001_iipm65รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกำลังคนครั้งที่1 2565

Page 1

สถาบันพัฒนาศักยภาพกรายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติาลังคนครั้งที่1ประจาปี พ.ศ. 2565 เรื่อง สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน กับ EEC 2 JULY 2022

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 เรื่อง สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน กับ EEC วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ณ โรงแรมโอ๊ควูด อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2565 (ไฟล์ดิจิทัล) จัดทสงวนลิขสิทธิ์าโดย ประสานงานและจัดรูปเล่มในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกโครงการวิจัยต้นแบบสถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคนรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมดร.ดารัสอ่อนเฉวียง Website : https://www.iipmeecofficial.com/ E Mail : Facebookdamras@go.buu.ac.th:https://www.facebook.com/Iipmeec 101466661897291 หมายเหตุ : บทความในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนี้เป็นของผู้เขียน หากผู้เขียนได้ละเมิด ลิขสิทธิ์ของผู้เขียนผู้หนึ่งผู้ใด ดังกล่าวการเติบโตของอุตสาหกรรมในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกโครงการวิจัยต้นแบบสถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคนรองรับจะไม่รับผิดชอบต่อการละเมิด

คานา ศักยภาพกเศรษฐกิจภาคตะวันออกโครงการวิจัยต้นแบบสถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคนรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมในระเบียงได้จัดการประชุมวิชาการระดับชาติซึ่งครั้งนี้เป็นครั้งที่1ภายใต้สถาบันพัฒนาาลังคนกับ EEC วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ณ โรงแรมโอ๊ควูด อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ในเอกสารฉบับนี้ประกอบไปด้วย ผลงานทางวิชาการที่ได้มีการนาเสนอในการประชุมวิชาการฯ จานวนทั้งสิ้น 7 ผลงาน ซึ่งได้แบ่งกลุ่มการนาเสนอผลงาน ออกเป็น 3 กลุ่มสาขา คือ กลุ่มการพัฒนากาลังคน เพื่อรองรับ EEC กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และกลุ่มวิทยาการสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล คณะกรรมการดาเนินงานการประชุมวิชาการ ฯ ขอขอบพระคุณ คณะที่ปรึกษา คณะกรรมการ อานวยการฯ คณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยบูรพาที่ให้เกียรติ และ สละเวลาในการพิจารณาบทความ เข้าร่วมการวิพากษ์ผลงาน และให้ข้อเสนอแนะแก่ผู้นาเสนอทุกท่าน รวมไป ถึง ผู้นาเสนอทุกท่าน ที่มีส่วนทาให้งานสาเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าองค์ความรู้จากการประชุม วิชาการฯ ครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อแวดวงวิชาการ ชุมชน สังคมคณะกรรมการดและประเทศชาติต่อไปาเนินงานกรกฎาคม 2565

สารบัญ หน้า รูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” โดยใช้ BATETHER Model ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดย สุมาลิน บัวอรุณแสงสว่าง 1 8 การพัฒนาเกมถอดรหัสคิดเลขเร็วสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวอนนภาศัพท์ โดย รุ่งทิวา ทองคลี่ และ ทศพล อนุษา 9 19 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพสาหรับผู้เรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดย จุฑารัตน์ อ่อนเฉวียง และ สิริธิดา ศรีโภคา 20 28 นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ไม่มีทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model โดย สุรเชษฐ์ พินิจกิจ 29 44 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาการบริการสารสนเทศ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.อธิป เกตุสิริ และ ดร.ณรัช ไชยชนะ 45 57 แนวทางการใช้ GB Dos Modelเพื่อพัฒนาศักยภาพกาลังคนพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) โดย ดร.โสภางค์พักตร์ หร่ายเจริญ 58 66 ประเภทประกาศนียบัตรการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทยสาขา(การซ่อมบโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกาลังคนที่มีสมรรถนะเพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบราง)( Non Degree) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ภูสมมา และ อาจารย์สถาพร เจริญศุภโชคกุล 67 81 คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ครั้งที่ 1 ประจาปี พ.ศ. 2565เรื่อง สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน กับ EEC 82

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 1 รูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” โดยใช้ BATETHER Model ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 A model of student development activities under the concept of “Different not differentiated” by using the BATETHER Model of Junior High school students in Wonnaphasub School. Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 สุมาลิน บัวอรุณแสงสว่าง Sumalin Buaaroonsaengsawang ครูชานาญการ โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 บทคัดย่อ รูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก”ด้วย BATETHER Model วิเคราะห์และมีความเห็นตรงกันว่าในกิจกรรมด้วยพื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมของนักเรียนที่แตกต่างกันเกิดขึ้นจากปัญหาพื้นฐานของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนนาร่องจัดการศึกษาพิเศษเรียนร่วมทาให้มักเกิดปัญหาการไม่เข้าใจการไม่ให้ความร่วมมือทาให้บรรยากาศในชั้นเรียนไม่ดีการร่วมกิจกรรมต่างๆก็มีปัญหาจึงได้ร่วมกันทุกฝ่ายทาการต้องแก้ปัญหาให้ตรงจุดคือ 1) สร้างความสามัคคี ให้เกิดขึ้น 2) สร้างการ ยอมรับในความแตกต่างการเห็นคุณค่าในตัวบุคคล 3) การใช้หลักธรรมมาประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหา จึงเกิดแรง บันดาลใจแนวคิดเกี่ยวกับ “แตกต่างไม่แตกแยก” โดยอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ ได้แก่ การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) รวมถึงการศึกษาทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ตลอดจนหลักการของการ เรียนรวมและรูปแบบการเรียนรวม (Inclusion Models) ซึ่งนักเรียนทุกคนจะได้ร่วมมือกันทากิจกรรมเป็นกลุ่มมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ โดยนักเรียนแต่ละคนจะมีบทบาท ที่แตกต่างกันตามศักยภาพของตัว นักเรียนเอง ครูผู้สอนเป็นหนึ่งในกลไกที่สาคัญในการขับเคลื่อนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุ ประกอบกับ การระบาดของไวรัสโควิด 19 จึงเป็นความท้าทายของครูผู้สอน ในการออกแบบและพัฒนากระบวนการการ เรียนการสอนที่เหมาะสม ก่อให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนา ทั้งครูและผู้เรียนที่ดีงามต่อไป คาสาคัญ: การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน, แตกต่างไม่แตกแยก, นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น, โรงเรียนวอนนภาศัพท์

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 2

Keywords:

The form of student development activities under the concept of "Different not differentiated" with BAETHER Model arises from the common problem of schools to expand educational opportunities and pilot schools to provide special education, joint learning. The different environmental backgrounds of students causing problems of not understanding non cooperation in activities causing a bad atmosphere in the classroom participation in various activities has problems. Therefore, all parties have gathered together to analyze and have the same opinion that the problems must be solved urgently and on spot that are1) creating unity to occur 2) creating acceptance of differences in individual values 3) applying Dharma principles to problem solving. Thus inspired the idea of “Different, not differentiated” based on various theories, including Blended Learning, including the study of conditional theory (Conditioning Theory) as well as principles of inclusive learning and inclusion models, in which all students will be able to collaborate in group activities, exchange, learn, interact. Each student has a different role based on his/her potential. Teachers are one of the key mechanisms in driving student development activities to achieve Together with the COVID 19 outbreak, it is a challenge for teachers to design and develop an appropriate teaching learning process. For learning and development both teachers and learners further. learner development activities, different not differentiated, junior high school students, Wonnaphasub School บทนา

Abstract

เนื่องจากโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 1เป็น โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนนาร่องจัดการศึกษาพิเศษเรียนร่วม นักเรียนส่วนใหญ่ย้ายติดตาม ผู้ปกครองซึ่งเป็นแรงงานรายวัน ประกอบอาชีพรับจ้างมาทางานในเมือง ดังนั้น ด้วยพื้นฐานทางสิ่งแวดล้อมที่ แตกต่างกัน การเลี้ยงดู ปลูกฝังด้านคุณธรรม จริยธรรมที่แตกต่างและสภาวะแวดล้อมทางกายภาพที่แตกต่างกันทา ให้มักเกิดปัญหาการไม่เข้าใจ การทะเลาะ การไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรม และรุนแรงถึงขั้นมีปากเสียงและชก ต่อยกัน บ่อยครั้งที่พบว่าปัญหาเกิดมาจากการพูดล้อเลียน หรือหยิบยกปมด้อยของเพื่อนที่เป็นเด็กพิเศษมาพูด ทา ให้เกิดความไม่พอใจและนาไปสู่การทะเลาะวิวาท จากสถิติของงานปกครองนักเรียน โรงเรียนวอนนภาศัพท์

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 3 (เอกสารรายงานสรุปจากงานปกครองนักเรียน, 2562) ที่ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการทาบันทึกหักคะแนน พฤติกรรมนักเรียนในช่วงภาคเรียนที่ 1 ของปีการศึกษา 2562 ที่ผ่านมา ได้แสดงไว้ดังตารางต่อไปนี้ กรณีที่เกิดปัญหา จานวนครั้ง คิดเป็นร้อยละ ระดับชั้นที่เกิด ชู้สาว 2 9.52 มัธยมศึกษา ทะเลาะวิวาท 16 76.19 มัธยมศึกษา สูบบุหรี่ 2 9.52 มัธยมศึกษา ลักขโมย 1 4.76 มัธยมศึกษา รวม 21 100.00 ตารางที่ 1 แสดงปัญหาที่เกิดขึ้นของระดับมัธยมศึกษาในปีการศึกษา 2562 จากตารางแสดงให้เห็นถึงค่าสถิติในการทะเลาะ มีปัญหาชกต่อยกัน ชกต่อยทะเลาะวิวาทจะเป็นการทะเลาะกันระหว่างเด็กปกติและเด็กพิเศษเรียนร่วมถึงร้อยละและจากการวิเคราะห์คู่กรณีของการ 90 จากกรณีของ การทะเลาะ และนอกจากนั้นเมื่อมีปัญหาทะเลาะกัน ทาให้บรรยากาศในชั้นเรียนไม่ดี การร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ก็มี ปัญหา ส่งผลไปถึงการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่มักเกิดปัญหาระหว่างเรียนอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งจากการร่วมกัน วิเคราะห์ของผู้วิจัยและคณะครู ครูฝ่ายปกครอง ผู้บริหารต่างมีความเห็นตรงกันว่า เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ต้องหา วิธีการแก้ไขปัญหาในจุดสาคัญๆ คือ 1) สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น 2) สร้างการยอมรับในความแตกต่างการเห็น คุณค่าในตัวบุคคล 3) การใช้หลักธรรมมาประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหา โดยคานึงถึงว่า เด็กๆกาลังจะเติบโตเป็น อนาคตของชาติและเป็นกาลังสาคัญที่จะช่วยพัฒนาบ้านเมืองให้มีความเจริญรุ่งเรืองมีความเจริญในทุกด้าน ทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ดังนั้นควรปลูกฝัง ทั้งความรู้คู่คุณธรรมและจริยธรรม ให้เป็นผู้มีความ พร้อม ความสมบูรณ์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และจาเป็นต้องมีการปลูกฝังนักเรียนให้ตระหนักทั้งทางกาย วาจาใจ ให้เป็นผู้มีจิตใจงดงาม ในปัจจุบันนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3 โรงเรียนวอนนภาศัพท์มีนักเรียน พิเศษเรียนร่วมจานวน 25 คน และเป็นเด็กปกติ 32 คน นักเรียนทั้งสองกลุ่มนี้รอคอยการแก้ปัญหาให้ถูกวิธีดังนั้น ปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น สภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน ครอบครัว และตัวนักเรียน การปลูกฝังทักษะชีวิตใน การสั่งสอน การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดที่จะช่วยขัดเกลาอุปนิสัย และปลูกฝังคุณธรรม ดังนั้นผู้วิจัยซึ่งรับผิดชอบ ชุมนุมสาหรับนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นจึงเกิดแรงบันดาลใจแนวคิดเกี่ยวกับ “แตกต่างไม่แตกแยก” ให้กับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3โดยได้ระดมความคิดและได้เกิดเป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนภายใต้ แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก”ด้วย BATETHER Model(B=Be accepted in the differences (การยอมรับใน ความแตกต่าง), A=Awareness (การสร้างความตระหนัก) T=Target Goal (การตั้งเป้าหมาย), E=Educational

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 4 activities (การออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนา), T=Treatment (การปฏิบัติและตรวจสอบ), H=Harmony (เกิดความ สามัคคีปรองดอง),E=Evaluation (การประเมินผล), R=Review for Improvement (การทบทวนเพื่อพัฒนา) จากตาราง ผู้เขียนขอเสนอร่างนวัตกรรมรูปแบบการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BATETHER Model มี ภาพประกอบที่รายละเอียดต่อไปนี้1แสดงร่างนวัตกรรมรูปแบบการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BATETHER Model รูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ด้วย BATETHER Modelของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนวอนนภาศัพท์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1ซึ่งเป็นรูปแบบที่ผ่านการประเมินของผู้เชี่ยวชาญเรียบร้อยแล้วมีรายละเอียดตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ยอมรับในความแตกต่างB (Be accepted in the differences)เป็นการ ชี้ให้ นักเรียนในกลุ่มเป้าหมายได้เห็นถึงข้อเท็จจริงของแต่ละบุคคลว่า พวกเราทุกคนนั้นมีความแตกต่าง ไม่มีใครเหมือน ใคร 100% แม้เป็นฝาแฝดเกิดมาพร้อมกันก็ไม่เหมือนกัน จึงเป็นความจริงตามธรรมชาติตามที่พุทธศาสนาได้สอน B Be accepted in the ifferent ยอมรับในความ A Awareness สร้างความตระหนัก T Target Goal กาหนดเป้าหมาย E Education ออกแบบกิจกรรมเพื่อ T Treatment การปฏิบัติและ H Harmony เกิดความสามัคคี E Evaluation การประเมินผล R Review for ทบทวนและพัฒนา

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 5 ไว้ว่า ทุกคนล้วนเกิดมาต่าง เมื่อทุกคนยอมรับในความจริงนี้ได้แล้ว จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการ ที่จะเปิดใจ ยอมรับและเรียนรู้ในความแตกต่างของแต่ละคนด้วยใจที่เป็นกัลยาณมิตร ขั้นตอนที่ 2 การสร้างความตระหนัก A (Awareness)เป็นการสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสาคัญ ของการร่วมกันแก้ปัญหาในความแตกต่างที่ทาให้เกิดความไม่เข้าใจกันและลุกลามไปสู่การทะเลาะเบาะแว้ง การ แตกความสามัคคีและเป็นปัญหาที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครูและ บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน ต้องให้ความร่วมมือในการช่วยกันแก้ไขปั ญหาและหา ทางออกที่ดีที่สุด ขั้นตอนที่ 3 การตั้งเป้าหมาย T (target Goal)การตั้งเป้าหมายเพื่อการพัฒนาความสัมพันธ์สาหรับ นักเรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ จังหวัดชลบุรี ในการดาเนินงานครั้งนี้ มีจุดเน้นเพื่อการพัฒนานักเรียนให้สอดคล้อง กับสภาพความเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ การทางาน การอยู่รอด ทักษะชีวิตและบริบทสังคม โดยคานึงถึงหลักเกณฑ์ และข้อจากัดในความแตกต่างของผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย โดยสกัดและจัดระบบเป้าหมายการพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะและทักษะที่จาเป็นต่อเรียนรู้และการดาเนินชีวิต ออกหมวดหมู่ได้ 5 รายการและจัดเป็นกิจกรรมการ เรียนรู้ในชุมนุมที่ตั้งชื่อชุมนุมว่า “ชุมนุมแตกต่างไม่แตกแยก” 5 กิจกรรม ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงกิจกรรมการเรียนรู้ในคาบเรียนชุมนุม 5 กิจกรรมที่เป็นกิจกรรมหลักในการพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ขั้นตอนที่ 4 การออกแบบกิจกรรม E (Educational Activities)เป็นการออกแบบกิจกรรมเพื่อนาไปใช้ พัฒนาผู้เรียนให้มีพฤติกรรมตามเป้าหมายที่วางไว้คือ1) สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น 2) สร้างการยอมรับในความ แตกต่างการเห็นคุณค่าในตัวบุคคล 3) การใช้หลักธรรมมาประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหา

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 6 ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมT (Treatment)เป็นการนากิจกรรมที่ได้ออกแบบไว้ ไปใช้พัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม และบริบท ในศตวรรษที่ 21 อย่างกว้างขวาง ขั้นตอนที่ 6 เกิดความสามัคคีปรองดอง H (Harmony)เป็นจุดสาคัญของการดาเนินโครงการเพื่อให้ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเกิดความสามัคคีกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันด้วยใจที่เป็นกัลยาณมิตร ผ่านกิจกรรมต่าง ๆที่ได้วางแผนไว้อย่างเป็นขั้นตอน ขั้นตอนที่ 7 การประเมินผลงาน E (Evaluation)เป็นการประเมินผลการดาเนินงานโครงการและ กิจกรรมต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน เพื่อเปรียบเทียบความสาเร็จ ค้นหาปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขการดาเนินงานให้ดีขึ้น ขั้นตอนที่ 8 การทบทวนเพื่อการพัฒนา R (Review for Improvement) เป็นการทบทวนเพื่อการ ปรับปรุง พัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการให้มีความเหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อการพัฒนาผู้เรียน ให้มากที่สุด การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้เขียนได้วิเคราะห์ และกาหนดเป้าหมายของการจัดกิจกรรม การออกแบบกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ สอดคล้องกับรูปแบบ BATETHER Model การดาเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยใช้คาบเรียนกิจกรรมชุมนุม และ ในแต่ละภาคเรียนจะจัดเป็นค่ายกิจกรรม โดยแบ่งเป็นฐาน 5 ฐาน โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม 5 กลุ่ม ใน 5 กลุ่มนี้ จะเป็นการรวมตัวกันของนักเรียนทั้งเด็กปกติและเด็กพิเศษให้ทากิจกรรมร่วมกัน เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้ สู่การ ปฏิบัติจริง ผู้เรียนมีความสุขในการทากิจกรรม เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เรียนรู้และสามารถปรับปรุงพฤติกรรมไปสู่พฤติกรรมที่พึงประสงค์อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุขการจัดกิจกรรมจะส่งผลให้ผู้เรียนที่การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้เห็นความสามารถที่จะได้รับการส่งเสริมต่อไปในอนาคตใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทั้งยังเป็นผู้เขียนคาดว่าผลจากมีปัญหาหรือความบกพร่องทางพฤติกรรมด้านทักษะทางสังคมจะเกิดการโครงการและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนภายใต้แนวคิด“แตกต่างไม่แตกแยก”ด้วย BATETHER Model ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวอนนภาศัพท์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ที่ พึงให้เกิดกับผู้เรียน มีดังนี้

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 7 ที่ ทักษะ/การพัฒนา ตัวชี้วัด กิจกรรม ผลที่ได้รับ 1 ประชาธิปไตยความเป็น นักเรียนรู้จักกันมากขึ้น ความเป็นมาของฉัน เหรียญทองระดับประเทศรางวัลโครงงานคุณธรรม 2 ในธรรมมีสมาธิและอิ่มเอมฝึกจิตให้เข้มแข็ง อ่อนโยนจิตและกล่อมเกลาจิตใจที่นักเรียนใช้ธรรมะในการฝึกมีเมตตา เด็กดีวิถีพุทธ เหรียญทองระดับประเทศรางวัลโครงงานคุณธรรม 3 จิตสาธารณะ ทเพื่อสังคมสิ่งที่เป็นประโยชน์การทาอาสาที่จะาความดี และไม่รับผิดชอบไม่นิ่งดูดายหรือปล่อยวางนักเรียนมีจิตสาธารณะ จิตอาสาพาทาดี รางวัลโรงเรียนคุณธรรมระดับ 2 เหรียญทองระดับประเทศรางวัลโครงงานคุณธรรมดาว 4 แข็งแรงเสริมสร้างร่างกายให้ทักษะด้านกีฬา นักเรียนมีทักษะการคิด กีฬาพาสนุก ระดับชาติทั้งในระดับจังหวัดและถนัดจนได้รับรางวัลเหรียญทองเข้าแข่งขันตามทักษะกีฬาที่นักเรียนได้รับการส่งเสริมให้ 5 กล้าแสดงออกสร้างสรรค์ทักษะด้านความคิด นักเรียนปฏิบัติตนพอเพียง สร้างสรรค์ศิลป์ประดิษฐ์ และระดับชาติเหรียญทองทั้งในระดับจังหวัดศิลปะที่ถนัดจนได้รับรางวัลเข้าแข่งขันตามทักษะงานนักเรียนได้รับการส่งเสริมให้ กล่าวโดยสรุป ผู้เสนอขอรับการประเมิน ได้พัฒนาผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพครู ผู้เรียน สถานศึกษา และมีการได้ปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน ปฏิบัติตามแผน มีการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อนาผลมาพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดมา และที่สาคัญได้นาผลการพัฒนา สร้างสรรค์ต่อสาธคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาไปเผยแพร่ผลการปฏิบัติงานที่มีความคิดริเริ่มารณชนและได้รับการยกย่องชมเชยตลอดมา สรุป การเรียนรู้ด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ด้วย

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 8 BATETHER Model ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวอนนภาศัพท์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 เด็กปกติและเด็กพิเศษเรียนร่วมจะช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในเชิงบวกของพฤติกรรมนักเรียนทั้งกลุ่มโดยในกิจกรรมแต่ละกิจกรรมตั้งแต่กิจกรรมที่ 1นักเรียน ในกลุ่มเป้าหมาย ต้องร่วมทากิจกรรมด้วยกันทาให้นักเรียนทั้งสองกลุ่มต่างได้เรียนรู้ในความแตกต่างของเพื่อนแต่ละคน ซึ่งมีทั้งด้าน ดีและไม่ดี และได้รู้ที่มาที่ไปของปัญหาและการแสดงออกในพฤติกรรมนั้นๆ ทาให้เข้าใจกันและกันมากขึ้น ในช่วง การทากิจกรรมที่ 2และ 3 จะเริ่มเห็นการเปลี่ยนแปลงในการแสดงออกของนักเรียนทุกคนอย่างชัดเจน การ ทะเลาะกัน การมีปัญหากันลดน้อยลง และเมื่อจบกิจกรรมสุดท้าย เรียนขั้นตอนข้อมูลต่างๆใกล้ตัวเนื้อหาบทเรียนและสามารถนกิจกรรมการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสนักเรียนทั้งสองกลุ่มต่างมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปเมื่อเทียบกับในตอนเริ่มต้นทจากการเฝ้าสังเกตพฤติกรรมทาให้เห็นว่าากิจกรรมทาให้พอสรุปได้ว่าการจัดาคัญจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องผู้เรียนให้ความสนใจต่อาไปใช้กับการเรียนวิชาอื่นๆได้โดยการฝึกให้ผู้เรียนคิดหาข้อสงสัยที่เกิดขึ้นกับสิ่งและหาวิธีการค้นหาความรู้ตรวจสอบความรู้ที่หามาได้ว่าถูกต้องหรือไม่และขั้นสุดท้ายคือการนาเสนอที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วจะเป็นการให้ผู้เรียนได้สังเคราะห์ความรู้ที่ได้ออกมาอย่างดีและทุกผู้สอนควรให้เทคโนโลยีที่ทันสมัยเหมาะกับผู้เรียนมาเป็นเครื่องมือเพื่อให้นักเรียนเกิดความสนใจต่อการทาให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนเพิ่มขึ้น เอกสารอ้างอิง [1] กระทรวงศึกษาธิการ. (2552).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร: สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.2542. [2] โรงเรียนวอนนภาศัพท์ (2564). รายงานประจาปีโรงเรียนวอนนภาศัพท์ พ.ศ.2564. ชลบุรี : โรงเรียนวอนนภาศัพท์ [3] พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ. (2540). การพัฒนารูปแบบการสอนเสริมโดยใช้วิทยุทัศน์ปฏิสัมพันธ์ ในการสอนทางไกล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (เทคโนโลยี การศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. [4] Joyce, B. and Weil, M. (1996). Models of teaching. Needham Height, Ma. : A Simon& Schuster Company [5] ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [6] ชาตรี เกิดธรรม. (2545). เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 9 การพัฒนาเกมถอดรหัสคิดเลขเร็วสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวอนนภาศัพท์ The Development of arithmetic speed decoding game for primary grade 6, Wonnaphasub School รุ่งทิวา ทองคลี่1 และ ทศพล อนุษา2 Rungtiwa Thongklee1 and Thossapon Anusa2 ครู โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคานวณของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) เพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวอนนภาศัพท์ จานวน 13 คน โดยวิธีการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ประกอบด้วย นวัตกรรมเกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว แบบวัดทักษะการคิดคานวณ ก่อนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการทดสอบที (Paired sample t test) ผลการวิจัยพบว่า ทักษะการคิดคานวณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .01 ผลการทดสอบ O NET (Ordinary National Educational Test) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ในปีการศึกษา 2564 ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2561 2563 ทั้งในระดับ โรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้เรียนรู้ด้วยนวัตกรรม เกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว โดยภาพรวมนักเรียนมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (�� = 4.47) คาสาคัญ : ทักษะการคิดคิดคานวณ, เจตคติ, เกม, คณิตศาสตร์, โค้ดดิ้ง

The purposes of this research were 1) To develop the computational skills of elementary school students in grade 6 2) To raise their mathematics learning achievement 3) To encourage learners to have good attitude towards mathematics. The sample consisted of 13 students in primary grade 6, Wonnaphasub School, by means of specific selection. The tools used in the research consisted of an innovative game to decipher the arithmetic speed. Pre study and post study computational skills test and an attitude questionnaire on mathematics The statistics used to analyze the data were mean, standard deviation, test the difference mean by t test (Paired sample t test). The computational skills after school were significantly higher than before at the .01 level. The results of the O NET (Ordinary National Educational Test) for mathematics subject group in the 2021 academic year of primary grade 6 students had average scores higher than the average score of the 2018 2020 academic year at school level, provincial level, affiliate level, and national level and attitudes towards mathematics of primary grade 6 students who learned with arithmetic speed decoding game Overall, the students' satisfaction was at the highest level (�� = 4.47). computational skills, attitude, game, mathematics, coding

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 10 Abstract

Keywords:

1 ครูโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 E mail: khrurungtiwa@gmail.com 2 ครูโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 E mail: thossaponanusa@gmail.com

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 11 บทนา ในการจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นวิชาที่เป็นนามธรรม การให้เหตุผล และการคิดเชิงระบบ ต้องอาศัยพื้นฐาน การคิดคานวณ ครูผู้สอน จาเป็นจะต้องปูพื้นฐาน คือ การบวก การลบ การคูณ และการหาร ให้เกิด กับตัวผู้เรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ โดยจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอาศัยกระบวนการ เรียนรู้ที่หลากหลายจากประสบการณ์จริง คานึงถึงการ ส่งเสริมให้ผู้เรียน มีทักษะที่จาเป็นสาหรับการ เรียนในรู้ศตวรรษที่ 21 เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่ง ต่างๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพ เมื่อจบการศึกษาหรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น การคิดเชิงคานวณ (computational thinking) คือกระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลาย ลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นทีละตอน (หรือที่ เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) การคิดเชิงคานวณเป็นพื้นฐานของการมีสมรรถนะทาง ดิจิทัล ด้านโค้ดดิ้ง (Coding Litoracy) ซึ่งเป็นทักษะที่ทาให้เรามีความเข้าใจเรื่องโค้ดและการเขียน โค้ด ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้สื่อสารระหว่างมนุษย์กับ คอมพิวเตอร์ โค้ดดิ้งยังช่วยให้มนุษย์สื่อสารวิธีการ แก้ปัญหาออกมาอย่างมีตรรกะ มีโครงสร้างและเป็นระบบ ซึ่ง การศึกษาของเด็กในทุกวันนี้เติบโตมา ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว จึงเป็นความท้าทาย สาหรับครูผู้สอนที่จะช่วย ชี้แนะหรือมีส่วนร่วมในการวางแผนอนาคตของเด็กให้สามารถปรับตัวได้ใน สภาพแวดล้อมที่มีความ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (จีระพร สังขเวทัย,2562) และพัฒนาความสามารถด้าน เทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่เยาวชน ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC เนื่องด้วยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์จากการสอบ O NET (Ordinary National Educational Test) ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวอนนภาศัพท์ ในปีการศึกษา 2561 ถึงปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ย ต่ากว่าระดับจังหวัด และระดับประเทศ อาจมีสาเหตุมาจากนักเรียนไม่ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ขาดการ ปฏิบัติจริง อีกทั้งผู้เรียนยังคิดการ บวก ลบ คูณ หารเลขได้ไม่คล่องเท่าที่ควรอาจทาให้เกิดความย่อท้อเบื่อหน่าย ที่ จะเรียนรู้เนื้อหาคณิตศาสตร์ และ มีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ วิธีการการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสาตร์ประถมศึกษาปีที่ยุคปัจจุบันเพื่อก้าวสู่การศึกษาในศัตวรรษที่เป้าหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์และเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามพุทธศักราช2551และสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโลก21ผู้วิจัยในฐานะเป็นครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์และวิชาเทคโนโลยีชั้น6โรงเรียนวอนนภาศัพท์สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต1จึงใช้(การคิดคานวณ)โดยใช้กิจกรรม “เกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว” ผ่านกิจกรรม การคิดเชิงคานวณ โดยการนาโปรแกรม Scratch มาช่วยในการสร้างเกม เสริมสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ของ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 12 นักเรียนให้มีความกระตือรือร้นสนุกสนาน และช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิดคานวณของนักเรียนได้คิดหา ใช้งานในกรณีที่ไม่มีอุปกรณ์นอกจากนี้ยังจัดทคาตอบของโจทย์คิดคานวณได้เร็วขึ้นและเพิ่มประสิทธิภาพในการสอนของผู้สอนด้วยนวัตกรรมที่ทันสมัยานวัตกรรมในรูปแบบออฟไลน์เป็นแผ่นภาพชุดฝึกถอดรหัสคิดคานวณเพื่อความสะดวกในการ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดคานวณของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวอนนภาศัพท์ 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวอน นภาศัพท์ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 13 คน โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือทีใช้ในการวิจัย 1. นวัตกรรมเกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว 2. แบบวัดทักษะการคิดคานวณก่อนเรียนและหลังเรียน 3. แบบสอบถามเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ วิธีดาเนินการวิจัย 1. ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพปัญหาในปัจจุบันเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตร์ ศึกษา ขอบเขตเนื้อหาการคิดคานวณสาหรับนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับโครงสร้างรูปแบบ และโปรแกรมที่ใช้สร้างเกม 2. ผู้วิจัยได้นาข้อมูลที่ได้จาการวิเคราะห์ในขั้นตอนที่ 1 วางแผนและออกแบบนวัตกรรม โดยใช้ กระบวนการของโค้ดดิง (Coding) มีนวัตกรรม 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ Unplug (ออฟไลน์) และรูปแบบออนไลน์ โดยรูปแบบ Unplug เป็นชุดสื่อแผ่นเกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว จานวน 10 ชุด และรูปแบบออนไลน์จัดทา โดยใช้ โปรแกรม Scratch ทาเป็นเกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว จานวน 10 ด่าน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 13 3. นาเกมถอดรหัสคิดเลขเร็วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอน และ เทคโนโลยีการศึกษา จานวน 3 ท่าน ประเมินคุณภาพของนวัตกรรม โดยผู้วิจัยนารายการ ที่ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นมาให้ค่า น้าหนักคะแนน ถ้าเหมาะสม ได้ค่าน้าหนัก +1 ถ้า ไม่แน่ใจ ได้ค่าน้าหนัก 0 และถ้าไม่เหมาะสมได้ค่าน้าหนัก 1 หลังจากบันทึกค่าน้าหนักคะแนนแต่ละท่าน และทาการวิเคราะห์หาค่า IOC ได้เท่ากับ 0.67 1.00 ถือว่าใช้ได้ และ มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ของนวัตกรรม (E1/E2) โดย ใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 โดยทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุ่มกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านห้วยยาง อาเภอแกลง จังหวัดระยอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ระยอง เขต 2 จานวน 12 คน ทั้งเด็กเก่ง ปานกลาง และอ่อน พบว่า E1/E2 เท่ากับ 80.00/87.50 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว ความรู้ความสามารถได้ตามเกณฑ์ที่กแสดงถึงประสิทธิภาพของนวัตกรรมที่สามารถนาไปใช้ในการพัฒนานักเรียนให้มีาหนด 4. ผู้วิจัยได้ทาการทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบทดสอบวัดทักษะการคิดคานวณก่อนเรียน จากนั้น จึงดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว กับกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนวอนนภาศัพท์ จากนั้นทาการทดสอบหลังเรียนด้วยแบบ ทดสอบวัดทักษะการคิด คานวณหลังเรียน เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ 5. ผู้วิจัยได้นาผลที่ได้จากการทดลองใช้มาคานวณทางสถิติ โดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยการทดสอบค่าทีและสรุปผล สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยที่ได้มีดังนี้ 1. เปรียบเทียบทักษะการคิดคานวณก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้เกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปรากฏผล ดังตารางที่ 1 และ 2

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 14 ตารางที่ 1ชั้นประถมศึกษาปีที่เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบทักษะการคิดคานวณของนักเรียน6ก่อนเรียนและหลังเรียน จานวนนักเรียน(คน) ค่าเฉลี่ยคะแนนสอบ (��) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ก่อนเรียน หลังเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน 13 25.46 55.38 17.89 18.08 จากตารางที่ 1 พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบก่อนเรียน นักเรียนสอบได้คะแนนเฉลี่ย 25.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 17.89 ส่วนค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบหลังเรียนนักเรียนสอบได้คะแนน เฉลี่ย 53.38 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 18.08 ตารางที่ 2 ค่าสถิติ t test dependent ในการเปรียบเทียบคะแนนสอบทักษะการคิดคานวณก่อนเรียน และหลังเรียน จากตาราง Paired Samples Correlations ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบก่อนเรียน และ หลังเรียน พบว่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlations) มีค่าเท่ากับ .651 ค่า Sig. น้อยกว่า.001 (Sig.น้อย กว่า.008 น้อยกว่า α = 0.01) หมายความว่า คะแนนสอบก่อนเรียน และคะแนนสอบหลังเรียน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 15 นัยสมีความสัมพันธ์กันอย่างมีาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จาตาราง Paired Samples Test พบว่า ค่าสถิติ t มีค่า 7.181 ค่า Sig. มีค่า น้อยกว่า .001 ซึ่งน้อยกว่าระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.01 แสดงว่า คะแนนสอบก่อนเรียน และหลังเรียน มีความสัมพันธ์กัน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสเมื่อนักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการคิดคานวณแล้วมีคะแนนสอบหลังเรียนาคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ผลการทดสอบ O–NET (Ordinary National Educational Test) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 2564 ปีการศึกษา ระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับสังกัด ระดับประเทศ 2561 33.00 39.96 35.65 37.50 2562 24.12 ( 8.88) 34.93 31.60 32.90 2563 20.63 ( 3.49) 31.79 28.59 29.99 2564 40.22 (+19.59) 37.83 35.85 36.83 จากผลการทดสอบผลการทดสอบ O NET (Ordinary National Educational Test) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 2564 พบว่า ในปีการศึกษา 2564 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2561 2563 ทั้งในระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับสังกัด และระดับประเทศ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 16 3. ผลการประเมินเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายการ �� S.D. แปลผล 1. นักเรียนเกิดกระบวนการคิดจากการลงมือปฏิบัติจริง 4.42 0.51 เห็นด้วย 2. นักเรียนอยากเรียนคณิตศาสตร์มากขึ้น 4.33 0.65 เห็นด้วย 3. นักเรียนได้ความรู้และเข้าใจคณิตศาสตร์อย่างสนุกสนาน และมี ความสุขในการเรียน 4.42 0.51 เห็นด้วย 4. นักเรียนนักเรียนได้เรียนรู้จากสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจของ 4.75 0.45 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5. วิชาคณิตศาสตร์มีประโยชน์ สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน 4.42 0.67 เห็นด้วย เฉลี่ยรวม 4.47 0.57 เห็นด้วย หมายเหตุ เกณฑ์การแปลผล (บุญชม ศรีสะอาด, 2554:67 75) ระดับ 4 51 5 00 หมายถึง เห็นด้วยอย่างยิ่ง ระดับ 3 51 4 50 หมายถึง เห็นด้วย ระดับ 2 51 3 50 หมายถึง ไม่แน่ใจ ระดับ 1 51 2 50 หมายถึง ไม่เห็นด้วย ระดับ 1.00 1.50 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จากตาราง พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์มากขึ้นโดยภาพรวม อยู่ ในระดับเห็นด้วย (��= 4.47) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรียนเห็นด้วยอย่างยิ่งกับข้อที่ว่านักเรียนได้เรียนรู้ จากสื่อนวัตกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน (��= 4 75) รองลงมาคือ นักเรียนมีความเห็นด้วยในข้อ นักเรียนเกิดกระบวนการคิดจากการลงมือปฏิบัติจริง นักเรียนได้ความรู้และเข้าใจ คณิตศาสตร์อย่างสนุกสนาน และมีความสุขในการเรียนวิชา คณิตศาสตร์มีประโยชน์สามารถนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน และนักเรียนอยาก เรียนคณิตศาสตร์มากขึ้น ตามลาดับ อภิปรายผล จากการวิเคราะห์ผลการวิจัย สามารถอภิปรายผลตามประเด็นดังต่อไปนี้ 1. จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มี ทักษะการคิดคานวณหลังเรียน สูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .01 โดยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนวัดทักษะ การคิดคานวณก่อนเรียนและ หลังเรียน เท่ากับ 25.46 กับ 55.38 ตามลาดับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 17 คะแนนวัดทักษะการคิดคานวณก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 17.89 กับ 18.08 ตามลาดับ เมื่อทดสอบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยเลขคณิต โดยใช้การทดสอบที (Paired sample t test) พบว่า ทักษะการคิดคานวณหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .01 การที่ผลเป็นเช่นนี้เพราะ ผู้วิจัยนาเนื้อหาในบทเรียนมา สอดแทรกไว้ในเกมและภายในเกมได้ส่งเสริมให้นักเรียนได้ คานวณซ้าไปซ้ามาหลายๆ ครั้ง (อัจฉรา อาทวัง : 2558) จนนักเรียนมีความชานาญในการคิดคานวณ จนเกิดเป็นทักษะที่ตกผลึกอยู่ในตัวของนักเรียนกลายเป็น ทักษะการคิดคานวณ (กิตติ เสือแพร : 2558) อีกทั้งยังได้รับการตอบรับจากนักเรียนเป็นอย่างดี นักเรียนชอบที่จะ เล่นเกมที่สอดแทรกการพัฒนาทักษะคิดคานวณ ทาให้นักเรียนคิดคานวณเกี่ยวกับจานวนนวนเต็มได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยายิ่งขึ้น สามารถนาทักษะการคิดคานวณนั้นไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้ (ธวชินี มาหล้า : 2560) 2. จากผลการทดสอบผลการทดสอบ O NET (Ordinary National Educational Test) กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 2564 พบว่า ในปีการศึกษา 2564 มี คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยปีการศึกษา 2561 2563 ทั้งในระดับโรงเรียน ระดับจังหวัด ระดับสังกัด และ ระดับประเทศ จะเห็นได้ว่าการใช้นวัตกรรม “เกมถอดรหัสคิดเลขเร็ว” มีส่วนช่วยพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็วของ นักเรียนได้ดีขึ้น ทาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ สูงขึ้น 3. จากผลการวิจัยเกี่ยวกับเจตคติของนักเรียนที่มีต่อคณิตศาสตร์ พบว่า นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชา คณิตศาสตร์มากขึ้น ได้รับความรู้และเกิดทักษะ เกิดกระบวนการคิด มีความคิดสร้างสรรค์ จากการลงมือปฏิบัติ รู้สึกมีความสุข สนุกในการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ อาจเป็นเพราะได้ลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมและได้ฝึกทักษะการคิดมากขึ้น โดยมีสถานการณ์ปัญหาที่สอดคล้องกับความสนใจของ ทาให้ บรรยากาศในชั้นเรียนเป็นไปด้วยความสนุกสนาน สอดคล้องกับงานวิจัยของอรษา เจริญยิ่ง (2560) ที่ผลการวิจัย พบว่า กิจกรรมการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) ช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์ เพราะในการแก้ปัญหานั้นต้องอาศัยแนวคิดจากหลายคนจึงจะช่วยให้นักเรียนสามารถดาเนินการ แก้ปัญหาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ในระหว่างที่นักเรียนดาเนินการฝึกคิดเลขเร็วโดยการเล่นเกมกันนั้น ทาให้ นักเรียนเกิดความรู้สึกที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยเฉพาะนักเรียนอ่อน ซึ่งมีผลดีต่อการเรียนรู้ในครั้ง ต่อไป ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เกมทาให้นักเรียนสามารถพัฒนา เจคติที่ดีขึ้นต่อคุณภาพ ของการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ของตนเอง

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 18 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ที่มีอินเทอร์เน็ตปรับระยะเวลาให้เหมาะสมกับนักเรียนควรมีการวางแผนและการวิเคราะห์เนื้อหาที่ชัดเจนในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นและควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล2.นวัตกรรมเกมถอดรหัสคิดเลขเร็วในรูปแบบออนไลน์นี้มีข้อจากัดในการใช้คือต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ยังไม่สามารถใช้กับโทรศัพท์สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตได้ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. สามารถนาแนวทางการพัฒนานวัตกรรม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในเรื่องอื่นๆ หรือวิชา อื่นๆ สามารถปรับระดับความยากง่าย ให้เหมาะสมกับนักเรียนในแต่ละช่วงวัย เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน อยากเรียนและเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น และรู้สึกสนุกกับการจัดการเรียนการสอน 2. ในระดับชั้นเรียนที่สูงขึ้นไป ไม่เพียงแต่ให้นักเรียนเล่นเกมจากโปรแกรม Scratch สามารถบูรณาการ กับรายวิชาวิทยาการคานวณ ฝึกทักษะโค้ดดิ้ง สอนนักเรียนทาเกมเล่นเองได้ 3. ควรมีการศึกษาและเปรียบเทียบเจตคติต่อรายวิชาคณิตศาสตร์ในด้านอื่นๆ และนาไปวิเคราะห์หา แนวทางในการปรับกิจกรรมการเรียนการสอน เอกสารอ้างอิง กัญนิกา พราหมณ์พิทักษ์, วรณัน ขุนศรี (บรรณาธิการ). (2552). แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิด เลขเร็ว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด. กิตติ เสือแพร. การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนแบบปรับเหมาะ ร่วมกับ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดคานวณ และทักษะการเขียนโปรแกรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, 2558. จีระพร สังขเวทัย. (2562). Coding กับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 นิตยสาร สสวท, 47(220), 32 34. ทิศนา แขมมณี. (2544). ศาสตร์การสอนเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์จุราลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 19 ธวชินี มาหล้า. (2560). การพัฒนาแบบทดสอบวินิจฉัยทักษะการคิดคานวณและการให้เหตุผล กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บุญชม ศรีสะอาด. (2554) การวิจัยเบื้องต้นฉบับปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมรมเด็ก. อัจฉรา อาทวัง. (2558). นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่การพัฒนาทักษะการคิดคานวณกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สาหรับ4โดยใช้เทคนิคการแก้ปัญหาของโพลยา วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. อรษา เจริญยิ่ง. (2560). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องคู่อันดับและ กราฟของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดลาดหญ้าไทร (สิงหวิทยาคาร) โดยใช้ การเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning). วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 20 สรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพสาหรับผู้เรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต1 A Career Instruction model for students at Wonnaphasub School Chonburi Primary Educational Service Area District Office 1 จุฑารัตน์ อ่อนเฉวียง1 Jutharat Onchawiang สิริธิดา ศรีโภคา2 Sirithuda Sripoka ครูชานาญการ โรงเรียนวอนนภาศัพท์1 ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนวอนนภาศัพท์2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 บทคัดย่อ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบแอคทีฟ เลิร์นนิ่ง (Active Learning) ซึ่งตั้งอยู่บนฐานของการเรียนรู้ เรียนทาและเรียนคิด รูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความรู้ ทักษะ และ เจตคติที่เหมาะสมในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ผู้สอนจาเป็นต้องดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้ ผู้เรียนเกิดทักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถวิเคราะห์จุดเด่น พัฒนาจุดด้อยของตนเอง สามารถจัดการตนเอง เมื่อเผชิญกับปัญหาและภาวะวิกฤตเพื่อการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีกระบวนการคิดเพื่อเข้าใจตนเองและผู้อื่นเพื่อ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตลอดจนการแสวงหาและสร้างเครือข่ายความรู้ เครือข่ายทางสังคม และเครือข่าย อาชีพ ครูผู้สอนเป็นหนึ่งในกลไกที่สาคัญในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาถือได้ว่า นักการศึกษาได้หันมาให้ความสนใจกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาตัวผู้เรียนตลอดชีวิตกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษา( Lifelong Learners) ประกอบกับการระบาดของไวรัสโควิด 19 จึงเป็นความท้าทายของครูผู้สอนในการออกแบบและพัฒนา กระบวนการการเรียนการสอนที่เหมาะสม ก่อให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาครูหรือผู้สอนที่ดีงามต่อไป คาสาคัญ: การจัดการเรียนการสอนอาชีพ, ผู้เรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์

Abstract

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 21

Teaching and learning in an active learning model (Active Learning), which is based on learning. learn to do and learn to think. The Career Instruction model will result in learners developing knowledge, skills and attitudes suitable for living. and occupation. Instructors need to conduct teaching and learning activities for learners to acquire skills in knowledge. can analyze the strengths Develop your own weaknesses Able to manage oneself in the face of problems and crises in order to live a valuable life. There is a thought process to understand oneself and others for peaceful coexistence. as well as seeking and building knowledge networks social network and career network. Teachers are one of the key mechanisms that drive the education system. A new paradigm in education. Educators have turned their attention to education for the development of lifelong learners. Together with the COVID 19 outbreak, it is a challenge for teachers to design and develop an appropriate teaching learning process. causing further learning and development of good teachers or teachers

Keyword: Career Instruction model, Wonnaphasub School

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 22 บทนา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 [1] หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ ทางการศึกษา มาตรา 10 กาหนดการจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และวรรคสองการจัด การศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้ บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัด ตั้งแต่แรกเกิด หรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานายความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง สาระสาคัญ ของพระราชบัญญัติการศึกษา เกี่ยวกับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาของเด็กทุกประเภท โดยต้องคานึงถึงความ สนใจ และความต้องการของเด็กทุกคนทั้งเด็กปกติ เด็กที่มีความสามารถพิเศษ และเด็กที่มีความบกพร่องทาง ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา รวมทั้งการสื่อสารและการเรียนรู้หรือเด็กที่มีร่างกายพิการหรือทุพพล ภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแล หรือผู้ด้อยโอกาส เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาทุกด้านทั้ง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างสมดุล โดยจัดกิจกรรมที่หลากหลายและกิจกรรมที่เป็น ประสบการณ์ตรงผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า เหมาะสมกับวัย และความแตกต่างระหว่างบุคคล เพื่อให้เด็กแต่ละคน ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองได้ตาม ลาดับขั้นของพัฒนาการสูงสุดตามศักยภาพ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ความสุข เป็นคนดีและคนเก่งของสังคม สอดคล้องกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อทางศาสนา สภาพทางเศรษฐกิจ สังคม โดยความร่วมมือจากบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น (สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2548) [2] โรงเรียนวอนนภาศัพท์ จังหวัดชลบุรี ได้ดาเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ครอบคลุมผู้เรียนทุก กลุ่มเป้าหมาย โรงเรียนได้จัดการเรียนรวมให้กับผู้เรียนพิการเรียนรวม และได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้เป็น โรงเรียนเครือข่ายเรียนรวม การทจระดับอนุบาลถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่เนื่องจากโรงเรียนวอนนภาศัพท์เป็นโรงเรียนขยายโอกาสที่จัดการเรียนการสอนตั้งแต่3ปีการศึกษา2564[3]มีจานวนผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษานวน50คนปัญหาที่พบเมื่อผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษเรียนรวมในชั้นเรียนปกติมีอยู่สามประการคือ1.ผู้เรียนมีปัญหาด้านการเรียนผู้เรียนไม่เข้าใจในเนื้อหาของหลักสูตรและใช้เวลาในการเรียนรู้วิชาต่างๆาความเข้าใจบทเรียนมากกว่าผู้เรียนปกติในเนื้อหาเดียวกันจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนพบว่า

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 23 ผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่า วิธีการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผลที่ปฏิบัติกันอยู่ในปัจจุบัน ไม่เหมาะที่จะนามาใช้กับผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็น พิเศษ 2. ผู้เรียนมีปัญหาทักษะสังคมเช่น อยากเล่นกับเพื่อนแต่กลับเอาเอารองเท้าของเพื่อนไปซ่อน มีเรื่อง ทะเลาะวิวาทชกต่อยตบตี ไม่สามารถทางานร่วมกันเป็นทีม มีปญหาดานปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น ไม่รู้จักกฎกติกาของ สังคม จนทาให้การเรียนการสอนหยุดชะงัก3.ผู้เรียนที่จบการศึกษาในชั้นเรียนสูงสุดของโรงเรียน ไม่สามารถเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้นและไม่สามารถ นาความรู้และประสบการณ์ออกไปประกอบอาชีพ หรือใช้ในการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นไปได้จริง คาถามที่ ผู้ปกครองผู้เรียนมีความต้องการจาเป็นพิเศษคือ หากผู้เรียนเรียนจบผู้เรียนจะเรียนต่อ จะมีสถานศึกษาใดรองรับ และเมื่อผู้เรียนจบการศึกษาผู้เรียนจะออกไปประกอบอาชีพใดได้บ้าง กล่าวคือผู้เรียนที่จบการศึกษาสูงสุดของ โรงเรียนในแต่ละปี ผู้เรียนไม่สามารถไปเรียนต่อในระดับสูงขั้นไปทั้งสายสามัญศึกษาหรือสายอาชีวะศึกษา และไม่ สามารถออกไปประกอบอาชีพตามที่ตนเองถนัดได้ เพราะว่าผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษเรียนรู้ได้ช้าและ ไม่ได้รับการฝึกประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง เหตุดังกล่าวได้สร้างความกังวลใจให้กับผู้ปกครองและผู้เรียนเป็นอย่าง มาก การวิเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ ผู้เขียนเสนอความการวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ หรือWONNAPHA Model ดังต่อไปนี้

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 24 ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ IPISD [4] 4 Mat [5] PDES [6] CIPPA MODEL [7] Project Method [8] ความถี่ การทบทวนความรู้เดิม 1 Analysis Why ขั้นกาหนดปัญหา 3 Design What Plan การเรียนขั้นกาหนดจุดมุ่งหมายใน 4 Development How Do การแสวงหาความรู้ใหม่ โครงงานขั้นวางแผนและวิเคราะห์ 5 เข้าใจข้อมูลการศึกษาทาความ 1 Implementation ความเข้าใจกับกลุ่มการแลกเปลี่ยนความรู้ แก้ปัญหาขั้นลงมือปฏิบัติหรือ 3 ปฏิบัติงานขั้นประเมินผลระหว่าง 1 ระเบียบความรู้การสรุปและจัด 1 Evaluation If Evaluate การแสดงผลงาน ขั้นสรุป รายงานผล และ เสนอผลงาน 5 Summarize การประยุกต์ใช้ความรู้ 2 จากตาราง ขั้นวางแผนและวิเคราะห์โครงงานพบว่า (Development) และขั้นสรุป รายงานผล และเสนอผลงาน (Evaluation) มีความถี่สูงสุดเท่ากับ 5 ขั้นกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน (Design) มีความถี่เท่ากับ 4 ขั้น

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 25 วิเคราะห์และกาหนดปัญหา (Analysis) และขั้นขั้นลงมือปฏิบัติหรือแก้ปัญหา (Implementation) มีความถี่ เท่ากับ 3 ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้ (Summarize) มีความถี่เท่ากับ 2 และ ขั้นการทบทวนความรู้เดิม ขั้นศึกษาทา ความเข้าใจข้อมูล ขั้นประเมินผลระหว่างปฏิบัติงาน และขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ มีความถี่เท่ากับ 1 ตามลาดับเมื่อวิเคราะห์ความสอดคล้องขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ ผู้เขียนได้ สังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพใหม่ ดังตาราง ตารางที่ 2 แสดงวิเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ IPISD 4 Mat PDES CIPPA MODEL Project Method สอดคล้องความ Analysis Why ขั้นกาหนดปัญหา W Design What Plan การทบทวนความรู้เดิม เรียนขั้นกาหนดจุดมุ่งหมายในการ O Development How Do การแสวงหาความรู้ใหม่ โครงงานขั้นวางแผนและวิเคราะห์ N ข้อมูลการศึกษาทาความเข้าใจ N Implementation ความเข้าใจกับกลุ่มการแลกเปลี่ยนความรู้ ขั้นลงมือปฏิบัติหรือแก้ปัญหา A ปฏิบัติงานขั้นประเมินผลระหว่าง P ความรู้การสรุปและจัดระเบียบ H Evaluation If Evaluate การแสดงผลงาน ขั้นสรุป รายงานผล และ เสนอผลงาน A Summarize การประยุกต์ใช้ความรู้

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 26 จากตาราง ผู้เขียนขอเสนอร่างนวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ ให้ชื่อว่า WONNAPHA Model มีรายละเอียดต่อไปนี้ ภาพประกอบที่ 1 แสดงร่างนวัตกรรมรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ WONNAPHA Model จากภาพมีรายละเอียดตามขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 W (Why) ขั้นวิเคราะห์ เป็นขั้นตอนวิเคราะห์บริบท วิเคราะห์ความต้องการของผู้ปกครอง การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ การวิเคราะห์ผู้เรียน การวิเคราะห์หลักและทฤษฎี และการวิเคราะห์ทรัพยากรของ สถานศึกษา ตลอดจนชุมชนรอบสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 2 O (Objective) ขั้นกาหนดวัตถุประสงค์ เป็นการตั้งเป้าหมายเพื่อการพัฒนาความสัมพันธ์ สาหรับผู้เรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ จังหวัดชลบุรี ในการดาเนินงานครั้งนี้ มีจุดเน้นเพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้ สอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ การทางาน การอยู่รอด ทักษะชีวิตและบริบทสังคม เพื่อกาหนด เป้าหมาย ทิศทาง และกาหนดจุดประสงค์พฤติกรรมที่เหมาะสมกับผู้เรียน ขั้นตอนที่ 3 N (New Stimulus) ขั้นเสนอสิ่งเร้าใหม่ ขั้นนี้ผู้สอนออกแบบกิจกรรม โดยการวาดภาพ จาลองกิจกรรมการเรียนการสอน การจาลองสถานการณ์ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และข้อจากัดในความแตกต่าง ของผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย W Why ขั้น O Objective ขั้นกาหนด N New Stimulus ขั้นเสนอสิ่งเร้าใหม่ N Network ขั้นสร้างเครือข่าย A Action ขั้นลงมือปฏิบัติ P Process ขั้นกระบวนการ H Hand to know ขั้นสังเคราะห์ A Achievement ขั้นสร้างความสาเร็จ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 27 ขั้นตอนที่ 4 N (Network ) ขั้นสร้างเครือข่ายวิชาชีพ เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ก่อเกิด เป็นกลุ่มทางานร่วมกันของผู้เรียนทั้งในชั้นเรียนเดียวกัน และชั้นเรียนอื่นต่างระดับกัน ตลอดจนการนากิจกรรมที่ ได้ออกแบบไว้ ไปใช้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในชุมชน สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม และบริบทในศตวรรษที่ 21 อย่างกว้างขวาง ขั้นตอนที่ 5 A (Action) ขั้นลงมือปฏิบัติ ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองในรูปแบบเพื่อนช่วยเพื่อน(เป็นจุดสาคัญของการดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนผู้เรียน Peer to Peer Process) และรูปแบบกลุ่มทางาน (Group Process) เพื่อให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายเกิดความสามัคคีกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันด้วยใจที่เป็นกัลยาณมิตร ผ่านกิจกรรมต่าง ๆที่ได้วางแผนไว้อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน ขั้นตอนที่ 6 P (Process response) ขั้นกระบวนการตอบสนอง เป็นการกระตุ้มและเสริมแรงของ ผู้สอนต่อผู้เรียน ขั้นการให้คาแนะนาช่วยเหลือในการเรียน ตลอดการปฏิบัติการ ขั้นตอนที่ 7 H (Hand to know) ขั้นสังเคราะห์ประสบการณ์ เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ การสรุป องค์ความรู้กิจกรรมต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน ผู้เรียนนาเสนอข้อค้นพบของตนเอง ต่อชั้นเรียน โดยเฉพาะการค้นพบองค์ความรู้จากการลงมือทาด้วยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อกัน ขั้นตอนนี้ ผู้สอนจะให้การเสริมแรงอีกครั้งเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตนเอง ขั้นตอนที่ 8 A (Achievement) ขั้นสร้างความสาเร็จคงทน เป็นการทบทวนเพื่อการปรับปรุง พัฒนา กิจกรรมต่าง ๆ การถ่ายโยงความรู้และประสบกาณ์ไปใช้ในการสร้างรายได้ ใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนปาร ประยุกต์ใช้ในสถนการณ์อื่นเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาผู้เรียนให้มากที่สุด อย่างไรก็ตามขั้นตอนนี้ ผู้เรียนจะเปรียบเทียบความสาเร็จ ตลอดจนค้นหาปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขการดาเนินงานให้ดีขึ้น การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้เขียนได้วิเคราะห์ และกาหนดทักษะอาชีพในท้องถิ่นด้านอาชีพเป็นเป้าหมายของการจัดการเรียนการ สอน การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนอาชีพ WONNAPHA Model การดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยวิธีปฏิบัติจริง เช่น การทาอาหาร การร้อยมาลัย ดอกไม้สด การการเพ้นท์ เป็นต้น เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง ผู้เรียนมีความสุขในการทางาน เกิดความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง ความสุขสังคมผู้เขียนคาดว่าผลจากการจัดกิจกรรมจะส่งผลให้ผู้เรียนที่มีปัญหาหรือความบกพร่องทางพฤติกรรมด้านทักษะทางใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ทั้งยังส่งเสริมรายได้ระหว่างเรียนและอาชีพของผู้เรียนในอนาคตจะเกิดการเรียนรู้และสามารถปรับปรุงพฤติกรรมไปสู่พฤติกรรมที่พึงประสงค์อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมี

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 28 สรุป การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019: COVID 19) ทาให้เกิด การปรับตัวเป็นวิถีชีวิตแบบใหม่ (New Normal) โดยเฉพาะสถาบันทางการศึกษาที่ไม่สามารถจัดการเรียนการ สอนแบบปกติได้ อย่างไรก็ตามปัจจุบันถือเป็นยุคหลังควิด (Post COVID 19) จึงจาเป็นต้องใช้รูปแบบการเรียน การสอนแบบที่ออกแบบมาเพื่อผู้เรียนในแต่ละบริบทเฉพาะ เพื่อให้การเรียนรู้เกิดสอดคล้องกับสถานการณ์ ชีวิตประจาวันและการสร้างอาชีพอย่างเหมาะสม การสนับสนุนจากผู้บริหาร การสนับสนุนและให้ความร่วมมือ จากผู้ปกครอง สังคม และเครือข่ายวิชาชีพ และที่สาคัญคือความเอาใจใส่จากผู้สอน ซึ่งมีบทบาทเป็นพ่อและแม่ ของผู้เรียน เป็นผู้ออกแบบการจัดการเรียนการสอน ผู้ดาเนินกิจกรรมการเรียนการเรียนการสอน พี่เลี้ยง ผู้ชีแนะ ความรู้ และเป็นผู้ส่งเสริมให้เกิดการนาความรู้ ทักษะ และเจตคติด้านอาชีพไปใช้ในชีวิตจริงอย่างเหมาะสม เอกสารอ้างอิง [1] กระทรวงศึกษาธิการ. (2552).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร: สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.2542. [2] สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2548). ตัวชี้วัดการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ. กรุงเทพฯ : สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ [3] โรงเรียนวอนนภาศัพท์ (2564). รายงานประจาปีโรงเรียนวอนนภาศัพท์ พ.ศ.2564. ชลบุรี : โรงเรียนวอนนภาศัพท์ [4] พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ. (2540). การพัฒนารูปแบบการสอนเสริมโดยใช้วิทยุทัศน์ปฏิสัมพันธ์ ในการสอนทางไกล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (เทคโนโลยี การศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. [5] ปิยนันท์ สวัสดิ์ศฤงฆาร. (2562). 4MAT Learning Cycle Model [Bernice McCarthy]. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.encyclopedia.com/finance/finance and accounting magazines/online education [6] Joyce, B. and Weil, M. (1996). Models of teaching. Needham Height, Ma. : A Simon& Schuster Company [7] ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [8] ชาตรี เกิดธรรม. (2545). เทคนิคการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 29 นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ไม่มีทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model Creative innovation, good people There is no corruption under the concept. “Undifferentiated” powered by BAETHER Model *สุรเชษฐ์ พินิจกิจ (Surachate Phinitkit) *ผู้อานวยการชานาญการพิเศษ โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สพป.ชลบุรี เขต 1 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสานักและส่งเสริมพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียน เพื่อ เสริมสร้างความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียน และเพื่อประเมินความพึง พอใจของนักเรียนต่อโครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดย ใช้ BATETHER Model กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สังกดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2563 จานวนทั้งหมด 169 คน จาแนกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) นักเรียนจากห้องเรียนเด็กปกติ ห้องละ 10 คน จานวน 9 ห้องเรียน รวม 90 คน จากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) 2) นักเรียนจากห้องเรียนที่เป็นเด็กพิเศษเรียนร่วม ทั้งหมด 59 คน จากการสุ่ม แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) และ 3) นักเรียนที่ทาหน้าที่สภานักเรียน จานวน 20 คน จากการสุ่ม แบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามเพื่อประเมิน โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริต ภายใต้แนวคิด แตกต่างไม่แตกแยก ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model จานวน 1 ชุด มี 4 ตอน จานวน 60 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและการหาส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) ผลการประเมินด้านการปลูกจิตสานักและพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียนที่มีต่อการต่อต้าน ทุจริต ภายใต้โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Abstract The purpose of this research was to cultivate the mindset and promote the student's honest behavior. To foster unity and acceptance of individual differences among students and to assess students' satisfaction with the Luk Napha Anti Corruption Project under the concept “Undifferentiated” powered by BAETHER Model. The sample group used in this research was the students of Wonnaphasub School. Under the Office of Chon Buri Primary Educational Service Area 1, Academic Year 2020, totaling 169 students, classified into 3 groups as follows: 1) Students from normal children's classrooms, 10 students per room, 9 classrooms, totaling 90 students, from Purposive Random Sampling 2 ) A total of 59 students from the classroom with special children were enrolled by Cluster Random Sampling and 3) 20 students who served as the Student Council from the Purposive Random Sampling. The study consisted of a questionnaire to evaluate the Lukwon Napha Anti Corruption Project under the concept of Distinction, Not Divide. Powered by BAETHER Model, 1 set, 4 parts, 60 items. Statistics used in data analysis were mean and standard deviation.

The results of the study found that (1) The results of the assessment of the mental cultivation and the student's honesty behavior towards anti corruption Under the Lukwon Napha Anti Corruption Project under the concept "Different, not different" driven by using the BAETHER Model found that the overall

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 30 (2) โดยใช้ต่อการจัดกิจกรรมผลการประเมินด้านความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียนที่มีภายใต้โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด“แตกต่างไม่แตกแยก”ขับเคลื่อน BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรม โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการ ทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก คาสาคัญ: แตกต่างไม่แตกแยก/ BATETHER Model./นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 31 level was at the highest level.

Keyword : Different, not different / BAETHER Model. / Creative innovation, good people.

บทนา วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นประจก็ยังไม่ได้ถูกแก้คอร์รัปชั่นอยู่ในนโยบายแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและมีการกๆยังส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างยิ่งปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นในประเทศไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทยทุกยุคทุกสมัยมาช้านานและการคอร์รัปชั่นในสังคมไทยมีแนวโน้มมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยแม้ในปัจจุบันในหลายรัฐบาลที่ผ่านมาได้มีการพยายามแก้ปัญหาการคอร์รัปชั่นดังกล่าวโดยได้กาหนดปัญหาการาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาคอรัปชั่นแต่ไขได้ดีเท่าที่ควรจากรายงานผลจัดอันดับค่าดรรชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นยังอยู่ในระดับต่าซึ่งดัชนีชี้าปี 2562 ประเทศไทยได้คะแนน 36 คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน อยู่ อันดับที่ 101 จาก 168 ประเทศทั่วโลก เปลี่ยนแปลงจากปี 2561 และเป็นอันดับที่ 5 ในกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่ง เป็นคะแนนเท่าเดิมและอันดับดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา (ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นโลก ปี 2562 (2563) ตัวชี้วัดนี้ จะสะท้อนให้เห็นว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่มีปัญหาคอร์รัปชั่นในระดับที่สูง จิตสแก้ไขปัญหาเป็นอย่างมากทุกภาคส่วนได้ริเริ่มผลักดันและพยายามแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังในช่วงที่ผ่านมามีความตื่นตัวต่อการโดยเฉพาะด้านการปลูกานึกและการป้องกันไม่ว่าจะเป็นการขับเคลื่อนให้ใช้หลักสูตร “โตไปไม่โกง” ในโรงเรียนทั่วประเทศ การสร้าง “สานึกไทย ไม่โกง” แก่ประชาชนทุกกลุ่มอาชีพ สิ่งสาคัญที่จะทาให้การแก้ไขปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่นได้ผลอย่าง ยั่งยืนนั้น คนในสังคมต้องมีค่านิยมที่ถูกต้องซึ่งควรปลูกฝังและสร้างการรับรู้ค่านิยมที่ถูกต้องตั้งแต่วัยเด็ก ผู้ใหญ่ ควรเป็นตัวอย่างที่ดีสื่อก็ต้องช่วยกระตุ้นและตอกย้าให้คนในสังคมรับรู้ซึมซับอย่างสม่าเสมอ” (เกรียงศักดิ์ โชควร กุล, 2558, หน้า 1) จากยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 2564) ใน ยุทธศาสตร์ที่ 1 "สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต" ได้มุ่งเน้นให้ความสาคัญกระบวนการปรับสภาพสังคมให้เกิด ภาวะที่ "ไม่ทนต่อการทุจริต" เริ่มตั้งแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัย (ตั้งแต่ปฐมวัยถึง

(3) Student satisfaction assessment results towards activities Luk Kwon Napha Anti Corruption Project under the concept "Different, not different" driven by using the BAETHER Model found that the overall level was at a high level.

(2) the results of the assessment of the student's unity and acceptance of individual differences in the activities of the students Under the Lukwon Napha Anti Corruption Project under the concept "Different, not different" driven by using the BAETHER Model found that the overall level was at a high level.

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 32 ระดับอุดมศึกษา) เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต และมีจิต สาธารณะ ซึ่งเป็นคุณธรรมจริยธรรมป้องกัน การทุจริต (หลักปรัชญาของเศรษฐกิส่วนรวม1ภาคส่วนมีพฤติกรมที่ไม่ยอมรับและต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบหน้าที่ในการกล่อมเกลาสังคมให้มีความเป็นพลเมืองที่ดียึดประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนเป็นการดาเนินการผ่านสถาบันหรือกลุ่มตัวแทนที่ทามีจิตสาธารณะเสียสละเพื่อส่วนรวมและเสริมสร้างให้ทุกและได้กาหนดกลยุทธ์4กลยุทธ์คือกลยุทธ์ที่ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์กลยุทธ์ที่2ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริตกลยุทธ์ที่3ประยุกต์จพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริตและกลยุทธ์ที่4เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต โดยการบูรณาการให้เกิดขึ้นในการจัดการเรียน การสอนของสถานศึกษา ซึ่งสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้จัดทาหลักสูตร ชุดการเรียนรู้ตลอดจนสื่อประกอบการ เรียนรู้ด้านการป้องกันการทุจริต เพื่อให้สถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนนาไปใช้นการจัดการเรียนการสอนให้กับ ผู้เรียน นักศึกษาทุกระดับชั้นตั้งแต่ระดับปฐมวัย ประถม ศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา โดยกาหนดเป็น รายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต” เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อ ปลูกฝังคุณธรรมและป้องกันการทุจริตให้แก่ผู้เรียนทุกระดับชั้น เพื่อเป็นการสร้างพลเมืองที่ซื่อสัตย์สุจริตให้แก่ ประเทศชาติและปัญหาด้านการทุริตคอร์รับชั่นได้ลดลง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2561, หน้า 5 6) โรงเรียนวอนนภาศัพท์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรีเขต 1 จังหวัดชลบุรี ตั้งอยู่ตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ ระดับชั้นปฐมวัยถึงชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนทั้งสิ้น 230 คน มีข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา จานวน 25 คน ร่วมกันวิเคราะห์ของคณะครูและผู้บริหารต่างมีความเห็นตรงกันว่าควรต้องหาวิธีการแก้ไขปัญหาในจุดสมีความสุขพิเศษจสติกที่มีความพิการหลากหลายประเภทต่างด้าวมาอาศัยเรียนอยู่จประกอบกับบริบทของนักเรียนมีความแตกต่างกันในหลายด้ในฐานะที่เป็นโรงเรียนในโครงการโรงเรียนคุณภาพประจาตาบลแสนสุขานเช่นความแตกต่างด้านสัญชาติเนื่องจากมีนักเรียนานวน72คนคิดเป็นร้อยละ31.3ของนักเรียนทั้งหมดและยังมีนักเรียนพิเศษเรียนร่วมเช่นนักเรียนบกพร่องทางสติปัญญาบกพร่องทางอารมณ์พิการซ้อนออร์ทิจานวน58คนคิดเป็นร้อยละ25.2หรือนักเรียนมีฐานะทางครอบครัวที่แตกต่างกันเช่นมีนักเรียนยากจนานวน28คนคิดเป็นร้อยละ12.2เห็นได้ว่าการที่นักเรียนสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันได้อย่างไม่เกิดปัญหาในด้านการอยู่ร่วมกันจึงเป็นสิ่งสาคัญที่โรงเรียนต้องหาวิธีในการดาเนินการและจากการาคัญๆคือ 1) สร้างความสามัคคีให้เกิดขึ้น 2) สร้างการยอมรับในความแตกต่างการเห็นคุณค่าในตัวบุคคล 3) การใช้ หลักธรรมมาประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหา 4) การปลูกฝังค่านิยมและคุณธรรม และที่สาคัญคือการปลูกฝังความ พอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต และมีจิตสาธารณะ ซึ่งเป็นคุณธรรมจริยธรรมป้องกันการทุจริต ตลอดจนปลูก

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 33 จิตสานึกของการเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียน ดังนั้นโรงเรียนจึงอาศัยแนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” แตกต่างใน ที่นี้หมายถึง ความแตกต่างทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม ไม่แตกแยก ในที่นี้หมายถึง การมีความ สามัคคีปรองดองเกิดขึ้นระหว่างผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคมแต่ สามารถเรียนรู้ ทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันได้ เกิดการยอมรับในความต่างของกันและกัน ในการที่จะสร้างความ เข้มแข็ง ความสามัคคี ปลูกฝังค่านิยมในการต่อต้านทุจริตและตระหนักในหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี โดยได้ ระดมความคิดและได้เกิดเป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก”ด้วย BATETHER Model ประกอบด้วย B=Be accepted in the differences (การยอมรับในความแตกต่าง), A=Awareness (การสร้างความตระหนัก) T=Target Goal (การตั้งเป้าหมาย), E=Educational activities (การ ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนา), T=Treatment (การปฏิบัติและตรวจสอบ), H=Harmony (ความสามัคคีปรองดอง), E=Evaluation(การประเมินผล), R=Review for Improvement (การทบทวนเพื่อพัฒนา) ซึ่งจัดในรูปแบบกิจกรรม เสริมหลักสูตรแบ่งเป็นกิจกรรมย่อยจานวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมรู้จักเธอรู้จักฉันเราร่วมกันต่อต้านการทุจริต 2) กิจกรรมเด็กดีวิถีพุทธ 3) กิจกรรมจิตอาสาพาทาดี 4) กิจกรรมกีฬาพาสนุก 5) กิจกรรมศิลป์ประดิษฐ์สร้างสรรค์แต่ละ กิจกรรมที่มุ่งพัฒนาด้านความสามัคคี การให้ความร่วมมือกันการยอมรับในความสามารถของแต่ละบุคคล การขัด เกลาจิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ของเด็กนักเรียน และปลุกจิตสานึกในการเป็นพลเมืองดี รวมถึงการสร้างค่านิยม ในการต่อต้านการทุจริต โดยเน้นการใช้หลักธรรมทางศาสนาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้แก้ปัญหา และทาการขับเคลื่อนกิจกรรมโดยผ่านรูปแบบที่เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นที่เรียกว่า BATETHER Model ซึ่งเป็น ซึ่งเป็นคุณธรรมจริยธรรมป้องกันการทุจริตโดยจัดในรูปแบบของกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้กับนักเรียนเพื่อมาใช้ในการสร้างปลูกฝังแนวคิดการต่อต้านทุจริตนวัตกรรมหนึ่งที่เน้นการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างนักเรียนภายในโรงเรียนเพื่อใช้แก้ปัญหาความไม่สามัคคีกันและโตไปไม่โกงให้กับนักเรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์จึงสนใจนานวัตกรรมดังกล่าววัฒนธรรมต่อต้านการทุจริตและปลูกฝังความพอเพียงมีวินัยซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะปลูกฝังความมีวินัยซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะและพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อปลูกจิตสานักและส่งเสริมพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียน 2. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียน 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 34 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. พฤติกรรมการต่อต้านการทุจริตให้กับนักเรียนความแตกต่างกันในด้านร่างกายป้องกันการทุจริตนักเรียนได้รับการเสริมสร้างและปลูกฝังความตระหนักรู้และเกิดจิตสานึกและพฤติกรรมในการ2.นักเรียนได้รับการสริมสร้างความเข้มแข็งและความสามัคคีของนกเรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ที่มีอารมณ์สังคมสติปัญญาและเชื้อชาติ3.โรงเรียนได้นวัตกรรมที่เป็นรูปแบบและแนวทางในการส่งเสริมปลูกฝังจิตสานึกและการสร้าง กรอบแนวคิดในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้การบูรณาการแนวคิดตามทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference Theory) ของกาเย่ (Gagne) และแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล (Differentiated Instruction) ของ Tominson (2020) ที่กล่าวถึงวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ เนื้อหาที่ใช้จัดการเรียนรู้ (Content) กระบวนการจัดการเรียนรู้ (Process) และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ (Product) ได้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์คนดีภายใต้ แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ด้วย BATETHER Model ประกอบด้วย B=Be accepted in the differences (การ ยอมรับในความแตกต่าง), A=Awareness (การสร้างความตระหนัก) T=Target Goal (การตั้งเป้าหมาย), E=Educational activities (การออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนา), T=Treatment (การปฏิบัติและตรวจสอบ), H=Harmony (ความสามัคคีปรองดอง), E=Evaluation(การประเมินผล), R=Review for Improvement (การทบทวน เพื่อพัฒนา) ซึ่งจัดในรูปแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตรแบ่งเป็นกิจกรรมย่อยจานวน 5 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมรู้จักเธอ รู้จักฉันเราร่วมกันต่อต้านการทุจริต 2) กิจกรรมเด็กดีวิถีพุทธ 3) กิจกรรมจิตอาสาพาทาดี 4) กิจกรรมกีฬาพาสนุก 5) กิจกรรมศิลป์ประดิษฐ์สร้างสรรค์ แต่ละกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาด้านความสามัคคี การให้ความร่วมมือกันการยอมรับใน ความสามารถของแต่ละบุคคล การขัดเกลาจิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ของเด็กนักเรียน และปลุกจิตสานึกในการ เป็นพลเมืองดี รวมถึงการสร้างค่านิยมในการต่อต้านการทุจริต โดยเน้นการใช้หลักธรรมทางศาสนาและหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้แก้ปัญหา ดังภาพประกอบที่ 1

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 35 ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2563 ชั้นอนุบาล 1 มัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวนทั้งหมด 230 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนโรงเรียนวอนนภาศัพท์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2563 จานวนทั้งหมด 169 คน จาแนกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1.2.1 นักเรียนจากห้องเรียนเด็กปกติ ห้องละ 10 คน จานวน 9 ห้องเรียน รวม 90 คน จากการ สุ่มแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) B A T E E T H R ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาเกิดความสามัคคีปรองดองยอมรับในความแตกต่างการกาหนดเป้าหมายการสร้างความตระหนักการปฏิบัติและตรวจสอบ การประเมินผล การทบทวนเพื่อพัฒนา P D A C FEEDBACK Be accepted in the differences HTETAwarenessargetGoalducationactivitiesreatmentarmony Evaluation Review for Improvement

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 36 1.2.2 นักเรียนจากห้องเรียนที่เป็นเด็กพิเศษเรียนร่วม ทั้งหมด 59 คน จากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 1.2.3 นักเรียนที่ทาหน้าที่คณะกรรมการสภานักเรียน จานวน 20 คน จากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ กิจกรรมตามโครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่าง ไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการใน 3 ด้าน ได้แก่ 2.2.1 จิตสานักและพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียนที่มีต่อการต่อต้านทุจริต 2.2.2 ความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียน 2.2.3 ด้านความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ทุจริตภายใต้แนวคิดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเพื่อประเมินผลการจัดกิจกรรมลูกวอนนภาต่อต้านการ“แตกต่างไม่แตกแยก”ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model จานวน 1 ชุด มี 4 ตอน จานวน 60 ข้อ ตอนที่ประกอบด้วย 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ ชั้น สถานการณ์เรียนนักเรียน สัญชาติ ทุจริตและสถานการเป็นนักเรียนยากจน/ยากจนพิเศษตอนที่2แบบประเมินด้านการปลูกจิตสานักและพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียนที่มีต่อการต่อต้านจานวน20ข้อตอนที่ 3 แบบประเมินด้านความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียน จานวน 20ตอนที่ข้อ 4 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้ แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model จานวน 20 ข้อ วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัยแบ่งเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล (Plan) ประกอบด้วย 1.1 ประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างผู้บริหาร คณะครู ตัวแทนผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 37 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล บริบทของนักเรียนเกี่ยวกับความแตกต่างในด้านต่าง ๆ ที่จะนาไปสู่ปัญหาที่จะ เกิดขึ้นในการอยู่ร่วมกันและการสร้างให้นักเรียนเป็นคนดี 1.2 ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนสุจริต คุณลักษณะของโรงเรียนสุจริต การส่งเสริมและแนวทางการพัฒนานักเรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล การ สร้างสรรค์คนดี เพื่อสรุปเป็นกรอบแนวคิดและแนวทางการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนานวัตกรรม (Plan) ประกอบด้วย 2.1 นาผลจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลมาสรุปและกาหนดเป็นกรอบแนวคิด “แตกต่างไม่ แตกแยก” สาหรับเป็นแนวทางการสร้างนวัตกรรม2.2พัฒนานวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีBATETHER Model ภายใต้กรอบแนวคิด “แตกต่างไม่ แตกแยก” ดังแสดงในภาพที่ 1 ประกอบด้วย B : (Be accepted in the differences) การยอมรับในความแตกต่าง เป็นการสร้างการยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลให้กับนักเรียนได้เห็นถึงข้อเท็จจริงของแต่ละ บุคคลว่า พวกเราทุกคนนั้นมีความแตกต่าง ไม่มีใครเหมือนใคร 100% แม้เป็นฝาแฝดเกิดมาพร้อมกันก็ไม่ เหมือนกัน จึงเป็นความจริงตามธรรมชาติตามที่พุทธศาสนาได้สอนไว้ว่าทุกคนล้วนเกิดมาต่าง เมื่อทุกคนยอมรับใน ความจริงนี้ได้แล้ว จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการที่จะเปิดใจยอมรับและเรียนรู้ในความแตกต่างของแต่ละคนด้วยใจที่ เป็นกัลยาณมิตร A : (Awareness) การสร้างความตระหนัก ต้องให้ความร่วมมือในการช่วยกันแก้ไขปัญหาและหาทางออกที่ดีที่สุดได้แก่ความไม่เข้าใจกันและลุกลามไปสู่การทะเลาะเบาะแว้งเป็นการสร้างความตระหนักให้เห็นถึงความสาคัญของการร่วมกันแก้ปัญหาในความแตกต่างที่ทาให้เกิดการแตกความสามัคคีและเป็นปัญหาที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคณะครูและบุคลากรทางการศึกษานักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน T : (target Goal) การตั้งเป้าหมาย การตั้งเป้าหมายเพื่อการพัฒนาความสัมพันธ์สาหรับนักเรียนให้สอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ การทางาน การอยู่รอด ทักษะชีวิตและบริบทสังคม โดยคานึงถึงหลักเกณฑ์และข้อจากัดในความ แตกต่างของผู้เรียนในกลุ่มเป้าหมาย โดยสกัดและจัดระบบเป้าหมายการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและทักษะที่ จาเป็นต่อเรียนรู้และการดาเนินชีวิต E : (Educational Activities) การออกแบบกิจกรรม เป็นการออกแบบกิจกรรมเพื่อนาไปใช้พัฒนาผู้เรียนให้มีพฤติกรรมตามเป้าหมายที่วางไว้คือ1) สร้าง ความสามัคคีให้เกิดขึ้น 2) สร้างการยอมรับในความแตกต่างการเห็นคุณค่าในตัวบุคคล 3) การใช้หลักธรรมมา ประยุกต์ใช้กับการแก้ปัญหา

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 38 T : (Treatment) การปฏิบัติกิจกรรม เป็นการนากิจกรรมที่ได้ออกแบบไว้ ไปใช้พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะใน ศตวรรษที่ 21 สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม และบริบทในศตวรรษที่ 21 อย่างกว้างขวาง H : (Harmony) เกิดความสามัคคีปรองดอง เป็นจุดสาคัญของการดาเนินโครงการเพื่อให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเกิดความสามัคคีกัน เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือกันด้วยใจที่เป็นกัลยาณมิตร ผ่านกิจกรรมต่าง ๆที่ได้วางแผนไว้อย่างเป็นขั้นตอน E : (Evaluation) การประเมินผลงาน เป็นการประเมินผลการดาเนินงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ การดาเนินงาน เพื่อเปรียบเทียบความสาเร็จ ค้นหาปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขการดาเนินงานให้ดีขึ้น R : (Review for Improvement) การทบทวนเพื่อการพัฒนา เป็นการทบทวนเพื่อการปรับปรุง พัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการให้มีความเหมาะสม และเกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาผู้เรียน ให้มากที่สุด 2.3 ออกแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สอดคล้องกับกรอบแนวคิดนวัตกรรมตามตารางที่ 2 2.4 ตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนา 2.5 จัดทาเป็นโครงการในแผนปฏิบัติการประจาปี 2.6 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบและกาหนดปฏิทินการดาเนินงาน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 39 ตารางที่ 2 กิจกรรมเสริมหลักสูตรตามโครงการนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ไม่มีทุจริตด้วย BATETHER Model ภายใต้กรอบแนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ชื่อกิจกรรม ทักษะ/การพัฒนา คุณลักษณะโรงเรียนสุจริต 1 ทุจริตร่วมกันต่อต้านการรู้จักเธอรู้จักฉันเรา ตระหนักในการต่อต้านการทุจริตการยอมรับความแตกต่าง/ความ นักเรียนมีความสามัคคี และเกิดความตระหนักต่อการต่อต้านทุจริตยอมรับในความแตกต่าง 2 เด็กดีวิถีพุทธ ฝึกจิตให้เข้มแข็ง มีสมาธิและ อิ่มเอมในธรรมะ จิตใจที่อ่อนโยนนักเรียนใช้ธรรมะในการฝึกจิตและกล่อมเกลามีเมตตา 3 จิตอาสาพาทาดี จิตสาธารณะ ความดีประโยชน์เพื่อสังคมการทาสิ่งที่เป็นอาสาที่จะทา นักเรียนมีจิตสาธารณะ ไม่นิ่งดูดายหรือปล่อย วางและไม่รับผิดชอบ 4 กีฬาพาสนุก ทักษะด้านกีฬา ร่างกายให้แข็งแรงเสริมสร้าง นักเรียนมีความสามัคคี ร่วมกันได้อย่างมีความสุขสามารถทากิจกรรม 5. สร้างสรรค์ศิลป์ประดิษฐ์ กล้าแสดงออกทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ ขั้นตอนที่ 3 การจัดโครงการ (Do) ประกอบด้วย 3.1 ประชุมคณะครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการ แผนการดาเนินงานทั้งหมด 3.2 แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมแต่ละฐานกิจกรรม 3.3 เตรียมความพร้อมทั้งด้านสถานที่ 3.4 กาหนดระยะเวลาในการดาเนินการและวิธีประเมินผล 3.5 ดาเนินการตามโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนทุกคน ขั้นตอนที่ 4 ประเมินผลโครงการ (Check ) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลโครงการนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีประกอบด้วย ไม่มีทุจริตด้วย BATETHER Model เป็นแบบสอบถาม จานวน 1 ชุด มี 4 ตอน จานวน 60 ข้อ ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ ชั้น สถานะภาพนักเรียน สัญชาติ และ สถานะของการเป็นนักเรียนยากจน/ยากจนพิเศษ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 40 ตอนที่ 2 นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีแบบสอบถามด้านการปลูกจิตสานักและพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียนที่มีต่อโครงการไม่มีทุจริตด้วย BATETHER Model จานวน 20 ข้อ มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับตามแนวคิดของ Likert (1967) ตอนที่ 3 แบบสอบถามด้านความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคล ของ นักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรม ตามโครงการนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ไม่มีทุจริตด้วย BATETHER Model จานวน 20 ข้อ มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของ Likert (1967) ตอนที่ 4 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรมตาม โครงการนวัตกรรม สร้างสรรค์คนดี ไม่มีทุจริตด้วย BATETHER Model จานวน 20 ข้อ มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของ Likert (1967) ขั้นตอนที่ 5 การร่วมปรับปรุง (Act) ประกอบด้วย ขั้นตอนนี้เป็นการนาผลการประเมินจากขั้นตอนที่ 4 มาร่วมกันวิเคราะห์และปรับปรุงการจัดกิจกรรม การจัดโครงการในครั้งต่อไปโครงการมีขั้นตอนดังนี้1.ประชุมคณะกรรมการจัดโครงการเพื่อรับทราบผลการจัดกิจกรรม2.นาผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการจัดโครงการมาร่วมกันพิจารณาและหาแนวทางในการปรับปรุง3.รายงานผลการจัดโครงการให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ สรุปผลการวิจัย 1. ผลการประเมินด้านการปลูกจิตสานักและพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียนที่มีต่อการต่อต้าน ทุจริต โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.51 เมื่อพิจารณารายข้อเรียงลาดับคะแนน เฉลี่ยจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก พบว่า ข้าพเจ้าคิดว่าผู้ที่เก็บของได้แล้วนาส่งคืนเจ้าของเป็นผู้ที่ควรนามาเป็น แบบอย่างมีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ( X = 4.69, SD = .24) รองลงมาคือ เมื่อข้าพเจ้าพบของมีค่าที่เพื่อนลืมไว้ ข้าพเจ้าจะส่งครูเพื่อประกาศตามหาเจ้าของ ( X = 4.63, SD = .33) และข้าพเจ้าคิดว่าน่าละอายใจหากไม่ทา ตามสัญญาที่ให้ไว้กับผู้อื่น ( X = 4.58, SD = .65) ตามลาดับ 2. ผลการประเมินด้านความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียนที่มีต่อการ จัดกิจกรรม โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.23 เมื่อพิจารณารายข้อเรียงลาดับคะแนน เฉลี่ยจากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ข้าพเจ้าไม่เคยทะเลาะเบาะแว้งหรือรังแกบุคคลอื่นที่อ่อนแอกว่ามีคะแนนเฉลี่ยมาก ที่สุด ( X = 4.48, SD = .69) รองลงมาคือ ข้าพเจ้ารับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอยู่เสมอ ( X = 4.47, SD = .83)

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 41 และข้าพเจ้าคิดว่าการที่ได้ทากิจกรรมต่าง ๆ แตกต่างไปจากข้าพเจ้าสามัคคีมากยิ่งขึ้นและข้าพเจ้าพร้อมที่จะเรียนรู้และเข้าใจในพฤติกรร่วมกันกับบุคคลอื่นที่มีความแตกต่างกับข้าพเจ้าจะช่วยให้เกิดความรมของเพื่อนที่มีสัญชาติหรือบุคลิกลักษณะที่( X = 4.46, SD = .76; X = 4.46, SD = .63) ตามลาดับ 3. ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรม โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริต ภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า การประเมินความพึงพอใจของ นักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40 เมื่อพิจารณารายข้อเรียงลาดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไป น้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ กิจกรรมในฐานรู้จักเธอรู้จักฉันเราร่วมกันต่อต้านการทุจริต มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ( X = 4.64, SD = .63) รองลงมาคือเวลาในการจัดกิจกรรมของฐานกีฬาพาสนุก ( X = 4.58, SD = .75) และวิทยากร ประจาฐานกีฬาพาสนุก ( X = 4.56, SD = .69) ตามลาดับ อภิปรายผลการวิจัย 1. จากผลการประเมินด้านการปลูกจิตสานักและพฤติกรรมความสุจริตของนักเรียนที่มีต่อการต่อต้าน ทุจริต โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากรูปแบบของการจัดกิจกรรมในแต่ละฐานการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมโดยโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้(2553)การปลูกจิตสส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมในฐานกิโดยบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ของหลักสูตรต้านทุจริตเข้าไปเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ได้มีการให้ความรู้และให้นักเรียนได้ร่วมทากิจกรรมที่ส่งเสริมการปลูกจิตสานึกและพฤตกรรมการต่อต้านการทุจริตจกรรมรู้จักเธอรู้จักฉันเราร่วมกันต่อต้านทุจริตจึงส่งผลให้นักเรียนได้รับานักและเกิดพฤติกรรมความสุจริตขึ้นสอดคล้องกับแนวคิดของนีรนุชเหลือลมัยและวรรณีแกมเกตุที่ได้ศึกษาผลของการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่พัฒนาขึ้นพบว่าหลังจากที่นักเรียนเข้าแบบเน้นประสบการณ์( experiential learning)นักเรียนมีระดับความรู้ เจตคติ พฤติกรรมและเหตุผลเชิงจริยธรรมทั้ง 3 ด้านได้แก่ 1) ความซื่อสัตย์สุจริต 2) ความเมตตากรุณา 3) ความมีวินัยในตนเอง สูงขึ้น และการศึกษาของพิศมัย เทียนทอง (2553) ที่ศึกษาผลการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ด้านความซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียนโรงเรียนบ้านเขามะกา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1 ผลการศึกษาพบว่าหลังใช้โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์สุจริต นักเรียนมีพฤติกรรมที่ เปลี่ยนแปลงดีขึ้น ซื่อสัตย์สุจริตทั้งทางด้านกายและผลการปฏิบัติตนเองของนักเรียนด้านความซื่อสัตย์สุจริตพบว่านักเรียนมีคุณธรรมด้านความวาจาใจ 2. จากผลการประเมินด้านความสามัคคีและการยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลของนักเรียนที่มี ต่อการจัดกิจกรรม โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ร่วมกันตลอดจนเสร็จสิ้นนักเรียนได้เกิดความรักความสามัคคีขึ้นในหมู่คณะมีทั้งนี้เนื่องจากการที่นักเรียนได้ทากิจกรรมในแต่ละฐานการช่วยเหลือกันและมีการส่งเสริม

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 42 การทางานเป็นทีมโดยไม่มีการแบ่งแยกว่านักเรียนจะมีลักษณะอย่างไร ซึ่งทุกคนก็สามารถทางานร่วมกันได้และ เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน เช่น ในฐานกิจกรรมรู้จักเธอรู้จักฉันเราร่วมกันต่อต้านทุจริต เป็นกิจกรรมนี้เปิด โอกาสให้เปิดใจ พูดคุยกันอย่างเป็นกัลยาณมิตรกับเด็กพิเศษเรียนร่วม การยอมรับในความแตกต่างและข้อจากัด ของแต่ละบุคคล โดยใช้หลักจิตวิทยาวัยรุ่นที่ได้ศึกษามาเป็นกลไกสาคัญในการเชื่อมโยงความคิด ความรู้สึกของ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเข้าด้วยกัน กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่สาคัญในการที่จะทาให้นักเรียนทั้งกลุ่มเด็กปกติและเด็ก พิเศษเรียนร่วมได้เปิดใจยอมรับ พูดคุยอย่างเป็นกันเอง การได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลของแต่ละกัน ทาให้นักเรียน ทั้งสองกลุ่มเกิดความรู้สึกในเชิงบวกและนาไปสู่การเกิดความสามัคคีในที่สุด หรือในฐานกิจกรรมจิตอาสาพาทาดี นักเรียนเด็กพิเศษเรียนร่วมช่วยนักเรียนปกติได้ทากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน ทาให้เห็นว่านักเรียนทั้งสองกลุ่มสามารถ ร่วมงานกันได้เป็นอย่างดี กิจกรรมนี้ทาให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้ทางานร่วมกัน และได้ทาประโยชน์ให้กับสังคม และชุมชนในภาพรวม เป็นกิจกรรมที่สร้างความภาคภูมิใจในตัวเองให้กับนักเรียนเพราะได้ทาความดี ด้วยความ สมัครใจ ส่งผลให้การประเมินด้านนี้อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับทฤษฎีการเห็นคุณค่าในตนเองของคูเปอร์สมิธ (Coopersmith, 1981) กล่าวว่า การเห็นคุณค่าในตนเอง คือขอบเขตที่บุคคลมีความเชื่อเกี่ยวกับความสามารถ ของเขาว่า มีความสาคัญและมีคุณค่า โดยจาแนกคุณลักษณะพื้นฐานของการเห็นคุณค่าในตนเองไว้ 4 ประการ คือ 1.ความสาคัญ (Significance) เป็นวิถีทางที่บุคคลรู้สึกว่าตนยังเป็นที่รัก ซึ่งพิสูจน์ได้โดยการให้ผู้อื่นเห็นความสาคัญ ของตัวเอง 2. ความสามารถ (Competence) เป็นวีธีการที่จะพิจารณาถึงความสาคัญโดยการกระทา 3. คุณความ ดี (Virtue) เป็นการบรรลุซึ่งมาตรฐานตามศีลธรรมและจริยธรรม และ4. พลังอานาจ (Power) เป็นอิทธิพลที่บุคคล มีต่อชีวิตตนเองและผู้อื่น3.จากผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อการจัดกิจกรรม โครงการลูกวอนนภาต่อต้านการ ทุจริตภายใต้แนวคิด “แตกต่างไม่แตกแยก” ขับเคลื่อนโดยใช้ BATETHER Model พบว่า การประเมินความพึง พอใจของนักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่อต้าน การทุจริตที่จัดในลักษณะค่ายกิจกรรม เป็นการเปลี่ยนบรรยากาศการเรียนรู้อีกลักษณะหนึ่งที่ไม่ต้องเรียนใน ห้องเรียน นักเรียนมีความสุขกับการทากิจกรรมต่าง ๆ และได้เรียนรู้ในเรื่องที่อยู่นอกเหนือจากตาราเรียนส่งผลให้ ความพึงพอใจของนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับการศึกษาของไพศาล มั่นนอกและไพฑูรย์ สิลารัตน์ (2557, หน้า 110) ที่ศึกษาการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนของนักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญ วิทยาคม โดยใช้กลยุทธ์ 5 กลยุทธ์ คือ 1) กลยุทธ์การเข้าค่ายคุณธรรม 2) กลยุทธ์การสอนสอดแทรก คุณธรรมจริยธรรม 3) กลยุทธ์วันพุธพบพระละกิเลส 4) กลยุทธ์ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมใน ชีวิตประจาวัน 5) กลยุทธ์ศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมี 6 กิจกรรมย่อย คือ 5.1) กิจกรรมการปลูกมะนาว 5.2) กิจกรรมการปลูกผักพื้นบ้าน 5.3) กิจกรรมการเลี้ยงปลา 5.4) กิจกรรม การเลี้ยงกบ 5.5) กิจกรรมการเพาะเห็ดภูฏาน 5.6) กิจกรรมการทานาข้าวหอมนิล ผลการปฏิบัติการพบว่า นักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรมโดยภาพรวมค่าเฉลี่ยมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมแก่

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 43 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการทนักเรียนโดยการจัดกิจกรรมเสริมและการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมทาให้นักเรียนมีการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่ดีขึ้นากิจกรรมในระดับมาก ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ถูกเหยียดหยามเพื่อนที่มีสัญชาติแตกต่างกิริยาท่าทางรังเกียจบุคคลอื่นที่มีฐานะต่ยอมรับความแตกต่างกันระหว่างบุคคลขอของตนเองความสุจริตของนักเรียนในด้านผู้บริหารสถานศึกษาและครูควรให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมปลูกจิตสานึกและพฤติกรรมการหยิบสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตนเองและการส่งเสริมความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่1.2ผู้บริหารสถานศึกษาและครูควรให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความสามัคคีและการงนักเรียนในด้านการกลั่นแกล้งรังแกกันระหว่างเพื่อนด้านการแสดงาต้อยกว่าการเป็นเพื่อนกับบุคคลต่างสัญชาติได้โดยไม่รังเกียจและการดูกัน2.ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเกณฑ์ปกติวิสัย (Norm) สาหรับเป็นตัวชี้วัดระดับความดีของ นักเรียนแต่ละระดับชั้น2.2ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมความดีของนักเรียนแต่ละระดับชั้น เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). คู่มือหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti Corruption Education) กรุงเทพ ฯ : สานัก เกรียงศักดิ์พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา.โชควรกุล.( 2559). กลยุทธ์การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่นด้วยการสร้างค่านิยมของกลุ่มนักศึกษาใน จังหวัดชัยภูมิ.วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์. 20(2) : 237 251. ดิฐภัทร บวรชัย. (2560). รูปแบบการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ตารวจ กรณีศึกษาระดับ สถานีตารวจ. รายงานการวิจัย, สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. นีรนุช เหลือสมัย, และวรรณี แกมเกตุ. (2553). การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมสาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. 5(2) : 965 966. พิศมัย เทียนทอง. (2553). การดาเนินการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์สุจริตของนักเรียนโรงเรียน บ้านเขามะกา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 44 ไพศาล มั่นนอก, และไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). “ วิทยาคม.จริยธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดเล็กการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมกรณีศึกษาของนักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญ ” สุทธิปริทัศน์ 28(88) : 110. Tomlinsom, C. A., (2020). What Is Differentiated Instruction? Available on the World Wide Web.(On line) Available https://www.readingrockets.org/article/what differentiated instruction [December 15]

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 45 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาการบริการสารสนเทศ Using of Digital Technology for Information Services Development ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.อธิป เกตุสิริ Asst.Prof.Dr.Atip Ketusiri ดร.ณรัช ไชยชนะ Dr.Narach Chaichana สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี บทคัดย่อ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ก้าวหน้าในปัจจุบัน ทาให้พฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศของผู้ใช้ สารสนเทศ เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน โดยปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ดังนั้นห้องสมุดต่าง ๆ จึงได้พัฒนาบริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเป็นช่องทางสาหรับการ ให้บริการแก่ผู้ใช้ของตน ซึ่งการ พัฒนาบริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล มีทั้งเหตุผลที่สนับสนุน และอุปสรรคของการให้บริการสารสนเทศ ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล บทความนี้จะแนะนาถึงลักษณะของ บริการสารสนเทศที่สามารถพัฒนาผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล ตลอดจนเหตุผลที่ส่งผลให้การพัฒนาบริการ สารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดังกล่าวประสบความสาเร็จ คาสาคัญ: เทคโนโลยีดิจิทัล บริการสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี Corresponding author, email : sunjung.at@gmail.com, Tel : 061 069 5070

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 46 Abstract Advanced information technology has changed information seeking behaviours. Currently,mobile technology is developing rapidly. Therefore, several information service providers have employed mobile technology as a channel to provide information services to their users. The development of such services requires support reason as well as barriers tosuccess of the development of information services via mobile technology. This paper proposes the characteristicsof informationservices that can be developed through mobile technology as well as the reason that affect the success of such services. Keyword: Mobile technology, Information service บทนา ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา การใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพาหรือโน้ตบุ๊คมีอัตราการใช้บริการ เพิ่ม สูงขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์แบบพกพาได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีขนาดที่เล็กลงและ น้าหนักที่เบา ขึ้น แบตเตอรี่มีอายุการใช้งาน ที่นานขึ้น มีผู้นิยมใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพามากจนกลายเป็น ส่วนหนึ่งของ ชีวิตประจาวันที่ทุกคนคุ้นเคย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้เพื่อการติดต่อสื่อสารและการสืบค้น สารสนเทศ ต่อมาเมื่อ พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีมากขึ้น ทาให้มีการบูรณาการ เทคโนโลยีการสื่อสารกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ แต่อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังมีอัตราการพกพาน้อย กว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์ พกพาอื่น ๆ ซึ่งในปัจจุบัน โทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ได้เปลี่ยนช่องทางหรือ รูปแบบในการติดต่อ สื่อสารในชีวิตประจาวัน แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเปลี่ยนช่องทางในการเข้าถึง ข้อมูลสารสนเทศของประชาชน ทั้งที่เป็นทรัพยากร สารสนเทศแบบตีพิมพ์และ/หรือทรัพยากรสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ตลอดจนใช้ในการจัดการการทางานอื่น ๆ มากขึ้นด้วย ดังนั้นห้องสมุดจึงควรตระหนักถึง ช่องทางใหม่ในการให้บริการกับผู้ใช้สารสนเทศของตน นอกเหนือจากการให้บริการสารสนเทศแบบ เผชิญหน้าและการให้บริการสารสนเทศผ่านระบบคอมพิวเตอร์เช่น ปัจจุบัน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 47 บริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบันได้ขจัดปัญหาในด้านระยะทางและเวลาที่ใช้ใน การ ติดต่อสื่อสารกันระหว่างห้องสมุดและผู้ใช้บริการของห้องสมุด โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลที่พัฒนา อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ห้องสมุดเพิ่มบริการผ่านช่องทางเทคโนโลยีดิจิทัล ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแท็บเล็ต ซึ่ง โทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ได้มีความสามารถเพียงการใช้โทรออก รับสาย ฟังเพลงหรือถ่ายรูป เท่านั้น แต่ได้พัฒนา ความสามารถให้รองรับการใช้งานในระดับเครือข่าย เช่น การสนทนาออนไลน์การ แบ่งปันข้อมูล การทางานบน อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง การใช้งานระบบบอกตาแหน่งบนพื้นผิวโลก (GPS) การติดต่อกันภายในกลุ่มเพื่อน การ ประชุมทางไกล (Video conferencing) การเข้าร่วมเครือข่ายสังคม ออนไลน์ไม่ว่าจะเป็น Facebook, Twitter การดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ เป็นต้น คาว่า “บริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล” นั้น มีคาภาษาอังกฤษที่ใช้กล่าวถึงบริการ ลักษณะ ดังกล่าวหลากหลายเช่น M libraries, Library on mobile, Library to go, Library on hand held device เป็น ต้น ซึ่งความหมายของบริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลยังไม่มีการบัญญัติไว้ อย่างเป็นทางการ อัลลี(Ally. 2008: 4) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดมือถือ (M libraries) ว่าเป็นการ จัดส่งบริการของห้องสมุดผ่านทาง ช่องทางโทรศัพท์เคลื่อนที่หรืออุปกรณ์ที่มีหน้าจอขนาดเล็ก ที่ผู้ใช้ สามารถเข้าถึงบริการดังกล่าวโดยไม่จากัดเวลา และสถานที่ บริการดังกล่าวอาจเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้แก่ที่ห้องสมุดบอกรับส่งของทรัพยากรสารสนเทศที่ถูกยืมออกซึ่งบริการดังกล่าวอาจจะเป็นบริการจัดส่งข้อความเกี่ยวกับรายชื่อหนังสือที่ผู้ใช้จองไว้การแจ้งกาหนดหรือการอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงหนังสือและวารสารอิเล็กทรอนิกส์ดังนั้นห้องสมุดมือถือจึงหมายรวมถึงการจัดบริการสารสนเทศผ่านทางอุปกรณ์พกพาต่างๆโทรศัพท์เคลื่อนที่แท็บเล็ตเครื่องเล่นเพลงแบบพกพาและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการซึ่งเป็นการอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการได้รับบริการของห้องสมุดมากขึ้นโดยการเป็นบริการเฉพาะรายบุคคลหรือเป็นบริการสาธารณะแก่บุคคลทั่วไปก็ได้ ประเภทของบริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ในการให้บริการสารสนเทศของห้องสมุดนั้น กระทาได้หลาย วิธีดังนี้ (Kroski.2008: 41 18; Mills. 2009: 7 12) 1. การจัดบริการสารสนเทศบนเว็บของห้องสมุดที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือ อุปกรณ์ที่มีหน้าจอขนาดเล็ก เว็บไซต์ของห้องสมุดที่นาเสนอผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่มีรูปแบบคล้ายกับ เว็บไซต์ ห้องสมุดเดิมที่นาเสนอผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ทั่วไป แต่เนื่องจากข้อจากัดในด้านความละเอียด ของหน้าจอ และ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 48 ความเร็วในการนาเสนอสารสนเทศของอุปกรณ์เคลื่อนที่ที่มีน้อยกว่าอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั่วไป จึงออกแบบ กราฟิกและจัดบริการต่าง ๆ ให้เหมาะสมสาหรับการนาเสนอผ่านหน้าจอ โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีขนาดหน้าจอเล็ก กว่าหน้าจอคอมพิวเตอร์เพื่ออานวยความสะดวกและรวดเร็วในการ เข้าถึงบริการของผู้ใช้ 2. บริการส่งข้อความสั้น (Short messaging service: SMS) เป็นบริการเผยแพร่สารสนเทศผ่าน ตัวอักษร ซึ่งจานวนตัวอักษรที่สามารถส่งได้อยู่ที่ 160 ตัวอักษรหรือน้อยกว่า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรุ่นของ โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้การ ส่งข้อความตัวอักษรผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่มีอัตราการใช้บริการที่สูงขึ้นอย่าง รวดเร็ว จากสถิติการใช้บริการส่ง ข้อความสั้นผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของบริษัทแอดวานซ์อินโฟร์ เซอร์วิส พบว่า มีการใช้บริการส่งข้อความผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่เฉลี่ย 4 ล้านข้อความต่อวัน (เอไอเอสเผยคนฮิตส่ง SMS, MMS และ BB อวยพรปีใหม่. 2553: ออนไลน์) และถึงแม้ว่าในปัจจุบัน มีอัตราการส่งข้อความสั้น ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ลดลงแล้วก็ตาม อัน เนื่องมาจากผู้ใช้มีช่องทางในการรับ ส่งข้อความผ่านทาง ช่องทางอื่น เช่น Facebook, Twitter เป็นต้น (เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ทายอดส่ง “SMS อ .ย .ร” ลดฮวบ หลายชาติ. 2555:ออนไลน์) เนื่องจากบริการส่งข้อความสั้นเป็น บริการพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้กับ โทรศัพท์เคลื่อนที่ทุกรุ่น บริการดังกล่าวเป็นบริการที่ติดต่อกับผู้ใช้แบบ รายบุคคลและเข้าถึงผู้ใช้แบบ ทันทีทันใด ถึงแม้ว่าในปัจจุบันห้องสมุดต่าง ๆ จัดให้มีบริการส่งข้อความตัวอักษรบน อินเทอร์เน็ตให้กับ ผู้ใช้บริการ แต่หากผู้ใช้บริการไม่ได้ออนไลน์อยู่ในขณะนั้น การแจ้งเปลี่ยนเวลาเปิดเตือนกกับนอกเดังนั้นบริการส่งข้อความสั้นเป็นบริการที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้มีทางเลือกในการรับข้อความจากห้องสมุดก็อาจพลาดบริการในส่วนนี้ไปได้หนือจากการรับข้อมูลผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์รวมทั้งช่วยแก้ปัญหากรณีที่ห้องสมุดต้องการติดต่อสื่อสารผู้ใช้บริการแบบทันทีทันใดบริการส่งข้อความสั้นที่บริการสารสนเทศของห้องสมุดใช้ในปัจจุบันได้แก่การแจ้งาหนดส่งหนังสือการแจ้งให้มารับหนังสือจองบริการข่าวสารทันสมัยการประชาสัมพันธ์ข่าวสารห้องสมุดปิดห้องสมุดกิจกรรมของห้องสมุดและแนะนาทรัพยากรสารสนเทศใหม่ 3. บริการจัดส่งเอกสารดิจิทัลตามคาร้องขอ ห้องสมุดสามารถเพิ่มช่องทางแก่ผู้ใช้ในการเข้าถึง ทรัพยากร สารสนเทศดิจิทัลผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ห้องสมุดสมัยใหม่จานวนมากได้จัดให้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศ ดิจิทัลผ่านเทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น ห้องสมุดมหาวิทยาลัยดุ๊ค (Duke University) ที่จัดหาทรัพยากรภาพ ดิจิทัล ตารางเรียน และแผนที่ของมหาวิทยาลัยไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ ผ่านโทรศัพท์ไอโฟนและไอแพด โดยผู้ใช้ สามารถดาวน์โหลดข้อมูลที่ต้องการผ่านทางโปรแกรม iTune เป็นต้น ดังนั้นห้องสมุดอาจพิจารณาจัดเตรียม ทรัพยากรดิจิทัลต่าง ๆ ไว้ให้บริการผ่านทาง โทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น ภาพ บทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์เป็นต้น และจัดส่ง ให้กับผู้ใช้บริการตามคาร้องขอ ทั้งนี้เพื่อเป็นช่องทางที่จะอานวยสะดวกแก่ผู้ใช้ใน การเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ บริการผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพราะปัจจุบันผู้ใช้บริการห้องสมุดสามารถเข้าถึง

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 49 สารสนเทศผ่านบริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ได้ง่ายและสะดวกกว่าการเข้าถึงสารสนเทศผ่านทางห้องสมุดหรือการ เชื่อมต่อทาง อินเทอร์เน็ตก็ตาม 4. บริการหนังสือเสียงดิจิทัล เป็นบริการที่กาลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นในปัจจุบัน ซึ่งบริการนี้ได้ เริ่มขึ้น เมื่อ ค.ศ.2005 โดยบริษัทตัวแทนจาหน่ายหนังสือเสียงเป็นผู้ให้บริการ ห้องสมุดที่ให้บริการหนังสือ เสียงดิจิทัลนี้ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการสามารถดาวน์โหลดไฟล์เสียงของหนังสือหรือทรัพยากรสารสนเทศที่ ห้องสมุดจัดเตรียมไว้ ให้บริการ จากการสารวจของสมาคมห้องสมุดอเมริกันเกี่ยวกับการให้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่าง ๆ ของห้องสมุดประชาชนในสหรัฐอเมริกา พบว่ามี บริการหนังสือเสียงดิจิทัลถึงร้อยละ 83 และสถิติ การใช้บริการยืมโสตทัศนวัสดุของห้องสมุดมีอัตราลดลง (Vollmer. 2010: 3) นอกจากนี้ห้องสมุดสามารถ ให้บริการไฟล์เสียงคาบรรยายของอาจารย์ผู้สอนใน สถาบัน เพื่อให้นักศึกษาดาวน์โหลดคาบรรยายเพื่อเรียนรู้ด้วย ตนเองหรือทบทวนบทเรียน ทาให้เรียนรู้ เนื้อหาที่ตนเองสนใจได้โดยไม่มีข้อจากัดในด้านเวลาหรือสถานที่ สามารถ ฟังหนังสือเสียงดิจิทัลได้ใน ระหว่างการทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น ระหว่างการทางานบ้าน ระหว่างเดินทาง ระหว่าง การออกกาลังกาย หรือแม้แต่การไปจับจ่ายใช้สอยซื้อของต่าง ๆ ตามร้านสะดวกซื้อและห้างสรรพสินค้าก็ตาม เป็น ต้น 5. โอแพคเคลื่อนที่ (Mobile OPAC) เพีโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับหน้าจอโอแพคที่ใช้สเป็นบริการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดผ่านาหรับการสืบค้นผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ปกติยงแต่มีขนาดเล็กกว่าและมีกราฟิกไม่มากนักจากการศึกษาของมิลล์ส( Mills. 2009: 8) พบว่าผู้ใช้ห้องสมุด ประมาณกึ่งหนึ่ง มักจะถ่ายรูปหน้าจอผลการสืบค้นจากโอแพคไว้เนื่องจากมี ความสะดวกกว่าการจดรายละเอียด เหล่านั้นลงบนกระดาษ นอกจากนี้ยังสามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้ ในการเขียนรายการอ้างอิง และมีผู้ใช้ถึงร้อย ละ 55 ของผู้ตอบแบบสอบถามที่พึงพอใจต่อการสืบค้น ทรัพยากรสารสนเทศผ่านทางโอแพคเคลื่อนที่ จาก ข้อสังเกตดังกล่าวศูนย์ห้องสมุดคอมพิวเตอร์ออนไลน์ (Online Computer Library Center: OCLC) ได้พัฒนา Mobile OPAC เพื่อการสืบคืนสารสนเทศจาก ฐานข้อมูล WorldCat โดยพัฒนาเป็นเครื่องมือช่วยค้น ทรัพยากรห้องสมุดสาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่ง สมาชิกของ OCLC สามารถดาวน์โหลดได้ 6. บริการแนะนาการใช้ห้องสมุด ผ่านเทคโนโลยีคิวอาร์โค๊ด (QR code) เป็นบริการนาเสนอ เนื้อหาสาระ ต่าง ๆ ที่มีประโยชน์และเกี่ยวข้องกับห้องสมุดต่อผู้ใช้ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น บริการ แนะนาการสืบค้น ฐานข้อมูลต่าง ๆ บริการแนะนาการเขียนบรรณานุกรม เป็นต้น โดยรูปแบบการ ให้บริการแนะนาการใช้บริการ สารสนเทศ อาจอยู่ในรูปของเอกสารแนะนาที่เป็นตัวอักษร ภาพ เสียง หรือ ภาพเคลื่อนไหวก็ได้และเปิดโอกาสให้ ผู้ใช้ดาวน์โหลดเพื่อนาไปศึกษาภายหลังได้คิวอาร์โค๊ดหรือบาร์โค้ด แบบ 2 มิติ(Two dimensional barcode or

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 50 2D barcode) เป็นรหัสชนิดหนึ่งซึ่งสามารถเก็บและอ่าน ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วโดยใช้เครื่องอ่านบาร์โค้ดหรือการ อ่านผ่านกล้องดิจิทัลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ติดตั้ง โปรแกรม สาหรับอ่านคิวอาร์โค๊ดแล้ว เมื่อผู้ใช้นามือถือไปสแกน คิวอาร์โค๊ด โปรแกรมจะแสดงผล รายละเอียดของข้อมูลเป็นตัวอักษรทาให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกและ รวดเร็ว สามารถเก็บบันทึก ข้อมูลเพื่อนาไปใช้อ่านรายละเอียดในภายหลังได้โดยคิวอาร์โค๊ดสามารถจัดเก็บข้อมูล ได้ทั้งที่เป็นตัวอักษร ที่อยู่เว็บไซต์(URL) หรือข้อมูลอื่น ๆ (Barker; et al. 2012: Online) ทาให้ผู้ใช้บริการสามารถ ถ่ายภาพ โค้ดของทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการและเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการรวดเร็วยิ่งขึ้น ห้องสมุดหลายแห่ง ใช้คิวอาร์โค๊ดในการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการของสถาบัน เช่น ห้องสมุดมหาวิทยาลัยบาธ (University of Bath) ใช้ในการจัดทารายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด โดยบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับสถานที่จัดเก็บหนังสือ และบริการนาชมห้องสมุดแก่นักศึกษาผ่านเครื่องเล่น MP3 (University of Bath. 2012: Online) เช่นเดียวกับ ห้องสมุดนิวแมน (Newman Library) ของมหาวิทยาลัยรัฐและ สถาบันเวอร์จิเนียโพลีเทคนิค (Virginia Polytechnic Institute and State University) ได้จัดบริการนา ชมห้องสมุดด้วยตนเอง โดยผู้ใช้บริการมี ผู้ใช้บริการไปยังสถานที่ให้บริการถัดไปงบรรรยายประกอบภาพหรือภาพเคลื่อนไหวลักษณะและทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการในบริเวณนั้นโปรแกรมอ่านคิวอาร์โค๊ดและเมื่อผู้ใช้บริการเดนิไปยังบริเวณที่มีบริการอ่านคิวอาร์โค๊ดสามารถสแกนบาร์โค้ดจากนั้นโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ใช้บริการจะอธิบายถึงซึ่งอาจเป็นเสียงบรรยายเพียงอย่างเดียวหรือเสียเมื่อสิ้นสุดการบรรยายของจุดบริการนั้นแล้วโปรแกรมจะแนะนาให้( Virginia Polytechnic Institute and State University. 2012: Online) ห้องสมุดรัฐออสเตรเลียใต้ (State Library of South Australia) ได้ จัดบริการนาชมสถานที่สาคัญทาง ประวัติศาสตร์ของเมืองอะดิเลดผ่านคิวอาร์โค๊ดและเชื่อมโยงกับคลัง ภาพดิจิทัลของห้องสมุด (State Library of South Australia. 2012: online) เป็นต้น ซึ่งเป็นการอานวย ความสะดวกแก่ผู้ใช้ควบคู่ไปกับการให้สารสนเทศ ของสถานที่ต่าง ๆ โดยอาศัยความสามารถของ เทคโนโลยีดิจิทัล นอกจากนี้บาร์คเกอร์ (Barker; et al. 2012: Online) ได้ทดลองใช้คิวอาร์โค๊ดในการ ปรับปรุงบริการจัดส่งทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดทางการแพทย์ พบว่าในช่วงเวลา 1 เดือน มี ผู้สนใจเข้าเยี่ยมชมบริการดังกล่าวถึง 205 ครั้ง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคิวอาร์โค๊ดเป็น เทคโนโลยีที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ในยุคปัจจุบันได้ 7. การบริการระบุตาแหน่งของห้องสมุด (GPS) ห้องสมุดสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีGPS เป็น ระบบ นาทางสาหรับระบุตาแหน่งของผู้ใช้บริการสารสนเทศในขณะนั้น และนาทางผู้ใช้ไปยังตาแหน่งที่ตั้ง ของห้องสมุด ที่อยู่ของจุดบริการสารสนเทศ หรือที่อยู่ของทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งอานวยความสะดวก แก่ผู้ใช้บริการในเข้าถึง บริการสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 51 องค์ประกอบที่สนับสนุนการพัฒนาบริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนาการให้บริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลนั้นเป็นเรื่องห้องสมุดที่ห้องสมุดไม่ควร มองข้าม เนื่องจากมีองค์ประกอบที่สนับสนุนให้บริการนี้เป็นที่นิยมของผู้ใช้ห้องสมุดหลายประการ ได้แก่ 1. การเติบโตของผู้ใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ จากการสารวจการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของ สานักงานสถิติแห่งชาติ(2555: ออนไลน์) พบว่าจานวนผู้ใช้โทรศัพท์สูงขึ้นอย่างชัดเจน โดยใน พ.ศ. 2547 มีผู้ใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ จานวน 16.54 ล้านคน (ร้อยละ 28.2) ใน พ.ศ. 2550 เพิ่มเกือบ เท่าตัวเป็น 28.29 ล้านคน (ร้อยละ 47.2) และในปี2555 มีจานวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่สูงถึง 44.1 ล้าน คน (ร้อยละ 70.2) เห็นได้ว่าอัตรา การเติบโตของจานวนผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ในขณะที่มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ใน พ.ศ. 2551 เทียบกับ พ.ศ. 2555 พบว่ามีผู้ใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น จาก 17 ล้านคน (ร้อยละ 28.2) เป็น 21.2 ล้านคน (ร้อยละ 33.7) เท่านั้น เมื่อเปรียบเทียบอัตราผู้ใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาล พบว่าสัดส่วนของผู้ใช้นอกเขตเทศบาลมี จานวนเพิ่มขึ้นมากกว่าในเขตเทศบาล โดยใน พ.ศ. 2555 ผู้ใช้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2551 จากร้อยละ 65.7 เป็นร้อยละ 77.7 และผู้ใช้ โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่อยู่นอก เขตเทศบาล เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 47.1 เป็นร้อยละ 66.2 เมื่อพิจารณาช่องทางการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ของผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต พบว่ามีผู้ที่ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย ร้อยละ 14.7 ปัจจุบันประเทศไทยเปิดให้บริการเทคโนโลยี3G คาดว่าอัตราการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย เคลื่อนที่จะมีจานวนเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน ดังนั้นห้องสมุดควรให้ความสาคัญกับช่องทางสื่อสาร กับ ผู้ใช้บริการห้องสมุดผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นอกเหนือจากการสื่อสารกับผู้ใช้บริการแบบเผชิญหน้า และผ่านทาง อินเทอร์เน็ต 2. พฤติกรรมการแสวงหาและการใช้สารสนเทศของผู้ใช้บริการ เนื่องจากกลุ่มผู้ใช้บริการของ ห้องสมุด โดยเฉพาะห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ค่อนข้างดีโดยเฉพาะ อย่างยิ่งทักษะเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ต่าง ๆ งานวิจัยของ สมาน ลอยฟ้า และคณะ (2555: 59) ที่ศึกษา พฤติกรรมการแสวงหาและการใช้สารสนเทศของนักศึกษาใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มี พฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นลาดับ แรก สอดคล้องกับผลการศึกษาของ นิโคลัสและคณะ (Nicholas; et al. 2006: Online) ที่พบว่า ช่องทาง หลักในการแสวงหาสารสนเทศที่ผู้ใช้จะเลือกเป็นช่องทางแรก คือ กลไกการสืบค้น (Search engine) เนื่องจากผู้ใช้สามารถได้รับสารสนเทศที่ต้องการได้ทันทีซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ ทาให้จานวนผู้ค้นหา สารสนเทศผ่านทางห้องสมุดมีจานวนลดลงอุปกรณ์ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ใช้ในการเชื่อมต่อ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 52 อินเทอร์เน็ตมีทั้ง เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบใช้สายและไร้ สาย ดังนั้นเพื่อให้การบริการสารสนเทศของห้องสมุดสอดคล้องกับพฤติกรรมการแสวงหาและการใช้ สารสนเทศ ของผู้ใช้ห้องสมุดในปัจจุบัน ห้องสมุดจึงควรพัฒนาบริการสารสนเทศผ่านช่องทางอุปกรณ์ที่ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ซึ่งรวมทั้งโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์แบบพกพา ซึ่งคนส่วนใหญ่โดยเฉพาะ เยาวชนมักพกพาโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์พกพาติดตัวตลอดเวลา 3. ความสามารถที่เพิ่มขึ้น แต่ราคาที่ถูกลงของโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ใน ปัจจุบันการ แข่งขันในตลาดของโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์พกพามีมากขึ้น ส่งผลให้บริษัทผู้ผลิต โทรศัพท์เคลื่อนที่และ อุปกรณ์พกพาพัฒนาความสามารถของสินค้าให้มีความสามารถเหนือกว่าคู่แข่งทาง การตลาด ตลอดจนการแข่งขัน ในด้านราคา เห็นได้จากจานวนรุ่น คุณสมบัติของอุปกรณ์เหล่านี้มีให้เลือก ซื้ออย่างหลากหลายในท้องตลาดราคา ขายของโทรศัพท์สมาร์ทโฟนมีตั้งแต่ราคาหลักพันบาทจนถึงหลัก หมื่นบาทเช่นเดียวกันกับราคาขายของแท็บเล็ต รายงานของสานักวิจัยไอดีซีซึ่งสารวจตลาดโทรศัพท์ สมาร์ทโฟนทั่วโลกในช่วงไตรมาส 3 (กรกฏาคม กันยายน) ของ พ.ศ. 2555 ที่ผ่านมา พบว่ามียอดจาหน่าย จานวน 444 ล้านเครื่อง โดยเป็นการซื้อโทรศัพท์สมาร์ทโฟนถึง ร้อยละ 40 บริษัทที่มียอดขาย โทรศัพท์สมาร์ทโฟน สูงเป็นอันดับ 1 คือ ซัมซุงรองลงมา คือ แอปเปิล (3 เดือนโลก ขายโทรศัพท์มือถือ 444 ล้านเครื่อง. 2555: ออนไลน์) ซึ่งการแข่งขันต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นล้วนเป็นการเพิ่มโอกาสและ ทางเลือก ให้กับผู้บริโภคในการเลือกซื้อโทรศัพท์และอุปกรณ์พกพาที่ตรงกับความต้องการและงบประมาณของแต่ ละบุคคล 3. กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554 2563 ของประเทศไทย (ICT 2020) ในยุทธศาสตร์ที่ 1 เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ สารสนเทศด้วย อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทันสมัย มีการกระจายอย่างทั่วถึง และมีความมั่นคงปลอดภัย สามารถรองรับความ ต้องการของภาคส่วนต่าง ๆ ได้(กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. 2554: 13) นอกจากนี้แผนแม่บท ไอซีทีฉบับที่ 2 ระบุวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ให้ประเทศไทยเป็นสังคมอุดม ปัญญา สังคมที่มีการพัฒนาและใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารอย่างชาญฉลาดโดยใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับมีความเฉลียว ฉลาดและรอบรู้สารสนเทศ เข้าถึงและใช้สารสนเทศ อย่างมีวิจารณญาณ” โดยใช้ยุทธศาสตร์หนึ่งในการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ได้แก่ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานไอซีทีของสถานศึกษา ห้องสมุด และศูนย์สารสนเทศชุมชน เพื่อให้บริการอิเล็กทรอนิกส์และเสริมสร้างการเรียนรู้ให้แก่ประชาชน ยกระดับการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของประชาชน ให้มีความรอบรู้สามารถเข้าถึงสร้างสรรค์และใช้ สารสนเทศอย่างมีวิจารณฐาณ รู้เท่าทันสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ต่อการเรียนรู้การทางาน และการดารงชีวิต

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 53 ประจาวัน (ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. 2552: 12) จากกรอบนโยบายและแผนแม่บท ดังกล่าว ทาให้มี การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ให้ครอบคลุมทั่วประเทศ รวมถึงการ ให้บริการแบบ 3G ทาให้ผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตรา ความเร็วที่สูงขึ้น เปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการรับส่งข้อมูล บริการด้านมัลติมีเดีย หรือรับส่ง โปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ ทาได้รวดเร็วและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 4. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โปรแกรมประยุกต์หรือที่นิยมเรียกกันว่า แอพพลิเคชั่น (Applications) เป็นกลุ่มคาสั่งคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการทางานตามความต้องการของ ผู้ใช้บริการ บนอุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาจากรายงานของหนังสือพิมพ์The Financial Times กล่าวว่า ใน ค.ศ. 2010 มีการ พัฒนาและใช้งานโปรแกรมประยุกต์ในระบบปฎิบัติการ iOS ของบริษัทแอปเปิล มากกว่า 200,000 โปรแกรม และประมาณ 60,000 โปรแกรม ที่เผยแพร่และใช้งานผ่านระบบปฏิบัติการ Andriod โปรแกรมประยุกต์ร้อยละ 70 พัฒนาโดยบริษัทผู้จาหน่ายโปรแกรม และร้อยละ 30 พัฒนาโดย นักพัฒนาโปรแกรมอิสระ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย พบว่าส่วน ใหญ่เป็น การพัฒนาเพื่อกลุ่มธุรกิจ ร้อยละ 70.5 และเพื่อกลุ่มบันเทิงร้อยละ 29.5 (สุชาดา พลาชัยภิรมย์ ศิล. 2554: 112) 5. การให้บริการสารสนเทศกับผู้ใช้บริการแบบตลอดเวลา เมื่อเปรียบเทียบการเชื่อมต่อโดยใช้ คอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลผ่านระบบเครือข่ายภายในท้องถิ่น (LAN) กับการเชื่อมต่อผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์พกพาต่าง ๆ พบว่าการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นการให้บริการ ตลอดเวลาอย่างแท้จริง เช่น ระหว่างการ เดินทาง การพักรับประทานอาหารเป็นต้น ซึ่งผู้ใช้สามารถ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและเข้าใช้บริการสารสนเทศได้ ตลอดเวลา นอกจากนี้การติดต่อทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ เป็นการติดต่อสื่อสารเฉพาะรายบุคคลทานองเดียวกับการ ติดต่อผ่านทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์แต่มีข้อ ได้เปรียบกว่าไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์คือ ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทาง ห้องสมุดติดต่อไปแบบทันทีโดยไม่ต้องรอ ให้ผู้ใช้ต้องเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตแต่อย่างใด ตัวอย่างการให้บริการส่ง ข้อความผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของ ห้องสมุด เช่น บริการส่งข้อความสั้นแจ้งข่าวสารของห้องสมุด การแจ้งรายชื่อ หนังสือใหม่ การแจ้งกาหนด ส่งทรัพยากรที่ผู้ใช้ยืมออก เป็นต้น 6. แนวโน้มการพัฒนาการให้บริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีไร้สาย ห้องสมุดสมัยใหม่ต่างให้ ความสนใจ กับการให้บริการต่าง ๆ ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ จากผลการสารวจการให้บริการของ ห้องสมุดประชาชนและ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ของประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่มี นโยบายและจัดให้บริการสารสนเทศผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ มีจานวนร้อยละ 65 โดยส่วนใหญ่ให้บริการเว็บไซต์ของ ห้องสมุดสาหรับแสดงผลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการสืบค้นฐานข้อมูล บรรณานุกรมออนไลน์ผ่าน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 54 โทรศัพท์เคลื่อนที่ บริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าและบริการแจ้งเตือน ต่างๆ ผ่านทางข้อความสั้น และ ห้องสมุดประชาชนที่วางแผนจัดให้มีบริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ จานวนร้อยละ 56 ซึ่งส่วนใหญ่ ให้บริการเว็บไซต์และบริการฐานข้อมูลบรรณานุกรม ออนไลน์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Thomas. 2010: Online) นอกจากนี้บริษัทผู้จัดจาหน่ายฐานข้อมูลหรือ หน่วยงานต่าง ๆ ได้พัฒนาช่องทางการให้บริการผ่านทาง โทรศัพท์เคลื่อนที่มากขึ้น เช่น สมาคมเคมี อเมริกัน (The American Chemical Society: ACS) จัดช่องทางใน การเข้าถึงวารสารของสมาคมผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์สามารถเข้าถึงสารสนเทศ รวมทั้ง ติดต่อสื่อสารและทางานต่าง ๆ ได้โดยไม่จาเป็นต้องนั่งที่โต๊ะทางานต่อไป เป็นต้น (White. 2010: Online) อุปสรรคในการพัฒนาบริการสารสนเทศผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ของห้องสมุด ถึงแม้ว่าการให้บริการสารสนเทศผ่านเทคโนโลยีดิจิทัลจะมีองค์ประกอบสนับสนุนหลายประการ แต่ยังมี อุปสรรคหลายด้านที่ห้องสมุดไม่ควรมองข้าม ได้แก่ 1. งบประมาณ สาหรับงบประมาณในการพัฒนาบริการสารสนเทศผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต้อง อาศัย งบประมาณสนับสนุนตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งพัฒนาบริการเรียบร้อย แต่ข้อจากัดด้านงบประมาณใน ปัจจุบันทาให้ ห้องสมุดหลายแห่งไม่สามารถพัฒนาบริการใหม่ได้จากการศึกษาของโทมัส (Thomas. 2010: online) พบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ร้อยละ 53 และห้องสมุดประชาชนร้อยละ 56 ระบุว่า ข้อจากัดในด้านงบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการพัฒนาบริการและภาระงานประจาของบุคลากร เป็นปัญหาหลักในการพัฒนาในการ ให้บริการสารสนเทศผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2. ทักษะการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้ใช้บริการ ทักษะการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่แตกต่างกัน ของ ผู้ใช้บริการเป็นอุปสรรคในการพัฒนาบริการสารสนเทศผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ถึงแม้ว่ากลุ่มผู้ใช้บริการ สารสนเทศ ของห้องสมุดจะมีหลากหลายทั้งกลุ่มที่มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารดี และกลุ่มผู้ใช้บริการที่ ไม่คุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดังนั้นการเริ่มต้นพัฒนา บริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ควรเริ่มต้นจากบริการที่ใช้งานง่ายและทุกคนมีสามารถในการใช้ งานบริการดังกล่าว เช่น บริการ ส่งข้อความสั้นเพื่อแจ้งเตือนกาหนดส่งทรัพยากรสารสนเทศ บริการส่ง ข้อความสั้นเพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารของ ห้องสมุด เป็นต้น 3. การยอมรับนวัตกรรมใหม่ รูปแบบการยอมรับเทคโนโลยี(Technology Acceptance Model: TAM) เน้นที่ปัจจัยสาคัญ 2 ประการ คือ การมีประโยชน์และความง่ายต่อการใช้ง่าย (Phan; & Daim. 2011: 351) ดังนั้น ห้องสมุดต้องทาให้ผู้ใช้บริการยอมรับว่า บริการสารสนเทศบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ อานวยประโยชน์ต่อการใช้บริการ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 55 สารสนเทศให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการได้สะดวก รวดเร็วและง่ายต่อการใช้ งาน หากผู้รับยอมรับในเหตุผลดังกล่าวจะ ทาให้บริการสารสนเทศผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ประสบ ความสาเร็จ แต่หากห้องสมุดขาดการประชาสัมพันธ์ถึง ประโยชน์ของบริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ จะทาให้ผู้ใช้บริการบางกลุ่มเกิดการต่อต้าน และไม่ยอมรับ ทาให้บริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ไม่ประสบผลสาเร็จได้ 4. ข้อจากัดในด้านประสิทธิภาพการทางาน ปัจจุบันความสามารถของโทรศัพท์เคลื่อนที่มีการ พัฒนา อย่างมาก แต่เมื่อเทียบกับความสามารถของคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะและแบบพกพา โทรศัพท์เคลื่อนที่ยังมี ประสิทธิภาพด้อยกว่าทั้งในด้านขนาดของหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีขนาดเล็ก ความละเอียดของหน้าจอต่า ความเร็วในการประมวลผล และหน่วยความจาที่น้อยกว่าเพื่ออานวยความ สะดวกในการพกพา ทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ จาเป็นต้องมีขนาดเล็กลงและประสิทธิภาพการทางานต้องลดลงไปด้วย ดังนั้นเพื่อความรวดเร็วในการเข้าถึง ข้อมูล นักพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ จาเป็นต้องออกแบบให้ขนาดของตัวอักษรมีขนาดเล็กลง กราฟิกที่ใช้ในการนาเสนอเนื้อหาสาระต่าง ๆ มี ขนาดและความละเอียดที่ลดลง ทาให้ความสวยงามของหน้าจอ ด้อยกว่าการใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั่วไป ถึงแม้ว่าโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถขยายขนาดของตัวอักษรบน หน้าจอได้แต่ผู้ใช้อาจไม่สะดวกใน การอ่านสารสนเทศผ่านการเลื่อนหน้าจอไปมา 5. การแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ใช้ระบบปฏิบัติการแตกต่างกันของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ปัจจุบัน ระบบปฏิบัติการ สาหรับใช้ในโทรศัพท์เคลื่อนที่มีหลากหลาย เช่น iOS, Android, Windows phone เป็น ต้น ซึ่งเป็นข้อจากัดของ ห้องสมุดในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สาหรับบริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ให้ครอบคลุมผู้ใช้ที่ใช้ ระบบปฏิบัติการแตกต่างกัน บทสรุป จากอัตราการเจริญเติบโตของการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ และความสามารถของเทคโนโลยี ดิจิทัลใน ปัจจุบัน ช่วยขยายช่องทางในการให้บริการสารสนเทศต่าง ๆ ของห้องสมุดกับผู้ใช้บริการมากขึ้น ซึ่งเป็นการ ให้บริการเชิงรุกสู่สังคมของห้องสมุดแต่อย่างไรก็ตามการพัฒนาบริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ให้ประสบ ความสาเร็จนั้น ห้องสมุดจาเป็นต้องคานึงถึงความพร้อมของห้องสมุดและผู้ใช้ ห้องสมุดของตนเองเป็นสาคัญ เพื่อที่จะได้เพิ่มโอกาสในการพัฒนาบริการสารสนเทศผ่าน โทรศัพท์เคลื่อนที่ให้ประสบความสาเร็จยิ่งขึ้น เพราะ หากผู้ใช้ไม่มีความพร้อมหรือไม่ยอมรับนวัตกรรมการ บริการสารสนเทศรูปแบบใหม่ ก็จะส่งผลให้บริการที่พัฒนา นั้นประสบความล้มเหลวได้เช่นกัน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 56 เอกสารอ้างอิง กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554 2563 ของประเทศไทย ICT 2020. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. ผู้จัดการออนไลน์. (2555). 3 เดือนโลกขายโทรศัพท์มือถือ 444 ล้านเครื่อง. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2555,จาก http://www.manager.co.th/cyberbiz/ViewNews.aspx?newsid=9550000133462 ผู้จัดการออนไลน์. (2555). เฟซบุ๊กทวิตเตอร์ทายอดส่ง “SMS อวยพร” ลดฮวบหลายชาติ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้ จาก http://mgr.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9550000000481 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. (2552). บทสรุปผู้บริหารแผนแม่บท เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย พ.ศ. 2552 2556 [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://www.mict.go.th/download/ICT_masterplan/01_ICTMP_ES_revised_v3.doc(1).pdf สมาน ลอยฟ้า; และคนอื่น ๆ. (2555). พฤติกรรมการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย ขอนแก่น.วารสารสารสนเทศศาสตร์. 30(3): 54 69. สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สรุปผลที่สาคัญ : สารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ครัวเรือน พ.ศ. 2555. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/ict_hh55_pocket.pdf สุชาดา พลาชัยภิรมย์ศิล. (2554). แนวโน้มการใช้โมบายแอพพลิเคชั่น. วารสารนักบริหาร. 31(4): 110 115. K. B.; et al. (2012). The Implementation of Embedded Quick Response Codes into Library Resource to Improve Service Delivery. [Online[ http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3257488/#mlabAvailable 100 01 14 Ramsden1 Kroski, E. (2008). On the Move with the Mobile Web: Libraries and Mobile Technologies. [Online[ Available http://eprints.rclis.org/bitstream/10760/12463/1/mobile_web_ltr.pdf Mills, K. (2009). M Libraries:Information Use on the Move [Online[ Available http://arcaduaproject.lib.cam.ac.uk

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 57 Nicholas, D.; et al. (2006). Characterising and Evaluating Information Seeking Behavior ina Digital Environment: Spotlight on the “Bouncer”. Information Procesing and Management. 43: 1085 1102. [Online[ Available http://ac.elscdn.com/S0306457306001506/1 s2.0 S0306457306001506 main.pdf?_tid=cecf258c 271d11e2 8224 00000aacb361&acdnat=1352102155_ 350e991108b9480845f5ea1585987f8e Phan, Kenny; & Daim, Tugrul. (2011). Exploring Technology Acceptance for Mobile Services Journal of Industrial Engineering and Management. 4(2): 339 360. Retrieved April 24,2012, [Online[ Available http://www.jiem.org/index.php/jiem/article/view/294/125 Ramsden, A.; & Jordan, L. (2009). Are Students Ready for QR Codes? Finding from a Student Survey at the University of Bath. [Online[ http://opus.bath.ac.uk/12782/1/qrcodes_student_survey_uniofbath_feb09.pdfAvailable State Library of South Australia. (2012). Walking Tours for Mobile Devices. [Online[ Available Thomas,http://guides.slsa.sa.gov.au/content.php?pid=326499&sid=2671612LisaCarlucci.(2010). Gone Mobile? (Mobile Libraries Survey 2010). [Online[ Available 403/gone_mobile_mobile_libraries_survey.html.csphttp://www.libraryjournal.com/lj/ljinprintcurrentissue/886987 Virginia Polytechnic Institute and State University. (2012). Newman Library Tour Options. [Online[ Available http://www.lib.vt.edu/instruct/toursked.html Vollmer, T. (2010). There’s an App for that! Libraries and Mobile Technology: An Introductionto Public Policy Considerations [Online[ University/mobiledevices.pdfhttp://www.ala.org/offices/sites/ala.org.offices/files/content/oitp/publications/policybriefsAvailableofBath.(2012). What is a QR Code? [Online[ Available, http://www.bath.ac.uk/library/services/qrcode.html White, M. (2010). Information Anywhere, Any When: The Role of the Smartphone Business Information Review. 27(4): 242 247. [Online[ http://bir.sagepub.com/content/27/4/242.full.pdf+htmlAvailable

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 58 แนวทางการใช้ GB Dos Modelเพื่อพัฒนาศักยภาพกาลังคนพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) Approaches to using GB Dos MODEL to develop the Potential of the manpower in Eastern Economic Corridor (EEC) ดร.โสภางค์พักตร์ หร่ายเจริญ Sopangpak Raicharoen นักวิชาการอิสระผู้เชี่ยวชาญการพัฒนาศักยภาพบุคคคล Master Coach : Life University บทคัดย่อ การพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา ศักยภาพกาลังคนให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการสร้าง องค์กรภาคอุตสาหกรรม และพันธกิจอื่น ๆ ซึ่งจะเป็นการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ ยัง เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้สร้างสรรค์ และการดาเนินการพัฒนาศักยภาพกาลังคนเพื่อออกสู่ในระดับชาติได้ อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น คาสาคัญ : จีบี ดอส โมเดล ศักยภาพ กาลังคน ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก Abstract The purposes were developing your own potential to achieve your goals Promoting and supporting the development of effective manpower potential and more quality It also promotes and supports the creation of industrial organizations and other missions which will be another response to the national strategy It also encourages and encourages creativity. and the implementation of the development of manpower capacity to reach the national level more widely Keyword : GB Dos Model Potential manpower EEC

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 59 บทนา การพัฒนาศักยภาพกาลังคนรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก เป็น การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพกาลังคนให้มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเป็นการ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์กรภาคอุตสาหกรรม และพันธกิจอื่น ๆ ซึ่งจะเป็นการตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ ชาติอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้สร้างสรรค์ และการดาเนินการพัฒนาศักยภาพ กาลังคนเพื่อออกสู่ในระดับชาติได้อย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น ความเป็นมา นับตั้งแต่การศึกษาเกี่ยวกับสมองและประสาทของซิกมันส์ ฟรอยด์ ( Sigmund Freud, 1920) นัก ประสาทแพทย์ชาวออสเตรีย และบิดาแห่งทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis หรือ Psychoanalytic theory) ซึ่งเป็นพื้นฐานของวิธีการรักษาทางจิตผ่านการพูดคุยระหว่างคนไข้กับจิตแพทย์ผู้ทาการวิเคราะห์ฟรอยด์ไม่เชื่อว่ามนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ตัดสินใจอย่างมีเหตุผลและเป็นผู้กาหนดชีวิตตนเอง เนื่องจาก ประสบการณ์ส่วนใหญ่ของชีวิต อารมณ์ ความเชื่อ ความรู้สึก และแรงขับที่เป็นรากฐานของประสบการณ์ถูกเก็บไว้ ภายในจิตไร้สานึก ที่ซึ่งจิตที่รู้ตัวหรือจิตสานึกไม่สามารถเข้าถึงได้ แต่ส่วนที่ควบคุมไม่ได้นี้กับมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์อย่างมากที่สุด ในขณะที่จิตที่มนุษย์เข้าถึงได้ถือเป็นส่วนเล็กน้อยของภาพรวม ของจิตของบุคคลเท่านั้นโดยมีคากล่าวว่า เมื่อเราตัดสินใจเลือกกระทาอะไรบางอย่างด้วยตัวเอง จริงๆแล้วจิตไร้ สานึกได้ตัดสินให้เราไปก่อนหน้านั้นแล้วประมาณ2 3 นาที ไม่ใช่เราเป็นผู้รู้ตัวที่ตัดสินใจ ในช่วงพัฒนาการทางร่างกายของมนุษย์ ระบบประสาท (Nervous System) เป็นระบบแรกที่พัฒนาขึ้นมาหลัง กระบวนการปฏิสนธิของสเปิร์มและไข่ ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย รวมถึงการ รับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาท ส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS) และระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous System: PNS)ระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System) คือ ระบบศูนย์กลางการควบคุมการทางานของ ร่างกาย ทั้งด้านกลไกการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อโครงร่างและกระดูก รวมกึงการตอบสนองทางปฏิกิริยาเคมี ภายใต้อานาจของจิตใจประกอบด้วยเส้นประสาทจานวนหลายล้านเส้น ทาหน้าที่จัดส่งข้อมูลในรูปของกระแส

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 60 ประสาทจากศูนย์กลางการควบคุมซึ่งประกอบด้วยอวัยวะสาคัญ 2 ส่วน คือ สมองและไขสันหลังที่ทางานร่วมกัน ผ่านเซลล์ประสาท มีหน้าที่ประสานงานการรับและส่งข้อมูล หรือกระแสประสาท จากทุกส่วนของร่างกาย สมองของเรานั้นมีสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็น “เคล็ดลับ” อันเป็นจุดตัดสินความ “สาเร็จ” หรือ “ล้มเหลว” ที่เรียกว่า “นิวรอน” ที่เป็นประจุไฟฟ้านับล้านๆ Cell เกาะตัวกันเป็น “ร่างแห” เหมือน “เครือข่ายใยแมงมุม” มีแขนที่แผ่ กิ่งก้านสาขาออกไปเหมือนกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ที่เรียกกันว่า “แอกซอน” ในทางวิทยาศาสตร์เชื่อกันว่ามี “นิวรอน” อยู่ในสมองของเราทุกคนเต็มไปหมดนับล้านๆ เซลล์ สาหรับ “แอกซอน” เป็นการเชื่อมต่อของ “นิวรอน” ด้วยประจุไฟฟ้าของ “นิวรอน” กับ “แอกซอน” ส่งต่อกันไป มาในสมอง เมื่อใดที่เราคิดด้านลบ “นิวรอน” ก็จะส่งกระแสประจุไฟฟ้าที่เป็นลบนับล้าน เซลล์ออกมา ประจุไฟฟ้า ที่ส่งออกมานั้นสามารถรับรู้ได้ว่า “อารมณ์” ในช่วงนั้นได้ว่ากาลังรู้สึกผิดหวัง , เคร่งเครียด , โศกเศร้า ซึ่งล้วนแต่ เป็นความคิดด้านลบ เชื่อมต่อกันเป็นล้านๆ Cell ของ “นิวรอน” ด้านลบ เป็นเสมือนการตอกย้าซ้าๆ ว่าชีวิตต้อง เจอกับปัญหาและอุปสรรคต่างๆ มากมายที่แก้ไม่ได้เสียที ชีวิตจะไม่ประสบความสาเร็จ ยิ่งคิดลบมากเท่าไหร่ ก็ทา ให้ยิ่งผิดหวัง ยิ่งเสียใจเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น เป็นการคิดซ้าๆ ย้าๆ คิดทุกวัน , เป็นเดือน , เป็นปี จนสมองเชื่อสนิทใจ เพราะสมองคิดตาม “อารมณ์” ด้านลบผลคือ “นิวรอน” ลบก็ขยายตัวใหญ่ขึ้นและก็ใหญ่ขึ้นกลายเป็นโครงข่ายที่ แข็งแรงเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เราเครียดง่าย , โกรธง่าย , จิตหมองเศร้าง่าย เกิดเป็นทัศนคติในด้านลบอยู่ตลอดเวลา เพราะสมองได้ถูกสอนให้รับรู้ว่าทาอะไรก็จะไม่ประสบความสาเร็จ , จะต้องมีปัญหาอุปสรรคมากมาย เลยเป็นที่มา ของความล้มเหลวแบบซ้าซาก ซึ่งบรรดาคนเหล่านี้มักจะโทษทุกสิ่งอย่างรอบตัวว่าเป็นต้นเหตุแห่งความล้มเหลว (ยกเว้นตัวเอง) ตรงนี้เป็น “เคล็ดลับ” ที่จะกาหนดอนาคตของชีวิตทั้งชีวิตคุณเลยทีเดียวว่า จะประสบความสาเร็จ อย่างยิ่งใหญ่หรือความล้มเหลวอย่างไม่เป็นท่า ยกตัวอย่าง เช่น “นิวรอน” ของชาวนา/ชาวไร่ในบ้านเราที่เป็น ลบ ก็จะเป็นตัวกาหนดอนาคต ชะตาชีวิตของชาวไร่/ชาวนาที่ยากจนว่าต้องเป็นลบ จะต้องจนประกอบอาชีพเป็น ชาวไร่ ชาวนาไปตลอดชีวิต/ตกอยู่ในสภาวะหนี้สิน/หาเช้ากินค่าไปตลอดชีวิตกระแสไฟฟ้าในด้านลบของ “นิวรอน” ที่เมื่อส่งออกไปแขนจะยืดออกมาจับกันกับประจุเดียวกัน เลยกลายเป็นร่างแหของ “แอกซอน” ที่เป็น ลบ รากของ “นิวรอน” เวลาส่งสื่อประสาทไฟฟ้าจะมีแขนจับอีกตัว “นิวรอน” ที่เป็นขั้วเดียวกันจะเห็นได้ว่า “นิวรอน” ที่เป็นลบ จะส่งแขนแห่งความทุกข์ออกมานับล้านๆ เซลล์ค่อยๆ กางราก , แผ่กิ่งก้านสาขาออกไป , หา เพื่อนขั้วเดียวกัน เป็นประจุไฟฟ้าที่เป็นลบจับขั้วเดียวกันเป็นการตอกย้าซ้าเติมให้รับรู้ว่า “ชีวิต” ระทมทุกข์จะต้อง เป็นอย่างนั้น อย่างนี้ ผลสุดท้ายก็เลยกลายเป็นคนอ่อนแอ , ท้อแท้ แบกทุกข์เอาไว้อยู่ตลอดเวลา ด้วยผู้เขียนบทความได้รับความรู้จาก ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของ ซิกมันส์ ฟรอยด์ ( Sigmund Freud) บิดา แห่งทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ในด้านโครงสร้างของจิต (Freud’s mental structure) เรื่องของจิตสานึก ( Conscious mind )และจิตใต้สานึก( Unconscious mind ) และได้ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 61 ประสาทส่วนกลางที่แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1.สมอง(Brain) 2.ไขสันหลัง( Spinal) 3.เซลล์ประสาท (Neuron) โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึก(Sensory Neuron)ทามีหน้าที่รับความรู้สึกจากส่วนต่างๆของร่างกายเข้าสู่สมอง และไขสันหลัง และเซลล์ประสาทสั่งการ(Moter Neuron)ทาหน้าที่นากระแสประสาทออกจากสมองและไชสัน หลังส่งไปยังกล้ามเนื้อและต่อมต่างๆภายในร่างกาย และเซลล์ประสาทประสานงาน(Association Neuron)ทา หน้าที่เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างเซลล์เพื่อส่งสัญญานภายในร่างกายดาเนินไปอย่างราบรื่น ความสความลับของสมองในด้านความสัมพันธ์ของนิวรอนและแอกซอนที่เกี่ยวข้องกับความคิดของมนุษย์ที่จะนและได้ค้นพบเกี่ยวกับาไปสู่าเร็จในชีวิต กรอบแนวคิด GB D0s MODEL ผู้เขียนจึงได้จัดทาแนวทางเรื่องความคิดพิชิตความสาเร็จขึ้นมาในรูปแบบของโมเดล เป็นแนวทางสู่ ความสาเร็จของกาลังคนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ด้วย “ GB Dos Model” มี กระบวนการ 5 ขั้นตอน1)GOAL (การวางเป้าหมาย) 2) BELIEVE (ความเชื่อ) 3) DECESION(การตัดสินใจ) 4) OBSESSED (ความหมกมุ่น) 5) SUCCEED( ซึ่งผู้เขียนบทความมีความเชื่อมั่นว่าถ้าผู้ที่ได้ศึกษาความสาเร็จ)“GB Dos Model” เมื่อมีเป้าหมายที่ตนเองวางไว้ และเชื่อในเป้าหมายว่าสาเร็จ ทันทีที่ได้ตัดสินใจและลงมือทาอย่างหมกมุ่น จะได้ประสบกับผลสาเร็จในชีวิตอย่าง แน่นอน ดังภาพ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 62 ภาพประกอบที่ 1 แสดง GB Dos Model จากภาพ มีรายละเอียดดังนี้ 1) เป้าหมาย LIFE GOAL หมายถึงสิ่งที่ตนเองให้ความสาคัญและปรารถนาจะให้เกิดขึ้นในอนาคตและเป็นแรงจูงใจให้ตนเองมีพลัง การมี เป้าหมายในชีวิตจะช่วยให้มนุษย์ใช้ชีวิตอย่างมี ความหมาย มีความหวัง และมีทิศทางที่จะมุ่งไปสู่อนาคต 2) BELIEVEความเชื่อหมายถึงความเชื่อ โรคีช(M. Rokeach) ได้อธิบายความหมายของความเชื่อว่า หมายถึง “ความคิดใดๆ ที่เป็นไปได้ หรือ แน่ใจเกี่ยวกับการมีอยู่ การเป็นอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรทาหรือไม่ควรทา ทั้งนี้เป็นปัจจัยที่ทาให้คนแสดงพฤติกรรม ตามความเชื่อนั้น”ทัศนีย์ทานตวณิช (2523) กล่าวว่า “ความเชื่อคือการยอชมรับนับถือว่าเป็นความจริง หรือมีอยู่จริง การยอมรับหรือการยึดมั่นนี้ อาจมีหลักฐานเพียงพอที่จะพิสูจน์ได้ หรืออาจไม่มีหลักฐานที่จะพิสูจน์สิ่งนั้นให้เห็น จริงได้” สุนทรี โคมิน (2539) กล่าวว่า “ความเชื่อเป็นความนึกคิดยึดถือ โดยที่เจ้าตัวจะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม รอบรับก็ได้ใดอย่างหนึ่งว่าเป็นความจริงเป็นสิ่งที่สามารถจะศึกษาและวัดได้จากคาพูดและการกระทาของคน”สถาพรศรสัจจัง(2533)ให้ความหมายของความเชื่อไว้ว่า“ความเชื่อหมายถึงการยอมรับข้อเสนออย่างการยอมรับนี้อาจจะเกิดจากสติปัญญาเหตุผลหรือศรัทธาโดยไม่ต้องมีเหตุผลใดๆ”

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 63 สรุปได้ว่า ความเชื่อ หมายถึง ความคิด ความเข้าใจและการยอมรับ นับถือ เชื่อมั่นในสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยไม่ต้องมีเหตุผลใดมาสนับสนุนหรือพิสูจน์ ทั้งนี้บางอย่างอาจมีหลักฐานอย่างเพียง 3) DECISIONความสการตัดสินใจาคัญของการตัดสินใจ เป็น ความสามารถในการทางานหรือการบริหารงาน นอกจากจะต้องมี ความรู้ความสามารถในงานที่ปฏิบัติแล้วสิ่งสาคัญประการหนึ่งของผู้ปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหัวหน้างานหรือ ผู้บริหารก็คือ การตัดสินใจ (Decision Making) การตัดสินใจก็จะเกิดผลดีมากที่สุดและเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุดที่ดีและมีกระบวนการที่ดีให้การตัดสินใจองค์การของผู้เรื่องที่ตัดสินใจนั้นเป็นเรื่องใหญ่ๆการเลือกชุดที่จะใส่หลีกเลี่ยงเรื่ทั้งนี้เพราะการตัดสินใจจะมีอยู่ในแทบทุกขั้นตอนและทุกกระบวนการของการทการตัดสินใจเปรียบเสมือนหัวใจของการปฏิบัติงานและบริหารงานางานแม้แต่บุคคลทั่วไปก็ไม่อาจองการตัดสินใจได้นับตั้งแต่บุคคลตื่นขึ้นมาก็จะมีการตัดสินใจในเรื่องต่างๆอยู่ตลอดเวลาไม่ว่าจะเป็นเวลาที่จะออกจากบ้านเส้นทางที่จะใช้เดินทางเป็นต้นแต่ดูเหมือนว่าการตัดสินใจในเรื่องทั่วไปเหล่านี้เป็นเรื่องที่ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมายนักแม้ตัดสินใจแล้วผิดพลาดก็สามารถแก้ไขได้ไม่ยากแต่ถ้าซึ่งหมายถึงเรื่องที่หากตัดสินใจแล้วผิดพลาดจะเกิดความเสียหายการตัดสินใจนับว่าเป็นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่งต่อชีวิตและการทางานของบุคคลและถือเป็นบทบาทที่สาคัญนาหรือผู้บริหารในการจัดการหรือบริหารงานซึ่งจะนาพาให้เกิดความอยู่รอดหรือไม่ของกลุ่มหน่วยงานหรือการตัดสินใจที่ดีนั้นจะก่อให้เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุดดังนั้นผู้ที่จะตัดสินใจจึงควรหาข้อมูลหรือมีข้อมูลตลอดจนตระหนักถึงสาเหตุที่ทาให้เกิดการตัดสินใจผิดพลาดอีกด้วยแล้ว4) OBSESSED หมายถึงสิ่งที่ได้ถูกฝังแน่นในดวงจิตเมื่อใจเธอหมกมุ่นอยู่กับอะไรสักอย่างความหมกมุ่น เธอจะกรองเอาสิ่งอื่นๆออกไป และจะ เจอแต่สิ่งนั้นในทุกหนแห่ง5) SUCCEED ประสบความสาเร็จ เป็นสภาพการที่ได้บรรลุถึงเป้าหมายความต้องการที่ตั้งไว้แล้วเกิด ความสุข ความคิดพิชิตความสาเร็จ( ความลับสมอง) มนุษย์แต่ละคน ทาไมบางคนถึงล้มเหลวซ้าๆ บางคนประสบความสาเร็จซ้าๆ บางคนมีความรักต่อเนื่อง สมหวังซ้าๆ อย่างเช่นประเทศไทย มีนักศึกษาบางคน เรียนได้เกรด 2 เกรด 3 ไม่เคยได้ 4 เลย ทาไมเป็นเช่นนั้น บางคนค้าขาย เจ๊งแล้วเจ๊งอีก ทาแล้วไม่สาเร็จ บางคนทามาค้าขายระหว่างประเทศ ส่งออกสินค้า บางคนส่งออก ได้กาไรบางคนส่งออกขาดทุนไหนจะมีเรื่องของแม่ค้า เรื่องเกษตรกร ทาไมเกษตรกรบางคน ปลูกพืชอะไร เสียหาย ตลอด หรือปลูกพืชอะไรแล้ว สาเร็จตลอด มันเกิดอะไรขึ้น มีความลับที่นักวิทยาศาสตร์ ไปไขดูในสมองมมนุษย์

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 64 ศึกษากันมาหลายสิบปี เขาพบว่า ในสมองมนุษย์มีสิ่งหนึ่ง ที่เรียกว่านิวรอน นิวรอน เป็นลักษณะเหมือน โครงข่าย ใยแมงมุม มีแขนเป็นรากเหมือนต้นไม้ เรียกว่า แอกซอน ตัวนิวรอน อยู่ในสมองมนุษย์เป็นล้านๆ เซลล์ มีแขนขา ยื่นออกมา เหมือนใยแมงมุม เหมือนรากต้นไม้ มากมายมหาศาล แขนขาที่ยื่นออกมา มันเชื่อมต่อ ระหว่างนิวรอน ด้วยกัน ด้วยการต่อประจุไฟฟ้า เวลาสมองคิด เครียดกังวล สมหวังผิดหวัง มันจะส่งกระแสไฟฟ้า วัดเป็น กระแสไฟฟ้าได้จริง เชื่อมต่อระหว่างเซลล์เป็นล้าน ๆ เซลล์ ส่งกันไปมา สภาพการณ์เมื่อคิดลบ นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสมองมนุษย์มีความโน้มเอียงที่จะคิดลบ เพราะถูกสร้างขึ้นมาด้วย “อคติเชิงลบ” ซึ่ง เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดและการดารงเผ่าพันธุ์ตลอดประวัติ ศาสตร์ ข้อสังเกตสาคัญคือ มนุษย์จะมีปฏิกิริยาตอบโต้และจดจาการถูกลงโทษมากกว่าการได้รับรางวัล เช่น ในยุคสังคมเร่ร่อน หากออกล่า สัตว์แล้ว กวางตัวที่จะยิงได้หนีไปเสียก่อน เราก็ยังล่ากวางตัวใหม่ได้ แต่ถ้าเราไม่สามารถหลบพายุหรือภัยธรรมชาติ หรือไม่สามารถเอาชนะศัตรูต่างเผ่า นั่นหมายถึงไม่เพียงชีวิตที่ต้องสูญสิ้นเท่านั้น แต่อาจหมายถึงการสูญสิ้น เผ่าพันธุ์ไปเลยก็เป็นได้ (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2556) เมื่อเราคิด ด้านลบ มีความเครียด ค้าขายแล้วเจ๊ง คิดแล้วเจ๊งตลอด มันก็จะส่งกระแสลบ คือเซลล์ที่ ออกมา มันเป็นเซลล์รับรู้ในเรื่องที่ผิดหวัง เครียดเศร้า ติดลบ เซลล์ที่ส่งออกมาเป็นประจุไฟฟ้า เชื่อมต่อกัน ตัวนึง มาต่ออีกตัวนึง ต่อกันเป็นโครงข่ายเป็นล้าน ๆ เซลล์ ยิ่งคิดลบยิ่งผิดหวัง เสียใจ ค้าขายแล้วเจ๊ง ทาการเกษตรแล้ว เจ๊ง เรียนหนังสือไม่เก่ง ผิดหวังในความรัก เงินเดือนไม่ขึ้น งานไม่ก้าวหน้า การเลื่อนขั้นต่าง ๆ ไม่ก้าวหน้า คิดอย่าง นี้ซ้าไปซ้ามา จาก 1 อาทิตย์ เป็นหนึ่งเดือน เป็นปี นิวรอน ใหญ่ขึ้น จับกันเป็นโครงข่าย แข็งแรง เมื่อมันแข็งแรงได้ที่ คน ๆ นั้นจะมีลักษณะ พฤติกรรม เครียดง่าย เศร้าง่าย คิดสิ่งใดก็ไม่ประสบ ความสาเร็จ เพราะสมอง ได้บันทึก เรื่องความไม่สาเร็จ อย่างมั่นคง และนิวรอน ที่มีอยู่มหาศาล(ที่ใส่สีเข้าไปทาให้ ดูง่ายๆ) มันทาให้ กระบวนการในการส่งถ่ายข้อมูล ในสมองของมนุษย์ รับรู้ว่าทาอะไรต้องไม่สาเร็จเพราะสมองคิด ว่าทาอะไรไม่สาเร็จนักพฤติกรรมศาสตร์ นักจิตวิทยา ระบุว่า ทาไมคนถึงล้มเหลวซ้า ๆ เพราะการสร้างโครงข่ายนิวรอน แล้ว เอาแขน แอพซอน เชื่อมต่อกัน มันเชื่อมต่อแต่เรื่องลบหมดเลย สิ่งนี้เป็นตัวกาหนด อนาคตของคน มนุษย์คนนั้นที่ เป็นมนุษย์เงินเดือน ก็กินเงินเดือนตลอดชีวิต เป็นข้าราชการตลอดชีวิต เป็นแรงงานตลอดชีวิต เป็นนักศึกษาตลอด ชีวิต เป็นนักธุรกิจตลอดชีวิตในขณะช่วงเวลาที่มนุษย์คิดลบ จะสังเกตว่า นิวรอนแบบส่งกระแสไฟฟ้าที่ส่งไปมันจะยื่นออกไปจากกัน เวลามันส่งกระแสไฟฟ้าต่อเนื่องอย่างถ้าเราคิดลบ เครียด กังวล ซึมเศร้า หดหู่ ผิดหวัง เสียใจ ร้องไห้รากของมัน

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 65 จะแตกออกมาศึกษาลงไปพบว่า รากของนิรอน เวลาส่งสื่อประสาทไฟฟ้ามันจะมีแขนมัดจับกับอีกตัวนึงที่เป็นขั้ว เดียวกันเป็นเมื่อไหร่ที่คิดลบล้านๆจุด แขนด้านลบมันรับรู้ว่าอันนี้เป็น ความเศร้า เป็นความผิดหวัง เป็นความเครียด เป็น ความกังวล มันจะค่อยค่อยกางรากออกมาแล้วหาเพื่อนที่เป็นขั้วเดียวกันจับ มันหาขั้ว จับส่งกระแสไฟฟ้าจับ พอ จับติด มันเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายรับรู้ว่า ชีวิตเราไปไหนไม่ได้จนตลอดชีวิตเป็นแรงงานตลอดชีวิต เป็นเถ้าแก่ไม่ได้ รวยไม่ได้ เป็นคนจนตลอดชีวิต นี่คือความลับของสมองมนุษย์ กระบวนการคิดบวก (จากจุดตกต่แต่ความสุขเราประสบความสวันซ้เกรดคนคอมพิวเตอร์พรรโณภาพ,พฤติกรรมการแสดงออกที่เหมาะสมและดีงามความเป็นเหตุเป็นผลและความเอื้ออาทรจากการมีรูปแบบการรับรู้และการรู้คิดไปในทิศทางที่ดีเชื่อในความเป็นไปได้ของเหตุการณ์บนพื้นฐานความเป็นจริงความหมายของการคิดเชิงบวกเป็นได้ทั้งกระบวนการในการคิดและผลที่เกิดจากการคิดของบุคคลอันเกิดมีความมุ่งมั่นเชื่อมั่นในตนเองและควบคุมอารมณ์ได้ส่งผลให้บุคคลมีโดยการคิดเชิงบวกเป็นทักษะสาคัญของการดารงชีวิต(พิทักษ์สุ2561)กระบวนการสร้างความคิดบวกจะเป็นการเข้าไปปรับมโนภาพปรับทัศนคติในสมองเหมือนไปรีเซ็ตข้อมูลในเครื่องใหม่ลบข้อมูลบางอันทิ้งและจัดเรียงไฟล์ใหม่และทาทางเดินของนิวรอนใหม่ทันทีที่ๆนั้นคิดบวกมีความหวังอนาคตที่จะโตถ้ารับราชการก็จะก้าวหน้าเงินเดือนจะขึ้นโบนัสจะมาคนที่เรียนได้2เกรด3ถ้ามีความคาดหวังก็จะได้4หรือได้เอปรับทัศนคติตั้งความหวังใหม่ให้คิดเรื่องบวกและทาทุกาๆเกิดความคิดบวกและคิดสมหวังเราทาการค้ามีกาไรเราก็จะมีแต่นิวรอนที่มีความสุขเวลาเราแต่งงานาเร็จการศึกษานิรอนที่ส่งแขนความสุขมันจะออกมาเมื่อมีโครงข่ายคิดบวกคนๆนั้นก็จะมีมองโลกเป็นบวกนี่คือความลับเศรษฐีนักธุรกิจนักกีฬาของสหรัฐอเมริกาใช้กลไกความรู้อันนี้ฟื้นาลุกขึ้นมายืนสู่จุดสูงสุดได้การคิดบวกจะสร้างเซลล์ในสมองใหม่จับขั้วใหม่เปลี่ยนทางเดินใหม่ wisarn, 2560) สรุป ความลับของมนุษย์เกี่ยวกับความคิดเพื่อการปฏิบัติงานและสร้างความสาเร็จให้กับชีวิต คิดบวกซ้าๆแบบนี้ ต่อเนื่องเจ็ดวัน เพียงแค่เจ็ดวันเวลาที่เจอเรื่องลบให้ตัดทิ้ง รับรู้ว่าไม่เอา คิดแต่เรื่องบวก 7 วันนี้เค้าใช้ คอมพิวเตอร์สไลด์แล้วใช้เทคโนโลยีเข้าไปดูอณูขนาดเล็กในสมอง พบว่าทางเดินทางเดินของแอคซอนคือขาของ มันใหญ่ขึ้น ทันทีที่คิดด้านบวก ได้มีการส่งสัญญาณด้านบวกไปยังจักรวาล ก็แปลว่าได้กาลังดึงสิ่งบวกๆเข้ามาใน ชีวิตจะมีเรื่องดีดีวิ่งเข้ามาในชีวิต ถ้าคิดด้านลบค้าขายแล้วไม่ดีแน่ หลายครั้งยังไม่ทันลงมือทาก็รู้สึกดีแล้ว แต่ถ้า

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 66 คิดด้านบวกสาเร็จมาครึ่งนึง สิ่งบวกๆ จะเข้ามาที่ เคยขายไม่ได้ก็จะขายดีขึ้นเรียนไม่เคยเก่งก็จะเก่งขึ้น เป็น เพราะมั่นใจมีเป้าหมายนี่ คือความสาคัญของความลับของสมองมนุษย์คนที่ประสบความสาเร็จหรือไม่อยู่ที่ตรงนี้ เอกสารอ้างอิง เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2556). เอาชนะธรรมชาติสมองชอบคิดลบ. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก http://drdancando.com/เอาชนะธรรมชาติสมองชอบคิดลบ/ ทัศนีย์ ทานตวณิช. (2523). คติชาวบ้าน. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒบางแสน. พิทักษ์ สุพรรโณภาพ (2561) การคิดเชิงบวก : ตัวแปรในการพัฒนาชีวิต. Veridian E Journal 11( 3), 1958 1978. สุนทรี โคมิน และ สนิท สมัครการ. (2522). รายงานการวิจัยเรื่อง ค่านิยมและระบบค่านิยมไทยเครื่องมือในการ สารวจวัด. สุภาพรรณ ณ บางช้าง. (2535). พุทธธรรมที่เป็นรากฐานไทยสมัยสุโขทัยถึงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Rokeach, Milton. 1970. Beliefs, Attitudes and Values. San Francisco : Jossey Basso, Inc. Sigmund Freud, (1920). A General Introduction to Psychoanalysis. New York: Boni and Liveright Wisarn. (2560). ไขความลับสมองมนุษย์ที่กาหนดชะตากรรมของเรา. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://steemit.com/thai/@wisarn/5w6v7j

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 67 เพื่อตอบโจทย์ภาคการผลิตตามนโยบายการปฏิรูปการอุดมศึกษาไทยโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่และกการออกแบบหลักสูตราลังคนที่มีสมรรถนะสาขา (การซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบราง) ประเภทประกาศนียบัตร (Non Degree) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ภูสมมา1 Asst.Prof.Dr.Prasit Phuusomma อาจารย์ สถาพร เจริญศุภโชคกุล2 Sathaporn Charernchokkul อาจารย์ประจาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี 1.รายละเอียดหลักสูตร 1.1 ชื่อมหาวิทยาลัย: (มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี) (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) 1 2 ชื่อหลักสูตร โมดูล เรื่อง: (การซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบราง) 1.3 ชื่อหน่วยงานหรือสถานประกอบการที่ร่วมการจัดการเรียนการสอนนอกพื้นที่ EEC (1) การรถไฟแห่งประเทศไทย (2) บริษัท ทริพเพิล เอ็กซ์เพิร์ท จากัด (3) บริษัท ทรานส์ ไทย เรลเวย์ จากัด (4) บริษัท เอ็น สแคว์ เอ็นจิเนียริ่ง จากัด (5) บริษัท อาซีฟา (จากัด) มหาชน (6) บริษัท ออโต ไดแด็กติก จากัด (7) บริษัท เยนเนอรัล อินสทรูเม้นท์ ชื่อหน่วยงานหรือสถานประกอบการที่ร่วมการจัดการเรียนการสอนในพื้นที่จากัด EEC 1.4 ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ชื่อ เบอร์โทรศัพท์และ e mail) 1.4.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ภูสมมา 1.4.2 อาจารย์สถาพร เจริญศุภโชคกุล โทร. 092 816 3665 อีเมล sathaphon.c@dru.ac.th, charun17@hotmail.co.th 2. แผนการรับนักศึกษา 2.1 จานวนนักศึกษาต่อรุ่น 30 คน จานวน 3 รุ่นต่อปี

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 68 2.2 ระยะเวลาในการจัดการศึกษา (ช่วงเวลาเริ่มต้นจนจบหลักสูตร) (12) เดือน 2.3 จานวนชั่วโมงในการดาเนินการ 288 ชม. (ทฤษฎี 64 ชม. , ปฏิบัติ 224 ชม. ) ระยะเวลาตลอดหลักสูตร 3 เดือน (วัน/สัปดาห์/เดือน) * จัดการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตระบบทวิภาค โดยปฏิบัติจริงในสถานประกอบการไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ของจานวนหน่วยกิตทั้งหมด ทั้งนี้ จัดการเรียนการสอนทฤษฎี 15 ชม. = 1 หน่วยกิต และปฏิบัติ ในสถานประกอบการ 45 ชม. = 1 หน่วยกิต 2.4 กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการศึกษา 2.4.1 ผู้เรียนที่สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือระดับ ปวช 2.4.2 นิสิต/นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หรือผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปวส. 2.4.3 ผู้ที่ทางานแล้วและต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะ 2.4.4 ผู้ที่ทางานแล้วแต่ต้องการเพิ่มพูนสมรรถนะที่แตกต่างไปจากเดิม 2.4.5 ผู้สูงอายุหรือผู้ที่เกษียณแล้วต้องการจะประกอบอาชีพอื่นที่แตกต่างจากเดิม 3 3.1ระบุที่มาของการก.การออกแบบหลักสูตราหนดแนวคิด เหตุผล และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ในปัจจุบันภายใต้การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ นั้น ส่งผลให้โลกเราเกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างมากในทุกด้าน และประเทศต่าง ๆ ในโลกต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายจากกระแสการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นปกติไม่ว่าสมาชิกของสังคมจะต้องการหรือไม่ จะเห็นได้ว่า ในปัจจุบันมีการรวมตัวของกลุ่มประเทศมีการแข่งขันระหว่างภูมิภาค เกิดการไหลเวียนอย่างเสรีของสินค้าและ บริการ ตลอดจนการลงทุน มีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและเกิดการแข่งขันสูงโดยเฉพาะการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารที่ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ทาให้โลกทั้งโลกรู้แคบลง สามารถติดต่อถึงกันได้ง่ายขึ้นสิ่งต่าง ๆ ทั้งหลาย เหล่านี้ล้วนส่งผลต่อประเทศไทยด้วยเช่นกัน ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลืองที่เกิดขึ้นสร้างนวัตกรรมการศึกษาสังคมอื่นด้วยเช่นกันการแข่งขันเพื่อให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคมเพราะประเทศไทยจาเป็นต้องปรับตัวให้สามารถแข่งขันกับประเทศคนเป็นทรัพยากรและเป็นกลไกที่สาคัญของการพัฒนาคนจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้การพัฒนาคนจึงมักจะเริ่มต้นที่แนวทางการพัฒนาการศึกษาให้กับคนนั้นมีอยู่อย่างหลากหลายการพัฒนาแหล่งเรียนรู้สร้างองค์ความรู้และความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและพัฒนาระบบเทคโนโลยีอย่างเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งสาคัญและนอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มีความเสื่อมโทรมการใช้การเกิดภาวะโลกร้อนการเกิดภัยธรรมชาติและโรคชนิดใหม่ที่มีความรุนแรง

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 69 ยิ่งขึ้น ความรุนแรงทางการเมืองและการก่อการร้าย ล้วนเป็นปัญหาที่สังคมไทยต้องเตรียมความพร้อมที่จะ เผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงด้วย ดังนั้นในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 จึงมุ่งพัฒนา สังคมไทย โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันอย่างยั่งยืน รองรับต่อกระแสการเปลี่ยนแปลง ในทุกสถานการณ์ มุ่งพัฒนาประชาชนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีงาม มีหลักธรรมทางศาสนา มี ความรู้ความเข้าใจและมีจิตสานึกประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ตลอดจนมีทักษะและความรอบรู้อย่างเท่าทันกับ 8ตลาดแรงงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะทภายในและภายนอกประเทศสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยก็คือความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจจึงอาจกล่าวได้ว่าสิ่งที่จพัฒนาหลักสูตรแต่ละหลักสูตรจึงต้องมีความทันสมัยแนวทางการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาสถาบันการศึกษาจึงจอุดมศึกษาบนพื้นฐานของเสรีภาพทางวิชาการการพัฒนาที่ยั่งยืนของท้องถิ่นไทยในการสร้างความรู้และนวัตกรรมเพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพประเทศซึ่งกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยสาหรับองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเป็นสาคัญและเป็นกาลังหลักในการพัฒนาคนเพื่อเป็นอนาคตของได้วางกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว15ปีที่มีเป้าหมายต้องการ“ยกระดับคุณภาพอุดมศึกษาไทยสามารถปรับตัวสาหรับงานที่เกิดขึ้นตลอดชีวิตพัฒนาศักยภาพอุดมศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในยุคโลกาภิวัตน์สนับสนุนโดยใช้กลไกของธรรมาภิบาลการเงินการกากับมาตรฐานและเครือข่ายความหลากหลายและเอกภาพเชิงระบบ”เพราะฉะนั้นาเป็นจะต้องคานึงถึงความเปลี่ยนแปลงภายนอกเหล่านี้ที่เราไม่สามารถกาหนดได้มาพัฒนาเพื่อให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคมภายใต้ความเปลี่ยนแปลงในการทันต่อเหตุการณ์และมีวิสัยทัศน์ต่อไปข้างหน้าเพราะฉะนั้นาเป็นจะต้องนามาเป็นบริบทในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษาของสังคมการเมืองการปกครองทั้งร่วมทั้งในได้ก่อให้เกิดการสร้างระบบขนส่งทางรางทั้งภายในและภายนอกประเทศอันาให้ความต้องการภาคการขนส่งและการซ่อมบารุงมีความต้องการแรงงานอย่างสูงมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีจึงได้จัดทาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของและความต้องการของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่12ยุทธศาสตร์ที่การพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิจัยและนวัตกรรม [1] คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้ดาเนินการ จัดทาข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาในการจัดทาหลักสูตร ซึ่งพบว่าหลักสูตรวิศวกรรมการจัดการระบบราง เป็น หลักสูตรที่เป็นความต้องการตามแผนพัฒนากาลังคนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเพื่อตอบโจทย์ ภาคอุตสาหกรรมในอนาคต รวมทั้งรองรับการพัฒนาของประเทศในการหาคนทางานในการสร้างและขนส่งทาง ราง และผู้เรียนที่จบหลักสูตรนี้สามารถที่จะทางานได้ ซึ่งการจัดทาหลักสูตรนี้จาเป็นต้องใช้ผู้ที่มีประสบการณ์ หรือ สถานศึกษาที่เปิดการเรียนการสอนในหลักสูตรนี้มาแล้ว ดังนั้นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้จัดทา หลักสูตรวิศวกรรมการจัดการระบบราง ซึ่งจะได้นามาจัดทาเป็นหลักสูตรเพื่อเปิดการเรียนการสอน ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ร่วมกับสถานประกอบการ และการรถไฟแห่งประเทศไทยต่อไป

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 70 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร (1) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดทาแผนการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบรางได้ (2) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ สมรรถนะในการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบรางได้ 3.2 (สอดคล้องกับข้อกวิธีการกาหนดคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึ่งประสงค์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังเมื่อสาเร็จการศึกษาาหนดของโครงการ) 3.2.1 โบกี้ในระบบผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการจัดทาแผนงานการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของราง 3.2.2 โบกี้ในผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความเข้าในด้านมาตรฐานของการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของระบบราง 3.2.3 ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะ อย่างมีประสิทธิภาพและสามสมรรถนะในการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบรางได้ารถนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ 3.3. แสดงวิธีการร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษากับสถานประกอบการในการจัดทาหลักสูตรในการ up skill และหรือ re-skill อย่างชัดเจน (Non-Degree) ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี และสถานประกอบการดังนี้ (1) การรถไฟแห่งประเทศไทย (2) บริษัท ทริพเพิล เอ็กซ์เพิร์ท จากัด (3) บริษัท ทรานส์ ไทย เรลเวย์ จากัด (4) บริษัท เอ็น สแคว์ เอ็นจิเนียริ่ง จากัด (5) บริษัท อาซีฟา (จากัด) มหาชน (6) บริษัท ออโต ไดแด็กติก จากัด (7) บริษัท เยนเนอรัล อินสทรูเม้นท์ จากัด เป็นการ up skill โดยมุ่งเน้นให้ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาตัวเองและฝึกทักษะในสถานประกอบการและได้ เรียนรู้ในสถานการณ์จริง 3.4 เป้าประสงค์ของหลักสูตร (1) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดทาแผนการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบรางได้ (2) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ สมรรถนะในการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบรางได้

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 71 3.5 ระบุความคาดหวังความสามารถ (Competence) หรือ สมรรถนะ (Competency) และหรือผลลัพธ์ การเรียนรู้ (Learning Outcomes) "ขั้นสุดท้าย (the END)" หรือที่เรียกว่า "Program Learning Outcomes (PLO)"(กรณีหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นที่ผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตรนี้ต้องทาได้ไม่น้อยกว่า9 หน่วยกิต PLO ไม่ควรมีจานวนเกิน 2 PLOs) "เมื่อจบการอบรมในหลักสูตรนี้ ผู้เข้ารับการอบรมจะสามารถ "ทา" "คิด" และหรือ "มีคุณลักษณะ" ดังนี้ (1) ผู้เข้ารับการอบรมมีความสามารถจัดทาแผนการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศในระบบรางได้ (2) ผู้เข้ารับการอบรมมีความสามารถและทักษะในการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศในระบบรางได้ (3) ผู้เข้ารับการอบรมมีความสามารถบริหารด้านจัดการบารุงรักษาสาหรับระบบรางได้

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 72 3.6 การพัฒนา PLOs ที่ระบุในข้อ 3.5 ผู้รับการอบรมจะต้องมีพัฒนาการเป็นลาดับขั้นอย่างไร Program Learning Outcomes (จานวน PLOs วัตถุประสงค์ของหลักสูตร)เหมาะสมที่สอดคล้องกับให้ระบุตามความ ระบุขั้นพัฒนาการจากการเรียนรู้ของ Program Learning Outcomes ที่กาหนด (Sub PLOs) (จานวน Sub PLOs ให้ระบุตามที่สามารถดาเนินการได้ในแต่ละ PLOs) ระบุความสัมพันธ์ขั้นพัฒนาการของ Sub PLOs ลาดับขั้น(ขั้นที่) แบบคู่ขนานทาแยก (1) อากาศของโบกี้ในระบบรางแผนการซ่อมบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดทาารุงระบบปรับได้ (2) เพื่อให้ผู้เรียน มี ทักษะ ได้ปรับอากาศสมรรถนะในการซ่อมบารุงระบบของโบกี้ในระบบราง (1.1) ภาคทฤษฎีการเรียนรู้อุปกรณ์ในระบบปรับอากาศในระบบราง 1 วัน และภาคปฏิบัติ 5 วัน (1.2) เรียนรู้ระบบปรับอากาศของระบบราง ภาคทฤษฎี 1 วัน และภาคปฏิบัติ 8 วัน (1.3) อากาศของระบบรางการจัดทาแผนงานการซ่อมบารุงรักษาในระบบปรับภาคทฤษฎี 1 วัน และภาคปฏิบัติ 8 วัน (2.1) ระบบรางการเรียนรู้การใช้งานอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศในภาคทฤษฎี 2 วัน และภาคปฏิบัติ 8 วัน (2.2) อากาศของระบบรางการใช้เครื่องมือวัดตรวจสอบอุปกรณ์ในระบบปรับภาคทฤษฎี 1 วัน และภาคปฏิบัติ 10 วัน (2.3) ภาคทฤษฎีปฏิบัติกการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศในระบบราง 2 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ 5 ชั่วโมง (1) ของระบบปรับอากาศในระบบรางผู้เรียนมีความเรียนรู้อุปกรณ์ (2) ของระบบปรับอากาศในระบบรางผู้เรียนวิเคราะห์หาสาเหตุ (3) ผู้เรียนจัดทาแผนการซ่อม รางบารุงระบบปรับอากาศในระบบ 1. (4) รายการอุปกรณ์ระบบปรับอากาศผู้เรียนเรียนรู้ตรวจเช็ค 2. (5) เครื่องปรับอากาศในระบบรางการบผู้เรียนปฏิบัติการจัดทาตารางารุงรักษาอุปรณ์ 3. (6) อากาศในระบบรางผู้เรียนปฏิบัติการระบบปรับ (1) เรียนภาคทฤษฏีในห้องเรียน (2) การณ์ปฏิบัติการจริงเรียนปฏิบัติกับสถานประกอบ (3) อบรมจากผู้มีประสบการณ์ตรง (4) ประกอบการศึกษาดูงานกับสถาน 4.

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 73 3.7 ระบุเนื้อหาที่ผู้เข้ารับการอบรมต้อง "รู้ (Know)" และ "เข้าใจ (Understanding)" ทักษะ (Skills) ที่ผู้เข้ารับการอบรมต้องฝึก และเจตคติ (Attitude) ที่ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีเพื่อให้เกิดพัฒนาการการเรียนรู้ตามที่ระบุในข้อ 3.5 ข้างต้น พัฒนาการการเรียนรู้ของ PLO (SPLOs) เนื้อหาที่ผู้เรียนต้อง "รู้" และ "เข้าใจ" ทักษะ (Skills) เจตคติ (Attitude) (1) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดทาแผนการ บารุงรักษาระบบปรับอากาศโบกี้ในระบบรางได้ (2) เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะสมรรถนะในการซ่อม บารุงระบบปรับอากาศโบกี้ในระบบรางได้ (1.1) ปรับอากาศในระบบรางสัญลักษณ์ต่างอุปกรณ์ของระบบ (1.2) ระบบปรับอากาศในระบบราง (1.3) อากาศในระบบรางมาตรฐานความปลอดภัยระบบปรับ (1.4) จัดทาตารางแผนปฏิบัติการซ่อม บารุงในระบบราง (2.1) อุปกรณ์ระบบปรับอากาศการใช้เครื่องมือวัดสาหรับตรวจสอบ (2.2) ระบบรางปฏิบัติการติดตั้งระบบปรับอากาศใน (2.3) การทดสอบระบบปรับอากาศใน ระบบราง (1.1) ระบบปรับอากาศในระบบรางได้สัญลักษณ์สามารถบอกและเขียนต่างของอุปกรณ์ของ (1.2) ได้ตรวจเช็คอุปกรณ์ระบบปรับอากาศสามารถเติมน้ายาระบบและ (1.3) ระบบปรับอากาศได้จัดทาตารางการซ่อมบารุง (2.1) ปรับอากาศได้ในการตรวจสอบอุปกรณ์ระบบมีทักษะในการใช้เครื่องมือวัด (2.2) ได้ในระบบปรับอากาศของระบบรางมีทักษะในการติดตั้งอุปกรณ์ (1) การใช้เครื่องมือมีความรู้สึกที่ดีด้านปลอดภัยต่อ (2) รางผู้อื่นในจรรยาบรรณวิชาชีพด้านระบบมีความรู้สึกที่ดีทั้งต่อตนเองและ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 74 (2.3) ระบบปรับอากาศได้สามารถวิเคราะห์อาการของ 3.8 ระบุวิธีการวัด (Assessment) ความสามารถ และหรือ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่กาหนดในข้อ 3.7 ข้างต้น พัฒนาการการเรียนรู้ของ PLO (SPLOs) Performance Tasks: Through what authentic performance tasks will learner demonstrate the desired SPLOs? By what criteria will SPLOs be judged? (1) ทักษะการใช้เครื่องมือวัดด้านการซ่อมบารุง ระบบปรับอากาศในระบบราง (1) ซ่อมบประเมินและตรวจสอบการใช้เครื่องมือวัดในการปฏิบัติงานการารุงระบบปรับอากาศและผลการปฺฏิบัติงาน (1) ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง (2) ระบบรางทักษะด้านการจัดทาตารางการบารุงรักษาใน (2) งานประเมินและตรวจสอบความเรียบร้อยและความเป็นระเบียบของ (2) ความเรียบร้อยและสาเร็จตามเวลา (3) อากาศในระบบรางทักษะด้านการติดตั้งและตรวจสอบระบบปรับ (3) มาตรฐานประเมินและตรวจสอบการติดตั้งและการวางอุปกรณ์ให้เป็นไปตาม (3) ใช้เครื่องมือในการวัด

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 75 3.9 แผนการเรียนที่สอดคล้องกับการพัฒนาการของ SPLOs และวิธีการวัดผล (Assessment Methods) ที่กาหนดในหัวข้อ 3.5 – 3.7 ข้างต้น พัฒนาการการเรียนรู้ของ PLO (SPLOs) Learning Pedagogy Learning Activities 1) ทักษะการใช้เครื่องมือด้านการซ่อมบารุง ระบบปรับอากาศในระบบราง (1) บรรยาย + ถามตอบ (2) ปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ ในกระบวนการเรียนรู้สูงสุดเป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ (2) ทักษะด้านการซ่อมบารุงปรับอากาศในระบบ ราง (1) บรรยาย + ถามตอบ (2) ปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ การคิด การแก้ปัญหา และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ งานจริง (3) ความรู้ ความสามารถ และจรรยาบรรณใน การจัดทาตารางการซ่อมบารุงในระบบราง (1) บรรยาย + ถามตอบ (2) ปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ ประกอบการการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการปฏิบัติจริงในสถาน 3.10 ถ้าผู้ได้รับการอบรมไม่สามารถพัฒนาความสามารถในแต่ละขั้น (SPLOs) หลักสูตรจะมีวิธีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการจัดการอบรมในขั้นถัดไปได้ อย่างไร และการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการที่ไม่สามารถทาให้ผู้เข้ารับการอบรมประสบผลสาเร็จตามที่ระบุ สาหรับรุ่นถัดไปอย่างไร (1) สร้างแรงจูงใจโดยการศึกษาดูงานในสาขาวิชาที่จบหลักสูตร (2) ปรับพื้นฐานให้กับนักศึกษาแต่ละคน ในส่วนที่นักศึกษาที่ไม่มีความพร้อมทั้งด้านวิชาการและปฏิบัติการ (3) มีการฝึกทักษะให้เกิดความชานาญ (4) ทวนสอบผลสัมฤทธิ์

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 76 3.11 ถ้าผู้ได้รับการอบรมไม่สามารถพัฒนาความสามารถตาม PLOs ที่กาหนด หลักสูตรจะมีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการจัดการอบรม สาหรับรุ่นถัดไป อย่างไร (1) สารวจเนื้อหาและเน้นรายวิชาปฏิบัติการ (2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรียนและผู้ชานาญการของสถานประกอบการ (3) มุ่งเน้นสามารถนาไปปฏิบัติงานได้จริงในสถานประกอบการ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 77 4.การจัดการเรียนการสอน 4.1 การกาหนดเนื้อหาสาระและโครงสร้างหลักสูตรที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ 4.1.1 เนื้อหาวิชาภาคปฏิบัติ ปฏิบัติการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบราง จานวน 228 ชั่วโมง 4.1.2 เนื้อหาวิชาภาคทฤษฎี การวางแผนและการจัดการซ่อมบารุงระบบปรับอากาศของโบกี้ในระบบราง จานวน 45 ชั่วโมง 4.2 การจัดการเรียนการสอนที่ต้องร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น ผู้เข้าอบรมจะเข้าไปฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการและการรถไฟแห่งประเทศไทยเป็นเวลา 180 ชั่วโมง โดยที่การเข้าฝึกนั้นจะได้รับการสังเกตการณ์จากอาจารย์นิเทศไม่น้อยกว่าสองครั้งตลอดการเข้าฝึก ทางมหาวิทยาลัย และสถานประกอบการจะประชุมเพื่อกาหนดแนวทางในการฝึกประสบการณ์ เช่น ช่วงต้นฝึกในแผนกต้อนรับและ บันทึกข้อมูล เมื่อผ่านไปค่อยหมุนเวียนไปฝึกในส่วนต่างๆ เป็นต้น รวมถึงเนื้อหาที่สถานประกอบการต้องการให้ผู้เข้า อบรมมีความรู้ความเข้าใจ 5. การพัฒนาอาจารย์ 5.1 การพัฒนาอาจารย์ด้านมาตรฐานวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนเข้าอบรมด้านการซ่อมบารุงเครื่องปรับอากาศในระบบราง ระบบควบคุมและอาณัติสัญญาณ ระบบราง 5.2 การพัฒนาอาจารย์ด้านความรู้และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนเป็นพี่เลี้ยงร่วมกับสถานประกอบการและการรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อพัฒนาเนื้อหาหลักสูตร ให้มีความทันสมัย ตรงต่อความต้องการของสถานประกอบการณ์และก้าวทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 6. การประเมินผลหรือวิธีการวัด (Assessment) ความสามารถ และหรือ ผลการเรียนรู้ ในเชิงคุณภาพอย่าง ชัดเจน 6.1 ระยะเวลาการเข้าอบรม ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 6.2 การประเมินผล แบ่งออกเป็น ภาคทฤษฎี เป็นไปตามตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 และ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 78 ภาคปฏิบัติ เป็นไปตามตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 และ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 และ เป็นการประเมินร่วมกับสถานประกอบการที่ผู้เข้าอบรมไปปฏิบัติงานจริง 7. การประเมินและปรับปรุงกระบวนการดาเนินการของหลักสูตร7.1การปรับปรุงกระบวนการในระหว่างการจัดการเรียนการสอน 7.1.1 สังเกตการพัฒนาของผู้เข้าอบรมเพื่อปรับให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์จริง 7.1.2 อาจารย์ผู้สอน ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ ประชุมเพื่อปรับปรุงแก้ปัญหาที่อาจ เกิดขึ้นในระหว่างการจัดการเรียนการสอน 7.2 แผนการพัฒนาคุณภาพการจัดหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง ประกอบการประเมินผลผู้เรีประเมินผลการจัดหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่องยนเป็นรายบุคคลโดยการทดสอบทั้งภาคความรู้และภาคความสามารถร่วมกับสถาน 8.แผนการจัดการเรียนการสอนที่ระบุกิจกรรมและช่วงเวลา ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา เนื้อหา ลักษณะการอบรม วิทยาการ (ชั่วโมง)ทฤษฏี (ชั่วโมง)ปฏิบัติ 1 11 12 มิถุนายน 256508.00 17.00 น. (1) อากาศในระบบรางอุปกรณ์ไฟฟ้าของระบบปรับอบรมให้ความรู้สัญลักณ์ของ 16 และสถานประกอบการณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีทีมวิทยากรจาก 2 18 19 มิถุนายน 2565 08.00 17.00 น. (2) ระบบรางการซ่อมบอบรมให้ความรู้ด้านอุปกรณ์ารุงระบบปรับอากาศใน 16 และสถานประกอบการณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีทีมวิทยากรจาก 3 25 26 มิถุนายน 2565 08.00 17.00 น. (3) อากาศในระบบรางอุปกรณ์การซ่อมบอบรมให้ความรู้ด้านมาตรฐานารุงระบบปรับ 16 และสถานประกอบการณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีทีมวิทยากรจาก

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 79 ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา เนื้อหา ลักษณะการอบรม วิทยาการ (ชั่วโมง)ทฤษฏี (ชั่วโมง)ปฏิบัติ 4 2 3 มิถุนายน 2565 08.00 17.00 น. (4) (ปรับอากาศในระบบรางปลอดภัยในการซ่อมบอบรมให้ความรู้ด้านความารุงระบบ 5) ภาคทฤษฎีประเมินความรู้ความสามารถ 16 และสถานประกอบการณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีทีมวิทยากรจาก 5 9 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (6) ศึกษาดูงานระบบบารุงรักษา ระบบปรับอากาศในโบกี้รถไฟ (ดู งานนอกสถานที่) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 6 10 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (7) ปรับอากาศในระบบรางจัดทปฏิบัติการด้านวางแผนการาตารางการบารุงรักษาระบบ (ดูงาน นอกสถานที่) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 7 16 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (8) ระบบรางการบปฏิบัติการด้านการสร้างตารางารุงรักษาระบบปรับอากาศใน (ดูงานนอกสถานที่) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 8 17 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (9) เครื่องมือวัดที่ใช้ในการซ่อม ประกอบการ)ระบบรางบารุงรักษาระบบปรับอากาศใน(ปฏิบัติงานในสถาน 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 9 23 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (10) ปฏิบัติการระบบ SCADA และ เครื่องปรับอากาศระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับ ( สถานประกอบการ)ปฏิบัติงานใน 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 10 24 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (10) ปฏิบัติการระบบ SCADA และระบบจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 80 ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา เนื้อหา ลักษณะการอบรม วิทยาการ (ชั่วโมง)ทฤษฏี (ชั่วโมง)ปฏิบัติ เครื่องปรับอากาศ ( สถานประกอบการ)ปฏิบัติงานใน 11 30 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (11) เครื่องปรับอากาศในโบกี้ระบบรางการติดตั้งอุปกรณ์ (ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 12 31 กรกฎาคม 2565 07.00 18.00 น. (11) เครื่องปรับอากาศในโบกี้ระบบรางการติดตั้งอุปกรณ์ (ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 13 6 สิงหาคม 2565 07.00 18.00 น. (12) เหตุขัดข้องการบการบารุงรักษาหลังเกิดารุงรักษาเชิงแก้ไข (ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 14 7 สิงหาคม 2565 13 สิงหาคม 2565 07.00 18.00 น. (13) การบารุงรักษาแบบทวีผล การ เครื่องปรับอากาศปรับปรุงระบบงานบารุงรักษา สถานประกอบการ(ปฏิบัติงานใน ) 24 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 15 14 สิงหาคม 2565 07.00 18.00 น. (13) การบารุงรักษาแบบทวีผล การ เครื่องปรับอากาศปรับปรุงระบบงานบารุงรักษา สถานประกอบการ(ปฏิบัติงานใน ) 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 16 20 สิงหาคม 2565 21 สิงหาคม 2565 27 สิงหาคม 2565 07.00 18.00 น. (14) ในโบกี้ระบบรางการทดสอบระบบปรับอากาศ (ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ) 36 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 81 ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา เนื้อหา ลักษณะการอบรม วิทยาการ (ชั่วโมง)ทฤษฏี (ชั่วโมง)ปฏิบัติ 17 28 สิงหาคม 2565 3 กันยายน 2565 4 กันยายน 2565 07.00 18.00 น. (15) (ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ)ระบบปรับอากาศและระบายอากาศระหว่างตู้ปฏิบัติการอุปกรณ์เชื่อมต่อโดยสารระบบประตู 36 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ 18 10 กันยายน 2565 08.00 17.00 น. (16) ภาคปฏิบัติประเมินความรู้ความสามารถ 8 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีประกอบการณ์ทีมวิทยากรจากสถานและ รวม 64 224 288 เอกสารอ้างอิง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560 2564 กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

รายงานสืบเนื่องประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ประจาปี พ.ศ. 2565 หน้า 82 คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิการประชุมวิชาการระดับชาติ สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน ครั้งที่ 1 ประจาปี พ.ศ. 2565 เรื่อง สถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคน กับ EEC 1.ศาสตรเมธี ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ 2.รองศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ 3.รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ กิจระการ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ทรงยศ บัวเผื่อน 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร.ต.อ. ดร. วิเชียร ตันศิริคงคล 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยณรงค์ ศรีมันตะ . 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ ไชยสุริยา 8. อาจารย์ ดร.สุภัสตรา เก้าประดิษฐ์ ทรัพย์ชูกุล 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มานิตย์ อาษานอก 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทรดร จั้นวันดี 11. ดร. วิวรรธน์ แก่นสา 12. ดร.ชวนพบ เอี่ยวสานุรักษ์ 13. อาจารย์ นนทชา คัยนันทน์

2 JULY 2022 ของอุตสาหกรรมในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกโครงการวิจัยต้นแบบสถาบันพัฒนาศักยภาพกาลังคนรองรับการเติบโต ประสานงานและจัดรูปเล่มดร.ดารัสอ่อนเฉวียง Website : https://www.iipmeecofficial.com/ E Mail : Facebookdamras@go.buu.ac.th:https://www.facebook.com/Iipmeec 101466661897291 พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนา EEC

Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.