Annualreport2017

Page 1



COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

คำนำ

Preface

2560

ส ำนั กงำนตรวจบั ญชี สหกรณ์ ที่ 7 เป็ นหน่ วยงำนบริ หำรรำชกำรส่ วนกลำง สั งกั ดกรมตรวจบั ญชี สหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีพื้นที่รับผิดชอบในเขตภำคเหนือตอนบน 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงรำย ลำปำง ลำพูน พะเยำ และแม่ฮ่องสอน มีภำรกิจหลักในกำรกำรตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็ง ให้สำมำรถพึ่งพำตนเองได้อย่ำงมั่นคงและยั่ งยืน ในรอบปีที่ผ่ำนมำ ได้มุ่งพัฒนำ ระบบกำรบริหำรจัดกำรด้ำนกำรเงินกำรบัญชีของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชน ควบคู่ไปกับกำร เพิ่มประสิทธิภำพด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ ให้มีควำมทันสมัยมำกยิ่งขึ้น โดยสนับสนุนให้สหกรณ์ใช้โปรแกรม ระบบบั ญ ชี และพัฒ นำนวัตกรรมเครื่ องมือสำรสนเทศทำงกำรเงินอย่ำงต่อเนื่อง เพื่อให้ ส หกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรใช้เป็นเครื่องมือ ในกำรประมวลผลข้อมูลทำงกำรเงินกำรบัญชี ประกอบกำรตัดสินใจในกำรบริหำร จั ด กำร ให้ ส หกรณ์ มั่น คง สมำชิ กมั่ งคั่ง ระบบสหกรณ์ ยั่งยืน อย่ำงโปร่งใส รวมทั้ ง เป็ น กลไกส ำคัญ ในกำร ขับเคลื่อนและเสริมสร้ำงภูมิปัญญำทำงบัญชีให้แก่เกษตรกร เยำวชน และประชำชนทั่วไป เพื่อให้รู้จักตนเอง รู้รำยรับ รำยจ่ำย รู้ต้นทุนกำรผลิต กำไรหรือขำดทุนจำกกำรประกอบอำชีพ และมีกำรออม ส่งผลให้เกิดกำร พั ฒนำคุ ณภำพชี วิ ตของตนเองและชุ มชน รำยงำนประจ ำปี ฉบั บนี้ เป็ นผลกำรปฏิ บั ติ งำนในปี งบประมำณ พ.ศ. 2560 ของสำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำรำยงำนประจำปีฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่ำน ตำมสมควร สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 พฤษภำคม 2561

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

สารบัญ

Contents ส่วนที่ 1 : กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจตามกฎหมาย ยุทธศาสตร์ ค่านิยมหลักกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 ประวัติความเป็นมา พื้นที่ความรับผิดชอบ แผนที่ตั้งหน่วยงาน โครงสร้างการบริหารงาน บุคลากรในพื้นที่สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 - ฝ่ายบริหารทั่วไป - กลุ่มกากับมาตรฐานการบัญชี - กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ - กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ - กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล หน้าที่ความรับผิดชอบ อัตรากาลังเจ้าหน้าที่ งบประมาณรายจ่าย ส่วนที่ 2 : ปริมาณงานและผลการปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2560 ส่วนที่ 3 : ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่วนที่ 4 : กิจกรรมประจาปี 2560

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

2560 หน้า 1 3 5 6 7 8 9 10 10 11 11 12 12 13 17 18 19 26 46

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ภารกิจตามกฎหมาย Vision Mission

2560

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ วิสัยทัศน์ กตส. 2560 - 2564 :

"ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ” "By the Year 2021, the Accounting and Financial Management Conducts of Cooperatives and Farmers will be of good quality and reliable.” พันธกิจ 1. พัฒนาระบบการตรวจสอบบัญชีและระบบควบคุมคุณภาพการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ให้เป็นไปตาม มาตรฐานสากล 2. พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์และส่งเสริมความรู้การจัดทาบัญชีและการบริหารจัดการด้าน การเงิน การบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร 3. เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินและระบบการควบคุมภายในที่ดีแก่สหกรณ์ 4. พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการเตือนภัยทางการเงินแก่สหกรณ์ 5. พัฒนาระบบการให้คาปรึกษาแนะนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และเกษตรกร

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

1


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ภารกิจตามกฎหมาย Vision Mission

2560

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ภารกิจตามกฏหมาย 1. ดาเนินการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้อง 2. กาหนดระบบบัญชีและมาตรฐานการสอบบัญชีให้เหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. ให้คาปรึกษาแนะนาและให้ความรู้ด้านการบริหารการเงินและการบัญชีแก่คณะกรรมการและสมาชิก ของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและบุคลากรเครือข่าย 4. ถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมการจัดทาบัญชีให้แก่สหกรณ์ กลุ่ มเกษตรกร กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเป้าหมายตาม โครงการพระราชดาริ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป 5. กากับดูแลการสอบบัญชีสหกรณ์โดยผู้สอบบัญชีภาคเอกชน 6. จัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อเป็นพื้นฐานในการกาหนดนโยบาย และวางแผนพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 7. ปฏิ บั ติ การอื่น ใดที่ ก ฎหมายก าหนดให้ เป็ น อานาจหน้ าที่ ข องกรมตรวจบั ญ ชีส หกรณ์ หรือ ตามที่ กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

2


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ยุทธศาสตร์ Strategy

2560

ยุทธศาสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ การกาหนดกลยุทธ์ตามยุทธศาสตร์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 4 ยุทธศาสตร์ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ กาหนดได้เป็น 25 กลยุทธ์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลจะต้องเป็นที่ประจักษ์อย่างชัดเจน และนาไปสู่การพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม กลยุทธ์ 1. สร้างความเชื่อมั่นและโปร่งใสให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. พัฒนาระบบการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ 3. เพิ่มขีดความสามารถในการจัดทาบัญชี งบการเงิน และยกระดับชั้นคุณภาพ การควบคุมภายในของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4. พัฒนามาตรฐานการบัญชีสหกรณ์ให้ก้าวทันมาตรฐานการบัญชี และสามารถนาไปใช้ กับสหกรณ์ ได้ อย่างเหมาะสมและบังเกิดผล 5. ส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ตระหนักและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการดาเนินการ ของสหกรณ์ 6. พัฒนาวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาสหกรณ์แห่งอนาคต กลยุทธ์ 1. สร้างจิตสานึกในการเป็นผู้บริหารสหกรณ์ที่ดีแก่คณะกรรมการสหกรณ์ 2. พัฒนาสมรรถนะฝ่ายบริหารสหกรณ์ให้สามารถใช้ข้อมูลการเงินการบัญชี เพื่อบริหารสหกรณ์อย่างมือ อาชีพ 3. พัฒนาผู้บริหารสหกรณ์ให้มีความสามารถในการกากับและติดตามการปฏิบัติงาน ของฝ่ายจัดการ 4. ผลักดันให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากรายงานการตรวจสอบบัญชีและรายงาน การตรวจสอบกิจการ

3 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ยุทธศาสตร์ Strategy

2560

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : คุณประโยชน์ของการทาบัญชีและบริหารการเงินที่มีคุณภาพ จะต้องเป็นที่ประจักษ์ ต่อ เกษตรกรอย่างกว้างขวาง ชัดเจน และเข้าถึงได้ 1. 2. 3. 4. 5.

สร้างความตระหนักรู้ประโยชน์การจัดทาบัญชีแก่เกษตรกร นาคุณค่าการจัดทาบัญชีสู่เกษตรกรอย่างยั่งยืน สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ที่ทาบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายด้านบัญชี ส่งเสริมการจัดทาบัญชีแก่กลุ่มเป้าหมายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการรองรับภารกิจที่ เร่งด่วน ท้าทาย และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ มีความชัดเจน และเป็นจริง 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ผลักดันให้มีการปรับปรุงโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการองค์กรที่เหมาะสม กับสถานการณ์ ปรับระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและผลักดันให้นาไปสู่การปฏิบัติ ปรับระบบการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ ปรับระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสู่การปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ สร้างต้นแบบ Smart Cooperative Auditing Office จัดตั้งหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit : SDU) รองรับการจัดจ้าง ผู้สอบบัญชี ภาคเอกชน 7. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 8. ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา 9. บูรณาการกากับดูแลการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้าน การสนับสนุนทางการเงิน แก่การก่อการร้าย 10. สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับองค์กรด้านสหกรณ์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ

4 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ค่านิยมหลัก Core Value

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

2560

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

5


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ประวัติความเป็นมา BackGround

2560

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 เป็นหน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง สังกัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งขึ้น ในปีงบประมาณ 2527 โดยใช้ชื่อว่า "เขตตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1" ในปีงบประมาณ 2530 ได้เปลี่ยนชื่อจาก เขตตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1 มาเป็น "ศูนย์ตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 1" ต่อมาในปีงบประมาณ 2538 ได้เปลี่ยนมาเป็น "สำนักงำนตรวจบัญชีภฺมิภำคที่ 1 (เชียงใหม่)" และใน ปีงบประมาณ 2543 ได้มีการแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบตาม เขตของสานักนายกรัฐมนตรีมาเป็น "สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ภูมิภาคที่ 10 (เชียงใหม่)" เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2543

ในปี 2545 ได้มีการปรับโครงสร้างของ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น "สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7" ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2546 เป็นต้นมา

6 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

พื้นที่ความรับผิดชอบ

Area Under Responsibility

2560

สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 รับผิดชอบ กากับดูแลการปฏิบัติงานของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ รวม 6 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพูน พะเยา และแม่ฮ่องสอน

เชียงรำย แม่ฮ่องสอน

พะเยำ

เชียงใหม่

ลำปำง ลำพูน

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

7


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

แผนที่ตงั้ หน่วยงาน Map

2560

8 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


9


10


11


12


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

หน้าที่ความรับผิดชอบ

Duties and responsibilities

2560

1. ดำเนินกำรตรวจสอบบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตำมกฎหมำย ข้อบังคับ ระเบียบ และมำตรฐำนกำรสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป 2. กำกับดูแลและควบคุมคุณภำพงำนสอบบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไปตำม มำตรฐำนกำรสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป 3. วำงรูปแบบและระบบบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เหมำะสมกับธุรกิจ 4. ดำเนินกำรสอบทำนรำยงำนกำรสอบบัญชี งบกำรเงิน และกระดำษทำกำรของผู้สอบบัญชี รวมทั้งวิเครำะห์และประเมินผลกำรดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตำมมำตรฐำนที่วำงไว้ 5. จัดระบบงำน ประมวลผลข้อมูลและเป็นศูนย์ข้อมูลทำงกำรเงิน และส่งเสริมกำรใช้โปรแกรม ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ 6. ถ่ำยทอดควำมรู้เกี่ยวกับกำรเงินและกำรบัญชี และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องแก่บุคลำกรของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และกำรกำกับดูแลกำรบริหำรกิจกำรที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงำนตรวจสอบกิจกำร ของสหกรณ์ 7. ดำเนินกำรถ่ำยทอดควำมรู้ด้ำนกำรบัญชีแก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มอำชีพ วิสำหกิจ ชุมชน กลุ่มเป้ำหมำยตำมโครงกำรพระรำชดำริ เกษตรกร และประชำชนทั่วไป 8. จัดทำแผนกำรปฏิบัติงำน โดยบูรณำกำรร่วมกับสำนักงำนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและ ติดตำมประเมินผลควำมก้ำวหน้ำในกำรปฏิบัติงำน 9. ให้คำปรึกษำแนะนำด้ำนกำรเงินและกำรบัญชีให้กับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้ง วิสำหกิจชุมชน กลุ่มอำชีพ และกลุ่มเป้ำหมำยโครงกำรพระรำชดำริ 10. ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับ มอบหมำย

13 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

หน้าที่ความรับผิดชอบ

Duties and responsibilities

2560

ฝ่ายบริหารทัว่ ไป มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารสานักงาน เชื่อมโยงการจัดการระหว่างสานักงานในส่วนภูมิภาค กับส่วนกลาง และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ประสานงานและให้บริการด้านการบริหารสานักงาน ได้แก่ โปรแกรมระบบสารบรรณอิ เล็ กทรอนิ กส์ โปรแกรมระบบวั นท าการ โดยใช้ ระบบ Back Office การบริ หารงานบุ คคล งานการเงิน การบัญชี งานพัสดุครุภัณฑ์ งานงบประมาณ ติดต่อประสานงานและติดตามผลการปฏิบัติงาน

กลุ่มกากับมาตรฐานการบัญชี 1. ศึกษา วิเคราะห์ ลั กษณะธุร กิจ ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ มเกษตรกร กลุ่ มวิส าหกิจชุม ชน กลุ่ มธุรกิ จ รายสินค้าจากกลุ่มอาชีพต่างๆ กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดาริ ตลอดจนเกษตรกรรายบุคคลในพื้นที่ รับผิดชอบเพื่อนารูปแบบบัญชีที่กรมกาหนดไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจ 2. จัดทาคาสั่งแต่งตั้งผู้สอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีโดย การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดย - สอบทานความถูกต้องสัมพันธ์กันระหว่างผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน/ ความเสี่ยงการกาหนดแนวการสอบบัญชี งบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล รวมทั้งรายงานการสอบบัญชี - ทดสอบกระดาษทาการของผู้สอบบัญชี - จัดทาหนังสือแจ้งข้อสังเกตและคาแนะนาในการปฏิบัติงานสอบบัญชีถึงผู้สอบบัญชี 3. นิเทศระบบงานตามกระบวนการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก่สานักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ในพื้นที่ความรับผิดชอบ และผู้สอบบัญชี 4. พิจารณาข้อบกพร่องในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีสหกรณ์เสนอคณะกรรมการจรรยาบรรณ ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ 5. แจ้งข้อบกพร่องทางการเงินการบัญชี และสั่งการให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแก้ไขข้อบกพร่อง 6..เป็ น ศู น ย์ ป ระสานงานการสอบบั ญ ชี โดยผู้ ส อบบั ญ ชี ภ าคเอกชนและสหกรณ์ เป้ า หมาย ของ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ในพื้นที่ความรับผิดชอบ 7..สรุ ป ผลการวิ เคราะห์ ส ภาวะทางการเงิ น รายสหกรณ์ (CAMELS analysis) ในภาพรวมของ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 14 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

หน้าที่ความรับผิดชอบ

Duties and responsibilities

2560

กลุ่มพัฒนาการเรียนรู้ 1. สัมมนา นิเทศ และเสริมสร้างความพร้อมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อรองรับการตรวจสอบบัญชี สหกรณ์ประจาปี 2. ถ่ายทอดความรู้ด้านการบัญชีและการสอบบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรวมทั้งบุคลากรของกรม 3. ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินการบัญชีแก่บุคลากรของสถาบันเกษตรกร กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเป้าหมายในโครงการพระราชดาริ รวมทั้งเกษตรกรทั่วไป 4. เป็ น ศู น ย์ ป ระสานงานโครงการเสริ ม สร้ า งภู มิ ปั ญ ญาทางบั ญ ชี แ ก่ เกษตรกรในเขตพื้ น ที่ ความรับผิดชอบ รวมทั้งบุคลากรเครือข่าย

กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านโปรแกรมระบบบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. ถ่ายทอดโปรแกรมระบบการตรวจสอบบัญชีแก่ผู้สอบบัญชี 3. ถ่ายทอดระบบสารสนเทศสานักงาน (Back Office) และระบบเครือข่ายแก่บุคลากรของกรม 4. ติดตาม ดูแล และให้คาแนะนา ปรึกษา ปัญหาเกี่ยวกับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

15 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

หน้าที่ความรับผิดชอบ

Duties and responsibilities

2560

กลุ่มแผนงานและติดตามประเมินผล มีหน้าที่ความรับผิดชอบ เกี่ยวกับการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการประจาปี ติดตามและ ประเมินผล แผน/ ผล ตัวชี้วัด และผลการปฏิบัติงาน ตามที่กรมกาหนด รวมทั้งการลดความเสี่ยงและควบคุม ภายในที่ดี โดย 1. จั ดทาแผนปฏิบั ติราชการประจ าปี แผนยุทธศาสตร์โดยบูรณาการร่วมกับส านักงานตรวจบั ญชีสหกรณ์ จังหวัด และกลุ่มจังหวัดในความรับผิดชอบ 2. ติดตามและประเมินผล แผน/ผล ตัวชี้วัดตามงบประมาณ การปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM) และคารับรองการปฏิบัติงาน งานโครงการ การควบคุมภายใน และกิจกรรมต่างๆ ตามที่กรมกาหนด 3. ติด ตามและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ งาน ด้ านกลุ่ ม วิส าหกิ จชุ ม ชน กลุ่ ม ธุรกิ จรายสิ น ค้ าจาก กลุ่มอาชีพต่าง ๆ กลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดาริ รวมทั้งโครงการพิเศษ 4. ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของสานักงานในพื้นที่ความรับผิดชอบ ในงานที่มีการ บูรณาการร่วมกับจังหวัด 5. รายงาน แผน – ผลการปฏิบตั ิงานในภาพรวมของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 เพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานได้ทันเวลา

16 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

อัตรากาลัง

Manpower

สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 มีอัตรากาลังข้าราชการ จานวน 98 อัตรา ลูกจ้างประจา จานวน 7 อัตรา พนักงานราชการ จานวน 118 อัตรา และ จ้างเหมาบริการ จานวน 75 อัตรา แยกตามหน่วยงาน ดังนี้ สานักงาน

ข้าราชการ

ลูกจ้างประจา

สตท.7 เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพูน พะเยา แม่ฮ่องสอน รวม

16 31 16 11 9 11 5 99

1 2 1 2 1 7

พนักงานราชการ จ้างเหมาบริการ 8 41 22 14 12 15 6 118

รวมทั้งสิ้น

6 18 14 12 7 11 7 75

31 92 53 37 30 37 19 299 หมายเหตุ : รวมปฏิบัติราชการ

ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 ข้าราชการ

75 %

ลูกจ้างประจา

99 % พนักงานราชการ

118 %

7%

จ้างเหมาบริการ

17 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ Expense Budget 2017

รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ ณ วันที่ 30 กันยายน 2560 ของสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ หน่วยงาน สตท.7 เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพูน พะเยา แม่ฮ่องสอน รวมทั้งสิ้น

งบบุคลากร

งบดาเนินงาน

งบลงทุน

2,050,680.00 10,217,502.34 5,450,378.00 3,862,498.00 2,911,747.00 3,332,228.37 1,553,973.00 29,379,006.71

6,741,640.40 9,972,791.00 6,770,287.00 4,607,521.00 3,276,591.00 4,110,007.00 2,961,820.00 38,440,657.40

127,000.00 24,500.00 90,000.00 18,800.00 807,000.00 856,000.00 0 1,923,300.00

แยกตามประเภท งบบุคลากร

งบดาเนินงาน

งบลงทุน

รวม 8,919,320.40 20,214,793.34 12,310,665.00 8,488,819.00 6,995,338.00 8,298,235.37 4,515,793.00 69,742,964.11

แยกตามหน่ วยงาน 25,000,000.00 20,000,000.00

3%

15,000,000.00 42%

10,000,000.00 5,000,000.00

55%

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

0.00

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

18


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี Annual Performance

ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM8 การสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรได้รับการตรวจสอบบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการ ตรวจสอบบัญชีภายในมาตรฐานเวลาที่กาหนด RM9 การควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชีสหกรณ์ เชิงปริมาณ จานวนสหกรณ์กลุ่มพร้อมรับการตรวจสอบทุกแห่ง ได้รับการประเมินคุณภาพงานสอบบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของจานวนสหกรณ์ได้รับการประเมิน คุณภาพงานสอบบัญชีตามระบบมาตรฐานการควบคุมคุณภาพ งานสอบบัญชีภายในมาตรฐานเวลาที่กาหนด RM10 การเพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมคุณภาพงานสอบบัญชี สหกรณ์ ด้วยระบบกระดาษทาการอิเล็กทรอนิกส์ : EWP เชิงปริมาณ ผู้สอบบัญชีสามารถปิดแฟ้มการตรวจสอบในระบบ กระดาษทาการอิเล็กทรอนิกส์ได้สาเร็จร้อยละ 80 ของสหกรณ์ที่ แสดงความเห็นต่องบการเงินแล้ว RM11 โครงการสร้างความเชื่อมั่นต่อการทาธุรกรรมทางการเงินของ สมาชิกสหกรณ์ เชิงปริมาณ สมาชิกกลุม่ เป้าหมายได้รับการตรวจสอบความ ถูกต้องในการทาธุรกรรมด้านการเงินกับสหกรณ์ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสอบ ความถูกต้องในการทาธุรกรรมด้านการเงินกับสหกรณ์

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

แห่ง แห่ง ร้อยละ

130 126

130 126

100 100

แห่ง

130

109

83.85

ร้อยละ

109

109

100

แห่ง

77

77

100

ราย

33,000

33,000

100

ร้อยละ

33,000

28,541

86.49

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

19


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี Annual Performance ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM12 การเสริมสร้างความพร้อมรับการตรวจสอบบัญชี เชิงปริมาณ สหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเป้าหมายได้รับการสอน แนะการจัดทาบัญชี และงบการเงิน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 10 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย สามารถจัดทาบัญชี และงบการเงินได้ RM13 การติดตามผลการเสนอเลิก เชิงปริมาณ จานวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายได้รับการ ติดตามการเสนอเลิก เชิงคุณภาพ ร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มีแผนฟื้นฟู ได้รับ การสั่งเลิกจากนายทะเบียนสหกรณ์ RM14 การวางระบบบัญชีสหกรณ์ตั้งใหม่ เชิงปริมาณ จานวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการวางระบบ บัญชีและการควบคุมภายใน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 50 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการ วางระบบบัญชีสามารถจัดทาบัญชีได้ RM15 การวางระบบบัญชีด้วยโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ครบวงจร (FAS) เชิงปริมาณ สหกรณ์เป้าหมายได้รบั การติดตั้งโปรแกรมระบบบัญชี สหกรณ์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ระบบ เชิงคุณภาพ สหกรณ์เป้าหมายมีสถานะ "ปรับเปลีย่ นระบบ" อย่าง น้อย 1 ระบบ RM17 โครงการเสริมสร้างความรู้พื้นฐานด้านการเงินการบัญชีแก่ สหกรณ์ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการทาง การเงินการบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่านการ ฝึกอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

แห่ง

866

866

100

ร้อยละ

866

48

5.54

แห่ง

73

73

100

ร้อยละ

84

18

21.43

แห่ง

29

29

100

ร้อยละ

29

19

65.52

แห่ง

9

8

88.89

ร้อยละ

8

7

87.50

แห่ง

16

16

100

ร้อยละ

16

16

100

20 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี Annual Performance

ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM18 โครงการเสริมสร้างความรู้พื้นฐานด้านการเงินการบัญชีแก่ สหกรณ์ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการทาง การเงินการบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่านการ ฝึกอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ RM19 โครงการสร้างความเข้มแข็งการจัดทาบัญชีและงบการเงินแก่ สหกรณ์ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการทาง การเงินการบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่านการฝึกอบรม สามารถนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 30 ของสหกรณ์เป้าหมายสามารถจัดทาบัญชี หรืองบการเงินได้เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ระดับ RM21 โครงการยกระดับชั้นการควบคุมภายในแก่สหกรณ์ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการทาง การเงินการบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 30 ของกลุ่มเป้าหมายมีระดับชั้นการควบคุม ภายในดีขึ้น RM23 โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน เชิงปริมาณ วิสาหกิจชุมชนกลุม่ ใหม่ได้รับการพัฒนาระบบ มาตรฐานการบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 30 ของวิสาหกิจชุมชนมีการจัดทาบัญชีและ งบทดลองตามมาตรฐาน (กลุม่ วิสาหกิจชุมชนใหม่)

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

แห่ง

16

16

100

ร้อยละ

16

16

100

แห่ง

120

120

100

ร้อยละ

120

118

98.33

ร้อยละ

120

36

30.00

แห่ง

75

75

100

ร้อยละ

75

28

37.33

แห่ง

33

33

100

ร้อยละ

33

19

57.58

21 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี

Annual Performance

ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM26 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการกากับดูแลฝ่ายจัดการ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการพัฒนาด้านบริหารจัดการทาง การเงินการบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่านการฝึกอบรม สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ RM27 โครงการเพิ่มศักยภาพการใช้ข้อมูลทางการเงินการบัญชีเพื่อ การบริหารสหกรณ์ เชิงปริมาณ สหกรณ์ได้รับการพัฒนาศักยภาพการใช้สารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่มีบุคลากรผ่านการฝึกอบรม สามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ RM30 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เชิงปริมาณ จานวนเกษตรกรกลุม่ เป้าหมายได้รับการอบรมการ จัดทาบัญชีต้นทุนรายอาชีพ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 35 ของเกษตรกรเป้าหมายสามารถจัดทา บัญชีต้นทุนรายอาชีพได้ RM31 โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร เชิงปริมาณ จานวนศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตรที่มีการพัฒนาศักยภาพครูบัญชีประจาศูนย์ 882 ศูนย์ เชิงปริมาณ จานวนเกษตรกรในพื้นที่ ศพก. สามารถจัดทาบัญชี ต้นทุนอาชีพได้ ไม่น้อยกว่า ศพก. ละ 30 ราย เชิงคุณภาพ ร้อยละ 90 ของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตสินค้าเกษตรที่มคี รูบญ ั ชีประจาศูนย์ เชิงคุณภาพ สามารถให้บริการความรู้ด้านการจัดทาบัญชีแก่ เกษตรกรที่ขอรับบริการได้

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

แห่ง

30

30

100

ร้อยละ

30

29

96.67

แห่ง

30

30

100

ร้อยละ

30

30

100

ราย

2,721

2,721

100

ร้อยละ

2,721

955

35.10

ศูนย์

80

80

100

ศูนย์

74

74

100

ร้อยละ

80

80

100

ร้อยละ

80

80

100

22 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี Annual Performance

ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM32 โครงการส่งเสริมการจัดทาบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร เชิงปริมาณ จานวนเกษตรกรได้รบั การอบรมการจัดทาบัญชีต้นทุน อาชีพ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของเกษตรกรเป้าหมายที่มคี วามรู้ความ เข้าใจในการจัดบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 12 ของเกษตรกรเป้าหมายสามารถจัดทา บัญชีต้นทุนอาชีพได้ (เน้นเกษตรกรในพื้นที่ ศพก. ศูนย์ละ 30 ราย) RM33 โครงการพัฒนาเกษตรกรที่ทาบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น เชิงปริมาณ จานวนเกษตรกรเป้าหมายได้รับการอบรมการใช้ ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพ เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของเกษตรกรเป้าหมายที่มคี วามรู้ความ เข้าใจในการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 10 ของเกษตรกรเป้าหมายสามารถใช้ข้อมูล ทางบัญชีในการประกอบอาชีพได้ RM34 โครงการพัฒนาเกษตรกรให้ใช้ขอ้ มูลทางบัญชีอย่างยั่งยืน เชิงปริมาณ จานวนเกษตรกรเป้าหมายได้รับการอบรมการเพิม่ ศักยภาพในการประกอบอาชีพอย่างยั่งยืน เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 40 ของเกษตรกรที่ผ่านการอบรมสามารถใช้ ข้อมูลทางบัญชีเป็นประจาสม่าเสมอ

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

ราย

18,800

19,125

101.73

ร้อยละ

19,125

12,746

66.65

ร้อยละ

19,125

2,307

12.06

ราย

1,520

1,520

100

ร้อยละ

1,520

929

61.12

ร้อยละ

1,520

334

21.97

ราย

850

850

100

ร้อยละ

850

518

60.94

ร้อยละ

850

360

42.35

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

23


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี Annual Performance

ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM35 โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตาม พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ได้รับการ ฝึกอบรมการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายที่ผา่ นการฝึกอบรม สามารถยกระดับการจัดทาบัญชีกจิ กรรมสหกรณ์นักเรียนได้ RM36 โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิน่ ทุรกันดารฯ เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ได้รับการ ฝึกอบรมการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ พระราชดาริที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถจัดทาบัญชีได้ RM37 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านบัญชีในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ได้รับการ ฝึกอบรมการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ พระราชดาริที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถจัดทาบัญชีได้

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

ราย

284

284

100

ร้อยละ

284

227

79.93

ร้อยละ

284

115

40.49

ราย

24

24

100

ร้อยละ

24

16

66.67

ร้อยละ

24

12

50.00

ราย

520

520

100

ร้อยละ

520

520

100

ร้อยละ

520

104

20.00

24 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ผลการปฏิบตั ิงานประจาปี Annual Performance ที่

งาน/โครงการ/ตัวชี้วัด

RM39 โครงการศิลปาชีพ เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ได้รับการ ฝึกอบรมการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ พระราชดาริที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถจัดทาบัญชีได้ RM40 โครงการหลวง เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ได้รับการ ฝึกอบรมการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ พระราชดาริที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถจัดทาบัญชีได้ RM41 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เชิงปริมาณ จานวนกลุ่มเป้าหมายตามโครงการฯ ได้รับการ ฝึกอบรมการจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรูค้ วามเข้าใจใน การจัดทาบัญชี เชิงคุณภาพ ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ พระราชดาริที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถจัดทาบัญชีได้ RM42 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ เชิงปริมาณ จานวนครั้งที่จัดนิทรรศการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

หน่วยวัด

ปี 2560 แผนทั้งสิ้น ผลงาน

ร้อยละ

ราย

52

52

100

ร้อยละ

52

52

100

ร้อยละ

52

11

21.15

ราย

700

707

101

ร้อยละ

707

437

61.81

ร้อยละ

707

267

37.77

ราย

690

690

100

ร้อยละ

690

690

100

ร้อยละ

690

300

43.48

ครั้ง

24

10

41.67

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

25


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิ จ ทางการเงิน ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรปี งบประมาณ 2560 ในพื้นที่ สานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 มีสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ความรับผิดชอบ 6 จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพูน พะเยา และแม่ฮ่องสอน จากภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยในปัจจุบันที่ยังคงฟื้นตัว แบบค่อยเป็นค่อยไป ตามการใช้เงินของภาครัฐในโครงการต่าง ๆ ในระบบสถาบันเกษตรกร ส่งผลให้ธุรกิจ ภาคสหกรณ์ ดีขึ้น แม้ว่าในปี ที่ผ่ านมาภาคเกษตรกรรมของประเทศจะประสบปัญ หาต่าง ๆ มากมาย เช่น ปัญหาภัยแล้ง ประกอบกับราคาผลิตผลทางการเกษตรตกต่าส่งผลให้รายได้ของเกษตรกรปรับตัวลดลง สัดส่วน ของหนี้สินของครัวเรือนอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มที่จะเป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ แนวโน้มการขยายตัว ทางธุ ร กิ จ ของสหกรณ์ ภ าคเกษตร และกลุ่ ม เกษตรกรยั งคงมี อ ยู่ อ ย่ างต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะธุ ร กิ จ สิ น เชื่ อ มีความสาคัญ และจาเป็ น ต่อสมาชิก สหกรณ์ ภ าคเกษตรและกลุ่ มเกษตรกรมาก เนื่องจากสมาชิกต้องการ เงินทุนเพื่อการประกอบอาชีพ การบริโภคและที่อยู่อาศัย รายงานภาวะเศรษฐกิ จ ของสหกรณ์ ปี 2560 ใช้ ข้ อ มู ล จาก Intranet ระบบสารสนเทศ ทางการเงิน ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ปี 2560 ที่ ผ่ านการตรวจสอบบั ญ ชี แ ละการแสดงความเห็ น ต่องบการเงิน โดยผู้สอบบัญชีภาครัฐและภาคเอกชน ในเขตพื้นที่ 6 จังหวัด ที่ส่งข้อมูลในระบบสารสนเทศ ทางการเงิน ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร มี ส หกรณ์ ภ าคเกษตร นอกภาคเกษตรและกลุ่ ม เกษตรกร รวมจ านวน 1,276 แห่ ง ให้ บ ริ ก ารธุ ร กิ จ 5 ธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ ธุ ร กิ จ สิ น เชื่ อ ธุ ร กิ จ จั ด หาสิ น ค้ า มาจ าหน่ า ย ธุรกิจรวบรวมผลิตผล แปรรูปผลิตผลทางการเกษตรและการผลิตสินค้า และธุรกิจการให้บริการและส่งเสริม การเกษตร และการรับฝากเงิน ธุรกิจที่มีมูลค่ามูลค่าธุรกิจสูงที่สุด ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ คิดเป็นร้อยละ 46.92 รองลงมาเป็นการรับฝากเงิน คิดเป็นร้อยละ 42.01 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย คิดเป็น ร้อยละ 6.18 ธุรกิจ รวบรวมผลิตผล คิดเป็นร้อยละ 4.43 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลทางการเกษตรและการผลิต สินค้า คิดเป็นร้อยละ 0.41 และธุรกิจการให้บริการและส่งเสริมการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 0.05 ของมูลค่าธุรกิจ

26 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ปี 2560 ข้อมูลทางการเงินที่นามาวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสถาบันเกษตรกรที่มีข้อมูล ทางการเงินในระบบสารสนเทศทางการเงินของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ภาคเกษตร จานวน 441 แห่ง สหกรณ์นอกภาคการเกษตร 280 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 555 แห่ง รวมทั้งสิ้น จานวน 1,276 แห่ง ลดลง จากปีก่อน จานวน 5 แห่ง หรือลดลงเป็นร้อยละ 0.39 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์กำรเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง สหกรณ์ร้ำนค้ำ สหกรณ์บริกำร สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น

จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) ปี 2560 ปี 2559 429 431 9 9 3 4 14 14 79 83 74 74 113 110 555 556 1,276 1,281

เพิ่ม/ลด ร้อยละ (0.46) 0.00 (25.00) 0.00 (4.82) 0.00 2.73 (0.18) (0.39)

ตำรำงที่ 1 จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

555 556

600 500

429 431

400 300

ปี 2560

200 100

9 9

3 4

14 14

79 83

113 74 74

110

ปี 2559 อัตราเพิ่ม/ลด

0 -100

ภำพที่ 1 จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ ปี 2559

27 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร จำนวนสมำชิกสหกรณ์ (รำย) ปี 2560 ปี 2559 672,155.00 670,496.00 16,029.00 15,939.00 605.00 566.00 688,789.00 687,001.00 63,276.00 64,263.00 17,202.00 17,274.00 158,233.00 154,224.00 123,001.00 124,868.00 361,712.00 360,629.00 54,440.00 55,457.00 1,103,087.00 1,104,941.00

ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์กำรเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง รวมภำคเกษตร สหกรณ์ร้ำนค้ำ สหกรณ์บริกำร สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนีย่ น รวมนอกภำคเกษตร กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น

เพิ่ม/ลด ร้อยละ 0.24 0.56 6.89 0.26 (1.53) (0.42) 2.60 (1.50) 0.30 (1.83) 0.17

ตำรำงที่ 2 จำนวนสมำชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ปี 2560 และ 2559

800,000 700,000

672,155

600,000 500,000 400,000 300,000 158,233

200,000 100,000 605 -

16,029

17,202

123,001

63,276

54,440

การเกษตร

ประมง

นิคม

บริการ

ร้ านค้ า

ออมทรัพย์

เครดิตยูเนี่ยน

กลุม่ เกษตรกร

ปี 2560

672,155

605

16,029

17,202

63,276

158,233

123,001

54,440

ปี 2559

670,496

566

15,939

17,274

64,263

154,224

124,868

55,457

ภำพที่ 2 จำนวนสมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

28 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

ในภาพรวม 6 จังหวัด ปี 2560 และ 2559 พบว่าจานวนสมาชิกมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.17 จ านวนสมาชิ กของสหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกร โดยสหกรณ์ ประมง มี จ านวนสมาชิ กเพิ่ มขึ้ นมากที่ สุ ด ร้ อยละ 6.89 ในขณะเดียวกันกลุ่มเกษตรกรมีจานวนสมาชิกลดลงมากที่สุดถึงร้อยละ 1.83 ปี 2560 จานวนสมาชิกสหกรณ์ ภาคเกษตร จ านวน 688,789 ราย สมาชิกนอกภาคเกษตร จ านวน 361,712 ราย สมาชิ กกลุ่ มเกษตรกร จ านวน 54,440 ราย รวมทั้ งสิ้ น จ านวน 1,104,941 ราย คิ ดเป็ นร้ อยละ 22.35 ของประชากรในพื้ นที่ เขต 6 จั งหวั ด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2560 ประชากรในพื้นที่ 6 จังหวัด รวมจานวน 4,943,108 คน) สรุปเป็นภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 ในมุมมอง 6 มิติทางการเงิน ผลการวิเคราะห์ สรุปได้ ดังนี้ ประเภทสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 1. สหกรณ์ในภำคเกษตร สหกรณ์กำรเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม 2. สหกรณ์นอกภำคเกษตร สหกรณ์ร้ำนค้ำ สหกรณ์บริกำร สหกรณ์ออมทรัพย์ 3. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 4. กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น

ปี 2560

ปี 2559

เพิ่ม/ลด

ปี 2560

ปี 2559

เพิ่ม/ลด

หนี้สิน (ลบ.) 16,044.62 15,443.44 29.81 571.36 74,635.33 26.21 543.58 71,154.93 2,910.61 155.63 90,835.57

หนี้สิน (ลบ.) 15,772.89 15,168.96 14.55 589.37 75,819.12 25.50 524.79 72,276.04 2,992.79 136.31 91,728.32

ร้อยละ 1.72 1.81 104.84 (3.06) (1.56) 2.79 3.58 ( 1.55) ( 2.75) 14.17 (0.97)

ทุน (ลบ.) 6,956.00 6,899.70 23.60 32.70 63,589.65 75.54 306.75 60,001.46 3,205.90 194.10 70,739.75

ทุน (ลบ.) 6,503.31 6,451.89 17.53 33.89 57,839.24 73.07 285.88 54,233.67 3,246.62 187.04 64,529.59

ร้อยละ 6.96 6.94 34.67 (3.50) 9.94 3.38 7.30 10.64 (1.25) 3.77 9.62

ตำรำงที่ 3 ทุนดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

80,000.00 70,000.00 60,000.00 50,000.00 40,000.00 30,000.00 20,000.00 10,000.00 -

71,154.93 60,001.46

15,443.44 32.70 23.60 571.36 29.81

6,899.70

สหกรณ์ การเกษตร

สหกรณ์ ประมง

สหกรณ์ นิคม

75.54 306.75 543.58 26.21

สหกรณ์ ร้ านค้ า

หนี ้สิน

สหกรณ์ บริการ

3,205.90 2,910.61

สหกรณ์ออม สหกรณ์ ทรัพย์ เครดิตยูเนี่ยน

194.10 155.63

กลุม่ เกษตรกร

ทุน

ภำพที่ 3 แสดงทุนดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560

29 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร มิติที่ 1 C – Capital strength : ควำมเพียงพอของเงินทุนต่อควำมเสี่ยง สถาบันเกษตรกรมีทุนดาเนินงานทั้งสิ้น 161,575.32 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จานวน 5,317.40 ล้านบาท คิดเป็ น ร้อยละ 3.40 เมื่อพิจารณาสัดส่วนระหว่างหนี้สินและทุนของสหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกร พบว่าสหกรณ์ ระดมทุนจากหนี้สินมากกว่า ทุน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ทุน ดาเนินงานส่ วนใหญ่เป็น แหล่งเงินทุนภายใน 119,145.38 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 73.74 ซึ่งในจานวนนี้ส่วนใหญ่เป็นทุนของสถำบัน เกษตรกรเอง 70,739.75 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 43.78 รองลงมาเป็นเงินรับฝากจากสมาชิก 48,405.63 ล้านบาท ร้อยละ 29.96 นอกจากนี้ยังมีเงินทุนจำกแหล่งภำยนอก 42,429.94 ล้ำนบำท หรือคิดเป็นร้อยละ 26.26 เกิดจากการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน และเครดิตการค้า 35,514.02 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21.98 เงิน รั บ ฝากจากบุ ค คลภายนอก 4,412.40 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้อ ยละ 2.73 และอื่ น ๆ 2,503.52 ล้ า นบาท คิดเป็ น ร้อยละ 1.55 สถาบั น เกษตรกรมีการเติบ โตของทุ นเพิ่ มขึ้นจากปีก่อน จานวน 6,210.16 ล้ านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.62 การใช้เงินทุนส่วนใหญ่ลงทุนไปกับลูกหนี้ 145,410.87 ล้านบาท หรือร้อยละ 90 ของทุน ดาเนิ น งานทั้งสิ้ น หากพิจ ารณาถึงความเข้มแข็งและเพียงพอต่ อความเสี่ ยงของเงินทุน ยังมีความเสี่ยงอยู่ เนื่องจากสหกรณ์มีหนี้สินมากกว่าทุนของสหกรณ์ 1.28 เท่า มีทุนสารองต่อสินทรัพย์ทั้งสิ้น 0.04 เท่า และ มีอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของทุนร้อยละ 7.59 ดังนั้น สถาบันเกษตรกรควรสร้างกลยุทธ์ในการระดมทุนและ บริหารสินทรัพย์ที่มี อยู่ เพื่อให้เกิดรายได้อย่างเพียงพอเพื่อรองรับความเสี่ยงต่อผลตอบแทนที่จะได้รับ และ ควรหากลยุทธ์ในการลดการกู้ยืมจากแหล่งเงินทุนภายนอกให้น้อยลง เพื่อลดภาระหนี้สินไม่ว่าจะเป็นดอกเบี้ย จ่ายเงินกู้ยืม ดอกเบี้ยเงินรับฝาก และการชาระหนี้ให้ได้ตามกาหนด ถึงแม้ว่าจะสามารถนาแหล่งเงินทุนไป สร้างผลตอบแทนได้ถึงร้อยละ 7.59 ก็ตาม

30 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ประเภทสินทรัพย์ เงินสด/เงินฝากธนาคาร/สก. ลูกหนี้ (ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญลูกหนี้) ที่ดิน/อาคาร/อุปกรณ์ หลักทรัพย์/ตราสาร/หุ้น(ระยะสั้น/ยาว) สินค้าและอื่นๆ รวม

ปี 2560 (ล้ำนบำท) 10,181.72

ปี 2559 (ล้ำนบำท) 11,674.98

145,410.87 (1,841.88) 3,311.01 1,826.07 2,687.54 161,575.33

139,069.39 (1,521.76) 3,303.84 1,034.60 2,696.85 156,257.91

เพิ่ม/ลด (ร้อยละ) (12.79) 4.56 21.04 0.22 76.50 (0.35) 3.40

ตำรำงที่ 4 สินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

160,000.00 140,000.00 120,000.00 100,000.00 80,000.00 60,000.00 40,000.00 20,000.00 0.00 (20,000.00)

143,568.99

137,547.63

3,303.84

11,674.98 10,181.72

3,311.01

1,034.60 1,826.07

2,696.85 2,687.54

ปี 2560 เงินสด/เงินฝาก ธนาคาร/สหกรณ์ อื่น

ลูกหนี ้

ที่ดิน/อาคาร/ อุปกรณ์

หลักทรัพย์/ตรา สาร/หุ้น(ระยะสัน/ ้ ยาว)

สินค้ าและอื่นๆ

ปี 2559

10,181.72

143,568.99

3,311.01

1,826.07

2,687.54

ปี 2560

11,674.98

137,547.63

3,303.84

1,034.60

2,696.85

-12.79

25.60

0.22

76.50

-0.35

เพิ่ม/ลด (ร้ อยละ)

ปี 2559

ภำพที่ 4 แสดงสินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

31 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร หนี้ที่ชำระไม่ได้ หนี้ถึงกำหนด เงินให้กู้และ ตำมก ำหนด ชำระ ดอกเบี้ยค้ำงรับ 1. สหกรณ์ภาคเกษตร 15,508.55 2,197.02 6,610.77 สหกรณ์การเกษตร 14,948.07 2,064.42 6,359.76 สหกรณ์ประมง 34.37 4.34 48.80 สหกรณ์นิคม 526.11 128.26 202.22 2. สหกรณ์นอกภาคเกษตร 129,664.97 626.22 40,762.46 สหกรณ์ร้านค้า 13.51 1.37 สหกรณ์บริการ 510.41 33.66 144.42 สหกรณ์ออมทรัพย์ 124,140.04 121.97 38,866.40 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 5,001.02 423.05 1,750.27 3. กลุ่มเกษตรกร 237.34 47.54 216.86 ให้กู้และหนี้ที่ชำระไม่ได้ตำมก ำหนด ปี 2560 รวมทั้งสิ้น ตำรำงที่ 5 เงิน145,410.87 2,870.78 47,590.09 ประเภท

ร้อยละ 33.23 32.46 8.89 63.43 1.54 0.00 23.30 0.31 24.17 21.92 6.03

มิติที่ 2 A - Asset quality : คุณภำพของสินทรัพย์ สิน ทรั พย์ ของสถาบั น เกษตรกร ในปี 2560 จานวนรวมทั้ งสิ้ น 161,575.33 ล้ านบาท เพิ่มขึ้นจาก ปีก่อน 5,317.40 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.40 ส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ จานวน 143,568.99 ล้านบาท คิดเป็น ร้ อ ยละ 88.85 ของสิ น ทรั พ ย์ ทั้ งสิ้ น รองลงมาเป็ น เงิ น สด/เงิน ฝากธนาคาร/สหกรณ์ จ านวน 10,181.72 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.09 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ จานวน 3,311.01 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.31 และ สิน ค้าและอื่น ๆ จานวน 2,687.54 ล้ านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.87 ตามลาดับ แสดงถึงสถาบันเกษตรกรให้ ความส าคั ญ ต่ อ การให้ เ งิ น กู้ ยื ม แก่ สมาชิ ก มากกว่ า ธุ ร กิ จ อื่ น ก่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ 0.14 รอบ ส่ ง ผลให้ การดาเนินงานมีอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ร้อยละ 3.23 จะเห็นได้ว่าสินทรัพย์ส่วนใหญ่ของสหกรณ์และ กลุ่ ม เกษตรกรเป็ น เงิน ให้ กู้ แ ละดอกเบี้ ย ค้ า งรับ จากสมาชิ ก ซึ่ งในจ านวนนี้ เป็ น หนี้ ที่ ไม่ ส ามารถช าระได้ ตามกาหนดและลูกหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้สูงถึง 2,870.78 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.03 ซึ่งเป็นของสหกรณ์ ภาคเกษตร ร้อยละ 33.23 และกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 21.92 เนื่องจากลูกหนี้ภาคเกษตรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก จึงมีปัจจัยเสี่ยงหลายด้าน ที่มีผลกระทบต่อการชาระหนี้ เช่น ปัญหาภัยแล้ง

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

32


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

ราคาผลิตผลการเกษตรตกต่า และถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง สถาบันเกษตรกรควรเฝ้ าระวังการเกิดหนี้ ที่ไม่สามารถชาระหนี้ได้ตามกาหนด ซึ่งสถาบันเกษตรกรควรต้องมีมาตรการรองรับเนื่องจากสมาชิกของ สถาบันเกษตรกรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีสัดส่วนของผู้มีรายได้น้อยกระจุกตัวในครัวเรือน ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โอกาสการเข้าถึ งโครงการของรัฐบาลน้อย การขาดทักษะทางการศึกษา และ คิดค้นนวัตกรรม การใช้สื่อหาช่องทางการตลาดผ่านระบบออนไลน์ การขาดแคลนที่ดินทากิน ปัญหาระบบ ชลประทาน ความเหลื่ อมล้าในการหารายได้เพิ่มขึ้น การถูกกาหนดราคาสิ นค้าเกษตรโดยพ่ อค้าคนกลาง ส่ว นสหกรณ์ น อกภาคเกษตรมีเพี ยงร้อยละ 1.54 เพราะสามารถช าระหนี้คืน ได้มากกว่า เนื่องจากลู กหนี้ ส่วนใหญ่มีรายได้ประจาที่แน่นอนสหกรณ์สามารถหักชาระหนี้ได้ทันที ปี 2560 (ล้ำนบำท) 53,387.18 47,800.15 7,028.17 5,497.36 77.99 113,790.83

ธุรกิจ สินเชื่อ รับฝำกเงิน จัดหำสินค้ำมำจำหน่ำย รวบรวมผลิตผล/แปรรูปผลิตผล ให้บริกำรและส่งเสริมกำรเกษตร รวมทั้งสิ้น

ปี 2559 (ล้ำนบำท) 52,718.72 43,312.28 7,217.91 6,218.46 58.29 109,525.67

เพิ่ม/ลด (ร้อยละ) 1.27 10.36 (2.63) (11.60) 33.79 3.89

ตำรำงที่ 6 กำรดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559 60,000.00

53,387.18

47,800.15

ปี 2560

50,000.00 40,000.00

52,718.72 43,312.28

ปี 2559

30,000.00 20,000.00 7,028.17

10,000.00 (10,000.00)

5,036.45

461.71

7,217.91 5,676.21

542.25

77.19 58.29

รับฝากเงิน

ให้ เงินกู้

ขายสินค้ า

รวบรวม

แปรรูป

ให้ บริการ

ปี 2560

47,800.15

53,387.18

7,028.17

5,036.45

461.71

77.19

ปี 2559

43,312.28

52,718.72

7,217.91

5,676.21

542.25

58.29

10.36

1.27

(2.63)

(11.27)

(14.85)

32.42

ร้ อยละเพิ่ม/ลด

ภำพที่ 5 กำรดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

33


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร มิติที่ 3 M – Management capability : ขีดควำมสำมำรถในกำรบริหำร สถาบั น เกษตรกรดาเนิ น ธุรกิจ ในปี 2560 มีมูล ค่ารวม 113,790.83 ล้ านบาทต่อปี หรือ 9,482.57 ล้านบาท ต่อเดือน เพิ่มขึ้นจากปีก่อน จานวน 4,265.16 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.89 ประกอบด้วยธุรกิจ เงินให้กู้ยืม 53,387.18 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 46.92 รองลงมาเป็น การรับฝากเงิน 47,800.15 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 42.00 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย 7,028.17 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.18 ธุรกิจรวบรวม ผลิตผล และธุรกิจแปรรูปผลิตผล 5,497.36 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4.83 และธุรกิจให้บริการและส่งเสริม การเกษตร 77.99 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 0.07 การดาเนินธุรกิจของสถาบันเกษตรกร เมื่อเปรียบเทียบ ทั้ง 2 ปี พบว่า ธุรกิจให้บริการมีการขยายตัวถึงร้อยละ 32.42 ขณะที่ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย มีอัตรา ลดลง ร้อยละ 2.63 แต่อย่างไรก็ตาม สมาชิกยังให้ความสาคัญกับธุรกิจการให้เงินกู้ยืมมากกว่าครึ่งหนึ่งของ มูล ค่ าธุร กิจ รวมทุก ด้าน จึ งเป็ น ผลให้ ส่ ว นครัว เรือนมี อัตราการก่ อหนี้ มากกว่าการออม เนื่ องจากสถาบั น เกษตรกรมุ่งเน้นให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สมาชิกซึ่งส่วนใหญ่ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และการ เข้าถึงแหล่งเงินทุนด้านอื่นค่อนข้างยาก ซึ่งสหกรณ์ควรมีการพิจารณาปรับปรุงเงื่อนไขการให้สินเชื่อแก่สมาชิก โดยคานึงถึงขีดความสามารถในการชาระหนี้ และการสร้างวินัยทางการเงินของสมาชิก ซึ่งภาคการผลิตของ เกษตรกรไทยยังไม่ส ามารถหาจุดอ่อนของต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้นของการประกอบอาชีพได้ เนื่องจาก เกษตรกรยังไม่ให้ความสาคัญต่อการบัน ทึกบัญ ชี โดยเฉพาะบัญชีต้นทุนการประกอบอาชีพ เพื่อนาไปเป็น ข้อมูลในการบริหารจัดการต้นทุนให้ลดลง และราคาผลผลิต ซึ่งจะส่งผลต่อการกาหนดราคาผลิตผลการเกษตร เพื่อนาไปแข่งขันกับการเปิดการค้าเสรีอาเซียน

34 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ผลกำรดำเนินงำน รำยได้รวม รำยจ่ำยรวม กำไรสุทธิ

ปี 2560

ปี 2559

23,705.47 18,569.78 5,135.69

24,083.09 19,273.18 4,809.91

เพิ่ม/ลด (ร้อยละ) (1.57) (3.65) 6.77

ตำรำงที่ 7 ผลกำรดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และ 2559

13,525.75

14,000.00 12,000.00 10,000.00 8,000.00 6,000.00 4,000.00 2,000.00 (2,000.00)

13,180.13 8,404.85 190.67 258.26 294.59 238.57 193.87 255.54 309.16 244.47

3,596.52 680.76 130.29 636.24 135.59

รายได้ ค่าใช้ จ่าย กาไร(ขาดทุน)

การเกษตร

ประมง

นิคม

บริการ

ร้ านค้ า

ออมทรัพย์

เครดิตยูเนี่ยน

กลุม่ เกษตรกร

รายได้

13,525.75

193.87

255.54

309.16

244.47

8,404.85

636.24

135.59

ค่าใช้ จ่าย

13,180.13

190.67

258.26

294.59

238.57

3,596.52

680.76

130.29

345.62

3.20

(2.72)

14.57

5.90

4,808.33

(44.52)

5.30

กาไร(ขาดทุน)

ภำพที่ 6 แสดงผลกำรดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560

35 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร มิติที่ 4 E – Earning sufficiency : กำรทำกำไร ผลการด าเนิ น งานของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร สถาบั น เกษตรกรมี รายได้ ทั้ งสิ้ น 23,705.47 ล้านบาท ค่าใช้จ่าย 18,569.78 ล้านบาท ทาให้มีผลกาไรสุทธิ 5,135.69 ล้านบาท เฉลี่ยคนละ 4,647.93 บาท เมื่อเปรียบเทียบปี 2560 และ 2559 มีผลการดาเนินงานลดลงทั้งรายได้และ ค่าใช้จ่าย คิดเป็นร้อยละ 1.57 และ 3.65 ตามลาดับ แต่ปรากฏว่า เมื่อพิจารณาผลกาไรกลับเพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ 6.77 เนื่องจาก สหกรณ์นอกภาคเกษตร โดยเฉพาะสหกรณ์ออมทรัพย์สามารถสร้างผลกาไรได้มากที่สุด ส่วนสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ปรากฏผลขาดทุ น อั น เนื่ อ งมาจากการพิ จ ารณาการด้ อ ยคุ ณ ภาพของการไปท าธุร กรรมร่ ว มกั บ สหกรณ์ เกิดปัญหาและไม่สามารถจ่ายคืนเงินเมื่อทวงถามได้ ถึงแม้ภาพรวมสถาบันเกษตรกรจะมีความสามารถในการ ทากาไร แต่หากพิจ ารณาเปรียบเทียบสัดส่วนปริมาณเงินออมกับหนี้สินของสมาชิกแล้วมีข้อน่าสังเกตถึง ความไม่สมดุล กัน คือ มีป ริมาณเงิน ออมเฉลี่ย 96,656.23 บาท/คน แต่มีปริมาณหนี้สินเฉลี่ย 128,336.16 บาท/คน ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความสามารถในการชาระหนี้ในอนาคตของสมาชิกได้ อัตราค่าใช้จ่ายรวมต่อ รายได้รวมค่อนข้างสูงที่ร้อยละ 78.33 ทาให้สถาบันเกษตรกรต้องพิจารณาเพิ่มความระมัดระวัง ในเรื่องของ ค่าใช้จ่ายให้เหมาะสม และควรส่งเสริมให้สมาชิกมีการออมเงินมากขึ้น

36 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร สินทรัพย์หมุนเวียน

ปี 2560 (ล้ำนบำท) 73.10 10,108.63 15,350.40 282.50 824.56 1,372.46 28,011.65

เงินสด เงินฝากธนาคาร/สก. ลูกหนี้/เงินให้กู้ยืมระยะสั้นสุทธิ หลักทรัพย์/ตราสาร/หุ้น (ระยะสั้น)

สินค้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมทั้งสิ้น

ปี 2559 (ล้ำนบำท) 102.49 11,572.49 16,599.64 150.21 901.23 1,276.44 30,602.51

เพิ่ม/ลด (ร้อยละ) -28.68 -12.65 -7.53 88.07 -8.51 7.52 -8.47

ตำรำงที่ 8 แสดงรำยกำรสินทรัพย์ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และปี 2559 ภำพที่ 7 แสดงรำยกำรสินทรัพย์หมุนเวียนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และปี 2559

35,000.00

30,602.51 28,011.65

30,000.00 25,000.00 16,599.64

20,000.00 15,000.00 10,000.00 5,000.00

15,350.40 ปี 2560 (ล้ านบาท)

11,572.49 10,108.63 102.49 73.10

ปี 2559 (ล้ านบาท) 150.21 901.23 1,276.44 282.50 824.56 1,372.46

เพิ่ม/ลด (ร้ อยละ)

0.00 (5,000.00)

37 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร หนี้สินหมุนเวียน

ปี 2560 (ล้ำนบำท)

ปี 2559 (ล้ำนบำท)

23,945.10 324.19 52,818.03 1,348.01 78,435.33 78,435.33

25,399.84 356.60 48,271.48 1,333.46 75,361.39 75,361.39

เจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้น เจ้าหนี้การค้า เงินรับฝาก เงินค้างจ่ายและอื่นๆ หนี้สินหมุนเวียน รวม

เพิ่ม/ลด (ร้อยละ) (5.73) (9.09) 9.42 1.09 4.08 4.08

ตำรำงที่ 9 แสดงรำยกำรหนี้สนิ หมุนเวียนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และปี 2559

90,000.00 78,435.33

80,000.00

75,361.39

70,000.00 60,000.00

52,818.03

50,000.00

48,271.48

40,000.00 30,000.00 20,000.00 10,000.00

ปี 2560 (ล้ านบาท)

23,945.10

ปี 2559 (ล้ านบาท)

25,399.84 324.19 356.60

เพิ่ม/ลด (ร้ อยละ) 1,348.01 1,333.46

(10,000.00)

ภำพที่ 8 แสดงรำยกำรหนี้สินหมุนเวียนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และปี 2559

38 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร มิติที่ 5 L – Liquidity : สภำพคล่อง ความเพี ยงพอของสภาพคล่ องต่ อความต้ องการเงิ นของสถาบั นเกษตรกร ในภาพรวมถื อว่ าการด าเนิ นธุ รกิ จ ประสบความส าเร็จมีกาไร แต่มีส ภาพคล่องทางการเงินค่อนข้างต่า คือ มีสั ดส่ว นของสินทรัพย์ห มุนเวียน น้อยกว่าหนี้สินหมุนเวียนที่ 0.36 เท่า เนื่องจากสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่โดยเฉพาะสหกรณ์ออมทรัพย์เป็น ลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้นและลูกหนี้ระยะสั้น 15,350.40 ล้านบาท ร้อยละ 54.80 รองลงมาเป็นเงินฝากธนาคาร/ สหกรณ์ 10,108.63 ล้านบาท ร้อยละ 36.09 แต่หนี้สินส่วนใหญ่เป็นเงินรับฝาก 52,818.03 บาท รองลงมา เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ระยะสั้นและหนี้สินถึงกาหนดชาระในหนึ่งปี 24,269.29 ล้านบาท เท่ากับว่าการแปรสภาพ เป็นเงินสดของสินทรัพย์ของสถาบันเกษตรกรขึ้ นอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารเงินรับฝากและลูกหนี้เงินกู้ จึงสะท้อนให้เห็นว่า ภาคสหกรณ์จะต้องระมัดระวังในการให้สินเชื่อ และการกาหนดกลยุทธ์ให้สมาชิกชาระหนี้ ตามระยะเวลาที่กาหนด และสร้างแรงจูงใจให้สมาชิกที่ฝากเงินให้อยู่ในรูปของการถือหุ้น เพื่อลดความเสี่ย ง ในกรณีที่สมาชิกมาถอนเงินคราวละมาก ๆ ซึ่งอาจทาให้สถาบันเกษตรกรขาดสภาพคล่องทางการเงินได้ รำยกำร การเกษตร ประมง นิคม บริการ ร้านค้า ออมทรัพย์ เครดิตยูเนี่ยน กลุ่มเกษตรกร รวม

ปี 2560 สินทรัพย์ หนี้สิน หมุนเวียน หมุนเวียน 12,346.15 14,078.11 45.75 27.47 378.61 542.04 208.65 272.84 93.65 15.60 12,560.86 61,316.40 2,061.32 2,053.18 316.66 129.68 28,011.65 78,435.33

อัตรำส่วน ทุนหมุนเวียน 0.88 1.67 0.70 0.76 6.00 0.20 1.00 2.44 0.36

ปี 2559 สินทรัพย์ หนี้สิน หมุนเวียน หมุนเวียน 12,061.76 13,900.30 24.12 12.85 390.71 560.31 198.95 247.77 89.65 16.65 15,280.60 58,337.29 2,267.81 2,174.75 288.92 111.47 30,602.51 75,361.39

อัตรำส่วน ทุนหมุนเวียน 0.87 1.88 0.70 0.80 5.39 0.26 1.04 2.59 0.41

ตำรำงที่ 10 แสดงรำยกำรสินทรัพย์หมุนเวียนและหนี้สินหมุนเวียนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2560 และปี 2559

39 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

มิติที่ 6 S – Sensitivity : ผลกระทบต่อธุรกิจ ในปี 2560 ปริมาณธุรกิจของสถาบันเกษตรกรมีอัตราการขยายเพิ่มขึ้นลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 3.89 โดยภาพรวมในความผันผวน จากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน 2560 มีปัจจัยเสี่ยงหลายด้านที่อ าจ ส่งผลกระทบต่อธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ระดับค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้นตามระดับ อั ตราเงิ นเฟ้ อ อั ตราดอกเบี้ ยในท้ องตลาด สภาวะอากาศแปรปรวนซึ่ งเป็ นเหตุ ให้ เกิ ดภั ยแล้ ง ภั ยธรรมชาติ อื่ นๆ แนวนโยบายด้านการเงินการคลังของรัฐบาล การเปิดเสรีทางการค้า การกาหนดราคาสินค้าเกษตรโดยพ่อค้า คนกลางเป็นต้น ล้วนส่งผลต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และรายได้ของเกษตรกร และอาจส่งผลต่อ ภาคการผลิตสินค้า ดังนั้น ทิศทางการแข่งขันการตลาดสินค้าเกษตร และการสร้างนวัตกรรมด้านการเกษตร เพื่ อ ลดต้ น ทุ น การผลิ ต เพิ่ ม คุ ณ ภาพผลผลิ ต และเพิ่ ม ผลผลิ ต รวมถึ งการเพิ่ ม ช่ อ งทางการจั ด จ าหน่ า ย ผ่านระบบออนไลน์ รวมไปถึงการบริหารจัดการการขนส่ง (logistic) ให้ถึงมือผู้บริโภคเพื่อสร้างความพึงพอใจ ต่อผู้บริโภค เพื่อสามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้ รวมไปถึงการส่งชาระหนี้ของสมาชิกด้วย ภำพรวมภำวะเชิงเศรษฐกิจภำคสหกรณ์ไทย ปี 2560 สหกรณ์ภาคการเกษตร นอกภาคเกษตร และกลุ่มเกษตรกร ในภาพรวมของ 6 จังหวัดภาคเหนือ ตอนบน พบว่ า หนี้ สิ น คิ ดเป็ น 1.28 เท่ า ของทุ นด าเนิ นงาน มี หนี้ สิ นต่ อครั วเรื อนสู งกว่ าการออมเงิ น 1.33 เท่ า คาดการณ์ว่าในปี 2561 แนวโน้มความต้องการเงินทุ นของภาคสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจากแหล่งภายนอก เพื่ อน ามาใช้ การด าเนิ นธุ รกิ จจะมี มากขึ้ น เนื่ องจากสมาชิ กยั งไม่ มี ทุ นเป็ นของตนเองเพี ยงพอในการประกอบอาชี พ ส่งผลให้การก่อหนี้ภาคครัวเรือนยังคงสูงกว่าการออม และอาจทาให้สมาชิกประสบปัญหาด้านการครองชีพ รวมถึงค่าครองชีพที่สูงขึ้น แต่ราคาผลผลิตยังคงถูกกาหนดโดยราคาตลาดหรือพ่อค้าคนกลางซึ่งไม่ได้สะท้อน ต้นทุนที่แท้จริง

40 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร สหกรณ์ภำคเกษตร ปี 2560 ธุรกิจภาคการเกษตรขยายตัวลดลง ร้อยละ 4.97 เมื่อเทียบกับปี 2559 ที่ผ่านมาโดยมีปัจจัย สาคัญมาจากธุรกิจสินเชื่อ และการลดลงของภาคการออมในด้านการรับฝากเงิน ส่งผลให้ภาคครัวเรือนยังมี อัตราการก่อหนี้มากกว่าการออมอย่างต่อเนื่อง มู ล ค่ า ธุ ร กิ จ รวม ภาคเกษตร 28,471.22 ล้ า นบาท มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ช่ว ยเหลื อสมาชิกที่ป ระกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีการดาเนินธุรกิจ 5 ด้าน ทุกธุรกิ จมีอัตราขยายตัวลดลง โดยธุรกิจ สินเชื่อมีอัตราการขยายตัวลดลง ร้อยละ 6.48 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่ายลดลง ร้อยละ 0.77 การรับฝากเงิน ลดลง ร้อยละ 2.17 ธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตร ลดลง ร้อยละ 22.97 ส่วนธุรกิจ รวบรวมผลิตผล ลดลง ร้อยละ 11.43 และธุรกิจแปรรูป ลดลง ร้อยละ 14.98 ผลการดาเนินงานของสหกรณ์ ภาคเกษตร มีรายได้รวมทั้งสิ้น 13,975.16 ล้านบาท เป็นรายได้จากธุรกิจ 13,577.81 ล้านบาท มีค่าใช้จ่าย รวม 13,629.06 ล้านบาท เป็นต้นทุนขาย/บริการ 12,049.36 ล้านบาท อัตราค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้รวม คิดเป็ น ร้อยละ 97.52 มีกาไรสุ ทธิรวม 346.10 ล้ านบาท มีเงินออมเฉลี่ย 21,208.97 บาท ต่อครัว เรือน และมีหนี้สินเฉลี่ยต่อสมาชิก 20,947.43 บาท โดยหนี้สินคิดเป็น 0.99 เท่าของเงินออม

41 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

สหกรณ์นอกภำคเกษตร ปี 2560 ธุรกิจนอกภาคเกษตรขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.20 เมื่อเทียบกับปี 2559 ที่ผ่านมา โดยมี ปัจจัยสาคัญมาจากการขยายตัวของการรับฝากเงิน มูลค่าธุรกิจรวมกว่า 84,992.69 ล้านบาท ประกอบธุรกิจ 5 ด้าน ส่วนใหญ่เน้นธุรกิจรับฝากเงิน และธุรกิจสินเชื่อเป็นหลักคล้ายธนาคาร ซึ่งเป็นธุรกิจหลักของสหกรณ์นอกภาคเกษตร ปัจจัยสาคัญมาจากการ ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ คือ การรับฝากเงิน ร้อยละ 13.92 เมื่อเทียบกับ ปี 2559 ส่วนธุรกิจสินเชื่อ มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ร้อยละ 2.54 เมื่อธุรกิจหลักมีการปรับตัวลดลงจึงทาให้มีผลกระทบในภาพรวม ของรายได้รวม 9,594.72 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2559 เพียง 189.29 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 2.02 ขณะที่ ค่ าใช้ จ่ ายรวม 4,810.44 ล้ านบาท และมี ก าไรสุ ท ธิ รวม 4,784.28 ล้ านบาท เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก่ อ น 166.32 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ3.60 มีเงินออมเฉลี่ย 254,623.45 บาทต่อคน มีหนี้สินเฉลี่ย 351,542.87 บาทต่อคน โดยหนี้สิน คิดเป็น 1.38 เท่า ของเงินออมเฉลี่ย กลุ่มเกษตรกร ปี 2560 ธุรกิจกลุ่มเกษตรกรขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.43 เมื่อเทียบกับ ปี 2559 ที่ผ่านมาปัจจัย สาคัญมาจากธุรกิจสินเชื่อที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ส่วนครัวเรือนยังมีอัตราการก่อหนี้มากกว่าการออม มูล ค่ าธุรกิ จ รวมทั้ งสิ้ น 326.92 ล้ านบาท เป็น การประกอบธุรกิ จ 5 ด้าน ธุรกิจโดยรวมขยายตั ว เพิ่มขึ้น ร้อยละ 13.43 เมื่อเทียบกับปี 2559 ปัจจัยสาคัญมาจากธุรกิจสินเชื่อ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 15.88 และ ธุรกิจรวบรวม เพิ่มขึ้น ร้อยละ 29.34 มีรายได้ รวมทั้งสิ้น 135.59 ล้านบาท ค่าใช้จ่าย รวม 130.29 ล้านบาท มีกาไรสุทธิ รวม 5.30 ล้านบาท เงินออมเฉลี่ย 1,663.55 บาท ต่อครัวเรือน หนี้สินเฉลี่ย 4,008.95 บาทต่อ ครัวเรือน โดยหนี้สินคิดเป็น 2.40 เท่าของเงินออมเฉลี่ย

42 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร กำรดำเนินธุรกิจของภำคสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มี 5 ธุรกิจ 1) การรับฝากเงิน มีมูลค่าธุรกิจรวม 47,800.15 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4,487.87 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 10.36 2) ธุรกิจสินเชื่อ มีมูลค่าธุรกิจรวม 53,387.18 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 668.46 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 1.27 3) ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจาหน่าย มีมูลค่าธุรกิจรวม 7,217.91 ล้านบาท ปรับตัวลดลงจากปีก่อน 189.74 ล้านบาท ร้อยละ 2.62 4) ธุรกิจรวบรวมผลิตผล และธุรกิจแปรรูปมีมูลค่าธุรกิจ รวบรวม 5,498.16 ล้านบาท ปรับตัวลดลง จากปีก่อน 720.30 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 11.58 5) ธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตร มีมูลค่าธุรกิจ รวม 77.19 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้น จากปีก่อน 18.90 ล้านบาท คิดเป็น ร้อยละ 32.42 ผลการด าเนิ นงาน มี รายได้ รวมทั้ งสิ้ น 23,705.47 ล้ านบาท รายได้ จากธุ รกิ จหลั ก 22,963.45 ล้ านบาท ค่าใช้จ่ายรวม 18,569.78 ล้านบาท ต้นทุนธุรกิจ 15,609.42 ล้านบาท มีกาไรสุทธิรวม 5,135.69 ล้านบาท ภาคครัวเรือน เงินออมเฉลี่ย ต่อสมาชิก 96,656.23 บาท หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน 128,336.16 บาท คิดเป็น 1.32 เท่าของเงินออมเฉลี่ย

43 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน

2560

ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

บทสรุปโดยภำพรวม จากผลการดาเนินงานในแต่ละภาคสหกรณ์ ข้างต้น จะเห็นได้ว่าทิศทางของ ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจภาคสหกรณ์ไทย ปี 2560 ในพื้นที่ สตท. 7 จานวน 6 จังหวัด มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จากปี 2559 ที่ผ่านมา ซึ่งคาดการณ์ว่าปี 2561 การขยายตัวของธุรกิจยังอยู่ในทิศทางทรงตัว หรือขยายตัวขึ้น เล็กน้อย เศรษฐกิจในประเทศมีการถดถอย อันเนื่องมาจากการชะลอตัวของ การบริโภคในประเทศ การลงทุน การย้ ายฐานการผลิ ต ภาวะการเลิ กจ้ างแรงงานในประเทศ ประกอบกับความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ ส่ ง ผลให้ เกิ ด การชะลอการใช้ จ่ า ยภาคครั ว เรื อ น ดั ง นั้ น การส่ ง เสริ ม ภาคการส่ ง ออกจึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ หากสามารถหาช่องทางการจาหน่าย การสร้างนวัตกรรมด้านการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิต เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต และเพิ่มผลผลิต รวมถึงการเพิ่มช่องทางการจัดจาหน่าย ผ่านระบบออนไลน์ รวมไปถึงการบริหาร จัดการการขนส่ง (logistic) ให้ถึงมือผู้บริโภคเพื่อสร้างความพึงพอใจต่อผู้บริโภค เพื่อให้สามารถแข่งขันกับ ตลาดโลกได้ โดยเฉพาะการค้าขายกับประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศที่เศรษฐกิจยังอยู่ในภาวะการขยายตัว และมี ประชากรที่มีกาลังการบริโภคอันดับต้นๆ ของโลก และเป็นคู่ค้าที่สาคัญของไทย ดังนั้ น การบริห ารจั ดการความเสี่ยง ขึ้นอยู่กับการเตรียมแผนรองรับทั้งในส่ว นของสหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกร ว่าจะสามารถเตรียมการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งหากภาคสหกรณ์สามารถ วางแผนรองรับเพื่อให้ความช่วยเหลือสมาชิก เพื่อสร้างความมั่นใจและสร้างศรัทธาแก่สมาชิก ไม่ว่าจะเป็น การดาเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล การนาจุดแข็งของชุมชนมาผนวกเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ การสร้างนวัตกรรมในการผลิตเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิตที่มีมาตรฐานและมีคุณภาพ และการเข้าถึงตลาด ค้าขายสินค้าเกษตรทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยผลักดันให้สหกรณ์เป็นศูนย์กลางในการให้ความรู้ และ ให้ความช่วยเหลือสนั บสนุนสมาชิก ในด้านการรวบรวมผลิตผล การกาหนดราคาสินค้าเกษตรที่เป็นผลดีต่อ สมาชิก รวมทั้งการสร้างอาชีพเสริม การแปรรูปสินค้าเกษตรเพื่อ เพิ่มรายได้ การส่งเสริมการออมแก่สมาชิก และเป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือของหน่วยงานราชการ การเข้าร่วมโครงการรัฐบาล

สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017

44


COOPERATIVE AUDITING OFFICE REGION 7

2560

ภาพรวมภาวะเศรษฐกิจทางการเงิน ของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

ที่เอื้อประโยชน์ต่อสมาชิก การให้ความรู้แก่สมาชิก โดยเน้นการทาบัญชีครัวเรือนให้ทราบต้นทุนการผลิตสินค้า และสามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีมาวิเคราะห์และบริหารจัดการต้นทุนและเพิ่มรายได้ให้เหมาะสม การส่งเสริม ให้น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ให้เหมาะสมในแต่ละบุคคล

45 สำนักงำนตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 7 Cooperative Auditing Office Region 7

รำยงำนประจำปี 2560 Annual Report 2017


46


47


48


49


50


51


52


53


54


55


56


57


58


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.