกข้อมูลการสารวจศัตรู พืช - ต้องมีการบันทึกข้อมูลการเก็บเกี่ยวและคัดบรรจุ วิธีตรวจประเมิน - ตรวจบันทึกข้อมูลของเกษตรกรตามแบบบันทึกข้อมูล คาแนะนาหลักการปฏิบัติตามระบบการผลิตสตรอเบอรี่ 1. การจัดการสุ ขลักษณะสวน 1.1 จัดทาประวัติสวนและการใช้ประโยชน์ที่ดินในสวน 1.1.2 มีการจัดทาข้อมูลประจาแปลง โดยรวมชื่ อของเจ้าของสวน ผูด้ ูแลแปลง ที่ต้ งั แปลง แผนที่ภายในแปลง ชนิดพืชและพันธุ์ที่ปลูก ประวัติการใช้ที่ดินย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี และรายละเอียดอื่นๆ ตามแบบบันทึกข้อมูลประจาแปลง 1.1.2 ในกรณี ที่สถานที่ผลิตอยูใ่ กล้ หรื ออยู่ในแหล่งอุตสาหกรรม หรื อพื้นที่ที่มีความเสี่ ยง ควรมีการวิเคราะห์ดินเพื่อ การตรวจสอบคุณภาพดิ น และการปนเปื้ อนจากสิ่ งที่เป็ นอันตรายอย่างน้อย 1 ครั้ง ในระยะเริ่ มระบบการเพาะปลูกที่ดี : GAP สตรอเบอรี่ โดยดาเนินการตามคาแนะนาในเอกสารสนับสนุ น วิธีเก็บตัวอย่างดินเพื่อการวิเคราะห์ บันทึกรายละเอียดการเก็บตัวอย่างดินลงในแบบบันทึก


19

1.2 แหล่งน้ าและคุณภาพน้ า 1.2.1 น้ าที่ ใช้ในกระบวนการผลิ ตและน้ าที่ ใช้ล้า งผลิ ตผลหลังเก็บ เกี่ ยว ควรเป็ นน้ าที่ มี คุ ณภาพเหมาะสมกับการใช้ในการเกษตร ต้องไม่ใช้น้ าเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม หรื อ กิ จกรรมอื่ นๆ ที่ก่อให้เกิดการปนเปื้ อนสิ่ งที่เป็ นอันตรายกรณี จาเป็ นต้องใช้ ต้องมีหลักฐาน หรื อข้อพิสูจน์ที่ชดั เจนว่าน้ านั้น ได้ผา่ นการบาบัดน้ าเสี ยมาแล้ว และสามารถนามาใช้ในกระบวนการผลิตได้ 1.2.2 ควรมีการเก็บตัวอย่างน้ าอย่างน้อย ๑ ครั้ง ในระยะเริ่ มระบบการเพาะปลูกที่ดี : GAP สตรอเบอรี่ ตามคาแนะนาในเอกสารสนับสนุ นวิธีเก็บตัวอย่างน้ าเพื่อการวิเคราะห์ ส่ งห้องปฏิบตั ิการที่เชื่ อถือได้ 1.2.3 แหล่งน้ าสาหรับการเกษตรไม่ควรเป็ นแหล่งน้ าที่เกิดขึ้นเนื่ องจากการทาลายสิ่ งแวดล้อม 1.3 การเก็บรักษาสารเคมีทางการเกษตร 1.3.1 จัดเก็บสารเคมีชนิดต่างๆที่ใช้ในกระบวนการผลิตในสถานที่มิดชิด ปลอดภัย ป้ องกันแดด และฝนได้ และมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก 1.3.2 แยกสถานที่เก็บสารเคมีไม่ให้อยู่ใกล้ที่พกั อาศัยและสถานที่ประกอบอาหาร ไม่อยู่ บริ เวณต้นน้ า หรื อบริ เวณที่มีน้ าไหลผ่าน เพื่อป้ องกันสารเคมีปนเปื้ อนในแหล่งน้ า 1.3.3 สารเคมีแต่ละชนิ ดต้องจัดเก็บในภาชนะปิ ดมิดชิ ด สารเคมีที่เปิ ดใช้แล้วห้ามถ่ายออก จากภาชนะบรรจุเดิม ให้ปิดป้ ายแสดงชัดเจน และแยกเก็บเป็ นหมวดหมู่ ไม่ปะปนกันระหว่างปุ๋ ย สารควบคุ ม การเจริ ญเติบโตของพืช สารเคมีป้องกันกาจัดโรค สารเคมีป้องกันกาจัดแมลง สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืช และอาหารเสริ มต่างๆ 1.3.4 โรงเก็บสารเคมีตอ้ งมีเครื่ องมือและวัสดุป้องกันอุบตั ิเหตุอย่างครบถ้วน เช่น น้ ายาล้างตา น้ าสะอาด ทรายและอุปกรณ์ดบั เพลิง เป็ นต้น 1.3.5 ต้องไม่มีสารเคมีที่ไม่ได้ข้ ึนทะเบียนวัตถุ อนั ตรายตามพระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535 เก็บรักษาอยูใ่ นสถานที่เก็บสารเคมี หรื อภายในสวน 1.4 การใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1.4.1 ห้ามใช้สารเคมี ที่ไม่ได้ข้ ึ นทะเบี ยนวัตถุ อนั ตรายตามพระราชบัญญัติวตั ถุ อนั ตราย พ.ศ. 2535 ตามเอกสารสนับสนุน รายชื่อวัตถุอนั ตรายห้ามใช้ในการเกษตรและต้องใช้สารเคมีให้สอดคล้อง กับรายการสารเคมีที่ประเทศคู่คา้ อนุญาตให้ใช้


20 1.4.2 อ่านฉลากคาแนะนา เพื่อให้ทราบคุณสมบัติ และวิธีการใช้สารป้ องกันกาจัดศัตรู พืช ก่อนปฏิบตั ิงานทุกครั้ง 1.4.3 ผูป้ ระกอบการและแรงงานที่ปฏิบตั ิงานด้านการป้ องกันกาจัดศัตรู พืช ควรรู ้จกั ศัตรู พืช ชนิด และ อัตราการใช้สารป้ องกันกาจัดศัตรู พืช 1.4.4 เตรี ยมสารป้ องกันกาจัดศัตรู พืช และใช้ให้หมดในคราวเดียว ไม่ควรเหลือติดค้างในถังพ่น 1.4.5 ปิ ดฝาภาชนะบรรจุสารป้ องกันกาจัดศัตรู พืชให้สนิ ทเมื่อเลิกใช้ และเก็บในสถานที่เก็บสารเคมี 1.4.6 เมื่อใช้สารป้ องกันกาจัดศัตรู พืชหมดแล้ว ให้ลา้ งภาชนะบรรจุสารเคมีดว้ ยน้ า 2 - 3 ครั้ง แล้วเทลงในถังพ่นสารเคมี ปรับปริ มาณน้ าตามความเข้มข้นที่กาหนด ก่อนนาไปใช้พ่นป้ องกัน กาจัดศัตรู พืชและขณะปฏิบตั ิงานผูพ้ น่ ต้องอยูเ่ หนือลมตลอดเวลา 1.4.7 ควรพ่นสารป้ องกันศัตรู พืชในช่วงเช้าหรื อเย็นขณะลมสงบ หลีกเลี่ยงการพ่นในเวลา แดดจัดหรื อลมแรงขณะปฏิบตั ิงานผูพ้ น่ ต้องอยูเ่ หนื อลมตลอดเวลา 1.4.8 หลังการพ่นสารป้ องกันกาจัดศัตรู พืชทุกครั้ง ผูพ้ ่นต้องอาบน้ า สระผม และเปลี่ ยน เสื้ อผ้าทันที เสื้ อผ้าที่ใส่ ขณะพ่นสารต้องซักให้สะอาดทุกครั้ง 1.4.9 ให้ปฏิบตั ิตามแผนควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่ 1.5 ความสะอาดปลอดภัยและการกาจัดของเสี ยและวัสดุเหลือใช้ 1.5.1 ภาชนะบรรจุสารเคมีที่ใช้หมดและล้างสารเคมีออกหมดแล้วตามคาแนะนาในข้อ 1.4.6 ต้องไม่นากลับมาใช้อีก และต้องทาให้ชารุ ดเพื่อป้ องกันการนากลับมาใช้ แล้วนาไปทิ้งในสถานที่ที่จดั ไว้ สาหรับทิ้งภาชนะบรรจุสารเคมีโดยเฉพาะหรื อทาลายโดยการฝังดินห่ างจากแหล่งน้ า และให้มีความลึกมากพอ ที่สัตว์ไม่สามารถคุย้ ขึ้นมาได้ ห้ามเผาทาลาย 1.5.2 กิ่งพืชที่มีโรคเข้าทาลายต้องเผาทาลายนอกแปลง 1.5.3 เศษพืช หรื อกิ่งที่ตดั แต่งจาต้น และไม่มีโรคเข้าทาลาย สามารถนามาทาเป็ นปุ๋ ยหมัก หรื อปุ๋ ยพืชสดได้ 1.5.4 จาแนก และแยกประเภทของขยะให้ชดั เจน เช่น กระดาษ กล่องกระดาษ พลาสติก แก้ว น้ ามัน สารเคมี และเศษซากพืช เป็ นต้น รวมทั้งควรมีถงั ขยะวางให้เป็ นระเบียบ หรื อระบุจุดทิ้งขยะให้ชดั เจน


21 2. การจัดการเครื่องมือและอุปกรณ์ การเกษตร 2.1 การจัดทารายการและเครื่ องมือและอุปกรณ์ 2.1.1 มีอุปกรณ์การเกษตรเหมาะสมและเพียงพอต่อการปฏิบตั ิงาน 2.1.2 สถานที่เก็บรักษาอุปกรณ์และเครื่ องมือการเกษตร ควรเป็ นสัดส่ วน ปลอดภัย ง่ายต่อ การนาไปใช้งาน มี ป้ายแสดงไว้ชัดเจน พร้ อมทั้งจัดทารายการและแผนการตรวจบ ารุ งรั ก ษาเครื่ องมื อ / อุปกรณ์การเกษตรทุกชิ้น ลงในแบบบันทึก 2.2 การตรวจสภาพ และการซ่อมบารุ ง 2.2.1 มีการตรวจสภาพเครื่ องมือและอุปกรณ์การเกษตร เช่น เครื่ องพ่นสารป้ องกันกาจัดศัตรู พืช อุปกรณ์การเก็บเกี่ยว ก่อนนาออกไปใช้งาน และต้องทาความสะอาดทุกครั้งหลังใช้งานเสร็ จแล้ว และก่อน นาไปเก็บในสถานที่เก็บ 2.2.2 มีการตรวจซ่ อมบารุ งรักษาเครื่ องมือและอุปกรณ์การเกษตร ตามแผนการบารุ งรักษา ที่กาหนดไว้ พร้อมทั้งบันทึกผลการตรวจซ่อมทุกครั้ง ลงในแบบบันทึก 2.2.3 เครื่ องมือ อุปกรณ์ และภาชนะที่ใช้ในการบรรจุ และขนส่ งผลิตผล ต้องมีการทาความสะอาด ทุกครั้งก่อนการใช้งาน และเมื่อใช้เสร็ จต้องทาความสะอาดก่อนนาไปเก็บ 2.2.4 กรณี ที่มีความจาเป็ นต้องใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่ตอ้ งอาศัยความเที่ยงตรงในการปฏิบตั ิงาน ต้องมีการตรวจสอบความเที่ยงตรงอย่างสม่าเสมอแล้วแต่กรณี หากพบว่ามีความคลาดเคลื่อนต้องดาเนิ นการ ปรับปรุ ง ซ่อมแซมหรื อเปลี่ยนใหม่ เพื่อให้อุปกรณ์ดงั กล่าวมีประสิ ทธิ ภาพตามมาตรฐานเมื่อนามาใช้งาน 3. การจัดการปัจจัยการผลิต 3.1 การจัดทารายการปัจจัยการผลิตและแหล่งที่มา - จัดทารายการและรายละเอียดเฉพาะของปั จจัยการผลิตที่สาคัญได้แก่ พันธุ์ ปุ๋ ย สารเคมี ป้ องกันกาจัดศัตรู พืชที่ใช้ในการปฏิบตั ิการ พร้อมทั้งจัดทาบัญชี รายการปริ มาณ วัน เดื อน ปี ที่จดั ซื้ อจัดหา ลงในแบบบันทึก 3.2 การตรวจสอบคุณสมบัติของปัจจัยการผลิตที่สาคัญ - ปั จจัยการผลิ ตที่ สาคัญที่ ไม่สามารถตรวจสอบแหล่ งที่ มาได้ หรื อไม่น่าเชื่ อถื อ ต้องส่ ง ปั จจัยการผลิ ตนั้นไปยัง หน่ วยงาน หรื อห้องปฏิ บตั ิ การที่ เชื่ อถื อได้เพื่อตรวจวิเคราะห์ บนั ทึ กรายการเก็ บ ตัวอย่างปั จจัยการผลิตลงในแบบบันทึก รวมทั้งเก็บใบแจ้งผลการวิเคราะห์ไว้เป็ นหลักฐาน


22 4. การปฏิบัติและควบคุมการผลิต 4.1 การจัดการในกระบวนการผลิต - การจัดการในกระบวนการผลิตจะมีระเบียบปฏิบตั ิของแต่ละประเดนตามความเหมาะสม ในแต่ละพืช การปฏิบตั ิตอ้ งดาเนินการตามระเบียบปฏิบตั ิต่างๆ ในแต่ละพืช 4.1.1 มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตในประเด็นคุณภาพ ( quality attributes ) ที่เกี่ยวข้องในเชิงการค้าเฉพาะเรื่ องของพืชนั้นๆ 4.1.2 มีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตในประเด็นความปลอดภัย ( safety ) ด้านสารเคมี ( chemical ) ด้านจุลินทรี ย ์ ( Microbial ) และด้านกายภาพ ( Physical ) 4.1.3 มีข้ นั ตอนการปฏิ บตั ิเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตในประเด็นสุ ขอนามัยพืช ( Phytosanitary ) ด้านโรค แมลง และ ศัตรู พืช 4.2 การจัดการประเด็นทัว่ ไป 4.2.1 ข้อพึงปฏิบตั ิในการเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยว 4.2.1.1 ควรใช้เครื่ องมือหรื อวิธีการเฉพาะให้สอดคล้องกับธรรมชาติของแต่ละพืช เพื่อป้ องกันการพกช้ าของผลิตผลเนื่องจาการเก็บเกี่ยว 4.2.1.2 ต้องมีวสั ดุปูรองพื้นในบริ เวณพักผลิตผลที่เก็บเกี่ ยวในแปลง เพื่อป้ องกัน การปนเปื้ อนของจุลินทรี ย ์ สิ่ งปฏิกลู เศษดิน และสิ่ งสกปรก หรื อสิ่ งที่เป็ นอันตรายอื่นๆจากพื้นดิน 4.2.1.3 ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุและการขนส่ งผลิตผล ต้องแยกต่างหากจากภาชนะ ที่ใช้ในการขนย้าย หรื อขนส่ งสารเคมี หรื อ ปุ๋ ย เพื่อป้ องกันการปนเปื้ อนสารเคมีทางการเกษตร และจุลินทรี ย ์ ที่เป็ นอันตรายต่อการบริ โภคและความเสี ยหายของผลิตผล 4.2.1.4 ในกรณี ที่ไม่สามารถแยกภาชนะบรรจุผลิตผล และภาชนะขนย้ายสารเคมี หรื อปุ๋ ยได้ตอ้ งทาความสะอาดจนแน่ใจว่าไม่มีการปนเปื้ อนดังกล่าว 4.2.1.5 ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุข้ นั ต้นเพื่อการขนถ่านภายในแปลงไปยังพื้นที่คดั แยกบรรจุตอ้ งเหมาะสมมีรูปแบบภาชนะ มีวสั ดุกรุ ภายในภาชนะเพื่อป้ องกันการกระแทกเสี ยดสี 4.2.1.6 การจัดวางผลิตผลในบริ เวณพักผลิ ตผลที่เก็บเกี่ ยวในแปลงต้องเหมาะสม กับธรรมชาติของแต่ละพืชเพื่อป้ องกันคราบเปื้ อนจากน้ ายางในผล หรื อ รอยแผลที่เกิดจากการขูดขีด หรื อกระแทกกัน ระหว่างผลิตผล รวมทั้งปั ญหาการเสื่ อมสภาพของผลิตผลอันเนื่องมาจากความร้อน และแสงแดด 4.2.1.7 การเคลื่อนย้ายผลิตผลภายในแปลง ควรปฏิบตั ิดว้ ยความระมัดระวัง


23 4.3 การควบคุมการคละปนของผลิตผลด้อยคุณภาพ 4.3.1 มีกระบวนการคัดแยกให้ได้ผลิตผลที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานเป็ นที่พึงพอใจของคู่คา้ และผูบ้ ริ โภค 4.3.2 ต้องมีพ้นื ที่การจัดวางแยกผลิตผลที่ดอ้ ยคุณภาพเป็ นสัดส่ วน 4.3.3 มีแผนการใช้ประโยชน์จากผลิตผลที่ดอ้ ยคุณภาพอย่างชัดเจน 4.4 การบ่งชี้และการสอบกลับ ( traceability ) 4.4.1 มีการบันทึกการปฏิบตั ิงานตามแบบบันทึก 4.4.2 มีการควบคุมเอกสาร 5. การบันทึกและควบคุมเอกสาร 5.1 เอกสารที่ใช้ในการปฏิบตั ิงานแปลง ได้แก่ 5.1.1 นโยบายคุณภาพของแปลง 5.1.2 วัตถุประสงค์คุณภาพแปลง 5.1.3 ขอบเขตการปฏิบตั ิงานตามข้อกาหนดของระบบจัดการคุณภาพ 5.1.4 แผนควบคุมการผลิตเฉพาะพืช 5.1.5 ระเบียบปฏิบตั ิต่างๆในการปฏิบตั ิงานแปลง 5.1.6 วิธีการปฏิบตั ิต่างๆตามระเบียบปฏิบตั ิ 5.1.7 แบบบันทึกการปฏิบตั ิงานแปลง 5.1.8 เอกสารสนับสนุน 5.1.9 หลักฐานการฝึ กอบรม การจัดซื้ อ จัดหาปั จจัยการผลิต ( ถ้ามี ) 5.1.10 หลักฐานผลการตรวจวิเคราะห์ ดิน น้ า ปั จจัยการผลิต และสารตกค้างในผลิตผลที่สวน ได้มีการดาเนินการเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์คุณภาพ ตามความจาเป็ น 5.1.11 เอกสารอื่นๆ ที่จาเป็ นในการดาเนินการลงในแบบบันทึก 5.2 เอกสารหรื อแบบบันทึก ต้องจัดทาให้เป็ นปั จจุบนั สาหรับการผลิตในฤดูน้ นั ๆ รวมทั้งต้องมี การบันทึกให้ครบถ้วน และลงชื่อผูป้ ฏิบตั ิงานทุกครั้งที่มีการบันทึกข้อมูล 5.3 ในกรณี ที่มีแปลงผลิตมากกว่า 1 แปลง ต้องแยกบันทึกข้อมูลเป็ นรายแปลง


24 6. การจัดเก็บและควบคุมเอกสาร 6.1 ให้มีการจัดเก็บเอกสารเป็ นหมวดหมู่ แยกเป็ นฤดูกาลผลิตแต่ละฤดูกาลเพื่อสะดวกต่อ การตรวจสอบและการนามาใช้ 6.2 เก็บรักษาแบบบันทึกการปฏิบตั ิงานและเอกสารที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานไว้เป็ นอย่างดี อย่างน้อย 3 ปี ของการผลิ ตติดต่อกัน หรื อตามที่ผปู ้ ระกอบการ หรื อคู่คา้ ต้องการเพื่อให้สามารถ ตรวจสอบ ย้อนหลังได้ 6.3 ในกรณี ที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารมาตรฐานระเบียบปฏิบตั ิ หรื อระเบียบปฏิบตั ิ และเอกสาร อื่นที่เกี่ยวข้อง ผูป้ ระกอบการต้องการบันทึกการแก้ไขในแบบบันทึกการควบคุมเอกสาร 7. การจัดการเพือ่ ให้ ได้ ผลผลิตสตรอเบอรี่ทตี่ รงตามพันธุ์ เก็บเกี่ยวระยะเวลาที่เหมาะสม ขนาดผลสม่าเสมอ ผิวผลสวย ปราศจากรอยช้ าหรื อตาหนิ จากการทาลายของศัตรู พืชและสาเหตุอื่นๆ กลีบเลี้ยงสมบูรณ์และไม่เหี่ ยว 7.1 จัดหาต้นไหล ต้องจัดหาต้นไหลสตรอเบอรี่ ที่ใช้ปลูกตรงตามพันธุ์จากแหล่งผลิตที่เชื่ อถือได้ โดยเป็ นต้นไหลที่คุณภาพดี มีความแข็งแรงและปราศจากโรคและแมลง 7.2 การเก็บเกี่ยวและปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยว 7.2.1 เก็บผลสตรอเบอรี่ ให้มีการพัฒนาของสี ผวิ ตามดัชนีเก็บเกี่ยวของแต่ละพันธุ์ 7.2.2 เก็บผลสตรอเบอรี่ ดว้ ยความระมัดระวัง โดยใช้มือเด็ดผลจากต้นและใส่ ลงในภาชนะ ที่สะอาดและ ป้ องกันการช้ าเสี ยหายได้ 7.2.3 เก็บเกี่ยวผลในตอนกลางคืนหรื อตอนเช้าถึงตอนสายในช่วงที่แสงแดดยังไม่แรงและ อุณหภูมิไม่สูงเกินไปและไม่ควรปล่อยให้ผลถูกแสงแดดนานเกินกว่า 10 – 15 นาที 7.2.4 ควรใช้ภาชนะทรงตื้นในการเก็บเกี่ยวผลผลิตและไม่ให้ผลทับซ้อนกันมากเกินไปใน แต่ละครั้ง ( ไม่ควรเกิน 1.5 – 2 กิโลกรัม) 7.2.5 แยกเก็บเกี่ยวผลที่เสี ยหายหรื อผลเป็ นโรค หรื อผลที่ไม่ตรงตามพันธุ์ไม่ให้ปะปน ในภาชนะเดียวกันกับผลที่มีคุณภาพ 7.3 การคัดบรรจุ 7.3.1 รี บนาผลผลิ ตที่ เก็บแล้วมาคัดคุ ณภาพในที่ร่มอีกครั้งโดยคัดผลที่ไม่ตรงตามพันธุ์ ระยะเก็บเกี่ยวไม่ถูกต้อง มีตาหนิ สุ กเกินไปหรื อมีศตั รู พืชติดอยูอ่ อกจากผลผลิตคุณภาพดี


25 7.3.2 ทาการคัดแยกผลตามชั้นมาตรฐานคุณภาพโดยให้ผลในแต่ละเกรดมีขนาดสม่าเสมอกัน ดังนี้ - เกรดพิเศษ - เกรด 1 - เกรด 2

น้ าหนักผล 25 กรัมขึ้นไป น้ าหนักผล 15 -25 กรัม น้ าหนักผล 11- 15 กรัม น้ าหนักผล 9 - 11 กรัม

- เกรด 3 - เกรด 4

น้ าหนักผล 9 - 9 กรัม 7.3.3 บรรจุผลผลิตที่คดั แยกแล้วลงในภาชนะบรรจุซ่ ึ งเป็ นถาดพลาสติกใสที่มีฝาปิ ดเพื่อ รักษาความสด 7.4 การขนส่ ง - จาเป็ นต้องใช้รถบรรทุกที่มีเครื่ องทาความเย็น ถ้าหากไม่มีควรรี บขนส่ งโดยเร็ วที่สุดใน ช่วงเวลาที่อากาศไม่ร้อน 8. การจัดการเพือ่ ให้ ได้ ผลผลิตสตรอเบอรี่ทปี่ ลอดภัยจากสารพิษตกค้ าง 8.1ใช้สารเคมี ชนิด อัตรา และเวลาตามรายละเอียดในวิธีการแก้ปัญหาในแผนควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่ 8.2 ต้องใช้สารเคมีที่ถูกต้องตามกฎหมาย มีเลขทะเบียนวัตถุอนั ตรายและมีคาแนะนาบนฉลากให้ใช้ กับพืชนั้น ๆ 8.3 ต้องไม่ใช้สารเคมีที่ระบุในทะเบียนวัตถุอนั ตรายที่ห้ามใช้ (รายชื่อวัตถุอนั ตรายที่ห้ามใช้ทาง การเกษตร ไม่ได้ข้ ึนทะเบียนตามพระราชบัญญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535) และที่ระบุในรายการสารเคมี ที่ ประเทศคู่คา้ และโครงการหลวงห้ามใช้ ต้องหยุดใช้ส ารเคมี ก่ อนการเก็บเกี่ ยวตามเวลาที่ ระบุ ใ นวิธี การ แก้ปัญหาแผนควบคุมการผลิตสตรอเบอรี่ 9. การจัดการเพือ่ ให้ ได้ ผลผลิตสตรอเบอรี่ทปี่ ลอดภัยจากศัตรู พชื 9.1 สารวจการเข้าทาลายของศัตรู ทาลายผลสตรอเบอรี่ 9.1.1 สารวจการเข้าทาลายของเพลี้ยอ่อน ไรสองจุด หนอนกระทูผ้ กั ทากและผลเน่าสี เทา ทุก 7 วัน ตั้งแต่หลังดอกบานจนกระทัง่ สิ้ นสุ ดการเก็บเกี่ยว เพื่อประเมินจานวนและหรื อความเสี ยหายระดับเศรษฐกิจ ดังนี้ - เพลี้ยอ่อน

ความเสี ยหายระดับเศรษฐกิจ พบตัวเต็มวัยมากกว่า 45 ตัวต่อใบ

- ไรสองจุด

ความเสี ยหายระดับเศรษฐกิจ พบตัวเต็มวัยมากกว่า 20 ตัวต่อใบ

- หนอนกระทูผ้ กั ความเสี ยหายระดับเศรษฐกิจ พบตัวเต็มวัยมากกว่า 15 ตัว ต่อ 1,000 ต้น - ทาก

ความเสี ยหายระดับเศรษฐกิจ ผลถูกทาลายมากกว่า 5 ผล ต่อแถวปลูก ยาว 100 เมตร

- โรคผลเน่าสี เทา ความเสี ยหายระดับเศรษฐกิจ เมื่อพบระบาด


26 9.2 การป้ องกันกาจัดศัตรู พืชทาลายผลสตรอเบอรี่ เมื่ อพบความเสี ยหายระดับเศรษฐกิ จในข้อ 9.1.1 ตัดสิ นใจเลือกใช้วธิ ี การป้ องกันกาจัดให้ได้ผล ดังนี้ 9.2.1 เพลี้ยอ่อน พ่นด้วย ฟิ โปรนิ ล 5 % เอสซี หรื อ แลมบ์ดาไซฮาโลทริ น 2.5% อีซี อัตรา 10 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร 9.2.2 ไรสองจุด พ่นด้วย โพรพาร์ ไกด์ 30 % ดับบิวพี อัตรา 30 กรัม หรื อ เฟนไพรร็ อคซิ เมตร 5 % เอลซี อัตรา 20 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร 9.2.3 หนอนกระทูผ้ กั พ่นด้วย เชื้อแบคทีเรี ยบาซิลลัส ทูริงเยนซิล อัตรา 60 - 100 มิลลิลิตร หรื อ ฟิ โปนิล 5 %เอลซี อัตรา 20 มิลลิลิตรหรื อเดลทาเมทริ น 3 % อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตรต่อน้ า 20 ลิตร 9.2.4 ทากใช้เหยือ่ พิษเมทัลดีไฮด์ 5 % จีบี โรยหัวแปลงปลูก 9.2.5 โรคผลเน่าสี เทา พ่นด้วย คาร์ เบนดาซิ ม 50 % ดับบิวพี อัตรา 6 – 12 กรัมหรื อไฮโปรไดรอน 50 % ดับบิวพี อัตรา 30 กรัมต่อน้ า 20 ลิตร

แหล่งที่มา : รายงานผลการดาเนินการพัฒนาบุคลากร ปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 กลุ่มพัฒนาพื้นที่สูง กองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ กรมส่งเสริ มการเกษตร


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.