เอกสารหลัก - รางวัลชนะเลิศการประกวดโครงการประกวดการจัดระบบอีเลิร์นนิง

Page 1

รางวัลชนะเลิศ การจัดการระบบ e-Learning ในระดับอุดมศึกษา ประจาปี 2554 ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

จัดทำโดย สำนักกำรจัดกำรศึกษำออนไลน์ Office of Online Education (OOE)

กันยำยน 2554


เอกสารเชิญชวนเขารวมโครงการ ประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.







โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

คํานํา มหาวิทยาลัยศรีปทุมตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาการศึกษา มุงที่จะสรางผูมีความรู เพื่อ สร า งศั ก ยภาพทางด า นความรู ใ ห กั บ นั ก ศึ ก ษา เพื่ อ นํ า ไปสู ห นทางแห ง ความก า วหน า ในอนาคต ทางมหาวิทยาลัยศรีปทุมมีนโยบายสนับสนุนการศึกษาของนักศึกษาในสถาบัน ใหสามารถเรียนรูไดโดยไร ขีดจํากัด ในดานตางๆ ทั้งการพัฒนาดานวิชาการ ดานเทคโนโลยนีสารสนเทศ ดานกายภาพและสิ่งแวดลอม ดานกิจการนักศึกษา ดานการกีฬา รวมถึงศักยภาพในการแสดงออกในความรู ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ของคณาจารย ตลอดจนบุคลากรของสถาบันแหงนี้ใหมีพรอม ทุกขณะในการเปนแหลงถายทอดความรู จากนโยบายและวิสัยทัศนที่มุงมั่นเปนมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนํา แหลงสรางมืออาชีพ มีความโดดเดน ดานวิชาการ เทคโนโลยี และความรับผิดชอบตอสังคม จึงมีการกําหนดยุทธศาสตรขอหนึ่งของมหาวิทยาลัย ใน การเปน e-University ชั้นนําของประเทศ จึงไดดําเนินการงานตามยุทธศาสตรดังกลาว โดยมีพัฒนาระบบ โครงสรางพื้นฐาน ที่ทันสมัย เพื่อรองรับการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง พัฒนาทักษะของนักศึกษา อาจารย และบุคลากร ใหมีความรูดาน ICT อยางทั่วถึง และมีการใชเทคโนโลยี ICT เพื่อบริการการเรียนรูตลอดชีวิตดัง จะเห็นไดจากรายละเอียดในรูปเลมตอไป จัดทําโดย สํานักการจัดการศึกษาออนไลน Office of Online Education (OOE) กันยายน 2554

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

คํานํา


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

สารบัญ รายการ 1.ดานนโยบายอีเลิรน นิงของสถาบันการศึกษา 1.1 การวางยุทธศาสตรและนโยบายการจัดโครงการอีเลิรนนิงที่ชัดเจน ดานวิสยั ทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ 1.2 การดําเนินโครงการการจัดการศึกษาแบบอีเลิรนนิง - การดําเนินงาน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2543) - การดําเนินงานระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544 – พ.ศ.2547)

หนา 1 1 3 3 4

- การดําเนินงานระยะที่ 3 (มกราคม 2548 – 2549)

13

- การดําเนินงานระยะที่ 4 (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2552)

15

- การดําเนินงานระยะที่ 5 (พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน)

16

2.ดานโครงสรางทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.1 ระบบโครงสรางพื้นฐาน จํานวนอุปกรณ เครือขายสื่อสารภายใน ภายนอกพรอม ใหบริการแกนักศึกษาอยางเพียงพอ 2.2 ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน LMS 2.3 ระบบการติดตอสื่อสาร

18 18 30 44

3.ดานทรัพยากรสนับสนุน 3.1 จํานวนสื่อดิจิตอลทีผ่ ลิต/บริการ 3.2 จํานวนฐานขอมูล เอกสาร ตํารา และวารสารอิเล็กทรอนิกส 3.3 ระบบการแนะนําวิธกี ารเรียน การสื่อสาร การใชเครื่องมือสื่อสาร 3.4 บุคลากรสนับสนุนการผลิตสื่อดิจิตอล

47 47 49 57 67

4.ดานหลักสูตรการสอน 4.1 วิธีการจัดทําและจัดหาหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง 4.2 การดูแลดานคุณภาพ มาตราฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง 4.3 การออกแบบการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิง

72 72 72 75

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

สารบัญ I


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

รายการ 4.4 การจัดการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิง 4.5 การประเมินการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง

หนา 92 98

5. การสนับสนุนอาจารย 5.1 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการผลิตสื่อดิจิตอล 5.2 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการออกแบบการสอนอีเลิรนนิง 5.3 การพัฒนาอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิง

101 101 102 103

6. การสนับสนุนนักศึกษา 6.1 ระบบแนะนําวิธีการเรียน การสือ่ สาร การใชเครื่องมือสื่อสาร 6.2 ระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบประสานเวลา (Synchronous/Real-Time) 6.3 ระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบไมประสานเวลา (Asynchronous)

106 106 109 110

ภาคผนวก

. E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

สารบัญ II


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

สารบัญรูปภาพ ภาพที่ 1.

หนา เครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยศรีปทุม

25

2. การเชื่อมตอของระบบเครือขาย

26

3. แสดงจํานวนจุดใหบริการ Wireless LAN มหาวิทยาลัยศรีปทุม

27

4. ขั้นตอนการทํางานของโปรแกรม Camtasia Relay

28

5. หนาเว็บไซตอีเลิรนนิงเดิมของมหาวิทยาลัยที่ใชระบบการจัดการเรียน การสอน Edugether

32

6. หนาเว็บไซตอีเลิรนนิงปจจุบันของมหาวิทยาลัยที่ใชระบบการจัดการเรียน การสอน Moodle

34

7. หนาเพจ Login เขาสูระบบ

35

8. ตรวจสอบการเขาหองเรียนในระบบ Moodle

37

9. ตัวอยาง Certificate ในระบบ Moodle

38

10. รูปแบบชนิดของขอสอบในระบบคลังขอสอบที่หลากหลาย

40

11. ตัวอยางการรายงานผล โดยใช Google Analytics

40

12. Log file การใชงานของผูเรียนที่เขาเรียนในรายวิชาบนเว็บไซตอีเลิรนนิง

41

13. สถิติการเขาใชงานภายในบทเรียนของผูเรียน

41

14. การกําหนดสิทธิการเขาใชงาน

42

15.

42

รายงานแสดงการใชเนื้อที่ในแตละรายวิชา

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

สารบัญ III


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่

หนา

16.

ตัวอยางหนาจอการใชงาน Moodle บน Mobile Devices

43

17.

หนาเว็บไซตระบบ SCMS

44

18.

ตัวอยางของสื่อสมบูรณ

47

19.

ตัวอยางของสื่อเสริม

48

20.

ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Moodle สําหรับอาจารย

57

21.

ตัวอยางคูมือการบันทึกการสอนดวยโปรแกรม Camtasia Relay

58

22.

ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Camtasia Studio

59

23.

ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Camtasia Studio

60

24.

ตัวอยาง e-Book คูมือการใชงาน Moodle สําหรับนักศึกษา

61

25.

ระบบหองสมุดอัตโนมัติ Program Horizon

62

26.

หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรที่ใหบริการแกนักศึกษา

64

27.

การติดตอสื่อสารผาน Web-board

68

28.

ตัวอยางการออกแบบโครงสรางและลักษณะของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส

77

29.

ตัวอยางการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส

18

30.

ตัวอยางการทํางานของโปรแกรม Camtasia Relay

87

31.

System Architecture ของระบบ

87

32.

บทเรียนที่บันทึกดวยโปรแกรม Camtasia Relay

89

33.

ตัวอยาง สื่อ Project-Based Learning

91

34.

ตัวอยางบทเรียนที่ใชเปนสื่อเสริม ในระบบ LMS Moodle

93

35.

ตัวอยางบทเรียนสื่อเติมเต็มการเรียน ในระบบ LMS Moodle

95

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

สารบัญ IV


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่

หนา

36.

การเรียนแบบผสมผสานในหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตแบบอีเลิรนนิง

96

37.

แบบทดสอบกอนเรียนในระบบบริหารจัดการเรียนการสอน

99

38.

หนาเพจของผลคะแนนการทําแบบทดสอบกอนเรียนของผูเรียน

100

39.

บรรยากาศการฝกอบรม

104

40.

หนาเว็บไซตโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย (TCU) การเขารายวิชา เรียนตามอัธยาศัย

105

41.

หนาเพจคูมือแนะนําการใชงานเครื่องมือ และวิธีการเรียนแบบอีเลิรนนิง

107

42.

การประชาสัมพันธการเขาใชงานระบบอีเลิรนนิงบนสื่อ Digital Signage

108

43.

ตัวอยางการสนทนาออนไลนบน My Messenger ของระบบ LMS Moodle

109

44.

Webboard ในรายวิชา สําหรับผูเรียนพูดคุย ซักถาม อาจารยผูสอน

110

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

สารบัญ V


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

1. ดานนโยบายอีเลิรนนิงของสถาบันการศึกษา 1.1 การวางยุทธศาสตรและนโยบายการจัดโครงการอีเลิรนนิงที่ชัดเจน ดานวิสยั ทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดเห็นความสําคัญของการศึกษา มุงที่จะสรางผูมีความรู เพื่อสรางศักยภาพ ทางดานความรูใหกับนักศึกษา เพื่อนําไปสูหนทางแหงความกาวหนาในอนาคต ทางมหาวิทยาลัยศรีปทุมมี นโยบายสนับสนุนการศึกษาของนักศึกษาในสถาบัน ใหสามารถเรียนรูไดโดยไรขีดจํากัด จึงไดริเริ่มโครงการ ผลิตสื่อการเรียนการสอน เพื่อใหนักศึกษานําไปศึกษาดวยตัวเอง โดยมีทานรองอธิการบดีอาวุโส รศ.ดร.อุทัย ภิรมยรื่น เปนผูดูแล และไดมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง ในป 2548 มหาลัยศรีปทุมไดมีคําสั่ง ใหโอนงานและบุคลากรงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไปสังกัด ศูนยมีเดีย แตงตั้งวันที่ 1 กุมภาพันธ 2548 (อางอิง คําสั่งมหาวิทยาลัยศรีปทุมที่ 133/2548) แตก็ยังดําเนินการ เกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอนเหมือนเดิม และในป 2550 มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีคําสั่ง ใหโอนงานและบุคลากรงานพัฒนาสื่อการเรียนการ สอนไปสังกัดศูนย ICT และอยูในความดูแลของบริษัท เอสพีที เวนเจอร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2550 จนกระทั่ง ในปจจุบัน เพื่อความเหมาะสมในการบริหาร และกํากับดูแลการบริหารงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ใหมี เอกภาพและประสิทธิภาพงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน มีการเปลี่ยนหนวยงานที่สังกัด โดยจัดตั้งสํานักการ จัดการศึกษาออนไลน ขึ้นมาเพื่อรองรับและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนออนไลน และโอนยายบุคลากร เดิมที่ทํางานดาน e-Learning ที่สังกัดบริษัท เอสพีที เวนเจอร ยายกลับเขามาสังกัดมหาวิทยาลัยศรีปทุม เพื่อใหการดําเนินการเกี่ยวกับ การผลิตสื่อการเรียนการสอนและการประสานงานใหเปนไปตามกระบวนการ มากยิ่งขึ้น จะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยศรีปทุมมีเสนทางพัฒนาการดําเนินการเกี่ยวกับการจัดโครงการการเรียน การสอนแบบอีเลิรนนิงมาอยางตอเนื่องยาวนาน โดยมีนโยบายและการวางแผนยุทธศาสตรการจัดโครงการอี เลิรนนิงเปนที่เดนชัด ดังจะเห็นไดจากแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะ 5 ป (ปการศึกษา 2553-2557) ซึ่งมี วิสัยทัศน พันธกิจ แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติการ ดังนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 1


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

วิสัยทัศน (Vision) เปนมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนํา แหลงสรางมืออาชีพ มีความโดดเดนดานวิชาการ เทคโนโลยี และความ รับผิดชอบตอสังคม อัตลักษณมหาวิทยาลัยศรีปทุม (Identity) “โดดเดนดาน ICT” (Outstanding in ICT) บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีปทุมตองเปนผูมีความรูและทักษะโดดเดนในดานไอซีที มีความชํานาญใน การใชไอซีทีประกอบวิชาชีพจนเปนทีย่ อมรับของบุคคลทั่วไป ยุทธศาสตร (Strategy) เพื่อกําหนดจุดเนนในการพัฒนามหาวิทยาลัยใหมีความชัดเจน สอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ และ สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มหาวิทยาลัยจึงไดกําหนดยุทธศาสตรมุงเนนการเปน e-University ชั้นนําของประเทศ ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 2 การเปน e-University ชั้นนําของประเทศ มีเปาหมายของยุทธศาสตร คือ 2.1 e-University รองรับการเรียนการสอน 2.2 e-University รองรับการบริการ 2.3 e-University รองรับการบริหารการจัดการ

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 2


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

1.2 การดําเนินโครงการการจัดการศึกษาแบบอีเลิรนนิง การดําเนินงานโครงการดานการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง ตั้งแตกอตั้งโครงการจนถึงปจจุบันนั้น ได ดําเนินการสนองตอนโยบาย ยุทธศาสตร ของมหาวิทยาลัยตลอดมา โดยมีการจัดตั้งหนวยงานตางๆ จัดสรร บุคคลากร และคัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับมหาวิทยาลัยในแตละชวงเวลานั้น มีการปรับโครงสราง การดําเนินงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาแบบอีเลิรนนิงและกาวเขาสูการดําเนินการแบบ e-University โดยมีรายละเอียดการดําเนินการ พอสรุปไดดังนี้ การดําเนินงาน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2543) ในระยะที่ 1พ.ศ. 2543 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดเล็งเห็นความสําคัญในการใชเทคโนโลยีเขามามีสวน ชวยในการจัดการเรียนการสอน เริ่มตนตั้งแตการใชคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือในการเรียนการสอน โดยมีการ สรางสื่อการเรียนการสอนรูปแบบใหม แทนที่เอกสารหนังสือที่เรียกวา สื่อคอมพิวเตอรชวยสอน หรือ CAI นําเสนอในรูปแบบ CD-ROM ในลักษณะออฟไลน ดังโครงการตอไปนี้ ชื่อโครงการ CAI (คอมพิวเตอรชวยสอน) ผลิต Content รูปแบบคอมพิวเตอรชวยสอน CAI (Computer assisted Instruction) โดยใชโปรแกรม Adobe Authorware จํานวน 6 วิชา เพื่อผลิตเปน CD แจกใหกับ นักศึกษาที่เรียนในวิชานั้นๆ โดยใช งบประมาณเกี่ยวกับ Hardware และ Software ที่จําเปนในการผลิต 240,420 บาท ซึ่งไดแก Computer จํานวน 2 เครื่อง และ Software License ของ Adobe Authorware สรุปผลการดําเนินงานระยะที่ 1 การผลิต Content ในระยะนี้มีปญหามากเนื่องจากตองใชเวลานานในการผลิตในแตละวิชา รวมทั้ง การแกไขทําไดยาก หากผูที่แกไข ไมมีความสามารถในการใชโปรแกรม ก็จะทําไดยาก

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 3


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

การดําเนินงานระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544 – พ.ศ.2547) ตอมาในป พ.ศ. 2544 เนื่องจากเทคโนโลยีมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ดังนัน้ ทางผูชว ยอธิการบดีอาวุโส รศ.ดร.อุทัย ภิรมยรื่น เห็นสมควรวาควรจะผลิตสื่อที่มีความรวดเร็ว และงายตอการแกไข เพื่อใหมเี นื้อหาที่ ทันสมัยจึงไดจัดตั้งโครงการดังตอไปนี้ โครงการ Digital Content รวมกับ บริษทั ออลเนท จํากัด (สิงหาคม พ.ศ.2544 – กันยายน พ.ศ. 2545) ทางมหาวิทยาลัยศรีปทุมไดทําสัญญาวาจางจัดทํา Digital Content กับบริษัท ออลเนท จํากัด จํานวน 4 รายวิชา คือ 1. วิชา ENG122 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 2. วิชา ECN205 เศรษฐศาสตรมหภาค 3. วิชา ACC204 หลักการบัญชีเบื้องตน 4. วิชา MAT101 สถิติเบื้องตน โดยในระยะนี้รูปแบบการเรียนการสอนผาน Web หรือที่เรียกวา WBI (Web Base Instruction) เปน เทคโนโลยีที่ไดรับความสนใจและมีประสิทธิภาพในการใชเปนสื่อการสอนไดอยางดี แตก็ยังมีขอจํากัดในเรื่อง ศักยภาพของผูสอนที่ตองเรียนรูเรื่องเทคโนโลยีและคอมพิวเตอรมากขึ้น เพราะวาแนวทางการดําเนินงานคือ ตอ งการให อาจารย ผูสอนผลิตเองไม มี ทีม งานผลิต ให แตการดํา เนิน งานจริ ง ๆตอ งชว ยเหลื อในการผลิ ต อยางมาก โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย เนื่องจากปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการประยุกตใชใน งานตางๆ มากมาย ทั้งในภาครัฐและเอกชน ในดานธุรกิจมีการประยุกตใชระบบสารสนเทศตาง ๆ เพื่อใชใน การดําเนินการและแขงขันทางดานธุรกิจเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดสถาบันการศึกษาในและตางประเทศ ตาง ใหความสนใจและเห็นถึงความสําคัญที่จะตองทําการปรับปรุงโครงสรางและกลยุทธในการจัดการศึกษา เพื่อ รองรับการแขงขันที่สูงขึ้นและสนับสนุนการเรียนการสอนที่เปลี่ยนแปลงไป E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 4


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

การจัดการศึกษาในรูปแบบของ e-Learning เปนการจัดการเรียนการสอนทางไกลที่ใชสื่อ อิเลคทรอนิกส ผานทางเครือขายอินเทอรเนต หรือที่นิยมเรียกวา Online – Teaching and Learning ซึ่งเปน การเรียนการสอนที่ดําเนินการบนเครือขายอินเทอรเนตมีความสะดวกและคลองตัวสูง ผูเรียนสามารถเรียนที่ ไหน (Anywhere) และเวลาใดก็ได (Anytime) ไมมีขอจํากัด ผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงขอมูลที่มีอยูทั่วโลก อย า งไร ข อบเขต สามารถทํ า กิ จ กรรมหรื อ แบบฝ ก ปฏิ บั ติ ต า งๆ ใช บ ริ ก ารบนเครื อ ข า ย ในหลายรู ป แบบ เนื่องจาก มีการพัฒนาองคความรูบนเครือขายอินเทอรเนต เพื่อเผยแพรและแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการทุก แขนงวิ ช าและพร อ มที่ จ ะให ผู เ รี ย นและผู ส อนใช เ ป น ช อ งทางในการติ ด ต อ สื่ อ สารระหว า งกั น ซึ่ ง การจั ด การศึกษาในรูปแบบนี้ ดําเนินตามนโยบายของ การปฎิรูปการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 เปนอยางดี กลาวคือ เปนการขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา (Outreach Education) อยาง มีคุณภาพ ตอบสนองการเรียนรูของผูเรียน อันกอใหเกิดการเรียนรูตลอดชีวิต (Lifelong Learning) เปนการ เรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student centered) ผูสอนเปนผูจัดการ(Facilitator) ใหเกิดการเรียนรู นอกจากนี้แลวการเรียนการสอนผานระบบเครือขายอาจจะนํามาใชในการฝกอบรมบุคลากรโดยผานเครือขาย ที่เรียกวา Web–Based Training ซึ่งชวยลดขอจํากัด ของการขาดแคลนทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน อันไดแก อาจารยผูสอน หองเรียน และตารางเวลาที่กําหนดใหมีการเรียนการสอนเกิดขึ้น ดังนั้นจึงจัดใหมี โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขายขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและการ พัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับการปฎิรูปการศึกษาและพัฒนาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสูสังคมอยางมี คุณภาพ สมดังปณิธานที่วา “ปญญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คุณธรรม” โครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย ไดแบงการดําเนินการออกเปน 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 (ตุลาคม 2544 - กรกฎาคม 2545) การดําเนินโครงการในระยะที่ 1 เริ่มจากเดือนตุลาคม 2544 ถึงเดือนกรกฎาคม 2545 มหาวิทยาลัย ไดอนุมัติงบประมาณเพื่อดําเนินการโครงการ โดยเปน - คาใชจายในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณและการฝกอบรม - คาพัฒนาเว็บรายวิชา

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 5


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ซึ่งผลสรุปของการดําเนินโครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย ในระยะที่ 1 คือ มหาวิทยาลัยสนับสนุนงบประมาณใหกับอาจารยผูที่สนใจผลิตสื่อการเรียนการสอน Online จํานวน 20 รายวิชา รายวิชาที่ไดรับทุนสนับสนุนในการผลิตมีดังนี้ คณะ ศูนยวิชาการศึกษาทั่วไป

รายชื่อวิชา

รายชื่อวิชา

MAT 101

คณิตศาสตรทั่วไป

THI 113

การใชภาษาไทย

THI 114

ทักษะการใชภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ENG 121

ภาษาอังกฤษ 1

ENG 122

ภาษาอังกฤษ 2

CMM 131

ทฤษฎีสื่อสารมวลชน

ADS 210

หลักการโฆษณา

คณะศิลปศาสตร

ENG 204

การเขียนภาษาอังกฤษเบื้องตน

คณะบริหารธุรกิจ

MGT 207

องคการและการจัดการ

คณะสารสนเทศศาสตร

BCS110

คอมพิวเตอรและวิทยาการสารสนเทศเบื้องตน

CSE 101

การแกปญหาชุดคําสั่งและคอมพิวเตอร

คณะนิเทศศาสตร

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 6


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

คณะ คณะสถาปตยกรรมศาสตร

รายชื่อวิชา

รายชื่อวิชา

ARC 102

การออกแบบเบื้องตน 2

ARC 112

กราฟกสื่อสาร

คณะนิติศาสตร

LAW 206

กฎหมายแพงและพาณิชย วาดวยยืม ฝากทรัพย ฯลฯ

คณะเศรษฐศาสตร

ECN 101

หลักเศรษฐศาสตร

ECN 204

เศรษฐศาสตรจุลภาค 1

CEN 322

การวิเคราะหโครงสราง 2

CEN371

กลศาสตรของไหล

ACC 210

การบัญชีการเงิน

ACC 211

การบัญชีจัดการ

คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะบัญชี

เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับอาจารยผูผลิตสื่อ ทางทีมงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไดมีการจัด อบรมการสราง Homepage รายวิชาและอบรมการใชงาน Software ที่จําเปนในการผลิต ไดแก โปรแกรม Macromedia Dreamwaver, โปรแกรมแตงภาพ, Upload ไฟลขอมูลขึ้นสูระบบ โดยโปรแกรม CuteFTP 4.0

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 7


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ตัวอยางผผลงาน

THI 1133 วิชาการใชภาษาไทย. ภ

GSCC 141 วิชามนุษยกับ สิ่งแวดลอม

THI 114 วิชาทักษะการใชภาษาไทยเพื ภ ่อ IMG 4699 วิชา การจัดการ การสื่อสาร สิ่งแวดลอมทางอุ ม ตสาหกกรรม

MGTT 207 วิชาองคการ แ และการจั ดการ

BCS110 วิชาคอมพิ ช วเตออรและ วิทยาการสสารสนเทศเบืองต อ้ น

จากการดําเนินงานที น ่ผานมา มหาวิทยาลัยได ไ ปรับสถานะโโครงการพัฒนาการเรียนการสสอนผานระบบบ ไ มีการจัดทํา เครือขาย เปนงานพัฒนาาสื่อการเรียนการสอน สังกัดศูนยเทคโนโลยียีทางการศึกษาา ซึ่งในระยะนี้ได ช โดยตองมีการทําวิจัยควบคูไปดวยพรมอกั อ บ โครงการวิจัจยการเรียนการรสอนผานระบบบเครือขาย จํานวน 50 รายวิชา การปรับสถานะโครงการ มีรายละเอียดดั ย งนี้ โครงการพ พัฒนาการเรีรียนการสอนผานระบบเคครือขาย ระยะที่ 2 (มกราคม 25546 - ธันวาคมม 2546) จากการดําเนินการผลิ น ตสื่อการเรี ก ยนการสอน Online ในนระยะที่ 1 สื่อเหล อ านี้ไดผลิตเสร็จสิ้นประะมาณ เดือน กรกกฎาคม 2545 ตอมาไดเริ่มดําเนินโครงการรนี้อีกครั้ง ในเดือนมกราคม 2546 โดยมหหาวิทยาลัยไดมีมปรับ สถานะโครงการพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย เปปนงานพัฒนาาสื่อการเรียนกการสอน สังกัดศู ด นย เทคโนโลยียีทางการศึกษา ษ พรอมกับการจั ก ดทําโครงงการวิจัยการเรียนการสอนนผานระบบเคครือขาย จํานววน 50 รายวิชา โดยใหทุนอาจาารยผูสอนในกการจัดทําวิจัยควบคู ย การผลิตสื่อการสอนน งานวิจัยที่จัดทํ ด าขึ้น มีสํานักวิจัย E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 8


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

เป น เจ า ของเรื่ อ ง และงานพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอนเป น ผู ส นั บ สนุ น โดยมหาวิ ท ยาลั ย อนุ มั ติ ว งเงิ น งบประมาณเพื่อดําเนินการดังนี้ - งบดําเนินการของสวนกลาง - งบพัฒนาเว็บรายวิชาโดยตั้งเปนงบการวิจัยในระดับคณะจํานวน 50 โครงการๆ ซึ่งผลสรุปจากการดําเนินงานตามโครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนผานระบบเครือขาย ใน ระยะที่ 2 มีดังนี้ 1. ไดจัดซื้อ Server สําหรับจัดเก็บขอมูล 1 เครื่อง 2. คณะตางๆ ไดสงโครงการวิจัยการพัฒนาบทเรียนเพื่อใชสอนผานเครือขาย (e-Learning) ให คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัยพิจารณา โดยมีผูสนใจสงเสนอมาจํานวน 40 โครงการ และ คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยไดพิจารณาอนุมัติแลวจํานวน 23 โครงการ และยังเหลืออีกจํานวน 17 โครงการ ซึ่งทางคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยพิจารณาแลวและใหนํากลับไปแกไขในสวนที่ไมถูกตองกอนแลวสงนําสง ให ค ณะกรรมการฯพิ จ ารณาอี ก ครั้ ง ภายในวั น ที่ 30 พฤศจิ ก ายน 2546 ซึ่ ง โครงการที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ จ าก มหาวิทยาลัยจะสิ้นสุดลงในเดือนธันวาคม 2546 จึงเห็นสมควรขยายเวลาดําเนินการออกไปอีกจนถึงสิ้นป การศึกษา แตเนื่องจากมีเทคโนโลยีเกี่ยวกับ e-Learning ใหมๆ เกิดขึ้น และมีบริษัทเอกชนหลายรายที่ใหบริการ และเสนอ Solution ตางๆมาใหมหาวิทยาลัยพิจารณา จึงทําใหโครงการนี้ไดระงับการดําเนินการไป แตไดมีนโยบาย สนับสนุนใหอาจารยจัดทํา Homepage รายวิชาเอง โดยมีการจัดฝกอบรมโครงการอบรมการสราง Homepage รายวิชาขึ้น เพื่อเปนสื่อเสริม โดยงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และจากจัดฝกอบรมการสราง Homepage ทํา ใหมีโฮมเพจรายวิชา จํานวน 94 รายวิชา นอกจากนีย้ ังไดพยายามพัฒนาซอฟทแวรจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต (LMS) มาระยะเวลา หนึง่ โดย อ.ธนิต สงวนเนตร หลังจากทําการปรับปรุงครั้งลาสุด ไดนาํ มาติดตั้งทีว่ ิทยาเขตบางเขน เมื่อปลาย เดือนพฤศจิกายน 2546 ตอมาในป 2547 งานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนไดรวมกับศูนยคอมพิวเตอรและศูนยสารสนเทศเพื่อ การจัดการ ไดปรับการตั้งคาซอฟทแวรดดังกลาว (Re-configuration) ใหสามารถเชื่อมตอกับระบบฐานขอมูล นักศึกษา อาจารย และฐานขอมูลรายวิชาของมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน โดยงานพัฒนาสื่อ การเรียนการสอนไดดําเนินการทดสอบ (Test) โปรแกรม และทดลองใชงาน (Trial Run) ในระหวาง ภาคการศึกษาที่ 2/2546

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 9


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

อีกทั้ง มหาวิทยาลัยศรีปทุม ยังมีนโยบายผลิต Digital Content ในรายวิชาวิชาตางๆ แตยังขาด เครื่องมือผลิตเนื้อหาแบบดิจิตอล (Authoring Tools) ที่สามารถชวยผูสอนผลิตเนื้อหาดังกลาวอยางรวดเร็ว ผอ.ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษาไดไปรวมรับการอบรมวิธีการใช Authoring Tools ของบริษัท AcuLearn สิงคโปร และดูงานการผลิตเนื้อหาแบบดิจิตัลโดยใชเครื่องมือของบริษัทดังกลาวที่ Nanyang Technology University เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2546 และไดเสนอรองอธิการบดีฝายเทคโนโลยีใหเรงดําเนินการจัดซื้อ ซอฟทแวรดังกลาว พรอมจัดตั้งสตูดิโอสําหรับผลิต digital content ขณะนั้น การดําเนินงานโดยงานพัฒนาสือ่ การเรียนการสอน ศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา มี ผูปฏิบัติงานเต็มเวลา 3 คน เปนนักเทคโนโลยีการศึกษา 2 คน และวิศวกรซอฟทแวร 1 คน โครงการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS อ.ธนิต) จากการพัฒนาซอฟทแวรจัดการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต (LMS) ของ อ.ธนิต สงวนเนตร มหาวิทยาลัยจึงจัดการอบรมการใชงานระบบ SPU-LMS ที่ทางบุคลากรมหาวิทยาลัยเปนผูพัฒนาขึ้นเอง เพื่อใหอาจารยผูสอนสามารถจัดการรายวิชาที่รับผิดชอบสอน และเพิ่มชองทางการสื่อสารกับนักศึกษาใหมี มากขึ้นไดมีการจัดทําระบบ SPU-LMS เพื่อใชในการเรียนการสอนผานระบบเครือขายและมีผลงานตางๆ ดังนี้ 1. มีการพัฒนาตัวระบบ SPU-LMS เพื่อใชในการเรียนการสอนผานระบบเครือขายฯ โดยอาจารยธนิต และในขณะนี้เลิกใชงานไปแลว 2. เขียนคูมือการใชงานระบบ SPU-LMS สําหรับอาจารยผูสอน 1 เลม และเอกสารประกอบการใชงาน สําหรับนักศึกษา 1 ชุด 3. การพัฒนาและฝกอบรมคณาจารยใหมีความรูความสามารถและทักษะในการใชระบบ SPU-LMS เพื่อ เปนประโยชนตอการเรียนการสอนไดสูงสุด 4. บรรยายแนะนําการใชงานระบบ SPU-LMS และการสราง e-content อยางงายๆ ดวย Microsoft Producerใหกบั คณะบริหารธุรกิจ วันที่ 3 มิถุนายน 2547 จํานวน 30 คน 5. บรรยายและฝกปฏิบัติการใชงานระบบ SPU-LMS และการสราง e-content อยางงายๆดวย Microsoft Producerใหกับ คณะสารสนเทศศาสตร วันที่ 4 มิถนุ ายน 2547 จํานวน 15 คน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 10


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

6. การใหการสนับสนุนในการผลิตสื่อการสอนและคอยใหคําปรึกษาปญหาตางๆ ดังนี้ - ใหบริการแปลงเทปวีดิโอและสําเนาเปน VCD เพื่อใชในการสอน จํานวน 20 แผน - จัดทําระบบ Multimedia Synchronized แนะนํามหาวิทยาลัย 6 คณะสําหรับชวงการรับ สมัครนักศึกษาใหม - ปรับปรุงโฮมเพจของศูนยเทคโนโลยีทางการศึกษา - ถาย VDO การสอนเพื่อผลิตบทเรียนผานระบบเครือขายรายวิชา CHM 110 ปฏิบัติการเคมี ทั่วไป - ถาย VDO การสอนเพื่อผลิตบทเรียนผานระบบเครือขายรายวิชา ENG 331 โครงการ Digital Content รวมกับ บริษทั สามารถเทลคอมฯ และบริษัทโปรเกรส อินฟอรเมชั่น จํากัด นอกจาก มหาวิทยาลัยยังมีโครงการผลิตสื่อการสอนอีก โดยไดทดสอบการใชงานระบบ LMS และ Content วาจางบริษัทเอกชนในการผลิต Digital Content ไดแก บริษัท สามารถเทล คอมฯ จํานวน 2 รายวิชา และ บริษัทโปรเกรส อินฟอรเมชั่น จํากัด จํานวน 4 รายวิชา รวมทั้งหมดจํานวน 6 รายวิชา ดังนี้ สื่อที่ผลิตโดยบริษัท สามารถเทล คอมฯ จํานวน 2 รายวิชา ไดแก - THI102 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร - GSC141 มนุษกับสิ่งแวดลอม สื่อที่ผลิตโดยบริษัท โปรเกรสอินฟอรเมชัน่ จํากัด จํานวน 4 รายวิชา ไดแก - MAT121 สถิติทั่วไป - PHY111 ฟสิกส 1 - ENG121 ภาษาอังกฤษ 1 - ENG122 ภาษาอังกฤษ 2 อีกทั้งยังมีโคงการจัดทํา Content ในรูปแบบ VDO On-Demand ที่จดั ทํารวมกับศูนยมีเดีย จํานวน 7 รายวิชา ดวยกัน ไดแก 1. วิชา ACT201 2. วิชา CEN 262 3. วิชา EEG211

การบัญชีการเงิน การวิเคราะหโครงสราง วงจรไฟฟา

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 11


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

4. 5. 6. 7.

วิชา CEN371 วิชา EGR211 วิชา MAT213 วิชา MAT116

กลศาสตรของไหล วัสดุวิศวกรรม คณิตศาสตรวิศวกรรม แคลคูลัสสําหรับวิศวกร

ในระยะนี้ ถือวาเปนชวงที่มหาวิทยาลัยทดลองใชเทคโนโลยีระบบจัดการการเรียนการสอน (LMS) และสรรหาการผลิต Content รูปแบบตางๆ ที่นา สนใจ แตปญหาทีพ่ บ คือ ระบบไมสามารถบริหารจัดการ ตอบสนองตอรูปแบบการสอนที่มีผูสอนหลายคนในรายวิชาเดียวกันได สวน Content นั้น เปนรูปแบบ Flash Animation ทีม่ ีความนาสนใจ แตคาใชจายในการผลิตก็คอนขาง โครงการผลิต High Quality e-Content จากการดําเนินงานในโครงการตางๆ ที่ผานมาในการดําเนินงานระยะที่ 2 (พ.ศ. 2544 – พ.ศ.2547) แสดงใหเห็นวา มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดใหความสําคัญในดานวิชาการ และเทคโนโลยีอยางมาก ในการจัด การเรียนการสอนรูปแบบ e-Learning นั้น ก็ไดนําเอาเทคโนโลยีตางๆ มาสนับสนุนการเรียนการสอนดาน วิชาการอยางเต็มที่ โดยที่ผานมามหาวิทยาลัยไดดําเนินการใช e-Learning ใน รูปแบบเปนสื่อเสริมการเรียน ของนักศึกษา โดยใชสื่อประกอบการสอนตางๆที่อาจารยผูสอนจัดทําไวเพื่อการสอนในชั้นเรียน Upload เขาใน ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ใหนักศึกษาเขาไปศึกษาทบทวน เนื่องจากที่ผานมาไดมีการจัดจางผลิต e-Content โดยบริษัทเอกชนภายนอกหลายรายแตก็เกิดปญหา และอุปสรรคในการผลิตมากมาย ไมวาจะเปนเรื่องของรูปแบบ และคุณภาพงาน ระยะเวลา การดําเนินงาน และ ราคาคาจางที่คอนขางสูง ทั้งที่จริงตนทุนเรื่องอุปกรณการผลิตบางสวน ตลอดจนวัตถุดิบ (Content) ตางๆ มหาวิทยาลัยมีพรอมอยูแลว ขาดเพียงแคทีมงานผลิตงานในปริมาณมากๆ ขณะนี้ไดมีหลายรายวิชานําสื่อ ประกอบการสอน Upload ขึ้นในระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) อยางครบถวน จึงเห็นวาโครงการผลิต High Quality e-Content นี้จะเปนประโยชนอยางมากในการนําเอาสื่อประกอบการสอนเหลานั้นมาพัฒนาให เปน e-Content ที่สมบูรณ และพรอมที่จะใชทดแทนการเรียนในชั้นเรียนบางสวนได โดยใชแนวคิดในการผลิตที่ ไมซับซอนและรวมกับอาจารยเจาของรายวิชาในการผลิตและนําไปใชจริง แนวคิดในการผลิต High Quality e-Content คือ ทําสิ่งที่เปนนามธรรมในบทเรียนใหเห็นเปนรูปธรรม โดยการเลือกรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับการเรียนรูที่จะเกิดขึ้นไดดีที่สุด เชน บทเรียนเปน Text หนึ่ง หนากระดาษ หากสามารถดึงใจความสําคัญใหเหลือเพียงหนึ่งยอหนา แลวผูเรียนอานแลวสามารถเขาใจได E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 12


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

งาย ก็ถือวามีคุณภาพพอ แตหากผูเรียนอานยอหนาเดียวนั้นแลวไมเขาใจ อาจจะจัดหาภาพประกอบ เพื่อให เขาใจมากขึ้น แลวในบทเรียนใด ที่ตองการสาธิต หรือแสดงตัวอยาง การปฏิบัติ ก็อาจจะใช การบันทึก VDO หรือผลิตเปน Flash Animation เขามานําเสนอก็ไดโดยการผลิตนั้น จะสงไปผลิตตาม Story board ที่ออกแบบ ไวเปนชิ้นๆ (Order per piece) เพื่อตัดปญหาเรื่องคุณภาพงาน และระยะเวลาที่ใชในการผลิตผลงานที่ผลิต เสร็จสมบูรณแลวนั้นจะมีรูปแบบเปน e-Content ที่ผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ (Interactive) กับ บทเรียนได โดยมีรูปแบบการนําเสนอที่หลากหลายเหมาะสมกับเนื้อหาและการเรียนรู โดยจะมี Format เปน HTML ซึ่ง ผูเรียนสามารถเขาถึงบทเรียนไดงายและรวดเร็วดวยโปรแกรม Internet Explorer ซึ่งทําให ไมตองรอโหลด ขอมูลนานแบบ Format e-Content รูปแบบอื่นๆ และมีมาตรฐาน SCORM (Shareable content object reference model) โดยเลือกใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการประกอบ ชื่อ Elicitus

การดําเนินงานระยะที่ 3 (มกราคม 2548 – 2549) มหาวิ ท ยาลั ย ได โ อนย า ยงานพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอน มาสั ง กั ด ศู น ย มี เ ดี ย แต ง ตั้ ง วั น ที่ 1 กุมภาพันธ 2548 (อางอิง คําสั่งมหาวิทยาลัยศรีปทุมที่ 133/2548) และไดจัดทําโครงการจัดการเรียนการสอน แบบอีเลิรนนิงอยางตอเนื่อง โดยมีโครงการดังตอไปนี้ โครงการ CAI Pre-University กับ บริษทั Third wave โดยไดจางบริษัท Third wave ผลิต Digital content จํานวน 5 รายวิชา คือ 1. วิชาบัญชีการเงิน 2. วิชาเศรษศาสตรพื้นฐาน 3. วิชาฟสิกส 4. วิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน 5. วิชาคณิตศาสตรประยุกต สรุปผลการดําเนินงานโครงการ CAI Pre-University จากทั้งหมด 5 รายวิชาแลวเสร็จจํานวน 2 รายวิชา คือ - รายวิชาบัญชีการเงิน - รายวิชาหลักเศรษฐศาสตรทั่วไป E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 13


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

สวนวิชาที่เหลือ ยังไมแลวเสร็จเนื่องจากกรรมการตรวจรับยังพบขอผิดพลาด ตอมาไดตรวจรับสื่อที่ได แกไขปรับปรุงเรียบรอยแลว โครงการสงเสริมนิสิต นักศึกษาทําสรุปเนื้อหารายวิชาในรูปแบบสื่ออิเล็กทรอนิกส (ทุน สกอ.) มีรายวิชาที่ไดทําการสรุปเนือ้ หาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส ดังนี้ -

โครงสรางสถาปตยกรรม เศรษฐศาสตรการเกษตร เศรษฐศาสตรมหภาค หลักการโฆษณา ปฏิบัติการเคมี ประมวลกม.แพงละพาณิชย วาดวยค้ําประกันจํานอง จํานํา ประมวลกม.แพงละพาณิชย วาดวยครอบครัว สัมมนาการจัดการทรัพยากรมนุษย หลักการบัญชีขั้นตน การบัญชีบริหาร การวิเคราะหโครงสราง กลศาสตรของไหล การเขียนเพื่ออาชีพและธุรกิจ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว กราฟฟกสื่อสาร 2 การออกแบบสถาปตยกรรม 1 โครงสรางขอมูลและสวนชุดคําสั่งขนาดใหญ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องตน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 14


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

โครงการจัดซื้อโปรแกรมบริหารจัดการเรียนการสอน จากปญหาทีพ่ บในการใชซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS) ที่พฒ ั นาโดย อาจารยธนิต สงวนเนตร คือ ระบบไมสามารถบริหารจัดการตอบสนองตอรูปแบบการสอนทีม่ ีผูสอนหลายคนในรายวิชา เดียวกันได มหาวิทยาลัยศรีปทุมจึงไดอนุมัติงบประมาณในการจัดซือ้ โปรแกรมบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ชื่อวา Edugether V3.0 และโปรแกรมบริหารจัดการแฟมผลงาน (Electronic portfolio v2.0) ตั้งแตวันที่ 4 ส.ค. 2548 กับบริษัท ทีโอที จํากัด มหาชน ซึง่ Edugether เปนระบบการเรียนการสอนแบบ LMS (Learning Management System) ที่ใชบริหารจัดการการเรียนรูท ี่อํานวยความสะดวกในการจัดการเนื้อหาและกิจกรรม การเรียนรู การสื่อสารโตตอบระหวางผูสอน (Instructor/Teacher) กับผูเรียน (Student) รวมทัง้ การสราง แบบทดสอบรูปแบบตางๆ และการประเมินผลบนเครือขายอินเทอรเน็ต

การดําเนินงานระยะที่ 4 (พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2552) ในระยะที่ 4 พ.ศ. 2550 มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีคําสั่งใหโอนงานและบุคลากรงานพัฒนาสื่อการเรียน การสอนไปสังกัดศูนย ICT และอยูในความดูแลของบริษัท เอสพีที เวนเจอร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2550 และ ไดเพิ่มจํานวนนการผลิตเนื้อหาใหกับหนวยงานตางๆ โดยโครงการตางๆ มีการดําเนินการจนถึง พ.ศ. 2552 ดังนี้ โครงการผลิต MP3 รายวิชาในคณะศิลปศาสตร ผลิตสื่อที่เปน MP3 เขาในระบบ LMS โดยประสานงานกับผูสอนเกี่ยวกับไฟลเสียง โครงการผลิต Content ใหกับวิทยบริการ เปนความรวมมือระหวาง 3 หนวยงาน โดยมี วิทยบริการเปนผูจัดหาอาจารย และ หนวยงานศูนย มีเดีย ถาย VDO และใหทางหนวยงาน e-Learning นํา VDO ที่ถายทํา มาทําการเชื่อมกับ PowerPoint ของ ผูสอนโดยใช Software Microsoft Producer จํานวน 4 รายวิชา โดยรวมมือกับศูนยมีเดียในการถาย VDO บันทึกการสอน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 15


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

โครงการผลิต Content ใหกับสํานักงานวิชาการศึกษาทั่วไป ทางมหาวิทยาลัยไดมีนโยบายในการผลิตเนื้อหาใหกบั สํานักวิชาการเปนโครงการนํารอง โดยผลิตใน รายวิชาพืน้ ฐานใหนักศึกษาไดใชทบทวนบทเรียน

การดําเนินงานระยะที่ 5 (พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน) ในระยะที่ 5 พ.ศ. 2553 – ปจจุบัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีนโยบายในการกาวขึ้นเปน e-University ชั้นนําของประเทศ ดูไดจากแผนพัฒนามหาวิทยาลัยศรีปทุม ระยะ 5 ป (ปการศึกษา 2553-2557) จะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยมีการกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินงานใหเปน e-University ชั้นนําของประเทศ โดยนํา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการเรียนการสอน การบริหาร และการจัดการของมหาวิทยาลัยใหมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพดี เพื่อใหสอดคลองกับเปาหมายยุทธศาสตรดังกลาว มหาวิทยาลัยศรีปทุม จึงไดจัดตั้งสํานักการ จัดการศึกษาออนไลนขึ้นในเดือนมิถุนายน 2553 (อางถึง : มศป.0301/พิเศษ 8) โดยมีวิสัยทัศนในการสงเสริม สนับสนุนและสรางสรรคใหมหาวิทยาลัยเปนองคกรชั้นนําในการจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อตอบสนองความคาดหวังของผูเกี่ยวของ ทั้งในสังคมไทย และสังคมโลก และมีพันธกิจใน การจัดการเรียนการสอนออนไลน 5 ดาน [อางถึง : แผนพัฒนา สํานักการจัดการศึกษาออนไลน” มหาวิทยาลัย ศรีปทุม ระยะ 5 ป (ปการศึกษา 2553-2557)] ไดแก 5.1 e-Learning Infrastructure จัดหาและเตรียมความพรอมดานสาธารนูปโภคดานการจัดการเรียนการสอนดวยระบบ e-Learning ทีเ่ หมาะสมตอการใหบริการจัดการเรียนการสอนทั้งในรูปแบบชอง Supplement, Complement และ Replacement 5.2 Production Unit ผลิตสื่อการสอน e-Learning สําหรับคณะ/วิชาของมหาวิทยาลัย 5.3 Educational Technology, Academic and Technical Support in e-Learning สนับสนุนดานวิชาการและเทคโนโลยีดาน e-Learning สาหรับการจัดการเรียนการสอนแกบุคคลากร มหาวิทยาลัย 5.4 Human Resource Development พัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยในการใช e-Learning เปนเครื่องมือในการเรียนการสอน E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 16


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

5.5 Research & Develop e-Learning Technology วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการสอนผานระบบ e-Learning ที่เหมาะสมกับการใชงานของมหาวิทยาลัย ทั้งในปจจุบนั และในอนาคต สํา นัก การจัด การศึ ก ษาออนไลนไดจั ดทํา แผนพัฒ นาสํา นัก การจั ดการศึก ษาออนไลน ระยะ 5 ป (ป ก ารศึ ก ษา 2553-2557) ที่ มี ค วามสอดคล อ งกั บ แผนพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม โดยวิ เ คราะห ก าร เปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมภายในและภายนอก มีการดําเนินงานและรูปแบบการใหบริการที่สอดคลองกับ ความตองการของมหาวิทยาลัยที่กาวสูการเปน e-University หนาที่หลักของสํานักการจัดการศึกษาออนไลน คือ ใหการสนับสนุนการดําเนินการบริหารการจัด การเรียนการสอนแบบ e-Learning รองรับหลักสูตรออนไลนจากคณะและวิชาตางๆ ของมหาวิทยาลัย ให สอดคลองตรงตามเปาหมายของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยในการขยายโอกาสการศึกษาไปยังกลุมผูเรียนที่ หลากหลายทั้งในและตางประเทศ ทั้งการศึกษาในหลักสูตรปกติ เพื่อการจัดการศึกษาอยางตอเนื่อง และ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นอกจากนี้ยังใชเปนเครื่องมือเพื่อการสื่อสาร ไปยังหนวยงาน และผูเกี่ยวของอื่นๆในมหาวิทยาลัย ไดแก ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย ผูบริหารคณะ ผูบริหารหนวยงานสนับสนุน คณาจารย บุคลากร ภายในและภายนอกสานักฯ ไดมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ทิศทางการพัฒนาสานักการจัดการศึกษาออนไลน และมีสวนรวมและใหการสนับสนุนในดานตางๆตอไป มีการดําเนินการเพื่อการเปดการสอนแบบผสมผสานในหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตแลว และยังได เริ่มการจัดหลั ก สู ตรอบรมออนไลน กั บคณะบัญชี ซึ่ง เปนหลั ก สู ตรระยะสั้น 6 รายวิชา ซึ่ง มีการเริ่ม บัน ทึก การสอนในช ว งเดื อ นธั น วาคม 2553 ที่ ผ า นมา และมี ข อ ตกลงเบื้ อ งต น เพื่ อ การดํ า เนิ น การในหลั ก สู ต ร มหาบัณฑิตดานบริหารธุรกิจแลว อีกทั้ง ยังมีการผลิตบทเรียนแบบอีเลิรนนิงจํานวนมาก แบงตามรายวิชา รวมทั้งสิ้น 251 รายวิชา เปน สื่อสมบูรณทั้งสิ้น 15 รายวิชา และเปนสื่อเสริมทั้งสิ้น 236 รายวิชา (ดูจากภาคผนวก ก.) และเปลี่ยนจากระบบ บริหารจัดการเรียนการสอนที่ชื่อวา Edugether V3.0เปนระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (Learning Managment System: LMS) แบบรหัสเปด (Open Source) คือ Moodle เวอรชั่น 1.9 และไดรับการปรับปรุง เพิ่มเติมจนเปน Moodle version 1.9.9 ซึ่งมีประสิทธิภาพและความสามารถสูงกวาระบบปกติ กลาวคือ ได ศึกษาถึง สวนขยาย (extension) ตางๆ มาอํานวยความสะดวกทั้งผูสอน ผูเรียน ผูบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ตลอดจนผูบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 17


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

2. ดานโคครงสรางทางเทคโนโลยีสารสนเทศ า มหาวิทยาลัยศรี ศ ปทุมไดมีความมุ ว งมั่นในกการพัฒนาโคครงสรางพื้นฐาานทางเทคโนนโลยีสารสนเททศมา น มสร ส างศักยภาพพใหกาวไปเปน e-Universitty ชั้นนําของประเทศ มีการนํ ก า อยางตอเนืนื่อง เพื่อพัฒนาและเสริ เทคโนโล ยี ส ารสนเทศ และการสื่ อ สารมาใช ส เ พื่ อเพิ อ ่ ม คุ ณ ภาพพและประสิ ท ธิ ภ าพในการรจั ด การศึ ก ษาของ ษ มหาวิทยาาลัยในการขยายโอกาสทางงการศึกษาใหหกวางขวางมากยิ่งขึ้น ไปยัยังกลุมผูเรียนทีที่หลากหลายยทั้งใน ประเทศแลละตางประเทศ โดยมีการวางแผนและพั​ัฒนาโครงสรางพื า ้นฐานทางงดานเทคโนโลลยีสารสนเทศศอยาง ทั่วถึง มีคุณภาพ ณ ประสิสิทธิภาพ ประหหยัด รวดเร็ว ทันตอความกกาวหนาของรระบบสารสนเททศในอนาคต โดยมี การปรับปรุ ป งคุณภาพกการใชเทคโนโลยีสารสนเท ศเพื่อการเรียนการสอน กาารวิจัย การบริ​ิการวิชาการร และ การบริหารรจัดการอยางสม่ําเสมอ จึงไดวางเครือขายโครงสร า างแและระบบเทคโโนโลยีสารสนเทศและการสืสื่อสาร ในทุกหนวยงานและทุ ว กวิทิ ยาเขตใหมีมคี วามพรอมในนการรองรับการเปน e-Univversity

2.1 ระบบโครงสรา งพื้นฐาน จํานวนอุ า ปกรณ ณ เครือขายสืสื่อสารภายในน ภายนอกพ พรอมใหบริการแก า นักศึกษาอยางเพี ง ยงพอ

ก กราฟแสดงจํ านวนระบบโครรงสรางพื้นฐานน จํานวนอุปกรณ ก เครือขายสื ย ่อสารภายในน ภายนอก E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 18


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

Server มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีระบบโครงสรางพื้นฐาน ครอบคลุมทุกหนวยงาน ดังนี้

ที่มีประสิทธิภาพ มีเครือขายขนาดใหญ และ

1. Server มีจาํ นวนทั้งสิน้ ทัง้ หมด 136 เครื่อง โดยมีรายละเอียดังนี้ No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

Detail IDP Management ACS Tacacs 4.0 Radius Funk Mng All Check Point Mng Cisco-WCS Backup3 Root, DHCP Root, DHCP AD2 ICT Intercom AD1 Camtasia Log- Bluecoat Tel Me More App_Test ICT_MONITOR ICT Center2 E-Office WEBMIC41PHY WEBMIC42PHY WEBMIC43PHY WEBMIC3 WEBMIC1 MICBACKUP

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

Hostname IDP Management SPU-ACS sattaban BUALUANG Check Point Mng Cisco-WCS backup3 BUSABAN BUSAKORN ad2.bangkhen.spu.ac.th intercom ad1.bangkhen.spu.ac.th ooe blueCoaReporter icttmm Aspen ict_monitor ictcenter2 eoffice WEBMIC41PHY WEBMIC42PHY WEBMIC43PHY WEBMIC3 WEBMIC1 LIBRALY-SERVER หนา 19


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56

Detail MICDB_SPU MICDB_SPU spulibrary Domain Mic WEBMIC2 WEBMIC4 WEBMIC5 NEW-LXR MIC- SQL Thaigoodview (NFS) Thaigoodview (Database) Thaigoodview (Web.net) SPUFriends E--lerning1 E--lerning2 E--lerning3 Engineer idpmgt student KALYANEE Bongkoj Linjong Trenmicro ICT_dms Agent ICT_DMS2(Altiris Managment) ICT-PRINTQUE Trend-Micro DNS1 DNS2 DB test MIC03

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

Hostname MICDB_SPU MICDB_SPU spulibrary mic.spu.ac.th WEBMIC2 WEBMIC4 WEBMIC5 NEW-LXR MICDB Thaigoodview.net Thaigoodview.net Thaigoodview.net www.spufriends.com SPU-Content SPU-DB SPU-WEB engineer.spu.ac.th student KALYANEE Bongkoj Linjong trend-tmcm ict_dns ict_dns2 Trend

SCMSBACKUP MIC03 หนา 20


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87

Detail WEBMIC WEBMIC WEBMIC E--lerning1 E--lerning2 E--lerning3 E--lerning4 E--lerning5 E--lerning6 E--lerning7 E--lerning8 ICT_ADschoollive 68.16 WEBMIC1 69.44 MIC03 69.23 Clean MIC08 Template 69.123 Off ICT_WIndows Live 68.19 ICT_Windows Live II 68.18 ICTAPP 68.32 (ImportDB) Intercom2 68.23 SCMS_Front_DBS 99.120 SPT_Test 68.61 BLOG Windows 68.36 EMM 99.42 FIS 68.112 ICT_CUBICLE 99.55 ICT_HORTENSIA 69.27 ICT_ISI 68.37 ICT_MIC01 69.21 ICT_MIC04 69.24 (69.99) ICT_TULIP 68.38 ILM 99.16

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

Hostname SCMSMIC01 SCMSMIC02 SCMSMIC03 lmsweb1 lmsweb2 lmsweb3 lms DB lms Stream lms Testbank Camtasia 1 Camtasia 2 adscoollive.adschoolive.org WEBMIC1 MIC03 MIC08 ns1.spulive.net ns2.spulive.net ICTAPP intercom2 SCMS-DBS SPTTest blog emm FIS ICTCUBICLE HORTENSIA ICTISI MIC01 MIC02 ICTTULIP ILM หนา 21


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118

Detail LINUXWEB17 68.17 MIC04 69.24 Clean (69.124) SCMS_BOP 99.110 SCMS_BOP_VC 99.102 SCMSAPP 68.47 SCMSAPPT 68.48 SPT_Test 68.61 SPU_AIS 68.71 webmaster.or.th 68.34 Clone_Prometric HR2 (Hollyhock) 69.25 HRM (Holly) 69.26 HR2T 69.122 Temp for 69.26 ICT_ICDL 4.45 ICT_Library 68.218 info.spu.ac.th 68.70 Intl_web 68.41 SCMS_Ruby 68.52 thaigoodview.com 68.33 Tivoli Backup 99.67 ICT_ FileServer 99.52 ICT_EVERLASTING 68.46 ICT_Google 68.81 ICT_MIC07 69.45 ICT_WEBschoolive 68.28 ImportDB 68.22 Live@EDU 98.35 Off Lotus Traveler 98.21 OOE 4.20 PhoneDirectory 99.32 Radio 68.224

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

Hostname LINUXWEB17 MIC04 scms-bop scms-bop-vc SCMSAPP SCMSAPPT SPT_Test SPU_AIS web prometric HR2 HR3 HR2T ICDL ICTLIBRARY aster joomla sap www.thaigoodview.com tivolibackup fs01 EVERLASTING ICTGOOGLE MIC07 webschoollive IMPORTDB Live@EDU 98.35 Off traveler ooe phonedirectory Radio หนา 22


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554 No. 119 120 121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136

Detail SPSS 11.43 AccessControl 98.69 ED_CM2_T 68.44 ED_EDDB2_T 68.49 ED_Process_T 68.55 ED_Process2_T 68.56 ED_Webpage_T 68.57 ED_WID61_T 68.42 EDDB2 68.49 EDoc_CM2 68.44 EDoc_Process 68.55 EDoc_Process II 68.56 EDoc_Process IV 68.58 EDoc_Webpage 68.57 EDoc_WID61 68.42 Edoc55 LMS 68.40 MIC06 69.42 Clean

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

Hostname SPSS accesscontrol contentweb EDDB2 edocprocess edoc56 IBMProcessIII ICTWID61 EDDB2 EDCM2 edocprocess1 edocprocess2 edocprocess3 EDWebpage EDWID edocprocess LMS MIC06

หนา 23


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ปจจัยสําคัญที่สุดในการใหบริการดาน ICT คือ การประกันความเสถียรของระบบใหสามารถใชงานได อยางมีประสิทธิภาพ จึงจําเปนตองมีกระบวนการทบทวน กลั่นกรอง ตรวจสอบอยางเปนระบบและตอเนื่อง ซึ่ง ศูนย ICT ไดกําหนดมาตรการเพื่อควบคุมดูแล รักษาระบบโครงสรางพื้นฐาน ดังนี้

เครื่องมือ รูปแบบ โปรแกรมตรวจสอบ 1. PRTG (Paessler Router Traffic Grapher) 2.โปรแกรม Orion Monitor Network

ลักษณะการตรวจสอบ การใชงานระบบเครือขายของมหาวิทยาลัย /หนวยงานในเครือขาย http://ictcenter2.spu.ac.th/mrtg/ เปนการ Monitor อุปกรณ ในระบบเครือขาย ผานทาง Software Orion Monitor Network ตาม Link ดานลาง http://172.31.1.60/Orion/SummaryView.aspx?viewid=1& netobject= 3.VMware VCenter 5 ใชสําหรับ บริการจัดการ Server ในหมวดของ VMware ทั้งหมด ผาน Software VCenter ตัวนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 24


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ระบบเครือขายคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดเห็นประโยชนและความสําคัญของระบบเครือขายคอมพิวเตอร จึงไดพัฒนา และสนั บ สนุ น การใช ง านเครื อ ข า ยเทคโนโลยี ส ารสนเทศให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในกิ จ กรรมทุ ก ด า นของ มหาวิทยาลัย จึงไดทําการติดตั้งระบบขึ้นมาและมีการปรับปรุงมาเรื่อยจนถึงปจจุบันนี้ ในอดีตนั้น เครือขายที่ใชเปน Backbone เปนแบบ Gigabit Ethernet 1Gbps โดยมีการเชื่อมโยง Network ไปยังจุดหลักตางๆ เปนแบบ Ethenet Switch 1 Gbps และไปยัง Switch ยอยเปนแบบ Ethernet Switch 100 Mbps ปจจุบัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดจะทําการพัฒนาระบบใหมีศักยภาพสูงขึ้นอีกโดยการเพิ่ม Backbone ขึ้นมาอีกหนึ่งตัวเพื่อทําเปน Load Balancing และขยายเครื่อขายไปที่ไปตามจุดหลักตางๆจะเปนแบบ 10 Gbps การเชื่อมเครือขายนั้นจะมีเปนแบบ Wi-Max speed 100 Mbps โดยใชเชื่อมไปยังหอพักนักศึกษาและ เครือขายที่เชื่อมไปยังศรีปทุมวิทยาเขตพญาไทเปน Leased Line speed 1 Mbps Ksc รวมแลว 60 Mpbs สวนการเชื่อมตอเพื่อใชระบบเครือขายภายในองคกรทั้งหมดขนาด 60 Mpbs แยกออกเปน True 30 Mbps และ KSC 30 Mbps

ภาพที่ 1 เครือขายคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยศรีปทุม E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 25


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

จะเห็นไดวา มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยใหอยาง พอเพี ย งทั่ ว ถึ ง ไปยั ง วิ ท ยาเขตต า ง ๆ และให ส ามารถรองรั บ ระบบมั ล ติ มี เ ดี ย ได ส มบู ร ณ แ บบ ทํ า ให เ กิ ด การเรียนรูไดอยางกวางขวางและกระจายไปทุกที่ รูปแบบการเชื่อมตอ

ภาพที่ 2 การเชื่อมตอของระบบเครือขาย

เครือขายแลนแบบไรสาย (Wireless Lan) นอกจากระบบเครือขายขางตน ศูนย ICT มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดทําการติดตั้งเครือขายแลนแบบ ไรสาย (Wireless Lan) เพื่อใหบริการแกนักศึกษา อาจารยและบุคลากรที่ใชเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา เชน โนตบุค ปาลมทอป ตอเชื่อมเขาเครือขายของมหาวิทยาลัย สามารถใชงานอินเทอรเน็ตไดอยางพอเพียงและ ทั่วถึง โดยมีจุดเชื่อมตออินเตอรเน็ตไรสายในทุกอาคาร จํานวน 237 จุด ครอบคลุมทั้งมหาวิทยาลัย ดังนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 26


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

-

อาคาร 1 อาคาร 2 อาคาร 4 (หอสมุดกลาง) อาคาร 5 อาคาร 6 อาคาร 9 อาคาร 10 อาคาร 11

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

27 8 8 67 11 25 18 73

ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว ตัว

ภาพที3่ แสดงจํานวนจุดใหบริการ Wireless LAN มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีบริการการใชงานอินเทอรเน็ตจากที่บานเชื่อมตอเขาสูมหาวิทยาลัย ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรองรับการใชงานดานตางแกนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัย มากกวา 400 คูสาย และ นอกจากนี้ศูนย ICT ยังไดกําหนดใหผูใชงานสามารถตอใชงานไดนานสูงสุดไมเกิน 2 ชั่วโมงตอครั้ง ทั้งนี้เพื่อ เปนการกระจายการใชงานใหแกทุกคนไดมีสิทธในการใชงานเสมอภาคกัน สําหรับรายละเอียดของโมเด็มแตละ รุนที่ใหบริการ เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหครอบคลุมและกวางไกล เพื่อสนับสนุนการเรียนรู ตลอดชีวิต E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 27


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

เลลขหมายสําหรัรับเชื่อมตอ Intternet 02-5618000 (360 คูคสาย) นักศึกษา ษ 02-94001300 (50 คูสาย) ส บุคลากรร 02-5618300 (30 คูสาย) ส บุคลากรร ระบบบันทึกการสอน ศ ป ทุ ม เป น มหาวิ ม ท ยาลั ยแห ย ง เดี ย วในนประเทศไทยยที่ ใ ช ร ะบบบั​ั น ทึ ก การสอนนด ว ย ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี R ซึ่งเปนโปรแกรมที โ ่งายในการบันทึกสื่อการเรียนการสอน น ผูสอนจะบั อ นทึกและทํ แ า โปรแกรม Camtasia Relay การเผยแพพรการบรรยายหรือการนําเสนอของอาจ เ ง ยน ารยผูสอน เนนื้อหาที่อาจารยผูสอนทําการสอนในหองเรี หรือวิทยากรอบรมใหกับบุ บ คลากรไดทุทุกที่ทุกเวลา ไม ไ วาจะเปนหองเรี อ ยน หองปประชุม โตะทํางาน า หรือแมกระทั ก ่ง ที่บานของงเราเอง และสสามารถนําขึ้นระบบได น ทันตามเวลาที่กําหนด า ดวยคววามสามารถขของระบบที่มีความ รวดเร็วในการ Upload ขึ้นสูระบบ LMS L โดยการทํทํางานของ Caamtasia Relaay ในการบันทึกจะทํางานออยูบน ไ ขึ้นไปยังเครื เ ่อง Serverr เพื่อทําการ Produce P ไฟลล แลว เครื่องของงผูนําเสนอ หรืรือผูสอนจากนันั้นจะทําารสงไฟล ทําการเผยยแพรไปยังจุดหมายปลาย ด ยทางที่เราตองการได ง แบบอัอัตโนมัติ คือ เข เ าสูระบบ e--Learning แบบ อัตโนมัติ โดยอาจารย โ ผูผูบันทึกจะไดรัรับแจงผลทางง e-mail ทําใหการผลิตสื่อดวยโปรแกรมนี้ใชบุคลากรที่ เกี่ยวของคคอนขางนอยใในระยะยาว การบันทึการเเรี​ียนการสอนใในหองเรียนนีน้​้ จะเปนสื่อเสริริมสําหรับนักศึกษา สามารถททบทวนเนื้อหาาของการเรียนการสอน น แลละเปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับนักศึกษาที ษ ่ขาดเรียน หรือ นักศึกษาทีที่ไมเขาใจเนื้อหาในชั้นเรียน สามารถดูบทเรี ท ยนนั้นซ้ําไปมาได จนกรระทั่งเขาใจในเเนื้อหานั้น สงผลตอ คุณภาพของนักศึกษาอีกดวย

น างานของโปรแกรม Camtasiaa Relay ภาพที่ 4 ขั้นตอนการทํ E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 28


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ตัวอยาง ระยะเวลาในรายวิชา ICT112 ตั้งแตเริ่มทําการบันทึกการสอนจนกระทั่งนําขึ้นสูร ะบบ LMS รายวิชา ICT112 เริ่มบันทึกการสอนเวลา 12:12:55 PM รวมระยะเวลาในการบันทึกการสอน 2:29:07 ชั่วโมง Description STEP 1 เริ่มทําการ Upload จาก Client ไปยัง Server หมายเหตุ : เวลาในการ Upload นัน้ ขึ้นอยูกับจํานวนไฟล หรือรายวิชาทีไ่ ดมีการบันทึก และไดจัดเรียงลําดับรอทําการ Process ที่เครื่อง Server STEP 2 เริ่มทําการ Process (Server : camtasia2) ในกระบวนการนี้จะมีการ Encode ไฟลใหออกมาใน 3 รูปแบบ เพื่อใหสามารถรองรับการแสดงผลไดตาม Device ตางๆ คือ 1. Flash - Processing - Upload ขึ้นระบบ LMS 2. iPad - Processing - Upload ขึ้นระบบ LMS 3. iPod and iPhone ใชเวลาในการ - Processing - Upload ขึ้นระบบ LMS

Start Time

End Time

2:31:02 PM 3:03:14 PM

Total Time 0:32:46

3:03:15 PM

3:03:15 PM 0:57:07 0:00:7 3:03:15 PM 2:26:17 0:00:8 3:03:15 PM 1:33:43 0:00:6

จะเห็นไดวา Camtasia Relay ใชเวลาในการดําเนินการไมมาก ซึ่งโปรแกรมนี้ไดเขามาแกปญหาใน การผลิตสื่อแบบเดิมที่ใชบุคลากรและระยะเวลาในการดําเนินการที่คอนขางมาก ตั้งแตขั้นตอนการผลิตจนถึง นําขึ้นสูระบบ

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 29


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ขอดีสําหรับการนําระบบ Camtasia Relay มาใชในการบันทึการสอนของมหาวิทยาลัย 1. การบันทึการสอนทําไดงาย รวดเร็ว ไมเปนการรบกวนอาจารยและผูเรียน ดวยโปรแกรม Camtasia Relay คลิ๊กหนาจอเพียงแค 3 ครั้งเทานั้น คลิ๊กครั้งแรกเพื่อทําการบันทึก คลิ๊กครั้งที่ 2 เมื่อสิ้นสุดการบันทึก และ คลิกครั้งสุดทายเพื่อสงไฟลขึ้นสูระบบเพื่อทําการประมวลผล ซึ่งใชเวลาไมนาน หลังจากนั้นผูเรียนสามารถเขา ดูบทเรียนที่บันทึกไวในรูปแบบของวิดีโอ สามารถเขาชมไดทันที ไมวาจะใชอุปกรณคอมพิวเตอรแบบพกพา หรือโทรศัพทมือถือ 2. ดวยการทํางานของโปรแกรมเหมือนกับระบบ LDAP, การบันทึกสื่อจะขึ้นอยูกับความตองการของ ผูใช โดยมีการแจงผลการบันทึกผานทางอีเมลโดยอัตโนมัติ และมีความยืดหยุนในการบันทึก การตั้งคาการนํา สื่อไปใชงาน โปรแกรม Camtasia Relay จะบันทึกหนาจอไดงายกวาโปรแกรมบันทึกหนาจออื่นๆ ทั้งยังมีความ ปลอดภัยในดานเครือขาย, ระบบปฏิบัติการเครือขาย (window server), ระบบปฏิบัติการ Mac และ ระบบปฏิบัติการอื่นๆ 3. สามารถกําหนดขอบเขตการใชงานไดอยางกวางขวางตั้งแตระดับหนวยงานจนถึงระดับองคกร ซึ่ง ขึ้นอยูกับงบประมาณทีม่ ี และมีคาใชจายในการบริหารที่คอนขางนอย 2.2 ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน LMS มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีระบบบริหารการจัดการเรียนการสอนที่ใชในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบนั มีดวยกัน 3 ระบบ ไดแก 1) ซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS) ที่พัฒนาขึ้นเองโดย อาจารยธนิต สงวนเนตร เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอนระบบแรกที่ใชในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning และไดยกเลิกการใชงานไปแลว 2) Edugether เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอน อีกระบบหนึง่ ที่เคยใชงานกอนเปลีย่ นมา เปนระบบบริหารจัดการเรียนการสอน Moodle ในปจจุบนั 3) Moodle เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอนที่ใชอยูในปจจุบัน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 30


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ป พ.ศ.2546 - พ.ศ. 2547 โครงการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับการบริหารการเรียน (LMS) พัฒนาเองโดย อาจารยธนิต สงวนเนตร เปนระบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ระบบแรกที่ใชในการจัดการเรียนการสอนแบบ e-Learning และได ยกเลิกการใชงานไปแลว ป พ.ศ.2548 - พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดจัดซื้อโปรแกรมบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) ชื่อวา Edugether V3.0 และโปรแกรมบริหารจัดการแฟมผลงาน (Electronic portfolio v2.0) ตั้งแตวันที่ 4 ส.ค. 2548 กับบริษัท ทีโอที จํากัด มหาชน แทนระบบการบริหารจัดการเรียนการสอนเดิม ซึ่ง Edugether เปนระบบการจัดการเรียนการ สอนแบบ LMS (Learning Management System) ที่เคยใชงานกอนเปลี่ยนมาเปนระบบบริหารจัดการเรียน การสอน Moodle ในปจจุบัน (สามารถเขาถึงไดที่: http://spulms.spu.ac.th/) Edugether เปนระบบที่ใชบริหารจัดการการเรียนรูที่อํานวยความสะดวกในการจัดการเนื้อหาและ กิจกรรมการเรียนรู การสื่อสารโตตอบระหวางผูสอน (Instructor/Teacher) กับผูเรียน (Student) รวมทั้ง การสรางแบบทดสอบรูปแบบตางๆ และการประเมินผลบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยแบงกลุมของผูใชแบง ออกเปน 3 กลุม คือ 1. กลุมผูบริหารระบบ (Administrator)) 2. กลุมอาจารยหรือผูสรางเนือ้ หาการเรียน (Instructor/Teacher) 3. กลุมผูเรียน (Student/Guest) องคประกอบของระบบ - Web Portal Management System (WMS) ระบบการสราง Website ใหมหรือเปลี่ยน Website เกาที่มีอยูแลว ใหเปน Website แหงการเรียนรู สําหรับครู-อาจารย และนักศึกษา รวมถึงผูปกครองและชุมชนได เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางกัน อีกทัง้ ยังปรับปรุงขอมูลขาวสารใหมีความเปนปจจุบนั ไดโดยงาย - Course Management System (CMS) ระบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองการศึกษาแนวใหมในยุค e-Learning อยางเต็มรูปแบบ และพัฒนาภายใตมาตรฐาน SCORM (Sharable Content Object Reference Model), AICC ที่

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 31


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ยอมรับกันทั่วโลลก โดยระบบนีนี้มีระบบยอยตตางๆ อีกมากมมายที่ครอบคลลุมตั้งแต การเรียน, การสอนน กิจกรรมการปฎิฎิสัมพันธ, การทดสอบและกการประเมินผล, การแสดงผผลงานตอสาธธารณะ D Libraryy System (DLLS) - Digital ระะบบบริหารจัดการห ด องสมุดเสมื ด อนบนเครืรือขายที่ผูใชทกคนสามารถ ุ เขาใชเนื้อหาไไดพรอมกันอยา งไม จํากัดเวลา สถาานที่ โดยเนื้อหานั ห ้นจะอยูในรู น ปแบบของดิจิตอลหลากหลายแบบ เชน eBook, eDocument, DigitalVDO, D D Digital Soundd, Multimediaa, Digital Pictture, html… U Manageement Systeem (UMS) - User ระะบบบริหารจัดการสมาชิ ด กในน Website สาามารถควบคุมสิ ม ทธิการใชงานได า อยางเปนอิ น สระ โดย สามารถจะจัดกลุ ก มเปนระดับได บ ดังตอไปนี้ กลุมผูดูแลระะบบ กลุมอาจารยผูสอน กลุลุม นักเรียนนักศึกึ ษา ว กลุมผูเยี่ยมชมททั่วๆ ไปตามการเขาใชงาน อีกทั้งยังสามาารถจัดกลุมผูเรีเ ยนตามสภาพจริงไดอีกดวย

ไ อีเลิรนนิงเดิ เ มของมหาวิทยาลั ท ยที่ใชระบบการจั ะ ดการเรียนการสอนน Edugetherr ภาพพที่ 5 หนาเว็บไซต

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 32


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ป พ.ศ. 2554 จนถึงปจจุบัน ไดนําระบบระบบบริหารจัดการเรียนการสอน Moodle เวอรชั่น 1.9 และไดรับการปรับปรุงเพิ่มเติมจน เปน Moodle version 1.9.9 ซึ่งมีประสิทธิภาพและความสามารถสูงกวาระบบปกติ กลาวคือ ไดศึกษาถึงสวน ขยาย (extension) ตางๆ มาอํานวยความสะดวกทั้งผูสอน ผูเรียน ผูบริหารจัดการมหาวิทยาลัย ตลอดจน ผูบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ Moodle เปนระบบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน (Learning Management System : LMS) ที่มีความนิยมกันอยางแพรหลายสูงสุดในปจจุบัน และไดมีการนํามาใชเพื่อจัดการเรียนการสอนในสถาบัน ศึกษาชั้นนําจํานวนมากในหลายประเทศทั่วโลก เนื่องจากเปนระบบที่มีประสิทธิภาพสูง ใชงานงาย มี ความสามารถในการบริหารจัดการเนื้อหาไดเปนอยางดี อีกทั้งยังมีเครื่องมือตางๆใหนํามาใชงานและพัฒนาตอ ยอดได อี ก ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย ได มี บุ ค คลากรที่มี ค วามผูเ ชี่ย วชาญและมีป ระสบการณ ในการพั ฒ นา ระบบ Moodle และคลังขอสอบ คือ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา ไดเปนผูเชี่ยวชาญ Moodle Course Creator สําหรับ Moodle เวอรชั่น 2 (ลาสุด) นับเปนคนแรกของประเทศไทย (ในทุกเวอรชั่น) ซึ่งการรับรองนี้ สามารถตรวจสอบ ไดจากทั่วโลก โดยไปที่ http://certificates.moodle.com/manage/view.php?code=6AZT-XAUO-EIRJHDFM

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 33


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ภาพพที่ 6 หนาเว็บไซต ไ อีเลิรนนิงปจจุบันของมหหาวิทยาลัยที่ใช ใ ระบบการจัดการเรี ด ยนการรสอน Moodlee ก งาน Moodle ไดแก หนวยงานภายใในมหาวิทยาลัลัยศรีปทุมทีม่ ีการใช - http://eelearning.spu.ac.th/ เปนเว็ น บไซตอีเลิรนนิ น งของมหาวิวิทยาลัยที่ใชในป น จจุบนั - กลุมงาานวิทยบริการ http://asclearn.spu.ac.th/ - กลุมงาานกิจการสัมพันธ http://sppufriendslms.spu.ac.th - สถาบันวิ น ทยาการสาารสนเทศ httpp://isilms.spu.ac.th

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 34


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ในนระบบบริหารรจัดการเรียนกการสอน (LMSS) Moodle ที่ทางงมหาวิทยาลัยได ย ใชงานนัน้ มีคุณสมบัติเดดนๆ ดังนี้ อ อกับระบบบฐานขอมูลกลางของม ล หาวิทยาลัย โดยสามารถใช โ ช User และ Password P เดียวกั ย บ 1. การเชื่อมต ระบบ e-M Mail ของมหาวิวิทยาลัย โดยผูผูใ ชไมจําเปนตอง Register ใหม

ภาพที่ 7 หนาเพจ า Login เขขาสูระบบ

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 35


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

2. การบริริหารจัดการใในรายวิชา ผูสอนสามารถน ส นํา Modules ตตางๆ ที่ทางผูดูดแลระบบไดเพิพ่มเติม เพื่ออํานวย า ความสะดดวกในการใชงาน เชน - การใช Module M Attendance สําหรับตรวจสอบกา บ ารเขาหองเรียน โดยการเช็คชื ค ่อโดยผูสอน ซึ่งสามารถแสสดง เปนเปอรเซ็ซนตของการเขขาเรียน

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 36


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ภาพที่ 8 ตรวจสอบการเขาหองเรียนในระบบ น Mooodle

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 37


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

- Modulee Certificate เปนการมอบใใบรับรองโดยออัตโนมัติ โดยผูสอนไดกําหนนดสิ่งที่ตองทํา และเมื่อทําสํสาเร็จ ผูเรียนจะไไดรับ Certificate โดยอัตโนนมัติ พรอมทั้งสามารถบันทึกไฟลออกมาเปน pdf ไฟลได ซึ่งจะมีอีกหลาย Modules ที่จะชวยใหอาจารย า สะดวกในการทํางานน

C ในนระบบ Moodle ภาพทีที่ 9 ตัวอยาง Certificate

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 38


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

3. การทําคลังขอสอบ การเลือกรูปแบบชนิดของขอสอบที่มีใหใชงานอยางหลากหลาย

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 39


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ภาาพที่ 10 รูปแบบบชนิดของขอสอบในระบบ อ คลังขอสอบทีหลากหลาย ่ 4. การบริริหารจัดการรระบบ a. การรายยงานผล โดยใใช Google Annalytics

ภาพที่ 11 ตั​ัวอยางการรายยงานผล โดยใใช Google Annalytics E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 40


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

b. การเก็บ Log file เพื่อดูการเขามาทํากิจกรรมในระบบ

ภาพที่ 12 Log file การใชงานของผูเรียนที่เขาเรียนในรายวิชาบนเว็บไซตอีเลิรนนิง

ภาพที่ 13 สถิติการเขาใชงานภายในบทเรียนของผูเรียน E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 41


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

c. การกําหนดสิ ห ทธิการเขขาใชงานในแตละฟงกชนั่ เชชนการกําหนดดสิทธิ์ผสู อน Staff S หรือผูบริหารให ห สามารถถ กระทําหรือสามารถดู อ ไดอยางเดียว เพืพื่อความนาเชือถื อ่ อของขอมูล

ภาาพที่ 14 การกํกําหนดสิทธิการเข า าใชงาน d. แสดงการใชเนื้อที่ในแแตละรายวิชา เพื่อตรวจสอบบความพอเพียงของ ย Hardddisk ใน Serveer

ภาพที่ 15 รายงานแสดงการใชเนื้อที่ในแตละรายวิชิ า E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 42


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

5.รองรับการใชงานบน Mobile Devices โดยสามารถเปดใชงานผาน Mobile Devices ไมวาจะเปน iPhone, BlackBerry, IPAD, Android ฯลฯ ทําใหผูเรียนมีความสะดวกสบาย และสามารถเขาถึงไดทุกที่ ทุกเวลา

ภาพที่ 16 ตัวอยางหนาจอการใชงาน Moodle บน Mobile Devices

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 43


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

2.3 ระะบบการติดตตอสื่อสาร - มีศูนยบริการใหคําปรึกษาา หรือ Help Desk D ติดตอเบบอรภายใน 3333 แ คลากร ของ ข - e-Student มีระบบสารสนนเทศเพื่อการจจัดการ (SCMS) สําหรับผูเรียน อาจารย และบุ มหาวิทยาลัยั

ภาพที่ 17 หนนาเว็บไซตระบบ SCMS E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 44


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

- ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (ee-Mail) ดวยรระบบ SPU Gm mail สําหรับมหาวิทยาลัยศรีปี ทุม โดยใช ษ รับสิทธิการใช ก์ งาน Em mail ของมหาวิทยาลัยตลอดชีพ บริการ Gmaail ของ Googgle โดยนักศึกษาได และไดรับพืนที ้น ่จัดเก็บขอมูลสวนตัว จํานวน น 25 GB พร พ อมทั้งมี Weeb Blog สวนตตัวและอัลบั้ม รูปภาพ

- กระดานสนททนา (Webbooard) ในรายวิชาที่เรียน

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 45


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

- หองสนทนา (Chatroom) ในรายวิชาที่เรียน

- Moodle & Test Bank Clinic เปนคลินิกสําหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน และคลังขอสอบ ดวยระบบ Moodle โดยจะเปนการพบปะหารือและใหคาํ ปรึกษาในบรรยากาศแบบเปนกันเอง ใน ทุกๆวันจันทร ตั้งแตเวลา 9.00 – 12.00 น. ของทุกสัปดาห ณ อาคาร 10 ชั้น 4 หอง 403

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 46


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

3. ดานทรัพยากรสนับสนุน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีจาํ นวนทรัพยากรสนับสนุนเกีย่ วของกับการจัดการเรียนสอนแบบอีเลิรนนิงที่ ทันสมัย เพียงพอตอความตองการ สามารถสนองตอความตองการของผูใชและการใชทรัพยากรสารสนเทศ รวมกันทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อพัฒนาการเรียนรูดวยตนเองที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางและ นําไปสูการสรางนวัตกรรมในสังคมการเรียนรู ดังนี้ 3.1 จํานวนสื่อดิจิตอลที่ผลิต/บริการ ปจจุบัน มีจํานวนสื่อที่ผลิตและใหบริการแบงตามรายวิชาทีถ่ ูกสรางแบบอีเลิรนนิง รวมทัง้ สิ้น 251 รายวิชา แบงเปนสื่อสมบูรณ ทั้งสิน้ 15 รายวิชา และเปนเปนสื่อเสริมทั้งสิน้ 236 รายวิชา (ดูจากเอกสาร ภาคผนวก ก.)

ภาพที่ 18 ตัวอยางของสื่อสมบูรณ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 47


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 19 ตัวอยางของสื่อเสริม

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 48


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

3.2 จํานวนฐานขอมูล เอกสาร ตํารา และวารสารอิเล็กทรอนิกส มหาวิทาลัยศรีปทุม มีจาํ นวนฐานขอมูล เอกสาร ตํารา และวารสารอิเล็กทรอนิกส ดังตอไปนี้ จํานวนทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยศรีปทุม ลําดับที่

ประเภท

จํานวน (ชื่อเรื่อง/ฐาน)

1

ฐานขอมูลออนไลน

17

2

หนังสืออิเล็กทรอนิกส

3,730

3

วารสารอิเล็กทรอนิกส

14,830

4

สื่อโสตทัศน

11,822

1. ฐานขอมูลออนไลน ปจจุบัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดบอกรับฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส จํานวน 17 ฐาน จําแนกตามกลุม สาขา สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)/หลักสูตรบัณฑิตวิทยาลัย ไดแก กลุม วิทยาศาสตรกายภาพ กลุมวิศวกรรมศาสตร กลุมบริหารธุรกิจ กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กลุม สถาปตยกรรมศาสตร กลุมศึกษาศาสตร เพื่อใหนักศึกษา อาจารย บุคลากร และผูใชบริการหองสมุดสามารถ สืบคนวรรณกรรมจากวารสาร วิทยานิพนธ งานวิจัย ฯลฯ ไดอยางกวางขวางครบถวน ซึ่งสามารถสืบคนผาน ระบบเครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ม หาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ได ที่ ห น า Home Page ของสํ า นั ก หอสมุ ด (http://librarytest.spu.ac.th/content/0/18966.php) โดยมีฐานขอมูลเรียงลําดับชื่อตามลําดับอักษร (Browse by title) ดังตอไปนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 49


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

1. ABI/Infform Full text & abstract dattabase on business b , finance and economics e Description : 1971 – preesent Coverage : เ ดานการบบริหารจัดการ การตลาด การเงิน เศรษฐศศาสตร จากวารสาร ฐานขอมูลฉบับเต็ม และสาระสังเขป มากกวา 1,000 1 รายชื่อ ตัง้ แตป ค.ศ 1971-ป 1 จจุบัน จําแนกเปน 1. ABI/INFORM A Global เนื้อหาด ห านบริหารรและการจัดกาาร จากวารสารจํานวน 2,9000 รายชื่อ A M Trade & Inddustry เนื้อหาาดานการคาและอุ แ ตสาหกรรม จากวารสาาร 2. ABI/INFORM และสิ แ ่งพิมพจานวน าํ 1,200 รายชื่อ 3. ABI/INFORM A Dateline เนือหาด ้ านธุรกิจ จากสิง่ พิมพในประเทศสหหรัฐอเมริกาแลละ แคนาดา แ จํานววน 190 รายชือ่ 4. Dissertations D & Theses: A&I A วิทยานิพนธ น ทางดานบริริหารธุรกิจ จํานวน 18,000 รายการ -------------------------2. Academic Search Premier

Description : Full text & abstract dattabase on interdisciplinary sciencess Coverage : 1975 - present บ ม และสาระะสังเขป สหสาาขาวิชา ไดแกก ศึกษาศาสตตร บริหารธุรกิจ สังคมศาสตร ฐานขอมูลฉบับเต็ มนุษยศาสสตร วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี วิทยาศาสตรสุขภาพพ มีดรรชนี หรืรือสาระสังเขปป บทความวารรสาร 8,500 ชื่อ บทความวารสารฉบับเต็ม (Full text) 4,600 ชื่อ และสามารถสืบคนเอกสาร น ฉบับเต็ บ มยอนหลังได ง ถึง ปค.ศ 19775 --------------------------------

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 50


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

3. ACM Digital D Libraryy Full text & abstract dattabase on information technology t a computter and sciences 1974 - present Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานเเทคโนโลยีสารรสนเทศและวิทยาการ-คอม ท พิวเตอรของ ฐานขอมูลฉบับเต็ จ วารสาร นิตยสสาร รายงาน เออกสารการประชุม Association for Compputing Machinnery (ACM) จากบทความว และขาวสาร ตั้งแตปค.ศศ 1974- ปจจุบับน ------------------------Description :

4. ASCE Description : Full text & abstract dattabase on civil c engineeering Coverage : Articles more than 80,000 items บ ม และสาระะสังเขป ของบบทความวารสาร ทุกสาขาวิชาด ช านวิศวกรรรมโยธา จํานววน ฐานขอมูลฉบับเต็ 8 รายกาาร มากกวา 80,000 -----------------------5. Busineess Source Premier P

b m management, , finance andd Full text & abstract dattabase on business, economicss 1965 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป เพื่อการวิ ก จยั ทางธุรกิ ร จ การตลาดด การบริหารจัจัดการ ฐานขอมูลฉบับเต็ น 2,100 ชื่อ ยอนหลังถึงฉบั ฉ บป ค.ศ 19965 รวมถึง บัญชี เศรรษฐศาสตร แลละการเงิน จาากวารสารจํานวน Companyy Profiles, Coountry Econoomic Reportss และอื่นๆ โดยยมีวารสารที่ ผผานการตรวจปประเมิน (peerreviewed) โดยผูทรงคุณวุ ณ ฒิ จํานวนกกวา และสามาารถคนชื่อการรอางถึงผลงานน (cited refereences) ยอนหหลัง ไดถึงปค.ศศ 1998 -----------------------Description :

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 51


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

6. E-Bookk Collection

d on interdisciplinary sciencees Description : E-books database Coverage : 1971 – 20007 ฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนินิกส ของบริษทั OCLC Onliine Computeer Library Center, Inc. รวบบรวม ม ตางๆ ในสหหสาขาวิชา จํานวน า 3,731 รายชื ร ่อ สิ่งพิมพฉบับบเต็มของหนันังสือ วรรณกรรรม และสิ่งพิมพ ---------------------------7. EBSCO O A to Z Description : A tool for one-stop seearching of electronic joournals ่ รอิเล็กทรอนิกสทุกชื่อใน เคครื่องมือที่ชว ยอํานวยความสสะดวกในการรสืบคนโดย เชือมโยงวารสาร ฐานขอมูลต ล างๆ ----------------------------8. Emeraald Managem ment

Full text & abstract dattabase on business, b m management, , applied sciences and a social sciences s Online jouurnals more than 225 tittles Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานบริ น หารธุรกิจ การจั ก ดการ เศรษฐศาสตร วิศวกรรมศาสตตร ฐานขอมูลฉบับเต็ น งคมศาสตรร ภาษาศาสตรร หองสมุดและสารสนเทศ สืบคนวารสาร เทคโนโลยียี วิทยาศาสตรรประยุกต ดานสั ออนไลน สาขาการจั ส ดการ 24 สาขา ได ไ มากกวา 2225 ชื่อ หนังสือ วารสาร ฐานนขอมูลบรรณาานุกรม และ กรณีศึกษาา ---------------------------Description :

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 52


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

9. ERIC

Full text & abstract dattabase on education e Description : 1966 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานกการศึกษา จาากหนังสือ วารรสาร รายงานนการประชุม ฐานขอมูลฉบับเต็ งานวิจยั วิทยานิพนธ ฯลลฯ สามารถคคนยอนหลังไดดจนถึงป ค.ศ. 1966 --------------------------10. IEEE

Full text & abstract dattabase on electrical e enggineering, coomputer a informaation technoloogy sciences and 1988 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานวิวิศวกรรมไฟฟา วิทยาการคคอมพิวเตอร อิเล็กทรอนิกส ฐานขอมูลฉบับเต็ เทคโนโลยียี-สารสนเทศแและวิทยาศาสตร จากวารสาร นิตยสาร รายงานการปประชุม มาตรฐฐาน ฯ ใหเอกกสาร ฉบับเต็มเกืกือบ 3 ลานราายการ วารสาาร 151 ชื่อ รายงานการปร ร ระชุมมากกวา 900 รายการร เอกสารมาตรฐาน 3,400 รายยการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส 400 รายการ มีขอ มูลตั้งแตตป ค.ศ. 19888 จนถึงปจจุบนั -------------------Description :

11. ProQuest Description : An abstract databasee on internaational disseertations Coverage : 1977 – preesent พ ปริญญาเออก และปริญญาโท สาขาวิวิชาตางๆ ของ ฐานขอมูลสาระะสังเขป ครอบบคลุมวิทยานิพนธ จ บนั กวา 2.77 ลานรายการร มี Preview ของวิทยานิพนธ น สหรัฐอเมริริกาและประเททศอืน่ ๆ ตั้งแตป 1977 ถึงปจจุ ปริญญาเออกและปริญญาโท ญ ดูไดฟรจํ รี านวน 24 หนนา -----------------------E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 53


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

12. Sciennce Direct Full text & abstract dattabase on interdisciplinary sciences Description : 1995 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป สหสาาขาวิชา ใหบทความวารสาารและบทความในหนังสือ ฐานขอมูลฉบับเต็ 9 ลานรายกาาร จากวารสาารทีไ่ ดรับการรัรับรองจากนักวิชาการมากกกวา 2,500 รายยชื่อ และหนังสื ง อ มากกวา 9.5 มากกวา 11,000 1 เลม สืบคนวารสารยยอนหลังไดกอนป อ ค.ศ 19955 ----------------------------13. SPU Knowledge Bank Institutionaal repository database of o Sripatum University Description : 2005 – preesent Coverage : ฐานขอมูลคลังปปญญาของมหหาวิทยาลัยศรีรีปทุม เพื่อการรรวบรวมและเเผยแพรผลงานนของ อาจารยย ศ ปทุม ปจจุบันมีขอมูลประมมาณ 1,400 รายการ ร นักวิจัย แลละ นักศึกษามมหาวิทยาลัยศรี ----------------------------14. SPU Online Public Access Catalog C (OPAAC) Description : Bibliographic databasee Coverage : 1970 – preesent ณานุกรม สํานักหอสมุด มหหาวิทยาลัยศรีปทุ ป ม ใหขอมูลรายการทรั ล พยากรห ย องสมุดทุ ด ก ฐานขอมูลบรรณ แ สถานที่จดเก็ ดั บในหองสมุด ประเภท และ -----------------------------

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 54


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

15. ThaiLLIS Digital Coollection ( TDDC) Full text & abstract daatabase on dissertationss of Thai universities Description : บ ม และสาระะสังเขปของเคครือขายหองสมมุดสถาบันอุดมศึ ด กษา ประเเทศไทย (ThaiiLIS) ฐานขอมูลฉบับเต็ ท พนธ แลละรายงานการรวิจยั ของมหาวิวิทยาลัยในปรระเทศ รวบรวมวิทยานิ --------------------------16. Westlaw Full text & abstract dattabase on international law Description : 1970 – preesent Coverage : บ ม และสาระะสังเขป ดานกฎหมายนาน น นาชาติ มีวารสารและสิ่งพิมพ ม ตอเนื่อง ด ฐานขอมูลฉบับเต็ ห 900 ชื่อเรื่อง ขอมูลเอกสารรทางกฎหมายของประเทศสสหรัฐอเมริกา านกฎหมาายและการบริหารประมาณ รวมถึง กลุลุมประเทศในเเครือจักรภพบางประเทศ กลุมประเทศยุโรป โ และประเเทศอืน่ ๆ ตั้งแต แ ป ค.ศ.19700 ถึงปจจุบัน --------------------------17. มติชน ช e-Library News clippings of Thhai newspappers Description : 1997 – preesent Coverage : เ บทวิจารณ จ รายงาาน ฐานขอมูลกฤตภาคขาว ใหขอมูลขาว บทสสัมภาษณ บททความ บทวิเคราะห ย น่ ๆ เกีย่ วขของกับองคกร ภาครัฐ และเเอกชน รวมทั้งบุคคลสําคัญในภาคธุ ใ รกิจทุกประเภท หรือขอเขียนอื มากกวา 10 1 หมวดหมู หรื ห อกวา 2,0000 หัวเรื่องยอย สืบคนยอนหลังไดตั้งแตป พ.ศ. 2540 ---------------------------

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 55


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวนหนังสืออิเล็กทรอนิกส(e-books) ในฐาน Net library จําแนกตามสาขาวิชา รายการ

จํานวน

Arts

247

Business, Economics and Management Computer Science Education General Works and Reference Home Economics Language and Linguistics Law Mathematics and Statistics Networking and Telecommunications Political Science Social Sciences: General Technology, Engineering and Manufacturing Travel and Geography Others Total

678 258 389 329 23 191 117 253 86 96 133 202 84 471 3,730

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 56


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

3.3 ระะบบการแนะะนําวิธีการเรียน การสื่อสาร ส การใชเครื่อื งมือสื่อสาาร มีระบบแนะนําวิธีการเรียน การสื ก ่อสาร กาารใชเครื่องมือสื่อสาร โดยจั​ัดทําเปนคูมือการใชงานตางๆ า ไว ใ ปแบบของง Textfle (pdff) และ e-Boook (สามารถเขขาถึงไดที่: htttp://202.44.668.40/ บนระบบ Moodle ทั้งในรู manual.html)) ชวยใหอาจาารยและผูเรียนสามารถเข น าถึงระบบการเรีรียนแบบอีเลิรนนิงไดสะดวกก และ webooe/m งายตอการใชงาน ดังนี้ 1. คูมื อการใชงานน Moodle สําหรั ห บอาจารย

ภาาพที่ 20 ตัวอยยาง e-Book คูมือการใชงานน Moodle สําหรั ห บอาจารย E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 57


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

2. คูมื อการบันทึกการสอนดวยโโปรแกรม Cam mtasia Relayy

ย Caamtasia Relaay ภาพทีที่ 21 ตัวอยางคูมือการบันทึกการสอนดวยโปรแกรม

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 58


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

3. คูมื อการใชงานน Camtasia Studio : สรางสืสื่อดวยโปรแกรม Camtasiaa เพื่อการใชงานในระบบ า LM MS ของมหาวิทยาลลัยศรีปทุม

ว าง e-Bookk คูมือการใชงาน ง Camtasiaa Studio ภาพที่ 22 ตัวอย

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 59


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

4. คูมื อการใชงานนระบบ LMS

ว าง e-Bookk คูมือการใชงาน ง Camtasiaa Studio ภาพที่ 23 ตัวอย

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 60


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

5. คูมื อการใชงานน Moodle สําหรั ห บนักศึกษา

ภาพที่ 24 ตัวอยาง า e-Book คูมืมอื การใชงาน Moodle สําหรั ห บนักศึกษา

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 61


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

มีระบบ e-Libraary เพื่อบริการการสืบคนทรัรัพยากรของหอ งสมุด ฐานขขอมูลวิชาการ Reference ง้ การฝกอบรรม Databasee และแหลงเรียนรูอ ื่นๆ ในระะบบออนไลนผผานระบบเครือขายคอมพิวเตอร พรอมทังมี การใชงานนแกนักศึกษาททุกปการศึกษาา มีระบบบริการยื า ม คืน และะจองหนังสือออนไลน อ ทําใหหนกั ศึกษาสามมารถ เขาถึงทรัพยากรสารสน พ เทศไดสะดวก รวดเร็ว โดยใใชระบบหองสมุดอัตโนมัติ Program P Horiizon ซึ่งเปนระะบบที่ ทันสมัย และเป แ นสากล (สามารถเขาถึงไดที่ : http://202.44. h 68.214/ipac220/ipac.jsp?ssession=P299P98716I375.142830&proofile menu=account&ts=12929987169390#ffocus) =main&m

ภาพที่ 255 ระบบหองสมุดอัตโนมัติ Program P Horrizon E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 62


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

มีหองปฏิ บัติการคอมพิวเตอรที่ติดตั้งอุปกรณที่มีความทัน สมัย มี จํานวนคอมพิวเตอรที่ใหบริการ เพียงพอตอความตองการของนักศึกษา และเทคโนโลยีตางๆ ที่ทันสมัย เพื่อรองรับการใชงานและการฝกปฏิบัติ ที่สามารถนําไปใชงานไดจริง ในชีวิตการทํางานในอนาคต ซึ่งไดจัดมีการจัดการหรือจัดบริการเพื่อใหนักศึกษา มีเครื่องคอมพิวเตอรรวม Notebook และ Mobile Device ตาง ๆ ประมาณ 6,609 เครื่อง ใชในอัตราไมสูงกวา 8 FTES ตอเครื่อง ประกอบดวย เครื่องคอมพิวเตอรในหองปฏิบัติการ จํานวนทั้งสิ้น 1,925 เครื่องหองเรียน จํานวน 132 เครื่อง และมีเครื่อง Notebook และ Mobile Device จํานวน 4,552 เครื่อง ซึ่งอุปกรณเทคโนโลยี และเครื่องคอมพิวเตอร ที่ใหบริการสามารถรองรับการเรียนการสอนของนักศึกษา และการใชงานอื่นๆ เชน การใช ง านอิน เทอรเ น็ ต สื บคน ขอมู ลตา งๆ เพื่อเพิ่ม พูน ความรู ทั้ ง ทางด า นเทคโนโลยี และดา นสั ง คม ซึ่ ง ทรัพยากรที่มีอยางเพียงพอ กับเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบตางๆ เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการสนับสนุน การเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงของนักศึกษา

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 63


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 26 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรและคอมพิวเตอรที่ใหบริการแกนักศึกษา นอกจากนี้ ยังมีการนํารูปแบบการติดตอสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two-way Communication) มาใช ประกอบในระบบแนะนําวิธีการเรียน การสื่อสาร การใชเครื่องมือสื่อสาร เพื่อใชเปนเครื่องมือที่จะชวยใหผูเรียน ไดติดตอสอบถาม ปรึกษาหารือ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูเรียนกับอาจารยผูสอน และระหวาง ผูเรียนกับเพื่อนรวมชั้นเรียนคนอื่นๆ โดยเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสารอาจแบงไดเปน 2 ประเภทดังนี้ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 64


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

1) ประเภทชวงเวลาเดียวกัน (synchronous) ไดแก Chat

2) ประเภทชวงเวลาตางกัน (asynchronous) ไดแก Web-board, E-mail

ภาพที่ 27 การติดตอสื่อสารผาน Web-board E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 65


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

นอกจากนี้ ยัง มี การจัดฝก อบรมเพื่อสนั บสนุนการใชงานเครื่ อ งมือและพัฒนาความสามารถทาง เทคโนโลยีสารสนเทศใหบุคลากรในมหาวิทยาลัยเพื่อตอบรับกับนโยบาย e-University และเพื่อพัฒนา ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานของบุ ค ลากรของมหาวิ ท ยาลั ย อย า งมากมาย ดั ง โครงการพั ฒ นาบุค ลากรด า น คอมพิวเตอรเพื่อมุงสู ICDL Certificate เปนโครงการอบรมพัฒนาทักษะความรูความสามารถดานการใชงาน โปรแกรมประยุกตในสํานักงาน (Microsoft Office) ที่ไดรับการรับรองตามมาตรฐานสากล โดยการสอบวัด ความรูเพื่อรับประกาศนียบัตรของ ICDL Certified การใชงานระบบ e-Learning 1. ศึกษา และ ทบทวนเนื้อหาบทเรียน 2. ฝกปฏิบัติแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อเตรียมตัวกอนสอบ Certified จริง

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 66


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

3.4 บุคลากรสนับสนุนการผลิตสื ต ่อดิจิตอล ในนการผลิตสื่อดิจิตอลของมหหาวิทยาลัยศรีรปทุม มีหนวยงงานและบุคลาากรในการผลิต ดังตอไปนี้ - สํานักการจัดการศึ ก กษาออนไลน เปป น หน ว ยงานนกลางของมหหาวิ ท ยาลั ย ในการสนั ใ บ สนนุ น คณะวิ ช า ต า งๆในการ จั ด การศึ ก ษาาแบบ e-Learninng ทั้งการใชชงานเพื่อการสนับสนุนการรเรียนการสอนนแบบปกติในชชั้นเรียนและกการใชเพื่อสนับสนุ บ น การเรียนกการสอนทางไกกลบางสวน ปจจุ จ บันมีโครงสสรางบุคลลากรรของหนวยงานดังนี้

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 67


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

- ศูนย ICT เปปนหนวยงานใในการนําเทคโโนโลยีสารสนเเทศมาประยุกตใชในการบริรหาร จัดการ เพพื่อสนับสนุนกิจการ ของมหาวิทยาลัยและสนนับสนุนการพั​ัฒนาความเปปนเลิศทางดานเทคโนโลยี น สารสนเทศแก า สังคม เพื่อมุงสูความ C ปจจุบันมีโครงสรางบุ า คลลากรของหนวยงานดดังนี้ เปน ICT Campus

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 68


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

- ศูนยมีเดีย เปนหนวยงานที่มีหนาที่ในการผลิตใหบริการดานการผลิตงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน ใหกับหนวยงานภายในและภายนอก โดยนําเทคโนโลยี ICT มาผนวกกับเทคโนโลยีการรับสงโทรทัศน และ เทคโนโลยีการสื่อสารอันทันสมัยอื่นๆ เขาไวดวยกัน ปจจุบันมีโครงสรางบุคลลากรของหนวยงานดังนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 69


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

- คณะดิจิตอลมีเดีย เปนสวนหนึ่งของการผลิตสื่อดิจิทอลใหกับการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงของมหาวิทยาลัย ศรีปทุม ปจจุบันมีโครงสรางบุคลลากรของหนวยงานดังนี้

อธิการบดี

ณัฐกมล ถุงเงินสุวรรณ ผ.ช.คณบดี ฝายวิชาการ

ดร.กมล จิราพงษ คณบดีดิจิทัลมีเดีย

วรากร ใชเทียมวงศ ผ.ช.คณบดี ฝายกิจการนักศึกษา

ณัฐกมล ถุงเงินสุวรรณ รักษาการ.หน.สาขาวิชา การออกแบบอินเตอร แอคทีฟและเกม

วรากร ใชเทียมวงศ รักษาการ.หน. สาขาวิชาคอมพิวเตอร

ณัฎฐา พันเจริญ รักษาการ.หน. สาขาวิชาเอฟแฟกต

สํานักงานเลขานุการคณะ ธิติรัตน เจียมบุญศรี ผจก.สํานัก - สุทธินีย เตชะปรัชญา - อรวรรณ เพียจุน เจาหนาที่

นพเกลา ศรีมาตยกุล หน.สาขาวิชา ดิจิทัลอารตส

นพเกลา ศรีมาตยกุล รักษาการ.หน.สาขาวิชา การออกแบบกราฟก

แอนิเมชั่น

สาขาวิชาการออกแบบ อินเตอรแอคทีฟและเกม - นภนต คุณะนิติสาร - อรุณ อินทนนท อาจารย

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

-

สาขาดิจิทัลอารตส อติเทพ แจดนาลาว อาคม จงไพศาล สาคเรศ ลิ้มสีทอง กัณยาวีย เพชรสุข ภานุวัฒน สิทธิโชค วิชัย โยธาวงศ อาจารย

หนา 70


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ซึ่งบุคลากรในสายสนับสนุนการผลิตสื่อดิจิตอลนี้ มีบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณดาน เทคโนโลยี การออกแบบและการผลิตสื่อการเรียนการสอน จนไดรับความไววางใจและการยอมรับจากองคกร ทั้งขนาดกลางขนาดใหญ ดวยการไดรับเชิญไปเปนวิทยากรบรรยายตามสถาบันตางๆ เปนจํานวนมาก (ดูภาคผนวก ข.) ดังเชน 1. อบรมผูสอนวิชาศึกษาทัว่ ไปเรื่อง “เตรียมความพรอมกอนเปดเทอม” ในวันที่ 3 มิถุนายน 2554 ณ หองประชุมราชนครินทร ชั้น 5 อาคาร 100 ป สมเด็จพระศรีนครินทร มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช FaceBook ในการเรียนการสอน โดย ศูนยสนับสนุนและ พัฒนาการเรียนการสอน รวมกับ สํานักการจัดการศึกษาออนไลน โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย ในวันที่ 18 พฤษภาคม 2554 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการการดําเนินกิจกรรมบนเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 23 โดย สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา (UniNet) สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ในวันที่ 26 - 28 มกราคม 2554 โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 4. อบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่องการบูรณาการการใช e-Learning และ Open Source ในหนวยงานทาง การศึกษา ในวันที่ 17 มกราคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 5. การประชุมเชิงปฏิบัติการ "การดําเนินกิจกรรมบนระบบเครือขายสารสนเทศ เพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 22" ในวันที่ 28-30 กรกฎาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เขารวมประชุมและเปนวิทยากรบรรยาย 6. โครงการบรรยายพิเศษหัวขอเรื่อง “แนวโนมนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” ใน วันที่ 4 กันยายน 2553 ณ หอง 5201 อาคาร 5 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โดยเชิญ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 7. การอบรมเรื่อง Innovative e-Learning Technology ในวันที่ 15 มีนาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 8. การอบรม เรื่อง “ขอควรปฎิบัติในการทําหนาที่ Liaison Officer” ในวันที่ 10 มีนาคม 2553 ณ หอง บงกช อาคาร 10 มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย พิเศษ E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 71


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

9. จัดนิทรรศการ “NEdNET” ในสวนการจําลองหองเรียนการสอนทางไกลที่สามารถโตตอบกันได ระหวางนักเรียนมัธยมตนและมัธยมปลายจากพื้นที่ตางๆ ของประเทศไทยและสาธารณรัฐเกาหลี หรือ เกาหลีใต เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพค เมือง ทองธานี จังหวัดนนทบุรี โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 10. โครงการการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจยั “ราชนครินทรวิชาการและวิจยั ครั้งที่ 5 “ ใน วันที่ 22 -23 มิถุนายน 2554 ณ อาคารเรียนรวมและอํานวยการและพืน้ ที่ภายในมหาวิทยาลัยราช ภัฎราชนครินทร จ.ฉะเชิงเทรา โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 11. สัมมนาทางนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาเรื่อง “Social Network มีบทบาทตอการศึกษา มากกวาที่คิด” ในวันเสารที่ 22 มกราคม 2554 มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนาม จันทร โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย 12. สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทายาลัยนเรศวร หัวขอ”อุดมศึกษายุค ใหม Communicate อยางไรผาน Social Network” ในวันที่ 17 สิงหาคม 2554 ณ อาคาร ศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทายาลัยนเรศวร โดยเชิญอาจารยวรสรวง ดวงจินดา เปนวิทยากรบรรยาย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัย ยังมีทรัพยากรบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญเปนพิเศษจนไดรับการยอมรับใน ระดับนานาชาติ ดาน Moodle Course Creator สําหรับ Moodle เวอรชั่น 2 (ลาสุด) ซึ่งก็คือ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา รักษาการผูอํานวยการสํานักการจัดการศึกษาออนไลน นับเปนคนแรกของประเทศไทย (ในทุกเวอร ชั่น) ซึ่งในประเทศไทยนั้นมีผูเชี่ยวชาญในดานนี้เพียง 2 ทานเทานั้น การรับรองนี้ สามารถตรวจสอบไดจากทั่ว โลก (เขาถึงไดจาก [Online] Available: http://certificates.moodle.com/manage/view.php?code=6AZTXAUO-EIRJ-HDFM)

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 72


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

4. ดานหลักสูตรการสอน 4.1 วิธีการจัดทําและจัดหาหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดดําเนินการบริหารจัดการหลักสูตร โดยมีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรใหม การปรับปรุงและการปดหลักสูตรหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ดํ า เนิ น การตามระบบที่ กํ า หนด (ดู จ ากภาคผนวก ค.) ซึ่ ง การบริ ห ารจั ด การหลั ก สู ต รแบบอี เ ลิ ร น นิ ง (e-Learning) ไดรวมอยูกับคณะ หรือวิทยาลั ย ตน สัง กัดของสาขาหลักสูตร หรือบั ณฑิ ตวิท ยาลัยของ มหาวิทยาลัย ดวยเนื้อหาลักสูตรที่จัดทํานั้น อาจารยผูสอนประจําคณะจะเปนผูที่มีความเชี่ยวชาญและมี ประสบการณในดานศาสตรนั้นๆ เปนอยางดี จากการไดรับมอบนโยบายจากทางมหาวิทยาลัย สํานักการจัดการศึกษาออนไลน ผูรับผิดชอบดาน การจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง โดยการประชุมกลุมกับอาจารยผูสอน ศึกษาถึงความเปนไปไดใน การจัดทําหลักสูตร ธรรมชาติของหลักสูตร และไดทําวิจัยอยางงายเพื่อทดสอบตลาดการเรียนแบบออนไลน โดยการทดลองประชาสัมพันธและวิเคราะหผลตอบรับ จากการกระจายขาวสารไปยังชมรมตางๆ มีกลุม ตัวอยางประมาณ 200 คน โดยมีขอเสนอและความสนใจตางๆ ยอนกลับมาในเกณฑที่ดี 4.2 การดูแลดานคุณภาพ มาตราฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง ในการดูแลดานคุณภาพ มาตราฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิงนัน้ มหาวิทยาลัยศรีปุทมไดดําเนินการ ดังนี้ มาตรฐานหลั ก สู ต รและรายวิ ช า เป น หลั ก สู ต รที่ ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของสั ง คมและ หนวยงานจางงาน เปนหลักสูตรที่เปนที่ยอมรับการรับรองหลักสูตรโดยสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) และสํานักงานคณะกรรการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) โดยในแตละหลักสูตรที่จัดทําแบบอีเลิรนนิงจะ ประกอบดวยรายละเอียดของหลั กสูตร ไดแก โครงสรางหลักสูตร รายวิชา เนื้อหา บทเรียน กิจกรรมวิชา เอกสารประกอบการเรี ย น (หากมี ) วั น เริ่ ม เรี ย น และรายละเอี ย ดของผู ส อน เพื่ อ แสดงว า มี แ ก น สาร (Substantial) และเหมาะสมกับจํานวนหนวยกิตที่ได

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 73


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

มาตรฐานดานการออกแบบการเรียนการสอน ไดดําเนินการตามมาตรฐานหลักสูตรแบบอีเลิรนนิง โดยใชเกณฑที่มีความเปนสากล คือ หลักการออกแบบการสอน ADDIE MODEL ดังนี้

(ภาพประกอบจาก: http://202.28.17.101/prachyanun/dte/dte10/index.php?option=com_content&view =article&id=10:addie-model&catid=1:instructional-design&Itemid=34) มาตรฐานคณาจารย มีอาจารยผูเชี่ยวชาญเนื้อหา (Content Expert) ในศาสตรการสอนนั้นๆ และมี การจัดฝกอบรมและสัมมนาวิชาการใหอาจารยอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาคณาจารยในดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับ อีเลิรนนิง ไมวาจะเปนดานเทคโนโลยี ดานการออกแบบ ดานการพัฒนาคอรสแวร ดานการนําเสนอ ดานวิจัย และดานการวัดผล

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 74


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

4.3 การออกแบบการเรียนและการสอนแบบอีเลิรน นิง การออกแบบการเรียนการสอนในรูปแบบ e-Learning ผานระบบ LMS มีกระบวนการและขั้นตอน การออกแบบและพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ที่ไดตามมาตรฐานการออกแบบการเรียน การสอน (Instructional

Design) โดยมีกระบวนการและขั้นตอนในการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิก ส

(e-Courseware) ตามหลักการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ADDIE Model ดังตอไปนี้

Courseware Production Process Analysis Phase: 1 ‐ ‐ ‐ ‐

Analyze Course Analyze Content & Resource Analyze Learning Activity Analyze Constraint & Problem

Design Phase: 2 ‐ ‐ ‐

Design Courseware Presentations Design User Interface Design Learning Activity

Implementation Phase: 4 ‐ ‐ ‐

Implementation on LMS. Create Learning Activity on LMS. Test Course Ware

Evaluation Phase: 5 ‐ ‐

Course ware Quality Control (QC) Revise

Development Phase: 3 ‐ ‐ ‐ ‐ ‐ ‐ ‐

Develop Course Ware Template Develop Course Out line (TOC) Sound/VDO Record (Perhaps) Edit Sound/VDO Develop Course Ware Publish to SCORM. Develop Document Download

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 75


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

1. Analysis ขั้นตอนการวิเคราะหบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) เปนขั้นตอนแรกของ

การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) โดยขั้นตอนนี้ เปนขั้นตอนของการวิเคราะห (Analysis) องคประกอบทั้งหมดที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบ e-Learning (อีเลิรนนิ่ง) ไมวาจะเปนเนื้อหาบทเรียน ออนไลน e-Learning

(อี เ ลิ รน นิ ง ) ผู เ รี ย น วั ตถุ ป ระสงค ข องการเรี ย นการสอน วิ ธี ก ารสอน กิจ กรรม

การเรียน รวมทั้งอุปกรณ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่ใชในการเรียนการสอน โดยผูออกแบบระบบการสอน (Instructional

Designer)

ไดจัดทําแบบฟอรมรายละเอียดเนื้อหาการสอนในการผลิตสื่อขึ้น (ดูไดจาก

ภาคผนวก ง.) เพื่อใชในการตรวจรับเนื้อหาจากผูสอน โดยนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะห เพื่อเลือกกิจกรรม วิธี การสอน และสื่อที่นํามาใชในการนําเสนอในขั้นตอนการออกแบบบทเรียน ใหมีความเหมาะสมกับบริบทใน เนื้อหารายวิชานั้นๆ ตอไป 2. Design ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware)

‐ การออกแบบโครงสร า งและลั ก ษณะของบทเรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (e-Courseware) ในการออกแบบโครงสรางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) จะตองคํานึงถึงลักษณะ การใชง านและความสามารถทางการเรี ย นของผูเ รีย นที่ แตกต า งกั น ดั ง นั้น การออกแบบ หนาจอบทเรียน ควรมีการออกแบบที่ดี ตองคํานึงถึงหลักการเรียนรูของผูเรียนประกอบกับ หลักของความสวยงามเปนสําคัญ ควรมีการเลือกสี รูปภาพ กราฟค ตัวอักษรที่เหมาะสมกับ เนื้อหาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตามหลักการออกแบบ รวมทั้งการนําเสนอ บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตองมีความทันสมัย และทันตอเหตุการณเสมอ

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 76


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

Course Name

Logo

TEXT

________

________

________

Graphic

Graphi

ภาพที่ 28 ตัวอยางการออกแบบโครงสรางและลักษณะของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส ‐ การออกแบบรูปแบบการนําเสนอบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตองออกแบบใหมี ความนาสนใจ ซึ่งจะเปนสวนที่กระตุนผูเรียนใหเกิดความอยากรูอยากเรียน อีกทั้งยังลดความ นาเบื่อในการเรียนที่มีความยาวนานในการเรียน ดังนั้น ควรมีการนําเสนอที่ตื่นตาตื่นใจ ชวน ใหนาสนใจ และมีความเหมาะสมกับเนื้อหาบทเรียน จะชวยใหผูเรียนสนใจ ตั้งใจในการเรียน และเกิดความคงทนของการจําเหตุการณหรือเนื้อหาไดอีกดวย ‐ การออกแบบเนื้อหาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ในสวนของการออกแบบเนื้อหา บทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) นั้น มีลักษณะเปน Learning Object โดยบทเรียน อิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ตองไดรับการจําแนกเปนหนวยๆ เพื่อใชงายตอการเรียนรู และมีวัตถุประสงคการเรียนรูในหนวยการเรียนนั้นๆ รวมถึงเนื้อหาตองมีความถูกตอง ชัดเจน ครอบคลุมวัตถุประสงค

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 77


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

3. Development ขั้นการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) เปนขั้นตอนของการผลิต

ตามเอกสารการออกแบบเปนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน e-Learning (อีเลิรนนิง) โดยเริ่มจากเขียน Storyboard ตามเอกสารการออกแบบที่ไดรับการตรวจสอบเนื้อหาที่ถูกตองแลว การเขียน Storyboard เปน การอธิบายหนาจอของการเรียนการสอนในแตละหนาวาผูเรียนจะเห็น ไดยินหรือวามีปฎิสัมพันธอะไรกับ บทเรียนออนไลน Online e-Learning (อีเลิรนนิง) บาง Storyboard จะเปนเครื่องมือในการทํางานของทีม กราฟก ทีมตัดตอเสียง/ภาพ และเจาหนาที่ผลิตสื่อในการผลิตบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) และ บทเรียนออนไลน Online e-Learning (อีเลิรนนิง) ที่เสร็จสมบูรณ ตลอดจนตองไดรับการตรวจสอบความ ถูกตองและรูปแบบที่ตองการสื่อความหมายจากผูที่มีความเชี่ยวชาญดานเนื้อหากอนมีการนําไปใชงานจริง

Log

Course Name

TEXT

________

Graphic

________

________

ภาพที่ 29 ตัวอยางการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส ทางสํานักการจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดใชโปรแกรม Adobe Flash เปนหลักใน การผลิตสื่อลักษณะดังกลาว การถายทอดเนื้อหาในสื่อการเรียนจึงอยูในระดับ High Quality Online Course เปนสื่อที่อยูในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ มีการปฏิสัมพันธกับผูเรียน สามารถชวยในการถายทอด เนื้อหาไดใกลเคียงกับการสอนจริงของครูผูสอนโดยสมบูรณได

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 78


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

การผลิตตองใชทีมงานในการผลิตที่ประกอบดวย 1. ผูเชี่ยวชาญเนื้อหา ผูเชี่ยวชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) 2. ผูเชี่ยวชาญการผลิตมัลติมีเดีย (multimedia experts) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมเมอร (programmers) 3. นักออกแบบกราฟค (graphic designers) และ/หรือผูเชี่ยวชาญในการผลิตแอนิเมชั่น (animation experts) เปนตน 4. Implementation ขั้นตอนการนําบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) ไปใช ขั้นตอนนี้เปนสวน หนึ่ ง ของการนํ า บทเรี ย นอิ เ ล็ก ทรอนิก ส (e-Courseware)

ไปใชใ นการเรีย นการสอน โดยนํา บทเรีย น

e-Learning (อีเลิรนนิง) ขึ้นในระบบ LMS จากนั้นทําการตรวจสอบการใชงานของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) และระบบ LMS พรอมกับมีฝายเทคนิค รวมทั้งผูชวยสอนใหการชวยเหลือผูเรียนในการใช งานบทเรียนออนไลน (Online e-Learning) ไมวาจะเปนดานโปรแกรมหรือวาเครื่องมือการใชงานบทเรียน e-Learning (อีเลิรนนิง) ในการทดลองใชงานนี้ผูเรียนจะตองทําแบบประเมินบทเรียน เพื่อนําขอมูลที่ไดไปแกไข ปรับปรุง กอนนําไปใชงานจริงโดยมีแบบประเมินบทเรียนที่มหาวิทยาลัยใชในการประเมินผลดังนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 79


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

แบบประเมินบทเรียน หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต แบบ e-Learning บทเรียน วิชา................................................................................สําหรับนักศึกษาระดับ....................................... อาจารยผูสอน...................................................................................................................................................... แบบประเมินนี้ประกอบไปดวยการประเมิน 2 สวนคือ สวนที่ 1 ประเมินดานคุณภาพของสื่อ สวนที่ 2 ประเมินทางดาน องคประกอบโดยรวม มีการเกณฑการใหคะแนนระดับความเหมาะสมของคุณภาพของบทเรียน ดังนี้ 5 หมายถึง อยูในระดับ ดีมาก หมายถึง อยูในระดับ ดี 4 3 หมายถึง อยูในระดับ ปานกลาง 2 หมายถึง อยูในระดับ พอใช 1 หมายถึง อยูในระดับ ควรปรับปรุง คําชี้แจง ขอใหทานพิจารณาตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนโดยทําเครื่องหมาย 9ลงในชองตามความคิดเห็น สวนที่ 1 คุณภาพของสื่อ ระดับความเหมาะสม ลําดับ หัวขอการประเมิน 5 4 3 2 1 1. ลักษณะการใชงานของบทเรียน 1.1 ความสะดวกและรวดเร็วในการเขาใชเนื้อหา 1.2 ความหลากหลายของรูปแบบในการนําเสนอเนื้อหา 1.3 การเรียงลําดับและการจัดวางองคประกอบของเนื้อหาสะดวกตอการเรียน 1.4 ความเหมาะสมของเครื่องมือชวยอํานวยความสะดวกในการเรียนรู เชน ปุมนําทาง ตางๆ การลงทะเบียน 2. ปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับบทเรียน 2.1 ชองทางการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับบทเรียนผานเครื่องมือที่ไดจัดเตรียมไว ให เชน กระดานสนทนา, e-mail 3. เนื้อหาและการนําเสนอเนื้อหาในบทเรียน e-Learning 3.1 การนําเสนอบทเรียน - การนําเสนอเนื้อหามีความกระชับ ไมยืดเยื้อ - รูปภาพ มีความชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา - เสียง มีความชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา - VDO มีความชัดเจน สอดคลองกับเนื้อหา E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 80


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ลําดับ

ระดับความเหมาะสม 5 4 3 2 1

หัวขอการประเมิน

3.2 ความสอดคลองของเนื้อหากับวัตถุประสงคในรายสัปดาห 3.3 ความเหมาะสมของรูปแบบในการนําเสนอเนื้อหา 3.4 ความเหมาะสมของจํานวน กิจกรรมประกอบการเรียนการสอนรายสัปดาห 3.5 ความสะดวกในการเขาใชคูมือ และคําแนะนําวิธีใชบทเรียน รูปแบบการจัดวาง หัวขอการบรรยาย เพื่อความสะดวกตอการเรียนรูเนื้อหารายวิชาในหัวขอยอย ตางๆ สวนที่ 2 องคประกอบโดยรวม ลําดับ

ระดับความเหมาะสม 5 4 3 2 1

หัวขอการประเมิน

1. การออกแบบหนาจอเว็บไซตบทเรียนหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต 1.1 การจัดวางองคประกอบหนาจอ งายตอการใชงาน 1.2 รูปแบบเมนู มีความสะดวกตอการใชงาน 1.3 การออกแบบและจัดวาง -

ปุม มีความเหมาะสม เห็นไดชัดเจน

-

สัญรูป มีความเหมาะสม เห็นไดชัดเจน

-

ขอความ มีความเหมาะสม เห็นไดชัดเจน อานงาย

-

รูปภาพเหมาะสมสื่อสารกับผูใชไดอยางเหมาะสม

1.4 ความเหมาะสมของ ขนาด และสีของตัวอักษร ความคิดเห็นเพิ่มเติม ทานคิดวาคุณภาพของบทเรียนโดยรวมอยูในเกณฑใด ดีมาก

ดี

พอใช

ปรับปรุง

ขอเสนอแนะเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 81


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

5. Evaluation ขั้นการประเมินผลบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) เปนขั้นตอนสุดทาย คือ ประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน Online e-Learning (อีเลิรนนิง) ที่ผลิตขึ้นมาโดยอาจารยผูสอนและ คณะกรรมการเปนผูตรวจสอบความถูกตองของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส (e-Courseware) โดยขั้นตอนและแบบ ประเมินผลบทเรียน ดังนี้

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 82


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

Flow Chart ขั้นตอนการประเมินสื่อการสอน ดังนี้ ผูรับผิดชอบ

อาจารยผสู อน

คุณสิริยากร/คุณณิชชา (ผูตรวจประเมินสื่อ)

คุณสุนทร/คุณธีรศานต (ทีมผลิตสื่อ)

คุณสุนทร/คุณธีรศานต

ตรวจสอบคุณภาพเบื้องตน ตัวอักษร

กระบวนการ

รูปภาพประกอบ

ตรวจสอบตามที่ไดรับ

ปรับแกตามที่ไดรับ

Upload ไฟลที่ได

ขอเสนอแนะ พรอมทั้ง

การเสนอแนะ

ปรับแกแลวขึ้นสูระบบ Moodle

ตรวจสอบเพิ่มเติม

เอกสารแนบ

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 83


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554CODE : C2

แบบฟอรม ตรวจสอบคุณภาพเนื้อหาหลังการผลิตสื่อในรูปแบบดิจิตอล จากผูเชี่ยวชาญ (อาจารยผูสอน) สํานักการจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม หลักสูตร ............................................................... วิชา ..................................................... คณะ .............................................. ภาคการศึกษา .............. ปการศึกษา ............. การบรรยายครั้งที่ ....................... หัวขอ ............................................................ วันที่รับมอบงาน ........../........../........... อาจารยผูสอน ........................................................................ ผูประสานงาน ..................................................................... ตรวจสอบความถูกตอง และคุณภาพของเนื้อหาหลังการผลิตสื่อในรูปแบบดิจิตอล เพื่อยืนยันความถูกตอง หรือดําเนินการ ปรับแก ตรวจสอบเนื้อหา [ ] ยืนยันความถูกตองการนําเสนอสื่อในรูปแบบดิจิตอล การปรับแก ( 20 % ของเนื้อหาการบรรยายและไมเกิน 3 ครั้ง ) [ ]

การปรับแกครั้งที่ 1

[ ] การปรับแกครั้งที่ 2

หัวขอการประเมิน

1.

[ ] การปรับแกครั้งที่ 3 ระดับมาตรฐานของบทเรียนดานเนื้อหา ผาน ไมผาน หมายเหตุ

การออกแบบสื่อบทเรียน 1.1 ความเหมาะสมของสื่อการนําเสนอ 1.2 การเชื่อมโยงเนื้อหามีความสะดวกตอการเรียน 1.3 การออกแบบ ขอความ รูปภาพ วีดีทัศน ภาพเคลื่อนไหว ความเหมาะสม ความสมบูรณในการออกแบบ 1.4 การใชสีของพื้นหลังและสีตัวอักษร มีความตัดกัน อยาง เหมาะสม ไมระคายเคืองตอสายตา 1.5 การจัดวางหัวขอเรื่อง เนื้อหา และ ปุมควบคุมตาง ๆ ให เหมาะสม 1.6 มีการเนนขอความที่สําคัญดวยสี หรือ ขนาด ที่แตกตาง 1.7 ขอความแตละหนามีความยาวที่เหมาะสม

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 84


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ตารางแจกแจงรายละเอียดการแกไขงาน

ชวงระยะเวลา หรือ สไลดบรรยายที่

เสียงประกอบ

ภาพประกอบ

วิดีโอประกอบ

อื่น ๆ

ตารางแจกแจงรายละเอียดการแกไขงาน ชวงระยะเวลา หรือ สไลดบรรยายที่

เสียงประกอบ

ภาพประกอบ

วิดีโอประกอบ

อื่น ๆ

อาจารยผูสอนประจําวิชา

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

(...................................................................) ................................................................... วันที่ ........../........../.......... หนา 85


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

นอกจากการผลิตบทเรียนขางตนแลว ยังไดมีการผลิตสื่ออีกประเภทหนึ่ง เปนการบันทึกการเรียน การสอนในหองเรียนเพื่อนํามาใชเปนสื่อเสริมใหกับผูเรียนในการทบทวนเนื้อหาบทเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้ วิธีการผลิตแบบเดิม ทางสํานักการจัดการศึกษาออนไลนใชโปรแกรม Camtasia Studio ในการบันทึกการเรียนการสอนใน หองเรียน เสร็จแลวนําไฟลที่ทําการบันทึกมาปรับแตงเสียงและเพิ่มตารางเนื้อหา (TOC) เพื่องายตอนักศึกษา ในการเลือกเรียนเนื้อหาไดตามอัธยาศัย ขอจํากัดของการบันทึกการเรียนการสอนดวยโปรแกรม Camtasia Studio คือ เรื่องของการสิ้นเปลือง เวลาและบุคลากรที่จะทําการนําไฟลที่บันทึกการเรียนการสอนจากหองเรียนมาทําการผลิตแลวนําขึ้นระบบ ซึ่ง มีไฟลจํานวนมากการผลิตมีความลาชาเนื่องจากจํานวนบุคลากรที่มีอยู ทําใหเนื้อหาที่ผลิตไมสามารถนําขึ้น ระบบไดตามเวลาที่กาหนดไว

วิธกี ารผลิตแบบใหม (อยูในขั้นตอนการดําเนินการ) ทางสํานักการจัดการศึกษาออนไลน ไดทําการทดสอบโปรแกรม Camtasia Relay ซึ่งเปนโปรแกรมที่ งายในการบันทึกสื่อการเรียนการสอนและยังสามารถนําขึ้นระบบไดทันตามเวลาที่กาหนด โดยการทํางานของ Camtasia Relay โดยการบันทึกจะทํางานอยูบนเครื่องของผูนําเสนอ หรือผูสอนจากนั้นจะทําการสงไฟลขึ้นไป ยังเครื่อง Server เพื่อทําการ Produce ไฟล แลวทําการเผยแพรไปยังจุดหมายปลายทางที่เราตองการไดแบบ อัตโนมัติ ทําใหการผลิตสื่อดวยโปรแกรมนี้ใชบุคลากรที่เกี่ยวของคอนขางนอยในระยะยาว ขอดี โปรแกรม Camtasia Relay เปนโปรแกรมที่จะบันทึกและทําการเผยแพรการบรรยายหรือ การนํ าเสนอของอาจารย ผูสอน เนื้ อหาที่อาจารย ผูสอนทํ า การสอนในห อ งเรี ย นหรือวิ ทยากรอบรมใหกับ บุคลากรไดทุกที่ทุกเวลา ไมวาจะเปนหองเรียน หองประชุม โตะทํางาน หรือแมกระทั่งที่บานของเราเอง และ สามารถนําขึ้นระบบไดทันเวลาที่ตองการ

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 86


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 30 ตัวอยางการทํางานของโปรแกรม Camtasia Relay

ภาพที่ 31 System Architecture ของระบบ

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 87


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 88


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 32 บทเรียนทีบ่ ันทึกดวยโปรแกรม Camtasia Relay

ในการผลิตสื่อการเรียนนั้น มหาวิทยาลัยศรีปทุมยังไดมีการบริการวิชาการตอสังคม จากโครงการ พัฒนาคอรสแวรดานเทคนิคการจัดการเรียนการสอนสําหรับคณาจารยในระดับอุดมศึกษา โดยเครือขาย ภาคกลางตอนบน (ดูอางอิงจากภาคผนวก จ.) มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดเปนสวนหนึ่งในการผลิตคอรสแวร โดย สํานักการจัดการศึกษาออนไลนรวมกับคณะดิจิตอลมีเดีย พัฒนาคอรสแวร ใน Module 1 : เทคนิคการสอน ที่ไมใชการบรรยาย หัวขอ Project-based Learning จนไดรับคําชื่นชมและไดรับการคัดเลือกเปนสื่อตัวอยาง ในการนําเสนอตอแมขายผูดูแลการผลิตสื่อ (โครงการดังกลาวยังอยูระหวางการดําเนินการ)

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 89


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 90


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 33 ตัวอยาง สื่อ Project-based Learning

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 91


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

4.4 การจัดการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิง ปจจุบันการจัดการเรียนและการสอนแบบอีเลิรนนิงของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดนํา e-Learning ไปใช ประกอบการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. สื่อเสริมการเรียนการสอน (Supplementary) หรือการนําเนื้อหาบทเรียน ไปใชในลักษณะของ สื่อเสริมการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเขาเรียนไดตามอัธยาศัย หรือกลับไปเรียนทบทวนไดเมื่อไมเขาใจ เปนการจัดหาทางเลือกใหมอีกทางหนึ่งสําหรับผูเรียนในการเขาถึงเนื้อหาเพื่อใหประสบการณพิเศษเพิ่มเติมแก ผูเรียน โดยการจัดการเรียน e-Learning แบบสื่อเสริม เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในระบบปกติ โดยมี สํ า นัก การจัด การศึ ก ษาออไนลนร ว มกับ สํ า นั ก การจั ด การศึก ษาทั่ ว ไปร ว มกั น ดู แ ลเนื้อ หาวิช าที่จ ะช ว ยให การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในทุกๆ รายวิชา โดยเฉพาะในวิชาที่มีปญหาในการเรียนรูของนักศึกษา เชน วิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร ฟสิกส และเคมี เปนตน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 92


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 34 ตัวอยางบทเรียนที่ใชเปนสื่อเสริม ในระบบ LMS Moodle

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 93


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

2. สื่ออีเลิรนนิงเติมเต็มการเรียน (Complement) เทียบเคียงไดกับการเรียนการสอนแบบ ผสมผสาน (Blended/Hybrid) ซึ่งหมายถึง การใชอีเลิรนนิง (e-Learning) เปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวน การเรียนการสอน นอกจากการบรรยายในหองเรียนแลว ยังออกแบบเนื้อหาใหผูเรียนเขาไปศึกษาเนื้อหา เพิ่มเติมจาก e-Learning โดยเนื้อหาที่ผูเรียนเรียนจาก e-Learning อาจารยผูสอนไมจําเปนตองสอนซ้ําอีก แต สามารถใชเวลาในชั้นเรียนอธิบายในเนื้อหาที่เขาใจไดยาก คอนขางซับซอน หรือเปนคําถามที่มีความเขาใจผิด บอย ๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใชเวลาในการทํากิจกรรมที่เนนใหผูเรียนไดเกิดการคิดวิเคราะหแทนได โดยสื่อที่ ใชในการจัดการเรียนแบบนี้ ผลิตโดยโปรแกรม Adobe Flash เปนหลัก เปนบทเรียนที่นําเสนอในลักษณะสื่อ หลายมิติ มีการปฏิสัมพันธกับผูเรียน สามารถชวยในการถายทอดเนื้อหาไดใกลเคียงกับการสอนจริงของ อาจารยผูสอนโดยสมบูรณได ซึ่งสื่อนี้จะมีความนาตื่นเตนชวนใหศึกษามากกวาบทเรียนปกติ เนื่องจากตอง จัดทําอยางพิถีพิถันและยอยเนื้อหาใหชัดเจนกระจางตอความเขาใจโดยงาย เพื่อการเรียนรูดวยตนเอง

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 94


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ภาพที่ 35 ตัวอย ว างบทเรียนสื น ่อเติมเต็มกาารเรียน ในระบบบ LMS Mooodle ห อแบบผสมผสาน ในนการจัดการเรีรียนการสอนใในแบบสื่ออีเลิรนนิงเติมเต็มการเรียน (Coomplement) หรื (Blendedd/Hybrid) นี้ มหาวิทยาาลัยศรีปทุมไดดมีหลักสูตรทีที่กําลังดําเนินการเป น ดรับสมัครการเรียนแบบ น ผสมผสานนในหลักสูตรนินิติศาสตรมหาบัณฑิตแลว และยั แ งไดเริ่มการจั ก ดหลักสูตรอบรมออนไลลนกับคณะบัญชี ญ ซึ่ง เปนหลักสูตรระยะสั้น 6 รายวิชา ซึ่งได ง มีการเริ่มบันทึกการสอนนในชวงเดือนธธันวาคม 25553 ที่ผานมา และมี ขอตกลงเบืบื้องตนเพื่อกาารดําเนินการในหลักสูตรมหหาบัณฑิตดานบริ น หารธุรกิจแล แ ว (ดูภาคผนนวก ฉ.)

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 95


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ภาพที่ 36 การเรียนแแบบผสมผสานในหลักสูตรนินิติศาสตรมหาาบัณฑิตแบบอีอีเลิรนนิง

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

หนา 96


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

สําหรับกิจกรรมในระบบจัดการเรียนการสอน Learning Management System (LMS)แบบ Blended/Hybrid นั้น จะประกอบไปดวยกิจกรรมที่มีปฏิสัมพันธกับผูเรียนโดยเนนผูเรียนเปนจุดศูนยกลาง การเรียนรู ประกอบดวย o ประมวลผลรายวิชา o บทคัดยอรายวิชา o บทคัดยอประจําสัปดาห o เนื้อหาประจําสัปดาห o เอกสารประกอบการบรรยาย o กิจกรรมการเรียนการสอน • กระดานถามตอบอาจารยประจําสัปดาห • กระดานสนทนาระหวางผูเรียน • แบบทดสอบ • การบาน นอกจากการจัดการเรียนการสอนทั้ง 2 แบบแลว มหาวิทยาลัยศรีปทุมจะทําหลักสูตรอีเลิรนนิงที่คืน กําไรใหสังคม เชน การสอนภาษาอังกฤษ การอบรมคอมพิวเตอร การใชซอฟแวรอยางงาย หรือเนื้อหาตางๆ ที่ คิดวามีประโยชนตอสังคมซึ่งทุกคนสามารถเขามาเรียนรูไดฟรี

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 97


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

4.5 การประเมินการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิงในรายวิชาตางๆ ทั้งที่เปนในลักษณะ ของสื่อเติมเต็มและสื่อเสริม การประเมินการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง จึงเปนสวนประกอบสําคัญที่จะทําให การเรียนแบบอีเลิรนนิงเปนการเรียนที่สมบูรณแบบและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามกระบวนการเรียนรูของ ผูเรียน ดังนั้นการเรียนแบบอีเลิรนนิงของมหาวิทยาลัย จึงมีวิธีการประเมินผลผูเรียน ดังนี้ - การประเมินดวยแบบทดสอบ เปนการประเมินการเรียนรูของผูเรียนดวยตนเองในอีเลิรนนิง โดยการทําแบบทดสอบกอนเรียน และ แบบทดสอบหลังเรียน โดยแบบทดสอบออนไลนนี้ อาจารยผูสอนจัดทําไวในระบบ เมื่อผูเรียนเขาเรียนแตละ รายวิชาก็มีแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนใหผูเรียนทํา โดยระบบบริหารการเรียน Moodle จะเรียกขอสอบที่จะใชมาจากระบบบริหารคลังขอสอบ (Test Bank System) และเมื่อทําแบบทดสอบเสร็จสิ้น ทางระบบจะทําการประเมินผลการสอบใหผูเรียนทราบทันที หรืออาจปรับระบบใหผูเรียนทราบในภายหลังก็ได ซึ่ ง การประเมิ น ดว ยแบบทดสอบนี้ จะเป น สว นย อยที่ร วมอยู ใ นระบบบริห ารจั ด การเรี ย นการสอน (LMS) Moodle ที่มหาวิทยาลัยใชอยูนั่นเอง

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 98


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 37 แบบทดสอบกอนเรียนในระบบบริหารจัดการเรียนการสอน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 99


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 38 หนาเพจของผลคะแนนการทําแบบทดสอบกอนเรียนของผูเรียน โดยระบบคลังขอสอบนี้ มีขอดี คือ -

ระบบการสรางขอสอบเพื่อการประเมินผลผูเรียนทําไดงา ย

-

ควบคุมเวลาการสอบไดงาย

-

สามารถใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) คะแนน ผลการสอบใหแกผูเรียนไดงายและรวดเร็ว

-

มีระบบจัดเก็บขอมูล และติดตามการเรียน (Tracking) และทํากิจกรรมตางๆของผูเรียน สําหรับนํามาวิเคราหขอมูลภายหลังได

-

สามารถนําขอมูล จากสถานการณตางๆ ทีอ่ ยูในระบบเครือขายอินเทอรเน็ตมาใชสราง ความนาสนใจในการเรียนการประเมินผลได

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 100


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

5. การสนับสนุนอาจารย 5.1 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการผลิตสื่อดิจิตอล มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดสนับสนุน สงเสริมใหอาจารยทุกทานมีคอมพิวเตอร Notebook ใชงาน เพื่อใช ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของตนเอง ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยที่มุงสูการเปนมหาวิทยาลัยชั้นนํา ดาน ICT ดวยการจัดโครงการใหกูยืมเงินซื้อ Notebook สําหรับอาจารย และมีหนวยงานตางๆ ในการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกแกอาจารยผูสอนดานการผลิตสื่อ ดิจิตอล โดยมีสํานักการจัดการศึกษา คณะดิจิตอลมีเดียออนไลน และศูนยมีเดีย ใหบริการผลิต Content ใน รูปแบบสื่อ Multimedia อีกทั้งยังบริการใหคําปรึกษาในการออกแบบและผลิตสื่อดิจิตอล และมีศูนย ICT ใหบริการแปลงไฟล (Convert) และตัดตอวิดีโอ (VDO) การสอนของอาจารย เพื่อผลิตเนื้อหา (Content) ใน รูปแบบของสื่อ Digital & Multimedia อีกดวย มี ก ารพั ฒ นาอาจารย ผู ส อนในการผลิ ต สื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถ และมี ค วามพร อ มใน การดําเนินการ โดยมีผูเชี่ยวชาญทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยมาเปนวิทยากรบรรยายแลกเปลี่ยนเรียนรู ใน รูปแบบตางๆ ทั้งการฝกอบรม การสัมมานาวิชาการ และการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อใหการศึกษาแบบ e-Learning ของมหาวิทยาลัยศรีปทุมเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพสูง ดังตอไปนี้ โครงการ ฝกอบรม “การพัฒนาสื่อการสอนและติดตั้งใชงานผานระบบการจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ” เพื่อใหการพัฒนาระบบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน ภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุม มีศักยภาพ สูงสุด การพัฒนาสื่อการเรียนที่มีคุณภาพ จึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญเปนอยางมาก แตดวยรูปแบบการพัฒนา ที่แตกตางกันออกไปจึงทําใหไดคุณภาพของสื่อที่มีคุณภาพแตกตางกัน โดยเครื่องมือที่ใชในการพัฒนานั้นก็จะ มีระดับความยากงายในการใชงานที่แตกตางกันออกไปดวยเชนกัน ดวยตระหนักถึงปญหาดังกลาว สํานักการ จัดการศึกษาออนไลน จึงมีแนวคิดในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ดวยการผสมผสานจากเครื่องมือที่มี คุณสมบัติที่งายตอการใชงาน ทําใหสามารถพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพไดในระยะเวลาอันรวดเร็ว เพื่อลดระยะเวลาในการทํางานและสรางความสะดวกสบายในการพัฒนาเนื้อหาของทานคณาจารย สํานักฯ จึงจัดการบรรยายประจําเดือนมีนาคม 2554 ในหัวขอ “การพัฒนาสื่อการสอนและติดตั้งใชงานผานระบบ การจัดการศึกษาออนไลน มหาวิทยาลัยศรีปทุม” เพื่อสรางทางเลือกในการพัฒนาสื่อในดานตางๆ ของคณาจารย ภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุม ใหมี ความสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และไดสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ เพื่อประกอบการบรรยาย และนํา ขึ้นสูระบบเพื่อเสริมในการเรียนการกสอนในกิจกรรมตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 101


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

วิทยากรผูบรรยาย ‐ อาจารยวรสรวง ดวงจินดา ‐ นางสาวปทมา เหมียนคิด

รักษาการผูอํานวยการสํานักการจัดการศึกษาออนไลน Senior Instructional & Content Designer

การฝกอบรมการใชงานโปรแกรมบันทึกการสอนและเขาใชงานระบบ e-Learning การจั ด ฝ ก อบรมการใช ง านโปรแกรมบั น ทึ ก การสอนและเข า ใช ง านระบบ e-Learning ของ มหาวิท ยาลัย ศรี ปทุ ม ให แกอาจารย เ ขาใหม เพื่อใหรับ ทราบในนโยบายการบัน ทึ กการสอนและสามารถ ดําเนินการผลิตสื่อใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ในวันปฐมนิเทศบุคลากรใหมในแตละเดือน โดยมีคุณอชิรญา ทาบโลหะ เปนวิทยากร โครงการโปรแกรม Moodle เพื่อผลิตคลังขอสอบ เมื่อวันที่ 8-11 กุมภาพันธ 2554 สํานักงานวิชาการ ไดมีการจัดฝกอบรมโปรแกรม Moodle เพื่อผลิต คลังขอสอบ แกอาจารยผูสอน แนะนําการเขาใชงานระบบ e-Learning และระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS) Moodle และระบบ Moodle Test Bank การสรางขอสอบและการวิเคราะหผลสอบ 5.2 การสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการออกแบบการสอนอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุมไดมีการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกดานการออกแบบการสอนอีเลิรน นิง ของอาจารยผสู อน ดังนี้ ในการออกแบบการสอนแบบอี เ ลิ ร น นิ ง อาจารย ผู ส อนในแต ล ะรายวิ ช า จะมี นั ก ออกแบบระบบ การสอน สังกัดสํานักการจัดการศึกษาออนไลน คอยชวยเหลือ สนับสนุนและอํานวยความสะดวกอาจารย ผูสอนในการวางแผนจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิง และแนะนําแนวทางในการออกแบบการเรียนการสอน สําหรับอาจารย ไมวาจะเปนการออกแบบการจัดกิจกรรมในรายวิชา การออกแบบและเลือกใชเครื่องมือตางๆ บนอินเทอรเน็ตมาใชในการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการประเมินผลผูเรียน

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 102


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

5.3 การพัฒนาอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิง มหาวิทยาลัยศรีปทุม ไดมีการจัดฝกอบรมอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิงอยางสม่ําเสมอ ซึ่ง การพัฒนาอาจารยดานการสอนแบบอีเลิรนนิง โดยการฝกอบรมนั้น เปนกิจกรรมที่สําคัญ ที่ชวยใหคณาจารย ไดมีโอกาสเพิ่มพูนความรู ทักษะและประสบการณ รวมทั้งปรับปรุง เจตคติ และเทคนิคตางๆ ในการเรียน การสอน ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพของนักศึกษา ดังโครงการตอไปนี้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเทคนิคการสอนแบบมืออาชีพ การจัดฝกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการสอน ดวยโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการสอนแบบมือ อาชีพ จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม 2554 ณ หองคอนเวนชั่น อาคาร 11 โดยมีรองศาสตราจารย ดร.พิมพันธ เดชะคุปต และ รองศาสตราจารยพเยาว ยินดีสุข

ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา

คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เปนวิทยากร เพื่อใหอาจารยมีทักษะในการจัดการเรียนการสอน อยางมีประสิทธิภาพและนําไปใชในการออกแบบการสอนแบบอีเลิรนนิงอีกดวย

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 103


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 39 บรรยากาศการฝกอบม โครงการเสริมใหคณาจารยมีความรูและความเชีย่ วชาญทางดานการเรียนการสอน เมื่อวันที่ 2 - 3 มิถุนายน 2554 สํานักงานวิชาการและสํานักการจัดการศึกษาออนไลน จัดโครงการ อบรม เรื่อง การใชโปรแกรม Camtasia Relay รวมกับ โปรแกรม Moodle ในการบันทึกการเรียนการสอน เพื่อ พัฒนาไปสูระบบการจัดการเรียนรูดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Learning)

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 104


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

นนอกจากโครงกการฝกอบรมแลลว สํานักการจจัดการศึกษาอออนไลน มหาวิวิทยาลัยศรีปทุทม ไดดําเนินการให ก อาจารยของมหาวิ อ ทยาลลัยศรีปทุม ไดรับบัญชีผูใช Login L เขาสูระบบ ะ รายวิชาเเรียนตามอัธยาศัย เกิดการเรียนรู ตลอดชีวิต และคูมือ “แแหลงทรัพยากกรการเรียนรู” จากโครงกาารมหาวิทยาลั​ัยไซเบอรไทย (TCU) ทําให ใ เกิด ประโยชนมากมายในกา ม ารพัฒนาตนเอองของอาจารยยผูสอน ซึ่งสงผลต ผ อคุณภาพพของนักศึกษาาอีกดวย

ย ธยาศัศัย ภาพที่ 40 หนาเว็บไซตโครงกการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทยย (TCU) การเเขารายวิชาเรียนตามอั

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

ห า 105 หน


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

6. การสนันับสนุนนักศึกษา ก 6.1 ระะบบแนะนําวิธีกี ารเรียน การสื ก ่อสาร การใชเครื่องมืมือสื่อสาร การศึกษาแบบ e-Learning (อี ( เลิรนนิง) จําเป า นตองมีบริการสนับสนุนพิ น เศษมหาวิทยาลั ท ยศรีปทุมจึ ม งได มีระบบที่เรี เ ียกวา “โตะให ใ ความชวยเหหลือ (Help Desk)” หรือ “ศูนยรับโทรศัศัพท (Call Center)” เบอรติติดตอ ภายใน 33333 ใหนักศึกษาสามารถอี ษ เมล ม หรือโทรศัพท พ ขอความชวยเหลื ว อไดตลออดเวลา มีระบบแนะนําวิธิ ีการเรียนแบบบอีเลิรนนิง โดยได โ จัดทําเปปนคูมือแนะนํนําวิธีการเรียนแบบอี น เลิรนนิงไว ง ใน ห ดการเรียนการสอน ย ( (LMS) ของมหาวิทยาลัยโดยเข โ า ไปที่ http://elearnin h ng.spu.ac.th/ หรือ ระบบบริหารจั สามารถเขขาถึงไดจากหนนาเว็บมหาวิทยาลั ท ย หัวขอ นักศึกษา เลือก อ คูมือการใชชงานบทเรียนสํสําหรับนักศึกษา ษ

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

ห า 106 หน


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

ภาพที่ 411 หนาเพจคูมือแนะนํ อ าการใชชงานเครื่องมือ และวิธีการเเรี​ียนแบบอีเลิรรน นิง นนอกจากแนะนํนาวิธีการเรียนแแบบอีเลิรนนิงที ง ่จัดทําไวบนระบบบริ น หารจจัดการเรียนการสอน (LMSS) แลว ยังมีการประชาสัมพันธการเขาใชงานนระบบอีเลิรนนิงเพื่อทบทวนนเนื้อหาบนสื่อ Digital Signnage ตามจุดต ด างๆ ท ย ดวยรูปแบบการนํ ป าเสสนอที่โดดเดน สวยงาม ชวยสร ย างความดึดึงดูดใจในการรรับชม และยังทํ ง าให ทั่วมหาวิทยาลั สามารถกกระจายขาวสาารไดเปนวงกวาง แสดงใหเห็นถึงความพพรอมในดานตางๆ ไมวาจะเปน Technology และความใสใจในการใหหขอมูลสนับสนุนแกนักศึกษา ษ

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

ห า 107 หน


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

ภาพที่ 42 การประชาสัมพันธการเขาใชงานระบบอีเลิรนนิงบนสื่อ Digital Signage

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 108


โครงการประกวดการจัดระบบอีเลิรนนิง ในระดับอุดมศึกษา ประจําป 2554

6.2 ระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบประสานเวลา (Synchronous/Real-Time) มีระบบสนับสนุนและใหคําแนะนําแกนักศึกษาแบบประสานเวลา เพื่อใหคําแนะนํา คําปรึกษา ถาม ตอบปญหาขอของใจของนักศึกษา ในลักษณะที่นักศึกษาและอาจารยผูสอนอยูรวมกันในเวลาเดียวกัน โดย ผานการสนทนาออนไลน ดวยหองสนทนาสด และ My Messenger บนระบบ LMS Moodle โดยระบบ สนับสนุนและใหคําแนะนําออนไลนนี้ เปนผลดีแกนักศึกษาที่ไมกลาแสดงความคิดเห็น หรือไมกลาถามขอ สงสัยในชั้นเรียน และเพื่อเปนเกร็ดความรูเพิ่มเติมนอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน

ภาพที่ 43 ตัวอยางการสนทนาออนไลนบน My Messenger ของระบบ LMS Moodle

E&O.E (ERRORS & OMISSIONS EXCEPTED) Copyright 2011, Sripatum University. All rights reserved.

หนา 109


โครงการประะกวดการจัดระบบบอีเลิรนนิง ในนระดับอุดมศึกษา ษ ประจําป 25554

6.3 ระบบสนับสนุนุนและใหคําแนะนํ แ าแกนักศึ ก กษาแบบไไมประสานเววลา (Asynchrronous) โ านเครื่องมื ง อที่เรียกวา มีระบบสนับสนุนุนและใหคําแนนะนําแกนกั ศึกษาแบบไมประสานเวลา โดยผ ก งสามารถถบันทึกความรู ความกาวหนนาในการเรียน สะทอนความมคิด Webboarrd, E-mail นออกจากนีน้ ักศึกษายั ลงบน Weeblog หรือ Bloog ไดอีกดวย

ภาพที่ 44 Webbboard ในรายวิวิชา สําหรับผูเรี เ ยนพูดคุย ซั​ักถาม อาจารยยผูสอน ‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐‐ สิ้นสุดเอ อกสาร

E&O.E (ERRRORS & OMISSIO ONS EXCEPTED) Copyright 20011, Sripatum Unniversity. All rightts reserved.

ห า 110 หน


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.