KBU-ENG-Student-Handbook-2018

Page 1

แนะนามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต https://www.kbu.ac.th ในปี2530 ได้ดาเนินกิจการการเรียนการสอนในนามวิทยาลัยเกษมบัณฑิต และได้รับ อนุญาตเปลี่ยนประเภทเป็นมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2536 มี 2 วิทยาเขต วิทยาเขตพัฒนาการ ตั้งอยู่เลขที่ 1761ซอยพัฒนาการ 37ถ.พัฒนาการ แขวง/เขตสวน หลวง กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2320-2777 และ0-2321-6930-9โทรสาร 0-2321-4444 วิทยาเขตร่มเกล้า ตั้งอยู่เลขที่ 77ถ.ร่มเกล้า เขตมีนบุรี กรุงเทพฯโทรศัพท์0-29042222 โทรสาร 0-2904-2200 ซึ่งได้ขยายวิทยาเขตแห่งใหม่นี้ในปี พ.ศ. 2543 ปัจจุบันทาการสอนในระดับปริญญาตรี 10คณะและ 1 สถาบัน และมีหลักสูตร ภาษาอังกฤษ 4 หลักสูตรและระดับปริญญาโท 13หลักสูตร และปริญญาเอก 3หลักสูตร

วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมีดังนี้ 1. เพื่อปลูกฝังนักศึกษาให้มีความรับผิดชอบต่อชาติศาสนา และพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยธารงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของสังคมไทย และ วัฒนธรรมอันดีของชาติให้รู้จักเคารพต่อจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพของตนต่อไป 2. เพื่อให้เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มุ่งมั่นสร้างความเป็นเลิศในทางวิชาการผลิตบัณฑิต ที่มีความรู้และความสามารถสูงในสาขาอาชีพต่างๆ ให้ไปประกอบอาชีพอย่างมี ประสิทธิภาพ มีความเชื่อมั่นในตนเองรู้จักค้นคิด นาความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์มาใช้ในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างรอบคอบมีความ รับผิดชอบต่อสังคมในการเข้าร่วมแก้ไข และสร้างสรรค์ตนเองอีกทั้งมีความกระตือรือร้นที่ จะศึกษาค้นคว้าวิทยากรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอาชีพของตนสามารถปรับตนเองให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี

1


3. เพื่อให้การศึกษาและส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง มุ่งพัฒนาคุณภาพ ประชาชนโดยทั่วไปขยายโอกาสทางการศึกษาสาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายและให้ผู้ที่ประกอบอาชีพได้มีโอกาสศึกษาเพิ่มพูนวิทยฐานะ 4. เพื่อแบ่งเบาภาระของรัฐในการศึกษาเป็นการตอบสนองนโยบายของรัฐที่ประสงค์ ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนช่วยรัฐจัดการศึกษาและพัฒนาประเทศดังระบุไว้ในแผนพัฒนา การศึกษาแห่งชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. เพื่อให้มีการค้นคว้า วิจัยและเป็นสื่อนาความก้าวหน้าต่างๆไปสู่สังคมและให้การ บริการทางวิชาการแก่ชุมชนเพื่อเป็นการรับใช้และสร้างประโยชน์ต่อชุมชนโดยตรง

ปรัชญาและปณิธานของมหาวิทยาลัย ปรัชญาของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต “จุดแสงสว่างแห่งปัญญาระดับอุดมศึกษา เพื่อ อนาคตที่สดใสของนักศึกษา” และด้วยความปรารถนาอันมุ่งมั่นมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จะปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ด้วยการประสาทศิลป วิทยาการ การวิจัย ค้นคว้าการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และการทะนุบารุง ศิลปวัฒนธรรมของชาติเพื่อให้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ เพียบพร้อมด้วยปณิธาน 3 ประการ  คุณค่าประกอบด้วยศิลปวิทยา สามารถคิด วิเคราะห์และตัดสินใจ  คุณธรรมประกอบด้วยจริยธรรม มโนธรรม เคารพต่อจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ  คุณประโยชน์ ประกอบด้วยความเสียสละ พร้อมอุทิศตนเพื่อสร้างและพัฒนาสังคม

2


สถานที่ตั้งคณะ/หน่วยงานต่างๆ และหมายเลขโทรศัพท์ วิทยาเขตพัฒนาการโทรศัพท์ติดต่อภายใน 02-320-2777 โทรสาร 02-321-4444 อาคารเกษมพัฒน์ (อาคาร 1) ชั้น 1 1 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2

ห้อง ศูนย์พัฒนาเทคโนโลยีฯ กองการพัสดุและทรัพย์สิน สานักข้อสอบ ฝุายออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ กองอาคารสถานที่ ห้องพยาบาล INTERNET 2 KBU.BOOK STORE คณบดีคณะบริหารธุรกิจ คณะบริหาร(ตลาดและบัญชี) คณะบริหาร(การเงิน/การจัดการ) คณะบริหาร(คอมฯ/เลขานุการ)

หมายเลข 1121 1122 1124 1125 1126 1128 1146 1147 1109 1131 1133 1151

ชั้น 2 2 2 3 3 3 4 5 5 6 7 7

ห้อง สานักวิจัย ศูนย์บริการทางวิชาการ สานักบุคลากร คณะนิเทศศาสตร์ INTERNET 3 ศูนย์พัฒนาศักยภาพชีวิตฯ หลักสูตรบริหารฯมหาบัณฑิต สานักประกันคุณภาพฯ บัณฑิตวิทยาลัย (ป.โท) ศูนย์นโยบายสาธารณะฯ คณะนิเทศศาสตร์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์

หมายเลข 1157 1161,1110 1144, 1160 1119, 1159 1136 1163 1153 1159 1117, 1127 1152 1118 1120

หมายเลข ชั้น 1201 3 1206 3 1207 3 1208, 1209 3 1210 4 1214 4 1218 4 1216 4 1211 8

ห้อง สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กฯ สาขาอุตสาหการ, สาขาไฟฟูา หมวดวิชาคณิตฯ/วิทย์ฯ ผู้ช่วยคณบดีคณะวิศวฯ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนฯ สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมคอมฯ สาขาวิชาเทคโนฯ อุตสาหการ

หมายเลข 1212 1213 1213 1215 1220 1203 1202 1219 1216

อาคารเกษมวิวัฒน์ (อาคาร 2) ชั้น 1 2 2 2 2 2 2 2 3

ห้อง LAB ไฟฟูา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณบดีคณะสถาปัตย์ฯ สานักคณบดีคณะสถาปัตย์ฯ ที่ปรึกษาคณะวิศวฯ ศูนย์วัฒนธรรม ห้องสมุดคณะสถาปัตย์ฯ ห้องประชุมคณะวิศวฯ สานักคณบดีคณะวิศวฯ

3


วิทยาเขตพัฒนาการโทรศัพท์ติดต่อภายใน 02-320-2777 โทรสาร 02-321-4444 อาคารเกษมสรรค์ (อาคาร 3) ชั้น 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2 2

ห้อง

หมายเลข ชั้น ฝุายวินัย 1304 2 ฝุายซ่อมบารุง 1306 2 แผนกยานยนต์ 1324 2 ฝุายกีฬา 1327 2 ห้องเอกสารพิมพ์ 1331 2 ศูนย์วิจัยฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1338, 1339 3 ที่ปรึกษาอธิการบดีฝุายกิจการนศ. 1301 3 กองตรวจสอบภายใน 1332 3 ฝุายกิจการนักศึกษา 1302, 1303 3 ศูนย์ให้คาปรึกษา 1305 3 ศูนย์พัฒนานวัตกรรมการเรียนฯ 1307 4 คณะนิติศาสตร์ 1312, 1318 6 ฝุายกิจการพิเศษ 1313 10

ห้อง ห้องพักอาจารย์พิเศษ คณบดีคณะนิติศาสตร์ กิจการนักศึกษา (จัดหางาน) คณะนิติฯ (บริการกฎหมาย) คณะจิตวิทยา B.B.A. คณะศิลปศาสตร์ สานักวิชาศึกษาทั่วไป คณบดีคณะศิลปศาสตร์ ENGLISH CLINIC LEARNING CENTER คณะศิลปศาสตร์ (การบิน) ห้องประชุมชั้น 10

หมายเลข 1315 1317 1319 1323 1328 1310,1311 1309 1314 1316 1326 1322 1308 1320

อาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 4) ชั้น 1 2 2 2 2 2 2

ห้อง เคาน์เตอร์บันทึกเวลาปฏิบัติงาน ฝุายรับสมัครนักศึกษาใหม่ นายกสภามหาวิทยาลัยกิตติคุณ งานสารบรรณ เลขานุการมหาวิทยาลัย กองการเงิน กองการบัญชี

หมายเลข 1456 1401-5 1405-6 1408 1409 1410-11 1412

ชั้น 2 2 2 2 3 3 3

4

ห้อง หมายเลข สานักทะเบียนและประมวลผล 1414-16 กองประชาสัมพันธ์ 1418-19 กองทุนเงินให้กู้ยืมฯ 1420,1455 ฝุายออกแบบ 1421 สานักอธิการบดี 1423-6 รองอธิการบดีฝุายบริหาร 1407, 1427 ฝุายวิชาการ 1428, 1430


วิทยาเขตพัฒนาการโทรศัพท์ติดต่อภายใน 02-320-2777 โทรสาร 02-321-4444 อาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 4) ชั้น 3 3 3 3 3 3 4 4

ห้อง รองอธิการบดีฝุายวางแผนฯ รองอธิการบดีฝุายวิชาการ รองอธิการบดีฝุายทรัพยากรฯ ผช.อธิการบดีฝุายวางแผนฯ รองอธิการบดีฝุายกิจการพิเศษ สานักงานสภามหาวิทยาลัย ศูนย์คอมพิวเตอร์ ฝุายสัมภาษณ์นักศึกษาใหม่

หมายเลข 1429 1431 1433 1435 1436 1461-62 1422, 1417 1452, 1453

ชั้น 4 4 4 5 6 6 7 9

ห้อง หมายเลข ศูนย์ให้ความช่วยเหลือฯ(SASC) 1403 ห้องรับ-ส่งข้อสอบ 1454 ฝุายวิเทศน์สัมพันธ์ 1458 สานักบรรณสาร 1450-51 สานักบรรณสาร 1445 INTERNET 1 1446 สานักบรรณสาร 1447-9 ห้องประชุมใหญ่ 1457

วิทยาเขตร่มเกล้าโทรศัพท์ติดต่อภายใน 02-904-2222 โทรสาร 02-904-2200 อาคารหอพักนักศึกษา ชั้น 1 1 1 1 1 2

ห้อง อาคารวันทาเกษม (อาคาร A) อาคารวันทาเกษม (อาคาร B) อาคารวันทาเกษม (อาคาร C) ห้องพยาบาล (หอพัก) อาคารเกษมสราญ (อาคาร D) ห้องปฏิบัติการการโรงแรมและการท่องเที่ยว (อาคาร E)

หมายเลข 2240 0-2797-6300 0-2797-6200 1199 0-2797-6100 2221

อาคาร 1 ชั้น 2 2 2 2 2

ห้อง ฝุายรับสมัครนักศึกษาใหม่ สานักบุคลากร รองอธิการบดีวิทยาเขตร่มเกล้า งานธุรการหอพักนักศึกษา สานักงานนักศึกษาต่างชาติ

หมายเลข 2101-5 2108 2109 2111 2114, 2116

ชั้น 2 2 2 2 2

5

ห้อง หมายเลข ผช.อธิการบดีฝุายกิจการพิเศษ 2108 กองการเงิน 2117, 2110 กองทุนเงินให้กู้ยืมฯ 2118 สานักทะเบียนและประมวลผล 2120 กองการบัญชี 2121


วิทยาเขตร่มเกล้าโทรศัพท์ติดต่อภายใน 02-904-2222 โทรสาร 02-904-2200 อาคารเกษมนครา (อาคาร 2) ชั้น 1 1 1 1 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2

ห้อง ประชาสัมพันธ์ รองอธิการบดีฝุายบริหาร KBU. BOOK STORE ฝุายวินัย ห้องพัสดุ ห้องข้อสอบ สานักวิชาศึกษาทั่วไป สานักบรรณสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ห้องพยาบาล ห้องพักอาจารย์พิเศษ ฝุายวางแผนและสานักวิจัย ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ B.B.A.

หมายเลข ชั้น 2208 3 2219 3 2201 4 2229 5 2202 5 2203 5 2204 6 2205 6 2209 6 2211 6 2212 6 2218 7 2222 7 2247 11

ห้อง สานักงานบัณฑิตวิทยาลัย การออกแบบแฟชั่น ศูนย์ให้คาปรึกษา คณะบริหารธุรกิจ การจัดการ คณะนิติศาสตร์ INTEERNET สานักงาน TOEFL ห้องสอบ TOEFL คณะวิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันพัฒนาบุคลากรการบิน การจัดการอุตสาหกรรมการบิน คณะนิเทศศาสตร์

หมายเลข 2207,2225 2226 2224 2216 2243 2217 2210 2223 2224 2236 2238 2228,2230 2237 2231,2232

อาคารเกษมทัศนา (อาคารกีฬา) ชั้น 1 ศูนย์อาหาร 2 อาคารกีฬา 11 ลานโบว์ลิ่ง 11 ห้อง Fitness Center 11 ห้อง Sauna 12 สระว่ายน้า

ห้อง

หมายเลข 2215 2303 2302 2304 2301 2300

6


คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เปิดสอน 7 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชา วิศวกรรมอุตสาหการสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟูา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ และสาขาวิชาเทคโนโลยี วิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร ปรัชญา ปณิธาน 1. ผลิตบัณฑิตทางวิศวกรรมที่มีคุณภาพ เพื่อสนองความต้องการของส่วนราชการ เอกชน ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2. ค้นคว้าและวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์โดยเฉพาะสิ่งที่ยังประโยชน์ให้เกิดแก่ ประเทศไทยโดยตรง 3. บริการวิชาการและให้คาปรึกษาแนะนาทางวิศวกรรมศาสตร์แก่หน่วยงานของรัฐ และเอกชน รวมทั้งประชาชนทั่วไป พันธกิจ 1. 2. 3. 4.

ผลิตบัณฑิตทางวิศวกรรมศาสตร์ที่คิดเป็นทาเป็นและมีคุณภาพ สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม สร้างองค์ความรู้จากผลงานทางวิชาการสู่การเรียนการสอน สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ที่เปิดกว้างต่อสังคม

วิสัยทัศน์ “คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่ติด อันดับ 1 ใน 10 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชน ที่ยอมรับโดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิต ที่เป็นวิศวกรนักปฏิบัติ”

7


คุณลักษณะบัณฑิต ENG KASEM E N G K A

Encourage Noble Generous Keep on learning Adaptability & Creativity

S

Skill

E

Energetic

M

Morality

กล้าคิด กล้าทา มีเกียรติ ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรู้ที่สามารถนามาใช้การปฏิบัติงาน ( Practical Knowledge) มีนิสัยรักการเรียนรู้ รักการแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง มีความสามารถในการปรับตัวกับการทางานทุกสถานการณ์ สามารถประยุกต์ความรู้ เพื่อการพัฒนาสร้างสรรค์ แสดงออกถึงการมีทักษะในการทางาน (Working Skill) ถึงพร้อมซึ่งความ เป็นมืออาชีพ และนิสัยคุณภาพ ) แสดงออกถึงนิสัยมุ่งมั่น พากเพียร และพยายามแสดงออกถึงการเป็น คนมีจิตใจใฝุสัมฤทธิ์ (Achievement Mind) รับผิดชอบในสิ่งที่คิดและทาที่มุ่งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่น ส่วนรวมและ สังคม

8


ผู้บริหารคณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1216 (คณบดี) https://eng.kbu.ac.th

รศ.ดร.ชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์

รศ.ดร.สุนิติ สุภาพ

ผศ.วิญญู แสวงสินกสิกิจ

รองคณบดีฝ่ายบริหาร

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ผศ.ภาวัต ไชยชาณวาทิก

อ.ธีรยุทธ จันทร์แจ่ม

รองคณบดีฝ่ายวิจัย

รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา

น.ส.ชุติญา ชวลิตอุชุกร เลขานุการคณะวิศวกรรมศาสตร์ 9


ศูนย์วิจัยฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1338, 1339

รศ.ดร.สุนิติ สุภาพ ผู้อานวยการศูนย์พัฒนาการวิจัยและ วิชาการด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

ผศ.ภาวัต ไชยชาณวาทิก ผู้อานวยการศูนย์วิจัยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและ การขนส่งอย่างยั่งยืน (ศนทย.)

นางสาวอาไพวรรณ ลายอง เลขานุการศูนย์วิจัยฯ

10


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1212 และ 1213

ผศ.ชานนท์ มูลวรรณ หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

อ.ดร.ศักดิ์ชาย รักการ ที่ปรึกษาสาขาฯ

อ.ชัยพล ผ่องพลีศาล

รศ.ดร. ปราโมทย์ ศรีน้อย

อ.ฉัตรชัย ใจแจ้ง

อ.สมภพ ทิมดิษฐ์

อ.สหัส มิตรสมาน

อ.วิศรุต ถวิลวงศ์สุริยะ

นางสาวอารีสา การะพิทักษ์ เจ้าหน้าที่ธุรการ

นายสมบัติ ปานสมุทร เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ 11


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1212

อ.ทรงพล รอดทอง หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม

อ.เอกชัย พรหมมาส

อ.บัญชา บูรพัฒนศิริ

รศ.ดร.พิศิษฏ์โภคารัตน์กุล

อ.สัณห์ชนกธนาสนะ

12

อ.ณฤทธิ์ ญังธนิศรา


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1203

อ.ดร.ปริญญา บุญมาเลิศ หัวหน้าสาขาวิศวกรรมเครื่องกล

รศ.สุนันท์ ศรัณยนิตย์

รศ.ดร.ธนู ฉุยฉาย

ผศ.พล.ร.ท. ทวีศักดิ์ มั่นชวนนท์

ผศ.จิรเมธา สังข์เกษม

อ.สาลี ลายลักษณ์

อ.ทิพวัลย์ เพชรรัก

นายบัญญัติ ก้อนคา เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ 13


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1213, 1212

ผศ.ณธรรม เกิดสาอางค์ หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

ผศ.ดร.ฉนวน เอื้อการณ์

ผศ.วิญญู แสวงสินกสิกิจ

อ.ดร.ชาติ ฤทธิ์หิรัญ

อ.ธีรยุทธ จันทร์แจ่ม

อ.สัญชัยยะ ผสมกุศลศีล

อ.วัลลภ เรืองด้วยธรรม

นายวันชนะ ณรงค์ฤทธิเดช เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ 14

ผศ.อนุชิต เจริญ


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1202

อ.ดร.นวลทิพย์ เงาวิศิษฎ์กุล หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

อ.ดารงค์ รังสรรค์

ผศ.ภาวัต ไชยชาณวาทิก

อ.ธนาณัติ จีนะสฤษดิ์

อ.ว่าที่ ร.ต. ดร.วิกรม พนิชการ

รศ.ดร.สุนิติ สุภาพ

ผศ.โกวิท สุรโกมล

ผศ.โชติไกร ไชยวิจารณ์

อ.นรินทร์ เอื้อศิริวรรณ

15

นายวิชวัฒน์ เสมาชัย เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ 0-2904-2222 ต่อ 2236 (ร่มเกล้า)

อ.ดร.ประภาส ผ่องสนาม หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

อ.สุวิทย์วงค์คุ้มสิน

อ.ชนะธิป ธารงวิทยาภาคย์

อ.ภัทรภร วัฒนาชีพ

อ.อรอนงค์ วัชรสินธุ์

อ.อิฐติศักดิ์ เมืองสง 16


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1216 https://iet.kbu.ac.th

อ.จีรวัฒน์ ปล้องใหม่ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ

ผศ.สาธิต รุ่งฤดีสมบัติกิจ อ.จอมภพ ละออ

อ.ศุภวัชร เมฆบูรณ์ อ.อุบลรัตน์ วาริชวัฒนะ ขาวิชา

นายปรเมศวร์ ไวทยวรรณ

นางสาวอรพิณ เฉลิมธารงค์

เจ้าหน้าที่ธุรการ

เจ้าหน้าที่ธุรการ 17


คณาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาและความปลอดภัยของอาคาร โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1338 อ.ดร.พิชญุตม์ จรัสบารุงโรจน์ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา และความปลอดภัยของอาคาร

Dr.QudeerHussain

อ.ธีรฒาวรเจริญสิน

อ.อรรถสิทธิ์ ศิริสนธิ

อ.ไกรศร วงศ์โสภิต

น.ส.กนกพิชญ์ พาหา เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ 18


คณาจารย์ประจาหมวดวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาหรับวิศวกร โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1212 และ 1213 อ.วรากร เกิดทรัพย์ หัวหน้าหมวดวิชาคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์สาหรับวิศวกร

อ.ดร.ดนัย ลิสวัสดิรัตนากุล

รศ.วิเชียร ศรีเสือขาม

อ.เครือวัลย์ เคลื่อนสูงเนิน

อ.สุญาณี บัวชุม

อ.ภิราภรณ์ ก้อนคา

อ.ดร.หนึ่งฤทัย ทิมย้าย งาม อ.นภาลัย คาสีม่วง

19


เจ้าหน้าที่ประจาสานักคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ โทรศัพท์ 0-2320-2777 ต่อ 1211

น.ส.ยุพิน ไชยโคตร หัวหน้าธุรการ

น.ส.กรศิริ จันทร์สุขเจริญจินดา

น.ส.ขนิษฐา ศรีเจริญ

20

นางรุ่งนภาพร ภูธรธราช


เว็บไซต์ที่ควรรู้ เว็บไซต์คณะวิศวกรรมศาสตร์

เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

eng.kbu.ac.th

https://www.kbu.ac.th ศูนย์ E-learning

ศูนย์บริการนักศึกษา

https://elc.kbu.ac.th

https://csc.kbu.ac.th

สานักวิจัย

ลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์

https://reg.kbu.ac.th

https://research.kbu.ac.th

บมจ.ธนาคารกรุงไทย (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา)

https://www.studentloan.ktb.co.th สภาวิศวกร

https://www.coe.or.th

21


เว็บไซต์สาหรับลงทะเบียนและข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับนักศึกษา ขั้นตอนการลงทะเบียน 1.เปิดเว็บไซต์http://reg.kbu.ac.thก่อนที่นักศึกษาจะเข้าไปลงทะเบียนได้ นักศึกษาต้อง ทาการ Login เข้าสู่ระบบก่อน โดยคลิกที่เมนู และใส่รหัสประจาตัวนักศึกษา และรหัสผ่าน จากนั้นให้นักศึกษาใส่รหัสประจาตัวและรหัสผ่าน ซึ่งรหัสผ่านเริ่มต้นของนักศึกษาคือ วันและเดือนเกิดนักศึกษา เช่นเกิดวันที่ 1 สิงหาคม รหัสผ่านคือ 0108 เมื่อนักศึกษาใส่รหัสประจาตัวและรหัสผ่านแล้วคลิกที่ปุม "ตรวจสอบ"

เมื่อนักศึกษาทาการ login แล้ว คลิกที่เมนู เพื่อเข้าสู่หน้าจอลงทะเบียนซึ่งเมนูนี้จะ ปรากฏในช่วงเวลาของการลงทะเบียนเท่านั้น

1

22


2. จากนั้นเลือกรูปแบบ การลงทะเบียนซึ่งมี 2 แบบ คือ 2.1 ลงทะเบียนแบบปกติใช้ในการลงทะเบียนทั่วไป ให้ปูอนรหัสวิชา กด Enter หน้าจอจะ แสดงกลุ่มในรายวิชาและแสดงการสารองที่นั่งและเป็นรายวิชาที่อยู่ในโครงสร้างหลักสูตร หรือไม่ 2.2 ลงทะเบียนแบบพิเศษ เมื่อต้องการลงทะเบียนข้ามระดับการศึกษา ,เลือกรูปแบบ การศึกษาหรือกาหนดจานวนหน่วยกิตที่จะลงทะเบียนเองได้วิธีใช้งาน เลือกระดับการศึกษา ,ปูอนรหัสวิชา,กลุ่มเรียน,จานวนหน่วยกิตและเลือกระบบเกรดที่ต้องการลงทะเบียน จากนั้น กด Enter เพื่อบันทึกข้อมูล ขั้นที่ 1 เลือกประเภทหน้าจอบันทึกว่าจะต้องการใช้หน้าจอแบบปกติ หรือ พิเศษ (เลือก พิเศษเมื่อต้องการระบุหน่วยกิตในวิชาวิทยานิพนธ์ หรือกาหนดลงทะเบียน Audit/ Viระดับการศึกษาอื่น) ขั้นที่ 2 ปูอนรหัสวิชา กด Enter หน้าจอจะแสดงกลุ่มในรายวิชาและแสดงการสารองที่นั่ง และเป็นรายวิชาที่อยู่ในโครงสร้างหลักสูตรหรือไม่ ขั้นที่ 3 เลือกกลุ่มรายวิชา โดยคลิกที่ เลือก (ระบุจานวนหน่วยกิตสาหรับรายวิชาวิทยานิพนธ์ รายวิชาสะสมหน่วยกิต กรณีลงแบบพิเศษ) ขั้นที่ 4 จะปรากฏตารางขึ้นมาให้นักศึกษาดูรายละเอียด SECT. , วัน, เวลา, ห้องและเมื่อได้ ข้อมูลที่ต้องการแล้ว กด ขั้นที่ 5 ทาซ้าขั้นที่ 1 และ 4 จนครบรายวิชาที่ต้องการ

23


3. ยืนยันการลงทะเบียน การลงทะเบียนจะไม่เกิดผลใดๆหากนักศึกษายังไม่ทาการยืนยันการลงทะเบียน ทาได้โดย คลิกที่เมนู "ยืนยันการลงทะเบียน" จากหน้าจอด้านซ้ายมือ จากนั้นระบบจะแสดงผล รายการลงทะเบียนและตารางสอบของรายวิชาทีนักศึกษาได้เลือกไว้ ให้นักศึกษากดปุ​ุม "ยืนยันการลงทะเบียน" เมื่อตรวจทานผลรายการจนมั่นใจเมื่อยืนยันการลงทะเบียนแล้วจะ ถือเป็นการสิ้นสุด จะเปลี่ยนแปลงแก้ไขรายการอีกไม่ได้

3

การใช้โปรแกรมช่วยคานวณเกรดในรายวิชาที่ยังไม่ประกาศผล 1. เริ่มต้นด้วยเลือกเมนู“ผลการศึกษา”

1

24


2. 3. 4. 5.

แล้วจึงคลิกเลือกที“่ รายวิชาที่ไม่มีเกรด / ใช้โปรแกรมทดสอบเกรด” เลือกเกรดลงในช่องแต่ละวิชาให้ครบ ให้นักศึกษายืนยันด้วยการกดปุ​ุม “SUBMIT” ให้นักศึกษาพิจารณาดูที่ช่องผลจากการใส่เกรด“GPA”

หมายเหตุ : ผลการคานวณยังไม่นาค่าหน่วยกิตตัวหาร ที่ลดลงเนื่องจากการลงช้าหรือลงแก้เกรดมาคิด

ตารางเรียนตารางสอบ 1. เริ่มต้นด้วยเลือกเมนู“ตารางเรียน/สอบ”

25


ตัวอย่างตารางเรียน/ ตารางสอบ ของรายวิชาที่ลงทะเบียนไว้แล้ว

26


การตรวจสอบการจบการศึกษา 1. เริ่มต้นด้วยเลือกเมนู“ตรวจสอบจบ”

2. สามารถดูรายละเอียดของแต่ละหมวดวิชาได้โดยเลือกที่

27


การขอรับใบคาร้องและประเภทของใบคาร้องต่างๆ ลาดับ สถานที่รับคาร้อง 1 สานักคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (อาคารเกษมวิวัฒน์ชั้น3) วิทยาเขตพัฒนาการ

2 3

4 5

รหัส/ชื่อคาร้อง KBU 1 คาร้องทั่วไป KBU 2 ขอลงทะเบียนในกรณีพิเศษ KBU 3 ขอลาพัก/รักษาสถานภาพ KBU 4 ขอคืนเงิน/โอนเงิน KBU 5 ขอย้ายคณะ/สาขาวิชา KBU 6 คาร้องขอลาออก KBU 7 คาร้องขอลาออกสมัครใหม่ KBU 10 คาร้องขอเปลี่ยนกลุ่มเรียน ทป.40 แบบขอลงทะเบียนเพิ่มเติม/เพิกถอน ทป.51 แบบเทียบโอน/ย้ายรายวิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ทป.20 แบบขอลงทะเบียน ศูนย์ให้ความช่วยเหลือและ KBU 1 ถึง KBU 7 และKBU 10 บริการนักศึกษา(SASC)#1403 ทป.21ก แบบอนุญาตเข้าห้องสอบ (อาคารเฉลิมพระเกียรติชั้น4) (กรณีไม่มีชื่อเข้าห้องสอบ) ทป.21ข แบบอนุญาตให้เข้าห้องสอบ (กรณีตารางสอบซ้าซ้อน) กองทุนกู้ยืม KBU 12 ขอทุนการศึกษา (อาคารเฉลิมพระเกียรติชั้น2) สานักทะเบียนและประมวลผล KBU 9 ขอขึ้นทะเบียนบัณฑิต (อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น2) KBU 81 ขอจบการศึกษา ทป.06ก แบบขอคัดสาเนาผลการศึกษา(ภายใน) ทป.90 ขอหนังสือรับรอง 28


ขั้นตอนและระเบียบการยื่นใบคาร้อง ให้นักศึกษารับใบคาร้องจากสถานที่รับใบคาร้องตามที่ระบุไว้

เมื่อนักศึกษาเขียนเรียบร้อยแล้วให้เข้าพบอาจารย์ ที่ปรึกษาพร้อมแฟ้มประวัติ(ที่สาขาวิชา) ให้นักศึกษาดาเนินการตามขั้นตอนตามหมายเลข ที่ระบุไว้ในใบคาร้อง

นักศึกษานาแฟ้มประวัติมาที่ห้องสานักคณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตร์เพื่อนาเสนอคณบดี

รับใบคาร้องคืนหลังจาก3 วัน (นับจากวันที่ ส่งใบคาร้อง) ที่ห้องสานักคณบดีคณะฯ หมายเหตุ :นักศึกษาไม่มารับเอกสารภายใน 7 วัน ถือว่ามีเจตนาที่จะไม่ดาเนินการต่อไป 29


แฟ้มประวัติของนักศึกษา สิ่งที่ต้องมีในแฟ้มประวัติของนักศึกษา คือ 1. ใบลงทะเบียนประวัตินักศึกษา (กรอกรายละเอียดให้ครบทุกช่อง พร้อมติดรูป) 2. แผนการศึกษาตามหลักสูตรที่เรียน(ขอได้ที่สาขาวิชา) 3. ตารางรายวิชาเรียนตามหลักสูตร(ขอได้ที่สาขาวิชา) 4. ใบเกรดรวม แสดงผลการศึกษาทุกภาคการศึกษาให้เป็นปัจจุบัน (ขอได้ที่สานัก ทะเบียนฯ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 2) 5. สาเนาใบเสร็จรับเงินของแต่ละภาคการศึกษาครบทุกภาคการศึกษา 6. สาเนาใบแจ้งยอดเงินของแต่ละภาคการศึกษาครบทุกภาคการศึกษา 7. แบบลงทะเบียนของแต่ละภาคการศึกษา (ฉบับอาจารย์ที่ปรึกษา) 8. แบบขอลงทะเบียนเพิ่มเติม/เพิกถอน แต่ละภาคการศึกษา (ฉบับอาจารย์ที่ปรึกษา) 9. สาเนาสัญญากู้ยืมเงิน, สาเนาสัญญาค้าประกัน ฯลฯ (นักศึกษาเงินกู้ยืมฯ) 10. สาเนาคาร้องต่างๆ เช่น คาร้องทั่วไป, คาร้องขอลงทะเบียนกรณีพิเศษ เป็นต้น 11. สาเนาใบคาร้องผ่านการฝึกงาน 12. สาเนาใบรับรองการผ่านงาน (เพื่อขอยกเว้นการฝึกงาน) 13. ฯลฯ

30


ระเบียบวินัยนักศึกษา              

ต้องแจ้งมหาวิทยาลัยเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงทะเบียนบ้านหรือที่อาศัย มีบัตรประจาตัวนักศึกษาและนาติดตัวเสมอ ไม่ประพฤติตนเป็นอันธพาล ไม่นาสิ่งผิดกฎหมายเข้าบริเวณมหาวิทยาลัยหรือครอบครองสิ่งผิดกฎหมาย ไม่ทาลายทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย ไม่นาขนบธรรมเนียน ประเพณี หรือวิธีการอันไม่เหมาะสมมาปฎิบัติ ไม่จัดพิมพ์ สิ่งวาด หรือสิ่งเขียนอันอาจกระทบกระเทือนถึงผู้อื่นออกโฆษณา เผยแพร่โดยมิได้รับอนุญาต ไม่เล่นการพนัน ไม่ก่อเรื่องทะเลาะวิวาท ไม่พกพาอาวุธในบริเวณมหาวิทยาลัย ไม่เสพสุราจนครองสติไม่อยู่หรือเสพสิ่งเสพติดใดๆ มีความสามัคคี รักษาชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยโดยไม่กระทาให้เกิดเสียหายแก่มหาวิทยาลัย ปฎิบัติตามหลักศีลธรรมและวัฒนธรรมของไทยทุกโอกาส

 ต้องปฎิบัติตามระเบียบ และข้อบังคับของมหาวิทยาลัยทุกประการโดยเคร่งครัด

31


การแต่งกายที่ถูกต้องของนักศึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

เครื่องแบบนักศึกษาสาหรับเรียน วิชาภาคทฤษฎีและเข้าสอบ

เครื่องแบบนักศึกษาสาหรับเรียน วิชาภาคปฏิบัติการ

32


ประกาศต่างๆ ที่นักศึกษาควรทราบ

33


ประกาศ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ที่ 11/2552 เรื่อง การกาหนดคะแนนการเข้าเรียน การแต่งกาย และความประพฤติในรายวิชา

------------------------------------ตามที่มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตมีนโยบายในการพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัยให้เป็นผู้ ที่มีมารยาทอันดีงาม มีความประพฤติเรียบร้อย มีพฤติกรรมที่เหมาะสม แต่งกายถูกต้องตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ว่าด้วยเครื่องแต่งกายนักศึกษา พ.ศ. 2530 และระเบียบ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตว่าด้วยวินัยมารยาทและความประพฤติของนักศึกษา นั้น เพื่อเกียรติภูมิของมหาวิทยาลัย และการพัฒนานักศึกษาให้สาเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มหาวิทยาลัยมีนโยบายกาหนดให้อาจารย์ผู้สอนทุกท่าน ทุกรายวิชา โดยให้ประเมินคะแนนการเข้า ชั้นเรียน การแต่งกาย และความประพฤติโดยรวมในชั้นเรียนเท่ากับ 10 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ให้ ประเมินในช่อง Performance ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนดให้ในใบส่งเกรด ทั้งนี้ให้เริ่มปฏิบัติตั้งแต่ ภาคการศึกษา 1/2552 จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน และขอขอบคุณในความร่วมมือมา ณ โอกาสนี้ ประกาศ ณ วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

(ดร.อธิศ สุวรรณดี) รองอธิการบดีฝุายทรัพยากรบุคคล 34


35


ประกาศการให้รางวัลเรียนดี

ประกาศ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ที่ 13/2555 เรื่อง การให้รางวัลเรียนดี ...................................................................... เพื่อเป็นการเสริมสร้างขวัญและกาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิตจึงได้จัดให้มีการมอบรางวัลเรียนดี และเพื่อให้การมอบรางวัลเรียนดีประเภทต่างๆ ดาเนินไปด้วยดีเห็นสมควรปรับรางวัลเรียนดีให้เหมาะสมกับสภาวการณ์และลักษณะของการจัด การศึกษา โดยได้วางหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ให้ยกเลิกประกาศมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตที่ 47/2552 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2552 ทั้ง ฉบับ และให้ใช้ประกาศมหาวิทยาลัยฉบับนี้แทน 2. มหาวิทยาลัยได้จัดสรรงานรางวัลเรียนดีออกเป็น 5 ประเภท คือ รางวัลเรียนดีประเภทดีเด่น จานวนหลักสูตร(สาขาวิชา)ละ 1 รางวัล ทั้งภาคปกติและภาค สมทบตามหลักสูตร (สาขาวิชา) ที่รับการรับรองจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอรับรางวัลเรียนดีประเภทดีเด่น ก. ปัจจุบันเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี และปริญญาตรีต่อเนื่องของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ข. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (Cum-GPA.) 4.00 ในหลักสูตรที่ตนศึกษาอยู่ คานวณอย่างน้อย 4 ภาคการศึกษาปกติ ทั้งนี้ต้องศึกษาให้ครบตามสาขาวิชาและหลักสูตรกาหนดหรือจานวน หน่วยกิตต้องไม่น้อยกว่าแผนการเรียน ค. เป็นผู้มีคะแนนความประพฤติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตที่ 9/2552 เรื่อง การพิจารณาลงโทษนักศึกษา พ.ศ. 2552

36


นักศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลเรียนดีประเภทดีเด่น จะได้รับใบประกาศเกียรติคุณ ทองคาเรียนดี รางวัลนี้จะมอบให้กับนักศึกษาในพิธีมอบรางวัลเรียนดีของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ นักศึกษาจะได้รับการยกเว้นค่าหน่วยกิตและค่าธรรมเนียมการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ของปีการศึกษาถัดไป รางวัลเรียนดีประเภทที่ 1 จานวนหลักสูตร (สาขาวิชา) ละ 1 รางวัล ทั้งภาคปกติและภาคสมทบ ตามหลักสูตร (สาขาวิชา) ที่รับการรับรองจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอรับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 1 ก. ปัจจุบันเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี และปริญญาตรีต่อเนื่องของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ข. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมCum-GPA.) ( ตั้งแต่ 3.75 ขึ้นไป ในหลักสูตรที่ตนศึกษาอยู่ คานวณ เฉพาะภาคเรียนที่ 1 และ 2 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา 1 ปีการศึกษาเท่านั้น ทั้งนี้ต้องศึกษาให้ ครบตามสาขาวิชาและหลักสูตรกาหนดหรือจานวนหน่วยกิตต้องไม่น้อยกว่าแผนการเรียน ค. เป็นผู้มีคะแนนความประพฤติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิตที่ 9/2552 เรื่อง การพิจารณาลงโทษนักศึกษา พ.ศ. 2552 นักศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 1 จะได้รับใบประกาศเกียรติคุณเรียน ดี รางวัลนี้จะมอบให้กับนักศึกษาในพิธีมอบรางวัลเรียนดีของมหาวิทยาลัย นอกจากนี้นักศึกษาจะ ได้รับการยกเว้นค่าหน่วยกิตและค่าธรรมเนียมการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ของปีการศึกษาถัดไป นักศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 2 จะได้รับใบประกาศเกียรติคุณเรียน ดี รางวัลนี้จะมอบให้กับนักศึกษาในพิธีมอบรางวัลเรียนดีของมหาวิทยาลัย รางวัลเรียนดีประเภทที่ 2 จานวนหลักสูตรสาขาวิชาละ 1 รางวัล ทั้งภาคปกติและภาคสมทบ ตามหลักสูตร (สาขาวิชา) ที่รับการรับรองจากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอรับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 2 ก. ปัจจุบันเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี และปริญญาตรีต่อเนื่องของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ข. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (Cum-GPA.) ตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป ในหลักสูตรที่ตนศึกษาอยู่ คานวณเฉพาะภาคเรียนที่ 1 และ 2 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา 1 ปีการศึกษาเท่านั้น 37


ทั้งนี้ต้องศึกษาให้ครบตามสาขาวิชาและหลักสูตรกาหนดหรือจานวนหน่วยกิตต้องไม่ น้อยกว่าแผนการเรียน ค. เป็นผู้มีคะแนนความประพฤติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิตที่ 9/2552 เรื่อง การพิจารณาลงโทษนักศึกษา พ.ศ. 2552 รางวัลเรียนดีประเภทที่ 3 จานวนหลักสูตรละ 1 รางวัล คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอรับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 3 ก. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต โดยใช้ ระยะเวลาการศึกษาไม่เกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และมีคุณสมบัติ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2549 หมวดที่ 11 ข้อที่ 35 ข. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมสูงสุดCum-GPA.) ( ในหลักสูตรที่ตนศึกษาอยู่ และไม่ต่ากว่า 3.75 ค. เป็นผู้มีคะแนนความประพฤติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิตที่ 9/2552 เรื่อง การพิจารณาลงโทษนักศึกษา พ.ศ. 2552 มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 3 จะได้รับ เหรียญทองคารางวัลเรียนดี ในพิธีประสาทปริญญาของมหาวิทยาลัย ประจาปีการศึกษานั้น รางวัลเรียนดีประเภทที่4 จานวนหลักสูตร (สาขาวิชา) ละ 1 รางวัล ทั้งภาคปกติและภาคสมทบ คุณสมบัติของผู้มีสิทธิขอรับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 4 ก. เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต โดยใช้ ระยะเวลาการศึกษาไม่เกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลักสูตร และมีคุณสมบัติเป็นไป ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2549 หมวดที่ 11 ข้อที่ 35 ข. มีผลการเรียนเฉลี่ยสะสมสูงสุดCum-GPA.) ( ในหลักสูตรที่ตนศึกษาอยู่ และไม่ต่ากว่า 3.50 ค. เป็นผู้มีคะแนนความประพฤติไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตามประกาศมหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิตที่ 9/2552 เรื่อง การพิจารณาลงโทษนักศึกษา พ.ศ. 2552 บัณฑิตที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลเรียนดีประเภทที่ 4 จะได้รับเหรียญทองคา รางวัลเรียนดี ในพิธีประสาทปริญญาของมหาวิทยาลัยประจาปีการศึกษานั้น 38


3. ขั้นตอนการพิจารณาคัดเลือก 3.1 ให้คณะดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมกลั่นกรองนักศึกษาให้ได้รับรางวัลเรียนดีระดับคณะเพื่อพิจารณา คัดเลือกนักศึกษาที่มีคุณสมบัติดังกล่าว และเสนอมายังรองอธิการบดีฝุายวางแผนและพัฒนาในฐานะ รักษาการรองอธิการบดีฝุายกิจการนักศึกษา ก่อนที่จะนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมพิจารณาคัดเลือก นักศึกษาให้ได้รับรางวัลเรียนดีของมหาวิทยาลัยฯ ภายในเดือนพฤษภาคม และกรกฎาคมของทุกปี 3.2 ขอให้คณะวิชารักษากาหนดเวลาการส่งเสนอรายชื่อนักศึกษาให้ได้รับรางวับเรียนดีอย่างเคร่งครัด หากพันกาหนดให้ถือว่าสิ้นสุดการเสนอรายชื่อนักศึกษาให้ได้รับรางวัลเรียนดีสาหรับแต่ละปีการศึกษา 3.3 เลขานุการคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกนักศึกษาให้ได้รับรางวัลเรียนดีรับรายชื่อ นักศึกษาผู้มีสิทธิได้รับรางวัลเรียนดีตามที่คณะวิชาเสนอมายังรองอธิการบดีฝุายวางแผนและพัฒนา ส่งให้แผนกวินัย ฝุายกิจการนักศึกษา พิจารณาตรวจสอบด้านความประพฤติตามคุณสมบัติดังกล่าว 3.4 เลขานุการคณะกรรมการพิจารณารับรายชื่อนักศึกษาผู้มีสิทธิได้รับรางวัลเรียนดีจากแผนกวินัย ฝุายกิจการนักศึกษามาตรวจสอบคุณสมบัติของนักศึกษาผู้มีสิทธิได้รับรางวัลเรียนดีในเบื้องต้น 3.5 รางวัลเรียนดีประเภทดีเด่น กรณีที่นักศึกษามีผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (Cum-GPA.) 4.00 เท่ากัน ให้พิจารณาคัดเลือกนักศึกษาที่มีจานวนหน่วยกิตสะสมสูงสุด ให้ได้รับรางวัลเรียนดี ประเภทดีเด่น ในกรณีที่มีจานวนหน่วยกิตสะสมเท่ากัน ให้พิจารณาคัดเลือกนักศึกษาที่มีจานวน หน่วยกิตสะสมของรายวิชาเอก/วิชาชีพสูงสุด ให้ได้รับรางวัลเรียนดีประเภทดีเด่น 3.6 เมื่ออธิการบดีพิจารณาอนุมัติผู้ที่ได้รับรางวัลเรียนดีเรียบร้อยแล้ว ให้เลขานุการ มหาวิทยาลัยทาประกาศมหาวิทยาลัยแจ้งให้ทราบทั่วกัน จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน ทั้งนี้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555 (ดร.วัลลภ สุวรรณดี) อธิการบดี

ทุนการศึกษา 39


นโยบายของมหาวิทยาลัยต้องการผลิตบัณฑิตที่มีทั้งคุณภาพด้านวิชาการ และ ความสามารถด้านอื่นๆควบคู่กันไป ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงจัดให้มีกองทุนสาหรับนักศึกษาที่ มีความสามารถพิเศษในด้านต่างๆ โดยสามารถติดต่อเพื่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมได้ดังนี้

ประเภท ทุนการศึกษา กยศ.(กองทุนกู้ยืม เพื่อการศึกษา)

สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับ รายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาเขตพัฒนาการ 02-320-2777#1420 วิทยาเขตร่มเกล้า 02-904-2222 #2118 http://loan.kbu.ac.th/home

คุณสมบัติเบื้องต้น รายได้ครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี

สัญชาติไทย ไม่กาหนดรายได้ ครอบครัว อายุไม่เกิน 30 ปี ไม่เคยกู้ยืมในระดับปริญญาตรี จากสถาบันการศึกษาอื่นๆ แผนกกีฬา อาคารเกษมสรรค์ ชั้น 1 มีความสามารถทางด้านกีฬาที่ กีฬา โทรศัพท์ภายใน 1327 อยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก ฝุายกิจการนักศึกษา(งานแนะแนว) อาคาร มีผลการเรียนดีถึงดีมาก เรียนดี เกษมสรรค์ชั้น 2 โทรศัพท์ภายใน 1318 และมีความประพฤติดี เกรดเฉลี่ย 5 ภาคเรียนไม่น้อย ทุนเรียนดี กว่า 3.50 และระหว่าง คณะวิศวกรรมศาสตร์ เบอร์ต่อภายใน 1211 เพชรวิศวะฯ การศึกษาเกรดเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 เป็นรายปี ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม อาคารเกษมวิวัฒน์ มีความสามารถทางด้านดนตรี ทุนดนตรีไทย–สากล ชั้น 2 โทรศัพท์ภายใน 1214 ไทย-สากล วิทยาเขตพัฒนาการ 02-320-2777 ทุนอื่นๆ ตามที่มหาวิทยาลัยอนุมัติ วิทยาเขตร่มเกล้า 02-904-2222 กรอ.(กองทุนที่ ผูกกับรายได้ใน อนาคต)

วิทยาเขตพัฒนาการ 02-320-2777#1420 วิทยาเขตร่มเกล้า 02-904-2222 #2118 http://loan.kbu.ac.th/home

40


บทลงโทษ 1. นักศึกษาผู้ใดฝุาฝืนระเบียบวินัยจะได้รับโทษหนักเบาตามควรแก่กรณีเป็นรายบุคคลดังนี้ 1.1 ตักเตือน สั่งสอน หรือแจ้งให้ผู้ปกครองทราบเป็นลายลักษณ์อักษร 1.2 ทาทัณฑ์บนไว้ 1.3 ตัดคะแนนความประพฤติ นักศึกษาทุกคนจะมีคะแนนความประพฤติคนละ 100 คะแนน ถ้าถูกตัดเกินกว่า 20 คะแนนตัดสิทธิ์สอบสาหรับภาคเรียนนั้น 1.4 ตัดสิทธิ์สอบประจาภาค 1.5 พักการเรียนอย่างน้อยหนึ่งภาคเรียน 1.6 ลบชื่อออกจากทะเบียนนักศึกษา 2. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับทุกคนที่กาลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยฯ แห่งนี้ทั้งภาคปกติและสมทบ

สถานภาพของนักศึกษา เมื่อสิ้นภาคการศึกษาที่ 2 นับตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาเป็นผลให้นักศึกษามีสถานภาพดังนี้ นักศึกษาสภาพปกติ ได้แก่ นักศึกษาที่สอบได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 นักศึกษาสภาพวิทยาทัณฑ์ ได้แก่ นักศึกษาที่สอบได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.00 การพ้นสภาพนักศึกษา 1. สอบได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 1.50 ยกเว้นนักศึกษาที่เข้าศึกษาภาคแรก 2. ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 1.75 ในสองภาคการศึกษาปกติติดต่อกัน 3. ไม่สามารถเรียนสาเร็จภายในเวลา 2 เท่าของเวลาการศึกษาที่กาหนดไว้ในแต่ละหลักสูตร 4. นักศึกษาที่ลาพักเกิน 2 ภาคการศึกษาปกติติดต่อกัน เว้นแต่ได้รับอนุมัติเป็นกรณีพิเศษ 5. ลาออก 6. ถึงแก่กรรม 7. มหาวิทยาลัยสั่งให้พ้นสภาพนักศึกษา ด้วยสาเหตุกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง

ตัวอย่างตารางแสดงสถานภาพของนักศึกษา 41


การกาหนดฐานะชั้นปีของนักศึกษา กระทาเมื่อสิ้นปีการศึกษา สอบได้น้อยกว่า 33 หน่วยกิต เทียบฐานะเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สอบได้ 33-66 หน่วยกิต เทียบฐานะเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สอบได้ 66-99 หน่วยกิต เทียบฐานะเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 สอบได้ 99-132 หน่วยกิตขึ้นไป เทียบฐานะเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4

42


เกณฑ์จานวนหน่วยกิตที่อนุญาตให้ลงทะเบียน สถานภาพ นักศึกษา สภาพปกติ นักศึกษา สภาพวิทยาทัณฑ์

นักศึกภาคปกติ

นักศึกษาภาคสมทบ

ภาคเรียนปกติ

ภาคเรียนฤดูร้อน

ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนฤดูร้อน

12-22

ไม่เกิน 10

9-18

ไม่เกิน 6

9-16

ไม่เกิน 6

6-16

ไม่เกิน 3

ตัวอย่างการคานวณ Cum. GPA

43


ขั้นตอนการลงทะเบียนเพิ่มเติม/เพิกถอนรายวิชา นักศึกษาที่ต้องการเพิ่มเติม/ เพิกถอนรายวิชา - ภายใน 2 สัปดาห์แรกของ ภาคการศึกษาปกติ -ภายในสัปดาห์แรกของภาค เรียนฤดูร้อน นับจากวันเปิดภาคการศึกษา

ต้องการ

ขอรับใบเพิ่มเติม/ เพิกถอนรายวิชา (ทป.40) ได้ที่สานักคณบดีฯ นักศึกษาพบอาจารย์ที่ ปรึกษาและขอความ เห็นชอบ

กรอกรายการแก้ไขใน ใบเพิ่มเติม/เพิกถอน รายวิชา ไม่ต้องการ นักศึกษานาใบเพิ่มเติม/ เพิกถอนรายวิชามายื่นที่ สานักทะเบียนฯ เรียนตามปกติ

ระเบียบการขอคืนเงินค่าลงทะเบี ยนหรือค่าธรรมเนียมต่างๆ 44


1. กรณีการคืนเงินตามปกติ 6 กรณี ได้แก่ 1.1 ลงทะเบียนรายวิชาที่มหาวิทยาลัยสั่งปิด1.2 มีตารางสอนซ้าซ้อน 1.3 สอบไม่ผ่านวิชาบังคับก่อน 1.4 สอบผ่านวิชาที่ลงทะเบียนแล้ว 1.5 พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 1.6 เป็นนักศึกษาวิทยาทัณฑ์ 2. กรณีนักศึกษาจ่ายเงินเกินวงเงินค่าลงทะเบียน ยกเว้นนักศึกษาทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา 3. กรณีนักศึกษาเพิ่มเติม/เพิกถอนรายวิชาที่มีเงินเหลือคืนให้ในวันที่ทาเรื่องเพิ่ม -ถอน ซึ่งอยู่ใน ระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด 4. กรณีนักศึกษาที่สาเร็จการศึกษาและมีสิทธิรับเงินประกันของเสียหาย หมายเหตุ ใช้ใบคาร้อง KBU.4นักศึกษาจะต้องดาเนินการขอคืนเงินให้เสร็จภายในกาหนดของภาคเรียน นั้นๆ หากพ้นกาหนดเวลาของภาคการศึกษานั้น จะไม่คืนเงินดังกล่าว

การลาพักการศึกษา/ขอรักษาสถานภาพ 1. นักศึกษายื่นคาร้องขออนุมัติรักษาสถานภาพต่อคณบดีได้ในกรณีต่อไปนี้ 1.1 ถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจาการ 1.2 ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ หรือทุนอื่นใดที่มหาวิทยาลัยเห็นสมควร 1.3 เจ็บปุวยต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานานตามคาสั่งแพทย์ โดยมีใบรับรองแพทย์ 1.4 มีเหตุจาเป็นส่วนตัว หรือเหตุอันสมควรได้รับพิจารณาให้ลาพักการศึกษาได้ 2.สาหรับสองภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา ขอพักการศึกษาต้องขออนุมัติจากอธิการบดีเป็น กรณีพิเศษ 3. การลาพักการศึกษานั้น คณบดีอนุมัติได้ครั้งละหนึ่งภาคเรียนปกติไม่เกินสองภาคเรียนถ้า ต้องการ ลาพักการศึกษาอีกต้องขออนุมัติเป็นกรณีพิเศษจากอธิการบดี ไม่นับภาคเรียนฤดูร้อน 4. ในกรณีที่ได้รับอนุมัติให้รักษาสถานภาพ ให้นับรวมระยะเวลาการศึกษาด้วย (ยกเว้นข้อ 1.1) 5. ระหว่างที่ไดรับอนุมัติให้รักษาสถานภาพ ต้องชาระค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพนักศึกษา ทุกภาคการศึกษาปกติ มิฉะนั้นจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา หมายเหตุ ใช้ใบคาร้อง KBU.3แนบใบเกณฑ์ทหาร หรือใบรับทุน หรือใบรับรองแพทย์ 45


ระเบียบการสอบ   

ต้องเข้าสอบตามวัน เวลา และสถานที่ที่กาหนดไว้ หากไม่เข้าสอบโดยไม่มีสาเหตุจาเป็น ให้ถือว่าขาดสอบ (ตามระเบียบมหาวิทยาลัย) ต้องปฎิบัติตามระเบียบการสอบและคาชี้แจงของอาจารย์ผู้ควบคุมการสอบ ถ้าไม่สามารถเข้าสอบได้ด้วยเหตุจาเป็น ต้องยื่นคาร้องขอสอบภายหลังหรือขอเพิกถอน รายวิชานั้นผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาเสนอต่อคณบดีภายใน 3 วัน หลังสิ้นสุดการสอบ (หากไม่ได้รับการอนุมัติ จะถือว่าสอบตก F ) หากไม่ปฎิบัติตามระเบียบการสอบ หรือคาชื้แจงของอาจารย์ผู้ควบคุมการสอบหรือทา การทุจริตในการสอบด้วยวิธีใดก็ตาม ให้ถือว่าสอบตกในรายวิชานั้น (ตามระเบียบ มหาวิทยาลัย) ระดับโทษทางวินัยกรณีนักศึกษาทุจริตในการสอบ - ได้ F ในรายวิชาที่ทาการทุจริตและพักการเรียนในภาคการศึกษาปกติถัดไป - ให้ออกในกรณีที่ได้ทาการทุจริตในการสอบเป็นครั้งที่ 2 - ระงับทุนการศึกษาทุกประเภท การแต่งกายใส่ชุดนักศึกษาที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

46


การฝึกงานของนักศึกษา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ทกุ คนต้องฝึกงานในสถานประกอบการ ซึง่ สามารถ ฝึกงานได้ทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน ในชั้นปีที่ 3 หรือเทียบเท่า ระยะเวลาในการ ฝึกงานไม่น้อยกว่า 300 ชั่วโมง ซึ่งในระหว่างการฝึกงานนักศึกษาต้องไม่มีการเรียนในวิชา ใดๆ ทั้งสิ้นในช่วงเวลาฝึกงาน สิ่งที่นักศึกษาต้องปฎิบัติและเข้าร่วมกิจกรรมก่อนฝึกงานได้แก่ 1. การเข้าประชุมเพื่อรับทราบการชี้แจงเกี่ยวกับการฝึกงาน 2. กิจกรรมแนะแนวการหาที่ฝึกงาน/กิจกรรมอบรมสร้างเสริมด้านบุคลิกภาพ 3. การอบรมด้านความปลอดภัยในการทางาน 4. การอบรมมาตรฐานสากลต่างๆ 5. ปฐมนิเทศฝึกงาน 6. อื่นๆ ที่ทางคณะฯ ประกาศ

วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ในลักษณะงานวิชาชีพวิศวกรรม รวมทั้งให้มีความเข้าใจและเห็นถึง ความสอดคล้องในความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาวิชาการเรียนและวิชาชีพมากขึ้น

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมมีดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

สามารถอธิบายถึงลักษณะวิธีการทางานวิชาชีพวิศวกรรมได้ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี สามารถอธิบายถึงวิธีการแก้ไขปัญหา/กระบวนการการบริหารงานทางวิศวกรรมได้ สามารถบอกถึงบทบาทและหน้าที่ของวิศวกรที่มีต่อสังคม สามารถนาความรู้ในหลักสูตรเข้าไปประยุกต์ใช้งานปฏิบัติได้ เสริมสร้างประสบการณ์นอกหลักสูตร

ช่วงเวลาและระยะเวลาในการฝึกงาน คณะฯ ได้กาหนดช่วงเวลาในการฝึกงานตั้งแต่เดือนเมษายนถึงปลายเดือนพฤษภาคมระยะเวลาใน การฝึกงานของแต่ละสาขาวิชาเป็นจานวนชั่วโมงที่ระบุไว้ในแต่ละหลักสูตร

47


ประเภทของนักศึกษาที่ต้องทาการฝึกงาน หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต และหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต นักศึกษาในหลักสูตรทีก่ าหนดให้วชิ าฝึกงานมีหน่วยกิต จะต้องลงทะเบียนวิชานีด้ ว้ ย

ขั้นตอนการดาเนินการขอฝึกงาน 2. นักศึกษายื่นคาร้องขอความอนุเคราะห์ฝึกงานผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาโดยใช้KBU.1 ให้ระบุชื่อ สถานประกอบการที่ต้องการไปฝึก ตาแหน่งของผู้ที่จะรับพิจารณา ที่อยู่ของสถาน ประกอบการ พร้อมชาระเงินค่าธรรมเนียมออกหนังสือที่กองการเงินของมหาวิทยาลัย(ฉบับ ละ 20 บาท) 3. ยื่นคาร้องดังกล่าวที่สานักคณบดีคณะฯ เพื่อเสนอรองคณบดีฝุายกิจการนักศึกษาพิจารณา อนุมัติ และออกหนังสือให้กับนักศึกษา (กรณีที่ฝึกงานที่เดียวกันหลายคนจะออกให้เพียง 1 ฉบับ) 3. นักศึกษามารับหนังสือขอความอนุเคราะห์หลังจากยื่นคาร้อKBU.1 ง แล้ว 3 วัน และนักศึกษา นาไปยื่นสถานประกอบการตามที่ได้ระบุไว้ด้วยตนเอง 4. นักศึกษาสามารถสอบถามแบบตอบรับการฝึกงานจากบริษัทฯ ได้ที่สานักคณบดีฯ 5. หากได้รับการตอบรับให้เข้าฝึกงาน ให้นักศึกษาสาเนาการตอบรับ ส่งที่สานักคณบดีฯ เพื่อ ทาหนังสือส่งตัวไปฝึกงานตามวันและเวลาที่ได้ระบุไว้ในใบตอบรับด้วยตนเอง หากถูกปฏิเสธ ให้นักศึกษาดาเนินการตามขั้นตอนที1่ ใหม่ 6. ก่อนการฝึกงานในสถานประกอบการต่างๆ นักศึกษาทุกคนต้องผ่านการปฐมนิเทศการฝึกงาน ของคณะฯ มิฉะนั้นถือว่าไม่ผ่านการฝึกงานและมารับหนังสือส่งตัวพร้อมสมุดบันทึกการ ปฏิบัติงานให้บันทึกทุกวันลงในสมุดและประเมินผลการฝึกงาน(ซื้อได้ที่ KBU BOOKSTORE) 7. เมื่อครบระยะการฝึกงานให้นักศึกษาจัดทารายงานการฝึกงาน และส่งอาจารย์ผู้ดูแลการ ฝึกงานของสาขาวิชาฯ ภายใน 2 สัปดาห์หลังจากฝึกงานเสร็จสิ้น พร้อมหนังสือรับรองการ ฝึกงานที่สถานประกอบการออกให้ สาเนาหนังสือรับรองการฝึกงานที่ออกโดยสถาน ประกอบการเก็บไว้ในแฟูมประวัติของนักศึกษาเพื่อประกอบการขอแจ้งจบการศึกษา 8. ผลการฝึกงานมี S (ผ่าน) หรือ U (ไม่ผ่าน) หากนักศึกษาส่งงานล่าช้าก็จะทาให้เกรดของ นักศึกษาออกช้า และทาให้จบการศึกษาช้าได้ 48


รูปแบบของรายงานการฝึกงาน 1. รายละเอียดของหน่วยงานหรือบริษัทที่เข้ารับการฝึกงาน - ประวัติความเป็นมาพอสังเขป - สถานที่ตั้ง, แผนที,่ เวลาการทางานทั่วไป, กะงาน (แสดงช่วงเวลา), จานวนพนักงาน - ลักษณะการดาเนินงานขององค์กรและโครงสร้างการบริหารงานองค์กร 2. รายละเอียดของงานที่เข้ารับการฝึกงาน - ตาแหน่งที่รับผิดชอบ พร้อมขอบข่ายของงานในตาแหน่งประกอบ - งานที่ได้รับมอบหมายและรายละเอียดในการดาเนินการแต่ละขั้นตอนของงานนั้นๆ - ตารางเวลาปฏิบัติงานที่ใช้ในแต่ละขั้นตอนของงาน (Work sheet) - การวางแผนการปฏิบัติตนเองในแต่ละงานที่ได้รับมอบหมาย - ปัญหาจากการปฏิบัติงานและแนวทางในการแก้ไขปรับปรุง - ปัญหาที่แก้ไขได้ยาก - ปัญหาที่สามารถแก้ไขได้เลย - ผลที่ได้รับหลังการวิเคราะห์ปรับปรุงสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น (ระบุแยกปัญหาให้ชัดเจน) - ปัจจัยอื่นๆ ที่ทาให้การทางานไม่เกิดประสิทธิภาพสูงสุด - แนวทางปรับปรุงและขั้นตอนการทางานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ - ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้ารับการฝึกงาน (ยกเว้น นักศึกษาทางานอยู่แล้ว ) 3. เอกสารแนบท้ายอื่นๆ ประกอบในการจัดทารายงาน - สาเนาใบส่งตัวนักศึกษาไปยังสถานประกอบการ (ยกเว้นนักศึกษาทางานอยู่แล้ว ) - สาเนาหนังสือรับรองผ่านการฝึกงาน/หนังสือรับรองการทางาน(นักศึกษาทางานอยู่แล้ว ) จากสถานประกอบการและต้องมีตราประทับบริษัท - สาเนาบัตรลงเวลาบันทึกการปฏิบัติงานในแต่ละวัน - สมุดบันทึกการฝึกงานในแต่ละวันพร้อมลายเซ็นผู้ควบคุมงานที่ได้รับจากทางคณะฯ หมายเหตุนักศึกษาภาคสมทบที่ทางานอยู่แล้ว ให้ยกตัวอย่างลักษณะงานที่ได้รับมอบหมายพร้อมคาอธิบาย เนื้องานให้เข้าใจ และให้สาเนาหนังสือมอบหมายงานที่ได้รับจากผู้บังคับบัญชา หรือเอกสารอ้างอิง ในงานนั้นๆ มาด้วย อย่างน้อย 8 งาน

กรอบแผนการส่งเสริมการพัฒนาด้านกิจกรรมนักศึกษา 49


ด้วยฝุายกิจการนักศึกษา ได้กาหนดกรอบกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาขึ้น โดยลักษณะการ ดาเนินงานด้านกิจการนักศึกษาเป็นกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยสนับสนุนส่งเสริม เพื่อให้นักศึกษาเป็น บัณฑิตที่มีคุณสมบัติพร้อมนอกเหนือจากการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. การจัดบริการแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า ซึ่งมหาวิทยาลัยจัดขึ้นโดยสอดคล้องกับความต้องการ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักศึกษาและศิษย์เก่า 2. การจัดกิจกรรมนักศึกษาที่ดาเนินการโดยสโมสรนักศึกษาและชมรมต่างๆ ที่ให้นักศึกษาได้ พัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตลอดจนคุณลักษณ์บัณฑิตที่พึงประสงค์ ( KASEM) ได้แก่ ใฝุรู้ พัฒนาตนเอง และมีความคิดสร้างสรรค์ สามารถปรับตัวในการทางาน มีจิตสานึก รับผิดชอบต่อสังคม และร่วมพัฒนาท้องถิ่น เป็นนักปฏิบัติ มีความอดทน มีพลังมุ่งมั่น กระตือรือร้น มีจริยธรรม คุณธรรมและวุฒิภาวะ และตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ( TQF) ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ รับผิดชอบ รวมทั้งทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตาม คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์และตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษานั้น เพื่อให้การ ดาเนินงานด้านกิจกรรมการพัฒนานักศึกษาให้ครอบคลุมทั้งสองส่วน จึงกาหนดทิศทางการส่งเสริม การดาเนินงานด้านกิจกรรมและพัฒนานักศึกษาดังนี้ 1. แนวทางส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถาบัน และคุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (KASEM+TQF) - กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ - กิจกรรมกีฬา หรือการส่งเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม - กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม - กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพมนุษยสัมพันธ์ และทักษะการสื่อสาร 2. การพัฒนาระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา เน้นกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. การถ่ายทอดระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาไปสู่นักศึกษา โดยผ่านกลไก - อาจารย์ที่ปรึกษา - การปฐมนิเทศนักศึกษาส่วนคณะฯ - บุคลกร 4. พัฒนาระบบ Transcript กิจกรรมเสริมหลักสูตร

ชั้นปีที่ 1

50 1. กิจกรรม KBU. Freshy Camp


ชั้นปีที่ 2

ชั้นปีที่ 3

ชั้นปีที่ 4 หรือ ชั้นปีสุดท้าย

2. ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ KBU./ คณะ 3. โครงการไหว้ครู/ วิศวะวันทา 4. โครงการร้องเพลงเชียร์และรับน้องใหม่ 5. โครงการเปิดโลกกิจกรรมแลสมัครเป็นสมาชิกชมรม/สโมสร 6. กิจกรรมเลือกตั้ง 1. ประชุมนักศึกษา 2. โครงการอบรมสร้างพลังใจ (สอดแทรกในการประชุมนักศึกษา) 3. โครงการอบรมมารยาทไทยและการพัฒนาบุคลิกภาพ 4. กิจกรรมเลือกเสรี 1. ประชุมนักศึกษา (สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ) 2. โครงการเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงาน 3. โครงการอบรมมาตรฐาน ISO 4. ดูงานในสถานประกอบการ 5. กิจกรรมเลือกเสรี 1. ประชุมนักศึกษา (สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม จิตสาธารณะ) 2. โครงการอบรมความปลอดภัยในการทางาน 3. โครงการเสริมทักษะวิชาชีพวิศวกร 4. กิจกรรมเข้าร่วมดูงานนิทรรศการต่างๆ จากภายนอก 5. ดูงานในสถานประกอบการ 6. ปัจฉิมนิเทศ 7. กิจกรรมเลือกเสรี

ตารางแผนกิจกรรมพัฒนานักศึกษา หมายเหตุ1. การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้ดูประกาศของคณะฯ /มหาวิทยาลัย 2. รายการกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม คณะฯ จะไม่จัดซ้าซ้อนกับกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยและชมรม

การประกันคุณภาพการศึกษา 51


พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ กาหนดจุดมุ่งหมาย และหลักการของการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพ และมาตรฐาน โดยกาหนด รายละเอียดไว้ในหมวด 6 มาตรฐาน และการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย “ระบบ การประกันคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกันคุณภาพภายนอก” เพื่อใช้เป็นกลไกในการ ผดุงรักษาคุณภาพ และมาตรฐานของสถาบันอุดมศึกษาเป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง (ผู้ปกครอง นักศึกษา ประชาชนทั่วไป) ว่าผู้ที่จบการศึกษาจะมีคุณภาพตามที่ต้องการ ระบบการประกันคุณภาพภายใน ดาเนินงานโดยสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็นการสร้างระบบและกลไกลในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินการดาเนินงานของ สถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เปูาหมายและระดับคุณภาพตามมาตรฐานมีกาหนดโดย สถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด และให้ถือว่าระบบการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วน หนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยมีการจัดทารายงานการ ประกันคุณภาพคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด ระบบการประกันคุณภาพภายนอก เป็นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดย สานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพ การศึกษา(องค์การมหาชน) หรือเรียกชื่อย่อว่า สมศ. โดยกาหนดให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องได้รับ การประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้งในทุกรอบ 5 ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยงข้อง และสาธารณชน

การประกันคุณภาพการศึกษาคืออะไร ? การประกันคุณภาพการศึกษาคือการดาเนินภารกิจต่างๆทั้งด้านวิชาการและการ บริการ/การจัดการเพื่อสร้างความมั่นใจให้ผู้รับบริการทางการศึกษาทั้งผู้รับบริการโดยตรงคือ ผู้เรียนผู้ปกครองและผู้รับบริการทางอ้อมคือสถานประกอบการประชาชนและสังคมโดยรวมว่า การดาเนินงานของสถานศึกษาจะมีประสิทธิภาพ และทาให้ผู้เรียนมีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาที่ได้กาหนดไว้การประกันคุณภาพมีแนวคิดอยู่บนพื้นฐานของ การ "ปูองกัน" ไม่ให้เกิดการทางานที่ไม่มีประสิทธิภาพและผลผลิตที่ไม่มีคุณภาพ 52


นักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา นักศึกษา คือผู้ที่รับประโยชน์โดยตรงจากการดาเนินงานของคณะฯ และมหาวิทยาลัย จึง จาเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่างๆ ของคณะฯ และมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยส่งเสริมและ สนับสนุนให้การดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากผลการดาเนินงานที่ดี และมีคุณภาพจะส่งผลโดยตรงต่อนักศึกษา ซึ่งกิจกรรมที่นักศึกษา สามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการประกันคุณภาพของคณะ และ มหาวิทยาลัย เช่น  การติดตามรับรู้การดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะฯ และมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาโดยตรงเช่นหลักสูตร การเรียนการสอนกิจการ นักศึกษาเป็นต้น  การให้ข้อเสนอแนะ และความร่วมมือในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของคณะฯ และ มหาวิทยาลัยผ่านแบบสอบถาม แบบประเมิน กล่องรับแสดงความคิดเห็น หรือสื่อทางด้าน อินเตอร์เน็ต เพื่อนามาปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้มีคุณภาพต่อไป  การประชาสัมพันธ์โดยการเชิญชวนให้นักศึกษาให้ความสนใจและให้ความสาคัญในกิจกรรม ต่างๆ เพื่อให้การดาเนินงานของคณะฯ และมหาวิทยาลัยบรรลุเปูาหมาย  การนาความรู้ด้านประกันคุณภาพ เช่น PDCA ไปใช้ในการพัฒนากิจกรรมหรือโครงการ  การรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งชมรมนักศึกษา และสร้างเครือข่ายภายในและภายนอก เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการประกันคุณภาพ

ผู้ได้ประโยชน์จากการประกันคุณภาพการศึกษา  นักศึกษา : มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณภาพตรงตามความต้องการของนายจ้า/ง ผู้ประกอบการ ภาวะการได้งานทาสูง ดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข ฯลฯ  อาจารย์ เจ้าหน้าที่ : มีระบบการทางานที่ดี มีแผนการดาเนินงาน/เปูาหมายที่ชัดเจน  นายจ้าง /ผู้ประกอบการ: ได้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ ตรงตามความต้องการ  ประชาชน/สังคม: ได้ทรัพยากรที่มีคุณภาพ ได้องค์ความรู้จากงานวิจัยที่เป็นผลผลิตจาก มหาวิทยาลัย นาไปใช้ประโยชน์ในทุกระดับ ได้รับการสนับสนุนด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน  มหาวิทยาลัย: มีชื่อเสียง สามารถดารงอยู่ได้ 53


ระเบียบของสภาวิศวกร https://www.coe.or.th การขอรับใบอนุญาตฯ ระดับภาคีวิศวกร ปี พ.ศ. 2552 ต้องทดสอบความรู้ทางวิศวกรรม บัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตร และสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสภาวิศวกร ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป หรือที่สาเร็จการศึกษาก่อนหน้านี้แต่ยังไม่เคยรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมก่อน 1 มกราคม 2552 ทุกท่านจะต้องผ่านการ ทดสอบความรู้ทางวิศวกรรมซึ่งหลักเกณฑ์การขอรับใบอนุญาตมีดังนี้ 1. จบจากหลักสูตรและสถาบันการศึกษาที่ผ่านการรับรองจากสภาวิศวกร 2. ได้เรียนในหลักสูตรโดยมีรายวิชาและหน่วยกิตตามที่คณะกรรมการสภาวิศวกรกาหนด 3. ต้องผ่านการสอบในหมวดวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมและหมวดวิชาเฉพาะทาง วิศวกรรมซึ่งจัดสอบโดยสภาวิศวกร 4. ต้องผ่านการอบรมและทดสอบความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม หลักเกณฑ์ใหม่ที่เพิ่มขึ้นมาในปี 2552 คือทุกคนต้องเข้าทดสอบความรู้ทางวิศวกรรมก่อนซึ่ง ข้อสอบเป็นแบบปรนัยรายวิชาและเกณฑ์การสอบเป็นไปตามที่แนบมาขณะนี้มีข้อสอบอยู่ในคลัง ข้อสอบ 107 วิชา วิชาละประมาณ 400 ข้อได้เปิดเผยพร้อมคาตอบที่ถูกต้องซึ่งทางสภาวิศวกรได้ นาเข้าไว้ในเว็บไซต์สภาวิศวกร (Website: http://www.coe.or.th) เรียบร้อยแล้วท่านใดมี ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับข้อสอบข้อใดกรุณาแจ้งให้ทางสภาวิศวกรทราบโดยท่านสามารถแสดงความเห็น ในข้อสอบข้อนั้นๆได้บนเว็บไซด์เลยจะขอบพระคุณอย่างยิ่ง ฤชากรจิรกาลวสาน ประธานคณะอนุกรรมการการทดสอบความรู้ผู้ขอรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร ปี 2552

54


กติกาการสอบ/การเตรียมตัวไปสอบ

ในแต่ละหมวดวิชา มีจานวนข้อสอบวิชาละ 25 ข้อ จานวน 4 วิชาหรือกลุ่มวิชา (ตามที่ สาขากาหนด) รวมทั้งหมด100 ข้อ คะแนนแต่ละข้อเท่ากับ 1 คะแนน ข้อที่ไม่ตอบหรือตอบผิดได้ คะแนนเท่ากับศูนย์ เวลาสอบ 3 ชั่วโมง และผู้เข้าสอบจะต้องได้คะแนนในแต่ละหมวดวิชาไม่น้อย กว่าร้อยละหกสิบ 60%) ( จึงจะถือว่าเป็นผู้สอบผ่าน

โปรดเตรียม 1. บัตรสมาชิกสภาวิศวกร ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัดยาว ยางลบ วงเวียน (กระดาษทดมีแจกให้) 2. เครื่องคานวณธรรมดาที่มีฟังก์ชันเสริมทางเรขาคณิตเท่านั้น สาหรับเครื่องคานวณที่สามารถ บรรจุโปรแกรมตัวอักษร (สื่อสารได้) ไม่อนุญาตให้นาเข้าห้องสอบ 3. สภาวิศวกรสงวนสิทธิ์ในการขอเลื่อนสอบและการคืนค่าสมัครสอบในทุกกรณี 4. หากวิชาใดจาเป็นต้องใช้ตารางมาตรฐานประกอบการสอบ ผู้จัดจะเตรียมไว้ให้ในห้องสอบและ ห้ามขีดเขียนข้อความใด ๆ ลงในเล่มตารางมาตรฐานโดยเด็ดขาด 5. ผู้จัดขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกาหนดการตามที่เห็นสมควรโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบ ล่วงหน้า

หมายเหตุ 1. ชายแต่งกายเสื้อเชิ้ต-กางเกงแสล็ค สีและแบบสุภาพ หญิงเสื้อ-กระโปรงแบบสุภาพ ห้ามสวมรองเท้า แตะ,เสื้อยืดทุกประเภท, กางเกงยีนส์ 2. สภาวิศวกรสงวนสิทธิ์ในการขอเลื่อนสอบและการคืนค่าสมัครสอบในทุกกรณี 3. หากวิชาใดจาเป็นต้องใช้ตารางมาตรฐานประกอบการสอบ ผู้จัดจะเตรียมไว้ให้ในห้องสอบและห้ามขีด เขียนข้อความใด ๆ ลงในเล่มตารางมาตรฐานโดยเด็ดขาด 4. ผู้จัดขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงกาหนดการตามที่เห็นสมควรโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 55


หลักเกณฑ์การทดสอบความรู้ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร ก. หมวดวิชาที่ใช้ในการทดสอบ 1. หมวดวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมจานวน 4 วิชาประกอบด้วย 1.1 วิชา Engineering Drawing (ME.107) 1.2วิชา Engineering Mechanics-Statics 1.3 วิชา Engineering Materials (IE.211) 1.4วิชา Computer Programming (CT.102) ผู้เข้าสอบต้องสอบทั้ง 4 วิชาวิชาละ 25 ข้อรวม 100 ข้อ (คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน)

2. หมวดวิชาเฉพาะทางวิศวกรรมดังนี้ 2.1สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มี 2ส่วน ดังนี้ 2.1.1 วิชาบังคับ จานวน 3 วิชา ดังนี้ ที่ 1 2 3

รายวิชา เทียบรายวิชาของคณะฯ จานวนข้อสอบ Safety Engineering IE.386 25 Production Planning and Control IE.481 25 Quality Control IE.383 25

2.1.2 วิชาเลือก 4 วิชา โดยให้เลือก 1 วิชา ดังนี้ ที่ 1 2 3 4

รายวิชา Industrial Plant Design Industrial Work Study Engineering Economy Maintenance Engineering

เทียบรายวิชาของคณะฯ จานวนข้อสอบ IE.482 25 IE.385 25 IE.307 25 IE.384 25

ผู้เข้าสอบสอบวิชาละ 25 ข้อรวม 100 ข้อ(คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน) 56


2.2สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมแบ่งเป็น 8 กลุ่มวิชา ที่

1 2 3 4 5 6 7 8

เทียบรายวิชา ของคณะฯ

รายวิชา

Engineering Drawing Engineering Mechanics Engineering Materials Computer Programming Thermodynamics Fluid Mechanics Strength of Materials/ Mechanics of Materials Manufacturing Process

ME.107 ME.201,ME.202 IE.211 CT.102 ME.206, ME.305 ME.205 ME.301 IE.207

2.2สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิชาเฉพาะทางวิศวกรรมแบ่งเป็น 8กลุ่มวิชา ที่

1 2 3 4 5 6

เทียบกับรายวิชา ของคณะฯ

รายวิชา

Mechanics of Machinery Machine Design Automatic Control Mechanical Vibration Heat Transfer Computer Aided Mechanical Engineering Design

57

ME.304 ME.309,ME.403 ME.415 ME.404 ME.310 ME.321


2.2 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิชาเฉพาะทางวิศวกรรม แบ่งเป็น 8กลุ่มวิชา(ต่อ) เทียบรายวิชา ของคณะฯ

ที่

รายวิชา

7

Internal Combustion Engines/ Combustion/ Internal Combustion Engines for Agricultural Systems/ Combustion Technology for Food Engineering/ Air Conditioning/ Refrigeration/ Refrigeration and Air Conditioning/ Industrial Refrigeration, Freezing, Cold Storage/ Refrigeration and Cold Storage Systems/ Aircraft Air Conditioning and Pressurization Systems/ Power Plant Engineering/ Power Generation and Environmental/ Power Systems in Food Industry/ Ship Propulsions and Engines/ Ship Resistant and Powering/ Aircraft Energy for Agriculture/ Grain Drying/ Boiler and Gas Turbines/ Marine Engineering/ Fluid Machinery in Food Industry/ Energy Utilization in Food Industry/ Alternative and Renewable Energy Resources/ Food Thermal Process Engineering/ Agricultural Process Engineering

ME.306, ME.413, ME.405, ME.402, ME.425

วิชาเฉพาะทางวิศวกรรมต้องมีหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต รายวิชาในกลุ่มที่ 1-6 ให้เลือกกลุ่มละ 1 วิขา ส่วนในกลุ่มที่ 7 ให้เลือก 2 วิชา

58


2.3สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าจานวน 10วิชาประกอบด้วย ที่

1 2 3 4 5 6 7 8

รายวิชา

Electrical Instruments and Measurements Electrical Machines Electrical System Design Power Plant and Substation Power System Protection Electric Power System Analysis High Voltage Engineering Power Electronics

เทียบกับรายวิชา ของคณะฯ

จานวน ข้อสอบ

EE.227 EE.390, EE.392 EE.338 EE.438 EE.431 EE.347, EE.349 EE.434 EE.341

25 25 25 25 25 25 25 25

ผู้เข้าสอบสามารถเลือกสอบ 4 กลุ่มวิชาจาก 8 กลุ่มวิชาสอบวิชาละ 25 ข้อรวม 100 ข้อ (คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน)

2.4สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาแบ่งเป็น 8 กลุ่มวิชามีจานวนวิชารวม 15 วิชาได้แก่ กลุ่ม

1 2 3 4 5 6 7 8

รายวิชา

Structural Analysis Reinforced Concrete Design &Practice Soil Mechanics & Laboratory Civil Engineering Materials and Testing Steel & Timber Design & Practice/ Foundation Engineering & Practice Hydraulic Engineering / Water Resources Engineering Highway Engineering / Transportation Engineering Construction Engineering andManagement /Route Surveying /Photogrammetry

เทียบกับรายวิชา ของคณะฯ

จานวน ข้อสอบ

CE.303, CE.305 CE.327 CE.311, CE312 CE.214, CE.326 CE.442 CE.423

25 25 25

CE.315

25

CE.418 CE.310/CE.330 CE.447

ผู้เข้าสอบต้องสอบ 4 กลุ่มวิชาจาก 8 กลุ่มวิชาโดยบังคับสอบในกลุ่มวิชาที่ 1 ถึง 3 และเลือกสอบได้เพียง1 กลุ่มวิชาจากกลุ่มวิชาที่ 4 ถึง 8 สอบกลุ่มวิชาละ 25 ข้อรวม 100 ข้อ (คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน ) 59


ข. หลักเกณฑ์และขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

60


61


62


63


64


65


66


67


68


69


70


71


72


73


74


75


ตัวอย่างแบบฟอร์มคาขอสมัครเป็นสมาชิกสภาวิศวกร เลขที่ใบรับเรื่อง..…..…….....… รหัสสมาชิก……..…………..…… คาขอสมัครเป็นสมาชิกสภาวิศวกร 1. ชื่อ…………………………..…….………...ชื่อสกุล………………….…..……………สัญชาติ…………….…...…… 2. เกิดวันที่.……...เดือน……………..…….พ.ศ.……...…..อายุ…..…….…ปี เพศ Oชาย Oหญิง 3. ชื่อบิดา……………………………………………..…….ชื่อมารดา………………..……….………..….…............... 4. ที่อยู่ปัจจุบันเลขที่ …………….....……..ตรอก/ซอย…….......... ………......…..…………หมู่ที่ ……............… ถนน……….………..…..……แขวง/ตาบล………………….…………เขต/อาเภอ……….……0.……..…...……… จังหวัด ……………………………….…………..………..….รหัสไปรษณีย์…………..…...…….………….…............ โทรศัพท์ ………………..….………..…โทรสาร…................................... .E-MAIL.…...……......……….……… 5. ที่ทางานปัจจุบัน ………………........……................................................ ……….เลขที่ ….......………........... ตรอก/ซอย………………….……..…หมู่ที่…..…ถนน………………… แขวง/ตาบล……………..………………. เขต/อาเภอ……..….………..…....……จังหวัด…………………………….. รหัสไปรษณีย์….….……...…........ โทรศัพท์ ………………………………..……....…..…........... …โทรสาร……………….......…………..………………… 6. คุณวุฒิการศึกษา 6.1 ได้รับปริญญา…………………สาขา……………….…… จาก…………………… เมื่อ…………….……….… 6.2 อื่นๆ (ระบุ)…………………….สาขา…………………..…จาก…………………… เมื่อ………….…….……… 7. เป็นผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรมในสาขาวิศวกรรม O โยธา O เครื่องกล O ไฟฟูาแขนงไฟฟูากาลัง O ไฟฟูาแขนงไฟฟูาสื่อสาร OอุตสาหการO เหมืองแร่ O เคมี O สิ่งแวดล้อม O อื่นๆ (ระบุ).......... ................... 8. ขอชาระค่าจดทะเบียนสมาชิกและค่าบารุง จานวน 1,500 บาท /อายุสมาชิก 5 ปี ขอยื่นคาขอต่อสภาวิศวกร พร้อมด้วยเอกสารหลักฐานประกอบคาขอโดยครบถ้วน เพื่อขอสมัครเป็นสมาชิกสภาวิศวกรประเภท OสามัญOวิสามัญ ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความในคาขอนีเ้ ป็นความจริงทุกประการ ยื่น ณ วันที่ …….........….…………………… ลงชื่อ.........…………………….…………….ผู้ยื่นคาขอ (………….…………………….…….….)

76


ตัวอย่างแบบฟอร์มคาขอสมัครเป็นสมาชิกสภาวิศวกร(ต่อ) คารับรองคุณสมบัติ (เฉพาะสมาชิกวิสามัญ) ข้าพเจ้า…………………………….……………..….ตาแหน่ง..………….…..…….………………………… เลขทะเบียนใบอนุญาต (ระดับสามัญวิศวกรขึ้นไป)………………...……………………….…....................... ขอรับรองว่า…………………………………………………………………………………………………….………………... เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 และข้อบังคับสภา วิศวกรว่าด้วยการรับสมัครเป็นสมาชิกวิสามัญของสภาวิศวกร พ.ศ.2543 ทุกประการ เป็นผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรม ในสาขาวิศวกรรม O โยธา O เครื่องกล O ไฟฟูาแขนงไฟฟูากาลัง O ไฟฟูาแขนงไฟฟูาสื่อสาร OอุตสาหการO เหมืองแร่ O เคมี O สิ่งแวดล้อม Oอื่นๆ(ระบุ)........................... (ลายมือชื่อ ) …………………………….………ผู้รับรอง (……………………………….…….….) สาหรับเจ้าหน้าที่ ตรวจสอบหลักฐาน O ครบ O ไม่ครบ คือ ……………………………………...………..……..……..… ……………………………………………………………………………………………………….….…………………………. (ลงชื่อ)……………………………........……….เจ้าหน้าที่รับ/ตรวจสอบเอกสาร (……………...………………….…….….) คาสั่ง อนุมัติรับเป็นสมาชิกประเภท สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ ไม่อนุมัติ เพราะ …………………………….…………………………..…….......……………..……………. (ลงชื่อ)…………………….….…………………….หัวหน้าสานักงาน (………………………......……….…….….)

77


ตัวอย่างแบบฟอร์มคาขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคี เลขที่ .................................. คาขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกร 1. ชื่อ...............................................ชื่อสกุล....................................................สัญชาติ......................................... 2. เกิดวันที่....................เดือน.............................................พ.ศ. ..................................อายุ..............................ปี 3. ชื่อบิดา.......................................................................ชื่อมารดา...................................................................... 4. ที่อยู่ปัจจุบันเลขที่...............ตรอก/ซอย...................................ถนน....................................หมู่ที่..................... แขวง/ตาบล.........................เขต/อาเภอ.........................จังหวัด....................... .......รหัสไปรษณีย์................ โทรศัพท์มอื ถือ.................................โทรศัพท์/โทรสาร...................................... E-Mall…………………………….. 5. ที่ทางานปัจจุบัน.....................................เลขที่.................ตรอก/ซอย................................ถนน...................... หมู่ท่ี...............แขวง/ตาบล..............................เขต/อาเภอ..............................จังหวัด.................................... รหัสไปรษณีย์.............................โทรศัพท์/โทรสาร........................................... E-Mall…………………………….. 6. คุณวุฒิการศึกษา 6.1 ได้รับปริญญา.............................................................สาขา........................................................................ จาก............................................................................เมื่อ.......................................................................... 6.2 อื่นๆ (ระบุ)................................................................สาขา........................................................................ จาก.............................................................................เมื่อ.......................................................................... 7. เคยได้รับใบอนุญาตจาก...................................................สาขาวิศวกรรม.......................................................... แขนง...................................................เลขทะเบียน....................................ตั้งแต่วันที่ ...................................... 8. เป็นสมาชิกสภาวิศวกรประเภท..................................................ตั้งแต่วันที่........................................................ หมายเลขสมาชิก............................................................................... 9. เป็นสมาชิกประเภท............................ของสมาคมวิชาชีพวิศวกรรม.......................ตั้งแต่วันที่......................... ขอยื่นคาขอต่อสภาวิศวกร พร้อมด้วยเอกสารหลักฐานประกอบคาขอโดยครบถ้วน เพื่อขอรับใบอนุญาตเป็น ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม............................แขนง............................ ... ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อความในคาขอนี้เป็นความจริงทุกประการ

รหัสบุคคล……………………

ยื่น ณ วันที่ ........................................ (ลายมือชื่อ)..................................................ผู้ยื่นคาขอ

78


ตัวอย่างแบบฟอร์มคาขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ (ต่อ) คารับรองคุณสมบัติ ข้าพเจ้า..............................................................ตาแหน่ง......................................................... เลขทะเบียนใบอนุญาต.............................................ขอรับรองว่า......................................................... เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามมาตรา 12 และมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 ทุก ประการ (ลายมือชื่อ)................................................................ผู้รับรอง (..................................................................) สาหรับเจ้าหน้าที่ ประกาศวันที่ ............................................................................................................................ เข้าประชุมวันที่......................................................................................................................... มติ............................................................................................................................................. ระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม O โยธา O เครื่องกล Oอุตสาหการ O ไฟฟูาแขนงไฟฟูากาลัง O ไฟฟูาแขนงไฟฟูาสื่อสาร O เหมืองแร่ O สิ่งแวดล้อม O เคมี ตั้งแต่วันที่ ..............................ถึงวันที่ ....................................... เลขทะเบียนใบอนุญาต................................................................. เลขที่บัตร..................................................................................... ได้รับเงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตแล้ว ตามใบเสร็จเล่มที่...........................เลขที่....................... ลงวันที่...................................จานวน.....................บาท ............................................................เจ้าหน้าที่รับเงิน

79

.................................... เลขาธิการสภาวิศวกร


คาปฏิญญาของวิศวกร ข้าฯคือวิศวกร ข้าฯ มีความภูมิใจอย่างยิ่งกับอาชีพของข้าฯ แต่ทั้งนี้ไม่ใช่เพราะความอหังการ ข้าฯ มีพันธกรณีที่จะต้อง ปฏิบัติตามโดยดุษฎี ซึ่งข้าฯ เองก็กระหายใคร่จะปฏิบัติอยู่แล้ว ในฐานะที่เป็นวิศวกร ข้าฯ จะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในงานที่สุจริตเท่านั้น ผู้ใดก็ตามที่มารับบริการ จากข้าฯ ไม่ว่าจะเป็นผู้จ้าง หรือลูกค้าของข้าฯ ก็ตาม เขาย่อมได้รับบริการที่ดีที่สุด ด้วยความซื่อตรงเที่ยง ธรรมอย่างที่สุด เมื่อถึงคราวที่จาเป็น ข้าฯ จะทุ่มเทความรู้และทักษะของข้าฯ ให้แก่กิจการที่เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ อย่างเต็มกาลัง เพราะใครคนใดมีความสามารถพิเศษด้านใดเขาคนนั้นย่อมมีพันธกรณีที่จะต้องใช้ ความสามารถด้านนั้นอย่างดีเพื่อประโยชน์แก่มวลมนุษย์ข้าฯขอรับความท้าทายตามนัยนี้ ด้วยความมุ่งมั่นที่จะธารงไว้ซึ่งเกียรติภูมิแห่งงานอาชีพของข้าฯ ข้าฯ จะพยายามปกปูองผลประโยชน์และ ชื่อเสียงของวิศวกรทุกคนที่ข้าฯรู้ดีว่าสมควรจะได้รับความปกปูองคุ้มครอง พร้อมกันนี้ข้าฯก็จะไม่หลบ เลี่ยงภาระหน้าที่ที่จะต้องเปิดเผยความจริงเกี่ยวกับบุคคลใดก็ตามที่ได้กระทาผิดทานองคลองธรรม ซึ่งก็ เป็นการแสดงให้เห็นว่าเขาไม่มีศักดิ์ศรีพอที่จะอยู่ในวงอาชีพวิศวกรรมได้ ความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ ได้เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยดึกดาบรรพ์ก็เพราะอัจฉริยภาพของบรรพชน ในวงงานอาชีพของข้าฯท่านเหล่านั้นได้นาทรัพยากรวัสดุและพลังงานมากมายในธรรมชาติออกมาใช้ให้ เกิดประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์ด้วยกัน หลักการทางวิทยาศาสตร์และความรู้ทางเทคโนโลยีที่ได้มีการพัฒนา และนามาปฏิบัติตราบเท่าทุกวันนี้ก็ล้วนแต่เป็นผลงานของบรรพชนทั้งหลายเหล่านั้นถ้าปราศจากมรดก ตกทอดที่เป็นประสบการณ์สั่งสมเหล่านี้ผลงานจากความเพียรพยายามของข้าฯก็คงจะต่าต้อยด้อยคุณค่า ลงไปมากข้าฯจึงขออุทิศตนเพื่อการเผยแพร่ความรู้ทางวิศวกรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแนะนาสั่งสอน ให้สมาชิกรุ่นหลังๆในวงงานอาชีพของข้าฯได้เรียนรู้ถึงศิลปะและขนบธรรมเนียมประเพณีทุกอย่างในงาน อาชีพนี้ ข้าฯขอให้คามั่นสัญญาต่อเพื่อนร่วมงานอาชีพของข้าฯอย่างแข็งขันเช่นเดียวกับที่ข้าฯเรียกร้องจาก พวกเขาว่าข้าฯจะดารงไว้ซึ่งความชื่อสัตย์สุจริตและยุติธรรมความอดทนและความเคารพต่อผู้อื่นอีกทั้ง การอุทิศตนเพื่อมาตรฐานและศักดิ์ศรีแห่งอาชีพวิศวกรรมของเรา ทั้งนี้ด้วยการระลึกอยู่เสมอว่าความ เชี่ยวชาญพิเศษของพวกเราที่เป็นวิศวกรนั้นมีมาพร้อมกับพันธกรณีที่จะต้องรับใช้มนุษยชาติด้วยความ จริงใจถึงที่สุด

80


รายชื่อคณะทางานคู่มือนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ 1. ผู้บริหารคณะฯ 2. อ.ธีรยุทธ์ จันทร์แจ่ม 3. ผศ.วิญญู แสวงสินกสิกิจ 4. ผศ.ชานนท์ มูลวรรณ 5. อ.ทรงพล รอดทอง 6. อ.ดร.ปริญญา บุญมาเลิศ 7. ผศ.ณธรรม เกิดสาอางค์ 8. อ.ดร.นวลทิพย์ เงาวิศิษฎ์กุล 9. อ.ดร.ประภาส ผ่องสนาม 10. อ.จีรวัฒน์ ปล้องใหม่ 11. อ.วรากร เกิดทรัพย์ 12. น.ส.ชุติญาชวลิตอุชุกร 13. นางรุ่งนภาพรภูธรธราช

ที่ปรึกษาคณะทางาน รองคณบดีฝุายกิจการนักศึกษา ประธานคณะทางาน รองคณบดีฝุายวิชาการ รองประธานคณะทางาน หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะทางาน หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กฯ คณะทางาน หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะทางาน หัวหน้าสาขาวิขาวิศวกรรมไฟฟูา คณะทางาน หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะทางาน หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะทางาน หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ คณะทางาน หัวหน้าหมวดวิชาคณิตศาสตร์และวิทย์ฯ คณะทางาน เลขานุการคณะวิศวกรรมศาสตร์ เลขานุการคณะทางาน เจ้าหน้าที่ประจาสานักคณบดี ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางาน

81


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.