คู่มือการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับผู้ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

Page 1


                 ⌫        

จัดทําโดย พิมพครัง้ ที่ 1 จํานวนพิมพ รูปเลม พิมพที่

กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 1 พฤษภาคม 2548 7,500 เลม บริษทั ซีนทิ สตูดโิ อ โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย


   

การดํ า เนิ น งานโรงเรี ย นส ง เสริ ม สุ ข ภาพเป น งานสํ า คั ญ งานหนึ่ ง ของ กรมอนามัยและ เปนตัวชีว้ ดั สําคัญของการดําเนินงาน "เมืองไทยแข็งแรง" การประเมิน โรงเรียนสงเสริมสุขภาพเปนกิจกรรมที่แสดงถึงความสําเร็จของงานดังกลาว และ เปนการประกาศเกียรติคณ ุ โรงเรียนทีม่ คี วามมุง มัน่ ตัง้ ใจทํางานเพือ่ สุขภาพนักเรียน ครู และบุคลากรอืน่ ๆ ในโรงเรียนจนบรรลุเปาหมาย เพือ่ ใหผลการประเมินโรงเรียนไดมาตรฐาน เปนทีย่ อมรับ กรมอนามัยจึง ไดจดั ทําหลักสูตรพัฒนาผูป ระเมินขึน้ ดวยความรวมมือจากนักวิชาการทัง้ ฝายสาธารณ สุข และฝายการศึกษาทีม่ ปี ระสบการณตรงเรือ่ งการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ จนกระทั่งหลักสูตรดังกลาวสําเร็จลุลวงออกมาเปนเอกสารสําหรับใชในการพัฒนา ผูป ระเมิน 2 ฉบับ ไดแก "คูม อื การอบรมผูป ระเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ" และ "คูม อื การเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับผูป ระเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ" สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย คาดหวังวา คูม อื ทัง้ 2 ฉบับนีจ้ ะเปน ประโยชน สําหรับผูป ระเมิน และเปนเครือ่ งมือทีช่ ว ยใหการประเมินโรงเรียนสงเสริม สุขภาพมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ในโอกาสตอไป.

สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

สงคําแนะนําเพือ่ การปรับปรุงเอกสารฉบับนีใ้ หดยี งิ่ ขึน้ ไปที่ กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท จ. นนทบุรี 11000 โทร. 02-5904490 , 02-5904495


⌫            ⌫        

การเก็บขอมูลจากเอกสารของโรงเรียน ● การสอบถามหรือสัมภาษณโดยใชแบบสอบถาม -● การสุม ตรวจสอบนักเรียน -● การสํารวจสภาพจริง



2 3 5 5

⌫   ⌫            ⌫  

วิธีเก็บรวบรวมขอมูลและเครื่องมือที่ใชแตละองคประกอบ องคประกอบที่ 1 นโยบายของโรงเรียน องคประกอบที่ 2 การบริหารจัดการในโรงเรียน องคประกอบที่ 3 โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน องคประกอบที่ 4 การจัดสิ่งแวดลอมในโรงเรียนที่เอื้อตอสุขภาพ องคประกอบที่ 5 บริการอนามัยโรงเรียน องคประกอบที่ 6 สุขศึกษาในโรงเรียน องคประกอบที่ 7 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย องคประกอบที่ 8 ออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ องคประกอบที่ 9 การใหคําปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม องคประกอบที่ 10 การสงเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน

8 11 14 16 18 24 26 30 31 33



1. แบบสอบถามเรื่อง "นโยบายเกีย่ วกับการสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน" 2. แบบสอบถามเรื่อง "ความพึงพอใจตอโครงการรวมระหวางโรงเรียน และชุมชน" 3. แบบสอบถามเรื่อง "ความพึงพอใจตอบรรยากาศภายในโรงเรียน" 4. แบบสอบถามเรื่อง "สุขศึกษาในโรงเรียน" 5. แบบสอบถามเรื่อง "ความรูในการเลือกรับประทานอาหาร" 6. แบบสอบถามเรื่อง "การรับประทานอาหาร" 7. แบบสอบถามเรื่อง "การสงเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน" 8. แบบสอบถาม "ตัวชีว้ ดั อืน่ ๆ"

36 40 42 44 47 49 51 55

เอกสารอางอิง

58

คณะทํางาน

59


⌫

   ⌫ 


การรวบรวมขอมูลเพื่อการประเมินตามเกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพจําเปน ตองใชวธิ ผี สมผสานระหวางเครือ่ งมือทีเ่ ปนเอกสาร และการประเมินสภาพจริงทีใ่ ชผปู ระเมินเปนเครือ่ งมือสําคัญ แหลงขอมูลและวิธพี สิ จู นแตละตัวชีว้ ดั ในองคประกอบตางๆของเกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ เปนสิง่ ทีผ่ ปู ระเมินตองดําเนินการเก็บขอมูล เพือ่ จัดระดับการประเมินและใหคะแนนตามสภาพจริง และเพือ่ เปน การอํานวยความสะดวกใหกับผูประเมิน จึงไดนําตัวชี้วัดทั้งหมดที่มีวิธีเก็บขอมูลจากแหลงเดียวกันมาจัดเปน หมวดหมูไ ดเปน 4 ประเภท ตามชนิดของแหลงขอมูล / วิธพี สิ จู น ดังนี้ 1. การเก็บขอมูลจากเอกสารของโรงเรียน 2. การสอบถามหรือสัมภาษณโดยใชแบบสอบถาม 3. การสุม ตรวจสอบนักเรียน 4. การสํารวจสภาพจริง        ⌫  

เอกสารทีม่ อี ยูใ นโรงเรียน ซึง่ อาจจําแนกเปน 3 ประเภท ดังนี้  ⌫

เปนเอกสารทีบ่ นั ทึกขอมูลเกีย่ วกับสุขภาพ หรือ ขอมูลเกีย่ วกับพฤติกรรมของนักเรียน รวมทัง้ เอกสาร ทีบ่ นั ทึกการบริการสุขภาพ ไดแก ● บัตรสุขภาพ (สศ.๓) เปนบันทึกขอมูลทีเ่ ปนประวัตส ิ ขุ ภาพของนักเรียน บริการสุขภาพทีเ่ จาหนาที่ สาธารณสุขเขาไปใหบริการแกนกั เรียนแตละคน ● สมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร. ๑๔) ซึง่ เปนเอกสารทีเ่ จาหนาทีส ่ าธารณสุขบันทึกโดย สรุปวาไดเขามาใหบริการอะไรบางในโรงเรียน ปญหาสุขภาพโดยรวมของนักเรียนเปนอยางไร ● เอกสารเกี่ยวกับระบบดูแลชวยเหลือ เปนเอกสารที่รวบรวมขอมูลของนักเรียนรายบุคคล เชน นักเรียนทีม่ พี ฤติกรรมทีต่ อ งดูแลชวยเหลือ นักเรียนทีต่ อ งมีการเฝาระวัง เปนตน ● แบบบันทึกการตรวจสุขภาพดวยตนเองของนักเรียน ● และเอกสารอืน ่ ๆ ทีโ่ รงเรียนรวบรวมไว   ⌫ 

โครงการดานสุขภาพ หรือ เอกสารอืน่ ๆ ทีแ่ สดงถึงการดําเนินกิจกรรมเกีย่ วกับสุขภาพในโรงเรียน เชน โครงการพัฒนาสิง่ แวดลอม โครงการแกปญ  หานักเรียนอวน ฯลฯ คําสัง่ แตงตัง้ คณะกรรมการ คณะทํางาน หรือประกาศของโรงเรียน   

แบบสํารวจสุขาภิบาลสิง่ แวดลอมของโรงเรียน แบบสํารวจสุขาภิบาลอาหาร แบบสํารวจแหลงลูกน้าํ ยุงลาย ฯลฯ

                       

           ⌫             




1. แหลงขอมูลที่เปนเอกสารตามที่ระบุไวขางตนนี้ เปนเอกสารหลัก ๆ ที่มีอยูแนนอนในโรงเรียน และเปนเพียงสวนหนึง่ ของแหลงขอมูลเทานัน้ อาจมีเอกสารนอกเหนือจากนี้ 2. ผูป ระเมินสามารถประสานงานกับผูบ ริหาร ครู หรือผูเ กีย่ วของ เพือ่ ขอดูเอกสารตาง ๆ ทีโ่ รงเรียน มีอยูแ ลวและมีขอ มูลทีผ่ ปู ระเมินตองการ ซึง่ อาจมีชอื่ เรียกเอกสารทีแ่ ตกตางกันออกไปจากทีร่ ะบุ ไวใน "แหลงขอมูล/วิธพี สิ จู น" ของเอกสาร "เกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ" 3. ผูประเมินควรตระหนักวาการขอใหโรงเรียนจัดทําเอกสารเพื่อการประเมินโรงเรียนสงเสริม สุขภาพไวเปนการเฉพาะเพียงเพือ่ ความสะดวกสําหรับการเก็บรวบรวมขอมูลนัน้ เปนการเพิม่ ภาระ เรือ่ งเอกสารแกโรงเรียนโดยไมจาํ เปน และเปนสิง่ ทีค่ วรหลีกเลีย่ ง ตัวชีว้ ดั ทีเ่ ก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารของโรงเรียน ตัวชีว้ ดั

องคประกอบ ประถม 1. นโยบายของโรงเรียน 2. การบริหารจัดการในโรงเรียน 3. โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน 4. การจัดสิง่ แวดลอมในโรงเรียนทีเ่ อือ้ ตอสุขภาพ 5. บริการอนามัยโรงเรียน 6. สุขศึกษาในโรงเรียน 7. โภชนาการและอาหารทีป่ ลอดภัย 8. การออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ 9. การใหคาํ ปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม 10. การสงเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน

มัธยม

1, 2, 3 1, 2, 3, 4, 5 1, 2 1, 2, 3 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 1, 2, 4 8, 9, 10, 11, 13 2 1, 2, 3, 4, 5, 10 1, 2, 3, 7 2, 3, 4, 5, 6 1, 2, 3,4 –

         

เปนการเก็บรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพ และ ขอมูลเกี่ยวกับการรับบริการสุขภาพตางๆ ของนักเรียน ครู หรือ บุคลากรอื่น ๆ ซึ่งในคูมือฉบับนี้ไดจัดเตรียมตนฉบับเครื่องมือที่เปน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ ไวใหแลว (ในภาคผนวก)

                       

           ⌫             




1. ผูประสานงานของทีมประเมินจัดเตรียมแบบสอบถามไวใหเพียงพอกอนเขาประเมินโรงเรียน อาจใชวธิ ถี า ยสําเนา หรือ จัดพิมพใหมตามตนฉบับไวใชในจังหวัด 2. ผูป ระเมินไมจาํ เปนตองนัดแนะใหโรงเรียนเตรียม ครู บุคลากร หรือนักเรียนไวกอ นวันเขาประเมิน ยกเวนผูต อบแบบสอบถามเปนบุคคลภายนอกโรงเรียน 3. สําหรับผูต อบแบบสอบถามทีเ่ ปนบุคคลจากภายนอกโรงเรียน เชน ผูป กครอง ประชาชนอืน่ ๆ ผูป ระเมินควรประสานขอความรวมมือใหโรงเรียนเชิญมาในวันเขาประเมิน และพยายามใชเวลาอยาง เหมาะสมเพือ่ ไมใหรบกวนเวลาของผูต อบบแบบสอบถามมากเกินไป ตัวชีว้ ดั ทีเ่ ก็บรวบรวมขอมูลจากการสอบถามหรือสัมภาษณ ตัวชีว้ ดั

องคประกอบ ประถม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นโยบายของโรงเรียน การบริหารจัดการในโรงเรียน โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน การจัดสิง่ แวดลอมในโรงเรียนทีเ่ อือ้ ตอสุขภาพ บริการอนามัยโรงเรียน สุขศึกษาในโรงเรียน โภชนาการและอาหารทีป่ ลอดภัย การออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ การใหคาํ ปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม การสงเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน

                       

มัธยม 4, 5, 6 – 3, 4 1, 4

12 1, 3 6, 7, 8, 10

3 1 4, 5, 7 – 5 1, 2, 3, 5, 6

           ⌫             


     ⌫  

เปนการรวบรวมขอมูลทีเ่ กีย่ วกับภาวะสุขภาพของนักเรียน เชน นักเรียนเปนเหา ฯลฯ ดวยวิธกี ารตรวจ สอบทีต่ วั นักเรียนเอง 

1. ใหความสําคัญกับการสุม ตัวอยางทีเ่ ปนการสุม จริง ๆ โดยการประสานงานกับครูในโรงเรียนใน วันเขาโรงเรียน ระบุจาํ นวนนักเรียน และ ระดับชัน้ 2. การสุม ตรวจใหรบกวนเวลาเรียนของนักเรียนนอยทีส่ ดุ

ตัวชีว้ ดั ทีเ่ ก็บรวบรวมขอมูลจากการสุม ตรวจสอบนักเรียน องคประกอบ

ตัวชีว้ ดั ประถม

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นโยบายของโรงเรียน การบริหารจัดการในโรงเรียน โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน การจัดสิง่ แวดลอมในโรงเรียนทีเ่ อือ้ ตอสุขภาพ บริการอนามัยโรงเรียน สุขศึกษาในโรงเรียน โภชนาการและอาหารทีป่ ลอดภัย การออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ การใหคาํ ปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม การสงเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน

มัธยม – – – – –

3,4

– – – – –

    

เปนการเก็บรวบรวมขอมูลทางกายภาพเปนสวนใหญ การสํารวจสภาพจริงที่สําคัญในการประเมิน โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ คือ การสํารวจสุขาภิบาลสิ่งแวดลอมในโรงเรียน และ การสํารวจสุขาภิบาลอาหาร ซึง่ มีแบบสํารวจไวใหแลวในเอกสาร "เกณฑมาตรฐานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ" การสํารวจอืน่ ๆ ทีม่ ใี นตัวชีว้ ดั เปนการสํารวจทีไ่ มยงุ ยาก และไมจาํ เปนตองใชแบบสํารวจ เชน การสํารวจเรือ่ งสถานทีแ่ ละอุปกรณออกกําลังกาย เปนตน

                       

           ⌫             




1. ใหความสําคัญกับการสํารวจสภาพจริงในโรงเรียน ดวยการสํารวจตามแบบสํารวจอยางซือ่ สัตย และ ใหคาํ แนะนําในกรณีทพี่ บวาควรปรับปรุงแกไขแกครูทรี่ บั ผิดชอบ และ ผูบ ริหาร 2. การใหคาํ แนะนําใด ๆ ควรกระทําดวยวิธกี ารทีเ่ ปนมิตร สรางสรรค มุง ทีก่ ารปรับปรุงพัฒนาใหดี ขึน้ สําหรับทุกคนในโรงเรียน 3. หลีกเลีย่ งการตําหนิ ติเตียน ในสิง่ ทีเ่ ปนขอจํากัดของโรงเรียน เชน โรงเรียนยังไมมงี บประมาณ สรางสวมใหเพียงพอกับจํานวนนักเรียน ผูป ระเมินควรเนนทีก่ ารดูแลสวมทีม่ อี ยูใ หสะอาด และอยู ในสภาพใชงานได โรงเรียนไมมงี บประมาณสรางรัว้ ผูป ระเมินควรพูดคุยเรือ่ งการสํารวจสถานที่ ทีอ่ าจเปนอันตรายตอนักเรียน และมาตรการเรือ่ งความปลอดภัย เปนตน 4. ใหคาํ แนะนํา หรือ ขอเสนอแนะในการปรับปรุงแกไขควบคูไ ปกับการบอกจุดทีต่ อ งปรับปรุงแกไขเสมอ ตัวชีว้ ดั ทีเ่ ก็บรวบรวมขอมูลจากการสํารวจสภาพจริง ตัวชีว้ ดั

องคประกอบ ประถม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นโยบายของโรงเรียน การบริหารจัดการในโรงเรียน โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน การจัดสิง่ แวดลอมในโรงเรียนทีเ่ อือ้ ตอสุขภาพ บริการอนามัยโรงเรียน สุขศึกษาในโรงเรียน โภชนาการและอาหารทีป่ ลอดภัย การออกกําลังกาย กีฬา และนันทนาการ การใหคาํ ปรึกษาและสนับสนุนทางสังคม การสงเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน

มัธยม – – – 1, 3 – –

9, 10

6, 7 1 – 4

ภายหลังจากเก็บขอมูลดวยวิธกี ารทัง้ 4 วิธดี งั กลาว เมือ่ ผูป ระเมินนําคะแนนทีไ่ ดจากแตละตัวชีว้ ดั มาจัดใสระดับการประเมินในเกณฑมาตรฐานทัง้ 10 องคประกอบ จะไดคะแนนครอบคลุมตัวชีว้ ดั ทัง้ หมด.

                       

           ⌫             


⌫

⌫    ⌫  ⌫⌫ ⌫

 ⌫

⌫

 ⌫

⌫

 ⌫

⌫

 ⌫⌫

⌫

 ⌫

⌫

 ⌦⌫

⌫

 ⌫

⌫

  ⌫ 

⌫

 ⌦

⌫  ⌫


  ⌫ 

⌫  

⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

การกําหนดนโยบายสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน 1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการสงเสริม สุขภาพของโรงเรียน หรือ คณะทํา งานที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริม สุขภาพของโรงเรียนอยางเปนลาย ลักษณอักษร ซึ่งประกอบดวยครู นักเรียน ผูป กครอง เจาหนาที่ สาธารณสุข และ ผูแ ทนองคกรใน ชุมชน

คณะกรรมการหรือ คณะทํางานมีสัดสวน อยางนอย 3 ใน 5 มาจากประชาชนและ องคกรในชุมชน

– คําสัง่ แตงตัง้ – ประกาศของโรงเรียน – สอบถาม หรือ สัมภาษณผูบริหาร โรงเรียน

ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน คําสัง่ แตงตัง้ ประกาศของโรงเรียน ฯลฯ หรือสอบถามผูบ ริหารโรงเรียน / ครู เพื่อดูสัดสวนของคณะกรรมการ หรือคณะทํางาน ทีม่ าจากประชาชน และองคกรในชุมชนวาเปนไปตาม เกณฑหรือไม

2. โรงเรียนมีนโยบายสงเสริมสุขภาพที่ ครอบคลุมประเด็น ดังตอไปนี้ 1. การสงเสริมสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอ การพัฒนาสุขภาพนักเรียน 2. การเฝาระวังและแกไขปญหา สุขภาพ 3. การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตาม สุขบัญญัติแหงชาติ 4. การคุมครองผูบริโภคในโรงเรียน 5. การสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อ สุขภาพแกนกั เรียน บุคลากรของ โรงเรียนและชุมชนโดยมีโรงเรียน เปนศูนยกลาง 6. การสงเสริมสุขภาพจิตและ เฝาระวังพฤติกรรมเสี่ยง 7. การพัฒนาระบบการเรียนรูดาน สุขภาพโดยมีผูเรียนเปนสําคัญ 8. การสงเสริมสุขภาพบุคลากรใน โรงเรียน 9. สงเสริมการมีสว นรวมของชุมชน ในการพัฒนาสุขภาพนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและชุมชน

9 ประเด็น

– เอกสารนโยบายของ โรงเรียนดานสงเสริม สุขภาพ – สอบถาม หรือ สัมภาษณผูบริหาร โรงเรียน

ตรวจสอบเอกสารนโยบายดาน สงเสริมสุขภาพของโรงเรียน หรือ สอบถามจากผูบริหารโรงเรียนหรือครู เพื่อดูวานโยบายสงเสริมสุขภาพของ โรงเรียนครอบคลุมประเด็นตางๆ ตามตัวชีว้ ดั จํานวนกีป่ ระเด็น ทัง้ นี้ นโยบายทีโ่ รงเรียนเขียนไวไมจาํ เปนตอง ใชภาษาหรือถอยคําที่เหมือนกับตัวชี้วัด ทุกประการ แตผูประเมินจะตอง พิจารณาและวิเคราะหวานโยบาย สงเสริมสุขภาพของโรงเรียนมี ความหมายทีเ่ ปนไปตามตัวชีว้ ดั หรือไม

                       

           ⌫             


  ⌫ 

⌫   ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

การถายทอดนโยบายสูก ารปฏิบตั ิ 3. มีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม รองรับนโยบายสงเสริมสุขภาพ

9 ประเด็น

– แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา – แผนปฏิบัติการประจําป – แผนงาน/โครงการ

ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจําป แผนงาน โครงการตางๆ ฯลฯ เพือ่ ดูวา แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม มีวตั ถุประสงค รองรับนโยบายสงเสริมสุขภาพตาม ตัวชีว้ ดั ที่ 2 หรือไม ถามีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม รองรับนโยบาย สงเสริมสุขภาพ ใหผูประเมินพิจารณา วาสอดคลองกับนโยบายสงเสริม สุขภาพกีป่ ระเด็น และเปนประเด็น ใดบาง

4. บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบายที่ เกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ

ทุกคน

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ บุคลากรในโรงเรียน ประมาณ 10 คน

สุม ตัวอยางครู บุคลากรอืน่ ๆ ใน โรงเรียนประมาณ 10 คนแจกแบบ สอบถามใหตอบ ในกรณีทผี่ ตู อบแบบสอบถาม เชน นักการภารโรง ไมสะดวกในการตอบ สอบถาม ใหผูประเมินใชวิธีสัมภาษณ ตามแบบสอบถามแทน รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนเพื่อ สรุปผล

(ใช แบบสอบถามเรือ่ ง “นโยบายทีเ่ กีย่ วกับ การสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน” ในภาค ผนวก 1 )

                       

           ⌫             


  ⌫  ⌫  

⌫   

 ⌫    

⌫   ⌫ 

5. ผูป กครองทราบนโยบายหรือกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ

รอยละ 60 ขึน้ ไป

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ ผูปกครองประมาณ 10 คน

ประสานงานกับโรงเรียนเพื่อนัดหมาย ผูป กครองมาใหขอ มูลประมาณ 10 คน ● แจกแบบสอบถามใหตอบ ในกรณีที่ ผูปกครองไมสะดวกในการตอบ สอบถาม ใหผูประเมินใชวิธีสัมภาษณ ตามแบบสอบถามแทน ● รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนเพื่อ สรุปผล (ใช แบบสอบถามเรือ่ ง “นโยบายทีเ่ กีย่ วกับ การสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน” ในภาค ผนวก 1 )

6. นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมที่ เกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ

รอยละ 80 ขึน้ ไป

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป (หรือ ม. 1 ขึน้ ไป สําหรับโรงเรียนมัธยม) ประมาณ 20 คน

สุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน (ระดับ ประถมศึกษาสุม จากนักเรียนชัน้ ป. 4 ขึน้ ไป ระดับมัธยมศึกษาสุม นักเรียน กระจายทุกระดับชั้น) ● แจกแบบสอบถามใหนักเรียนตอบ พรอมกัน ● รวบรวมแบบสอบถามกลับคืนเพื่อ สรุปผล (ใช แบบสอบถามเรือ่ ง “นโยบายทีเ่ กีย่ วกับ การสงเสริมสุขภาพของโรงเรียน” ในภาค ผนวก 1 )

                       



           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫   ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

การจัดทําโครงการสงเสริมสุขภาพ 1. มีการจัดทําโครงการสงเสริมสุขภาพ อยางเปนระบบครบทุกขัน้ ตอนตอไปนี้ ● มีการรวบรวมวิเคราะหปญหาและ ความตองการ โดยใชกระบวน การกลุม ● มีความสอดคลองกับสภาพปญหา ของโรงเรียน ● มีการระบุกิจกรรมและกําหนด เวลา ● มีการระบุถึงการมีสวนรวมของ ผูเกี่ยวของ ● มีการระบุการใชทรัพยากรและ / หรือภูมิปญญาทองถิ่นใหเกิด ประโยชน ● มีการระบุกจ ิ กรรมส่งเสริมสุขภาพที่สอดคลองกับกิจกรรมการเรียน การสอน

1 โครงการขึน้ ไป

– โครงการ หรือเอกสาร อืน่ ๆ

1 โครงการขึน้ ไป

– โครงการหรือเอกสาร อืน่ ๆ

ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน แผนงาน โครงการ หรือเอกสารอืน่ ที่ แสดงถึงกิจกรรมหรือโครงการดาน สุขภาพของโรงเรียน เพือ่ ดูวา มี โครงการสงเสริมสุขภาพจํานวน กี่โครงการที่มีการจัดทําโครงการ อยางเปนระบบครบทุกขัน้ ตอนตาม ตัวชีว้ ดั

การจัดองคกร 2. มีคณะทํางานรับผิดชอบในแตละ โครงการสงเสริมสุขภาพ ประกอบดวย ครู นักเรียน และผูป กครอง / เจาหนาทีส่ าธารณสุข / องคกรใน ชุมชน

                       



ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน แผนงาน โครงการสงเสริมสุขภาพ หรือเอกสารอื่นที่แสดงถึงกิจกรรมหรือ โครงการดานสุขภาพของโรงเรียน เพื่อดูวาผูรับผิดชอบโครงการประกอบ ดวยใครบาง ● หรือ ตรวจสอบ คําสัง่ แตงตัง้ หรือ ประกาศ ของโรงเรียนเรื่องคณะทํางาน ของโครงการตางๆ วาประกอบดวย ใครบาง เกณฑ มีโครงการ 1 โครงการทีม่ ี องคประกอบของคณะทํางานครบตามที่ ระบุในตัวชีว้ ดั คือ ประกอบดวยครู นักเรียน ผูป กครอง เจาหนาทีส่ าธารณสุข และองคกรอืน่ ๆ ในชุมชน

           ⌫             


  ⌫  ⌫  

    ⌫   

3. มีผนู าํ นักเรียนสงเสริมสุขภาพหรือ ผูนําเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน หรือแกนนํานักเรียนดานสุขภาพ ปฏิบตั งิ านตามบทบาทหนาที่

 ⌫    

– อร.14 – สอบถามผูนํา/ แกนนํานักเรียน – บันทึกการปฏิบตั งิ าน ของผูน าํ / แกนนํา นักเรียน

สัดสวน 2 ใน 3 ของ นักเรียนที่ผานการ อบรม

⌫   ⌫  ●

ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน อร.14 บันทึกการปฏิบตั งิ านของผูน าํ นักเรียน (ในโรงเรียนประถมศึกษา) หรือ ผูน าํ ยสร. (ในโรงเรียนมัธยม ศึกษา) วาหลังการอบรมไดมีการทํา กิจกรรมหรือไม นักเรียนทีท่ าํ กิจกรรม มีกคี่ น เปนไปตามสัดสวน 2 ใน 3 หรือไม หรือในกรณีที่ไมมีหลักฐานที่เปน เอกสารบันทึกไวใหสอบถามจากผูนํา นักเรียน (หรือผูน าํ ยสร.) วาไดทาํ กิจกรรมตามบทบาทหนาที่หรือไม ทํากิจกรรมอะไรบาง จํานวนนักเรียน ผูน าํ (ผูน าํ ยสร.) ทีย่ งั คงทํากิจกรรม มีกคี่ นเพือ่ นํามาคิดสัดสวน ในกรณีที่โรงเรียนแหงนั้นไมมีการ อบรมผูน าํ นักเรียน หรือ ผูน าํ ยสร. ใหซักถามวาไดมีการอบรมนักเรียน แกนนําในเรือ่ งสุขภาพอืน่ ๆ หรือไม ถามีใหตรวจสอบเอกสาร หรือ ซักถามนักเรียนแกนนําตามแนวทาง เดียวกัน

การนิเทศ/ติดตาม 4. โครงการสงเสริมสุขภาพ มีการนิเทศ/ ติดตาม โดยระบบของโรงเรียน อยางตอเนือ่ ง มีสรุปผลการนิเทศและ มีการนําผลการนิเทศไปใชพัฒนางาน

– บันทึกผลการนิเทศ / ติดตามของโรงเรียน และแนวทางแกไข ปญหา

สัดสวน 2 ใน 3 ขึ้นไปของโครงการดาน สุขภาพทัง้ หมด

                       



ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน บันทึกผลการนิเทศ / ติดตามของ โรงเรียน แนวทางการแกไขปญหา ฯลฯ เพื่อดูวาโครงการสงเสริมสุขภาพ มีการนิเทศ/ติดตาม โดยระบบนิเทศ ภายในของโรงเรียน อยางตอเนือ่ ง มีสรุปผลการนิเทศ และมีการนําผล การนิเทศไปใชพฒ ั นางาน จํานวนกี่ โครงการ มีสดั สวนเปนไปตามเกณฑ หรือไม

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫   ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫  ●

ในกรณีที่โรงเรียนไมมีเอกสารที่ระบุวา เปนแผนงาน หรือ โครงการอยาง ชัดเจน ผูป ระเมินสามารถพิจารณา เอกสารอื่นที่ระบุกิจกรรมหรือ โครงการดานสุขภาพของโรงเรียน ทดแทนแผนงาน/โครงการได

การประเมินผล 5. มีการประเมินโครงการสงเสริมสุขภาพ

สัดสวน 2 ใน 3 ขึ้นไปของโครงการดาน สุขภาพทัง้ หมด

                       

– บันทึกผลการประเมิน



ตรวจสอบจํานวนโครงการดานสุขภาพ (หรือเอกสารอื่นที่คลายคลึงกัน) ทั้งหมดของโรงเรียนวาโครงการใดมี การประเมินผลบาง จํานวนกีโ่ ครงการ จากเอกสารที่บันทึกผลการประเมิน หรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวของกับการ ประเมิน ● คิดสัดสวนจํานวนโครงการที่มีการ ประเมิน จากจํานวนโครงการดาน สุขภาพทัง้ หมด หมายเหตุ : กรณีทโี่ ครงการทีด่ าํ เนินการ ในปปจ จุบนั (ปทปี่ ระเมิน) ยังอยูร ะหวาง การดําเนินการ ใหผูประเมินตรวจสอบ โครงการยอนหลังไปปการศึกษากอนหนา นี้ ●

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫    

⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

1. โครงการทีเ่ กีย่ วของกับสุขภาพเกิดจาก การมีสวนรวมระหวางโรงเรียนและ ชุมชน

สัดสวน 4 ใน 5 ขึ้นไปของโครงการดาน สุขภาพทัง้ หมด

– แผนงาน / โครงการ – รายงานสรุปผลการ ดําเนินงาน

ตรวจสอบเอกสาร เชน แผนงาน โครงการ รายงานสรุปผลการ ดําเนินงาน บันทึกการประชุม หรือ ภาพกิจกรรม ฯลฯ เพือ่ ดูวา ชุมชนได เขามามีสวนรวมจํานวนกี่โครงการ ● คิดสัดสวนจากจํานวนโครงการดาน สุขภาพทัง้ หมดของโรงเรียน (ชุมชน หมายถึง บุคลากรจากภายนอก โรงเรียน เชน ผูป กครอง สมาชิกอบต. ประชาชนในหมูบ า น เปนตน)

2. ชุมชนเขามามีสว นรวมในโครงการอยาง เปนระบบ 5 ขัน้ ตอนตอไปนีอ้ ยางนอย 1 โครงการ 1) รวมวิเคราะหสภาพและสาเหตุของ ปญหา 2) รวมวางแผน 3) รวมดําเนินการ 4) รวมตรวจสอบทบทวน (ประเมิน ภายใน) 5) รวมแกไขพัฒนาปรับปรุง

5 ขัน้ ตอน

– แผนงาน / โครงการ – รายงานสรุปผลการ ดําเนินงาน – บันทึกการประชุม

3. นักเรียนมีความพึงพอใจตอโครงการ รวมระหวางโรงเรียนและชุมชน

รอยละ 80 ขึน้ ไป

                       

– สุมสอบถามหรือ สัมภาษณนักเรียนชั้น ป.4 ขึน้ ไป (หรือ ม.1 ขึน้ ไป สําหรับโรงเรียน มัธยม) ประมาณ 20 คน



ตรวจสอบการดําเนินงานของโครงการ ตางๆ แตละโครงการวาชุมชนไดเขามา มีสว นรวมหรือไม มีสว นรวมในขัน้ ตอน ใดบาง (ตามทีร่ ะบุในตัวชีว้ ดั ) จากเอกสารตางๆ เชน แผนงาน โครงการ รายงานสรุปผลการดําเนินงาน บันทึกการประชุม ภาพกิจกรรม ฯลฯ เลือกโครงการ 1 โครงการทีช่ มุ ชนมี สวนรวมในขัน้ ตอนตางๆ มากทีส่ ดุ มา พิจารณาใหคะแนน

สุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน (ระดับ ประถมศึกษาสุม จากนักเรียนชัน้ ป. 4 ขึน้ ไป ระดับมัธยมศึกษาสุม นักเรียน กระจายทุกระดับชั้น) ● แจกแบบสอบถามใหนักเรียนตอบ (ในกรณีที่นักเรียนไมเขาใจคําถาม ผูประเมินสามารถอธิบายเพิ่มเติมได) ● รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผล และคํานวณคารอยละ (ใช แบบสอบถาม “ความพึงพอใจตอ โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน” ในภาคผนวก 2) ●

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫     ⌫  



4. ประชาชนมีความพึงพอใจตอโครงการ รวมระหวางโรงเรียนและชุมชน

รอยละ 60 ขึน้ ไป

                       

 ⌫    

⌫   ⌫ 

– สอบถามหรือสัมภาษณ ผูปกครองหรือ ประชาชน ประมาณ 10 คน

ประสานกับโรงเรียนเพื่อเชิญ ผูปกครองและสมาชิกในชุมชนจํานวน 10 คนมาใหขอ มูลในวันทีเ่ ขาประเมิน ● แจกแบบสอบถามใหตอบ ในกรณีที่ ผูตอบไมสะดวกที่จะตอบแบบ สอบถาม ใหผปู ระเมินใชวธิ สี มั ภาษณ ตามแบบสอบถามแทน ● รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผล และคํานวณคารอยละ (ใช แบบสอบถาม “ความพึงพอใจตอ โครงการรวมระหวางโรงเรียนและ ชุมชน” ในภาคผนวก 2)



           ⌫             


  ⌫  

       ⌫  ⌫          

⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

1. มาตรฐานสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อมใน โรงเรียน

ผ่านมาตรฐานทุกข้อ (30 ข้อ)

– ผลการสำรวจสุขาภิบาลสิง่ แวดล้อมของโรงเรียนตามแบบสำรวจในภาคผนวก และสังเกตสภาพจริงเพิม่ เติมโดยผูป้ ระเมิน

2. การเกิดอุบตั เิ หตุจากสิง่ แวดล้อม ในโรงเรียนจนไม่สามารถมาเรียนได้ (ตั้งแต่ปีการศึกษาที่ผ่านมาจนถึง ปัจจุบนั )

ไม่มี

– รายงานการเกิดอุบตั เิ หตุของนักเรียนในโรงเรียน ย้อนหลัง 1 ปี

3. ภาชนะขังน้ำในโรงเรียนไม่มลี กู น้ำ

ร้อยละ 100

– เฉลีย่ จากผลการสำรวจที่ผ่านมาย้อนหลัง 3 ครัง้ และผูป้ ระเมินสำรวจเพิม่ เติม

ตรวจสอบเอกสารการสำรวจแหล่ง ลูกน้ำยุงลายย้อนหลัง 3 ครัง้ ● ผูป ้ ระเมินสำรวจเพิม่ เติมอีก 1 ครัง้ รวมเป็น 4 ครัง้ ● หาค่าเฉลี่ยร้อยละของภาชนะที่ไม่มี ลูกน้ำ จากผลการสำรวจทัง้ 4 ครัง้ หมายเหตุ : กรณีทโ่ี รงเรียนไม่ได้เก็บเอกสารการสำรวจไว้ที่โรงเรียนผู้ประเมินควรประสานงานกับสถานีอนามัยเพือ่ ขอดูเอกสารดังกล่าว

                       



ผูป้ ระเมินใช้สำรวจสิง่ แวดล้อมในโรงเรียนตามแบบสำรวจ (ในภาคผนวกของเกณฑ์มาตรฐานการประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ) ● ในกรณีทเ่ี จ้าหน้าทีส ่ าธารณสุขทีร่ บั ผิดชอบโรงเรียนสำรวจไว้แล้ว (ภายในภาคเรียนนัน้ ) ให้ผปู้ ระเมินขอดูเอกสารการสำรวจ และทำการสุม่ สำรวจอีกครัง้ โดยเลือกสำรวจในบางข้อทีม่ คี วามสำคัญ หรือ ยังไม่แน่ใจว่าจะผ่านมาตรฐาน ตรวจสอบจำนวนนักเรียนทีเ่ กิดอุบตั เิ หตุทม่ี สี าเหตุจากสิง่ แวดล้อมในโรงเรียนจนไม่สามารถมาโรงเรียนได้ ย้อนหลัง 1 ปี จากบันทึกของห้องพยาบาล หรือ บันทึกสรุปผลการดำเนินงานห้องพยาบาล

           ⌫             


                   ⌫    ⌫ ⌫          ⌫  



4. นักเรียนมีความพึงพอใจตอบรรยากาศ ภายในโรงเรียน

รอยละ 70 ขึน้ ไป

                       

 ⌫    

⌫   ⌫ 

– สุม สอบถาม / สัมภาษณ นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป (หรือ ม.1 ขึน้ ไป สําหรับโรงเรียน มัธยม) ประมาณ 20 คน

สุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน (ระดับ ประถมศึกษาสุม จากนักเรียนชัน้ ป. 4 ขึน้ ไป ระดับมัธยมศึกษาสุม นักเรียน กระจายทุกระดับชั้น) ● แจกแบบสอบถามใหนักเรียนตอบ (ในกรณีที่นักเรียนไมเขาใจคําถาม ผูประเมินสามารถอธิบายเพิ่มเติมได) ● รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผล และคํานวณคารอยละ (ใช แบบสอบถามนักเรียนเรือ่ ง “ความ พึงพอใจตอบรรยากาศภายในโรงเรียน” ในภาคผนวก 3 )



           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫  

⌫⌦ ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

การตรวจสุขภาพนักเรียน 1. นักเรียนชัน้ ป.1 – ป.4 ไดรบั การ ตรวจสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุข อยางนอยปละ 1 ครัง้

ทุกคน

– อร.14 – สศ.3 / ระเบียนสะสม

2. นักเรียนชัน้ ป.5 ขึน้ ไป ตรวจสุขภาพ ดวยตนเองภาคเรียนละ 1 ครัง้

ทุกคน

– อร.14 – แบบบันทึกการตรวจ สุขภาพดวยตนเองหรือ เอกสารอื่นที่มีลักษณะ คลายกัน

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1- ป.4 ที่ไดรับการตรวจสุขภาพโดยบุคลากร สาธารณสุขจากสมุดบันทึกกิจกรรม อนามัยโรงเรียน (อร.14 ) หรือจาก บันทึกการตรวจสุขภาพในบัตรสุขภาพ (สศ.3) หรือระเบียนสะสม คํานวณรอยละนักเรียนที่ไดรับการ ตรวจสุขภาพ ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่มีการตรวจ สุขภาพดวยตนเองจากสมุดบันทึก กิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือจาก แบบบันทึกการตรวจสุขภาพ ดวยตนเอง หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะ คลายกัน คํานวณรอยละนักเรียนที่ตรวจสุขภาพ ดวยตนเองจากจํานวนนักเรียนชัน้ ป. 5 ขึน้ ไปทัง้ หมด

การเฝาระวังภาวะสุขภาพ 3. นักเรียนชัน้ ป.1 ขึน้ ไปไดรบั การ ทดสอบสายตา ปละ 1 ครัง้

ทุกคน

– อร.14 – สศ.3 / ระเบียนสะสม – เอกสารอื่นที่มีลักษณะ คลายกัน

                       



ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่ไดรับการ ทดสอบสายตาโดยใชแผนทดสอบ สายตาจากสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัย โรงเรียน (อร.14) หรือ จากบัตรสุขภาพ (สศ.3) หรือ ระเบียนสะสม คํานวณรอยละนักเรียนที่ไดรับการ ทดสอบสายตา จากจํานวนนักเรียน ชัน้ ป.1 ขึน้ ไปทัง้ หมด

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫   ⌫  



4. นักเรียนชัน้ ป.1 ไดรบั การทดสอบการ ไดยินอยางงาย

ทุกคน

 ⌫    

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 3

⌫   ⌫  ●

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ไดรับการทดสอบการไดยินจาก สมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือ บัตรสศ.3 หรือ ระเบียนสะสม คํานวณรอยละนักเรียนชั้นป.1 ที่ไดรับการทดสอบการไดยินจาก จํานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ทัง้ หมด

5. นักเรียนชัน้ ป.1 – ป.6 ไดรบั การ ตรวจสุขภาพชองปากโดยบุคลากร สาธารณสุข หรือครูอยางนอยปละ 1 ครัง้

ทุกคน

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 3

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ทีไ่ ดรบั การตรวจ สุขภาพชองปาก จากบันทึก “ทันตสุขภาพในนักเรียน ประถมศึกษา” ในสมุดบันทึกกิจกรรม อนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือ บัตร สศ.3 หรือ ระเบียนสะสม หรือเอกสารอื่นๆ ● คํานวณรอยละนักเรียนที่ไดรับการ ตรวจสุขภาพชองปาก หมายเหตุ : นักเรียนชัน้ ป.1 – ป4 ไดรับการตรวจสุขภาพชองปากจาก บุคลากรสาธารณสุข หรือครู และนักเรียน ชัน้ ป.5– ป.6 ไดตรวจสุขภาพชองปาก ดวยตนเองและตรวจซ้ําเพื่อยืนยันผล โดยครู

6. นักเรียนชัน้ ป.1 – ป.6 ไมมฟี น แทผุ (ฟนที่ไดรับการอุดหรือแกไขแลวถือวา ไมผุ)

ทุกคน

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 3

                       



ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ที่ตรวจพบวามีฟนแทผุจากบันทึก “ทันตสุขภาพในนักเรียนประถมศึกษา” ในสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือตรวจสอบจํานวนจากบัตร สศ3 ระเบียนสะสม หรือเอกสารอืน่ ที่ มีลักษณะคลายกัน คํานวณรอยละนักเรียนที่ไมมีฟนแทผุ จากจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 ทัง้ หมด

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫  

⌫  



7 นักเรียนชัน้ ป.1 - ป.6 ไมมภี าวะ เหงือกอักเสบ

 ⌫    

รอยละ 50 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 3

⌫   ⌫  ●

8. นักเรียนชัน้ ป.1 ไดรบั วัคซีนปองกัน หัด หัดเยอรมัน คางทูม (MMR)

รอยละ 95 ขึน้ ไป

– อร.14 – สศ.3 / ระเบียนสะสม

9. นักเรียนชัน้ ป.1 ทีไ่ มเคยไดรบั วัคซีน ปองกันวัณโรค (BCG) มากอนหรือไม มีประวัติแนชัดและไมมีรอยแผลเปน ตองไดรบั การฉีดวัคซีนBCG 1 ครัง้

ทุกคน

– อร.14 – สศ.3 / ระเบียนสะสม

                       



ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป1-ป.6 ทีม่ ี “สภาวะเหงือกปกติ” จากบันทึก “ทันตสุขภาพในนักเรียนประถมศึกษา” ในสมุดบันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือผลการตรวจสุขภาพใน บัตร สศ3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะคลายกัน คํานวณรอยละนักเรียนที่มีสภาวะ เหงือกปกติ จากจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ทัง้ หมด ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ทีไ่ ดรบั วัคซีนปองกันหัด หัดเยอรมัน คางทูม (MMR) จาก อร.14 หรือ บัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะคลายกัน คํานวณรอยละนักเรียนที่ไดรับวัคซีน สอบถามครูอนามัยหรือครูประจําชั้น นักเรียนชัน้ ป. 1 ถึงวิธกี ารคัดเลือก นักเรียนเพือ่ มาฉีดวัคซีนปองกัน วัณโรควาเปนไปตามที่ระบุไวในตัวชี้วัด หรือไม และนักเรียนที่ตองไดรับวัคซีน มีจํานวนเทาไร ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ ไดรับวัคซีนปองกันวัณโรคจาก อร.14 หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะคลายกัน คํานวณรอยละของนักเรียนที่ไดรับ วัคซีนโดยเทียบจํานวนเต็มจากจํานวนที่ ไดสํารวจไว

           ⌫             


⌫  

    ⌫  

  ⌫ 

 ⌫    

⌫   ⌫ 



10. นักเรียนชัน้ ป.1 ทีไ่ มเคยไดรบั วัคซีน ปองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTP) และวัคซีนปองกันโรคโปลิโอ (OPV) หรือเคยไดรบั นอยกวา 5 ครัง้ ตองไดรบั วัคซีน DTP และ OPV ตามเงือ่ นไข

ทุกคน

– อร.14 – สศ.3 / ระเบียนสะสม

11. นักเรียนชัน้ ป.6 ไดรบั การฉีดวัคซีน ปองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก (dT) กระตุน

รอยละ 95 ขึน้ ไป

– อร.14 – สศ.3 /ระเบียนสะสม

สอบถามครูอนามัยหรือครูประจําชั้น นักเรียนชัน้ ป. 1 ถึงวิธกี ารคัดเลือก นักเรียนเพือ่ มาฉีดวัคซีนปองกันโรค คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน และโปลิโอ วามีความเหมาะสมถูกตองตามที่ระบุ ไวในตัวชีว้ ดั หรือไม และนักเรียนที่ ตองไดรับวัคซีนมีจํานวนเทาไร ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.1 ที่ ไดรบั วัคซีน(ตามตัวชีว้ ดั )จาก อร.14 หรือบัตร สศ.3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะคลายกัน คํานวณรอยละของนักเรียนที่ไดรับ วัคซีนโดยเทียบจํานวนเต็มจากจํานวนที่ ไดสํารวจไว ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ป.6 ที่ไดรับวัคซีนปองกันโรคคอตีบ บาดทะยัก จาก อร.14 หรือ บัตร สศ3 หรือระเบียนสะสม หรือเอกสารอื่นที่มี ลักษณะคลายกัน คํานวณรอยละนักเรียนที่ไดรับวัคซีน

การจัดบริการรักษาพยาบาลเบือ้ งตน 12. นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาสุขภาพ (เชน เหา พยาธิ ฯลฯ) ไดรบั การรักษา

ทุกคน

                       

– สุมสอบถาม/สัมภาษณ นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ประมาณ 20 คน



สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป จํานวน 20 คน จากนัน้ ใหสอบถามหรือ สัมภาษณนักเรียน (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ใน ภาคผนวก 8 ) หมายเหตุ : การรักษา หมายถึงการดําเนิน การใดๆ เพือ่ ใหโรค หรือปญหาสุขภาพ ไดรับการแกใขจนหมดไป ซึ่งอาจไมใช วิธีการใชยาก็ได

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫  

⌫  



13. นักเรียนทีเ่ จ็บปวยเกินขอบเขตการ บริการของหองพยาบาล (เชน ภาวะโลหิตจาง คอพอก ฟนผุ โรคในชองปาก ฯลฯ) ไดรบั การสงตอ เพื่อการรักษา

 ⌫    

ทุกคน

– สมุดบันทึกรายชื่อผู รับบริการและการ สงตอ

⌫   ⌫  ●

สอบถามจากครูอนามัยเรือ่ ง จํานวน นักเรียนทีเ่ จ็บปวยมากเกินขอบเขต บริการของหองพยาบาล และวิธี ชวยเหลือนักเรียนกลุม นี้ (ควรเปนวิธที ี่ เหมาะสม เชน พาไปสถานีอนามัย เขียนจดหมายถึงผูปกครองใหพานัก เรียนไปตรวจรักษา ที่ไมใชบอกดวย วาจาใหนักเรียนไปหาหมอเอง) ตรวจสอบเอกสารของหองพยาบาล เพื่อหาหลักฐานการใหความชวยเหลือ หรือการสงตอนักเรียนไปรับบริการ ณ สถานบริการสุขภาพภายนอกโรงเรียน และตรวจสอบจํานวน คํานวณคารอยละ

⌫⌦ ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

การตรวจสุขภาพนักเรียน 1. นักเรียนชัน้ ม.1 ขึน้ ไป ตรวจสุขภาพ ดวยตนเอง ภาคเรียนละ 1 ครัง้

ทุกคน

– อร.14 – แบบบันทึกการตรวจ สุขภาพดวยตนเองหรือ เอกสารอื่นที่มีลักษณะ คลายกัน

                       



ตรวจสอบจํานวนนักเรียนชัน้ ม.1 ขึน้ ไปทีไ่ ดตรวจสุขภาพตนเองจาก อร.14 หรือบันทึกของหองพยาบาล ตรวจสอบแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ ดวยตนเองหรือเอกสารอื่นที่มีลักษณะ คลายกัน เพือ่ ยืนยันวานักเรียนชัน้ ม.1 ขึน้ ไป มีการตรวจสุขภาพดวยตนเอง จริง คํานวณรอยละของนักเรียนที่มีการ ตรวจสุขภาพดวยตนเอง

           ⌫             


  ⌫ 

    ⌫   ⌫  



2. นักเรียนทุกชัน้ ไดรบั การทดสอบสายตา ปละ 1 ครัง้

ทุกคน

 ⌫    

– อร.14 – สศ.3 / ระเบียนสะสม – เอกสารอื่นที่มีลักษณะ คลายกัน

⌫   ⌫  ●

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่ไดรับการ ทดสอบสายตาจาก อร.14 หรือ บัตรสศ.3 หรือ ระเบียนสะสม หรือ แบบบันทึกการตรวจสุขภาพดวย ตนเอง คํานวณรอยละนักเรียนที่ไดรับการ ทดสอบสายตา

3. นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาดานสุขภาพ ( เชน มีไข เปนหวัด ปวดทอง ฯลฯ ) ไดรับการรักษา

ทุกคน

– สุมสอบถามหรือ สัมภาษณนักเรียน ทุกระดับชั้นประมาณ 20 คน

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ม.1 ขึน้ ไป จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามให ตอบ ● คํานวณรอยละจากจํานวนเต็ม 20 คน (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ในภาคผนวก 8 )

4. นักเรียนทีเ่ จ็บปวยเกินขอบเขต การบริการของหองพยาบาล ( เชน หอบหืด โลหิตจาง ฯลฯ ) ไดรบั การแนะนําชวยเหลือ / สงตอ เพื่อการรักษา

ทุกคน

– สมุดบันทึกรายชื่อผูรับ บริการและการสงตอ

                       



สอบถามจากครูอนามัยเรือ่ ง จํานวน นักเรียนทีเ่ จ็บปวยมากเกินขอบ เขตบริการของหองพยาบาล และวิธี ชวยเหลือนักเรียนกลุม นี้ (ควรเปนวิธที ี่ เหมาะสม เชน พาไปสถานีอนามัย เขียนจดหมายถึงผูปกครองใหพานัก เรียนไปตรวจรักษา ที่ไมใชบอกดวย วาจาใหนักเรียนไปหาหมอเอง) ตรวจสอบเอกสารของหองพยาบาล เพื่อหาหลักฐานการใหความชวยเหลือ หรือการสงตอนักเรียนไปรับบริการ ณ สถานบริการสุขภาพภายนอกโรงเรียน และตรวจสอบจํานวน คํานวณคารอยละ

           ⌫             


  ⌫ 

  ⌦  ⌫  

⌫⌦ ⌫  



 ⌫    

1. นักเรียนเคยไดรับการฝกทักษะในเรื่อง ตอไปนี้ 1.1 การรักษาความสะอาดของรางกาย รอยละ 80 ขึน้ ไป

⌫   ⌫ 

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามให ตอบ หรือสัมภาษณตามแบบสอบถาม ● คํานวณรอยละจากจํานวนเต็ม 20 คน (ใชแบบสอบถาม “สุขศึกษาในโรงเรียน” ในภาคผนวก 4) ●

1.2 การลางมือ 1.3 การเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน ตอรางกาย 1.4 การไมรับประทานอาหารที่มี สารอันตราย 1.5 การหลีกเลี่ยงสารเสพติด 1.6 การปองกันอุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั 1.7 การหลีกเลีย่ งการพนัน การเทีย่ ว กลางคืน 1.8 การจัดการอารมณของตนเอง 1.9 ความปลอดภัยในชีวิตและการถูก ลวงละเมิดทางเพศ

รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ประมาณ 20 คน เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1

รอยละ 80 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1

รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1

รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 1.1

2. มีกจิ กรรมเผยแพรความรู ดานสุขภาพ ในโรงเรียน ( เชน เสียงตามสาย การรณรงค ปายนิเทศ นิทรรศการ แจกเอกสาร ฯลฯ )

3 กิจกรรมขึน้ ไป

– สอบถามครูอนามัย – บันทึกการจัดกิจกรรม

3. นักเรียนชัน้ ป.1 – ป.6 แปรงฟน หลังอาหารกลางวันทุกวันดวยยาสีฟน ผสมฟลูออไรด

ทุกคน

– สุมตรวจสอบนักเรียน ในชัน้ พรอมดูสถานที่ และอุปกรณประกอบ – สังเกตกิจกรรมการ แปรงฟน

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถาม ใหตอบ ● คํานวณรอยละจากจํานวนเต็ม 20 คน ● สํารวจสถานที่และอุปกรณการ แปรงฟนหรือสังเกตกิจกรรมการ แปรงฟนของนักเรียนชัน้ ป.1-ป.6 เพื่อยืนยันวานักเรียนมีการแปรงฟน หลังอาหารกลางวันทุกวันดวยยาสีฟน ผสมฟลูออไรดจริง (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ในภาคผนวก 8 )

                       



สอบถามครูอนามัย หรือ ตรวจสอบ บันทึกการจัดกิจกรรม เพือ่ ยืนยันวามี กิจกรรมเผยแพรความรู ดานสุขภาพ ในโรงเรียน 3 กิจกรรมขึน้ ไปจริง

           ⌫             


  ⌫ 

  ⌦  ⌫   ⌫  



4. นักเรียนทุกชัน้ ไมเปนเหา

ทุกคน

 ⌫    

สุมตรวจผมนักเรียนหญิง 10 คน

⌫   ⌫  ●

สุม ตัวอยางนักเรียนหญิงจากทุกชัน้ จํานวน 10 คน เพือ่ ตรวจหานักเรียนที่ เปนเหา คํานวณรอยละจากจํานวนเต็มที่ตรวจ ผม

⌫⌦ ⌫  



1. นักเรียนเคยไดรับการฝกทักษะใน เรื่องตอไปนี้ 1.1 การเลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน ตอรางกาย

 ⌫    

⌫   ⌫ 

สุมตัวอยางนักเรียนทุกระดับชั้น จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามให ตอบ ● คํานวณรอยละจากจํานวนเต็ม 20 คน (ใชแบบสอบถาม “สุขศึกษาในโรงเรียน” ในภาคผนวก 4) ●

รอยละ 80 ขึน้ ไป

1.2 การไมรับประทานอาหารที่มีสาร อันตราย 1.3 การหลีกเลี่ยงสารเสพติด 1.4 การปองกันอุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั 1.5 การหลีกเลีย่ งการพนัน การเทีย่ ว กลางคืน 1.6 การจัดการอารมณของตนเอง 1.7 การหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ กอนวัยอันควร

รอยละ 80 ขึน้ ไป

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ นักเรียนทุกระดับชัน้ ประมาณ 20 คน เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที 1.1

รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที 1.1

รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 80 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที 1.1 เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที 1.1

2. มีกจิ กรรมเผยแพรความรู ดานสุขภาพ ในโรงเรียน ( เชน เสียงตามสาย การรณรงค ปายนิเทศ นิเทศการ แจกเอกสาร ฯลฯ )

3 กิจกรรมขึน้ ไป

- สอบถามครูอนามัย - บันทึกการจัดกิจกรรม

                       



สอบถามครูอนามัยวาโรงเรียนไดจัด กิจกรรมเผยแพรความรูเรื่องอะไรบาง หรือ ตรวจสอบบันทึกการจัดกิจกรรม เผยแพรความรูดานสุขภาพ

           ⌫             


  ⌫ 

⌫   

⌫⌦ ⌫  



1. นักเรียนชัน้ ป.1 ขึน้ ไปมีสว นสูงตาม เกณฑอายุ อยูใ นเกณฑดี (สวนสูงตาม เกณฑ+คอนขางสูง+สูง) ตามกราฟ แสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโต ของกรมอนามัย (2542)

 ⌫    

รอยละ 95 ขึน้ ไป

– อร.14 – รายงานการเฝาระวัง ภาวะการเจริญเติบโต ของนักเรียน – อืน่ ๆ

⌫   ⌫  ●

ตรวจสอบจํานวนนักเรียน “เตีย้ ” จาก อร. 14 (หรือจากเอกสารอืน่ ๆ ทีบ่ นั ทึกไว) นําจํานวนมาคิดรอยละ เทียบจากจํานวนนักเรียนทีช่ งั่ น้าํ หนัก วัดสวนสูงทัง้ หมด นํารอยละของนักเรียน “เตีย้ ” ลบจาก 100 ไดเปนรอยละของนักเรียนทีม่ ี สวนสูงตามเกณฑอายุอยูในเกณฑดี

2. นักเรียนชัน้ ป.1 ขึน้ ไปมีนา้ํ หนักตาม เกณฑสว นสูงอยูใ นเกณฑดี (สมสวน)

รอยละ 85 ขึน้ ไป

เชนเดียวกับขอ 1

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนทีม่ นี า้ํ หนัก ตามเกณฑสวนสูงอยูในเกณฑดี (ในอร.14 ใชคาํ วา “น้าํ หนักตามเกณฑ สวนสูงปกติ”) จากสรุปผลการเฝา ระวังภาวะการเจริญเติบโตในสมุด บันทึกกิจกรรมอนามัยโรงเรียน (อร.14) หรือเอกสารอื่นของโรงเรียน

3. นักเรียนทีพ่ บวามีภาวะการเจริญเติบโต ผิดปกติไดรับการแกไข

ทุกคน

โครงการหรือวิธีแกไขที่ โรงเรียนจัดทํา

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่มีภาวะการ เจริญเติบโตผิดปกติจากสุมดบันทึก กิจกรรมอนามัยโรงเรียน(อร.14) หรือเอกสารอื่นของโรงเรียน ตรวจสอบเอกสารโครงการหรือบันทึก การแกไขของโรงเรียน เพื่อยืนยันวา นักเรียนที่มีภาวะการเจริญเติบโตผิด ปกติไดรับการแกไขจริง คํานวณคารอยละจากจํานวนนักเรียนที่ มีภาวะการเจริญเติบโตผิดปกติทงั้ หมด

4. นักเรียนชัน้ ป.1 ขึน้ ไปไดรบั ยาเม็ด เสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด (60 มิลลิกรัม) ตอสัปดาห

โครงการ / กิจกรรมของ โรงเรียน

ทุกคน

                       



สอบถามครูอนามัย หรือตรวจสอบ เอกสาร เชน โครงการ บันทึกกิจกรรม ดานสุขภาพของโรงเรียน หรือเอกสาร อืน่ ๆ เพือ่ ยืนยันวา นักเรียนชัน้ ป.1 – ป.6 ไดรบั ยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด (60 มิลลิกรัม) ตอสัปดาหจริง คํานวณคารอยละจากจํานวนนักเรียน ชัน้ ป.1 – ป.6 ทัง้ หมด

           ⌫             


  ⌫ 

⌫    ⌫  



5. นักเรียนไดรับการตรวจภาวะขาดสาร ไอโอดีน (โดยวิธคี ลําคอ) ปละ 1 ครัง้

ทุกคน

 ⌫    

– อร.14 – สศ.3

⌫   ⌫  ●

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่ไดรับการ ตรวจภาวะขาดสารไอโอดีน (ดวยวิธี คลําคอ) จากเอกสารตางๆ เชน อร.14, บัตรสุขภาพ (สศ.3) , แบบบันทึกการ ตรวจสุขภาพดวยตนเอง หรือเอกสาร อืน่ ๆ คํานวณคารอยละจากจํานวนนักเรียน ชัน้ ป.1 – ป.6 ทัง้ หมด

6. นักเรียนไดรับประทานอาหารครบ 5 หมูท กุ วัน

ทุกคน

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ประมาณ 20 คน

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ใหกระจายทุกชัน้ จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามใหตอบ (กรณีที่ นักเรียนไมเขาใจ อาจใชวธิ กี าร สัมภาษณตามแบบสอบถามแทนได) ● รวบรวมแบบสอบถาม และสรุปผล (ใชแบบสอบถาม “การรับประทาน” ในภาคผนวก 6 )

7. นักเรียน ป.1 –ป.6 ไดดมื่ นมทุกวัน (ยกเวนนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ เกิน)

ทุกคน

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 6

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ใหกระจายทุกชัน้ จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามใหตอบ (กรณีที่ นักเรียนไมเขาใจ อาจใชวธิ กี าร สัมภาษณตามแบบสอบถามแทนได) ● รวบรวมแบบสอบถาม และคํานวณคา รอยละ (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ในภาคผนวก 8 ) หมายเหตุ : การดืม่ นมทุกวันอนุโลมให หมายถึง เฉพาะวันเปดเรียนได

8. นักเรียนมีความรูใ นการเลือก รับประทานอาหารที่มีคุณคา ถูกหลักโภชนาการและความปลอดภัย

ทุกคน

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 6

                       



สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามให ตอบ รวบรวมแบบสอบถามเพื่อสรุปผล (ใชแบบสอบถาม “ความรูในการเลือก รับประทานอาหาร” ในภาคผนวก 5 )

           ⌫             


  ⌫ 

⌫   

⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

9. การจําหนายอาหารที่มีผลเสียตอ สุขภาพ ( เชน ทอฟฟ น้าํ อัดลม ขนมถุงกรุบกรอบ ฯลฯ )

ไมมี

สํารวจสภาพจริง

10. มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของ โรงอาหารในโรงเรียน

ผานมาตรฐานทุกขอ (30 ขอ)

ผลการสํารวจสุขาภิบาล อาหารตามแบบสํารวจใน ภาคผนวก และสังเกต สภาพจริงโดยผูประเมิน

ผูประเมินสํารวจโรงอาหาร รานคา สหกรณ ฯลฯ เพือ่ ดูวา มีการจําหนาย อาหารที่มีผลเสียตอสุขภาพหรือไม

ผูประเมินสํารวจสุขาภิบาลอาหารใน โรงเรียนตามแบบสํารวจ (ในภาคผนวกของเกณฑมาตรฐานการ ประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ) ● ในกรณีที่เจาหนาที่สาธารณสุขที่รับ ผิดชอบโรงเรียนสํารวจไวแลว (ภายในภาคเรียนนัน้ ) ใหผปู ระเมินขอดู เอกสารการสํารวจ และทําการสุม สํารวจอีกครั้ง โดยเลือกสํารวจในบาง ขอทีม่ คี วามสําคัญ หรือ ยังไมแนใจวา จะผานมาตรฐาน

⌫⌦ ⌫  



1. นักเรียนมีสว นสูงตามเกณฑอายุ อยูใ นเกณฑดี (สวนสูงตามเกณฑ+ คอนขางสูง+สูง) ตามกราฟแสดง เกณฑอางอิงการเจริญเติบโต ของกรมอนามัย (2542)

 ⌫    

– อร.14 – รายงานการเฝาระวัง ภาวะการเจริญเติบโต ของนักเรียน – อืน่ ๆ

รอยละ 95 ขึน้ ไป

⌫   ⌫  ●

2. นักเรียนมีนา้ํ หนักตามเกณฑสว นสูงอยู ในเกณฑดี (สมสวน)

รอยละ 85 ขึน้ ไป

                       

– เชนเดียวกับกับขอ 1



ตรวจสอบจํานวนนักเรียน “เตีย้ ” จาก อร. 14 (หรือจากเอกสารอืน่ ๆ ทีบ่ นั ทึกไว) นําจํานวนมาคิดรอยละ เทียบจากจํานวนนักเรียนทีช่ งั่ น้าํ หนัก วัดสวนสูงทัง้ หมด นํารอยละของนักเรียน “เตีย้ ” ลบจาก 100 ไดเปนรอยละของนักเรียนทีม่ ี สวนสูงตามเกณฑอายุอยูในเกณฑดี ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน อร.14 รายงานการเฝาระวังภาวะการ เจริญเติบโตของนักเรียน หรือเอกสาร อืน่ ๆ เพือ่ ยืนยันวานักเรียนมีนา้ํ หนัก ตามเกณฑสวนสูงอยูในเกณฑดีจริง

           ⌫             


  ⌫ 

⌫    ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

3. นักเรียนทีพ่ บวามีภาวะการเจริญเติบโต ผิดปกติไดรับการแกไข

ทุกคน

– โครงการหรือวิธีแกไขที่ โรงเรียนจัดทํา

4. นักเรียนไดรับประทานอาหารครบ 5 หมูท กุ วัน

ทุกคน

– สุมสอบถามหรือ สัมภาษณนักเรียน ทุกระดับชัน้ ประมาณ 20 คน

5. นักเรียนมีความรูใ นการเลือก รับประทานอาหารที่มีคุณคา ถูกหลักโภชนาการและความปลอดภัย

ทุกคน

– เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 4

6. การจําหนายอาหารที่มีผลเสีย ตอสุขภาพ ( เชน ทอฟฟ น้าํ อัดลม ขนมถุงกรุบกรอบ ฯลฯ )

ไมมี

– สังเกตสภาพจริง

7. มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของ โรงอาหารในโรงเรียน

ผานมาตรฐานทุกขอ (30 ขอ)

– ผลการสํารวจ สุขาภิบาลอาหารตาม แบบสํารวจในภาค ผนวก และสังเกต สภาพจริงโดยผูประเมิน

ผูประเมิน สํารวจสุขาภิบาลอาหารของ โรงเรียน* ● ในกรณีที่เจาหนาที่สาธารณสุขที่รับ ผิดชอบโรงเรียนสํารวจไวแลว (ภายในภาคเรียนนัน้ ) ใหผปู ระเมินขอดู เอกสารการสํารวจ และทําการสุม สํารวจอีกครั้ง โดยเลือกสํารวจในบาง ขอทีม่ คี วามสําคัญ หรือ ยังไมแนใจวา จะผานมาตรฐาน (*ใช “แบบสํารวจสุขาภิบาลอาหารใน โรงเรียน” ในภาคผนวกของเอกสาร “เกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียน สงเสริมสุขภาพ”)

                       



ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน โครงการหรือบันทึกการแกไขของ โรงเรียน เพือ่ ยืนยันวานักเรียนทีม่ ี ภาวะการเจริญเติบโตผิดปกติไดรับ การแกไขจริง

สุมตัวอยางนักเรียนใหกระจายทุก ระดับชัน้ จํานวน 20 คน ใหตอบ แบบสอบถาม (ใชแบบสอบถาม “การรับประทาน” ในภาคผนวก 6 ) สุมตัวอยางนักเรียนใหกระจายทุก ระดับชัน้ จํานวน 20 คน ใหตอบ แบบสอบถาม (ใชแบบสอบถาม “ความรูในการเลือก รับประทานอาหาร” ในภาคผนวก 5 ) ผูประเมินสํารวจโรงอาหาร รานคา สหกรณ ฯลฯ เพือ่ ดูวา มีการจําหนาย อาหารที่มีผลเสียตอสุขภาพหรือไม

           ⌫             


  ⌫ 

    

⌫  



⌫     

 ⌫    

⌫   ⌫ 

1. มีสถานที่และอุปกรณออกกําลังกายที่ อยูในสภาพพรอมใชงาน

มีทั้งสถานที่และ อุปกรณ

– สังเกต

ผูป ระเมินสํารวจสถานที่ และ อุปกรณ ออกกําลังกายของโรงเรียนวาอยูในสภาพ พรอมใชงาน ไมชาํ รุดเสียหายจนอาจเปน อันตรายตอนักเรียน

2. จัดกิจกรรมออกกําลังกายสําหรับ นักเรียน และ /หรือประชาชน

อยางนอยสัปดาหละ 3 วัน ๆ ละ อยางนอย 30 นาที

– สอบถามครูพลานามัย – บันทึกการจัดกิจกรรม

สอบถามครูพลานามัยหรือตรวจสอบ เอกสารที่บันทึกการจัดกิจกรรมของ โรงเรียนถึงลักษณะของกิจกรรม จํานวน วันทีจ่ ดั และระยะเวลาทีจ่ ดั วาเปนไปตาม เกณฑหรือไม

3. มีชมรม / ชุมนุม / กลุม จัดกิจกรรม ออกกําลังกาย กีฬา นันทนาการ ในโรงเรียน

1 ชมรม / ชุมนุม / กลุม ขึน้ ไป

– บันทึกของชมรม / ชุมนุม / กลุม

ตรวจสอบเอกสารที่มีการบันทึกกิจกรรม ของชมรม หรือ ชุมนุม หรือ กลุม ทีท่ าํ กิจกรรมออกกําลังกาย กีฬา นันทนาการ

4. นักเรียนไดรับการทดสอบสมรรถภาพ ทางกายอยางนอยปละ 1 ครัง้ ตามเกณฑทดสอบที่ไดรับการยอมรับ

ทุกคน

– รายงานผลการทดสอบ สมรรถภาพนักเรียน

ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่ไดรับการ ทดสอบสมรรถภาพทางกาย จากเอกสาร ของโรงเรียนทีบ่ นั ทึกไวยอ นหลังไมเกิน 1 ปการศึกษา คํานวณรอยละจากจํานวนนักเรียนทั้งหมด

5. นักเรียนมีสมรรถภาพทางกาย ผานเกณฑมาตรฐาน

รอยละ 60 ขึน้ ไป

– เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 4

6. ใหคําปรึกษาแกนักเรียนที่ไมผาน เกณฑทดสอบสมรรถภาพทางกาย และติดตามความกาวหนา

ทุกคน

                       

– สอบถามครูพลานามัย – บันทึกของครูพลานามัย – สุมสอบถามนักเรียนที่ ไมผานเกณฑทดสอบ ประมาณ 20 คน



ตรวจสอบจํานวนนักเรียนที่ไดรับการ ทดสอบสมรรถภาพทางกาย และจํานวน นักเรียนที่ผานเกณฑมาตรฐาน จากเอกสารของโรงเรียนที่บันทึกไวยอน หลังไมเกิน 1 ปการศึกษา คํานวณรอยละ โดยคิดฐานจากจํานวน นักเรียนที่ไดรับการทดสอบทั้งโรงเรียน สอบถามครูพลานามัยเรื่องวิธีดําเนินการ กับนักเรียนทีไ่ มผา นการทดสอบ หรือ ตรวจสอบบันทึกเรื่องการทดสอบ สมรรถภาพของครูพลานามัย สุมสอบถามนักเรียนที่ไมผานเกณฑ ทดสอบประมาณ 20 คน กรณีมนี กั เรียนที่ ไมผานเกณฑทดสอบสมรรถภาพทางกาย นอยกวา 10 คนใหสอบถามทุกคน

           ⌫             


  ⌫ 

   ⌦         ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

1. ครูประจําชั้นคัดกรองและสามารถระบุ นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาได

ครูประจําชัน้ ทุกคน

– รายงานผลการสํารวจ นักเรียนรายบุคคล – แฟมประวัตินักเรียน – รายงานระบบดูแล ชวยเหลือนักเรียน

2. นักเรียนทีม่ พี ฤติกรรมเสีย่ งไดรบั การ เฝาระวังและชวยเหลือเบื้องตน

ทุกคน

– สมุดบันทึกพฤติกรรม นักเรียน – สมุดบันทึกของ ครูประจําชั้น

– เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 2 – บันทึกการสงตอ

3. นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาเกินขีดความสามารถ ของโรงเรียนไดรับการสงตอ

ทุกคน

                       



ในโรงเรียนที่มีระบบดูแลชวยเหลือ ใหตรวจสอบเอกสาร เชน สรุปผลการ สํารวจนักเรียนรายบุคคล แฟมประวัติ นักเรียน จากครูประจําชัน้ ● ในกรณีที่โรงเรียนแจงวายังไมมีการ ดําเนินงานระบบดูแลชวยเหลือใหสุม สอบถามจากครูประจําชั้นวามีวิธีการ ใดในการคัดกรองนักเรียน และขอดู แฟมประวัตินักเรียนวามีการบันทึก ขอมูลการคัดกรองไวหรือไม กรณีที่เปนโรงเรียนขนาดใหญใหผูประเมิน พิจารณาสุมตรวจสอบเอกสารบางชั้นเรียน

สอบถามจากครูแนะแนว หรือ ครูประจําชั้น ตรวจสอบเอกสารที่บันทึกเรื่องการ ชวยเหลือนักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง เชน สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน หรือสมุดบันทึกของครูประจําชั้นเพื่อ ยืนยันวานักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงได รับการเฝาระวังและชวยเหลือใน เบือ้ งตนจริง ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน สมุดบันทึกของครูประจําชัน้ หรือสมุด บันทึกการสงตอ เพือ่ ยืนยันวานักเรียน ทีม่ ปี ญ  หาเกินขีดความสามารถของ โรงเรียนไดรับการสงตอจริง

           ⌫             


  ⌫ 

   ⌦        

⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

4. นักเรียนทีม่ พี ฤติกรรมเสีย่ งและทีไ่ ดรบั การชวยเหลือหรือสงตอ ไดรับการ ติดตามจากครู

ทุกคน

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 3

5. นักเรียนสามารถปรึกษาเพือ่ น / พอแม / ญาติพนี่ อ ง / ครู ทุกครัง้ ทีม่ ปี ญ  หา

ทุกคน

สุมสอบถามหรือสัมภาษณ นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป (หรือ ม.1 ขึน้ ไป สําหรับ โรงเรียนมัธยม) ประมาณ 20 คน

                       



ตรวจสอบเอกสารหลักฐานตางๆ เชน สมุดบันทึกพฤติกรรมนักเรียน สมุดบันทึกของครูประจําชัน้ หรือสมุด บันทึกการสงตอ เพือ่ ยืนยันวาครูไดมี การติดตามนักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยง และที่ไดรับการชวยเหลือหรือสงตอ จริง

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป (ในโรงเรียนประถม และสุมกระจาย ทุกระดับชัน้ ในโรงเรียนมัธยม) จํานวน 20 คน แจกแบบสอบถามใหตอบ ● รวบรวมแบบสอบถาม สรุปผล และ คํานวณคารอยละ (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ใน ภาคผนวก 8 )

           ⌫             


  ⌫ 

        ⌫   ⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

1. บุคลากรในโรงเรียนมีการประเมิน สุขภาพ อยางนอยปละ 1 ครัง้

สัดสวน 3 ใน 4 ขึ้นไปของบุคลากรใน โรงเรียนทัง้ หมด

– สุมสัมภาษณบุคลากร ในโรงเรียนประมาณ 10 คน – หลักฐานการตรวจ สุขภาพ – หลักฐานอืน่ ๆ

2. บุคลากรไดรับขอมูลขาวสารเรื่อง สุขภาพ อยางนอยสัปดาหละครัง้ (จากทุกแหลงขอมูล เชน โทรทัศน เสียงตามสาย หนังสือพิมพ เปนตน)

ทุกคน

– สุมสัมภาษณบุคลากร ในโรงเรียนประมาณ 10 คน

3. การสูบบุหรี่ในบริเวณโรงเรียน

ไมมี

– สุม สอบถาม / สัมภาษณนักเรียนชั้น ป.4 ขึน้ ไป (หรือ ม.1 ขึน้ ไป สําหรับโรงเรียน มัธยม) ประมาณ 20 คน

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ( หรือ ม.1 ขึน้ ไป สําหรับโรงเรียน มัธยม ) จํานวน 20 คน ใหตอบแบบ สอบถามหรือสัมภาษณตามแบบ สอบถาม (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ในภาคผนวก 8 )

4. โรงเรียนมีมาตรการปองกันการสูบบุหรี่ ในโรงเรียน ( เชน ติดปายหาม ตรวจสอบพฤติกรรม ฯลฯ )

มี

– สํารวจสภาพจริง – สอบถามครูหรือ นักเรียน

                       



สุมตัวอยางบุคลากรในโรงเรียน (ครูและบุคลากรอืน่ )จํานวน 10 คน ใหตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ ตามแบบสอบถาม ● หรือ ตรวจสอบจากเอกสาร เชน หลักฐานการตรวจสุขภาพ หรือ หลักฐานอืน่ ๆ ทีแ่ สดงวามีการประเมิน สุขภาพ ● คิดสัดสวนผูที่มีการประเมินสุขภาพ (ใชแบบสอบถาม “การสงเสริมสุขภาพ บุคลากรในโรงเรียน” ในภาคผนวก 7 ) สุมตัวอยางบุคลากรในโรงเรียน (ครูและบุคลากรอืน่ )จํานวน 10 คน ใหตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ ตามแบบสอบถาม ● รวบรวมแบบสอบถาม และคิดสัดสวน ผูไดรับขอมูล (ใชแบบสอบถาม “การสงเสริมสุขภาพ บุคลากรในโรงเรียน” ในภาคผนวก 7 ) ●

ผูประเมินจากการสํารวจสภาพจริงใน โรงเรียน หรือ สอบถามจากครูหรือนักเรียน

           ⌫             


  ⌫ 

        ⌫  

⌫  



 ⌫    

⌫   ⌫ 

5. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลในบริเวณ โรงเรียน

ไมมี

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 3

สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ( สําหรับโรงเรียนประถม หรือ ม.1 ขึน้ ไป สําหรับโรงเรียนมัธยม ) จํานวน 20 คน ใหตอบแบบสอบถามหรือ สัมภาษณตามแบบสอบถาม (ใชแบบสอบถาม “ตัวชีว้ ดั ตางๆ” ใน ภาคผนวก 8 )

6. บุคลากรในโรงเรียนรวมกิจกรรมดาน สงเสริมสุขภาพทีจ่ ดั ขึน้ ตามแผนงาน ของโรงเรียน

สัดสวน 3 ใน 4 ขึน้ ไป ของบุคลากรใน โรงเรียนทัง้ หมด

เชนเดียวกับตัวชีว้ ดั ที่ 2

สุมตัวอยางบุคลากรในโรงเรียน (ครูและบุคลากรอืน่ )จํานวน 10 คน ใหตอบแบบสอบถามหรือสัมภาษณ ตามแบบสอบถาม ● คิดสัดสวนผูเขารวมกิจกรรม (ใชแบบสอบถาม “การสงเสริมสุขภาพ บุคลากรในโรงเรียน” ในภาคผนวก 7 )

                       



           ⌫             


 

⌫⌫



⌦⌫



⌦⌫



⌦⌫











⌫



⌫


      

     ⌫          ⌫     ⌫  ⌫  

ตัวชีว้ ดั ที่ 4 บุคลากรในโรงเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการสงเสริมสุขภาพ ตัวชีว้ ดั ที่ 5 ผูป กครองทราบนโยบายหรือกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการสงเสริมสุขภาพ ตัวชีว้ ดั ที่ 6 นักเรียนทราบนโยบายหรือกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการสงเสริมสุขภาพ คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. ผูต อบแบบสอบถามมี 3 กลุม คือ นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน (ครู และ บุคลากร อืน่ ๆทีไ่ มใชครู) และ ผูป กครอง 2. ผูป ระเมินสุม ตัวอยาง ดังนี้ 2.1 โรงเรียนระดับประถมศึกษา ใหสุมตัวอยางนักเรียนชั้น ป. 4 ขึ้นไป กระจาย ทุกระดับชัน้ ประมาณ 20 คน 2.2 โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ม.1-ม.6 กระจายทุกระดับชัน้ ประมาณ 20 คน 2.3 บุคลากรในโรงเรียน 10 คน (โรงเรียนทีม่ บี คุ ลากรไมครบ 10 คน ใหสอบถามทุกคน) 2.4 ผูป กครองนักเรียน 10 คน (ควรประสานงานกับโรงเรียนไวกอ น) 3. เกณฑการวิเคราะห 3.1 กรณีทผี่ ตู อบแบบสอบถามระบุ “กิจกรรม” แทนการระบุนโยบาย ใหผปู ระเมินตรวจ สอบโดยการเทียบเคียงกับนโยบายของโรงเรียน 3.2 ผูต อบตองตอบถูกไมนอ ยกวาครึง่ หนึง่ ของนโยบายฯ จึงจะถือวา “ทราบ” 3.3 รวมจํานวนผูต อบที่ “ทราบ” เพือ่ คํานวณรอยละ

                       



           ⌫             


   ⌫          ⌫   

⌫    

 ⌫   

ขอใหนกั เรียนตอบคําถามตอไปนีต้ ามความเปนจริง การตอบคําถามทุกขอไมเกีย่ วกับคะแนน 1. ขณะนีน้ กั เรียนกําลังศึกษาในชัน้ ......................................................................................................... 2. นักเรียนทราบหรือไมวา โรงเรียนไดจดั กิจกรรมตางๆ มากมายเพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องนักเรียนและทุกคนในโรงเรียน ( ) ไมทราบ (ไมตอ งตอบคําถามขอ 3) ( ) ทราบ 3. นโยบาย หรือ กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสุขภาพในโรงเรียนของนักเรียนมีอะไรบาง ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณนักเรียนทีใ่ หความรวมมือ

                       



           ⌫             


   ⌫          ⌫         

ขอใหทา นตอบคําถามตอไปนีต้ ามความเปนจริง 1. ทานทราบหรือไมวา โรงเรียนไดจดั กิจกรรมตางๆ มากมายเพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องนักเรียนทีเ่ ปนบุตร หลานของทาน และทุกคนในโรงเรียน ( ) ไมทราบ (ไมตอ งตอบคําถามขอ 2) ( ) ทราบ 2. นโยบาย หรือ กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับสุขภาพในโรงเรียนตามทีท่ า นทราบมีอะไรบาง ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ขอขอบคุณผูป กครองทีใ่ หความรวมมือ

                       



           ⌫             


   ⌫          ⌫      

      ⌫  

ขอใหทา นตอบคําถามตอไปนีต้ ามความเปนจริง 1. ทานทราบหรือไมวา โรงเรียนของทานไดกาํ หนดนโยบายตางๆ เพือ่ สุขภาพทีด่ ขี องนักเรียนและทุกคนในโรงเรียน ( ) ไมทราบ (ไมตอ งตอบคําถามขอ 2) ( ) ทราบ 2. ขอใหทา นระบุนโยบาย (หรือกิจกรรม) ตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับสุขภาพของโรงเรียนมาตามทีท่ า นทราบ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ขอขอบคุณทุกทานทีใ่ หความรวมมือ

                       



           ⌫             


      

     ⌦        ⌫       ⌫      ⌫    

ตัวชีว้ ดั ที่ 3 นักเรียนมีความพึงพอใจตอโครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน ตัวชีว้ ดั ที่ 4 ประชาชนมีความพึงพอใจตอโครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. ผูต อบแบบสอบถามมี 2 กลุม คือ นักเรียน และประชาชน (ผูป กครอง และ สมาชิกอืน่ ใน ชุมชน) 2. ผูป ระเมินสุม ตัวอยาง 2.1 นักเรียนประมาณ 20 คน (ระดับประถมศึกษาสุม นักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป ระดับมัธยม ศึกษาสุม นักเรียนกระจายทุกระดับชัน้ ) 2.2 ผูป กครอง และ สมาชิกอืน่ ในชุมชน 10 คน 3. เกณฑการวิเคราะห 3.1 คะแนนเต็ม 15 คะแนน 3.2 คะแนนระหวาง 8 – 15 คะแนน หมายถึง “พึงพอใจ” 3.3 คะแนนนอยกวา 8 คะแนน หมายถึง “ไมพงึ พอใจ” 4. รวมจํานวนผูต อบ “พึงพอใจ” เพือ่ คํานวณรอยละ ระดับการประเมิน รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 70 – 79 นอยกวารอยละ 70

จํานวนนักเรียนที่ “พึงพอใจ” 16 – 20 คน 12 – 15 คน 1 – 11 คน

ระดับการประเมิน รอยละ 60 ขึน้ ไป รอยละ 50 – 59 นอยกวารอยละ 50

จํานวนประชาชนที่ “พึงพอใจ” 6 –10 คน 5 คน 0 – 4 คน

                       



           ⌫             


   ⌦        ⌫    

ผูต อบแบบสอบถามคือ ( ) นักเรียน ( ) ผูป กครองนักเรียน ( ) สมาชิกในชุมชน (ไมไดเปนผูป กครอง) โปรดอานขอความแลวตอบตามความรูส กึ ทีแ่ ทจริงของทาน โดยทําเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชองวาง มาก (3)

ขอความ

ปานกลาง (2)

นอย (1)

สําหรับผูป ระเมิน ใหคะแนน

1. ขาพเจารูสึกพอใจกิจกรรมที่เกี่ยวกับสุขภาพของ โรงเรียน 2. ขาพเจารูสึกพอใจที่ครูและคนอื่น ๆ ในชุมชน(หมูบาน) ใหความรวมมือกันในการดูแลสุขภาพนักเรียน 3. ขาพเจารูสึกพอใจที่เห็นนักเรียนใหความรวมมือทํา กิจกรรมดานสุขภาพที่โรงเรียนทํารวมกับสมาชิก ในชุมชน 4. ขาพเจารูส กึ พอใจทีส่ มาชิกในชุมชน (หมูบ า น) ของเรา ใหความรวมมือและสนับสนุนกิจกรรมสุขภาพของ โรงเรียน 5. ขาพเจารูสึกพอใจกิจกรรมสุขภาพที่โรงเรียนทํารวมกับ ชุมชนเพราะนําไปใชไดจริง ๆ ในชีวิตประจําวัน รวมคะแนน

ขอขอบคุณทุกทานทีต่ อบแบบสอบถาม

สําหรับผูป ระเมิน การแปลคาคะแนน

( ) พึงพอใจ

                       

( ) ไมพงึ พอใจ



           ⌫             


      

     ⌦    ⌫     ⌫        ⌫  ⌫        

ตัวชีว้ ดั ที่ 4 นักเรียนมีความพึงพอใจตอบรรยากาศภายในโรงเรียน คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. ผูป ระเมินสุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป 1.2 โรงเรียนระดับระดับมัธยมศึกษาสุม นักเรียนกระจายทุกระดับชัน้ 2. เกณฑการวิเคราะห 2.1 คะแนนเต็ม 18 คะแนน 2.2 คะแนนระหวาง 9 – 18 คะแนน หมายถึง "พึงพอใจ" 2.3 คะแนนนอยกวา 9 คะแนน หมายถึง "ไมพงึ พอใจ" 3. รวมจํานวนผูต อบ "พึงพอใจ" เพือ่ คํานวณรอยละและใหคะแนนตัวชีว้ ดั ดังนี้ ระดับการประเมิน รอยละ 70 ขึน้ ไป รอยละ 60 – 69 นอยกวารอยละ 60

                       



จํานวนนักเรียนที่ "พึงพอใจ" 14 – 20 คน 12 – 13 คน 0 – 11 คน

           ⌫             


   ⌦    ⌫         ⌫  

1. เกีย่ วกับผูต อบแบบสอบถาม ขณะนีน้ กั เรียนกําลังเรียนอยูช นั้ ...................................................................... 2. ตอไปนีเ้ ปนคําถามเกีย่ วกับ "ความรูส กึ ตอโรงเรียน" ขอใหนกั เรียนตอบตามความรูส กึ จริง ๆ เพราะ คําตอบทีไ่ ด จะไมเกีย่ วกับการใหคะแนนสอบของนักเรียนแตอยางใด ขอใหทาํ เครือ่ งหมาย ✓ ลงในชองทีต่ รงกับความคิดเห็น ของนักเรียนมากทีส่ ดุ มาก (3)

ขอความ

ปานกลาง (2)

นอย (1)

สําหรับผูป ระเมิน ใหคะแนน

ฉันรูส กึ วาโรงเรียนของฉันนาอยูเ พราะ......... 1. ครูของเรารับฟงความคิดเห็นของนักเรียน 2. ครูใหโอกาสนักเรียนรวมตัดสินใจในเรือ่ งตาง ๆ ของโรงเรียน 3. นักเรียนมีความรักใครปรองดองกัน 4. นักเรียนกับครูมคี วามสัมพันธทดี่ ี (นักเรียนกลาทีจ่ ะ พูดคุยกับครู) 5. ครูลงโทษนักเรียนอยางมีเหตุผล 6. สภาพแวดลอมของโรงเรียนนาอยู รวมคะแนน

ขอขอบคุณทุกทานทีต่ อบแบบสอบถาม

สําหรับผูป ระเมิน การแปลคาคะแนน

( ) พึงพอใจ

                       

( ) ไมพงึ พอใจ



           ⌫             


      

       ⌦  ⌫     ⌫    ⌦  ⌫  

ตัวชีว้ ดั ที่ 1 นักเรียนไดรบั การฝกทักษะในเรือ่ งตอไปนี้ ● นักเรียนประถม 9 เรือ ่ง ● นักเรียนมัธยม 7 เรือ่ ง คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. ผูป ระเมินสุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษาสุม นักเรียนชัน้ ม.1 – ม.6 กระจายทุกระดับชัน้ 2. แจกแบบสอบถามใหตอบ โดยชีแ้ จงวา การตอบคําถามไมเกีย่ วกับคะแนนวิชาสุขศึกษา 3. รวบรวมแบบสอบถาม และสรุปผล 4. คํานวณคารอยละของผูท ตี่ อบวา "เคย" ไดรบั การฝกทักษะแตละเรือ่ ง ระดับการประเมิน รอยละ 80 ขึน้ ไป รอยละ 60 – 79 นอยกวารอยละ 60

                       



จํานวนนักเรียนทีต่ อบวา "เคย" 16 – 20 คน 12 – 15 คน 0 – 11 คน

           ⌫             


     ⌦  ⌫         ⌫    ⌦     

คําแนะนํา

ใหอานคําถามทั้ง 9 ขอ แลวคิดวานักเรียนเคยไดรับการฝกฝนจากโรงเรียนหรือไม ถาเคยใหทํา เครือ่ งหมาย ✓ ในชอง "เคย" ถาไมเคย ใหทาํ เครือ่ งหมาย ✓ ในชอง "ไมเคย" ขอใหนักเรียนตอบตามความคิดเห็นของนักเรียน (การตอบคําถามนี้ไมเกี่ยวกับการใหคะแนนวิชา สุขศึกษาของนักเรียน) ความคิดเห็นของนักเรียน เคย ไมเคย

คําถาม ขาพเจาเคยไดรบั การฝกฝนใหปฏิบตั ใิ นเรือ่ งตาง ๆ ตอไปนีท้ โี่ รงเรียน 1. การดูแลรักษารางกายใหสะอาด 2. การลางมือใหสะอาด 3. การเลือกซือ้ อาหารทีม่ ปี ระโยชนตอ รางกาย 4. การหลีกเลี่ยงไมซื้ออาหารที่มีสารอันตรายตอรางกาย 5. การหลีกเลีย่ งสารเสพติด 6. การปองกันอุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั 7. การหลีกเลีย่ งการพนัน การเทีย่ วกลางคืน 8. การจัดการอารมณตนเอง ( การควบคุมอารมณตนเอง) 9. ความปลอดภัยจากอันตรายตางๆ และ จากการถูกลวงละเมิดทางเพศ

ขอขอบคุณทุกทานทีต่ อบแบบสอบถาม

                       



           ⌫             


     ⌦  ⌫         ⌫      

คําแนะนํา

ใหทาํ เครือ่ งหมาย ✓ ในชองทีเ่ ปนจริงตามความคิดเห็นของนักเรียน (การตอบคําถามนีไ้ มเกีย่ วกับการ ใหคะแนนวิชาสุขศึกษาของนักเรียน)

ความคิดเห็นของนักเรียน เคย ไมเคย

คําถาม ขาพเจาเคยไดรบั การฝกฝนใหปฏิบตั ใิ นเรือ่ งตาง ๆ ตอไปนีท้ โี่ รงเรียน 1. การเลือกซือ้ อาหารทีม่ ปี ระโยชนตอ รางกาย 2. การไมรับประทานอาหารที่มีสารอันตรายตอรางกาย 3. การหลีกเลีย่ งสารเสพติด 4. การปองกันอุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั 5. การหลีกเลีย่ งการพนัน การเทีย่ วกลางคืน 6. การผอนคลายความเครียด 7. การหลีกเลีย่ งการมีเพศสัมพันธกอ นวัยอันควร

ขอขอบคุณทุกทานทีต่ อบแบบสอบถาม

                       



           ⌫             


      

              ⌫ 

⌫   

ตัวชีว้ ดั ที่ 8 (ระดับประถมศึกษา) นักเรียนมีความรูใ นการเลือกรับประทานอาหารทีม่ ี คุณคาถูกหลักโภชนาการ และความปลอดภัย ตัวชีว้ ดั ที่ 5 (ระดับมัธยมศึกษา) นักเรียนมีความรูใ นการเลือกรับประทานอาหารทีม่ คี ณ ุ คา ถูกหลักโภชนาการ และความปลอดภัย คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. การประเมินวานักเรียนมีความรูใ นการเลือกรับประทานอาหารทีม่ คี ณุ คาถูกหลักโภชนาการ และความปลอดภัยหรือไม ถาโรงเรียนมีผลการทดสอบจากระบบการเรียน การสอนไวแลวในรอบปทผี่ า นมาใหนาํ มาใชได แตถา โรงเรียนไม มีผลการทดสอบ ใหใชแบบสอบถามนีใ้ นการประเมิน 2. ผูป ระเมินสุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน 2.1 โรงเรียนประถมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 2.2 โรงเรียนมัธยมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ม. 1 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 3. แจกแบบสอบถามใหตอบ โดยชีแ้ จงวา การตอบคําถามไมเกีย่ วกับคะแนนวิชาสุขศึกษา 4. เกณฑการวิเคราะห ● นักเรียนแตละคนตองตอบถูก 8 ใน 10 ขอขึน ้ ไป จึงจะถือวานักเรียน "มีความรู" ในการเลือกรับประทาน อาหารทีม่ คี ณ ุ คา ถูกหลักโภชนาการและความปลอดภัย 5. รวมจํานวนผูต อบที่ "มีความรู" เพือ่ คํานวณรอยละ

                       



           ⌫             


        ⌫        

คําแนะนํา

ใหนกั เรียนเขียนชือ่ อาหารทีค่ วรรับประทาน และไมควรรับประทาน อยางละ 5 ชือ่ พรอมบอกเหตุผล (คําตอบไมเกีย่ วกับคะแนนสอบวิชาสุขศึกษาหรือวิชาอืน่ ๆ ) ชื่ออาหารที่ควรรับประทาน

เหตุผล

ชื่ออาหารที่ไมควรรับประทาน

เหตุผล

1. 2. 3. 4. 5.

1. 2. 3. 4. 5.

ขอขอบคุณทุกทานทีต่ อบแบบสอบถาม

                       



           ⌫             


      

        ⌫  ⌫   

ตัวชีว้ ดั ที่ 6 (ระดับประถมศึกษา) ตัวชีว้ ดั ที่ 4 (ระดับมัธยมศึกษา)

นักเรียนไดรบั ประทานอาหารครบ 5 หมูท กุ วัน นักเรียนไดรบั ประทานอาหารครบ 5 หมูท กุ วัน

คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. สุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษาสุม นักเรียนชัน้ ม. 1 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 2. แจกแบบสอบถามใหทาํ พรอมกัน 3. เกณฑการวิเคราะห ● นักเรียนแตละคนตองตอบ "ทุกวัน" ในทุกขอคําถาม จึงจะถือวา "รับประทานอาหารครบ 5 หมู 4. นําจํานวนนักเรียนที่ "รับประทานอาหารครบ 5 หมู" ทัง้ หมดมาคํานวณคารอยละ (จากจํานวนเต็ม 20)

                       



           ⌫             


          ⌫  

ใหพจิ ารณาอาหารทีน่ กั เรียนรับประทาน ใน 1 สัปดาหทผี่ า นมา แตละประเภทไดรบั ประทานบอยแคไหน โดยทํา เครือ่ งหมาย ✓ ลงในชองวาง

กลุม อาหาร

ทุกวัน

สัปดาหละ 4-6 ครั้ง

สัปดาหละ 1-3 ครั้ง

นอยกวา สัปดาหละ 1 ครัง้

1. ขาว - แปง (เชน ขาวสวย ขาวเหนียวนึง่ กวยเตีย๋ วเสนเล็ก เสนใหญ บะหมี่ เสนหมี่ วุน เสน ขนมจีน ขนมปง มักกะโรนี ขาวโพดสุก มันเทศสุก เผือกสุก) 2. ผักทุกชนิด 3. ผลไมทุกชนิด 4. เนือ้ สัตว (เชน นือ้ สัตวตา ง ๆ ไข เตาหู น้าํ เตาหู ถัว่ เมล็ดแหง เชน ถัว่ เขียว ถัว่ ดํา ถัว่ ลิสง ถัว่ แดง) 5. นมและผลิตภัณฑจากนม (เชน นมทุกชนิด ผลิตภัณฑทมี่ นี มเปน สวนประกอบ ไดแก เนยแข็ง โยเกิรต นมเปรีย้ ว นมอัดเม็ด นมถัว่ เหลือง (ไมใชนมถัว่ เหลือง สูตรเจหรือน้าํ เตาหู) ไอศกรีมทีม่ นี ม ผสม เครือ่ งดืม่ รสช็อคโกเล็ตทีม่ นี ม ผสม)

                       



           ⌫             

ไมไดกิน


      

  

          ⌫  

  ⌫          ⌫  

ตัวชีว้ ดั ที่ 1 บุคลากรในโรงเรียนมีการประเมินสุขภาพอยางนอยปละ 1 ครัง้ ตัวชีว้ ดั ที่ 2 บุคลากรไดรบั ขอมูลขาวสารเรือ่ งสุขภาพอยางนอยสัปดาหละครัง้ (จากทุกแหลงขอมูล) ตัวชีว้ ดั ที่ 6 บุคลากรในโรงเรียนรวมกิจกรรมดานสงเสริมสุขภาพทีจ่ ดั ขึน้ ตามแผนงานของโรงเรียน คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. ผูตอบแบบสอบถามคือ บุคลากรในโรงเรียน ไดแก ครู และบุคลากรอื่น ๆ ที่ไมใชครู เชน นักการภารโรง เจาหนาทีธ่ รุ การ 2. ผูป ระเมินสุม ตัวอยางบุคลากรประมาณ 10 คน เพือ่ ตอบแบบสอบถาม 3. บุคลากรบางคนไมสะดวกทีจ่ ะตอบแบบสอบถาม ใหใชวธิ สี มั ภาษณตามแบบสอบถาม

                       



           ⌫             


           ⌫         ⌫  

ผูต อบแบบสอบถามคือ ( ) ครู ( ) บุคลากรสายธุรการ ( ) นักการภารโรง คําแนะนํา

กรุณาอานคําถาม และทําเครือ่ งหมาย ✓ ในชองทีต่ รงกับความเปนจริง คําถาม

ใช

ไมใช

1. ในปที่ผานมาทานไดประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง หรือตรวจ สุขภาพประจําป 2. ทานไดรบั ทราบขอมูลขาวสารเกีย่ วกับสุขภาพ (เชน จากโทรทัศน หนังสือพิมพ เสียงตามสาย กิจกรรมเผยแพรในโรงเรียน) อยางนอยๆ สัปดาหละครัง้ 3. ทุกครัง้ ทีโ่ รงเรียนจัดกิจกรรมเกีย่ วกับสุขภาพ ทานจะตองเขารวม กิจกรรมเสมอ

ขอขอบคุณทุกทานทีต่ อบแบบสอบถาม

                       



           ⌫             


               ⌫     ⌫ 

คําตอบของบุคลากรคนที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 (คน)

ตัวชี้วัดที่

คิดเปนสัดสวน ❑ 3 ใน 4 ขึน้ ไป ❑ ครึง่ หรือมากกวา

1. บุคลากรในโรงเรียนมีการ ประเมินสุขภาพอยางนอย

ปละ 1 ครัง้ ❑ นอยกวาครึง่ ❑ ไมมี

วิธคี ดิ สัดสวน ระดับการประเมิน

จํานวนทีต่ อบ "ใช"

สัดสวน 3 ใน 4 ขึน้ ไป

8 – 10 คน

ครึ่งหนึ่งหรือมากกวา

5 – 7 คน

นอยกวาครึง่

1 – 4 คน

ไมมี

0 คน คําตอบของบุคลากรคนที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 (คน)

ตัวชี้วัดที่

คิดเปนสัดสวน ❑ ❑ ❑ ❑

2. บุคลากรไดรับขอมูล ขาวสารเรื่องสุขภาพ อยางนอยสัปดาหละครั้ง

ทุกคน 2 ใน 3 ขึน้ ไป 1 ใน 3 ขึน้ ไป ไมมี

วิธคี ดิ สัดสวน ระดับการประเมิน

จํานวนทีต่ อบ "ใช"

ทุกคน

สัดสวน 2 ใน 3 ขึน้ ไป

7 – 9 คน

สัดสวน 1 ใน 3 ขึน้ ไป

3 – 6 คน

ไมมี

0 – 2 คน

                       

10 คน



           ⌫             


คําตอบของบุคลากรคนที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 (คน)

ตัวชี้วัดที่

คิดเปนสัดสวน ❑ ❑ ❑ ❑

3. บุคลากรในโรงเรียนรวม กิจกรรมดานสงเสริม สุขภาพที่จัดขึ้นตาม แผนงานของโรงเรียน

3 ใน 4 ขึน้ ไป ครึง่ หรือมากกวา นอยกวาครึง่ ไมมี

วิธคี ดิ สัดสวน ระดับการประเมิน

จํานวนทีต่ อบ "ใช"

สัดสวน 3 ใน 4 ขึน้ ไป

8 – 10 คน

ครึ่งหนึ่งหรือมากกวา

5 – 7 คน

นอยกวาครึง่

1 – 4 คน

ไมมี

                       

0 คน



           ⌫             


      

     ⌫        ⌫      ⌫  

ตัวชีว้ ดั ที่ 12 (ระดับประถมศึกษา) นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาสุขภาพ (เชน เหา พยาธิ ฯลฯ ) ไดรบั การรักษา ตัวชีว้ ดั ที่ 3 (ระดับมัธยมศึกษา) นักเรียนทีม่ ปี ญ  หาสุขภาพ (เชน มีไข เปนหวัด ปวดทอง ฯลฯ) ไดรบั การ รักษา   ⌫    ⌦  ⌫  

ตัวชีว้ ดั ที่ 3 (ระดับประถมศึกษา นักเรียนชัน้ ป.1 - ป.6 แปรงฟนหลังอาหารกลางวันทุกวันดวยยาสีฟน ผสมฟลูออไรด   ⌫  ⌫   

ตัวชีว้ ดั ที่ 7 (ระดับประถมศึกษา นักเรียน ป.1- ป.6 ไดดมื่ นมทุกวัน (ยกเวนนักเรียนทีม่ ภี าวะโภชนาการเกิน)   ⌫     ⌦        

ตัวชีว้ ดั ที่ 5 นักเรียนสามารถปรึกษาเพือ่ น / พอแม / ญาติพนี่ อ ง / ครู ทุกครัง้ ทีม่ ปี ญ  หา   ⌫ 

ตัวชีว้ ดั ที่ 3 การสูบบุหรีใ่ นบริเวณโรงเรียน ตัวชีว้ ดั ที่ 5 การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอลในบริเวณโรงเรียน คําชีแ้ จงสําหรับผูป ระเมิน 1. ผูป ระเมินสุม ตัวอยางนักเรียน 20 คน 1.1 โรงเรียนประถมศึกษา สุม ตัวอยางนักเรียนชัน้ ป.4 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 1.2 โรงเรียนมัธยมศึกษาสุม นักเรียนชัน้ ม.1 ขึน้ ไป กระจายทุกระดับชัน้ 2. แจกแบบสอบถามใหตอบพรอมกัน โดยชีแ้ จงวา การตอบคําถามไมเกีย่ วกับคะแนนวิชาสุขศึกษา 3. เก็บแบบสอบถามเพือ่ ตรวจคําตอบ 4. คําถามขอ 5-6 เรือ่ ง การสูบบุหรี่ และดืม่ เหลา อนุโลมใหไดในกรณีทเี่ ปนการสูบบุหรี่ ดืม่ เหลา ในงานเลีย้ งทีจ่ ดั นอกเวลาราชการ 5. สรุปผลเพือ่ ใหคะแนนแตละขอคําถาม (1 ตัวชีว้ ดั ) เชน ขอคําถามที่ 1 จํานวนนักเรียนทีต่ อบ "ใช" มีทงั้ หมด 18 คน จากจํานวนนักเรียนทีต่ อบแบบสอบถามทัง้ หมด 20 คน นํามาคํานวณคารอยละ ดังนี้ รอยละของนักเรียนทีไ่ ดรบั การดูแลเมือ่ เจ็บปวย = (18 × 100) ÷ 20 = 90

                       



           ⌫             


   ⌫          ⌫               ⌫    ⌦  

คําชี้แจง

ขอใหนกั เรียนตอบคําถามตางๆ ตามความเปนจริง (คําตอบของนักเรียนไมเกีย่ วกับคะแนนวิชาสุขศึกษา หรือวิชาอืน่ ๆ) โดยทําเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชองคําตอบ

คําถาม

ใช

ไมใช

ชองนีส้ าํ หรับผูประเมิน (องคประกอบ / ตัวชีว้ ดั )

1. เมือ่ ไมสบาย หรือมีปญ  หาสุขภาพตาง ๆ ขณะอยูท ี่ โรงเรียนนักเรียนจะไดรบั การดูแล รักษา

5 / 12

2. ฉันแปรงฟนหลังอาหารกลางวันทุกวันโดยใชยาสีฟน ผสมฟลูออไรด

6/3

3. ฉันไดดื่มนมทุกวัน

7/7

4. เมือ่ ฉันมีปญ  หาไมวา จะเปนเรือ่ งอะไรก็ตาม ฉันจะไป ขอคําแนะนําจาก เพือ่ น พอ แม ญาติพนี่ อ ง หรือ ครูของฉัน ทุกครัง้

9/5

5. ตัง้ แตเปดเทอมมานี้ ฉันไมเคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรง หรือคนอืน่ ๆ สูบบุหรีใ่ นบริเวณโรงเรียน (ยกเวนคนทีม่ า จากขางนอก เพราะเขาไมรรู ะเบียบของโรงเรียน)

10 / 3

6. ตัง้ แตเปดเทอมมานี้ ฉันไมเคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรง หรือคนอืน่ ๆ ดืม่ เหลาในบริเวณโรงเรียน

10 / 5

                       



           ⌫             


  ⌫          ⌫               ⌫      ⌦  

คําชี้แจง

ขอใหนกั เรียนตอบคําถามตางๆ ตามความเปนจริง (คําตอบของนักเรียนไมเกีย่ วกับ คะแนนวิชาสุขศึกษาหรือวิชาอืน่ ๆ) โดยทําเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชองคําตอบ คําถาม

ใช

ไมใช

ชองนีส้ าํ หรับผูป ระเมิน (องคประกอบ / ตัวชีว้ ดั )

1. เมือ่ ไมสบาย หรือมีปญ  หาสุขภาพตาง ๆ ขณะอยู ที่ โรงเรียน นักเรียนจะไดรบั การดูแล รักษา

5/3

2. เมือ่ ฉันมีปญ  หาไมวา จะเปนเรือ่ งอะไร ฉันจะไป ขอคําแนะนําจาก เพือ่ น พอ แม ญาติพนี่ อ ง หรือ ครูของฉัน ทุกครัง้

9/5

3. ตัง้ แตเปดเทอมมานี้ ฉันไมเคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรง หรือคนอืน่ ๆ สูบบุหรีใ่ นบริเวณโรงเรียน (ยกเวนคนทีม่ าจากขางนอก เพราะเขาไมรู ระเบียบของโรงเรียน)

10 / 3

4. ตัง้ แตเปดเทอมมานี้ ฉันไมเคยเห็นเพือ่ น ครู ภารโรง หรือคนอืน่ ๆ ดืม่ เหลาในบริเวณโรงเรียน

10 / 3

                       



           ⌫             


   

พระพรหมคุณาภรณ. ธรรมนูญชีวติ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพสาํ นักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ , 2548. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร. การสงเสริมสุขภาพ. (เอกสารอัดสําเนา) กรุงเทพฯ : คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล , 2540. ภาควิชาวิจยั และจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. คูม อื การประเมินคุณภาพ สถานศึกษาสําหรับผูป ระเมินภายนอก. กรุงเทพฯ : ไมปรากฏสถานทีพ่ มิ พ , ไมปรากฏปทพี่ มิ พ. สํานักสงเสริมสุขภาพ, กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูม อื การดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2547. _______. เกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ (ระดับประถมศึกษา). กรุงเทพฯ : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย , 2547. _______. เกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ (ระดับมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : โรงพิมพชมุ นุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย , 2547. _______. คูม อื การใชเกณฑมาตรฐานการประเมินโรงเรียนสงเสริมสุขภาพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชมุ นุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย , 2547. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษทั พิมพดจี าํ กัด , 2547.

                       



           ⌫             


             ⌫         ⌫⌦

นายแพทยสมยศ เจริญศักดิ์ นายแพทยบวร งามศิรอิ ดุ ม

อธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดีกรมอนามัย

⌫⌦

ดร. บูรพาทิศ พลอยสุวรรณ

คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา

  

พ.ญ.เพ็ญศรี กระหมอมทอง นางนพรัตน ผลิตากุล นางจงจิต เรืองดํารงค นางเสาวลักษณ พัวพัฒนกุล นางทัศณีย ทองออน นางศศิวมิ ล ปุจฉาการ

หัวหนากลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน



นางสุวมิ ล พูท รงชัย นางสาวถนอมรัตน ประสิทธิเมตต นางสาววิยดา มาโนช นางสาววีนสั จันมา นางจุฬาภรณ ปรัสรา นางสาวทิพยวรรณ สุวรี านนท นางสาวประทิน อิม่ สุขศรี นางจตุรพร วรรณจักร นางอโนชา วิปลุ ากร นางกฤษณา เลิศเรืองปญญา นางปญจภรณ ไกรวิลาส นางจิราภรณ สมุหเสนีโต

                       

ศูนยอนามัยที่ 1 บางเขน ศูนยอนามัยที่ 2 สระบุรี ศูนยอนามัยที่ 4 ราชบุรี ศูนยอนามัยที่ 5 นครราชสีมา ศูนยอนามัยที่ 7 อุบลราชธานี ศูนยอนามัยที่ 8 นครสวรรค ศูนยอนามัยที่ 9 พิษณุโลก ศูนยอนามัยที่ 10 เชียงใหม ศูนยอนามัยที่ 10 เชียงใหม ศูนยอนามัยที่ 10 เชียงใหม สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร (แทน ศูนยอนามัยที่ 11) ศูนยอนามัยที่ 12 ยะลา



           ⌫             




นางจิรพร บุญกาญจน

สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร

⌦

นายศุภกิจ สิงหพงษ

ผูอ าํ นวยการโรงเรียนบานทามะนาว สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาลพบุรี เขต 2 ผูอ าํ นวยการโรงเรียนวัดเอีย่ มประดิษฐ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครนายก ผูอํานวยการโรงเรียนคงคาราม สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ศึกษานิเทศก 9 สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา นครราชสีมา เขต1 ผูอ าํ นวยโรงเรียนบานผือ (สวัสดิร์ าษฎรวทิ ยา) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

นายปรีชา ยอยศิริ นายธีรศักดิ์ พิงภักดิ์ นางศิรริ ตั น บุญตานนท นายเกษม ดานคอนสกุล   

นายประชา สิทธิโชค

เจาหนาที่บริหารการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 ศึกษานิเทศก 8 สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา นครสวรรค เขต 2 ศึกษานิเทศก 8 สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา อุตรดิตถ เขต 2 เจาพนักงานธุรการ 3 สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ลําพูน เขต 1 ศึกษานิเทศก สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 3 ศึกษานิเทศก 7 สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา พัทลุง

นางศิรลิ กั ษณ ขอเจริญ นางสาวพิสมร วัยวุฒิ นางสาววาสนา อินทรจักร นางสมจินต กาญจนดี นายเรวัตร แสงอุบล 

นางเสาวลักษณ พัวพัฒนกุล นางทัศณีย ทองออน

                       

กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุม อนามัยเด็กวัยเรียนและเยาวชน



           ⌫             


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.