ทฤษฎีการบริหาร

Page 1

ทฤษฎีการบริ หาร

1

พฤติกรรมองค์ การ (Organizational behavior) นิยามที่หนึ่ง พฤติกรรมองค์การ (Organization Behavior หรื อเรี ยกย่อว่า OB) “เป็ นสาขาวิชาที่ มีทฤษฎี วิธีการแลหลักการซึ่ งได้มาจากศาสตร์ หลายแขนงวิชาด้วยกัน เพื่อใช้ในการศึกษาเกี่ ยวกับการ รับรู ้ของบุคคล รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ปฏิบตั ิงานร่ วมกันเป็ นกลุ่ม ตลอดจนพฤติกรรมที่เป็ น ภาพรวมระดับ องค์ก าร มี ก ารวิเคราะห์ ผ ลกระทบที่ เ กิ ด ขึ้ น จากสภาพแวดล้อมภายนอกต่ อองค์ก าร โดยเฉพาะส่ งผลต่อทรัพยากรมนุษย์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ขององค์การ” (Gibson et.al., 1997) นิ ย ามพฤติ ก รรมองค์ก ารตามทัศนะข้างต้นจึงมี ล ัก ษณะเป็ นพหุ วิชา (Multidisciplinary) ซึ่ ง ประกอบด้วยประเด็นสาคัญหลายประการ ได้แก่ 1. พฤติกรรมองค์การ (OB) เป็ นพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในองค์การแบ่งเป็ น 3 ระดับคือ 1.1 พฤติกรรมมนุษย์ในระดับบุคคล 1.2 พฤติกรรมมนุษย์ในระดับกลุ่ม 1.3 พฤติกรรมมนุษย์ในระดับองค์การ 2. พฤติกรรมองค์การ เป็ นการผสมกลมกลืนของศาสตร์ แขนงต่าง ๆ ในลักษณะพหุ วชิ า โดย อาศัยหลักการ รู ปแบบ ทฤษฎีและวิธีการของศาสตร์ เหล่านั้น วิชาพฤติกรรมองค์การจึงไม่มีศาสตร์ ที่เป็ น พื้นฐานของตนเองเฉกเช่นสาขาวิชาอื่น ๆ โดยทัว่ ไป 3. พฤติกรรมองค์การ เป็ นวิชาที่มุ่งเน้นการศึกษาเกี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์ใน องค์การ เช่น เจตคติ การรับรู ้ ความสามารถในการเรี ยนรู ้ และเป้ าหมายที่บุคคลมีต่อองค์การ 4. พฤติกรรมองค์การ เป็ นสาขาวิชาที่เน้นการปฏิบตั ิเป็ นสาคัญ (Performance oriented) เช่น เพราะเหตุใด ผลการปฏิบตั ิงานจึงต่า (หรื อสู ง) ถ้าต้องการเพิ่มผลงานสู งขึ้นจะต้องทาอย่างไร จะใช้วิธีฝึกอบรมในระหว่างปฏิ บตั ิงาน (On-the-job training) ช่ วยได้หรื อไม่ ซึ่ งประเด็นเหล่านี้ ลว้ นมี ความสาคัญต่อผูบ้ ริ หารทั้งสิ้ น 5. ให้การยอมรับว่าสิ่ งแวดล้อมภายนอกมีผลกระทบอย่างมากต่อองค์การ 6. เนื่องจากสาขาวิชาพฤติกรรมองค์การ มาจากศาสตร์ แขนงอื่นที่เป็ นที่ยอมรับ ด้วยเหตุน้ ี ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) จึงถูกนามาใช้เป็ นเครื่ องมือสาคัญในการศึกษาถึงตัว แปรและความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ และประยุกต์ใช้ในการศึกษาพฤติกรรมองค์การ จึงเกิดแนวคิด หลักการและแนวทางปฏิบตั ิที่เป็ นผลจากการวิจยั ที่มีความน่าเชื่อถือเกิดขึ้นมากมาย 7. ประการสุ ดท้าย ก็คือจุดเด่นของสาขาวิชาพฤติกรรมองค์การที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้ (Applications orientation) จึงสามารถให้คาตอบที่ชดั เจนต่อคาถามต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิงานจริ ง ภายในองค์การ


ทฤษฎีการบริ หาร

2

นิยามทีส่ อง ได้ให้ความหมายพฤติกรรมองค์การ (OB) ว่า “เป็ นสาขาวิชาหนึ่งที่พยายามศึกษา ค้นหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากบุคคล กลุ่มบุคคลและโครงสร้างที่มีต่อพฤติกรรมภายในองค์การ ทั้งนี้ เพื่อ นาความรู ้ที่ได้ดงั กล่าวมาปรับปรุ งการดาเนินงานขององค์การให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น” (Robbins, 1998) จากนิยามนี้สรุ ปได้วา่ 1) พฤติกรรมองค์การเป็ นสาขาวิชาหนึ่ง ซึ่ งบ่งชี้ถึงความเชี่ยวชาญที่มีองค์ ความรู ้ร่วมกัน 2) ทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอะไร คาตอบคือ ศึกษาค้นคว้าเพื่อหาความรู ้เกี่ยวกับ พฤติกรรมในองค์การซึ่ งแบ่งออกได้ 3 ระดับ คือ ระดับบุคคล ระดับกลุ่มและระดับโครงสร้าง (องค์การ) และ 3) ความรู ้ที่ได้จากการศึกษาพฤติกรรมองค์การทั้ง 3 ระดับดังกล่าว นามาเพื่อใช้ในการทาให้การ ดาเนินงานขององค์การมีประสิ ทธิ ผลยิง่ ขึ้น ดังนั้นตามนิ ยามหลังนี้กล่าวได้วา่ พฤติกรรมองค์การจึงเป็ น การศึกษาว่า คนทาอะไร ในองค์การบ้าง และพฤติกรรมของคนดังกล่าวส่ งผลกระทบต่อการปฏิบตั ิงานใน องค์การอย่างไร เนื่องจากพฤติกรรมองค์การส่ วนใหญ่เกี่ยวกับสถานการณ์ของการทางาน ดังนั้นประเด็น ของพฤติกรรมที่มกั กล่าวถึงได้แก่ งาน พฤติกรรมการทางาน การขาดงาน การลาออกจากงาน การสร้าง ผลผลิต การปฏิบตั ิงานของมนุษย์ และการบริ หารจัดการ เป็ นต้น หัวข้อบทเรี ยนของวิชาพฤติกรรมองค์การที่มีความสาคัญและจาเป็ นต้องบรรจุในวิชาดังกล่าว ได้แก่ หัวข้อเรื่ องต่อไปนี้ การจูงใจ อานาจและพฤติกรรมของผูน้ า การสื่ อสารระหว่างบุคคล โครงสร้าง และกระบวนการกลุ่ม การเรี ยนรู ้ การรับรู ้และการพัฒนาเจตคติ กระบวนการเปลี่ยนแปลง ความขัดแย้ง การออกแบบงาน และความเครี ยดในงาน เป็ นต้น

ทฤษฎีองค์ การ (Organization Theory) การวิเคราะห์ถึงความจริ งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติรอบตัว อย่างมีระบบและแบบแผนในเชิง วิทยาศาสตร์ 1. ทฤษฎีองค์ การสมัยดั้งเดิม (Classical Theory) - Frederick Taylor แนวคิดการบริ หารงานแบบ วิทยาศาสตร์ - Max weber แนวคิดระบบราชการ เป็ นสังคมในยุคสังคมอุตสาหกรรม มีโครงสร้างที่ แน่นอน มีระเบียบแบบแผน มุ่งให้ผลผลิตมีประสิ ทธิ ภาพ (efficient and effective Productivity) มอง มนุษย์เหมือนเครื่ องจักร (Mechanistic) ในองค์การ 2. ทฤษฎีองค์ การสมัยใหม่ (Neo-Classical Theory of Organization) - Hugo Munsterberg ผู้ เริ่ มต้น วิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม เน้นสภาพสังคมที่มีผลต่อการปฏิบตั ิงาน มองมนุษย์เป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่มี ความรู้สึก มีจิตใจ (Organic) นาความรู้ดา้ น มนุษย์สัมพันธ์มาใช้ 3. ทฤษฎีองค์ การสมัยปั จจุบัน (Modern Theory of Organization) เน้นสังคมเศรษฐศาสตร์ (Socioeconomic) มองมนุษย์เป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่มีความรู ้สึก มีจิตใจ นาความรู ้ดา้ นมนุษย์สัมพันธ์มาใช้ นา


ทฤษฎีการบริ หาร

3

สิ่ งแวดล้อมมาพิจารณา ใช้แนวความคิดเชิงระบบ คานึงถึงความเป็ นอิสระ และสิ่ งแวดล้อมภายใน และ ภายนอก (ทฤษฎีองค์ การตามสถานการณ์ และกรณี (Contingency Theory))

ทฤษฎีการบริหาร (Management Theory) ทฤษฎีการบริ หาร (Management Theory) ทฤษฎีการบริ หาร สามารถเรี ยงลาดับความพัฒนา การศึกษาแต่ละแนวคิดได้ดงั นี้ 1. การศึกษาการบริ หารแบบคลาสสิ ค (Classical management approach)  การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific management)  การจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic management)  การจัดการตามแบบหลักการบริ หาร (Administrative management) 2. การศึกษาการจัดการเชิ งพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral management approach)- การศึกษาทาง จิตวิทยาอุตสาหกรรม (industrial psychology approach)  ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการ (Hierarchy of needs theory) หรื อทฤษฎีการจูงใจของ มาสโลว์ (Maslow'stheory of motivation)  ทฤษฎี X และทฤษฎี Y 3. การศึกษาการจัดการเชิงปริ มาณ (The quantitative management approach)- ศาสตร์การจัดการ (Management science) หรื อการวิจยั การปฏิบตั ิการ (Operation research)  การจัดการปฏิบต ั ิการ(Operations management)  ระบบข้อมูลการจัดการ(Management System : MIS) 4. กลุ่มทฤษฎีการบริ การ ที่เพิ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมาในระยะหลังๆ(Recent development in managementtheory)  ทฤษฎีระบบ(System theory)  ทฤษฎีจด ั การเชิงสถานการณ์(Contingency theory)  ทฤษฎี Z ของ Ouchi- TQM : Total Quality Management


ทฤษฎีการบริ หาร

4

การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) แนวความคิดการบริ หารที่หลักเกณฑ์ ถือกาเนิดขึ้นครั้งแรกในสมัยการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม โดย Frederick W. Taylor “บิดาแห่งการจัดการที่มีหลักเกณฑ์” ซึ่งเป็ นผูค้ น้ คิดสาคัญในการวางหลักการ และ ทฤษฎีการจัดการที่ถูกต้องขึ้นเป็ นครั้งแรก จากการศึกษาวิธีการปฏิบตั ิงานด้านการผลิตในระดับโรงงาน เป็ นครั้งแรกนั้น Taylor ได้ประกาศใช้หลักการ (principles) ต่าง ๆ ที่เขาใช้ในการปฏิบตั ิงาน หรื อที่ เรี ยกว่า การจัดการที่มีหลักเกณฑ์ (Scientific management) ตามแนวความคิดของ Taylor เขาไม่เห็น ด้วยกับวิธีการทางานของผูบ้ ริ หารในสมัยนั้น ที่ใช้วธิ ีการทางานอย่างไม่มีหลักเกณฑ์ Taylor เชื่อว่า เป็ นไปได้ที่จะกาหนดปริ มาณงานที่แต่ละคนทาได้ในระยะเวลาที่กาหนด โดยไม่ เป็ นการบีบบังคับต่อผูท้ างานนั้น และการศึกษาเกี่ยวกับเวลาดังกล่าว จะเป็ นไปโดยถูกต้องและมี หลักเกณฑ์มากที่สุด ในการนี้ Taylor ได้ใช้วธิ ี การดังนี้ 1. การศึกษาเกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการทางานชิ้นหนึ่ง ๆ 2. การศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว (Motion) ในการทางานเพื่อจะปรับปรุ งวิธีการทางาน 3. การแยกงานออกเป็ นขั้นตอนต่างกัน เพื่อให้คนงานทางานได้อย่างเต็มความสามารถ จากการศึกษาเพื่อกาหนดวิธีการทางาน โดยการวิเคราะห์เวลาและการเคลื่อนไหว (Time and motion study) ของ Taylor นั้น สาระสาคัญของแนวความคิดก็คือ การเปลี่ยนจากความไม่มีประสิ ทธิ ภาพ อันสื บ เนื่องมาจากวิธีการปฏิบตั ิแบบไม่มีหลักเกณฑ์ มาเป็ นความมีประสิ ทธิ ภาพ โดยมีวธิ ีการจัดการที่มี หลักเกณฑ์ (scientific methods) ที่กาหนดขึ้น โดยตัวผูบ้ ริ หารต้องเพิม่ ความรับผิดชอบที่ควรจะต้องมี มากขึ้นกว่าเดิม Taylor ได้ช้ ีให้เห็นในด้านการวางแผน ได้แนะนาให้มีการแยกทางด้านการวางแผนออกจากการกระทา หรื องานด้านปฏิบตั ิ และในด้านการควบคุม Taylor เรี ยกร้องให้มีการจัดการองค์การ และการควบคุมเสี ย ใหม่ โดยให้มีการจัดตาแหน่งหัวหน้าพนักงานตามหน้าที่ การจัดการที่หลักเกณฑ์ ทพี่ ฒ ั นาขึน้ มาโดย Taylor นี้ ทั้งหมดมีพนื้ ฐานอยู่ในหลักการที่สาคัญ 4 ประการ ด้ วยกัน คือ 1. ต้องมีการคิดค้นและกาหนด “วิธีการที่ดีที่สุด” (one best way) สาหรับงานที่จะทาแต่ละอย่าง กล่าวคือ จะต้องมีการกาหนดวิธีการทางานที่ดีที่สุด ที่จะช่วยให้สามารถทางานเสร็ จลุล่วงไปด้วยดี ตาม วัตถุประสงค์มาตรฐานของงานจะต้องมีการจัดวางเอาไว้ โดยมีหลักเกณฑ์ที่พิสูจน์มาแล้วว่าเป็ นวิธีที่ดี ที่สุดจริ ง และในเวลาเดียวกัน การจ่ายผลตอบแทนแบบจูงใจต่าง ๆ ก็จะจ่ายให้ตามผลผลิตทั้งหมด สาหรับส่ วนที่เกินมาตรฐาน


ทฤษฎีการบริ หาร

5

2. ต้องมีการคัดเลือกและพัฒนาคน Taylor ได้ตระหนักถึงความสาคัญและคุณค่าของการรู ้จกั จัด งานให้เหมาะสมสอดคล้องกับคนงาน นอกจากนี้ Taylor ยังได้เน้นถึงความจาเป็ นที่จะต้องมีการอบรม คนงานให้รู้จกั วิธีทางานที่ถูกวิธีดว้ ย จึงปรากฏเป็ นข้อแนะนาจากเขาว่า ในการคัดเลือกคนงาน (selection) จะต้องมีการพิจารณาเป็ นพิเศษที่จะให้ได้คนที่มีคุณสมบัติที่ดีที่สุดตรงตามงานที่จะให้ทา 3. การพิจารณาวิธีทางานอย่างรอบคอบควบคู่กบั การพิจารณาคนงาน Taylor เชื่อว่าคนงานจะไม่ คัดค้านต่อวิธีทางานใหม่ที่ได้กาหนดขึ้น เพราะโดยหลักเหตุผล คนงานทุกคนจะเห็นถึงโอกาสที่เขาจะ ได้รับรายได้สูงขึ้น จากการทางานถูกวิธีที่จะช่วยให้ได้ผลผลิตสู งขึ้น 4. การประสานร่ วมมือกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผูบ้ ริ หารและคนงาน โดย Taylor มีความเชื่อว่า ฝ่ ายบริ หารควรจะได้ประสานงานอย่างใกล้ชิดเป็ นประจากับคนงานที่เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงาน แต่จะต้องไม่ใช่ โดยการไปลงมือปฏิบตั ิงานที่ควรจะเป็ นงานของคนงานเท่านั้น

ทฤษฎีและหลักการบริหาร (Administrative Theory) คาว่า "ทฤษฎี" เป็ นคาที่รู้จกั กันแพร่ หลายในวงการนักวิชาการสาขาต่าง ๆ โดยผูส้ นใจในทฤษฎี ต่าง ๆ ได้นาทฤษฎีเข้าสู่ ภาคปฏิบตั ิ โดยให้เหตุผลว่าทฤษฎีเปรี ยบได้กบั ดาวเหนื อหรื อเข็มทิศที่คอยบอก ทิศทางให้กบั ชาวเรื อ หรื อชี้แนวทางที่ถูกต้องในการปฏิบตั ิงาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ ความหมาย "ทฤษฎี" (ทริ ดสะดี) ว่า หมายถึง ความเห็น การเห็น การเห็นด้วยลักษณะที่คาดเอาตามหลัก วิชาเพื่อเสริ มเหตุผล และรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์ หรื อข้อมูลในภาคปฏิบตั ิ ซึ่ งเกิดขึ้นอย่างมีระเบียบ นอกจากนี้ นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายดังนี้ 1. Good : ทฤษฎี คือ ข้อสมมติต่าง ๆ (Assumption) หรื อข้อสรุ ปเป็ นกฎเกณฑ์ (Generalization) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากข้อสมมติทางปรัชญาและหลักการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้เป็ นเสมือนพื้นฐาน ของการปฏิบตั ิ ข้อสมมติซ่ ึ งมาจากการสารวจทางวิทยาศาสตร์ การค้นพบต่าง ๆ จะได้รับการประเมินผล เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตาม หลักวิทยาศาสตร์ และข้อสมมติทางปรัชญา อันถือได้วา่ เป็ นสัญลักษณ์ของ การสร้าง (Con -struction) 2. Kneller : ได้ให้ความหมายของทฤษฎีไว้ 2 ความหมาย คือ 2.1 ข้อสมมติฐานต่าง ๆ (Hypothesis) ซึ่ งได้กลัน่ กรองแล้วจากการสังเกตหรื อทดลอง เช่น ในเรื่ องความโน้มถ่วงของโลก 2.2 ระบบของความคิดต่าง ๆ ที่นามาปะติดปะต่อกัน (Coherent) 3. Feigl : ทฤษฎีเป็ นข้อสมมติต่าง ๆ ซึ่ งมาจากกระบวนการทางตรรกวิทยา และคณิ ตศาสตร์ ทา ให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการสังเกตและการทดลอง


ทฤษฎีการบริ หาร

6

4. ธงชัย สันติวงษ์ : ทฤษฎี หมายถึง ความรู ้ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมแนวคิดและหลักการต่าง ๆ ให้เป็ นกลุ่มก้อน และสร้างเป็ นทฤษฎีข้ ึน ทฤษฎีใด ๆ ก็ตามที่ต้ งั ขึ้น มานั้น เพื่อรวบรวมหลักการและ แนวความคิดประเภทเดียวกันเอาไว้อย่างเป็ นหมวดหมู่ 5. เมธี ปิ ลันธนานนท์ : ได้กล่าวถึงหน้าที่หลักของทฤษฎี มี 3 ประการ คือ การพรรณนา (Description) การอธิบาย (Explanation) และการพยากรณ์ (Prediction) 6. ธี รวุฒิ ประทุมนพรัตน์ : ได้กล่าวถึง ลักษณะสาคัญของทฤษฎีมีดงั นี้ 6.1 เป็ นความคิดที่สัมพันธ์กนั และกันอย่างมีระบบ 6.2 ความคิดดังกล่าวมีลกั ษณะ "เป็ นความจริ ง" 6.3 ความจริ งหรื อความคิดนั้น สามารถเป็ นตัวแทนปรากฏการณ์ หรื อ พฤติกรรมที่ เกิดขึ้นได้ จากความหมายดังกล่าวข้างต้น ทฤษฎี จึงหมายถึง การกาหนดข้อสันนิษฐานซึ่งได้รับมาจาก วิธีการทางตรรกวิทยา วิทยาศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ ทาให้เกิดกฎเกณฑ์ที่ได้มาจากการสังเกต ค้นคว้าและ การทดลอง โดยใช้เหตุผลเป็ นพื้นฐานเพื่อก่อให้เกิดความ เข้าใจในความเป็ นจริ ง และนาผลที่เกิดขึ้นนั้น มาใช้เป็ นหลักเกณฑ์ สาหรับทฤษฎีต่าง ๆ ที่เข้ามาสู่ การบริ หารนั้น ได้มีผคู ้ ิดค้นมากมาย แต่พบว่า ยังไม่มีทฤษฎีใดที่ สามารถช่วยอธิ บายปรากฏการณ์ในการบริ หารงานได้หมด อาจจาเป็ นต้องใช้หลาย ๆ ทฤษฎีในการ แก้ปัญหาหนึ่ง หรื อทฤษฎีหนึ่งซึ่ งมีหลักการดีและเป็ นที่นิยมมากอาจไม่สามารถแก้ปัญหาเล็กน้อย หรื อ ปั ญหาใหญ่ได้เลย ทั้งนี้ยอ่ มขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของแต่ละปั ญหาสภาพการณ์ของสังคม และกาลเวลาที่ เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม คูน๊ ท์ (Koontz) ได้กล่าวไว้วา่ ทฤษฎีหรื อหลักในการบริ หารงานนั้นจะดีหรื อมี ประสิ ทธิ ภาพหรื อไม่น้ นั ควรคานึงถึงลักษณะของทฤษฎีในเรื่ องต่อไปนี้ 1. การเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพของงาน 2. การช่วยวิเคราะห์งานเพื่อปรับปรุ งพัฒนา 3. การช่วยงานด้านวิจยั ขององค์การให้กา้ วหน้า 4. ตรงกับความต้องการของสังคม 5. ทันสมัยกับโลกที่กาลังพัฒนา


ทฤษฎีการบริ หาร

7

ทฤษฎีอบุ ัติการณ์ (Contingency Theory) การบริ หารในยุคนี้ ค่อนข้างเป็ นปั จจุบนั ปรัชญาของการบริ หารเริ่ มเปลี่ยนแปลงไปจากการมอง การบริ หารในเชิงปรัชญา ไปสู่ การมองการบริ หารในเชิ งสภาพข้อเท็จจริ ง เนื่ องจากในปั จจุบนั มนุ ษย์ตอ้ ง ประสบกับปั ญหาอยูเ่ สมอ แนวความคิด ในปี 1967 Fred E.Fiedler ได้เสนอแนวความคิ ดการบริ หารเชิ งสถานการณ์ (Situational Management Theory) หรื อทฤษฎีอุบตั ิการณ์ (Contingency Theory) ซึ่ งถือเป็ นทฤษฎีการบริ หารที่ข้ ึนอยู่ กับในเชิ งสภาพข้อเท็จจริ งด้วยแนวคิดที่วา่ การเลือกทางออกที่จะไปสู่ การแก้ปัญหาทางการบริ หารถือว่า ไม่มีวธิ ี ใดที่ดีที่สุด หากแต่สถานการณ์ต่างหากที่จะเป็ นตัวกาหนดว่าควรจะหยิบใช้การบริ หารแบบใดใน สภาวการณ์ เช่นนั้น หลักคิดง่ายๆ ของการบริ หารเชิ งสถานการณ์ นั้นถือว่าการบริ หารจะดี หรื อไม่ข้ ึนอยู่ กับสถานการณ์ สถานการณ์ จะเป็ นตัวกาหนดการตัดสิ นใจ และรู ปแบบการบริ หารที่ เหมาะสม และ ผูบ้ ริ หารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด โดยเป็ นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิ ด และระบบเปิ ด และยอมรั บ หลัก การของทฤษฎี ร ะบบว่ า ทุ ก ส่ ว นของระบบจะต้อ งสั ม พัน ธ์ และมี ผลกระทบซึ่ งกันและกัน คื อ มุ่ ง เน้น ความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งองค์ก ารกับ สภาพแวดล้อ มขององค์ก าร สถานการณ์บางครั้งจะต้องใช้การตัดสิ นใจอย่างเฉี ยบขาด บางสถานการณ์ตอ้ งอาศัยการมีส่วนร่ วมในการ ตัดสิ นใจ บางครั้งก็ตอ้ งคานึงถึงหลักมนุษย์และแรงจูงใจ บางครั้งก็ตอ้ งคานึ งถึงเป้ าหมายหรื อผลผลิตของ องค์กรเป็ นหลัก การบริ หารจึงต้องอาศัยสถานการณ์เป็ นตัวกาหนดในการตัดสิ นใจ การบริ หารเชิ งสถานการณ์จะคานึ งถึงสิ่ งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็ น หลัก มากกว่า ที่ จะแสวงหาวิธี ก ารอันดี เ ลิ ศมาใช้ใ นการท างาน โดยใช้ปั จจัย ทางด้า นจิ ตวิทยาในการ พิจารณาด้วย โดยเน้นให้ผบู ้ ริ หารรู ้จกั ใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยูใ่ นหน่วยงาน เช่น ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุ มงาน ความ แตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร หรื อความแตกต่างระหว่างเป้ าหมายการดาเนิ นงาน ขององค์การ เป็ นต้น สรุ ปหลักการของการบริหารโดยสถานการณ์ 1. ถือว่าการบริ หารจะดีหรื อไม่ข้ ึนอยูก่ บั สถานการณ์ 2. ผูบ้ ริ หารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด 3. เป็ นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิ ดและระบบเปิ ด และยอมรับหลักการของทฤษฎี ระหว่างทุกส่ วนของระบบจะต้องสัมพันธ์และมีผลกระทบซึ่ งกันและกัน


ทฤษฎีการบริ หาร

8

4. สถานการณ์จะเป็ นตัวกาหนดการตัดสิ นใจ และรู ปแบบการบริ หารที่เหมาะสม 5. คานึงถึงสิ่ งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่วยงานเป็ นหลักมากกว่าที่จะแสวงหา วิธีการอันดีเลิศมาใช้ในการทางาน โดยใช้ปัจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย 6. เน้นให้ผบู ้ ริ หารรู ้จกั ใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยูใ่ นหน่วยงาน เช่น ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร ความแตกต่างระหว่างเป้ าหมายการดาเนิ นงานขององค์การ เป็ นต้น


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.