A STUDY OF THE LOCAL WISDOM TRANSMISSION PROCESS OF CHIANG MAI LOCAL ARTISANS

Page 9

กระบวนการเรียนการสอน ครูมีเจตคติตอ ตนเองวาเปน ผูรูแ ละผูให สวนศิษยมีเจตคติตอตนเองว าเปน “ผูรับ ความรู” และเปนความเมตตาอยางยิ่งที่ครูได “ใหความรู” แกตน ศิษยจึงบูชายกยอ งครูแ ละถือ เปนหนี้บ ุญ คุณ ซึ่ง ศิษยตองมีความกตัญ ูรูคุณอยางยิ่ง สิ่งเหลานี้เองจะถูกรับ การถายทอดใหกับ ผูรับ การถายทอดการทําตุง อีกนัย หนึ่งนอกเหนือจากการไดเรียนรูการทําตุงกระดาษแลว ยังเปนการอนุรักษพิธีกรรมทองถิ่น ที่มีความหมายและมี ความสําคัญตอกระบวน การถายทอดอีกดวย ซึ่งเหตุผลในการเคารพบูชา นอกเหนือจากเพื่อ เปน สิริมงคลแลวยัง เปน ที่ยึดเหนี่ยวจิต ใจ เพื่อ สรางขวัญ กําลังใจในการทํ างานศิลปะพื้นบานอีกดวย การพิธีกรรมบูชาครูดังกลา ว แสดงใหเห็นถึงภูมิป ญญาในการสอนเรื่องความพรอมของเครื่องมือ กอนทํางาน หากไมมีเครื่อ งมือ ก็จ ะไหวครู บูชาเครื่องมือไมได ไมมีขวัญกําลังใจไมมีการทํางานเกิดขึ้นเปนภูมิปญ ญาอันแยบยล ในการสอดแทรกความรูคู คุณธรรมไปดวย ในชวงระหวางการถายทอดภูมิปญญา พิธีกรรมซึ่งสอดคลองกับ แนวคิดของ เอกวิท ย ณ ถลาง (2546) ที่ไดกลาวถึง กระบวนการเรียนรูตาม ธรรม ชาติของมนุษย ในรูปแบบการเรียนรูโดยพิธีกรรม ซึ่งหากจะกลาวไวในเชิงจิตวิท ยาแลว พิธีกรรมมีความ ศักดิ์สิทธและมีอํานาจโนมนาวใหคน ที่มีสวนรวมรับเอาคุณคาและแบบอยางพฤติกรรมที่ตองการเนน เขาไปไว ในตั ว เปน การตอกย้ํ า ความเชื่อ และกรอบศี ล ธรรมจรรยา ของกลุ ม ชน รวมทั้ ง ตอกย้ํ า แนวปฏิบั ติ แ ละความ คาดหวัง โดยไมตองการใชการจําแนกแจกแจงเหตุผ ล แตใชความศรัท ธาความขลังความศักดิ์สิท ธของพิธีกรรม เปนการสรางกระแสความเชื่อ และพฤติกรรมที่พึงประสงค ซึ่งบทสวดในการเตรียมพิธีกรรมดังกลาว เปนการ นอมนําเอาหลักทางพระพุท ธศาสนามาใชในกระบวนการถายทอดภูมิป ญ ญา ดังที่เอกวิท ย ณ ถลาง (2546)ได กลาวถึง กระบวนการเรียนรูตามธรรม ชาติของมนุษย ในรูป แบบการเรียนรูโดยศาสนา ทั้งในดานหลักธรรมคํา สอน ศี ล และวัตรปฏิบ ัติตลอดจนพิธี กรรมและกิ จ กรรมทางสังคม ที่มีวัด เปน ศู น ยกลางของชุมชนในเชิงการ เรียนรู ลวนมีสวนตอกย้ําภูมิปญ ญาที่เปน อุดมการณแหงชีวิต ใหกรอบและบรรทัดฐานความประพฤติแ ละให ความมั่นคงอบอุน ทางจิตใจเปนที่ยึดเหนี่ยวแกคน ในการเผชิญ ชีวิตบนความไมแ นน อนอันเปนสัจธรรมอยาง หนึ่ง สถาบันศาสนาจึงมีอิทธิพลตอชีวิตของคนที่นับถือศาสนานั้น ๆ โดยตรงและโดยออ ม อีกทั้งเปน แกนและ กรอบในกระบวนการขัดเกลาทางสังคม นอกจากนี้ยังมีขอคนพบอีกประการคือ ความเปนมาของการถายทอดยังเชื่อมโยงจากความสัมพันธของ ผูถายทอดและผูรับ การถายทอดกับ สังคมลานนา ที่มีความเปนเมือ งแหงศิลปวัฒ นธรรม มีบ รรยากาศที่อ บอุน งดงาม ทามกลางสภาพแวดลอมของชางพื้นบาน เปนสิ่งที่เอื้ออํานวยตอการถายทอดและการเรียนรูในงานศิลปะ การทําตุงกระดาษ ที่ไดใหความสําคัญ กับ สิ่งแวดลอ มในการเรียนรูเปน การเปดกวางใหการรับ รูเ ปนไปอยางดี ดังเชน แมครูบัวไหล คณะปญ ญา ซึ่งเปนผูที่ชุมชนเมืองสาตรยกยอ งในความเปนผูที่มีความรูในการทําตุงและ โคมกระดาษ แมครูบัวไหลเอง ก็มีท ี่มาจากการอุทิศชีวิตใหแกการถายทอดการทําโคมและการทําตุงลานนา ดวย ความเปนคนชางประดิษฐคิดคนและรักในการทํางานศิลปะพื้นบาน แมวาอาชีพ แรกที่แ มครูบ ัวไหลทําคือ การ เปนเกษตรกรอยางเต็มตัว ไมคํานึงถึงความทุกขยาก แมครูบ ัวไหลก็ยังมีความรักในการถายทอดศิล ปะการฉลุ ลวดลายลงบนตุงกระดาษ จึงเริ่มฝกฝนและศึกษาเกี่ยวกับการทําลวดลายประดับ ผลงานดวยตนเอง เกิดเปนความ ชํานาญ พัฒนารูปแบบและลวดลายใหม ๆ ของกระดาษฉลุอยูเสมอ กระบวนการถายทอดภูมิปญญาการทําตุงของปราชญทองถิ่น นอกจากการเรียนรูในทักษะเชิงชางแลว ยังเปนการถายทอดความคิดในการแกปญ หาของการทํางานที่แฝงอยูในขั้นตอนอีกดวย ซึ่งสอดคลอ งกับ แนวคิด ในกระบวนการเรียนรูของชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของ สีลาภรณ นาครทรรพ (2538) ที่กลาวถึงการเรียนรูท ี่ เกิดขึ้นมีความตางกับ การเรียนในระบบโรงเรียน เปนการเรียนรูจ ากปญ หาในชีวิตจริง และเปนการเรียนรูเพื่อ


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.