การจัดสำนักงานจำลอง

Page 1

หน่ วยที่ 8 การจัดสำ านักงานจำาลอง สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของสำานักงานจำาลอง 2. วัตถุประสงค์ของการจัดสำานักงานจำาลอง 3. แนวทางการจัดสำานักงานจำาลอง 4. แนวทางลำาดับขั้นตอนการจัดสำานักงาน จำาลอง 5. ตัวอย่างแนวทางการศึกษาข้อมูลของ สำานักงานเอกชน

ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง 1. บอกความหมายของสำานักงานจำาลองได้ 2. เขียนแนวคิดในการจัดตั้งสำานักงานได้ 3. เขียนผังการจัดสำานักงานให้เกิดความ เหมาะสมกับลักษณะการประกอบกิจการได้ 4. บอกบทบาทหน้าที่ในตำาแหน่งต่าง ๆ ใน สำานักงานได้ 5. เขียนกฎระเบียบสำานักงานได้


1. ความหมายของสำ านักงานจำาลอง

สำ านักงานจำาลอง หมายถึง สำานักงานที่ถูกสร้างเลียนแบบอย่าง ของสำานักงานจริ ง ตามแผนภูมิการบริ หารงานของสำานักงานใดสำานักงานหนึ่ง เสมือนได้ปฏิบตั ิงานจริ งในสำานักงาน โดยมีอุปกรณ์และเครื่ องมือ ใช้สาำ หรับใช้ในการปฏิบตั ิงานจริ งอย่างครบถ้วน


2. วัตถุประสงค์ ของการจัดสำ านักงาน

1. 1. เปิเปิดโอกาสให้ ดโอกาสให้ผผเู ้ รีเู ้ รียยนได้ นได้ฝฝึ กึ กปฏิ ปฏิบบตั ตั ิงิงานในสำ านในสำาานันักกงาน งาน อย่ อย่าางถูงถูกกต้ต้อองง 2. 2. ช่ช่ววยให้ ยให้ผผเู ้ รีเู ้ รียยนเกิ นเกิดดประสบการณ์ ประสบการณ์ตตรงในการทำ รงในการทำาางาน งาน 3. 3. นำนำาาความรู ความรู้ค้ความสามารถและทั วามสามารถและทักกษะไปใช้ ษะไปใช้ปประโยชน์ ระโยชน์ ในการออกไปประกอบอาชี ในการออกไปประกอบอาชีพพได้ ได้ 4. 4. ผูผูเ้ รีเ้ รียยนนำ นนำาาความรู ความรู้ภ้ภาคทฤษฎี าคทฤษฎีสสู่ ภู่ ภาคปฏิ าคปฏิบบตั ตั ิจิจริริงงได้ ได้ 5. 5. เป็เป็นนการสร้ การสร้าางบุ งบุคคลากรที ลากรที่ม่มีปีประสิ ระสิททธิธิภภาพให้ าพให้แแก่ก่ หน่ หน่ววยงาน ยงาน 6. 6. ฝึฝึกกภาวะการเป็ ภาวะการเป็นนผูผูน้ น้ าำ าำ


3. แนวทางการจัดสำ านักงาน จำาลอง 1. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานในสำานักงาน

2. สามารถมอบหมายงานให้ผเู้ รี ยนปฏิบตั ิงานใน แต่ละฝ่ ายได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอน 3. อำานวยการสอนให้กบั ผูเ้ รี ยนการจัดสำานักงานจำาลอง


4. แนวทางลำาดับขั้นตอนการจัดสำ านักงานจำาลอง 1. ผูส้ อนทำาการชี้แจงตกลงกับผูเ้ รี ยนร่ วมกัน 2. แบ่งกลุ่มผูเ้ รี ยน 3. ผูเ้ รี ยนจัดประชุมกลุ่ม 4. สมาชิกทำาการศึกษาข้อมูลของสมาชิกในกลุ่ม 5. ผูเ้ รี ยนนำาเสนอการจัดสำานักงานจำาลองตามเวลาที่ผสู ้ อนกำาหนด 6. ผูเ้ รี ยนคนใดไม่อยูใ่ นกลุ่มที่กาำ ลังนำาเสนอ ให้ปฏิบตั ิตนเป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานร่ วม 7. เลขานุการกลุ่มทำาการบันทึกปัญหา 8. ข้อมูลอื่น ๆ ที่ผสู ้ อนเห็นว่าเหมาะสม


5. ตัวอย่ างแนวทางการศึกษาข้ อมูลของสำ านักงาน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสำานักงาน ดังนี้ - ความเป็ นมาและการจัดตั้งบริ ษทั - ชนิดของสิ นค้าที่จาำ หน่าย/ยีห่ อ้ สิ นค้าที่จาำ หน่าย - ลักษณะการดำาเนินงาน - เขตพื้นที่/จังหวัด ที่บริ ษทั ออกให้บริ การ - การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของพนักงานในแต่ละเขตพื้นที่ - การบริ การหลังการขาย - การคัดเลือกพนักงานเข้าทำางาน - การสร้างขวัญกำาลังในในการทำางานแก่พนักงาน - วิธีการควบคุมดูแลพนักงานในบริ ษทั - อุปกรณ์อาำ นวยความสะดวกแก่พนักงาน


สรุ ป

การจัดสำ านักงานจำาลอง เป็ นการรวบรวมแนวคิดและ โครงสร้างของการบริ หารจัดการสำานักงาน ตั้งแต่แนวคิดเริ่ มต้น ของการดำาเนินการก่อตั้ง โครงสร้างการบริ หารงาน รู ปแบบการ จัดสำานักงานให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานให้เกิดความ คล่องตัว บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในองค์การรวมถึงกฎ ระเบียบขององค์กรที่เป็ นหลักในการปฏิบตั ิเป็ นมาตรฐาน เดียวกัน


สวัสดี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.