TYPE & LETER

Page 11

ช่วงปี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2539 ราชบัณฑิตยสถานมอบหมายให้คณะกรรมการชุด หนึ่ง กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย พิจารณาร่างหลักเกณฑ์โครงสร้างของตัวอัก ษรไทยจนสำเร็จสมบูรณ์ สามารถจัดทำเป็นมาตรฐานโครงสร้างตัวอักษรไทยและจัดพิมพ์ออก เป็นหนังสือเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน เมื่อปี พ.ศ. 2540 ชื่อว่า “มาตรฐานโครงสร้างตัวอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน” 1. แบบตัวพิมพ์ไทย ราชบัณฑิตยสถาน แบ่งรูปแบบแบ่งตัวพิมพ์ เป็น 3 แบบ คือตัวแบบหลัก ตัวแบบเลือก และตัวแบบแปร ( มาตรฐานโครงสร้างตัวอักษรไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. 2540: 1-3) ภาพที่ 4.11 ตัวพิมพ์แบบ เจเอสประสพลาภ (JS Prasoplarpas) 1.1ตัวแบบหลัก เป็นตัว มีลักษณะใกล้เคียงกับตัวแบบหลักมากที่สุด พิมพ์ที่มีหัวกลม ความหนักเบา ของเส้นเสมอกันหมด นอก จากส่วนที่เป็นเส้นโค้ง เส้นหัก รวมทั้งส่วนต้นหรือปลาย ของตัว อักษรและเครื่องหมาย ต่าง ๆ บางตัว ขนาดของเส้นอาจหนา หรือบางกว่าได้บ้างซึ่งถือว่าเป็น ภาพที่ 4.12 สิ่งพิมพ์เป็นเอกสารและตำรา ส่วนมากนิยมใช้ตัวแบบเลือก รูป แบบที่ถูกต้องสมบูรณ์ตาม เพราะอ่านได้ลื่นไหลดี หลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้

1.2 ตัวแบบเลือก เป็นรูปแบบที่ต่างจากตัวแบบหลักเล็กน้อย เช่นมีเส้นกิ่ง เส้นลำตัวอาจมีหนักเบาแตกต่างกัน เป็นแบบที่ใช้กันทั่วไปและถือว่าเป็นแบบที่ถูกต้อง เช่นเดียวกัน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.