“ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม เพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน”

Page 1

รายงาน ของ คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วม และรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม เพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน”

สานักกรรมาธิการ ๒ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าทีง่ านเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ



คำนำ คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ มีอานาจหน้าที่ออกแบบระบบ กลไก วิธีการรับฟังความเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการปฏิรูป และการยกร่างรัฐธรรมนูญ ดาเนินการให้มีการรับฟังความเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนต่ อการปฏิรูป และการยกร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมประชาชนทุกภาคส่วน รวบรวมและสังเคราะห์ความเห็นและการมี ส่วนร่ วมของประชาชนต่อการปฏิรู ปหรือยกร่างรัฐธรรมนูญเสนอต่อคณะกรรมาธิการวิส ามัญประจาสภา ปฏิรูปแห่งชาติ ๑๘ คณะ และอานาจหน้าที่อื่นตามที่สภาปฏิรูปแห่งชาติมอบหมาย ตามอานาจหน้าที่ดังกล่าว คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ จึงได้ มอบหมาย ให้คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ ดาเนินการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นใน ประเด็นต่างๆ ที่เป็นเรื่องสาคัญต่อการพัฒนาประเทศ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๘ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้มี หนั งสื อถึงคณะกรรมาธิการฯ เห็น ว่าร่างแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยปิโ ตรเลี ยมทั้งสองฉบับ ที่กระทรวง พลังงานได้เสนอร่างโดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการ และได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการ กฤษฎีกาเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น เป็นร่างกฎหมายที่มีรากฐานการเอื้อผลประโยชน์และสร้างแรงจูงใจให้กับ กลุ่มผู้ลงทุนสารวจขุดเจาะปิโตรเลียมในราชอาณาจักรไทยเป็นสาคัญ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) จึ ง ได้ เ สนอ ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ก ารประกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม พ.ศ. .... ที่ จั ด ท าใหม่ ต่ อ คณะกรรมาธิการฯ เพื่อขอให้จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น โดยให้เหตุผลประกอบว่า ร่างพระราชบัญญัติ ประกอบ กิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่เครือข่ายประชาชนจัดทาขึ้นนั้น ให้ความสาคัญในการสร้างผลประโยชน์สูงสุดของ ชาติและประชาชนเป็นหลักบนความเป็นธรรมแก่ผู้ลงทุนตามสมควร อันครอบคลุมการบริหารจัดการปิโตรเลียม ทั้งระบบ เพื่อให้การทาธุรกิจปิโตรเลียมทุกขั้นตอนมีความพร้อมสาหรับการค้าระหว่างประเทศมากขึ้นสาหรับ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ พิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า การจัด เวทีร ับ ฟัง ความคิด เห็น ในครั ้ง นี ้ เป็ น การเปิ ด โอกาสให้ ภาครั ฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และประชาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม ในการแสวงหาระบบการบริหารจัดการปิโตรเลียมของประเทศที่เหมาะสม พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะ เพื่อนาไป เป็นข้อมูลที่จะนาเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สรุปผลรายงานการประชุมวิชาการฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ ต่อสมาชิกปฏิรูป แห่งชาติ กรรมาธิการ และอนุกรรมาธิการ นาไปใช้เสนอในที่ประชุมต่างๆ เพื่อผลักดันให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ตลอดจนนักวิชาการ ประชาชนทั่วไปได้นาไปใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาต่อยอด อันนาไปสู่การปฏิรูปกฎหมาย ปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและประชาชนอย่างแท้จริง


สารบัญ หน้า ๑. บทสรุปสำคัญ (Executive Summary) ๒. บทนำ ๓. รำยงำน “ปฏิรปู กฎหมำยปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชำชน” ๔. บทสรุปควำมคิดเห็นและข้อเสนอแนะจำกเวทีรับฟังควำมคิดเห็น ภาคผนวก ภาคผนวก ๑ โครงกำรและกำหนดกำรเวทีรับฟังควำมคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมำยปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชำชน” วันเสำร์ที่ ๑๘ กรกฎำคม ๒๕๕๘ ภาคผนวก ๒ เอกสำรประกอบเวทีรบั ฟังควำมคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมำยปิโตรเลียมเพือ่ ประโยชน์สูงสุดของประชำชน” ๒.๑ สรุปคำบรรยำยเสวนำเรื่อง “ปฏิรูปกฎหมำยปิโตรเลียมเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของประชำชน” ๒.๒ เอกสำรประกอบ (๑) โดย นำยมนูญ อร่ำมรัตน์ ผู้แทนจำกคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำปัญหำกำรบังคับใช้ พระรำชบัญญัตปิ ิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปโิ ตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๒) โดย หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี ผู้แทนจำกคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำปัญหำกำรบังคับใช้ พระรำชบัญญัตปิ ิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปโิ ตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๓) โดย นำยปำนเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้แทนจำกเครือข่ำยประชำชนปฏิรูปพลังงำนไทย (คปพ.) (๔) โดย นำยธีระชัย ภูวนำถนรำนุบำล อดีตรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง (๕) พระรำชบัญญัตทิ ี่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก ๓ ข้อเสนอแนวทำงในกำรบริหำรจัดกำรแปลงสัมปทำนปิโตรเลียม ที่กำลังจะหมดอำยุแปลงปิโตรเลียมที่มีศักยภำพและแปลงปิโตรเลียม ในพื้นที่ทับซ้อนระหว่ำงประเทศในอ่ำวไทย ภาคผนวก ๔ รำยชื่อผู้เข้ำร่วมเวทีรับฟังควำมคิดเห็น ภาคผนวก ๕ ประมวลภำพเวทีรับฟังควำมคิดเห็น -----------------------------------------------------

๑-๔ ๕-๗ ๘ - ๔๗ ๔๘ - ๕๐ ๕๑ ๕๑ - ๕๕ ๕๖ - ๒๗๗ ๕๗ - ๙๒ ๙๓ - ๙๗

๙๘ - ๑๐๗

๑๐๘ - ๑๒๓ ๑๒๔ - ๑๓๒ ๑๓๓ - ๒๗๗ ๒๗๙ - ๒๙๒ ๒๙๔ - ๓๕๗ ๓๕๙ - ๓๖๑


บทสรุปสำคัญ (Executive Summary) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ ได้มีการแก้ไขปรับปรุงมาแล้ว ๕ ครั้ง ครั้งล่าสุด ได้มี การแก้ไขปรับปรุงเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๐ แต่การบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมยังคงใช้ระบบสัมปทานเพียง ระบบเดียวไม่เปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันได้มีข้อเรีย กร้องจากภาคประชาชน ให้รัฐบาลได้จัดตั้งคณะทางานร่วมระหว่าง ภาครัฐ ภาคประชาชน และนักวิชาการ เพื่อพิจารณาศึกษาการนาระบบแบ่งปันผลผลิตและระบบจ้างผลิต ที่ใช้อยู่ในประเทศอาเซียนเป็น ส่ว นใหญ่ มาใช้ในการสารวจและผลิ ตปิโ ตรเลียมในประเทศไทย แต่ข้อ เรียกร้องของภาคประชาชนมิได้รับการสนองตอบ และมีการให้ข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐผ่านสื่อสาธารณะ โดยสรุ ป ว่า ระบบสั มปทานที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมแล้ ว นั้น เป็นระบบการให้ สิ ทธิการส ารวจและผลิ ต ปิโตรเลียมที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของแหล่งปิโตรเลียมในประเทศมากที่สุดแล้ว และไม่จาเป็นต้องมี การศึกษาเพื่อเปลี่ยนแปลงไปใช้ระบบอื่นแต่อย่างใดและเสนอให้เร่งเปิดสัมปทานให้ สิทธิสารวจและผลิต ปิโตรเลียม รอบที่ ๒๑ โดยเร็ว จากท่าทีดังกล่าวของหน่วยงานรัฐ จึงทาให้เกิดความเห็นที่แตกต่างกันในสังคม และมีการคัดค้าน การเปิดสัมปทานให้สิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียม รอบที่ ๒๑ ของกระทรวงพลังงาน จากภาคประชาชน ในวงกว้าง ประกอบกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) ได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๘ ไม่เห็นด้วยกับ ข้อเสนอให้เดินหน้าเปิดสัมปทานรอบที่ ๒๑ ดังกล่าว ด้วยคะแนนเสียง ๑๓๐ คะแนน เห็นด้วย ๒๙ คะแนน งดออกเสียง ๒๖ คะแนน จากผู้เข้าร่วมประชุม ๑๘๕ คน ทาให้นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ (คสช.) (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้ออกมาแถลงเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ว่าที่ ประชุมร่ว มคณะรัฐมนตรี และคณะรั กษาความสงบแห่งชาติ ได้มีการหารือถึงปัญหาการเปิดสัมปทาน ปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ โดยได้ข้อยุติว่าควรแก้กฎหมายให้เรียบร้อยก่อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณากฎหมาย ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จึงขอให้ชะลอการเปิดให้สัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ ออกไปก่อน จากกาหนดการที่กระทรวงพลังงานได้ขยายเวลาการยื่นขอสิ ทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียมถึงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ในเวลาต่ อ มาที่ ป ระชุ ม สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ ๑๐/๒๕๕๘ วั น พฤหั ส บดี ที่ ๑๒ กุมภาพัน ธ์ ๒๕๕๘ ได้มีมติเห็ น ชอบให้ ตั้งคณะกรรมาธิการวิส ามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยมี ระยะเวลาในการปฏิบัติภารกิจให้แล้วเสร็จภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติ ต่อ มาเมื่ อวั น ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวงพลั งงานได้ ข อเสนอปรั บปรุ งแก้ ไ ข พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ โดยให้เหตุผลความจาเป็นว่า เพื่อเพิ่มทางเลือกอีกทางหนึ่งให้ รัฐ สามารถพิจารณานาระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตมาใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมนอกเหนือไปจาก การพิ จารณาใช้ ระบบสั มปทานที่ มี อยู่ ในกฎหมายปั จจุ บั น ซึ่ งคณะรั ฐมนตรี ได้ มี มติ เห็ นชอบในหลั กการ ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงพลังงานเสนอเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และได้ผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นที่เรียบร้อยแล้วในปัจจุบัน ทั้งนี้การจัดทาร่างกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมฉบับแก้ไขเพิ่มเติมของกระทรวงพลังงานข้า งต้น เชื่อได้ว่า ยังมิได้นาผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ มาประกอบในการจัดทา


Page 2

ร่างกฎหมายแต่อย่างใด เพราะคณะกรรมาธิการฯ ได้ทาการศึกษาแล้วเสร็จและนาเสนอต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘ วันเดียวกับที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ในหลักการ ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงพลังงานเสนอ เมื่อภาคประชาชนมิได้รับการตอบสนองในการมีส่วนร่วมจากภาครัฐตามที่เสนอ เครือข่าย ประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการและเครือข่ายภาคประชาสังคมต่าง ๆ จึงได้จัดทาร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ขึ้น โดยให้การบริหารจัดการทรัพยากร ปิโตรเลียมของประเทศ มี ๓ ระบบคือ ระบบสัมปทาน ระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบจ้างผลิต โดยหลักการ สาคัญของร่างกฎหมายฉบับนี้คือ เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศมีความโปร่งใส ลดการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่รัฐ เสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ สร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนด้วย การเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเสรีเป็นธรรม และมุ่งให้ประเทศชาติและประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด และได้ร้องขอให้คณะกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ด้ ว ยความแตกต่ า งในแนวทางการแก้ ไ ขกฎหมายว่ า ด้ ว ยปิ โ ตรเลี ย มของภาครั ฐ และภาค ประชาชนดังกล่าวซึ่งจะนาไปสู่ผลประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชนที่แตกต่างกัน อีกทั้งการเปิด โอกาสให้ ป ระชาชนได้ มี ส่ ว นร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การปฏิ รู ป ระเทศ คณะกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ จึงได้จัดเวทีรับฟัง ความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เมื่อวันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๘ มีผู้เข้าร่วมการประชุม ที่ประกอบด้วยสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ วิ ทยากร หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง สื่อมวลชน เครือข่ายประชาชนต่างๆ ทั่วประเทศ และคณะผู้จัดการประชุม รวมทั้งสิ้น ๗๘๐ คน โดยสามารถสังเคราะห์เป็นบทสรุปสาคัญ ดังนี้ ๑. สรุปความคิดเห็นในประเด็นสาคัญจากผู้เข้าร่วมที่ตอบแบบสอบถาม รวมจานวนทั้งสิ้น ๔๒๗ ชุด ๑.๑ ความเห็นสรุปต่อแนวทางการแก้ไข พ.ร.บ.ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ และ พ.ร.บ.ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ อันดับหนึ่ง ให้ยกเลิกทั้งสองฉบับ และจัดทาใหม่ ร้อยละ ๙๓.๙๑ อันดับสอง ให้แก้ไขเป็นบางมาตรา ร้อยละ ๖.๐๙ ๑.๒ ความเห็นในเรื่องการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ  ร้อยละ ๙๗.๔ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายภาคประชาชน ว่าต้องมีการกาหนดให้ “ทรัพยากร ปิโตรเลียมเป็นของชาติและปวงชนชาวไทย” แทนข้อความว่า “ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ”  ร้อยละ ๙๑.๑ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายภาคประชาชน ว่าต้องมีการกาหนดให้ จัดตั้งบรรษัท น้ามันแห่งชาติหรือบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ ทาหน้าที่เป็นผู้ให้สิทธิและดูแลการประกอบ กิจการปิโตรเลียมของประเทศ  ร้อยละ ๘๘.๕ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของภาคประชาชน ว่าต้องมีการกาหนดเนื้อหาให้จัด บรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ รัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด มีฐานะเป็นหน่ วยงานของรัฐ ที่ไม่เป็น ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น


Page 3

๑.๓ ความเห็ น ต่ อ การควบคุ ม และก ากั บ บรรษั ท ปิ โ ตรเลี ย มแห่ ง ชาติ แ ละการประกอบกิ จ การ ปิโตรเลียม ของประเทศ  ร้อยละ ๘๗.๘ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของประชาชน ว่าต้องมีการกาหนดให้มีองค์ประกอบ ของคณะกรรมการเป็นลาดับชั้นดังนี้ ๑) ให้ มี ค ณะกรรมการก ากั บ การประกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม นายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธาน กรรมการ ๒) ให้มีคณะกรรมการบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานเป็นประธาน ทั้งนี้ คณะกรรมการทั้งสองชุดข้างต้น กาหนดให้ มี กรรมการจากภาคประชาสั งคม ด้าน คุ้มครองผู้บริโภค ด้านคุ้มครองสุขภาพ ด้านคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากการสรรหา และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มาจากการสรรหารวมอยู่ด้วย และ ๓) ให้ มี คณะกรรมการบริ หารบรรษัท ปิโตรเลี ยมแห่ งชาติ แต่งตั้ งโดยคณะกรรมการบรรษั ทฯ คัดเลือกจากผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ ทาหน้าที่บริหารกิจการของบรรษัทฯ ๑.๔ ความเห็นต่อระบบการจัดหาปิโตรเลียมในประเทศ  ร้อยละ ๘๘.๕ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของประชาชน กาหนดให้มี ๓ รูปแบบ ให้รัฐเป็น ผู้ดาเนินการสารวจ รวบรวมข้อมูลทรัพยากรปิโตรเลียมก่อน และมีการกาหนดเงื่อนไขเพื่อลด การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ คือ ๑) ระบบสัมปทาน ใช้กรณีที่ไม่ปรากฏเบาะแสของปิโตรเลียม ๒) ระบบแบ่งปันผลผลิต ใช้กรณีที่มีข้อมูลการสารวจแล้วพบว่ามีปริมาณที่แน่ชัดและเพียงพอ ต่อการประกอบกิจการในเชิงพาณิชย์ และ ๓) ระบบจ้างบริการหรือจ้างผลิต ใช้กรณีที่มีข้อมูล การสารวจปรากฏปริมาณปิโตรเลียมจานวนมาก ๑.๕ ความเห็นต่อหลักการเลือกใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตที่จะใช้กับประเทศไทย  ร้อยละ ๘๘.๓ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของภาคประชาชน ว่าต้องมีการกาหนดเนื้อหาใหม่ โดย ใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตในแปลงปิโตรเลียมที่มีข้อมูลการสารวจหรือมีเบาะแสพบว่ ามีปริมาณที่ แน่ชัดและเพียงพอต่อการประกอบกิจการในเชิงพาณิชย์ ๑.๖ ความเห็นต่อการคัดเลือกผู้ชนะให้ได้รับสิทธิในระบบแบ่งปันผลผลิตที่จะใช้กับประเทศไทย  ร้อยละ ๘๙.๒ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของประชาชน กาหนดเนื้อหาว่า ต้องเป็นผู้ที่ผ่าน คุณสมบัติเบื้องต้นในการเข้าประมู ล และผู้ชนะการประมูลคือผู้ที่เสนอส่วนแบ่งปิโตรเลียมแก่ รัฐสูงสุด ๑.๗ ความเห็นต่อหลักการการคานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นสิ่งแวดล้อมและชุมชน  ร้อยละ ๘๙.๐ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่มีการกาหนดเขตพื้นที่แปลง ประกอบกิจการปิ โตรเลีย ม ต้องมีระยะห่ างจากพื้ นที่เกาะ ชายฝั่ ง พื้นที่ทากิน พื้นที่ส งวน เพื่ ออนุ รั ก ษ์ สั ต ว์ ทะเลและทรัพ ยากรธรรมชาติ ท างทะเล โดยต้ องรั บฟั งความคิ ดเห็ นและ การมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงจากประชาชนและชุมชนผู้มีส่วนได้เสียก่อน ๑.๘ ความเห็นต่อการจัดตั้งกองทุนด้านปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์โดยตรงแก่ประชาชน  ร้ อ ยละ ๕๔.๓ เห็ น ด้ ว ยกั บ ร่ า งกฎหมายของภาคประชาชน ที่ ก าหนดให้ มี ก ารน าผล ประกอบการปิ โตรเลียมส่วนหนึ่งของบรรษัทปิโ ตรเลียมแห่งชาติมาจัดตั้งเป็นกองทุนฯ ขึ้น


Page 4

มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อสนั บสนุ นด้ านสวั สดิ การสั งคม ในด้ านการศึ กษา ศิ ลปวั ฒนธรรม การ รักษาพยาบาล การพัฒนาคุณภาพชีวิต การบาบัดหรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ๑.๙ ความเห็นต่อวิธีการยุติข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชนผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียม  ร้อยละ ๙๒.๗ เห็นด้วยกับร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่กาหนดให้ใช้ศาลยุติธรรมไทยทาหน้าที่ ตัดสินชี้ขาด แทนการใช้ระบบอนุญาโตตุลาการ ๒. ข้อเสนอแนะจากนักวิชาการต่อแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม นายธี ระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง และผู้เชี่ยวชาญด้าน การเงินการคลัง ได้ให้ความเห็นต่อความจาเป็นในการจัดตั้ง บรรษัทน้ามันแห่งชาติหรือองค์กรปิโตรเลียม แห่งชาติ ให้เป็นผู้บริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศว่า การแก้ไขกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมเพื่อให้นาระบบแบ่งปันผลผลิตและระบบจ้างผลิตมาใช้นั้น ทาให้ขบวนการทางานเรื่องปิโตรเลียมในประเทศไทยจาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง และเมื่อคานึงถึงเนื้อ งานที่เกี่ยวข้องแต่ละด้านแล้ว เช่น งานด้านกาหนดนโยบายเกี่ยวกับการสารวจปิโตรเลียม, งานด้านการ กากับและบังคับใช้กฎหมาย, งานด้านการเป็นคู่สัญญากับเอกชนและการปกป้องคุ้มครองสิทธิของรัฐ งานด้านการคัดเลือกแปลงและคัดเลือกเอกชนเพื่อเปิดให้ทาการสารวจ, งานด้านการบริหารปิโตรเลียมที่รัฐได้รับ เป็นส่วนแบ่ง จะเห็นว่าการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเป็นสิ่งที่จาเป็น ทั้งนีร้ ่างข้อเสนอการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติตามที่ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงาน ไทยได้ยกร่างกฎหมายไว้ก็เป็ นทางเลือกที่เหมาะสมอย่างมากทางหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะยังมีบางจุดที่อาจจะ สามารถแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อีกก็ตาม ขณะที่ รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ชัย อัตถากร อาจารย์ประจาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ มีความเห็นว่า ร่างกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูป พลั งงานไทย (คปพ.) มี จุ ดเด่ นมากกว่ าร่ างกฎหมายที่ จั ดท าและเสนอโดยกระทรวงพลั งงาน เนื่ องจาก ร่ างกฎหมายที่จั ดทาและเสนอโดยกระทรวงพลั งงานยังขาดความโปร่งใส ไม่ค รอบคลุ ม ไม่ตอบโจทย์ ของประชาชน ขาดการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทาให้ประชาชนไม่มีโอกาสได้ จัดทานโยบายสาธารณะด้านพลังงาน ร่างกฎหมายที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงานเป็นเพียงการ แก้ไขกฎหมายเฉพาะในมิติของการบริหารจัดการปิโตรเลียม ต่างจากร่างกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่าย ประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ที่มีการบูรณาการการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติอย่างเป็นระบบ และครอบคลุมในทุกมิติ


บทนำ ปิโตรเลียมเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่า ปิโตรเลียมมีกาเนิดจากการ สะสมของซากดึกดาบรรพ์ (Fossils) ถูกกักเก็บอยู่ในชั้นหินใต้พื้นดินทั้งในสถานะที่เป็นก๊าซ ของเหลว ของหนืด หรือของแข็ง ในทางเคมีปิโตรเลียมเป็นสารประกอบพวกไฮโดรคาร์บอนที่มี ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน และกามะถัน เป็นสิ่งเจือปนอยู่บ้าง ปิโตรเลียม ถือเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจของโลกเพราะสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงที่ก่อให้ เกิดพลั งงาน และสามารถพัฒ นาต่อเนื่ องในอุต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี นาปิโ ตรเลี ยมมาผลิ ต เป็น วัตถุต่ า ง ๆ ในชีวิตประจาวันได้อีกมากมาย นโยบายการสารวจและพัฒนาปิโตรเลียมของประเทศไทย ตั้งแต่เริ่มแรกในปี พ.ศ.๒๔๖๔ จนถึง ก่อนช่วงปี พ.ศ.๒๕๐๔ ดาเนินการภายใต้กฎหมายว่าด้วยเหมืองแร่ เป็นไปอย่างไม่มีการวางแผนหรือไม่มี แนวทางในการส ารวจและพั ฒ นาปิ โ ตรเลี ย มที่ แ น่ น อนเป็ น ระบบ เพี ยงแต่ ใ นระยะเริ่ มแรกรั ฐ มี น โยบาย ให้ส่วนราชการดาเนินการเองแต่ไม่ประสบผลสาเร็จมากนัก ต่อมาได้เชิญชวนและอนุญาตให้บริษัทเอกชน โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งบริ ษัท ต่างประเทศเข้ ามาลงทุ นภายใต้ กฎหมายว่า ด้ว ยเหมื องแร่และกฎหมายว่า ด้ว ย การส่งเสริมการลงทุน โดยมีการสารวจเฉพาะบนบก ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๕๐๗ เมื่อมีผู้ขอสารวจในทะเลอ่าวไทย ซึ่งกฎหมายว่าด้วยเหมืองแร่ครอบคลุม ไม่ถึง ก็ได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์การขออนุญาตสารวจ และหรือผลิตปิโตรเลียมเพื่อใช้บังคับส าหรับการ ดาเนินการดังกล่าว โดยหลักเกณฑ์ได้แล้วเสร็จในปีพ.ศ. ๒๕๐๙ และเป็นที่มาของพระราชบัญญั ติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน จากรายงานผลการพิจารณาศึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ระบุว่า “...พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เกิดขึ้นภายใต้สภาวการณ์ของประเทศที่มีความหวัง แต่ไม่มีศักยภาพในการดาเนิ นการ เนื่ องจากขาดทั้งความรู้ และเงินทุน อีกทั้งมหามิตรประเทศมีข้อเสนอ ที่ปฏิเสธไม่ได้ คือ บริษัทของประเทศเหล่านั้นจะมาลงทุนสารวจและผลิต ดึงทรัพยากรที่ไม่มีความสามารถ ในการน าขึ้ น มาใช้ ไ ด้ โดยประเทศไทยเพี ย งสร้ า งหลั ก ประกั น ที่ ท าให้ บ ริ ษั ท ที่ ม าลงทุ น มี ค วามปลอดภั ย ในการลงทุน ดั ง นั้ น จึ ง น า พระราชบั ญ ญั ติ เ หมื อ งแร่ มาเป็ น ฐานในการร่ า ง พระราชบั ญ ญั ติ ฉบั บ นี้ ขึ้ น โดยพระราชบัญญัติเหมืองแร่เป็นสั ญญารูปแบบสัมปทานที่สอดคล้องกับความต้องการของบริษัทที่ต้องพึ่งพา จึงทาให้จุดเริ่มต้นถือกาเนิดขึ้น ดังนั้น พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ จึงเป็นกฎหมายเกี่ยวกับ ปิ โ ตรเลี ย มแบบพึ่ งพา ซึ่ง นานาประเทศในขณะนั้นได้ดาเนิน การในรู ปแบบเดี ยวกั น แม้ประเทศเกิ ดใหม่ ในปัจจุบันก็ยังคงต้องเริ่มต้นในลักษณะเดียวกันจึงถือว่าผู้บริหารในอดีตได้สร้างจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุดในเวลานั้น แก่ประเทศชาติและประชาชนแล้ว...” พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เป็นกฎหมายหลักที่ใช้ในการบริหารจัดการ กากับดูแล และจัดเก็บรายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียมใน ประเทศไทย ซึ่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้มีการแก้ไขปรับปรุงรวม ๕ ครั้ง ครั้งล่าสุดได้มีการ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ โดยได้มีการแก้ไขรายละเอียดต่าง ๆ ซึ่ ง รวมถึ ง ระบบการจั ด เก็ บ รายได้ จ ากการแสวงหาประโยชน์ จ ากทรั พ ยากรปิ โ ตรเลี ย มเพิ่ ม เติ ม เล็ ก น้ อ ย แต่รูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมยังคงใช้ระบบสัมปทานเพียงระบบเดียวอยู่เช่นเดิม


Page 6

ตลอดระยะเวลา ๔๔ ปี ที่ผ่านมาผ่านมา รัฐบาลมิได้มีการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง ถึงความ เป็ น ไปได้ ในการให้ สิ ทธิ ส ารวจและผลิ ตปิ โ ตรเลี ย มในระบบอื่ น ที่ จ ะช่ ว ยพัฒ นาระบบการให้ สิ ท ธิ ส ารวจ และผลิ ตปิ โตรเลี ย มเพื่อวัตถุป ระสงค์ในการให้รัฐ และผู้ ได้รับสิทธิได้รับประโยชน์จากการส ารวจและผลิ ต ปิโตรเลียมสูงสุดอย่างเป็นธรรม เช่น ระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบรับจ้าง ในขณะที่หลายประเทศในทวีปเอเชียได้เปลี่ยนจากระบบสัมปทานมาใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต เพื่อให้รัฐสามารถบริหารจัดการทรัพยากรและได้รับผลผลิตในปิโตรเลียมของตัวเองได้มากขึ้น เช่น ประเทศจีน อินเดีย บังลาเทศ อินโดนีเซีย เมียนมาร์ ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม เป็นต้น สาหรับประเทศไทยในปัจจุบันได้มีข้อเรียกร้องจากภาคประชาชน ให้รัฐบาลได้พิจารณาศึกษาการ นาระบบแบ่งปันผลผลิตและระบบรับจ้างบริการ มาใช้ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย แต่ข้อ เรียกร้องของภาคประชาชนมิได้รับการสนองตอบแต่อย่างใด และมีการให้ข้อมูลจากหน่วยงานของรัฐผ่านสื่อ สาธารณะโดยสรุปว่า ระบบสัมปทานที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมแล้วนั้น เป็นระบบการให้สิทธิการสารวจและผลิต ปิโตรเลียมที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพของแหล่งปิโตรเลียมในประเทศมากที่สุดแล้ว และไม่จาเป็นต้องมี การศึกษาเพื่อเปลี่ยนแปลงไปใช้ระบบอื่นแต่อย่างใดและเสนอให้เร่งรีบเปิ ดสัมปทานให้สิทธิสารวจและผลิต ปิโตรเลียม รอบที่ ๒๑ จากท่าทีดังกล่าวของหน่วยงานรัฐ จึงทาให้เกิดความเห็นที่แตกต่างกันในสังคม และมีการคัดค้าน การเปิดสัมปทานให้สิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียม รอบที่ ๒๑ ของกระทรวงพลังงาน จากภาคประชาชน ในวงกว้าง ประกอบกับสภาปฏิรูปแห่ งชาติ (สปช.) ได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๕๘ ไม่เห็นด้วยกับ ข้อเสนอให้เดินหน้าเปิดสัมปทานรอบที่ ๒๑ ดังกล่าว ด้วยคะแนนเสียง ๑๓๐ คะแนน เห็นด้วย ๒๙ คะแนนงด ออกเสียง ๒๖ คะแนน จากผู้เข้าร่วมประชุม ๑๘๕ คน ทาให้นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ (คสช.) (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้ออกมาแถลงเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ว่าที่ประชุม ร่วมคณะรัฐมนตรี และคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ได้มีการหารือถึงปัญหาการเปิดสัมปทานปิโ ตรเลียม รอบที่ ๒๑ โดยได้ข้อยุติว่าควรแก้กฎหมายให้เรียบร้อยก่อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณากฎหมายของสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ (สนช.) จึงขอให้ชะลอการเปิดให้สัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ ออกไปก่อนจากกาหนดการ ที่กระทรวงพลังงานได้ขยายเวลาการยื่นขอสิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียมถึงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๘ ในเวลาต่อมาที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๘ วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ได้มีมติเห็ น ชอบให้ ตั้งคณะกรรมาธิการวิส ามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยมีระยะเวลาในการปฏิบัติ ภารกิจให้แล้วเสร็จภายใน ๙๐ วัน นับแต่วันที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติ ขณะเดีย วกันภาคประชาชนโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลั งงานไทย (คปพ.) ได้ร้องขอให้ รัฐบาลจัดตั้งคณะทางานร่วมระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชน เพื่อทาการศึกษาหาแนวทางการปฏิรูประบบ พลังงานของประเทศ รวมถึงระบบการให้สิทธิในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในระบบอื่นนอกเหนือจากระบบ สัมปทาน แต่ข้อเสนอดังกล่าวไม่ได้รับการสนองตอบจากรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแต่อย่างใด ในระหว่ า งที่ ค ณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาปั ญ หาการบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ยังดาเนินการศึกษาไม่แล้ว เสร็จ ปรากฏว่าเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวงพลังงานได้ขอเสนอปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ ในมาตรา ๒๓ (การให้สัมปทาน) โดยให้เหตุผลความจาเป็นว่าเพื่อเพิ่มทางเลือกอีกทาง หนึ่งให้รัฐ สามารถพิจารณานาระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตมาใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียม นอกเหนือไปจากการพิจารณาใช้ระบบสัมปทานที่มีอยู่ในกฎหมายปัจจุบันซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ


Page 7

ในหลักการร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบั บที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงพลั งงานเสนอเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และได้ผ่ านการ พิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นที่เรียบร้อยแล้วในปัจจุบัน ส่วนคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้ทาการศึกษาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายว่า ด้วยปิโตรเลียมทั้งสองฉบับแล้วเสร็จ และนาเสนอผลการศึกษาต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....ตามที่กระทรวงพลังงานเสนอ จึงมี คาถามส าคัญว่า คณะรั ฐมนตรี ได้มีมติเห็ นชอบในหลั กการแก้ไขกฎหมายว่าด้ว ยปิโ ตรเลี ยมของกระทรวง พลังงาน โดยได้พิจารณารายงานการศึกษาปัญหาการบังคับใช้ กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมของสภานิติบัญญัติ อย่างถี่ถ้วนรอบด้านแล้วหรือไม่ จากสถานการณ์ดังกล่าว ทาให้เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ต้องทาการศึกษา และจัดทาร่างกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมฉบับใหม่ขึ้น ชื่อว่า ร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... โดยมีสาระสาคัญคือให้การให้สิทธิการผลิตปิโตรเลียมมี ๓ ระบบ คือ ระบบสัมปทาน ระบบแบ่งปัน ผลผลิต และระบบรับจ้าง โดยให้รัฐทาหน้าที่เป็นผู้รวบรวมข้อมูลและสารวจปิโตรเลียมให้เพียงพอต่อการเปิด ประมูลให้สิทธิแก่เอกชน และให้มีการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติขึ้นเป็ นตัวแทนของรัฐในการบริหาร จัดการทรัพยากรปิโตรเลียม ต่อมา เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๘ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้มี หนังสือถึงคณะกรรมาธิการฯ เห็นว่าร่างแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมทั้งสองฉบับของกระทรวง พลังงาน เป็นร่างกฎหมายที่มีรากฐานการเอื้อผลประโยชน์และสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มผู้ลงทุนสารวจขุดเจาะ ปิโตรเลียมในราชอาณาจักรไทยเป็นสาคัญ และได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่จัดทาใหม่โดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ต่อคณะกรรมาธิการฯ เพื่อขอให้จัดเวที รับฟัง ความคิดเห็น เพื่อเปรียบเทียบร่างกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียมของเครือข่ายประชาชน ปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) กับร่างแก้ไขพระราชบัญญัติปิโตรเลียม และร่างแก้ไขพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม ของกระทรวงพลังงาน คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่ว มและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ เห็นว่า การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ถือเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสาคัญ อย่างยิ่ง ต่ อ การปฏิ รู ป ประเทศ จึ งเห็ นชอบให้ มี การจั ดเวที รั บฟั งความคิ ดเห็ น เรื่ อง “ปฏิ รู ป กฎหมายปิ โ ตรเลี ย ม เพื่อประโยชน์สูง สุดของประชาชน” ในวันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องราชเทวีแกรนด์บอลรูม ชั้น ๓ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ เขตเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และ ประชาชน ได้เข้ามามีส่ว นร่ วมในการแสดงความคิดเห็นต่อแนวทางการปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม ในการ แสวงหาระบบการบริหารจัดการปิโตรเลียมของประเทศที่เหมาะสม พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะอันนาไปสู่ปฏิรูป กฎหมายปิโตรเลียม เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและประชาชนอย่างแท้จริงต่อไป


รายงาน คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ พิจารณาศึกษาเรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” ----------------------------------------๑. หลักการและเหตุผล คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูป แห่ ง ชาติ ได้ มีม ติ ใ นคราวประชุ ม ครั้ ง ที่ ๓ ในวัน พุ ธ ที่ ๓ ธั นวาคม ๒๕๕๗ ให้ ตั้ งคณะอนุ ก รรมาธิ ก าร การมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็น เมื่อวันจันทร์ที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ และมีมติในคราวประชุมครั้งที่ ๔ เมื่อวัน พฤหัส บดีที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ ให้เปลี่ ยนชื่อคณะเป็น “คณะอนุกรรมาธิการการมีส่ ว นร่ว ม ขององค์กรที่สาคัญ” เพื่อเป็นกลไกดาเนินการจัดกิจกรรมและเวทีสาธารณะร่วมกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ ในการปฏิรูปประเทศ และเพื่อพิจารณาศึกษาและริเริ่มการดาเนินกิจกรรมรวมทั้งการจัดเวทีสาธารณะ ในการรับฟังความคิ ดเห็นของประชาชนจากทุกภาคส่วนเกี่ยวกับการยกร่างรัฐธรรมนูญและการปฏิรูป ประเทศ ๑๘ ด้าน ตามกรอบของคณะกรรมาธิการวิสามัญประจาสภา ๑๘ คณะ และคณะกรรมาธิการ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ถือเป็นกระบวนการหนึ่ง ที่มีความสาคัญ อย่างยิ่งต่อการปฏิรูปประเทศ โดยคณะกรรมาธิการฯ ได้กาหนดให้มีการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นเรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ปฏิรูปด้านการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียม ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวง พลังงานได้เสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และได้ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นที่เรียบร้อย แล้วในปัจจุบัน ต่อมา เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๘ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้ มีห นั งสื อ ถึง คณะกรรมาธิการฯ เห็ น ว่ า ร่ างแก้ไ ขเพิ่ มเติมกฎหมายว่าด้ ว ยปิโ ตรเลี ยมทั้งสองฉบับ ของ กระทรวงพลังงาน เป็นร่างกฎหมายที่มีรากฐานการเอื้อผลประโยชน์และสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มผู้ลงทุน สารวจขุดเจาะปิโตรเลียมในราชอาณาจักรไทยเป็นสาคัญ และได้เสนอ ร่าง พระราชบัญญัติ ประกอบกิจการ ปิ โตรเลี ยม พ.ศ. .... ที่จั ดทาใหม่โดยเครื อข่ ายประชาชนปฏิรู ปพลั งงานไทย (คปพ.) ต่ อ คณะกรรมาธิการฯ เพื่อขอให้จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อเปรียบเทียบร่างกฎหมายพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม ของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) กับร่างแก้ไขพระราชบัญญัติปิโตรเลียมและร่างแก้ไข พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ของกระทรวงพลังงาน โดยให้เหตุผลประกอบว่า ร่างพระราชบัญญัติการประกอบ กิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่เครือข่ายประชาชนจัดทาขึ้นนั้น ให้ความสาคัญในการสร้างผลประโยชน์ สูงสุด ของชาติและประชาชนเป็นหลักบนความเป็นธรรมแก่ผู้ลงทุนตามสมควร อันครอบคลุมการบริหารจัดการ ปิโตรเลียมทั้งระบบตั้งแต่ต้นน้า (หมายถึง การสารวจและการผลิต) กลางน้า (หมายถึง การขนส่งและเก็บ รักษา โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ามัน) ไปจนถึงปลายน้า (หมายถึง การจาหน่ายให้แก่ประชาชน) เพื่อให้การทา ธุรกิจปิโตรเลียมทุกขั้นตอนมีความพร้อมสาหรับการค้าระหว่างประเทศมากขึ้นสาหรับการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน


Page 9

คณะกรรมาธิการฯ เห็ น ว่า การมีส่ ว นร่ว มและรับฟังความคิดเห็ นของประชาชน ถือเป็น กระบวนการหนึ่งที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการปฏิรูปประเทศ จึงเห็นชอบให้มีการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” ในวันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องราชเทวีแกรนด์บอลรูม ชั้น ๓ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ เขตเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และประชาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อแนวทางการ ปฏิรูป กฎหมายปิโ ตรเลียม ในการแสวงหาระบบการบริหารจัดการปิโ ตรเลี ยมของประเทศที่เหมาะสม พร้ อมทั้ งรั บฟังข้อเสนอแนะอั นน าไปสู่ ป ฏิ รูป กฎหมายปิ โ ตรเลี ยม เพื่ อประโยชน์ สู ง สุ ดต่ อประเทศและ ประชาชนอย่างแท้จริงต่อไป ๑. ประเด็นการศึกษา การพิจารณาศึกษา เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เปรียบเทียบระหว่าง ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....ตามที่กระทรวงพลังงานเสนอ กับ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการ ปิโตรเลียม พ.ศ. ... ที่จัดทาโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) แบ่งประเด็นหลักในการ พิจ ารณา ๒ เรื่ อง ได้แก่ (๑) รายงานสรุปผลการศึกษาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลี ยม (๒) หลักการและยุ ทธศาสตร์ ของกฎหมายว่าด้วยปิโ ตรเลียมฉบับใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ดังต่อไปนี้ ๑. เพื่อรวบรวม ประมวลความเห็ นต่างจากเวทีรับฟังความคิดเห็ น และสั งเคราะห์ ข้ อเสนอ ในการปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม ๒. เพื่อให้มีเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลด้านพลังงานของประเทศ โดยการมีส่วนร่วม จากภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และประชาชน เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการด้านพลังงาน ๓. วิธีการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และคณะอนุ กรรมาธิการการมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ สภาปฏิรูปแห่งชาติ ร่วมกับสานักงาน ประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ (สปพส.) ได้ศึกษา วิเคราะห์ รวบรวม ข้อมูล ข้อเท็จจริงและสรุปผลการ พิจารณาจากเวทีรับฟังความคิดเห็นเรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เพื่อจั ดทารายงานเรื่ อง “ปฏิรู ปกฎหมายปิโ ตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เสนอต่อ สภาปฏิรูปแห่งชาติ ในการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นครั้งนี้ คณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องร่วมเป็น วิทยากรทุกๆ ฝ่าย ทั้งตัวแทนจากกระทรวงพลังงาน ตัวแทนจากเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ตัวแทนจากคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านเศรษฐศาสตร์ และด้าน การเงินการคลัง โดยมีผู้ตอบรับร่วมเป็นวิทยากรดังนี้ (๑) นายมนูญ อร่ามรัตน์ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (๒) หม่อมหลวงกรกสิ วัฒน์ เกษมศรี กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัตปิ ิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ


Page 10

(๓) นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้แทนจากเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) (๔) นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้เชี่ยวชาญด้าน การเงินการคลัง และ (๕) รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ ชัย อัตถากร อาจารย์ ประจาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์ ทั้งนี้ กระทรวงพลั งงาน และคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ไม่ได้ส่ งตัว แทนเข้าร่ว มเป็น วิ ท ยากร โดยกระทรวงพลั ง งานมิ ไ ด้ แ จ้ ง เหตุ ผ ลที่ ไ ม่ ส ามารถส่ ง ตั ว แทนเข้ า ร่ ว มเป็ น วิ ท ยากรได้ ส่ ว น คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ได้มีคาสั่ง หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ที่ ๒๐/๒๕๕๘ ให้ คณะกรรมการชุดปัจจุบันพ้นจากตาแหน่ง มีผลบังคับในวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๘ จึงมิได้ส่งตัวแทน เข้าร่วมเป็นวิทยากร เวที รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ครั้ ง นี้ มี ผู้ เ ข้ า ร่ ว มการประชุ ม ที่ ป ระกอบด้ ว ยสมาชิ ก สภาปฏิ รู ป แห่ งชาติ กรรมาธิการ อนุ กรรมาธิการ วิทยากร หน่ว ยงานภาครัฐ ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง สื่ อมวลชน เครือข่ายประชาชนต่างๆ ทั่วประเทศ และคณะผู้จัดการประชุม รวมทั้งสิ้น ๗๘๐ คน โดยมีรายละเอียดการ ดาเนินการ ดังนี้ การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ๑. วิ เ คราะห์ ก ฎหมาย ศึ ก ษาข้ อ มู ล พระราชบั ญ ญั ติ ปิ โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ๒. วิเคราะห์กฎหมาย ศึกษาข้อมูล ร่างพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และ ร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่เสนอโดยกระทรวงพลังงาน ๓. วิเคราะห์กฎหมาย ศึกษาข้อมูล ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่เสนอโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ๔. วิเคราะห์ ศึกษาข้อมูล รายงานผลการพิจารณาศึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษา ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผลการพิจารณา การศึกษาจากการวิเคราะห์กฎหมายพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ พบว่าได้มีการ แก้ไขปรั บ ปรุ งมาแล้ ว ๕ ครั้ ง ครั้ งล่าสุ ดได้มีการแก้ไขปรับปรุงเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๐ แต่การบริห ารจัดการ ทรัพยากรปิโตรเลียมยังคงบังคับใช้ระบบสัมปทานเพียงระบบเดียวอยู่เช่นเดิม ต่อ มาเมื่ อวั น ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวงพลั งงานได้ ข อเสนอปรั บปรุ งแก้ ไ ข พระราชบั ญญัติปิโ ตรเลีย ม พ.ศ.๒๕๑๔ ในมาตรา ๒๓ ที่บัญญัติว่า ปิโตรเลี ย มเป็นของรัฐ ผู้ ใดส ารวจ หรือผลิตปิโตรเลียมในที่ใดไม่ว่าที่นั้นเป็นของตนเองหรือของบุคคลอื่น ต้องได้รับสัมปทาน... โดยให้เหตุผล ความจาเป็นว่า เพื่อเพิ่มทางเลือกอีกทางหนึ่งให้รัฐ สามารถพิจารณานาระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตมาใช้ ในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรปิ โ ตรเลี ยมนอกเหนื อไปจากการพิ จ ารณาใช้ร ะบบสั ม ปทานที่ มี อยู่ ใ น กฎหมายปัจจุบัน วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการ ร่างพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่


Page 11

กระทรวงพลั งงานเสนอ และร่างกฎหมายทั้งสองฉบับได้ผ่ านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา เป็นที่เรียบร้อยแล้วในปัจจุบัน ขณะเดียวกันเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ซึ่งประกอบด้วยนักวิชาการและ กลุ่มประชาสังคมต่างๆ ได้จัดทาร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ขึ้น โดยให้การ บริ ห ารจั ดการทรั พยากรปิ โตรเลี ย มของประเทศมี ๓ ระบบคือ ระบบสั มปทาน ระบบแบ่งปันผลผลิ ต และระบบจ้างผลิต เพื่อให้รัฐมีเครื่องมือที่หลากหลายในการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมที่กระจายตัวในหลาย พื้นที่ของประเทศ ซึ่งมีศักยภาพเชิงพาณิชย์สูงต่าต่างกัน โดยหลั กการสาคัญของร่างกฎหมายฉบับนี้คือ เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศมีความโปร่งใส ลดการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ รัฐ เสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ สร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนด้วยการเปิดโอกาสให้มีการแข่งขัน อย่างเสรีเป็นธรรม และมุ่งให้ประเทศชาติและประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้ ร่างกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมของทั้งสองฝ่าย มีความแตกต่างในเนื้อหาสาระสาคัญ หลายประการ ซึ่งจะน าไปสู่ ระบบการบริหารจัดการปิโตรเลียมรวมถึง ผลประโยชน์ที่ประเทศชาติและ ประชาชนจะได้รับแตกต่างกันเป็นอย่างมากหากมีการประกาศเป็นกฎหมายบังคับใช้ต่อไป ซึ่งได้มีการ อภิปรายแลกเปลี่ยนในเวทีช่วงเช้าดังนี้ ๑. ประเด็นรายงานสรุปผลการศึกษาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ข้อมูลที่รวบรวมได้จากการอภิปรายในเวทีเสวนาช่วงเช้า มีดังนี้ (๑) สรุ ป ผลการศึ กษาระบบการบริ หารทรั พ ยากรปิโ ตรเลี ยม นายมนู ญ อร่ ามรัตน์ กรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาปั ญ หาการบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ปิ โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบั ญญั ติ ภาษี เงิ นได้ ปิ โตรเลี ยม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิ ติ บั ญญั ติ แห่ งชาติ ได้ ส รุ ป ผลการศึ ก ษา และข้อเสนอแนะ ดังนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาการบั งคับใช้พระราชบัญญัติปิโ ตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้ทาการศึกษาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ในช่วง ระหว่างวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ - ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ รวมระยะเวลา ๙๐ วัน โดยจัดตั้งคณะ อนุกรรมาธิการวิสามัญขึ้น ๓ คณะ ได้แก่ คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาการบังคับใช้พระราชบัญญัติ ปิ โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔, คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ศึ ก ษาการบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ภ าษี เ งิ น ได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ คณะอนุกรรมาธิ การวิสามัญพิจารณาแผนงานและโครงการในการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชน จากการศึกษาพบว่า ระบบการสารวจและแสวงหาประโยชน์ในทรัพยากรปิโ ตรเลี ยม ในปัจจุบันมีการใช้อยู่โดยทั่วไปเป็นสามระบบ คือ ระบบสัมปทาน ระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบการจ้าง ในปัจจุบันประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเดียวกันและใกล้เคียงได้ให้ความสาคัญกับการทา สัญญา เช่น สัญญาแบ่งปันผลผลิต สัญญาการจ้าง เพื่อการพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมในประเทศของตน และเพื่อให้รัฐสามารถจัดการทรัพยากรของชาติได้ด้วยตนเอง ทั้งปัจจุบันยังมีแนวความคิดในการเสนอให้นาระบบการสารวจและแสวงหาประโยชน์ ในทรัพยากรปิโตรเลียม และระบบการจัดเก็บรายได้จากทรัพยากรปิโตรเลียมที่แตกต่างกัน ซึ่งเมื่อพิจารณา ถึง ผลประโยชน์ สู งสุ ด ของประเทศชาติ และศัก ยภาพในแหล่ ง ทรัพ ยากรปิโ ตรเลี ยมที่ อาจแตกต่า งกั น


Page 12

และเพื่อให้มีการเริ่มสารวจและผลิตทรัพยากรปิโตรเลียมในรอบถัดไปได้เร็วขึ้น คณะกรรมาธิการวิสามัญ จึงมีความเห็นดังต่อไปนี้ ๑) กาหนดให้ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของชาติ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ และประชาชนอย่างแท้จริง ๒) ก าหนดให้ มี ท างเลื อ กในการส ารวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มนอกเหนื อ ไปจากระบบ สัมปทาน โดยนาระบบทั้งสามระบบมาใช้ตามความเหมาะสมกับศักยภาพของแหล่งปิโตรเลียม เพื่อ ประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติและประชาชนอย่างแท้จริง ๓) เสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมเพื่อรองรับการ ดาเนินการตามข้อ ๒ และแก้ไขปัญหาการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้มี บทบัญญัติรองรับการดาเนินการกับพื้นที่ผลิตปิโตรเลียมภายหลังการหมดอายุสัมปทานสาหรับแนวทาง ในการเสนอให้ แ ก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม หรื อ ปรั บ ปรุ ง กฎหมายว่ า ด้ ว ยปิ โ ตรเลี ย มนั้ น คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ เห็นสมควรที่จะดาเนินการเป็นสองระยะ คือ การดาเนินการในระยะยาว และการดาเนินในระยะเร่งด่วน โดยมีข้อเสนอดังนี้  การปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมในระยะยาว การปรั บ ปรุ ง กฎหมายปิ โ ตรเลี ย มทั้ ง ฉบั บ เพื่ อ รองรั บ การเปลี่ ย นแปลงระบบการส ารวจ และผลิตปิโตรเลียมและการจัดเก็บรายได้จากปิโตรเลียมนั้น จาเป็นต้องศึกษาอย่างถ่องแท้และรอบคอบ เพื่อวางระบบให้เป็นที่ยอมรับกันทุกภาคส่วนและสามารถบรรลุถึงวัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์สูงสุดของ ประเทศชาติและประชาชนได้อย่างแท้จริง จึงควรเป็นขั้นตอนในการดาเนินการในระยะยาวโดยให้มี การศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศอื่น ๆ ที่มีลักษณะของแหล่งปิโตรเลียม สภาพสังคม และ สภาพเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกับประเทศไทย รวมทั้งศึกษากฎหมายของประเทศที่มีการนาระบบสารวจ และผลิตปิโตรเลียมและการจัดเก็บรายได้จากปิโตรเลียมทั้งสามระบบมาใช้เช่นเดียวกัน และศึกษาขั้นตอน การปฏิบัติงานที่สามารถเป็นไปได้ ดังจะเห็นว่า พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ไม่มีรูปแบบอื่นใด จึงจาเป็นต้องแก้ไขพระราชบัญญัตินี้หรือยกร่างขึ้นใหม่ จึงจะสามารถบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียม ได้ตามที่เสนอ  ข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมในระยะเร่งด่วน การกาหนดมาตรการในระยะเร่งด่วน เพื่อให้การสารวจปิโตรเลียมดาเนินการไปได้ในระหว่ าง ที่มีการปรับปรุงกฎหมายทั้งฉบับ โดยจาเป็นเป็นต้องพิจารณาแก้ไขรายมาตรา แต่เฉพาะมาตราที่สาคัญ เพื่อเปิดโอกาสให้มีการนาระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิต และสัญญาจ้างบริการมาใช้บังคับได้ไปพลางก่อน และให้คณะกรรมการจากหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทาหน้าที่ในการบริหารสัญ ญาแบ่งปันผลผลิต และสัญญาจ้างผลิตปิโตรเลียม และแก้ไขปัญหากรณีที่สัมปทานผลิตปิโตรเลียมจะหมดอายุลง นอกจากนี้ยัง มีประเด็นทางกฎหมายที่ต้องแก้ไขเพื่อให้การดาเนินการในเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน การเยียวยา ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ และการให้ความสาคัญในผลกระทบสิ่งแวดล้อม อันจะนามาซึ่งการให้เกิดผล ประโยชน์กับประเทศชาติและประชาชนอย่างแท้จริง โดยเสนอให้ดาเนินการดังนี้ ๑) การเปิดประมูลในรอบ ๒๑ มีความสาคัญเร่งด่วนต่อความมั่นคงทางพลังงาน แต่จาก การศึกษาปั ญหาการใช้กฎหมายปิ โตรเลี ยมของคณะกรรมาธิการวิส ามัญ เห็ นว่า การพัฒนาแหล่ ง ปิโตรเลียมที่กระจายตัวในหลายพื้นที่ของประเทศซึ่งมีศักยภาพเชิงพาณิชย์สู งต่าต่างกันจึงควรมีระบบ ในการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมที่เปิดกว้างสอดคล้องกับศักยภาพนั้นๆ จึงต้องแก้ไขมาตรา ๒๓


Page 13

จากเดิม “กาหนดให้ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ และผู้ใดจะสารวจและผลิตปิโตรเลียมต้ องได้รับสัมปทาน” โดยการบัญญัติเพิ่มเติมให้มีรูปแบบอื่นนอกจากสัมปทานด้วย การที่รัฐบาลจะใช้ระบบสัมปทานไปก่อน โดยมีข้อตกลงในสัญญาสัมปทานว่ารัฐสามารถ ทาความตกลงในการเปลี่ยนเป็นระบบแบ่งปันผลผลิตได้ในภายหลังนั้น มีข้อควรระวัง คือ อาจทาให้เสีย บรรยากาศการลงทุน เพราะเอกชนเกิดความไม่มั่นใจในการลงทุนซึ่งอาจมีการเปลี่ยนในภายหลัง โดยอาจ ทาให้การคานวณต้นทุนไม่ชัดเจน ดังนั้นจึงควรชะลอการเปิดสัมปทานไปจนกว่าจะมีการแก้ไขปรับปรุง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบธุรกรรมที่ยังไม่บัญญัตินี้ให้เรียบร้อยก่อนทาสัญญา ถ้ามีความจาเป็นเร่งด่วนต้องเปิดประมูลแปลงปิโตรเลียมเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายใน ด้านพลังงานของประเทศ คณะกรรมาธิการวิสามัญ เห็นควรให้ทาการเปิดประมูลในระบบแบ่งปันผลผลิต คราวละ ๔-๕ แปลง ในแปลงที่มีข้อมูลมากพอสาหรับผู้เข้าร่วมการประมูล เพื่อให้มีการแข่งขันที่เป็นธรรม และรัฐได้ผลประโยชน์ตอบแทนที่สูงขึ้น หรือดาเนินการสารวจในเบื้องต้นในแปลงที่มีศักยภาพสูง โดยเป็น การสารวจเพื่อความมั่นคง ซึ่งอาจมอบหมายให้หน่วยงานภาครัฐที่มีขีดความสามารถและประสบการณ์ ร่วมกับกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ เป็นผู้ดาเนินการ ๒) กรณีที่สัมปทานผลิตปิโตรเลียมในแปลงที่สิ้นสุดอายุแล้ว และไม่อาจต่ออายุสัมปทานได้อีก แต่ยังมีศักยภาพเชิงพาณิช ย์ รัฐ สามารถตัดสินใจดาเนินการใช้ระบบอื่นที่ศึกษาแล้ว อันนามาซึ่ง ผลประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนที่ดีขึ้น จะไม่สามารถใช้ระบบที่เป็นประโยชน์นั้นได้เพราะ ข้อบังคับในมาตรา ๒๓ จึงควรแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับการดาเนินการในลักษณะเปิดกว้างในรูปแบบ ธุรกรรมจะทาให้รัฐบาลไม่ติดขัดในแง่กฎหมายที่ไม่มีทางเลือก ๓) จากข้อกาหนดที่ให้ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของชาติ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ และประชาชนอย่างแท้จริง จึงควรแก้ไขพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ มาตรา ๕๖ เพราะกาหนด ไว้ว่า “กาหนดให้ผู้รับสัมปทานมีสิทธิขายและจาหน่ายปิโตรเลียมทั้งหมด” เพราะมาตรานี้กฎหมายได้ให้ ปิโตรเลียมเมื่อผลิตขึ้นมาแล้วทั้งหมดเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้รับสัมปทาน อาจส่งผลให้เกิดความไม่มั่นคงทาง พลังงาน ถึงแม้ว่าจะมีมาตรา ๖๑ กาหนดไว้ว่าในกรณีที่มีความจาเป็นเกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศ หรือเพื่อให้มีปิโตรเลียมเพียงพอกับความต้องการใช้ภายในราชอาณาจักร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มีอานาจประกาศห้ามส่งปิโตรเลียมที่ผู้รับสัมปทานผลิตได้ทั้งหมดหรือบางส่วนออกนอกราชอาณาจักร ได้ก็ตามแต่ยังไม่เป็นหลักประกั นเพียงพอที่ทาให้รัฐสามารถบริหารจัดการปิโตรเลียมในภาพรวม ดังนั้น เราจึงควรแก้ไขกฎหมายให้สามารถร่วมบริหารจัดการ ตัดสินใจในผลผลิตปิโตรเลียมและกาหนดราคา ปิโตรเลียมทุกผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมต่อสภาวะในปัจจุบัน


Page 14

๔) ตั้งคณะกรรมการหรือคณะกรรมาธิการดาเนินการในเรื่องดังนี้ ก. ศึกษาศักยภาพของแปลงปิโตรเลียมในระดับที่สามารถกาหนดแปลงใดจะใช้รูปแบบ สัมปทานหรือแบ่งปันผลผลิตหรือการจ้าง ข. ศึกษารูปแบบระบบสัญญาและแนวทางกาหนดผลประโยชน์ของชาติเพื่อการจัดเตรียม สัญญาให้รัฐใช้ในการบริหารสัญญาของประเทศ ค. จัดทาแผนการจัดตั้ง บรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติหรือบรรษัทน้ามันแห่งชาติ (NOC) ง. จัดทากฎหมายให้สมบูรณ์ อาจแก้ไขหรือยกเลิกใช้ร่างใหม่ทั้งฉบับ ๕) วางระบบการคัดเลือกผู้ประกอบการที่เหมาะสม มาดาเนินการสารวจ พัฒนาและผลิต ทรัพยากรปิโตรเลียมในประเทศ ต้องใช้วิธีการที่มีความโปร่งใสและสร้างความไว้วางใจต่อประชาชน เช่น การประมูลการให้ส่วนแบ่งผลประโยชน์สูงสุดต่อรัฐ ๖) จากปัญหาความไม่ไว้วางใจของประชาชนต่อผู้บริหารภาคพลังงาน รัฐต้องดาเนินการ ตามแนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ มาตรา ๘๗ โดยกาหนด ให้คณะกรรมการปิโตรเลียมมีสัดส่วนของตัวแทนภาคประชาชนเข้าร่วมในสัดส่วนที่เหมาะสม โดยแก้ไข เพิ่มเติมความในหมวด ๒ คณะกรรมการปิโตรเลียม มาตรา ๑๕ ของพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ “ผู้ ท รงคุณ วุ ฒิ อี กไม่ เกิ น ห้ า คนซึ่ง คณะรั ฐ มนตรีแ ต่ งตั้ งจากบุ คคลซึ่ง มีค วามรู้ ความเชี่ย วชาญและ ประสบการณ์ในสาขาธรณีวิทยา วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเงิน กฎหมาย หรือสาขาอื่นอันจะเป็น ประโยชน์ต่อกิจการปิโตรเลียม เป็นกรรมการ” ๗) กาหนดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลของปิโตรเลียมให้ประชาชนรับทราบตามที่คณะกรรมการ ปิโตรเลียมกาหนด เนื่องจากเจตนารมณ์ในการจัดการปิโตรเลียมนั้นเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ และประชาชนอย่างแท้จริง โดยปัจจุบันประชาชนไม่มีความวางใจในภาครัฐและบริษัทน้ามันเพราะเข้าถึง ข้อมูลได้ยาก คณะกรรมาธิการวิสามัญ เห็นว่ามาตรา ๗๖ ของพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เรื่องเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนนั้นต้องแก้ไขให้เข้าถึงง่ายขึ้น โดยนาเสนอบนพื้นฐานความต้องการของภาค ประชาชนที่ทาการตรวจสอบการทางานของรัฐในเรื่องผลประโยชน์ของประเทศชาติ และตอบคาถามภาค ประชาชนอย่างตรงประเด็นที่แสดงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการทางาน และตอบสนองความต้องการ การรับรู้ข้อมูลของประชาชนภายใต้แนวนโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ มาตรา ๘๗ เพื่อฟื้นฟูความไว้วางใจของประชาชนต่อรัฐด้วยการสร้างความโปร่งใสในข้อมูลข่าวสารปิโตรเลียม อย่างเป็นจริง ๘) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ไม่ได้มีบทบัญญัติในเรื่องปัญหาของประชาชนที่ ได้รับผลกระทบอย่างชัดเจน จึงต้องเพิ่มบทบัญญัติหลักการการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบรวมถึงให้ระบุใน สัญญาปิโตรเลียมเพื่อเป็นหลักประกันต่อการคุ้มครองประชาชน โดยถือหลักการที่ว่าผู้ได้รับประโยชน์จาก การพัฒนาแหล่งพลังงาน (First Best Solution) ต้องเป็น ผู้รับภาระผลกระทบภายนอกที่เกิดกับชุมชนโดย ชดเชยผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมและทันเวลา ดังนั้น บริษัทต้องมีการวางหลักประกันหรือบริษัทซื้อประกันในเรื่องนี้เพื่อชดเชยความ เสียหายเบื้องต้นที่เกิดขึ้นก่อนเมื่อเกิดปัญหาต่อราษฎร ระบบนิเวศน์ และ อื่นๆ ถ้าไม่สามารถทาตาม เงื่อนไขข้างต้น รัฐต้องฟ้องร้องต่อผู้กระทาผิดโดยทาการแทนภาคส่วนที่ได้รับผลกระทบเช่น ประชาชน สาหรับการบรรเทาปัญหา รัฐบาลต้องตั้งวงเงินเพื่อมาชดเชย ในฐานะผู้รับผลประโยชน์รายถัดมา (Second Best Solution)


Page 15

๙) กฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมีบทบัญญัติที่ไม่ครอบคลุมในผลกระทบทางอ้อม ซึ่งเป็น ปัญหาที่สาคัญในปัจจุบัน จึงเห็นควรให้รัฐออกกฎหมายและสัญญาที่มีกาหนดวิธีการรับผิดชอบผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม และ วิถีชีวิตของราษฎร ในแปลงสัมปทานที่อยู่ใกล้ชุมชน หรือ แหล่งประกอบอาชีพเกิน สมควร อันส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิต วิถีชีวิต ทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ของประชาชน รวมถึงการสารวจและการผลิตปิโตรเลียมที่สร้างความกังวลทางกายภาพและจิตใจ ๑๐) การระงับข้อพิพาท ในเรื่องข้อผูกพันของคู่สัญญาและการชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ระหว่างประเทศเพื่อระงับข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างรัฐวิสาหกิจกับบริษัทเอกชนคู่สัญญาต่างชาติในเรื่อง การแปลความหมายของสัญญาหรือการดาเนินการตามสัญญาเท่านั้น ไม่ควรครอบคลุมกรณีพิพาทระหว่าง ประชาชนกับบริษัทเอกชนคู่สัญญาของรัฐ ให้ใช้ศาลไทยในการพิจารณาคดี ๑๑) ปรับปรุงโทษปรับต่างๆ ที่ไม่เหมาะสมต่อมูลค่าของทรัพยากรที่ดาเนินการทางธุรกิจ จึงเป็นบทลงโทษที่ไม่สร้างความเกรงกลัวได้อย่างชัดเจน อันอาจจะไม่สามารถป้องกันผู้ประกอบการละเมิด ได้ตามเจตนารมณ์ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาแล้วว่าพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้ใช้ บังคับมาเป็นเวลานาน มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสม มีระบบในการบริหารจัดการทรัพยากร ปิโตรเลียมที่จากัด ไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการดูแลผลกระทบต่อประชาชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ชัดเจน สมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมให้เหมาะสม กับสถานการณ์ปัจจุบัน มีความคล่องตัวในการดาเนินการ และสามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ จึงจาเป็นต้อง ตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้นใหม่ (๒) ผลการศึ กษาการจั ด เก็บ รายได้ข องภาครั ฐ จากปิ โ ตรเลีย ม หม่อมหลวงกรกสิ วัฒน์ เกษมศรี กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบั ญญั ติ ภาษี เงิ นได้ ปิ โตรเลี ยม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ ได้ ส รุ ป ผลการศึ ก ษา และให้ข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ ๑) ในระบบสัมปทานปิโตรเลียมปัจจุบัน มีกฎหมายหลักที่ใช้ในการควบคุมกากับและ จัดเก็บรายได้จานวน ๒ ฉบับ คือพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมรวม ๕ ครั้ง ครั้งสุดท้ายแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมรวม ๕ ครั้ง เช่นเดียวกัน ครั้งสุดท้ายแก้ไข เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒) ภายใต้ระบบสัมปทานรัฐจะมีการจัดเก็ บรายได้รวม ๓ อย่าง คือ ค่าภาคหลวง ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ และภาษีเงินได้ปิโตรเลียม โดยค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ จะมีการจัดเก็บตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และภาษีเงินได้ปิโตรเลียมซึ่งจัดเก็บตาม พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สาหรับรายได้ค่าภาคหลวงที่จัดเก็บได้นั้น จะต้องถูก จัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามอัตราที่กฎหมายกาหนด


Page 16

๓) ในส่วนที่เกี่ยวกับปัญหาการจัดเก็บรายได้และกรณีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องนั้น ได้ศึกษา วิเคราะห์ และแบ่งประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะไว้ตามลาดับ ดังนี้ รายละเอียดปรากฏใน ส่วนที่ ๓ รายงานผลการพิจารณาศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ส่วนที่ ๑ ค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (๙ ประเด็น) ส่วนที่ ๒ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (๑๕ ประเด็น) ส่วนที่ ๓ ข้อเสนอแนะอื่น ๆ (๑๔ ประเด็น) ส่วนที่ ๔ การนาระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contract (PSC) และ ระบบอื่นมาใช้กับการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย ในส่วนนี้คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญได้ ทาการศึกษาวิเคราะห์หลักการพื้นฐานของระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contract (PSC)) ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม โดยพิจารณาจากเอกสารของธนาคารโลกคือ World Bank’s the Production Sharing Contract Guide พร้อมทั้งได้ศึกษาวิเคราะห์วิธีการคานวณรายได้และผลประโยชน์ ของรัฐภายใต้ระบบแบ่งปันผลผลิตโดยเปรียบเทียบกับระบบสัมปทาน รวมทั้งวิเคราะห์ระบบแบ่งปันผลิต (PSC) ที่ใช้อยู่ในประเทศไทยปัจจุ บันในเขตพื้นที่พัฒนาร่ว มไทย-มาเลเซีย และได้สรุปปัญหาและ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการนาระบบแบ่งปันผลผลิต (PSC) มาใช้ในประเทศไทยไว้ในเบื้องต้นด้วย ส่วนที่ ๕ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขกฎหมาย ในกรณีที่มีการนาระบบแบ่งปัน ผลผลิตและระบบอื่นมาใช้กับการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย ในส่วนนี้จะเป็นการเสนอแนะ เกี่ยวกับการที่จะต้องแก้ไขพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อให้สอดคล้องกับการนาระบบแบ่งปันผลผลิตมาใช้กับการสารวจและผลิต ปิโตรเลียมในประเทศไทย  สรุปข้อเสนอแนะการจัดเก็บรายได้ของภาครัฐจากปิโตรเลียม คณะกรรมาธิการวิสามัญมีความเห็นว่า การปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติในการจัดเก็บรายได้จาก กิจการปิโตรเลียม ควรดาเนินการโดยให้คานึงถึงประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดเก็บรายได้ และอยู่บนพื้นฐาน ความเป็นธรรม นอกจากนี้ หากมีการนาระบบการบริหารทรัพยากรปิโตรเลียมอื่นใดมาใช้ในประเทศไทย จาต้องนาเรื่องของการจัดเก็บรายได้ของภาครัฐมาพิจารณาทบทวนเพื่อให้สัดส่วนรายได้โดยรวม โดยเฉพาะ กรณีการกาหนดสัดส่วนของอัตราค่าภาคหลวง อัตราต้นทุนของภาคเอกชนที่อนุญาตให้นามาหักออก อัตรา ภาษีเงินได้ และสัดส่วนของการแบ่งปันผลผลิตนั้น จะต้องให้มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยดีกว่าหรืออย่าง น้อยที่สุด ไม่ต่ากว่าระบบสัมปทาน


Page 17

๒. ประเด็นหลักการและยุทธศาสตร์ของกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมฉบับใหม่ ข้อมูลที่รวบรวมได้จากการอภิปรายในเวทีเสวนาช่วงเช้า มีดังนี้ (๑) การเปรี ย บเที ย บหลั ก การเนื้ อ หาระหว่ า ง ร่ า งกฎหมายปิ โ ตรเลี ย มของภาค ประชาชนกับร่างกฎหมายของภาครัฐ ด้วยสภาพปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโ ตรเลีย ม พ.ศ.๒๕๑๔ ที่บังคับใช้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีบทบัญญั ติบางประการที่ไม่ เหมาะสม ภาคประชาชนโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) จึงได้จัดทาร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ฉบับใหม่ขึ้น และได้ส่งร่างกฎหมายฉบับนี้ให้รัฐบาล สภาปฏิรูปแห่งชาติ และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อพิจารณาแล้ว นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ตัวแทนเครือข่ายประชาชน ปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้มีข้อสังเกตและให้ข้อเสนอแนะ ดังนี้ แนวคิดที่มาของร่ างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโ ตรเลียม พ.ศ. .... ที่ภ าค ประชาชนจัดทาขึ้นมาจากแนวคิดในการสร้างอานาจต่อรองให้แก่รัฐในการบริหารจัดการแหล่ง ปิโตรเลียม ในประเทศและเป็นร่างกฎหมายที่มีรากฐานจากประชาชนซึ่งส่งผลให้เกิดการคุ้มครองผลประโยชน์ของชาติ ได้เป็นสาคัญ หลั กการสาคัญของร่ างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลี ยม พ.ศ. .... คือ ๑) สร้างความมั่นคงของประเทศ ๒) สร้างความมั่นใจให้นักลงทุน ๓) เปิดโอกาสแข่งขันอย่างเสรีและ เป็นธรรม ๔) ลดการใช้ดุลพินิจที่ไม่โปร่งใสของเจ้าหน้าที่รัฐ และ ๕) มุ่งให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด ด้วยหลักการสาคัญ ของการจัดทาร่างกฎหมาย ทาให้เกิดดุลยภาพระหว่างอานาจและ ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย คือ ๑) ภาครัฐ มีความโปร่งใส ลดการใช้ดุลพิ นิจ มีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเต็มที่ สามารถ สร้างความมั่นคงของประเทศได้และรัฐได้รับผลตอบแทนอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วยจากการประกอบกิจการ ปิโตรเลียม ๒) ภาคเอกชน สามารถขจัดเงื่อนไขการผูกขาด เกิดการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม เอกชนจะได้รับผลประโยชน์ตามสมควร จากการแข่งขันที่เกิดขึ้น ๓) ภาคประชาชน จะได้ รั บ ผลประโยชน์ ท างตรงมากขึ้ น มี ส่ ว นร่ ว มในการก าหนด นโยบาย ตรวจสอบได้อย่างเต็มที่ และได้รับการเยียวยาผลกระทบอย่างรวดเร็วเป็นธรรม


Page 18

เปรียบเทียบร่างกฎหมายปิโตรเลียมของภาคประชาชน ของกระทรวงพลังงาน และพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ หัวข้อ

หน้าที่ของรัฐในการ สารวจเพื่อให้ได้ข้อมูล พื้นฐาน หลักการเลือกใช้ระบบ สัมปทาน

ร่าง พระราชบัญญัติ ประกอบกิจการ ปิโตรเลียม พ.ศ. .... ของ คปพ. (จัดทาใหม่) ๑. สัมปทาน ๒. แบ่งปันผลผลิต ๓. จ้างผลิต สารวจเองหรือจ้าง สารวจทุกแปลงที่มี เบาะแสว่ามีปิโตรเลียม เฉพาะแปลงที่ไม่มี เบาะแสว่ามีปิโตรเลียม

หลักการเลือกใช้ระบบ แบ่งปันผลผลิต

แปลงที่มีเบาะแส ว่ามีปิโตรเลียม

ระบบที่รองรับ

หลักการเลือกใช้ระบบ จ้างผลิต

แปลงที่มีปิโตรเลียม ชัดเจนและรัฐพร้อม ลงทุน ระยะเวลาให้สิทธิ์ ๒๐ ปี (คราวเดียว) ขนาดแปลงสูงสุดในทะเล ๑,๐๐๐ ตร.กม. ที่เปิดประมูล ต่อแปลง ขนาดแปลงสูงสุดบนบกที่ ๓ ตร.กม. ต่อแปลง (เพิ่มการแข่งขันตามแบบแคนาดา) เปิดประมูล ขนาดแปลงสูงสุดบนบกที่ ๓ ตร.กม. ต่อแปลง (เพิ่มการแข่งขันตามแบบแคนาดา) เปิดประมูล ขนาดพื้นที่รับสัมปทาน ๑๐,๐๐๐ ตร.กม. ต่ อ รวมสูงสุด แปลง จานวนแปลงที่เปิด ไม่เกิน ๓ ใน ๔ ของ ประกวดต่อรอบ จานวนผู้ทคี่ าดว่าจะเข้า ร่วม

ร่าง พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม ของ กระทรวงพลังงาน (แก้ไข) ๑.สัมปทาน ๒.แบ่งปันผลประโยชน์

พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ (เดิม)

ไม่มี

ไม่มี

๑. สัมปทาน

รัฐเลือกใช้เองตามสูตร ทุกแปลง คานวณที่ยังไม่เปิดเผย แต่ใช้ดุลพินิจตัดสิน รัฐเลือกใช้เองตามสูตร ไม่มี คานวณที่ยังไม่เปิดเผย แต่ใช้ดุลพินิจตัดสิน ไม่มี ไม่มี ๓๙ ปี (รวมต่ออายุ) ไม่จากัด

๓๙ ปี (รวมต่ออายุ) ไม่จากัด

๔,๐๐๐ ตร.กม. ต่ อ แปลง ๔,๐๐๐ ตร.กม. ต่ อ แปลง ไม่จากัด

๔,๐๐๐ ตร.กม. ต่อแปลง ๔,๐๐๐ ตร.กม. ต่อแปลง ไม่จากัด

เปิดให้มากที่สุด มากกว่าจานวนผู้ยื่น ข้อเสนอ

เปิดให้มากที่สุด มากกว่า จานวนผู้ยื่นข้อเสนอ


Page 19

หัวข้อ

จำนวนผู้เข้ำประกวดขั้น ตำต่อแปลง กำรยุติข้อพิพำท บทลงโทษ กำรเยียวยำประชำชนที ได้รับผลกระทบ

ร่าง พระราชบัญญัติ ประกอบกิจการ ปิโตรเลียม พ.ศ. .... ของ คปพ. (จัดทาใหม่) ๕ ราย

ร่าง พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม ของ ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ กระทรวงพลังงาน (เดิม) (แก้ไข) ๑ ราย (หากตกเรียก ๑ ราย (หากตกเรียก เจรจาจนได้รับ เจรจาจนได้รับสัมปทาน) สัมปทาน) ศาลยุติธรรมไทย อนุญาโตตุลาการจากต่างประเทศ โดยให้ประธาน ธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาดหากตั้งไม่ได้ให้ประธานศาล สวิสฯ ตั้งผู้ชี้ขาด โทษหนักและชัดเจน ทาง โทษเบา ไม่สมกับ โทษเบา ไม่สมกับความ แพ่ง-อาญาและยกเลิก ความเสียหายของ เสียหายของประเทศ สัญญา ประเทศ เป็นรูปธรรมและรวดเร็ว ไม่เป็นรูปธรรมและไม่ ไม่เป็นรูปธรรม กาหนดระยะเวลา และไม่กาหนด ระยะเวลา

กำรคัดเลือกผู้ได้สิทธิฯ ๑. สัมปทาน

๒. แบ่งปันผลผลิต ๓. จ้างผลิต

ประมูลค่าภาคหลวง

ยื่นปริมาณงาน/เงินค่า สารวจ ใช้ดุลพินิจให้ คะแนนหากตกเกณฑ์ ให้เรียกมาเจรจา เพื่อให้ได้รับสัมปทาน ให้ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้น ยื่นปริมาณงาน/เงินค่า จึงมีสิทธิเข้าประมูลส่วน สารวจ ใช้ดุลพินิจให้ แบ่งปิโตรเลียมแก่รัฐสูงสุด คะแนน ให้ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้น ไม่มี จึงมีสิทธิเข้าประมูลค่า รับจ้างต่าสุด

ยื่นปริมาณงาน/เงินค่า สารวจ ใช้ดุลพินิจให้ คะแนน หากตกเกณฑ์ให้ เรียกมาเจรจาเพื่อให้ ได้รับสัมปทาน ไม่มี ไม่มี


Page 20

หัวข้อ

ร่ำง พระรำชบัญญัติกำร ประกอบกิจกำร ปิโตรเลียม พ.ศ. .... ของ คปพ. (จัดทำใหม่)

ควำมเป็นธรรม ควำม โปร่งใส และตรวจสอบได้ การเลือกผู้ชนะได้รับสิทธิ์ ประมูลผลตอบแทนแก่รัฐ สูงสุดแก่รัฐ ปิดการใช้ ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ ระบบท่อขนส่งก๊าซและ การผูกขาดทาไม่ได้ ท่าเรือ เพราะถูกโอนเป็นของรัฐ และบริหารโดยบรรษัทฯ การจัดสรรปิโตรเลียมที่ ผลิตได้ ควำมโปร่งใส และกำร ป้องกันผลประโยชน์ทับ ซ้อน การตรวจสอบปริมาณ ปิโตรเลียมที่ผลิตได้ ผลประโยชน์ทับซ้อนของ เจ้าหน้าที่รัฐกับธุรกิจ ปิโตรเลียม ข้อห้ามความเกี่ยวพันกัน ระหว่างผู้ยื่นประมูลผลิต ปิโตรเลียม การเปิดเผยข้อมูลผู้ถือหุ้น หรือกองทุนของผู้รับสิทธิ์ ผลิตปิโตรเลียม

ต้องจัดสรรให้ประชาชน เป็นลาดับแรก

ร่ำง พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม ของ กระทรวงพลังงำน (แก้ไข)

พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (เดิม)

ใช้ดุลพินิจ ปิดห้องเจรจา ทีละราย โดยใช้สูตร คานวณที่ไม่เปิดเผย เหมือน พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔

อ้างว่าประมูล แต่ใช้ ดุลพินิจ ปิดห้อง เจรจาทีละราย ท่อส่วนใหญ่ถูก บริหารโดยบริษัท หนึ่งจึงเกิดการ ผูกขาด ไม่ระบุ แต่การปฏิบัติจริงให้ก๊าซแก่ธุรกิจปิโตรเคมี บางรายเป็นลาดับแรก

ให้ติดตั้งมิเตอร์อัตโนมัต เผยแพร่ตรวจสอบได้ ตลอดเวลา ห้ามมีผลประโยชน์ทับ ซ้อนทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ห้ามเกี่ยวพันกันทั้ง ทางตรงและทางอ้อม

แล้วแต่รายงานของ เอกชนในแต่ละช่วงเวลา ไม่มีข้อห้าม

แล้วแต่รายงานของ เอกชนในแต่ละ ช่วงเวลา ไม่มีข้อห้าม

ไม่มีข้อห้าม

ไม่มีข้อห้าม

ต้องเปิดเผยถึงระดับ บุคคลธรรมดา

ไม่มีข้อกาหนด

ไม่มีข้อกาหนด


Page 21

เปรียบเทียบร่างกฎหมายปิโตรเลียมของภาคประชาชน ของกระทรวงพลังงาน และพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ : ผลประโยชน์ของรัฐ กรณีใช้ระบบสัมปทาน ผลประโยชน์รัฐ กรณีสัมปทาน

ร่าง พระราชบัญญัติการ ประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ของ คปพ. (จัดทาใหม่)

ร่าง พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม ของ กระทรวงพลังงาน (แก้ไข)

พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (เดิม) (Thailand 3)

(เฉพาะแปลงที่ไม่มเี บาะแสว่ามี ปิโตรเลียมเท่านั้น)

ค่าภาคหลวง ผลประโยชน์เพิ่มเติม พิเศษ

ภาษีเงินได้ (หลังหัก ค่าใช้จ่าย) ในรูปแบบ ภาษีปิโตรเลียม รายได้ของเอกชนเพื่อ นามาคิดค่าภาคหลวง การคานวณแปลง ปริมาณก๊าซเป็นน้ามัน เพื่อคิดค่าภาคหลวง

ร้อยละ ๓๕ - ๙๐ (ตาม ประมูล) ของปิโตรเลียมรวมที่ ผลิตได้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ไม่มีเบาะแส ว่ามีปิโตรเลียม จึงไม่มี ผลตอบแทนพิเศษ แต่ใช้ ประมูลรวมไปกับค่าภาคหลวง

ร้อยละ ๕- ๑๕ (เฉลี่ยน้าหนักร้อยละ ๗.๒ จากรายได้ที่เอกชนขายได้)

ไม่มีภาษีปิโตรเลียม แต่เก็บ ภาษีรายได้จากกาไรตาม ประมวลรัษฎากรเหมือนธุรกิจ ทั่วไป คานวณและจ่ายค่าภาคหลวง เป็นปริมาณปิโตรเลียมป้องกัน การบิดเบือนราคาขาย ไม่มีการแปลง เพราะแบ่ง ผลผลิตเป็นปริมาณก๊าซตาม ความเป็นจริง

ร้อยละ ๕๐ ของกาไร (แต่สามารถตกแต่ง ค่าใช้จ่ายทาให้กาไรน้อยลงได้)

มี แต่ลดลงตามความยาวท่อจริง ความยาว ท่อเทียม และค่าลดหย่อนพิเศษ (ประเทศ เดียวในโลก)

สามารถขายปิโตรเลียมให้รายได้ต่า หลบเลี่ยง ค่าภาคหลวงได้ มาตรฐานสากลกาหนดให้ ก๊าซธรรมชาติ ๕.๗๓ ล้านบีทียู เท่ากับน้ามันดิบ ๑ บาเรล แต่กลับไปใช้สูตร ๑๐ ล้านบีทียู เท่ากับ น้ามันดิบ ๑ บาเรล ทาให้สัดส่วนก๊าซ ธรรมชาติหายไปร้อยละ ๔๒ เป็นผลทาให้ ค่าภาคหลวงลดน้อยลง


Page 22

เปรียบเทียบร่ำงกฎหมำยปิโตรเลียมของภำคประชำชน และของกระทรวงพลังงำน : ผลประโยชน์ของรัฐ กรณีใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต ผลประโยชน์รัฐ ร่ำง พระรำชบัญญัติกำร ร่ำง พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม ของ กรณีแบ่งปันผลผลิต ประกอบกิจกำรปิโตรเลียม กระทรวงพลังงำน (แก้ไข) พ.ศ. .... ของ คปพ. (จัดทำใหม่) ค่าภาคหลวง ไม่มี (ให้ไปรวมที่เดียวกับการ ร้อยละ ๑๐ ตามเจรจาตาม พระราชบัญญัติ ประมูลส่วนแบ่งผลผลิต) ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ การหักค่าใช้จ่ายก่อน ไม่อนุญาตให้หักค่าใช้จ่ายก่อน หักได้ตามจริงไม่เกินร้อยละ ๕๐ (อนุมัติโดย แบ่งผลผลิต แบ่งผลผลิตให้รัฐ อธิบดี) และส่วนเกินร้อยละ ๕๐ สามารถยก ไปหักปีต่อ ๆ ไปได้ตลอดอายุสัญญา ปริมาณปิโตรเลียมที่ใช้ คิดจากร้อยละ ๑๐๐ ของ ไม่มี แต่แบ่งจากร้อยละ ๔๐ ของมูลค่า แบ่งปันให้แก่รัฐ ผลผลิต ผลผลิตปิโตรเลียมตามที่เอกชนขายได้ ส่วนแบ่งผลผลิตของรัฐ ร้อยละ ๓๕ - ๑๐๐ จาก ประมาณร้อยละ ๒๐ จากปิโตรเลียมที่ผลิต (ระบบแบ่งปันผลผลิต) ปิโตรเลียมที่ผลิตได้ (ตามการ ได้ (ไม่มีการประมูล) ประมูล) เจ้าของกรรมสิทธิ์ เป็นของรัฐ ณ ปากหลุม เป็นของเอกชน แต่ส่วนของรัฐให้รอเอกชน ปิโตรเลียมที่ผลิตได้ ขายได้ก่อน จึงแบ่งผลประโยชน์ การขายปิโตรเลียมที่ รัฐขายหรืออาจเก็บเข้าคลัง ขายโดยเอกชนผู้รับสัญญา สามารถขายให้ ผลิตได้ ปิโตรเลียมสารองของชาติได้ บริษัทหุ่นเชิดเพื่อลดมูลค่าผลผลิตและส่วน แบ่งรัฐ ผลประโยชน์เพิ่มเติม มี และเพิ่มขึ้นตามสัดส่วน มี แต่ลดลงตามความยาวท่อจริง ความยาว พิเศษ ผลผลิตและราคาตลาดโลก ท่อเทียม และค่าลดหย่อนพิเศษ (ตามมาตรฐานสากล) (ประเทศเดียวในโลก) เปรียบเทียบร่ำงกฎหมำยปิโตรเลียมของภำคประชำชน และของกระทรวงพลังงำน : ผลประโยชน์ของรัฐ กรณีใช้ระบบจ้ำงผลิต ผลประโยชน์รัฐ ร่ำง พระรำชบัญญัติกำร ร่ำง พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม ของ กรณีจ้ำงผลิต ประกอบกิจกำรปิโตรเลียม กระทรวงพลังงำน (แก้ไข) พ.ศ. .... ของ คปพ. (จัดทำใหม่) ปริมาณปิโตรเลียมรัฐได้ ร้อยละ ๑๐๐ ของผลผลิต ไม่มี เอกชนได้รับค่าจ้างผลิต ตามผลการประมูล และ ไม่มี และผลประโยชน์อื่น ข้อกาหนดในสัญญา ภาษีเงินได้ (หลังหัก รัฐเก็บตามอัตราภาษีเงินได้ นิติ ไม่มี ค่าใช้จ่าย) บุคคล


Page 23

(๒) ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการแหล่งปิโตรเลียมของประเทศไทยในอนาคตผ่านการ แก้ไขกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมฉบับใหม่ : ข้อเสนอของ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ตัวแทนเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้มีข้อสังเกตและให้ข้อเสนอแนะ ดังนี้ การบริหารจัดการแหล่งปิโตรเลียมในอนาคตที่ประเทศไทยต้องพิจารณา แบ่งได้เป็น ๓ กลุ่ม กลุ่มที่ ๑ แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะหมดอายุ กลุ่มที่ ๒ แปลงที่มีศักยภาพที่จะเปิดประมูลรอบใหม่ กลุ่มที่ ๓ แปลงสัมปทานในพื้นที่ที่อ้างว่าทับซ้อนในอ่าวไทยระหว่างไทย-กัมพูชา  สถานการณ์ปัญหา กลุ่มที่ ๑ แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะหมดอายุ ได้แก่ แหล่งบงกช และเอราวัณ - รัฐบาลไม่มีอานาจถ่ายโอนกรรมสิทธิ์การผลิตปิโตรเลียมก่อนหมดอายุสัมปทาน - อาจทาให้ประเทศไทยขาดก๊าซธรรมชาติเพื่อผลิตไฟฟ้าในปี ๒๕๖๕ หากไม่ให้ราย เดิมได้สัญญาต่อ - เอกชนมีอานาจต่อรองเหนือรัฐบาลไทย กลุ่มที่ ๓ แปลงสัมปทานในพื้นที่ทับซ้อน - แหล่งปิโตรเลียมในพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างว่าทับซ้อน มีศักยภาพสูง แต่ไทยกับกัมพูชายัง เจรจาตกลงกันไม่ได้ - แต่ประเทศไทยได้มอบสัมปทาน ตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ (ซึ่งรัฐ ได้ผลตอบแทนต่า และเสียเปรียบเทียบเอกชนมาก) ให้แก่ บริษัทยูโนแคล ซึ่งกลายเป็นบริ ษัทเชฟรอนใน ปัจจุบัน - ทาให้ป ระเทศไทยไม่ได้ผลประโยชน์จากพื้นที่ดังกล่ าว และจะคงปัญหาต่อไปใน อนาคตหากไม่สามารถนากลับมาเป็นของรัฐได้ กลุ่มที่ ๒ แปลงที่มีศักยภาพที่จะเปิดประมูลรอบใหม่ หากบริหารจัดการดี จะกลายเป็น อานาจต่อรองของรัฐ  เป้าหมายในการจัดทาข้อเสนอของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ๑) เพื่อสร้างอานาจต่อรองให้รัฐ โดยไม่อยู่ใต้แรงกดดันจากผู้รับสัมปทานรายเดิม ที่อ้างว่าจะ ลดกาลังการผลิตลง หรือทาให้การผลิตไม่ต่อเนื่อง เมื่อสัญญาสัมปทานหมดอายุ ๒) เพื่อทาให้การผลิตปิโตรเลียม (โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติ) ยังคงดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ในช่วงเปลี่ยนผ่านก่อนหมดอายุสัญญาสัมปทานเดิมในปี ๒๕๖๕ ๓) เพื่อทาให้เกิดผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุด ด้วยการสร้างกลไกในการแข่งขันเสรี ที่มีความ โปร่งใสและเป็นธรรมต่อผู้แข่งขัน เพื่อให้ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการปิโตรเลียมบรรลุในเป้าหมายข้างต้น การเปิดประมูล แหล่ ง ปิ โ ตรเลี ย มรอบที่ ๒๑ หรื อ รอบต่ อ ไปจึ ง มี ค วามส าคั ญ มากที่ รั ฐ จะต้ อ งพิ จ ารณาอย่ า งรอบด้ า น โดยเฉพาะการกาหนดเงื่อนไขเพื่อเพิ่มอานาจต่อรองให้แก่รัฐก่อนการทาสัญญาให้สิทธิการประกอบการ ปิโตรเลียมรอบต่อไป เพื่อให้ประเทศชาติและประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด  ข้อเสนอ เกณฑ์การเปิดประมูลแหล่งผลิตปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑


Page 24

๑) ให้รัฐบาลใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต เฉพาะแปลงที่อยู่ในอ่าวไทยใกล้แหล่งเอราวัณและ แหล่งบงกช โดยกาหนดเงื่อนไขพิเศษเอกชนที่จะมีสิทธิเข้าประมูล หากมีสัมปทานเดิม จะต้องยินยอม ๒) แก้ไขสัญญาสัมปทานเดิมให้รัฐสามารถจัดการถ่ายโอนการผลิตในช่วงเปลี่ยนผ่านการ หมดอายุสัมปทาน และต้องให้หลักประกันว่าทรัพย์สินที่ผู้รับสัมปทานได้มาเพื่อการผลิตปิโตรเลียมไม่ว่าเช่า หรือซื้อมาจะต้องอยู่ในสภาพใช้งาน และทรัพย์สินเหล่านี้จะต้องตกเป็นของรัฐเมื่อหมดอายุสัญญา ๓) ให้ ผู้ รั บ สิ ท ธิ์ส ารวจและผลิ ต ยิน ยอมสละสิ ทธิ์ ในสั ม ปทานปิโ ตรเลี ยม ตาม พรบ. ปิโตรเลียม ๒๕๑๔ ในพื้นที่ที่ถูกอ้างว่าทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาด้วย  เงื่อนไข หากผู้รับสัมปทานรายเดิมในแหล่งเอราวัณ บงกช หรือแหล่งอื่น ๆ ไม่ยินยอมแก้ไขสัญญา จะเป็น การสละสิ ทธิ์ในการประมูล ในทุก ๆ แปลงปิโตรเลี ยมที่เปิดประมูลในอนาคตทั้งหมด รวมไปถึง แหล่งบงกช และเอราวัณ (รอบใหม่) ในปี ๒๕๖๕ ด้วย แผนภูมิแสดง แนวทางการเพิ่มอานาจต่อรองให้กับรัฐ เพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบในอดีตทั้งหมด เพื่อได้ สทิ ธิร่วมประมูล

เปิ ดประมูลแปลงที่มศี กั ยภาพโดยมีเงื่อนไขให้ ผ้ ู

เพื่อได้ สทิ ธิร่วมประมูล

ประมูลเปลีย่ นแปลงสัญญาเดิม ยอมแก้ ไขสัญญาให้ รัฐเข้ า

ยอมยกเลิกสัมปทานเดิม

ถ่ายโอนการผลิตเพื่อความ

ในแปลงพื ้นที่ทบั ซ้ อนฯ

ต่อเนื่อง แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะ หมดอายุ

ได้ สทิ ธิเข้ าร่วมประมูลแปลงบงกชและ

แปลงสัมปทานในพื ้นที่ที่อ้างว่าทับ

เอราวัณในปี ๒๕๖๕ อีกด้ วย

ซ้ อนในอ่าวไทยระหว่างไทยกัมพูชา

เงื่อนไขผู้ประกอบการ (ตัวอย่างเชฟรอน) กรณียินยอมตามเงื่อนไข ๑) ยอมสละสั ญญาสิทธิ์ในการส ารวจและผลิตปิโตรเลี ยมในพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างว่าทับซ้อน ทั้งหมด ๒) ได้สิทธิ์ประมูลแบ่งปันผลผลิตทั้งห้าแปลงที่มีศักยภาพ ๓) ได้สิทธิ์ในการประมูลแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมในทุกแปลงที่จะจัดประมูลต่อไปในอนาคต รวมถึงพื้นที่แหล่งเอราวัณ และแหล่งบงกช


Page 25

กรณีไม่ยินยอมตามเงื่อนไข ๑) เหลือเพียงสิทธิ์ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม ในพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างว่าทับซ้อนในทะเล อ่าวไทย ซึ่งไม่มีแนวโน้มใด ๆ ที่จะยุติได้ ๒) เสียสิทธิ์ในการประมูลแบ่งปันผลผลิตในทุกแปลงปิโตรเลี ยมจากนี้ไป รวมทั้งห้าแปลงที่มี ศักยภาพ ๓) เสียสิทธิ์ในการประมูลทุก ๆ แปลงที่ปิดประมูลในแหล่งบงกช และแหล่งเอราวัณ หลังจาก การสิ้นสุดอายุสัมปทานโดยปริยาย แผนภูมิแสดงมาตรการการสร้างหลักประกันความต่อเนื่อง ในการผลิตปิโตรเลียมของแหล่งบงกชและเอราวัณ รัฐบาลสัง่ ปตท.สผ.ให้ แก้ ไขสัญญาให้ รัฐเข้ าถ่ายโอนการผลิตเพือ่ ความต่อเนื่องในแหล่งบงกช

เปลีย่ น ปตท.สผ.ให้ เป็ นของรัฐร้ อยละ ๑๐๐ และลดต้ นทุนการผลิตให้ แข่งขันได้

ไม่ทันเวลา

ให้ กรมพลังงานทหารรับโอน หรื อจ้ างเหมาหรื อ จ้ างกลุม่ คน เพื่อดาเนินการ ผลิตก๊ าซธรรมชาติ เองได้ ทนั ที

ทันเวลา

เกิดความต่อเนื่อง ในการผลิตก๊ าซธรรมชาติ ในอ่าวไทย

ปตท.สผ. รับจ้ างผลิตต่อใน แหล่งบงกชและเอราวัณ โดยไม่ต้องประมูล


Page 26

 สรุปข้อเสนอแนะ ๑) รัฐบาลออกพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฉบับใหม่เพื่อรองรับการประมูลระบบแบ่งปัน ผลผลิต โดยใช้ร่าง พระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม ฉบับประชาชน เป็นฐาน และจัดตั้ง บรรษัทปิโตรเลียมไทย เพื่อรองรับการบริหารจัดการปิโตรเลียมของรัฐ ๒) เปิดประมูลแปลงปิโตรเลียมรอบใหม่ เฉพาะแปลงในอ่าวไทยที่มีข้อมูลในศักยภาพ เชิงพาณิชย์ โดยบริษัท เชฟรอน จะเข้าร่วมได้ต่อเมื่อยอมแก้ไขสัญญาเดิม ให้รัฐสามารถจัดการถ่ายโอนการ ผลิตในช่วงเปลี่ยนผ่านการหมดอายุสัมปทาน และยอมยกเลิกสัญญาสัมปทานในพื้นที่ที่ประเทศกัมพูชา อ้างว่าทับซ้อน ๓) กรณีที่บริษัทเชฟรอนยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อ ๒) บริษัทเชฟรอน จะมีสิทธิเข้าร่วม ประมูลในแหล่งปิโตรเลียมแหล่งใหม่ และมีสิทธิประมูลต่อในแปลงบงกช และเอราวัณ รอบใหม่ปี ๒๕๖๕ ด้วย ๔) เกิดความต่อเนื่องในการผลิตก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย ๕) กรณีที่บริษัทเชฟรอนไม่ยอมปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อ ๒) ให้รัฐบาลเปิดประมูล ตามปกติ โดยไม่มีเชฟรอน แล้วใช้มาตรการกดดันผ่านบริษัท ปตท สารวจและผลิต จากัด (มหาชน) และกรมการพลังงาน ทหาร เกิดความต่อเนื่องในการผลิตก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย นอกจากนี้รัฐควรเพิ่มอานาจต่อรองให้กับตัวเองด้วยการสร้างความมั่นคงพลังงานโดยพลังงาน หมุนเวียน เพื่อลดการพึ่งพาพลังงานฟอสซิล ดังนี้ ๑) สนับสนุนพลังงานหมุนเวียน ๒) ลดการพึ่งพาพลังงานฟอสซิลทุกประเภท ๓) รับซื้อพลังงานหมุนเวียนโดยไม่จากัดและให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าเท่ากัน ๔) รักษาสิ่งแวดล้อมไม่ใช้พลังงานถ่านหินและนิวเคลียร์ โดยมีแหล่งผลิต เช่น โรงไฟฟ้าชีวมวล โรงไฟฟ้าจากขยะ โรงไฟฟ้าพลังน้า โรงไฟฟ้าจากปาล์มดิบ เป็นต้น (๓) ความจาเป็นในการจัดตั้งบรรษัทน้ามันแห่งชาติหรือองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ ให้เป็น ผู้บริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมของประเทศ นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และผู้เชี่ยวชาญ ด้านการเงินการคลัง ได้เสนอยุทธศาตร์ที่สาคัญว่า การจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติหรือบรรษัทน้ามัน แห่งชาติ นับเป็นปัจจัยหลักที่จะชี้ให้เห็นว่าข้อเสนอแก้ไขกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมของกระทรวงพลังงาน เป็นข้อเสนอที่เป็นไปไม่ได้ และเป็นจุดบกพร่องที่สาคัญ โดยมีข้อมูลประกอบ สรุปได้ดังนี้


Page 27

(๓.๑) ประวัติการจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติของโลก มีนั กประวัติศ าสตร์ วิ เคราะห์ ว่า การนาปิโ ตรเลี ยมที่โ ผล่ จ ากใต้ ดินขึ้น มาใช้ป ระโยชน์โ ดย มนุษยชาติครั้งแรกๆ ของโลกนั้น เกิดขึ้นเมื่อสี่พันปีก่อนในสมัยกรุงบาบีล อน โดยเป็นการนาขึ้นมาใช้เป็น ยางมะตอยเพื่อยึดก้อนหินที่ใช้ก่อสร้างถนนและอาคาร แต่การขุดให้น้ามัน ดิบขึ้นมาจากใต้ดินเป็นล่าเป็น สันครั้งแรกนั้น กล่าวว่าเกิดขึ้นที่ประเทศจีนเมื่อหนึ่งพันเจ็ดร้อยปีก่อน โดยใช้ปล้องไผ่เป็นท่อส่งน้ามัน ส่วนการกลั่นน้ามันเพื่อมาใช้จุดตะเกียงแสงสว่าง เกิดขึ้นครั้งแรกในโลกอาหรับเมื่อเจ็ดร้อยปีก่อน การประกอบการสารวจและผลิตปิโตรเลียมที่เรารู้จักกันทุกวันนี้ เกิดขึ้นในรูปธุรกิจเมื่อ ๑๕๐ ปีก่อนเท่านั้นเอง ซึ่งช่วงแรกไม่ค่อยจะมีความสาคัญทางเศรษฐกิจมากนัก เพราะขณะนั้นแหล่งพลังงาน หลักของโลกคือ ถ่านหิน ต่อมาเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ทั้งในยุโรปและอเมริกา ตลอดจนการ นาก๊าซมาใช้ในบ้านเรือน จึงทาให้มคี วามต้องการปิโตรเลียมพุ่งสูงขึ้นมาเรื่อยๆ ส่วนประเทศไทยเริ่มขบวนการสารวจและผลิตปิโตรเลียมเมื่อสี่สิบกว่าปีก่อน ในสมัยนั้น ผู้สารวจและผลิตปิโตรเลียมเป็นบริษัทเอกชนรายใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและยุโรป รวม ๗ ราย จนมีผู้ตั้งชื่อ ให้กลุ่มบริษัทน้ามันยักษ์ใหญ่ทั้งเจ็ดนี้ว่า เซเวนซิสเตอร์ (Seven Sisters) ถือว่าเป็นกลุ่มบริษัทที่มีอิทธิพล ต่อวงการค้าน้ามันในยุคนั้นอย่างมากโดยมีส่วนแบ่งปริมาณสารองพิสูจน์แล้วถึงร้ อยละ 85 ของทั้งโลกใน ยุค บริษัทเหล่านี้ถ้าเอ่ยชื่อเดิมคนไทยอาจจะไม่ค่อยรู้จัก แต่ชื่อปัจจุบันคือ (๑) เชฟรอน(Chevron) (๒) โม บิล (Mobil) (๓) เท็กซาโก(Texaco) (๔) กัลฟ์ (Gulf) (๕) เอ็กซอน (Exxon) (๖) บริทิช ปิโตรเลียม (British Petroleum) (๗) เชลล์ (Shell) โดย ๕ รายแรกเป็นบริษัทสหรัฐอเมริกา ส่วน ๒ รายหลังเป็น บ ริ ษั ท ในยุโรป ถึงแม้ว่าจะมีแหล่งปิโตรเลียมในสหรัฐ อเมริกาเป็นจานวนมาก แต่แหล่งปิโตรเลียมใหญ่ๆ ของโลกที่ ๗ บริษัทเหล่านี้เข้าไปควบคุมการผลิตจนมีปริมาณสารองปิโตรเลียมมากมายมหาศาลนั้น เกิดขึ้น ในประเทศกาลังพัฒนาเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งส่วนหนึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นของประเทศในยุโรป และอีกส่วนหนึ่ง เคยเป็นประเทศทีถ่ ูกสหรัฐอเมริกาและยุโรปเข้าไปมีอิทธิพลควบคุมทางด้านการทหารและการเมือง ดังนั้น ทั้ง ๗ บริษัทจึงอาศัยอานาจอิทธิพลของสหรัฐ อเมริกาและยุโรป ในการผลักดันให้ประเทศผู้เป็นเจ้าของ ปิโตรเลียมต้องเปิดช่องให้เข้าไปทาธุรกิจ และกาหนดเงื่อนไขที่เอื้ออานวยแก่บริษัทต่างชาติเหล่านี้ นอกจากบริษัท ปิโตรเลียมขนาดยักษ์ ของสหรัฐอเมริกาแล้ว ประเทศเจ้าอาณานิคมหลาย ประเทศก็ได้ตั้งบริ ษัทปิโ ตรเลี ยมกึ่งรั ฐขึ้นมาเพื่อทาธุรกิจกับ ประเทศเมืองขึ้ นด้วย เช่น กรณีอังกฤษตั้ง บริทิช ปิโตรเลียม (British Petroleum) ปัจจุบันเป็นบีพี (BP) กรณีเนเธอร์แลนด์ตั้ง โรยัล ดัตช์ เชลล์ (Royal Dutch Shell) กรณีฝรั่งเศสตั้งบริษัทซีเอฟพี (CFP : Compagnie française des pétroles ) ปัจจุบันคือบริษัทโททาล เอส.เอ. (Total S.A.) กรณีอิตาลีตั้งบริษัทเอกิป (Agip : Azienda Generale Italiana Petroli) กรณีสเปนตั้งบริษัทเรปซอล (Repsol) เป็นต้น ทั้งนี้การที่ประเทศยุโรปใช้พลังอานาจ ทางการเมือง บีบบังคับให้ประเทศกาลังพัฒนาต้องเปิดประตูทาธุรกิจด้วยนั้น ได้เคยมีการจัดตั้งบริษัทใน ลักษณะนี้มาแล้วในอดีต เช่น บริษัทอีสต์อินเดีย บริษัทอีสต์เอเชียติก เพื่อค้าขายสินค้าอื่นๆ ด้วย แต่มาบัดนี้ ดุลอานาจในธุรกิจปิโตรเลียมได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง โดยกลุ่มบริษัทที่มีอานาจ ในธุรกิจนี้ได้เปลี่ยนจากเซเวนซิสเตอร์ ไปเป็นองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติของประเทศต่างๆ ซึ่งองค์กร ปิโตรเลียมแห่งชาติเหล่านี้ทั่วโลกมีสัดส่วนการผลิตปิโตรเลียมสูงถึงร้อยละ ๗๕ ของโลก และเป็นผู้ควบคุม ปริมาณสารองปิโตรเลียมมากถึงร้อยละ ๙๐ ของปริมาณสารองทั้งหมดในโลก


Page 28

เหตุใดองค์กรปิ โตรเลี ยมแห่ งชาติของประเทศต่างๆ จึงกลายมาเป็นผู้ ที่กุ มอานาจในธุรกิจ ปิโตรเลียมแทนบริษัทน้ามันข้ามชาติ มี ๓ เหตุผล คือ ๑) การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เดิมเป็นเมืองขึ้นเกือบทั้งหมดได้รับอิสรภาพ ประเทศ เหล่านี้จึงเริ่มการปลดแอกยึดคืนธุรกิจปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่ งชาติขึ้น เริ่มต้นด้วย ประเทศในลาตินอเมริกา ต่อด้วยประเทศตะวันออกกลาง อินโดนีเซีย ไนจีเรีย มาเลเซีย และการรวมตัว กันเป็นกลุ่มโอเปค (OPEC) ทาให้ประเทศกลุ่มนีม้ ีอิทธิพลต่อการกาหนดทิศทางราคาน้ามันโลกได้ด้วย ๒) การเปลี่ยนจากระบบสัมปทานไปเป็นระบบแบ่งปันผลผลิต ประเทศกาลังพัฒนาที่เริ่มต้นการสารวจและผลิตปิโตรเลียม เริ่มต้นโดยใช้ระบบสัมปทาน เป็นสาคัญ เพราะเป็นระบบที่ผลักภาระการทางาน ภาระการลงทุน และความเสี่ยงต่างๆ ไปให้แก่เอกชน โดยประเทศเจ้าของทรัพยากรไม่ต้องทางานเองมากนักจึงเป็นระบบที่สะดวก แต่ป ระมาณสี่ สิ บ ปี ก่ อนได้มี บางประเทศเปลี่ ย นไปใช้ร ะบบแบ่ง ปันผลผลิ ต บางส่ ว นหรื อ ทั้งหมด ได้พบว่าทาให้ประเทศนั้นมีอานาจต่อรองสูงขึ้นและได้รับผลประโยชน์มากขึ้น จึงมีประเทศที่ เปลี่ ย นไปใช้ ร ะบบแบ่ ง ปั น ผลผลิ ต มากขึ้ น เป็ น ล าดั บ แต่ ใ นระบบแบ่ ง ปั น ผลผลิ ต นั้ น ประเทศเจ้ า ของ ทรัพยากรจะได้ส่วนแบ่งเป็นปิโตรเลียม จึงจาเป็นต้องมีการบริหารจัดการ ซึ่งทุกประเทศนั้นใช้กลไกองค์กร ปิโตรเลียมแห่งชาติ จึงทาให้มีการจัดตั้งองค์กรแบบนี้มากขึ้น ๓) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการสารวจปิโตรเลียม การที่ปิโตรเลียมเป็นวัตถุที่อยู่ลึกลงไปใต้ดิน ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจนี้เมื่อร้ อยปีก่อน การสารวจ จึงเป็นการเก็งกาไรที่มีความเสี่ยงสูงแลกกับผลตอบแทนที่สูงด้วยเช่นกัน บริษัทที่ประสบความสาเร็จต้อง อาศัยโชคอย่างมาก และในช่วงแรกมีน้อยบริษัทที่ตระหนักถึงการใช้หลักวิชาการเพื่อการนี้ ดังมีประวัติ ของนายพอล เกตตี้ ที่ทาธุรกิจสารวจในสหรัฐและเขียนบรรยายไว้ว่า ในช่วงเริ่มต้นเขาสามารถเก็งจุดที่ ควรจะขุดได้อย่างถูกต้องหลายครั้ง โดยการสังเกตรูปลักษณะของพื้นดินว่ามีลักษณะเป็นเนินนูนสูงขึ้น และจะเจาะตรงจุดสูงสุด ดังนั้น บริษัทน้ามันของเกตตี้ จึงเป็นบริษัทในกลุ่มแรกๆที่จ้างนักธรณีวิทยาเข้า มาช่วยในการวิจัย แต่เมื่อเวลาผ่านมาในช่วงสี่สิบหรือห้าสิบปีนี้ ความรู้ด้านธรณีวิทยาพัฒนาได้สูงขึ้น ให้การ ค้นหาปิโตรเลียมซึ่งเดิมเคยเป็นเรื่องลึกลับกลายเป็นเรื่องธรรมดา เพราะสามารถใช้ดาวเทียมและใช้วิธีขุด เจาะหลุมเพื่อทดสอบชั้นดิน เข้ามาเป็นข้ อมูลช่วยในการวิเคราะห์ ดังนั้นอานาจผูกขาดเรื่องความรู้ด้าน เทคโนโลยีของบริษัทจากสหรัฐและยุโรปลดลงไปอย่างมาก ในกรณีของไทย มีคาถามว่า จาเป็นจะต้องมีการจัดตั้งองค์กรแบบนี้ขึ้นหรือไม่ เนื่องจากไทย ไม่เคยเป็นเมืองขึ้น จึงไม่มีระเบียบวาระที่จะต้องปลดแอกเรื่องนี้ การพิจารณาความจาเป็นจึงต้องคานึงถึง ประเด็นต่างๆ ให้ครบวงจร


Page 29

(๓.๒) งานด้านปิโตรเลียมของประเทศไทย ไทยเคยมีองค์กรแบบนี้ในรูปของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย แต่ในปี พ.ศ.๒๕๔๔ ได้มี การแปรรูปไปเป็นบริษัท ปตท. จากัด(มหาชน) และมีบริษัทลูกที่ทาหน้าที่สารวจคือ บริษัท ปตท.สารวจ และผลิตปิโตรเลียม จากัด(มหาชน) หรือ ปตทสผ. ก็ได้มีการขายหุ้นออกไปให้แก่เอกชนประมาณกึ่งหนึ่ง ดังนั้น ในขณะนี้ ประเทศไทยจึ งไม่มีองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ และที่ผ่านมาก็ไม่มีความจาเป็น เพราะ การให้สิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียมนั้นใช้ระบบให้สัมปทานแบบเดียว ดังนั้น รัฐบาลได้ผลตอบแทนในรูป ตัวเงิน ไม่ว่าจะเป็นค่าภาคหลวง ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มหรือภาษี เงินที่ได้รับจึงส่งเข้าคลังหลวงตรง ไม่ จาเป็นต้องมีองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติหรือบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ แต่ในอนาคตประเทศไทยจะมีการเพิ่มทางเลือก ทั้งในระบบแบ่งปันผลผลิตและระบบจ้าง ผลิต ซึ่งรัฐจะได้ส่วนแบ่งหรือได้ผลประโยชน์เป็นปิโตรเลียม จึงจาเป็นต้องพิจารณาว่า วิธีการบริหาร จัดการปิโตรเลียมที่รัฐบาลไทยจะได้รับนั้น สมควรมีการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเพื่อดาเนินการ หรือไม่ ในเรื่องนี้ ปลัดกระทรวงพลังงานคนปัจจุบันให้ข่าวว่าไม่จาเป็น และมีบางคนที่แสดงความ คิดเห็นคัดค้านและแสดงความห่วงใยไว้ โดยเน้นประเด็นดังนี้ (ก) เกรงว่าบรรษัทฯ จะมีสิทธิพิเศษ โปร่งใส น้อยลง แทรกแซงได้ง่าย (ข) หลายประเทศประสบความล้มเหลว และเป็นบ่อเกิดของการคอร์รัปชั่น (ค) เป็นแนวคิดที่น่ากลัว (ง) ในบางประเทศเช่นเวียดนามและมาเลเซียไม่สามารถตรวจสอบได้ (ฉ) การตั้ง หน่วยงานใหม่ต้องมีบุคลากรที่มีความพร้อมซึ่งต้องใช้เวลา (ช) สิ้นเปลืองงบประมาณเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกัน ก็ไม่มีหลักประกันว่าจะทางานสาเร็จหรือไม่ ดังนั้น จึงควรต้องพิจารณาเรื่องนี้โดยไม่มีอคติเป็นที่ตั้ง และวิธีพิจารณาที่ครอบคลุมที่สุด คือ การพิจารณาเนื้องานเกี่ยวกับปิโตรเลียมของประเทศไทยแต่ละด้านๆ ซึ่งมีดังนี้ (ก) งานด้านกาหนดนโยบาย เกี่ยวกับการสารวจปิโตรเลียม ขณะนี้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ มีอานาจและหน้าที่เป็นผู้พิจารณาและเสนอนโยบายเรื่องพลังงานต่อ คณะรัฐมนตรี สาหรับการจัดทากฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมฉบับใหม่ของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงาน ไทย(คปพ.) มิได้เสนอให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติฉบับนี้ด้วย คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.)จึงไม่เกี่ยวกับการจัดตั้งบรรษัทฯ แต่ในความคิดเห็นนั้น สมควรมีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว เพื่อ กาหนดขั้นตอนการทางานของคณะกรรมการ ที่บังคับให้มีการรับฟังความเห็นจากภาคประชาชนเป็น ประจา เพื่อเปิดช่องทางให้ประชาชนสามารถถ่ายทอดข้อกังวลต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการได้ส ะดวก และ เปิดให้คณะกรรมการสามารถชี้แจงแก้ข้อกังวลของประชาชนด้วย เป็นการสื่อสารสองทาง (ข) งานด้านการกากับและบังคับใช้กฎหมาย ในส่วนที่เกี่ยวกับปิโตรเลียม ขณะนี้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ยังมีอานาจในการกาหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขเรื่องราคาพลังงานอีกด้วย ซึ่งถึงแม้ร่างกฎหมายของ คปพ. มิได้เสนอเกี่ยวกับเรื่องนี้ก็ตาม แต่ ในความเห็นของตน งานด้านการกาหนดราคาและรวมไปถึงการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับกองทุนน้ามันและ การอุ ด หนุ น ราคาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ดนั้ น ควรจะแยกออกเป็ น คณะกรรมการชุ ด ต่ า งหาก เพื่ อ เปิ ด ให้ มี ภ าค ประชาชนเข้าไปร่วมเป็นกรรมการด้วย เพราะการกาหนดหลักเกณฑ์เรื่องราคานั้น มีผลกระทบต่อสวัสดิภาพ ความเป็นอยู่ของประชาชนโดยตรง จาเป็นต้องดาเนินการอย่างเป็นธรรม และป้องกันการเอื้อประโยชน์ ให้แก่เอกชนบางรายเกินสมควร


Page 30

ส่วนงานด้านการกากับและการบังคับใช้กฎหมาย ในส่วนที่เ กี่ยวกับการสารวจปิโตรเลียมนั้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการทางานและความปลอดภัย การนาส่งข้อมูลแก่รัฐ และ การเปิดเผยข้อมูลแก่ประชาชน การรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน ฯลฯ ถึงแม้จะมีการจัดตั้งบรรษัทฯ ขึ้นมาก็ตาม ก็ยังสมควรให้เป็นอานาจและหน้าที่ของกระทรวงพลั งงานและส่วนราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น บรรษัทฯ จึงจะทาหน้าที่เฉพาะเป็น ผู้ดาเนินการตามสัญญา (Operator) มิใช่เป็นผู้กากับดูแล (Regulator) กิจการปิโตรเลียม หากจะกาหนดในกฎหมายให้บรรษัทฯ มีอานาจ ก็ควรจากัดของเขตเฉพาะการมีอานาจด้าน การกาหนดและบังคับกติกาธุรกิจต่อเอกชนที่มาทาธุรกิจกับบรรษัทฯ เท่านั้น ไม่ใช่การให้บรรษัทฯ มี อานาจในฐานะผู้กากับดูแล (Regulator) แบบเดียวกับหน่วยราชการ (ค) งานด้านการเป็นคู่สัญญากับเอกชน และการปกป้องคุ้มครองสิทธิของรัฐ งานนี้ เป็ นงานที่แสดงถึงความจาเป็นต้องมีบรรษัทฯ ที่ชัดเจนที่สุ ด ในระบบสัมปทานนั้น กรรมสิทธิ์ในแปลงสารวจเป็นของรัฐตลอดเวลา เพียงแต่รัฐมอบอานาจให้แก่เอกชนโดยการให้สัมปทาน ซึ่งให้สิทธิแก่เอกชนในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมตามอายุสัมปทาน โดยเอกชนต้องจ่ายผลประโยชน์แก่ รัฐตามอัตราตายตัวที่กาหนด ดังนั้น จึงไม่จาเป็นต้องมีองค์กรที่ถือกรรมสิทธิ์ในแปลงสารวจแทนรัฐ แต่ในระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตนั้น รัฐจะทาสัญญากับเอกชน เพื่อให้สิทธิเอกชนในการ สารวจและผลิตปิโตรเลียม แล้วเมื่อพบปิโตรเลียมก็จะมีส่วนแบ่งให้แก่รัฐ ดังนั้น จึงจะต้องมีบุคคลหนึ่ง ซึ่งทาหน้าที่เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิในแปลงสารวจและผลิตปิโตรเลียมแทนรัฐ และเพื่อทาหน้าที่ เป็นคู่สัญญากับเอกชนแทนรัฐ ซึ่งในกรณีปกติหน่วยงานที่จะเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆ แทนรัฐก็ คือกรมธนารักษ์ แต่กรณีนี้ การใช้กรมธนารั กษ์ไม่เหมาะสม เพราะหน้าที่ขององค์กรรัฐ ที่เป็นคู่สั ญญากั บ เอกชนนั้นจะมีหลายอย่าง เช่น ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเอกชนปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา เจรจากับเอกชน กรณีถ้าหากจาเป็นต้องมีการปรับปรุง หรือมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญา เจรจาหรือต่อสู้กับเอกชน ในขบวนการอนุญาโตตุลาการ หรือขบวนการยุติธรรมอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อบังคับให้มี การปฏิบัติตามสัญญา งานเหล่านี้จาเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความชานาญเฉพาะมากกว่าข้าราชการกรมธนา รักษ์ ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้ (ง) งานด้านการคัดเลือกแปลง และคัดเลือกเอกชน เพื่อเปิดให้ทาการสารวจ ที่ผ่ านมา หน่ ว ยงานที่ดาเนินการเรื่องนี้คือ กระทรวงพลั งงาน ในระบบสั มปทานนั้นการ เปรียบเทียบระหว่างผู้ยื่นขอสัมปทาน ไม่สามารถใช้วิธีประมูลได้ เพราะทุกรายจะจ่ายผลประโยชน์ให้แก่รัฐ เท่ากัน ตามอัตราที่กาหนด กระทรวงพลังงานจึงอาศัยวิธีกาหนดให้เอกชนยื่นปริมาณเงินลงทุนและปริมาณ งานที่วางแผนจะดาเนินการมาเปรียบเทียบ โดยใช้ดุลพินิจของข้าราชการในการให้คะแนนข้อเสนอของ เอกชนแต่ละราย ซึ่งทาให้เกิดข้อวิจารณ์ว่าสามารถลาเอียงแก่เอกชนบางรายได้ แต่ในระบบแบ่งปันผลผลิตนั้น สามารถใช้วิธีการประมูลแข่งขันกันอย่างเปิดเผย จึงไม่มีการ ใช้ดุลพินิจของข้าราชการ และเนื่องจากบรรษัทฯ จะทาหน้าที่เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิในแปลง สารวจและผลิตปิโตรเลียมแทนรัฐอยู่แล้ว ดังนั้น งานด้านการคัดเลือกแปลงและคัดเลือกเอกชนเพื่อให้มี การสารวจและผลิตปิโตรเลียมจึงควรให้เป็นอานาจและหน้าที่ของบรรษัทฯ


Page 31

อนึ่ง การให้บรรษัทฯ เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ต่างๆ แทนรัฐนั้น ไม่ใช่การให้สิทธิพิเศษแก่บรรษัทฯ เพื่อจะกีดกันภาคเอกชน แต่บรรษัทฯ จะทาหน้ าที่เป็นผู้คัดเลือกและให้สิทธิแก่เอกชน ดังนั้น บรรษัทฯ จึงจะไม่มีอานาจผูกขาดธุรกิจใดๆ ดังที่จะมีผู้คัดค้านบางรายกล่าวอ้าง (จ) งานด้านการบริหารปิโตรเลียม ที่รัฐได้รับเป็นส่วนแบ่ง เนื่ อ งจากในรั ฐ จะได้รั บ ส่ ว นแบ่ง ในรูป ของปิ โ ตรเลี ยม ซึ่ งรัฐ จะมีท างเลื อกในการบริ ห าร ปิโตรเลียมนี้หลายทาง เช่น (ก) ขายในตลาดทันทีตามราคาตลาดโลก หรือ (ข) ทาสัญญาขายระยะยาว ซึ่งอาจจะทากับลูกค้าทั่วไป หรือกับองค์กรของเพื่อนบ้ าน หรือกับประเทศที่เป็นมิตรเป็นกรณีพิเศษ หรือ (ค) นาไปใช้ในเรื่องใดเป็นการเฉพาะ ซึ่งการพิจารณาและเจรจาเรื่องซึ่งเป็นเชิงธุรกิจเหล่านี้ ส่วนราชการไม่ ควรเป็นผู้ดาเนินการ แต่ควรให้เป็นหน้าที่ของบรรษัทฯ โดยคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ให้ครบถ้วน รวมไปถึงการ ทาให้ธุรกิจทุกชั้นไม่มีการผูกขาดโดยผู้หนึ่งผู้ใดด้วย งานด้านนี้เป็นปัจจัยหลักที่ชี้ว่าร่ างกฎหมายที่กระทรวงพลังงานเสนอ ถึงแม้จะผ่านการแก้ไข โดยสานักงานกฤษฎีกาแล้วก็ยังมีจุดบกพร่อง เพราะร่างกฎหมายดังกล่าวไม่มีการจัดตั้งองค์กรเพื่อบริหาร ปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐ แต่กลับร่างขึ้นโดยส่อเค้าว่าจะให้กรมเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงธรรมชาติทาหน้าที่เป็น คู่สั ญญากับ เอกชน และจะใช้วิ ธี กาหนดให้ เ อกชนเป็ นผู้ ข ายปิ โ ตรเลี ยมส่ ว นแบ่ง ของรั ฐ เพื่ อจะนาส่ ง ผลประโยชน์ให้แก่รัฐเป็นตัวเงิน กระทรวงพลังงานจึงอ้างว่าสามารถดาเนินการตามนี้ได้โดยไม่จาเป็นต้องมี องค์กรเฉพาะ แต่การกาหนดตายตัวให้เอกชนเป็นผู้ขายปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐนั้น จะเป็นการบังคับให้ รัฐบาลต้องเลือกเฉพาะทางเลือก (ก) ข้างต้น คือการขายในตลาดทันทีตามราคาตลาดโลก แต่จะตัดสิทธิ ของรัฐบาลที่จะเลือกทางอื่นตาม (ข) และ (ค) ข้างต้น ดังนั้น จึงเป็นการร่างกฎหมายที่รอนสิทธิรัฐบาล และรอนสิทธิทั้งรัฐบาลปัจจุบันและรัฐบาลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นว่าการรอนสิทธิของรัฐบาลนั้นเป็น การร่างกฎหมายที่ขัดกับเจตนาของรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ ถ้าหากกระทรวงพลังงานหวังจะให้กรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติทาหน้าที่เป็นคู่สัญญา กับ เอกชน ก็ น่ าจะผิ ด หลั ก การแบ่ ง หน้ า ที่ระหว่า งส่ ว นราชการ เพราะถึ งแม้ กรณี ทั่ว ไป กรมเชื้อเพลิ ง ธรรมชาติ จะสามารถทาสั ญญาใดๆ กับเอกชนได้ ก็ควรจะเป็นเฉพาะเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง หรือธุรกิจ เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ แต่สัญญาแบ่งปันผลผลิตซึ่งเป็นการให้สิทธิในทรัพยากรหลักของ ประเทศ และเป็ นการทาสั ญญาเพื่อให้ ได้รับปิโตรเลี ยมส่ วนแบ่งทุ กวันๆ ซึ่ งจะมีฐานะเป็นทรั พย์สิ นของ ประเทศ ส่วนราชการที่มีหน้าที่เป็นผู้ถือครองทรัพย์สินดังกล่าว ควรต้องเป็นกรมธนารักษ์มิใช่กรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติ แต่ทั้งกรมธนารักษ์และกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ก็ไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้บริหารจัดการปิโตรเลียมส่วน แบ่งของรัฐ เพราะการทางานต้องเข้าตามกรอบของระเบียบราชการ ซึ่งไม่สอดคล้องกับความจาเป็นทางธุรกิจ จึงจาเป็นต้องมีองค์กรต่างหากเพื่อการนี้ และความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ จึงชัดเจน มากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน


Page 32

(ฉ) งานด้านการเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่เป็นของรัฐ ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม มีทรัพย์สิน ๓ อย่างที่รัฐจะเป็นเจ้าของ คือ (๑) ระบบ ขนส่งทางท่อและคลังปิโตรเลียม (๒) อุปกรณ์และเครื่องมือที่ได้จากสัมปทานที่หมดอายุ และ (๓) หุ้นที่รัฐ อาจจะเข้าไปถือร่วมกับเอกชนในการสารวจและผลิตบางแปลง ซึ่งปกติหน่วยราชการที่ถือกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินเหล่านี้แทนรัฐจะเป็นกรมธนารักษ์ แต่กรณีปิโตรเลียมนั้น อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องอาจจะต้องมีการตีราคาโดยผู้เชี่ยวชาญเป็นระยะๆ และจะต้องมีการแก้ไขปรับปรุง หรือลงทุนเพิ่ม หรือมีการซ่อมแซมใหญ่ในลักษณะที่เป็นการลงทุนเพิ่ม ซึ่ง ส่วนราชการจะไม่มีความรู้ความชานาญที่จะบริหารงานเหล่านี้ จึงควรให้เป็นหน้าที่ของบรรษัทฯ โดยตรง ดังนั้น ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน (ช) งานด้านบริหารเงินระหว่างที่ยังไม่ส่งเข้าคลังหลวง เงิ น ในระหว่ า งที่ รั ฐ ได้ รั บ มาจากการขายปิ โ ตรเลี ย มส่ ว นแบ่ ง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น สกุ ล ต่างประเทศนั้น ในระหว่างที่ยังไม่นาส่งคลังหลวง จาเป็นจะต้องมีการบริหารจัดการระยะสั้นเพื่อลดความ เสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน และนาเงินไปหาประโยชน์ช่วงสั้นๆ รวมทั้งในอนาคตรัฐบาลอาจจะต้องการให้มี การกันเงินไว้ส่วนหนึ่งเพื่อสร้างคลังปิโตรเลียมฉุกเฉินภายนอกประเทศ หรือมีการทาสัญญาซื้อปิโตรเลียม ล่วงหน้าระยะยาว ซึ่งจะเป็นงานที่สลับซับซ้อนเกิน กว่าที่ส่วนราชการจะดาเนินการได้ งานลักษณะนี้ก็ จาเป็นต้องให้บรรษัทฯ เป็นผู้ดาเนินการ ดั งนั้น ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับ งานนี้อีกเช่นกัน (ซ) งานด้านการขยายไปทาธุรกิจสารวจปิโตรเลียมในต่างประเทศ บางประเทศสามารถใช้องค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติในการทาธุรกิจข้ามชาติออกไปนอกประเทศได้ อย่างดี ตัวอย่างเช่น บริษัทกลุ่มเพิร์ล ออย ซึ่งเป็นของรัฐอาบูดาบี และสามารถข้ามเข้ามาทาธุรกิจในประเทศไทย ได้อย่างใหญ่โต บริษัทเรปซอล ของสเปน ซึ่งสามารถพัฒนาเทคโนโลยีได้ล้าหน้ากว่าทั่วไป และบริษัทปิโตรเลียม ของรัฐบาลจีน ซึ่งขยายวงไปทาธุรกิจกว้างไกลถึงทวีปอัฟริกาและทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งในกรณีของไทย ผลงานที่ผ่าน มาซึ่งกลุ่มบริษัท ปตท. ได้ไปลงทุนในต่างประเทศ ไม่ได้ประสบความสาเร็จมากนัก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการลงทุนใน ปาล์มน้ามัน หรือการสารวจในต่างประเทศห่างไกลที่ไม่ใช่ประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากองค์กรเหล่านี้มิได้มี ความรู้พิเศษดีเด่นกว่าประเทศอื่นๆ ดังนั้น จึงไม่ควรตั้งเป้าหมายให้องค์กรนี้ของไทยขยายบทบาทไปเป็นธุรกิจ ข้ามชาติมากนัก แต่ในอนาคต อาจจะมีโอกาสที่ไทยจะจับมือกับเพื่อนบ้าน ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม เฉพาะจุด ซึ่งรัฐบาลไทยอาจจะจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือสนับสนุนบางประการเพื่อให้การดาเนินการประสบ ผลสาเร็จ กรณีนกี้ ารจัดตั้งในรูปของบรรษัทฯ ซึ่งรัฐบาลเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวนั้น น่าจะทาให้การสนับสนุนจาก รัฐบาลคล่องตัวมากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นเอกชนหรือไม่


Page 33

(๓.๓) ข้อควรระวังเกี่ยวกับบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ หนึ่ง ไม่ควรใช้บรรษัทฯ เพื่อเป็นกลไกในการอุดหนุนการใช้พลังงานของประชาชน ในข้อนี้อาจจะเป็นความคิดเห็นที่ต่างจากสมาชิก ของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) บางท่าน ซึ่งตามความคิดเห็ น ของวิทยากรนั้น ประชาชนควรใช้พลั งงานตามราคาตลาดโลก เพราะการที่รัฐบาลไปอุดหนุนนั้น นอกจากจะทาให้ การใช้ไม่ประหยัดเท่าที่ควรแล้วยังเป็นการนาเงินของ ส่วนรวมไปช่วยเหลือเฉพาะกลุ่มที่ใช้พลังงาน ทั้งนี้ ถึงแม้จะสามารถกล่าวได้ว่าค่าใช้จ่ายพลังงานกระทบฐานะความเป็นอยู่ของประชาชน อย่ างกว้างขวาง แต่ในเชิงเศรษฐศาสตร์ กลุ่ มที่ได้ประโยชน์จะเป็นกลุ่ มที่ใช้พลั งงาน ยิ่ งใช้มากยิ่งได้ ประโยชน์มากก็ตาม แต่ก็มิใช่ประชาชนทั้งประเทศในจานวนที่เท่าเทียมกัน ดังนั้น ในทางเศรษฐศาสตร์จึง ควรขายพลังงานตามราคาตลาดโลก ซึ่งจะทาให้บรรษัทฯ มีกาไร แล้วจึงนากาไรดังกล่าวมาใช้ในโครงการที่ ก่อประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป หรือรัฐอาจจะช่วยเหลือ เป็นเงิน หรือเป็นสวัสดิการ ให้เฉพาะแก่ผู้มี รายได้น้อยที่ไม่สามารถควักกระเป๋าจ่ายค่าพลังงานได้เต็มที่ สอง ต้องมีการป้องปรามทุจริ ตคอร์ รัปชั่นและการแทรกแซงจากภาคการเมืองเพื่อหา ประโยชน์ส่วนตน ดังนั้น การจัดตั้งบรรษัทฯ จึงจาเป็นต้องกระทาด้วยวิธีการออกเป็นกฎหมาย เพื่อบัญญัติทั้ง อานาจ หน้าที่ และความรับผิดเพื่อการลงโทษทางกฎหมายไว้อย่างชัดเจน ทั้งของตัวองค์กรและของตัว ผู้บริหาร นอกจากอานาจและหน้าที่แล้ว โครงสร้างคณะกรรมการของบรรษัทฯ ก็ควรมีการถ่วงดุล ซึ่ง คปพ. ได้เสนอให้มีตัวแทนจากภาคประชาสังคมหลายๆ ด้านร่วมเป็นกรรมการด้วย รวมทั้งมีผู้แทนจากสภา อุตสาหกรรม หอการค้า สมาคมธนาคารไทย และมีข้อกาหนดเรื่องการตรวจสอบทั้งภายในและภายนอก การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะก็จะต้องมีการกาหนดบังคับ ให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ดีของ สากล (international best practice) ซึ่งจะต้องสูงกว่ามาตรฐานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด หลั กทรั พย์ ด้ว ยซ้า ตลอดจนบทบั ญญัติในการกาหนดลงโทษผู้ ที่กระทาความผิ ดต่างๆ ที่เข้มงวดกว่ า บริษัทเอกชนทั่วไปอีกด้วย กล่าวโดยสรุป จึงเห็นว่าการนาระบบแบ่งปันผลผลิตและระบบจ้างผลิตมาใช้นั้น ทาให้ ขบวนการทางานเรื่องปิโตรเลียมในประเทศไทยจาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง และเมื่อคานึงถึงเนื้องาน ที่เกี่ยวข้องแต่ละด้านแล้ว จะเห็นว่าการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเป็นสิ่งที่จาเป็น และร่าง ข้อเสนอการจัดตั้งตามที่ คปพ. ได้ยกร่างกฎหมายไว้ ก็เป็นทางเลือกที่เหมาะสมอย่างมากทางหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะยังมีบางจุดที่อาจจะสามารถแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อีกก็ตาม


Page 34

(๔) วิเคราะห์ร่างกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมของภาครัฐและของภาคประชาชน รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ชั ย อัตถากร อาจารย์ประจาสถาบั นบัณฑิตพั ฒนบริ หารศาสตร์ (NIDA) นักวิชาการด้านเศรษฐศาสตร์ ได้อภิปรายถึงแนวทางการจัดการร่างกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ของภาครัฐและของภาคประชาชน สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้ ๑) รายงานผลการพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ให้จัดตั้ง บรรษัทปิ โตรเลีย มแห่งชาติ โดยเสนอให้ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการปิโตรเลียมใหม่ทั้งระบ บ ปฏิรูปคณะกรรมการปิ โตรเลี ยมใหม่ สาหรับแนวคิดการจัดตั้งบรรษัทปิโ ตรเลียมแห่งชาติมีตัว อย่างผล การศึกษาจากหลายประเทศรวมทั้งจากธนาคารโลก โดยประเด็นสาคัญคือการให้คนไทยมีส่วนร่วมในการ ปิโตรเลียมของชาติ ๒) มีข้อสังเกตว่าคณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันเร่งรัดการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่..) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ที่จัดทาและ เสนอโดยกระทรวงพลังงาน ในที่ผ่านมารัฐบาลได้มีการเชิญผู้แทนหน่วยงานราชการและภาคประชาชน เข้าร่วมชี้แจงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่งพบว่าภาค ประชาชนให้ความสนใจและร่วมมือเป็นอย่างดี แต่ภาครัฐมิได้ส่งผู้แทนที่มีอานาจในการตัดสินใจเข้าร่วม ด้วย จึงทาให้การหารือระหว่างรัฐและประชาชนไม่เกิดความชัดเจนใด ๆ โดยรัฐและข้าราชการที่เกี่ยวข้อง จะต้องมีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของชาติและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ๓) พลังงานปิโตรเลียมเป็นพลังงานพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนต้องใช้ในชีวิตประจาวัน ดังนั้นการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติจะต้องมีธรรมาภิบาล โปรงใส่ และเป็นธรรม เพื่อประโยชน์ สูงสุดของชาติและของประชาชน มีข้อสังเกตว่ากฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมที่ร่างโดยกระทรวงพลังงาน จะ เอื้อผลประโยชน์ให้กับนายทุนในประเทศและนายทุนต่างชาติมากกว่าประชาชนและประเทศไทย เรียกว่า ได้เป็นการสูญเสียอานาจอธิปไตยทางพลังงาน ๔) ขณะนี้ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงาน ได้ผ่านความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรีแล้ว และอยู่ระหว่างการเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หากร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ดังกล่าวผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็จะประกาศเป็นกฎหมายบั งคับใช้ต่อไป ดังนั้นควร ยับยั้งร่างกฎหมายดังกล่าวไว้ก่อนเพราะมีจุดบกพร่องซึ่งจะส่งผลให้ประเทศสูญเสียผลประโยชน์หลาย ประการ ดังนี้ (๑) ขัดต่อความชอบธรรมของกฎหมายระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ โดยขัดต่อกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค.ศ. ๑๙๗๖ ซึ่งประเทศไทย เข้าเป็นภาคีของกติกาดังกล่าวและมีผลบังคับใช้ในประเทศเมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยใน กติกาดังกล่าวมีการระบุถึงสิทธิเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติว่าทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงปิโตรเลียมหากอยู่ ในประเทศใดก็ถือว่าเป็นของประชาชนและประเทศนั้ น ดังนั้นการออกกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมจะทาให้ เกิดผลเป็นการลิดรอนสิทธิและผลประโยชน์ของประชาชนในชาติไม่ได้


Page 35

(๒) ร่างกฎหมายทั้งสองฉบับของกระทรวงพลังงานขัดกับหลักการร่างกฎหมายที่ดี และหลักการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพราะไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปมี ส่วนร่วมในการร่างกฎหมายและไม่มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างสุจริต (๓) ร่ างกฎหมายทั้ งสองฉบับของกระทรวงพลั งงานไม่ส ามารถตอบโจทย์ความ ต้องการของประชาชนได้ แม้ภาคประชาชนได้มีการจัดเวทีแสดงความคิดเห็นและการเสนอแนะข้อคิ ดเห็น ต่างๆ แต่ภาครัฐยังคงเพิกเฉยต่อความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชน โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง โครงสร้างการบริหารปิโตรเลียม ข้อสังเกตเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการ ดาเนิ นกิจ การปิ โตรเลีย ม ซึ่งในประเด็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมนี้กาลังเป็นที่สนใจของนานาประเทศ แต่พบว่าในร่างกฎหมายของกระทรวงพลังงานไม่มีเรื่องดังกล่าวอยู่เลย ทั้งที่เป็นเรื่องสาคัญและควรระบุ ไว้ในกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมแห่งชาติด้วย (๔) แม้ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ของกระทรวงพลังงาน มาตรา ๔ ให้แก้ไขความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลี ยม พ.ศ. ๒๕๑๔ ว่าให้ปิโตรเลียมเป็น ของรัฐ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่เป็นการยกเลิกหรือแก้ไขมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ดังนั้นปิโตรเลียมที่ผลิตได้ยังคงเป็นของผู้รับสัมปทานมิใช่ของรัฐแต่อย่างใด (๕) การยุติข้อพิพาทต่างๆ ที่เกิดจากหรือเกี่ยวเนื่ องกับสัญญาตามร่างกฎหมายของ กระทรวงพลังงานยังคงเป็นไปตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งกาหนดให้ดาเนินการระงับ โดยอนุญาโตตุลาการต่างจากประเทศโดยให้ประธานธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาด หากตั้งไม่ได้ให้ประธานศาล แห่ งสมาพั น ธรั ฐ สวิส ตั้ งผู้ ชี้ข าด ซึ่ งถื อเป็ นการเสี ย เปรี ยบต่า งประเทศกระทบต่ อ ความมั่ นคงของชาติ ซึ่งสาคัญกว่าความมั่นคงทางพลังงาน (๖) ร่างกฎหมายของกระทรวงพลั งงานขัดกับหลั กเศรษฐกิจพอเพียง โดยยังคง มาตราต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ไว้เช่นเดิม เช่น มาตรา ๖๔ (๒) ที่ระบุว่า รัฐจะไม่ จากัดการส่งปิโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักร ทั้งที่พลังงานปิโตรเลียมยังไม่พอใช้ในประเทศ ดังนั้นควร กาหนดให้ ผ ลิ ต พลั ง งานปิ โ ตรเลี ย มให้ เพี ยงพอใช้ใ นประเทศก่อนแล้ ว จึง ส่ ง ออกไปนอกราชอาณาจัก ร ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อไม่ต้องนาเข้าพลังงานปิโตรเลียมซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายมูลค่ามหาศาล (๗) ร่างกฎหมายของกระทรวงพลั งงานไม่มีนโยบายเพื่อสาธารณะในระยะยาว เนื่องจากไม่มีการจากัดการผลิตพลังงานปิโตรเลียมเพื่อรักษาไว้ใช้ในอนาคต (๘) กระทรวงพลังงานร่างกฎหมายทั้งสองฉบับโดยไม่มีการพิจารณาหรือรับฟังข้อมูล จากรายงานผลการพิ จ ารณาศึก ษาปั ญ หาการบัง คั บใช้พ ระราชบั ญ ญั ติ ปิโ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา การบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ปิ โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบั ญ ญั ติ ภ าษี เ งิ น ได้ ปิ โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๕) เปรี ย บเที ย บร่ า งกฎหมายทั้ ง สองฉบั บ ที่ จั ด ท าและเสนอโดยกระทรวงพลั ง งาน กับร่างกฎหมายกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) พบความแตกต่างหลาย ประเด็น และพบว่า ร่ างกฎหมายกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่ ายประชาชนปฏิรูปพลั งงานไทย (คปพ.) มีจุดเด่น ดังนี้


Page 36

(๑) มีการบูรณาการการบริ หารจัดการปิโตรเลียมของชาติได้อย่างเป็นระบบทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต และครอบคลุมมากกว่าร่างกฎหมายของกระทรวงพลังงาน และสามารถแก้ไขปัญหา เชิงโครงสร้างของคณะกรรมการปิโตรเลียมที่เกิดจากกฎหมายฉบับเดิมได้ (๒) มีทางออกที่เป็นรูปธรรมในบทเฉพาะกาล (๓) มีบทบัญญัติที่ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงทรัพยากรปิโตรเลียมได้มากยิ่งขึ้น (๔) มีการกาหนดอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการปิโตรเลียม โดยขจัดการแทรกแซง จากนักการเมืองและนายทุนต่างชาติ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเป็นกรรมการดังกล่าวด้วย (๕) กาหนดให้สัญญาแบ่งปันผลผลิตมีระยะเวลา ๒๐ ปี ผูกขาดน้อยกว่าร่างกฎหมาย ที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงานที่กาหนดระยะเวลาไว้ถึง ๓๙ ปี (๖) มุ่งเน้นการเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และลดการผูกขาดของ นายทุน (๗) มีรูปธรรมในการดูแลสิทธิของประชาชน ขจัดความเหลื่อมล้า และช่วยลดปัญหา ความยากจนได้ เนื่ องจากตามร่ างกฎหมายดังกล่ าวจะทาให้ รัฐ มีรายได้จากปิโ ตรเลี ยมมากยิ่งขึ้นและ สามารถนารายได้ไปจัดสรรให้กับคนในชาติได้ (๘) ผลตอบแทนที่เข้าสู่รัฐมีหลักประกันความเป็นธรรมมากกว่าในร่างกฎหมายที่ เสนอโดยกระทรวงพลังงาน เพราะกาหนดให้มีการขัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติมาดูแลผลตอบแทน กล่าวโดยสรุปคือ ร่างกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) มีจุดเด่นมากกว่าร่างกฎหมายที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงาน เนื่องจากร่างกฎหมายที่จัดทา และเสนอโดยกระทรวงพลังงานยังขาดความโปร่งใส ไม่ครอบคลุม ไม่ตอบโจทย์ของประชาชน ขาด การมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทาให้ประชาชนไม่มีโอกาสได้จัดทานโยบาย สาธารณะด้ า นพลัง งาน ร่ า งกฎหมายที่จั ด ทาและเสนอโดยกระทรวงพลัง งานเป็น เพีย งการแก้ ไ ข กฎหมายเฉพาะในมิติ ของการบริ หารจัดการปิโ ตรเลียมต่า งจากร่ า งกฎหมายกฎหมายที่จัดทาโดย เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ที่มีการบูรณาการการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติ อย่างเป็นระบบและครอบคลุมในทุกมิติ ๓. เวทีรับฟังความคิดเห็นภาคบ่าย ภาคประชาชน ร่วมแสดงข้อคิดเห็น โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ๑) ความเห็ น ในเรื่ อ งการก าหนดสิ ท ธิ ค วามเป็ น เจ้ า ของในทรั พ ยากรปิ โ ตรเลี ย มใน กฎหมาย  ร้ อ ยละ ๙๗.๔ เห็ น ด้ว ยตามแนวทางร่ างกฎหมายของภาคประชาชน ว่ าต้ องมีก าร กาหนดเนื้อหาใหม่ ให้ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของชาติและปวงชนชาวไทย  ร้อยละ ๓.๕ เห็นด้วย ตามแนวทางการแก้ไขกฎมายของภาครัฐ ที่ยังกาหนดเนื้อหา เหมือนเดิม ให้ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของรัฐ


Page 37

ความคิดเห็นเพิ่มเติมอื่นๆ  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน แต่มีความเห็นเพิ่มเติมว่า - ควรก าหนดให้ ท รั พ ยากรปิ โ ตรเลี ย มเป็ น ของชาติเ ท่ านั้ น และควรด าเนิ นการเพื่ อ ผลประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติและประชาชนชนไทย ไม่เห็นด้วยที่จะกาหนดให้ทรัพยากรปิโตรเลียม เป็นของประชาชนโดยตรง  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - ไม่มั่นใจว่ากระทรวงพลังงานจะบริหารงานอย่างซื่อสัตย์ เกิดการผูกขาดโดยรัฐ และ ข้าราชการไม่รักษาผลประโยชน์ของชาติ ทาให้เสียเปรียบกลุ่มทุนต่างชาติ ถ้ายังคงเป็นของรัฐ ปัญหาต่างๆ ก็ยังคงไม่ได้รับการแก้ไข ประชาชนไม่มีสิทธิร้องเรียนให้ตรวจสอบการทางานของภาครัฐ - ประชาชนไม่มีสิ ทธิในทรัพยากร จะมีเฉพาะคนบางกลุ่ มเท่านั้นที่เข้าถึงทรัพยากร เพราะรัฐไม่มีความเป็นกลางในการให้สิทธิแก่ผู้ประกอบการ มักเอื้อประโยชน์ให้พวกพ้อง ควรแก้ไขโดยการ ทาประชาพิจารณ์ใหม่ต่อร่างกฎหมายปิโตรเลียมแห่งชาติ ๒) ความเห็นต่อหน่วยงานที่มีหน้าที่เป็นผู้ให้สิทธิและดูแลการประกอบกิจการปิโตรเลียม ของประเทศ  ร้ อ ยละ ๙๑.๑ เห็ น ด้ว ยตามแนวทางร่ างกฎหมายของภาคประชาชน ว่ าต้ องมีก าร กาหนดเนื้อหาใหม่ ให้เป็นหน้าที่ของบรรษัทน้ามันแห่งชาติหรือบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ  ร้อยละ ๓.๙ เห็นด้วย ตามแนวทางการแก้ไขกฎมายของภาครัฐ ที่ยังกาหนดเนื้อหา เหมือนเดิมให้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน เป็นผู้ทาหน้าที่ ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - การเป็นผู้ให้สิทธิและดูแลการประกอบกิจการปิโตรเลียมของประเทศ ควรขึ้นอยู่กับ คนส่วนใหญ่ซึ่งจะทาให้การทุจิตทาได้ยากขึ้น เพราะมีกรรมการคอยควบคุม ซึ่งกรรมการจะต้องเป็นบุคคล ที่เป็นที่ยอมรับและมีความซื่อสัตย์ และเปิดเผยข้อมูลให้ประชาชนมีส่วนได้รับรู้ - การจัดตั้งบรรษัทพลังงานแห่งชาติ เพื่อให้มีเจ้าภาพเข้ามาดูแลทรัพยากรของชาติให้ เป็นของประชาชนทุกคนจะทาให้ได้ผลประโยชน์เข้าประเทศและนามาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน และอาจให้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกากับดูแลในภาพรวม - การให้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นผู้ให้สิทธิและดูแลการประกอบกิจการปิโตรเลียม ของประเทศ เช่น ในพื้นที่ที่เป็นสัมปทานเก่า ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วม ตรวจสอบและคัดค้านในสิ่งที่ ภาครัฐทาผิด และให้มีกฎหมายคุ้มครองประชาชน  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - ไม่เ ห็ น ด้ว ยในการให้ กรมเชื้ อเพลิ ง ธรรมชาติเ ป็น ผู้ ให้ สิ ท ธิและดู แลการประกอบ กิจการปิโตรเลียมของประเทศ เพราะเป็นการผูกขาดอานาจ ผู้บริหารใช้ดุลยพินิจของตนเอง ไม่ฟังเสียง ทักท้วงจากประชาชน เห็นแก่ประโยชน์ขององค์กรตนเองเป็นหลักผลประโยชน์จะตกอยู่กับคนบางกลุ่ม


Page 38

กระทรวงพลังงานจะทาอย่างไรก็ได้กับทรัพย์สินของประชาชนและกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติไม่เคยเปิดเผย ข้อมูลให้ประชาชนได้รับรู้ ๓) ความเห็นต่อการบริหารกิจการบรรษัทปิโตรเลียมหรือบรรษัทน้ามันแห่งชาติ  ร้อยละ ๘๘.๕ เห็ น ด้ว ย ตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ว่าต้องมีการ กาหนดเนื้อหาใหม่ ให้จัดตั้งบรรษัทน้ามันแห่งชาติหรือบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ รัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้น ทั้งหมด มีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณและกฎหมายอื่น  ร้อยละ ๑.๒ เห็นด้วย ตามแนวทางการแก้ไขของกฎหมายของภาครัฐ ที่ไม่ต้องอยู่ภายใต้ กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมแต่ให้อยู่ภายใต้ บริษัท ปตท. จากัด(มหาชน) รัฐถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 การบริหารกิจการอยู่ภายใต้กฎหมาย บริษัท มหาชน จากัด ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - การจั ด ตั้ ง เป็ น บรรษั ท น้ ามั น แห่ ง ชาติ ห รื อ บรรษั ท ปิ โ ตรเลี ย มแห่ ง ชาติ ควรเป็ น หน่วยงานที่แยกจากกระทรวงพลังงาน เพราะจะทาให้ทางานได้รวดเร็วมีประสิทธิภาพมากกว่า - ควรกาหนดโครงสร้างการได้มาซึ่งผู้บริหารและการกากับดูแลองค์กรที่ชัดเจน ให้ปลอด จากการแทรกแซงหรือการหาผลประโยชน์จากนักการเมืองหรือผู้แสวงหาประโยชน์อื่นๆ - ให้กาหนดให้ไม่มีการดารงตาแหน่งซ้าซ้อนกันและมีการจากัดระยะเวลาในการดารง ตาแหน่งที่ชัดเจน - การสรรหากรรมการต้องโปร่งใส เปิดเผยให้ประชาชนทราบทุกขั้นตอน - มีบทลงโทษ กติกา การทางานที่ชัดเจน เข้มงวด รัดกุม เหมาะสม - ผลประโยชน์จะตกเป็นของประชาชน เช่น นาเงินไปพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ และ ทาให้ราคาน้ามันจะถูกลง ๔) ความเห็ น ต่ อการควบคุมและกากับ บรรษัทปิ โ ตรเลีย มแห่งชาติและการประกอบ กิจการปิโตรเลียมของประเทศ  ร้อยละ ๘๗.๘ เห็นด้วย ตามแนวทางร่างกฎหมายของประชาชน ว่าต้องมีการกาหนด เนื้อหาใหม่ ให้มีองค์ประกอบของคณะกรรมการเป็นลาดับชั้นดังนี้ ๑) คณะกรรมการก ากั บ การประกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม ให้ น ายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธาน กรรมการกรรมการประกอบด้วย กรรมการโดยตาแหน่งฝ่ายข้าราชการ รวม ๑๐ คน กรรมการจากภาค ประชาสังคม ด้านคุ้มครองผู้บริโภค ด้านคุ้มครองสุขภาพ ด้านคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวม ๑๒ คน ซึ่ง คณะรั ฐ มนตรี แต่ ง ตั้ง จากการสรรหา และกรรมการผู้ ทรงคุณ วุ ฒิ รวม ๖ คน ซึ่ ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากการสรรหา ๒) ให้มีคณะกรรมการบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานเป็น ประธาน กรรมการประกอบด้วย กรรมการที่แต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเห็นชอบ รวม ๑๐ คน กรรมการจากภาคประชาสังคมซึ่งได้รั บการสรรหา รวม ๑๐ คน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รวม ๕ คน ซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากการสรรหา


Page 39

๓) ให้มีคณะกรรมการบริหารบรรษัทฯ แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบรรษัทฯ  ร้ อ ยละ ๑.๖ เห็ น ด้ ว ยตามแนวทางการแก้ ไ ขกฎหมายของภาครั ฐ ที่ ใ ห้ อ ยู่ ภ ายใต้ คณะกรรมการปิโตรเลียม มีปลัดกระทรวงพลังงานเป็นประธาน กรรมการประกอบด้วย กรรมการโดย ตาแหน่งฝ่ายข้าราชการ ๙ คน เช่น อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมป่าไม้ อธิบดีกรมสรรพากร ฯ และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกิน ๕ คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - การมีตัวแทนจากภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม กากับ ดูแล ควบคุม บรรษัทฯ เพื่อให้ มี ความคิดหลากหลายจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่าง ๆ ทาให้เกิดข้อผิดพลาดได้ยาก ก่อให้เกิดการตรวจสอบ การคานอานาจ เป็นการกระจายการบริหาร และเป็นการป้องกันไม่ให้นั กการเมืองและกลุ่มทุนเข้ามาหา ประโยชน์ได้ - การให้นายกรัฐมนตรีเป็นประธานมีความเหมาะสมเพราะต้องมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ จะเกิดขึ้น - กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ จ ะสรรหาโดยคณะรั ฐ มนตรี ต้ องไม่ใ ช่ ผู้ ที่เ คยมี ป ระวั ติ ถู ก กล่าวหาว่าคอรัปชั่น หรือมีผลประโยชน์ทับซ้อน - การตั้งกรรมการจากภาคประชาชน ควรระบุวิธีการสรรหา คุณสมบัติ ระยะเวลาใน การดารงตาแหน่ง ให้ชัดเจน - จานวนคนในคณะกรรมการแต่ละคณะไม่ควรเกิน ๒๕ คน ในแต่ละชุดและควรจะระบุ ให้ไม่สามารถเป็นคณะกรรมการมากกว่า ๑ ชุดในเวลาเดียวกัน - หากให้คณะกรรมการปิโตรเลียมทาหน้าที่ต่อไป ต้องมีการเพิ่ มเติมจานวนกรรมการ ที่มาจากภาคประชาสังคมอีก ๕ คน  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - ให้คณะกรรมการปิโตรเลียมดูแลเพราะมีโอกาสถูกชักจูงไปในทางเดียวกันได้ง่าย ทาให้ เอื้อต่อผลประโยชน์ต่อตนเองและเอกชน การแต่งตั้งกรรมการไม่โปร่งใส ผู้บริห ารระดับสูงของของ กระทรวงพลังงานรับตาแหน่งในบริษัทเอกชนที่รับสัมปทาน ก่อให้เกิดผลประโยชน์ทับซ้อน และการให้ คณะรัฐมนตรีมีอานาจในการแต่งตั้งกรรมการทาให้การเมืองเข้าแทรกแซงได้ง่าย ก่อให้เกิดการใช้ดุลพินิจ ตีความเข้าข้างกลุ่มทุน ๕) ความเห็นต่อระบบการจัดหาปิโตรเลียมในประเทศ  ร้อยละ ๘๘.๕ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของประชาชน ว่าต้องมีการกาหนด เนื้อหาใหม่ โดยให้มี ๓ รูปแบบ โดยให้รัฐเป็นผู้ดาเนินการสารวจ รวบรวมข้อมูลทรัพยากรปิโตรเลียมก่อน และมีการกาหนดเงื่อนไข คือ ๑) ระบบสัมปทาน ใช้กรณีที่ไม่ปรากฏเบาะแสของปิโตรเลียม ๒) ระบบ แบ่งปันผลผลิต ใช้กรณีที่มีข้อมูลการสารวจแล้วพบว่ามีปริมาณที่แน่ชัดและเพียงพอต่อการประกอบกิจการ ในเชิงพาณิชย์ และ ๓) ระบบจ้างบริการหรือจ้างผลิต ใช้กรณีที่มีข้อมูลการสารวจปรากฏปริมาณปิโตรเลียม จานวนมาก


Page 40

 ร้อยละ ๖๖.๕ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ จากเดิมมีระบบ สัมปทานเพียงระบบเดียว และแก้ไขให้มีระบบแบ่งปันผลผลิตเพิ่มเติม โดยให้คณะกรรมการพิจารณาตัดสิน ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - เห็นว่าการกาหนดให้มีระบบการจัดหาปิโตรเลียมแบบแยกเป็น ๓ ระบบ ทาให้มี กฎเกณฑ์ทใี่ ช้ควบคุมอย่างรัดกุม ทาให้สามารถจัดการพลังงานได้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ แต่ ต้องเปิดเผยข้อมูลการสารวจให้ชัดเจน - ต้องระบุขนาดและประเภทของพื้นที่ที่จะใช้ระบบสัญญาประเภทใดประเภทหนึ่ง อย่างชัดเจน - ต้องมีการระบุระยะเวลาของสัญญาไว้อย่างชัดเจนด้วย มีระบบการควบคุม ดูแล อย่างโปร่งใส - รัฐในนามตัวแทนของประชาชนต้องกาหนดรูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ มากที่สุด ไม่ใช่ให้เอกชนเป็นผู้กาหนด และระบบแบ่งปันผลผลิตเป็นระบบที่ดี แต่ต้องเป็นอัตราส่วนที่เป็น ธรรมโดยให้ภาครัฐเป็นผู้ควบคุมและประชาชนมีส่วนร่วมคิด  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - ควรมีการสารวจปิโตรเลียมโดยภาครัฐก่อน แล้วจึงกาหนดว่าควรเป็นระบบแบ่งปัน ผลผลิตหรือสัมปทาน และควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ - การทางานของภาครัฐนั้นอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้เอกชนได้ ดังนั้น รัฐควรเป็นผู้ ก าหนดรู ป แบบของสั ญ ญาว่ า พื้ น ที่ ไ หนจะใช้ สั ญ ญาประเภทใด แต่ ผู้ ป ระกอบการจะเลื อ กที่ จ ะเสนอ ผลประโยชน์ให้แก่รัฐในการเข้าประมูลเพื่อให้ได้สิทธิ์นั้น ๖) ความเห็นต่อหลักการเลือกใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตที่จะใช้กับประเทศไทย  ร้อยละ ๘๘.๓ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ว่าต้องมีการ กาหนดเนื้อหาใหม่ โดยใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตในแปลงปิโตรเลียมที่มีข้อมูลการสารวจหรือมีเบาะแสพบว่า มีปริมาณที่แน่ชัดและเพียงพอต่อการประกอบกิจการในเชิงพาณิชย์  ร้อยละ ๐.๕ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ โดยให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ เลือกใช้เองตามสูตรคานวณที่ยังไม่เปิดเผย และใช้หลักดุลยพินิจของคณะกรรมการตัดสิน ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - ปัจจุบันประเทศไทยมีบุคลากรที่สามารถตรวจสอบความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรที่ มีภายในประเทศและจากข้อมูลองค์กรต่างประเทศที่เชื่อถือได้ มาเป็นข้อมูลพิจารณาการแบ่งปันผลผลิต เพื่อให้ชาติและประชาชนได้ประโยชน์สูงสุดและมากกว่าระบบเดิม - การสารวจให้ชัดเจนก่อนทาให้ไม่เป็นการเสียเวลาในการค้นหาปิโตรเลียมที่มีจานวน มากนามาผลิต ทาให้ไม่มีการปิดบังข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม และเป็นการ ยุติธรรมต่อผู้ที่จะมาลงทุน โดยไม่ให้มีผู้ลงทุนเพียงรายเดียวต้องมีการแข่งขันให้ได้หลายๆ ราย


Page 41

- มีความห่วงใยว่า การระบุว่ามีปริมาณที่แน่ชัดและเพียงพอต่อการประกอบการในเชิง พาณิชย์อาจขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของการพิจารณาในเชิงพาณิชย์ได้เช่นเดียวกัน - ส่วนระบบที่ยังไม่หมดสัมปทานก็ควรเตรียมการว่าต่อไปควรเป็นระบบใด ส่วนระบบที่ จะต่อสัมปทานเมื่อมีข้อมูลพิสูจน์แล้วควรทาอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อประโยชน์ของประชาชน  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - กรรมการที่ผ่านมาไม่เปิดเผย ไม่โปร่งใส ไม่ชัดเจน - การใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ของคณะกรรมการตั ด สิ น เปิ ด โอกาสให้ มี ก ารทุ จ ริ ต รั ฐ ควรระบุ กฎเกณฑ์การพิจารณาในการเลือกให้ชัดเจน ว่ามีองค์ประกอบในการพิจารณาอย่างไรบ้าง สูตรคานวณที่ใช้ ควรเปิดเผยให้ประชาชนรู้ ๗) ความเห็ น ในการคั ด เลื อ กผู้ ช นะให้ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ ใ นระบบแบ่ ง ปั น ผลผลิ ต ที่ จ ะใช้ กั บ ประเทศไทย  ร้อยละ ๘๙.๒ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของประชาชน ต้องมีการกาหนด เนื้อหาว่า ต้องเป็นผู้ที่ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้นในการเข้าประมูล และผู้ชนะการประมูลคือผู้ที่เสนอส่วนแบ่ง ปิโตรเลียมแก่รัฐสูงสุด  ร้อยละ ๐.๙ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ โดยให้ผู้ประกอบการ เสนอยื่ น ปริ ม าณงาน ปริ ม าณเงิ น “ค่ า ส ารวจ” และผลประโยชน์ พิ เ ศษเพิ่ ม เติ ม อี ก เล็ ก น้ อ ย ให้ คณะกรรมการพิจารณาตัดสิน โดยใช้ดุลยพินิจให้คะแนน ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - ผู้ประกอบการที่เ ข้าร่วมประมูลควรมีศักยภาพ และเพื่อความยุติธรรมกับทุกราย และความถูกต้องในการประมูล  เป็นการแข่งขันต้องมีการกาหนดคุณสมบัติของบุคคลที่เข้าประมูล ต้องเปิดเผยประวัติ ส่วนตัวของบริษัทผู้ประมูลว่ามีความเกี่ยวข้องประการใดกับคณะกรรมการและประวัติการดาเนินธุรกิจที่ เกีย่ วข้องทั้งหมดที่เคยมีมา  ควรระบุเรื่องของปริมาณงานและปริมาณเงินเป็นค่าสารวจเข้าไปในเงื่อนไขของการ เสนอยื่นสิทธิด้วย เพิ่มจากการเสนอส่วนแบ่งปิโตรเลียม เพราะหากไม่ประสบความสาเร็จในการผลิตจะได้มี ข้อกาหนดในการแสวงหาข้อมูลด้วย  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - เพราะเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อผู้ประกอบการและการใช้ดุลพินิจของคณะกรรมการจะ ไม่เป็นการยุติธรรมกับรายอื่น ๆ จึงควรระบุน้าหนักและเกณฑ์การตัดสินที่ชัดเจนที่สุด ๘) ความเห็นต่อหลักการหักค่าใช้จ่ายก่อนแบ่งปันผลผลิตให้แก่รัฐ  ร้อยละ ๘๗.๔ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของประชาชน มีการกาหนดเนื้อหาว่า ไม่อนุญาตให้หักค่าใช้จ่ายก่อนแบ่งผลผลิตให้รัฐ


Page 42

 ร้อยละ ๐.๗ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ มีการกาหนดเนื้อหาว่า ให้หักได้ตามจริงไม่เกินร้อยละ 50 ของผลผลิตรวมของปิโตรเลียม(อนุมัติโดยอธิบดีกรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติ) และค่าใช้จ่ายส่วนเกินร้อยละ 50 สามารถยกไปหักปีต่อๆไปได้ตลอดอายุสัญญา ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - เพราะบริษัทที่ได้รับสัมปทานควรรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เอง และควรเสนอความ จริงของรายได้ให้แก่รัฐ  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - เพราะทาให้รัฐเสียเปรียบ และเอื้อประโยชน์ให้กับผู้ลงทุน และไม่มีกิจการใดทาตาม หลักนี้ ทั้งยังเปิดโอกาสให้มีการโกงบัญชีและทาให้รัฐได้ประโยชน์น้อยลง ๙) ความเห็นต่อหลักการแบ่งปันผลผลิตให้แก่รัฐ ในระบบแบ่งปันผลผลิตที่จะใช้กับ ประเทศไทย  ร้อยละ ๘๘.๓ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่ได้กาหนดเกณฑ์ การประมูลขั้นต่า และจะทาให้ รัฐส่ วนแบ่งผลผลิตประมาณร้อยละ ๓๕-๙๐ (ตามการประมูล) จาก “ผลผลิตรวม”ของปิโตรเลียมที่ผลิตได้ทั้งหมด  ร้อยละ ๐.๕ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ ที่ได้กาหนดส่วนแบ่ง ผลผลิตของภาครัฐ ประมาณร้อยละ ๒๐ จาก “มูลค่า” ปิโตรเลียมที่ผู้ประกอบการเอกชนขายได้ โดยไม่มี การประมูล ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - รายได้ทั้งหมดที่เก็บเข้ารัฐ จะได้นามาพั ฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ทาให้รัฐได้ ประโยชน์สูงสุด รัฐได้รายได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - การใช้วิธีการแบบนี้ไม่แน่ใจว่าจะเกิดการเรียกรับผลประโยชน์ใต้โต๊ะหรือไม่ เป็นการ เอื้อประโยชน์ให้กับเอกชน ทาให้รัฐเสียเปรียบ อีกทั้งไม่สามารถตรวจสอบมูลค่าการขายได้ เช่น ขายให้ใคร บริษัทลูก/ร่วมทุน ขายเท่าไหร่ ต่ากว่าราคาตลาดหรือไม่ - การแบ่งปันผลผลิตร้อยละ 20 ให้แก่รัฐ ไม่เพียงพอต่อการนามาแก้ปัญหาผลเสีย อันเกิดจากการผลิตปิโตรเลียม


Page 43

๑๐) ความเห็นต่อเรื่องอายุของสัญญาในระบบแบ่งปันผลผลิตที่จะใช้กับประเทศไทย  ร้อยละ ๘๗.๔ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่กาหนดอายุ สัญญาไม่เกิน 20 ปี  ร้อยละ ๐.๗ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ ซึ่งไม่ได้กาหนดไว้ใน ร่างกฎหมาย ให้อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นผู้ประกาศกาหนดในภายหลัง ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - เพราะควรระบุเงื่อนไขกากับไว้ด้วยสาหรับการขยายหรือต่อสัญญาออกไปให้มีความ ชัดเจนตั้งแต่การเริ่มทาสัญญา ทาให้มีข้อได้เปรียบในการแก้ไขสัญญาได้ง่ายและรัฐได้ประโยชน์สูงสุด และ ทาให้มีโอกาสหาผู้ประมูลรายใหม่ที่เสนอผลสูงสุดให้รัฐ  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - เพราะการไม่ได้กาหนดไว้ในร่างกฎหมายจะทาให้เอกชนเป็นเจ้าของนานเท่าไหร่ก็ได้ ทาให้รัฐเสียผลประโยชน์มหาศาล การให้อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นผู้ประกาศกาหนดในภายหลัง เป็นการให้อานาจบุคคลเพียงคนเดียวหรือกรมเดียวเป็นผู้ตัดสินใจเรื่องสาคัญ ๑๑) ความเห็นต่อหลักการการคานึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นสิ่งแวดล้อมและชุมชน  ร้อยละ ๘๙.๐ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่มีการกาหนดเขต พื้นที่แปลงประกอบกิจการปิโตรเลียม ต้องมี ระยะห่างจากพื้นที่เกาะ ชายฝั่ง พื้นที่ทากิน พื้นที่สงวนเพื่อ อนุรักษ์สัตว์ทะเลและทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล โดยต้องรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมอย่าง แท้จริงจากประชาชนและชุมชนผู้มีส่วนได้เสียก่อน  ร้อยละ ๒.๑ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ ซึ่งให้คงหลักการตาม กฎหมายเดิม ว่า ให้ผู้ประกอบการดาเนินการให้ถูกต้องตามหลักเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานปิโตรเลียมที่ดี สาหรับการประกอบกิจการปิโตรเลียมและการอนุรักษ์ทรัพยากรปิโตรเลียมฯ ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - เพราะ พระราชบัญญัติฉบับเดิมไม่ได้คานึงถึงผลกระทบต่อประชาชนและสภาพแวดล้อม ทาให้ประชาชนเดือดร้อน เพราะไม่มีกฎหมายรองรับ - ควรมีการกาหนดพื้นที่ และวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้ชัดเจน เปิดโอกาส ให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น ไม่ปิดกั้นหรือจากัดสิทธิในการเรียกร้ อง หรือร้องเรียนเกี่ยวกับความ เดือดร้อนของประชาชน - ต้องมีการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมจากประชาชนและชุมชน ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ก่อนที่จะระบุหรือกาหนดขอบเขตของพื้นที่ให้สัมปทาน หรือระบุขอบเขตของพื้นที่ที่ไม่ก่อให้เกิด ความขัดแย้ง และต้องชี้แจงผลกระทบต่อชุมชนก่อนเริ่มดาเนินการ  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า


Page 44

- เพราะ ไม่ได้ให้ความสาคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรปิโตรเลียม แนวทางกฎหมายฉบับ นี้ ไ ม่ มี ค วามชั ด เจน ไม่ ร ะบุ ถึ ง ความเดื อ ดร้ อ นของประชาชน เป็ น การท าลายสิ่ ง แวดล้ อ ม เพราะ ผู้ประกอบการไม่ทาตามเงื่อนไข เมื่อเกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน ไม่มีผู้รับผิดชอบ เช่น กรณี น้ามันรั่วในทะเลของไทย ๑๒) ความเห็นต่อการจัดตั้งกองทุนด้านปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์โดยตรงแก่ประชาชน  ร้อยละ ๕๔.๓ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่กาหนดให้มีการ น าผลประกอบการปิ โ ตรเลี ย มส่ ว นหนึ่ ง ของบรรษั ท ปิ โ ตรเลี ย มแห่ ง ชาติ ม าจั ด ตั้ ง เป็ น กองทุ น ฯขึ้ น มี วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนด้านสวัสดิการสังคม ในด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรม การรักษาพยาบาล การ พัฒนาคุณภาพชีวิต การบาบัดหรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น  ร้อยละ ๐.๕ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ ซึ่งไม่ได้กาหนดไว้ใน ร่างกฎหมายปิโตรเลียม แต่ปัจจุบันมีการจัดตั้งกองทุนน้ามันเชื้อเพลิง ที่มีรายได้จากราคาค่าน้ามันเชื้อเพลิง ที่ประชาชนจ่าย มีวัตถุประสงค์ในการใช้เพื่อจ่ายเป็นเงินชดเชยในราคาน้ามันเชื้อเพลิงบางชนิด ให้อธิบดี กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นผู้ประกาศกาหนดในภายหลัง ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - เพราะเป็นการนาเงินมาทาให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ใช้ในการพัฒนาสังคม เช่น บารุงโรงพยาบาล สถานศึกษา ควรระบุสัดส่วนการนาเงินผลประโยชน์ไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่แน่นอน และชัดเจนตั้งแต่เริ่มตั้งกองทุน กองทุนที่จัดตั้งควรมีคณะกรรมการจากหลายภาคส่วน เพื่อตรวจสอบ ถ่วงดุลทาให้โปร่งใสตรวจสอบได้ รายได้นามาพัฒนาประเทศได้อย่างแท้จริง  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - เพราะไม่มีการตรวจสอบการใช้จ่ายเงิน กองทุนน้ามันเชื้อเพลิงไม่มีความโปร่งใส ประชาชนไม่ได้ประโยชน์ เป็นการนาเงินไปใช้ผิดประเภท ๑๓) ความเห็นต่อวิธีการยุติข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชนผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียม  ร้อยละ ๙๒.๗ เห็นด้วยตามแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน ที่กาหนดให้ใช้ศาล ยุติธรรมไทยทาหน้าที่ตัดสินชี้ขาด  ร้อยละ ๐.๐ เห็นด้วยตามแนวทางการแก้ไขกฎหมายของภาครัฐ ที่กาหนดให้ใช้หลักการ ตามกฎหมายเดิม ให้ใช้ระบบอนุญาโตตุลาการตัดสินชี้ขาด โดยให้ประธานธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาด หากตั้ง ไม่ได้ให้ประธานศาลสวิสฯตั้งผู้ชี้ขาดซึ่งไม่ได้กาหนดไว้ในร่างกฎหมาย ให้อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นผู้ ประกาศกาหนดในภายหลัง


Page 45

ความคิดเห็นเพิ่มเติม  เหตุผลที่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาคประชาชน เห็นว่า - ควรอยู่ภายใต้กฎหมายไทยเท่านั้น - เป็นเรื่องภายในประเทศและเป็นเรื่องสิทธิและศักดิ์ศรีของประเทศชาติ  เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทางร่างกฎหมายของภาครัฐ เห็นว่า - เพราะไม่มีความชัดเจน ประเทศไทยไม่ใช่เมืองขึ้นของต่างชาติ บริษัทต่างชาติมาทา ธุรกิจในเมืองไทยต้องเคารพกฎหมายไทย และการขึ้นศาลระหว่างประเทศจะทาให้ไทยเสียเปรียบไม่ได้รับ ความเป็นธรรม ๑๔) ความเห็นสรุปต่อการแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ อันดับหนึ่ง ให้ยกเลิกทั้งสองฉบับ และจัดทาใหม่ ร้อยละ ๙๓.๙๑ อันดับสอง ให้แก้ไขเป็นบางมาตรา ร้อยละ ๖.๐๙ ๑๕) ความคิดเห็นเพิ่มเติมอื่นๆ - การบริ ห ารกิจการบรรษัทปิโตรเลียมหรือบรรษัทน้ามั นแห่งชาติ ควรให้อยู่ภายใต้ กฎหมายปิโตรเลียมภายใต้การกากับของรัฐบาลและให้ภาคประชาชนรับรู้และแสดงออกได้ - ไม่ควรให้ข้าราชการระดับสูงมาเป็นประธานบอร์ดและกรรมการบอร์ด ในองค์กรของ รัฐมากกว่าคนละ 1 อัตราและต้องมีบทลงโทษหนักสาหรับผู้กระทาผิด - เปิดโอกาสให้แข่งขันกันอย่างเสรีและเป็นธรรม - ควรเผยแพร่สาระ ข้อสรุป เปรียบเทียบข้อดี – ข้อเสียของ พระราชบัญญัติ ทั้งสองฝ่าย ให้ป ระชาชนทั่วประเทศได้รับ รู้ ทาให้ อ่านง่ายแยกประเด็นให้ชัดเจน ส่งไปตามโรงพยาบาล ห้ องสมุด มหาวิทยาลัยทุกแห่ง เผยแพร่ทางวิทยุ โทรทัศน์หลายๆ ช่อง - เรื่องปิโตรเลียมเป็นวาระแห่งชาติ “ควรบรรจุหลักว่า ผลิตปิโตรเลียมเพื่อบริโภคใน ประเทศ การจะส่งออกต่อเมื่อเหลือใช้จากการบริโภคในประเทศเท่านั้น” - ให้ย กเลิ กกองทุน น้ามันเพราะการบริหารกองทุนไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อ ประชาชน - ควรต้องมีการคานึงถึงกฎหมายอื่นๆ ที่อาจมีผลกระทบทางอ้อมกับ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม เช่น กฎหมายประมวลรัษฎากร กฎหมายสิ่งแวดล้อมหรือกฎหมายการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เพื่อไม่ก่อให้เกิดข้อขัดแย้งทางกฎหมายที่ตามมา - ทาให้พลังงานเป็นของชนชาวไทยทุกคน คือ คนไทยรับรู้พลังงาน มีสิทธิ์ร้องทุกข์ ได้รับ ผลประโยชน์ในรูปการศึกษา โรงเรียน วิทยาลัยเทคนิค - รัฐบาลไทยควรซื้อหุ้นกลับมาเป็นของรัฐ ร้อยละ ๑๐๐ รัฐอาจออกเป็นธนบัตร เพราะ ปีหนึ่ง ปตท. กาไรเกือบสองแสนล้านบาท เงินส่วนนี้เอามาบริหารประเทศได้เยอะมาก - รัฐควรส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานหมุนเวียนในภาคครัวเรือนเพื่อลดการใช้พลังงาน หลักเช่น ส่งเสริมใช้พลังงานแสดงอาทิตย์ โดยการลดภาษีนาเข้าอุปกรณ์โซล่าเซล เป็นต้น


Page 46

- ควรกาหนดให้ชัดเจนเรื่องผลกระทบต่อวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนในชุมชน เพราะในการ สัมปทานมีการเข้าพื้นที่และทาให้วิธีชุมชนเปลี่ยนแปลงเกิดความเจ็บป่วย ต้องกาหนดแนวทางป้องกันก่อน เกิดขึ้น หากเกิดขึ้นแล้วหน่วยงานต้องติดตามเข้ามาดูแล ชดเชยและเยียวยา ต้องเข้ามาอย่างทันเหตุการณ์ - หยุดการให้สัมปทานก่อน ควรหาแนวทางหรือสนับสนุนพลังงานทางเลือกจากพืชที่ สามารถนามาเป็นพลังงานได้ - กระทรวงพลังงานส่งตัวแทนมาชี้แจงและตอบคาถามทุกคาถาม - กระทรวงพลังงานเปิดเผยรายละเอียดสัญญาสัมปทาน - กระทรวงพลังงานควรมองในทุกมิติและคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของประเทศ - ในการดาเนินการเครื่องจักรเครื่องมือทั้งหมด ต้องเป็นของรัฐแล้วให้รัฐทยอยหักค่า เครื่องจักร จนเป็นของรัฐ - กระทรวงต้องขยันทางานรับผิดชอบ ไปหาข้อมูลเองหรือนามาเป็นประโยชน์ต่อรัฐ - แปลงที่ประมูลได้หากไม่มีการดาเนินการภายใน ๕ ปีให้คืนเงินเป็นของรัฐ ห้ามนาไป ส่งต่อให้รายอื่นๆ - ให้แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะหมดอายุให้เป็นของภาครัฐ แปลงที่มีศักยภาพ - แปลงสัมปทานพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยยังมีในอ่าวไทยมากมาย ในพื้นที่อ่าวไทย - กัมพูชา - อาจใช้อนุญาโตตุลาการที่ศาลไทยมีส่วนร่วม ช่วงสรุปปิดการประชุม นางสาวรสนา โตสิตระกูล ประธานอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมขององค์กรที่สาคัญ ได้ กล่าวปิดการประชุม โดยสรุปว่า เวทีรับฟังความคิดเห็นในครั้งนี้มีพี่น้องประชาชน เข้าร่วมรวม ๓๔ จังหวัด จากภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ภาคกลาง กรุงเทพ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก การรับฟังความ คิดเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพราะเป็นสิ่งที่ สาคัญในการช่วยปฏิรูปอนาคตในการใช้ปิโตรเลียมกับประชาชนและประเทศ เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคมที่ผ่านมา ตนได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานแท่นขุดเจาะปิโตรเลียมที่แหล่ง ปลาทอง ในพื้น ที่อ่า วไทยของบริ ษั ท เชฟรอน ซึ่ งเป็น บริษั ทที่มี แ ปลงปิโ ตรเลี ย มที่ใ กล้ จะหมดสั ญญา สัมปทานในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ การดาเนินงานบนแท่นขุดเจาะปิโตรเลียมที่นี่ ใช้บุคลากรไทยทั้งหมด จากเดิม ๔๔ ปีที่ผ่านมาที่ต้องอาศัยวิทยาการจากต่างประเทศ ตั้งแต่ วิศวกรปิโตรเลียม นักธรณีวิทยา ช่างเทคนิค ต่างๆ เป็นต้น แต่ปัจจุบันใช้บุคลากรไทยทั้งหมดแล้ว ส่วนในเรื่องระบบวัดปริมาณการผลิตปิโตรเลียมที่ปากหลุม ในปัจจุบันได้มีการติดตั้งระบบวัด ปริมาณการผลิตแบบทันที (Real time) ที่ใช้ภายในบริษัทเท่านั้น แต่เนื่องจากประเทศไทยเป็นการใช้ระบบ สัมปทาน ซึ่งประเทศไทยจะได้รับเงินค่าภาคหลวงเมื่อบริษัทผู้ผลิตน้ามันขายปิโตรเลียมแล้ว เท่านั้น ทาให้ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติต้องไปวัดปริมาณปิโตรเลียมที่จุดขายเท่านั้น ทาให้ไม่ทราบปริมาณการผลิตแบบ ทันที (Real time) ณ จุดขายนั้น ซึ่งเป็นจุดขายที่รวมผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจากทุกแหล่ง โดยแต่ละแหล่ง มี สัญญาสัมปทานที่แตกต่างกันและมีลักษณะที่ซับซ้อนมาก


Page 47

ปัจจุบันมีการถกเถียงกันเรื่อง ประเทศไทยควรมีการเปลี่ยนแปลงการจัดการปิโตรเลียมจาก ระบบสัมปทานเป็นระบบแบ่งปันผลผลิตหรือไม่ ทั้งนี้ระบบแบ่งปันผลผลิตมีหลักสาคัญ คือ ปิโตรเลียมเป็น ของประเทศ ประเทศไทยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์แบ่งปันผลผลิตให้เอกชน มิใช่ให้เอกชนมาแบ่งปันผลผลิต เมื่อเอกชนขาย แม้กระทรวงพลังงานจะอ้างว่า ระบบสัมปทานในปัจจุบัน กรรมสิทธิ์ปิโตรเลียมเป็นของ ประเทศไทยและรัฐได้ผลประโยชน์ไม่ต่างจากระบบแบ่งปันผลผลิต แต่ในข้อเท็จจริงมีความแตกต่างกันมาก เพราะระบบสัมปทาน คือ การยกสิทธิให้เอกชนไปบริหาร แต่ระบบแบ่งปันผลผลิตนั้น ประเทศจะสามารถ บริหารทรัพยากรธรรมชาติได้ด้วยตนเอง ดังนั้น เราจึ งควรพิจารณาระบบบริห ารจัดการปิโตรเลี ยมในระบบอื่นๆ อย่างเช่น ระบบ แบ่งปันผลผลิตที่กล่าวมานี้ด้วย ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยมีบุคลากรที่มีความสามารถในด้านปิโตรเลียมเป็น จานวนมาก การเปลี่ยนแปลงจากระบบสัมปทานเป็นระบบแบ่งปันผลิตจึงมีความเป็นไปได้ หากพิจารณา จากผลประโยชน์ ข องปิ โ ตรเลี ย ม ในระดั บ ต้ น น้ าคือ การส ารวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม มู ล ค่ า ทรั พ ยากร ปิ โ ตรเลี ย มมีมู ล ค่ า ถึง ห้ า แสนกว่า ล้ านบาทต่ อปี หากเปรี ยบเที ยบกั บผลิ ต ภัณ ฑ์อื่ นๆ ในประเทศ เช่ น ข้าว ยางพารา เป็ นต้น มูล ค่าผลิตภัณฑ์ของปิโตรเลี ยมนั้น มีมูล ค่าสู งที่สุ ด หากพิจารณาถึงการพัฒนา ปิโ ตรเลี ย มในขั้นปลายน้ าจะมีมูลค่ามหาศาลเพียงใด หากมีการบริหารจัดการที่ดี และให้ ผลประโยชน์ ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศ หลายฝ่ายอาจกล่าวว่า รัฐบาลสามารถกาหนดราคาปิโตรเลียมในประเทศให้ต่าได้ โดยรัฐบาล นาเงินที่ได้จากการให้ สัมปทานปิ โ ตรเลี ยมมาลดราคาขายปิโ ตรเลี ยมในประเทศ ซึ่งขึ้นอยู่กับนโยบาย ของรัฐบาล แต่เมื่อพิจารณาในระบบการแบ่งปันผลผลิต รัฐจะได้ผลผลิต คือ ปิโตรเลียม เมื่อรัฐบาลขาย ในราคาตลาดโลก รัฐบาลจะสามารถนารายได้ส่วนนี้มาเป็นรายได้ของแผ่นดินมาใช้จ่ายบริหารประเทศได้ อันจะสามารถนาไปเป็นสวัสดิการให้แก่ประชาชนได้ หรือหากรัฐบาลจะมีนโยบายขายปิโตรเลียมส่วนนี้ใน ประเทศในราคาถูกก็สามารถกระทาได้ เมื่อพิจารณาว่า ประเทศไทยใช้ระบบสัมปทานมาถึง ๔๔ ปีแล้ว บัดนี้ควรถึงเวลาเปลี่ยนแปลง ให้ทรัพยากรปิโตรเลียมนี้เป็นของคนไทย และเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปการใช้พลังงานของประเทศ ในครั้งนี้เป็นสิ่งสาคัญ ประชาชนเป็นผู้มีส่วนสาคัญในการผลักดัน แม้จะมีการต่อต้านจากหลายฝ่ายก็ตาม รวมถึงแนวความคิดการจัดตั้งบรรษัทบริหารพลังงานที่ยังเป็นข้อถกเถียงอยู่ แม้ ขณะนี้จะได้รับการขัดขวาง แต่หากวันใดที่ประชาชนตื่นตัวในข้อมูลข่าวสารในเรื่องนี้มากขึ้น รวมทั้งข้อมูลที่ได้จากเวทีรับฟังความ คิดเห็ น ในครั้ งนี้ ก็จ ะถู กรวบรวมเผยแพร่ ต่อ ไป การเปลี่ ย นแปลงควรจะต้ องมี ซึ่ง ขึ้น อยู่ กับ ประชาชน ในประเทศทุกคนที่จะตระหนักในจุดนี้ร่วมกัน การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นในครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งในการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดง ความคิดเห็ น อัน เป็ น กระบวนการขับ เคลื่ อ นในเรื่องการปฏิรูปพลั งงานไทยให้ เกิดประโยชน์สู งสุ ดต่ อ ประเทศ ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ จะได้นาข้อมูลที่ได้รับ ทั้งหมดนาเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติต่อไป ----------------------------------------


บทสรุปความคิดเห็นและข้อเสนอในประเด็นต่างๆจากผู้อภิปราย จานวน ๒๗ คน ๑. *สิทธิความเป็นเจ้าของปิโตรเลียม *ผู้ให้สิทธิและดูแลการประกอบการปิโตรเลียม และ*การบริหาร จัดการองค์กรผู้ให้สิทธิฯ ๑.๑ สิทธิความเป็นเจ้าของปิโตรเลียมควรจะเป็นของคนไทยทุกคน โดยใช้ระบบการบริหาร จัดการแบบระบบสหกรณ์ การบริหารจัดการหากใครต้องการเป็นกรรมการบริหารนั้นควรมีวาระแค่ ๒ ปี ขณะที่สั ดส่ว นของคณะกรรมการจะต้องมีสั ดส่ ว นที่มาจากภาคประชาชนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน คณะกรรมการ โดยอยู่ภายใต้ของสภาพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมี ที่มาจากประชาชน ทั้งนี้ห้าม ประชาชนที่เข้าเป็นกรรมการต้องไม่มีส่วนได้เสียจากกลุ่มธุรกิจพลังงานไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ตามระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๑.๒ สิ ท ธิ ค วามเป็ น เจ้ า ของปิ โ ตรเลี ย มควรให้ บ ริ ษั ท น้ ามั น แห่ ง ชาติ ที่ ด าเนิ น งานโดยภาค ประชาชน ซึ่งร่วมกับภาคชุมชน ทั้งนี้การบริหารจัดการองค์กรควรให้ชุมชนในพื้นที่ที่มีการขุดเจาะปิโตรเลียม มีส่วนร่วมในการดาเนินการทุกขั้นตอน ในส่วนการถือหุ้นของรัฐในบริษัทน้ามันแห่งชาติ รัฐจะต้องถือหุ้น ทั้งหมดที่จานวนร้อยละร้อยเท่านั้น ๑.๓ ตามกฎหมายปิโตรเลียม ปี พ.ศ. ๒๕๑๔ นั้นได้กาหนดให้สิทธิให้การให้สัมปทานไม่อยู่ใน การบังคับคดี ซึ่งในข้อเท็จจริงแล้ว เมื่อผู้รับสัมปทาน ได้มีการดาเนินการทาสัมปทานในประเทศไทย จะต้อง ใช้กฎหมายไทยใช้บังคับ เพราะไม่เช่นนั้นจะส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และผลประโยชน์อื่นๆ ของ ประเทศไทย ขณะเดียวกันมาตรา ๒๓ ที่บัญญัติว่า“ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ ” นั้นขัดแย้งกับมาตราที่ ๕๖ ที่บัญญัติว่า “เมื่อมีพลังงานปิโตรเลียมที่ได้มาแล้ว จะสามารถนาไปจาหน่ายได้” ๑.๔ การบริหารจัดการองค์กรผู้ให้สิทธิฯ และดูแลการประกอบการปิโตรเลียม ควรเป็นหน้าที่ ของบรรษัทน้ามันแห่งชาติ หรือบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ และบริษัทน้ามันแห่งชาติ โดยให้รัฐบาลเป็นผู้ถือ หุ้นทั้งหมด ๑.๕ ควรให้ สิทธิบริ ษัทน้ามันแห่งชาติเพราะจะเป็นองค์กรที่เป็นอิสระจากรัฐ และเครือข่าย นายทุน และนักการเมือง โดยประกอบด้วยคณะกรรมการที่สรรหามาจากวิชาชีพต่าง ๆ ที่หลากหลาย และให้ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการคัดเลือก ๑.๖ ไม่ควรให้ ห น่ ว ยงานที่รั บผิ ดชอบเพียงหน่ว ยเดียวดูแลการบริห ารจัดการด้านพลั งงาน เพราะอาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาการทุจริตและความไม่โปร่งใสได้ ๒. *ระบบการจัดหาปิโตรเลียม *การให้สิทธิจัดหาปิโตรเลียม และ*วิธีการแบ่งปันผลผลิตให้รัฐ ๒.๑ ระบบจัดการปิโตรเลียมควรใช้บริษัทน้ามันแห่งชาติ โดยจัดตั้งขึ้นเป็นองค์กรอิสระ ทั้งนี้ ต้องให้เป็นองค์กรที่ปลอดการแทรกแซงของนักการเมือง และข้าราชการกระทรวงพลังงาน ทั้งนี้ควรให้บริษัท น้ามันแห่งชาติเป็นผู้ถือสิทธิจัดหา และแบ่งปันผลผลิตทางปิโตรเลียมทั้งหมด โดยจาเป็นจะต้องสร้างให้บริษัท น้ามันแห่งชาติเป็นองค์กรที่โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และให้คานึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของประชาชน ๒.๒ ในส่วนการจัดหาสารวจทรัพยากรปิโตรเลียมเห็นควรให้รัฐเป็นผู้ดาเนินการ โดยเป็นการ รวบรวมข้อมูล ทรั พยากร และให้ สัมปทานในพื้นที่ที่พบว่าไม่ปรากฏว่ามีเบาะแสของปิโ ตรเลี ยม และให้ แบ่งปันผลผลิตหากมีปริมาณพอสมควร ขณะเดียวกันหากพบว่าพื้นที่สัมปทานนั้นมีปริมาณปิโตรเลียมมาก ควรให้รัฐดาเนินการโดยเป็นผู้จ้างผลิต


Page 49

๒.๓ การจัดระบบทุกขั้นตอนขอให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในส่วนกาหนดนโยบาย วางแผน กากับติดตาม ช่วยเหลือแก้ไขปัญหา และตรวจสอบไม่ให้เกิดการคอรัปชั่น ทั้งนี้จะต้องมีการรายงานเพื่อให้ ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ ๒.๔ มาตราที่ ๒๘ ในการให้ สัมปทานโดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ มีสิทธิในการเป็นผู้ อนุมัติ โดยเป็นผู้ให้สัมปทานโดยเป็นผู้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยที่ ระบุไว้ว่า เขตพื้นที่แปลงสารวจที่มิใช่อยู่ ในทะเล โดยหมายถึงพื้นที่บนบกโดยสามารถทาพื้นที่สั มปทานได้ ประมาณ ๔ พันตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ ๒,๕๐๐,๐๐๐ ไร่ ซึ่งเห็นว่าไม่ควรให้สัมปทานจานวนมากมายเช่นนั้น ขณะเดียวกันการทาสัมปทาน ในพื้นที่ทะเลไม่มีการระบุไว้ว่าใช้พื้ นที่เท่าไหร่ ดังนั้นสัมปทานรอบที่ ๒๑ จึงเป็นพื้นที่มีมากมายมหาศาล ขณะที่มาตราที่ ๔๕ ในส่วนพื้นที่สงวนตามที่ระบุไว้คือ สามารถทาพื้นที่สงวนได้อีกที่ประมาณ ๑๒.๕ หากมี การอนุมัติในส่วน ๒,๕๐๐,๐๐๐ ไร่ จะทาให้เสียพื้นที่ สงวนประมาณที่ ๓ แสนกว่าไร่ จึงไม่ถือว่าสมควร ๒.๕ ข้อผู กพัน ในส่ ว นด้านปริมาณ อานาจสิ ทธิของอธิบดีกรมการเชื้อเพลิ งธรรมชาติถือว่า มีอานาจมากเกิน ไป ซึ่งดังกล่ าวเมื่อพิจ ารณาที่มาตรา ๓๐ ที่ระบุว่า อานาจของอธิบดีกรมการเชื้อเพลิ ง ธรรมชาติสามารถเปลี่ยนแปลงข้อผูกผันได้ ซึ่งหากข้อผูกผันดังกล่าวมีการระบุไว้ในสัญญา จานวนเงินซึ่งเป็น ในส่วนที่เป็นส่วนต่างจะถูกให้มีการโอนเข้าสู่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติซึ่งดังกล่าวถือว่าอานาจของเจ้าหน้าที่รัฐ ถือ ว่า มี มากจนเกิ น ไป รวมถึ งอ านาจของรั ฐ มนตรี ว่า การกระทรวงพลั ง งาน ที่ ส ามารถเพิ่ มพื้ นที่ ก ารท า สัมปทานได้อีกหนึ่งแปลงจากที่กาหนดเพียง ๔ แปลง สามารถเพิ่มเป็น ๕ แปลงได้ ๒.๖ มาตรา ๔๘ ระบุว่าผู้รับสัมปทานสามารถโอนสัมปทานทั้งหมดได้ โดยในสัมปทานรอบที่ ๒๑ นั้น ที่เป็นสัมปทานอยู่ในพื้นที่ทะเล ซึ่งประเทศไทยมีข้อพิพาททางทะเลกับกัมพูชา ซึ่งเป็นปัญหาสัญญา สัมปทานของบริษัทเชฟรอนซึ่งครั้งแรกสัญญาดังกล่าวไม่ได้อยู่ที่บริษัทเชฟรอน แต่อยู่ในบริษัทในสังกัดของ ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งตามมาตราที่ ๔๘ นั้นจะสามารถโอนสัมปทานไปยังบริษัทเชฟรอนได้ ทั้งที่เป็นเขตพื้นที่ พิพาท ซึ่งหากเรายังใช้ พระราชบัญญัติ พลังงาน ที่กระทรวงพลังงานเป็น ผู้ร่างพระราชบัญญัตินี้แล้ว อาจจะ ทาให้เสียพื้นที่ดินแดนทางทะเลของอ่าวไทยได้ ๒.๗ ระบบการจัดหาปิโตรเลียม เห็นด้วยตามแนวทางกฎหมายของ ภาคประชาชนและอื่นๆ ที่กาหนดแนวทางวิธีการจัดหา ปิโตรเลียมใหม่ ๓ รูปแบบ โดยให้รัฐเป็นผู้ดาเนินการสารวจ รวบรวมข้อมูลทรัพยากรปิโตรเลียมก่อน และมี การกาหนดเงื่อนไข ดังนี้ ๑) ระบบสัมปทาน ใช้กรณีที่ไม่ปรากฏเบาะแสของปิโตรเลียม ๒) ระบบแบ่งปันผลผลิต ใช้กรณีที่มีข้อมูลการสารวจแล้วพบว่ามีปริมาณที่แน่ชัด และ เพียงพอต่อการประกอบกิจการในเชิงพาณิชย์ ๓) ระบบจ้ างบริ การหรื อจ้างผลิ ต ใช้กรณีที่มีข้อมูลการส ารวจปรากฏปริมาณปิโตรเลี ยม จานวนมาก ๒.๘ ในการเลือกใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตต้องใช้ในแปลงปิโตรเลียมที่มีข้อมูล การสารวจหรือ เบาะแส ที่พบว่ามีปริมาณแน่ชัด และเพียงพอต่อการประกอบกิจการในเชิงพาณิชย์ ๒.๙ ผู้ที่จ ะได้รั บ สิ ทธิในระบบแบ่งปันผลผลิ ต จะต้องเป็นผู้ ที่ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้นในการ ประมูล และผู้ชนะการประมูลคือผู้ที่เสนอส่วนแบ่งปิโตรเลียมแก่รัฐสูงสุด ๒.๑๐ ไม่เห็นด้วยกับการหักค่าใช้จ่ายก่อน การแบ่งปันผลผลิตให้รัฐ


Page 50

๒.๑๑ ต้องการให้ นาร่างกฎหมายของภาคประชาชนเข้ามาร่ว มพิจารณาด้ว ย โดยให้ แบ่งปัน ผลผลิต ไม่ใช้วิธีการแบ่งตามเปอร์เซ็นต์ ๒.๑๑ การต่อ อายุ สั ญ ญาในระบบแบ่ งปั นผลผลิ ตต้ องไม่เ กิน ๒๐ ปี โดยให้ กาหนดไว้ ในร่า ง กฎหมาย ๓. *การจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน *วิธีการตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทย ๓.๑ การจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และชุมชน ประชาชนในพื้นที่ชุมชนควรมีส่วนร่วม เพราะการขุดเจาะมีการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งพื้นที่ป่า ต้นน้า ต่างๆ ๓.๒ ให้มีกลไกในการรวบรวมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีการตรวจสอบในพื้นที่น้า อากาศ ดิน ในพื้นที่ชุมชนที่ได้มีบริษัทไปขุดเจาะในพื้นที่นั้นๆ และควรแจ้งให้ประชาชนให้รับทราบ ๓.๓ ไม่ให้ดาเนิน การขุดเจาะปิโตรเลี ยม โดยวิธีที่ไม่เป็นที่ยอมรับของนานาชาติ ต้องมีการ มาตรฐานการขุดเจาะมีดี รักษาสิ่งแวดล้อม ๓.๔ การจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยนั้น จะต้องนามาจากการเอามาจากเงิน รายได้ทางภาษีของปิ โตรเลียม นากาไรจากผลประกอบการ และค่าภาคหลวง โดยนามาดาเนินการด้าน สวัสดิการ ทั้งทุนการศึกษา และเบี้ยบานาญสาหรับ ๓.๕ ในการกาหนดเขตพื้นที่แปลงประกอบกิจการปิโตรเลียม ต้องมีระยะห่างจากพื้นที่เกาะ ชายฝั่ง พื้นที่ทากิน พื้นที่สงวนอนุรักษ์สัตว์ทะเล และทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล โดยต้องรับฟังความ คิดเห็น และการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงจากประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน ๓.๖ ดาเนินการตามหลักสิทธิมนุษยชน ทั้งในสิทธิส่วนบุคคล และสิทธิชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริม ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนการดาเนินงาน ๓.๗ จัดตั้งกองทุนสนับสนุนการพัฒนาพลังงานทางเลือกด้านอื่นๆ และกองทุนนั้นต้องสามารถ ตรวจสอบได้ ๓.๘ ควรยกเลิกกองทุนน้ามัน ๓.๙ ควรมีการก่อตั้งกองทุนน้ามันและแบ่งปันผลกาไรให้กับประชาชน ๔. *วิธีการยุติข้อพิพาทระหว่างรัฐกับผู้ประกอบการเอกชน *วิธีการแก้ไขกฎหมายปิโตรเลียม ปีพ.ศ. ๒๕๑๔ ๔.๑ ยกเลิก พระราชบัญญัติ ๒๕๑๔ ซึ่งเป็น พระราชบัญญัติที่ร่างโดยกระทรวงพลังงาน รวมถึง พระราชบัญญัติภาษีปิโตรเลียม และสนับสนุนพระราชบัญญัติที่ร่างขึ้นมาโดยประชาชน (คปพ.) เสนอขึ้นมา ซึ่งหากต้องการทราบถึงความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง เห็นควรเสนอให้มีการทาประชามติระหว่าง พระราชบัญญัตปิ ิโตรเลียมที่กระทรวงพลังงานเป็นผู้ร่างฯ กับพระราชบัญญัติปิโตรเลียมที่ประชาชนเป็นฝ่ายเสนอ ๔.๒ การหาข้อยุ ติ ข้อพิพาทระหว่างรั ฐ กับผู้ ประกอบการเอกชน ควรใช้ศาลสถิตยุติธรรมของ ประเทศไทยไม่ควรนาไปดาเนินการตามอนุญาโตตุลาการ ของศาลโลก เนื่องจากทรัพยากรเป็นของประเทศไทย ๔.๓ มีความเห็นว่าควรให้ สนช.ชะลอร่าง พรบ.ของกระทรวงพลังงาน แล้วให้นาข้อเสนอแนะ ของกรรมาธิการพลังงาน สนช.และข้อเสนอร่าง พรบ.เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงาน (คปพ.) มาพิจารณา เพื่อยกร่าง พรบ.ปิโตรเลียม พรบ.ภาษีเ งินได้ปิโตรเลียม ฉบับใหม่ ต่อจากนั้นจึงนาเสนอให้ สนช.พิจารณามี มติให้ความเห็นชอบ และประกาศใช้เป็นกฎหมายต่อไป ๔.๔ ควรมีตัวแทนจากภาคประชาชน ในการต่อสู้เพื่อทวงคืนสิทธิจากปิโตรเลียมคืนมาเป็นของ ประชาชน


ภาคผนวก


ภาคผนวก ๑ โครงการและกาหนดการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘


Page 51

โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” จัดโดย คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องราชเทวีแกรนด์บอลรูม ชั้น ๓ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ------------------------------------ชื่อโครงการเวทีรับความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” ๑. หลักการและเหตุผล คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่ วนร่ วมและรับฟังความคิดเห็ นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่ งชาติ มีอานาจหน้าที่ออกแบบระบบ กลไก วิธีการรับฟังความเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการปฏิรูปและการ ยกร่างรัฐธรรมนูญ ดาเนินการให้มีการรับฟังความเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการปฏิรูปและการยกร่าง รัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมประชาชนทุกภาคส่วน รวบรวมและสังเคราะห์ความเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชน ต่อการปฏิรูปหรือยกร่างรัฐธรรมนูญเสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญประจาสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๑๘ คณะ และอานาจ หน้าที่อื่นตามที่สภาปฏิรูปแห่งชาติมอบหมาย ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวงพลังงานได้เสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการเมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ และได้ผ่านการพิจารณา ของคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นที่เรียบร้อยแล้วในปัจจุบัน เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๘ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้มีหนังสือ ถึงคณะกรรมาธิการฯ เห็นว่าร่างแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมทั้งสองฉบับของกระทรวงพลังงาน เป็นร่างกฎหมายที่มีรากฐานการเอื้อผลประโยชน์และสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มผู้ลงทุนสารวจขุดเจาะปิโตรเลียม ในราชอาณาจักรไทยเป็นสาคัญ และได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่จัดทาใหม่ โดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ต่อคณะกรรมาธิ การฯ เพื่อขอให้จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อเปรียบเทียบร่างกฎหมายพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียมของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) กับร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ของกระทรวงพลังงาน โดยให้เหตุผลประกอบว่า ร่างพระราชบัญญัติ ประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่เครือข่ายประชาชนจัดทาขึ้นนั้น ให้ความสาคัญในการสร้างผลประโยชน์ สูงสุดของชาติและประชาชนเป็นหลักบนความเป็นธรรมแก่ผู้ลงทุนตามสมควร อันครอบคลุมการบริหารจัดการ


Page 52

ปิโตรเลียมทั้งระบบตั้งแต่ต้นน้า (หมายถึง การสารวจและการผลิต) กลางน้า (หมายถึง การขนส่งและเก็บรักษา โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ามัน) ไปจนถึงปลายน้า (หมายถึง การจาหน่ายให้แก่ประชาชน) เพื่อให้การทาธุรกิจ ปิโตรเลียมทุกขั้นตอนมีความพร้อมสาหรับการค้าระหว่างประเทศมากขึ้นสาหรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ถือเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ต่ อการปฏิ รู ป ประเทศ ดั งนั้ นคณะกรรมาธิ การวิ สามั ญการมี ส่ วนร่ วมและรั บฟั งความคิ ดเห็ นของประชาชน จึงเห็นชอบให้มีการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เพื่อให้ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และประชาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อแนวทาง การปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม ในการแสวงหาระบบการบริหารจัดการปิโตรเลียมของประเทศที่เหมาะสม พร้อมทั้ง รับฟังข้อเสนอแนะ อันนาไปสู่ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อประเทศและประชาชนอย่างแท้จริง ๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อรวบรวม ประมวลความเห็นต่างจากเวทีรับฟังความคิดเห็น และสังเคราะห์ข้อเสนอในการ ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม ๒. เพื่อให้มีเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อมูลด้านพลังงานของประเทศ โดยการมีส่วนร่วม จากภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และประชาชน เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการด้านพลังงาน ๓. วัน เวลา และสถานที่ วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องราชเทวีแกรนด์บอลรูม ชั้น ๓ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ๔. กลุ่มเป้าหมาย จานวน ๘๕๐ คน ประกอบด้วย ๑. สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ๓. นักวิชาการด้านการพลังงาน ๔. ผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ๕. ภาคเอกชน เครือข่าย และกลุ่มองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องกับด้านการพลังงาน ๖. ผู้สังเกตการณ์ และสื่อมวลชน ๕. งบประมาณ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติหน้าที่สานักงานเลขาธิการสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๖. ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ


Page 53

๗. องค์กรร่วมจัด ๑. คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ ในคณะกรรมาธิการ วิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒. สานักงานประสานการพัฒนาสังคมสุขภาวะ (สปพส.) ๘. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ความคิดเห็นระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ผู้แทนองค์กรต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง และประชาชน ในเรื่องข้อมูลด้านพลังงานของประเทศ ๒. ได้ข้อเสนอเพื่อนาไปสู่การปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียม ๓. ประชาชนได้รับทราบข้อมูลซึ่งเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการบริหารจัดการปิโตรเลียมของ ประเทศอย่างทั่วถึง ทาให้ประชาชนมีโอกาสรับฟังข้อมูลที่แตกต่างกันในหลายๆ ด้าน นาไปสู่ความเข้าใจที่ตรงตาม ความเป็นจริง และได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและพัฒนานโยบายพลังงานของประเทศ ------------------------------------


Page 54

กาหนดการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ ห้องราชเทวีแกรนด์บอลรูม ชั้น ๓ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เวลา ๐๘.๓๐ - ๐๘.๕๐ นาฬิกา เวลา ๐๘.๕๐ - ๐๙.๐๐ นาฬิกา

เวลา ๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๐ นาฬิกา

เวลา ๐๙.๑๐ - ๐๙.๒๐ นาฬิกา เวลา ๐๙.๒๐ - ๑๒.๒๐ นาฬิกา

- เปิดรับลงทะเบียนผู้เข้าร่วมสัมมนา - กล่าวทักทายและแนะนาขั้นตอนการรับฟังความคิดเห็น โดย นางสาวบุญยืน ศิริธรรม และนายอิฐบูรณ์ อ้นวงษา คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ ในคณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็น ของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ - กล่าวต้อนรับและชี้แจงวัตถุประสงค์ โดย นางสาวรสนา โตสิตระกูล ประธานอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วม ปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ ในคณะกรรมาธิการวิสามัญการ มีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ - กล่าวเปิดโครงการและปาฐกถา โดย นายประชา เตรัตน์ ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ - เสวนาเรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” ในประเด็น ดังนี้ ๑. รายงานสรุปผลการศึกษาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ๒. หลักการและยุทธศาสตร์ของกฎหมายปิโตรเลียมฉบับใหม่ โดย วิทยากร ดังนี้ (๑) ผู้แทนจากคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา การบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๒) ผู้แทนจากกระทรวงพลังงาน (๓) นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้แทนจากเครือข่ายประชาชนปฏิรปู พลังงานไทย (คปพ.) (๔) นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง (๕) นายไพโรจน์ พลเพชร กรรมการปฏิรูปกฎหมาย คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย


Page 55

เวลา ๑๒.๒๐ – ๑๓.๒๐ นาฬิกา เวลา ๑๓.๒๐ – ๑๖.๒๐ นาฬิกา

เวลา ๑๖.๒๐ – ๑๖.๓๐ นาฬิกา

(๖) รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ชัย อัตถากร อาจารย์ประจาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) ดาเนินรายการโดย นายเติมศักดิ์ จารุปราณ ผู้สื่อข่าวอิสระ ช่องนิวส์ ๑ - พักรับประทานอาหารกลางวัน - การรับฟังความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โดย คณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ ในคณะกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ - นาเสนอความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของกลุ่ม - สรุปและปิดเวทีรับฟังความคิดเห็น โดย นางสาวรสนา โตสิตระกูล ประธานอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วม ปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ ในคณะกรรมาธิการวิสามัญการ มีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ ……………………………………

หมายเหตุ: อาหารว่างช่วงเช้า เวลา ๑๐.๓๐ นาฬิกา อาหารว่างช่วงบ่าย เวลา ๑๕.๐๐ นาฬิกา กาหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม


ภาคผนวก ๒ เอกสารประกอบเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สงู สุดของประชาชน” ๒.๑ สรุปคำบรรยำยเสวนำเรื่อง “ปฏิรูปกฎหมำยปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชำชน” ๒.๒ เอกสำรประกอบ (๑) โดย นำยมนูญ อร่ำมรัตน์ ผู้แทนจำกคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำปัญหำกำรบังคับใช้พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๒) โดย หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี ผู้แทนจำกคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำปัญหำกำรบังคับใช้พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๓) โดย นำยปำนเทพ พัวพงษ์พันธ์ ผู้แทนจำกเครือข่ำยประชำชนปฏิรูปพลังงำนไทย (คปพ.) (๔) โดย นำยธีระชัย ภูวนำถนรำนุบำล อดีตรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง (๕) พระรำชบัญญัติที่เกี่ยวข้อง - พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ - พระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ - ร่ำงพระรำชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่..) พ.ศ. .... และร่ำงพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (โดยกระทรวงพลังงำน) - ร่ำงพระรำชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่ำงพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (ร่ำงฯ ที่ สคก. ตรวจพิจำรณำแล้ว) - ร่ำงพระรำชบัญญัติกำรประกอบกิจกำรปิโตรเลียม พ.ศ. .... (โดยเครือข่ำยประชำชนปฏิรูปพลังงำนไทย (คปพ.))


Page 57

สรุปคำบรรยำยเสวนำ เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมำยปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชำชน” โดยวิทยำกร ดังนี้ ๑. นำยมนูญ อร่ำมรัตน์ กรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำปัญหำกำรบังคับใช้พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภำนิติบัญญัติแห่งชำติ สรุปผลการศึกษาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงิน ได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ๑๒ กุมภาพันธ์ – ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ (๙๐ วัน) คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญ ๑. ศึกษาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียมพ.ศ. ๒๕๑๔ ๒. ศึกษาการบังคับใช้พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ๓. พิจารณาแผนงานและโครงการในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ข้อเสนอแนะกำรแก้ไขปัญหำกำรบังคับใช้พระรำชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ๑. กาหนดให้ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของชาติ เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติ และ ประชาชนอย่างแท้จริง ๒. กาหนดให้มีทางเลือกในการให้ สิทธิสารวจและผลิ ตปิโตรเลี ยมนอกเหนือไปจากระบบ สัมปทาน โดยนาทั้งระบบสัมปทาน ระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบจ้ างบริการ มาใช้ตามความเหมาะสม กับศักยภาพของแหล่งปิโตรเลียม ๓. ให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมหรือปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยปิโตรเลียมเพื่อรองรับการดาเนินการ ตามข้อ ๒ และรองรับการดาเนินการกับพื้นที่ผลิตปิโตรเลียมภายหลังหมดอายุสัมปทาน ข้อเสนอแนวทำงกำรปรับปรุงกฎหมำยว่ำด้วยปิโตรเลียมในระยะเร่งด่วน ๑. การกาหนดมาตรการในระยะเร่งด่วน เฉพาะมาตราที่สาคัญ ดังนี้ มาตรา ๒๓ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๑ มาตรา ๑๕ มาตรา ๗๖ ๒. ตั้งคณะกรรมการหรือคณะกรรมาธิการดาเนินการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ และจัด วางระบบบริหารสัญญาการแสวงหาผลประโยชน์จากปิโตรเลียม ในแปลงสัมปทานที่จะหมดอายุสัมปทาน


Page 58

ข้อเสนอแนวทำงกำรปรับปรุงกฎหมำยว่ำด้วยปิโตรเลียมในระยะยำว ปรับปรุงกฎหมายปิโตรเลียมทั้งฉบับเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงระบบการสารวจและผลิต ปิโตรเลียมเพื่อวางระบบให้เป็นที่ยอมรับกันทุกภาคส่วนและสามารถบรรลุถึงวัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ สูงสุดของประเทศชาติและประชาชนได้อย่างแท้จริง ควำมคิดเห็นเพิ่มเติม กาหนดให้รัฐผูกขาดการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ (มาตรา ๓) มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้ อ บั ง คั บ อื่ น ในส่ ว นที่ มี บั ญ ญั ติ ไ ว้ แ ล้ ว ใน พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา ๒๓ “ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ ผู้ใดสารวจหรือผลิต . . . ต้องได้รับสัมปทาน” มาตรา ๔๑ “ในระหว่างระยะเวลาสารวจปิโตรเลียม ผู้รับสัมปทานจะผลิตปิโตรเลียมก็ได้” มาตรา ๖๔ “ให้ผู้รับสัมปทานได้รับหลักประกันว่า (๑) . . . (๒) รัฐจะไม่จากัดการส่งออกปิโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักร เว้นแต่กรณีตามมาตรา ๖๑” มาตรา ๖๕ “. . . อนุญาตให้ผู้รับสัมปทานถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินได้เท่าที่จาเป็น . . .” มาตรา ๖๑ “ในกรณีมีความจาเป็นเกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศหรือ . . . รัฐมนตรี มีอานาจ ประกาศห้ามส่งปิโตรเลียม . . . ออกนอกราชอาณาจักร มาตรา ๗๘ “ผู้รับสัมปทานมีสิทธิเก็บรักษาเงินตราต่างประเทศและนาหรือส่งเงินออก นอกราชอาณาจักร เป็นเงินตราต่างประเทศได้ เมื่อเงินนั้นเป็นเงินที่ได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม” มาตรา ๑๕ “คณะกรรมการปิโตรเลียม” . . . ปลัดกระทรวงพลังงาน อธิบดีกรมที่ดิน อธิ บ ดี ก รมประมง อธิ บ ดี ก รมป่ า ไม้ อธิ บ ดี ก รมสรรพากร เลขาธิ ก าร สนง. นโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติฯ ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทน กระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ . . . มาตรา ๗๖ “ผู้รับสัมปทานต้องรายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและ งบประมาณประจาปีตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่อธิบดีกาหนด รายงานตามวรรคหนึ่งให้ถือเป็นความลับและมิให้เปิดเผยจนกว่าจะพ้นหนึ่งปี นับแต่วันที่กรม เชื้อเพลิงธรรมชาติ*ได้รับรายงานหรือพึงได้รับรายงานตามวรรคหนึ่ง เว้นแต่. . . ๓. ได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับสัมปทานให้เปิดเผยได้ แต่การให้หรือไม่ให้ความ ยินยอมของผู้รับสัมปทานต้องกระทาโดยไม่ชักช้า”


Page 59

๒. หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี กรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำปัญหำกำรบังคับใช้พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระรำชบัญญัติภำษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภำนิติบัญญัติแห่งชำติ สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับรายได้และภาษีอากรตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม และภาษีเงินได้ปิโตรเลียม คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ขอบเขตกำรศึกษำเพื่อเสนอแนวทำงแก้ไขปัญหำ ภายใต้ระบบสัมปทานปิโตรเลียม กฎหมายที่ใช้ในการควบคุมกากับและจัดเก็บรายได้ มีจานวน ๒ ฉบับ ได้แก่ - พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติม รวม ๕ ครั้ง ครั้งสุดท้ายแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ - พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ไขเพิ่มเติมรวม ๕ ครั้ง ครั้ งสุ ดท้ายแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภ าษีเงิ นได้ปิโ ตรเลี ยม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ศึ ก ษาปั ญ หาการบั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ภ าษี เ งิ น ได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้รับมอบหมายหน้าที่ให้ทาการศึกษาประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดเก็บรายได้ รัฐจากกิจการปิโตรเลียมทั้งระบบ ได้แก่ - ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (๙ ประเด็น) - ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (๑๕ ประเด็น) - ข้อเสนอแนะทางกฎหมายอื่น ๆ (๑๓ ประเด็น) - การนาระบบแบ่งปันผลผลิต (PSC) และระบบสัญญาอื่นๆ มาใช้กับการสารวจและผลิต ปิโตรเลียมในประเทศไทย ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ๑) มาตรา ๘๒ การเสียค่าภาคหลวง ณ จุดขาย อาจรั่วไหล ไม่อนุรักษ์พลังงาน รัฐรับผิดชอบ ต่อการสูญเสีย ไม่เป็นธรรมต่อรัฐ หน้า ๔๒ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้เก็บค่าภาคหลวง ณ แหล่งผลิตเพื่อป้องกันการ รั่วไหล ๒) มาตรา ๘๒ การยกเว้นภาคหลวง การควบคุมการงดเว้นภาษีจึงขึ้นกับดุลพินิจเจ้าหน้าที่ได้ อย่างไม่มีข้อจากัด กระทบต่อการจัดเก็บรายได้รัฐ หน้า ๔๔


Page 60

ข้อเสนอตำมรำยงำนกรรมำธิกำร สนช. - แนวทางที่ ๑ ให้ยกเลิกการยกเว้นการเก็บค่าภาคหลวง ณ แหล่งผลิตเพื่อป้องกันการรั่วไหล - แนวทางที่ ๒ อาจคงไว้แนวเดิม แต่ต้องแก้ให้รัดกุม ลดการใช้ดุลพินิจ โดยให้ออกเป็น กฎกระทรวงแทน เพราะเป็นกฎหมายที่สูงกว่าประกาศกรมเชื้อเพลิง ๓) มาตรา ๘๔ ให้เสียค่าภาคหลวงตามมูลค่าที่ขายหรือจาหน่ายเป็นขั้นบันไดในรอบเดือน ประเด็นข้อสังเกต หน้า ๔๙ ๓.๑ การคิดค่าภาคหลวงจากมูลค่าขาย อาจส่งผลกระทบที่เกิดจากจากการควบคุมการ ผลิตและการขายของผู้รับสัมปทาน ๓.๒ การคิดค่าภาคหลวงเป็นปิโตรเลียม ที่อุณหภูมิ ๖๐ องศา F ความดัน ๑๔.๗ ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว มีความเหมาะสมหรือไม่ ๓.๓ การคิดค่าภาคหลวงเป็นเงิน มีประเด็นเรื่อง ราคาที่ใช้และสถานที่เสียค่าภาคหลวง ๓.๔ รมต.สามารถให้ส่วนลดราคามาตรฐานได้ร้อยละ ๗ เป็นเวลา ๙ ปี หากน้าลึกเกิน ๒๐๐ เมตรลดราคามาตรฐานได้ร้อยละ ๓๐ เป็นเวลา ๙ ปี ๓.๕ ราคาก๊ า ซตกลงกั บ คณะกรรมการฯ โดยมี ก าไรพอสมควร เกิ ด ปั ญ หาว่ า ค าว่ า “สมควร” คืออะไร หน้า ๕๒ ๔) การเสียค่าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวง มาตรา ๘๔ ๔.๑ การคิดจากมูลค่าขาย ทาให้ผู้รับสัมปทานสามารถควบคุ มการขายในรอบเดือน เพื่อ เสียค่าภาคหลวงให้น้อยที่สุด ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้คิดค่าภาคหลวงจากราคาตลาดของก๊าซและ น้ามันที่อ้างอิง โดยกาหนดเป็นอัตราก้าวหน้า ๔.๒ อัตราค่าภาคหลวง มีแต่ตารางน้ามันดิบเพียงอย่างเดียว ทาให้ ต้องคานวณแปลง ปริ ม าณก๊ า ซธรรมชาติ เ ที ย บเท่ า น้ ามั น ดิ บ ท าให้ รั ฐ ได้ ค่ า ภาหลวงต่ าลงเนื่ อ งตั ว แปลงค่ า ไม่ ต รงกั บ มาตรฐานสากลที่ ๕.๗๓ ล้านบีทียูต่อ ๑ บาร์เรล ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เพิ่มตารางอัตราค่าภาคหลวง ก๊าซธรรมชาติ ๔.๓. อัตราค่าภาคหลวงเป็นขั้นบันได คิดเป็นรายแปลง ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิ การ สนช. เพื่อป้องกันการกระจายสัดส่วนมูลค่าการขายแต่ ละแปลงจึงให้เสียค่าภาคหลวงรวมของผู้รับสัมปทานแต่ละราย ข้อสังเกต ให้เอกชนเสียภาษีภาษีรวมแปลง ให้เอกชนนาแปลงที่ขาดทุนมาหักจากแปลงที่ กาไรได้ รัฐได้ภาษีน้อยลง ค่าภาคหลวงขั้นบันไดให้คิดแยกแปลง ทาให้ยอดขายของผู้ รับสัมปทานต่าลง เอกชนบริหารค่าภาคหลวงให้ต่าลงได้ ๕) การลดค่าภาคหลวง ตามมาตรา ๙๙ ทวิ ๙๙ ตรี รัฐมนตรีมีอานาจลดหย่อนค่าภาคหลวง ร้อยละ ๙๐ แก้ไขในปี ๒๕๕๐ จากเดิมร้อยละ ๓๐


Page 61

ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ค่าภาคหลวงสามารถนามาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ ให้ ปรับอัตราลดหย่อนเป็นร้อยละ ๓๐ ตามเดิม และการลดหย่อนมีกระจายอยู่ใน พระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ จึงควรรวมไว้ในหมวดเดียวกัน จะง่ายต่อการปฏิบัติและการตรวจสอบ ๖) การคานวณผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ตามมาตรา ๑๐๐ มีความซับซ้อน โดยใช้ความ ยาวท่อใต้ดินมาเป็นตัวแปร โดยให้ ประโยชน์ต่อเอกชนโดยให้เพิ่มค่า K คือความยาวท่อสมมติอีก ๖ แสนเมตร และให้ค่าลดหย่อนพิเศษ Special Reduction (SR) อีกร้อยละ ๓๕ มีความเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อรัฐ หรือไม่ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. กาหนดหลักเกณฑ์การคานวณใหม่ให้มีความเหมาะสม ลด ความยุ่ ง ยากซั บ ซ้ อ น เพื่ อ ความสะดวกในการบั ง คั บ ใช้ แ ละการปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายเป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ให้เสียผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละจากค่าภาคหลวง หรือ จากจานวน ค่าภาษีที่ต้องเสีย ๗) หน่วยงานจัดเก็บรายได้ มาตรา ๑๐๐ ปัจจุบันการควบคุมการให้สัมปทาน การสารวจ การผลิต การขนส่งและการเก็บรักษา การผลิตและจาหน่าย การจัดเก็บค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ตอบ แทนพิเศษ เป็นอานาจหน้าที่ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ อาจทาให้การบริหารและจัดเก็บรายได้เป็นไป อย่างไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้กรมสรรพสามิตมีอานาจและหน้าที่ในการจัดเก็บ ค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษโดยตรง เนื่องจากปัจจุบันกรมสรรพสามิตเป็นหน่วยงานที่มี หน้าที่จัดเก็บภาษีจากสินค้าน้ามัน และผลิตภัณฑ์น้ามัน อีกทั้งมีหน่วยงานทางด้านวิศวกรรม ซึ่งมีวิศวกรที่ มีความชานาญในการควบคุมการจัดเก็บภาษีจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอยู่แล้วโดยตรง ภำษีเงินได้ปิโตรเลียม ๑) กำรคำนวณยอดเงินได้จำกกำรขำยปิโตรเลียมเพื่อเสียภำษี รัฐมนตรีสามารถกาหนด ส่วนลด แปลงบนบกและในน้าตื้น สามารถลดได้ไม่เกินร้อยละ ๗ ของราคาประกาศ เป็นเวลาไม่เกิน ๙ ปี แปลงส ารวจในทะเลที่มีน้ าลึ กเกิน สองร้ อยเมตร สามารถกาหนดส่ ว นลดไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของราคา ประกาศ เป็นเวลาไม่เกิน ๙ ปิโตรเลียม จึงเห็นได้ว่า ในกฎหมายปัจจุบันเอกชนได้ลด จานวนค่าภาคหลวง อัตราค่าภาคหลวง และส่วนลดเพื่อคานวณการขาย ๒) กำรหักรำยจ่ำย ๒.๑ ขอบเขตของรายจ่าย กฎหมายระบุว่า หากเป็นรายจ่ายที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็น รายจ่ายตามปกติและจาเป็นในจานวนไม่เกินสมควร และได้จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะในกิจการปิโตรเลียม ไม่ว่า จะจ่ายในหรือนอกราชอาณาจักรก็สามารถนามาหักเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิเพื่อเสียภาษีได้ทั้ง จานวน โดยสรุปคือ กฎหมายระบุรายการเกี่ยวกับรายจ่ายตามปกติและจาเป็นในกรณีต่างๆ ไว้แต่ มิได้กาหนดว่าต้องเป็นรายจ่ายที่เกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมในราชอาณาจักร จึงอาจทาให้เกิดปัญหาในการ ตีความว่าจะหักเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ และในส่วนของรายจ่ายที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็มิได้กาหนดการ ปฏิบัติเกี่ยวกับการแสดง หรือการรับรองหลักฐานหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายนั้นไว้จึงอาจเกิดปัญหา เรื่องความน่าเชื่อถือในความถูกต้องแท้จริงของเอกสารได้


Page 62

ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรมีการแก้ไขกฎหมายโดยกาหนดว่ารายจ่าย ตามปกติและจาเป็นให้ จากัดอยู่เฉพาะแต่รายจ่ายที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นรายจ่ายในจานวนที่ไม่เ กิน สมควร และได้จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะที่เกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมในราชอาณาจักร อาจกาหนดให้รายจ่ายที่มี ที่มาหรือเกี่ยวข้องกับดินแดนปลอดภาษี (Tax Haven) เป็นรายจ่ายที่มิให้ถือเป็นรายจ่ายทางภาษีด้วย ๒.๒ ค่าเช่า บริษัทสามารถเช่าทรัพย์สินในหรือนอกราชอาณาจักร เพื่อนามาใช้ในกิจการ ปิโตรเลียมและสามารถนามาหักเป็นรายจ่ายได้ หากบริษัทลงทุนโดยการเช่าทรัพย์สินเป็นส่วนใหญ่และเป็น จานวนมาก ก็จะทาให้รายจ่ายในการประกอบกิจการมีจานวนที่สูง เมื่อนามาหักเป็นรายจ่ายก็ย่อมทาให้ เหลือกาไรสุทธิที่จะต้องเสียภาษีเป็นจานวนน้อย ส่งผลกระทบต่อรายได้โดยรวมของรัฐ หากบริษัทผู้รับ สัมปทานเช่าทรัพย์สินจากบริษัทในเครือเดียวกันในต่างประเทศ ก็สามารถที่จะกาหนดค่าเช่ากันในลักษณะ ที่เป็นการถ่ายโอนกาไรไปยังบริษัทในเครือโดยวิธีการตั้งราคาโอน (Transfer Price) ผ่านทางช่องทางการ จ่ายค่าเช่าดังกล่าวให้ แก่กัน ได้อีกทางหนึ่ง นอกจากนี้การนาทรัพย์สินที่เช่าจากต่างประเทศเข้ามาใน ประเทศไทย ผู้รับสัมปทานก็มีสิทธิที่จะนาเข้ามาในราชอาณาจักโดยได้รับยกเว้นการเสียอากรขาเข้า ส่งผล ให้ผู้รับสัมปทานได้รับสิทธิทั้งยกเว้นภาษีอากรและนาค่าเช่าไปหักเป็นรายจ่ายได้โดยไม่จากัดจานวน ๒.๓ ค่ารับรอง ไม่มีการจากัดจานวนค่ารับรอง ซึ่งแตกต่างจากค่ารับรองที่กาหนดไว้ตาม ประมวลรัษฎากร ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แก้ไขกฎกระทรวง เพื่อให้มีการกาหนดลักษณะ ของค่ารับรองและจานวนค่ารับรองสูงสุดที่จะหักเป็นรายจ่ายที่จาเป็นและสมควร เช่นเดียวกับที่กาหนดไว้ ตามประมวลรัษฎากร ๒.๔ การจาหน่ายหนี้สูญ กฎหมายเพียงแต่กาหนดไว้ในลักษณะกว้าง ๆ ว่าให้จาหน่ายได้ ต่อเมื่อได้ป ฏิบั ติการโดยสมควรเพื่อให้ ได้รับชาระหนี้แล้ ว และหลั กเกณฑ์ในการจาหน่ายหนี้สู ญก็ไม่มี กาหนดไว้ในอนุบัญญัติระดับกฎกระทรวง แตกต่างจากประมวลรัษฎากร ๒.๕ รายจ่ายที่จัดสรรจากสานักงานใหญ่ เป็นเรื่อง Cost Sharing ซึ่งเกี่ยวกับบริษัทใน ต่าง ประเทศที่ได้รับสัมปทานและมีสาขาหรือสานักงานอยู่ในประเทศไทย มีการจัดสรรหรือปันส่วนมาเป็น รายจ่ายมายังประเทศไทย ซึ่งเรื่องนี้ปรากฏเป็นคดีฟ้องร้องกันและอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา จึ ง มีปั ญหาว่ ารายจ่ ายที่ ได้รั บ การจั ดสรรมาเป็นจานวนตามปกติและจาเป็นในการประกอบกิจการใน ประเทศไทยหรือไม่ ดังนั้น หากมีการจัดสรรค่าใช้จ่ายในลักษณะนี้จากสานักงานใหญ่ให้แก่สาขาในประเทศ ไทยก็จะส่งผลต่อการคานวณกาไรสุทธิเพื่อเสียภาษีของสาขาในประเทศไทย การที่กฎหมายกาหนดไว้ใน ลักษณะนี้ อาจทาให้เกิดปัญหาการใช้ดุลพินิจว่าจานวนที่จัดสรรมาเหมาะสมหรือไม่ หน้า ๙๐ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรต้องมีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม โดยกาหนดให้ รายจ่ายของสานักงานใหญ่เท่าที่จัดสรรได้โดยสมควรว่า เกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมในประเทศไทย ๒.๖ รายการที่มิให้ถือเป็นรายจ่ายตามปกติ กรณีที่บริษัทผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมต้อง จ่ายไปเกี่ยวกับการบาบัดหรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม มลภาวะ หรือมีผลกระทบ ต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อาจจะเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ ก็ควรจะให้ถือเป็นรายการที่ มิให้ ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้ปิโตรเลียม หน้า ๙๒


Page 63

๒.๗ การลดหย่ อ นผลขาดทุ น และการโอนกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม มาตรา ๔๘ ของ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม ระบุว่า หากมีการถือหุ้นเกินร้อยละ ๕๐ ระหว่างผู้โอนและผู้รับโอนสัมปทาน สามารถโอนสัมปทานกันได้โดยไม่ต้องขออนุญาต ปัญหาที่จะต้องพิจารณาคือ การโอนกิจการปิโตรเลียม ให้บริษัทผู้รับโอนถือเอาผลขาดทุนประจาปีคงเหลือของบริษัทผู้โอนเพื่อประโยชน์ในการหักลดหย่อนได้ จะ ส่งผลให้สามารถเคลื่อนย้ายผลขาดทุนระหว่างบริษัทผู้โอนกับผู้รับโอนได้โดยสะดวก หน้า ๙๗ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรต้องแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม เพื่อป้องกันการ โอนกิจการในลักษณะเป็นการนาผลขาดทุนสุทธิไปใช้ประโยชน์ในทางภาษีอากร ๒.๘ สิทธิยกเว้นภาษีอากรอื่นในการประกอบกิจการ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ มาตรา ๗๑ ให้สิทธิแก่ผู้รับสัมปทานในการได้รับยกเว้นการเสียภาษีอากร และเงินที่ราชการส่วนกลาง ราชการส่วน ภูมิภ าค และราชการส่ ว นท้องถิ่น เรี ย กเก็บทุกชนิด เว้นแต่ภ าษี เงินได้ตามกฎหมายว่าด้ว ยภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม หมายความว่าภาษีหรือค่าธรรมเนียมอื่นใด นอกเหนือจากที่กล่าวมานี้ เช่น ผู้รับสัมปทานนา สินค้าตามมาใช้ในกิจการปิ โตรเลีย มก็จะได้รับยกเว้นภาษีสรรพสามิต หรือกรณีที่ผู้ รับสั มปทานมีที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง ตลอดจนป้าย ที่ใช้ในกิจการปิโตรเลียม ก็จะได้รับสิทธิยกเว้นภาษีโรงเรือนและ ที่ดิน ภาษีบารุงท้องที่ และภาษีป้าย เป็นต้น ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แก้ไขกฎหมายให้ยกเลิกการยกเว้นภาษีห รือ ค่ า ธรรมเนี ย มทุ ก ชนิ ด ที่ ต้ อ งจ่ า ยให้ แ ก่ รั ฐ โดยยกเลิ ก บทบั ญ ญั ติ ม าตรา ๗๐ และมาตรา ๗๑ แห่ ง พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ๒.๙ ราคาขายน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ในราชอาณาจักร ให้ผู้รับสัมปทานขาย น้ามันดิบ กรณีไม่มีการส่งออกเป็นประจา ให้ขายไม่เกินราคาน้ามันดิบที่สั่งซื้อจากต่างประเทศส่งถึงโรงกลั่น ส่วนการขายก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ภายในราชอาณาจักรนั้น กาหนดให้ผู้รับสัมปทานขายในราคาที่ตกลงกับ คณะกรรมการปิโตรเลียม แต่หากผลิตได้เกินความต้องการให้ขายในราคาที่มีกาไรตามสมควร หน้า ๑๐๖ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ราคาขายปิโตรเลียมในประเทศและส่งออกมีการ กาหนดไว้แตกต่างกันไม่เป็นไปตามหลักสากล และปิโตรเลียมมีหลายประเภทแต่วิธีกาหนดราคามีเพียง น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ จึงสมควรแก้ไขให้สอดคล้องกันและเป็นไปตามหลักสากล ๒.๑๐ ช่องทางการโยกย้ายกา ไรออกไปจากประเทศไทยโดยใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน การส่ งเงิน กาไรจากกิจ การปิโ ตรเลี ยมในประเทศไทยให้ แก่บริ ษัทในเครือ เดียวกันใน ต่างประเทศ บริษัทอาจวางแผนภาษีโดยการทาสัญญากู้ยืมเงิน หรือการให้สินเชื่อทางการค้าระหว่างตนกับ บริ ษัทในเครื อ และส่ งกาไรออกไปในลั กษณะของการจ่ายดอกเบี้ย โดยสามารถเลื อกใช้ช่องทางสิ ท ธิ ประโยชน์ตามความตกลงทางภาษีระหว่างประเทศ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้ปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการรับรู้รายจ่ายให้รัดกุม ยิ่งขึ้นว่า การทาธุรกรรมกู้ยืมเงินหรือการให้สินเชื่อระหว่างบริษัทในเครือเดียวกัน ซึ่งมีการจ่ายดอกเบี้ย ออกไปต่างประเทศนั้น จะต้องมีการพิสูจน์ทางเอกสารให้ได้ข้อเท็จจริงว่าเป็นธุรกรรมในทางพาณิชย์ที่ แท้ จ ริ ง หากไม่ ส ามารถแสดงหรื อ พิ สู จ น์ ไ ด้ ก็ ใ ห้ ถื อ ว่ า ดอกเบี้ ย ดั ง กล่ า วเป็ น การจ าหน่ า ยเงิ น ก าไรไป ต่างประเทศ


Page 64

๒.๑๑ มูลค่าตลาดของรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ ไม่มีบทนิยามที่ชัดแจ้งถึงคา ว่า “ราคาตลาด”ในกรณีของค่าใช้จ่ายไว้ การไม่กาหนดมูลค่า ราคาตลาดสาหรับด้านรายจ่ายไว้โดยเฉพาะอาจเป็นเหตุ ที่นาไปสู่การวางแผนภาษีผ่านการกาหนดราคาของ ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บระหว่างกันภายในกลุ่มบริษัท หรือที่เรียกว่า “การตั้งราคาโอน (Transfer Pricing)” ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรกาหนดกรณีนี้เพิ่มเติม เพื่อป้องกันปัญหาการ ตั้งราคาโอน (Transfer Pricing) ที่มีการถ่ายโอนกาไรออกไปต่างประเทศในรูปแบบของค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อัน เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับกรณีการกาหนดราคาโอนในการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม ประมวลรัษฎากร ๒.๑๒ สิทธิประโยชน์ภายใต้อนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกา อนุสั ญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐ อเมริกานั้น ปรากฏว่ามีความพิเศษที่แตกต่างไปจาก บทบั ญญั ติเ รื่ อ งสถานประกอบการถาวรในอนุ สั ญ ญาภาษีซ้ อนฉบับ อื่น ๆ อนุ สั ญ ญาภาษี ซ้อ นระหว่า ง ประเทศไทยกับ สหรัฐอเมริกาว่าด้วยนิยามของ “สถานประกอบการถาวร” กาหนดให้กรณีการติดตั้งเรือ หรือแท่นขุดเจาะที่ใช้ในการสารวจที่ได้ดาเนินกิจกรรมระยะเวลาหนึ่งหรือหลายระยะเวลารวมกันแล้วเกิน กว่า ๑๒๐วัน ภายในระยะเวลา ๑๒ เดือนใดๆ เท่านั้น จึงจะถือว่ามีสถานประกอบการถาวรในประเทศไทย ที่จะทาให้ประเทศไทยจัดเก็บภาษีได้ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เนื่องจากข้อความดังกล่ าวเป็นข้อผู กพันตาม สนธิสัญญาที่ประเทศไทยเสียเปรียบ สมควรพิจารณาทบทวนโดยให้กรมสรรพากรขอเปิดการเจรจาแก้ไข กับประเทศสหรัฐอเมริกาต่อไป ข้อเสนอแนะอื่น หน้ำ ๑๑๑ ๑) ควรเพิ่มเติมหลักเกณฑ์เรื่องการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมต่อสาธารณะ ๒) แก้ไขเรื่องสิทธิในการถือสัมปทานไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี โดยไม่ควร จากัดให้ยกเว้นการบังคับคดีทุกกรณี เช่น ถ้าหากมีการค้างชาระค่าภาคหลวงรวมทั้งเงินหรือผลประโยชน์ อื่ น ก็ จ ะต้ อ งก าหนดให้ รั ฐ มี อ านาจบั ง คั บ ช าระได้ เ ช่ น เดี ย วกั บ มาตรการบั ง คั บ ช าระภาษี ค้ า งของ กรมสรรพากร ๓) ควรปรับปรุงเรื่องอานาจของคณะกรรมการปิโตรเลียม อานาจรัฐมนตรี และอานาจ อธิบดีให้สอดคล้องกับกฎหมายที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ๔) ควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายในเรื่องความเป็นเจ้าของปิโตรเลียมของรัฐให้มีความชัดเจน โดยเฉพาะความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ต้องกาหนดเพิ่มเติมว่า แม้จะมีการให้ สัมปทานไปแล้ว ความเป็นเจ้าของปิโตรเลียมก็ยังเป็นของรัฐตลอดไปไม่ว่าจะอยู่ในขั้นตอนการสารวจ ผลิต ขนส่งและเก็บรักษา ตลอดจนการขายหรือจาหน่าย จนกว่าจะมีการโอนกรรมสิทธิ์ไปยังผู้ซื้อปิโตรเลียมหรือ ผู้ที่ได้รับปิโตรเลียมจากการจาหน่าย ๕) คุณสมบัติของผู้ขอสัมปทาน ต้องไม่เป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้ง หรือมีสถานที่บริหาร จัดการและควบคุมของบริษัทนั้นตั้งอยู่ในพื้นที่หรือดินแดนปลอดภาษี (Tax Haven Jurisdictions) รวมถึง


Page 65

บริ ษัทที่มีแหล่ งเงิน ทุน อยู่ ใน หรื อ ได้มาจากพื้ นที่ห รือดินแดนดังกล่ า ว ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อ ม เนื่องจากบริษัทเหล่านี้ อาจจะใช้พื้นที่หรือดินแดนดังกล่าวเป็นช่องทางในการหลีกเลี่ยงภาษีหรือกระทา ธุรกรรมที่มิชอบด้วยกฎหมาย ๖) การโอนสัมปทาน จะต้องไม่มีผลกระทบอันเป็นนัยสาคัญต่อการจัดเก็บรายได้ของรัฐ เพื่อป้องกันความเสียหายต่อรายได้ของรัฐที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทาดังกล่าว ๗) การเก็ บ รั กษาเงิ น ตราต่ างประเทศ และการน าหรือ ส่ งออกนอกราชอาณาจัก รซึ่ ง เงินตราต่างประเทศ ควรต้องอยู่ภายใต้การกากับของกฎหมายที่อยู่ใ นความรับผิดชอบของธนาคารแห่ง ประเทศไทย กำรจัดเก็บรำยได้จำกกิจกำรปิโตรเลียมในระบบอื่น ๆ - กรณีการนาระบบแบ่งปันผลผลิต (Production Sharing Contract - PSC) มาใช้ใน ประเทศไทย ต้องมีการพิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียมเพื่อให้สอดคล้องกับระบบดังกล่าว - สัญญาบริการ (Service Contract) อาจพิจารณานาการจัดเก็บภาษีเงินได้ตามประมวล รัษฎากรมาปรับใช้ โดยไม่จาต้องออกกฎหมายเป็นการเฉพาะ และไม่มีความจาเป็นต้องแก้ไขกฎหมายใดๆ - รูปแบบกิจการร่วมค้า (Joint Venture) อาจพิจารณานาการจัดเก็บภาษี เงินได้ตาม ประมวลรัษฎากรมาปรับใช้ โดยไม่จาต้องออกกฎหมายเป็นการเฉพาะ อย่างไรก็ดี ต้องมีการแก้ไขกฎหมาย ให้มีความเหมาะสม และเพื่อให้การจัดเก็บภาษีเป็นการจัดเก็บจากผู้ร่วมค้าในส่ว นภาคเอกชนโดยตรง เท่านั้น - พิจารณาทบทวนเพื่อให้สัดส่วนรายได้โดยรวมของประเทศไทย ดีกว่า หรืออย่างน้อยที่สุด ไม่ต่ากว่าระบบสัมปทานปัจจุบัน ข้อเสนอแนวทำงกำรปรับปรุงกฎหมำยว่ำด้วยปิโตรเลียมในระยะเร่งด่วน (หน้ำ ๑๖๙) ควรชะลอการเปิ ดสั ม ปทานไปจนกว่าจะมี การแก้ ไขปรั บปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกั บ รูปแบบธุรกรรมที่ยังไม่บัญญัตินี้ให้เรียบร้อยก่อนทาสัญญา ถ้ามี ความจาเป็นเร่งด่วนต้องเปิดประมูลแปลง ปิโตรเลียมเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายในด้านพลังงานของประเทศ คณะกรรมาธิการวิสามัญ เห็นควรให้ทา การเปิดประมูลในระบบแบ่งปันผลผลิตคราวละ ๔-๕ แปลง ในแปลงที่มีข้อมูลมากพอสาหรับผู้เข้าร่วมการ ประมูล เพื่อให้มีการแข่งขันที่เป็นธรรมและรัฐได้ผลประโยชน์ตอบแทนที่สูงขึ้น หรือดาเนินการสารวจในเบื้องต้นในแปลงที่มีศักยภาพสูง โดยเป็นการสารวจเพื่อความ มั่นคง ซึ่งอาจมอบหมายให้หน่วยงานภาครัฐที่มีขีดความ สามารถและประสบการณ์ร่วมกับกรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติ เป็นผู้ดาเนินการ


Page 66

สรุปประเด็น ค่ำภำคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ค่ำภำคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ๑.๑ สถานที่ใช้กาหนดหน้าที่ในการเสียค่าภาคหลวง ๑.๒ การยกเว้นค่าภาคหลวง ๑.๓ การคานวณมูลค่าปิโตรเลียม ๑.๔ การเสียค่าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวง ๑.๕ ความรับผิดของผู้รับสัมปทานและผู้ร่วมประกอบกิจการ ๑.๖ การลดจานวนค่าภาคหลวง และการลดหย่อนค่าภาคหลวง ๑.๗ เงินตราต่างประเทศ ๑.๘ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ๑.๙ หน่วยงานจัดเก็บรายได้ สรุปแนวทำงปรับปรุงกฎหมำย เพื่อให้เกิดความรัดกุมในการจัดเก็บค่าภาคหลวงในทรัพยากรของชาติ - กาหนดให้ ห น้ าที่ในการเสี ยค่าภาคหลวงเกิ ดขึ้น ณ แหล่ งผลิ ตหรือสถานที่ขุดเจาะและ กาหนดมาตรการในการควบคุมกากับที่รัดกุม เพื่อให้ปริมาณการผลิตและจาหน่ายเป็นไปอย่างถูกต้อง - ทบทวนฐานการคานวณเพื่อเสียค่าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวง ให้เกิดความเหมาะสม และเกิดประโยชน์ต่อรัฐสูงสุด - ทบทวนมาตรการยกเว้นค่าภาคหลวงและการลดจานวนค่าภาคหลวง ให้เหลือเฉพาะกรณี ตามความจาเป็นและสมควร - ฯลฯ แนวทำงปรับปรุง ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ - ให้ทบทวนเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ในการคานวณใหม่ให้มีความเหมาะสม จากเดิมที่ใช้ความ ยาวท่อใต้ดิน ค่า K และ ค่าลดหย่อนพิเศษ เป็นตัวแปรสาคัญ ซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อน - กาหนด “ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ” ในรูปแบบอื่น เช่น หากผู้ประกอบการมีผลกาไร เป็นจานวนหรือสัดส่วนเท่าใด ก็ให้เสียผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละจากค่าภาคหลวง หรือจาก จานวนค่าภาษีที่ต้องเสีย เป็นต้น เพื่อให้เกิดความสะดวกในการบังคับใช้ การปฏิบัติตามกฎหมายและการ ตรวจสอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น


Page 67

สรุปประเด็น ภำษีเงินได้ปิโตรเลียม ภำษีเงินได้ปิโตรเลียม ๒.๑ วิธีการ หลักเกณฑ์ และการปฏิบัติทางบัญชี ๒.๒ การยื่นแผนการผลิต รายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียมแผนงานและงบประมาณ ประจาปี และงบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจาปี ๒.๓ รายได้ปิโตรเลียมที่ใช้ในการคานวณกาไรสุทธิ ๒.๔ การหักรายจ่ายตามปกติและจาเป็นในการคานวณกาไรสุทธิ - ขอบเขตของรายจ่ายตามปกติและจาเป็น - การจาหน่ายหนี้สูญ - ค่าเช่าหรือค่าตอบแทนอย่างอื่นในการเช่าทรัพย์สิน - ค่ารับรอง - รายจ่ายที่จัดสรรจากสานักงานใหญ่ - ค่าชดเชยรายจ่ายที่เป็นทุน - รายการที่มิให้ถือเป็นรายจ่ายตามปกติและจาเป็น ๒.๕ การยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ ๒.๖ การลดหย่อนผลขาดทุน และการโอนกิจการปิโตรเลียม ๒.๗ การคานวณมูลค่าเกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศ และการรับชาระภาษีเป็นเงินตราต่างประเทศ ๒.๘ ค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ๒.๙ ความรับผิดในภาษีเงินได้ของบริษัทที่เข้าร่วมสัมปทาน ๒.๑๐ การคิดค่าทดแทนสาหรับวัสดุในการใช้ประโยชน์จากน้าในหลุมเจาะ ๒.๑๑ สิทธิยกเว้นภาษีอากรอื่นในการประกอบกิจการ ๒.๑๒ ราคาขายน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ในราชอาณาจักร ๒.๑๓ ช่องทางการโยกย้ายกาไรออกไปจากประเทศไทยโดยใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement) ๒.๑๔ มูลค่าตลาดของรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ ๒.๑๕ สิทธิประโยชน์ภายใต้อนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกา สรุปแนวทำงปรับปรุงกฎหมำย กาหนดให้บริษัทผู้ทาธุรกิจขุดเจาะปิโตรเลียมคานวณการภาษีเป็นรายแปลงปิโตรเลียม ทบทวนการหักรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ โดยเฉพาะกรณี - ค่าเช่าหรือค่าตอบแทนอย่างอื่นในการเช่าทรัพย์สิน - ค่ารับรอง


Page 68

- หนี้สูญที่จาหน่ายจากบัญชี - รายจ่ายที่จัดสรรจากสานักงานใหญ่ - ทบทวนการลดหย่อนผลขาดทุน และการโอนกิจการปิโตรเลียม ที่จะนามาซึ่งการลดผล กาไรเพื่อเสียภาษีของกิจการปิโตรเลียม เมื่อเปรียบเทียบกับกรณีกิจการธุรกิจปกติทั่วไป - แก้ไขกฎหมาย ให้ยกเลิกการยกเว้นอากรขาเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม ตลอดจนค่าภาษีหรือ ค่าธรรมเนียมทุกชนิดที่ต้องจ่ายให้แก่รัฐ - เสนอมาตรการป้องกันเลี่ยงภาษีต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีจากกิจการ ปิโตรเลียม - ให้มีการกาหนดในกรณีค่าเสียหายในการบาบัดหรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้น ต่อสิ่งแวดล้อมหรือมลภาวะ หรือมี ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่เกิดขึ้นจากการประกอบ กิจการ มิให้ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิเช่นเดียวกัน - เสนอแก้ไขกฎหมาย กาหนดให้ผู้รับสัมปทานยื่นแผนการผลิต รายงานผล การประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจาปี และงบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงิน ประจาปี ต่อกรมสรรพากรด้วย - เสนอมาตรการป้องกันเลี่ยงภาษีต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีจากกิจการ ปิโตรเลียม เช่น การป้องกันตั้งราคาโอน เป็นต้น


Page 69

๓. นำยปำนเทพ พัวพงษ์พันธ์ พระรำชบั ญ ญั ติ ก ำรประกอบกิ จ กำรปิ โ ตรเลี ย ม ฉบั บ ใหม่ เสนอโดย เครื อ ข่ ำ ย ประชำชนปฏิรูปพลังงำนไทย (คปพ.) หลักกำรสำคัญ พระรำชบัญญัติ ประกอบกิจกำรปิโตรเลียมฉบับ คปพ. 1) สร้างความมั่นคงของประเทศ 2) สร้างความมั่นใจให้นักลงทุน 3) เปิดโอกาสแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม 4) ปิดการใช้ดุลพินิจที่ไม่โปร่งใสของเจ้าหน้าที่รัฐ 5) มุ่งให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด แนวคิดที่มำของ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียมฉบับประชำชน สร้างอานาจต่อรองให้แก่รัฐ + รากฐานจากประชาชน = คุ้มครองประโยชน์ชาติ หลักกำรสำคัญ พระรำชบัญญัติ ประกอบกิจกำรปิโตรเลียมฉบับ คปพ. 1) สร้างความมั่นคงของประเทศ 2) สร้างความมั่นใจให้นักลงทุน 3) เปิดโอกาสแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม 4) ปิดการใช้ดุลพินิจที่ไม่โปร่งใสของเจ้าหน้าที่รัฐ 5) มุ่งให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุด ดุลยภำพอำนำจและผลประโยชน์ รัฐ 1) โปร่งใส ลดการใช้ดุลพินิจ 2) สร้างความมั่นคงของประเทศ 3) ได้ผลตอบแทนเต็มเม็ดเต็มหน่วย 4) เปิดเผยข้อมูลอย่างเต็มที่ รอบด้าน เอกชน 1) ขจัดเงื่อนไขการผูกขาด 2) แข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม 3) ได้ผลประโยชน์ตามสมควร จากการแข่งขัน ประชำชน 1) ได้รับประโยชน์ทางตรงมากขึ้น 2) มีส่วนร่วมกาหนดนโยบาย 3) ตรวจสอบได้เต็มที่ 4) ได้รับการเยียวยาผลกระทบอย่างรวดเร็วและเป็นธรรม


Page 70

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม ระบบที่รองรับ พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

1.สัมปทาน 2.แบ่งปันผลผลิต 3.จ้างผลิต 1.สัมปทาน 2.แบ่งปันผลประโยชน์ 1.สัมปทาน

หลักกำรเลือกใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

แปลงที่มีเบาะแสว่ามีปิโตรเลียม รัฐเลือกใช้เองตามสูตรคานวณที่ยังไม่เปิดเผย แต่ใช้ดุลพินิจตัดสิน ไม่มี

กำรยุติข้อพิพำท พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

ศาลยุติธรรมไทย อนุญาโตตุลาการจากต่างประเทศโดยให้ประธานธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาดหาก ตั้งไม่ได้ให้ประธานศาลสวิสฯ ตั้งผู้ชี้ขาด อนุญาโตตุลาการจากต่างประเทศโดยให้ประธานธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาดหาก ตั้งไม่ได้ให้ประธานศาลสวิสฯ ตั้งผู้ชี้ขาด

กำรเลือกผู้ชนะได้รับสิทธิในระบบแบ่งปันผลผลิต พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

ให้ผ่านคุณสมบัติเบื้องต้น จึงมีสิทธิเข้าประมูลส่วนแบ่งปิโตรเลียมแก่รัฐ สูงสุด ยื่นปริมาณงาน/เงิน “ค่าสารวจ” และผลประโยชน์พิเศษอีกเล็กน้อย ใช้ ดุลพินิจให้คะแนน ไม่มี

กำรหักค่ำใช้จ่ำยก่อนแบ่งผลผลิต พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

ไม่อนุญาตให้หักค่าใช้จ่ายก่อนแบ่งผลผลิตให้รัฐ หักได้ตามจริงไม่เกิน 50% (อนุมัติโดยอธิบดี) และส่วนเกิน 50% สามารถ ยกไปหักปีต่อ ๆ ไปได้ตลอดอายุสัญญา ไม่มี


Page 71

ส่วนแบ่งผลผลิตของรัฐ (ระบบแบ่งปันผลผลิต) พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

ประมาณ 35% - 90% (ตามการประมูล) จาก “ผลผลิต” รวมปิโตรเลียม ที่ผลิตได้ทั้งหมด ประมาณ 20% จาก “มูลค่า” ปิโตรเลียมที่เอกชนขายได้ (ไม่มีการประมูล) ไม่มี

กำรขำยปิโตรเลียมส่วนของรัฐที่ผลิตได้ พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

รัฐขายหรืออาจเก็บเข้าคลังปิโตรเลียมสารองของชาติได้ ขายโดยเอกชนผู้รับสัญญา สามารถขายให้บริษัทหุ่นเชิดเพื่อลดมูลค่า ผลผลิตและส่วนแบ่งรัฐ รัฐไม่ได้ผลผลิต

ระบบท่อขนส่งก๊ำซและท่ำเรือ พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

ผูกขาดไม่ได้ เพราะถูกโอนเป็นของรัฐและบริหารโดยบรรษัทฯ เหมือน พระราชบัญญัติ 2514 ไม่มี

กำรจัดสรรปิโตรเลียมที่ผลิตได้ พระราชบัญญัติใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติใหม่ กระทรวงฯ พระราชบัญญัติ2514 เดิม

ต้องจัดสรรให้ประชาชนเป็นลาดับแรก ไม่ระบุ แต่การปฏิบัติจริงให้ก๊าซแก่ธุรกิจปิโตรเคมีบางรายเป็นลาดับแรก ไม่ระบุ แต่การปฏิบัติจริงให้ก๊าซแก่ธุรกิจปิโตรเคมีบางรายเป็นลาดับแรก

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม หัวข้อ ระบบที่รองรับ หน้าที่ของรัฐในการ สารวจเพื่อให้ได้ข้อมูล พื้นฐาน

พระรำชบัญญัติใหม่ คปพ. ๑. สัมปทาน ๒. แบ่งปันผลผลิต ๓. จ้างผลิต สารวจเองหรือจ้าง สารวจทุกแปลงที่มี เบาะแสว่ามีปิโตรเลียม

พระรำชบัญญัติ ใหม่ พระรำชบัญญัติ ๒๕๑๔ กระทรวงฯ เดิม ๑. สัมปทาน ๑. สัมปทาน ๒. แบ่งปันผลประโยชน์ ไม่มี

ไม่มี


Page 72

หัวข้อ หลักการเลือกใช้ระบบ สัมปทาน

พระรำชบัญญัติใหม่ คปพ. เฉพาะแปลงที่ไม่มี เบาะแสว่ามีปิโตรเลียม

หลักการเลือกใช้ระบบ แบ่งปันผลผลิต

แปลงที่มีเบาะแสว่ามี ปิโตรเลียม

หลักการเลือกใช้ระบบ จ้างผลิต

แปลงที่มีปิโตรเลียม ชัดเจนและรัฐพร้อม ลงทุน ๒๐ ปี (คราวเดียว) ๑,๐๐๐ ตร.กม. ต่อ แปลง

ระยะเวลาให้สิทธิ์ ขนาดแปลงสูงสุดใน ทะเลที่เปิดประมูล

พระรำชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ รัฐเลือกใช้เองตามสูตร คานวณที่ยังไม่เปิดเผย แต่ใช้ดุลพินิจตัดสิน รัฐเลือกใช้เองตามสูตร คานวณที่ยังไม่เปิดเผย แต่ใช้ดุลพินิจตัดสิน ไม่มี

พระรำชบัญญัติ ๒๕๑๔ เดิม ทุกแปลง

๓๙ ปี (รวมต่ออายุ) ไม่จากัด

๓๙ ปี (รวมต่ออายุ) ไม่จากัด

พระรำชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ ๔,๐๐๐ ตร.กม. ต่อ แปลง

พระรำชบัญญัติ ๒๕๑๔ เดิม ๔,๐๐๐ ตร.กม. ต่อ แปลง

ไม่จากัด

ไม่จากัด

ไม่มี ไม่มี

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม หัวข้อ

พระรำชบัญญัติใหม่ คปพ. ขนาดแปลงสูงสุดบนบก ๓ ตร.กม. ต่อแปลง ที่เปิดประมูล (เพิ่มการแข่งขันตาม แบบแคนาดา) ขนาดพื้นที่รับสัมปทาน ๑๐,๐๐๐ ตร.กม. ต่อ รวมสูงสุด แปลง จานวนแปลงที่เปิด ไม่เกิน ๓ ใน ๔ ของ ประกวดต่อรอบ จานวนผู้ที่คาดว่าจะเข้า ร่วม จานวนผู้เข้าประกวดขั้น ๕ ราย ต่าต่อแปลง การยุติข้อพิพาท ศาลยุติธรรมไทย บทลงโทษ

เปิดให้มากที่สุด มากกว่า เปิดให้มากที่สุด มากกว่า จานวนผู้ยื่นข้อเสนอ จานวนผู้ยื่นข้อเสนอ ๑ ราย (หากตก เรียก ๑ ราย (หากตกเรียก เจรจาจนได้รับสัมปทาน) เจรจาจนได้รับสัมปทาน) อนุญาโตตุลาการจากต่างประเทศ โดยให้ประธาน ธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาดหากตั้งไม่ได้ให้ประธานศาลสวิส ฯ ตั้งผู้ชี้ขาด โทษเบา ไม่สมกับความ โทษเบา ไม่สมกับความ เสียหายของประเทศ เสียหายของประเทศ

โทษหนักและชัดเจน ทางแพ่ง-อาญาและ ยกเลิกสัญญา การเยียวยาประชาชนที่ เป็นรูปธรรมและรวดเร็ว ไม่เป็นรูปธรรมและไม่ ได้รับผลกระทบ กาหนดระยะเวลา

ไม่เป็นรูปธรรมและไม่ กาหนดระยะเวลา


Page 73

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม กำรคัดเลือกผู้ได้สิทธิฯ ๑. สัมปทาน

๒. แบ่งปันผลผลิต

๓. จ้างผลิต

พระรำชบัญญัติ ใหม่ คปพ. ประมูลค่าภาคหลวง

ให้ผ่านคุณสมบัติ เบื้องต้นจึงมีสิทธิเข้า ประมูลส่วนแบ่ง ปิโตรเลียมแก่รัฐสูงสุด ให้ผ่านคุณสมบัติ เบื้องต้น จึงมีสิทธิเข้า ประมูลค่ารับจ้างต่าสุด

พระรำชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ ยื่นปริมาณงาน/เงินค่า สารวจ ใช้ดุลพินิจให้ คะแนนหากตกเกณฑ์ให้ เรียกมาเจรจาเพื่อให้ ได้รับสัมปทาน ยื่นปริมาณงาน/เงินค่า สารวจ ใช้ดุลพินิจให้ คะแนน

พระรำชบัญญัติ ๒๕๑๔ เดิม ยื่นปริมาณงาน/เงินค่า สารวจ ใช้ดุลพินิจให้ คะแนน หากตกเกณฑ์ให้ เรียกมาเจรจาเพื่อให้ ได้รับสัมปทาน ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม (กรณีสัมปทำน) ผลประโยชน์รัฐ กรณีสัมปทาน ค่าภาคหลวง

พระราชบัญญัติ ใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติ ใหม่ พระราชบัญญัติ (เฉพาะแปลงที่ไม่มีเบาะแสว่ามี กระทรวงฯ ๒๕๑๔ เดิม ปิโตรเลียมเท่านั้น) (Thailand 3) ๓๕% - ๙๐% (ตามประมูล) ๕%- ๑๕% (เฉลี่ยน้าหนัก ๗.๒% จากรายได้ ของปิโตรเลียมรวมที่ผลิตได้ ที่เอกชนขายได้)

ผลประโยชน์เพิ่มเติม พิเศษ

เนื่องจากเป็นพื้นที่ไม่มีเบาะแส มี แต่ลดลงตามความยาวท่อจริง ความยาว ว่ามีปิโตรเลียม จึงไม่มี ท่อเทียม และค่าลดหย่อนพิเศษ (ประเทศ ผลตอบแทนพิเศษ แต่ใช้ เดียวในโลก) ประมูลรวมไปกับค่าภาคหลวง

ภาษีเงินได้ (หลังหัก ค่าใช้จ่าย) ในรูปแบบ ภาษีปิโตรเลียม

ไม่มีภาษีปิโตรเลียม แต่เก็บ ภาษีรายได้จากกาไรตาม ประมวลรัษฎากรเหมือนธุรกิจ ทั่วไป

๕๐% ของกาไร (แต่สามารถตกแต่งค่าใช้จ่าย ทาให้กาไรน้อยลงได้)

รายได้ของเอกชนเพื่อ นามาคิดค่าภาคหลวง

คานวณและจ่ายค่าภาคหลวง เป็นปริมาณปิโตรเลียมป้องกัน การบิดเบือนราคาขาย

สามารถขายปิโตรเลียมให้รายได้ต่า หลบเลี่ยง ค่าภาคหลวงได้


Page 74

ผลประโยชน์รัฐ กรณีสัมปทาน การคานวณแปลง ปริมาณก๊าซเป็นน้ามัน เพื่อคิดค่าภาคหลวง

พระราชบัญญัติ ใหม่ คปพ. พระราชบัญญัติ ใหม่ พระราชบัญญัติ (เฉพาะแปลงที่ไม่มีเบาะแสว่ามี กระทรวงฯ ๒๕๑๔ เดิม ปิโตรเลียมเท่านั้น) (Thailand 3) ไม่มีการแปลง เพราะแบ่ง มาตรฐานสากลกาหนดให้ ก๊าซธรรมชาติ ผลผลิตเป็นปริมาณก๊าซตาม ๕.๗๓ ล้านบีทียู เท่ากับน้ามันดิบ ๑ บาเรล ความเป็นจริง แต่กลับไปใช้สูตร ๑๐ ล้านบีทียู เท่ากับ น้ามันดิบ ๑ บาเรล ทาให้สัดส่วนก๊าซ ธรรมชาติหายไป ๔๒% เป็นผลทาให้ ค่าภาคหลวงลดน้อยลง

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม (กรณีแบ่งปันผลผลิต) ผลประโยชน์รัฐ กรณีแบ่งปันผลผลิต ค่าภาคหลวง

ปริมาณปิโตรเลียมที่ใช้ แบ่งปันให้แก่รัฐ ส่วนแบ่งผลผลิตของรัฐ (ระบบแบ่งปันผลผลิต) เจ้าของกรรมสิทธิ์ ปิโตรเลียมที่ผลิตได้

พระราชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ ไม่มี (ให้ไปรวมที่เดียวกับการ ๑๐% ตามเจรจาตาม พระราชบัญญัติ ประมูลส่วนแบ่งผลผลิต) ๒๕๑๔ ไม่อนุญาตให้หักค่าใช้จ่ายก่อน หักได้ตามจริงไม่เกิน ๕๐% (อนุมัติโดย แบ่งผลผลิตให้รัฐ อธิบดี) และส่วนเกิน ๕๐% สามารถยกไปหัก ปีต่อ ๆ ไปได้ตลอดอายุสัญญา คิดจาก ๑๐๐% ของผลผลิต ไม่มี แต่แบ่งจาก ๔๐% ของมูลค่าผลผลิต ปิโตรเลียมตามที่เอกชนขายได้ ๓๕% - ๑๐๐% จากปิโตรเลียม ประมาณ ๒๐% จากปิโตรเลียมที่ผลิตได้ (ไม่ ที่ผลิตได้ (ตามการประมูล) มีการประมูล) เป็นของรัฐ ณ ปากหลุม เป็นของเอกชน แต่ส่วนของรัฐให้รอเอกชน ขายได้ก่อน จึงแบ่งผลประโยชน์

การขายปิโตรเลียมที่ ผลิตได้

รัฐขายหรืออาจเก็บเข้าคลัง ปิโตรเลียมสารองของชาติได้

ผลประโยชน์เพิ่มเติม พิเศษ

มี และเพิ่มขึ้นตามสัดส่วน ผลผลิตและราคาตลาดโลก (ตามมาตรฐานสากล)

การหักค่าใช้จ่ายก่อน แบ่งผลผลิต

พระราชบัญญัติ ใหม่ คปพ.

ขายโดยเอกชนผู้รับสัญญา สามารถขายให้ บริษัทหุ่นเชิดเพื่อลดมูลค่าผลผลิตและส่วน แบ่งรัฐ มี แต่ลดลงตามความยาวท่อจริง ความยาว ท่อเทียม และค่าลดหย่อนพิเศษ (ประเทศเดียวในโลก)


Page 75

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม (กรณีจ้ำงผลิต) ผลประโยชน์รัฐ กรณีจ้างผลิต ปริมาณปิโตรเลียมรัฐได้ เอกชนได้รับค่าจ้างผลิต และผลประโยชน์อื่น ภาษีเงินได้ (หลังหัก ค่าใช้จ่าย)

พระราชบัญญัติ ใหม่ คปพ.

พระราชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ

๑๐๐% ของผลผลิต ไม่มี ตามผลการประมูล และ ไม่มี ข้อกาหนดในสัญญา รัฐเก็บตามอัตราภาษีเงินได้ นิติ ไม่มี บุคคล

เปรียบเทียบ พระรำชบัญญัติ ปิโตรเลียม ความเป็นธรรม ความ พระราชบัญญัติ ใหม่ โปร่งใส และตรวจสอบ คปพ. ได้ การเลือกผู้ชนะได้รับ ประมูลผลตอบแทนแก่รัฐ สิทธิ์ สูงสุดแก่รัฐ ปิดการใช้ ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ ระบบท่อขนส่งก๊าซและ การผูกขาดทาไม่ได้ เพราะ ท่าเรือ ถูกโอนเป็นของรัฐและ บริหารโดยบรรษัทฯ การจัดสรรปิโตรเลียมที่ ผลิตได้

ต้องจัดสรรให้ประชาชน เป็นลาดับแรก

พระราชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ

พระราชบัญญัติ ๒๕๑๔ เดิม

ใช้ดุลพินิจ ปิดห้องเจรจา ทีละราย โดยใช้สูตร คานวณที่ไม่เปิดเผย เหมือน พระราชบัญญัติ ๒๕๑๔

อ้างว่าประมูล แต่ใช้ ดุลพินิจ ปิดห้อง เจรจาทีละราย ท่อส่วนใหญ่ถูก บริหารโดยบริษัท หนึ่งจึงเกิดการ ผูกขาด ไม่ระบุ แต่การปฏิบัติจริงให้ก๊าซแก่ธุรกิจปิโตรเคมี บางรายเป็นลาดับแรก

ควำมโปร่งใสและป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ความโปร่งใส และการป้องกัน พระราชบัญญัติ ใหม่ ผลประโยชน์ทับซ้อน คปพ. การตรวจสอบปริมาณ ให้ติดตั้งมิเตอร์อัตโนมัต ปิโตรเลียมที่ผลิตได้ เผยแพร่ตรวจสอบได้ ตลอดเวลา

พระราชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ แล้วแต่รายงานของ เอกชนในแต่ละช่วงเวลา

พระราชบัญญัติ ๒๕๑๔ เดิม แล้วแต่รายงานของ เอกชนในแต่ละ ช่วงเวลา


Page 76

ควำมโปร่งใสและป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน ความโปร่งใส และการป้องกัน พระราชบัญญัติ ใหม่ ผลประโยชน์ทับซ้อน คปพ. ผลประโยชน์ทับซ้อน ห้ามมีผลประโยชน์ทับซ้อน ของเจ้าหน้าที่รัฐกับ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ธุรกิจปิโตรเลียม ข้อห้ามความเกี่ยวพันกัน ห้ามเกี่ยวพันกันทั้ง ระหว่างผู้ยื่นประมูลผลิต ทางตรงและทางอ้อม ปิโตรเลียม การเปิดเผยข้อมูลผู้ถือ ต้องเปิดเผยถึงระดับบุคคล หุ้นหรือกองทุนของผู้รับ ธรรมดา สิทธิ์ผลิตปิโตรเลียม

พระราชบัญญัติ ใหม่ กระทรวงฯ ไม่มีข้อห้าม

พระราชบัญญัติ ๒๕๑๔ เดิม ไม่มีข้อห้าม

ไม่มีข้อห้าม

ไม่มีข้อห้าม

ไม่มีข้อกาหนด

ไม่มีข้อกาหนด

แผนที่แปลงปิโตรเลียมที่มีศักยภำพในอ่ำวไทย กลุ่มที่ ๑ แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะหมดอายุ กลุ่มที่ ๒ แปลงที่มีศักยภาพที่จะเปิดประมูลรอบใหม่ กลุ่มที่ ๓ แปลงสัมปทานในพื้นที่ที่อ้างว่าทับซ้อนในอ่าวไทยระหว่างไทย-กัมพูชา ปัญหำเฉพำะหน้ำ กลุ่มที่ ๑ แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะหมดอายุ : แหล่งบงกช และเอราวัณ - รัฐบาลไม่มีอานาจถ่ายโอนกรรมสิทธิ์การผลิตปิโตรเลียมก่อนหมดอายุสัมปทาน - อาจทาให้ประเทศไทยขาดก๊าซธรรมชาติเพื่อผลิตไฟฟ้าในปี ๒๕๖๕ หากไม่ให้รายเดิมได้สัญญาต่อ - เอกชนมีอานาจต่อรองเหนือรัฐบาลไทย ปัญหำระยะยำว กลุ่มที่ ๓ แปลงสัมปทานในพื้นที่ทับซ้อน - แหล่งปิโตรเลียมในพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างว่าทับซ้อน มีศักยภาพสูง - แต่ประเทศไทยได้มอบสัมปทาน ตาม พระราชบัญญัติปิโตรเลียม ๒๕๑๔ (ซึ่งรัฐได้ผลตอบแทนต่า และเสียเปรียบเทียบเอกชนมาก) ให้แก่ บริษัทยูโนแคล ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นบริษัทเชฟรอน - ทาให้ประเทศไทยไม่ได้ผลประโยชน์จากพื้นที่ดังกล่าว และจะคงปัญหาต่อไปในอนาคตหากไม่ สามารถนากลับมาเป็นของรัฐ เป้ำหมำยของข้อเสนอ คปพ. ๑. เพื่อสร้างอานาจต่อรองให้รัฐ โดยไม่อยู่ใต้แรงกดดันจากผู้รับสัมปทานเดิม ที่อ้างว่าจะลดกาลัง การผลิตลง หรือทาให้การผลิตไม่ต่อเนื่อง เมื่อหมดอายุสัญญาสัมปทานลง ๒. เพื่อทาให้การผลิตปิโตรเลียม (โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติ) ยังคงดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง ในช่วงเปลี่ยนผ่านก่อนหมดอายุสัญญาสัมปทานเดิมในปี ๒๕๖๕ ๓. เพื่อทาให้เกิดผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุด ด้วยการสร้างกลไกในการแข่งขันเสรี ที่มีความโปร่งใส และเป็นธรรมต่อผู้แข่งขัน


Page 77

ข้อเสนอ เกณฑ์กำรเปิดประมูลแหล่งผลิตปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ รัฐบาลใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต โดยกาหนดเงื่อนไขพิเศษ เอกชนที่จะมีสิทธิเข้าประมูล หากมีสัมปทานเดิม จะต้องยินยอม ๑. แก้ ไ ขสั ญ ญาสั ม ปทานเดิ ม ให้ รั ฐ สามารถจั ดการถ่ า ยโอนการผลิ ต ในช่ ว งเปลี่ ย นผ่ า นการ หมดอายุสัมปทาน และต้องให้หลักประกันว่าทรัพย์สินที่ผู้รับสัมปทานได้มาเพื่อการผลิตปิโตรเลียมไม่ว่าเช่า หรือซื้อมาจะต้องอยู่ในสภาพใช้งาน และทรัพย์สินเหล่านี้จะต้องตกเป็นของรัฐเมื่อหมดอายุสัญญา ๒. ให้ผู้รับสิทธิ์สารวจและผลิตยินยอมสละสิทธิ์ในสัมปทานปิโตรเลียม ตาม พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม ๒๕๑๔ ในพื้นที่ที่ถูกอ้างว่าทับซ้อนระหว่างไทย-กัมพูชาด้วย ข้อสังเกต หากผู้รับสัมปทานเดิมในแหล่งเอราวัณ บงกช หรือแหล่งอื่น ๆ ไม่ยินยอมแก้ไขสัญญาจะเป็นการ สละสิทธิ์ในการประมูลในทุก ๆ แปลงปิโตรเลียมที่เปิดประมูลในอนาคตทั้งหมด รวมไปถึงแหล่งบงกช และ เอราวัณ (รอบใหม่) ในปี ๒๕๖๕ ด้วย ข้อเสนอเพิ่มอำนำจต่อรองแก้ไขข้อเสียเปรียบในอดีตทั้งหมด เพื่อได้ สทิ ธิร่วมประมูล

เปิ ดประมูลแปลงที่มศี กั ยภาพโดยมีเงื่อนไขให้ ผ้ ู

เพื่อได้ สทิ ธิร่วมประมูล

ประมูลเปลีย่ นแปลงสัญญาเดิม ยอมแก้ ไขสัญญาให้ รัฐเข้ า

ยอมยกเลิกสัมปทานเดิม

ถ่ายโอนการผลิตเพื่อความ

ในแปลงพื ้นที่ทบั ซ้ อนฯ

ต่อเนื่อง แปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะ หมดอายุ

ได้ สทิ ธิเข้ าร่วมประมูลแปลงบงกชและ

แปลงสัมปทานในพื ้นที่ที่อ้างว่าทับ

เอราวัณในปี ๒๕๖๕ อีกด้ วย

ซ้ อนในอ่าวไทยระหว่างไทยกัมพูชา

เงื่อนไขผู้ประกอบกำร (ตัวอย่ำงเชฟรอน) กรณียินยอมตามเงื่อนไข ๑. ยอมสละสัญญาสิทธิ์ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างว่าทับซ้อนทั้งหมด ๒. ได้สิทธิ์ประมูลแบ่งปันผลผลิตทั้งห้าแปลงที่มีศักยภาพ ๓. ได้สิทธิ์ในการประมูลแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมในทุกแปลงที่จะจัดประมูลต่อไปในอนาคต รวมถึงพื้นที่แหล่งเอราวัณ และแหล่งบงกช กรณีไม่ยินยอมตามเงื่อนไข ๑. เหลือเพียงสิทธิ์ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม ในพื้นที่ที่กัมพูชาอ้างว่าทับซ้อนในทะเลอ่าว ไทย ซึ่งไม่มีแนวโน้มใด ๆ ที่จะยุติได้


Page 78

๒. เสียสิทธิ์ในการประมูลแบ่งปันผลผลิตในทุกแปลงปิโตรเลียมจากนี้ไป รวมทั้งห้าแปลงที่มีศักยภาพ ๓. เสียสิทธิ์ในการประมูลทุก ๆ แปลงที่ปิดประมูลในแหล่งบงกช และแหล่งเอราวัณ หลังจากการ สิ้นสุดอายุสัมปทานโดยปริยาย มำตรกำรกำรสร้ำงหลักประกันควำมต่อเนื่อง แหล่งบงกช เอรำวัณ รัฐบาลสัง่ ปตท.สผ.ให้ แก้ ไขสัญญาให้ รัฐเข้ าถ่ายโอนการผลิตเพือ่ ความต่อเนื่องในแหล่งบงกช เปลีย่ น ปตท.สผ.ให้ เป็ นของรัฐ ๑๐๐%

และลด

ต้ นทุนการผลิตให้ แข่งขันได้

ไม่ทันเวลา

ทันเวลา

ให้ กรมพลังงานทหารรับโอน หรื อจ้ างเหมาหรื อ จ้ างกลุ่ม คน เพื่อดาเนินการ ผลิ ต ก๊ าซธรรมชาติ เ องได้

เกิ ด ความต่ อ เนื่ อ งในการ

ปตท.สผ. รั บจ้ า งผลิต ต่อ

ผลิ ต ก๊ าซธรรมชาติ ใ นอ่ า ว

ในแหล่งบงกชและเอราวัณ

ไทย

โดยไม่ต้องประมูล

ทันที

สรุปข้อเสนอแนะ รัฐบาลออก พระราชบัญญัติปิโตรเลียม ฉบับใหม่ เพื่อรองรับการประมูลระบบแบ่งปั นผลผลิต

ไม่ยอม -

เปิ ดประมูลแปลงปิ โตรเลียมแปลงที่มีศกั ยภาพห้ าแปลง รอบใหม่ โดยเชฟรอนเข้ าร่วมได้ ตอ่ เมื่อ ยอมแก้ ไขสัญญาเดิม ยอมยกเลิกสัมปทานในพื ้นที่ที่กมั พูชาอ้ างว่าทับซ้ อน

ยอม

เปิ ดประมูล ตามปกติ โดยไม่มีเช

เกิ ด ความต่ อ เนื่ อ งในการ

ฟรอน แล้ วใช้ มาตรการกดดัน

ผลิ ต ก๊ าซธรรมชาติ ใ นอ่ า ว

เชฟรอน เข้ าร่ ว มประมู ล และมี สิ ท ธิ์ ประมู ล ต่ อ ใน

ผ่าน ปตท.สผ. และกรมพลังงาน

ไทย

แปลงบงกช และเอราวั ณ

ทหาร

รอบใหม่ปี ๒๕๖๕ ด้ วย


Page 79

สรุปกำรดำเนินกำร ๑. ออก พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม ฉบับใหม่ - ใช้ร่าง พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียมฉบับประชาชนเป็นฐาน - จัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมไทย เพื่อรองรับการบริหารจัดการปิโตรเลียมของรัฐ ๒. เปิดประมูลแปลงปิโตรเลียม รอบใหม่ - โดยใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตตาม พระราชบัญญัติปิโตรเลียม - โดยมีเงื่อนไขพิเศษให้ผู้ประกอบการเดิมยอมรับ โดยสมัครใจและใช้ ปตท.สผ. และกรม พลังงานทหารร่วมกดดัน ๓. ผู้ประกอบการเดิมยินยอม - ให้รัฐเข้าดาเนินการถ่ายโอนการผลิตปิโตรเลียม - เกิดความต่อเนื่องในการผลิตกระแสไฟฟ้า จากก๊าซในแหล่งบงกชและเอราวัณ สร้ำงควำมมั่นคงพลังงำนโดยพลังงำนหมุนเวียน ๑. สนับสนุนพลังงานหมุนเวียน ๒. ลดการพึ่งพาพลังงานฟอสซิลทุกประเภท ๓. รับซื้อพลังงานหมุนเวียนโดยไม่จากัดและให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าเท่ากัน ๔. รักษาสิ่งแวดล้อมไม่ใช้พลังงานถ่านหินและนิวเคลียร์ โดยมีแหล่งผลิตดังนี้ - โรงไฟฟ้าชีวมวล - โรงไฟฟ้าจากขยะ - โรงไฟฟ้าพลังน้า - โรงไฟฟ้าจากปาล์มดิบ


Page 80

๔. นำยธีระชัย ภูวนำถนรำนุบำล อดีตรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง เรื่ อ งองค์ ก รปิ โ ตรเลี ย มแห่ งชาติ เป็ นปัจ จัย หลั ก ที่จะชี้ใ ห้ เห็ นว่า ข้อ เสนอแก้ ไขกฎหมาย เกี่ยวกับปิโตรเลียมของกระทรวงพลังงาน เป็นข้อเสนอที่เป็นไปไม่ได้ และเป็นจุดบกพร่องที่สาคัญ ประวัติกำรจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชำติของโลก มีนั กประวัติศ าสตร์ วิ เคราะห์ ว่า การนาปิโ ตรเลี ย มที่โ ผล่ จ ากใต้ ดินขึ้น มาใช้ป ระโยชน์โ ดย มนุษยชาติครั้งแรกๆ ของโลกนั้น เกิดขึ้นเมื่อสี่พันปีก่อนในสมัยกรุงบาบีลอน โดยเป็นการนาขึ้นมาใช้เป็น ยางมะตอยเพื่อยึดก้อนหินที่ใช้ก่อสร้างถนนและอาคาร แต่การขุดให้น้ามันขึ้นมาจากใต้ดินเป็นล่าเป็นสัน ครั้งแรกนั้น กล่าวว่าเกิดขึ้นที่ประเทศจีนเมื่อหนึ่งพันเจ็ดร้อยปีก่อน โดยใช้ปล้องไผ่เป็นท่อส่งน้ามัน ส่วน การกลั่นน้ามันเพื่อมาใช้จุดตะเกียงแสงสว่าง เขาว่าเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกอาหรับเมื่อเจ็ดร้อยปีก่อน แต่ในด้านธุรกิจการสารวจและผลิตปิโตรเลียมที่เรารู้จักกันทุกวันนี้ เกิดขึ้น ในรูปธุรกิจเมื่อ 150 ปีก่อนเท่านั้นเอง ซึ่งช่วงแรกก็ไม่ค่อยจะมีความสาคัญทางเศรษฐกิจมากนัก เพราะขณะนั้นแหล่ง พลั ง งานหลั ก ของโลกคื อ ถ่ า นหิ น ต่ อ มา การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ทั้ ง ในยุ โ รปและอเมริ ก า ตลอดจนการนาก๊าซมาใช้ในบ้านเรือน จึงทาให้ความต้องการปิโตรเลียมพุ่งสูงขึ้นมาเรื่อยๆ ประเทศไทยเริ่มขบวนการสารวจและผลิตปิโตรเลียมสี่สิบกว่าปีก่อน ในสมัยนั้น ผู้สารวจ และผลิตเอกชนรายใหญ่ที่สุดเป็นบริษัทสหรัฐและยุโรป กลุ่มที่เรียกว่า Seven sisters บริษัทเหล่านี้ถ้า เอ่ยชื่อเดิม คนไทยอาจจะไม่ค่อยรู้จัก แต่ชื่อปัจจุบันคื อ (1) Chevron (2) Mobil (3) Texaco (4) Gulf (5) Exxon (6) British Petroleum (7) Shell โดย 4 รายแรกเป็นบริษัทสหรัฐ ส่วน 2 รายหลังเป็น บริษัทยุโรป และทั้ง 7 บริษัทซึ่งเคยเป็นยักษ์ใหญ่ในธุรกิจนี้ ในขณะที่มีอิทธิพลสูงสุดนั้น กลุ่มนี้ผลิต ปิโตรเลียมของโลกเกือบทั้งหมด และควบคุมสัดส่วนสารองปิโตรเลียมที่พิสูจน์แล้ว คิดเป็นสัดส่วนต่อ สารองทั้งหมดของโลกถึงร้อยละ 85 ของโลก การที่ 7 บริษัทเหล่านี้ควบคุมสารองปิโตรเลียมมากมายมหาศาลนั้น ถึงแม้ว่าจะมีแหล่ ง ปิโตรเลียมในสหรัฐเป็นจานวนมาก แต่แหล่งปิโตรเลียมใหญ่ๆ ของโลกนั้น เกิดมีขึ้นในประเทศกาลัง พัฒนา ซึ่งส่วนหนึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นของยุโรป และส่วนหนึ่งเคยถูกสหรัฐและยุโรปเข้าไปควบคุมทางด้าน ทหารและการเมือง ดังนั้น ทั้ง 7 บริษัทจึงอาศัยอานาจอิทธิพลของสหรัฐ และยุโรปในการผลักดันให้ ประเทศเจ้าของปิ โ ตรเลี ย มต้องเปิ ดช่องให้ เ ข้าไปทาธุรกิจ และกาหนดเงื่อนไขที่เอื้ออานวยแก่บริษัท ต่างชาติเหล่านี้ นอกจากบริษัทสหรัฐแล้ว ประเทศเจ้าของอาณานิคมหลายประเทศก็ได้ตั้งบริษัทปิโตรเลียม กึ่งรัฐขึ้นมาเพื่อทาธุรกิจกับเมืองขึ้นด้วย เช่น กรณีอังกฤษตั้ง British Petroleum (ปัจจุบันเป็น BP) กรณีเนเธอร์แลนด์ตั้ง Royal Dutch Shell กรณีฝรั่งเศสตั้งบริษัท CFP กรณีอิตาลีตั้งบริษัท Agip กรณี สเปนตั้งบริษัท Repsol เป็นต้น


Page 81

ทั้งนี้การที่ประเทศยุโรปใช้พลังอานาจทางการเมือง บีบบังคับให้ประเทศกาลังพัฒนาต้องเปิด ประตูทาธุร กิจ ด้ว ยนั้ น ได้เคยมีการจั ดตั้งบริษัทในลั กษณะนี้มาแล้ ว ในอดีต เช่น บริษัทอีส ท์อินเดีย บริษัทอีสท์เอเชียติก เพื่อค้าขายสินค้าอื่นๆ ด้วย แต่มาบัดนี้ ดุลอานาจในธุรกิจปิโตรเลียมได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง โดยกลุ่มบริษัทที่มีอานาจ ในธุรกิจนี้ได้เปลี่ยนจาก 7 sisters ไปเป็นองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ ของประเทศต่างๆ ซึ่งองค์กร ปิโตรเลียมแห่งชาติเหล่านี้ทั่วโลกรวมกัน ขณะนี้มีสัดส่วนการผลิตปิโตรเลียมสูงถึงร้อยละ 75 ของโลก และเป็นผู้ควบคุมสารองปิโตรเลียมมากถึงร้อยละ 90 ของสารองในโลก เหตุใดองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติของประเทศต่างๆ จึงกลายมาเป็นผู้ที่กุมอานาจในธุรกิจนี้แทน มี 3 เหตุผล คือ ๑. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง หลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง ประเทศที่ เ ดิ ม เป็ น เมื อ งขึ้ น เกื อ บทั้ ง หมดได้ รั บ อิ ส รภาพ ประเทศเหล่านี้จึงเริ่มการปลดแอกยึดคืนธุรกิจปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติขึ้น เริ่มต้นด้วยประเทศในลาตินอเมริกา ต่อด้วยประเทศตะวันออกกลาง อินโดนีเซีย ไนจีเรีย มาเลเซีย และการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม OPEC ทาให้กลุ่มนี้สามารถบังคับราคาตลาดโลกได้ด้วย ๒. การเปลี่ยนจากระบบสัมปทานไปเป็นระบบแบ่งปันผลผลิต ประเทศกาลังพัฒนาที่เริ่มต้นการสารวจและผลิตปิโตรเลียม เริ่มต้นโดยใช้ระบบสัมปทาน เป็นสาคัญ เพราะเป็นระบบที่ผลักภาระการทางาน ภาระการลงทุน และความเสี่ยงต่างๆ ไปให้แก่เอกชน โดยประเทศเจ้าของทรัพยากรไม่ต้องทางานเองมากนัก จึงเป็นระบบที่สะดวก แต่ประมาณสี่สิบปีก่อน ได้มีบางประเทศเปลี่ยนไปใช้ระบบแบ่งปันผลผลิ ตบางส่วนหรือ ทั้งหมด และพบว่าทาให้ประเทศนั้นมีอานาจต่อรองสูงขึ้น และได้รับผลประโยชน์มากขึ้น จึงมีประเทศที่ เปลี่ย นไปใช้ร ะบบแบ่ งปั นผลผลิตมากขึ้นเป็นล าดับ แต่ในระบบแบ่งปันผลผลิ ตนั้น ประเทศเจ้าของ ทรัพยากรจะได้ส่วนแบ่งเป็นปิโตรเลียม จึงจาเป็นต้องมีการบริห ารจัดการ ซึ่งทุกประเทศนั้นใช้กลไก องค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ จึงทาให้มีการจัดตั้งองค์กรแบบนี้มากขึ้น ๓. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการสารวจปิโตรเลียม การที่ปิโตรเลียมเป็นวัสดุที่อยู่ลึกใต้ดินนั้น ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจนี้เมื่อร้อยปีก่อน การสารวจ จึงเป็นการเก็งกาไรที่มีความเสี่ยงสูง แลกกับผลตอบแทนสูง บริษัทที่ประสบความสาเร็จต้องอาศัยโชค อย่างมาก และในช่วงแรก ก็มีน้อยบริษัทที่ตระหนักถึงการใช้หลักวิชาการเพื่อการนี้ ดังมีประวัติของนาย พอล เกตตี้ ที่ทาธุรกิจสารวจในสหรัฐและเขียนบรรยายไว้ว่า ในช่วงเริ่มต้น เขาสามารถเก็งจุดที่ควรจะ ขุดได้อย่างถูกต้องหลายครั้ง โดยการสังเกตรูปลักษณะของพื้นดิน ว่ามีลักษณะเป็นเนินนูนสูงขึ้น และจะ เจาะตรงจุดสูงสุด ดังนั้น บริษัทน้ามันของเกตตี้ จึงเป็นบริษัทในกลุ่มแรกๆ ที่จ้างนักธรณีวิทยาเข้ามาช่วย ในการวิจัย แต่เมื่อเวลาผ่านมา ในช่วงสี่สิบหรือห้าสิบปีนี้ ความรู้ด้านธรณีวิทยาพัฒนาได้สูงขึ้นมาก ทาให้การค้นหาปิโตรเลียมซึ่งเดิมเคยเป็นเรื่องลึกลับ กลายเป็นเรื่องธรรมดา เพราะสามารถใช้ดาวเทียม


Page 82

และใช้วิธีขุดเจาะหลุมเพื่อทดสอบชั้นดิน เข้ามาเป็นข้อมูลช่วยในการวิเคราะห์ ดังนั้น อานาจผู กขาดเรื่อง ความรู้ด้านเทคโนโลยี่ของบริษัทจากสหรัฐและยุโรปลดลงไปอย่างมาก ในกรณีของไทย มีคาถามว่า จาเป็นจะต้องมีการจัดตั้งองค์กรแบบนี้ขึ้นหรือไม่ เนื่องจากไทยไม่เคยเป็นเมืองขึ้น จึงไม่มีระเบียบวาระที่จะต้องปลดแอกเรื่องนี้ การพิจารณา ความจาเป็นจึงต้องคานึงถึงประเด็นต่างๆ ให้ครบวงจร งำนด้ำนปิโตรเลียมของประเทศไทย ไทยเคยมีองค์กรแบบนี้ในรูปของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย แต่ในปี 2544 ได้มีการ แปรรูปไปเป็น บมจ. ปตท. และบริษัทลูกที่ทาหน้าที่สารวจ ปตท.สผ. ก็ได้มีการขายหุ้นออกไปให้แก่ เอกชนประมาณกึ่งหนึ่ง ดังนั้น ในขณะนี้ ประเทศไทยจึงไม่มีองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ และที่ผ่านมาก็ไม่ มีความจาเป็น เพราะการให้สิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียมนั้น ใช้ระบบให้สัมปทานแบบเดียว ดังนั้น รัฐบาลได้ผลตอบแทนในรูปตัวเงิน ไม่ว่าจะเป็นค่าภาคหลวง ผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม หรือภาษี เงินที่ ได้รับ จึงส่งเข้าคลังหลวงตรง ไม่จาเป็นต้องมีบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ แต่ในอนาคต ประเทศไทยจะมีการเพิ่มทางเลือก ทั้งในระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบจ้าง ผลิต ซึ่งรัฐจะได้ส่วนแบ่ง หรือได้ผลประโยชน์เป็นปิโตรเลียม จึงจาเป็นต้องพิจารณาว่า วิธีการบริหาร จัดการปิโตรเลียมที่รัฐบาลไทยจะได้รับนั้น สมควรมีการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเพื่อดาเนินการ หรือไม่ ในเรื่องนี้ ปลัดกระทรวงพลังงานคนปัจจุบันให้ข่าวว่าไม่จาเป็น และมีบางคนที่แสดงความ คิดเห็นคัดค้านและแสดงความห่วงใยไว้ โดยเน้นประเด็น (ก) เกรงว่าบรรษัทฯ จะมีสิ ทธิพิเศษ โปร่งใส น้อยลง แทรกแซงได้ง่าย (ข) หลายประเทศประสบความล้มเหลว และเป็นบ่อเกิดของการคอร์รัปชั่น (ค) เป็นแนวคิดที่น่ากลัว (ง) ในบางประเทศเช่นเวียดนามและมาเลเซียไม่สามารถตรวจสอบได้ (ฉ) การตั้ง หน่ ว ยงานใหม่ ต้ อ งมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามพร้ อ มซึ่ ง ต้ อ งใช้ เ วลา (ช) สิ้ น เปลื อ งงบประมาณเพิ่ ม ขึ้ น ขณะเดียวกันก็ไม่มีหลักประกันว่าจะทางานสาเร็จหรือไม่ ดังนั้น จึงควรต้องพิจารณาเรื่องนี้โดยไม่มีอคติเป็นที่ตั้ง และวิธีพิจารณาที่ครอบคลุมที่สุด คือ การพิจารณาเนื้องานเกี่ยวกับปิโตรเลียมของประเทศไทยแต่ละด้านๆ ซึ่งมีดงั นี้ (ก) งำนด้ำนกำหนดนโยบำย เกี่ยวกับกำรสำรวจปิโตรเลียม ขณะนี้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ตามกฎหมาย พ.ศ. 2535 มีอานาจ และหน้าที่เป็นผู้พิจารณาและเสนอนโยบายเรื่องนี้ต่อคณะรัฐมนตรี สาหรับงานนี้ คปพ. มิได้เสนอให้มีการ แก้ไข จึงไม่เกี่ยวกับการจัดตั้งบรรษัทฯ แต่ในความคิดเห็นนั้น สมควรมีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว เพื่อ กาหนดขั้นตอนการทางานของคณะกรรมการ ที่บังคับให้มีการรับฟังความเห็นจากภาคประชาชนเป็น ประจา เพื่อเปิดช่องทางให้ประชาชนสามารถถ่ายทอดข้อกังวลต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการได้สะดวก และ เปิดให้คณะกรรมการสามารถชี้แจงแก้ข้อกังวลของประชาชนด้วย เป็นการสื่อสารสองทาง


Page 83

(ข) งำนด้ำนกำรกำกับและบังคับใช้กฎหมำย ในส่วนที่เกี่ยวกับปิโตรเลียม ขณะนี้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติยังมีอานาจในการกาหนดหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขเรื่องราคาพลังงานอีกด้วย ซึ่งถึงแม้ร่างกฎหมายของ คปพ. มิได้เสนอเกี่ยวกับเรื่องนี้ก็ตาม แต่ใน ความเห็นของผม งานด้านการกาหนดราคา และรวมไปถึงการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับกองทุนน้ามันและ การอุดหนุนราคาผลิตภัณฑ์ใดนั้น ควรจะแยกออกเป็นคณะกรรมการชุดต่างหาก เพื่อเปิดให้มีภาคเอกชน เข้าไปร่วมเป็นกรรมการด้วย เพราะการกาหนดหลักเกณฑ์ เรื่องราคานั้น มีผลกระทบต่อสวัสดิภาพความ เป็นอยู่ของประชาชนโดยตรง จาเป็นต้องดาเนินการอย่างเป็นธรรม และป้องกันการเอื้อประโยชน์ให้แก่ เอกชนบางรายเกินสมควร ส่วนงานด้านการกากับและการบังคับใช้กฎหมาย ในส่วนที่เกี่ยวกับการสารวจปิโตรเลียมนั้น ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการทางานและความปลอดภัย การนาส่งข้อมูลแก่รัฐ และการเปิดเผย ข้อมูลแก่ประชาชน การรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน ฯลฯ ถึงแม้จะมีการจัดตั้งบรรษัทฯ ขึ้นมาก็ตาม ก็ยั งสมควรให้ เป็ น อ านาจและหน้ าที่ของกระทรวงพลั งงานและส่ ว นราชการอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง ดังนั้ น บรรษัทฯ จึงจะทาหน้าที่เฉพาะเป็น operator ไม่ใช่ regulator หากจะกาหนดในกฎหมายให้บรรษัทฯ มีอานาจ ก็ควรจากัดของเขตเฉพาะการมีอานาจด้านการกาหนด และบังคับกติกาธุรกิจต่อเอกชนที่มาทาธุรกิจกับบรรษัทฯ เท่านั้น ไม่ใช่การให้บรรษัทฯ มีอานาจในฐานะ regulator แบบเดียวกับหน่วยราชการ (ค) งำนด้ำนกำรเป็นคู่สัญญำกับเอกชน และกำรปกป้องคุ้มครองสิทธิของรัฐ งานนี้เป็นงานที่แสดงถึงความจาเป็นต้องมีบรรษัทฯ ที่ชัดเจนที่สุดในระบบสัมปทานนั้น กรรมสิทธิ์ในแปลงสารวจเป็นของรัฐตลอดเวลา เพียงแต่รัฐมอบอานาจให้แก่เอกชนโดยการให้สัมปทาน ซึ่งให้สิทธิแก่เอกชนในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมตามอายุสัมปทาน โดยเอกชนต้องจ่ายผลประโยชน์แก่ รัฐตามอัตราตายตัวที่กาหนด ดังนั้น จึงไม่จาเป็นต้องมีองค์กรที่ถือกรรมสิทธิ์ในแปลงสารวจแทนรัฐ แต่ในระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตนั้น รัฐจะทาสัญญากับเอกชน เพื่อให้สิทธิเอกชนในการสารวจและผลิต ปิโตรเลียม แล้วเมื่อพบปิโตรเลียมก็จะมีส่วนแบ่งให้แก่รัฐ ดังนั้น จึงจะต้องมีบุคคลหนึ่ง ซึ่งทาหน้าที่เป็น ผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิในแปลงสารวจและผลิตปิโตรเลียมแทนรัฐ และเพื่อทาหน้าที่เป็นคู่สัญญากับ เอกชนแทนรัฐ ซึ่งในกรณีปกติหน่วยงานที่จะเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆ แทนรัฐก็คือกรมธนา รักษ์ แต่กรณีนี้การใช้กรมธนารักษ์ไม่เหมาะสม เพราะหน้าที่ขององค์กรรัฐที่เป็นคู่สัญญากับ เอกชนนั้น จะมีหลายอย่าง เช่น ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเอกชนปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา เจรจากับ เอกชนกรณีถ้าหากจาเป็นต้องมีการปรับปรุง หรือมีการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญา เจรจาหรือต่อสู้กับ เอกชนในขบวนการอนุญาโตตุลาการหรือขบวนการยุติธรรมอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อ บั ง คับ ให้ มี ก ารปฏิบั ติ ตามสั ญ ญา งานเหล่ านี้ จ าเป็ นต้ อ งใช้ บุค ลากรที่มี ค วามช านาญเฉพ าะมากกว่ า ข้าราชการกรมธนารักษ์ ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้


Page 84

(ง) งำนด้ำนกำรคัดเลือกแปลง และคัดเลือกเอกชน เพื่อเปิดให้ทำกำรสำรวจ ที่ผ่านมา หน่วยงานที่ดาเนิ นการเรื่องนี้คือกระทรวงพลังงานในระบบสัมปทานนั้น การ เปรียบเทียบระหว่างผู้ยื่นขอสัมปทาน ไม่สามารถใช้วิธีประมูล เพราะทุกรายจะจ่ายผลประโยชน์ให้แก่รัฐ เท่ากัน ตามอัตราที่กาหนด กระทรวงพลังงานจึงอาศัยวิธีกาหนดให้ เอกชนยื่นปริมาณเงินลงทุนและ ปริมาณงานที่วางแผนจะดาเนินการมาเปรียบเทียบ โดยใช้ดุลพินิจของข้าราชการในการให้คะแนนข้อเสนอ ของเอกชนแต่ละราย ซึ่งทาให้เกิดข้อวิจารณ์ว่าสามารถลาเอียงแก่เอกชนบางรายได้ แต่ในระบบแบ่งปันผลผลิตนั้น สามารถใช้วิธีการประมูลแข่งขันกันอย่างเปิดเผย จึงไม่มี การใช้ดุลพินิจของข้าราชการ และเนื่องจากบรรษัทฯ จะทาหน้าที่เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิใน แปลงสารวจและผลิตปิโตรเลียมแทนรัฐอยู่แล้ว ดังนั้น งานด้านการคัดเลือกแปลงและเอกชนเพื่อให้มีการ สารวจจึงควรให้เป็นอานาจและหน้าที่ของบรรษัทฯ อนึ่ง การให้บรรษัทฯ เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ต่างๆ แทนรัฐนั้น ไม่ใช่การให้สิทธิพิเศษแก่ บรรษัทฯ เพื่อจะกีดกันภาคเอกชน แต่บรรษัทฯ จะทาหน้าที่เป็นผู้คัดเลือกและให้สิทธิแก่เอกชน ดังนั้น บรรษัทฯ จึงจะไม่มีอานาจผูกขาดธุรกิจใดๆ ดังที่จะมีผู้คัดค้านบางรายกล่าวอ้าง (จ) งำนด้ำนกำรบริหำรปิโตรเลียม ที่รัฐได้รับเป็นส่วนแบ่ง เนื่องจากในรัฐจะได้รับส่วนแบ่งในรูปของปิโตรเลียม ซึ่งรัฐจะมีทางเลือกในการบริหารปิโตรเลียมนี้หลาย ทาง เช่น (ก) ขายในตลาดทันทีตามราคาตลาดโลก หรือ (ข) ทาสัญญาขายระยะยาว ซึ่งอาจจะทากับ ลูกค้าทั่วไป หรือกับองค์กรของเพื่อนบ้าน หรือกับประเทศที่เป็นมิตรเป็นกรณีพิเศษ หรือ (ค) นาไปใช้ ในเรื่องใดเป็นการเฉพาะ ซึ่งการพิจารณาและเจรจาเรื่องซึ่งเป็นเชิงธุรกิจเหล่านี้ ส่วนราชการไม่ควรเป็น ผู้ดาเนินการ แต่ควรให้เป็นหน้าที่ของบรรษัทฯ โดยคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ให้ครบถ้วน รวมไปถึงการทาให้ ธุรกิจทุกชั้นไม่มีการผูกขาดโดยผู้หนึ่งผู้ใดด้วย งานด้านนี้เป็นปัจจัยหลักที่ชี้ว่าร่างกฎหมายที่กระทรวงพลั งงานเสนอ ถึงแม้จะผ่านการ แก้ไขโดยสานักงานกฤษฎีกาแล้ว ก็ยังมีจุดบกพร่อง เพราะร่างกฎหมายดังกล่าวไม่มีการจัดตั้งองค์กรเพื่อ บริหารปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐ แต่กลับร่างขึ้นโดยส่อเค้าว่าจะให้กรมเชื้อเพลิงฯ ทาหน้าที่เป็นคู่สัญญา กับเอกชน และจะมีใช้วิธีกาหนดให้เอกชนเป็นผู้ขายปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐ เพื่อจะนาส่งผลประโยชน์ ให้แก่รัฐเป็นตัวเงิน กระทรวงพลังงานจึงอ้างว่าสามารถดาเนินการตามนี้ได้ โดยไม่จาเป็นต้องมีองค์กร เฉพาะแต่การกาหนดตายตัวให้เอกชนเป็นผู้ขายปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐนั้น จะเป็นการบังคับให้รัฐบาล ต้องเลือกเฉพาะทางเลือก (ก) ข้างต้น คือการขายในตลาดทันทีตามราคาตลาดโลก แต่จะตัดสิทธิของ รัฐบาลที่จะเลือกทางอื่นตาม (ข) และ (ค) ข้างต้น ดังนั้น จึงเป็นการร่างกฎหมายที่รอนสิทธิรัฐบาล และ รอนสิทธิทั้งรัฐบาลปัจจุบันและรัฐบาลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผมจึงเห็นว่าการรอนสิทธิของรัฐบาลนั้น เป็น การร่างกฎหมายที่ขัดกับเจตนาของรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ ถ้าหากกระทรวงพลังงานหวังจะให้กรมเชื้อเพลิงฯ ทาหน้าที่เป็นคู่สัญญากับ เอกชน ก็น่าจะผิดหลักการแบ่งหน้าที่ระหว่างส่วนราชการ เพราะถึงแม้กรณีทั่วไป กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ จะสามารถทาสัญญาใดๆ กับเอกชนได้ ก็ควรจะเป็นเฉพาะเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง หรือธุรกิจเฉพาะที่เกี่ยวข้อง


Page 85

กับกรมเชื้อเพลิงฯ แต่สัญญาแบ่งปันผลผลิตซึ่งเป็นการให้สิทธิในทรัพยากรหลักของประเทศ และเป็นการทา สัญญาเพื่อให้ได้รับปิโตรเลียมส่วนแบ่งทุกวันๆ ซึ่งจะมีฐานะเป็นทรัพย์สินของประเทศ ส่วนราชการที่มีหน้าที่ เป็นผู้ถือครองทรัพย์สินดังกล่าว ควรต้องเป็นกรมธนารักษ์ มิใช่กรมเชื้อเพลิงฯ แต่ทั้งกรมธนารักษ์ และกรม เชื้อเพลิงฯ ก็ไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้บริหารจัดการปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐ เพราะการทางานต้องเข้าตาม กรอบของระเบียบราชการ ซึ่งไม่สอดคล้องกับความจาเป็นทางธุรกิจ จึงจาเป็นต้องมีองค์กรต่างหากเพื่อการนี้ และความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน (ฉ) งำนด้ำนกำรเป็นเจ้ำของทรัพย์สินที่เป็นของรัฐ ในการส ารวจและผลิตปิโ ตรเลี ยม มีทรัพย์สิ น 3 อย่างที่รัฐจะเป็นเจ้ าของ คือ (1) ระบบขนส่งทางท่อและคลังปิโตรเลียม (2) อุปกรณ์และเครื่องมือที่ได้จากสัมปทานที่หมดอายุ และ (3) หุ้ น ที่ รั ฐ อาจจะเข้ า ไปถื อร่ ว มกั บ เอกชนในการส ารวจและผลิ ตบางแปลง ซึ่ง ปกติ ห น่ ว ยราชการที่ ถื อ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินเหล่านี้แทนรัฐจะเป็นกรมธนารักษ์ แต่กรณีปิโตรเลียมนั้น อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องอาจจะต้องมีการตีราคาโดยผู้เชี่ยวชาญเป็นระยะๆ และจะต้อง มีการแก้ไขปรับปรุง หรือลงทุนเพิ่ม หรือมีการซ่อมแซมใหญ่ในลักษณะที่เป็นการลงทุนเพิ่ม ซึ่งส่วนราชการ จะไม่มีความรู้ ความช านาญที่จะบริ หารงานเหล่านี้ จึงควรให้ เป็นหน้า ที่ของบรรษัทฯ โดยตรง ดังนั้น ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน (ช) งำนด้ำนบริหำรเงินระหว่ำงที่ยังไม่ส่งเข้ำคลังหลวง เงินในระหว่างที่รั ฐได้รับมาจากการขายปิโตรเลียมส่ ว นแบ่ง ซึ่งส่ วนใหญ่จะเป็นสกุล ต่างประเทศนั้น ในระหว่างที่ยังไม่นาส่งคลังหลวง จาเป็นจะต้องมีการบริหารจัดการระยะสั้นเพื่อลดความ เสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน และนาเงินไปหาประโยชน์ช่วงสั้นๆ รวมทั้งในอนาคตรัฐบาลอาจจะต้องการให้มี การกันเงินไว้ส่วนหนึ่งเพื่อสร้างคลังปิโตรเลียมฉุกเฉินภายนอกประเทศ หรือมีการทาสัญญาซื้อปิโตรเลียม ล่วงหน้าระยะยาว ซึ่งจะเป็นงานที่สลับซับซ้อนเกินกว่าที่ส่วนราชการจะดาเนินการได้ งานลักษณะนี้ก็ จาเป็นต้องให้บรรษัทฯ เป็นผู้ดาเนินการ ดังนั้น ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับ งานนี้อีกเช่นกัน (ซ)งำนด้ำนกำรขยำยไปทำธุรกิจสำรวจปิโตรเลียมในต่ำงประเทศ บางประเทศสามารถใช้องค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติในการทาธุรกิจข้ามชาติออกไปนอกประเทศ ได้อย่างดี ตัวอย่างเช่น บริษัทกลุ่มเพิร์ล ออยซึ่งเป็นของรัฐอาบูดาบี และสามารถข้ามเข้ามาทาธุรกิจในประเทศ ไทยได้อย่างใหญ่โต บริษัท Repsol ของสเปนซึ่งสามารถพัฒนาเทคโนโลยี่ได้ล้าหน้ากว่าทั่วไป และบริษัท ปิโตรเลียมของรัฐบาลจีนซึ่งขยายวงไปทาธุรกิจกว้างไกลถึงทวีปอัฟริกาและทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งในกรณีของไทย ผลงานที่ผ่านมาซึ่งกลุ่มบริษัท ปตท. ได้ไปลงทุนในต่างประเทศ ไม่ได้ประสบความสาเร็จมากนัก ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การลงทุนในปาล์มน้ามัน หรือการสารวจในต่างประเทศห่างไกลที่ไม่ใช่เพื่อนบ้าน เนื่องจากองค์กรเหล่านี้มิได้มี


Page 86

ความรู้พิเศษดีเด่นกว่าประเทศอื่นๆ ดังนั้น จึงไม่ควรตั้งเป้าหมายให้องค์กรนี้ของไทยขยายบทบาทไปเป็นธุรกิจ ข้ามชาติมากนัก แต่ในอนาคต อาจจะมีโอกาสที่ไทยจะจับมือกับเพื่อนบ้าน ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม เฉพาะจุด ซึ่งรัฐบาลไทยอาจจะจาเป็นต้องให้ความช่วยเหลือสนับสนุนบางประการเพื่อให้การดาเนินการประสบ ผลสาเร็จ กรณีนี้การจัดตั้งในรูปของบรรษัทฯ ซึ่งรัฐบาลเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวนั้น น่าจะทาให้การสนับสนุนจาก รัฐบาลคล่องตัวมากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นเอกชนหรือไม่ ข้อควรระวังเกี่ยวกับบรรษัทฯ หนึ่ง ไม่ควรใช้บรรษัทฯ เพื่อเป็นกลไกในการอุดหนุนการใช้พลังงานของประชาชน ในข้อนี้อาจจะเป็นความคิด เห็นที่ต่างจากสมาชิก คปพ. ท่านอื่น ซึ่งตามความคิดเห็นของ วิทยากรนั้น ประชาชนควรใช้พลังงานตามราคาตลาดโลก เพราะการที่รัฐบาลไปอุดหนุนนั้น นอกจากจะ ทาให้การใช้ไม่ประหยัดเท่าที่ควรแล้ว ยังเป็นการนาเงินของส่วนรวมไปช่วยเหลือเฉพาะกลุ่มที่ใช้พลังงาน ทั้งนี้ ถึงแม้จะสามารถกล่าวได้ว่าค่าใช้จ่ายพลังงานกระทบฐานะความเป็นอยู่ของประชาชน อย่างกว้างขวาง แต่ในเชิงเศรษฐศาสตร์ กลุ่มที่ได้ประโยชน์จะเป็นกลุ่มที่ใช้พลังงาน ยิ่งใช้มากยิ่งได้ ประโยชน์มากก็ตาม แต่ก็มิใช่ประชาชนทั้งประเทศในจานวนที่เท่าเทียมกัน ดังนั้น ในทางเศรษฐศาสตร์ จึงควรขายพลังงานตามราคาตลาดโลก ซึ่งจะทาให้บรรษัทฯ มีกาไร แล้วจึงนากาไรดังกล่ าวมาใช้ใน โครงการที่ก่อประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป หรือรัฐอาจจะช่วยเหลือเป็นเงิน หรือเป็นสวัสดิการ ให้เฉพาะ แก่ผู้มีรายได้น้อยที่ไม่สามารถควักกระเป๋าจ่ายค่าพลังงานได้เต็มที่ สอง ต้ อ งมี ก ารป้ อ งปรามทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น และการแทรกแซงจากภาคการเมื อ งเพื่ อ หา ประโยชน์ส่วนตน ดังนั้น การจัดตั้งบรรษัทฯ จึงจาเป็นต้องกระทาด้วยวิธีการออกเป็นกฎหมาย เพื่อ บัญญัติทั้งอานาจ หน้าที่ และความรับผิดเพื่อการลงโทษทางกฎหมายไว้อย่างชัดเจน ทั้งของตัวองค์กร และของตัวผู้บริหาร นอกจากอานาจและหน้าที่แล้ว โครงสร้างคณะกรรมการของบรรษัทฯ ก็ควรมีการถ่วงดุล ซึ่ง คปพ. ได้เสนอให้มีตัวแทนจากภาคประชาสังคมหลายๆ ด้านร่วมเป็นกรรมการด้วย รวมทั้งมีผู้แทนจากสภา อุตสาหกรรม หอการค้า สมาคมธนาคารไทย และมีข้อกาหนดเรื่องการตรวจสอบทั้งภายในและภายนอก การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะก็จะต้องมีการกาหนดบังคั บ ให้เป็นไปตาม international best practice ซึ่งจะต้องสูงกว่ามาตรฐานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ด้วยซ้า ตลอดจน บทบัญญัติในการกาหนดลงโทษผู้ที่กระทาความผิดต่างๆ ที่เข้มงวดกว่าบริษัทเอกชนทั่วไปอีกด้วย กล่าวโดยสรุป ผมจึงเห็นว่าการนาระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบจ้างผลิตมาใช้นั้น ทาให้ ขบวนการทางานเรื่องปิโตรเลียมในประเทศไทยจาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง และเมื่อคานึงถึงเนื้องานที่ เกี่ยวข้องแต่ละด้านแล้ว จะเห็นว่าการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเป็นสิ่งที่จาเป็น และร่างข้อเสนอ การจัดตั้งตามที่ คปพ. ได้ยกร่างกฎหมายไว้ ก็เป็นทางเลือกที่เหมาะสมอย่างมากทางหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะยังมี บางจุดที่อาจจะสามารถแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อีกก็ตาม


Page 87

๕. รองศำสตรำจำรย์วิวัฒน์ชัย อัตถำกร อำจำรย์ประจำสถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์ (NIDA) ได้อภิปรายเปรียบเทียบระหว่างร่างกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวง พลั ง งานกั บ ร่ า งกฎหมายกฎหมายที่ จั ด ท าโดยเครื อ ข่ า ยประชาชนปฏิ รู ป พลั ง งานไทย (คปพ.) สรุ ป สาระสาคัญได้ดังนี้ ๑) รายงานผลการพิจารณาศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโ ตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ศึกษาปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ให้จัดตั้ง บรรษัทปิ โตรเลีย มแห่งชาติ โดยเสนอให้ป รับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการปิโตรเลียมใหม่ทั้งระบบ ปฏิรูปคณะกรรมการปิ โตรเลี ยมใหม่ สาหรับแนวคิดการจัดตั้งบรรษัทปิโ ตรเลียมแห่งชาติมีตัว อย่างผล การศึกษาจากหลายประเทศรวมทั้งจากธนาคารโลก โดยประเด็นสาคัญคือการให้คนไทยมีส่วนร่วมในการ ปิโตรเลียมของชาติ ๒) มีข้อสังเกตว่าคณะรัฐมนตรีชุดปัจจุบันเร่งรัดการประชุมพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ที่จัดทา และเสนอโดยกระทรวงพลังงาน ในที่ผ่านมารัฐบาลได้มีการเชิญผู้แทนหน่วยงานราชการและภาคประชาชน เข้าร่วมชี้แจงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่งพบว่าภาค ประชาชนให้ความสนใจและร่วมมือเป็นอย่างดี แต่ภาครัฐมิได้ส่งผู้แทนที่มีอานาจในการตัดสินใจเข้าร่วม ด้วย จึงทาให้การหารือระหว่างรัฐและประชาชนไม่เกิดความชัดเจนใด ๆ โดยรัฐและข้าราชการที่เกี่ยวข้อง จะต้องมีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของชาติและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ๓) พลังงานปิโตรเลียมเป็นพลังงานพื้นฐานที่ประชาชนทุกคนต้องใช้ในชีวิตประจาวัน ดังนั้นการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติจะต้องมีธรรมาภิบาล โปรงใส่ และเป็นธรรม เพื่ อประโยชน์ สู ง สุ ด ของชาติ แ ละของประชาชน มี ข้ อ สั ง เกตว่ า กฎหมายว่ า ด้ ว ยปิ โ ตรเลี ย มที่ ร่ า งโดยนายทุ น จะเอื้ อ ผลประโยชน์ให้กับนายทุนในประเทศและนายทุนต่างชาติมากกว่าประชาชนและประเทศไทย เรียกว่าได้ เป็นการสูญเสียอานาจอธิปไตยทางพลังงาน ๔) ขณะนี้ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติภาษี เงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงาน ได้ผ่านความเห็นชอบของ คณะรั ฐมนตรี แล้ ว และอยู่ ระหว่างการเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่ งชาติ หากร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ดังกล่าวผ่านความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็จะประกาศเป็นกฎหมายบังคับใช้ต่อไป ดังนั้นควร ยับยั้งร่างกฎหมายดังกล่ าวไว้ก่อนเพราะมีจุดบกพร่องซึ่งจะส่งผลให้ประเทศสูญเสียผลประโยชน์ หลาย ประการ ดังนี้


Page 88

(๑) ขัดต่อความชอบธรรมของกฎหมายระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติ โดยขัดต่อกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค.ศ. ๑๙๗๖ ซึ่งประเทศไทย เข้าเป็นภาคีของกติกาดังกล่าวและมีผลบังคับใช้ในประเทศเมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๐ โดยในกติกา ดังกล่าวมีการระบุถึงสิ ทธิเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติว่า ทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงปิโตรเลียมหากอยู่ใ น ประเทศใดก็ถือว่าเป็นของประชาชนและประเทศนั้น ดังนั้นการออกกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมจะทาให้ เกิดผลเป็นการลิดรอนสิทธิและผลประโยชน์ของประชาชนในชาติไม่ได้ (๒) ร่างกฎหมายทั้งสองฉบับของกระทรวงพลังงานขัดกับหลักการร่างกฎหมายที่ดี และหลักการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพราะไม่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าไปมี ส่วนร่วมในการร่างกฎหมายและไม่มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างสุจริต (๓) ร่ างกฎหมายทั้ ง สองฉบั บของกระทรวงพลั ง งานไม่ ส ามารถตอบโจทย์ ความ ต้องการของประชาชนได้ แม้ภาคประชาชนได้มีการจัดเวทีแสดงความคิดเห็นและการเสนอแนะข้อคิดเห็น ต่าง ๆ แต่ภาครัฐยังคงเพิกเฉยต่อความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของประชาชน โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง โครงสร้างการบริหารปิโตรเลียม ข้อสังเกตเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการ ดาเนินกิจการปิโตรเลียม ซึ่งในประเด็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมนี้กาลังเป็นที่สนใจของนานาประเทศแต่ พบว่าในร่างกฎหมายของกระทรวงพลังงานไม่มีเรื่องดังกล่าวอยู่เลย ทั้งที่เป็นเรื่องสาคัญและควรระบุไว้ใน กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมแห่งชาติด้วย (๔) แม้ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ของกระทรวงพลังงาน มาตรา ๔ ให้แก้ไขความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ว่าให้ปิโตรเลียมเป็น ของรัฐ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่เป็นการยกเลิกหรือแก้ไขมาตรา ๕๖ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ดังนั้นปิโตรเลียมที่ผลิตได้ยังคงเป็นของผู้รับสัมปทานมิใช่ของรัฐแต่อย่างใด (๕) การยุติข้อพิพาทต่าง ๆ ที่เกิดจากหรือเกี่ยวเนื่องกับสัญญาตามร่างกฎหมายของ กระทรวงพลังงานยังคงเป็นไปตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งกาหนดให้ดาเนินการระงับ โดยอนุญาโตตุลาการต่างจากประเทศโดยให้ประธานธนาคารโลกตั้งผู้ชี้ขาด หากตั้งไม่ได้ให้ประธานศาล แห่งสมาพันธรัฐสวิสตั้งผู้ชี้ขาด ซึ่งถือเป็นการเสียเปรียบต่างประเทศกระทบต่อความมั่นคงของชาติซึ่งสาคัญ กว่าความมั่นคงทางพลังงาน (๖) ร่ างกฎหมายของกระทรวงพลั ง งานขัด กับหลั กเศรษฐกิจพอเพีย ง โดยยังคง มาตราต่าง ๆ ในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ไว้เช่นเดิม เช่น มาตรา ๖๔ (๒) ที่ระบุว่า รัฐจะไม่ จากัดการส่งปิโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักร ทั้งที่พลังงานปิโตรเลียมยังไม่พอใช้ในประเทศ ดังนั้นควร กาหนดให้ผลิตพลังงานปิโตรเลียมให้เพียงพอใช้ในประเทศก่อนแล้วจึงส่งออกไปนอกราชอาณาจักรตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อไม่ต้องนาเข้าพลังงานปิโตรเลียมซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายมูลค่ามหาศาล (๗) ร่ า งกฎหมายของกระทรวงพลั ง งานไม่ มีนโยบายเพื่ อสาธารณะในระยะยาว เนื่องจากไม่มีการจากัดการผลิตพลังงานปิโตรเลียมเพื่อรักษาไว้ใช้ในอนาคต


Page 89

(๘) กระทรวงพลังงานร่างกฎหมายทั้งสองฉบับโดยไม่มีการพิจารณาหรือรับฟังข้ อมูล จากรายงานผลการพิ จ ารณาศึก ษาปั ญ หาการบัง คั บใช้พ ระราชบั ญญั ติ ปิโ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหาการ บังคับใช้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๕) เปรียบเทียบร่างกฎหมายทั้งสองฉบับที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงานกับร่าง กฎหมายกฎหมายที่จัดทาโดยเครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) พบความแตกต่างหลาย ประเด็น และพบว่าร่างกฎหมายกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) มี จุดเด่น ดังนี้ (๑) มีการบูรณาการการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติได้อย่างเป็นระบบทั้งใน ปัจจุบันและอนาคต และครอบคลุมมากกว่า ร่างกฎหมายของกระทรวงพลังงาน และสามารถแก้ไขปัญหา เชิงโครงสร้างของคณะกรรมการปิโตรเลียมที่เกิดจากกฎหมายฉบับเดิมได้ (๒) มีทางออกที่เป็นรูปธรรมในบทเฉพาะกาล (๓) ร่มีบทบัญญัติที่ทาให้ประชาชนสามารถเข้าถึงทรัพยากรปิโตรเลียมได้มากยิ่งขึ้น (๔) มีการกาหนดอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการปิโตรเลียม โดยขจัดการแทรกแซง จากนักการเมืองและนายทุนต่างชาติ และเปิดโอกาสให้ประชาชนเป็นกรรมการดังกล่าวด้วย (๕) กาหนดให้สัญญาแบ่งปันผลผลิตมีระยะเวลา ๒๐ ปี ผูกขาดน้อยกว่าร่างกฎหมาย ที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงานที่กาหนดระยะเวลาไว้ถึง ๓๙ ปี (๖) มุ่งเน้นการเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และลดการผูกขาดของ นายทุน (๗) มีรูปธรรมในการดูแลสิทธิของประชาชน ขจัดความเหลื่อมล้า และช่วยลดปัญหา ความยากจนได้ เนื่ องจากตามร่ างกฎหมายดังกล่ าวจะทาให้ รัฐ มีรายได้จากปิโ ตรเลี ยมมากยิ่งขึ้นและ สามารถนารายได้ไปจัดสรรให้กับคนในชาติได้ (๘) ผลตอบแทนที่เข้าสู่รัฐมีหลักประกันความเป็นธรรมมากกว่าในร่างกฎหมายที่ เสนอโดยกระทรวงพลังงาน เพราะกาหนดให้มีการขัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติมาดูแลผลตอบแทน กล่ า วโดยสรุ ป คื อ ร่ า งกฎหมายกฎหมายที่ จั ด ท าโดยเครื อ ข่ า ยประชาชนปฏิ รู ป พลังงานไทย (คปพ.) มีจุดเด่นมากกว่าร่างกฎหมายที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงาน เนื่องจากร่าง กฎหมายที่จั ดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงานยังขาดความโปร่งใส ไม่ครอบคลุม ไม่ตอบโจทย์ของ ประชาชน ขาดการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทาให้ประชาชนไม่มีโอกาสได้จัดทา นโยบายสาธารณะด้านพลังงาน ร่างกฎหมายที่จัดทาและเสนอโดยกระทรวงพลังงานเป็นเพียงการแก้ไข กฎหมายเฉพาะในมิติของการบริหารจัดการปิโตรเลียมต่างจากร่างกฎหมายกฎหมายที่จัดทาโดยเครือข่าย ประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ที่มีการบูรณาการการบริหารจัดการปิโตรเลียมของชาติอย่างเป็น ระบบและครอบคลุมในทุกมิติ


Page 90

ช่วงบ่ำย นำยปำนเทพ พัวพงษ์พันธ์ กล่าวขอขอบคุณประชาชนทุกท่านที่มาร่วมสาหรับที่เป็น ประโยชน์อย่างยิ่ง ต่อฝ่ายนักวิชาการเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) เพื่อนาความคิดเห็น และข้อเสนอแนะที่ได้ไปปรับปรุงข้อมูลให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ซึ่งมีผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็นบางคนได้มี ข้อสงสัยว่า ประการแรก พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ฉบับเดิม เปิดโอกาสให้รัฐรับประโยชน์ เป็นปริมาณปิโตรเลียมได้ แต่ตลอดระยะเวลา ๔๔ ปี ที่ผ่านมานั้น เหตุใดรัฐจึงไม่เคยรับประโยชน์เป็น ปริมาณปิโตรเลียมแม้แต่ครั้งเดียว เนื่องจากกฎหมายกาหนดให้เป็นทางเลือก ไม่ได้มีผลบังคับทางกฎหมาย ภาคประชาชนจึงขอเสนอให้ ต่อไปนี้ กฎหมายต้องกาหนดให้รัฐต้องรับประโยชน์เป็นปริมาณปิโตรเลียม เท่านั้น และจากการที่ค่าภาคหลวงต่ามาก ปิโตรเลียมจึงต่าไปด้วยนั้น ทาให้รัฐได้รับผลประโยชน์ไม่เต็ม จานวนที่พึงได้ ประการที่สอง มีความคิดเห็นอย่างไรกับหลักการแบ่งปันผลผลิต ปริมาณวันละ ร้อยละ ๓๕ - ๙๐ ซึ่งเป็นช่วงปริมาณที่กว้างมาก โดยขอชี้แจงว่า จากการศึกษาคานวณโดยวิศวกร ประกอบกับ ข้อมูลจากประเทศเพื่อนบ้านที่ยังมีการประมูลและรับผลผลิตปิโตรเลียมอยู่นั้น มีหลักเกณฑ์และการจัดการ อย่างไรจากความยากง่ายของการขุดเจาะแต่ละพื้นที่ในเชิงธรณีวิทยา และได้นารายงานของกระทรวง พลังงานในภาคความยากง่ายของการขุดเจาะมาคานวณด้วย โดยคานวณผลตอบแทนรัฐว่าหากดาเนินการ เช่นนี้แล้วเอกชนจะได้รับผลตอบแทนต่อปีเท่าใดในการลงทุน เรียกว่าค่า IRR (Internal Rate of Return) เมื่อคานวณแล้วจึงกาหนดเป็นตารางอัตราขั้นต่า ซึ่งความเป็นจริงค่าในตารางดังกล่าวอาจสูงกว่ านั้นก็ได้ ขึ้นอยู่กับการประมูล โดยฝ่ายกระทรวงพลังงานจะไม่สามารถอ้างได้ว่าค่าในตารางดังกล่าวไม่สอดคล้องกับ ความเป็นจริง ตัวอย่างเช่น แหล่ง G๓, G๔, G๕, G๗ เป็นแหล่งที่มีจานวนการผลิตที่สูงมาก ๒๕,๐๐๐ ต่อ วัน ซึ่งอยู่ในตารางหมายเลข ๒ ท้ายร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... รัฐควร ได้รับผลผลิตปิโตรเลียม ในอัตราร้อยละ ๕๐ ของจานวนที่ผลิตได้ แต่หากมีกาลังการผลิตเพิ่มมากขึ้นเป็น ๙๐,๐๐๐ บาร์เรลต่อวัน รัฐควรได้รับผลผลิตปิโตรเลียมขั้นต่าในอัตราร้อยละ ๖๐ สาหรับพื้นที่อันดามันน้า ลึกที่วัดจากพื้นที่ประเทศไทยและประเทศพม่าซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีอัตราการผลิตต่าที่สุด รัฐควรได้รับผลผลิต ปิโตรเลียม ในอัตราร้อยละ ๓๕ ของจานวนที่ผลิตได้ เนื่องจากทรัพยากรมีจานวนจากัด เมื่อมีอัตราการใช้ มากจึงควรมีการกาหนดการจัดเก็บในอัตราที่มากขึ้นเพื่อความเหมาะสมและเป็นธรรม นอกจากนี้ หาก ผลผลิตการปิโตรเลียม เช่น น้ามันดิบมีมูลค่าและความต้องการในตลาดโลกเพิ่มมากขึ้น อัตราการจัดเก็บ ของรัฐก็ควรเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน และควรมีการกาหนดอัตราขั้นต่าในการประมูลแข่งขันด้วย หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี กล่าวแสดงความคิดเห็นว่า เนื่องจากผลประโยชน์จาก พลังงานเป็นเรื่องที่สาคัญต่อประเทศชาติ ในระยะเวลาหนึ่งปี ประเทศไทยมีการขุดเจาะปิโตรเลียมได้มูลค่า มากถึง ๕ แสนล้านบาท ซึ่งหากรัฐมีการบริหารจัดสรรระบบใหม่ที่ดีขึ้น จะสามารถนาเงินที่ได้จานวนมาก ขึ้น นั้น มาพัฒ นาประเทศ ดังนั้ นประชาชนคนไทยทุกคนควรตระหนักถึงความสาคัญของพลั งงาน และ ร่วมมือกันทาให้พลังงานเกิดประโยชน์ต่อประเทศไทยอย่างสูงสุด ซึ่งมีคากล่าวเสมอว่าหากประเทศไทยต้อง เร่งดาเนินการเปิดสัมปทานเพื่อความมั่นคงทางพลังงาน แต่ในกรณีตัวอย่างของประเทศสิงคโปร์ ไม่มีแหล่ง ทรั พ ยากรพลั งงานเป็ น ของตัว เอง แต่ ประเทศสิ งคโปร์ กลั บ ไม่ป ระสบปั ญ หาความมั่นคงทางพลั งงาน เนื่องจากมีการทาสัญญาขุดเจาะแหล่งพลังงานจากต่างประเทศ รวมถึงแหล่งพลังงานจากประเทศไทยด้วย ดังนั้นการเปืดสัมปทานแหล่งพลังงานให้แก่บริษัทเอกชนต่างชาติ จึงเป็นการบ่อนทาลายความมั่นคงของ ประเทศอย่างยาวนานและถาวร เนื่องจากพลังงานเป็นสิ่งที่ ใช้แล้วและหมดไป จึงไม่ควรคาดหวังผลผลิตที่


Page 91

จะได้จากการผลิตของบริษัทเอกชนต่างชาติซึ่งได้รับมอบกรรมสิทธิ์ในแหล่งพลังงานของประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการแหล่งพลังงานที่ยั่งยืน จึงมีเพียงการจ้างผลิต และการแบ่งปันผลผลิตเท่านั้น ไม่ใช่วิธีการ ขาย ที่จะทาให้แหล่งพลังงานเหล่านั้นยังเป็นกรรมสิทธิ์ของประเทศไทย นำงสำวรสนำ โตสิตระกูล : พี่น้องจากภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ภาคกลาง กรุงเทพ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก รวม 34 จังหวัดแทบทุกภาค การรับฟังความคิดเห็นครั้งนี้ คือ การรับฟัง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม ต้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพราะเป็นสิ่งที่ สาคัญในการช่วยปฏิรูปอนาคตในการใช้ปิโตรเลียมกับประชาชนและประเทศ เมื่อวานได้มีโอกาสไปศึกษาดู งานแท่นขุดเจาะปิโตรเลียมที่แหล่งปลาทอง ในพื้นที่อ่าวไทยของบริษัท เชฟรอน คือแปลงที่ใกล้จะหมด สัญญาสัมปทานในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึ่งตรงจุดนี้ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี การดาเนินงานบนแท่นขุดเจาะ ปิโตรเลียมที่นี่ ใช้บุคลากรไทยทั้งหมด จากเดิม ๔๔ ปีที่ผ่านมาที่ต้องอาศัยวิทยาการจากต่างประเทศ ตั้งแต่ วิศวกรปิโตรเลียม นักธรณีวิทยา ช่างเทคนิคต่างๆ เป็นต้น แต่ปัจจุบันใช้บุคลากรไทยทั้ง หมดแล้ว ส่วนใน เรื่องระบบวัดปริมาณการผลิตปิโตรเลียมที่ปากหลุม ในปัจจุบันได้มีการติดตั้งระบบวัดปริมาณการผลิตแบบ ทันที (Real time) ที่ใช้ภายในบริษัทเท่านั้น แต่เนื่องจากประเทศไทยเป็นการใช้ระบบสัมปทาน ซึ่งประเทศ ไทยจะได้เงินเมื่อบริษัทผู้ผลิตน้ามันขายเท่านั้น ทาให้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติต้องไปวัดปริมาณปิโตรเลียมที่ จุดขายเท่านั้น ทาให้ไม่ทราบปริมาณการผลิตแบบทันที (Real time) โดยในจุดขายนั้น ก็เป็นจุดขายที่รวม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมจากทุกแหล่ง โดยแต่ละแหล่งก็มีสัญญาสัมปทานที่แตกต่างกัน ซึ่งมีลักษณะที่ซับซ้อน มาก หากประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการจัดการปิโตรเลียมจากระบบสัมปทานเป็นระบบ แบ่งปันผลผลิต ซึ่งระบบแบ่งปันผลผลิตมีหลักสาคัญ คือ ปิโตรเลียมเป็นของประเทศ ประเทศไทยเป็น เจ้าของกรรมสิทธิ์แบ่งปันผลผลิตให้เอกชน มิใช่ให้เอกชนมาแบ่งปันผลผลิตเมื่อเอกชนขาย แม้กระทรวง พลั ง งานจะอ้ า งว่ า การแบ่ ง ปั น สั ม ปทานในปั จ จุ บั น กรรมสิ ท ธิ์ ปิ โ ตรเลี ย มเป็ น ของประเทศไทย ได้ ผลประโยชน์ไม่ต่างจากระบบแบ่งปั น ผลผลิ ต ซึ่งในข้อเท็จจริงมีความแตกต่างกันมาก เพราะ การทา สัมปทาน คือ การยกสิทธิให้เอกชนไปบริห าร แต่ระบบแบ่งปันผลผลิตนั้น ประเทศจะสามารถบริหาร ทรัพยากรธรรมชาติได้ด้วยตนเอง ระยะเวลาให้สัมปทานที่ผ่านมา ๔๔ ปีนั้น น่าจะเพียงพอแล้ว ในปัจจุบัน ประเทศไทยก็มีบุ ค ลากรที่ มีความสามารถในด้านปิ โ ตรเลี ยมแล้ ว หากพิจารณาในระดับ ต้นน้า มูล ค่ า ทรัพยากรปิโตรเลียมมีมูลค่าถึงห้าแสนกว่าล้านบาทต่อปี หากเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์อื่นๆ ในประเทศ เช่น ข้าว ยางพารา อื่นๆ เป็นต้น มูลค่าผลิตภัณฑ์ของปิโตรเลียมนั้น มีมูลค่าสูงที่สุด หากพิจารณาถึงการ พัฒนาในขั้นปลายน้าจะมีมูลค่ามหาศาลเพียงใด หากมีการบริหารจัดการที่ดี ผลประโยชน์จะอยู่ในประเทศ หลายฝ่ายอาจกล่าวว่า รัฐบาลสามารถกาหนดราคาปิโตรเลียมในประเทศให้ต่าได้ โดยรัฐบาลนาเงินที่ได้ จากการให้สัมปทานปิโตรเลียมมาลดราคาขายปิโตรเลียมในประเทศ ซึ่งขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล แต่ เมื่อพิจารณาในเรื่องการแบ่งปันผลผลิต รัฐจะได้ผลผลิต คือ ปิโตรเลียม เมื่อรัฐบาลขายในราคาตลาดโลก รัฐบาลจะสามารถนารายได้ส่วนนี้มาเป็นรายได้ของแผ่นดินมาใช้จ่ายบริหารประเทศได้ อันจะสามารถนาไป เป็นสวัสดิการให้แก่ประชาชนได้ หรือหากรัฐบาลจะมีนโยบายขายปิโตรเลียมส่วนนี้ในประเทศในราคาถูกก็ สามารถกระทาได้ ซึ่งเมื่อพิจารณาว่า ประเทศไทยใช้ระบบสัมปทานมาถึง ๔๔ ปีแล้ว บัดนี้ควรถึงเวลา


Page 92

เปลี่ ย นแปลงให้ทรั พยากรปิ โ ตรเลี ย มนี้ เป็นของคนไทย ในปัจจุบัน ประเทศไทยอิงราคาน้ามันที่ตลาด สิงคโปร์ หรือ แม้กระทั่งการที่นักลงทุนสิงคโปร์มาลงทุนในไทยเป็นจานวนมากในธนาคารและ ทรัพย์สินใน ประเทศไทย ซึ่งเป็นสิ่งที่ไทยเสียโอกาสมาก หากย้อนมองถึงปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ในสมัยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมทย์ ที่ประเทศจีนมาขอให้ไทยช่วยไปพัฒนาประเทศ แต่ในปัจจุบันประเทศจีนมีการพัฒนาประเทศ แซงประเทศไทยแล้ว หรือกรณีประเทศมาเลเซีย เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ได้ใช้ระบบสัมปทานปิโตรเลียม สมัย นั้นราคาน้ามันของประเทศมาเลเซียแพงกว่า แต่ปัจจุบันมาเลเซียก็นาระบบแบ่งปันผลผลิตมาใช้แล้ว ซึ่งทั้ง ๒ ประเทศได้มีการพัฒนาประเทศก้าวหน้าไปกว่าประเทศไทยแล้ว จึ ง เห็ น ว่า การเปลี่ ย นแปลงปฏิ รู ปการใช้ พลั งงานของประเทศในครั้ ง นี้เ ป็ นสิ่ ง ส าคั ญ ประชาชนเป็นผู้มีส่วนสาคัญในการผลักดัน แม้จะมีการต่อต้านจากหลายฝ่ายก็ตาม รวมถึงแนวความคิดการ ตั้งบรรษัทบริหารพลังงานที่ยังเป็นข้อถกเถียงอยู่ ในเวลานี้แม้จะได้รับการขัดขวาง แต่หากวันใดที่ประชาชน ตื่นตัวในข้อมูลข่าวสารในเรื่องนี้มากขึ้น จากเอกสารที่ใช้ในเวทีรับฟังความคิดเห็นในครั้งนี้ ก็ขอให้ขยายการ ให้ ค วามรู้ ด้ า นนี้ อ อกไปให้ ป ระชาชนทั่ ว ไปได้ รั บ ทราบ ซึ่ ง สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ กรรมสิ ท ธิ์ ใ น ทรัพยากรธรรมชาติและความมั่นคงในพลังงานของประเทศ ระบบการบริหารทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของ เอกชน เอกชนจะลงทุนมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับผลประโยชน์ของบริษัท หากพิจารณาจากจุดนี้จะเห็นว่า ความมั่นคงทางพลังงานเป็นสิ่งสาคัญ การเปลี่ยนแปลงควรจะต้องมี ซึ่งขึ้ นอยู่กับประชาชนในประเทศทุก คนที่จะตระหนักในจุดนี้ร่วมกัน การจัดเวทีรับฟังความคิดเห็นในครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งในการเปิดโอกาสให้ ประชาชนได้ แสดงความคิ ดเห็ น อัน เป็ นกระบวนการขับเคลื่ อนในเรื่อ งการปฏิรูป พลั งงานไทยให้ เกิ ด ประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมปฏิรูปเชิงประเด็นขององค์กรที่สาคัญ จะ ได้นาข้อมูลที่ได้รับทั้งหมดนาเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติ


Page 93

สรุปผลการศึกษาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติ ปิ โตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของ กรรมาธิการวิสามัญฯ สนช.

ปฏิรูปกฎหมายปิ โตรเลียม เพือ่ ประโยชน์ สูงสุ ดของประชาชน วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเซีย กรุงเทพฯ

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

โดย ดร.มนูญ อร่ ามรัตน์ 1

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

2

คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญ ๑. ศึกษาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ๒. ศึกษาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิ โตรเลียมฯ ๓. พิจารณาแผนงานและโครงการในการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชน

คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ๑๒ กุมภาพันธ์ – ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ (๙๐ วัน) เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

07/08/58

3

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

4

1


Page 94

ข้ อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ

ข้ อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ

๒. กาหนดให้ มีทางเลือกในการให้ สิทธิสารวจและผลิต ปิ โตรเลียมนอกเหนือไปจากระบบสั มปทาน โดยนาทั้ง ระบบสั มปทาน ระบบแบ่ งปันผลผลิต และระบบจ้ าง บริการ มาใช้ ตามความเหมาะสมกับศักยภาพของ แหล่ งปิ โตรเลียม

๑. กาหนดให้ ทรัพยากรปิ โตรเลียมเป็ นของชาติ เพื่อประโยชน์ สูงสุ ดของประเทศชาติ และประชาชนอย่ างแท้ จริง เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

5

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

6

ข้ อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่ าด้ วย ปิ โตรเลียมในระยะเร่ งด่ วน

ข้ อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ๓. ให้ มีการแก้ไขเพิม่ เติมหรือปรับปรุงกฎหมาย ว่ าด้ วยปิ โตรเลียมเพือ่ รองรับการดาเนินการตาม ข้ อ ๒ และรองรับการดาเนินการกับพืน้ ทีผ่ ลิต ปิ โตรเลียมภายหลังหมดอายุสัมปทาน เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

07/08/58

7

๑. การกาหนดมาตรการในระยะเร่ งด่ วน เฉพาะมาตราที่ สาคัญ ดังนี้ มาตรา ๒๓ มาตรา ๕๖ มาตรา ๖๑ มาตรา ๑๕ มาตรา ๗๖ เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

8

2


Page 95

07/08/58

ข้ อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่ าด้ วย ปิ โตรเลียมในระยะเร่ งด่ วน

ข้ อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่ าด้ วย ปิ โตรเลียมในระยะยาว

๒. ตั้งคณะกรรมการหรือคณะกรรมาธิการดาเนินการ การจัดตั้งบรรษัทปิ โตรเลียมแห่ งชาติ และจัดวางระบบบริหารสั ญญา การแสวงหาผลประโยชน์ จากปิ โตรเลียม ในแปลงสั มปทานทีจ่ ะหมดอายุสัมปทาน

ปรับปรุงกฎหมายปิ โตรเลียมทั้งฉบับเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงระบบการสารวจและผลิตปิ โตรเลียมเพื่อวาง ระบบให้ เป็ นที่ยอมรับกันทุกภาคส่ วนและสามารถบรรลุถงึ วัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ สูงสุ ดของประเทศชาติ และประชาชนได้ อย่ างแท้จริง

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

9

10

กาหนดให้ รัฐผูกขาดการบังคับใช้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ (มาตรา ๓)

ความเห็นเพิม่ เติม

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

11

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

12

3


Page 96

07/08/58

มาตรา ๓

สวัสดี เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้ อบังคับอืน่ ในส่ วนทีม่ ี บัญญัติไว้ แล้วใน พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้ ง กับบทแห่ งพระราชบัญญัตินี้ ให้ ใช้ พระราชบัญญัตินีแ้ ทน 13

มาตรา ๒๓ “ปิ โตรเลียมเป็ นของรัฐ ผู้ใดสารวจหรือผลิต . . . ต้ องได้ รับสัมปทาน” มาตรา ๔๑ “ในระหว่ างระยะเวลาสารวจปิ โตรเลียม ผู้รับสัมปทาน จะผลิตปิ โตรเลียมก็ได้ ” มาตรา ๖๔ “ให้ ผ้ รู ับสัมปทานได้ รับหลักประกันว่า (๑) . . . (๒) รัฐจะไม่ จากัดการส่ งออกปิ โตรเลียมออกนอก ราชอาณาจักร เว้ นแต่ กรณีตามมาตรา ๖๑” มาตรา ๖๕ “. . . อนุญาตให้ ผ้ รู ับสัมปทานถือกรรมสิทธิในทีด่ นิ ได้ เท่ าที่ จาเป็ น . . .” เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

15

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

14

มาตรา ๖๑ “ในกรณีมีความจาเป็ นเกีย่ วกับความปลอดภัย ของประเทศหรือ . . . . . . . . รัฐมนตรีมีอานาจ ประกาศห้ ามส่ งปิ โตรเลียม . . . . ออกนอกราชอาณาจักร มาตรา ๗๘ “ผู้รับสัมปทานมีสิทธิเก็บรักษาเงินตราต่ างประเทศ และนาหรือส่ งเงินออกนอกราชอาณาจักร เป็ นเงินตราต่ างประเทศได้ เมื่อเงินนั้นเป็ นเงินทีไ่ ด้ จากการประกอบกิจการปิ โตรเลียม”

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

16

4


Page 97

มาตรา ๑๕ “คณะกรรมการปิ โตรเลียม” . . . ปลัดกระทรวงพลังงาน อธิบดีกรมที่ดนิ อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมป่ าไม้ อธิบดีกรมสรรพากร เลขาธิการ สนง. นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติฯ ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลัง ผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม

มาตรา ๗๖ “ผู้รับสัมปทานต้ องรายงานผลการประกอบกิจการปิ โตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจาปี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ ระยะเวลาที่อธิบดีกาหนด รายงานตามวรรคหนึง่ ให้ ถอื เป็ นความลับและมิให้ เปิ ดเผย จนกว่ าจะพ้นหนึง่ ปี นับแต่ วนั ที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ* ได้ รับรายงานหรือพึงได้ รับรายงานตามวรรคหนึง่ เว้ นแต่ ... ๓. ได้ รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากผู้รับสัมปทานให้ เปิ ดเผย ได้ แต่ การให้ หรือไม่ ให้ ความยินยอมของผู้รับสัมปทานต้อง กระทาโดยไม่ ชักช้ า”

คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ . . . เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

07/08/58

17

เวทีรับฟังความคิดเห็นของ สปช.

18

5


Page 98

07/08/58

ขอบเขตการศึกษาเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา สรุปแนวทางการแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับรายได้และภาษีอากร ตามกฎหมายว่าด้วยปิ โตรเลียมและภาษีเงินได้ปิโตรเลียม คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปั ญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔

สภานิติบญั ญัติแห่งชาติ

 ภายใต้ระบบสัมปทานปิ โตรเลียม กฎหมายทีใ่ ช้ ในการควบคุมกากับและจัดเก็บรายได้ มีจานวน ๒ ฉบับ ได้ แก่  พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ ไขเพิ่มเติม รวม ๕ ครั้ ง ครั้ งสุ ดท้ ายแก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐  พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งมีการแก้ ไขเพิ่มเติมรวม ๕ ครั้ ง ครั้ งสุ ดท้ ายแก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐

โดย หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี

ขอบเขตการศึกษาเพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา  คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิ โตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ได้ รับมอบหมายหน้ าทีใ่ ห้ ทาการศึกษาประเด็นปัญหาที่เกีย่ วกับ การจัดเก็บรายได้ รัฐจากกิจการปิ โตรเลียมทั้งระบบ ได้ แก่    

ค่ าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ (๙ ประเด็น) ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม (๑๕ ประเด็น) ข้ อเสนอแนะทางกฎหมายอื่น ๆ (๑๓ ประเด็น) การนาระบบแบ่ งปันผลผลิต (PSC) และระบบสั ญญาอื่นๆ มาใช้ กับการสารวจและผลิตปิ โตรเลียม ในประเทศไทย

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ๑) มาตรา ๘๒ การเสี ยค่าภาคหลวง ณ จุดขาย อาจรัว่ ไหล ไม่อนุ รักษ์พลังงาน รัฐรับผิดชอบต่อ การสู ญเสี ย ไม่เป็ นธรรมต่อรัฐ หน้า ๔๒ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้เก็บค่าภาคหลวง ณ แหล่งผลิตเพื่อป้ องกันการ รัว่ ไหล ๒) มาตรา ๘๒ การยกเว้นภาคหลวง การควบคุมการงดเว้นภาษีจึงขึ้นกับดุลพินิจเจ้าหน้าที่ได้ อย่างไม่มีขอ้ จากัด กระทบต่อการจัดเก็บรายได้รัฐ หน้า ๔๔ ข้อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช.  แนวทางที่ ๑ ให้ยกเลิกการยกเว้นการเก็บค่าภาคหลวง ณ แหล่งผลิตเพื่อป้ องกันการ รั่วไหล  แนวทางที่ ๒ อาจคงไว้แนวเดิม แต่ตอ้ งแก้ให้รัดกุม ลดการใช้ดุลพินิจ โดยให้ออกเป็ น กฎกระทรวงแทน เพราะเป็ นกฎหมายที่สูงกว่าประกาศกรมเชื้อเพลิง

1


Page 99

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๓) มาตรา ๘๔ ให้เสี ยค่าภาคหลวงตามมูลค่าที่ขายหรื อจาหน่ายเป็ นขั้นบันไดในรอบเดือน ประเด็น ข้อสังเกต หน้า ๔๙ ๓.๑ การคิดค่าภาคหลวงจากมูลค่าขาย อาจส่ งผลกระทบที่เกิดจากจากการควบคุมการผลิตและ การขายของผูร้ ับสัมปทาน ๓.๒ การคิดค่าภาคหลวงเป็ นปิ โตรเลียม ที่อุณหภูมิ ๖๐ องศา F ความดัน ๑๔.๗ ปอนด์ต่อ ตารางนิ้ว มีความเหมาะสมหรื อไม่ ๓.๓ การคิดค่าภาคหลวงเป็ นเงิน มีประเด็นเรื่ อง ราคาที่ใช้และสถานที่เสี ยค่าภาคหลวง ๓.๔ รมต.สามารถให้ส่วนลดราคามาตรฐานได้ร้อยละ ๗ เป็ นเวลา ๙ ปี หากน้ าลึกเกิน ๒๐๐ เมตรลดราคามาตรฐานได้ร้อยละ ๓๐ เป็ นเวลา ๙ ปี ๓.๕ ราคาก๊าซตกลงกับ คณะกรรมการฯ โดยมีกาไรพอสมควร เกิดปั ญหาว่าคาว่า “สมควร” คือ อะไร หน้า ๕๒

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๔.๓. อัตราค่าภาคหลวงเป็ นขั้นบันได คิดเป็ นรายแปลง ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เพื่อป้ องกันการกระจายสัดส่ วนมูลค่าการ ขายแต่ละแปลงจึงให้เสี ยค่าภาคหลวงรวมของผูร้ ับสัมปทานแต่ละราย ข้ อสังเกต ให้เอกชนเสี ยภาษีภาษีรวมแปลง ให้เอกชนนาแปลงที่ขาดทุนมาหักจาก แปลงที่กาไรได้ รัฐได้ภาษีนอ้ ยลง ค่าภาคหลวงขั้นบันไดให้คิดแยกแปลง ทาให้ ยอดขายของผูร้ ับสัมปทานต่าลง เอกชนบริ หารค่าภาคหลวงให้ต่าลงได้

07/08/58

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๔) การเสี ยค่าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวง มาตรา ๘๔ ๔.๑ การคิดจากมูลค่าขาย ทาให้ผรู้ ับสัมปทานสามารถควบคุมการขายในรอบเดือน เพื่อเสี ยค่าภาคหลวงให้นอ้ ยที่สุด ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้คิดค่าภาคหลวงจากราคาตลาดของ ก๊าซและน้ ามันที่อา้ งอิง โดยกาหนดเป็ นอัตราก้าวหน้า ๔.๒ อัตราค่าภาคหลวง มีแต่ตารางน้ ามันดิบเพียงอย่างเดียว ทาให้ตอ้ งคานวณแปลง ปริ มาณก๊าซธรรมชาติเทียบเท่าน้ ามันดิบ ทาให้รัฐได้ค่าภาหลวงต่าลงเนื่อง ตัวแปลงค่าไม่ตรงกับมาตรฐานสากลที่ ๕.๗๓ ล้านบีทียตู ่อ ๑ บาร์เรล ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เพิ่มตารางอัตราค่าภาคหลวง ก๊าซ ธรรมชาติ

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ) ๕) การลดค่าภาคหลวง ตามมาตรา ๙๙ ทวิ ๙๙ ตรี รัฐมนตรี มีอานาจลดหย่อนค่าภาคหลวง ร้อยละ ๙๐ แก้ไขในปี ๒๕๕๐ จากเดิมร้อยละ ๓๐ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ค่าภาคหลวงสามารถนามาหักเป็ น ค่าใช้จ่ายได้ ให้ปรับอัตราลดหย่อนเป็ นร้อยละ ๓๐ ตามเดิม และการลดหย่อนมี กระจายอยูใ่ น พรบ.ทั้งสองฉบับ จึงควรรวมไว้ในหมวดเดียวกัน จะง่ายต่อการ ปฏิบตั ิและการตรวจสอบ

2


Page 100

07/08/58

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ)

ค่าภาคหลวง และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (ต่อ)

๖) การคานวณผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ ตามมาตรา ๑๐๐ มีความซับซ้อน โดยใช้ ความยาวท่อใต้ดินมาเป็ นตัวแปร โดยให้ประโยชน์ต่อเอกชนโดยให้เพิ่มค่า K คือความ ยาวท่อสมมติอีก ๖ แสนเมตร และให้ค่าลดหย่อนพิเศษ Special Reduction (SR) อีกร้อยละ ๓๕ มีความเหมาะสมและเป็ นประโยชน์ต่อรัฐหรื อไม่ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. กาหนดหลักเกณฑ์การคานวณใหม่ให้มีความ เหมาะสม ลดความยุง่ ยากซับซ้อน เพื่อความสะดวกในการบังคับใช้และการปฏิบตั ิตาม กฎหมายเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น เช่น ให้เสี ยผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ เป็ นร้อยละจากค่าภาคหลวง หรื อ จากจานวนค่าภาษีที่ตอ้ งเสี ย

๗) หน่ วยงานจัดเก็บรายได้ มาตรา ๑๐๐ ปัจจุบนั การควบคุมการให้สัมปทาน การสารวจ การผลิต การขนส่ งและการเก็บรักษา การผลิตและจาหน่าย การจัดเก็บค่าภาคหลวง และผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ เป็ นอานาจหน้าที่ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ อาจทา ให้การบริ หารและจัดเก็บรายได้เป็ นไปอย่างไม่มีประสิ ทธิภาพเท่าที่ควร ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้กรมสรรพสามิตมีอานาจและหน้าที่ในการ จัดเก็บค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษโดยตรง เนื่องจากปัจจุบนั กรม สรรพสามิตเป็ นหน่วยงานที่มีหน้าที่จดั เก็บภาษีจากสิ นค้าน้ ามัน และผลิตภัณฑ์น้ ามัน อีกทั้งมีหน่วยงานทางด้านวิศวกรรม ซึ่งมีวิศวกรที่มีความชานาญในการควบคุมการ จัดเก็บภาษีจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอยูแ่ ล้วโดยตรง

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒) การหักรายจ่ าย ๒.๑ ขอบเขตของรายจ่าย กฎหมายระบุวา่ หากเป็ นรายจ่ายที่สามารถพิสูจน์ได้วา่ เป็ นรายจ่ายตามปกติ

๑) การคานวณยอดเงินได้ จากการขายปิ โตรเลียมเพื่อเสียภาษี รัฐมนตรี สามารถกาหนดส่ วนลด แปลงบนบกและในน้ าตื้น สามารถลดได้ไม่เกินร้อย ละ ๗ ของราคาประกาศ เป็ นเวลาไม่เกิน ๙ ปี แปลงสารวจในทะเลที่มีน้ าลึกเกินสอง ร้อยเมตร สามารถกาหนดส่ วนลดไม่เกินร้อยละ ๓๐ ของราคาประกาศ เป็ นเวลาไม่เกิน ๙ ปิ โตรเลียม จึงเห็นได้ว่า ในกฎหมายปัจจุบนั เอกชนได้ลด จานวนค่าภาคหลวง อัตรา ค่าภาคหลวง และส่ วนลดเพื่อคานวณการขาย

และจาเป็ นในจานวนไม่เกินสมควร และได้จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะในกิจการปิ โตรเลียม ไม่วา่ จะจ่ายใน หรื อนอกราชอาณาจักรก็สามารถนามาหักเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีได้ท้ งั จานวน โดยสรุ ปคือ กฎหมายระบุรายการเกี่ยวกับรายจ่ายตามปกติและจาเป็ นในกรณี ต่างๆ ไว้แต่ มิได้ กาหนด ว่ าต้ องเป็ นรายจ่ ายที่เกี่ยวกับกิจการปิ โตรเลียมในราชอาณาจักร จึงอาจทาให้เกิดปั ญหาในการตีความ ว่าจะหักเป็ นรายจ่ายได้หรื อไม่ และในส่ วนของรายจ่ายที่เกิดขึ้นในต่างประเทศก็มิได้กาหนดการ ปฏิบตั ิเกี่ยวกับการแสดง หรื อการรับรองหลักฐานหรื อเอกสารที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายนั้นไว้จึงอาจเกิด ปั ญหาเรื่ องความน่ าเชื่อถือในความถูกต้องแท้จริ งของเอกสารได้ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรมีการแก้ไขกฎหมายโดยกาหนดว่ารายจ่ายตามปกติและ จาเป็ นให้จากัดอยู่เฉพาะแต่รายจ่ายที่สามารถพิสูจน์ได้วา่ เป็ นรายจ่ายในจานวนที่ไม่เกินสมควร และ ได้จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะที่เกี่ยวกับกิจการปิ โตรเลียมในราชอาณาจักร อาจกาหนดให้รายจ่ายที่มีที่มา หรื อเกี่ยวข้องกับดินแดนปลอดภาษี (Tax Haven) เป็ นรายจ่ายที่มิให้ถือเป็ นรายจ่ายทางภาษีดว้ ย

3


Page 101

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๒ ค่าเช่ า บริ ษทั สามารถเช่าทรัพย์สินในหรื อนอกราชอาณาจักร เพื่อนามาใช้ในกิจการปิ โตรเลียมและ สามารถนามาหักเป็ นรายจ่ายได้ หากบริ ษทั ลงทุนโดยการเช่าทรัพย์สินเป็ นส่ วนใหญ่และเป็ น จานวนมาก ก็จะทาให้รายจ่ายในการประกอบกิจการมีจานวนที่สูง เมื่อนามาหักเป็ นรายจ่ายก็ ย่อมทาให้เหลือกาไรสุ ทธิที่จะต้องเสี ยภาษีเป็ นจานวนน้อย ส่ งผลกระทบต่อรายได้โดยรวม ของรัฐ หากบริ ษทั ผูร้ ับสัมปทานเช่าทรัพย์สินจากบริ ษทั ในเครื อเดียวกันในต่างประเทศ ก็สามารถที่ จะกาหนดค่าเช่ากันในลักษณะที่เป็ นการถ่ายโอนกาไรไปยังบริ ษทั ในเครื อโดยวิธี การตั้งราคา โอน (Transfer Price) ผ่านทางช่องทางการจ่ายค่าเช่าดังกล่าวให้แก่กนั ได้อีกทางหนึ่ ง นอกจากนี้ การนาทรัพย์สินที่เช่าจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย ผูร้ ับสัมปทานก็มีสิทธิ ที่จะนาเข้า มาในราชอาณาจักโดยได้ รับยกเว้นการเสียอากรขาเข้ า ส่ งผลให้ผรู ้ ับสัมปทานได้รับสิ ทธิ ท้ งั ยกเว้นภาษีอากรและนาค่าเช่าไปหักเป็ นรายจ่ายได้โดยไม่ จากัดจานวน

07/08/58

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ) ๒.๓ ค่ารับรอง ไม่มีการจากัดจานวนค่ารับรอง ซึ่งแตกต่างจากค่ารับรองที่กาหนดไว้ตาม ประมวลรัษฎากร ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แก้ไขกฎกระทรวง เพื่อให้มีการกาหนด ลักษณะของค่ารับรองและจานวนค่ารับรองสูงสุ ดที่จะหักเป็ นรายจ่ายที่จาเป็ นและ สมควร เช่นเดียวกับที่กาหนดไว้ตามประมวลรัษฎากร ๒.๔ การจาหน่ ายหนีส้ ู ญ กฎหมายเพียงแต่กาหนดไว้ในลักษณะกว้าง ๆ ว่าให้จาหน่ายได้ ต่อเมื่อได้ปฏิบตั ิการโดยสมควรเพื่อให้ได้รับชาระหนี้แล้ว และหลักเกณฑ์ในการ จาหน่ายหนี้สูญก็ไม่มีกาหนดไว้ในอนุบญั ญัติระดับกฎกระทรวง แตกต่างจากประมวล รัษฎากร

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

๒.๕ รายจ่ ายทีจ่ ัดสรรจากสานักงานใหญ่ เป็ นเรื่ อง Cost Sharing ซึ่งเกี่ยวกับบริ ษทั ในต่าง ประเทศที่ได้รับสัมปทานและมีสาขาหรื อสานักงานอยู่ในประเทศไทย มีการจัดสรร หรื อปันส่ วนมาเป็ นรายจ่ายมายังประเทศไทย ซึ่งเรื่ องนี้ปรากฏเป็ นคดีฟ้องร้องกันและ อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกา จึงมีปัญหาว่ารายจ่ายที่ได้รับการจัดสรรมาเป็ น จานวนตามปกติและจาเป็ นในการประกอบกิจการในประเทศไทยหรื อไม่ ดังนั้น หากมี การจัดสรรค่าใช้จ่ายในลักษณะนี้จากสานักงานใหญ่ให้แก่สาขาในประเทศไทยก็จะ ส่ งผลต่อการคานวณกาไรสุ ทธิเพื่อเสี ยภาษีของสาขาในประเทศไทย การที่กฎหมาย กาหนดไว้ในลักษณะนี้ อาจทาให้เกิดปัญหาการใช้ดุลพินิจว่าจานวนที่จดั สรรมา เหมาะสมหรื อไม่ หน้า ๙๐ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรต้องมีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม โดย กาหนดให้รายจ่ายของสานักงานใหญ่เท่าที่จดั สรรได้โดยสมควรว่า เกี่ยวกับกิจการ ปิ โตรเลียมในประเทศไทย

๒.๖ รายการทีม่ ใิ ห้ ถือเป็ นรายจ่ ายตามปกติ กรณีที่บริ ษทั ผูป้ ระกอบกิจการปิ โตรเลียมต้องจ่ายไป เกี่ยวกับการบาบัดหรื อแก้ไขเยียวยาความเสี ยหายที่เกิดขึ้นต่อสิ่ งแวดล้อม มลภาวะ หรื อมี ผลกระทบต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชนที่อาจจะเกิดขึ้นจากการประกอบกิจการ ก็ควรจะให้ ถือเป็ นรายการที่มิให้ถือเป็ นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม หน้า ๙๒ ๒.๗ การลดหย่อนผลขาดทุน และการโอนกิจการปิ โตรเลียม มาตรา ๔๘ ของ พรบ.ปิ โตรเลียม ระบุว่า หากมีการถือหุน้ เกินร้อยละ ๕๐ ระหว่างผูโ้ อนและผูร้ ับโอนสัมปทาน สามารถโอน สัมปทานกันได้โดยไม่ตอ้ งขออนุญาต ปัญหาที่จะต้องพิจารณาคือ การโอนกิจการปิ โตรเลียม ให้บริ ษทั ผูร้ ับโอนถือเอาผลขาดทุนประจาปี คงเหลือของบริ ษทั ผูโ้ อนเพื่อประโยชน์ในการหัก ลดหย่อนได้ จะส่ งผลให้สามารถเคลื่อนย้ายผลขาดทุนระหว่างบริ ษทั ผูโ้ อนกับผูร้ ับโอนได้ โดยสะดวก หน้า ๙๗ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรต้องแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม เพื่อป้ องกันการโอน กิจการในลักษณะเป็ นการนาผลขาดทุนสุ ทธิไปใช้ประโยชน์ในทางภาษีอากร

4


Page 102

07/08/58

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

๒.๘ สิทธิยกเว้นภาษีอากรอืน่ ในการประกอบกิจการ พระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ มาตรา ๗๑ ให้สิทธิแก่ผรู้ ับสัมปทานในการได้รับยกเว้นการเสี ยภาษีอากร และเงินที่ราชการ ส่ วนกลาง ราชการส่ วนภูมิภาค และราชการส่ วนท้องถิ่นเรี ยกเก็บทุกชนิด เว้นแต่ภาษี เงินได้ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม หมายความว่าภาษีหรื อค่าธรรมเนียมอื่นใด นอกเหนือจากที่กล่าวมานี้ เช่น ผูร้ ับ สัมปทานนาสิ นค้าตามมาใช้ในกิจการปิ โตรเลียมก็จะได้รับยกเว้นภาษีสรรพสามิต หรื อ กรณีที่ผรู้ ับสัมปทานมีที่ดิน โรงเรื อนหรื อสิ่ งปลูกสร้าง ตลอดจนป้ าย ที่ใช้ในกิจการ ปิ โตรเลียม ก็จะได้รับสิ ทธิยกเว้นภาษีโรงเรื อนและที่ดิน ภาษีบารุ งท้องที่ และภาษีป้าย เป็ นต้น ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. แก้ไขกฎหมายให้ยกเลิกการยกเว้นภาษีหรื อ ค่าธรรมเนียมทุกชนิดที่ตอ้ งจ่ายให้แก่รัฐโดยยกเลิกบทบัญญัติมาตรา ๗๐ และมาตรา ๗๑ แห่ งพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ

๒.๙ ราคาขายนา้ มันดิบและก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ ในราชอาณาจักร ให้ผรู้ ับสัมปทานขายน้ ามันดิบ กรณีไม่มีการส่ งออกเป็ นประจา ให้ขายไม่เกินราคา น้ ามันดิบที่สั่งซื้อจากต่างประเทศส่ งถึงโรงกลัน่ ส่ วนการขายก๊าซธรรมชาติเพื่อใช้ ภายในราชอาณาจักรนั้น กาหนดให้ผรู้ ับสัมปทานขายในราคาที่ตกลงกับ คณะกรรมการปิ โตรเลียม แต่หากผลิตได้เกินความต้องการให้ขายในราคาที่มีกาไร ตามสมควร หน้า ๑๐๖ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ราคาขายปิ โตรเลียมในประเทศและส่ งออกมี การกาหนดไว้แตกต่างกันไม่เป็ นไปตามหลักสากล และปิ โตรเลียมมีหลายประเภทแต่ วิธีกาหนดราคามีเพียงน้ ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ จึงสมควรแก้ไขให้สอดคล้องกัน และเป็ นไปตามหลักสากล

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

๒.๑๐ ช่ องทางการโยกย้ายกา ไรออกไปจากประเทศไทยโดยใช้ อนุสัญญาภาษีซ้อน การส่ งเงินกาไรจากกิจการปิ โตรเลียมในประเทศไทยให้แก่บริ ษทั ในเครื อเดียวกันใน ต่างประเทศ บริ ษทั อาจวางแผนภาษีโดยการทาสัญญากูย้ มื เงิน หรื อการให้สินเชื่อ ทางการค้าระหว่างตนกับบริ ษทั ในเครื อ และส่ งกาไรออกไปในลักษณะของการจ่าย ดอกเบี้ย โดยสามารถเลือกใช้ช่องทางสิ ทธิประโยชน์ตามความตกลงทางภาษีระหว่าง ประเทศ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ให้ปรับปรุ งหลักเกณฑ์ในการรับรู้รายจ่ายให้ รัดกุมยิง่ ขึ้นว่า การทาธุรกรรมกูย้ มื เงินหรื อการให้สินเชื่อระหว่างบริ ษทั ในเครื อ เดียวกัน ซึ่งมีการจ่ายดอกเบี้ยออกไปต่างประเทศนั้น จะต้องมีการพิสูจน์ทางเอกสาร ให้ได้ขอ้ เท็จจริ งว่าเป็ นธุรกรรมในทางพาณิชย์ที่แท้จริ ง หากไม่สามารถแสดงหรื อ พิสูจน์ได้ก็ให้ถือว่าดอกเบี้ยดังกล่าวเป็ นการจาหน่ายเงินกาไรไปต่างประเทศ

๒.๑๑ มูลค่าตลาดของรายจ่ ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ ไม่มีบทนิยามที่ชดั แจ้งถึงคา ว่า “ราคาตลาด”ในกรณีของค่าใช้จ่ายไว้ การไม่กาหนด มูลค่าราคาตลาดสาหรับด้านรายจ่ายไว้โดยเฉพาะอาจเป็ นเหตุ ที่นาไปสู่การวางแผน ภาษีผา่ นการกาหนดราคาของค่าใช้จ่ายที่เรี ยกเก็บระหว่างกันภายในกลุ่มบริ ษทั หรื อที่ เรี ยกว่า “การตั้งราคาโอน (Transfer Pricing)” ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. ควรกาหนดกรณีน้ ีเพิ่มเติม เพื่อป้ องกันปัญหา การตั้งราคาโอน (Transfer Pricing) ที่มีการถ่ายโอนกาไรออกไปต่างประเทศในรู ปแบบของ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อันเป็ นแนวทางการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับกรณีการกาหนดราคา โอนในการเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร

5


Page 103

07/08/58

ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ต่อ)

ข้อเสนอแนะอื่น หน้า ๑๑๑

๒.๑๒ สิทธิประโยชน์ ภายใต้อนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกา อนุสัญญาภาษีซอ้ นระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริ กานั้น ปรากฏว่ามีความพิเศษที่ แตกต่างไปจากบทบัญญัติเรื่ องสถานประกอบการถาวรในอนุ สัญญาภาษีซอ้ นฉบับ อื่นๆ อนุสัญญาภาษีซอ้ นระหว่างประเทศไทยกับ สหรัฐอเมริ กาว่าด้วยนิยามของ “สถานประกอบการถาวร” กาหนดให้กรณีการติดตั้งเรื อหรื อแท่นขุดเจาะที่ใช้ในการ สารวจที่ได้ดาเนินกิจกรรมระยะเวลาหนึ่งหรื อหลายระยะเวลารวมกันแล้วเกินกว่า ๑๒๐วัน ภายในระยะเวลา ๑๒ เดือนใดๆ เท่านั้น จึงจะถือว่ามีสถานประกอบการถาวร ในประเทศไทย ที่จะทาให้ประเทศไทยจัดเก็บภาษีได้ ข้ อเสนอตามรายงานกรรมาธิการ สนช. เนื่องจากข้อความดังกล่าวเป็ นข้อผูกพันตาม สนธิสัญญาที่ประเทศไทยเสี ยเปรี ยบ สมควรพิจารณาทบทวนโดยให้กรมสรรพากรขอ เปิ ดการเจรจาแก้ไขกับประเทศสหรัฐอเมริ กาต่อไป

๑) ควรเพิ่มเติมหลักเกณฑ์เรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกิจการปิ โตรเลียมต่อสาธารณะ ๒) แก้ไขเรื่ องสิ ทธิในการถือสัมปทานไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี โดยไม่ควรจากัดให้ ยกเว้นการบังคับคดีทุกกรณี เช่น ถ้าหากมีการค้างชาระค่าภาคหลวงรวมทั้งเงินหรื อ ผลประโยชน์อื่น ก็จะต้องกาหนดให้รัฐมีอานาจบังคับชาระได้เช่นเดียวกับมาตรการบังคับ ชาระภาษีคา้ งของกรมสรรพากร ๓) ควรปรับปรุ งเรื่ องอานาจของคณะกรรมการปิ โตรเลียม อานาจรัฐมนตรี และอานาจอธิบดีให้ สอดคล้องกับกฎหมายที่จะมีการแก้ไขเพิ่มเติม ๔) ควรแก้ไขเพิม่ เติมกฎหมายในเรื่ องความเป็ นเจ้าของปิ โตรเลียมของรัฐให้มีความชัดเจน โดยเฉพาะความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียมฯ ต้องกาหนดเพิ่มเติมว่า แม้จะ มีการให้สัมปทานไปแล้ว ความเป็ นเจ้าของปิ โตรเลียมก็ยงั เป็ นของรัฐตลอดไปไม่ว่าจะอยูใ่ น ขั้นตอนการสารวจ ผลิต ขนส่ งและเก็บรักษา ตลอดจนการขายหรื อจาหน่าย จนกว่าจะมีการ โอนกรรมสิ ทธิ์ไปยังผูซ้ ้ือปิ โตรเลียมหรื อผูท้ ี่ได้รับปิ โตรเลียมจากการจาหน่าย

ข้อเสนอแนะอื่น หน้า ๑๑๑ (ต่อ) ๕) คุณสมบัติของผูข้ อสัมปทาน ต้องไม่เป็ นบริ ษทั ที่จดทะเบียนจัดตั้ง หรื อมีสถานที่บริ หาร จัดการและควบคุมของบริ ษทั นั้นตั้งอยูใ่ นพื้นที่หรื อดินแดนปลอดภาษี (Tax Haven Jurisdictions) รวมถึงบริ ษทั ที่มีแหล่งเงินทุนอยูใ่ น หรื อได้มาจากพื้นที่หรื อดินแดนดังกล่าว ไม่ว่าโดย ทางตรงหรื อทางอ้อม เนื่องจากบริ ษทั เหล่านี้ อาจจะใช้พ้นื ที่หรื อดินแดนดังกล่าวเป็ นช่องทาง ในการหลีกเลี่ยงภาษีหรื อกระทาธุรกรรมที่มิชอบด้วยกฎหมาย ๖) การโอนสัมปทาน จะต้องไม่มีผลกระทบอันเป็ นนัยสาคัญต่อการจัดเก็บรายได้ของรัฐ เพื่อ ป้ องกันความเสี ยหายต่อรายได้ของรัฐที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทาดังกล่าว ๗) การเก็บรักษาเงินตราต่างประเทศ และการนาหรื อส่ งออกนอกราชอาณาจักรซึ่งเงินตรา ต่างประเทศ ควรต้องอยูภ่ ายใต้การกากับของกฎหมายที่อยูใ่ นความรับผิดชอบของธนาคาร แห่งประเทศไทย

การจัดเก็บรายได้จากกิจการปิ โตรเลียม ในระบบอืน่ ๆ

6


Page 104

การจัดเก็บรายได้จากกิจการปิ โตรเลียม ในระบบอืน่ ๆ  กรณี ก ารน าระบบแบ่ ง ปั น ผลผลิ ต (Production Sharing Contract - PSC) มาใช้ ในประเทศไทย ต้ องมีการพิจารณาแก้ ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม และ พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียมเพือ่ ให้ สอดคล้ องกับระบบดังกล่ าว  สัญญาบริการ (Service Contract) อาจพิจารณานาการจัดเก็บภาษีเงินได้ ตามประมวล รัษฎากรมาปรับใช้ โดยไม่จาต้องออกกฎหมายเป็ นการเฉพาะ และไม่ มีความจาเป็ นต้ อง แก้ไขกฎหมายใดๆ  รู ป แบบกิจ การร่ วมค้ า (Joint Venture) อาจพิจ ารณาน าการจั ด เก็บ ภาษี เงิน ได้ ตาม ประมวลรัษฎากรมาปรับใช้ โดยไม่ จาต้ องออกกฎหมายเป็ นการเฉพาะ อย่ างไรก็ดี ต้ องมี การแก้ ไขกฎหมายให้ มีความเหมาะสม และเพื่อให้ การจัดเก็บภาษีเป็ นการจัดเก็บจากผู้ ร่ วมค้าในส่ วนภาคเอกชนโดยตรงเท่ านั้น  พิจารณาทบทวนเพื่อให้ สัด ส่ วนรายได้ โดยรวมของประเทศไทย ดีกว่ า หรื ออย่ างน้ อ ย ทีส่ ุ ด ไม่ ตา่ กว่ าระบบสัมปทานปัจจุบัน

ขอบพระคุณที่กรุณารับฟั ง

07/08/58

ข้อเสนอแนวทางการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยปิ โตรเลียมในระยะเร่งด่วน (หน้า ๑๖๙) ควรชะลอการเปิ ดสัมปทานไปจนกว่าจะมีการแก้ไขปรับปรุ งกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับรู ปแบบธุรกรรมที่ยงั ไม่บญั ญัติน้ ีให้เรี ยบร้อยก่อนทาสัญญา ถ้ามีความ จาเป็ นเร่ งด่วนต้องเปิ ดประมูลแปลงปิ โตรเลียมเพื่อไม่ให้เกิดความเสี ยหายในด้าน พลังงานของประเทศ คณะกรรมาธิการวิสามัญ เห็นควรให้ทาการเปิ ดประมูลใน ระบบแบ่งปันผลผลิตคราวละ ๔-๕ แปลง ในแปลงที่มีขอ้ มูลมากพอสาหรับ ผูเ้ ข้าร่ วมการประมูล เพื่อให้มีการแข่งขันที่เป็ นธรรมและรัฐได้ผลประโยชน์ตอบ แทนที่สูงขึ้น หรื อดาเนินการสารวจในเบื้องต้นในแปลงที่มีศกั ยภาพสู ง โดยเป็ นการ สารวจเพื่อความมัน่ คง ซึ่งอาจมอบหมายให้หน่วยงานภาครัฐที่มีขีดความ สามารถ และประสบการณ์ร่วมกับกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ เป็ นผูด้ าเนินการ

ประเด็น ค่าภาคหลวง และผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ

คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สภานิตบิ ัญญัตแิ ห่ งชาติ

7


Page 105

สรุปประเด็น ค่ าภาคหลวงและผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ  ค่าภาคหลวงและผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ ๑.๑ สถานทีใ่ ช้ กาหนดหน้ าทีใ่ นการเสียค่ าภาคหลวง ๑.๒ การยกเว้นค่าภาคหลวง ๑.๓ การคานวณมูลค่าปิ โตรเลียม ๑.๔ การเสียค่าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวง ๑.๕ ความรับผิดของผู้รับสั มปทานและผู้ร่วมประกอบกิจการ ๑.๖ การลดจานวนค่าภาคหลวง และการลดหย่อนค่าภาคหลวง ๑.๗ เงินตราต่างประเทศ ๑.๘ ผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ ๑.๙ หน่ วยงานจัดเก็บรายได้

07/08/58

สรุ ปแนวทางปรับปรุ งกฎหมาย

เพือ่ ให้ เกิดความรัดกุมในการจัดเก็บค่าภาคหลวงในทรัพยากรของชาติ  กาหนดให้ หน้ าทีใ่ นการเสียค่าภาคหลวงเกิดขึน้ ณ แหล่งผลิตหรือสถานทีข่ ุดเจาะและ กาหนดมาตรการในการควบคุมกากับที่รัดกุม เพื่อให้ ปริมาณการผลิตและจาหน่ าย เป็ นไปอย่างถูกต้อง  ทบทวนฐานการคานวณเพื่อเสียค่ าภาคหลวง และอัตราค่าภาคหลวง ให้ เกิดความ เหมาะสมและเกิดประโยชน์ ต่อรัฐสู งสุ ด  ทบทวนมาตรการยกเว้นค่าภาคหลวงและการลดจานวนค่าภาคหลวง ให้ เหลือเฉพาะ กรณีตามความจาเป็ นและสมควร  ฯลฯ

แนวทางปรับปรุ ง ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ  ให้ ทบทวนเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ ในการคานวณใหม่ให้ มีความเหมาะสม จากเดิม ทีใ่ ช้ ความยาวท่อใต้ดิน ค่า K และ ค่าลดหย่อนพิเศษ เป็ นตัวแปรสาคัญ ซึ่งมี ความยุ่งยากซับซ้ อน  กาหนด “ผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษ” ในรูปแบบอืน่ เช่ น หากผู้ประกอบการมี ผลกาไรเป็ นจานวนหรือสัดส่ วนเท่ าใด ก็ให้ เสียผลประโยชน์ ตอบแทนพิเศษเป็ น ร้ อยละจากค่าภาคหลวง หรือจากจานวนค่าภาษีทตี่ ้องเสีย เป็ นต้น เพื่อให้ เกิด ความสะดวกในการบังคับใช้ การปฏิบัตติ ามกฎหมายและการตรวจสอบเป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้

ประเด็น ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

8


Page 106

07/08/58

สรุ ปประเด็น ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม  ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม ๒.๑ วิธีการ หลักเกณฑ์ และการปฏิบัตทิ างบัญชี ๒.๒ การยืน่ แผนการผลิต รายงานผลการประกอบกิจการปิ โตรเลียมแผนงาน และงบประมาณประจาปี และงบบัญชีค่าใช้ จ่ายและงบการเงินประจาปี ๒.๓ รายได้ ปิโตรเลียมทีใ่ ช้ ในการคานวณกาไรสุ ทธิ ๒.๔ การหักรายจ่ ายตามปกติและจาเป็ นในการคานวณกาไรสุ ทธิ - ขอบเขตของรายจ่ ายตามปกติและจาเป็ น - การจาหน่ ายหนี้สูญ - ค่ าเช่ าหรื อค่ าตอบแทนอย่ างอื่นในการเช่ าทรั พย์ สิน - ค่ ารั บรอง - รายจ่ ายที่จัดสรรจากสานักงานใหญ่ - ค่ าชดเชยรายจ่ ายที่เป็ นทุน - รายการที่มิให้ ถือเป็ นรายจ่ ายตามปกติและจาเป็ น

สรุปประเด็น ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม ๒.๕ การยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ ๒.๖ การลดหย่ อนผลขาดทุน และการโอนกิจการปิ โตรเลียม ๒.๗ การคานวณมูลค่ าเกี่ยวกับเงินตราต่ างประเทศ และการรับชาระภาษี เป็ นเงินตราต่ างประเทศ ๒.๘ ค่ าใช้ จ่ายในการรื้อถอนสิ่ งปลูกสร้ าง ๒.๙ ความรับผิดในภาษีเงินได้ ของบริษัทที่เข้าร่ วมสั มปทาน ๒.๑๐ การคิดค่ าทดแทนสาหรับวัสดุในการใช้ ประโยชน์ จากนา้ ในหลุมเจาะ ๒.๑๑ สิ ทธิยกเว้ นภาษีอากรอื่นในการประกอบกิจการ

สรุ ปประเด็น ภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม ๒.๑๒ ราคาขายนา้ มันดิบและก๊ าซธรรมชาติเพือ่ ใช้ ในราชอาณาจักร ๒.๑๓ ช่ องทางการโยกย้ ายกาไรออกไปจากประเทศไทยโดยใช้ อนุสัญญา ภาษีซ้อน (Double Taxation Agreement) ๒.๑๔ มูลค่ าตลาดของรายจ่ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ ๒.๑๕ สิ ทธิประโยชน์ ภายใต้ อนุสัญญาภาษีซ้อนระหว่ างประเทศไทยกับ สหรัฐอเมริกา

สรุ ปแนวทางปรับปรุ งกฎหมาย  กาหนดให้ บริษัทผู้ทาธุรกิจขุดเจาะปิ โตรเลียมคานวณการภาษี เป็ นรายแปลงปิ โตรเลียม  ทบทวนการหักรายจ่ ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ โดยเฉพาะกรณี    

ค่ าเช่ าหรื อค่ าตอบแทนอย่ างอื่นในการเช่ าทรั พย์ สิน ค่ ารั บรอง หนี้สูญที่จาหน่ ายจากบัญชี รายจ่ ายที่จัดสรรจากสานักงานใหญ่

 ทบทวนการลดหย่อนผลขาดทุน และการโอนกิจการปิ โตรเลียม ทีจ่ ะนามาซึ่งการ ลดผลกาไรเพื่อเสียภาษีของกิจการปิ โตรเลียม เมือ่ เปรียบเทียบกับกรณีกจิ การธุรกิจ ปกติทวั่ ไป

9


Page 107

07/08/58

สรุ ปแนวทางปรับปรุ งกฎหมาย ๒

สรุ ปแนวทางปรับปรุ งกฎหมาย ๓

 ให้ มกี ารกาหนดในกรณีค่าเสียหายในการบาบัดหรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายที่ เกิดขึน้ ต่อสิ่งแวดล้อมหรือมลภาวะ หรือมีผลกระทบต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชน ทีเ่ กิดขึน้ จากการประกอบกิจการ มิให้ ถือเป็ นรายจ่ ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เช่ นเดียวกัน  เสนอแก้ไขกฎหมาย กาหนดให้ ผ้รู ับสัมปทานยืน่ แผนการผลิต รายงานผล การประกอบกิจการปิ โตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจาปี และงบบัญชี ค่าใช้ จ่ายและงบการเงินประจาปี ต่อกรมสรรพากรด้ วย  เสนอมาตรการป้องกันเลีย่ งภาษีต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีจาก กิจการปิ โตรเลียม เช่ น การป้องกันตั้งราคาโอน เป็ นต้น

 แก้ ไขกฎหมาย ให้ ยกเลิกการยกเว้ นอากรขาเข้ า ภาษีมูลค่าเพิม่ ตลอดจนค่ าภาษีหรือค่ าธรรมเนียมทุกชนิดที่ต้องจ่ ายให้ แก่ รัฐ  เสนอมาตรการป้ องกันเลี่ยงภาษีต่างๆ เพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการ จัดเก็บภาษีจากกิจการปิ โตรเลียม

สรุ ปแนวทางปรับปรุ งกฎหมาย  ให้ มกี ารกาหนดในกรณีค่าเสียหายในการบาบัดหรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายที่ เกิดขึน้ ต่อสิ่งแวดล้อมหรือมลภาวะ หรือมีผลกระทบต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชน ทีเ่ กิดขึน้ จากการประกอบกิจการ มิให้ ถือเป็ นรายจ่ ายในการคานวณกาไรสุ ทธิ เช่ นเดียวกัน  เสนอแก้ไขกฎหมาย กาหนดให้ ผ้รู ับสัมปทานยืน่ แผนการผลิต รายงานผล การประกอบกิจการปิ โตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจาปี และงบบัญชี ค่าใช้ จ่ายและงบการเงินประจาปี ต่อกรมสรรพากรด้ วย  เสนอมาตรการป้องกันเลีย่ งภาษีต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีจาก กิจการปิ โตรเลียม เช่ น การป้องกันตั้งราคาโอน เป็ นต้น

10


Page 108


Page 109

L

nisqAuolIlluin


Page 110

..

i

.

.

nw' Id ndn'

nw. InJ n.rzn9w.l n9U. bts6

I

I

nw.

&

E

B

J

. ~._,. .

-

I

"U,U&W*

&OX

piuniq)9qj~1

,u%~L~UU~~U~II%~~JWII

dozuinr bo x wn 'qadi- f i ~ r ~ ~ u d ~ a n m VU I% i l j d r n d ~ z y ~ ) Wd

~IO

~ & J l J l f i ~SSU. U -

w "h. I~nuc;ni % o w r i i u i & n ~ ~ ~ 8 u u z h ~

n w . 1nJ noznm~r

d9zuinr n f i -

nw. 1nai ndn. ynwmluW rnmz~nfaurCluuw -urrt

uiufmu~pnuu~%1~~1 ~iuimuiuIHY~~&

~uL%~LC~OA~~R~~WRW~~U~~~UUJJ~

nw. b a o ~ LAU %rUliiwawtm

n ~b&c6 . 1;~

~ ~ ~ ? U ~ W ~ Q ~ U % I ~ ~ L I U ~ ~ H U J ~


Page 111


Page 112


Page 113


Page 114


Page 115


swmqrc nsu s n 'w'uup mp fUIUWLUWL~1 LF

nwwrnw

gupnw a h " z j y

Page 116


Page 117


Page 118

แผนที่แสดงแหล่งปิโตรเลียมในอ่าวไทย เอกสารประกอบการบรรยาย กรณี แหล่งปิโตรเลียมในพื้นที่ทบั ซ้อน ทางทะเลในอ่าวไทย ระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา


Page 119

แผนที่แสดง พืน้ ที่ แปลงสัมปทานในแหล่งบงกชและเอราวัณ (พืน้ ที่สีแดง) ที่กาลังจะหมดอายุในปี พ.ศ.๒๕๖๕ และ พ.ศ.๒๕๖๖

หน้ า ๑


Page 120

แผนที่แสดง พืน้ ที่ แปลงปิโตรเลียมในอ่าวไทยที่กระทรวงพลังงานรายงานว่า แหล่งปิโตรเลียมในอ่าวไทย G3/57, G4/57, G5/57A, G5/57 B และ G6/57 เป็ น พืน้ ที่ซึ่งมีศกั ยภาพสูงที่ จะผลิตปิโตรเลียม หน้ า ๒


Page 121

แผนที่แสดง พืน้ ที่ แปลงสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ ที่เสนอโดยกระทรวง พลังงาน หน้ า ๓


Page 122

แผนที่แนบท้ายบันทึกความเข้าใจในปี พ.ศ.๒๕๔๔ แสดงทับซ้อนทางทะเล ในอ่าวไทยระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา หน้ า ๔


Page 123

แผนที่แสดง การจัดสรรแปลงปิโตรเลียมให้กบั ผูร้ บั สัมปทานกลุ่มต่างๆ ในพืน้ ที่ทางทะเลซึ่งอ้างว่าทับซ้อนระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณา จักรกัมพูชา หน้ า ๕


Page 124

ไทยควรมีบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเพื่อวัตถุประสงค์ใด โดย นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล กราบเรียนท่านประธานกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูป แห่งชาติ ท่านสมาชิกสภาปฏิรูปฯ ท่านกรรมการปฏิรูปกฎหมาย และท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ เรื่ององค์กรปิโ ตรเลี ยมแห่ งชาติ เป็นปัจจัยหลักที่จะชี้ให้ เห็ นว่าข้อเสนอแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับ ปิโตรเลียมของกระทรวงพลังงาน เป็นข้อเสนอที่เป็นไปไม่ได้ และเป็นจุดบกพร่องที่สาคัญ ประวัติการจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติของโลก มีนักประวัติศาสตร์วิเคราะห์ว่าการนาปิโตรเลียมที่โผล่จากใต้ดินขึ้นมาใช้ประโยชน์โดยมนุษยชาติครั้ง แรกๆ ของโลกนั้น เกิดขึ้นเมื่อสี่พันปีก่อนในสมัยกรุงบาบีลอน โดยเป็นการนาขึ้นมาใช้เป็นยางมะตอยเพื่อยึดก้อน หินที่ใช้ก่อสร้างถนนและอาคาร แต่การขุดให้น้ามันขึ้นมาจากใต้ดินเป็นล่าเป็นสันครั้งแรกนั้น กล่าวว่าเกิดขึ้นที่ ประเทศจีนเมื่อหนึ่งพันเจ็ดร้อยปีก่อน โดยใช้ปล้องไผ่เป็นท่อส่งน้ามัน ส่วนการกลั่น น้ามันเพื่อมาใช้จุดตะเกียง แสงสว่าง เขาว่าเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกอาหรับเมื่อเจ็ดร้อยปีก่อน แต่ในด้านธุรกิจการสารวจและผลิตปิโตรเลียมที่เรารู้จักกันทุกวันนี้ เกิดขึ้นในรูปธุรกิจ เมื่อ 150 ปี ก่อนเท่านั้นเอง ซึ่งช่วงแรกก็ไม่ค่อยจะมีความสาคัญทางเศรษฐกิจมากนัก เพราะขณะนั้นแหล่งพลังงานหลัก ของ โลกคือถ่านหิน ต่อมา การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ทั้งในยุโรปและอเมริกา ตลอดจนการนาก๊าซมาใช้ใน บ้านเรือน จึงทาให้ความต้องการปิโตรเลียมพุ่งสูงขึ้นมาเรื่อยๆ ประเทศไทยเริ่มขบวนการสารวจและผลิตปิโตรเลียมสี่สิบกว่าปีก่อน ในสมัยนั้น ผู้สารวจและผลิต เอกชนรายใหญ่ที่สุดเป็นบริษัทสหรัฐและยุโรป กลุ่มที่เรียกว่า Seven sisters บริษัทเหล่านี้ถ้าเอ่ยชื่อเดิม คน ไทยอาจจะไม่ค่อยรู้จัก แต่ชื่อปัจจุบันคือ (1) Chevron (2) Mobil (3) Texaco (4) Gulf (5) Exxon (6) British Petroleum (7) Shell โดย 4 รายแรกเป็นบริษัทสหรัฐ ส่วน 2 รายหลังเป็นบริษัทยุโรป และทั้ง 7 บริษัทซึ่งเคยเป็นยักษ์ใหญ่ในธุรกิจนี้ ในขณะที่มีอิทธิพลสูงสุดนั้น กลุ่มนี้ผลิตปิโตรเลียมของโลกเกือบทั้งหมด และควบคุมสัดส่วนสารองปิโตรเลียมที่พิสูจน์แล้ว คิดเป็นสัดส่วนต่อสารองทั้งหมดของโลกถึงร้อยละ 85 ของโลก การที่ 7 บริษัทเหล่านี้ควบคุมสารองปิโตรเลียมมากมายมหาศาลนั้น ถึงแม้ว่าจะมีแหล่งปิโตรเลียม ในสหรัฐเป็นจานวนมาก แต่แหล่งปิโตรเลียมใหญ่ๆ ของโลกนั้น เกิดมีขึ้นในประเทศกาลังพัฒนา ซึ่งส่วนหนึ่งเคย เป็นเมืองขึ้นของยุโรป และส่วนหนึ่งเคยถูกสหรัฐและยุโรปเข้าไปควบคุมทางด้านทหารและการเมือง ดังนั้น ทั้ง 7 บริษัท จึงอาศัยอานาจอิทธิพลของสหรัฐและยุโรปในการผลักดันให้ประเทศเจ้าของปิโตรเลี ยมต้องเปิดช่องให้ เข้าไปทา ธุรกิจ และกาหนดเงื่อนไขที่เอื้ออานวยแก่บริษัทต่างชาติเหล่านี้


Page 125

นอกจากบริษัทสหรัฐแล้ว ประเทศเจ้าของอาณานิคมหลายประเทศก็ได้ตั้งบริษัทปิโตรเลียมกึ่งรัฐ ขึ้นมาเพื่อทาธุรกิจกับเมืองขึ้น ด้วย เช่น กรณีอังกฤษตั้ง British Petroleum (ปัจจุบันเป็น BP) กรณี เนเธอร์แลนด์ตั้ง Royal Dutch Shell กรณีฝรั่งเศสตั้งบริษัท CFP กรณีอิตาลีตั้งบริษัท Agip กรณีสเปนตั้งบริษัท Repsol เป็นต้น ทั้งนี้การที่ประเทศยุโรปใช้พลังอานาจทางการเมือง บีบบังคับให้ประเทศกาลังพัฒนาต้องเปิดประตู ทาธุรกิจด้วยนั้น ได้เคยมีการจัดตั้งบริษัทในลักษณะนี้มาแล้วในอดีต เช่น บริษัทอีสท์อินเดีย บริษัทอีสท์เอเชีย ติก เพื่อค้าขายสินค้าอื่นๆ ด้วย แต่มาบัดนี้ ดุลอานาจในธุรกิจปิโตรเลียมได้เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง โดยกลุ่มบริษัทที่มีอานาจในธุรกิจ นี้ได้เปลี่ยนจาก 7 sisters ไปเป็นองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติของประเทศต่างๆ ซึ่งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ เหล่านี้ทั่วโลกรวมกัน ขณะนี้มีสัดส่วนการผลิตปิโตรเลียมสูงถึงร้อยละ 75 ของโลก และเป็นผู้ควบคุมสารอง ปิโตรเลียมมากถึงร้อยละ 90 ของสารองในโลก ทาไมองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติของประเทศต่างๆ จึงกลายมาเป็นผู้ที่กุมอานาจในธุรกิจนี้แทน มี 3 เหตุผล คือ หนึ่ง การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เดิมเป็นเมืองขึ้นเกือบทั้งหมดได้รับอิสรภาพ ประเทศเหล่านี้ จึงเริ่มการปลดแอกยึดคืนธุรกิจปิโตรเลียม โดยการจัดตั้งองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติขึ้น เริ่มต้นด้วยประเทศในลาติน อเมริกา ต่อด้วยประเทศตะวันออกกลาง อินโดนีเซีย ไนจีเรีย มาเลเซีย และการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม OPEC ทา ให้กลุ่มนี้สามารถบังคับราคาตลาดโลกได้ด้วย สอง การเปลี่ยนจากระบบสัมปทานไปเป็นระบบแบ่งปันผลผลิต ประเทศกาลังพัฒนาที่เริ่มต้นการสารวจและผลิตปิโตรเลียม เริ่มต้นโดยใช้ระบบสัมปทานเป็นสาคัญ เพราะเป็นระบบที่ผลักภาระการทางาน ภาระการลงทุน และความเสี่ยงต่างๆ ไปให้แก่เอกชน โดยประเทศ เจ้าของทรัพยากรไม่ต้องทางานเองมากนัก จึงเป็นระบบที่สะดวก แต่ประมาณสี่สิบปีก่อน ได้มีบางประเทศเปลี่ยนไปใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตบางส่วนหรือทั้งหมด และพบว่าทาให้ประเทศนั้นมีอานาจต่อรองสูงขึ้น และได้รับผลประโยชน์มากขึ้น จึงมีประเทศที่เ ปลี่ยนไปใช้ ระบบแบ่งปันผลผลิตมากขึ้นเป็น ลาดับ แต่ในระบบแบ่งปันผลผลิตนั้น ประเทศเจ้าของทรัพยากรจะได้ส่ว น แบ่งเป็นปิโตรเลียม จึง จาเป็นต้องมีการบริหารจัดการ ซึ่งทุกประเทศนั้นใช้กลไกองค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติ จึง ทาให้มีการจัดตั้งองค์กรแบบนี้มากขึ้น


Page 126

สาม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี่ในการสารวจปิโตรเลียม การที่ปิโตรเลียมเป็นวัสดุที่อยู่ลึกใต้ดินนั้น ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจนี้เมื่อร้อยปีก่อน การสารวจจึงเป็นการเก็ง กาไรที่มีความเสี่ยงสูง แลกกับผลตอบแทนสูง บริษัทที่ประสบความสาเร็จต้องอาศัยโชคอย่างมาก และในช่วงแรก ก็มี น้อยบริษัทที่ตระหนักถึงการใช้หลักวิชาการเพื่อการนี้ ดังมีประวัติของนายพอล เกตตี้ ที่ทาธุรกิจสารวจในสหรัฐและเขียน บรรยายไว้ว่า ในช่วงเริ่มต้น เขาสามารถเก็งจุดที่ควรจะขุดได้อย่างถูกต้องหลายครั้ง โดยการสังเกตรูปลักษณะ ของพื้นดิน ว่ามีลักษณะเป็นเนินนูนสูงขึ้น และจะเจาะตรงจุดสูงสุด ดังนั้น บริษัทน้ามันของเกตตี้ จึงเป็นบริษัท ในกลุ่มแรกๆ ที่จ้างนักธรณีวิทยาเข้ามาช่วยในการวิจัย แต่เมื่อเวลาผ่านมา ในช่วงสี่สิบหรือห้าสิบปีนี้ ความรู้ด้านธรณีวิทยาพัฒนาได้สูงขึ้นมาก ทาให้การ ค้นหาปิโตรเลียมซึ่งเดิมเคยเป็นเรื่องลึกลับ กลายเป็นเรื่องธรรมดา เพราะสามารถใช้ดาวเทียม และใช้วิธีขุดเจาะ หลุมเพื่อทดสอบชั้นดิน เข้ามาเป็นข้อมูลช่วยในการวิเคราะห์ ดังนั้น อานาจผูกขาดเรื่องความรู้ด้านเทคโนโลยี่ ของบริษัทจากสหรัฐและยุโรปลดลงไปอย่างมาก กลับมาในกรณีของไทย ถามว่า จาเป็นจะต้องมีการจัดตั้งองค์กรแบบนี้ขึ้นหรือไม่ เนื่องจากไทยไม่เคยเป็นเมืองขึ้น จึงไม่มีระเบียบวาระที่จะต้องปลดแอกเรื่องนี้ การพิจารณาความ จาเป็นจึงต้องคานึงถึงประเด็นต่างๆ ให้ครบวงจร งานด้านปิโตรเลียมของประเทศไทย ไทยเคยมีองค์กรแบบนี้ในรูปของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย แต่ในปี 2544 ได้มีการแปรรูปไปเป็น บมจ. ปตท. และบริษัทลูกที่ทาหน้าที่สารวจ ปตท.สผ. ก็ได้มีการขายหุ้นออกไปให้แก่เอกชนประมาณกึ่งหนึ่ง ดังนั้น ในขณะนี้ ประเทศไทยจึ งไม่มีองค์กรปิโตรเลี ยมแห่ งชาติ และที่ผ่านมาก็ไม่ มีความจาเป็น เพราะการให้สิ ทธิส ารวจและผลิต ปิโตรเลียมนั้น ใช้ระบบให้สัมปทานแบบเดียว ดังนั้น รัฐบาลได้ผลตอบแทนในรูปตัวเงิน ไม่ว่าจะเป็นค่าภาคหลวง ผลประโยชน์ส่วนเพิ่ม หรือภาษี เงินที่ได้รับจึงส่งเข้าคลังหลวงตรง ไม่จาเป็นต้องมีบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติ แต่ในอนาคต ประเทศไทยจะมีการเพิ่มทางเลือก ทั้งในระบบแบ่งปันผลผลิต และระบบจ้างผลิต ซึ่งรั ฐ จะได้ ส่ ว นแบ่ ง หรื อได้ ผ ลประโยชน์ เ ป็นปิ โ ตรเลี ยม จึ ง จาเป็น ต้ องพิ จารณาว่า วิ ธี การบริห ารจั ดการ ปิโตรเลียมทีร่ ัฐบาลไทยจะได้รับนั้น สมควรมีการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเพื่อดาเนินการหรือไม่ ในเรื่องนี้ ปลัดกระทรวงพลังงานคนปัจจุบันให้ข่าวว่าไม่จาเป็น และมีบางคนที่แสดงความเห็นคัดค้านและ แสดงความห่วงใยไว้ โดยเน้นประเด็น (ก) เกรงว่าบรรษัทฯ จะมีสิทธิพิเศษ โปร่งใสน้อยลง แทรกแซงได้ง่าย (ข) หลาย ประเทศประสบความล้มเหลว และเป็นบ่อเกิดของการคอร์รัปชั่น (ค) เป็นแนวคิดที่น่ากลัว (ง) ในบางประเทศเช่น


Page 127

เวียดนามและมาเลเซียไม่สามารถตรวจสอบได้ (ฉ) การตั้งหน่วยงานใหม่ต้องมีบุคลากรที่มีความพร้อมซึ่งต้องใช้ เวลา (ช) สิ้นเปลืองงบประมาณเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันก็ไม่มีหลักประกันว่าจะทางานสาเร็จหรือไม่ ผมคิดว่าเราต้องพิจารณาเรื่องนี้โดยไม่มีอคติเป็นที่ตั้ง และวิธีพิจารณาที่ครอบคลุมที่สุด ก็คือการ พิจารณาเนื้องานเกี่ยวกับปิโตรเลียมของประเทศไทยแต่ละด้านๆ ซึ่งมีดังนี้ (ก)

งานด้านกาหนดนโยบาย เกี่ยวกับการสารวจปิโตรเลียม

ขณะนี้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ ตามกฎหมาย พ.ศ. 2535 มีอานาจและหน้าที่เป็น ผู้พิจารณาและเสนอนโยบายเรื่องนี้ต่อคณะรัฐมนตรี สาหรับงานนี้ คปพ. มิได้เสนอให้มีการแก้ไข จึงไม่เกี่ยวกับ การจัดตั้งบรรษัทฯ แต่ผมมีความเห็นแทรกเรื่องหนึ่งว่า สมควรมีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าว เพื่อกาหนดขั้นตอน การทางานของคณะกรรมการ ที่บังคับให้มีการรับฟังความเห็นจากภาคประชาชนเป็นประจา เพื่อเปิด ช่องทางให้ ประชาชนสามารถถ่ายทอดข้อกังวลต่างๆ ให้แก่คณะกรรมการได้สะดวก และเปิดให้คณะกรรมการสามารถชี้แจง แก้ข้อกังวลของประชาชนด้วย เป็นการสื่อสารสองทาง (ข)

งานด้านการกากับและบังคับใช้กฎหมาย ในส่วนที่เกี่ยวกับปิโตรเลียม

ขณะนี้คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติยังมีอานาจในการกาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเรื่อง ราคาพลังงานอีกด้วย ซึ่งถึงแม้ร่างกฎหมายของ คปพ. มิได้เสนอเกี่ยวกับเรื่องนี้ก็ตาม แต่ในความเห็นของผม งานด้านการกาหนดราคา และรวมไปถึงการกาหนดนโยบายเกี่ยวกับกองทุนน้ามันและการอุดหนุนราคาผลิตภัณฑ์ ใดนั้ น ควรจะแยกออกเป็นคณะกรรมการชุดต่างหาก เพื่อเปิดให้มี ภาคเอกชนเข้าไปร่วมเป็นกรรมการด้ว ย เพราะการก าหนดหลั กเกณฑ์ เรื่ อ งราคานั้ น มี ผ ลกระทบต่ อ สวั ส ดิ ภ าพความเป็ น อยู่ ข องประชาชนโดยตรง จาเป็นต้องดาเนินการอย่างเป็นธรรม และป้องกันการเอื้อประโยชน์ให้แก่เอกชนบางรายเกินสมควร ส่วนงานด้านการกากับและการบังคับใช้กฎหมาย ในส่วนที่เกี่ยวกับการสารวจปิโตรเลียมนั้น ไม่ว่า จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม มาตรฐานการทางานและความปลอดภัย การนาส่งข้อมูลแก่รัฐ และการเปิดเผย ข้อมูลแก่ประชาชน การรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน ฯลฯ ถึงแม้จะมีการจัดตั้งบรรษัทฯ ขึ้นมาก็ตาม ก็ยัง สมควรให้เป็นอานาจและหน้าที่ของกระทรวงพลังงานและส่วนราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น บรรษัทฯ จึงจะ ทาหน้าที่เฉพาะเป็น operator ไม่ใช่ regulator หากจะกาหนดในกฎหมายให้บรรษัทฯ มีอานาจ ก็ควรจากัดของเขตเฉพาะการมีอานาจด้านการ กาหนดและบังคับกติกาธุรกิจต่อเอกชนที่มาทาธุรกิจกับบรรษัทฯ เท่านั้น ไม่ใช่การให้บรรษัทฯ มีอานาจในฐานะ regulator แบบเดียวกับหน่วยราชการ


Page 128

(ค)

งานด้านการเป็นคู่สัญญากับเอกชน และการปกป้องคุ้มครองสิทธิของรัฐ

งานนี้น่าจะเป็นงานที่แสดงถึงความจาเป็นต้องมีบรรษัทฯ ที่ชัดเจนที่สุด ในระบบสัมปทานนั้น กรรมสิทธิ์ในแปลงสารวจเป็นของรัฐตลอดเวลา เพียงแต่รัฐมอบอานาจให้แก่ เอกชนโดยการให้สัมปทาน ซึ่งให้สิทธิแก่เอกชนในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมตามอายุสัมปทาน โดยเอกชน ต้องจ่ายผลประโยชน์แก่รัฐตามอัตราตายตัวที่กาหนด ดังนั้น จึงไม่จาเป็นต้องมีองค์กรที่ถือกรรมสิทธิ์ในแปลง สารวจแทนรัฐ แต่ในระบบสัญญาแบ่งปั นผลผลิตนั้น รัฐจะทาสัญญากับเอกชน เพื่อให้สิทธิเอกชนในการสารวจ และผลิตปิโตรเลียม แล้วเมื่อพบปิโตรเลียมก็จะมีส่วนแบ่งให้แก่รัฐ ดังนั้น จึง จะต้องมีบุคคลหนึ่ง ซึ่งทาหน้าที่ เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิในแปลงสารวจและผลิตปิโตรเลียมแทนรัฐ และเพื่อทาหน้าที่เป็นคู่สัญญากับ เอกชนแทนรัฐ ซึ่งในกรณีปกติหน่วยงานที่จะเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินต่างๆ แทนรัฐก็คือกรมธนารักษ์ แต่กรณีนี้การใช้กรมธนารักษ์ไม่เหมาะสม เพราะหน้าที่ขององค์กรรัฐที่เป็นคู่สัญญากับเอกชนนั้น จะมีหลายอย่าง เช่น ตรวจสอบให้แน่ใ จว่าเอกชนปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา เจรจากับเอกชนกรณี ถ้าหาก จาเป็น ต้องมีการปรั บปรุ ง หรือมีการเปลี่ ยนแปลงเงื่อนไขในสั ญญา เจรจาหรือต่อสู้ กับเอกชนในขบวนการ อนุญาโตตุลาการหรือขบวนการยุติธ รรมอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เพื่อบังคับให้มีการปฏิบัติตาม สัญญา งานเหล่านี้จาเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความชานาญเฉพาะมากกว่าข้าราชการกรมธนารักษ์ ความจาเป็นที่ จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้ (ง)

งานด้านการคัดเลือกแปลง และคัดเลือกเอกชน เพื่อเปิดให้ทาการสารวจ

ที่ผ่านมา หน่วยงานที่ดาเนินการเรื่องนี้คือกระทรวงพลังงาน ในระบบสัมปทานนั้น การเปรียบเทียบระหว่างผู้ยื่นขอสัมปทาน ไม่สามารถใช้วิธีประมูล เพราะทุก รายจะจ่ายผลประโยชน์ให้แก่รัฐเท่ากัน ตามอัตราที่กาหนด กระทรวงพลังงานจึงอาศัยวิธีกาหนดให้เอกชนยื่น ปริมาณเงินลงทุนและปริมาณงานที่วางแผนจะดาเนินการมาเปรียบเทียบ โดยใช้ ดุลพินิจของข้าราชการในการให้ คะแนนข้อเสนอของเอกชนแต่ละราย ซึ่งทาให้เกิดข้อวิจารณ์ว่าสามารถลาเอียงแก่เอกชนบางรายได้ แต่ในระบบแบ่งปันผลผลิต นั้น สามารถใช้วิธีการประมูลแข่งขันกันอย่างเปิดเผย จึงไม่มีการใช้ ดุลพินิจของข้าราชการ และเนื่องจากบรรษัทฯ จะทาหน้าที่เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิในแปลงสารวจและ ผลิตปิโตรเลียมแทนรัฐ อยู่แล้ว ดังนั้น งานด้านการคัดเลือกแปลงและเอกชนเพื่อให้มีการสารวจจึงควรให้เป็น อานาจและหน้าที่ของบรรษัทฯ


Page 129

อนึ่ง การให้บรรษัทฯ เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ต่างๆ แทนรัฐนั้น ไม่ใช่การให้สิทธิพิเศษแก่บรรษัทฯ เพื่อจะ กีดกันภาคเอกชน แต่บรรษัทฯ จะทาหน้าที่เป็นผู้คัดเลือกและให้สิทธิแก่เอกชน ดังนั้น บรรษัทฯ จึงจะไม่มี อานาจผูกขาดธุรกิจใดๆ ดังที่จะมีผู้คัดค้านบางรายกล่าวอ้าง (จ)

งานด้านการบริหารปิโตรเลียม ที่รัฐได้รับเป็นส่วนแบ่ง

เนื่องจากในรัฐจะได้รับส่วนแบ่งในรูปของปิโตรเลียม ซึ่งรัฐจะมีทางเลือกในการบริหารปิโตรเลียมนี้ หลายทาง เช่น (ก) ขายในตลาดทันทีตามราคาตลาดโลก หรือ (ข) ทาสัญญาขายระยะยาว ซึ่งอาจจะทากับ ลูกค้าทั่วไป หรือกับองค์กรของเพื่อนบ้าน หรือกับประเทศที่เป็นมิตรเป็นกรณีพิเศษ หรือ (ค) นาไปใช้ในเรื่อง ใดเป็นการเฉพาะ ซึ่งการพิจารณาและเจรจาเรื่องซึ่งเป็นเชิงธุรกิจเหล่านี้ ส่วนราชการไม่ควรเป็นผู้ดาเนินการ แต่ควร ให้เป็นหน้าที่ของบรรษัทฯ โดยคานึงถึงปัจจัยต่างๆ ให้ครบถ้วน รวมไปถึงการทาให้ธุรกิจทุกชั้นไม่มีการผูกขาด โดยผู้หนึ่งผู้ใดด้วย งานด้านนี้เป็นปัจจัยหลักที่ชี้ว่าร่างกฎหมายที่กระทรวงพลังงานเสนอ ถึงแม้จะผ่านการแก้ไขโดย สานักงานกฤษฎีกาแล้ว ก็ยังมีจุดบกพร่อง เพราะร่างกฎหมายดังกล่าวไม่มีการจัดตั้งองค์กรเพื่อบริหารปิโตรเลียม ส่วนแบ่งของรัฐ แต่กลับร่างขึ้นโดยส่อเค้าว่าจะให้กรมเชื้อเพลิงฯ ทาหน้าที่เป็นคู่สัญญากับเอกชน และจะมี ใช้วิธี กาหนดให้เอกชนเป็นผู้ขายปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐ เพื่อจะนาส่งผลประโยชน์ให้แก่รัฐเป็ นตัวเงิน กระทรวง พลังงานจึงอ้างว่าสามารถดาเนินการตามนี้ได้ โดยไม่จาเป็นต้องมีองค์กรเฉพาะ แต่การกาหนดตายตัวให้เอกชนเป็นผู้ขายปิโตรเลียมส่วนแบ่งของรัฐ นั้น จะเป็นการบังคับให้รัฐบาล ต้องเลือกเฉพาะทางเลือก (ก) ข้างต้น คือการขายในตลาดทันทีตามราคาตลาดโลก แต่ จะตัดสิทธิของรัฐบาลที่ จะเลือกทางอื่นตาม (ข) และ (ค) ข้างต้น ดังนั้น จึงเป็นการร่างกฎหมายที่รอนสิทธิรัฐบาล และรอนสิทธิทั้ง รัฐบาลปัจจุบันและรัฐบาลที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผมจึงเห็นว่าการรอนสิทธิของรัฐบาลนั้น เป็นการร่างกฎหมายที่ ขัดกับเจตนาของรัฐธรรมนูญ นอกจากนี้ ถ้าหากกระทรวงพลังงานหวังจะให้ กรมเชื้อเพลิงฯ ทาหน้าที่เป็นคู่สัญญากับเอกชน ก็ น่าจะผิดหลักการแบ่งหน้าที่ระหว่างส่วนราชการ เพราะถึงแม้กรณีทั่วไป กรมเชื้อเพลิงฯ จะสามารถทาสัญญา ใดๆ กับเอกชนได้ ก็ควรจะเป็นเฉพาะเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง หรือธุรกิจเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับกรมเชื้อเพลิงฯ แต่ สั ญญาแบ่ งปั น ผลผลิ ตซึ่งเป็ น การให้ สิ ท ธิในทรั พยากรหลั ก ของประเทศ และเป็น การทาสั ญญาเพื่อให้ ได้รั บ ปิโตรเลียมส่วนแบ่งทุกวันๆ ซึ่งจะมีฐานะเป็นทรัพย์สินของประเทศ ส่วนราชการที่มีหน้าที่เป็นผู้ถือครองทรัพย์สิน ดังกล่าว ควรต้องเป็นกรมธนารักษ์ มิใช่กรมเชื้อเพลิงฯ


Page 130

แต่ทั้งกรมธนารักษ์ และกรมเชื้อเพลิงฯ ก็ไม่เหมาะสมที่จะเป็นผู้บริหารจัดการปิโตรเลียมส่วนแบ่ง ของรัฐ เพราะการทางานต้องเข้าตามกรอบของระเบียบราชการ ซึ่งไม่สอดคล้องกับความจาเป็นทางธุรกิจ จึง จาเป็นต้องมีองค์กรต่างหากเพื่อการนี้ และความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน

(ฉ)

งานด้านการเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่เป็นของรัฐ

ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม มีทรัพย์สิน 3 อย่างที่รัฐจะเป็นเจ้าของ คือ (1) ระบบขนส่งทาง ท่อและคลังปิโตรเลียม (2) อุปกรณ์และเครื่องมือที่ได้จากสัมปทานที่หมดอายุ และ (3) หุ้นที่รัฐอาจจะเข้าไป ถือร่วมกับเอกชนในการสารวจและผลิตบางแปลง ซึ่งปกติหน่วยราชการที่ถือกรรมสิทธิ์ ในทรัพย์สินเหล่านี้แทนรัฐ จะเป็นกรมธนารักษ์ แต่กรณีปิโตรเลียมนั้น อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องอาจจะต้องมีการตี ราคาโดยผู้เชี่ยวชาญเป็นระยะๆ และ จะต้องมีการแก้ไขปรับปรุง หรือลงทุนเพิ่ม หรือมีการซ่อมแซมใหญ่ในลักษณะที่เป็นการลงทุนเพิ่ม ซึ่งส่วนราชการ จะไม่มีความรู้ความชานาญที่จะบริหารงานเหล่านี้ จึงควรให้เป็นหน้าที่ของบรรษัทฯ โดยตรง ดังนั้น ความ จาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน (ช)

งานด้านบริหารเงินระหว่างที่ยังไม่ส่งเข้าคลังหลวง

เงินในระหว่างที่รัฐได้รับมาจากการขายปิโตรเลียมส่วนแบ่ง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสกุลต่างประเทศนั้น ในระหว่างที่ยังไม่นาส่งคลังหลวง จาเป็นจะต้องมีการบริหารจัดการระยะสั้นเพื่อลดความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน และนาเงินไปหาประโยชน์ช่วงสั้นๆ รวมทั้งในอนาคตรัฐบาลอาจจะต้องการให้มีการกันเงินไว้ส่วนหนึ่งเพื่อสร้าง คลังปิโตรเลียมฉุกเฉิน ภายนอกประเทศ หรือมีการทาสัญญาซื้อปิโตรเลียมล่วงหน้าระยะยาว ซึ่งจะเป็นงานที่ สลับซับซ้อนเกินกว่าที่ส่ วนราชการจะดาเนินการได้ งานลักษณะนี้ก็จาเป็นต้องให้บรรษัทฯ เป็นผู้ดาเนินการ ดังนั้น ความจาเป็นที่จะต้องมีบรรษัทฯ จึงชัดเจนมากสาหรับงานนี้อีกเช่นกัน (ซ)

งานด้านการขยายไปทาธุรกิจสารวจปิโตรเลียมในต่างประเทศ

บางประเทศสามารถใช้องค์กรปิโตรเลียมแห่งชาติในการทาธุรกิ จข้ามชาติ ออกไปนอกประเทศได้ อย่างดี ตัวอย่างเช่น บริษัทกลุ่มเพิร์ล ออยซึ่งเป็นของรัฐอาบูดาบี และสามารถข้ามเข้ามาทาธุรกิจในประเทศ ไทยได้อย่างใหญ่โต บริษัท Repsol ของสเปนซึ่งสามารถพัฒนาเทคโนโลยี่ได้ล้าหน้ากว่าทั่วไป และบริษัท ปิโตรเลียมของรัฐบาลจีนซึ่งขยายวงไปทาธุรกิจกว้างไกลถึงทวีปอัฟริกาและทวีปอเมริกาใต้


Page 131

กรณี ข องไทย ผลงานที่ ผ่ า นมาซึ่ ง กลุ่ ม บริ ษั ท ปตท. ได้ ไ ปลงทุ น ในต่ า งประเทศ ไม่ ได้ ป ระสบ ความสาเร็จมากนัก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการลงทุนในปาล์มน้ามัน หรือการสารวจในต่างประเทศห่างไกลที่ไม่ใช่ เพื่อนบ้าน เนื่องจากองค์กรเหล่านี้มิได้มีความรู้พิเศษดีเด่นกว่าประเทศอื่นๆ ดังนั้น จึงไม่ควรตั้งเป้าหมายให้ องค์กรนี้ของไทยขยายบทบาทไปเป็นธุรกิจข้ามชาติมากนัก แต่ ผ มคิ ด ว่ า ในอนาคต อาจจะมี โ อกาสที่ ไ ทยจะจั บ มื อ กั บ เพื่ อ นบ้ า น ในการส ารวจและผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มเฉพาะจุ ด ซึ่ง รั ฐ บาลไทยอาจจะจ าเป็ น ต้อ งให้ ค วามช่ว ยเหลื อ สนับ สนุน บางประการเพื่อ ให้ ก าร ดาเนินการประสบผลสาเร็จ กรณีนี้การจัดตั้งในรูปของบรรษัทฯ ซึ่งรัฐบาลเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวนั้น น่าจะทาให้ การสนับสนุนจากรัฐบาลคล่องตัวมากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลว่าจะมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นเอกชนหรือไม่ ข้อควรระวังเกี่ยวกับบรรษัทฯ ผมคิดว่ามี 2 ข้อ หนึ่ง ไม่ควรใช้บรรษัทฯ เพื่อเป็นกลไกในการอุดหนุนการใช้พลังงานของประชาชน ในข้อนี้ผมอาจจะเห็นต่างจากสมาชิก คปพ. ท่านอื่น แต่ ผมเห็นว่าประชาชนควรใช้พลังงานตาม ราคาตลาดโลก เพราะการที่รัฐบาลไปอุดหนุนนั้น นอกจากจะทาให้การใช้ไม่ประหยัดเท่าที่ควรแล้ว ยังเป็นการ นาเงินของส่วนรวมไปช่วยเหลือเฉพาะกลุ่มที่ใช้พลังงาน ทั้งนี้ ถึงแม้จะสามารถกล่าวได้ว่าค่าใช้จ่ายพลังงานกระทบฐานะความเป็นอยู่ ของประชาชนอย่าง กว้างขวาง แต่ในเชิงเศรษฐศาสตร์ กลุ่มที่ได้ประโยชน์จะเป็นกลุ่มที่ใช้พลังงาน ยิ่งใช้มากยิ่งได้ประโยชน์มากก็ตาม แต่ก็มิใช่ประชาชนทั้งประเทศในจานวนที่เท่าเทียมกัน ดังนั้น ในทางเศรษฐศาสตร์จึงควรขายพลังงานตามราคา ตลาดโลก ซึ่งจะทาให้บรรษัทฯ มีกาไร แล้วจึงนากาไรดังกล่าวมาใช้ในโครงการที่ก่อประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป หรือรัฐอาจจะช่วยเหลือเป็นเงิน หรือเป็นสวัสดิการ ให้เฉพาะแก่ผู้มีรายได้น้อยที่ไม่สามารถควักกระเป๋าจ่ายค่า พลังงานได้เต็มที่ สอง ต้องมีการป้องปรามทุจริตคอร์รัปชั่นและการแทรกแซงจากภาคการเมืองเพื่อหาประโยชน์ส่วน ตน ดังนั้น การจัดตั้งบรรษัทฯ จึงจาเป็นต้องกระทาด้วยวิธีการออกเป็นกฎหมาย เพื่อบัญญัติ ทั้งอานาจ หน้าที่ และความรับผิดเพื่อการลงโทษทางกฎหมายไว้อย่างชัดเจน ทั้งของตัวองค์กรและของตัวผู้บริหาร นอกจากอานาจและหน้าที่แล้ว โครงสร้างคณะกรรมการของบรรษัทฯ ก็ควรมีการถ่วงดุล ซึ่ง คปพ. ได้เสนอให้มีตัวแทนจากภาคประชาสังคมหลายๆ ด้านร่วมเป็นกรรมการด้วย รวมทั้งมีผู้แทนจากสภาอุตสาหกรรม หอการค้า สมาคมธนาคารไทย และมีข้อกาหนดเรื่องการตรวจสอบทั้งภายในและภายนอก การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะก็จะต้องมีการกาหนดบังคับ ให้ เป็นไปตาม international best practice ซึ่งจะต้องสูงกว่ามาตรฐานของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ด้วยซ้า ตลอดจนบทบัญญัติในการ กาหนดลงโทษผู้ที่กระทาความผิดต่างๆ ที่เข้มงวดกว่าบริษัทเอกชนทั่วไปอีกด้วย


Page 132

กล่าวโดยสรุป ผมจึงเห็นว่าการนาระบบแบ่งปันผลผลิตและระบบจ้างผลิตมาใช้นั้น ทาให้ขบวนการ ทางานเรื่องปิโตรเลียมในประเทศไทยจาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง และเมื่อคานึงถึงเนื้องานที่เกี่ยวข้องแต่ละด้าน แล้ว จะเห็นว่าการจัดตั้งบรรษัทปิโตรเลียมแห่งชาติเป็นสิ่งที่จาเป็น และร่างข้อเสนอการจัดตั้งตามที่ คปพ. ได้ยก ร่างกฎหมายไว้ ก็เป็ นทางเลือกที่เหมาะสมอย่างมากทางหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะยังมีบางจุดที่อาจจะสามารถแก้ไข ปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อีกก็ตาม

ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เดือนกรกฎาคม 2558


Page 133

ร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ.....

จัดทาและเสนอร่างโดยกระทรวงพลังงาน


Page 134

ร่ าง พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม ฉบับกระทรวงพลังงาน

พระราชบัญญัตภิ าษีเงินได้ ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. ... ภูมพ ิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ ไว้ ณ วันที่ .................................................. เป็ นปี ที่ ................... ในรั ชกาลปั จจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็ นการสมควรแก้ ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้ วยภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติขึ ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของ ................. ดังต่อไปนี ้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี ้เรี ยกว่า “พระราชบัญญัติภาษีปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. ...” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติให้ ใช้ บงั คับตั ้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็ นต้ นไป มาตรา ๓ คาในที่ใดในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม ที่ใช้ คาว่า “สัมปทาน” ให้ ใช้ คาว่า “สัญญาเพื่อสิทธิสารวจและผลิตปิ โตรเลียม” แทน มาตรา ๔ ให้ นาบทบัญญัติในหมวด ๗ ตรี แห่งพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึง่ แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๑ มาใช้ บงั คับแก่บริ ษัทซึง่ ได้ ทาสัญญาแบ่งปั นผลผลิตตามหมวด ๓ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึง่ แก้ ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... โดยอนุโลม ยกเว้ นมาตรา ๖๕ โสฬส ให้ ใช้ ความต่อไปนี ้ แทน


Page 135

“บริ ษัทมีหน้ าที่เสียภาษีเงินได้ เป็ นรายรอบระยะเวลาบัญชีในอัตราร้ อยละยี่สิบของกาไรสุทธิที่ได้ จาก กิจการปิ โตรเลียม” คาในที่ใดที่กล่าวถึง “องค์กรร่ วม” ให้ หมายถึง “กระทรวงพลังงาน” คาใดที่กล่าวถึง “พื ้นที่พฒ ั นา ร่ วม” ให้ หมายถึง “แปลงสารวจที่กาหนดไว้ ในสัญญาแบ่งปั นผลผลิต” คาใดที่กล่าวถึง “สัญญาแบ่งปั น ผลผลิต” ให้ หมายถึง “สัญญาแบ่งปั นผลผลิตที่ออกตามพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ...” มาตรา ๕ ให้ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ


Page 136

ร่างฯ ที่ สคก. ตรวจพิจารณาแล้ว เรื่องเสร็จที่ ๑๑๐๕ - ๑๑๐๖/๒๕๕๘ บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... หลักการ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้การสารวจหรือผลิตปิโตรเลียมต้องได้รับสัมปทานหรือได้รับสัญญาแบ่งปัน ผลผลิต (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง) (๒) เพิ่มบทบัญญัติเกี่ยวกับสัญญาแบ่งปันผลผลิต (เพิ่มหมวด ๓/๑ สัญญาแบ่งปัน ผลผลิต มาตรา ๕๓/๑ มาตรา ๕๓/๒ มาตรา ๕๓/๓ มาตรา ๕๓/๔ มาตรา ๕๓/๕ มาตรา ๕๓/๖ มาตรา ๕๓/๗ และมาตรา ๕๓/๘) เหตุผล เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปด้านพลังงานในการสร้างเสถียรภาพ และความมั่นคงทางด้านพลังงาน สมควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อกาหนดให้การให้สิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียมมีทางเลือกอีกทางหนึ่งให้รัฐสามารถพิจารณา นาระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตมาใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรปิโตรเลียมนอกเหนือไปจาก การพิจารณาให้สัมปทานปิโตรเลียมภายใต้กฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบัน จึงจาเป็นต้อง ตราพระราชบัญญัตินี้


Page 137

ร่าง พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... .......................................... .......................................... .......................................... ......................................................................................................................................... ............................................ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ......................................................................................................................................... ............................................ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๓ ปิโตรเลียมเป็นของรัฐ ผู้ใดสารวจหรือผลิตปิโตรเลียมในที่ใด ไม่ว่าที่นั้นเป็นของตนเองหรือบุคคลอื่น ต้องได้รับสัมปทานหรือได้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต ทั้งนี้ การขอและการได้รับสิทธิเป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตให้เป็นไปตามหมวด ๓/๑ สัญญาแบ่งปันผลผลิต” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๓/๑ สัญญาแบ่งปันผลผลิต มาตรา ๕๓/๑ มาตรา ๕๓/๒ มาตรา ๕๓/๓ มาตรา ๕๓/๔ มาตรา ๕๓/๕ มาตรา ๕๓/๖ มาตรา ๕๓/๗ และ มาตรา ๕๓/๘ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔


Page 138 ๒ “หมวด ๓/๑ สัญญาแบ่งปันผลผลิต มาตรา ๕๓/๑ ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับแก่ผู้ได้สิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียม ซึ่งเป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต ให้นาบทบัญญัติในหมวด ๑ ถึงหมวด ๖ และหมวด ๘ แห่งพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับแก่ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตตามวรรคหนึ่งได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในหมวดนี้ เว้นแต่มาตรา ๖ มาตรา ๒๒ (๔) (๕) (๙) (๑๐) (๑๓) (๑๔) (๑๕) และ (๑๖) มาตรา ๓๐ วรรคสอง มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๕ มาตรา ๔๖ มาตรา ๕๒ ทวิ มาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๙ มิให้นามาใช้บังคับ ที่ใดตามวรรคสองทีบ่ ัญญัติถึง “สัมปทาน” “ผู้รับสัมปทาน” “ผู้ขอสัมปทาน” “ให้สัมปทาน” “โอนสัมปทาน” และ “เพิกถอนสัมปทาน” ให้หมายถึง “สัญญาแบ่งปันผลผลิต” “ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต” “ผู้ขอสิทธิเป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต” “ให้สิทธิเป็นผู้รับสัญญา แบ่งปันผลผลิต” “โอนสิทธิเป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต” และ “เพิกถอนสิทธิเป็นผู้รับสัญญา แบ่งปันผลผลิต” ตามลาดับ มาตรา ๕๓/๒ ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจพิจารณา กาหนดให้แปลงสารวจใดสมควรที่จะดาเนินการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในรูปแบบของสัญญา แบ่งปันผลผลิตตามความในหมวดนี้ การขอและการได้รับสิทธิเป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๓/๓ ให้รัฐมนตรีโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอานาจลงนามในสัญญาแบ่งปัน ผลผลิตกับผู้ได้รับสิทธิเป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตตามมาตรา ๕๓/๒ วรรคสอง แบบสัญญาแบ่งปันผลผลิตให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๓/๔ สัญญาแบ่งปันผลผลิตต้องมีข้อกาหนดและเงื่อนไขดังต่อไปนี้ด้วย (๑) ให้บรรดาค่าใช้จ่ายทั้งปวงในการประกอบกิจการปิโตรเลียมตกเป็นภาระของ ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตและให้หักจากผลผลิตได้ตาม (๒) (๒) ข้อกาหนดเกี่ยวกับการแบ่งปันผลผลิตดังต่อไปนี้ (ก) ให้ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตหักค่าใช้จ่ายสาหรับการประกอบกิจการ ปิโตรเลียมในแต่ละปีได้เฉพาะรายจ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามแผนงานและงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ จากอธิบดีตามมาตรา ๕๓/๕ แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละห้าสิบของผลผลิตรวมของปิโตรเลียม (ข) ค่าใช้จ่ายสาหรับการประกอบกิจการปิโตรเลียม หากเกินร้อยละห้าสิบของ ผลผลิตรวมของปิโตรเลียมในปีใด ให้สามารถนาส่วนที่เกินไปใช้หักในปีต่อ ๆ ไปได้ แต่ต้องไม่เกิน อัตราตาม (ก) (ค) ส่วนที่เหลือของผลผลิตรวมของปิโตรเลียมหลังจากหักค่าภาคหลวงและ หักตาม (ก) แล้ว ให้แบ่งแก่ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตไม่เกินร้อยละห้าสิบ


Page 139 ๓ (๓) จานวนเงินขั้นต่าที่ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตต้องใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการ ประกอบกิจการปิโตรเลียมตามสัญญาแบ่งปันผลผลิต (๔) การกาหนดและการปฏิบัติตามข้อผูกพันทั้งในด้านปริมาณเงินและปริมาณงาน สาหรับการสารวจและผลิตปิโตรเลียม การจ่ายเงินกรณีผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตยังปฏิบัติตาม ข้อผูกพันไม่ครบสาหรับการสารวจในแปลงสารวจ และหลักเกณฑ์และวิธีการสารวจและผลิต ปิโตรเลียมอื่นใดที่มิได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตนิ ี้ (๕) ข้อตกลงเกี่ยวกับการขายหรือจาหน่ายปิโตรเลียมที่ผลิตได้ (๖) เงื่อนไขหรือมาตรการบังคับให้ปฏิบัติตามสัญญาแบ่งปันผลผลิต และการกาหนด ค่าปรับในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามสัญญาแบ่งปันผลผลิต (๗) เหตุในการเลิกสัญญาแบ่งปันผลผลิต มาตรา ๕๓/๕ เมื่อมีการลงนามในสัญญาแบ่งปันผลผลิตแล้ว ผู้รับสัญญาแบ่งปัน ผลผลิตต้องเสนอแผนงานและงบประมาณสาหรับกิจการปิโตรเลียมในปีที่หนึ่งเพื่อให้อธิบดีโดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการพิจารณาอนุมัติก่อนเริ่มกิจการปิโตรเลียม และเมื่อได้รับอนุมัติแล้ว ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตต้องเริ่มกิจการปิโตรเลียมเกี่ยวกับการสารวจภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับอนุมัติ ภายในเดือนกันยายนของทุกปี ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตต้องเสนอแผนงานและ งบประมาณสาหรับกิจการปิโตรเลียมในปีปฏิทินถัดไป ให้อธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ พิจารณาอนุมัติก่อนเริ่มกิจการปิโตรเลียมทุก ๆ ปี ค่าใช้จ่ายตามแผนงานและงบประมาณสาหรับกิจการปิโตรเลียมในปีใด หากยังไม่ได้ รับอนุมัติตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หรือได้รับอนุมัติแล้วแต่ไม่ได้นาไปใช้จ่ายจริง ผู้รับสัญญา แบ่งปันผลผลิตจะนามาใช้ในการหักค่าใช้จ่ายตามมาตรา ๕๓/๔ (๒) (ก) หรือ (ข) ไม่ได้ รายละเอียดของแผนงานและงบประมาณสาหรับกิจการปิโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง และวรรคสอง หลักเกณฑ์และระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติ รวมทั้งการแก้ไขแผนงานและ งบประมาณที่ได้รับอนุมัติแล้วในระหว่างปี ให้เป็นไปตามที่อธิบดีประกาศกาหนด มาตรา ๕๓/๖ บรรดาสิ่งปลูกสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ ทรัพย์สิน และสิ่งอานวย ความสะดวกในการประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตมีกรรมสิทธิ์อันเกิดจากการ ใช้งบประมาณที่ได้รับอนุมัติจากอธิบดีตามมาตรา ๕๓/๕ ให้ตกเป็นของรัฐ และผู้รับสัญญาแบ่งปัน ผลผลิตสามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายหรือค่าตอบแทน โดยผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตมีหน้าที่ รับผิดชอบในการบารุงรักษา ต่อเติม ซ่อมแซม และเอาประกันภัย สิ่งปลูกสร้าง วัสดุ อุปกรณ์ ทรัพย์สิน และสิ่งอานวยความสะดวกในการประกอบกิจการปิโตรเลียม มาตรา ๕๓/๗ ให้ผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตเป็นผู้นาส่งค่าภาคหลวงแก่รัฐ โดยให้หักจากผลผลิตรวมของปิโตรเลียมในอัตราร้อยละสิบ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่กาหนดในกฎกระทรวง


Page 140 ๔ มาตรา ๕๓/๘ ข้อพิพาทหรือข้อขัดแย้งใด ๆ ซึ่งเกิดจากหรือเกี่ยวเนื่องกับสัญญา แบ่งปันผลผลิต ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ ให้ดาเนินการระงับโดยวิธีการเช่นเดียวกันกับการระงับ ข้อพิพาทที่เกี่ยวกับสัมปทานตามมาตรา ๕๓ วรรคหนึ่ง และให้นาความในมาตรา ๕๓ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ .......................................... นายกรัฐมนตรี


Page 141

ร่างฯ ที่ สคก. ตรวจพิจารณาแล้ว เรื่องเสร็จที่ ๑๑๐๕ - ๑๑๐๖/๒๕๕๘ บันทึกหลักการและเหตุผล ประกอบร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... หลักการ แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อกาหนด ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเพิ่มขึ้น และกาหนดอัตราและหลักเกณฑ์ในการคานวณภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม ในระบบการทาสัญญาแบ่งปันผลผลิตตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม (เพิ่มหมวด ๗ จัตวา บทบัญญัติเฉพาะสัญญาแบ่งปันผลผลิต มาตรา ๖๕ ทวาวีสติ มาตรา ๖๕ เตวีสติ มาตรา ๖๕ จตุวีสติ มาตรา ๖๕ ปัญจวีสติ และมาตรา ๖๕ ฉัพพีสติ) เหตุผล ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อเพิ่มระบบ สัญญาแบ่งปันผลผลิตเป็นอีกระบบหนึ่งในการแสวงหาประโยชน์ในการสารวจและผลิตปิโตรเลียม นอกเหนือจากระบบการให้สัมปทาน สมควรกาหนดอัตราและหลักเกณฑ์ในการคานวณภาษีเงินได้ ปิโตรเลียมให้สอดคล้องกับลักษณะการดาเนินการของระบบสัญญาแบ่งปันผลผลิต จึงจาเป็นต้อง ตราพระราชบัญญัตินี้


Page 142

ร่าง พระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... .......................................... .......................................... .......................................... ......................................................................................................................................... ........................................... โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ......................................................................................................................................... ........................................... มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๗ จัตวา บทบัญญัติเฉพาะสัญญา แบ่งปันผลผลิต มาตรา ๖๕ ทวาวีสติ มาตรา ๖๕ เตวีสติ มาตรา ๖๕ จตุวีสติ มาตรา ๖๕ ปัญจวีสติ และมาตรา ๖๕ ฉัพพีสติ แห่งพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ “หมวด ๗ จัตวา บทบัญญัติเฉพาะสัญญาแบ่งปันผลผลิต มาตรา ๖๕ ทวาวีสติ ให้นาบทบัญญัติในหมวด ๗ ตรี บทบัญญัติเฉพาะเขตพื้นที่ พัฒนาร่วม แห่งพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับแก่บริษัทตามมาตรา ๖๕ เตวีสติ เว้นแต่ (๑) บทนิยามคาว่า “ปิโตรเลียม” “บริษัท” และ “สัญญาแบ่งปันผลผลิต” ในมาตรา ๖๕ ปัณรส ให้นาบทนิยามของคาเหล่านั้นในมาตรา ๖๕ เตวีสติ มาใช้บังคับแทน (๒) ความในมาตรา ๖๕ โสฬส มาตรา ๖๕ สัตตรส และมาตรา ๖๕ เอกวีสติ (๑๔) ให้นาความในมาตรา ๖๕ จตุวีสติ มาตรา ๖๕ ปัญจวีสติ และมาตรา ๖๕ ฉัพพีสติ มาใช้บังคับแทน ตามลาดับ


Page 143 ๒ ให้นาบทบัญญัติในหมวด ๑ ถึงหมวด ๗ และหมวด ๘ แห่งพระราชบัญญัตินี้ มาใช้บังคับแก่บริษัทตามมาตรา ๖๕ เตวีสติ ได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในหมวดนี้ และที่ใดบัญญัติถึง “สัมปทาน” ให้หมายถึง “สัญญาแบ่งปันผลผลิต” ตามหมวดนี้ มาตรา ๖๕ เตวีสติ ในหมวดนี้ “ปิโตรเลียม” หมายความว่า ปิโตรเลียมที่ผลิตในราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม “บริษัท” หมายความว่า บริษัทตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่ง (๑) เป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตหรือมีส่วนได้เสียร่วมกันในสัญญาแบ่งปันผลผลิต หรือ (๒) ซื้อน้ามันดิบที่บริษัทตาม (๑) เป็นผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นน้ามันดิบส่วนที่เป็น ของรัฐ หรือน้ามันดิบส่วนใด ๆ ที่เป็นของผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต เพื่อส่งน้ามันดิบนั้นทั้งหมด ออกนอกราชอาณาจักร “สัญญาแบ่งปันผลผลิต” หมายความว่า สัญญาแบ่งปันผลผลิตตามกฎหมาย ว่าด้วยปิโตรเลียม มาตรา ๖๕ จตุวีสติ ให้บริษัทมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้เป็นรายรอบระยะเวลาบัญชี ในอัตราร้อยละยี่สิบของกาไรสุทธิที่ได้จากกิจการปิโตรเลียม มาตรา ๖๕ ปัญจวีสติ ในกรณีที่มีการโอนกิจการปิโตรเลียม ถ้าบริษัทผู้รับโอน จ่ายเงินได้ที่เป็นเงินค่าสิทธิ เงินปี หรือเงินได้ประจาเนื่องจากการโอนนั้น โดยเงินดังกล่าวไม่อาจ กาหนดจานวนทั้งสิ้นได้แน่นอน ให้บุคคลซึ่งได้รับเงินได้นนั้ มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ ในอัตราร้อยละยี่สิบ ของเงินได้หลังจากหักต้นทุนตามมาตรา ๓๓ แล้ว มาตรา ๖๕ ฉัพพีสติ ในกรณีที่บริษัทเป็นผู้ได้รับสัมปทานหรือผู้ได้รับสัญญา แบ่งปันผลผลิต แล้วแต่กรณี สาหรับแปลงสารวจหลายแปลง โดยแปลงสารวจบางแปลงอยู่ภายใต้ บังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๑ หรือบางแปลงอยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๑ ให้บริษัทดังกล่าวคานวณรายได้ รายจ่าย และกาไรสุทธิ สาหรับแปลงสารวจ ที่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัตินั้น ๆ และแปลงสารวจที่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสมือนหนึ่งเป็นบริษัทแยกต่างหากจากกัน การคานวณรายได้และรายจ่ายสาหรับแปลงสารวจตามวรรคหนึ่ง ถ้ารายได้ และรายจ่ายรายการใดไม่สามารถแยกกันได้อย่างชัดแจ้ง ให้เฉลี่ยรายได้และรายจ่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง” ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ .......................................... นายกรัฐมนตรี


Page 144

ร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... จัดทาโดย เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 145

-ร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ............................................. ............................................. ............................................. ..................................................................................................................... ................................ โดยที่เป็นการสมควรให้มีกฎหมายว่าด้วยการประกอบกิจการปิโตรเลียม ..................................................................................................................... ................................ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. ....” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น ไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก (๑) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ (๒) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ (๓) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ (๔) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ (๕) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๔ (๖) พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “กิจ การปิโ ตรเลีย ม” หมายความว่ า การส ารวจ ผลิ ต เก็ บ รั กษา ขนส่ ง ขาย หรื อจ าหน่ า ย ปิโตรเลียม “ปิโตรเลียม” หมายความว่า น้ามันดิบ แร่ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลวสารพลอยได้ หรือ สารไฮโดรคาร์บอนอื่ นๆ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรืออยู่ในสภาพอิสระไม่ว่าจะมีลักษณะเป็นของแข็ง ของหนืด ของเหลว หรือก๊าซ และให้หมายความรวมถึงบรรดาไฮโดรคาร์บอนหนักที่อาจนาขึ้นมาจากแหล่งโดยตรง โดยใช้ ความร้อนหรือกรรมวิธีทางเคมี หรือสารผลพลอยได้อื่นในตระกูลเดียวกันและน้ามันปิโตรเลี ยม ณ ท่อปากหลุม รวมทั้งหินเชลบิทูมินาส และชั้นของแหล่งสารองที่อาจสกัดน้ามันออกมาได้ และให้หมายความรวมถึง ถ่านหิน หิน น้ามัน หรือหินอื่นที่สามารถนามากลั่นเพื่อแยกเอาน้ามันด้วยการใช้ความร้อนหรือกรรมวิธีทางเคมี “น้ามันดิบ” หมายความว่า น้ามันแร่ดิบ แอสฟัลท์ โอโซเคอไรท์ ไฮโดรคาร์บอนและบิทูเมนทุก ชนิดที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไม่ว่าในสภาพของแข็ง ของหนืด หรือของเหลว เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 146

“สารวจ” หมายความว่า ดาเนินการค้นหาปิโตรเลียมตามมาตรฐานโดยใช้วิธีการทางธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์ และอื่น ๆ และให้หมายความรวมถึงการเจาะเพื่อทดสอบชั้นหินเพื่อให้ ทราบว่ามีปิโตรเลียมอยู่หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด เพื่อกาหนดวงเขตแหล่ง สะสมปิโตรเลียม หรือเพื่อให้ไ ด้ข้อมูลอื่น ๆ อันเป็นสาระสาคัญ ที่ จาเป็นแก่การผลิตปิโตรเลียมด้วย “ผลิต” หมายความว่า ดาเนินการใด ๆ เพื่อนาปิโตรเลียมขึ้นจากแหล่งสะสม และให้หมายความ รวมถึง ใช้กรรมวิธีใ ด ๆ เพื่อทาให้ปิโตรเลียมอยู่ในสภาพที่จ ะขาย หรือจ าหน่ายได้ แต่ ไ ม่หมายความถึง กลั่ น ประกอบอุตสาหกรรมเคมีปิโตรเลียม ประกอบอุตสาหกรรมโรงแยกก๊าซ โรงทาก๊าซให้เป็นของเหลวหรือโรงอัดก๊าซ “เก็บรักษา” หมายความว่าดาเนินการใด ๆ เพื่อรวมและรักษาปิโตรเลียมที่ ผู้รับสิทธิประกอบ กิจการปิโตรเลียมจากรัฐผลิตได้ “ขนส่ง” หมายความว่า ดาเนินการใด ๆ เพื่อนาปิโตรเลียมที่ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียม จากรัฐผลิตได้จากแหล่งผลิตไปยังสถานที่เก็บรักษา สถานที่ขายหรือจาหน่าย สถานที่รับซื้อ และสถานที่ส่งออก นอกราชอาณาจักร และให้หมายความรวมถึงขนส่งปิโตรเลียมนั้นระหว่างสถานที่ดังกล่าวด้วย “ขาย” หมายความรวมถึง แลกเปลี่ยนและโอนโดยมีค่าตอบแทนด้วย “จาหน่าย”หมายความว่า (๑) ส่งน้ามันดิบไปยังโรงกลั่นน้ามันหรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อการกลั่นน้ามันไม่ว่าโรงกลั่นน้ามัน หรือสถานที่เก็บรักษาจะเป็นของผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐหรือไม่ (๒) ส่งก๊าซธรรมชาติไปยังโรงแยกก๊าซ โรงทาก๊าซให้เป็นของเหลว โรงอัดก๊าซ หรือสถานที่เก็บ รักษาเพื่อกิจการดังกล่าว ไม่ว่าโรงแยกก๊าซ โรงทาก๊าซให้เป็นของเหลว โรงอัดก๊าซ หรือสถานที่เก็บรักษาดังกล่าว จะเป็นของผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐหรือไม่ (๓) นาปิโตรเลียมไปใช้ในกิจการใด ๆ ของผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐ หรือของ ผู้อื่นโดยไม่มีการขาย หรือ (๔) โอนปิโตรเลียมโดยไม่มีค่าตอบแทน “ราคาตลาด” หมายความว่า ราคาในตลาดเปิดเผย หากไม่มีราคาดังกล่าว หมายความว่า ราคาที่ พึงคิดกันระหว่างบุคคลซึ่งเป็นอิสระต่อกันโดยไม่มีความสัมพันธ์ในด้านทุนหรือการจัดการ “แปลงสารวจ” หมายความว่า เขตพื้นที่ที่กาหนดขึ้นสาหรับการสารวจปิโตรเลียม “พื้นที่ผลิต” หมายความว่า เขตพื้นที่ที่กาหนดขึ้นสาหรับการผลิตปิโตรเลียม “ราชอาณาจั ก ร” หมายความว่ า ดิ น แดนอั น ประกอบด้ ว ยผื น ดิ น ผื น น้ า หรื อ อากาศ ของ ราชอาณาจักรไทย และให้หมายความรวมถึง ดินแดนหรือพื้นที่ที่ประเทศไทยได้อ้างสิทธิอธิปไตยเหนือดินแดนหรือ พื้นที่ดังกล่าว และเขตไหล่ทวีปที่เป็นสิทธิของประเทศไทยตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่ยอมรับนับถือกัน โดยทั่วไปและตามสัญญากับต่างประเทศด้วย “บริษัท” หมายความว่า บริษัทจากัด และนิติบุคคลที่มีสภาพเช่นเดียวกับบริษัทจากัด ซึ่งตั้งขึ้น ตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 147

“ผู้ ส ารวจ” หมายความว่ า ผู้ ด าเนิ น การค้ น หาปิ โ ตรเลี ย มตามมาตรฐานโดยใช้ วิ ธี ก ารทาง ธรณีวิทยา ธรณีฟิสิกส์ และอื่น ๆ และให้หมายความรวมถึงการเจาะเพื่อทดสอบชั้นหินเพื่อให้ทราบว่ามีปิโตรเลียม อยู่ห รือ ไม่ และมากน้อ ยเพีย งใด เพื่ อก าหนดวงเขตแหล่ ง สะสมปิ โตรเลีย ม หรื อเพื่อ ให้ ไ ด้ ข้อ มูล อื่น ๆ อัน เป็ น สาระสาคัญที่จาเป็นแก่การผลิตปิโตรเลียมด้วย “ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐ” หมายความว่า ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ได้รับ สิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมจากรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการได้รับสิทธิในการสารวจและผลิต หรือได้รับสิทธิจากสัญญา แบ่งปันผลผลิต หรือได้รับสิทธิจากสัญญาจ้างผลิตปิโตรเลียม “ผู้รับสัมปทาน” หมายความว่า ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐด้วยการสารวจและ ผลิต “ผู้รับสัญญา” หมายความว่า ผู้ รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐด้วยสัญญาการผลิต ปิโตรเลียม และแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมที่ได้ให้แก่รัฐ “ผู้รับจ้างผลิต” หมายความว่า ผู้ดาเนินการผลิตปิโตรเลียมตามสัญญารับจ้างผลิต “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการกากับการประกอบกิจการปิโตรเลียม “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๕ พระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ ห้ ใ ช้ บั ง คั บ แก่ ก ารประกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม ที่ ก ระท าใน ราชอาณาจักร มาตรา ๖ พระราชบัญ ญัตินี้ ไ ม่ ใช้ บัง คั บแก่กระทรวง ทบวง กรม ที่มี หน้ าที่เ กี่ย วกับ กิจ การ ปิโ ตรเลี ย ม แต่ถ้ า กระทรวง ทบวง กรม หรื อองค์ กรของรั ฐ ท าการผลิต ปิ โ ตรเลีย มจากแหล่ง ปิ โตรเลีย มที่ มี สมรรถนะเชิงพาณิชย์ ให้นาบทบัญญัติหมวด ๕ ว่าด้วยค่าภาคหลวงมาใช้บังคับ มาตรา ๗ การกระทาใดอันเป็นการเปลี่ยนแปลง แก้ไขเพิ่มเติม หรือเพื่อยกเลิกพระราชบัญญัติ นี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากประชาชนด้วยการออกเสียงประชามติ มาตรา ๘ ห้ามมิให้ผู้ใดทาลาย ดัดแปลง เคลื่อนย้าย ถอน หรือทาให้หลุดซึ่งเครื่องหมายกาหนด เขตแปลงสารวจหรือพื้นที่ผลิต หรือเครื่องหมายหลักฐานการแผนที่ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นามาติดตั้ง ปัก หรือฝัง ไว้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ในกรณี ที่เ ป็ นพื้ น ที่ ที่ ป ระเทศไทยอ้ างสิ ทธิ อ ธิป ไตยเหนื อพื้ น ที่ดั ง กล่ า ว นอกจากได้รั บ ความ เห็นชอบตามวรรคหนึ่งแล้วต้องเสนอต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาด้วย เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 148

มาตรา ๙ หนังสือหรือคาสั่งที่มีถึงบุคคลใดเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นาไปส่งใน เวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทาการของผู้รับ หรือส่งโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ถ้าไม่สามารถจะส่งตามวิธีดังกล่าวในวรรคหนึ่งด้วยเหตุใด ๆ ให้ส่งโดยวิธีปิดหนังสือหรือคาสั่งไว้ ณ ที่เห็นได้ง่ายที่ประตูบ้าน สานักงาน ภูมิลาเนา หรือถิ่นที่อยู่ของผู้รับ หรือจะส่งโดยวิธีย่อความในหนังสือหรือ คาสั่งนั้นลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ก็ได้ เมื่อได้ส่งตามวิธีดังกล่าวในวรรคสองและเวลาได้ล่วงพ้นไปเจ็ดวันแล้ว ให้ถือว่าบุคคลนั้นได้รับ หนังสือหรือคาสั่งนั้นแล้ว มาตรา ๑๐ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้อธิบดีหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจดังต่อไปนี้ (๑) เข้าไปในบริเวณที่ที่ป ระกอบกิจการปิโตรเลียมและสถานที่ท าการของผู้ป ระกอบกิจการ ปิโตรเลียมได้ตลอดเวลาเพื่อตรวจกิจการปิโตรเลียมให้เป็นไปตามสัญญาและตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) สั่งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐ งดเว้นการปฏิบัติใด ๆ ซึ่งอาจก่อให้ เกิด อันตรายแก่บุคคล สิ่งแวดล้อม หรือทรัพย์สินของรัฐและของผู้อื่น (๓) นาปิ โ ตรเลี ยม หิ น ดิ น ทรายและสิ่ง ที่ ไ ด้จ ากการส ารวจหรื อ ผลิต ปิ โ ตรเลี ยมในปริ ม าณ พอสมควรไปเป็นตัวอย่างเพื่อตรวจสอบ ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งของอธิบดีหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งสั่งตาม (๒) ต่อคณะกรรมการภายในเจ็ดวันนับแต่วันได้รับคาสั่ง คาสั่งของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด การอุทธรณ์คาสั่งของอธิบดีหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคสองไม่เป็นเหตุทุเลาการปฏิบัติตาม คาสั่ง เว้นแต่คณะกรรมการเห็นสมควรให้ทุเลาการปฏิบัติตามคาสั่งนั้น มาตรา ๑๑ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องมีบัตรประจาตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ตามแบบที่กาหนดใน กฎกระทรวง ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจาตัวพนักงาน เจ้าหน้าที่ต่อบุคคลซึ่งเกี่ยวข้อง มาตรา ๑๒ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 149

หมวด ๑ การควบคุมและกากับกิจการปิโตรเลียม __________ ส่วนที่ ๑ หลักการทั่วไป __________ มาตรา ๑๔ ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นสมบัติของชาติและปวงชนชาวไทย การสารวจ การแสวงหา การผลิต และการประกอบกิจการปิโตรเลียมจากทรัพยากรปิโตรเลียมให้ กระทาได้ ภายใต้หลักการบริหารจัดการที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ของชาติและประชาชน โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วม ของประชาชนอย่างสูงสุด มาตรา ๑๕ การสารวจ การผลิต และการประกอบกิจการปิโตรเลียมจากทรัพยากรปิโตรเลียมไม่ ว่าที่นั้นจะเป็นของตนเองหรือของบุคคลอื่นให้กระทาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ โดย ต้องยึดถือหลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและชุมชนอย่างแท้จริง การมีส่วนร่วมของประชาชน และชุมชน สวัสดิภาพ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพที่ดีของประชาชน การรักษาคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอื่น ก่อนการดาเนินการสารวจ หรือผลิต เพื่อแสวงหาทรัพยากรปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ ต้อง ได้ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น อย่ า งแท้ จ ริ ง จากประชาชนและชุ ม ชนผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย โดยตรงรวมถึ ง ผู้ เ ชี่ ย วชาญ หรื อ นักวิชาการที่ประชาชนหรือชุมชนผู้ได้รับผลเสียหายให้ความเห็นชอบ ในการสารวจเพื่อแสวงหาหรือผลิตทรัพยากร ปิโตรเลียม การรับฟังความคิดเห็นดังกล่าว อธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการต้องแสดงอาณาเขต พื้นที่ วิธีการสารวจ ผลกระทบที่คาดว่าจะได้จากการสารวจ การผลิต และการแสวงหาทรัพยากรปิโตรเลียมที่จะเกิ ดขึ้น อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ วิธีการพร้อมทั้งมาตรการที่จะเยียวยาและแก้ไขผลเสียหายอันเกิดขึ้นจากการสารวจ หรือผลิต ให้ผู้ได้รับสิทธิในการสารวจ การแสวงหา และการผลิตทรัพยากรปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องจัดทารายงานผลกระทบคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่อย่างน้อยต้องมีรายละเอียดครบถ้วนในสาระสาคัญ ตามวรรคสอง เสนอต่อคณะกรรมการ คณะกรรมการอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และองค์การอิสระด้านการ คุ้มครองผู้บริโภค เพื่อพิจารณาก่อนดาเนินการสารวจ หรือส่งตามรอบระยะเวลาการจัดทารายงานผลกระทบ คุณภาพสิ่ง แวดล้ อมและสุ ขภาพเพิ่ มเติม ภายหลัง จากที่ เริ่ม การส ารวจ การแสวงหา และการผลิต ทรั พยากร ปิโตรเลียมแล้ว ในกรณีที่คณะกรรมการ คณะกรรมการอิสระด้านสิ่ง แวดล้อมและสุขภาพ หรือองค์การอิสระมี ความเห็นและข้อเสนอแนะประการใด ให้ผู้ได้รับสิทธิในการสารวจ การแสวงหา และการผลิตทรัพยากรปิโตรเลียม ดาเนินการแก้ไขหรือเยียวยาผลเสียหายที่เกิดขึ้นตามความเห็นและข้อเสนอดังกล่าว

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 150

มาตรา ๑๖ การประกอบกิจการจากทรัพยากรปิโตรเลียมเพื่อการพาณิชย์ ต้องเป็นไปตามหลัก การค้าเสรีที่เป็นธรรม และมีการแข่งขันในการประกอบกิจการอย่างสูงสุด การคุ้มครองผู้บริโภค และประชาชนใน ด้านสาธารณูปโภค รัฐมีหน้าที่ป้องกันและขจัดการผูกขาด ความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน และการมีอานาจเหนือ ตลาดในการประกอบกิจการปิโตรเลียม เพื่อคุ้มครองประชาชน ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการแข่งขันอย่างเสรี เป็นธรรม มาตรา ๑๗ โครงสร้างหรือโครงข่ายสาคัญของการประกอบกิจการปิโ ตรเลียมไม่ว่าจะเป็นการ ประกอบกิจการผลิตในแหล่งหรือแปลงผลิต ระบบการขนส่ง ระบบท่อทั้งระบบหรือบางส่วนที่ติดตรึงในผืนดินหรือ ผืนน้าในราชอาณาจักรไทย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการประกอบกิจการหรือขนส่งปิโตรเลียม และท่าเทียบเรือ เพื่อการขนส่งปิโตรเลียม อันจาเป็นต่อการดารงชีวิตของประชาชน หรือเพื่อความมั่นคงของรัฐ เป็นกรรมสิทธิ์ของ รัฐ ให้บรรษัทเป็นผู้ครอบครองหรือถือสิทธิแทนรัฐในโครงสร้างหรือโครงข่าย ตลอดจนให้มีอานาจใน การบริหารจัดการหรือจัดสรรให้เกิดความเป็นธรรมและเสมอภาค เกิดการแข่งขันอย่างเสรี เพื่อให้ผู้ประกอบ กิจการทุกรายสามารถใช้โครงสร้างหรือโครงข่ายสาคัญของการประกอบกิจการปิโตรเลียมได้อย่างเป็นธรรม โดยไม่ มีการเลือกปฏิบัติหรือเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมรายใดหรือผู้ใด มาตรา ๑๘ บรรดาทรัพย์สิน อาคาร แท่นขุดเจาะ และอุปกรณ์ในการผลิตปิโตรเลียมในแปลง ผลิตปิโตรเลียม ที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมได้จัดหรือจัดให้มีการก่อสร้าง ติดตั้ง หรือประกอบขึ้นเพื่อใช้ในการ ผลิตปิโตรเลียมในแปลงผลิตที่ตนได้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐ ให้ตกเป็นของรัฐทันทีที่มีการก่อสร้าง ติดตั้ง หรือประกอบขึ้นเสร็จ โดยให้บรรษัทปิโตรเลียมไทยเป็นผู้ครอบครองและถือสิทธิแทนรัฐ และให้ผู้ประกอบ กิจการปิโตรเลียมที่ได้รับสิ ทธิในแปลงผลิตดังกล่าวมีสิทธิใช้ เพื่อการประกอบกิจการปิโตรเลียมและมีหน้าที่ดูแล รักษาให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ทั้งในขณะได้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมและเมื่อส่งคืนแก่รัฐ ให้ผู้ ประกอบกิจ การปิโ ตรเลีย มตามวรรคหนึ่ ง จ่ ายเงิน ร้อยละศูนย์ จุด ห้าของรายได้ ที่มาจาก ผลผลิตปิโตรเลียมที่ผลิตได้ในแต่ละปีแก่ บรรษัทเป็นหลักประกัน เพื่อการรื้อถอนทรัพย์สิน อาคาร แท่นขุดเจาะ และอุปกรณ์ในการผลิตตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่มีข้อมูลและหลักฐานชัดเจนเพียงพอในภายหลังต่อคณะกรรมการ ว่าการผลิตปิโตรเลียมในแท่นขุดเจาะใดหรือในแปลงการผลิตใดไม่สามารถผลิตในเชิงพาณิชย์อีกต่อไป เมื่อทาการ รื้อถอนทรัพย์สิ น อาคาร แท่ นขุดเจาะ และอุปกรณ์ในการผลิตตามวรรคหนึ่ง เสร็จสิ้น แล้ว ให้ บรรษั ทคืนเงิ น หลัก ประกัน ดัง กล่า วแก่ผู้รั บสิ ทธิใ นการประกอบกิ จ การปิโ ตรเลีย ม ในกรณี ที่ไ ม่ ทาการรื้อ ถอนภายในเวลาที่ คณะกรรมการกาหนดให้ บรรษัทริบเงินหลักประกันดังกล่าว ในกรณีที่การรับสิทธิในการประกอบกิจการปิโตรเลียมสิ้นสุดลงไม่ว่าด้วยสัมปทานสิ้นสุดลงหรือ สัญญาสิ้นสุดลง และยังปรากฏข้อมูลและหลักฐานชัดเจนเพียงพอว่าการผลิตปิ โตรเลียมในแท่นขุดเจาะใดหรือใน แปลงการผลิตใดยังสามารถผลิตในเชิงพาณิชย์ได้อีก ให้บรรษัทคืนเงินหลักประกัน แก่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียม ที่สัมปทานหรือสัญญาสิ้นสุดลง เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 151

มาตรา ๑๙ ในกรณีที่ผู้สารวจหรือผู้ได้รับสิทธิผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามสัมปทานหรือสัญญา หรือพระราชบัญญัตินี้ และการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ นั้น ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชน หรือทาให้ทบวง การเมืองใดต้องกระทาการเพื่อบาบัดปัดป้องความเสียหายเช่นว่านั้น ผู้สารวจหรือผู้ได้รับสิทธิผู้นั้น ต้องชดใช้ค่า สิ น ไหมทดแทนเพื่ อ ความเสี ย หายและค่ า ใช้ จ่ า ยในการบ าบั ด ปั ด ป้ อ งความเสี ย หายดั ง กล่ า วตามจ านวนที่ คณะกรรมการกาหนด แต่ทั้งนี้ไม่ตัดสิทธิผู้เสียหายที่จะเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากผู้สารวจหรือผู้ได้รับสิทธิ เพราะการละเมิดนั้น มาตรา ๒๐ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการกาหนดให้ทรัพยากรปิโตรเลียมเป็นของชาติและ ปวงชนชาวไทย และให้เกิดการมีส่วนร่วมและความโปร่งใสในการประกอบกิจการปิโตรเลียม บรรษัทมีหน้าที่จัด หรือจัดให้มีการติดตั้งเครื่องมือที่มีความแม่นยาและมีมาตรฐานสูงในการวัดปริมาณผลผลิตปิโตรเลียมจากแหล่ง ผลิตทุกแหล่งได้ตลอดเวลา และแสดงข้อมูลรายงานดังกล่าวในระบบสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจดูได้ อย่างเป็นปัจจุบัน ข้อ มู ล ข่ า วสารที่ ไ ด้ รั บ จากด าเนิ นการหรื อ การปฏิ บั ติ ต ามพระราชบัญ ญั ติ นี้ จั ด ให้ ป ระชาชน สามารถตรวจดูได้ เป็นข้อมูลข่าวสารสาธารณะ และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัตินี้ ต้องปฏิบัติ ตามบทบัญญัติกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ กรณี ที่ เ ป็ น ข้ อ มู ล ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ ปริ ม าณ คุ ณ ภาพ ต้ น ทุ น แหล่ ง ที่ ม า และการผลิ ต จาก ปิโตรเลียมในแต่ละเดือน ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นประจาทุกเดือน มาตรา ๒๑ การประกอบกิจการปิโตรเลียมภายหลังการผลิตปิโตรเลียมจากแหล่งผลิตและแปลง การผลิตปิโตรเลียม การค้าปิโตรเลียม การขนส่ง การจาหน่ายปิโตรเลียม และผลผลิตที่ได้จากการผลิตหรือ การ กลั่น หรือวิธีการอื่นใด เป็นการที่ได้รับการควบคุมและกากับเป็นการเฉพาะตามพระราชบัญญัตินี้

ส่วนที่ ๒ คณะกรรมการกากับการประกอบกิจการปิโตรเลียม __________ มาตรา ๒๒ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการกากับการประกอบกิจการ ปิโตรเลียม” มีหน้าที่ควบคุมและกากับการประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับการปิโตรเลียม ประกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ (๒) กรรมการโดยต าแหน่ ง ได้ แ ก่ ปลั ด กระทรวงกลาโหม ปลั ด กระทรวงพลั ง งาน ปลั ด กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อธิบดีกรมที่ดิน อธิบดีกรมประมง อธิบดี กรมสรรพากร เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้อานวยการสานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน และนายกสภาทนายความ

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 152

(๓) กรรมการผู้แทนองค์กรภาคประชาสังคมด้านคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการคุ้มครองสุขภาพของ ประชาชน และด้านการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง จากการสรรหา จานวนสิบสองคน และ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนหกคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากการสรรหาบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในสาขาธรณีวิทยา วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเงิน กฎหมาย หรือสาขา อื่นอันจะเป็นประโยชน์ต่อกิจการปิโตรเลียม ให้คณะกรรมการประชุมกันและเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม(๓)เป็นประธานกรรมการและ เสนอชื่อผู้ได้รับเลือกต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการต่อไป ให้อธิบดีเป็นกรรมการเลขานุการ และอธิบดีกรมธนารักษ์เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ มาตรา ๒๓ คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ให้ความเห็นชอบในการจัดหาปิโตรเลียมตามมาตรา ๖๐ มาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ (๒) ควบคุมและกากับการประกอบกิจการปิโตรเลียมของผู้รับสัมปทาน ผู้รับสัญญาและและผู้รับ จ้างผลิต (๓) เพิกถอนการได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมจากรัฐไม่ว่าสิทธินั้นจะเกิดจากการให้สัมปทาน หรือการให้สัญญาตามมาตรา ๖๘ (๔) แจ้งให้ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐ ทราบว่ารัฐบาลจะเข้าใช้สิทธิประกอบ กิจการปิโตรเลียมในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งด้วยความเสี่ยงภัยแต่ฝ่ายเดียวตามมาตรา ๗๖ (๕) ให้ความเห็นชอบในการดาเนินงานของบรรษัท คณะกรรมการบรรษัท คณะกรรมการบริหาร บรรษัท ตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ (๖) ประกาศห้ามส่งปิโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักรตามมาตรา ๗๖ (๗) ดาเนินการอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมายหรือตามที่ กฎหมายอื่นกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ มาตรา ๒๔ ให้คณะกรรมการมีอานาจให้ความเห็นชอบแก่อธิบดีในการดาเนินการดังต่อไปนี้ (๑) อนุมัติการกาหนดพื้นที่ผลิตและ พื้นที่สารวจตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) มอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าดาเนินการบาบัดปัดป้องความโสโครกอันเนื่องจากการประกอบ กิจการปิโตรเลียมแทนหรือร่วมกับผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐตามมาตรา ๖๕ (๓) ให้ความเห็นชอบแผนงานและประมาณการค่าใช้จ่ายในการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งอานวยความสะดวก หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นเข้าดาเนินการรื้อถอนแทนหรือร่วมกับ ผู้รับสิทธิประกอบ กิจการปิโตรเลียมจากรัฐ (๔) ให้ความเห็นชอบตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 153

มาตรา ๒๕ ให้ มี ค ณะกรรมการสรรหากรรมการก ากั บ การประกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย ม ผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการปิโตรเลียมภาคประชาสัง คม เพื่อทาการสรรหากรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ประกอบด้วย (๑) กรรมการโดยตาแหน่ง ประธานสมัชชาคุณธรรม และประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๒) ผู้แทนองค์ก รอิสระด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และผู้แทนองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ จานวนองค์กรละ ๓ คน (๓) ผู้แทนสภาทนายความ ผู้แทนสภาวิศวกร ผู้แทนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยผู้แทนมูลนิธิ เพื่อผู้บริโภค และผู้แทนสหพันธ์องค์กรผู้บริโภค ให้อธิบดีเป็นกรรมการและเลขานุการ หลักเกณฑ์การสรรหาและวิธีการสรรหา ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการปิโตรเลียมกาหนด และ คณะกรรมการสรรหากรรมการปิโตรเลียมผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการปิโตรเลียมภาคประชาสัง คม อาจกาหนด รายละเอี ยดการสรรหาและวิธี การสรรเพิ่ มเติม ได้แ ต่ต้ อ งไม่ขั ด หรื อแย้ ง ต่ อหลั กเกณฑ์ และวิ ธี การ สรรหาที่ คณะกรรมการปิโตรเลียมกาหนด มาตรา ๒๖ ในกรณีที่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) พ้นจากตาแหน่ง ตามวาระให้ คณะกรรมการสรรหากรรมการปิโตรเลียมผู้ทรงคุณวุฒิและกรรมการปิโตรเลียมภาคประชาสังคมตามมาตรา ๒๔ ดาเนินการสรรหากรรมการปิโตรเลียมเป็นการล่วงหน้า เป็นเวลาเก้าสิบวันก่อนวันที่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๒ (๓)หรือ(๔) สิ้นสุดการดารงตาแหน่งเพราะครบวาระ ในกรณีที่ตาแหน่งกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ว่างลงก่อนวาระ ให้ดาเนินการสรรหาและ แต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๒ (๓)หรือ(๔) ขึ้นใหม่ เว้นแต่วาระของกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) เหลือไม่ ถึงเก้าสิบวัน จะไม่แต่งตั้งก็ได้ ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) แทนตาแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ เมื่อดาเนินการสรรหาเสร็จสิ้นแล้วให้คณะกรรมการสรรหากรรมการปิโตรเลียมผู้ทรงคุณวุฒิและ กรรมการปิ โ ตรเลี ย มภาคประชาสั ง คมตามมาตรา ๒๔ เสนอรายชื่ อ ผู้ ไ ดรั บ การสรรหาแต่ ล ะประเภทต่ อ คณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบและแต่งตั้งเป็นกรรมการปิโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๓)หรือ(๔) ต่อไป มาตรา ๒๗ กรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)และ(๔) ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทย (๒) ไม่เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (๓) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย (๔) ไม่เคยต้องคาพิพากษาให้จาคุก แม้คดีนั้นยังไม่ถึงที่สุดและมีการรอการลงโทษ เว้นแต่เป็น กรณีที่ยังไม่ถึงที่สุด หรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิด ฐานหมิ่นประมาท เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)


Page 154

(๕) ไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ข้าราชการการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งซึ่งรับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง ที่ปรึกษาพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่พรรคการเมือง (๖) ไม่เคยถูกถอดถอนออกจากตาแหน่งหรือถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง (๗) ไม่เป็นข้าราชการในส่วนราชการที่มีกรรมการโดยตาแหน่งสังกัดอยู่หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ ที่เกี่ยวข้องกับกิจการพลังงานไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม (๘) ไม่เป็นอดีตข้าราชการที่พ้นจากตาแหน่งในส่วนราชการที่มีกรรมการโดยตาแหน่งสังกัดอยู่ หรืออดีตพนักงานรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับกิจการพลังงานไม่ว่าทางตรงหรืออ้อม และพ้นจากตาแหน่งข้าราชการ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจมาไม่น้อยกว่าห้าปีก่อนวันเข้ารับการสรรหา (๙) ไม่เป็นกรรมการ หรือผู้บริหาร หรือผู้มีอานาจในการจัดการหรือมีส่วนได้เสียในนิติบุคคลหรือ องค์กรที่ดาเนินธุรกิจหรือดาเนินกิจการด้านปิโตรเลียม หรือดาเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับด้านปิโตรเลียม (๑๐) ไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในนิติบุคคลหรือองค์กรที่ดาเนินธุรกิจหรือดาเนินกิจการด้าน ปิโตรเลียม หรือดาเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับด้านปิโตรเลียม (๑๑) ไม่เคยเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในนิติบุคคลหรือองค์กรที่ดาเนินธุรกิจหรือดาเนินกิจการด้าน ปิโตรเลียม หรือดาเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับด้านปิโตรเลียม และพ้นจากการเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นมาไม่น้อย กว่าห้าปี (๑๒) ไม่เป็นผู้รับผลประโยชน์อื่นใดไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมจากนิติบุคคลหรือองค์กรที่ดาเนิน ธุรกิจหรือดาเนินกิจการด้านปิโตรเลียม หรือดาเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับด้านปิโตรเลียม หรือเป็นผู้เคยรับ ผลประโยชน์อื่นใดไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมจากนิติบุคคลหรือองค์กรที่ดาเนินธุรกิจหรือดาเนินกิจการด้าน ปิโตรเลียม หรือดาเนินกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับด้านปิโตรเลียม ในช่วงระยะเวลาห้าปีก่อนการเข้ารับการสรรหาเป็น กรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) แล้วแต่กรณี (๑๓) ไม่ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอื่นใดที่มีส่วนได้เสียหรือมีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการปฏิบัติ หน้าที่ในตาแหน่งกรรมการ มาตรา ๒๘ กรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)และ(๔) มีวาระการดารงตาแหน่ ง คราวละสามปี กรรมการซึ่งพ้นจากตาแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ในระหว่างที่กรรมการตามมาตรา ๒๒ (๓)หรือ(๔) ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่งไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งเพิ่มขึ้นหรือแต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่าง ให้ผู้ได้รับแต่ งตั้ง นั้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว ในกรณีที่ก รรมการผู้ทรงคุณ วุฒิพ้ นจากตาแหน่ ง ตามวาระ แต่ยัง มิไ ด้ มีการแต่ ง ตั้ง กรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินั้นปฏิบัติหน้าที่ไ ปพลางก่อนจนกว่าจะมีการ แต่ง ตั้งกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๐


Page 155

มาตรา ๒๙ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)และ(๔) พ้น จากตาแหน่งเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่หรือ หย่อนความสามารถ (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๗ เมื่อตาแหน่งกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ว่างลงก่อนวาระ ให้ดาเนินการสรรหาและ แต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓) และ(๔) ขึ้นใหม่ เว้นแต่วาระของกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) เหลือไม่ ถึงเก้าสิบวัน จะไม่แต่งตั้งก็ได้ ในระหว่างที่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๒ (๓)หรือ(๔) แทนตาแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ในระหว่างที่กรรมการตามมาตรา ๒๒ (๓)หรือ(๔) ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่งไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งเพิ่มขึ้นหรือแต่งตั้งแทนตาแหน่งที่ว่าง ให้ผู้ได้รับแต่งตั้ง นั้นอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการตามมาตรา ๒๒(๓)หรือ(๔) ซึ่งได้แต่งตั้งไว้แล้ว มาตรา ๓๐ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวน กรรมการทั้งหมด จึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุม หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้กรรมการที่มาประชุม เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม มาตรา ๓๑ การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุม ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด มาตรา ๓๒ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งอนุกรรมการ เพื่อให้ทา กิจการหรือพิจารณาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในขอบเขตแห่งหน้าที่ของคณะกรรมการ ตลอดจนเชิญบุคคลใดมาให้ ข้อเท็จจริง คาอธิบาย คาแนะนาหรือความเห็นได้ ให้นาความในมาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ มาใช้บังคับแก่การประชุมคณะอนุกรรมการ

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๑


Page 156

หมวด ๒ การจัดหาปิโตรเลียม __________ ส่วนที่ ๑ บททั่วไป __________ มาตรา ๓๓ การจัดหาปิโตรเลียมเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน การขนส่ง การประกอบ กิจการพลังงาน และการอุตสาหกรรม หรือการอื่นๆ ต้องเป็นไปเพื่อการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในการบริโภค การแข่งขันอย่างเสรีเป็นธรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความมั่นคงของชาติและเศรษฐกิจของชาติ โดยรวม ให้ผู้ ได้รั บสิท ธิ ดาเนิน การจัดหาตามหลั กเกณฑ์แ ละวิ ธี การที่ก าหนดในพระราชบัญ ญั ตินี้ หรือ ตามที่ คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๓๔ สิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมเป็นสิทธิที่ได้รับจากรัฐ เป็นสิทธิเฉพาะตัวของผู้รับสิทธิ ในการจัดหาปิโตรเลียม ไม่สามารถก่อ เปลี่ยนแปลงโอน สงวนหรือได้มาด้วยวิธีการอื่นรวมถึงไม่อยู่ในความรับผิด แห่งการบังคับคดี และการเปลี่ยนแปลงในสิทธิที่ได้รับจากรัฐไม่อาจทาได้ด้วยการโอนหรือตกอยู่ในการบังคับคดี เว้ น แต่ รั ฐ จะเพิ ก ถอนสิ ท ธิ ห รื อ ยิ น ยอมให้ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงสิ ท ธิ ต ามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารที่ ก าหนดใน พระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๓๕ ปิโตรเลียมที่ไ ด้จากการจัดหาตามวิธีการจั ดหาที่กาหนดในพระราชบัญ ญัตินี้ ให้ จัดสรรการใช้ตามลาดับ โดยพิจารณาถึงราคาตามกลไกตลาดเสรี หากราคาปิโตรเลียมในตลาดเสรีมีราคาสูง กว่า ราคาปิโตรเลียมที่ผลิตได้ในราชอาณาจักรหรือที่พื้นที่ที่ประเทศไทยได้อ้างสิทธิอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าว ให้ จัดสรรการใช้ตามลาดับดังนี้ (๑) ปิโ ตรเลียมที่ได้ รับการจั ดหาจากการประกอบกิจ การปิโตรเลี ยมซึ่ ง มีที่ มาจากทรัพยากร ปิโ ตรเลี ย มในราชอาณาจั กรหรื อ ที่ พื้ น ที่ ที่ป ระเทศไทยได้ อ้ า งสิ ท ธิ อธิ ป ไตยเหนื อดิ น แดนดั ง กล่า ว ให้ จั ด สรร ปิโตรเลียมให้กับการใช้ภายในประเทศก่อนโดยจัดให้การใช้ในการอุปโภคและบริโภคของประชาชน การประกอบ กิจการพลังงาน การขนส่ง การอุตสาหกรรมและการอื่นๆ ตามลาดับ ไม่ว่าจะใช้ในรูปแบบของการใช้บริโภคเป็น เชื้อเพลิง ผลิตพลังงาน หรือในรูปแบบของวัสดุหรือวัตถุดิบในการผลิตสินค้าหรือบริการ หากเหลือหรือเพียงพอ ต่อการใช้และการสารองภายในประเทศแล้ว จึงให้ส่งออกเพื่อจาหน่ายยังต่างประเทศได้ (๒) ปิโ ตรเลียมที่ได้ รับการจั ดหาจากการประกอบกิจ การปิโตรเลี ยมซึ่ ง มีที่ มาจากทรัพยากร ปิโตรเลียมนอกราชอาณาจักร และนาเข้าเพื่อจัดจาหน่ายในราชอาณาจักร (ก) กรณีที่การจัดหาทรัพยากรปิโตรเลียมจากในราชอาณาจักรหรือพื้นที่ที่ประเทศไทยอ้าง สิทธิอธิปไตยเหนือดินแดนดังกล่าวไม่เพียงพอต่อการใช้ตาม(๑) และให้จัดสรรกับการใช้ตาม(๑) ในส่วนที่ไ ม่ เพียงพอและจัดสรรให้ตามลาดับที่กาหนดใน(๑) (ข) กรณีที่เป็นการใช้ภายในประเทศเพียงพอต่อการจัดสรรตาม(๑) การจัดหาและนาเข้า ทรัพยากรปิโตรเลียมจากทรัพยากรภายนอกราชอาณาจักร ให้นาเข้าเพื่อการสารองภายในประเทศและการผลิต เพื่อการส่งออกเพื่อจาหน่ายยังต่างประเทศ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๒


Page 157

ในกรณีที่ราคาปิโตรเลียมในตลาดเสรีมีราคาต่ากว่าราคาปิโตรเลียมที่ผลิตได้ในราชอาณาจักร ให้ มีการนาเข้ามาจาหน่ายในราชอาณาจักรได้ โดยเสรี และให้นาความในวรรคสอง(๑) มาใช้กับการจัดสรรในกรณีนี้ ด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๓๖ การกาหนดพื้นที่ในการสารวจ และผลิตปิโตรเลียมให้ เป็นหน้าที่ของกรมเชื้อเพลิง ธรรมชาติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการสารวจปิโตรเลียม ให้เป็นภาระของผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ จะต้องจ่ายคืนแก่รัฐเมื่อได้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียม ทั้งนี้ตามหลักและวิธีการตามที่กรรมการกาหนด มาตรา ๓๗ ห้ามมิให้ผู้ใดแสวงประโยชน์จากทรัพยากรปิโตรเลียมในราชอาณาจักร เว้นแต่ใน พื้นที่พัฒนาร่วมตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วมไทย-มาเลเซี ย หรือเป็นการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากร ปิโตรเลียมโดยบรรษัทตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเป็นกรณีที่ได้มีการทาสัญญาระหว่าง บรรษัทกับผู้สารวจและ แสวงหาประโยชน์จากทรัพ ยากรธรรมชาติดัง กล่าวที่ ไ ด้รับความเห็ นชอบจากคณะกรรมการตามที่กาหนดใน พระราชบัญญัตินี้

ส่วนที่ ๒ บรรษัทบริหารปิโตรเลียมไทย __________ มาตรา ๓๘ ในการจั ด การเพื่ อ การจั ด หาปิ โ ตรเลี ย มตามหมวดนี้ ให้ จั ด ตั้ ง บรรษั ท ขึ้ น เรียกว่า “บรรษัทบริหารปิโตรเลียมไทย” เรียกโดยย่อว่า “บรรษัท” ให้ บรรษัท เป็น นิติบุคคล มีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐที่ ไ ม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น มาตรา ๓๙ ให้บรรษัทตั้ง สานักงานใหญ่ในกรุงเทพมหานครหรือจัง หวัดใกล้เคียง และจะตั้ง สาขา ณ ที่ใดภายในราชอาณาจักรก็ได้ แต่การตั้งสาขาต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการก่อน มาตรา ๔๐ ให้บรรษัทมีวัตถุประสงค์ในการเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์และครองสิทธิในแปลงสารวจ และผลิ ตปิ โตรเลีย มแทนรั ฐ แต่เ พีย งผู้ เดี ยว และมี อานาจเหนื อสิท ธิ ต ามสัม ปทาน สั ญ ญาการแบ่ง ปัน ผลผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มกั บ รั ฐ และสั ญ ญาจ้ า งเอกชนผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย ม รวมทั้ ง การครอบครองและแสวงหาประโยชน์ จ าก ทรัพยากรธรรมชาติอื่น โดยมุ่งคุ้มครองความมั่นคงของชาติและประชาชน ทั้ง ในด้านเศรษฐกิจ และด้านอื่น ๆ เพื่อให้ประชาชนซึ่งเป็นผู้บริโภคสามารถบริโภคน้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซธรรมชาติ และผลผลิตอื่นจากปิ โตรเลียมและ ทรัพยากรธรรมชาติอื่น ในราคาที่เป็นธรรมและมีคุณภาพ ทั้ง นี้ โดยการรับซื้อ การจัดการ และการจัดจาหน่าย ผลผลิตปิโตรเลียมที่ได้จากสัญญาดังกล่าวให้แก่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมเพื่อนาไปผลิตเป็นน้ามันเชื้อเพลิง ก๊าซ ธรรมชาติ และผลผลิตอื่นจากปิโตรเลียมหรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น อย่างเป็นธรรม เพื่อให้เกิดการแข่งขันอย่าง เสรีหรือโดยการใช้มาตรการอื่นใดเพื่อประโยชน์แก่ความมั่นคงของประเทศและประชาชนผู้บริโภค

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๓


Page 158

มาตรา ๔๑ ให้บรรษัทมีอานาจกระทากิจการต่างๆ ภายในขอบเขตวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๔๐ อานาจเช่นว่านี้ให้รวมถึง (๑) ถือกรรมสิทธิ์หรือมีสิทธิครอบครองหรือมีทรัพยสิทธิต่างๆ สร้าง ซื้อ จัดหา ขาย จาหน่าย เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ ยืม ให้ยืม รับจานา รับจานอง แลกเปลี่ ยน โอน รับโอน หรือดาเนินการใดๆ เกี่ยวกับ ทรัพย์สินทั้งในและนอกราชอาณาจักร ตลอดจนรับเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้ (๒) เข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่นหรือถือหุ้นในบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชนจากัด หรือนิติบุคคล อื่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด (๓) กู้หรือยืมเงิน (๔) ออกหุ้นกู้ ตั๋วเงิน หรือตราสารหนี้ (๕) ลงทุนในพันธบัตรหรือตราสารของรัฐบาล หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ หรือในหน่วย ลงทุนในกองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (๖) ซื้อ ซื้อลด หรือรับช่วงซื้อลดตราสารแห่งหนี้ หรือรับโอนสิทธิเรียกร้อง (๗) กระท าการอื่ นบรรดาที่ เกี่ ย วกั บ หรื อ เนื่อ งในการจั ด การให้ ส าเร็ จ ตามวัต ถุ ป ระสงค์ ข อง บรรษัท มาตรา ๔๒ ให้กาหนดทุนประเดิมของ บรรษัท เป็นจานวนหนึ่ง หมื่น ล้านบาท แบ่ง เป็นหุ้ น สามัญจานวนหนึ่งร้อยล้านหุ้น โดยรัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมด มาตรา ๔๓ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการบรรษัท” เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการบรรษัท ประกอบด้วย (๑) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็นประธานกรรมการบรรษัท (๒) กรรมการซึ่ ง คณะรัฐ มนตรีเป็ นผู้แ ต่ง ตั้ ง ตามคาแนะนาของคณะกรรมการและโดยความ เห็นชอบของรัฐสภา จานวน สิบคน โดยในจานวนนี้ต้องแต่งตั้งจากผู้แทนของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หนึ่งคน สภาหอการค้าแห่งประเทศไทยหนึ่งคน สมาคมธนาคารไทยหนึ่งคน (๓) กรรมการผู้แทนภาคประชาสัง คม จานวนสิบคน ประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรภาคประชา สังคมด้านคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการคุ้มครองสุขภาพของประชาชน และด้านการคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ซึ่งได้รับการสรรหาตามระเบียบของคณะกรรมการ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนห้าคน ประกอบด้วย ผู้ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากการสรรหา บุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในสาขาธรณีวิทยา วิศวกรรมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเงิน หรือกฎหมาย (๕) กรรมการผู้แทนกรมการพลังงานทหาร คณะกรรมการบรรษัทจะแต่งตั้งกรรมการคนใดคนหนึ่ง ทาหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการก็ ได้ หลักเกณฑ์การสรรหา คณะกรรมการบรรษัทให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๔


Page 159

มาตรา ๔๔ กรรมการบรรษัทมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละหกปี ในวาระเริ่มแรกเมื่อกรรมการบรรษัทดารงตาแหน่งครบสามปี ให้ออกจากตาแหน่งกึ่งหนึ่ง โดยวิธี จับสลาก ถ้าจานวนกรรมการจะแบ่งออกให้ตรงเป็นกึ่งหนึ่งไม่ได้ ให้ออกโดยจานวนใกล้เคียงที่สุดแต่ไม่น้อยกว่ากึ่ง หนึ่ง ในกรณีที่กรรมการบรรษัท พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งแทน อยู่ ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการบรรษัท ซึ่งได้รับแต่งตั้งไว้แล้ว เมื่อครบกาหนดตามวาระดังกล่าวในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการบรรษัทขึ้นใหม่ ให้กรรมการบรรษัทซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตาแหน่งเพื่อดาเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการซึ่งได้รับ แต่งตั้งใหม่เข้ารับหน้าที่ กรรมการบรรษัทซึ่งพ้นจากตาแหน่ง ตามวาระอาจได้รับแต่ง ตั้ง อีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระ ติดต่อกัน ให้นาความในมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับแก่ คณะกรรมการ บรรษัทด้วย โดยอนุโลม มาตรา ๔๕ คณะกรรมการบรรษัทมีอานาจหน้าที่วางนโยบายและกากับดูแลโดยทั่วไป ซึ่งกิจการ ของบรรษัทภายในขอบวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๗ อานาจหน้าที่เช่นว่านี้ ให้รวมถึง (๑) กาหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล เงินตอบแทน และค่าใช้จ่ายอื่นของบรรษัท (๒) กาหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง การเงิน ทรัพย์สิน และการบัญชี รวมทั้ง การ ตรวจสอบและสอบบัญชีภายในของบรรษัท (๓) กาหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการบริหารงานและการดาเนินกิจการของบรรษัท (๔) กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการเข้าร่วมกิจการกับบุคคลอื่น หรือถือหุ้นในบริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากัด หรือนิติบุคคลอื่น (๕) ก าหนดหลัก เกณฑ์ วิ ธี ก าร เงื่ อ นไข และกระบวนการในการบริห ารการจั ด การกิ จ การ ปิโตรเลียมของบรรษัทปิโตรเลียมไทย (๖) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการรับรู้แ ละคานวณผลกาไรหรือผลขาดทุนของ กิจการปิโตรเลียม (๗) พิจารณาให้ความเห็นชอบงบประมาณของบรรษัท (๘) กาหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรผลกาไรของบรรษัทหลังการหักค่าใช้จ่ายและเงินที่นาส่งคลัง แล้ว ให้แก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน ในรูปแบบของการได้รับสวัสดิการหรือสิทธิต่างๆ เพื่อการอุปโภคหรือ สาธารณูปโภค (๙) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะที่ปรึกษา หรืออนุกรรมการเพื่อดาเนินการใด ๆ แทนคณะกรรมการ (๑๐) ออกข้อบังคับหรือหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่อง กับการบริหารงานหรือดาเนินกิจการของบรรษัท การออกข้อบังคับ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขตาม (๔)(๕)(๖) และ (๘) ต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๕


Page 160

มาตรา ๔๖ ให้ คณะกรรมการบรรษัทแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารบรรษัทคณะหนึ่งทาหน้าที่ การบริหารงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และอานาจหน้าที่ของ บรรษัท ตามพระราชบัญ ญัตินี้ ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอีกไม่เกินแปดคน และให้กรรมการผู้จัดการเป็น กรรมการโดยตาแหน่ง ในการดาเนิ นการแต่ งตั้ งคณะกรรมการบริห ารบรรษัท ให้ กระทรวงการคลั ง ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย องค์กรภาคประชาสังคมด้าน คุ้ม ครองผู้ บ ริ โ ภค ด้ า นการคุ้ ม ครองสุ ข ภาพของประชาชน และด้ า นการคุ้ ม ครองทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม เสนอชื่อผู้สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารบรรษัทจะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๗ โดยให้เสนอหน่วยงานละหนึ่งคนต่อคณะกรรมการบรรษัท เพื่อพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการบริหารบรรษัท ให้ คณะกรรมการบรรษัทพิจารณาแต่งตั้งกรรมการบริหารบรรษัทจากรายชื่อของผู้ไ ด้รับการ เสนอตามวรรคสอง โดยต้องมีผู้ได้รับการเสนอชื่อจากองค์กรภาคประชาสังคมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม ให้ ผู้ไ ด้รั บการแต่ งตั้ งเป็ นกรรมการบริ หารบรรษั ท เว้ นแต่ก รรมการผู้ จัด การเลือ กกั นเองให้ กรรมการท่านหนึ่งเป็นประธานกรรมการบริหารบรรษัท และเสนอต่อคณะกรรมการบรรษัทเพื่อพิจารณาแต่งตั้ง ต่อไป การสรรหาและการคัดเลือกให้เป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการบรรษัทกาหนด มาตรา ๔๗ ให้กรรมการบริหารบรรษัท ที่คณะกรรมการแต่งตั้งตามมาตรา ๔๖ มีวาระการดารง ตาแหน่งสี่ปี และให้นาบทบัญญัติมาตรา ๒๗ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับกับการดารง ตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง การปฏิบัติหน้าที่ และการประชุมของคณะกรรมการบริหารด้วยโดยอนุโลม ผู้ซึ่ ง ด ารงต าแหน่ ง เป็ น กรรมการในคณะกรรมการ จะด ารงต าแหน่ ง กรรมการบริ ห ารหรื อ กรรมการผู้จัดการในเวลาเดียวกันมิได้ การแต่งตั้งกรรมการผู้จัดการให้เป็นไปตามมาตรา ๔๘ มาตรา ๔๘ ให้คณะกรรมการบรรษัทดาเนินการคัดเลือกผู้ซึ่ง มีความรู้ความชานาญในกิจการ ของ บรรษัท เพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งกรรมการผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการตามวรรคหนึ่ง นอกจากจะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๗ แล้ว ต้อง ไม่เป็นพนักงาน ลูกจ้าง หรือกรรมการของบริษัทที่ประกอบกิจการปิโตรเลียมหรือที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการปิโตรเลียม นี้ และต้องไม่เป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ กรรมการ พนักงานหรือลูกจ้างของบุคคลใด การดารงตาแหน่ง การพ้นจากตาแหน่ง การกาหนดเงื่อนไขอื่นในการทดลองปฏิบัติงานหรือการ ทางาน และการประเมินผลการทางานในหน้าที่กรรมการผู้จัดการให้เป็นไปตามสัญญาจ้างที่คณะกรรมการบรรษัท กาหนดโดยให้มีอายุการจ้างคราวละไม่เกินสี่ปี และเมื่อครบกาหนดอายุสัญญาจ้ าง คณะกรรมการบรรษัทจะต่อ อายุสัญญาจ้างอีกก็ได้ แต่ต้องไม่เกินสองคราวติดต่อกัน ในการว่าจ้างกรรมการผู้จัดการ ให้ประธานกรรมการบรรษัทเป็นผู้ลงนามในสัญญาจ้างในนาม ของบรรษัท หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ้างกรรมการผู้จัดการให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบรรษัทกาหนด เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๖


Page 161

มาตรา ๔๙ ให้ ค ณะกรรมการบริ ห ารบรรษั ท มี อ านาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบในการ ดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารกิจการปิโตรเลียมตามวัตถุประสงค์ของบรรษัท ตลอดจนกาหนดกรอบและวิธีการใน การบริหารงานตามนโยบายของคณะกรรมการบรรษัทในเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ (๑) อนุมัติหรือวิ นิจฉัยสั่งการในการดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารการจัดการและการบริหาร สัมปทานและสัญญาในกิจการปิโตรเลียม การกาหนดโครงสร้างราคารับซื้อและจาหน่ายปิโตรเลียม ทั้ง นี้ ตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการบรรษัทกาหนด (๒) ติดตามและประเมินผลการบริหารสัมปทานและสัญญาเพื่อให้สอดคล้อ งกับนโยบายกรอบ และวิธีการที่วางไว้ (๓) แต่งตั้งที่ปรึกษา คณะที่ปรึกษาหรืออนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติการใดๆ แทนคณะกรรมการ บริหาร (๔) อนุมัติการแต่งตั้งพนักงานระดับบริหาร (๕) จัดให้มีระบบข้อมูลและจัดหาข้อมูลที่จาเป็นให้แก่ประชาชน (๖) จัดหาแหล่งเงินทุนและพันธมิตรร่ วมทุน เพื่อประโยชน์ในการปรับโครงสร้างกิจการของ ลูกหนี้ (๗) รายงานผลการดาเนินงานในการบริหารสัมปทานและสัญ ญาต่อคณะกรรมการบรรษัททุก รอบสามเดือน (๘) รับผิดชอบและดาเนินการต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบรรษัท มาตรา ๕๐ ให้กรรมการผู้จัดการรับผิดชอบในการบริห ารงานของบรรษัท และมีอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบตามที่กาหนดในระเบียบหรือข้อบังคับของคณะกรรมการหรือคณะกรรมการบรรษัท รวมทั้ง ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการหรือคณะกรรมการบริหาร มาตรา ๕๑ ให้กรรมการผู้จัดการเป็นผู้บังคับบัญชาของพนักงานและลูกจ้ างของบรรษัท และมี อานาจบรรจุ แต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อนขั้นเงินเดือน ตัดเงินเดือน หรือลดเงินเดือน ตลอดจนลงโทษทางวินัยแก่ พนักงานและลูกจ้าง ทั้งนี้ ตามข้อบังคับที่คณะกรรมการบริหารกาหนด มาตรา ๕๒ ในกิจการของบรรษัทที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ให้กรรมการผู้จัดการเป็น ผู้แทนของ บรรษัท และเพื่อการนี้กรรมการผู้จัดการจะมอบอานาจให้พนักงานหรือลูกจ้างของ บรรษัท กระทากิจการเป็นการ ทั่วไปหรือเฉพาะอย่างแทนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามข้อบังคับที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๕๓ เพื่อประโยชน์แก่การกากับควบคุมและการตรวจสอบกิจการภายในของ บรรษัท ให้ คณะกรรรมการบรรษัทแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบไม่เกินห้าคน เพื่อตรวจสอบการดาเนินกิจการของบรรษัท และการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการผู้จัดการ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการบรรษัทกาหนด

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๗


Page 162

มาตรา ๕๔ ให้ประธานคณะกรรมการบรรษัท กรรมการบรรษัท ประธานกรรมการบริ หาร บรรษัท กรรมการบริหารบรรษัท กรรมการผู้จัดการ กรรมการตรวจสอบ ที่ปรึกษาและอนุกรรมการของบรรษัท ได้รับเงินเดือนหรือประโยชน์ตอบแทนอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ

ส่วนที่ ๓ การสารวจ __________ มาตรา ๕๕ รัฐมีหน้าที่ในการจัดให้มีการสารวจเพื่อแสวงหาทรัพยากรปิโตรเลียม เมื่อปรากฏเบาะแสของทรัพยากรปิโตรเลียม ให้กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ต้องจัดให้มีการสารวจ เพื่อหาข้อมูลและปริมาณของทรัพยากรปิโตรเลียม ด้วยวิธีการที่เหมาะสมตามหลักการทางวิชาการและเป็นสากล เพื่อประโยชน์ในการจัดหาปิโตรเลียมและเลือกสรรวิธีการในการจัดหาปิโตรเลียมตามหลักเกณฑ์และวิธีการจัดหา ปิ โ ตรเลี ย มตามที่ ก าหนดในพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ให้ ก าหนดเขตพื้ น ที่ แ ปลงส ารวจโดยความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการและประกาศในราชกิจจานุเบกษา การมีเบาะแสของทรัพยากรปิโตรเลียมตามวรรคสอง หมายความถึง การมีข้อมูลทรัพยากร ปิโตรเลียมจากหลักฐานเบื้องต้น ข้อมูลทางธรณีวิทยาเบื้องต้น แอ่งตะกอน ชั้นหิน พื้นที่ติดต่อหรือต่อเนื่องจาก แปลงสัมปทานปิโตรเลียมเดิมที่มีการสารวจหรือผลิตแล้ว แผนที่สนามแม่เหล็ก แผนที่เบื้องต้น หรือหลักฐานอื่น ที่ แสดงความเป็นไปได้ว่าอาจมีทรัพยากรปิโตรเลียม และให้หมายความรวมถึงแปลงสัมปทานที่มีการส่งคืนแก่รัฐแล้ว หรือข้อมูลหรือหลักฐานการสารวจปิโตรเลียมใดที่ยังไม่ได้กระทาให้ครบถ้วนตามหลักวิชาการที่เป็นสากล มาตรา ๕๖ เพื่อประโยชน์ในการกาหนดแปลงสารวจ อธิบดีมีอานาจสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่ทา การรังวัดกาหนดเขตหรือตรวจสอบเขตได้ เมื่อดาเนินการแล้วให้รายงานคณะกรรมการเพื่อทราบ มาตรา ๕๗ เมื่อรับได้ข้อมูลการสารวจปิโตรเลียมแล้ว ให้ คณะกรรมการแจ้ง ให้รัฐมนตรีทราบ เพื่อรายงานต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาทราบ รวมทั้งให้คณะกรรมการจัดให้มีการประกาศและแถลงข้อมูลการ สารวจปิโตรเลียมให้ประชาชนและผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมทราบข้อมูลการสารวจปิโตรเลียมที่ได้รับในแต่ละปี ให้รวบรวมเป็นหมวดหมู่และจัดให้มีความเรียบร้อยจัดพิมพ์เป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษมีเนื้อความถูกต้อง ตรงกัน และจัดให้ประชาชนได้ตรวจดูตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการ มาตรา ๕๘ ให้ผู้รับสัญญาในระบบการรับสัมปทานการสารวจและผลิตและการแบ่งปันผลผลิต กับรัฐ ต้องจัดสรรงบประมาณร้อยละศูนย์จุดห้าของมูลค่าที่ผลิตปิโตรเลียมได้ทุกปี เพื่อมาเป็นกองทุนในการสารวจ ปิโตรเลียม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๘


Page 163

ส่วนที่ ๔ วิธีการจัดหาปิโตรเลียมภายในราชอาณาจักร __________ มาตรา ๕๙ การจัดหาปิโตรเลียมจากทรัพยากรปิโตรเลียมภายในราชอาณาจักร ให้มีวิธีการ ดังต่อไปนี้ (๑) การให้สัมปทานการสารวจและการผลิตปิโตรเลียม (๒) การแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐ (๓) การจ้างเอกชนให้ผลิตปิโตรเลียม มาตรา ๖๐ การให้สัมปทานการสารวจและการผลิตปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ ให้กระทา ได้ในกรณีที่ไม่ปรากฏเบาะแสของทรัพยากรปิโตรเลียมตามมาตรา ๕๕ มาตรา ๖๑ การแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐ ให้กระทาในกรณีที่ข้อมูลการสารวจตามมาตรา ๕๗ ปรากฏปริมาณที่แน่ชัดและมีปริมาณเพียงพอที่จะประกอบกิจการปิโตรเลียมได้ ให้คณะกรรมการจัดให้มีการ ประกวดผลตอบแทนและผลประโยชน์ที่รัฐจะได้รับตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๖๒ การจ้างเอกชนให้ผลิตปิโตรเลียม ให้กระทาในกรณีที่ข้อมูลการสารวจตามมาตรา ๕๗ ปรากฏปริมาณจานวนมาก คณะกรรมการอาจจัดให้มีการจ้างด้วยวิธีการประกวดราคารับจ้าง ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๖๓ การพิจารณาในการให้สิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมแก่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียม เพื่อเป็นผู้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมตามมาตรา ๖๑ และมาตรา ๖๒ ให้คณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอของผู้ ยื่นคาขอสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมเกี่ยวกับวิธีการและกระบวนในการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและ ชุ ม ชน ปั ญ หาผลกระทบต่ อ สวั ส ดิ ภ าพและอนามั ย ของประชาชนและชุ ม ชน การจั ด การปั ญ หาผลระทบ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่น รวมทั้งการเยียวยาความเสียหายอันเกิดจากการผลิตและการประกอบ กิจการปิโ ตรเลี ยม เป็ นข้ อมู ลประกอบการพิจ ารณาที่เป็ นสาระส าคั ญ ส่ วนหนึ่ ง ของการให้สิ ทธิ ในการจั ดหา ปิโตรเลียมแก่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมด้วย การจัดทาข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการโดยผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นไปตามกรอบการจัดทาข้ อเสนอขั้นต่าที่คณะกรรมการกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา ๖๔ การให้ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมรายใดเป็นผู้ได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียม ให้ คณะกรรมการมีอานาจให้ผู้ได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมตามวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ แต่ละรายให้ ได้สิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมไม่ว่าจะเป็นการจัดหาด้วยวิธีใดก็ตาม รวมพื้นที่ของแปลงที่ได้รับสิทธิในการจัดหา ปิโตรเลียมทั้งทางตรงและทางอ้อมต้องมีพื้นที่ไม่เกิน หนึ่งหมื่นตารางกิโลเมตร เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๑๙


Page 164

การกาหนดเขตพื้นที่ในแปลงที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลีย มที่ มิใช่อยู่ในทะเล ให้กาหนดพื้นที่ได้ไม่เกินแปลงละสามตารางกิโลเมตร การกาหนดเขตพื้นที่ในแปลงที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมใน ทะเล ต้องไม่เกินแปลงละหนึ่งพันตารางกิโลเมตร เว้นแต่พื้นที่เกาะและชายฝั่ง การกาหนดเขตพื้นที่ตามวรรคสามต้องมีระยะห่างของแปลงที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมได้รับ สิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมที่อยู่ในทะเล จากพื้นที่เกาะ ชายฝั่ง และพื้นที่ทากินและพื้นที่สงวนเพื่ออนุรักษ์สัตว์ ทะเลและทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนดโดยรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วน ร่วมอย่างแท้จริงจากประชาชนและชุมชนผู้มีส่วนได้เสียก่อน มาตรา ๖๕ ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมที่จะขอรับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมต้อง (๑) เป็นนิติบุคคลที่ได้จดแจ้งและรับรองไว้กับคณะกรรมการ (๒) มีหรือสามารถจัดหา ทุน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ และผู้เชี่ยวชาญ เพียงพอที่จะสารวจ ผลิต ขาย และจาหน่ายปิโตรเลียม หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารจดแจ้ ง นิ ติ บุ ค คลผู้ ป ระกอบการปิ โ ตรเลี ย มตาม(๑)ให้ เ ป็ น ไปตามที่ คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๖๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๘ ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมตามมาตรา ๕๙(๑) และ(๒) เมื่อได้ประกอบกิจการปิโตรเลียมไปแล้ว ต้องดาเนินการโอนการครอบครองทรัพย์สินและกิจการในแปลงผลิต ให้แก่ บรรษัทเป็นเวลา ไม่น้อยกว่าห้าปีก่อนที่จะครบกาหนดเวลาในสัมปทานการสารวจและผลิตปิโตรเลีย ม หรือ ตามสัญญาการแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๖๗ ผู้รับสิทธิการประกอบกิจการปิโ ตรเลียมจากรัฐมีหน้าที่ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ สารวจ การผลิต และเทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้องกับการสารวจหรือการผลิตปิโตรเลียมตามที่คณะกรรมการกาหนด แก่ บรรษัททันทีเมื่อเริ่มประกอบกิจการปิโตรเลียม เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการบริหารจัดการและการพัฒนา องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีในการสารวจหรือผลิต ปิโตรเลียม หลักเกณฑ์และวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ กาหนด มาตรา ๖๘ คณะกรรมการมีอานาจเพิกถอนการได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมจากรัฐไม่ว่า สิทธินั้นจะเกิดจากการให้ สัมปทานหรือการให้สัญ ญาตามวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญ ญัตินี้ เมื่อผู้ประกอบ กิจการปิโตรเลียมได้รับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียม กระทาการดังต่อไปนี้ (๑) ไม่ปฏิบัติตามข้อผูกพัน หรือสัญญาการได้รับสิทธิการจัดหาปิโตรเลียมจากรัฐ (๒) ไม่วางหลักประกันหรือวางหลักประกันไม่ครบจานวน (๓) ไม่ชาระค่าภาคหลวงและ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ (๔) ไม่ส่งมอบผลผลิตปิโตรเลียมตามสัญญาแบ่งปันผลผลิต (๕) ฉ้อโกงการผลิตปิโตรเลียม (๖) ไม่ชาระภาษีเงินได้

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๐


Page 165

(๗) ไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักเทคนิค และวิธีการปฏิบัติง านปิโตรเลียมที่ดี หรือสร้างความ เสียหายให้กับสิ่งแวดล้อม โดยไม่แก้ไขหรือเยียวยาตามที่คณะกรรมการกาหนด (๘) ฝ่ าฝื น หรื อ ไม่ ปฏิ บั ติต ามข้ อ กาหนดที่ร ะบุไ ว้ ในสั มปทานหรื อ สัญ ญาว่ าเป็ นเหตุเ พิ กถอน สัมปทานหรือสัญญาได้ (๙) เจตนาปกปิดข้อมูลหรือให้ข้อมูลอันเป็นเท็จต่อเจ้าหน้าที่รัฐหรือประชาชน (๑๐) ไม่ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสารวจ การผลิต หรือเทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้องกับการสารวจหรือ ผลิตปิโตรเลียมตามมาตรา ๖๗

ส่วนที่ ๕ สัมปทานการสารวจและการผลิต __________ มาตรา ๖๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๖๐ คณะกรรมการมีอานาจในการให้สัมปทานการสารวจและ ผลิตแก่ผู้ประกอบการปิโตรเลียมที่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๖๕ โดยมีระยะเวลาการสารวจและผลิตปิโตรเลียมตาม สัมปทานให้มีกาหนดไม่เกินยี่สิบปีนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับสัมปทานการสารวจและผลิตปิโตรเลียม มาตรา ๗๐ ผู้รับสัมปทานต้องคืนพื้นที่แปลงสารวจแปลงหนึ่งๆ ต้องคืนพื้นที่ร้อยละห้าสิบของ พื้นที่แปลงสารวจแปลงนั้น แต่ถ้าเป็นแปลงสารวจที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกาหนดว่าเป็นแปลงสารวจในทะเลที่มี น้าลึกเกินสองร้อยเมตรให้คืนพื้นที่ร้อยละสามสิบห้าของพื้นที่แปลงสารวจแปลงนั้น ทั้งนี้ เมื่อครบสี่ปีนับแต่วันเริ่ม ระยะเวลาสารวจปิโตรเลียม เมื่อสิ้นระยะเวลาสารวจและผลิตปิโตรเลียม ต้องคืนพื้นที่ที่เหลือทั้งหมด เพื่อประโยชน์ใ นการคานวณพื้น ที่ที่ต้ องคืน ตามมาตรานี้ใ ห้หักพื้ นที่ผ ลิตออกจากพื้นที่ แปลง สารวจแปลงนั้นก่อนและการคืนพื้นที่ตามมาตรานี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด ในกรณีที่ผู้รับสัมปทานไม่ปฏิบัติการให้ถูกต้องตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการกาหนดพื้นที่ที่ต้อง คืนแทนผู้รับสัมปทาน และเมื่อได้แจ้งให้ผู้รับสัมปทานทราบแล้ว ให้ถือว่าพื้นที่ที่กาหนดนั้นเป็นพื้นที่ที่คืนตาม มาตรานี้ มาตรา ๗๑ ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมซึ่งประสงค์จะรับสิทธิในการสารวจและผลิ ตปิโตรเลียม จากรัฐ ต้องเข้าประมูลเพื่อยื่นข้อเสนอราคาและผลประโยชน์ตอบแทนแก่รัฐ ภายในเวลาที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด การยื่นข้อเสนอราคาและผลประโยชน์ตอบแทนแก่รัฐ ผู้เข้าประมูลต้องยื่นข้อเสนอแข่งขันโดย อย่างน้อยต้องเสนอการจ่ายค่าภาคหลวงให้แก่รัฐในอัตราไม่น้อยกว่า ร้อยละสามสิบห้าของผลผลิตในแต่ละปี และ ผลประโยชน์ตอบแทนอื่นในรูปผลผลิต หลักเกณฑ์และวิธีการในการคานวณผลผลิตค่าภาคหลวง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๑


Page 166

มาตรา ๗๒ ให้ผู้รับสัมปทานดาเนินการโอนหุ้นของนิติบุคคลของตน ให้บรรษัทตามสัดส่วนของ การถือครองหุ้นตามจานวนและระยะเวลาที่กาหนดเพื่อชดเชยเป็นค่าตอบแทนแก่รัฐตามที่คณะกรรมการกาหนด การเข้า ถื อ หุ้น ตามวรรคหนึ่ ง ให้ บ รรษัท มี สิ ท ธิใ นการเข้ าไปถื อ หุ้น หรื อร่ ว มทุ น ได้ ในกรณี ที่ คณะกรรมการบรรษัทเห็นว่า การประกอบกิจการตามวรรคหนึ่ง ผลตอบแทนที่คุ้มค่าในเชิงพาณิชย์ โดย บรรษัท อาจเข้าไปถือหุ้นได้ไม่เกินร้อยละสิบห้าของจานวนหุ้นทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น มาตรา ๗๓ ผู้รับสัมปทานมีสิทธิคืนพื้นที่แปลงสารวจทั้งแปลงหรือบางส่วนในเวลาใดๆ ก็ได้ พื้นที่ที่คืนตามวรรคหนึ่งแล้วให้นาไปหักออกจากพื้นที่ที่ต้องคืนตามมาตรา ๗๗ ได้ ในการคืน พื้นที่ แปลงสารวจบางส่ วนตามมาตรานี้ ให้นาหลัก เกณฑ์และวิธีการที่ก าหนดตาม มาตรา ๖๔ วรรคสอง มาใช้บังคับ มาตรา ๗๔ ในระหว่างระยะเวลาสารวจปิโตรเลียม ผู้รับสัมปทานจะผลิตปิโตรเลียมก็ไ ด้ แต่ต้อง แจ้งและแสดงจานวนการผลิตต่อคณะกรรมการ มาตรา ๗๕ ก่อนผลิตปิโตรเลียมจากที่ใดที่หนึ่งในแปลงสารวจ ผู้รับสัมปทานต้องแสดงว่าได้พบ หลุ ม ปิ โ ตรเลี ย มที่ มี ส มรรถนะเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ละได้ ก าหนดพื้ น ที่ ผ ลิ ต ถู ก ต้ อ งแล้ ว และเมื่ อ ได้ รั บ อนุ มั ติ จ าก คณะกรรมการแล้วจึงจะผลิตปิโตรเลียมจากพื้นที่ผลิตนั้นได้ การกาหนดสมรรถนะเชิงพาณิชย์ของหลุมปิโตรเลียมและการกาหนดพื้นที่ผลิตให้เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๗๖ เมื่อผู้รับสัมปทานได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการให้ผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ผลิตตาม มาตรา ๗๕ แล้ว ให้ผู้รับสัมปทานยื่นแผนการผลิตในรายละเอียดสาหรับพื้นที่ผลิตดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการกาหนด และผู้รับสัมปทานต้องเริ่มทาการผลิตปิโตรเลียมตามแผนภายในสี่ปีนับแต่ วันที่ได้รั บการอนุมัติจากคณะกรรมการ ถ้าผู้รับสัมปทานไม่เริ่มทาการผลิตปิโตรเลียมภายในกาหนดระยะเวลา ดังกล่าว ให้ถือว่าระยะเวลาผลิตปิโตรเลียมสาหรับพื้นที่ที่ได้กาหนดให้เป็นพื้นที่ผลิตนั้นสิ้นสุดลง ในกรณีที่ ผู้รับสัม ปทานประสงค์ จะขอขยายระยะเวลาเริ่มทาการผลิต ปิโตรเลียมออกไปจาก กาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้รับสัมปทานแจ้งเป็นหนังสือพร้อมด้วยเหตุผลให้คณะกรรมการทราบล่วงหน้าก่อน สิ้นสุดระยะเวลาตามวรรคหนึ่งไม่น้อยกว่าหกเดือน ถ้า คณะกรรมการเห็นว่าการที่ผู้รับสัมปทานไม่สามารถเริ่มทา การผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ผลิตนั้นมิใช่ความผิดของผู้รับสัมปทาน ให้เสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุญาตให้ ขยายระยะเวลาเริ่มทาการผลิตออกไปได้ตามที่เห็นสมควร แต่การอนุญ าตให้ขยายระยะเวลาเริ่มทาการผลิต ปิโตรเลียมให้กระทาได้ไม่เกินคราวละหนึ่งปีและให้อนุญาตขยายได้ไม่เกินหนึ่งครั้ง ตลอดระยะเวลาผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มในพื้ น ที่ ผ ลิ ต ผู้ รั บ สั ม ปทานจะต้ อ งทบทวนแผนการผลิ ต ปิโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง แล้วแจ้งผลการทบทวนเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการทุกปี และถ้าผู้รับสัมปทานประสงค์ จะเปลี่ยนแปลงแผนการผลิตปิโตรเลียม ให้ ผู้รับสัมปทานได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการก่อน จึงจะเปลี่ยนแปลง แผนการผลิตปิโตรเลียมได้ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๒


Page 167

มาตรา ๗๗ ถ้ า ผู้รั บ สั ม ปทานส ารวจและผลิ ต ไม่ สามารถแสดงว่ าได้ พ บหลุ ม ปิ โ ตรเลี ย มที่ มี สมรรถนะเชิงพาณิชย์ในแปลงสารวจแปลงใด หรือมิได้กาหนดพื้นที่ผลิตตามมาตรา ๗๕ ให้ถือว่าสัมปทานในส่ วน ที่เกี่ยวกับแปลงสารวจแปลงนั้นสิ้นอายุเมื่อสิ้นระยะเวลาสารวจปิโตรเลียม มาตรา ๗๘ ผู้รับสัมปทานอาจรับนิติบุคคลอื่นเข้าร่วมประกอบกิจการปิโตรเลียมตามสัมปทาน ได้เมื่อได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ ในกรณีเช่นนี้ผู้ร่วมประกอบกิจการปิโตรเลียมแต่ละรายต้องชาระผลผลิต ค่าภาคหลวง ภาษีเงิ นได้ และผลตอบแทนอย่า งอื่น และปฏิบั ติต ามข้ อผู กพั นที่เ กี่ย วกั บการประกอบกิจ การ ปิโตรเลียมในส่วนที่เป็นของตนและภายใต้เงื่อนไขข้อเสนอของการประมูลที่ผู้รับสัม ปทานได้เสนอและได้รับการ คัดเลือก ผู้ร่วมประกอบกิจการปิโตรเลียมทุกรายต้องรับผิดร่วมกันและแทนกันในการปฏิบัติตามสัมปทาน และตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ผู้ร่วมประกอบกิจการปิ โตรเลียมรายใดไม่ชาระภาษี เงินได้ที่ ตนมีหน้าที่ต้องเสีย ให้ คณะกรรมการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ร่วมประกอบกิจการปิโตรเลียมรายอื่นทุกรายทราบ และถ้ามิได้มีการชาระภาษี เงินได้ดังกล่าวนั้นภายในเก้าสิบวันนับแต่วันได้รับหนังสือ ให้ถือเป็นอีกเหตุหนึ่งที่จะเพิกถอนสัมปทานได้ด้วย มาตรา ๗๙ เมื่อมีเหตุที่จะเพิกถอนสัมปทานเกิดขึ้นและเหตุนั้น คณะกรรมการเห็นว่าอาจแก้ไข ได้ ให้ แ จ้ ง เป็ น หนั ง สื อ ให้ ผู้ รั บ สั ม ปทานทราบถึ ง เหตุ นั้ น และก าหนดให้ ผู้ รั บ สั ม ปทานแก้ ไ ขภายในเวลาที่ คณะกรรมการกาหนด ถ้าผู้รับสัมปทานไม่สามารถแก้ไขได้ภายในเวลาที่กาหนดโดยมีเหตุอันสมควร ให้ขออนุญาต ขยายเวลาออกไปได้เท่าที่จาเป็นก่อนครบกาหนดเวลานั้นไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ถ้า คณะกรรมการเห็นสมควรให้มี อานาจขยายเวลาออกไปได้ไม่เกินระยะเวลาที่ผู้รับสัมปทานขอขยาย ถ้าผู้รับสัมปทานไม่แก้ไขภายในเวลาที่กาหนด หรือไม่สามารถแก้ไขภายในเวลาที่ขยายออกไป ให้คณะกรรมการมีคาสั่งเพิกถอนสัมปทานโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่มีเหตุที่จะเพิกถอนสัมปทานเกิดขึ้นและเหตุนั้น คณะกรรมการเห็นว่าไม่อาจแก้ไขได้ ให้ คณะกรรมการมีคาสั่งเพิกถอนสัมปทานโดยไม่ต้องปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง คาสั่งเพิกถอนสัมปทานให้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นสามสิบวันนับแต่วันที่ผู้รับสัมปทานได้รับคาสั่ง มาตรา ๘๐ ในกรณีที่รัฐมีความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์ ต่อความมั่นคงของ ชาติหรือเพื่อดาเนินการตามโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ให้คณะกรรมการพิจารณาสั่งให้ผู้รับสัมปทานเร่งรัดการ ผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ที่ผู้รับสัมปทานได้รับสัมปทานก็ได้ โดยเสนอแผนการผลิตในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่กาหนด ขึ้นเป็นการเฉพาะตามโครงสร้างของแหล่งปิโตรเลียม ถ้าผู้รับสัมปทานไม่สามารถเจรจาทาความตกลงกับคณะกรรมการได้ภายในสิบสองเดือนนับแต่ วันที่ผู้รับสัมปทานได้รับข้อเสนอจากคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง และคณะกรรมการเห็นว่าการเร่ง รัดการผลิต ปิโตรเลียมดังกล่าวเป็นความจาเป็นแก่เศรษฐกิจของประเทศ ให้คณะกรรมการแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับสัมปทาน ทราบว่า รัฐบาลจะเข้าใช้สิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมในพื้นที่นั้นด้วยความเสี่ยงภัยแต่ฝ่ายเดียว เมื่อคณะกรรมการได้แจ้งให้ผู้รับสัมปทานทราบถึงการเข้าใช้สิทธิดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าสิทธิตาม สัมปทานของผู้รับสัมปทานเฉพาะในพื้นที่ที่ได้กาหนดขึ้นตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลง และให้บรรษัทเข้าประกอบกิจการ ปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวได้ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๓


Page 168

ถ้าบรรษัทไม่เริ่มต้นประกอบกิจการปิโตรเลียมอย่างจริงจังในพื้นที่ที่กาหนดขึ้นตามวรรคสอง ภายในระยะเวลาสองปี นับแต่วันที่สิทธิตามสัมปทานของผู้รับสัมปทานนั้นสิ้นสุดลงตามวรรคสี่ ผู้รับสัมปทานมี สิทธิร้องขอให้ คณะกรรมการคืนสิทธิในพื้นที่ดัง กล่ าวให้แก่ตนโดยทาเป็นหนัง สือ ยื่นต่อ คณะกรรมการภายใน ระยะเวลาหกเดือนนับแต่วันที่ครบกาหนดสองปีดังกล่าว และในกรณีที่มีการคืนสิทธิในพื้นที่ ให้ขยายอายุสัมปทาน ของผู้รับสัมปทานเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับพื้นที่นั้ นออกไปเท่ากับระยะเวลาที่ บรรษัทได้เข้าใช้สิทธิตามมาตรานี้ และบรรษัทมีสิทธิได้รับคืนเงินที่ได้ลงทุนไปในพื้นที่ดังกล่าวเป็นจานวนเท่าที่การลงทุนนั้นได้เกิดประโยชน์แก่ ผู้รับ สัมปทาน

ส่วนที่ ๖ การแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐ __________ มาตรา ๘๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๖๑ เมื่อคณะกรรมการเห็นควรจัดให้มีการประกวดการให้ ผลตอบแทนแก่รัฐแล้ว ให้ดาเนินการเป็นรอบๆ โดยดาเนินการดังต่อไปนี้ (๑) การกาหนดจานวนแปลงการผลิตปิโตรเลียมต้องมีอัตราส่วนจานวนแปลงการผลิตไม่เกินกว่า สามในสี่ส่วนของจานวนผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมทั้งหมดที่คาดว่าจะเข้าประกวดการให้ผลตอบแทนแก่รัฐ (๒) ในการเข้าประกวดผลตอบแทนตาม (๑) ในแต่ละแปลงการผลิตปิโตรเลียม ต้องมีผู้แข่งขัน ในการเสนอผลตอบแทนให้แก่รัฐมากกว่าห้ารายขึ้นไป โดยให้ผู้ที่เสนอผลตอบแทนให้แก่รัฐสูงสุดเป็นผู้ได้รับสัญญา ในระบบแบ่งปันผลผลิตของปริมาณปิโตรเลียม (๓) ในกรณีที่มีผู้เข้าแข่งขันตาม (๑) หรือ (๒) มีจานวนน้อยกว่าที่กาหนดใน (๑) หรือ (๒) ให้ คณะกรรมการยกเลิกการประกวดการให้ผลตอบแทนแก่รัฐ และให้ประกาศให้มีการประกวดการให้ผลตอบแทนแก่ รัฐใหม่ ในกรณีที่เห็นสมควรอาจไม่จัดให้มีการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐในกิจการปิโตรเลียมในรอบนั้นก็ได้ (๔) เมื่อดาเนินการ (๓) แล้ว ไม่ไ ด้ผู้เข้าประกวดผลตอบแทนเพราะเหตุที่จานวนผู้เข้าแข่งขัน ตาม (๑) หรือ (๒) มีจานวนน้อยกว่าที่กาหนดใน (๑) หรือ (๒) หรือไม่มีผู้เหมาะสม ให้คณะกรรมการยกเลิกการ ประกวดการให้ผลตอบแทนแก่รัฐ แล้วให้ส่งให้บรรษัทดาเนินการด้วยการจ้างเอกชนผลิตปิโตรเลียมต่อไป หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐสาหรับการแบ่งปันผลผลิตตามวรรคหนึ่งให้ เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๘๒ ผู้เข้าแข่งขันราคาต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติเป็นผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมตามมาตรา ๖๕ และต้องไม่มีหุ้นในธุรกิจที่เกี่ยวพั นกัน หรือมีความเกี่ยวพันในทางธุรกิจต่อกันทั้งทางตรงและทางอ้อมของผู้ ประกอบกิจการปิโตรเลียมรายอื่น

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๔


Page 169

มาตรา ๘๓ ให้คณะกรรมการกาหนดข้อกาหนดในการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐสาหรับการ แบ่งปันผลผลิตกับรัฐในแปลงการจัดหาปิโตรเลียมภายในราชอาณาจักร ซึ่งอย่างน้อยต้องมีข้อกาหนด ดังต่อไปนี้ (๑) การเสนอผลตอบแทนแก่รัฐด้วยวิธีการทาสัญญาแบ่งปันผลผลิตกับรัฐ (๒) ค่ าใช้ จ่า ยทั้ง ปวงในการประกอบกิจ การปิ โตรเลี ยมตกเป็ นภาระของผู้ยื่ น ข้อ เสนอที่ เ ข้ า ประกวดผลตอบแทนแก่รัฐที่จะได้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตกับรัฐ (๓) ผู้ยื่นข้อเสนอต้องเสนอแบ่งปันผลผลิตรวมของปิโตรเลียม ให้แบ่งแก่ บรรษัท ในอัตราไม่น้อย กว่าร้อยละสามสิบห้าของปิโตรเลียมทุกประเภททั้งหมดที่ผลิตได้จากแปลงผลิต ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามอัตราส่วนของ ประเภทปิโตรเลียมตามตารางแสดงส่วนแบ่งขั้นต่าของระบบแบ่งปันผลิตเพื่อใช้ในการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐ หมายเลข ๑ และตารางแสดงส่วนแบ่งเพิ่มเติมแปรผันตามราคาปิโตรเลียม หมายเลข ๒ แนบท้ายพระราชบัญญัติ นี้ (๔) อายุของสัญญาซึ่งจะมีอายุไม่เกินยี่สิบปี (๕) ผู้ยื่นข้อเสนอต้องผูกพันชาระเงินบารุงการวิจัยให้แก่ บรรษัทในอัตราร้อยละศูนย์จุดห้าของ จานวนรวมแห่งส่วนของผลผลิตรวม และส่ วนแบ่งของปิโตรเลียมส่วนที่เป็นกาไรของผู้ได้รับสัญญาตาม (๓) ตาม วิธีการและเวลาที่จะได้กาหนดโดยบรรษัท แต่ทั้งนี้ การชาระเงินดังกล่าวจะหักจากผลผลิตมิได้ (๖) ผู้ยื่นข้อเสนอต้องเสนอหลักการ รูปแบบ และวิธีการรับฟังความคิดเห็นและการเปิดโอกาส อย่างแท้จริงจากประชาชนและชุมชนผู้มีส่วนได้เสียโดยตรงรวมถึงผู้เชียวชาญหรือนักวิชาการที่ประชาชนหรือ ชุมชนผู้ได้รับผลเสียหายให้ความเห็นชอบ พร้อมทั้งมาตรการที่จะเยียวยาและแก้ไขผลเสียหายอัน อาจเกิดขึ้นจาก การผลิตทันทีที่เกิด ความเสียหายขึ้น โดยในมาตรการในการเยียวยาและแก้ไ ขผลเสียหายดัง กล่ าวต้องมีการ ประกันภัยอันเกิดจากการผลิตในรูปแบบที่เป็นเงินหรือผลประโยชน์ทเี่ พียงพอ มาตรา ๘๔ เมื่อผู้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ แล้ว ให้ดาเนินการผลิตปิโตรเลียมทันที ผู้รับสัญญา ที่ไม่ดาเนินการผลิตปิโตรเลียมตามสัญญาภายในสองปี ให้ถือว่าสัญญาการแบ่งปันผลผลิต กับรัฐสิ้นสุดลงและให้ ดาเนินการเปิดการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐตามที่วิธีการที่กาหนดในหมวดนี้ มาตรา ๘๕ ในกรณีที่รัฐมีความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์ต่อความมั่นคงของ ชาติในการป้องกันประเทศในภาวะสงครามหรือการรบ ให้คณะกรรมการพิจารณาสั่งให้ ผู้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ เร่งรัดการผลิตปิโตรเลียมในพื้นที่ที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ได้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ ก็ได้ โดยเสนอ แผนการผลิตในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่กาหนดขึ้นเป็นการเฉพาะตามโครงสร้างของแหล่งปิโตรเลียม ถ้าผู้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ ไม่สามารถเจรจาทาความตกลงกับคณะกรรมการได้ภายในเวลาที่ คณะกรรมการกาหนด และคณะกรรมการเห็นว่าการเร่งรัดการผลิตปิโตรเลียมดังกล่าวเป็นความจาเป็นแก่การ ป้องกันประเทศ ให้คณะกรรมการแจ้งเป็นหนัง สือให้ผู้ รับสัญ ญาตามมาตรา ๘๓ ทราบว่า รัฐบาลจะเข้าใช้สิทธิ ประกอบกิจการปิโตรเลียมในพื้นที่นั้นด้วยความเสี่ยงภัยแต่ฝ่ายเดียว เมื่อคณะกรรมการได้แจ้งให้ผู้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ ทราบถึงการเข้าใช้สิทธิดังกล่าวแล้ว ให้ ถือว่าสิทธิตามสัญญาแบ่งปันผลผลิตกับรัฐของผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ได้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ เฉพาะใน พื้นที่ที่ได้กาหนดขึ้นตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลง และให้บรรษัทเข้าประกอบกิจการปิโตรเลียมในพื้นที่ดังกล่าวได้ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๕


Page 170

เมื่อภาวะสงครามหรือ การรบสิ้นสุ ดลง ให้คณะกรรมการคืนสิทธิในพื้ นที่ดัง กล่าวให้แก่ ผู้รั บ สัญญาตามมาตรา ๘๓ เดิม และให้ขยายอายุสิทธิตามสัญญาแบ่งปันผลผลิตกับรัฐเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับพื้นที่นั้น ออกไปเท่ากับระยะเวลาที่บรรษัทได้เข้าใช้สิทธิตามมาตรานี้ และบรรษัทมีสิทธิได้รับคืนเงินที่ได้ลงทุนไปในพื้นที่ ดังกล่าวเป็นจานวนเท่าที่การลงทุนนั้นได้เกิดประโยชน์แก่ผู้รับสัญญาตามมาตรา ๘๓ เดิม

ส่วนที่ ๗ การจ้างเอกชนให้ผลิตปิโตรเลียม __________ มาตรา ๘๖ ภายใต้บังคับมาตรา ๖๒ เมื่อคณะกรรมการเห็นควรให้มีการจ้างเอกชนให้ผลิต ปิโตรเลียม ให้คณะกรรมการกาหนดเงื่อนไขและหลั กเกณฑ์การประกวดราคา แล้วให้คณะกรรมการและบรรษัท ดาเนินการประกวดเป็นรอบๆ ดาเนินการดังต่อไปนี้ (๑) ให้คณะกรรมการกาหนดจานวนแปลงการผลิตปิโตรเลียมที่คาดว่าจะเข้าประกวดราคา ใน การรับจ้างผลิตปิโตรเลียม และให้บรรษัทดาเนินการตาม (๒) ต่อไป (๒) ในการเข้า ประกวดราคาในแต่ ละแปลงการผลิต ปิ โตรเลีย ม ต้อ งมี ผู้ แข่ ง ขั นในการเสนอ ผลตอบแทนให้แก่รัฐมากกว่าสามรายขึ้นไป โดยให้ผู้ที่เสนอผลตอบแทนให้แก่รัฐสูงสุดเป็นผู้ได้รับสัญญาในระบบ การจ้างเอกชนให้ผลิตปิโตรเลียม (๓) ในกรณีที่มีผู้เข้าแข่งขันตาม (๒) มีจานวนน้อยกว่าที่กาหนดใน (๒) ให้บรรษัทยกเลิกการ ประกวดราคา และให้ประกาศให้มีการประกวดราคาใหม่ (๔) เมื่อดาเนินการ (๓) แล้ว ไม่ได้ผู้เข้าประกวดราคาเพราะเหตุที่จานวนผู้เข้าแข่งขั นตาม (๑) หรือ (๒) มีจานวนน้อยกว่าที่กาหนดใน (๑) หรือ (๒) หรือไม่มีผู้เหมาะสม ให้ บรรษัทดาเนินการด้วยการจ้าง หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนรายหนึ่งรายใดเข้าทาการรับจ้างผลิตปิโตรเลียมต่อไป หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกวดราคาสาหรับการผลิตปิโตรเลียม ตลอดจนการจ้างหน่วยงาน ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนทาการผลิตปิโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๘๗ ผู้เข้าแข่งขันประกวดราคาตามมาตรา ๘๖ ต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติเป็นผู้ประกอบ กิจการปิโตรเลียมตามมาตรา ๖๕ นั้น และต้องไม่มีหุ้นในธุรกิจที่เกี่ยวพันกัน หรือมีความเกี่ยวพันในทางธุรกิจต่อ กันทั้งทางตรงและทางอ้อมของผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมรายอื่น

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๖


Page 171

มาตรา ๘๘ กรณีที่เป็นการจัดหาปิโตรเลียมภายในราชอาณาจักรด้ วยวิธีการทาสัญญาจ้างผลิต ปิโตรเลียม สัญญาดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีข้อกาหนดและเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (๑) การลงทุนและจานวนทุนของบรรษัทปิโตรเลียมไทยในแปลงการผลิตปิโตรเลียม และจานวน การผลิตที่ผู้รับจ้างรับประกันการได้ประโยชน์สูงสุดในการผลิตปิโตรเลียมและประโยชน์ต่าสุด และการคาดการณ์ ในแต่ละช่วงการผลิต (๒) การรายงาน การตรวจสอบ ปริมาณ ชนิด และประเภทของปิโตรเลียมและ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นที่ทาการผลิตได้ในแต่ละวัน (๓) การเก็บรักษาและการขนส่งจากแปลงการผลิตปิโตรเลียมมายังคลังจัดเก็บของบรรษัท (๔) เพื่อวัตถุประสงค์ของการจัดหาปิโตรเลียมตามพระราชบัญ ญัตินี้ ผู้ไ ด้รับสัญ ญาต้องได้รับ ค่าจ้างเป็นเงินหรือผลผลิตของปิโตรเลียมหรือทรัพยากรอื่นเป็นจานวนตามวิธีการและเวลาที่จะกาหนดในสัญญา (๕) อายุของสัญญาซึ่งจะมีอายุไม่เกินยี่สิบปี (๖) จานวนเงินขั้นต่าที่ผู้ได้รับสัญญาต้องใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการรับจ้างประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามสัญญาในฐานะข้อผูกพันขั้นต่าและขั้นสูง ตามที่ตกลงกันระหว่างบรรษัทและผู้ได้รับสัญญา มาตรา ๘๙ เมื่อผู้รับจ้างผลิตที่ได้รับสัญญาตามมาตรา ๘๘ แล้ว ให้ดาเนินการผลิตปิโตรเลียม ตามสัญญาที่รับจ้างทันที ผู้รับจ้างที่ไม่ดาเนินการผลิตปิโตรเลียมตามสัญญาภายในสองปี ให้ถือว่าสัญญาการจ้าง สิ้นสุดลงและให้ดาเนินการเปิดการประมูลเงื่อนไข เทคนิค และราคาใหม่ตามวิธีการที่กาหนดในหมวดนี้ ในกรณีที่มีความเสียหายจากการไม่ปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ให้ บรรษัทรายงานความเสียหายและค่า ความเสียหายต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณา เมื่อคณะกรรมการเห็นชอบกับรายงานดัง กล่าวแล้ว ให้ บรรษัท ดาเนินการฟ้องค่าเสียหายเป็นคดีต่อไป การฟ้องคดีเกี่ยวกับสัญญาจ้าง การเลิกจ้าง และการเรียกค่าเสียหายตามมาตรานี้ ให้ฟ้องคดีต่อ ศาลปกครองเพื่อพิจารณาวินิจฉัยต่อไป

หมวด ๓ การเก็บรักษาและขนส่งปิโตรเลียม __________ มาตรา ๙๐ ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้มีสิทธิเก็บรักษาและมีสิทธิขนส่ง ปิโตรเลียม เพื่อทาการจัดจาหน่ายตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ การเก็บรักษาและการขนส่งปิโตรเลียมให้เป็นไปตามข้อกาหนดในสัมปทาน สัญญาการแบ่งปัน ผลผลิตกับรัฐ และสัญญาการจ้างผลิตปิโตรเลียม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๗


Page 172

มาตรา ๙๑ ในกรณีจาเป็นเพื่อป้องกันอันตรายเป็นการด่วน พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ประกอบ กิจการปิโตรเลียมซึ่งรับสัมปทานหรือสัญญาตามพระราชบัญญัตินี้ มีอานาจผ่านหรือเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ของ บุคคลใดเพื่อ ตรวจ ซ่อ มแซม หรื อ แก้ไ ขท่ อส่ ง ปิ โตรเลีย มในเวลาใดๆ ได้ แต่ต้ องแจ้ ง ให้เ จ้า ของหรือ ผู้มี สิท ธิ ครอบครองที่ดินหรือสถานที่นั้นทราบโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ ถ้าการผ่านหรือเข้าไปในที่ดินหรือสถานที่ตามวรรคหนึ่ง เป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย เจ้าของผู้มี สิทธิครอบครองหรือผู้ทรงสิทธิอื่นใดในที่ดินหรือสถานที่นั้นมีสิทธิเรียกค่าเสียหายจากพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ ผู้รับ สิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรั ฐ และถ้าไม่สามารถตกลงกันถึง จานวนค่าเสียหายได้ ให้ฟ้องคดีต่อศาล ปกครองเพื่อพิจารณาวินิจฉัยต่อไป

หมวด ๔ การขายและจาหน่ายปิโตรเลียม __________ มาตรา ๙๒ ภายใต้บังคับหมวดนี้ การขายและจาหน่ายปิโตรเลียมที่เกิดจากการจัดหาภายใน ราชอาณาจักรตามพระราชบัญญั ตินี้ ไม่ว่าจะเป็นปิโตรเลียมที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมผู้รับสิทธิประกอบ กิจการปิโตรเลียมจากรัฐผลิตได้รับจากการได้รับสัมปทาน หรือที่ผลิตได้จากการแบ่งปันผลผลิตจากรัฐในส่วนที่เป็น ของผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียม ผู้ได้รับสัญญาการแบ่ง ปันผลผลิตจากรัฐ หรือปิโตรเลี ยมที่ผลิตได้จากการจ้าง เอกชนให้ผลิตปิโตรเลียมที่ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมได้รับเป็นค่าจ้าง ให้จาหน่ายให้แก่ บรรษัทในราคาและ ปริมาณที่คณะกรรมการกาหนดโดยคานึงถึงต้นทุนการผลิตที่แท้จริง ณ แหล่งผลิต ประกอบค่าบริหารจัดการที่เป็น สากล และปริมาณการใช้ปิโตรเลียมภายในราชอาณาจักร การจาหน่ายปิโตรเลียมที่เหลือและผลิตได้เกินจานวนจากการจาหน่ายแก่ บรรษัทตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมมีสิทธิขายและจาหน่ายได้ตามที่เห็นสมควร มาตรา ๙๓ ในกรณีที่มีความจาเป็นเกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศหรือเพื่อให้มีปิโตรเลียม เพียงพอกับความต้องการใช้ภายในราชอาณาจักร ให้คณะรัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจ ประกาศห้ามส่งปิโตรเลียมที่ผู้ได้รับสัญญาการประกอบกิจการปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ ได้รับในส่วนของ ตนตามที่เหลือจากการจาหน่ายให้ บรรษัท ตามมาตรา ๙๒ ทั้งหมด หรือบางส่วนออกนอกราชอาณาจักร หรือ ห้ามส่งไป ณ ที่ใดเป็นการชั่วคราวได้ การประกาศตามมาตรานี้ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๙๔ การประกอบกิจการปิโตรเลียมในธุรกิจค้าและจาหน่ายปลีกให้แก่สถานีบริการ น้ามันหรือก๊าซธรรมชาติ ให้คณะกรรมการกาหนดราคาค่าการตลาดหรือค่าใช้จ่ายในการประกอบการตามสภาพ ของค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นภายในประเทศและเป็นไปตามกลไกการค้าเสรี

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๘


Page 173

มาตรา ๙๕ ห้ามมิให้ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมซึ่งมีอานาจเหนือตลาดกระทาการในลักษณะ อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (๑) กาหนดหรือรั กษาระดั บราคาซื้อ หรือ ขายน้ามั นเชื้ อเพลิง หรื อ ก๊า ซหรื อค่า การตลาดหรื อ ค่าบริการเกี่ยวกับน้ามันเชื้อเพลิงหรือก๊าซอย่างไม่เป็นธรรม (๒) กาหนดเงื่อนไขในลักษณะที่เป็นการบังคับโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมอย่างไม่เป็นธรรม ให้ ผู้ประกอบธุรกิจอื่นซึ่งเป็นลูกค้าของตนต้องจากัดการบริการ การผลิต การซื้อ หรือการจาหน่าย น้ามันเชื้อเพลิง หรือก๊าซหรือต้องจากัดโอกาสในการเลือกซื้อหรือขายน้ามันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ การได้รับหรือให้บริการ หรือในการ จัดหาสินเชื่อจากผู้ประกอบธุรกิจอื่น (๓) ระงับ ลด หรือจากัดการบริการ การผลิต การซื้อ การจาหน่าย การส่งมอบ การนาเข้ามาใน ราชอาณาจักรโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ทาลายหรือทาให้เสียหายซึ่ง ปิโตรเลียม น้ามันเชื้อเพลิงหรือก๊าซเพื่อลด ปริมาณให้ต่ากว่าความต้องการของตลาด (๔) แทรกแซงการประกอบกิจการปิโตรเลียม หรือธุรกิจน้ามันเชื้อเพลิงหรือก๊าซของผู้อื่นโดยไม่มี เหตุผลอันสมควร มาตรา ๙๖ ห้ามมิให้ผู้ประกอบกิจการปิโ ตรเลียมกระทาการรวมธุรกิจ การประกอบกิจการ ปิโตรเลียมหรือการค้าหรือจาหน่ายน้ามันเชื้อเพลิงหรือก๊าซอันอาจก่อให้เกิดการผูกขาดหรือความไม่เป็นธรรมใน การแข่งขัน ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนดในราชกิจจานุเบกษา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ การประกาศกาหนดของคณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้ระบุว่าให้บังคับแก่การรวมธุรกิจที่มีผล ให้มีส่วนแบ่งตลาด ยอดเงินขาย จานวนทุน จานวนหุ้น หรือจานวนสินทรัพย์ไม่น้อยกว่าจานวนเท่าใด การรวมธุรกิจ การประกอบกิจการปิโตรเลียมหรือการค้าหรือจาหน่ายน้ามันและเชื้อเพลิง ตาม วรรคหนึ่งให้หมายความรวมถึง (๑) การที่ผู้ผลิตรวมกับผู้ผลิต ผู้จาหน่ายรวมกับผู้จาหน่าย ผู้ผลิตรวมกับผู้จาหน่าย หรือผู้บริการ รวมกับผู้บริการ อันจะมีผลให้สถานะของธุรกิจหนึ่งคงอยู่และธุรกิจหนึ่งสิ้นสุดลงหรือเกิดเป็นธุรกิจใหม่ขึ้น (๒) การเข้าซื้อสินทรัพย์ทั้งหมดหรือบางส่วนของธุรกิจอื่นเพื่อควบคุมนโยบายการบริหารธุรกิจ การอานวยการ หรือการจัดการ (๓) การเข้าซื้อหุ้นทั้งหมดหรือบางส่วนของธุรกิจอื่นเพื่อควบคุมนโยบายการบริหารธุรกิจ การ อานวยการ หรือการจัดการ การขออนุญาตตามวรรคหนึ่งให้ผู้ประกอบธุรกิจยื่นคาขอต่อคณะกรรมการ มาตรา ๙๗ ห้ามมิให้ผู้ประกอบธุ รกิจใดร่วมกับผู้ประกอบธุรกิจอื่นกระทาการใดๆ อันเป็นการ ผูกขาด หรือลดการแข่งขัน หรือจากัดการแข่งขันในตลาดสินค้าใดสินค้าหนึ่ง หรือบริการใดบริการหนึ่งในลักษณะ ทาความตกลงร่วมกันเพื่อเข้าครอบครองตลาดหรือควบคุมตลาด หรือกาหนดปริมาณของสินค้าหรือบริการที่ผู้ ประกอบธุรกิจแต่ละรายจะผลิต ซื้อ จาหน่าย หรือบริการ เพื่อจากัดปริมาณให้ต่ากว่าความต้องการของตลาด หรือ กาหนดเงื่อนไขหรือวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการซื้อหรือการจาหน่ายสินค้าหรือการบริการ เพื่อให้ปฏิบัติเป็นแบบเดียวกัน หรือตามที่ตกลงกัน

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๒๙


Page 174

มาตรา ๙๘ ห้ามมิให้ผู้ประกอบกิจการปิโ ตรเลียมกระทาการใด ๆ อันมิใช่การแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรม และมีผลเป็ นการท าลาย ทาให้เ สียหาย ขัดขวาง กีดกั น หรือ จากัดการประกอบธุร กิจของผู้ ประกอบกิจการปิโตรเลียมอื่น หรือเพื่อมิให้ผู้อื่นประกอบธุรกิจกิจการปิโตรเลียม หรือต้องล้มเลิกการประกอบ ธุรกิจกิจการปิโตรเลียม มาตรา ๙๙ ให้คณะกรรมการมีอานาจสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบธุรกิจ กิจการปิโตรเลียมซึ่งมี อานาจเหนือตลาดที่มีส่วนแบ่งตลาดเกินกว่าจานวนที่คณะกรรมการประกาศกาหนด ระงับ หยุด หรือเปลี่ยนแปลง มีส่วนแบ่งตลาด ในการนี้คณะกรรมการอาจกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาในการปฏิบัติไว้ด้วย ก็ได้ มาตรา ๑๐๐ เพื่อประโยชน์ในการแข่งขันการประกอบกิจการปิโตรเลียมให้เป็นไปตามหลักการที่ กาหนดในมาตรา ๑๖ ให้อานาจของคณะกรรมการแข่ง ขันทางการค้าและอานาจของสานักงานคณะกรรมการ แข่งขันทางการค้าตามพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นอานาจของคณะกรรมการและกรม ธุรกิจพลังงาน และให้มีอานาจดาเนินงานปฏิบัติการและแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติการแข่งขัน ทางการค้า พ.ศ. ๒๕๔๒

หมวด ๕ ค่าภาคหลวง __________ มาตรา ๑๐๑ ให้ ผู้ รั บ สิ ท ธิ ป ระกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย มจากรั ฐ ต้ อ งเสี ย ค่ า ภาคหลวงส าหรั บ ปิโตรเลียมที่ขายหรือจาหน่าย ตามอัตราที่คณะกรรมการกาหนดในหมวดนี้หรือตามที่ผู้นั้นได้ยื่นข้อเสนอสาหรับ การประมูลเพื่อให้ได้สิทธิตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ การเผาก๊ า ซธรรมชาติ ที่ จ าเป็ น ต้ อ งเผาทิ้ ง ตามวรรคหนึ่ ง ให้ มี จ านวนและปริ ม าณไม่ เ กิ น ที่ คณะกรรมการกาหนด สาหรับในส่วนที่เกินกว่าที่กาหนดให้คิดเป็นส่วนที่ถูกกาหนดให้เป็นค่าความสูญเสียจาก มูลค่าผลผลิตที่รัฐสูญเสียไปตามราคาตลาด และให้คานวณเป็นส่วนหนึ่งของค่าภาคหลวงจากผู้รับสัมปทานหรือ ผู้รับสัญญาในระบบแบ่งปันผลผลิต มาตรา ๑๐๒ ให้ผู้รับสัมปทานเสียค่าภาคหลวงเป็นปริมาณปิโตรเลียมตามสัดส่วนของผลผลิต ปิโตรเลียมที่ผู้รับสัมปทานผลิตได้ในแต่ละแปลงสารวจ มาตรา ๑๐๓ การคานวณผลผลิตปิโตรเลียมเป็นค่าภาคหลวง ให้ผู้รับสัมปทานแจ้งจานวนที่ผลิต ได้ในแต่และวันให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทราบเพื่อใช้เป็นการคานวณการจ่ายผลผลิตปิโตรเลียมที่ ต้องชาระเป็นราย เดือน ให้ชาระต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายในเวลาและตามวิธีการที่ และสถานที่ที่คณะกรรมการกาหนดพร้อมกับยื่น แบบแสดงรายการเสียค่าภาคหลวงตามที่คณะกรรมการกาหนดโดยแสดงรายการครบถ้วนตามแบบนั้นและยื่น เอกสารประกอบตามที่คณะกรรมการกาหนดด้วย

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๐


Page 175

มาตรา ๑๐๔ อธิบดีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการมีอานาจประเมินผลผลิตปิโตรเลียมที่ เป็นค่าภาคหลวงและปริมาณปิโตรเลียมเพิ่มตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ (๑) ผู้รับสัมปทานมิได้ยื่นแบบแสดงรายการเสียค่าภาคหลวงภายในเวลาที่กาหนด (๒) ผู้รับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการเสียค่าภาคหลวงไว้ไม่ถูกต้ องหรือมีข้อผิดพลาดทาให้ จานวนค่าภาคหลวงที่ต้องเสียคลาดเคลื่อนไป (๓) ผู้รับสัมปทานไม่ปฏิบัติตามหนังสือเรียกของอธิบดีหรือของคณะกรรมการหรือไม่ตอบคาถาม ของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจตรวจสอบค่าภาคหลวงโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือไม่สามารถแสดงหลักฐานใน การคานวณผลผลิตปิโตรเลียมเป็นค่าภาคหลวง มาตรา ๑๐๕ เพื่อประโยชน์ใ นการดาเนินการตามมาตรา ๑๐๔ ให้ค ณะกรรมการมี อานาจ กาหนดหลักเกณฑ์การปฏิบัติงานของอธิบดีและพนักงานเจ้าหน้าที่ ดังนี้ (๑) จัดทารายการลงในแบบแสดงรายการเสียค่าภาคหลวงที่เห็นว่าถูกต้องเมื่อมิได้มีการยื่นแบบ แสดงรายการเสียค่าภาคหลวง (๒) แก้ไขเพิ่มเติมรายการในแบบแสดงรายการเสียค่าภาคหลวงหรือในเอกสารที่ยื่นประกอบแบบ แสดงรายการเสียค่าภาคหลวงเพื่อให้ถูกต้อง เมื่อได้ดาเนินการแล้วให้เสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ มาตรา ๑๐๖ ให้ ก ารด าเนิ น การตามมาตรา ๑๐๔ หรื อ มาตรา ๑๐๕ อธิ บ ดี ห รื อ พนั ก งาน เจ้าหน้าที่ที่อธิบดีมอบหมายมีอานาจ (๑) ออกหนังสือเรียกผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐหรือบุคคลซึ่ง เกี่ยวข้องมาให้ ถ้อยคา (๒) ออกคาสั่งให้ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวข้องตอบคาถาม เป็นหนังสือส่งบัญชี หลักฐาน รายงาน หรือเอกสารอื่นอันควรแก่กรณีมาตรวจสอบไต่สวน ทั้งนี้ ต้องให้เวลาแก่ผู้รับหนังสือหรือคาสั่งไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันได้รับหนังสือหรือคาสั่งนั้น มาตรา ๑๐๗ เมื่ออธิบดีได้ประเมินค่าภาคหลวงแล้ว ให้รายงานคณะกรรมการเพื่อพิจารณา เมื่อคณะกรรมการเห็นชอบแล้วให้แจ้งผลการประเมินเป็นหนังสือไปยังผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐ พร้อมกับกาหนดเวลาให้ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐชาระค่าภาคหลวงตามที่ประเมินภายในสามสิบ วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมินของอธิบดี ถ้าผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐไม่พอใจในผลการประเมินตามวรรคหนึ่งของอธิบดี ให้ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐมีสิทธิฟ้องต่อศาลปกครองเพื่อให้กาหนดค่าภาคหลวงใหม่ได้ แต่ต้อง ฟ้องขอภายในระยะเวลาไม่เกินสามเดือนนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการประเมิน มาตรา ๑๐๘ ถ้าผู้รับสัมปทานมิได้ชาระค่าภาคหลวงเป็นปิโตรเลียมภายในเวลาที่อธิบดีกาหนด ตามมาตรา ๑๐๗ หรื อ ชาระค่ า ภาคหลวงเป็ น ปิโ ตรเลี ยมขาดจากจ านวนที่ต้ อ งเสี ย ผู้ รั บสั ม ปทานต้ อ งช าระ ค่าภาคหลวงเป็นปิโตรเลียมจนครบจานวน และให้เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละสองต่อเดือนหรือเศษของเดือนของมูลค่า ปิโตรเลียมที่ต้องชาระเป็นค่าภาคหลวงหรือที่ชาระขาด แล้วแต่กรณี การคานวณมูลค่าของปิโตรเลียมตามวรรคหนึ่งให้ถือราคาตลาดในเวลาที่ต้องเสียค่าภาคหลวง

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๑


Page 176

หมวด ๖ กองทุนอนุรักษ์ทรัพยากรปิโตรเลียม ___________ มาตรา ๑๐๙ ให้จัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ทรัพยากรปิโตรเลียมขึ้นในบรรษัทเพื่อช่วยเหลือกิจกรรม สาธารณะในรูปแบบสวัสดิการต่างๆ ที่จัดให้แก่ประชาชน ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สิน ดังต่อไปนี้ (๑) เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้ (๒) เงินอุดหนุนที่รัฐบาลจัดสรรให้จากงบประมาณแผ่นดิน (๓) เงินปันส่วนจากกาไรของบรรษัท (๔) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้มอบให้เพื่อสมทบกองทุน (๕) ดอกผลหรือรายได้อื่น (๖) เงินและทรัพย์สินอื่นที่ตกเป็นของกองทุน เงินปันส่วนกาไรตาม (๓) ให้มีสัดส่วนจากกาไรไม่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของผลกาไรสุทธิในการ ประกอบการของบรรษัท การรับเงินหรือทรัพย์สินตาม (๔) ต้องไม่มีเงื่อนไขหรือข้อกาหนดที่กาหนดทิศทางการดาเนินการ ของคณะกรรมการหรือบรรษัท หรือนโยบายการบริหารปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ และต้องมิใช่เป็นการรับ เงินหรือทรัพย์สินจากต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ มาตรา ๑๑๐ ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุน มีหน้าที่บริหารกองทุน ประกอบด้วย ประธาน กรรมการบริห ารบรรษัท ปลัด กระทรวงพั ฒนาสัง คมและความมั่นคงของมนุษ ย์ ปลัด กระทรวงสาธารณสุ ข ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และผู้ทรงคุ ณวุฒิซึ่ง มีความรู้เชี่ยวชาญทางการเงินการบัญ ชีสองคน ผู้ทรงคุณวุ ฒิ ทางการพัฒนาสังคมและความมั่นคงหนึ่งคน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายหนึ่งคน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาหนึ่งคน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการสาธารณสุขหน และให้กรรมการผู้จัดการเป็นกรรมการและเลขานุการ ให้นาความในมาตรา ๒๗ มาใช้บังคับแก่กรรมการกองทุนผู้ทรงคุณวุฒิด้วย โดยอนุโลม การแต่งตั้ง วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของผู้ทรงคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ งให้ เป็นไปตามมาตรา ระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด มาตรา ๑๑๑ การใช้จ่ายเงินกองทุนให้กระทาได้หรือคานึงถึงกิจกรรมที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) การให้เงินสนับสนุนทางการศึกษา และกิจกรรมการศึกษาทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างมี คุณภาพและทั่วถึงแก่เด็ก เยาวชน คนยากไร้ หรือผู้ด้อยโอกาส เพื่อการได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง ทั้งนี้ให้เป็นไปตามนโยบายการศึกษาแห่งชาติ (๒) การจัดระบบสาธารณสุขและการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลของรัฐให้ คนยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส เพิ่มเติม เฉพาะในส่วนที่ไม่สามารถได้รับจากระบบสาธารณสุขของรัฐ (๓) กิจกรรมที่มีลักษณะการดาเนินงานที่เป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิต สวัสดิการและสวัสดิภาพแก่ประชาชน เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๒


Page 177

(๔) กิจกรรมที่เป็นการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของประชาชน ชุมชน หรือองค์กรภาคประชา สังคม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ รักษา อนุรักษ์ ทรัพยากร ธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อม (๕) กิจกรรมเพื่อการบาบัดหรือการแก้ไขปัญหาคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการประกอบกิจการ พลังงาน (๖) กิจกรรมอื่นที่อยู่ในขอบเขตวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัตินี้ตามที่คณะกรรมการกองทุน เห็นสมควร มาตรา ๑๑๒ เงินและทรัพย์สินตามมาตรา ๑๐๙ ให้ส่งเข้ากองทุน โดยไม่ต้องนาส่ง คลัง เป็น รายได้แผ่นดินตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ มาตรา ๑๑๓ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนได้มาตามมาตรา ๑๐๙ โดยมีผู้มอบให้หรือได้มา โดยการซื้อด้วยเงินรายได้ของกองทุน หรือแลกเปลี่ยนกับทรัพย์สินของกองทุน ให้เป็นกรรมสิทธิ์ของกองทุน มาตรา ๑๑๔ ทรัพย์สินของกองทุนไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี และบุคคลใดจะยก อายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้กับสถาบันในเรื่องทรัพย์สินของกองทุนมิได้ มาตรา ๑๑๕ การจัดทาบัญชีเพื่อแสดงผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน การสอบบัญชี การ จัดทางบการเงินและการแสดงความเห็นต่องบการเงินของผู้สอบบัญชีสาหรับกองทุน มาตรา ๑๑๖ ให้จัดทารายงานการรับและการใช้จ่ายเงินของกองทุนเสนอต่อคณะกรรมการ และคณะรัฐมนตรีเมื่อสิ้นปีงบประมาณทุกปี เมื่อนาเสนอต่อคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ประกาศให้ประชาชนทราบ แล้ว จึงนาเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต่อไป

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๓


Page 178

หมวด ๗ บทกาหนดโทษ __________ มาตรา ๑๑๗ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๗ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่น สองพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ มาตรา ๑๑๘ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ต้องระวางโทษปรับตั้งห้า แสนบาทถึงห้าล้านบาท มาตรา ๑๑๙ ผู้ใดรู้ว่าตนไม่มีคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามการเป็นกรรมการตามมาตรา ๒๗ หรือกรรมการบรรษัท หรือกรรมการบริหารบรรษัท หรือกรรมการผู้จัดการ แต่เข้ารับการเสนอชื่อหรือยินยอมให้ ตนได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการ กรรมการบรรษัท กรรมการบริหารบรรษัท หรือกรรมการ ผู้จัดการ ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ห้าปีแต่ไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทแต่ไม่เกินเจ็ดแสนบาท หรือทั้ง จาทั้งปรับ มาตรา ๑๒๐ ผู้ใดผลิตปิโตรเลียมโดยมิได้รับสิทธิจัดหาปิโตรเลียมจากรัฐ ต้องระวางโทษจาคุกไม่ เกินห้าปีและปรับไม่เกินห้าแสนบาท มาตรา ๑๒๑ ผู้รับสิทธิประกอบกิจการปิโตรเลียมจากรัฐผู้ใดไม่ยื่นแผนการผลิตปิโตรเลียมตามที่ กาหนดในมาตรา ๕๘ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท และปรับอีกวันละห้าพันบาทจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้ ถูกต้อง มาตรา ๑๒๒ ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคาเท็จ ตอบคาถามด้วยถ้อยคาอันเป็นเท็จ นา พยานหลักฐานเท็จมาแสดง หรือกระทาการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการแจ้งข้อมูลแสดงว่าได้พบ หลุมปิโตรเลียมที่มีสมรรถนะเชิงพาณิชย์ หรือการเสียค่าภาคหลวงหรือผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ ต้องระวาง โทษจาคุกตั้งแต่สามปีถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่สามแสนบาทถึงห้าแสนบาท มาตรา ๑๒๓ บรรดาปิโตรเลียม เครื่องมือ เครื่องใช้ ยานพาหนะ หรือเครื่องจักรกลใดๆ ที่บุคคล ได้มา ได้ใช้ในการกระทาความผิด หรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ให้ ริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่าจะมีผู้ถูกลงโทษตามคาพิพากษาหรือไม่

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๔


Page 179

บทเฉพาะกาล มาตรา ๑๒๔ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๒๘ มาตรา ๑๒๙ และมาตรา ๑๓๐ ให้บรรดาสัมปทาน หรือสิทธิของผู้ได้รับอนุญาตหรือสัมปทานให้สารวจหรือผลิตปิโตรเลียม และการดาเนินการตามพระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่ยังคงอยู่ในอายุของสัมปทาน ให้ยังคงใช้ได้อยู่ต่อไปจนกว่าจะครบ กาหนดอายุของสัมปทาน และให้นาความในมาตรา ๓๔ มาใช้บัง คับกับผู้รับอนุญาตหรือสัมปทานให้ สารวจหรือ ผลิตปิโตรเลียมด้วย ในกรณีที่ผู้ได้รับสิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง เป็นผู้ได้รับสิทธิสารวจและผลิตใน พื้นที่ทับซ้อนทางทะเลระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นที่ยังมิได้มีการตกลงขนาดของพื้นที่และสัดส่วนในการ แสวงหาผลประโยชน์ของประเทศร่วมกันจนเป็นที่ยุติก่อนวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ หากมีความประสงค์จะ ขอรับสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมตามพระราชบัญ ญัตินี้ ต้องยอมยกเลิกสัญ ญาสัมปทานตามวรรคหนึ่ง เมื่อได้ ยกเลิกสัญญาสัมปทานดังกล่าวแล้วให้ถือว่าเป็นผู้มีสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๒๕ ในวาระเริ่ม แรกที่ ยัง ไม่ มีบ รรษัท ให้ กรมธนารัก ษ์ท าหน้า ที่ บ รรษัท และให้ มี คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียม ทาหน้าที่คณะกรรมการบรรษัทและคณะกรรมการบริหารบรรษัทเป็นการ ชั่ ว คราวจนกว่ า จะมี ก ารจั ด ตั้ ง บรรษั ท คณะกรรมการบรรษั ท และคณะกรรมการบริ ห ารบรรษั ท ตาม พระราชบัญญัตินี้ แต่ต้องไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียม” ประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี เป็นประธานผู้แทนกรมพลังงานทหาร ผู้แทนกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ผู้แทนสภาทนายความ ผู้แทน สภาวิศวกร ผู้แทนเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ผู้แทนภาคประชาสัง คมในคณะกรรมาธิการ วิสามั ญ พิจ ารณาศึกษาการบัง คับใช้ พระราชบัญ ญัติ ปิโตรเลี ยม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญ ญัติภ าษีเ งินได้ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้แทนมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ผู้แทนสหพันธ์องค์กรเพื่อผู้บริโภค ผู้แทนเครื อข่ายประชาชนต่อต้ านคอรัปชั่ น (คปต.) ผู้ แทนมูลนิธิ สุขภาวะ ผู้แทนมูล นิธิสืบ นาคะเสถียร และ ผู้ทรงคุณวุฒิที่คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่ง ชาติ แต่ง ตั้ง จากผู้มีความรู้ความสามารถด้านกฎหมาย ด้าน พลังงาน ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการเงินการธนาคาร ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จานวน ห้าคน ให้อธิบดีกรมธนารักษ์เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ทาหน้าที่กรรมการผู้จัดการ บรรษัท ตามพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีการจัดตั้งบรรษัทและดาเนินการสรรหาและแต่ง ตั้งกรรมการผู้จัดการบรรษัท ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นาความในมาตรา ๒๖ มาใช้บังคับแก่คณะกรรมการตามมาตรานี้ด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๑๒๖ ในระหว่างที่ยัง ไม่มีคณะกรรมการ ให้คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียม ดาเนินการจัดให้มีการประมวลผลข้อมูลการสารวจปิโตรเลียมทั่วราชอาณาจักรเพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตาม พระราชบัญ ญัตินี้ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูลเพียงพอต่อการจัดหาปิโตรเลียมให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อจัดให้มีการ สารวจปิโตรเลียมเพิ่มเติมตามวิธีการที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๕


Page 180

ต้นทุนในการสารวจและประมวลผลตามมาตรานี้ ให้รวมเป็นต้นทุนในแปลงปิโตรเลียมนั้นในส่วน ที่รัฐได้ใช้ไปเพื่อประโยชน์ในการแสวงหาทรัพยากรปิโตรเลียม และให้นาไปรวมเป็นมูลค่าของปิโตรเลียมเพิ่มเติม จากที่รัฐจะได้รับจากผลผลิตในแปลงผลิตปิโตรเลียมนั้นเมื่อได้ทาการผลิตปิโตรเลียมแล้ว หลักเกณฑ์และวิธีการคิดมูลค่าของปิโตรเลียมเพิ่มเติมทีรัฐจะได้รับตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียมกาหนด มาตรา ๑๒๗ ให้คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียมตามมาตรา ๑๒๕ ดาเนินการให้มีการ จัดหาผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมในแปลงสารวจหมายเลขบี ๑๐ หมายเลขบี ๑๑ หมายเลขบี ๑๒ และหมายเลข บี ๑๓ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณและข้างเคียง ก่อนที่จะครบกาหนดอายุสัมปทานลงในวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ และแปลงสารวจหมายเลขบี ๑๕ หมายเลขบี ๑๖ และหมายเลขบี ๑๗ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกช และข้างเคีย งก่อ นที่ค รบก าหนดอายุสั มปทานจะหมดอายุล งในวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ และวัน ที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ รวมทั้ง ในแปลงส ารวจ หมายเลข จี ๓/๕๗ หมายเลข จี ๔/๕๗ หมายเลข จี ๕/๕๗เอ หมายเลข จี ๕/๕๗บี และหมายเลข จี ๖/๕๗ โดยดาเนินการเป็นการล่วงหน้า ทั้งนี้ ภายในสามเดือนนับจากวันที่ พระราชบัญ ญัตินี้ใช้บัง คับ และให้ ใช้วิธีการให้เอกชนเข้ าทาสัญ ญาการแบ่ง ปันผลผลิตปิ โตรเลียมกับรัฐตามที่ กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ โดยมีหลักเกณฑ์พื้นฐานดังนี้ (๑) กาหนดให้มีการประกวดการให้ผลตอบแทนแก่รัฐโดยดาเนินการเป็นรายแปลง (๒) ผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมทั้งหมดที่คาดว่าจะเข้าประกวดการให้ผลตอบแทนแก่รัฐต้องมี จานวนผู้เข้าประกวดเกินกว่าสี่ส่วนต่อจานวนแปลงการผลิตปิโตรเลียมสามส่วน (๓) ในการเข้าประกวดผลตอบแทนตามในแต่ละแปลงการผลิตปิโตรเลียม ต้องมีผู้แข่งขันในการ เสนอผลตอบแทนให้แก่รัฐมากกว่าห้ารายขึ้นไป โดยให้ผู้ที่เสนอผลตอบแทนให้แก่รัฐสูง สุดเป็นผู้ได้รับสัญ ญาใน ระบบแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐ (๔) ในกรณีที่มีผู้เข้าแข่งขันตาม(๒)หรือ(๓) มีจานวนน้อยกว่าที่กาหนดใน(๒) ให้คณะกรรมการ บริหารกิจการปิโตรเลียมยกเลิกการประกวดการให้ผลตอบแทนแก่รัฐ และให้ประกาศให้มีการประกวดการให้ ผลตอบแทนแก่รัฐใหม่ ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ยกเลิกกี่ประกวดให้ผลตอบแทนแก่รัฐ ให้คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียมจัดทาข้อกาหนดในการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐ สาหรับการแบ่งปันผลผลิตกับรัฐในแปลงการจัดหาปิโตรเลียมตามมาตรานี้ และให้นาความในมาตรา ๘๓ มาใช้ บังคับแก่การจัดทาข้อกาหนดตามมาตรานี้โดยอนุโลม และให้ใช้ตารางแสดงส่วนแบ่งขั้นต่าของระบบแบ่งปันผลิต เพื่อใช้ในการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐ หมายเลข ๒ และหมายเลข ๓ แนบท้ายพระราชบัญญัตินี้ มาใช้กับการ กาหนดอัตราส่วนของประเภทปิโตรเลียมแทนตารางแสดงส่ วนแบ่งขั้นต่าของระบบแบ่งปันผลผลิตเพื่อใช้ในการ ประกวดผลตอบแทนแก่รัฐ หมายเลข ๑ แนบท้ ายพระราชบัญ ญัตินี้ ตามที่กาหนดให้ใช้ในมาตรา ๘๓ (๓) ที่ นามาใช้บังคับโดยอนุโลม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐสาหรับการแบ่งปันผลผลิตตามวรรคหนึ่งให้ เป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียมกาหนด

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๖


Page 181

มาตรา ๑๒๘ ผู้มีสิทธิเข้าประกวดราคาตามมาตรา ๑๒๗ ต้องเป็นผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๖๕ ส่วนผู้รับสัมปทานในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมหมายเลข ๑/๒๕๑๕/๗ และหมายเลข ๒/๒๕๑๕/๖ ในแปลง สารวจหมายเลขบี ๑๐ หมายเลขบี ๑๑ หมายเลขบี ๑๒ และหมายเลขบี ๑๓ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณและ ข้างเคียง และในการสารวจและผลิตหมายเลข ๓/๒๕๑๕/๗ และหมายเลข ๕/๒๕๑๕/๙ ในแปลงสารวจหมายเลข บี ๑๕ หมายเลขบี ๑๖ และหมายเลขบี ๑๗ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกช ต้องดาเนินการตามมาตรา ๑๒๙ ก่อน จึงจะมีสิทธิเข้าแข่งขันราคาได้ ผู้รับสัมปทานตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึง ผู้ถือหุ้น หรือผู้ถู กถือหุ้น ที่เกี่ยวพันกันใน ทางตรงและทางอ้อมกับผู้รับสัมปทาน มาตรา ๑๒๙ ผู้เข้าแข่งขันราคาซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานในการสารวจและผลิตปิโตรเลียมหมายเลข ๑/๒๕๑๕/๗ และหมายเลข ๒/๒๕๑๕/๖ ในแปลงสารวจหมายเลขบี ๑๐ หมายเลขบี ๑๑ หมายเลขบี ๑๒ และ หมายเลขบี ๑๓ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณและข้างเคียง ซึ่งจะหมดอายุลงในวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ และอายุของการให้สัมปทานในการสารวจและผลิตหมายเลข ๓/๒๕๑๕/๗ และหมายเลข ๕/๒๕๑๕/๙ ในแปลง สารวจหมายเลขบี ๑๕ หมายเลขบี ๑๖ และหมายเลขบี ๑๗ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกช ซึ่งจะหมดอายุลงในวันที่ ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ และวันที่ ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ตามลาดับ หากจะเข้าแข่งขันราคาตามมาตรา ๑๒๘ ต้องยื่นข้อเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อให้มีการแก้ไขสัญญาสัมปทานเดิมให้แล้วเสร็จก่อนยื่ นข้อเสนอแข่งขันราคา ตามมาตรา ๑๒๘ ตามหลัก เกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการบริหารกิจ การปิโตรเลียมกาหนด โดยให้แก้ไ ข เพิ่มเติมสัญญาในหลักการสาคัญดังนี้ (๑) ผู้รับสัมปทานต้องให้หลักประกันในการยอมรับที่ว่าจะจัดให้บรรดาทรัพย์สินและอุปกรณ์ ทั้งหลายที่ใช้ในการผลิตปิโตรเลียมเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้รับสัมปทาน ปราศจากการครอบครองหรือการรอนสิทธิ อย่างหนึ่งอย่างใดเหนือทรัพย์สินหรืออุปกรณ์ทั้งหลายนั้น และเมื่อสัมปทานนั้นหมดอายุจะโอนกรรมสิทธิ์ในบรรดา ทรัพย์สินและอุปกรณ์ทั้งหลายนั้นให้แก่รัฐในสภาพที่สมบูรณ์พร้อมใช้งาน เมื่อสัมปทานดังกล่าวสิ้นอายุลง และ (๒) ผู้รับสัมปทานยอมรับในการแสดงข้อมูลถึงความคุ้มค่าในการลงทุนเพิ่มในแปลงการผลิตตาม สัมปทานดังกล่าวและแนวโน้มของการมีศักยภาพในการผลิตเชิงพาณิชย์ให้แก่คณะกรรมการเพื่อพิจารณา หาก ข้อมูลแสดงความคุ้มค่าดังกล่าวไม่คุ้มค่าที่จะลงทุนเพิ่ม ผู้รับสัมปทานจะส่งมอบแปลงสัมปทานคืนแก่รัฐทันที หาก ข้อมูลแสดงความคุ้มค่าที่จะลงทุนเพิ่ม ให้กรรมสิทธิ์ของปิโตรเลียมที่เกิดขึ้นจากการผลิตในแปลงการผลิตตาม สัมปทานนั้นเป็นของรัฐ โดยรัฐยินยอมให้ผู้รับสัมปทานได้รับค่าตอบแทนจากรัฐ เพื่อต้นทุนของเงินทุนที่ผู้รับ สัมปทานออกแทนรัฐในช่วงของเวลาที่เหลืออยู่นับแต่วันที่แก้ไขสัญญาสัมปทาน โดยค่าตอบแทนที่รัฐยินยอมแบ่ง ให้คานวณจากผลผลิตปิโตรเลียมที่ผลิตได้จากแปลงสัมปทานนั้นในอัตราส่วนไม่เกินร้อยละสี่สิบของผลผลิตที่ผลิต ได้จากแปลงการผลิตตามสัมปทานนั้น ผู้รับสัมปทานที่ยอมรับการแก้ไขสัญญาสัมปทานในช่วงเวลาที่เหลืออยู่ดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง ให้ มีสิทธิเป็นผู้เข้าแข่งขันราคาในการประกวดราคาในการจัดหาปิโตรเลียมด้วยการแบ่งปันผลประโยชน์ตามมาตรา ๑๒๘

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๗


Page 182

มาตรา ๑๓๐ ในกรณี ที่ ค ณะกรรมการบริ ห ารกิ จ การปิ โ ตรเลี ย มพิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า การ ดาเนินการประกวดราคาตามที่กาหนดในมาตรา ๑๒๗ ทาให้รัฐได้รับผลประโยชน์น้อยกว่าที่คาดไว้หรือกระทบต่อ ความมั่นคงหรือเป็นกรณีที่ไม่มีผู้ เข้าแข่งขันในระบบแบ่ง ปันผลผลิตที่ เหมาะสม คณะกรรมการบริหารกิจการ ปิโตรเลียมอาจจ้างหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจที่รัฐเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมดให้ผลิตปิโตรเลียมได้ การจ้างหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจที่รัฐเป็นผู้ถือหุ้นทั้งหมดให้ผลิตปิโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง และให้นาความในมาตรา ๘๖ มาตรา ๘๗ มาตรา ๘๘ และ มาตรา ๘๙ มาบังคับใช้ด้วย โดยอนุโลม มาตรา ๑๓๑ เมื่อคณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียม คัดเลือกผู้ประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ เข้าประกวดราคาตามมาตรา ๑๒๗ หรือคัดเลือกผู้รับจ้างผลิตตามมาตรา ๑๓๐ ได้แล้ว ให้คณะกรรมการบริหาร กิจการปิโตรเลียมส่งให้กรมธนารักษ์ดาเนินการเข้าทาสัญญาแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐหรือสัญญาจ้างให้ผลิต ปิโตรเลียม แล้วแต่กรณี ทันที แบบของสัญญาแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมกับรัฐหรือสัญญาจ้างให้ผลิตปิโตรเลียม ให้เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียมกาหนด มาตรา ๑๓๒ เมื่อจัดตั้งบรรษัทแล้วให้กรมธนารักษ์โอนสิทธิ ผลประโยชน์ ทรัพย์สิน และดอกผล ตามสัญญาแบ่งปันผลผลิตกับรัฐหรือสัญญาจ้างเอกชนให้ผลิตปิโตรเลียมให้แก่บรรษัท ทั้งนี้ต้องไม่เกิน สามสิบวัน นับแต่วันที่จัดตั้งบรรษัท สัญญาแบ่งปันผลผลิตและสัญญาจ้างเอกชนให้ผลิตที่คณะกรรมการบริหารกิจการปิโตรเลียมให้ กรมธนารักษ์ได้จัดทาขึ้นตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าเป็นสัญญาที่บรรษัทได้จัดทาขึ้น ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ......................................... นายกรัฐมนตรี

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๘


Page 183

ตารางหมายเลข ๑ ตารางแสดงส่วนแบ่งขั้นต่าของระบบแบ่งปันผลผลิต เพื่อใช้ในการประกวดผลตอบแทนแก่รัฐ ตารางที่ ๑.๑ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตน้ามันดิบในภาคเหนือ ภาค กลาง และภาคใต้ แหล่งผลิต

ประเภท

บนบก ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้

น้ามันดิบ

จานวนผลิต (พันบาร์เรลต่อวัน) < ๑๐ < ๒๐ < ๕๐ < ๑๐๐ > ๑๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ ๖๐.๐ ๔๐.๐ ๖๕.๐ ๓๕.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

ตารางที่ ๑.๒ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตก๊าซธรรมชาติในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ แหล่งผลิต บนบก ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้

ประเภท

ก๊าซธรรมชาติ

จานวนผลิต (ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)

< ๖๐ < ๑๒๐ < ๓๐๐ < ๖๐๐ < ๙๐๐ > ๙๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๔๗.๕ ๕๒.๕ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ ๖๐.๐ ๔๐.๐ ๖๕.๐ ๓๕.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๓๙


Page 184

ตารางที่ ๑.๓ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตน้ามันดิบในภาคอีสาน แหล่งผลิต บนบก ภาคอีสาน

ประเภท

น้ามันดิบ

จานวนผลิต (พันบาร์เรลต่อวัน)

< ๑๐ < ๒๐ < ๕๐ < ๑๐๐ > ๑๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๔๐.๐ ๖๐.๐ ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ ๖๐.๐ ๔๐.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

ตารางที่ ๑.๔ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตก๊าซธรรมชาติในภาคอีสาน แหล่งผลิต

บนบก ภาคอีสาน

ประเภท

ก๊าซธรรมชาติ

จานวนผลิต (ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)

< ๖๐ < ๑๒๐ < ๓๐๐ < ๖๐๐ < ๙๐๐ > ๙๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๔๐.๐ ๖๐.๐ ๔๒.๕ ๕๗.๕ ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ ๖๐.๐ ๔๐.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๔๐


Page 185

ตารางที่ ๑.๕ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตน้ามันดิบในอ่าวไทย/ อันดามันน้าตื้น แหล่งผลิต

ประเภท

อ่าวไทย/ อันดามันน้าตื้น

น้ามันดิบ

จานวนผลิต (พันบาร์เรลต่อวัน) < ๒๕ < ๕๐ < ๑๐๐ > ๑๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๔๐.๐ ๖๐.๐ ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

ตารางที่ ๑.๖ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย/ อันดามันน้าตื้น แหล่งผลิต อ่าวไทย/ อันดามันน้าตื้น

ประเภท ก๊าซธรรมชาติ

จานวนผลิต (ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)

< ๓๐๐ < ๖๐๐ < ๙๐๐ > ๙๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๔๐.๐ ๖๐.๐ ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๔๑


Page 186

ตารางที่ ๑.๗ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตน้ามันดิบในอันดามันน้าลึก แหล่งผลิต

ประเภท

อันดามันน้าลึก

น้ามันดิบ

จานวนผลิต (พันบาร์เรลต่อวัน) < ๒๕ < ๕๐ < ๑๐๐ > ๑๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๓๕.๐ ๖๕.๐ ๔๐.๐ ๖๐.๐ ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

ตารางที่ ๑.๘ แสดงส่วนแบ่งขั้นต่าในระบบแบ่งปันผลผลิตก๊าซธรรมชาติในอันดามันน้าลึก แหล่งผลิต

ประเภท

อันดามันน้าลึก ก๊าซธรรมชาติ

จานวนผลิต (ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)

< ๓๐๐ < ๖๐๐ < ๙๐๐ > ๙๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวม* รัฐ ผู้รับสัญญา ๓๕.๐ ๖๕.๐ ๔๐.๐ ๖๐.๐ ๔๕.๐ ๕๕.๐ ๕๐.๐ ๕๐.๐ * สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๔๒


Page 187

ตารางหมายเลข ๒ ตารางแสดงส่วนแบ่งขั้นต่าของระบบแบ่งปันผลผลิตในแปลงปิโตรเลียม ที่มีศักยภาพในอ่าวไทย ๕ แปลง ได้แก่ แปลง จี๓/๕๗, แปลง จี๔/๕๗, แปลง จี๕/๕๗เอ, แปลง จี๕/๕๗บี และแปลง จี๖/๕๗ ตารางที่ ๒.๑ แสดงส่วนแบ่งของระบบแบ่งปันผลผลิตน้ามันดิบในแปลงปิโตรเลียมที่มี ศักยภาพในอ่าวไทย ๕ แปลง แหล่งผลิต แปลงจี๓/๕๗, แปลงจี๔/๕๗, แปลงจี ๕/๕๗เอ, แปลงจี๕/๕๗ บี และแปลงจี๖/๕๗

ประเภท

น้ามันดิบ

ส่วนแบ่งผลผลิตรวมขั้นต่า* รัฐ ผู้รับสัญญา ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ ๖๐.๐ ๔๐.๐ ๖๕.๐ ๓๕.๐

จานวนผลิต (พันบาร์เรลต่อวัน)

< ๒๕ < ๕๐ < ๑๐๐ > ๑๐๐

* สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

ตารางที่ ๒.๒ แสดงส่วนแบ่งของระบบแบ่งปันผลผลิตก๊าซธรรมชาติในแปลงปิโตรเลียม ที่มีศักยภาพในอ่าวไทย ๕ แปลง แหล่งผลิต

ประเภท

แปลงจี๓/๕๗, แปลงจี๔/๕๗, แปลงจี ก๊าซธรรมชาติ ๕/๕๗เอ, แปลงจี๕/๕๗ บี และแปลงจี๖/๕๗

จานวนผลิต (ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)

< ๓๐๐ < ๖๐๐ < ๙๐๐ > ๙๐๐

ส่วนแบ่งผลผลิตรวมขั้นต่า* รัฐ ผู้รับสัญญา ๕๐.๐ ๕๐.๐ ๕๕.๐ ๔๕.๐ ๖๐.๐ ๔๐.๐ ๖๕.๐ ๓๕.๐

* สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๔๓


Page 188

ตารางหมายเลข ๓ ตารางแสดงส่วนแบ่งขั้นต่าของระบบแบ่งปันผลผลิตในแหล่งปิโตรเลียม ที่จะหมดอายุในปี ๒๕๖๕-๒๕๖๖ ได้แก่ แปลงบี๑๐, แปลงบี๑๑, แปลงบี๑๒, แปลงบี๑๓, แปลงบี๑๕, แปลงบี๑๖, และ แปลงบี๑๗ ตารางที่ ๓.๑ แสดงส่วนแบ่งของระบบแบ่งปันผลผลิตน้ามันดิบในแหล่งปิโตรเลียมที่จะ หมดอายุในปี ๒๕๖๕ - ๒๕๖๖ แหล่งผลิต แปลงบี๑๐, แปลง บี๑๑, แปลงบี๑๒, แปลงบี๑๓, แปลง บี๑๕, แปลงบี๑๖, และ แปลงบี๑๗

ประเภท

น้ามันดิบ

ส่วนแบ่งผลผลิตรวมขั้นต่า* รัฐ ผู้รับสัญญา

จานวนผลิต (พันบาร์เรลต่อวัน)

< ๒๕

๖๐.๐

๔๐.๐

< ๕๐

๖๕.๐

๓๕.๐

< ๑๐๐

๗๐.๐

๓๐.๐

> ๑๐๐

๗๕.๐

๒๕.๐

* สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

ตารางที่ ๓.๒ แสดงส่วนแบ่งของระบบแบ่งปันผลผลิตก๊าซธรรมชาติในแหล่งปิโตรเลียม ที่จะหมดอายุในปี ๒๕๖๕-๒๕๖๖ แหล่งผลิต แปลงบี๑๐, แปลง บี๑๑, แปลงบี๑๒, แปลงบี๑๓, แปลง บี๑๕, แปลงบี๑๖, และ แปลงบี๑๗

ประเภท

ก๊าซธรรมชาติ

จานวนผลิต (ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน)

ส่วนแบ่งผลผลิตรวมขั้นต่า* รัฐ ผู้รับสัญญา

< ๓๐๐

๖๐.๐

๔๐.๐

< ๖๐๐

๖๕.๐

๓๕.๐

< ๙๐๐

๗๐.๐

๓๐.๐

> ๙๐๐

๗๕.๐

๒๕.๐

* สัดส่วนร้อยละจากปริมาณผลผลิตรวม

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

๔๔


Page 189

ตารางหมายเลข ๔ ตารางแสดงส่วนแบ่งเพิ่มเติมแปรผันตามราคาปิโตรเลียม ตารางที่ ๔.๑ แสดงส่วนแบ่งเพิ่มเติมแปรผันตามราคาน้ามันดิบตลาดโลก แหล่งผลิต

ทุกแหล่ง

ประเภท

น้ามันดิบ

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

ราคาขายตลาดโลก (เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล)

๔๐ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ ๑๐๐ ๑๑๐ ๑๒๐

ส่วนแบ่งผลผลิต เพิ่มเติมให้รัฐ (ร้อยละของรายได้)

๐ ๓.๗๕ ๖.๕๐ ๘.๕๐ ๑๐.๐๐ ๑๑.๐๐ ๑๑.๗๕ ๑๒.๒๕ ๑๒.๕๐

๔๕


Page 190

ตารางที่ ๔.๒ แสดงส่วนแบ่งเพิ่มเติมแปรผันตามราคาก๊าซธรรมชาติขาย ณ ปากหลุม แหล่งผลิต

ทุกแหล่ง

ประเภท

ก๊าซธรรมชาติ

เครื อข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.)

ราคาขายปากหลุม (เหรียญสหรัฐต่อล้านบีทีย)ู

๓.๐ ๓.๕ ๔.๐ ๔.๕ ๕.๐ ๕.๕ ๖.๐ ๖.๕ ๗.๐

ส่วนแบ่งผลผลิต เพิ่มเติมให้รัฐ (ร้อยละของรายได้)

๐ ๓.๐๐ ๕.๕๐ ๗.๕๐ ๙.๐๐ ๑๐.๒๕ ๑๑.๒๕ ๑๒.๐๐ ๑๒.๕๐

๔๖


Page 191

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพ.ศ. ๒๕๑๔สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหไว ณ วันกทีา่ ๒๖ มีนาคมสําพ.ศ. ๒๕๑๔ เปนปที่ ๒๖ ในรัชกาลปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เกลาฯ ใหประกาศวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว โดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดักางตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑ พระราชบัญญักาตินี้เรียกวา “สํพระราชบั ญญัติปโตรเลียม กพ.ศ. สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ๒๕๑๔” ๑ มาตรา ญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแต จจา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒ พระราชบั สํานักญ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา วันถัดจากวัสํนาประกาศในราชกิ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี

นุเบกษาเปนตนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่นในสวนที่มีบัญญัติไวแลวใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พระราชบัญญัตินี้ หรืกาอซึ่งขัดหรือแยสํางนักักบงานคณะกรรมการกฤษฎี บทแหงพระราชบัญญักตา ินี้ ใหใชพระราชบั ญญัตินี้แทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

บททั่วไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ๔ ในพระราชบักญาญัตินี้ “กิจการปโตรเลียม”

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายความวา การสํารวจ ผลิต เก็บรักษา ขนสง ขาย หรือ

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

จําหนายปโตรเลียม โตรเลียม” หมายความว าซธรรมชาติ กาซธรรมชาติ สํานั“กปงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า น้ํามันดิสํบานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เหลวสาร พลอยได และสารประกอบไฮโดรคารบอนอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ และอยูในสภาพอิสระ ไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักดงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี วา จะมี ลัก ษณะเป นกของแข็ ง ของหนื ของเหลว หรื อก า ซกาและให ห มายความรวมถึ ง บรรดา กา ไฮโดรคารบอนหนักที่อาจนําขึ้นมาจากแหลงโดยตรง โดยใชความรอนหรือกรรมวิธีทางเคมี แตไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๘๘/ตอนที่ ๔๓/ฉบับพิเศษ หนา ๑/๒๓ เมษายน ๒๕๑๔


Page 192 -๒-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายความรวมถึง กถาานหิน หินน้ําสํมัานันกหรื อหินอื่นที่สามารถนํกามากลั่นเพื่อแยกเอาน้ ํามันดวยการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ใชความรอนหรือกรรมวิธีทางเคมี สํานั“กน้งานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา ํ า มั น ดิ บ ”๒ หมายความว า น้ํ าสํมัานันกงานคณะกรรมการกฤษฎี แร ดิ บ แอสฟ ล ท โอโซเคอไรท ไฮโดรคารบอนและบิทูเมนทุกชนิดที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไมวาในสภาพของแข็ง ของหนืด หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ของเหลว และใหหมายความรวมถึงกาซธรรมชาติเหลวดวย ํามันดิบที่สงออก”๓ หมายความว า น้สําํานัมักนงานคณะกรรมการกฤษฎี ดิบที่สงออกนอกราชอาณาจั กร ไมวา สํานั“กน้งานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา การสงออกน้ํามันดิบจะกระทําโดยผูรับสัมปทานหรือผูอื่น และใหหมายความรวมถึงสวนของ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี า น้ํามันดิบที่ผูรับสัมปทานได ขายหรืสํอาจํนัากหน ายในราชอาณาจักรกและได มีการนํสําาน้นัํากมังานคณะกรรมการกฤษฎี นดิบดังกลาวไป กา กลั่นเปนผลิตภัณฑและผลิตภัณฑนั้นถูกสงออกนอกราชอาณาจักร ทั้งนี้ ตามปริมาณที่คํานวณได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามหลักเกณฑที่กําหนดในมาตรา ๘๙ (๑) ” สํหมายความว า ไฮโดรคารกบาอนที่มีสภาพเป าซทุกชนิดไมวา กา “กกาซธรรมชาติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานันกกงานคณะกรรมการกฤษฎี ชื้นหรือแหง ที่ผลิตไดจากหลุมน้ํามันหรือหลุมกาซ และใหหมายความรวมถึงกาซที่เหลือจากการ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกอาสารพลอยไดสํอานัอกจากก กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา แยกไฮโดรคารสําบนัอนในสภาพของเหลวหรื าซชื้นดวย “กาซธรรมชาติเหลว” หมายความวา ไฮโดรคารบอนที่มีสภาพเปนของเหลวหรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อไดมาจากการแยกออกจากก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่มีความดันไอสูงซึก่งาผลิตขึ้นมาไดสํพานัรกองานคณะกรรมการกฤษฎี มกับกาซธรรมชาติ หรื า ซ กา ธรรมชาติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “สารพลอยได” หมายความวา กาซฮีเลียม คารบอนไดออกไซด กํามะถัน และ สารอื่นที่ไดจากการผลิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตปโตรเลียมสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “สํารวจ” หมายความวา ดําเนินการตามมาตรฐานในการคนหาปโตรเลียมโดยใช สํานัวิกทงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า วิธีการทางธรณี ยา ธรณีฟสิคส และอืก่นา ๆ และใหหสํมายความรวมถึ งเจาะเพื่อกทดสอบชั ้นหิน เพื่อใหทราบวามีปโตรเลียมอยูหรือไมเพียงใด เพื่อกําหนดวงเขตแหลงสะสมปโตรเลียม หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อใหไดขอมูลอยางอื่นอันเปนสาระสําคัญที่จําเปนแกการผลิตปโตรเลียมดวย ต”๔ หมายความวากดํา าเนินการใดสําๆนักเพื ่อนําปโตรเลียมขึ้นจากแหล งสะสม สํานั“กผลิ งานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา และให ห มายความรวมถึ ง ใช ก รรมวิ ธี ใ ด ๆ เพื่ อ ทํ า ให ป โ ตรเลี ย มอยู ใ นสภาพที่ จ ะขาย หรื อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ปโตรเลียม สํประกอบอุ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี จําหนายได แตไมหมายความถึ งกลัสํา่นนักประกอบอุ ตสาหกรรมเคมี ตสาหกรรม กา โรงแยกกาซ โรงทํากาซใหเปนของเหลวหรือโรงอัดกาซ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “เก็บรักษา” หมายความวา ดําเนินการใด ๆ เพื่อรวมและรักษาปโตรเลียมที่ผูรับ สัมปทานผลิตได กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๒ น้ํามันดิบ” แกไขเพิ่มเติกมาโดยพระราชบัญสําญันัตกิปงานคณะกรรมการกฤษฎี โตรเลียม (ฉบับที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๔ นิยามคํสําาวนัาก“งานคณะกรรมการกฤษฎี ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๓ มาตรา ๔ นิยามคําวา “น้กําามันดิบที่สงออกสํา”นัแก ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบักญ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๔ ผลิต” แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัตสํิปานัโตรเลี ยม (ฉบับที่ ๔) กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๔ นิยามคํสําาวนัาก“งานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 193 -๓-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

“ขนส า ดําเนินการใด ๆ เพืก่อานําปโตรเลียสํมที รับสัมปทานผลิต กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ง” หมายความว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านั่ผกูงานคณะกรรมการกฤษฎี

ไดจากแหลงผลิตไปยังสถานที่เก็บรักษา สถานที่ขายหรือจําหนาย สถานที่รับซื้อ และสถานที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานังกปงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สงออกนอกราชอาณาจั กร และใหหมายความรวมถึ งขนส โตรเลียมนั้นระหวางสถานที ่ดังกลาว ดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ขาย” หมายความรวมถึงแลกเปลี่ยนและโอนโดยมีคาตอบแทนดวย าหนาย”๕ หมายความว สํานั“กจํงานคณะกรรมการกฤษฎี กาา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) สงน้ํามันดิบไปยังโรงกลั่นน้ํามันหรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อการกลั่นน้ํามันไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วาโรงกลั่นน้ํามันหรือกาสถานที่เก็บรักสําษาจะเป นของผูรับสัมปทานหรื (๒) สงกาซธรรมชาติไปยังโรงแยกกาซ โรงทํากาซใหเปนของเหลว โรงอัดกาซ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อกิจการดังกลาว ไมวาโรงแยกกาซ โรงทํากาซใหเปนของเหลว โรงอัด กาซ หรือสถานที่เก็บกรัา กษาดังกลาวจะเป นของผูรับสัมปทานหรืกาอไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) นําปโตรเลียมไปใชในกิจการใด ๆ ของผูรับสัมปทานหรือของผูอื่นโดยไมมี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การขาย หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) โอนปโตรเลียมโดยไมมีคาตอบแทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ราคาตลาด ” หมายความว า ราคาในตลาดเป ด เผย หากไม มี ร าคาดั ง กล า ว หมายความวาสําราคาที ่พึงคิดกันระหวางบุคคลซึ่งเปนอิสสํระต อกันโดยไมมีความสัมพันธในดานทุน นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือการจัดการ “ราคาประกาศ ” สํหมายความว า ราคาที่ประกาศตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํ๕๙ านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “แปลงสํารวจ” หมายความวา เขตพื้นที่ที่กําหนดขึ้นสําหรับการสํารวจปโตรเลียม สํานั“กพืงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า เขตพื้นที่ทสํี่กานัําหนดขึ กงานคณะกรรมการกฤษฎี ้นที่ผลิต” หมายความว ้นสําหรับการผลิตกปา โตรเลียม “ราชอาณาจักร” หมายความรวมถึงเขตไหลทวีปที่เปนสิทธิของประเทศไทยตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักกฎหมายระหวางประเทศที่ยอมรับนับถือกันโดยทั่วไปและตามสัญญากับตางประเทศดวย ษัท” หมายความวากาบริษัทจํากัด สํและนิ ติบุคคลที่มีสภาพเชนกเดี สํานั“กบริ งานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ยวกับบริษัท จํากัด ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายตางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “คณะกรรมการ ”สํหมายความว า คณะกรรมการป “พนั ก งานเจ า หน า ที่ ” หมายความว า ผู ซึ่ ง รั ฐ มนตรี แ ต ง ตั้ ง ให ป ฏิ บั ติ ก ารตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัตินี้ “อธิ า อธิบดีกรมเชื้อเพลิงกธรรมชาติ * สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาบดี” หมายความว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับแกการประกอบกิจการปโตรเลียมทั่ว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ราชอาณาจักร

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๕ าหนาย” แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัสํตาิปนัโกตรเลี ยม (ฉบับที่ ๔) กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๔ นิยามคํสําวาานัก“จํงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 194 -๔-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ญ ญั ติ นี้ ไ ม ใ ช บั ง คั บ แก กรม ที่ มี ห น า ที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖ พระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ก ระทรวง ทบวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เกี่ยวกับกิจการปโตรเลียม แตถากระทรวง ทบวง กรมใดผลิตปโตรเลียมจากแหลงปโตรเลียมที่มี สํานักชงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗ วาดวยค สํานัาภาคหลวงมาใช กงานคณะกรรมการกฤษฎี สมรรถนะเชิงพาณิ ย ใหนําบทบัญญัติหมวด บังคับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗ หามมิสําในัหกผงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่อนยาย ถอน สํานักหรื งานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ูใดทําลาย ดัดแปลง กเคลื อทําใหหลุดซึ่ง กา

เครื่ อ งหมายกํ า หนดเขตแปลงสํ า รวจหรื อ พื้ น ที่ ผ ลิ ต หรื อ เครื่ อ งหมายหลั ก ฐานการแผนที่ ที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พนักงานเจาหนาที่ไดนํามาติดตั้ง ปก หรือฝงไว เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๘ หนังสือหรือคําสั่งที่มีถึงบุคคลใดเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหนําไปสงในเวลาระหว างพระอาทิตยขึ้นกและพระอาทิ หรือในเวลาทําการของผู สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํตายนัตกกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รับ หรือสง โดยทางไปรษณียลงทะเบียน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งดวยเหตุใสํดานัๆกงานคณะกรรมการกฤษฎี ถากไมา สามารถจะสสํางนัตามวิ ธีดังกลาวในวรรคหนึ ใหสงโดยวิธีปด กา หนังสือหรือคําสั่งไว ณ ที่เห็นไดงายที่ประตูบาน สํานักงาน ภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยูของผูรับ หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จะสงโดยวิธียอความในหนังสือหรือคําสั่งนั้นลงโฆษณาในหนังสือพิมพก็ได เมื่อกาไดสงตามวิธีดสําังนักล าวในวรรคสองและเวลาได วันแลว ใหถือวา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ลวงพนไปเจ็ สํานักดงานคณะกรรมการกฤษฎี บุคคลนั้นไดรับหนังสือหรือคําสั่งนั้นแลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙ ในการปฏิบัติหนาที่ ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ยมและสถานที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)กา เขาไปในบริสํเาวณที ่ที่ประกอบกิจการปโกตรเลี ่ทําการของผูรับ กา สั ม ปทานในเวลาทํ า การเพื่ อ ตรวจกิ จ การป โ ตรเลี ย มให เ ป น ไปตามสั ม ปทานและตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัสํตาินนัี้กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒)กา สั่งเปนหนังสํสืาอนักใหงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรับสัมปทานงดเวนกาการปฏิบัติใดสําๆนักซึงานคณะกรรมการกฤษฎี ่งอาจกอใหเกิด กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี อันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินของผูอื่น นําปโตรเลียม หินกาดิน และสิ่งทีสํ่ไาดนักจงานคณะกรรมการกฤษฎี ากการสํารวจหรือผลิกตาปโตรเลียมใน สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี ปริมาณพอสมควรไปเปนตัวอยางเพื่อตรวจสอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าหนาที่ที่สสํั่งานัตาม กงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรกับาสัมปทานมีสสํิทาธินัอกุทงานคณะกรรมการกฤษฎี ธรณคําสั่งของพนักงานเจ (๒) ตออธิบดี กา ภายในเจ็ดวันนับแตวันไดรับคําสั่ง คําสั่งของอธิบดีใหเปนที่สุด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การอุทธรณคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคสองไมเปนเหตุทุเลาการปฏิบัติ ตามคําสั่ง เวนแตอธิกบา ดีเห็นสมควรให ุเลาการปฏิบัติตามคํากสัา่งนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักทงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๐ พนักงานเจกาาหนาที่ตองมีบสํัตานัรประจํ าตัวพนักงานเจาหน สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าที่ตามแบบที่ กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านัากทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ในการปฏิ บัติหนสําาทีนัก่ตงานคณะกรรมการกฤษฎี ามพระราชบัญ ญัตินกี้ าพนักงานเจาสํหน ่ตองแสดงบั ต ร กา ประจําตัวพนักงานเจาหนาที่ตอบุคคลซึ่งเกี่ยวของ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๑ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนเจาพนักงานตามความหมายในประมวล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

กฎหมายอาญา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 195 -๕-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๒ ในกรณี ที่ ผู รั บ สั ม ปทานฝ า ฝ น หรื อ ไม ป ฏิ บั ติ ต ามสั ม ปทานหรื อ พระราชบัญญัสํตาินนักี้ และการฝ าฝนหรือไมปกฏิา บัติตามนั้น สํกานัอกใหงานคณะกรรมการกฤษฎี เกิดความเสียหายแกกปา ระชาชน หรือ งานคณะกรรมการกฤษฎี ทําใหทบวงการเมืองใดตองกระทําการเพื่อบําบัดปดปองความเสียหายเชนวานั้น ผูรับสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเพื ่อความเสี ยหายและคาใชจายในการบํ าบัดสํปาดนัปกงานคณะกรรมการกฤษฎี องความเสียหาย กา ดั ง กล า วตามจํ า นวนที่ รัฐ มนตรี กํ า หนด แต ทั้ ง นี้ไ ม ตัด สิ ท ธิผู เ สี ย หายที่จ ะเรีย กร อ งค า สิ น ไหม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทดแทนจากผูรับสัมปทานเพราะการละเมิดนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๓ สิทธิในการถือสัมปทานไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน*รักษาการตามพระราชบัญญัติ นี้ และใหมีอํานาจแตกางตั้งพนักงานเจ าที่และออกกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัาหน กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการสํารวจ ผลิต และอนุรักษปโตรเลียม สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า กําหนดเขตปลอดภักายและเครื่องหมายในบริ เวณที่มีสิ่งติดตั้งกและกลอุ ปกรณ ที่ใชในการสํารวจและผลิตปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) กํ า หนดวิ ธี ก ารให ค วามคุ ม ครองแก ค นงานและความปลอดภั ย แก บุคคลภายนอกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) กําหนดคาธรรมเนียมไมเกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก่นงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๕)กากําหนดกิจการอื เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบั ญญัตินสํี้ านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สําคณะกรรมการป นักงานคณะกรรมการกฤษฎี โตรเลียมกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๕๖ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา “คณะกรรมการปโตรเลียม” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประกอบดวยปลัดกระทรวงพลังงานเป นประธานกรรมการ อธิบดีกรมที่ดสํินานักอธิงานคณะกรรมการกฤษฎี บดีกรมประมง กา อธิบดีกรมปาสํไมานักอธิงานคณะกรรมการกฤษฎี บดีกรมสรรพากร เลขาธิ กา การสํานักสํงานนโยบายและแผนทรั านักงานคณะกรรมการกฤษฎีพกยากรธรรมชาติ า และสิ่งแวดลอม ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ผูแทนกระทรวงกลาโหม ผูแทน กระทรวงการคลัง ผูกแาทนกระทรวงอุ และผูทรงคุณกวุาฒิอีกไมเกินหสํานัคนซึ ่งคณะรัฐมนตรี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําตนัสาหกรรม กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี แต ง ตั้ ง จากบุ ค คลซึ่ ง มี ค วามรู ความเชี่ ย วชาญ และประสบการณ ใ นสาขาธรณี วิ ท ยา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอกิจการ วิศวกรรมศาสตร เศรษฐศาสตร การเงิกนา กฎหมาย หรืสําอนัสาขาอื ่นอันจะเปนประโยชน ปโตรเลียม เปนกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งตามวรรคหนึ่งตองไมเปนขาราชการในสวน ราชการที่มีกรรมการโดยตํ าแหนงสังกัดอยู สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖ มาตรา ๑๕ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 196 -๖-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ใหกอาธิบดีเปนกรรมการและเลขานุ การ และอธิ าราชการในกรม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บ ดีจะแตงสํตัานั้งกขงานคณะกรรมการกฤษฎี เชื้อเพลิงธรรมชาติไมเกินสองคนเปนผูชวยเลขานุการก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๖ คณะกรรมการมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักรงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑)กาใหคําแนะนําสํแก ัฐมนตรีตามมาตรา ๒๒กา (๒) ใหความเห็นชอบแกอธิบดีตามมาตรา ๒๒/๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ทําความตกลงราคาขายกาซธรรมชาติในราชอาณาจักรตามมาตรา ๕๘ (๔)กาอนุญาตใหผสํูราับนัสักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทานถือกรรมสิทธิ์ใกนที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่ดินตามมาตรา สํานัก๖๕ งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) มีคําสั่งเกี่ยวกับการนําคนตางดาวเขามาในราชอาณาจักรตามมาตรา ๖๙ สํานั(๖) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาาเขาเครื่องจัสํการและอุ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นอากรขาเขา มีคําสั่งเกี่ยวกับการนํ ปกรณโดยไดรับยกเว และภาษีมูลคาเพิ่มตามมาตรา ๗๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๗) ดําเนินการอื่นตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้ หรื อตามที่รัฐมนตรี มอบหมายหรืสํอาตามที ่กฎหมายอื่นกําหนดให ่ของคณะกรรมการ กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เปนอํานาจหน สํานักาทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ๘ มาตรา ทรงคุณวุฒิตองมีกคา ุณสมบัติและไม ีลักษณะตองหาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๖/๑ กรรมการผู สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัมกงานคณะกรรมการกฤษฎี

ดังตอไปนี้ สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี มีสัญชาติไทย กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒) ไมเปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัมกละลาย งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓)กา ไมเปนบุคคลล

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๔) ไมเคยไดรับโทษจํา คุกโดยคํา พิสํพานัากษาถึ งที่สุดใหจําคุก เวนแตเป นโทษ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๕)กาไมเปนสมาชิสํกาสภาผู แทนราษฎร สมาชิกกวุาฒิสภา ขาราชการการเมื อง สมาชิก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่น กรรมการหรือผูดํารงตําแหนงซึ่งรับผิดชอบในการบริหารพรรค กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การเมือง ที่ปรึสํกานัษาพรรคการเมื อง หรือเจกาาหนาที่พรรคการเมื อง (๖) ไมเปนกรรมการ หรือผูบริหาร หรือผูมีอํานาจในการจัดการหรือมีสวนได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เสียในนิติบุคคลหรือองคกรที่ดําเนินธุรกิจหรือดําเนินกิจการดานปโตรเลียม และไมประกอบ อาชีพหรือวิชาชี ่นใดที่มีสวนไดเสียหรืกอา มีผลประโยชน แยงกับการปฏิบัติหนกาาที่ในตําแหนง สํานัพกอืงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัขกัดงานคณะกรรมการกฤษฎี กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๗ กรรมการผู ทรงคุ ณวุฒิ มีวาระการดํารงตํา แหน งคราวละสามป กงานคณะกรรมการกฤษฎี กรรมการซึ่งพสํนานัจากตํ าแหนงอาจไดรับแตกงาตั้งอีกได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานั๗กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๖ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๘ ญญัติปโตรเลียมกา(ฉบับที่ ๖) พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๑๖/๑ เพิสํ่มาโดยพระราชบั นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั๒๕๕๐ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๙ มาตรา ๑๗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 197 -๗-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ในกรณี  ท รงคุ ณ วุ ฒิ พ น จากตํกาาแหน ง ตามวาระ แต ยั ง มิ ไ ด มี ก าร กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่ ก รรมการผู สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิขึ้นใหม ใหกรรมการผูทรงคุณวุฒินั้นปฏิบัติหนาที่ไปพลางกอน สํานักงงานคณะกรรมการกฤษฎี จนกวาจะมีการแต ตั้งกรรมการผูทรงคุณกวุาฒิขึ้นใหม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๘๑๐ นอกจากการพ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา นจากตําแหนงกตามวาระ กรรมการผู ทรงคุณวุฒิพน กา

จากตําแหนงเมื่อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) ตาย (๒)กาลาออก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) คณะรัฐมนตรีใหออก เพราะมีความประพฤติเสื่อมเสีย บกพรองหรือไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สุจริตตอหนาทีสํา่หนัรืกองานคณะกรรมการกฤษฎี หยอนความสามารถ กา (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๖/๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เมื่ อ ตํ า แหน ง กรรมการผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ว า งลงก อ นวาระ ให ดํ า เนิ น การแต ง ตั้ ง กรรมการผูทรงคุ วุฒิขึ้นใหม เวนแตวาระของกรรมการผู รงคุณวุฒิเหลือไมถึงกเกา าสิบวัน จะไม สํานักณงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักทงานคณะกรรมการกฤษฎี แตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิก็ได ในระหวางที่ยังมิไดแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิแทนตําแหนง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ออยูปฏิบัตสําิหนันกางานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่วาง ใหกรรมการทีก่เหลื ที่ตอไปได ในกรณีที่มีการแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิในระหวางที่กรรมการผูทรงคุณวุฒิ สํ า นั กา วาจะเปนการแต สํานักงงานคณะกรรมการกฤษฎี า ซึ่งแตงตั้งไวแลวยักงงานคณะกรรมการกฤษฎี มีวาระอยูในตําแหนงไม ตั้งเพิ่มขึ้นหรือแตงตั้งกแทนตํ าแหนงที่ วาง ใหผูไดรับแตงตั้งนั้นอยูในตําสํแหน งเทากับวาระที่เหลืออยูของกรรมการผู ทรงคุณวุฒิซึ่งได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แตงตั้งไวแลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๙ การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่ง หนึ่งของจํานวนกรรมการทั ้งหมด สํจึางนัเปกงานคณะกรรมการกฤษฎี นองคประชุม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถ า ประธานกรรมการไม อ ยู ใ นที่ ป ระชุ ม หรื อ ไม ส ามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด ใ ห สํ า นั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งเปนประธานในที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กรรมการที่มาประชุ มเลือกกรรมการคนหนึ ่ประชุม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๐ การวิสํนานัิจกฉังานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ยชี้ขาดของที่ประชุมใหกาถือเสียงขางมาก

กรรมการคนหนึ่ งให มีเสี ยงหนึ่งในการลงคะแนน ถา คะแนนเสียงเทากัน ให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๑ ในการปฏิ บั ติ ก ารตามหน า ที่ คณะกรรมการมี อํ า นาจแต ง ตั้ ง อนุ ก รรมการสําเพื ให ทํ า กิ จ การหรื อ พิกจา ารณาเรื่ อ งใด อั น อยู ใ นขอบเขตแห นัก่ องานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักๆงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ง หน า ที่ ข อง คณะกรรมการ ตลอดจนเชิญบุคคลใดมาใหขอเท็จจริง คําอธิบาย คําแนะนําหรือความเห็นได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ใหกนาํ า ความในมาตรา ๑๙ และมาตรากา๒๐ มาใช บสํั งาคันักบงานคณะกรรมการกฤษฎี แก ก ารประชุ ม กา คณะอนุกรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๐ มาตรา ๑๘ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 198 -๘-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๓ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การสํารวจและผลิตปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๑ มาตรา โ ดยคํ า แนะนํ า ของคณะกรรมการมี อํ า นาจหน า ที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๒ รัสําฐนัมนตรี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

ดังตอไปนี้ สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๓ ใหสัมปทานตามมาตรา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒) ตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมตามมาตรา ๒๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมตามมาตรา ๒๖ อนุมัติใหเปลี่ยนแปลงปริ ๓๐ สํานั(๔) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาณงานตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๕) อนุมัติใหโอนขอผูกพันระหวางแปลงสํารวจตามมาตรา ๓๓ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๖)กาอนุญาตใหผสํูราับนัสักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทานรับบริษัทอื่นเขกาารวมประกอบกิสําจนัการป โตรเลียมตาม กา มาตรา ๔๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๗) อนุญาตใหโอนสัมปทานตามมาตรา ๕๐ (๘)กาเพิกถอนสัมสํปทานตามมาตรา ๕๑ มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๒ และมาตรา สํานัก๕๓ งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๙) แจงใหผูรับสัมปทานทราบวารัฐบาลจะเขาใชสิทธิประกอบกิจการปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในพื้นที่ใดพื้นสํทีานั่หกนึงานคณะกรรมการกฤษฎี ่งดวยความเสี่ยงภัยแตกฝา ายเดียวตามมาตรา ๕๒ ทวิ (๑๐) สั่งใหผูรับสัมปทานจัดหาปโตรเลียมเพื่อใชในราชอาณาจักรตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๐ (๑๑) ประกาศหามสงปโตรเลียมออกนอกราชอาณาจั กรตามมาตรา ๖๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๒) สั่งใหผูรับสัมปทานรวมกันผลิตปโตรเลียมตามมาตรา ๗๒ (๑๓) ยคาภาคหลวงเปกานปโตรเลียมตามมาตรา ๘๓ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สั่งใหผูรับสัสํามนัปทานเสี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๑๔) อนุมัติใหชําระคาภาคหลวงเปนเงินตราสกุลตางประเทศตามมาตรา ๘๗ สํานั(๑๕) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า และมาตรา ลดหยอนคาภาคหลวงสํ าหรับปสํโาตรเลี ยมตามมาตรา ๙๙กทวิ ๙๙ ตรี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๖) กํา หนดคาคงที่แสดงสภาพทางธรณีวิทยาของแปลงสํา รวจตามมาตรา ๑๐๐ ฉ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การดํ า เนิ น การตาม (๑) (๓) (๗) หรื อ (๑๕) ต อ งได รั บ อนุ มั ติ จ าก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา อํานาจหนา ที่ ๒๒/๑๑๒ อธิบกดีาโดยความเห็สํนานัชอบของคณะกรรมการมี

ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) ขยายอายุสัมปทานตามมาตรา ๒๗ อนุมัติการกําหนดพืกา้นที่ผลิตตามมาตรา ๔๒ สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

๑๑ มโดยพระราชบัญญัติปกโตรเลี ๒๕๕๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๒๒ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่ า๖) นักพ.ศ. งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๒ มาตรา ๒๒/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 199 -๙-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๓)กาอนุญาตใหขสํยายระยะเวลาเริ ่มผลิตตามมาตรา ๔๒ ทวิสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๔) มอบหมายให บุ ค คลอื่ น เข า ดํ า เนิ น การบํ า บั ด ป ด ป อ งความโสโครกอั น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อรวมกัสํบาผูนัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี า เนื่องจากการประกอบกิ จการปโตรเลียมแทนหรื สัมปทานตามมาตราก๗๕ (๕) ใหความเห็นชอบแผนงานและประมาณการคาใชจายในการรื้อถอนสิ่งปลูก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สราง วัสดุอุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวก หรือมอบหมายใหบุคคลอื่นเขาดําเนินการรื้อถอน แทนหรือรวมกัสําบนัผูกรงานคณะกรรมการกฤษฎี ับสัมปทานตามมาตรากา๘๐/๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา มเปนของรัฐ ผูใดสํารวจหรื ยมในที่ใดไมวาที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๓ ปโตรเลี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อผลิตปโตรเลี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นั้นเปนของตนเองหรือของบุคคลอื่น ตองไดรับสัมปทาน สํานัการขอสั กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ กํ า หนดใน ม ปทานให เ ปกนาไปตามหลั กสํเกณฑ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขที กฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แบบสัมปทานใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๔ ผูขอสัมปทานตอง (๑)กาเปนบริษัท และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) มีทุน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ และผูเชี่ยวชาญ เพียงพอที่จะสํารวจ สํานัาหน กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผลิต ขาย และจํ ายปโตรเลียม ในกรณีที่ผูขอสัมปทานไมมีลักษณะครบถวนตาม (๒) ตองมีบริษัทอื่นซึ่งรัฐบาล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักคงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี เชื่อถือและมีลักษณะตาม (๒) และมี วามสัมพันธในดานทุกานหรือการจัดสํการกั บผูขอสัมปทาน กา รับรองที่จะใหสํทานัุนกงานคณะกรรมการกฤษฎี เครื่องจักร เครื่องมือกอุา ปกรณ และผู เชี่ยวชาญเพียงพอที่จะสํารวจ ผลิต ขาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และจําหนายปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๕๑๓ มาตรา ๒๕ ระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมตามสัมปทานใหมีกําหนด ไมเกินหกปนับสําแต ันใหสัมปทาน นักวงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ ผู รับสั มปทานประสงคจะขอตอระยะเวลาสํารวจป โ ตรเลี ย มให ผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานยื่นคําขอตกอา ระยะเวลาสํสําารวจป โตรเลียม พรอมกับกาเสนอขอผูกพัสํนานัในด านปริมาณเงิน กา ปริมาณงาน หรือทั้งปริมาณเงินและปริมาณงานสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในชวงขอผูกพันชวงที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สามก อ นสิ้ น ระยะเวลาสํ า รวจป โ ตรเลี ย มไม น อ ยกว า หกเดื อ น แต ถ า ผู รั บ สั ม ปทานขอสํ า รวจ ปโตรเลียมไมเกินสามป ระยะเวลาสํารวจปโตรเลี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไมมีสิทธิขสํอต านักองานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมอีก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมใหกระทําไดเมื่อผูรับสัมปทานไดปฏิบัติตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมกอนสิ้น สัมปทานทุกประการและได ตกลงในเรื่องขกาอผูกพันชวงทีสํ่สานัามกงานคณะกรรมการกฤษฎี สําหรับการสํารวจปโตรเลี ชวงขอผูกพันชวงที่สองไมนอยกวาสิบหาวัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ใหกระทําไดเพียงครั้งเดียวเปนเวลาไมเกิน สามป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๓ มาตรา ๒๕ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 200 - ๑๐ -

มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๖

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๔

ระยะเวลาผลิ ตปโตรเลียมตามสั เกินยี่สิบป กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มปทานใหมสํีกานัํากหนดไม งานคณะกรรมการกฤษฎี นั บ แต วั น ถั ด จากวั น สิ้ น ระยะเวลาสํ า รวจป โ ตรเลี ย ม แม จ ะมี ก ารผลิ ต ป โ ตรเลี ย มในระหว า ง สํานักโงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลาสํารวจป ตรเลียมดวยก็ตาม๑๕ กา ในกรณี ที่ ผู รั บ สั ม ปทานประสงค จ ะขอต อ ระยะเวลาผลิ ต ป โ ตรเลี ย ม ให ผู รั บ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทานยื่นคําขอตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมกอนสิ้นระยะเวลาผลิตปโตรเลียมไมนอยกวาหก เดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมใหกระทําไดเมื่อผูรับสัมปทานไดปฏิบัติตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สั ม ปทานทุ ก ประการและได ต กลงในเรื ่ อ งข อ กํา หนด ข อ ผูกกา พั น และเงื่ อสํนไขที ่ ใ ชอ ยู ทั่ ว ไปใน กา ขณะนั้นกอนสิ้นระยะเวลาผลิตปโตรเลียมไมนอยกวาสิบหาวัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การตอระยะเวลาผลิตปโตรเลียมใหกระทําไดเพียงครั้งเดียวเปนเวลาไมเกินสิบป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๗๑๖ ในกรณีที่การสํารวจหรือผลิตปโตรเลียมหรือการเก็บรักษาหรือ ขนสงปโตรเลีสํยามเฉพาะส วนที่กระทบกระเทื อผลิตปโตรเลียมในแปลงสํ ารวจ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อนตอการสํ สําานัรวจหรื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา แปลงใดต อ งหยุด ชะงั ก ลงเป น ส ว นใหญ เ พราะเหตุ ที่ มิใ ชค วามผิด ของผู รับ สั ม ปทาน ถ า ผู รั บ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า นักวงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานประสงคจะขอขยายอายุ สสํัมานัปทาน ใหแจงตออธิบดีภกายในเจ็ ดวันนัสํบาแต ันที่ทราบถึงเหตุ กา ที่มิใชความผิดของผูรับสัมปทานนั้น ในกรณีเชนนี้ ใหอธิบดีขยายอายุสัมปทานในสวนที่เกี่ยวกับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ารวจหรือ แปลงสํารวจแปลงนั ้นออกไปเทากับระยะเวลาที ่ผูรับสัมสําปทานสามารถพิ สูจนไดวากการสํ ผลิตปโตรเลียมตองหยุดชะงักลงเพราะเหตุ ที่มิใชความผิดของผูรับสัมปทานสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๒๘๑๗ ในการใหสัมปทาน ใหสํากนัรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติกําหนดเขตพื้นที่ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แปลงสํารวจโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เขตพื ่มิใชอยูในทะเล ใหกําหนดพื้นที่ไดสํไานัมกเกิงานคณะกรรมการกฤษฎี นแปลงละสี่พัน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่แปลงสํสํารวจที านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตารางกิโลเมตร สํานัเขตพื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานังกพืงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่แปลงสํารวจในทะเล ใหรวมถึ ้นที่เกาะที่อยูในเขตแปลงสํ ารวจนั้น ดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๙ เพื่อประโยชนในการกําหนดแปลงสํารวจและพื้นที่ผลิต อธิบดีมี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา อํานาจสั่งพนักงานเจาหนาที่ทําการรังวัดกําหนดเขตหรือตรวจสอบเขตได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๐ ผูรับสัมปทานตองปฏิบัติตามขอผูกพันทั้งในดานปริมาณเงิน และ ปริมาณงานสําสํหรั การสํารวจปโตรเลียมตามที ปทาน านักบงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่กําหนดในสั สํานักมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๔ มาตรา ๒๖ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๕ มาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง แก ญญัติปโตรเลียม ก(ฉบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า บที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๑๖ มโดยพระราชบัญญัติปกโตรเลี พ.ศ. ๒๕๕๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๒๗ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่า๖) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๗ มาตรา ๒๘ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 201 - ๑๑ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ในกรณี มาณงานตามที่กําหนดไว ชวงหนึ่ง ๆ ของ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่ปรากฏวสํานัปริกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในชวงขอผูสํกานัพักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานไมเหมาะสมกับสภาพทางธรณีวิทยาของพื้นที่สัมปทาน หรือในกรณีที่มีเทคโนโลยีการ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั่ยกนแปลงข งานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาณงาน ให สํารวจปโตรเลีสํายนัมที ่ทันสมัยขึ้น เมื่อผูรับกสัามปทานขอเปลี อผูกพันดานปริ รัฐ มนตรีมี อํา นาจอนุ มั ติใ ห เปลี่ ย นแปลงขอผูกพัน ดัง กลา วไดต ามความเหมาะสมและถา การ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปลี่ยนแปลงขอผูกพันนั้นทําใหผูรับสัมปทานใชจายเงินนอยกวาจํานวนเงินที่ตองใชจายตามขอ ผูกพันเดิม ผูรสํับานัสักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทานตองจายเงินสวนที ้อเพลิงธรรมชาติ*ภายในสามสิ บวัน กา ่ลดลงใหแกสํกานัรมเชื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นับแตวันที่รัฐมนตรีอนุมัติ๑๘ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๑ ในการกําหนดขอผูกพันตามมาตรา ๓๐ ใหแบงระยะเวลาสํารวจ สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมออกเป สามชวง ดังตอไปนี้ กา ชวงที่หนึ่ง ไดแกระยะเวลาสามปแรกแหงระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ในกรณีที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมไมถึงสามป ไดแกระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในสัมปทาน งที่สอง ไดแกระยะเวลาสํ ่เหลือจากชวงขอผูกกพัานชวงที่หนึ่ง สํานัชกวงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ารวจปโตรเลี สํานัยกมที งานคณะกรรมการกฤษฎี ช ว งที่ ส าม ถ า มี ก ารต อ ระยะเวลาสํ า รวจป โ ตรเลี ย ม ได แ ก ร ะยะเวลาสํ า รวจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมที่ไดรับการต ในกรณีที่มีการขยายอายุสัมปทานตามมาตรา ๒๗ ในชวงขอผูกพันชวงใดให สํ า นั กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ขยายชวงขอผูกพันกงานคณะกรรมการกฤษฎี ชวงนั้นออกไปเทากับระยะเวลาที ่ขยายอายุ สัมปทานนั้น ในช ว งข อ ผู ก พั นสํชานัวกงใดจะแบ ง การปฏิ บั ติ ต ามข อ ผู ก พั นสํานันั้ นกโดยกํ า หนดเป น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา งานคณะกรรมการกฤษฎีกา งานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลาไวในสัมปทานก็ได และในกรณีนี้ ผูรับสัมปทานตองปฏิบัติตามขอผูกพันใหครบถวน ภายในระยะเวลาที ําหนดไวนั้น๑๙ สํานัก่กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ชวงขอผูกพันชวงหนึ่งกาๆ หรือสิ้นระยะเวลาหนึ ่งในชวงขอ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๓๒๒๐ เมืสํ่อานัสิก้นงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูกพันชวงหนึ่ง ๆ ตามที่กําหนดไวในสัมปทาน หรือในกรณีที่มีการคืนพื้นที่แปลงสํารวจทั้งแปลง กา งปฏิบัติตสํามข านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า โตรเลียม ในชวงขอผูกพัสํานนัชกวงานคณะกรรมการกฤษฎี งที่หนึ่ง ถาผูรับสัมปทานยั อผูกพันสําหรับการสํากรวจป ในแปลงสํารวจแปลงใดไมครบตามที่กําหนดไวในสัมปทานผูรับสัมปทานตองจายเงินสวนที่ยัง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มิไดใชจายไปในชวงขอผูกพันชวงนั้นหรือระยะเวลาระยะนั้นใหแกกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*ภายใน สามสิบวันนับสํแต สิ้นชวงขอผูกพันหรือกระยะเวลา หรืสํอาวันันกคืงานคณะกรรมการกฤษฎี นพื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั านัวกันงานคณะกรรมการกฤษฎี า กา ้น แลวแต กรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๒๑

มาตรา ๓๓ การโอนขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจ สํานั่งกกังานคณะกรรมการกฤษฎี กา าไดเมื่อมีเหตุ สําอนั​ันกงานคณะกรรมการกฤษฎี ระหวางแปลงหนึ บอีกแปลงหนึ่งจะกระทํ สมควร และไดรับอนุมกาัติจากรัฐมนตรี แลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๘ มาตรา ๓๐ วรรคสอง เพิก่มา โดยพระราชบัสํญาญันักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ิปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. สํานั๑๙กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๓๒ มาตรา ๓๑ วรรคสาม เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒๐ มโดยพระราชบัญญัติปกโตรเลี พ.ศ. ๒๕๒๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๓๒ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่ า๓) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๑ มาตรา ๓๓ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 202 - ๑๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๔๒๒ ในการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใด ในชวงขอผูกพัน ชวงใดหรือระยะเวลาระยะใดในช วงขอผูกพัา นชวงใดตามที หนดไวในสัมปทาน ถกาผูรับสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั่กกํางานคณะกรรมการกฤษฎี ไดใชจายหรือไดกระทําไปเกินขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ้น หรือระยะเวลาระยะนั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ในชวงขอผูกพันชวกงนั ้น ใหมีสิทธิหกักา ปริมาณเงินสํปริ าณงาน หรือทั้ง กา ปริมาณเงินและปริมาณงาน สวนที่เกินออกจากขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันหรือระยะเวลาถัดไปได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๕ ในกรณีที่มีการเพิกถอนสัมปทานในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง ถาผูรับ สัมปทานยังปฏิ ิตามขอผูกพันสําหรับการสํ มไมครบตามที่กําหนดไว สําบนั​ัตกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ารวจปโตรเลี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในสัมปทาน ผูรับ สั มปทานตองจา ยเงิน สวนที่ ยั งมิไ ดใ ชจา ยไปในชวงขอผูกพัน ชวงนั้น ให แ กกรมเชื้อเพลิง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บวันนับแตสํวาันนักทีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผลใชบังคับสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ธรรมชาติ*ภายในสามสิ ่คําสั่งเพิกถอนสัมปทานมี สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัผูกรงานคณะกรรมการกฤษฎี ๓๖๒๓ ภายใตบกังาคับมาตรา ๔๕ ับสัมปทานตองคืนพืก้นาที่แปลงสํารวจ

แปลงหนึ่ง ๆ ตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) เมื่อครบสี่ปนับแตวันเริ่มระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ตองคืนพื้นที่รอยละ หาสิบของพื้นสํทีา่แนัปลงสํ ารวจแปลงนั้น แตกถา าเปนแปลงสํสําานัรวจที ่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา *กําหนดวา เปนแปลงสํารวจในทะเลที่มีน้ําลึกเกินสองรอยเมตรใหคืนพื้นที่รอยละสามสิบหาของพื้นที่แปลง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํารวจแปลงนั้น กา (๒) เมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม และระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมนั้นมิได สํ า นั กา (๑) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รับการตอ ตองคืนกพืงานคณะกรรมการกฤษฎี ้นที่ทั้งหมดที่เหลือจาก (๓)กา เมื่อสิ้นระยะเวลาสํ ารวจปโตรเลียม และระยะเวลาสํ โตรเลียมนั้น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําานัรวจป กงานคณะกรรมการกฤษฎี ไดรับการตอ ต องคื นพื้นที่อีกร อยละยี่สิบ หาของพื้น ที่แปลงสํารวจแปลงนั้น แตถา เปนแปลง สํารวจที่กรมเชืสํา้อนัเพลิ งธรรมชาติ*กําหนดวกาเปนแปลงสําสํรวจในทะเลที ่มีน้ําลึกเกินสองร กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อยเมตร ให คืนพื้นที่อีกรอยละสี่สิบของพื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี (๔)กา เมื่ อสิ้ น ระยะเวลาสํ า รวจปโ ตรเลีย มทีก่ไาดรับ การต อสํตานัอกงคื น พื้น ที่ที่ เหลื อ กา ทั้งหมด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อประโยชนในการคํานวณพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรานี้ใหหักพื้นที่ผลิตออกจาก พื้นที่แปลงสํารวจแปลงนั นพื้นที่ตามมาตรานีก้ใาหเปนไปตามหลั เกณฑและวิธีการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นกอน และการคื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*กําหนด สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ปฏิบัติการให สํานัถกูกงานคณะกรรมการกฤษฎี กากรมเชื้อเพลิง ที่ผูรับสัมปทานไม ตองตามวรรคหนึ่ง ให ธรรมชาติ*กําหนดพื้นที่ที่ตองคืนแทนผูรับสัมปทาน และเมื่อไดแจงใหผูรับสัมปทานทราบแลว ให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถือวาพื้นที่ที่กําหนดนั้นเปนพื้นที่ที่คืนตามมาตรานี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา๒๔

สํานั๒๒ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๔ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒๓ มโดยพระราชบัญญัติปกโตรเลี พ.ศ. ๒๕๑๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกมาตรา า ๓๖ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่ า๒) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๔ มาตรา ๓๖ (๑) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 203 - ๑๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๗ ภายใตบังคับมาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ และมาตรา ๔๐ ผูรับสัมปทาน มีสิทธิคืนพื้นทีสํ่แานัปลงสํ ารวจทั้งแปลงหรือบางส ก็ได กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วนในเวลาใด สํานักๆ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา พื้นที่ที่คืนตามวรรคหนึ่งแลวใหนําไปหักออกจากพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา ๓๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได ในการคืนพื้นที่แปลงสํารวจบางสวนตามมาตรานี้ ใหนําหลักเกณฑและวิธีการที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง มาใชบังคับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๘ ผูรับสัมปทานซึ่งใชสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจทั้งแปลงหรือบางสวน ในชวงขอผูกพัสํานนัชกวงานคณะกรรมการกฤษฎี งที่หนึ่ง ไมมีสิทธิไดกรัาบการลดหยอสํนในการปฏิ บัติตามขอผูกกพัา นสําหรับการ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันชวงที่หนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่มีการคืนสําพืนั้นกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้งแปลงในชวสํงข านักองานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณี ที่แปลงสํารวจแปลงใดทั ผูกพันชวงที่หนึ่ง กา ตามวรรคหนึ่ง ใหผูรับสัมปทานพนจากขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แปลงนั้น ในชวงขอผูกพันชวงหลังจากนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๙ ๒๕ ในกรณีที่ผูรับ สัมปทานใชสิทธิคืน พื้ นที่แปลงสํา รวจในช วงข อ ผูกพันชวงที่สสํองหรื อชวงที่สาม ถาเปนการคื ่เหลืออยูของแปลงสํากรวจแปลงใดให านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นพื้นที่ทั้งหมดที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ผูรับสัมปทานพนจากขอผูกพันทั้งหมดสําหรับการสํารวจปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานยังมิไดปฏิบัติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้น ทั้งนีสํ้ เว านันกแต งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในสัมปทานให สํานักผงานคณะกรรมการกฤษฎี ไปในแปลงสํารวจแปลงนั ขอผูกพันที่กําหนดไว ูรับสัมปทานตอง กา ปฏิบัติภายในระยะเวลากอนการคืนพื้นที่ และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๓๒ มาใชบังคับโดยอนุโลม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๒๖

มาตรา ๔๐ ในกรณีที่ผูรับสัมปทานใชสิทธิคืนพื้นที่แปลงสํารวจบางสวนครั้ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วงขอผูกพัสํนานัชกวงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รับการลดหย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หนึ่งหรือหลายครั้งในช งที่สอง ใหผูรับสัมปทานได อนในการปฏิบัติ กา

ตามขอผูกพันสํสําานัหรั บการสํารวจปโตรเลียกมที ารวจแปลงนั้นกาดังตอไปนี้ กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่ยังคงเหลือสํอยู านัใกนแปลงสํ งานคณะกรรมการกฤษฎี (๑) ในกรณีที่การคืนพื้นที่นั้นกระทําในระหวางปที่สี่ นับแตวันเริ่มระยะเวลา สํารวจปโตรเลียมในแปลงสํ ารวจแปลงนั ้น ถาพื้นที่ที่คืนไมเกินกาพื้นที่ที่ตองคืนสํตามมาตรา ๓๖ ผูรับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานไมมีสิทธิไดรับการลดหยอนในการปฏิบัติตามขอผูกพันในชวงขอผูกพันชวงที่สอง แตถา านัก่งงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กาผูรับสัมปทาน พื้นที่ที่คืนครั้งสํหนึ หรือหลายครั้งรวมกันกเกิา นพื้นที่ที่ตอสํงคืานันกตามมาตรา ๓๖ แลว ให มีสิทธิไดรับการลดหยอนในการปฏิบัติตามขอผูกพันสําหรับการสํารวจปโตรเลียมในชวงขอผูกพัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ชวงที่สองนับแตวันเริ่มตนของชวงขอผูกพันนั้น ทั้งนี้ ตามอัตราสวนของพื้นที่ที่คืนแตละครั้ง เฉพาะสวนที่เสํกิานนัพืกงานคณะกรรมการกฤษฎี ้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา ูรับสัมปทานยังถืออยูใกนวั กา ๓๖ กับพื้นสํทีา่ทนัี่ผกงานคณะกรรมการกฤษฎี า นเริ่มตนของ ชวงขอผูกพันชวงที่สอง หักดวยพื้นที่ที่ตองคืนตามมาตรา ๓๖ หรือตามอัตราสวนของระยะเวลาที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ยังเหลืออยูในชวงขอกผูา กพันชวงที่สสํองนั บแตวันที่มีการคืนแตกลาะครั้งกับระยะเวลาทั ้งสิ้นของชวงขอ กา ผูกพันชวงที่สอง สุดแตอัตราใดจะนอยกวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๒๕ มโดยพระราชบัญญัติปกโตรเลี พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๓๙ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่ า๔) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๖ มาตรา ๔๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 204 - ๑๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒)กา ในกรณี ที่ ผสํู ราั บนักสังานคณะกรรมการกฤษฎี ม ปทานใช สิ ท ธิ คื น พืก้ นา ที่ ห ลั ง จากสิสํ้ นานัปกทงานคณะกรรมการกฤษฎี ี่ สี่ นั บ แต วั น เริ่ ม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้น ใหผูรับสัมปทานมีสิทธิไดรับการลดหยอนใน สํานัอกผูงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โตรเลียมในช สํานักวงานคณะกรรมการกฤษฎี การปฏิบัติตามข กพันสําหรับการสํารวจป งขอผูกพันชวงที่สองนักบา แตวันเริ่มตน ของปที่หาของระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้น ทั้งนี้ ตามอัตราสวนของพื้นที่ที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คื น แตละครั้ ง กั บ พื้ น ที่ ที่ผู รับ สัม ปทานถือ อยูใ นวัน เริ่ มตน ของปที่ หา หรื อ ตามอัต ราส ว นของ ระยะเวลาที่ยสํังาเหลื ออยูในชวงขอผูกพันกชาวงที่สองนับสํแต ที่มีการคืนแตละครัก้งากับระยะเวลา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี านัวกันงานคณะกรรมการกฤษฎี ทั้งสิ้นของชวงขอผูกพันชวงที่สองนับจากวันเริ่มปที่หา สุดแตอัตราใดจะนอยกวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บังคับมาตรา สํานัก๓๙ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ภายใต ในการใชสิทธิคืนกพืา้นที่แปลงสํารวจบางส วนในชวงขอ กา ผูกพันชวงที่สาม ผูรับสัมปทานไมมีสิทธิไดรับการลดหยอนในการปฏิบัติตามขอผูกพัน สําหรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันชวงที่สาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๑ ในระหว า งระยะเวลาสํ า รวจป โ ตรเลี ย ม ผู รั บ สั ม ปทานจะผลิ ต

ปโตรเลียมก็ไดสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๒

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๒๗

กอสํนผลิ ตปโตรเลียมจากที่ใดที ผูรับสัมปทาน กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่หนึ่งในแปลงสํ สํานัารวจ กงานคณะกรรมการกฤษฎี ตองแสดงวาไดพบหลุมปโตรเลียมที่มีสมรรถนะเชิงพาณิชยและไดกําหนดพื้นที่ผลิตถูกตองแลว านัมกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตปโตรเลียมจากพื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา และเมื่อไดรับสํอนุ ัติจากอธิบดีแลวจึงจะผลิ ้นที่ผลิตนั้นได การกําหนดสมรรถนะเชิงพาณิชยของหลุมปโตรเลียมและการกําหนดพื้นที่ผลิต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา และวิธีการที สํานั่กกํางานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหเปนไปตามหลักเกณฑ หนดในกฎกระทรวง กา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี ๔๒ ทวิ๒๘ เมื่อผูกราับสัมปทานไดสํารนั​ับกอนุ มัติจากอธิบดีใหผลิกตาปโตรเลียมใน

พื้นที่ผลิตตามมาตรากา ๔๒ แลว ใหสํผานัูรับกงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานยื่นแผนการผลิ าหรับพื้นที่ผลิต กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตในรายละเอี สํายนัดสํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี ดังกลาวตามหลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาตามที่กําหนดในกฎกระทรวง และผูรับสัมปทาน ตองเริ่มทําการผลิ ตปโตรเลียมตามแผนภายในสี ่ปนสํับาแต วันที่ไดรับการอนุมัตกิจาากอธิบดีตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ๔๒ ถาผูรับสัมปทานไมเริ่มทําการผลิตปโตรเลียมภายในกําหนดระยะเวลาดังกลาว ใหถือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ยมสําหรับสําพืนั้นกทีงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระยะเวลาผลิตปโกตรเลี ่ที่ไดกําหนดใหเปนพืก้นาที่ผลิตนั้นสิ้นสํสุาดนัลง ในกรณีที่ผูรับสัมปทานประสงคจะขอขยายระยะเวลาเริ่มทําการผลิตปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ออกไปจากกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหผูรับสัมปทานแจงเปนหนังสือพรอมดวยเหตุผลให อธิบดีทราบลวงหนากกาอนสิ้นสุดระยะเวลาตามวรรคหนึ ่งไมนอกยกว บดีเห็นวาการที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า าหกเดือนสํถานัากอธิ งานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรับสัมปทานไมสามารถเริ่มทําการผลิตปโตรเลียมในพื้นที่ผลิตนั้นมิใชความผิดของผูรบั สัมปทาน านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่มทําการผลิ สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี า ใหอธิบดีมีอําสํนาจอนุ ญาตใหขยายระยะเวลาเริ ออกไปไดตามที่เห็นกสมควร แตการ อนุญาตใหขยายระยะเวลาเริ่มทําการผลิตปโตรเลียมใหกระทําไดไมเกินคราวละสองปและให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา อนุญาตขยายไดไมเกินสองคราว สํานั๒๗ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๘ มาตรา ๔๒ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 205 - ๑๕ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ตลอดระยะเวลาผลิ ป โ ตรเลี ย มในพื้ น ที่ ผกาลิ ต ผู รั บ สั ม ปทานจะต อ งทบทวน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี แผนการผลิตปโตรเลียมตามวรรคหนึ่ง แลวแจงผลการทบทวนเปนหนังสือตออธิบดีทุกป และถา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รับอนุมัติจาก ผูรับสัมปทานประสงค จะเปลี่ยนแปลงแผนการผลิ ตปโสํตรเลี ยม ใหผูรับสัมปทานได อธิบดีกอน จึงจะเปลี่ยนแปลงแผนการผลิตปโตรเลียมได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๓ ในระหวางระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม ถาผูรับสัมปทานไดพัฒนา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แหลงปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใดในชวงขอผูกพันชวงใด ผูรับสัมปทานมีสิทธินําคาใชจาย ในการพัฒนาแหลงปกาโตรเลียมไปคํสําานวณเป นคาใชจายตามขอกผูา กพันสําหรับสํการสํ ารวจปโตรเลียม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ในแปลงสํารวจแปลงนั้นในชวงขอผูกพันชวงนั้นได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๔ ถ า ผู รั บ สั ม ปทานไม ส ามารถแสดงว า ได พ บหลุ ม ป โ ตรเลี ย มที่ มี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่ผลิตตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สมรรถนะเชิงพาณิชกยาในแปลงสํารวจแปลงใด หรือมิไดกําหนดพื ๔๒ ใหถือวา กา สัมปทานในสวนที่เกี่ยวกับแปลงสํารวจแปลงนั้นสิ้นอายุเมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๕๒๙ เมื่อสิ้นระยะเวลาสํารวจปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงใด และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูรับสัมปทานไดรับสิทธิผลิตปโตรเลียมในแปลงสํารวจแปลงนั้นแลวผูรับสัมปทานมีสิทธิสงวน พื้นที่ในแปลงสํ ้นไวไดไมเกิกนารอยละสิบสองครึ ่งของพื้นที่เดิมของแปลงสํ สําานัรวจแปลงนั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ารวจแปลง นั้น ตามระยะเวลาที่ผูรับสัมปทานกําหนดแตตองกําหนดไมเกินหาปนับแตวันสิ้นระยะเวลาสํารวจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั่ขกอสงวนไว งานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมในแปลงสํกา รวจแปลงนั้นสําแต ผูรับสัมปทานจะคืนพืก้นาที่แปลงสํารวจที นั้นกอน กา ครบกําหนดเวลาดังกลาวก็ได สํานัในการสงวนพื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่ตามวรรคหนึ ่ง ใหเปสํานนัไปตามหลั กเกณฑ วิธีการและเงื ่อนไขที่ กําหนดในกฎกระทรวง ้นที่ไดเปนไปโดยถูกกาตองแลว ผูรับสําสันัมกปทานย อมมีสิทธิ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เมื่อการสงวนพื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี สํารวจปโตรเลียมในพื้นที่ที่สงวนไวนั้นได และใหผูรับสัมปทานเสียคาสงวนพื้นที่ลวงหนาเปนราย ปตามอัตราที่กสําํ นัหนดในกฎกระทรวง กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ผูรับสัมปทานพบปโตรเลียมในเขตพื้นที่ที่สงวนไวและประสงคจะผลิต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๒ มาใชสํบานั​ังคักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียม ใหนํามาตรา บ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งชําระคาสงวนพื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๔๖ ผูรับสัมปทานซึ ้นที่สําหรับปใด มีสิทกธิาไดรับคาสงวน

พื้นที่ในปนั้นคืนเทากับจํานวนคาใชจายที่เสียไปในการสํารวจปโตรเลียมในพื้นที่ที่สงวนไวในปนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได แตทั้งนี้ตองไมเกินคาสงวนพื้นที่ที่ไดชําระไปแลว บคาสงวนพื้นที่คกาืนใหเปนไปตามหลั กเกณฑ วิธีการและเงืก่อา นไขที่กําหนด สํานัการขอรั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกฎกระทรวง

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๗ ผูรับสัมปทานอาจรับบริษัทอื่นเขารวมประกอบกิจการปโตรเลียม สํานัเกมืงานคณะกรรมการกฤษฎี า กา โตรเลียมแต ตามสัมปทานได ่อไดรับอนุญาตจากรัฐกมนตรี ในกรณีสําเชนันกงานคณะกรรมการกฤษฎี นี้ผูรวมประกอบกิจการป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๙ มาตรา ๔๕ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 206 - ๑๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ละรายตองชําระคาภาคหลวง ภาษีสํเงิานนักไดงานคณะกรรมการกฤษฎี และเงินอยางอื่น และปฏิ นที่เกี่ยวกับการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา บัติตามขสํอาผูนักกพังานคณะกรรมการกฤษฎี ประกอบกิจการปโตรเลียมในสวนที่เปนของตน สํานัผูกงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รวมประกอบกิจการปกโาตรเลียมทุกสํรายต องรับผิดรวมกันและแทนกั นในการ ปฏิบัติตามสัมปทานและตามพระราชบัญญัตินี้ เวนแตผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมรายหนึ่งไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตองรับผิดชอบในการชําระภาษีเงินไดตามกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียมในสวนที่เปนของ ผูรวมประกอบกิ โตรเลียมรายอื่น กา สํานัจกการป งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ผูรวมประกอบกิจการปโตรเลียมรายใดไมชําระภาษีเงินไดที่ตนมีหนาที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โตรเลียมรายอื สํานั่นกทุงานคณะกรรมการกฤษฎี ตองเสีย ใหรัฐมนตรีกแา จงเปนหนังสืสําอนัให ผูรวมประกอบกิจการป กรายทราบ และ กา ถามิไดมีการชําระภาษีเงินไดดังกลาวนั้นภายในเกาสิบวันนับแตวันไดรับหนังสือ ใหถือเปนอีกเหตุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หนึ่งที่จะเพิกถอนสัมปทานไดดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๘๓๐ ผูรับสัมปทานมีสิทธิโอนสัมปทานทั้งหมด หรือเฉพาะที่เกี่ยวกับ แปลงสํารวจแปลงใดแปลงหนึ ่ง พื้นที่ผลิกตา หรือพื้นที่ทสํี่สางวนไว เขตใดเขตหนึ่งใหแกกา บริษัทอื่นโดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ไมตองขอรับอนุญาตในกรณี ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั้นกเกิ งานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)กาบริษัทผูรับสัสํมานัปทานถื อหุนในบริษัทผูรกับาโอนสัมปทานนั นรอยละหาสิบ กา ของหุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนได สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักษงานคณะกรรมการกฤษฎี บริษัทผูรับโอนสัมกปทานถื อหุนในบริ ัทผูรับสัมปทานเกินรกอายละหาสิบของ หุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนได สํหรื อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) มีบริษัทที่สามถือหุนเกินรอยละหาสิบของหุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนได ทั้งในบริษัทผูรสํับานัสักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทานและบริษัทผูรับกโอนสั า มปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การโอนตามวรรคหนึ่ ง ผู รับ สัม ปทานต อ งแจง เป น หนั งสื อให รั ฐ มนตรี ท ราบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า าการโอนดั สํานังกกล งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่กําหนดไวสํใานวรรคหนึ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี พรอมทั้งแสดงหลักกฐานว าวไดเปนไปตามกรณี ่ง และใน กา กรณีที่ผูรับสัมปทานไดมีการรับรองของบริษัทที่มีความสัมพันธในดานทุนหรือดานการจัดการกับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูรับสัมปทานเกี่ยวกับทุน เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณและผูเชี่ยวชาญ ตามมาตรา ๒๔ วรรค สอง ผูรับสัมปทานตกาองยื่นหลักฐานแสดงการรั บรองผูรับโอนสั ัทดังกลาวใหแก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มปทานโดยบริ สํานักษงานคณะกรรมการกฤษฎี รัฐมนตรีดวย ทั้งนี้ เวนแตรัฐมนตรีจะเห็นวาผูรับโอนสัมปทานเปนผูที่ยื่นขอสัมปทานไดโดยไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่อถือเขารับสํรองผู านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตองมีการรับรองหรื อมีบริษัทอื่นที่รัฐบาลเชื รับโอนสัมปทานแทนตามมาตรา ๒๔ แลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การโอนตามมาตรานี้ จะมีผลตอเมื่อผูรับสัมปทานไดรับหนังสือแจงจากอธิบดีวา การโอนไดเปนสําไปโดยถู กตองตามมาตรานีกา้แลว นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ปทานและผูรับโอนสักมา ปทานตามมาตรา ๔๘ ตองรับผิด กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๙ ผูโอนสั สํานักมงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี รวมกันและแทนกันในการปฏิบัติตามสัมปทานและตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓๐ มาตรา ๔๘ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 207 - ๑๗ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๓๑ มาตรา ตามมาตรา ๔๘ มปทาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๐ นอกจากกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผูรับ สัม ปทานอาจโอนสั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

ทั้งหมดหรือเฉพาะที่เกี่ยวกับแปลงสํารวจแปลงใดแปลงหนึ่ง พื้นที่ผลิต หรือพื้นที่ที่สงวนไวเขตใด กาญาตจากรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เขตหนึ่งใหแกสํบานัริษกงานคณะกรรมการกฤษฎี ัทอื่นไดตอเมื่อไดรับอนุ ผูรับโอนสัมปทานตามวรรคหนึ่งตองมีลักษณะตามมาตรา ๒๔๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๑๓๓ รัฐมนตรีมีอํานาจเพิกถอนสัมปทาน เมื่อผูรับสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) ไม ป ฏิ บั ติ ต ามข อ ผู ก พั น สํ า หรั บ การสํ า รวจป โ ตรเลี ย มตามที่ กํ า หนดใน สัมปทานตามมาตรากา๓๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ไมวางหลักประกันหรือวางหลักประกันไมครบจํานวนตามมาตรา ๘๐/๒ สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํ๗ านักหรื งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไมชําระคาภาคหลวงตามหมวด อผลประโยชนตอบแทนพิ เศษตาม หมวด ๗ ทวิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) ไมชําระภาษีเงินไดตามกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียม ไมปฏิบัติใหถูกตองตามหลั กเทคนิสําคนัและวิ ธีการปฏิบัติงานปโกตรเลี สํานั(๕) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ยมที่ดี (๖) ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอกําหนดที่ระบุไวในสัมปทานวาเปนเหตุเพิกถอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทานได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๕๒ เมื่อมีเหตุทกี่จา ะเพิกถอนสัสํมาปทานเกิ ดขึ้นและเหตุนั้นกรัาฐมนตรีเห็นวา

อาจแกไขได ใหรัฐมนตรีแจงเปนหนังสือใหผูรับสัมปทานทราบถึงเหตุนั้น และกําหนดใหผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า กงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานแกไขภายในเวลาที ่เห็นสมควร ถาผูรับสัมปทานไมสกามารถแก ไขไดสํภานัายในเวลาที ่กําหนด กา

โดยมีเหตุอันสมควร ใหขออนุญาตขยายเวลาออกไปได เทาที่จําเปนกอนครบกําหนดเวลานั้นไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นอยกวาเจ็ดวัน ถารัฐมนตรีเห็นสมควรใหมีอํานาจขยายเวลาออกไปไดไมเกินระยะเวลาที่ผูรับ สัมปทานขอขยาย ถกาาผูรับสัมปทานไม กไขภายในเวลาที่กําหนดหรื ไขภายในเวลา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักแงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อไมสามารถแก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่ขยายออกไป ใหรัฐมนตรีมีคําสั่งเพิกถอนสัมปทานโดยไมชักชา สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า มปทานเกิ สํานัดกขึงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เห็นวาไมอาจ ที่มีเหตุที่จะเพิกกถอนสั ้นและเหตุนั้น รัฐมนตรี แกไขได ใหรัฐมนตรีมีคําสั่งเพิกถอนสัมปทานโดยไมตองปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คํ า สั่ ง เพิ ก ถอนสั ม ปทานให มี ผ ลใช บั ง คั บ เมื่ อ พ น สามสิ บ วั น นั บ แต วั น ที่ ผู รั บ สัมปทานไดรับสําคํนัากสังานคณะกรรมการกฤษฎี ่ง เวนแตผูรับสัมปทานจะดํ ๕๓ กา าเนินการตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๓๔ มาตรา ที่ รั ฐ มี ค วามตกอา งการผลิ ต ภัสํณานัฑกงานคณะกรรมการกฤษฎี ป โ ตรเลี ย มเพื่ อ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๒ ทวิสํานักในกรณี งานคณะกรรมการกฤษฎี

ประโยชนในการดําเนินการตามโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ รัฐบาลอาจขอใหผูรับสัมปทานเรงรัด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓๑ มาตรา ๕๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖ ๓๒ มาตรา ๕๐ วรรคสอง แก ญญัติปโตรเลียม ก(ฉบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า บที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๓ มโดยพระราชบัญญัติปโกตรเลี ๒๕๕๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกมาตรา า ๕๑ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่ า๖) นักพ.ศ. งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๓๔ มาตรา ๕๒ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 208 - ๑๘ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การผลิตปโตรเลียมในพื สงวนไวตามมาตรา ต กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่ที่ผูรับสัสํามนัปทานได กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๕ ก็ได โดยเสนอแผนการผลิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ในเขตพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งที่กําหนดขึ้นเปนการเฉพาะตามโครงสรางของแหลงปโตรเลียม สํานัถกางานคณะกรรมการกฤษฎี สําวนัิทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พื้นที่นั้นเปนพื้นที่ที่มกีสา ภาพทางธรณี ยาไมเอื้ออํานวย รัฐบาลจะเสนอให มี การลดหยอ นค า ภาคหลวงตามมาตรา ๙๙ ทวิ และ/หรื อ เสนอเพิ่มค า คงที่ แ สดงสภาพทาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ธรณีวิทยาของแปลงสํารวจตามมาตรา ๑๐๐ ฉ (ข) สําหรับพื้นที่นั้นหรือไมก็ได ผูรับสัมปทานไมสามารถเจรจาทํ าความตกลงกั บรัฐบาลไดภายในสิ สํานัถกางานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บสองเดือน นับแตวันที่ผูรับสัมปทานไดรับขอเสนอจากรัฐบาลตามวรรคหนึ่ง และรัฐบาลเห็นวาการเรงรัดการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาาวเปนความจํ สําานัเป กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผลิตปโตรเลียมดังกล นแกเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลมีสําสนัิทกธิงานคณะกรรมการกฤษฎี แจงเปนหนังสือ กา ใหผูรับสัมปทานทราบวา รัฐบาลจะเขาใชสิทธิประกอบกิจการปโตรเลียมในพื้นที่นั้นดวยความ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เสี่ยงภัยแตฝายเดียว เมื่อการัฐบาลไดแจสํงให ูรับสัมปทานทราบถึงกการเข าวแลว ใหถือวา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักผงานคณะกรรมการกฤษฎี า าใชสิทธิสํดาังนักล กงานคณะกรรมการกฤษฎี สิทธิตามสัมปทานของผูรับสัมปทานเฉพาะในพื้นที่ที่ไดกําหนดขึ้นตามวรรคหนึ่งสิ้นสุดลง และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อ รั ฐวิ สสําหกิ านักจงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รัฐบาลมีอํานาจมอบหมายให สวนราชการหรื หรือผูหนึ่งผูใดเข า ประกอบกิ จ การ ปโตรเลียมในพื้นที่ดังกลาวได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา้ น ที่ ดั ง กล า วมีสําผนัลกํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี หากในการประกอบกิ จ การปโ ตรเลี ยมในพื า ไรป โ ตรเลี ย ม กา ประจําปตามมาตรา ๑๐๐ จัตวา ของหมวด ๗ ทวิ เกิดขึสํ้นานัใหกงานคณะกรรมการกฤษฎี รัฐบาลนําผลกําไรปโตรเลี ยมประจําป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กา ดังกลาวชําระคืนเงินลงทุนอันเปนรายจายที่ผูรับสัมปทานไดใชจายในพื้นที่ดังกลาว ใหแกผูรับ สัมปทานจนกวาจะครบจํ านวณผลกําไรขาดทุ จการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านวน และในการคํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นสําหรับสําการประกอบกิ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ป โ ตรเลี ย มของรั ฐ ตามมาตรานี้ ให คํ า นวณดั ง เช น การคํ า นวณสํ า หรั บ การประกอบกิ จ การ สํานัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี สําเนัศษตามมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมของผู สัมปทานอื่น แตมิใหกมาีคาลดหยอนพิ ๑๐๐ ตรีกา(๔) เพื่อนํามา คํานวณเปนคาใชจาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในระหวางการประกอบกิจการปโตรเลียมของรัฐบาลตามมาตรานี้ ผูรับสัมปทาน มีสิทธิขอเขารสํวามทุ กับรัฐบาลได โดยใชหกาลักเกณฑและเงื อกําหนดวาดกวายการประกอบ นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั่อกนไขตามข งานคณะกรรมการกฤษฎี กิจการปโตรเลียมโดยการเสี่ยงภัยลงทุนแตฝายเดียว ของสัญญารวมทุนระหวางผูประกอบกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในประเทศไทยที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมที่ใชกันอยู ่ใหผลดีที่สุดแกผูรับกสัามปทาน แตสํกาารขอใช สิทธิเชนนั้น กา จะตองแจงใหรัฐบาลทราบอยางชาภายในสามปนับแตวันที่รัฐบาลไดเขาใชสิทธิประกอบกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมตามมาตรานี้ ถากรัาฐบาลไมเริ่มตสํานนัประกอบกิ จการปโตรเลีกยามอยางจริงจัสํงาในพื ้นที่ที่กําหนดขึ้น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามวรรคหนึ่งภายในระยะเวลาสองป นับแตวันที่สิทธิตามสัมปทานของผูรับสัมปทานนั้นสิ้นสุดลง กา รัฐบาลคืนสํสิาทนัธิกใงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามวรรคสี่ ผูสํรานั​ับกสังานคณะกรรมการกฤษฎี มปทานมีสิทธิรองขอให นพื้นที่ดังกลาวใหแกกตา นโดยทําเปน หนังสือยื่นตอรัฐมนตรีภายในระยะเวลาหกเดือนนับแตวันที่ครบกําหนดสองปดังกลาว และใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักวงานคณะกรรมการกฤษฎี กรณีที่มีการคืนสิทธิกใานพื้นที่ ใหขยายอายุ สัมปทานของผูรับสัมกาปทานเฉพาะในส นที่เกี่ยวกับพื้นที่ กา นั้นออกไปเทาสํกัานับกระยะเวลาที ่รัฐบาลไดเขกาาใชสิทธิตามมาตรานี ้ และรัฐบาลมีสิทธิไกดารับคืนเงินที่ได งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ลงทุนไปในพื้นที่ดังกลาวเปนจํานวนเทาที่การลงทุนนั้นไดเกิดประโยชนแกผูรับสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 209 - ๑๙ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ่เกี่ยวกับการที่รัฐมนตรี ไข เหตุที่จะ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๓ ขอพิสํพานัาทที กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สั่งใหผูรับสัมสํปทานแก านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สั่ งเพิกถอนสั ม ปทานตามมาตรา ๕๒ และข อ พิพาทที่เกี่ยวกับ ปญ หาที่วา ได มี การปฏิบั ติต าม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สัมปทานหรือสํไมานักถงานคณะกรรมการกฤษฎี าไมสามารถตกลงกันกไดา ใหดําเนินการระงั บโดยอนุญาโตตุลาการตามวิ ธีการที่ กําหนดในสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ผูรับสัมปทานไมยอมปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ หรือไม ปฏิบัติตามคําสํวิานนัิจกฉังานคณะกรรมการกฤษฎี ยของอนุญาโตตุลาการภายในเวลาที ใหรัฐมนตรีมีอํากนาจสั กา สํา่กนัํากหนด งานคณะกรรมการกฤษฎี า ่งเพิกถอน สิทธิหรือประโยชนทั้งหมดหรือบางสวนหรือเพิกถอนสัมปทานได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การเก็บรักกาษาและขนสงสํปาโนัตรเลี ยม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๔ ผูรับสัมปทานมีสิทธิเก็บรักษาและมีสิทธิขนสงปโตรเลียม สํานัการเก็ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งปโตรเลียมให สํานัเกปงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มปทาน บรักษาและการขนส นไปตามขอกําหนดในสั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๕ ในกรณี สํานัจกํางานคณะกรรมการกฤษฎี กา นการดวสํนานัพนั กงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา เปนเพื่อปองกันอันตรายเป กงานเจาหนาที่ กา

หรือผูรับสัมปทานมีอํานาจผานหรือเขาไปในที่ดินหรือสถานที่ของบุคคลใดเพื่อ ตรวจ ซอมแซม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือแกไขทอสงปโตรเลียมในเวลาใด ๆ ได แตตองแจงใหเจาของหรือผูมีสิทธิครอบครองที่ดิน หรือสถานที่นั้นทราบโดยเร็ วที่สุดเทสําานัทีก่จงานคณะกรรมการกฤษฎี ะทําได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถาการผานหรือเขาไปในที่ดินหรือสถานที่ตามวรรคหนึ่ง เปนเหตุใหเกิดความ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี เสี ยหาย เจ าของผู  มีสิทธิ ค รอบครองหรืกาอผู ทรงสิทธิ สํอาื่นนัใดในที ่ดิน หรื อ สถานทีก่นาั้ น มี สิท ธิเรี ย ก ค า เสี ย หายจากพนั ก งานเจ า หน า ที่ ห รื อ ผู รั บ สั ม ปทาน และถ า ไม ส ามารถตกลงกั น ถึ ง จํ า นวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า อ พิ พ าทให สํานัอกงานคณะกรรมการกฤษฎี สําญ นักญังานคณะกรรมการกฤษฎี ค า เสี ย หายได ให มกอบข นุ ญ าโตตุ ล าการวิ นิ จกฉัาย โดยนํ า บทบั ติ แ ห ง ประมวล กา กฎหมายวิธีพสํิจาารณาความแพ งมาใชบังคักบา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การขายและจําหนายปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา บั ง คั บ หมวดนี้ ผู รั บกสัาม ปทานมี สิสํทาธินัขกงานคณะกรรมการกฤษฎี ายและจํ า หน า ย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๖ ภายใต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๗ ในการขายน้ํามันดิบที่ผลิตไดเพื่อใชภายในราชอาณาจักร ใหผูรับ สัมปทานขายในราคาดั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) ในกรณีที่ยังไมมีผูรับสัมปทานสงน้ํามันดิบที่ผลิตไดออกนอกราชอาณาจักร สํ า นั งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัากงประเทศส งานคณะกรรมการกฤษฎี เป น ประจํ า ให ขกายไม เ กิน ราคาน้ํา มั น ดิกบา ที่สั่ ง ซื้อ จากต ง ถึ ง โรงกลัก่ นาน้ํ า มัน ภายใน ราชอาณาจักร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 210 - ๒๐ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒)กา ในกรณีที่มีผสํูรานั​ับกสังานคณะกรรมการกฤษฎี มปทานสงน้ํามันดิบทีก่ผา ลิตไดออกนอกราชอาณาจั กรเปน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ประจํา ใหขายไมเกินราคาเฉลี่ยที่ไดรับจริงสําหรับน้ํามันดิบที่ผูรับสัมปทานทุกรายสงออกนอก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ราชอาณาจักรในเดื อนปฏิทินที่แลวมา ในการนี ้อธิบดีสํอานัาจให ผูรับสัมปทานสงหลักากฐานที่จําเปน เกี่ยวกับราคาที่ไดรับจริง ณ จุดสงออกดวยก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ในกรณีที่น้ํามันดิบที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรมีปริมาณถึงสิบเทาขึ้นไป ของ ความตองการใช กร ใหกขา ายในราคาทีสํ่มาีนักกําไรตามสมควร โดยคํากนึางถึงขอตกลงที่ สํานัภกายในราชอาณาจั งานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี เทียบเคียงกันไดในประเทศผูผลิตน้ํามันดิบรายใหญ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าหนดราคาตามมาตรานี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําณ นักภาพ งานคณะกรรมการกฤษฎี การกํ ้ใหคํานึงถึงความแตกต างของคุ คาขนสงและ กา กรณีแวดลอมที่เกี่ยวของทั้งมวลดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๘ ในการขายกาซธรรมชาติที่ผลิตไดเพื่อใชภายในราชอาณาจักร ให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูรับสัมปทานขายในราคาดังตอไปนี้ ราคาที่ตกลงกับคณะกรรมการโดยความเห็ นชอบของรัฐมนตรี สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา แตราคาที่ตก ลงกั น นั้ น ต อ งไม สู ง กว า ราคาเฉลี่ ย ของก า ซธรรมชาติ ที่ ส ง ออกนอกราชอาณาจั ก ร ทั้ ง นี้ โดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คํานึงถึงความแตกตกาางของคุณภาพและค าขนสงดวย (๒) ในกรณีที่กาซธรรมชาติที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรมีปริมาณมากกวาความ สํ า นั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า แวดลอมที่ ตองการใชภายในราชอาณาจั กร ใหขายในราคาที ่มีกําไรตามสมควร โดยคํานึงถึงกกรณี เกี่ยวของทั้งมวล และขอตกลงที่เทีสํยาบเคี ยงกันไดในประเทศผูผลิตกาซธรรมชาติ รายใหญ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๙๓๕ กอนสงน้ํามันดิบออกนอกราชอาณาจั กรเวนแตการสงออกเพื่อการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วิเคราะหหรือการทดลอง ผูรับสัมปทานตองประกาศราคา เอฟ โอ บี ณ จุดที่สงออก ตามชนิด ความถวงจําเพาะและคุ ดิบนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ณภาพของน้ สําํานัมักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราคาที่ประกาศตามวรรคหนึ่งตองกําหนดและเปลี่ยนแปลงเปนครั้งคราวตามวิธี สํ า นั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดคุณภาพทีกงานคณะกรรมการกฤษฎี ่ทันสมัย ทั้งนี้ โดยคํกาานึงถึงราคาประกาศของน้ ํามันดิบที่เทียกาบเคียงกันจาก ประเทศที่อยูในภูมิภาคเดียวกันกับประเทศไทย ที่ตั้งทางภูมิศาสตรของจุดที่สงออกและจุดที่รับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ซื้อ รวมทั้งชองทางที่จําหนายไดในตลาดและคาขนสงดวย ที่อธิบดีเห็นวาราคาที สอดคลกอางกับเงื่อนไขที่ สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ผูรับสัมสํปทานประกาศไม านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดไวตามวรรคสอง ใหอธิบดีแจงใหผูรับสัมปทานแกไขราคาประกาศใหเปนไปตามเงื่อนไข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่กําหนดสําหากผู นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําวนัแต กงานคณะกรรมการกฤษฎี ดังกลาวภายในระยะเวลาที รับสัมปทานยังไมแกกไาขหรือแกไขแล ยังไมสอดคลอง กา กับเงื่อนไขที่กําหนดไวตามวรรคสอง ใหอธิบดีมีอํานาจกําหนดราคาประกาศขึ้นใหมแทนผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทาน หากผู น ว า ราคาที่ อ ธิ บ ดีป ระกาศตามวรรคสามไม เป น ไปตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา  รั บ สั ม ปทานเห็ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เงื่อนไขที่กําหนดตามวรรคสอง ผูรับสัมปทานมีสิทธิรองขอตอศาลเพื่อใหกําหนดราคาประกาศ านัอกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งเดือนนับแต สํานัวัน กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหมได แตตอสํงร งขอภายในระยะเวลาหนึ ที่อธิบดีกําหนดราคาประกาศ และให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓๕ มาตรา ๕๙ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 211 - ๒๑ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ศาลมีอํานาจกําหนดราคาประกาศได ามที่เห็นสมควร ถาผูรกับา สัมปทานไมสํราอนังขอต อศาลภายใน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัตกงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาราคาประกาศเปนไปตามที่อธิบดีกําหนด สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก่ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ที่มีการรองขอตกอา ศาลตามวรรคสี ใหราคาประกาศเปนกไปตามที ่อธิบดี กําหนดไปพลางกอนจนกวาจะมีคําสั่งของศาลเปนที่สุด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๐ เมื่อรัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควร อาจสั่งใหผูรับสัมปทานจัดหา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ป โ ตรเลี ย มที่ มี คุ ณ ภาพเหมาะสมเพื่ อ ให มี ป ริ ม าณเพี ย งพอกั บ ความต อ งการใช ภ ายใน ราชอาณาจัก รตามราคาที ่ กํ า หนดในมาตรา ๕๗ ได โดยผูกราั บ สัม ปทานตสํอานังจักงานคณะกรรมการกฤษฎี ด หาป โ ตรเลี ย ม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ดังกลาวตามอัตราสวนของปโตรเลียมที่ตนผลิตได กับปโตรเลียมที่ผลิตไดทั่วราชอาณาจักรใน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รอบหกเดือนทีสํา่แนัลกวงานคณะกรรมการกฤษฎี มา ในกรณีที่รัฐมนตรีสั่งใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมสําหรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ป โ ตรเลี ย มที่ มิ ไ ด ส ง ออกตามมาตรา ๘๓ และต อ มาได มี ก ารส ง ป โ ตรเลี ย มนั้ น ออกนอก ราชอาณาจักรสําในกรณี เชนนี้ การสั่งใหผูรกับา สัมปทานจัดสํหาป โตรเลียม ตามวรรคหนึ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งเพื่อทดแทน ปโตรเลียมนั้นจะกระทํามิได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งใหผูรับสํสัามนัปทานจั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ในการสั ดหาปโตรเลียมตามวรรคหนึ ่ง สํรัาฐนัมนตรี ตองแจงเปน กา หนังสือกําหนดเดือนเริ่มตนสําหรับการจัดหาปโตรเลียมใหผูรับสัมปทานทราบลวงหนาไมนอย กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัดกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไ ด ในกรณี ที่ กว า สามเดื อ นสํานัและจะกํ า หนดเดื อ นสิ้ นกสุา ด สํ า หรั บ การจั หาป โ ตรเลี ย มไว ด ว ยก็ รัฐมนตรีมิไดกําหนดเดือนสิ้นสุดดัสํงากล าว ใหรัฐมนตรีบอกเลิกการจัดหาปโตรเลี ยมไดเมื่อแจงเปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หนังสือใหผูรับสัมปทานทราบลวงหนาไมนอยกวาสามเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๑ ในกรณีที่มีความจําเปนเกี่ยวกับความปลอดภัยของประเทศหรือ เพื่ อ ให มี ป โ ตรเลี ย มเพี อ งการใช ภ ายในราชอาณาจั ก ร สํให มนตรี มี อํ า นาจ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ย งพอกั บสํความต านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านัรกั ฐงานคณะกรรมการกฤษฎี ประกาศหามสงปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตไดทั้งหมดหรือบางสวนออกนอกราชอาณาจักร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือหามสงไปสําณนักทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ่ใดเปนการชั่วคราวไดกา ในกรณีที่มีการประกาศหามสงปโตรเลียมที่ผูรับสัมปทานผลิตไดบางสวน ให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รัฐมนตรีหามผูรับสัมปทานสงปโตรเลียมที่ผลิตไดออกตามอัตราสวนของปโตรเลียมที่ตนผลิตได กับปโตรเลียมที ตไดทั่วราชอาณาจักรในรอบหกเดื อนที วมา สํานั่ผกลิงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานั่แกลงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การประกาศตามมาตรานี้ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๒ ในกรณีที่มีการหามสงปโตรเลียมออกเพื่อใหมีปโตรเลียมเพียงพอ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัถกางานคณะกรรมการกฤษฎี า รัฐมนตรีจัด กับความตองการใช ภายในราชอาณาจักรตามมาตรา ๖๑ ผูรับสัมปทานรองขอกให ใหมีผูซื้อปโตรเลียมที่หามสงนั้นในราคาตามมาตรา ๕๗ หรือมาตรา ๕๘ แลวแตกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประโยชน สิทธิ และหนาที่ของผูรับสัมปทาน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 212 - ๒๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ัมปทานตามพระราชบักาญญัตินี้ไมตัดสํสิานัทกธิงานคณะกรรมการกฤษฎี การใหสัมปทาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๓ การให สํานัสกงานคณะกรรมการกฤษฎี หรือการอนุญาตตามกฎหมายอื่นเพื่อใหไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติอื่นใดเวนแตปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๔ ใหผูรับสัมปทานไดรับหลักประกันวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําจนัการป กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)การัฐจะไมบังคัสํบานัโอนทรั พยสินและสิทธิในการประกอบกิ โตรเลียมของ กา ผูรับสัมปทานมาเปนของรัฐ เวนแตเปนการโอนตามขอกําหนดในสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) รัฐจะไมจํากัดการสงปโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักร เวนแตกรณีตาม มาตรา ๖๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๕ เพื่อประโยชน จการปโตรเลียม ใหคกาณะกรรมการมี สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในการประกอบกิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี อํานาจอนุญาตใหผูรับสัมปทานถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินไดเทาที่จําเปน ทั้งนี้ แมวาจะเกินกําหนดที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พึงจะมีไดตามกฎหมายอื ผูรับสัมปทานโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่ไดมาตามวรรคหนึ่งไดเมื่อไดรับอนุญาต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จากคณะกรรมการ การอนุ หนังสือใหผูรับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญ าตของคณะกรรมการตามมาตรานี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ้ ใ หอธิ บ ดีแ จสํงาเป นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานทราบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๖ ผูรับสัมปทานมีสิทธิประกอบกิจการปโตรเลียมในแปลงสํารวจและ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักทงานคณะกรรมการกฤษฎี กาอพื้นที่ผลิตทีสํ่ผานัูรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี พื้นที่ผลิตที่ไดรับสัมกปทาน แตในกรณี ี่ที่ดินในแปลงสํารวจหรื สัมปทานมีความ กา จําเปนตองใชใ นการประกอบกิ จการปโตรเลียม รวมทั้งที่ดิ นนอกแปลงสํารวจหรือพื้นที่ ผลิ ต งานคณะกรรมการกฤษฎี ดังกลาวที่ผูรับสําสันัมกปทานมี ความจําเปนตกอา งใชในการเก็สําบนัรักกงานคณะกรรมการกฤษฎี ษาหรือขนสงปโตรเลีกายมเปนที่ดินที่ บุคคลหรือสวนราชการเป นเจาของ สิทธิครอบครองหรือกมีา หนาที่ดูแลตามกฎหมาย ใหผูรับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักมีงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานปฏิบัติดังตอไปนี้ ในกรณีที่ดินอันเปกนา สาธารณสมบั องแผนดินที่ราษฎรมิกไาดใชประโยชน สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี สําตนักิขงานคณะกรรมการกฤษฎี รวมกัน ผูรับสัมปทานมีสิทธิผานเขาออกและใชในการกอสรางใด ๆ ไดโดยไมตองขออนุญาตและ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไมตองเสียคาทดแทน (๒) ในกรณีที่ดินที่สวนราชการใดเปนเจาของ มีสิทธิครอบครองหรือมีหนาที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดูแลตามกฎหมาย ผูรับสัมปทานตองขออนุญาตตอสวนราชการนั้น (๓)กา ในกรณีที่ดินสําทีนั่บกุคงานคณะกรรมการกฤษฎี คลใดเปนเจาของ หรืกาอมีสิทธิครอบครอง ผูรับสัมปทาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตองทําความตกลงกับบุคคลนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๗ ในกรณีที่ผูรับสัมปทานมีความจําเปนตองเขาไปในที่ดินที่บุคคลใด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ข ออนุ ญ าตเจ สํานัากของหรื งานคณะกรรมการกฤษฎี เป น เจ า ของหรื อ มี สกิาท ธิ ค รอบครองเพื ่ อ สํา รวจป โ ตรเลี ย ม กให อ ผู มี สิ ท ธิ กา ครอบครองที่ดินนั้นกอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถาเจาของหรือผูมีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งไมอนุญาต และพนักงาน เจาหนาที่เห็นวามีคกวามจํ ารวจปโตรเลียมในที อนุญาตนั้นไมมี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า าเปนตอสํงเข านัากไปสํ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ดินนั้นและการไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี


Page 213 - ๒๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เหตุอันสมควรเมื่อพนั งใหเจาของหรือผูมีสิทกาธิครอบครองทีสํา่ดนัินกนังานคณะกรรมการกฤษฎี ้นทราบลวงหนา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานเจาหนสําาทีนั่แกจงานคณะกรรมการกฤษฎี ไมนอยกวาเจ็ดวันวาจะเขาไปสํารวจปโตรเลียมในที่ดินนั้นแลว ใหผูรับสัมปทานเขาไปสํารวจ า สํานัากหน งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ปโตรเลียมในทีสํา่ดนัินกงานคณะกรรมการกฤษฎี นั้นในความควบคุมดูแกลของพนั กงานเจ าที่ได ถาการเขาไปในที่ดินตามวรรคสองเปนเหตุใหเกิดความเสียหาย เจาของผูมีสิทธิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ครอบครองหรือผูทรงสิทธิอื่นใดในที่ดินนั้นมีสิทธิเรียกคาเสียหายจากผูรับสัมปทาน และถาไม สามารถตกลงกั งจํานวนคาเสียหายได อนุญาโตตุลาการวิกานิจฉัย โดยนํา สํานันกถึงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหมอบขอพิสําพนัาทให กงานคณะกรรมการกฤษฎี บทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๘ เมื่อมีความจําเปนที่จะตองไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพยเพื่อใชในกิจการ กา าดวยการเวนคื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียม ใหสํดานัํากเนิงานคณะกรรมการกฤษฎี นการเวนคืนตามกฎหมายว นอสังหาริมทรัพย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๙ ภายใต สํานับกังงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าเมืองเพียสํงเท านักางานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา คับกฎหมายวาดวยคนเข ที่กฎหมายนี้มิได กา

บัญ ญัติ ไ ว เ ปน อยา งอื่ น ผู รั บ สั ม ปทานและผูรั บ จา ง ซึ่ งไดทํ า สัญ ญาจ า งเหมาโดยตรงกั บ ผู รั บ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทานมีสิทธินําชางฝมือและผูเชี่ยวชาญ รวมตลอดถึงคูสมรสและบุตรที่อยูในอุปการะซึ่งเปน คนตางด าวเขามาในราชอาณาจั กสํรตามความจํ าเปนในการประกอบกิ จการป ตรเลียมไดตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักโงานคณะกรรมการกฤษฎี จํานวนและระยะเวลาที่คณะกรรมการมีคําสั่งตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ แมวาจะเกินอัตราจํานวนคน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เขาเมืองและระยะเวลาตามที ่บัญญัติไวในกฎหมายว าดวสํยคนเข าเมือง ผู รั บ สั ม ปทานมี สิ ท ธิ อุ ท ธรณ คํ า สั่ ง ของคณะกรรมการต อ รั ฐ มนตรี ไ ด ภ ายใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สามสิบวันนับแตวันกไดา รับคําสั่ง คําสํวิานนัิจกฉังานคณะกรรมการกฤษฎี ยของรัฐมนตรีใหเปนกทีา ่สุด สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗๐๓๖ ผูรับสัมกปทานและผู รสํับาจนัากงซึ ่งไดทําสัญญาจางเหมาโดยตรงกั บ

ผูรับสัมปทาน มีสิทกธิานําเครื่องจักรสําเครื ่องมือ เครื่องใช โครงก สวนประกอบ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อสราง ยานพาหนะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี อุปกรณ และวัสดุอื่น ๆ ที่ใชในการประกอบกิจการปโตรเลียม เขามาในราชอาณาจักรได โดยให ไดรับยกเวนการเสี ยอากรขาเขาตามกฎหมายว าดวยพิสํกานั​ัดกอังานคณะกรรมการกฤษฎี ตราศุลกากรและภาษีกมา ูลคาเพิ่มตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ประมวลรัษฎากร แตของดังกลาวตองเปนของที่คณะกรรมการมีคําสั่งเห็นชอบวาจําเปนในการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประกอบกิจการปโตรเลี ผู รั บ สั ม ปทานมี สิ ท ธิ อุ ท ธรณ คํ า สั่ ง ของคณะกรรมการต อ รั ฐ มนตรี ไ ด ภ ายใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สามสิบวันนับแตวันไดรับคําสั่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๑ ในการประกอบกิจการปโตรเลียม ใหผูรับสัมปทานไดรับยกเวนการ เสียภาษีอากรสําและเงิ นที่ราชการสวนกลางกา ราชการสวนภู าค และราชการสวนทกอา งถิ่นเรียกเก็บ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัมกิภงานคณะกรรมการกฤษฎี ทุกชนิด เวนแต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)กาภาษีเงินไดตสํามกฎหมายว าดวยภาษีเงินกไดา ปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) คาภาคหลวงไม คาบํารุงปา และคาธรรมเนียมตามกฎหมายวาดวยปาไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และกฎหมายวาดวยปาสงวนแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓๖ มาตรา ๗๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๔


Page 214 - ๒๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๓๗ (๓) ผลประโยชน ต อบแทนพิ ธรรมเนี ย มตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ค า ภาคหลวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เ ศษ และค สํานักางานคณะกรรมการกฤษฎี

พระราชบัญญัตินี้ สํานั(๔) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาธรรมเนียมเพื่อตอบแทนบริ การตามกฎหมายอื ่น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗๒ เพืสํ่ อานัประโยชน กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักองานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ใ นการอนุ รั กกษา ป โ ตรเลี ย มหรื การปฏิ บั ติ ง าน กา

ปโตรเลียมที่ดี ในกรณีที่ผูรับสัมปทานหลายรายมีพื้นที่ผลิตคาบเกี่ยวกันในแหลงสะสมปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แหลงเดียวกัน รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหผูรับสัมปทานดังกลาวรวมกันผลิตปโตรเลียมได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๓ ในการสํารวจหรือผลิตปโตรเลียม ถาพบโบราณวัตถุ ซากดึกดํา บรรพ หรือแรสําทนัี่มกีคงานคณะกรรมการกฤษฎี ุณคาทางเศรษฐกิจ หรื านธรณีวิทยา ผูรกับาสัมปทานตอง กา อทางการศึสํกาษาในด นักงานคณะกรรมการกฤษฎี รายงานใหกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*ทราบภายในสามสิบวันนับแตวันพบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๔ ในการประกอบกิจการปโตรเลียมในทะเล ผูรับสัมปทานตองไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กานอากาศ การ กอใหเกิดผลกระทบกระเทื อนโดยปราศจากเหตุ อันสมควรต อการเดินเรือ การเดิ อนุรักษทรัพยากรมีชีวิตในทะเล หรือการวิจัยทางวิทยาศาสตร และตองไมทําการอันเปนการกีด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขวางตอการวางสายเคเบิลหรือทอใตน้ํา หรือกอใหเกิดความเสียหายแกสายเคเบิลหรือทอใตน้ํา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๕ ในการประกอบกิจการปโตรเลียม ผูรับสัมปทานตองปองกันโดย มาตรการอันเหมาะสมตามวิ ธีการปฏิ ัติงานปโตรเลียมที่ดีเพืก่อา มิใหที่ใดโสโครกด วยน้ํามัน โคลน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานับกงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หรือสิ่งอื่นใด สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําํ านัมักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ อ งจากการ ที่ที่ใดเกิดความโสโครกด วยน้ น โคลน หรือสิ่งอื่นใดเนื ประกอบกิจการปโตรเลียมโดยผูรับสัมปทาน ผูรับสัมปทานตองบําบัดปดปองความโสโครกนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยเร็วที่สุด ที่ผูรับสัมปทานไม เนินการตามวรรคสองล สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาดําเนินการหรื สําอนัดํกางานคณะกรรมการกฤษฎี กา าชา หรือหาก ไมดําเนินการทันทีอาจกอใหเกิดความเสียหายมากขึ้น กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติหรือบุคคลอื่นที่ อธิบดีมอบหมายอาจเข ดปดปองความโสโครกนั บผูรับสัมปทาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าดําเนินการบํ สํานัากบังานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นแทนหรือสํราวนัมกั กงานคณะกรรมการกฤษฎี โดยผูรับสัมปทานเปนผูรับผิดชอบคาใชจายดังกลาวทั้งหมด๓๘ มาตรา ๗๖

๓๙

ผู รับ สั ม ปทานต อ งรายงานผลการประกอบกิ จ การปโ ตรเลีย ม

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา แผนงานและงบประมาณประจํ าปตสํามหลั กเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาที ่อธิสํบาดีนักกํางานคณะกรรมการกฤษฎี หนด๔๐

รายงานตามวรรคหนึ่งใหถือเปนความลับและมิใหเปดเผยจนกวาจะพนหนึ่งป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นับแตวันที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*ไดรับรายงานหรือพึงไดรับรายงานตามวรรคหนึ่ง เวนแต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓๗ มาตรา ๗๑ (๓) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๓๘ มาตรา ๗๕ วรรคสาม เพิกา่มโดยพระราชบัสํญานัญักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ิปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. สํานั๓๙ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๕๐ มาตรา ๗๖ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๔๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๗๖ วรรคหนึ สํานัก่งงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติปโตรเลี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕๕๐


Page 215 - ๒๕ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑)กาเปนการเปดสํเผยในการปฏิ บัติราชการแก คคลซึ่งมีหนาที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สวนราชการหรื สํานัอกบุ งานคณะกรรมการกฤษฎี ตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัก้นงานคณะกรรมการกฤษฎี เปนการนําขอสนเทศจากรายงานนั ไปใชในการเรียบเรียกางและเผยแพร รายงานหรือบันทึกทางวิทยาศาสตร เทคนิคหรือสถิติ โดยไดรับอนุมัติจากอธิบดีแลว ทั้งนี้ ตอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลีกเลี่ยงการเปดเผยขอสนเทศดานพาณิชยใหมากที่สุด หรือ ไดรับความยินยอมเป รับสัมปทานใหเปดเผยได สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นหนังสือจากผู สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา แตการให หรือไมใหความยินยอมของผูรับสัมปทานตองกระทําโดยไมชักชา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักใชงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ความในวรรคสองไม บังคับแกรายงานเกี่ยกวกัา บการผลิตปสํโาตรเลี ยมในพื้นที่ผลิต กา และรายงานเกี่ยวกับพื้นที่ที่ผูรับสัมปทานไดคืนพื้นที่แลวตามมาตรา ๓๖ หรือมาตรา ๓๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๗๔๑ ผูรับสัมปทานตองเสนองบบัญชีคาใชจายและงบการเงินประจําป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในการประกอบกิจการปโตรเลียมตามหลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาที่อธิบดีกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๘ ผูรับสัมปทานมีสิทธิเก็บรักษาเงินตราตางประเทศและนําหรือสงเงิน ออกนอกราชอาณาจักากรเปนเงินตราต งประเทศได เมื่อเงินกนัา้นเปนเงินที่ไสํดามนัาจากการประกอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักางานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กิจการปโตรเลียม มาตรา ๗๙ อธิบดีมีอํานาจอนุญาตใหราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัจกากน้ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี หรือราชการสวนทอกงถิา ่นใชประโยชน ําในหลุมเจาะใด ๆกทีา ่ผูรับสัมปทานไม องการใชในการ กา ประกอบกิจการปโตรเลียม แตสวนราชการนั้นตองใหคาทดแทนที่เปนธรรมสําหรับคาวัสดุที่ผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สัมปทานยังสามารถนํ าไปใชประโยชนอยกาางอื่นใหแกผูรสํับาสันัมกงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘๐ ในการประกอบกิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ย ม ไม ว า สิสําทนัธิกสงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา จ การป โ ตรเลี ํ า รวจหรื อ ผลิ ต กา

ปโตรเลียมตามสั ปทานจะสิ้นอายุแลวหรื องดําเนินการใหถกูกา ตองตามหลัก สํานักมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อไม ผูรับสัมสําปทานต นักงานคณะกรรมการกฤษฎี เทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานปโตรเลียมที่ดี สําหรับการประกอบกิจการปโตรเลียมและการอนุรักษ ทรัพยากรปโตรเลียมกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๘๐/๑๔๒ เพื่อประโยชน ในการส เสริมและรักษาคุณภาพสิ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งแวดลอม ผูรับสัมปทานมีหนาที่รับผิดชอบในการรื้อถอนสิ่งปลูกสราง วัสดุ อุปกรณ และสิ่งอํานวยความ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ต เก็บรักสํษาหรื านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผูรับสัมปทานยื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สะดวกในการสํารวจผลิ อขนสงปโตรเลียม โดยให ่นแผนงานและ กา

ประมาณการคาใชจายในการรื้อถอน เพื่อขอรับความเห็นชอบจากอธิบดี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่กําหนดในกฎกระทรวง ในกรณี ง วัสดุ อุปกรณ และสิกา่งอํานวยความสะดวกในการสํ ารวจ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่มีสิ่งปลูสํกาสร นักางานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ผลิ ต เก็ บ รั ก ษาหรื อ ขนส ง ป โ ตรเลี ย มที่ ต อ งรื้ อ ถอนเพิ่ ม ขึ้ น หรื อ เทคโนโลยี ด า นการรื้ อ ถอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๔๑ เติมโดยพระราชบัญญัติปกโาตรเลียม (ฉบับสํทีา่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๗๗ แกไสํขเพิ านัก่มงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๒ มาตรา ๘๐/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 216 - ๒๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เปลี่ยนแปลงไป หรืกอาประมาณการค จายในการรื้อถอนคลาดเคลื ่อน ใหสําอนัธิกบงานคณะกรรมการกฤษฎี ดีมีอํานาจสั่งให กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัากใช งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผูรับสัมปทานแกไขเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงแผนงานและประมาณการคาใชจายในการรื้อถอนที่ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่ยนแปลงหรือ ไดรับความเห็สํนานัชอบตามวรรคหนึ ่ง หรืกอาผูรับสัมปทานอาจยื ่นขอเสนอแกไขเปลี ปรับปรุงแผนงานหรือประมาณการคาใชจายในการรื้อถอนที่ไดรับความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เองก็ได โดยเสนอตออธิบดีเพื่อใหความเห็นชอบ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กําหนดในกฎกระทรวง เมื่ออธิบดีใหคกวามเห็ นชอบแล ถือเปนแผนงานและประมาณการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานัวกให งานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาใชจายในการรื้อถอนสําหรับพื้นที่ผลิตปโตรเลียมนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรกับาสัมปทานตอสํงทํานัากการรื ้อถอนใหแลวเสร็จกาตามแผนงานทีสํา่ไนัดกรงานคณะกรรมการกฤษฎี ับความเห็นชอบ กา ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง หากผูรับสัมปทานไมดําเนินการรื้อถอน หรือดําเนินการลาชาอันอาจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กอใหเกิดความเสียหายอธิบดีมีอํานาจมอบหมายใหบุคคลอื่นดําเนินการรื้อถอนแทนหรือรวมกับ ผูรับสัมปทาน โดยใชกาจายจากหลักสํประกั นตามมาตรา ๘๐/๒ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔๓

๘๐/๒ ใหผูรกับา สัมปทานวางหลั ประกันการรื้อถอนสิก่งาปลูกสรางหรือ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี วัสดุอื่นใดตามมาตรา ๘๐/๑ ตออธิบดี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ เงื่อนไข และระยะเวลาที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โดยหลักประกั สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดในกฎกระทรวง จะเปนเงินสด พันธบักตา รของรัฐบาลไทย สัญญาค้ําประกัน กา ของธนาคารหรือหลักประกันอื่นใดก็ได สํานัหลั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัฐกบาลไทย งานคณะกรรมการกฤษฎี กประกันที่เปนเงินสดกา พันธบัตรของรั หรือทรัพยสินกาอื่นใดไมอยูใน ความรับผิดแหงการบังคับคดี แตไสํมานัพกนงานคณะกรรมการกฤษฎี จากความรับผิดตามพระราชบั ญญัตสํินาี้ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กา ถาผูรับสัมปทานไมวางหรือวางหลักประกันไมครบตามจํานวนและระยะเวลาที่ กําหนดตามวรรคหนึ ่งใหเสียเงินเพิ่มอีกรกอายละสองตอเดืสําอนันของจํ านวนหลักประกันกทีา ่ตองวาง หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี วางขาด แลวแตกรณีนับแตวันที่ครบกําหนดสง และใหอธิบดีเตือนใหมีการวางหลักประกัน และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํบานัวักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักางานคณะกรรมการกฤษฎี เงิ น เพิ่ ม ภายในระยะเวลาสามสิ นั บ แต วั น ที่ ไ ด รั บ หนักงา สื อ เตื อ น และถ ยั ง ไม มี ก ารวาง กา หลักประกันและเงินเพิ่มใหถูกตองรัฐมนตรีอาจมีคําสั่งใหเพิกถอนสัมปทานได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณี ที่ อ ธิ บ ดี ม อบหมายให บุ ค คลอื่ น เข า ดํ า เนิ น การแทนหรื อ ร ว มกั บ ผู รั บ สัมปทานในการรื้อถอนสิ อวัสดุอื่นใดตามมาตรา กประกัน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งปลูกสรสําางหรื นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘๐/๑ ใหใสํชาจนัากยจากหลั งานคณะกรรมการกฤษฎี ตามวรรคหนึ่ง ในกรณีที่หลักประกันไมเพียงพอ ผูรับสัมปทานตองรับผิดชอบคาใชจายสวนที่ขาด นักงานคณะกรรมการกฤษฎี และหากมีหลักสําประกั นเหลือใหคืนแกผูรับกสัา มปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การเก็บรักษาและการเบิกจายหลักประกัน ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๘๑ ผูรับสัมปทาน ตัวแทน และลูกจางของผูรับสัมปทานมีหนาที่อํานวย ความสะดวกใหแกพกนัา กงานเจาหนสําาทีนั่เกกีงานคณะกรรมการกฤษฎี ่ยวกับการปฏิบัติหนาทีกา่ตามพระราชบัสํญ ตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านัญักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔๓ มาตรา ๘๐/๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 217 - ๒๗ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

คาภาคหลวง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๘๒ ให ผู รับ สั ม ปทานเสี ยค า ภาคหลวงสํ า หรับ ป โ ตรเลี ย มที่ข ายหรื อ จําหนาย แตไมตองเสี บปโตรเลียมดังตอไปนี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กายคาภาคหลวงสํ สํานัากหรั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔๔ (๑) (ยกเลิก) สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไปในสภาพเดิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมที่ผลิตและใช มในราชอาณาจักรเพืก่อา การวิเคราะห ทดลอง สํารวจ ผลิต อนุรักษ เก็บรักษา และขนสงปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ปโตรเลียมที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อการวิเคราะหและทดลอง กาซธรรมชาติที่โอนโดยไม มีคาตอบแทนให แกผูรับสัมปทานรายอื ่น เพื่อ สํานั(๔) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การอนุรักษทรัพยากรปโตรเลียมเมื่อไดรับอนุมัติจากอธิบดี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานัยกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๕)กากาซธรรมชาติสําทนัี่จกํางานคณะกรรมการกฤษฎี เปนตองเผาทิ้งระหวากงการผลิ ตปโตรเลี ม กรณีต าม (๒) ถึง (๕) ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อ นไขที่ กรม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เชื้อเพลิงธรรมชาติ*กําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๘๓ ใหผูรับสัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนตัวเงิน แตรัฐมนตรีอาจสั่งให ผูรับสัมปทานเสี าภาคหลวงเปนปโตรเลี อบางสวนตามประเภทและชนิ ดของ สํานัยกคงานคณะกรรมการกฤษฎี กายมแทนทั้งหมดหรื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ปโตรเลียมที่ตองเสียคาภาคหลวงนั้นได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ ง ตามวรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี ในการสั ่ ง รั ฐ มนตรี ต อ งแจกงาเป น หนั ง สื อสํกําานัหนดว า จะให ผู รั บ กา สัมปทานเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมสําหรับปโตรเลียมที่สงออกหรือปโตรเลียมที่มิไดสงออก สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมใหผูรับ หรือทั้งสองอยสําานังกงานคณะกรรมการกฤษฎี และกําหนดเดือนเริ่มกตา นสําหรับการเสี คาภาคหลวงเปนปโตรเลี สั ม ปทานทราบล วกงหน หกเดื อ น และจะกํ ากหนดเดื อ นสิ้ นสําสุนัดกงานคณะกรรมการกฤษฎี สํ า หรั บ การเสี ย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า า ไม น อ ยกว สํานักางานคณะกรรมการกฤษฎี า คาภาคหลวงเปนปโตรเลียมไวดวยก็ได ในกรณีที่รัฐมนตรีมิไดกําหนดเดือนสิ้นสุดดังกลาว ให รัฐมนตรีบอกเลิ บชําระคาภาคหลวงเป มื่อแจงเปนหนังสือใหกาผูรับสัมปทาน สํานักกรังานคณะกรรมการกฤษฎี กา นปโตรเลียสํมได านักเงานคณะกรรมการกฤษฎี ทราบลวงหนาไมนอยกวาหกเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔๕

มาตรา ๘๔ ภายใตบังคับมาตรา ๙๙ มาตรา ๙๙ ทวิ และมาตรา๙๙ ตรี ให สํานัยกคงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรับสัมปทานเสี าภาคหลวงสําหรับปกโาตรเลียมที่ผสํูราับนัสักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทานผลิตไดในแตกลาะแปลงสํารวจ ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) ในกรณี ที่ เ สี ย เป น ตั ว เงิ น ให ผู รั บ สั ม ปทานเสี ย ค า ภาคหลวงตามมู ล ค า ปโตรเลียมที่ขสํายหรื อจําหนายไดในเดือกนนั หนดในบัญชีอัตราคกาภาคหลวงท าย านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ้น ในอัตราที สํานั่กกํางานคณะกรรมการกฤษฎี า พระราชบัญญัตินี้ หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๔๔ โดยพระราชบัญญัติปโตรเลี ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๘๒ (๑) สํยกเลิ านักกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยม (ฉบับที่ ๔) สํานัพ.ศ. กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๕ มาตรา ๘๔ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 218 - ๒๘ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒)กา ในกรณีที่เสีสํยาเป ปโตรเลียม ใหเสียเปกานปริมาณปโตรเลี มที่คํานวณเปน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี มูลคาไดเทากับจํานวนคาภาคหลวงที่พึงเสียเปนตัวเงินตาม (๑) ทั้งนี้ โดยใหคํานวณปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ขายหรือจําหน สํานัวกยด งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่เสียเปนคาภาคหลวงรวมเป นปโตรเลียมที วย มู ลค า ป โ ตรเลี ย มที่ ขายหรื อ จํา หน า ยไดใ นเดือ นนั้ น ตาม (๑) หมายถึ งมู ลค า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมทั้งสิ้นที่ผูรับสัมปทานขายหรือจําหนายปโตรเลียมทุกชนิดในรอบเดือน า หรั บ ป โ ตรเลี ย มที่ ผกลิา ต ได จ ากพื้ นสําทีนั่ ผกงานคณะกรรมการกฤษฎี ลิ ต ในแปลงสํ า รวจทีก่ กา รมเชื้ อ เพลิ ง สํานัสํกงานคณะกรรมการกฤษฎี ธรรมชาติ*กําหนดวาเปนแปลงสํารวจในทะเลที่มีน้ําลึกเกินสองรอยเมตร ใหผูรับสัมปทานเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อยละเจ็ดสํสิานับกของจํ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ตองเสียตามวรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาภาคหลวงเปนจํานวนร านวนคาภาคหลวงที ่ง สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ลคาปโตรเลี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘๕ ในการคํานวณมู มสําหรับเสียคาภาคหลวงให เปนไป

ตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) สํ า หรั บ ปริ ม าณ ให ถื อ เอาปริ ม าณป โ ตรเลี ย มที่ มี อุ ณ หภู มิ ๖๐ องศา ฟาเรนไฮท และความดั น ๑๔.๗ ปอนดตกอาหนึ่งตารางนิสํ้วาเป เกณฑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๒) สําหรับราคา ใหถือราคาดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) น้ํามันดิสํบานัทีก่สงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา งออก ใหถือราคาประกาศ (ข) น้ํามันดิบที่สงชําระเปนคาภาคหลวงสําหรับน้ํามันดิบที่มิไดสงออกให สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถือราคาตลาด (ค) น้ํามันดิสําบนัทีก่สงานคณะกรรมการกฤษฎี งชําระเปนคาภาคหลวงสํ าหรับน้ํามัสํนานัดิกบงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่สงออก ใหถือ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กา ราคามาตรฐานตามกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียม (ง) ปโตรเลียมที่สกงาชําระเปนคาภาคหลวงเฉพาะส วนที่มิใชนกา้ํามันดิบ ใหถือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ราคาตลาด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (จ)๔๖ ปโตรเลี สํานัยกมนอกจาก งานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี (ก) ถึง (ง)กาใหถือราคาทีสํ่ขาายได จริงในกรณีที่มี กา การขาย และใหถือราคาตลาดในกรณีที่มีการจําหนาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทั้งนี้ ใหคิดมูลคาปโตรเลียม ณ สถานที่ขายหรือจําหนายในราชอาณาจักรที่อธิบดี และผูรับสัมปทานจะได ําหรับน้ํามันดิบที่สงออก สถานที่สงออก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตกลงกันสํแต านักสงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหคิดมูลสํคาานักณงานคณะกรรมการกฤษฎี และในกรณี ที่ ส ถานที่ ข ายหรื อ จํ า หน า ยป โ ตรเลี ย มตาม (จ) แตกตา งไปจากสถานที่ ข ายหรื อ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านึงถึงความแตกต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา างสถานที่ขาย จําหนายที่ไดตสํกลงกั น ใหปรับปรุงราคาโดยคํ างของคาขนสงระหว หรือจําหนายนั้นกับสถานที่ขายหรือจําหนายที่ไดตกลงกันแลวดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๘๖ เพื่อประโยชนในการคํานวณมูลคาปโตรเลียมตามมาตรา ๘๕ ถา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จําเปนตองคํานวณเงินตราตางประเทศเปนเงินตราไทย ใหคํานวณตามหลักเกณฑดังตอไปนี้ (๑)กา ในกรณีราคาประกาศ ใหคํานวณเงินตราต เงินตราไทยตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา างประเทศเป สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในรอบระยะเวลาสามเดือนที่มีการชําระคาภาคหลวงตามมาตรา ๘๗โดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๔๖ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๘๕ (๒)สํา(จ) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติปโตรเลี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕๓๒


Page 219 - ๒๙ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

คิดจากอัตราแลกเปลีกา่ยนถัวเฉลี่ยรายวั ที่ธนาคารพาณิชยรับซืก้อา เงินตราตางประเทศที ่ธนาคารแหง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ประเทศไทยไดคํานวณไว สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นตราตาสํงประเทศหรื านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่มีมูลคาเปน ในกรณีอื่น ใหคํานวณเงิ อสิทธิเรียกรอกงที เงินตราตางประเทศที่ไดรับตามอัตราแลกเปลี่ยนที่ไดขายเงินตราตางประเทศนั้น ถามิไดมีการขาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เงินตราตางประเทศ ใหคํานวณเงินตราตางประเทศหรือสิทธิเรียกรองนั้นตามอัตราแลกเปลี่ยนถัว เฉลี่ยในรอบระยะเวลาหนึ ่งเดือนกอนเดืกอานที่ไดรับ โดยคิ ตราแลกเปลี่ยนถักวาเฉลี่ยรายวันที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัดกจากอั งานคณะกรรมการกฤษฎี ธนาคารพาณิชยรับซื้อเงินตราตางประเทศที่ธนาคารแหงประเทศไทยไดคํานวณไว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๔๗

มาตรา ๘๗ ในกรณีที่ใหเสียคาภาคหลวงเปนตัวเงิน ใหผูรับสัมปทานชําระ สํานัทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนรายเดือนปฏิ ิน ค า ภาคหลวงสํ า หรั บ ป โ ตรเลี ย มที่ ข ายหรื อ จํ า หน า ยในเดื อ นใด ให ถื อ เป น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาภาคหลวงสําหรับเดือนนั้น และใหผูรับสัมปทานชําระตอพนักงานเจาหนาที่ภายในเดือนถัดไป ณ สถานที่ที่อสํธิาบนักดีงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนด พรอมทั้งยื่นกแบบแสดงรายการเสี ยคาภาคหลวงตามทีกา่อธิบดีกําหนด า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี โดยแสดงรายการครบถวนตามแบบนั้น และยื่นเอกสารประกอบตามที่อธิบดีกําหนดดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นเงินตราตาสํงประเทศสกุ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรกับาสัมปทานจะยืสํา่นนัคํกางานคณะกรรมการกฤษฎี ขอชําระคาภาคหลวงเป ลใดก็ได กา เมื่อรัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควร จะอนุมัติใหชําระเปนเงินตราตางประเทศสกุลนั้น ตามเงื่อนไข นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และวิธีการที่กสํ​ําาหนดก็ ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘๘๔๘ ในกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อผลิตภัณฑสํทาี่กนัลัก่นงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ที่มีการสงน้ํามันดิบหรื จากน้ํามันดิบที่ กา

ผูรับสัมปทานขายหรื อจําหนายในราชอาณาจักร ออกนอกราชอาณาจั กรโดยผูรับสัมปทานมิไดเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาภาคหลวงสําหรับน้ํามันดิบที่สงออกตามราคาประกาศที่กําหนดไวในมาตรา ๘๕ (๒) (ก) ให ผูรับสัมปทานหรือผูกทาี่ทําการสงออกเสี คาภาคหลวงสําหรับน้กํามันดิบที่สงออกนอกราชอาณาจั ก ร กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หรือสําหรับน้ํามันดิบสวนที่กลั่นเปนผลิตภัณฑสงออกนอกราชอาณาจักรเปนจํานวนเทากับความ นักางานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี แตกตางระหวสําางค ภาคหลวงที่รัฐพึงไดรกับา จากผูรับสัมสํปทาน ถาผูรับสัมปทานเปกนาผูสงน้ํามันดิบ ดังกลาวออกเอง ณ เวลาที่มีการสงออก กับคาภาคหลวงที่รัฐไดรับจากผูรับสัมปทานเมื่อผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทานขายหรือจําหนายน้ํามันดิบภายในราชอาณาจักร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๙

มาตรา ๘๙

ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การเก็บคาภาคหลวงตามมาตรา ๘๘ มีหลักเกณฑและเงื่อนไข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) ปริมาณน้ํามันดิบที่สงออกในรอบเดือน ไดแก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ง ออกเป นสํน้านัํ ากมังานคณะกรรมการกฤษฎี (ก) ในกรณี ที่ ก ารส น ดิ บ คื อ ปริ ม าณน้กํ าามั น ดิ บ ที่ ผู รั บ สัมปทานหรือผูที่ทําการสงออก ไดสงออกทั้งสิ้นในรอบเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานั๔๗ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๘๗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๔๘ มโดยพระราชบัญญัติปโกตรเลี ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๘๘ แกไขเพิ สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยม (ฉบับทีสํ่ า๔) นักพ.ศ. งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๙ มาตรา ๘๙ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 220 - ๓๐ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

งออกเป น ผลิ ต ภักณาฑที่ก ลั่น จากน้ น ดิ บ คื อปริ มาณ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ข) ในกรณีสําทนัี่ ก ารส งานคณะกรรมการกฤษฎี สําํนัา มักงานคณะกรรมการกฤษฎี น้ํามันดิบที่ใชกลั่นเพื่อใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑตามปริมาณที่มีการสงออกในรอบเดือน ปริมาณ สําานัวให กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาณน้ํามันดิสํบานัทีก่ใงานคณะกรรมการกฤษฎี น้ํามันดิบดังกล คํานวณดวยการนําปริ ชในการกลั่นผลิตภัณกฑาชนิดที่สงออก ในรอบเดือนเฉพาะสวนที่ผูรับสั มปทานไดขายหรือจําหนายในราชอาณาจักรคูณดวย “อั ตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรฐานรอยละ” ของปริมาณผลิตภัณฑชนิดที่สงออกที่จะพึงไดมาจากการกลั่นน้ํามันดิบที่ใช กลั่นนั้น คูณดสํวายปริ มาณผลิตภัณฑที่มีการส กรในรอบเดือนนักา้นและหารดวย นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งออกนอกราชอาณาจั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปริมาณผลิตภัณฑชนิดที่สงออกซึ่งกลั่นไดทั้งสิ้นในรอบเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “อัตรามาตรฐานร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาฑชนิดที่สงออกที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี อยละ” ของผลิตภัณ ่จะไดมาจากการ กา กลั่นน้ํามันดิบ ใหคํานวณตามชนิดของน้ํามันดิบที่ใชกลั่น วิธีการกลั่นและเงื่อนไขทางเทคนิคอื่น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ*กําหนด (๒)กา ราคาประกาศที ชสําหรับคํานวณคาภาคหลวงสํ าหรัสํบานัน้กํางานคณะกรรมการกฤษฎี มันดิบที่สงออก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก่ใงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไดแ ก ราคาประกาศ ณ เวลาที่ มีการสงออก ในกรณีที่ไม มีราคาประกาศ ใหใชราคาประกาศ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําหรับน้ํามันดิสําบนัทีก่มงานคณะกรรมการกฤษฎี ีคุณภาพอยางเดียวกันกาหรือคลายกันสํของผู รับสัมปทานรายอื่น และในกรณี ที่ไม มีราคาประกาศดังกลาว ใหอธิบดีกําหนดราคาประกาศโดยคํานึงถึงสภาพการณตามที่กําหนดใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๕๙ วรรคสอง (๓) วิธีการคํานวณความแตกตางของค าภาคหลวงตามมาตรา ๘๘ ใหเปนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎกะทรวง (๔)กา หลักเกณฑสํแาละเงื ่อ นไขอื่นนอกจากทีก่กาํา หนดในมาตรานี ้ ให เปน ไปตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี บทบัญญัติในหมวดนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๕๐

มาตรา ๙๐ ในกรณีที่ใหเสียคาภาคหลวงเปนปโตรเลียม ใหผูรับสัมปทานชําระ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘๗ วรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนรายเดือนตามมาตรา ่ง และใหชําระตอพนักกางานเจาหนาทีสํา่ภนัายในเวลาและตาม วิธีการที่อธิบดีกําหนด ณ สถานที่ตามมาตรา ๘๕ วรรคสอง พรอมกับยื่นแบบแสดงรายการเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาภาคหลวงตามที่อธิบดีกําหนดโดยแสดงรายการครบถวนตามแบบนั้นและยื่นเอกสารประกอบ ตามที่อธิบดีกําหนดด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่ใหผูรับสัมปทานสงชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียม ณ สถานที่อื่น สํานั่ทกี่องานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นอกจากสถานที ธิบดีและผูรับสัมปทานตกลงกั นตามมาตรา ๘๕ วรรคสอง ผูกราับสัมปทานไม จําตองเสียคาขนสงเกินจํานวนที่พึงตองเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙๑ อธิ บ ดี มี อํ า นาจประเมิ น ค า ภาคหลวงและเงิ น เพิ่ ม ตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัตินี้ เมื่อ (๑)กา ผู รับ สัม ปทานมิ ไ ดยื่ น แบบแสดงรายการเสี ่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ย ค า ภาคหลวงภายในเวลาที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๕๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๙๐ วรรคหนึ สํานัก่งงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติปโตรเลี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕๓๒


Page 221 - ๓๑ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒)กา ผูรับสัมปทานยื แบบแสดงรายการเสีกายคาภาคหลวงไว ไมถูกตองหรือมี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก่นงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ขอผิดพลาดทําใหจํานวนคาภาคหลวงที่ตองเสียคลาดเคลื่อนไป สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูรับสัมปทานไมปกฏิาบัติตามหนังสํสืาอนัเรี ยกของอธิบดีหรือไมตกาอบคําถามของ พนักงานเจาหนาที่ผูมีอํานาจตรวจสอบคาภาคหลวงโดยไมมีเหตุอันสมควร หรือไมสามารถแสดง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักฐานในการคํานวณคาภาคหลวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙๒ เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามมาตรา ๙๑ อธิบดีมีอํานาจ (๑)กาจัดทํารายการลงในแบบแสดงรายการเสี นวาถูกตองเมื่อ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกายคาภาคหลวงที สํานัก่เห็งานคณะกรรมการกฤษฎี มิไดมีการยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวง สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อในเอกสาร แกไขเพิ่มเติมรายการในแบบแสดงรายการเสี ยคาภาคหลวงหรื ที่ยื่นประกอบแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงเพื่อใหถูกตอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) กําหนดมูลคาของปโตรเลียมตามราคาตลาดในเมื่อมีการจําหนายหรือมีการ ขายโดยมีคาตอบแทนต่ ํากวาราคาตลาดโดยไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มีเหตุอันสํสมควร านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) กําหนดจํานวนคาภาคหลวงตามที่รูเห็นหรือพิจารณาวาถูกตองเมื่อมีกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามมาตรา ๙๑ (๓)กา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก๙๑ งานคณะกรรมการกฤษฎี กาบดีมีอํานาจ ๙๓ ใหการดําเนิกานการตามมาตรา หรือมาตรา ๙๒ อธิ

(๑) ออกหนังสือเรียกผูรับสัมปทานหรือบุคคลซึ่งเกี่ยวของมาใหถอยคํา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัาถามเป กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๒)กาออกคําสั่งใหสํผานัูรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานหรือบุคคลซึก่งาเกี่ยวของตอบคํ นหนังสือสง กา

บัญชี หลักฐานสํารายงาน หรือเอกสารอื่นอันควรแกกรณีสํมาาตรวจสอบไต สวน นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทั้งนี้ ต องใหเวลาแกผูรับหนังสือหรือคําสั่งไมนอยกวา เจ็ด วัน นับแตวั นไดรับ หนังสือหรือคําสั่งนั้นกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๙๔๕๑ เมื่ออธิบดีกาไดประเมินคาสํภาคหลวงแล ว ใหแจงผลการประเมิ นเปน สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หนั ง สื อ ไปยั ง ผู รั บ สั ม ปทาน พร อ มกั บ กํ า หนดเวลาให ผูรั บ สั ม ปทานชํ า ระค า ภาคหลวงตามที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บดี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประเมินภายในสามสิกาบวันนับแตวันสําทีนั่ไกดงานคณะกรรมการกฤษฎี รับแจงการประเมินของอธิ ถาผูรับสัมปทานไมพอใจในผลการประเมินของอธิบดี ใหผูรับสัมปทานมีสิทธิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รองขอตอศาลเพื่อใหกําหนดคาภาคหลวงใหมได แตตองรองขอภายในระยะเวลาไมเกินหกเดือน นับแตวันที่ไดรับแจกงาผลการประเมิสํนานัและให ศาลมีอํานาจกําหนดค ามที่เห็นสมควร กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าภาคหลวงได สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ถาผูรับสัมปทานไมรองขอตอศาลภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาคาภาคหลวงเปนไปตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การประเมินของอธิ บดี การรองขอตอศาลตามวรรคสองไมเปนเหตุทุเลาการชําระคาภาคหลวง และเพื่อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประโยชนในการชําระคาภาคหลวงในระหวางการพิจารณาคดีของศาล ใหจํานวนคาภาคหลวง เปนไปตามที่อสํธิานับกดีงานคณะกรรมการกฤษฎี ประเมินตามมาตรา ๙๑ กําหนดตามมาตรา ๙๒ กา หรือตามที่อสําธินับกดีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕๑ มาตรา ๙๔ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 222 - ๓๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา นของอธิบดีใหกระทํากได งตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๙๕ การประเมิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ภายในกําหนดเวลาดั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๑) ห า ป นั บ แต วั น สุ ด ท า ยแห ง กํ า หนดเวลายื่ น แบบแสดงรายการเสี ย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่กําหนด คาภาคหลวงในกรณี ที่ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการเสี ยคาภาคหลวงภายในเวลาที (๒) หาปนับแตวันที่ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงในกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ผูรับสัมปทานยื่นแบบแสดงรายการเสียคาภาคหลวงเมื่อพนเวลาที่กําหนด แตตองไมเกินสิบป นับแตวันสุดทสําายแห งกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเสี าภาคหลวง นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัยกคงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๓) สิ บ ป นั บ แต วั น สุ ด ท า ยแห ง กํ า หนดเวลายื่ น แบบแสดงรายการเสี ย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัไกดงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยคาภาคหลวง สํานักหรื งานคณะกรรมการกฤษฎี คาภาคหลวงในกรณีกทาี่ผูรับสัมปทานมิ ยื่นแบบแสดงรายการเสี อยื่นแบบแสดง กา รายการเสียคาภาคหลวงที่ตองชําระขาดไปเกินรอยละยี่สิบหาของคาภาคหลวงที่ตองเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙๖ ถ าผูรับสัมปทานมิไดชําระคาภาคหลวงภายในกํ าหนดเวลาตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๘๗ หรือชําระคาภาคหลวงขาดจากจํานวนที่ควรตองเสีย ใหเสียเงินเพิ่มอีกรอยละสองตอ เดือนหรือเศษของเดื อนของคาภาคหลวงที วแตกรณี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่ตองชําระหรืสํอาชํนัากระขาดแล งานคณะกรรมการกฤษฎี การคํานวณเงินเพิ่มตามวรรคหนึ่งมิใหคิดทบตน และใหเริ่มนับแตวันสิ้นสุดแหง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัยกคงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเสี าภาคหลวงจนถึงวันทีก่ชาํ ระ เงิ น เพิ่ ม ตามมาตรานี้ มิ ใ ห เ กิ น จํ า นวนค า ภาคหลวงที่ ต อ งชํ า ระหรื อ ชํ า ระขาด สํ า นั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แลวแตกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๙๗ ถาผูสํราับนัสักม งานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ปทานมิไดชําระคาภาคหลวงเป นปโสํตรเลี ยมภายในเวลาที่ กา

อธิบดีกําหนดตามมาตรา ๙๐ หรือชําระคาภาคหลวงเป นปโตรเลียมขาดจากจํานวนที่ตองเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูรับสัมปทานตองชําระคาภาคหลวงเปนปโตรเลียมจนครบจํานวน และใหเสียเงินเพิ่มอีกรอยละ สองตอเดือนหรือเศษของเดื อนของมู คาปโตรเลียมที่ตองชํกาาระเปนคาภาคหลวงหรื อที่ชําระขาด กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักลงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี แลวแตกรณี สํานัการคํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านวณมูลคาของปกโาตรเลียมตามวรรคหนึ ่งใหถือราคาตลาดในเวลาที ่ ต อ ง เสียคาภาคหลวง และใหนํามาตรา ๙๖ วรรคสองและวรรคสามมาใชบังคับ

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙๘ เงินเพิ่มอาจงดหรือลดลงไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

กฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙๙ เพื่ อ ให เ หมาะสมกั บ เหตุ ก ารณ ห รื อ ภาวะการผลิ ต ป โ ตรเลี ย ม ค า ภาคหลวงตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ อ าจลดลงเป น การชั คราวได ไ ม เ กิ น ร อ ยละสามสิ บ ตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัก่ วงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๕๒

มาตรา ๙๙ ทวิ เพื่ อ ส ง เสริ ม และเร ง รั ด ให มี ก ารสํ า รวจและพั ฒ นาแหล ง สํา้นนักทีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ารวจหรือในพื สํานั้นกทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมในพื ่บางพื้นที่ภายในแปลงสํ ่ผลิตของผูรับสัมปทานกา ที่มีสภาพทาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕๒ มาตรา ๙๙ ทวิ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐


Page 223 - ๓๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ธรณี วิ ท ยาไม เ อื้ อ อํกาานวยหรื อ ที่ มสํี พานัลักงงานคณะกรรมการกฤษฎี ผลิ ต ของพื้ น ที่ ล ดลงกาและไม อ ยู ใ นแผนการสํ า รวจหรื อ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี แผนการผลิตของผูรับสัมปทานใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการมีอํานาจลดหยอน สํานัแกกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาภาคหลวงให ผูรับสัมปทานโดยทําความตกลงกั บสํผูานัรับกงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานเพื่อใหผูรับสักามปทานทําการ สํารวจและพัฒนาพื้นที่ดังกลาว ตามแผนซึ่งกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติจะไดกําหนดขึ้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในการให คํา แนะนํา ตอรั ฐมนตรีเพื่อลดหยอ นคาภาคหลวงตามวรรคหนึ่ งให คณะกรรมการคํ งถึงสภาพทางธรณีวิทกายาและศักยภาพทางป โตรเลียมของพื้นกทีา่ดังกลาว สถิติ สํานัากนึงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี คาใชจายในการสํารวจและผลิตปโตรเลียมในพื้นที่ที่มีสภาพทางธรณีวิทยาคลายคลึงกัน ความ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ตองการผลิตภัณฑปกโาตรเลียมภายในประเทศ แนวโนมการเปลีกา่ยนแปลงราคาผลิ ภัณฑปโตรเลียม กา ในตลาด และผลไดผลเสียอื่นๆ ของประเทศที่จะไดรับจากการเรงรัดใหมีการสํารวจและพัฒนา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แหลงปโตรเลียม คากภาคหลวงที ่จะลดหย อนตามมาตรานี้ จะตกอางเปนคาภาคหลวงที ่เกิดจากกิจการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ป โ ตรเลี ย มที่ ผู รั บ สั ม ปทานดํ า เนิ น การอยู แ ล ว ในแปลงสํ า รวจหรื อ พื้ น ที่ ผ ลิ ต นั้ น หรื อ เป น กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ยมในพืสํ้นาทีนั่ทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กําหนดไวใน คาภาคหลวงทีสํา่จนัะเกิ ดขึ้นจากการผลิตปโกตรเลี ี่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ แผน และการลดหย อ นดั ง กล า วจะต อ งไม เ กิ น ร อ ยละเก า สิ บ ของจํ า นวนค า ภาคหลวงที่ ผู รั บ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานพึงตองเสีกยาสําหรับปโตรเลี มทั้งหมดที่ผลิตไดในแปลงสํ ารวจและพื ้นที่ผลิตที่อยูใน กา แปลงสํารวจนัสํ้นานัหรื อไมเกินรอยละเกาสิบของจํานวนคาสํภาคหลวงที ่จะเกิดจากการผลิตปโตรเลียม กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในพื้นที่ที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติกําหนด โดยระยะเวลาที่ไดรับลดหยอนจะตองไมเกินหาปนับแต วันที่ไดทําความตกลงหรื และในความตกลงกักบาผูรับสัมปทานดั าวจะมีเงื่อนไข กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อวันที่เริ่มสํผลิ านักตงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานังกกล งานคณะกรรมการกฤษฎี หรือมีขอกําหนดอยางใดๆ ก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๕๓

มาตรา ๙๙ ตรี ในพื้นที่ที่สภาพทางธรณีวิทยาบงชี้วาการผลิตปโตรเลียมใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาคาใชจายสูงสํมากหรื านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่นั้นไมสํอานัาจดํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี พื้นที่นั้นจําเปนตองใช อการผลิตปโตรเลียมในพื าเนินการในเชิง กา พาณิชยได รัฐมนตรีโดยคําแนะนําของคณะกรรมการอาจใหสัมปทานสําหรับพื้นที่ดังกลาวโดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ลดหยอนคาภาคหลวงสําหรับปโตรเลียมที่เริ่มผลิตขึ้นมาจากพื้นที่นั้นตามจํานวนปโตรเลียมที่จะ กําหนดไวในสัมปทานก็ ําหนดใหสัมปทานดังกกล เกินสองรอย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไดแตพื้นสํทีา่ทนักี่กงานคณะกรรมการกฤษฎี า าวจะตองมีสํขานาดไม นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตารางกิ โ ลเมตร และค า ภาคหลวงที่ จ ะลดหย อ นต อ งไม เ กิ น กว า ร อ ยละเก า สิ บ ของจํ า นวน กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัสกิทงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาภาคหลวงทีสํา่จนัะพึ งเสีย โดยระยะเวลาทีก่ผา ูรับสัมปทานมี ธิไดรับลดหยอนคาภาคหลวงจะต อง ไมเกินหาปนับแตวันที่เริ่มผลิตปโตรเลียมจากพื้นที่ผลิตในการใหสัมปทานตามมาตรานี้จะกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เงื่อนไขอยางใดๆ ก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานั๕๓กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๙๙ ตรี เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๕๔ ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๙๙ ตรี วรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติปโตรเลี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕๕๐


Page 224 - ๓๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ในการให ่ง ใหนําสํหลั เกณฑตามมาตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คําแนะนํสําานัของคณะกรรมการตามวรรคหนึ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๙๙ ทวิ วรรคสอง มาใชบังคับ๕๕ สํานัการเป กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ดใหสัมปทานตามวรรคหนึ ่ง ใหสํกานัรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ*กํกาาหนดขอผูกพัน ในดานปริ มาณเงินและ/หรือปริมาณงานขั้น ต่ําสํา หรับการสํารวจปโตรเลียม ที่ผูขอสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จะตองปฏิบัติหากไดรับสัมปทานจากรัฐบาล โดยไดรับการลดหยอนคาภาคหลวงตามมาตรานี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๖

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๐ ในการเก็บคาภาคหลวงจากบุคคลตามมาตรา ๘๘ จากบุคคลอื่น ซึ่งมิใชผูรับสัมปทานการัฐมนตรีจะมอบให กรมสรรพสามิตเก็บกแทนกรมเชื ้อเพลิ *ก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานังกธรรมชาติ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาหมวด ๗ ทวิสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ผลประโยชนตอบแทนพิเศษ๕๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๐๐ ทวิ ในหมวดนี สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

“รายได ป โ ตรเลี ย ม ”

หมายความวา รายไดของผูรับสัมปทานที่เกิดจากแปลง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านัก(๑) งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํารวจแตละแปลง กทัา้งนี้ เฉพาะรายได ามรายการที่กําหนดในมาตรา ๑๐๐ สํตรี “รายจายปโตรเลียมที่เปนทุน” หมายความวา รายจายที่เปนทุนที่ผูรับสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไดใชจายลงทุนไปในการประกอบกิจการปโตรเลียมในแปลงสํารวจแตละแปลงตามหลักเกณฑที่ กําหนดในมาตรา ๑๐๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตรี (๒) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “รายจายปโตรเลียมตามปกติและจําเปน” หมายความวา รายจายตามปกติและ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า จําเปนที่ผูรับสัสํามนัปทานได ใชจายไปในการประกอบกิ จการป โตรเลียมในแปลงสํากรวจแต ละแปลง ตามหลักเกณฑที่กําหนดในมาตรา ๑๐๐ ตรี (๓) แตไมรวมถึงคาชดเชยรายจายที่เปนทุนและเงิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอบแทนพิ สํานักเศษ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ไดชําระเปนผลประโยชน ถามี าลดหยอนพิเศษ” หมายความว า สํจําานันวนเงิ นลดหยอนที่รัฐบาลกํ สํานั“กคงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าหนดตาม มาตรา ๑๐๐ ตรี (๔) สําหรับแปลงสํารวจแตละแปลง” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๐ ตรี รายได ป โ ตรเลี ย ม รายจ า ยป โ ตรเลี ย มที่ เ ป น ทุ น รายจ า ย ปโตรเลียมตามปกติ และจําเปน และคาลดหย ้ ใหเปนไปตามหลั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อนพิเศษในหมวดนี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กเกณฑและ เงื่อนไข ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กาานวนรวมของรายได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)กา รายไดปโตรเลี ม หมายความเฉพาะจํ ตามรายการ กา ดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) ยอดเงินไดจากการขายปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕๕ มาตรา ๙๙ ตรี วรรคสอง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ สํานั๕๖กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๐๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๕๗ ตอบแทนพิเศษ มาตรา ๑๐๐ อัฏฐ เพิ่ม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกหมวด า ๗ ทวิ ผลประโยชน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๐ ทวิ ถึสํงามาตรา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี โดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 225 - ๓๕ -

ตรเลียมที่จําหนาย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ข) มูลคาของป สํานักโงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(ค) มูลคาของปโตรเลียมที่สงชําระเปนคาภาคหลวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (ง) ยอดเงิ น ได เ นืกา่ อ งจากการโอนทรั พ ย สิ น หรื อ สิ ท ธิ ใ ด กๆา อั น เกี่ ย วกั บ กิจการปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มูลคาของปโตรเลียมตาม (ข) และ (ค) ใหคํานวณตามมาตรา ๘๕ และในกรณี ที่มีการโอนสัมสําปทานตามมาตรา ๔๘ ยอดเงิ พยสินหรือกสิาทธิใด ๆ ตาม นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นไดเนื่องจากการโอนทรั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (ง) ตองไมต่ํากวามูลคาตามบัญชีครั้งสุดทายของบริษัทผูโอนในวันที่การโอนมีผล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ายที่เปนทุนสํตามกฎหมายว านักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๒)กา รายจายปโตรเลี มที่เปนทุน ไดแก รายจ าดวย กา ภาษีเงินไดปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) รายจายปโตรเลียมตามปกติและจําเปน ไดแก รายจายตามปกติและจําเปน ตามกฎหมายวาดวยภาษี ยม แตไมรวมถึงคาชดเชยรายจ ายทีสํ่เปานันกทุงานคณะกรรมการกฤษฎี นและเงินที่ชําระ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินไดปโสํตรเลี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เปนผลประโยชนตอบแทนพิเศษ ถามี รายจายปโตรเลียมตามปกติและจําเปนจะตองเปนรายจาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าเปนในการ ที่ผูรับสัมปทานสามารถพิ สูจนใหเปนที่พกอใจแก อธิบดีสํวาานัเป นรายจายตามปกติและจํ ประกอบกิจการปโตรเลียมตามปกติวิสัย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัเกศษ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั้นกงานคณะกรรมการกฤษฎี (๔)กา คาลดหยอนพิ ไดแก จํานวนเงินทีก่ารัฐบาลกําหนดขึ เปนครั้งคราวใน กา ขณะที่ใหสัมปทาน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่กสํ​ําหนดในกฎกระทรวง เงินจํานวนนี้ รัฐบาล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ยินยอมใหผูรับสัมปทานมีสิทธินํามาคํานวณรวมกับรายจายในลักษณะที่เสมือนเปนคาใชจายใน การลงทุนของแปลงสํ เพื่อนํามาหักออกจากรายได ปโตรเลีสํายนัมอั นจะเปนการลด กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาารวจแตละแปลง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ผลกําไรของผูรับสัมปทานในการเสียผลประโยชนตอบแทนพิเศษใหแกรัฐบาลตามหมวดนี้ คา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โ ตรเลี ย มใน ลดหย อ นพิ เ ศษเป น มาตรการสํ า หรั บ ชักกา จู งให มี ก ารลงทุ เพื่ อ ประกอบกิ จ การป ประเทศไทยโดยรัฐบาลจะกําหนดจํานวนโดยคํานึงถึงสภาวะการแขงขันในการลงทุนระหวาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประเทศ ที่รายไดหรือรายจ ้เกี่ยวพันกับแปลงสํารวจหลายแปลง สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ายตามมาตรานี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา และไมสามารถแบงแยกกันไดโดยชัดแจง ใหคํานวณรายไดหรือรายจายของแปลงสํารวจแตละ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แปลงตามหลักเกณฑกาและวิธีการที่กสํ​ํานัหนดในกฎกระทรวง สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า คํ า นวณกํ าสํไรขาดทุ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๐ จั ต วา กให น สํ า หรั บ การประกอบกิ จ การ

ปโตรเลียมในแปลงสํารวจแตละแปลง เปนรายปตามรอบระยะเวลาบัญชีตามกฎหมายวาดวยภาษี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เงิ น ได ป โ ตรเลี ย ม และรายได ป โ ตรเลี ย มเมื่ อ ได หั ก ผลบวกของรายจ า ยป โ ตรเลี ย มที่ เ ป น ทุ น รายจายปโตรเลี และจําเปนกและค เศษแลว ผลอันนี้ยอมเป สํานัยกมตามปกติ งานคณะกรรมการกฤษฎี า าลดหยสํอานพิ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา น “ผลกําไร ปโตรเลียมประจําป” หรือ “ผลขาดทุนปโตรเลียมประจําป” แลวแตกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่ มี “ผลกํ สํานัากไรป งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณี โ ตรเลี ย มประจํ า กปา” ให นํ า “ผลขาดทุ น ป โ ตรเลี ย ม กา ประจําป” กอนรอบระยะเวลาบัญชีปจจุบันไปหักลดหยอนไดและถาหากยังมีผลขาดทุนปโตรเลียม กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประจําปคงเหลืสําอนัเป นจํานวนเทาใดก็ใหนําไปหักลดหยอสํนในรอบระยะเวลาบั ญชีตอ ๆ ไปไดเพียง เทาจํานวนที่เหลืออยูกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 226 - ๓๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ในรอบระยะเวลาบั ใด การประกอบกิจการป ารวจแปลงใด กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําญนักชีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โตรเลียมในแปลงสํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มี “ผลกําไรปโตรเลียมประจําป” ใหผูรับสัมปทานเสียผลประโยชนตอบแทนพิเศษใหแกรัฐบาล กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามบทบัญญัสํตาิในันหมวดนี ้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๐ เบญจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ต อบแทนพิ สํานักเงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ให เ รี ย กเก็ บ ผลประโยชน ศษจากผลกํ า ไร กา

ปโตรเลียมประจําป ในอัตราที่กําหนดจาก “คาของรายไดในรอบปตอหลุมเจาะลึกหนึ่งเมตร” โดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหลักเกณฑ ดังนี้ (๑)กาคาของรายไดสําในันรอบป ตอหลุมเจาะลึกหนึ กิน ๔,๘๐๐ บาท กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งเมตร สวนที สํา่ไนัมกเงานคณะกรรมการกฤษฎี ไมตองเสียผลประโยชนตอบแทนพิเศษ สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอหลุมเจาะลึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี คาของรายไดในรอบป กหนึ่งเมตร สวนที่เกิกนา ๔,๘๐๐ บาท แตไมเกิน ๑๔,๔๐๐ บาท ใหเรียกเก็บในอัตรารอยละ ๑ ของ ๒๔๐ บาทแรก และใหเพิ่มขึ้นใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา อัตรารอยละ ๑ ตอทุก ๆ ๒๔๐ บาท เศษของ ๒๔๐ บาท ใหถือเปน ๒๔๐ บาท คาของรายไดในรอบป หนึ่งเมตร สวนที่เกินกา๑๔,๔๐๐ บาท สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอหลุมเจาะลึ สํานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี แตไมเกิน ๓๓,๖๐๐ บาท ใหเรียกเก็บเพิ่มขึ้นในอัตรารอยละ ๑ ตอทุก ๆ ๙๖๐ บาท เศษของ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๙๖๐ บาท ใหถือเปกนา ๙๖๐ บาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) คาของรายไดในรอบปตอหลุมเจาะลึกหนึ่งเมตร สวนที่เกิน ๓๓,๖๐๐ บาท สํ า นั งานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บาท ใหถือ บาท เศษของ ๓,๘๔๐ ขึ้นไป ใหเรียกเก็บกเพิ ่มขึ้นในอัตรารอยละกา๑ ตอทุก ๆ สํ๓า,นั๘๔๐ เปน ๓,๘๔๐ บาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แตทั้งนี้ จะเรียกเก็บผลประโยชนตอบแทนพิเศษเกินรอยละ ๗๕ ของผลกําไร ปโตรเลียมในแต ไมได สํานัลกะป งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ในรอบปตอกหลุ ” คือจํานวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๐ ฉ สํ“าคนัากของรายได งานคณะกรรมการกฤษฎี า มเจาะลึกหนึ สํานั่งกเมตร งานคณะกรรมการกฤษฎี กา รายไดปโตรเลียมของผูรับสัมปทานที่เกิดจากแปลงสํารวจในรอบป หารดวยผลบวกของความลึก สํานักมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งผูรับสัมปทานได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สะสมรวมของหลุ เจาะปโตรเลียมทั้งหมดซึ ลงทุนเจาะไปแลวในแปลงสํ ารวจนั้น กับ “คาคงที่แสดงสภาพทางธรณีวิทยาของแปลงสํารวจ” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การกําหนดคาของรายไดในรอบปตอหลุมเจาะลึกหนึ่งเมตรตามมาตรานี้มีความ มุงหมายเพื่อให สัดสวน ระหวางรายได ่ไดมาจากปโตรเลียมที สํานัเกิกดงานคณะกรรมการกฤษฎี กาของผูรับสัมปทานที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ผลิตในแปลง สํารวจ กับความพยายามในการลงทุนของผูรับสัมปทานและสภาพทางธรณีวิทยาของแปลงสํารวจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นั้น การคํานวณ “คาของรายไดในรอบปตอหลุมเจาะลึกหนึ่งเมตร” ตามวรรคหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหเปนไปตามหลักเกณฑและเงื่อนไข ดังตอไปนี้ (ก)การายไดปโตรเลี รับสัมปทานในแปลงสํ ใหนํามาคํานวณ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํายนัมของผู กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ารวจในรอบป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เฉพาะรายการตามมาตรา ๑๐๐ ตรี (๑) (ก) (ข) (ค) และใหปรับมูลคาดวยคาเงินเฟอและคา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา น ตรา ทั้ งนีสํ้านัตามหลั กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่กํ า หนดใน การเปลี่ยนแปลงของอั ตราแลกเปลี่ ยนเงิ กเกณฑ และวิ ธีกการที กฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 227 - ๓๗ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(ข)กา“คาคงที่แสดงสภาพทางธรณี วิทยาของแปลงสํ ารวจ” สํหมายความถึ งจํานวน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ความลึกเปนเมตรของหลุมเจาะปโตรเลียมในแปลงสํารวจที่รัฐบาลยินยอมใหผูรับสัมปทานมีสิทธิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํตาอบแทนพิ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาาวนี้ รัฐมนตรี นํามาใชเปนเกณฑ คํานวณเพื่อลดการเสียกผลประโยชน เศษคาคงที่ดังกล จะได ป ระกาศกํา หนดในการเปด ใหสั ม ปทานและระบุไ วใ นสั ม ปทาน โดยคํา นึง ถึงสภาพทาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ธรณีวิทยาของแปลงสํารวจ และสถิติคาใชจายในการสํารวจและผลิตปโตรเลียมในพื้นที่ที่มีสภาพ ทางธรณีวิทยาคล ยคลึงกับแปลงสํารวจที าคงที่ดังกลาวจะกํกาาหนดเงื่อนไข สํานักางานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่เกี่ยวของ ประกาศค สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําหรับการเพิ่มคาคงที่ในกรณีโครงสรางที่มีสภาพทางธรณีวิทยาที่ไมเอื้ออํานวยไวดวยก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (ค)กาความลึกสะสมรวมของหลุ มเจาะปโตรเลีกายมทั้งหมดซึ่งสํผูานัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานไดเจาะ กา ในแปลงสํารวจ ไดแก ผลรวมของความลึกเปนเมตรตามแนวหลุมของหลุมเจาะปโตรเลียมทุก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลุมซึ่งผูรับสัมปทานไดเจาะในแปลงสํารวจนั้น ตั้งแตเริ่มตนประกอบกิจการปโตรเลียม จนถึงวัน สิ้นสุดรอบระยะเวลาบั รวมความลึกของหลุ เจาะตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชี ทั้งนี้ สํโดยให านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กามเจาะที่ผูรับสํสัามนัปทานได กงานคณะกรรมการกฤษฎี วิธีการสํารวจ อนุรักษและผลิตปโตรเลียมที่ดี แมวาจะไมมีการผลิตปโตรเลียมจากหลุมดังกลาว สํานัมกเจาะที งานคณะกรรมการกฤษฎี า ยมไปแลสํวาเป นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี า แตไมใหรวมหลุ ่ไดมีการผลิตปโกตรเลี ปริมาณเกินกวาหนึ่งกแสนบาเรลและ เปนหลุมเจาะที่ผูรับสัมปทานไดทําการสละหลุมนั้นแลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๐ สัตต เพื่อประโยชนในการคํานวณผลประโยชนตอบแทนพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตามความในหมวดนี ้ ใหผูรับสัมปทานยื่นกแบบแสดงรายการเพื ่อคํานวณการเสียผลประโยชน ตอบ

แทนพิเศษสําหรับแปลงสํารวจแตสําลนัะแปลงตามกํ าหนดระยะเวลาและตามแบบที ่อธิบดีกําหนด กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยแสดงรายการครบถวนตามแบบนั้นและยื่นเอกสารประกอบตามที่อธิบดีกําหนด ทั้งนี้ นับแต ผูรับสัมปทานเริ นประกอบกิจการปโตรเลี สํานั่มกตงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมเปนตนสํไป านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๑ มาตรา ๙๒ มาตรา ๙๓ มาตรา ๙๔ มาตรา ๙๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๙๘ มาใชสํบาังนัคักบงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ๙๖ และมาตรา กับการประเมินผลประโยชน ตอบแทนพิ เศษและเงินเพิ่ม กา ในกรณีที่มิไดชําระผลประโยชนตอบแทนพิเศษภายในกําหนดเวลา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๐ อัฏฐ ในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนในการจัดเก็บผลประโยชนตอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แทนพิเศษตามหมวดนี้ ใหอธิบดีมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจคน ตรวจสอบ หรืสําอนัยึกงานคณะกรรมการกฤษฎี ด บั ญ ชี เอกสาร หรื อกหลั เกี่ ย วกั บ รายได ห รื อกรายจ า ก ฐานอื่ นสํใดซึ านัก่ งงานคณะกรรมการกฤษฎี า า ยในการ ประกอบกิจการปโตรเลียม

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๘ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกบทกํ า าหนดโทษ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๑ ผูใดฝาฝนมาตรา ๗ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปรับไมเกินหนึสํ่งานัพักนงานคณะกรรมการกฤษฎี บาท หรือทั้งจําทั้งปรักบา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 228 - ๓๘ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ฏิบัติตามกฎกระทรวงออกตามมาตรา (๑) (๒) หรือ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๒ ผูใสํดไม านักปงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานั๑๔ กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๓) ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๓ ผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๒๓ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักหรื งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เกินสองป หรือปรับกไมา เกินสี่แสนบาท อทั้งจําทั้งปรับ กา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า กามัติจากอธิบดี ๑๐๔๕๘ ผูรับสัมกปทานผู ใดผลิสํตานัปกโงานคณะกรรมการกฤษฎี ตรเลียมโดยมิไดรับอนุ

ตามมาตรา ๔๒ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษปรับไมเกินสองแสนบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๔ ทวิ ๕๙ ผู รั บ สั ม ปทานผู ใ ดไม ยื่ น แผนการผลิ ต ป โ ตรเลี ย มตามที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา ๔๒ ทวิ วรรคหนึ่งหรือไมแจงผลการทบทวน แผนการผลิตปโตรเลี ๔๒ ทวิ วรรคสาม บไมเกินหา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมเปนรายปสําตนัามมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตองระวางโทษปรั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หมื่นบาท และปรับอีกวันละหาพันบาทจนกวาผูรับสัมปทานจะไดปฏิบัติใหถูกตอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๕ ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๑ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และปรับไมเกินสี่แสนบาท สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใดไมปฏิสําบนั​ัตกิตงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๖ ผูรับสัมปทานผู ามมาตรา ๗๓ ตองระวางโทษจํ าคุก

ไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๗ ผูรับสัมปทานผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๔ มาตรา ๗๖ วรรค สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หนึ่ง หรือมาตรา ๗๗ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐๘ ผูรับสัมปทานผูใดไมปฏิบัติตามมาตรา ๗๕ ตองระวางโทษปรับไม เกินหนึ่งแสนบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา อํานวยความสะดวกให าที่ตามมาตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๐๙ ผูสํใดไม านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา แกพนักงานเจ สํานัากหน งานคณะกรรมการกฤษฎี ๘๑ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๖๐

มาตรา ๑๐๙ ทวิ ผูใดขัดขวางเจาพนักงานซึ่งกระทําการตามหนาที่ตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๐๐ อัฏฐ ตองระวางโทษจํ าคุกไมสํเากินันกหนึ ่งเดือน หรือปรับไมกเกิา นหนึ่งหมื่นบาท สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี านันกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าถามดวย ๑๑๐๖๑ ผูใดแจกงา ขอความอันสํเป เท็จ ใหถอยคําเท็จ ตอบคํ

ถอยคํ า อั น เป น เท็จ นํา พยานหลัก ฐานเท็จมาแสดง หรื อ กระทํา การใด ๆ เพื่ อหลีก เลี่ยงหรื อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๕๘ มาตรา ๑๐๔ แกไขเพิ่มเติกามโดยพระราชบัสํญานัญักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ิปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. สํานั๕๙กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๕๐ มาตรา ๑๐๔ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ๖๐ ญญัติปโตรเลีกายม (ฉบับที่ ๔)สํพ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๑๐๙ ทวิสํเพิ านั่มกโดยพระราชบั งานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๑ มาตรา ๑๑๐ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 229 - ๓๙ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พยายามหลีกเลี่ยงการเสี อผลประโยชนตอบแทนพิ เศษสํตานัอกงระวางโทษจํ าคุก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยคาภาคหลวงหรื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี ตั้งแตสามเดือนถึงเจ็ดป และปรับตั้งแตหาหมื่นบาทถึงหาแสนบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๑๑ บรรดาป โ ตรเลี ย ม เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช ยานพาหนะ หรื อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านัใกชงานคณะกรรมการกฤษฎี เครื่องจักรกลใด ๆ กทีา่บุคคลไดมาสํได ในการกระทําความผิกดา หรือไดใชเปสํนานัอุกปงานคณะกรรมการกฤษฎี กรณใหไดรับผล กา ในการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๐๓ มาตรา ๑๐๔ หรือมาตรา ๑๐๕ ใหริบเสียทั้งสิ้น ไมวาจะมี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูถูกลงโทษตามคําพิพากษาหรือไม เวนแตทรัพยสินนั้นเจาของมิไดรูเห็นเปนใจดวยในการกระทํา ความผิดนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาบทเฉพาะกาลสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๑๒ บทบัญญัติเกี่ยวกับการสํารวจปโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้มิ ใหใชบังคับแกสํกานัารสํ ารวจหาแหลงน้ํามันแร รมเชื้อเพลิงธรรมชาติก*าทําไวกอนวันที่ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาดิบตามสัญญาที สํานัก่กงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๑๓ ภายในหกเดือนนับแตวัน ที่พระราชบัญญัตินี้ใ ชชังคับ ใหผูถือ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี อาชญาบั ต รผูสํากนัขาดสํ า รวจป โ ตรเลี ยกมา และผู ถื อ ประทานบั ต รทํ า เหมื อ งปกโาตรเลี ย มตาม พระราชบัญญัติแร พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่ออกใหตามสัญญาปโตรเลียมที่ทําไวกอนวันที่ ๔ กรกฎาคม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๑๑ ดําเนินการขอสัมปทานใหถูกตองตามพระราชบัญญัตินี้ มนตรีมีอํานาจใหสัมกปทานแก ผูขอสัสํมานัปทานตามวรรคหนึ ่งโดยสั สํานัรักฐงานคณะกรรมการกฤษฎี า กงานคณะกรรมการกฤษฎี กามปทานนั้นจะ มีขอความเกี่ยวกับสิทธิในการสํารวจและผลิตปโตรเลียมตรงตามที่กําหนดไวในสัญญาปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํามนักปทานนั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา า รวจและผลิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ซึ่ ง ได ก ล า วถึ ง ในวรรคหนึ ่ ง และสั ้ น ให นั บ ระยะเวลาสํ ต ป โ ตรเลี ย มใน กา สัมปทานยอนหลังไปจนถึ งวันออกอาชญาบัตรผูกขาดสํา รวจป โตรเลียมและประทานบั ตรทํ า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เหมื อ งป โ ตรเลี ย ม และให อ าชญาบั ต รผู ก ขาดสํ า รวจป โ ตรเลี ย มและประทานบั ต รทํ า เหมื อ ง ปโตรเลียมนั้นสิ้นอายุ สัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาในวันที่รัฐมนตรี สํานักใหงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่มิไดมีการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาผูถืออาชญาบัตรผูกขาดสํารวจ ปโตรเลียมหรืสํอาผูนักถงานคณะกรรมการกฤษฎี ือประทานบัตรทําเหมืกอางปโตรเลียมสํแล แตกรณี สละสิทธิ และให านักวงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อาชญาบัตร ผูกขาดสํารวจปโตรเลียม หรือประทานบัตรทําเหมืองปโตรเลียมนั้นสิ้นอายุในวันครบกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ง แตผูถืออาชญาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ระยะเวลาตามวรรคหนึ ตรผูกขาดสํารวจปกโาตรเลียม หรือสําผูนัถกืองานคณะกรรมการกฤษฎี ประทานบัตรทํา กา เหมืองปโตรเลียมนั้นยังคงตองรับผิดตามสัญญาปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูรับสนองพระบรมราชโองการ

จอมพล ถนอม กิตติขจร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นายกรัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 230 - ๔๐ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๒

ตราคาธรรมเนียม กา สํานักอังานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) คําขอสัมปทาน ฉบับละ ๕๐,๐๐๐ บาท (๒) คาสงวนพื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้นที่แตละแห สํานังกงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เศษของตารางกิโลเมตร ใหคิด ตารางกิโลเมตรละ สํคานัากธรรมเนี งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก๒๐๐ งานคณะกรรมการกฤษฎี ยมตามอัตราสวกนา ,๐๐๐ บาทกา ตอป (๓) คารังวัด ตามความยาวของระยะที่วัด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กิโลเมตรหรือเศษของกิโลเมตรละ ๕๐๐ บาท (๔) สํคานัากหลั กเขตบนพื้นดิน กา กละ ๑,๐๐๐ กา บาท งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักหลั งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๖๒ ไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบั (ฉบั บที่ ๔) พ.ศ. กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกอัาตราคาธรรมเนีสํยานัมกแก งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติปโ ตรเลี สํานัยมกงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕๓๒


Page 231 - ๔๑ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ชีอัตราคาภาคหลวง๖๓กา สําบั นักญงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

รอยละของมูลคาปโตรเลียม ายในรอบเดือน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ขายหรือสํจํานัาหน กงานคณะกรรมการกฤษฎี

ขั้นที่ สํ๑านัปริ มาณปโตรเลียมทุกชนิกดา ที่ขาย กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือจําหนายไดในรอบเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไมกเกิาน ๖๐,๐๐๐ สํบาเรล ๕ ขั้นที่ ๒ ปริมาณปโตรเลียมทุกชนิดที่ขาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือจําหนายไดในรอบเดือน สวกนที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่เกิน ๖๐,๐๐๐ สํานับาเรล กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แตไมเกิน ๑๕๐,๐๐๐ บาเรล ๖.๒๕ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขั้นที่ สํ๓านัปริ มาณปโตรเลียมทุกชนิกดา ที่ขาย หรือจําหนายไดในรอบเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สวนที่เกิน ๑๕๐,๐๐๐ บาเรล ไมเกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาเรล สํานัแต กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๐ ขั้นที่ ๔ ปริมาณปโตรเลียมทุกชนิดที่ขาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรืกอาจําหนายไดในรอบเดื อน สวนที่เกิน ๓๐๐,๐๐๐ บาเรล สํานัแต กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๒.๕ ไมเกิน ๖๐๐,๐๐๐ บาเรล ขั้นที่ ๕ ปริมกาาณปโตรเลียมทุ ดที่ขาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักกชนิ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือจําหนายไดในรอบเดือน นที่เกิน ๖๐๐,๐๐๐ บาเรล สํานัสกวงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๕ ปริมาณปโตรเลียมที่ขายหรือจําหนายในรอบเดือน หมายถึงปริมาณปโตรเลียมทั้งหมด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักายได งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทุกชนิดที่ผูรับสัมปทานขายหรื อจําสํหน ในเดือนนั้น เพื่ อ ประโยชนใ นการกํ า หนดปริ ม าณป โ ตรเลี ย ม ให ถื อ วา ปริ ม าณความร อ นของก า ซ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ธรรมชาติจํานวนสิบลาน บี ที ยู มีคาเทียบเทาปริมาณปโตรเลียมหนึ่งบาเรล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๓ บัญชีคาภาคหลวง เพิ่มโดยพระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 232 - ๔๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุผกลในการประกาศใช พระราชบัญญัติฉบับนีก้ าคือ เนื่องจากรั นโยบายที่จะ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําฐนับาลมี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สงเสริม ใหมี การสํา รวจและผลิต ปโ ตรเลี ย มภายใตม าตรการควบคุ มที่เหมาะสม เพื่ ออํ า นวย กา ยมและประชาชน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าดวยการ ประโยชนใหแสํการนั​ัฐกผูงานคณะกรรมการกฤษฎี ประกอบกิจการปโตรเลี แตขณะนี้ยังไมมีกฎหมายว นี้โดยเฉพาะ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๑ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๕๖๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ข อ ๑ ในกรณี ที่ มี เ อกชนลงทุ น หรื อ ร ว มทุ น กั บ กรมการพลั ง งานทหาร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กระทรวงกลาโหม เพื่ อ ทํ า การสํ า รวจและผลิ ต ป โ ตรเลี ย มในพื้ น ที่ ที่ ก รมการพลั ง งานทหาร กระทรวงกลาโหม ไดรับมอบหมายใหทํากการสํ ปโตรเลียม ใหนําบทบักญ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ารวจและผลิ สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี า ญัติในหมวด ๖ แหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งวาดวยประโยชน สิทธิ และหนาที่ของผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า เอกชนผูลสํงทุ านันกหรื งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ลงทุนหรืสํอานัรกวงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานมาใชบังคับกแก อรวมทุน เสมือนเอกชนผู มทุนนั้นเปนผูรับ กา สัมปทานตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖๖๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากรัฐบาลไดพิจารณา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เห็นสมควรสงเสริมใหมีการสํารวจปโตรเลียมในทะเลที่มีน้ําลึกเกินสองรอยเมตร แตการสํารวจใน บริเวณดังกลาวตองเสี าการสํารวจบนบกหรืกาอในทะเลที่มสํีนา้ํานัลึกกงานคณะกรรมการกฤษฎี ไมเกินสองรอย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยคาใชจายสู สํางนักว กงานคณะกรรมการกฤษฎี เมตรเปนจํานวนมาก และในการนี้ผูขอสัมปทานจําเปนจะตองไดรับสัมปทานใหดําเนินการใน สํานั่ มกี พงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กาน สํ า รวจ แต แปลงสํ า รวจที ื้ น ที่ ก ว า งใหญ พ อสมควรจึ ง จะคุสํ มานักักบงานคณะกรรมการกฤษฎี การเสี่ ย งในการลงทุ พระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ มีบทบัญญัติจํากัดมิใหผูขอสัมปทานไดรับสัมปทานเกิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ทําใหผูซึ่งไดสํารนั​ับกสังานคณะกรรมการกฤษฎี หาแปลงสํารวจ หรือกามีพื้นที่รวมกันสําเกินักนงานคณะกรรมการกฤษฎี หาหมื่นตารางกิโลเมตร มปทานแลวอาจ กา หมดสิทธิที่จะเข ลแขงขันกันเพื่อขอรั บแปลงสํารวจในทะเลที สํานัากประมู งานคณะกรรมการกฤษฎี กา บสัมปทานสํ สํานัากหรั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่มีน้ําลึกเกิน สองรอยเมตรโดยปริยาย สมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายดังกลาวโดยมิใหใชบทบัญญัติจํากัด เชนนั้นแกผูขอสัมปทานสํ ารวจในทะเลที่มีน้ําลึกกเกิา นสองรอยเมตร ตราสวน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าหรับแปลงสํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักและลดอั งานคณะกรรมการกฤษฎี ของพื้นที่แปลงสํารวจที่ตองคืนเมื่อครบหาปแรกนับแตวันไดรับสัมปทานใหนอยลงเพื่อใหผูรับ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั่มกเติ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา โตรเลียมชวง สัมปทานมีพื้นสํทีานั่แกปลงสํ ารวจเหลือมากขึ้นกสํา าหรับสํารวจเพิ มในระยะเวลาสํารวจป ตอไป และลดคาภาคหลวงใหอีกดวย ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหมีการแขงขันขอสัมปทานอยาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กวางขวางและเปนการจูงใจใหมีผูขอสัมปทานดําเนินการสํารวจในบริเวณดังกลาวมากขึ้น จึง จําเปนตองตราพระราชบั ญญัติฉบับนี้ขึ้นกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัติปโตรเลี พ.ศ. ๒๕๒๒๖๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยม (ฉบับทีสํา่ ๓) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานั๖๔กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราชกิจจานุเบกษา เลม ๘๙/ตอนที่ ๑๙๐/ฉบับพิเศษ หนา ๑๖๓/๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕ ๖๕ ๙๐/ตอนที่ ๑๕๗/หนา ก๕๗๑/๔ ธันวาคมสํา๒๕๑๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีราชกิ กา จจานุเบกษาสําเลนัมกงานคณะกรรมการกฤษฎี า นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๖ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๖/ตอนที่ ๗๕/ฉบับพิเศษ หนา ๑๒/๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๒


Page 233 - ๔๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ิ ม าตรา ๒๕ มาตรากา๒๖ มาตรา ๓๑ ๓๒ และ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๙ บทบัสํญานัญักตงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักมาตรา งานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ๓๔ แหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า รวจและผลิ สํานักตงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไม ก ระทบกระเทื อ นสิ ท ธิ ต ามสั ม ปทานสํ ป โ ตรเลี ย มที่ ไ ด อ อกไปก อ นวั น ที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญ ญัติฉบับ นี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญ ญั ติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ในสวนที่วาดวยการตอระยะเวลาสํารวจปโตรเลียม การตอระยะเวลา ผลิ ต ปโ ตรเลี ยม การปฏิ กพั น ในการสํ า รวจป โกตรเลี ด เผยรายงาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บั ติ ต ามขสําอนัผูกงานคณะกรรมการกฤษฎี า ย ม และการเป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เกี่ยวกับการสํารวจปโตรเลียมยังไมรัดกุม สมควรแกไขเพิ่มเติมใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเปนตอง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตราพระราชบัสํญานัญักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยม (ฉบับทีสํา่ ๔) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พระราชบัญญัติปโตรเลี พ.ศ. ๒๕๓๒๖๗

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๓๓ ใหยกเลิกกบัาญชีอัตราคาธรรมเนี ยมทายพระราชบัญกญัา ติปโตรเลียม

พ.ศ. ๒๕๑๔ และใหใชบัญชีอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัตินี้แทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๔ ใหเพิ่มบัญชีอัตราคาภาคหลวงทายพระราชบัญญัตินี้เปนบัญชีอัตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาภาคหลวงทายพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๕ เวนแตในกรณีที่ผูรับสัมปทานไดรับความยินยอมจากรัฐมนตรีตาม มาตรา ๓๖ บรรดาบทบั ญญัติทั้งหลายนอกจากบทบั ญสําญันักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ิวาดวยคาธรรมเนียมอักานเปนคารังวัด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา และคาหลักเขตบนพื้นดินแหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัผกงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชบั ญ ญั ติ นกี้ ไาม ใ ช บั ง คั บ แก ู รั บ สั ม ปทานสํ า หรั บกาสั ม ปทานที่ ไสํดานัอกอกให ก อ นวั น ที่ กา พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และใหพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ กอนการแกไขเพิ่มเติม กา กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยพระราชบัสํญานัญักตงานคณะกรรมการกฤษฎี ินี้ ยังคงใชบังคับตอไปสํ าหรับผูรับสัสํมานัปทานดั งกลาว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๖ ผูที่ไสํดารนั​ับกงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานอยูกอนวันทีก่พาระราชบัญญัตสําินนัี้ใกชงานคณะกรรมการกฤษฎี บังคับ มีสิทธิยื่น กา คําขอเพื่อใหนสําํานับทบั ญญัติแหงพระราชบั พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกกไาขเพิ่มเติมโดย กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติปโตรเลี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับแกแปลงสํารวจที่ยังมิไดมีการผลิตและขายหรือจําหนายปโตรเลียม กอนวันที่พระราชบัญกาญัตินี้ใชบังคัสํบาได การยื่นคําขอใหทําเปนกหนั ดีตามหลักเกณฑ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า งสือยื่นตอสํอธิ านับกงานคณะกรรมการกฤษฎี และเงื่อนไขที่กําหนดไวในมาตรานี้ และในการนี้ใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัตินี้ พรสําอนัมทั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติภาษี พ.ศ. ๒๕๑๔ สํซึา่งนัแก ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั ้งบทบัญญัติแหงพระราชบั เงินไดปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ มาใช บั ง คั บ กั บ แปลงสํ า รวจนั้ น ทุ ก มาตรา เว น แต บ ทบั ญ ญั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ ระยะเวลาสํารวจป โตรเลียม ขนาดพื้นทีก่แาปลงสํารวจตามสั มปทานและการคืนพืก้นาที่ โดยใหผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๗ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๖/ตอนที่ ๑๒๘/ฉบับพิเศษ หนา ๑/๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๒


Page 234 - ๔๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สัม ปทานยังคงมี สิทกธิา เชน เดิม ตามมาตรา ๒๕ มาตรา ๒๘กามาตรา ๓๖ สํและมาตรา ๔๐ แห ง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ กอนการแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ สํานัการยื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ่ น หนั ง สื อ ตามวรรคหนึ ่ ง ให กสํระทํ า ภายในกํ า หนดหนึก่ งาป นั บ แต วั น ที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเมื่อไดยื่นคําขอตออธิบดีแลว ใหผูรับสัมปทานทําความตกลงกับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รัฐบาลเกี่ยวกับการกําหนดคาลดหยอนพิเศษและการแสดงรายการเกี่ยวกับขอเท็จจริงตาง ๆ เพื่อ ประโยชน ใ นการกํ า หนดผลประโยชนกตาอบแทนพิ เ ศษตามบทบั ญ ญั ติ ใ นหมวด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗ ทวิ แห ง พระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ โดยดําเนินการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พ ยากรธรณี สํานักกํ างานคณะกรรมการกฤษฎี กา า ความตกลงดั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามระเบี ย บที่ ก รมทรั หนดในการดํ า เนิ น การทํ ง กล า ว ให ผู รั บ กา สัมปทานทําความตกลงเบื้องตนกับกรมทรัพยากรธรณีใหเสร็จสิ้นภายในกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วันนับแตวันที่ยื่นคําขอ ถาไมสามารถทําความตกลงเบื้องตนดังกลาวไดภายในกําหนดเวลา ใหถือ วาคําขอนั้นไมมีผลเวกานแตรัฐมนตรีสํโาดยอนุ มัติคณะรัฐมนตรีจกะอนุ ตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ญาตใหขยายเวลาออกไปได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ความจําเปนแตตองไมเกินกวาหนึ่งปนับแตวันที่ยื่นคําขอ สํานัความตกลงกั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผลตอเมื่อรัสํฐานัมนตรี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า บรัฐบาลจะมี โดยอนุมัติคณะรัฐกมนตรี ใหความ ยินยอมแกผูรับสัมปทานที่ไดยื่นคําขอตามมาตรานี้ และเมื่อรัฐมนตรีใหความยินยอมแลวใหแจง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนหนังสือใหผูรับสักมา ปทานทราบสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหแปลงสํารวจในสัมปทานที่ผูรับสัมปทานได ขอใชสิทธิและไดรับความยินยอม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จากรัฐมนตรีตามมาตรานี้ อยูภายใตบังคับแหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไข เพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัติภาษีเงินได ๒๕๑๔ ซึ่งแกไข กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัตินี้กับสํพระราชบั านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาปโตรเลียมพ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ตั้งแตวันที่ผูรับ นักงงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ฐมนตรีตสํามวรรคสาม านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มของผูรับ สัมปทานไดรับสําหนั สือแจงความยินยอมของรั และใหสัมปทานเดิ สัมปทานยังคงใชบังคับไดไปพลางกอนเทาที่ไมขัดหรือแยงตอพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้จนกวาจะไดมีการออกสัมปทานปโตรเลียมเพิ่มเติม เพื่อใหสอดคลสํอานังกักงานคณะกรรมการกฤษฎี บบทบัญญัติแหงพระราชบั ม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกกไาขเพิ่มเติมโดย กา ญญัติปโตรเลี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชบัญญัตินี้ตอไปและในกรณีที่ผูรับสัมปทานที่ยื่นคําขอเปนผูที่ไดรับสัมปทานในแปลง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา างวันที่ ๕ กุสํมานัภาพั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํารวจบนบกในระหว นธ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึกงาวันที่พระราชบัสําญนักญังานคณะกรรมการกฤษฎี ตินี้ใชบังคับ ให กา ผูรับสัมปทานดังกลาวพนจากเงื่อนไขการชําระผลประโยชนรายปและโบนัสรายปตามที่กําหนดใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทาน การเปลี ละหนาที่ของผูรับสัมกปทานตามพระราชบั ญญัตินี้ยอมไม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ยนแปลงสิ สําทนัธิกแงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กระทบกระเทือนตอผลประโยชนหรือคาตอบแทนใด ๆ ที่ผูรับสัมปทานไดเสียหรือจะตองเสีย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ม กอนวันทีสํ่สานั​ัมกปทานเดิ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหแกรัฐบาลตามที ่กําหนดไวในสัมปทานเดิ มจะสิ้นสุดลงตามวรรคสี ่ และ ไมกอใหเกิดสิทธิแกผูรับสัมปทานในอันที่จะเรียกรองคาเสียหายใด ๆ จากรัฐบาล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ คื อ ด ว ยบทบั ญ ญั ติ แ ห ง านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัสํตานัิปกโงานคณะกรรมการกฤษฎี ตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔กาไมสอดคลอสํงกั บสภาพการณในปจจุบันหลายประการ เนื่องจากในขณะที่ตกราพระราชบั ญสํญั โตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ บปโตรเลียมใน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านัตกิปงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยังมีขอมูลเกี สํานั่ยกวกังานคณะกรรมการกฤษฎี


Page 235 - ๔๕ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ประเทศไทยไมมากนักาก แตหลังจากนั มีการสํารวจและผลิตกาปโตรเลียมมากขึ และไดขอมูลทาง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั้นกได งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั้นกงานคณะกรรมการกฤษฎี ธรณีวิทยาของประเทศมากขึ้นจนอาจบงชี้ไดวา แหลงปโตรเลียมในประเทศไทยสวนใหญนาจะมี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้ สภาพการณ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา จ จุ บั น ได field) นอกจากนี เ กี่ ย วกั บ ป โ ตรเลี ย มในป ขนาดเล็ ก (สํMarginal เปลี่ยนแปลงไปมากทั้งในดานแหลงปโตรเลียมที่คนพบใหมในภูมิภาคเดียวกันกับประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และในดานราคาน้ํามันดิบที่ตกต่ําลง เปนเหตุใหการลงทุนสําหรับการสํารวจและพัฒนาแหลง ป โ ตรเลี ย มภายในประเทศไม ข ยายตั วกเท เพื่ อ จู ง ใจให ก ารสํ า รวจและพั ฒ นา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า า ที่ ค วร ดั สํง านันั้ นกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ปโตรเลียมเปนไปไดอยางตอเนื่องอันจะชวยใหการนําทรัพยากรปโตรเลียมมาใชประโยชนไดตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํา่นัอกปรั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา อขัด ของตาสํงานัๆกงานคณะกรรมการกฤษฎี แผนพัฒนาเศรษฐกิกาจ ตลอดจนเพื บปรุงแกไขอุปสรรคข ใหเหมาะสมกับ กา สภาพการณในปจจุบัน รวมทั้งปรับปรุงมาตรการในการเรงรัดการสํารวจและผลิตปโตรเลียม จึง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๓๔๖๘ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติแกไข เพิ่มเติมประมวลรัษกฎากร พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดยกเลิ าภาษีมูลคาเพิ่ม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า (ฉบับทีสํ่ า๓๐) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กากภาษีการคาสํและนํ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาใชแทน สมควรแกไขพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อใหผูรับสัมปทานที่เคยไดรับ สํานัากงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่มแทน จึงสํจําานัเปกงานคณะกรรมการกฤษฎี ยกเวนภาษีการค ไดรับยกเวนภาษีมูลคกาเพิ นตองตราพระราชบัญกญัา ตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไ ขบทบัญ ญัสําตนัิใกหงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า นาจหนาสํทีา่ ขนัองส กงานคณะกรรมการกฤษฎี *พระราชกฤษฎี กาแก สอดคลองกั บการโอนอํ วนราชการให กา

เปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕๖๙ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๗ ในพระราชบั ญ ญั ติ ป โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ ให แ ก ไ ขคํ า ว า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “รัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาการแหงชาติ” เปน “รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน” คําวา “ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม”

เปน “ปลักดา กระทรวงพลัสํางนังาน ” คําวา “กรมทรัพยากรธรณี” เปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

“กรมเชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ ”

ธรรมชาติ” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

และคําวา “อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี” เปน “อธิบดีกรมเชื้อเพลิง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- สํเหตุ ลในการประกาศใชพกระราชกฤษฎี กสําฉบั นี้ คือ โดยที่พระราชบักาญญัติปรับปรุง านักผงานคณะกรรมการกฤษฎี า านักบงานคณะกรรมการกฤษฎี กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดบัญญัติใหจัดตั้งสวนราชการขึ้นใหมโดยมีภารกิจใหม ซึ่งได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กาโอนกิสํจาการบริ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาาที่ของสวนราชการให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มีการตราพระราชกฤษฎี หารและอํานาจหน เปนไปตาม กา พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้นแลว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกลาวได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บัญญัติใหโอนอํานาจหนาที่ของสวนราชการ รัฐมนตรีผูดํารงตําแหนงหรือผูซึ่งปฏิบัติหนาที่ในสวน ราชการเดิมมาเปนกของส โดยใหมีการแกไขบทบั ใหสอดคลองกับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า วนราชการใหม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัติตาสํงานัๆกงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั๖๘กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๘/ตอนที่ ๒๐๑/ฉบับพิเศษ หนา ๒๒๘/๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๙ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๙/ตอนที่ ๑๐๒ ก/หนา ๖๖/๘ตุลาคม ๒๕๔๕


Page 236 - ๔๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

อํานาจหนาที่ที่โอนไปด อนุวัติใหเปนไปตามหลั ญญัติ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วย ฉะนั้นสํเพื านัก่องานคณะกรรมการกฤษฎี กา กการที่ปรากฏในพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี และพระราชกฤษฎีกาดังกลาว จึงสมควรแกไขบทบัญญัติของกฎหมายใหสอดคลองกับการโอน สํานั่อกให งานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า สวนราชการ เพื ผูเกี่ยวของมีความชักดาเจนในการใชสํกานัฎหมายโดยไม ตองไปคนกหาในกฎหมาย โอนอํานาจหนาที่วาตามกฎหมายใดไดมีการโอนภารกิจของสวนราชการหรือผูรับผิดชอบตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กฎหมายนั้นไปเปนของหนวยงานใดหรือผูใดแลว โดยแกไขบทบัญญัติของกฎหมายใหมีการ เปลี่ยนชื่อสวนราชการ รัฐมนตรี ผูดํารงตํกาาแหนงหรือผูสํซาึ่งนัปฏิ บัติหนาที่ของสวนราชการให ตรงกับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การโอนอํานาจหนาที่ และเพิ่มผูแทนสวนราชการในคณะกรรมการใหตรงตามภารกิจที่มีการตัด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มมาเปนของส สํานัวกนราชการใหม งานคณะกรรมการกฤษฎี สํามนัทีกงานคณะกรรมการกฤษฎี โอนจากสวนราชการเดิ รวมทั้งตักดาสวนราชการเดิ ่มีการยุบเลิกแลว กา ซึ่งเปนการแกไขใหตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกลาว จึงจําเปนตองตราพระ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราชกฤษฎีกานี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติปโตรเลียม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐๗๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๒ ใหคณะกรรมการปโตรเลียมตามพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งดํารงตําแหน ญญัตินี้ใชบังคับกาคงอยูในตําแหน อไปจนกวาจะมี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งอยูในวันทีสํา่พนัระราชบั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานังกตงานคณะกรรมการกฤษฎี การแตงตั้งคณะกรรมการปโตรเลียมขึ้นใหมตามพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๓ บรรดากฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยบ คําสั่ง เงืสํา่อนันไข กงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ประกาศ ระเบี หรือขอผูกพัน กา

ที่ออกหรือกําหนดตามพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และที่แกไขเพิ่มเติม ซึ่งใชบังคับ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี อยู ใ นวั น ที่ พสํระราชบั ญ ญั ติ นี้ ใ ช บั ง คักบา ให ค งใช บสํั งาคันักบงานคณะกรรมการกฤษฎี ได ต อ ไปเท า ที่ ไ ม ขกั ดา หรื อ แย ง กั บ พระราชบัญญัตินี้ ทัก้งานี้ จนกวาจะมีสํากนัฎกระทรวง ประกาศ ระเบี หรือขอผูกพันที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยบ คําสั่ง เงืสํ่อานไข นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ออกหรื อ กํ า หนดตามพระราชบั ญ ญั ติ ป โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย พระราชบัญญัสํตาินนักี้ งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมายเหตุ :- เหตุกผาลในการประกาศใช พระราชบัญ ญัติฉบักาบ นี้ คือ เนื่อสํงจากพระราชบั ญ ญั ติ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ไดใชบังคับมาเปนเวลานาน มีบทบัญญัติบางประการที่ไมเหมาะสม โดย านังกปงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ขอเท็จจริงที่แสํหล โตรเลียมในประเทศสกาวนใหญเปนแหล ขนาดเล็ก หรือมีสภาพทางธรณี วิทยา ที่ซับซอน ตองใชคาใชจายในการดําเนินการสูงมากและแหลงปโตรเลียมหลายแหลงเริ่มมีกําลัง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การผลิ ต ลดต่ํ า ลง ทํ า ให ผู ป ระกอบการป โ ตรเลี ย มมี ค วามเสี่ ย งในการลงทุ น สู ง ไม จู ง ใจ ผูประกอบการให ําการสํารวจหรือผลิตปกโาตรเลียมเพิ่มสํเติานัมกจากแหล งปโตรเลียมในสั สํานักทงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา มปทานทําให ประเทศเสียโอกาสทางเศรษฐกิจในการนําทรัพยากรปโตรเลียมขึ้นมาใชประโยชน นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมในปจจุสํบานั​ันกไม งานคณะกรรมการกฤษฎี า ดการดาสํนสิ านั่งกแวดล งานคณะกรรมการกฤษฎี กฎหมายวาดวยปโตรเลี มีบทบัญญัติเกี่ยวกับกการจั อมที่ชัดเจน กา อีกทั้งการพิจารณาอนุมัติและอนุญาตของรัฐเกี่ยวกับการสํารวจและผลิตปโตรเลียมมีกระบวนการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลายขั้นตอน ตลอดจนในปจจุบันประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเดียวกันและ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๗๐ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๔/ตอนที่ ๖๙ ก/หนา ๑/๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๐


Page 237 - ๔๗ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ใกลเคียงไดใหความสํ งปโตรเลียมในประเทศของตน ่อดึงดูดนักลงทุน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าคัญกับการพั สํานัฒกนาแหล งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัเพืกงานคณะกรรมการกฤษฎี ซึ่งโดยสวนใหญเปนกลุมผูประกอบการปโตรเลียมขามชาติกลุมเดียวกัน สมควรแกไขเพิ่มเติม านักโงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าเนินการ กฎหมายวาดวสํยป ตรเลียมใหเหมาะสมกักบา สถานการณสํปาจนัจุกบงานคณะกรรมการกฤษฎี ัน มีความคลองตัวในการดํ และสามารถแขงขันกับประเทศอื่นได จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภคินี/แกไข

๒๗/๒/๒๕๔๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

A+B (C) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปญญา/แกไข

๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 238

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัติ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ภาษีเงินไดปโ ตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพ.ศ. ๒๕๑๔สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหไว ณ วันกทีา่ ๒๖ มีนาคมสําพ.ศ. ๒๕๑๔ เปนปที่ ๒๖ ในรัชกาลปจจุบัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เกลาฯ ใหประกาศวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดักางตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑ พระราชบั ญกญั ญ ญัติภาษี เงิ นกาไดปโตรเลียม สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ตินี้ เ รีย กว าสํา“นัพระราชบั กงานคณะกรรมการกฤษฎี พ.ศ. ๒๕๑๔” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นุเบกษาเปนตสํนานัไปกงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๓ บรรดาบทกฎหมาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านั่มกงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา กฎ และขอบักางคับอื่นในสวสํนที ีบัญญัติไวแลวใน กา

พระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชพระราชบัญญัตินี้แทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๑ ขอความทั่วไป

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ปโตรเลียม” หมายความวา ปโตรเลียมที่ผลิตในราชอาณาจักรตามกฎหมายวา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ดวยปโตรเลียสํมานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “น้ํามันดิบ” หมายความวา น้ํามันดิบตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั”กงานคณะกรรมการกฤษฎี านัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี “น้กําามันดิบที่สงออก หมายความวา น้ํามันกดิาบที่บริษัทซึ่งสํได สัมปทานหรือมี กา สวนไดเสียรวมกันในสัมปทานสงออกนอกราชอาณาจักร หรือขายใหแกบุคคลอื่นเพื่อสงออกนอก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๘๘/ตอนที่ ๔๓/ฉบับพิเศษ หนา ๖๓/๒๓ เมษายน ๒๕๑๔


Page 239 -๒-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ราชอาณาจักร และให งน้ํามันดิบที่กลั่นในราชอาณาจั กรเฉพาะส วนที่ถือวาเปน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หมายความรวมถึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี น้ํามันดิบที่สงออกตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม สํานั“กกิงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี กา จ การป โ ตรเลี ย ม ” หมายความว าสํากินัจกการป โ ตรเลี ย มตามกฎหมายว า ด ว ย ปโตรเลียม และใหหมายความรวมถึงการโอนทรัพยสินหรือสิทธิใดๆ ทั้งหมด หรือบางสวนที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เกี่ ย วกับ กิ จ การดั งกล า วไมว า การโอนนั้น จะเปน ปกติธุระหรือ ไมก็ต าม รวมทั้ งกิจ การใดๆ ที่ เกี่ยวเนื่องกับกิสําจนัการหรื อการโอนดังกลาวด กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “เงินได” หมายความวา เงิน ทรัพยสินหรือประโยชนอยางอื่นที่ไดมาอันอาจคิด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สําอนักากรที งานคณะกรรมการกฤษฎี กาแตไมรวมถึงสํภาษี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี คํานวณไดเปนเงิน กและรวมถึ งภาษี ่มีผูอื่นออกแทนให ที่ใหบริษัทผูขาย กา นํามาเปนเครดิตตามมาตรา ๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ราชอาณาจักร” หมายความวา ราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม า สัมปทานตามกฎหมายว าดวยปสํโตรเลี ยม “สักมาปทาน” หมายความว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา “ขาย” หมายความวา ขายตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม สํานั“กจํงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า สง น้ํ า มั นสําดินับกไปยั งานคณะกรรมการกฤษฎี กาอ สถานที่เ ก็ บ า หนา ย”๒ หมายความว งโรงกลั่น น้ํา มันหรื รักษาเพื่อการกลั่นน้ํามันของบริษัท สงกาซธรรมชาติไปยังโรงแยกกาซ โรงทํากาซใหเปนของเหลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ เ ก็ บ รั กสํษาเพื านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ษั ท นํ า ปสํโาตรเลี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี โรงอั ด ก า ซ หรื อ สถานที ่ อ กิ จ การดั ง กล า วของบริ ย มที่ ต อ งเสี ย กา คาภาคหลวงไปใช ในกิจการใดๆ ของบริษัทหรือของผูสํอาื่นนัโดยไม มีการขาย หรือโอนปโตรเลียมที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตองเสียคาภาคหลวงโดยไมมีคาตอบแทน “ราคามาตรฐาน ”สําหมายความว า ราคาประกาศตามกฎหมายว าดวยปโตรเลียม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หักดวยสวนลดถามี สํานั“กราคาตลาด งานคณะกรรมการกฤษฎี กา า ราคาในตลาดเป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ” หมายความว ด เผย หากไม มกาี ร าคาดั ง กล า ว หมายความวาราคาที่พึงคิดกันระหวางบุคคลซึ่งเปนอิสระตอกันโดยไมมีความสัมพันธในดานทุน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือการจัดการ าภาคหลวง” หมายความว าดวยปกโาตรเลียม สํานั“กคงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า คาภาคหลวงตามกฎหมายว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี “บริษัท” หมายความวา บริษัทตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม ซึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า มปทาน หรื สําอนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑)กาไดรับสัมปทานหรื อมีสวนไดเสียรวมกันกในสั (๒) ซื้อน้ํามันดิบที่บริษัทตาม (๑) เปนผูผลิต เพื่อสงน้ํามันดิบนั้นทั้งหมดออก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นอกราชอาณาจักร “อธิ า อธิบดีกรมสรรพากรกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาบดี” หมายความว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕ กําหนดเวลาตามที่ไดระบุไวในพระราชบัญญัตินี้ ถาผูมีหนาที่ตอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สามารถปฏิ สํานักบงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปฏิบัติมีเหตุจําเปนกจนไม ัติตามกําหนดเวลาไดกา ใหอธิบดี โดยความเห็ นชอบของ กา รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งขยายหรือเลื่อนเวลาออกไปไดตามความจําเปนแกกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๒ าหนาย” แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัสํตาิภนัาษี เงินไดปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๔ นิยามคํสําวาานัก“จํงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 240 -๓-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา นเพื่อประโยชนในการจั บดีมีอํานาจออก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖ ในกรณี สํานัจกําเป งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ดเก็บภาษีสํานัอธิกงานคณะกรรมการกฤษฎี คําสั่งเปนหนังสือใหเจาพนักงานตรวจคนหรือยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นใดซึ่งเกี่ยวกับ สํานัากยของกิ งานคณะกรรมการกฤษฎี า อซึ่งอธิบสํดีานัมกีเงานคณะกรรมการกฤษฎี รายไดและรายจ จการปโตรเลียกมหรื หตุอันควรเชื่อวาเกี่ยกวกัา บรายไดและ รายจายดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การตรวจคนหรือยึดตามวรรคหนึ่งใหกระทําในเวลาระหวางพระอาทิตยขึ้นและ พระอาทิตยตสํกานัหรื อในเวลาทําการของผูกาถูกตรวจคนหรื กยึด เวนแตการตรวจค กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัอกถูงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นหรือยึดใน เวลาดังกลาวยังไมแลวเสร็จจะกระทําตอไปก็ได หรือในกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง อธิบดีจะออกคําสั่งให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตรวจคนหรือยึดในเวลาใดๆ ก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัใกนการจั งานคณะกรรมการกฤษฎี ๗ ในกรณีจําเปกานเพื่อประโยชน ดเก็บภาษี อธิบกดีา มีอํานาจออก

คําสั่งเปนหนังสือใหบริษัทแสดงบัญชี หลักฐาน รายงาน หรือแจงขอความใดๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งอธิบดีมีเหตุอันควรเชื่อวาเกี่ยวกับกิจการปโตรเลียมของบริษัท สั่งตามวรรคหนึ่งจะใหกาปฏิบัติกอนรอบระยะเวลาบั ญชีแรกของบริ สํานัคํกางานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ษัทก็ได

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ชี หลักฐาน และเอกสารประกอบการลงบั ญชีซึ่งเกี่ยวกับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘ บรรดาบั สํานัญ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กิจการปโตรเลียมของบริษัทใหทําเปนภาษาไทยและตองระบุเปนเงินตราไทยเวนแตในกรณีที่ สํานับกดีงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา างประเทศ บริษัทรองขออธิ อาจอนุมัติใหบริษัททํกาาเปนภาษาตาสํงประเทศและระบุ เปนเงินตราต ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๙ บรรดาบัญชี หลักฐาน รายงาน และเอกสารตางๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือซึ่ง นักงานคณะกรรมการกฤษฎี อธิ บ ดี ห รื อ เจสําาพนั ก งานประเมิ น มี เ หตุกอาั น ควรเชื่ อ วสําาเกีนัก่ ยงานคณะกรรมการกฤษฎี วกั บ รายได แ ละรายจกาา ยของกิ จ การ

ปโตรเลียม ถาทําเปกนา ภาษาตางประเทศ อธิบดีหรือเจาพนักกงานประเมิ นมีสํอาํานันาจสั ่งใหผูมีหนาที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า กงานคณะกรรมการกฤษฎี เสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้จัดการแปลเปนภาษาไทยใหเสร็จภายในเวลาอันสมควรได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๐ หมายเรียก หนังสือแจงการประเมิน หรือหนังสืออื่นที่มีถึงบุคคลใด เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบั ญญัตสําินนัี้ใกหงานคณะกรรมการกฤษฎี นําไปสงในเวลาระหวกาางพระอาทิตยขสําึ้นนัและพระอาทิ ตยตก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี หรือในเวลาทําการของผูรับ หรือสงโดยทางไปรษณียลงทะเบียน สํานัถกางานคณะกรรมการกฤษฎี กา ธีดังกลาวในวรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สงโดยวิธีปด ไมสามารถจะสงตามวิ ่งดวยเหตุใดๆ ให หมายเรี ยก หนัง สื อแจ ง การประเมิ น หรื อ หนังสือ อื่น ณ ที่ เห็น ได ง า ยที่ป ระตูบ า น สํ า นักงาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยูของผูรับ หรือสงโดยวิธียอขอความในหมายเรียก หนังสือแจงการประเมิน หรือหนังสืออืสํ่นานันั้นกงานคณะกรรมการกฤษฎี ลงโฆษณาในหนังสือพิกมาพก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เมื่อไดสงตามวิธีดังกลาวในวรรคสองและเวลาไดลวงพนไปสามวันแลวใหถือวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยก หนังสือสํแจ านักงการประเมิ งานคณะกรรมการกฤษฎี บุคคลนั้นไดรับหมายเรี น หรือหนังกสืาออื่นนั้นแลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใดโดยหนสําาทีนัก่รงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๑ เจาพนักงานผู าชการไดรูเรื่องกิจการของผู เสียภาษี

หรือของผูอื่นที่เกี่ยวของ หามมิใหนําออกแจงแกผูใดหรือทําใหเปนที่ลวงรูแกผูอื่นโดยวิธีใดๆ เวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แตจะมีอํานาจที่จะทําไดโดยชอบดวยกฎหมาย

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 241 -๔-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๒ ใหบริษัทจํากัดและนิติบุคคลที่มีสภาพเชนเดียวกับบริษัทจํากัดซึ่ง ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรื อกฎหมายตากงประเทศผู มีหสํนานัากทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ่เสียภาษีตามพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า กาญญัตินี้ ไดรับ ยกเวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑)กาภาษีอากรตามประมวลรั ษฎากร และ กา (๒) ภาษีอากรตามกฎหมายอื่น เวนแตตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทั้งนี้ เฉพาะภาษีอากรที่เก็บจากกําไรสุทธิหรือที่เก็บจากเงินไดที่ตองนํามารวม เพื่อคํานวณกําไรสุทกธิา หรือเงินไดอสํันานัตกองานคณะกรรมการกฤษฎี งเสียภาษีตามพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๓ ใหบริษัทจํกาากัดและนิติบสํุคาคลที ่มีสภาพเชนเดียวกับกบริ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ษัทจํากัดซึ่ง ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายตางประเทศไดรับยกเวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑)กาภาษีอากรตามประมวลรั ษฎากร และ กา (๒) ภาษีอากรตามกฎหมายอื่น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทั้งนี้ เฉพาะภาษีอากรที่เก็บจากเงินปนผลหรือสวนแบงกําไรที่จายจากกําไรสุทธิ หรือที่จายจากเงินไดกอาันตองเสียภาษี ญญัตินี้ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัตกามพระราชบั งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๔ ภาษีที่ตองเสี ญญัตินี้ เมื่อกถึางกําหนดชําระ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยหรือนําสงสํตามพระราชบั านักงานคณะกรรมการกฤษฎี หรือนําสงแลว มิไดชําระหรือนําสง ใหถือเปนภาษีคางเพื่อใหไดรับชําระภาษีคาง ใหนําบทบัญญัติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่เกี่ยวกับวิธสํีกาารเพื นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า างมาใชบสํังานัคักบงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามประมวลรัษฎากรที ่อใหไดรับชําระภาษีอกากรค เพื่อใหไ ดรั บ ชํา ระภาษีคา ง ให นํา บทบัญ ญัติ ต ามประมวลรัษ ฎากรที่เกี่ ยวกั บ สํ า นั กา บังคับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา วิธีการเพื่อใหไดรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี ชําระภาษีอากรคางมาใช สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๕ ใหลสํดหรื านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญญัตินี้แสํกาบนัุคกงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา อยกเวนภาษีตามพระราชบั คลตามสัญญาวา กา

ดวยการเวนการเก็ ภาษีซอนที่รัฐบาลไทยทํ สํานักบงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ากับรัฐบาลต สําานังประเทศ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ีอํานาจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๖ ใหอสํธิาบนัดีกมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) กําหนดแบบแสดงรายการและแบบพิมพอื่น แตงตั้งเจาพนักงานประเมิ นและเจสําานัพนั กงานอื่น สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๓) กํ า หนดระเบี ย บหรื อ ข อ บั ง คั บ ให ผู เ สี ย ภาษี ห รื อ ผู ทํ า การแทนทํ า บั ญ ชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในการจัดเก็ สํานับกและการเสี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา หลักฐาน รายงาน หรืกาอทําการใดๆสํตามความจํ าเปนเพื่อประโยชน ยภาษี การแตงตั้งเจาพนักงานตาม (๒) และการกําหนดระเบียบหรือขอบังคับตาม (๓) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๑๗ อํานาจของอธิ บ ดีตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๒๖ (๑) และมาตรา า นาจโดยทํ ากเปา น หนั ง สื อ ให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗๗ อธิ บสํดีาอนัาจมอบอํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูอํานวยการกอง หัวหนากองในกรมสรรพากร หรือสรรพากรเขต เปนผูทําการแทนได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 242 -๕-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๓ มาตรา มีอํานาจกําหนดสวนลดเพื านวณราคา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๘ รัฐมนตรี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่อประโยชน สํานัในการคํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี

มาตรฐาน ดังตอไปนี้ สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมเปนเวลา ไมเกินรอยละ ๗ ของราคาประกาศตามกฎหมายว าดวยปโตรเลี ไมเกินเกาปนับแตวันที่บริษัทเริ่มผลิตปโตรเลียมจากแปลงสํารวจแตละแปลงที่มิใชแปลงสํารวจที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรมเชื้ อเพลิ ง ธรรมชาติ*กํา หนดว า เป น แปลงสํา รวจในทะเลที่มี น้ํา ลึก เกิน สองรอ ยเมตรตาม กฎหมายวาดวสํยป ยม านักโตรเลี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ไมเกินรอยละ ๓๐ ของราคาประกาศตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียมเปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า วันที่บริษัทสํเริ านั่มกงานคณะกรรมการกฤษฎี กาละพื้นที่ผลิตสํในแปลงสํ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี เวลาไมเกินเกาปนับกแต ผลิตปโตรเลียมจากแต ารวจที่กรม กา ทรัพยากรธรณีกําหนดวาเปนแปลงสํารวจในทะเลที่มีน้ําลึกเกินสองรอยเมตรตามกฎหมายวาดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียม หลักกาเกณฑและวิธสํีากนัารกํ าหนดสวนลดตามวรรคหนึ ่ง ใหเปสํนานัไปตามที ่กําหนดใน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กฎกระทรวง สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สั ม ปทานในส สํานัวกนที งานคณะกรรมการกฤษฎี ที่ มีก ารขยายอายุ ่เ กี่ย วกั บ การผลิ ต ปกาโ ตรเลี ย มตาม กฎหมายวา ด ว ยป โ ตรเลี ย ม เนื่ อ งจากการผลิ ต ป โ ตรเลีย มตอ งหยุ ด ชะงั ก ลงเพราะเหตุที่ มิ ใ ช สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สัมปทานนั สํานัก้นงานคณะกรรมการกฤษฎี ความผิดของผูรับสักมาปทานมิใหนสํับาระยะเวลาที ่ไดรับการขยายอายุ รวมเขาเปนสวน กา หนึ่งของระยะเวลาที ่กําหนดตามวรรคหนึ่ง๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๑๙ ใหรสํัฐามนตรี วาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบั ญญัตินี้ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ้น เมื่อไดปการะกาศในราชกิ เบกษาแลว ใหใชบังกคัา บได สํานักฎกระทรวงนั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัจจานุ กงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ภาษีเงินไดและการคํานวณกําไรสุทธิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ังคับมาตรา ๔๓ ทวิ บริ เงินไดเปนราย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๐๕ ภายใต สํานักบงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ษัทมีหนาที่เสํสีายนัภาษี กงานคณะกรรมการกฤษฎี รอบระยะเวลาบัญชี ในอัตราที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ซึ่งตองไมนอยกวารอยละ ๕๐ แตไม กงานคณะกรรมการกฤษฎี า โตรเลียมสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เกินรอยละ ๖๐สํานัของกํ าไรสุทธิที่ไดจากกิจกการป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๑ ในกรณี สํานัทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยม ถาบริษัทสําผูนัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ี่มีการโอนกิจการปโตรเลี โอนจายเงินไดที่ กา

เปนเงินคาสิทธิ เงินป หรือเงินไดประจําเนื่องจากการโอนนั้น โดยเงินดังกลาวไมอาจกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๓ ๑๘ แกไสํขเพิ เติมโดยพระราชบัญญัตกิภาาษีเงินไดปโตรเลี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกมาตรา า านัก่มงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๑๖ ๔ มาตรา ๑๘ วรรคสาม แกกไาขเพิ่มเติมโดยพระราชบั ญญัติภาษีเงินไดปโตรเลี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยม (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๐ ๕ มโดยพระราชบัญญัติภาษีกาเงินไดปโตรเลียสํมานั(ฉบั บที่ ๔) พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๒๐ แกไขเพิ สํา่มนัเติ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๓๒


Page 243 -๖-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

จํานวนทั้งสิ้นไดแนนกาอน ใหบุคคลซึ รับเงินไดนั้นมีหนาที่กเสีายภาษีเงินไดสํใานอั ราที่กําหนดโดย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํา่งนัได กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักตงานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชกฤษฎีกาซึ่งตองไมนอยกวารอยละ ๕๐ แตไมเกินรอยละ ๖๐ ของเงินไดหลังจากหั ก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตนทุนตามมาตรา ๓๓ แลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๒ การคํสําานันวณกํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั้มการวมเป งานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา าไรสุทธิ ใหนําเอาจํกาานวนดังตอไปนี นรายได

(๑) ยอดเงินไดจากการขายปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) มูลคาของปโตรเลียมที่จําหนาย (๓)กา มูลคาของปโสํตรเลี ยมที่สงชําระเปนคาภาคหลวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) ยอดเงินได เนื่ องจากการโอนทรัพยสิน หรือสิทธิใดๆ อันเกี่ ยวกับกิจการ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมซึ่งสํอาจกํ าหนดจํานวนทั้งสิ้นไดกแานนอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) ยอดเงินไดอื่นใดที่ไดรับเนื่องจากการประกอบกิจการปโตรเลียมในกรณีการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โอนสัมปทานตามมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ยอดเงินไดเนื่องจาก การโอนทรัพยสําสนัินกหรื อสิทธิใดๆ ตาม (๔) ญชีครั้งสุดทายของบริ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใหถือมูลคสําาตามบั นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ษัทผูโอนใน วันที่โอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การโอนสัสํมานัปทานตามมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กางพระราชบัญสํญั านัตกิปงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณี ๔๘ แห โตรเลียม พ.ศ. กา ๒๕๑๔ ยอดเงินไดเนื่องจากการโอนทรัพยสินหรือสิทธิใด ๆ ตาม (๔) ใหถือมูลคาตามบัญชีครั้ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สุดทายของบริสํษานั​ัทกผูงานคณะกรรมการกฤษฎี โอนในวันที่โอน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๓ รายได สํานัตกามมาตรา งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ายตามปกติสํแานัละจํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ๒๒ ใหหักรายจ าเปนได สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัและมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ๒๔ ภายใตบังกคัา บมาตรา ๒๕ ๒๖ รายจากยตามปกติ และ

จําเปนใหจํากัดอยูเฉพาะแต รายจสํายที ริษัทสามารถพิสูจนไดกาวาเปนรายจาสํยตามปกติ และจําเปน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านัก่บงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ในจํานวนไมเกินสมควร และไดจายไปทั้งหมดเฉพาะในกิจการปโตรเลียม ไมวาจะจายในหรือนอก ราชอาณาจักรสํและภายในข อจํากัดดังกลากวให านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า รวมถึง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) คาเชาหรือคาตอบแทนอยางอื่นในการเชาทรัพยสิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านักงานคณะกรรมการกฤษฎี การ คาวัสดุสิ้นเปลืองกและรายจ ายทําสํนองเดี ยวกันอยางอื่น กา (๒)กาคาแรงงาน คสําาบริ ที่ใชในการเจาะเพื่อสํารวจหรือเพื่อผลิต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) คารับรอง (๔)กาหนี้สูญที่จําหน ญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําานัยจากบั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพหรือกองทุนบําเหน็จบํานาญ สํานั(ก๖) งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาชดเชยรายจายทีก่เปา นทุน (๗)๖ คาภาคหลวงสําหรับปโตรเลียม ไมวาจะชําระเปนตัวเงินหรือปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๘) รายจ า ยของสํ า นั ก งานใหญ เ ท า ที่ จั ด สรรได โ ดยสมควรว า เกี่ ย วกั บ กิ จ การ ปโตรเลียมของบริ ัท สํานักษงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖ ่มเติมโดยพระราชบัญญักตาิภาษีเงินไดปโตรเลี (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๒๔ (๗) แก สําไนัขเพิ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัยกมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๓๒


Page 244 -๗-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๙)การาคาทุนของทรั ยสินหรือสิทธิใดๆ ทีก่หา ักคาชดเชยรายจ ายที่เปนทุนแลว กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักพงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

สําหรับรายไดตามมาตรา ๒๒ (๔) สํานั(ก๑๐ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี )๗ ผลประโยชนตอบแทนพิ เศษตามกฎหมายว าดวยปโตรเลียกมา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕ รายการที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา และจําเป สํานนัให กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ่มิใหถือเปนรายจายตามปกติ รวมถึง

(๑) รายจายที่เปนทุนหรือรายจายในการตอเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออกหรือทํา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหดีขึ้นซึ่งทรัพยสิน ่ง หมายความว ยไปเพื่อใหไดมา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีการายจายที่เปนสํทุานันกตามวรรคหนึ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา า รายจายที สํานั่จกางานคณะกรรมการกฤษฎี ซึ่งทรัพยสินหรือประโยชนไมวาจะโดยทางตรงหรือทางออม โดยทรัพยสินหรือประโยชนนั้นมีผล านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชี และใหสํหามายความรวมถึ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตอกิจการเปนสํเวลาเกิ นหนึ่งรอบระยะเวลาบั งผลขาดทุกนา ที่เกิดขึ้นกอน รอบระยะเวลาบัญชีแรกตามมาตรา ๒๖ (๑) วรรคสอง และรายจายตามปกติและจําเปนที่จายไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กอนรอบระยะเวลาบัญชีแรกตามมาตรา ๒๖ (๑) วรรคสองดวย รายจา ยที่เป น การส โดยเสนหาหรือรายจ สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วนตั ว หรื อสํการให านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า ยที่ เ ปน การ บริจาค สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักญาคุ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๓)กา ผลเสียหายอัสํนานัอาจได กลับคืนเนื่องจากการประกั นหรือสํสัาญ มกันใดๆ (๔) รายจายเพื่อตอบแทนทุนหรือทรัพยสินของบริษัท สํานั(๕) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักเว งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๔ (๕) เงินสํารองหรือเงินสมทบกองทุ นใดๆ นแตที่บัญญัติไวในมาตรา (๖) ภาษีเงินได เบี ้ยปรับ และเงินเพิ่มที่บริษัทตองเสียตามพระราชบั ญญัตินี้หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ตองเสียในตางประเทศ รายจายเพื่อกิจการหรื ในการหามาซึ่งเงินกได สํานั(๗) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อเพื่อประโยชน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า อัน ไมอยูใ น บังคับตองเสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๘)การายจายที่บริสํษาัทนักพิงานคณะกรรมการกฤษฎี สูจนไมไดวาใครเปนผูกราับ (๙)๘ (ยกเลิก) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๐) ดอกเบี้ย (๑๑) ้นที่และเงินเพิกา่มตามกฎหมายว วยปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาธรรมเนีสํยามการสงวนพื นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัากดงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๑๒) คาปรับทางอาญา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๖ การคํานวณรายได รายจาย และกําไรสุทธิตามหมวดนี้ใหเปนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ดังตอไปนี้

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) กําไรสุทธิตองคํานวณเปนรายรอบระยะเวลาบัญชี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

รอบระยะเวลาบัญชีแรก ใหเริ่มนับแตวันที่บริษัทขายหรือจําหนายปโตรเลียม ที่ตองเสียคาภาคหลวงเป ถาอธิบดีอนุมัติใหบการิษัทเลือกนับสํแต ันใดวันหนึ่งของ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นครั้งแรก สํานักแต งานคณะกรรมการกฤษฎี านักวงานคณะกรรมการกฤษฎี

๗ ญญัติภาษีเงินกาไดปโตรเลียม (สํฉบั ่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๒๔ (๑๐) สํเพิานั่มกโดยพระราชบั งานคณะกรรมการกฤษฎี านับกทีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๘ มาตรา ๒๕ (๙) ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 245 -๘-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เดือนเดียวกัน กอนวั จําหนายปโตรเลียมนักา้นเปนครั้งแรกสํานัก็กใงานคณะกรรมการกฤษฎี หเริ่มนับแตวันที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กานที่บริษัทขายหรื สํานักองานคณะกรรมการกฤษฎี บริษัทเลือก สวนรอบระยะเวลาบัญชีตอๆ ไปใหเริ่มนับแตวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีกอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอ ไปนี้จ ะมี รอบระยะเวลาบัญกชีาใหมีกําหนดสิสําบนัสองเดื อน เวนแตในกรณี กําหนดนอยกวาสิบสองเดือนก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) บริษัทถือเอาวันใดวันหนึ่งเปนวันสิ้นสุดของรอบระยะเวลาบัญชีแรก (ข) ในกรณีที่บริษกัทาเลิกกิจการปสํโาตรเลี ยม ใหถือวันเลิกกิจกการป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า โตรเลียม เปนวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา(ค) บริษัทไดสํรานั​ับกอนุ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มัติจากอธิบดีใหเปลีก่ยานวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบั ญชี ในกรณีที่บริษัทโอนสิทธิใดๆ ตามสัมปทานกอนวันเริ่มรอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แรกตามวรรคสอง เพื่อประโยชนในการคํานวณกําไรสุทธิเนื่องจากการโอนสิทธิเชนวานั้น ใหถือ วันโอนเปนวันแรกและวั ญชี และในระยะเวลาตั วันสิ้นสุดรอบ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นสิ้นสุดของรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานั้งกแต งานคณะกรรมการกฤษฎี ระยะเวลาบัญชีดังกลาวจนถึงวันเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีแรกตามวรรคสอง ใหถือวาไมมีรอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลาบัญสํชีานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงหมวดนี้ วิธีการ หลักเกณฑ และการปฏิบัติทาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รายจายและกํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาเปนไปตามวิสํธาีกนัารหลั กงานคณะกรรมการกฤษฎี บัญชี เพื่อคํานวณรายได าไรสุทธิของบริษัท ให กเกณฑ และ กา การปฏิบัติทางบั ญชีที่เหมาะสมซึ่งใชอยูเปนปกติในอุตสาหกรรมป โตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ยอดเงินไดจากการขายปโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๑) ใหคํานวณตามราคา ที่ขายไดจริงซึ่งใชเปกนา เกณฑการคํสํานวณค าภาคหลวงตามกฎหมายว าดวยป ยม แตไมให กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัโตรเลี กงานคณะกรรมการกฤษฎี ปรับปรุงราคาเนื่องจากความแตกตางของคาขนสงตามกฎหมายนั้น เวนแตกรณีน้ํามันดิบที่สงออก สํานัจกริงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คํานวณตามราคามาตรฐาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถาราคาที่ขายได งต่ํากวาราคามาตรฐานให (๔) มูลคาของปโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๒) ใหคํานวณตามราคาตลาดซึ่งใช สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เป น เกณฑ ก ารคํ า นวณค า ภาคหลวงตามกฎหมายว า ด ว ยป โ ตรเลี ย ม แต ไ ม ใ ห ป รั บ ปรุ ง ราคา เนื่องจากความแตกต างของคาขนสงตามกฎหมายนั ้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๕) มูลคาของปโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๓) ใหคํานวณตามบทบัญญัติแหง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมที่เกี่ยวกัสํบานัการคํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กฎหมายวาดวยปโตรเลี านวณมูลคาปโตรเลีกายมที่สงชําระเปสํานนัคกงานคณะกรรมการกฤษฎี าภาคหลวง (๖) ถาบริษัทหนึ่งที่มีสวนไดเสียรวมกันในสัมปทานตองเสียคาใชจายในการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํารวจปโตรเลียมหรือการพัฒนาแหลงปโตรเลียมเพื่อใหไดมาซึ่งสวนไดเสียนั้น แตคาใชจายนั้น มิไดเสียใหแกบริษัทกอืา่นที่มีสวนไดเสํสีานัยกรวงานคณะกรรมการกฤษฎี มกันในสัมปทาน คาใช ือเปนเงินไดของ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาจายดังกลาวมิ สําในัหกถงานคณะกรรมการกฤษฎี บริษัทอื่นนั้น สํานั(๗) กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักเฉพาะตามประเภท งานคณะกรรมการกฤษฎี า และเงื่อนไข คาชดเชยรายจายทีก่เาปนทุน ใหหักสําได อัตกรา ที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๘)กาคาแรงงาน คสําานับริกงานคณะกรรมการกฤษฎี การ คาวัสดุสิ้นเปลืองกและรายจ ายทํสํานองเดี ยวกันอยางอืน่ ที่ใชในการเจาะเพื ่อสํารวจหรือเพื่อผลิกตาปโตรเลียม สํบริ ัทจะถือเปนรายจายทีก่เาปนทุนในรอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านัษกงานคณะกรรมการกฤษฎี ระยะเวลาบัญชีที่มีรายจายนั้นก็ได (๙)กา คารับรอง ใหสําหนั​ักกเป นรายจายไดตามเงื่อกนไขที สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี า ่กําหนดโดยกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 246 -๙-

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑๐) อื่น นอกจากสิ น คา ให ถ า ราคาทุ น เป น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ราคาทรั พสํยานัสกิ นงานคณะกรรมการกฤษฎี กาถื อ ตามราคาทุ สํานันกงานคณะกรรมการกฤษฎี เงินตราตางประเทศ ใหคํานวณเปนเงินตราไทยเชนเดียวกับวิธีการตาม (๑๒) ราคาทุนดังกลาว านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่เปนทุนตามสํา(๗) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สวนการตี อาจลดลงไดโสํดยการหั กคาชดเชยรายจายที แตหามมิใหตีราคาลดลง ราคาเพิ่มขึ้นใหกระทําไดเทาที่บัญญัติไวในประมวลรัษฎากร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๑) ราคาสินคาคงเหลือในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชีจะคํานวณตาม ราคาทุนก็ได สํหรื านวณตามราคาทุกนาหรือราคาตลาดแล วแตอยางใดจะนอยกว านัอกจะคํ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าก็ได และให ถือราคานี้เปนราคาสินคาคงเหลือยกมาสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีใหม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การคํานวณราคาทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นตามวรรคหนึ่งนัก้นา เมื่อไดคํานวณตามหลั กเกณฑใด กา ตามวิชาการบัญชีแลว ใหใชหลักเกณฑนั้นตลอดไป เวนแตจะไดรับอนุมัติจากอธิบดีจึงจะเปลี่ยน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักเกณฑได (๑๒) หรือสิทธิเรียกรองทีกา่มีมูลคาเปนเงิสํานนัตราต างประเทศที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินตรา หนี สํานั้สกินงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี รับมาหรือจายไปในระหวางรอบระยะเวลาบัญชีใหคํานวณมูลคาเปนเงินตราไทยตามอัตราที่ไดซื้อ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขายเงินตราตาสํงประเทศนั ้น ในกรณี ที่ มิ ไ ด มี ก ารซื้ อ ขายเงิ น ตราต า งประเทศ ให คํ า นวณเงิ น ตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ก า านัอกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่ยนถัวเฉลี่ยในรอบระยะเวลาหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตางประเทศ หนี้สิน หรือสิทธิเรียสํกร งนั้นตามอัตราแลกเปลี ่ ง กา เดือน กอนเดืสํอานันที ่ไดรับมาหรือจายไป โดยคิดจากอัสํตาราแลกเปลี ่ยนถัวเฉลี่ยรายวันที่ธนาคาร กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พาณิชยรับซื้อหรือขายเงินตราตางประเทศซึ่งธนาคารแหงประเทศไทยไดคํานวณไว (๑๓) น หรื อ สิ ท ธิ เ รี ย กร อ งที า งประเทศ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงิ น ตรา หนี สํานั้ สกิงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่ มี มู ล ค า เป นสํเงิานันกตราต งานคณะกรรมการกฤษฎี เหลืออยูในวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ใหคํานวณมูลคาเปนเงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนถัว กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เฉลี่ยหลังสุดทีสํา่ธนันาคารพาณิ ชยรับซื้อหรืกอาขายในรอบระยะเวลาบั ญชีแลวแตกรณีกซาึ่งธนาคารแหง ประเทศไทยไดคํานวณไว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๔) หนี้ สูญจะจํ า หน ายจากบัญชีไ ดตอเมื่อไดปฏิบัติ การโดยสมควรเพื่อ ให ไดรับชําระหนีสํ้แานัลกวงานคณะกรรมการกฤษฎี หนี้สูญรายใดที่ไดจําหน ชําระในภายหลังใหนกํามาคํ กา ายแลว ถาได สํานัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี า านวณเปน รายไดของรอบระยะเวลาบัญชีที่ไดรับชําระนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินสมทบกองทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัจกบํงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑๕) นสํารองเลี้ยงชีพหรืกอากองทุนบําเหน็ านาญจะถือเปน กา รายจายไดไมเกินรอยละ ๑๐ ของเงินเดือนหรือคาจางที่ลูกจางไดรับในรอบระยะเวลาบัญชี และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตองอยูภายใตเงื่อนไขตอไปนี้ ั้งไวเพื่อประโยชนแกลกูกา จางโดยเฉพาะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) กองทุสํนาได นักตงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ข) เงินกองทุนตองแยกไวตางหากใหพนจากการครอบครองของบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า า ไปใช เ พืสํ่ อานัประโยชน กงานคณะกรรมการกฤษฎี (ค) เงิ น กองทุ นกจะนํ อ ย า งอื่ น ไม ไกดาน อกจากเพื่ อ ประโยชนแกกองทุนโดยเฉพาะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ง) เงินสมทบกองทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นของบริษสํัทานัอีกกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นตองไมกลับคืนมาเป และ (จ) เงินสมทบกองทุ อผูกพันที่มีระเบียบว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นตองจายตามข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าดวยกองทุน กําหนดไวเปนหนังสือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 247 - ๑๐ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๙ (๑๖ เปนผูไดรับสัมปทานสํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา) ในกรณีที่บสํารินัษกัทงานคณะกรรมการกฤษฎี กาาหรับแปลงสํสํารวจหลายแปลงโดย นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

แปลงสํารวจบางแปลงอยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ กอน านัมกโดยพระราชบั งานคณะกรรมการกฤษฎี า เงินไดปโตรเลี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การแกไขเพิ่มสํเติ ญญัติภกาษี ม(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ และบาง แปลงอยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ ใหบริษัทดังกลาวคํานวณรายได รายจายและกํสําาไรสุ ทธิสําหรับแปลงสํารวจที ญญัตินั้นๆ กเสมื นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่อยูภายใตบสํังาคันับกพระราชบั งานคณะกรรมการกฤษฎี า อนหนึ่งเปน บริษัทแยกตางหากจากกัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การคํานวณรายได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี และรายจายสําหรับกแปลงสํ ารวจตามวรรคหนึ ่ง ถารายได กา และรายจายรายการใดไมสามารถแยกกันไดโดยชัดแจง ใหเฉลี่ยรายไดและรายจายตามเงื่อนไข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๗ รายไดเมื่อไดหักรายจายตามปกติและจําเปนออกแลวผลลัพธเปน ผลกําไรประจํสําปานัหกรืงานคณะกรรมการกฤษฎี อผลขาดทุนประจําป กแล า วแตกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ี่มีผลกําไรประจําป ใหกหาักลดหยอนไดสํดานั​ังตกงานคณะกรรมการกฤษฎี อไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๘ ในกรณี สํานัทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๑) ผลขาดทุนประจําปของรอบระยะเวลาบัญชีใดๆ ในสิบรอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กอนรอบระยะเวลาบั ญชีปจจุบัน ผลขาดทุนประจําป เมื่อไดนําไปหักลดหยอนในรอบระยะเวลาบัญชีใดแลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ก า นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กลดหยอนในรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หากยังมีผลขาดทุนประจําปคงเหลืสํอาเป จํานวนเทาใด ใหนําไปหั ญชี กา ตอไปไดเพียงเท าจํานวนที่เหลือนั้น แตทั้งนี้ตองไมเกินสิสําบนัรอบระยะเวลาบั ญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) เงินบริจาครวมทั้งสิ้นไมเกิน รอยละ ๑ ของผลกําไรประจําป หลังจากหั ก ลดหยอนตาม (๑) กแลา ว ทั้งนี้ เฉพาะเงิ นบริจาคดังตอไปนี้ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) เงินที่บริจาคแกสถานพยาบาลและสถานศึกษาของทางราชการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (ข) เงินที่บริจาคเปกนา สาธารณประโยชน แกองคการหรือสถานสาธารณกุ ศล หรือแกสถานพยาบาลและสถานศึกษาอื่นนอกจากที่กลาวใน (ก) ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดในราชกิจจานุเบกษา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๒๙ ในกรณีที่มีการโอนกิจการปโตรเลียม ใหบริษัทผูรับโอนถือเอาผล ขาดทุนประจําปคงเหลื ่อประโยชนในการหั ๒๘ (๑) กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อของบริษสํัทาผูนัโกอนเพื งานคณะกรรมการกฤษฎี กา กลดหยอนตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นับแตรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการโอนเปนตนไปไดเสมือนหนึ่งวามิไดมีการโอนกิจการปโตรเลียม สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สําานัยแก กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่คาตอบแทนที่บการิษัทผูรับโอนจ บริษัทผูโอนเนื่องในการโอนกิ จการ ปโตรเลียมต่ํากวาผลบวกของมูลคาทรัพยสินหลังจากหักคาชดเชยรายจายที่เปนทุนแลว กับผล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขาดทุนประจําปคงเหลือของบริษัทผูโอนแตสูงกวามูลคาทรัพยสินดังกลาว ผลขาดทุนประจําป คงเหลือที่บริษสํัทานัผูกรงานคณะกรรมการกฤษฎี ับโอนจะถือเอาตามวรรคหนึ ่ง ใหจําสํกัาดนัอยู เพียงเทาผลตางระหวกาางคาตอบแทน กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๙ มาตรา ๒๖ (๑๖) เพิ่มโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 248 - ๑๑ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ดังกลาว กับมูลคาทรั คาชดเชยแลวเทานั้นกาถามีผลขาดทุสํนาประจํ าปคงเหลือยก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาพยสินหลังจากหั สํานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาจากหลายรอบระยะเวลาบัญชี ใหเฉลี่ยจํานวนสวนแตกตางตามสวนของผลขาดทุนคงเหลือของ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แตละรอบระยะเวลาบั ญชี ในกรณีที่คาตอบแทนตามวรรคสองมีจํานวนไมเกินมูลคาทรัพยสินหลังจากหัก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาชดเชยแลว บริษัทผูรับโอนจะถือเอาผลขาดทุนประจําปคงเหลือของบริษัทผูโอนเพื่อประโยชน ในการหัก ลดหย นตามมาตรา ๒๘ (๑) ติ ต ามวรรคสองและวรรคสาม มิ ใ ห สํานักองานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไม ไ ด บ ทบัสํญ านัญักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นํามาใชบังคับในกรณีการโอนสัมปทานตามมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๕๑๔ บทบั ญ ญั ติ ต ามวรรคสองและวรรคสาม มิ ใ ห นํ า มาใช บั ง คั บ ในกรณี ก ารโอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สัมปทานตามมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(ยกเลิ ) สํานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๐ ผลกําไรประจําปเมื่อไดหักลดหยอนตามมาตรา ๒๘ ออกแลวเหลือ เทาใด เปนกําสํไรสุ ธิที่ตองเสียภาษีเงินไดกตา ามมาตรา ๒๐ านักทงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๓๑

๑๐

๓๒ ในกรณี ทกาี่ บ ริ ษั ท ผู ไ ด รสํั บานัสักมงานคณะกรรมการกฤษฎี ปทานหรื อ มี ส ว นไดกเาสี ย ร ว มกั น ใน สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สัมปทานขายน้ํามันดิบใหแกบริษัทผูซื้อเพื่อสงน้ํามันดิบนั้นทั้งหมดออกนอกราชอาณาจักร ถา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตามมาตราสํา๒๐ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักจงานคณะกรรมการกฤษฎี บริษัทผูซื้อตองเสียภาษี เปนจํานวนเทาใดใหกบาริษัทผูขายนําสํภาษี ํานวนนั้นมาเปน กา เครดิตหักออกจากภาษีที่บริษัทผูขายตองเสียในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกันได แตตองไมเกิน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จํานวนภาษีที่บสํารินัษกัทงานคณะกรรมการกฤษฎี ผูขายตองเสีย ในกรณี ้อน้ํามันดิบในราคาต่กําากวาราคามาตรฐานและขายไปใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่บ ริษัทผูสํซานัื้อกซืงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราคาที่สูงกวาราคามาตรฐาน เครดิตที่บริษัทผูขายจะหักตามวรรคหนึ่งตองไมเกินสวนของจํานวน ภาษีที่บริษัทผูสํซาื้อนัเสี ยสําหรับผลตางระหวกาางราคามาตรฐานกั ราคาที่บริษัทผูซื้อซื้อกน้าํามันดิบ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักบงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ผู ซื้ อ ซื้ อ น้ํ า มั น ดิ บ ในราคามาตรฐานหรื อ ราคาที่ สู ง กว า ราคา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตตามวรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรฐาน ไมใหหักเครดิ ่ง สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัตกามมาตรา งานคณะกรรมการกฤษฎี ๓๓ การหัก ตกนาทุ น จากเงิ น ได ๒๑ ให หักกไดา เ พี ย งเทา ผล

ขาดทุนประจําปคงเหลือตามมาตรา ๒๘ (๑) ของบริษัทผูโอนกิจการปโตรเลียม ทั้งนี้ ตองเปนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๓ การยื แบบแสดงรายการเงินกาได สํานัก่นงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๑

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๔ บริษัทมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได ดังตอไปนี้

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๐ มาตรา ๓๑ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 249 - ๑๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑)กายื่นแบบแสดงรายการเงิ นไดทุกครึ่งรอบระยะเวลาบั ญชีสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๒) ยื่นแบบแสดงรายการเงินไดทุกรอบระยะเวลาบัญชี สํานัการยื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นไดตามสํ(๑) านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ่นแบบแสดงรายการเงิ ใหบริษัทมีหนาที่จัดทํกาาประมาณการ กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่จะพึงมีสําหรับระยะเวลาบัญชีนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความในวรรคสอง มิใหใชบังคับแกบริษัทซึ่งมีรอบระยะเวลาบัญชีแรกหรือรอบ ระยะเวลาบัญสํชีาสนัุดกทงานคณะกรรมการกฤษฎี ายนอยกวาสิบสองเดืกอาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บริ ษั ท ที่ มี ส ว นได เ สี ย ร ว มกั น ในสั ม ปทานแต ล ะบริ ษั ท มี ห น า ที่ ยื่ น แบบแสดง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วนที่เกี่ยวกับสํรายได านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รายการเงินไดเฉพาะส ซึ่งเปนสวนของบริษกัทา เอง บริษั ทที่เปนผูไดรับสัมปทานสําหรับแปลงสํารวจหลายแปลงตามมาตรา ๒๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๖) มีหนาที่ตองยื่นแบบแสดงรายการเงินไดตาม (๑) และ (๒) เสมือนหนึ่งเปนบริษัทแยก ตางหากจากกัน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๓๕ การยื่นแบบแสดงรายการเงิ ตามหมวดนี้ ใหกรรมการผู มีอํานาจ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานันกได งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ทําการแทนบริษัทมีหนาที่ยื่นแทนบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่บริษัททีสํ่ตาั้งนัขึก้นงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณี ตามกฎหมายตางประเทศมี หนาที่เสีสํายนัภาษี ไมมีกรรมการ กา ผูมีอํานาจทําการแทนบริษัทอยูในราชอาณาจักร ใหผูทํากิจการแทนบริษัทที่อยูในราชอาณาจักรใน งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สวนที่เกี่ยวกับสํเงิานันกได อันตองเสียภาษีตามพระราชบั ญญัสํตาินนัี้มกงานคณะกรรมการกฤษฎี ีหนาที่ยื่นแทนบริษัท กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๓๖ ในกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ที่ บ ริ ษั ท ควบเข า กั น กถาา บริ ษั ท เดิ ม ยัสํางนัมิกไงานคณะกรรมการกฤษฎี ด ยื่ น แบบแสดง กา

รายการเงินไดสําตนัามมาตรา ๓๔ ใหบริษัทที่ตั้งขึ้นใหมสํโดยการควบเข ากันมีหนาที่ยื่นแบบแสดง กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รายการเงินไดแทนบริษัทเดิม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๗ ในกรณีที่มีการโอนกิจการปโตรเลียม ถาบริษัทผูโอนไมยื่นแบบ แสดงรายการเงิ ภายในเวลาที่กําหนดและเจ าพนัสํกางานประเมิ นไดแจงการไมกายื่นแบบแสดง สํานันกได งานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี รายการนั้นตอบริษัทผูรับโอนแลว ใหบริษัทผูรับโอนยื่นแบบแสดงรายการเงินไดแทนบริษัทผูโอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๘ ในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการปโตรเลียม ใหผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ผมู ห รายการแทนตามมาตรา ๓๕ มีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงิ นได ถามีผูชําระบัญชีกให ี นาทีย่ นื่ แบบแสดงรายการแทนตามมาตรา ๓๕ กับผูชําระบัญชีมีหนาที่รวมกันยื่นแบบแสดงรายการเงินได

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๓๙ แบบแสดงรายการเงินได ใหใชแบบที่อธิบดีกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินไดกรอกรายการในแบบนั้นโดยครบถวน และใหยื่นเอกสารประกอบตามที ่อสํธิาบนัดีกงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดไปพรอมดวย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๑ มโดยพระราชบัญญัติภาษี บที่ ๔) พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๓๔ แกไขเพิ สํานั่มกเติงานคณะกรรมการกฤษฎี กาเงินไดปโตรเลีสํยามนั(กฉบั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๓๒


Page 250 - ๑๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา นไดกาใหยื่นตอเจาสํพนั งาน ณ สถานที่ที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๐ การยืสํ่น านัแบบแสดงรายการเงิ กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักกงานคณะกรรมการกฤษฎี อธิบดีกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๒

มาตรา ๔๑ การยื่นแบบแสดงรายการเงินไดตามมาตรา ๓๔ (๑)ใหยื่นภายใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชีนั้น และการยื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สองเดือนนับแตวันกสุาดทายของวันสํครบกํ าหนดครึ่งรอบระยะเวลาบั ่นแบบแสดง กา รายการเงินไดตามมาตรา ๓๔ (๒) ใหยื่นภายในหาเดือนนับแตวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การยื่ น แบบแสดงรายการตามมาตรา ๓๗ ให ยื่ น ภายในเวลาที่ เ จ า พนั ก งาน ประเมินกําหนด แตกตาองไมนอยกวสําาสามสิ บวันนับแตวันไดรับกแจ น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า งการไมยื่นแบบแสดงรายการเงิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ไดของบริษัทผูโอนกิจการปโตรเลียม สํานัการยื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานั๕๙ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ เ จ า พนั ก งาน ่ น แบบแสดงรายการตามมาตรา ให ยื่ น ภายในเวลาที ประเมินกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การชําระภาษี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๒ การชําระภาษีตามมาตรา ๒๐ ใหชําระตอเจาพนักงาน ณ สถานที่ที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

อธิบดีกําหนด

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การชํ ่ง บริษัทจะยื่นคํากขอชํ างประเทศสกุล กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าระภาษีตามวรรคหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า าระเปนเงินสําตราต นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ใดก็ ได เมื่ออธิ บดี โ ดยความเห็ นชอบของรั ฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควรจะอนุมั ติใหชํ า ระเป น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ธีการที่กําสํหนดก็ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินตราตางประเทศสกุ ลนั้นตามเงื่อนไขและวิ ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๓ ถามีสํภานัาษี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ตองเสีย ใหบริษัทที่มกีหา นาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงิ นได กา

ตามหมวด ๓ ชําระภาษีภายในหาเดือนนับแตวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีพรอมกับการยื่นแบบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แสดงรายการเงิ นได ในกรณี วรรคสอง ใหผูมีหกนาาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงิ นได มี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตามมาตรา สํานั๓๕ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หนาที่ชําระภาษีรวมกับบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๓ ทวิ๑๓ การยื่นแบบแสดงรายการเงินไดตามมาตรา ๓๔ (๑) ถามีภาษี ตองเสีย ใหบริษัทคํกาานวณและชําระภาษี จากจํานวนกึ่งหนึ่งของประมาณการกํ ทธิตามมาตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัากไรสุ งานคณะกรรมการกฤษฎี ๓๔ วรรคสอง พรอมกับการยื่นแบบแสดงรายการเงินได สํานัภาษี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่ง ใหถือเปนสํเครดิ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่ชําระตามวรรคหนึ ตในการคํานวณภาษีกทาี่ตองชําระตาม มาตรา ๔๓

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานั๑๒กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๔๑ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๓ มาตรา ๔๓ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒


Page 251 - ๑๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ี่เจาพนักงานประเมินได ๖ใหผูมีหนาที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๔ ในกรณี สํานัทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ประเมินตามหมวด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ชําระภาษีชําระภาษีนั้นภายในสามสิบวันนับแตวันไดรับแจงการประเมิน เวนแตการประเมินตาม งานคณะกรรมการกฤษฎี า กงานประเมิ สํานนักกํงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ๕๙ ใหสํชานัํากระภาษี ภายในเวลาที่เจากพนั าหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หมวด ๕

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การหักภาษี ณ ที่จาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๕ ใหบสํริาษนั​ัทกซึงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา มาตรา ่งเปนผูจายเงินไดตามมาตรา ๒๑ มีสํหานนัากทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ่

(๑) หักภาษีไว ณ ที่จายทุกคราวที่จายเงินไดนั้นในอัตราตามมาตรา ๒๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จาย (๓)กา นําสงภาษีที่ตสําอนังหั กตาม (๑) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การหักภาษีตาม (๑) ใหคํานวณหักตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกฎกระทรวงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๖ การยืสํ่นานัแบบแสดงรายการหั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ณ ที่จายตามหมวดนี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา กภาษี ้ใหกรรมการ กา

ผูมีอํานาจทําการแทนบริษัทมีหนาที่ยื่นแทนบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศมีหนาที่หักภาษี ณ ที่จายไมมี กรรมการผู มี อํา นาจทํ อยู ใ นราชอาณาจักรกาใหผู ทํา กิ จ การแทนบริ ษั ทที่ อยู ใ น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า การแทนบริ สํานัษกั ทงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ราชอาณาจักรในสวนที่เกี่ยวกับเงินไดที่จายตามมาตรา ๒๑ มีหนาที่ยื่นแทนบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๗ ในกรณีที่บริษัทควบเขากัน ถาบริษัทซึ่งเปนผูจายเงินไดตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักกภาษี งานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๑ ยังมิไดยื่นแบบแสดงรายการหั ณ ที่จาย ใหบริษกัทาที่ตั้งขึ้นใหมโสํดยการควบเข ากัน มี กา หนาที่ยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จายแทนบริษัทเดิม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๘ ในกรณีที่มีการโอนกิจการปโตรเลียม ถาบริษัทผูโอนไมยื่นแบบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แสดงรายการหักภาษี ณ ที่จายภายในเวลาที ่กําหนด และเจาพนักงานประเมิ นไดแจงการไมยื่น แบบแสดงรายการนั ้นตอบริษัทผูรับโอนแล ่นแบบแสดงรายการหั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ว ใหบริษัทผูสํรานั​ับกโอนยื งานคณะกรรมการกฤษฎี กา กภาษี ณ ที่ จายแทนบริษัทผูโอน

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๔๙ ในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการปโตรเลียม ใหผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดง รายการแทนตามมาตรา ๔๖ มีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการหั กภาษี ณ ที่จาย ถามีผกาูชําระบัญชีใหผู สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการแทนตามมาตรา ๔๖ กับผูชําระบัญชีมีหนาที่รวมกัน ยื่นแบบแสดง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รายการหักภาษี ณ ทีก่จา าย สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๐ แบบแสดงรายการหั กภาษีสําณนักทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ่จาย ใหใชแบบที่อธิบกดีา กําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 252 - ๑๕ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ใหกผาูมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการหั กภาษี ณกาที่จาย กรอกรายการในแบบนั ้นโดย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ครบถวน และใหยื่นเอกสารประกอบตามที่อธิบดีกําหนดไปพรอมดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๑ การยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จายใหยื่นภายในเจ็ดวันนับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แตวันจายเงินไดตามมาตรา ๒๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การยื่ น แบบแสดงรายการตามมาตรา ๔๘ ให ยื่ น ภายในเวลาที่ เ จ า พนั ก งาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประเมินกําหนด แตตองไมนอยกวาสามสิบวันนับแตวันไดรับแจงการไมยื่นแบบแสดงรายการของ บริษัทผูโอนกิจการปกโาตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การยื่ น แบบแสดงรายการตามมาตรา ๕๙ ให ยื่ น ภายในเวลาที่ เ จ า พนั ก งาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประเมินกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๒ ใหบสํริาษนั​ัทกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัณ กงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ที่มีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการหั กภาษี ที่จายนําสงภาษี กา

ในเจ็ดวันนับแตวันจายเงินไดตามมาตรา ๒๑ พรอมกับการยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ทีจ่ า ย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามมาตรา ๕๑ ในกรณี วรรคสอง ใหผูมีหนกาาที่ยื่นแบบแสดงรายการหั กภาษี ณ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตามมาตรา สํานั๔๖ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่จาย มีหนาที่นําสงภาษีรวมกับบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๓ ในกรณีที่เจาพนักงานประเมินไดประเมินตามหมวด ๖ใหผูมีหนาที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานับกวังานคณะกรรมการกฤษฎี า นําสงภาษี นําสงภาษีกนา ั้นภายในสามสิ นนับแตวันไดรับแจงกการประเมิ น เวสํนานัแตกงานคณะกรรมการกฤษฎี การประเมินตาม กา มาตรา ๕๙ ใหนําสงภาษีภายในเวลาที่เจาพนักงานประเมินกําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๔ การยื่นแบบแสดงรายการและการนําสงภาษีตามหมวดนี้ใหยื่นและ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นําสงตอเจาพนักงานกาณ สถานที่ที่อสําธินับกดีงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนด

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๕ ผู มี ห น า ที่ หั ก ภาษี ณ ทีสํ่ จานั า ยกงานคณะกรรมการกฤษฎี ซึ่ ง มิ ไ ด หั ก ภาษี ห รื อกหัาก ภาษี โ ดยไม ถูกตองก็ดี ตองรับผิกดารวมกับบุคคลซึ รับเงินไดตามมาตรากา๒๑ ในการชําสํระภาษี นั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานั่งกได งานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในกรณีที่ผูมีหนาที่หักภาษี ณ ที่จาย ไดหักภาษี ณ ที่จายไวแลวแตมิไดนําสงภาษี หรือนําสงภาษีสําโนัดยไม ถูกตองก็ดี ใหบุคคลซึ ามมาตรา ๒๑ พนความรั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งไดรับเงินสํได านัตกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บผิดในการ เสียภาษีเทาจํานวนที่ผูมีหนาที่หักภาษี ณ ที่จาย ไดหักภาษีไว และใหผูมีหนาที่หักภาษี ณ ที่จาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นั้นแตฝายเดีสํายนัวกงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รับผิดในการชําระภาษี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 253 - ๑๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

อํานาจเจาพนักงานประเมิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา นมีอํานาจประเมิ บ และเงินเพิ่ม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๕๖ เจาพนั สํานักงานประเมิ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา นภาษี เบี สํา้นัยกปรั งานคณะกรรมการกฤษฎี ตามพระราชบัญญัตินี้ เมื่อ สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานันกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ผู มี ห น า ที่ ยื่ น แบบแสดงรายการเงิ ได มิไ ดยื่ น แบบแสดงรายการเงิ น ได ภายในเวลาที่กําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินไดยื่นแบบแสดงรายการเงิ นไดไวไ ม ถูกตองหรือมีขสําอนัผิกดงานคณะกรรมการกฤษฎี พลาด ทําใหจํานวนภาษี ่อนไป กา ที่ตองเสียคลาดเคลื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๓) บริษัทหรือผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินไดไมปฏิบัติตามหมายเรียก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นหรือไมตสําอบคํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มีอํานาจไตสํสานัวนโดยไม กงานคณะกรรมการกฤษฎี ของเจาพนักงานประเมิ าถามของเจาพนักงานผู มีเหตุอัน กา สมควร หรือไมสามารถแสดงหลักฐานในการคํานวณภาษีหรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) บริษัทมิไดหักภาษี ณ ที่จาย หรือมิไดยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่ จาย หรือมิไดนําสงภาษี ๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โดยถูกตองตามหมวด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๕๗ เพื่ อ ประโยชน น การตามมาตรา ๕๖กา เจ า พนั ก งาน สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ใ นการดํสําานัเนิกงานคณะกรรมการกฤษฎี ประเมินมีอํานาจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นไดตามหลัสํกาฐานที นักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)กา จัดทํารายการลงในแบบแสดงรายการเงิ ่เห็นวาถูกตอง กา

เมื่อมิไดมีการยื่นแบบแสดงรายการเงินได สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม รายการในแบบแสดงรายการเงิ น ได ห รื อ ในเอกสารที ่ ยื่ น ประกอบแบบแสดงรายการเงิ นไดเสํพืานั่อกใหงานคณะกรรมการกฤษฎี ถูกตอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ปรับปรุงจํานวนรายไดและรายจายของบริษัทเพื่อใหไดจํานวนที่บริษัทควร ไดรับและจายถ ษัทไดดําเนินการโดยอิ สระ แต ษัทมิไดดําเนินการโดยอิ สํานัากหากบริ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําบ นักริงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สระเพราะมี ความสัมพันธในดานทุนหรือการจัดการกับบริษัทหรือบุคคลอื่น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักองานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัยกมตามราคาตลาด งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔)กากําหนดราคาหรื มูลคาของทรัพยสินหรืกาอกิจการปโตรเลี ในวันโอน เมื่อการโอนทรัพยสินหรือกิจการปโตรเลียมนั้นไมมีคาตอบแทนหรือมีคาตอบแทนต่ํา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กวาราคาตลาดโดยไมมีเหตุอันสมควร (๕)กา กําหนดกําไรสุ หรือเงินไดตามที่รูเห็กนาหรือพิจารณาว กตองเมื่อมีกรณี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัทกธิงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัากถูงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามมาตรา ๕๖ (๓) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๘ ในการดําเนินการตามมาตรา ๕๖ หรือมาตรา ๕๗ เจาพนักงาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ประเมินมีอํานาจ กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) ออกหมายเรียกผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินไดหรือแบบแสดงรายการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หักภาษี ณ ที่จายและออกหมายเรียกพยานมาใหถอยคํา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 254 - ๑๗ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๒)กา ออกคําสั่งใหสําผนัูมกีหงานคณะกรรมการกฤษฎี นาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงิ นไดหสํรืาอนัแบบแสดงรายการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หักภาษี ณ ที่จายและออกคําสั่งใหพยานตอบคําถามเปนหนังสือ หรือสงบัญชีหลักฐานรายงาน งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือเอกสารอืสํ่นาอันันกควรแก กรณีมาตรวจสอบไต ทั้งนี้ ตองใหเวลาแกผูรับหมายเรียกหรือคําสั่งไมนอยกวาเจ็ดวันนับแตวันไดรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมายเรียกหรือคําสั่งนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๕๙ ในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนในการจัดเก็บภาษีเจาพนักงานประเมิน มีอํานาจสั่งใหยื่นแบบแสดงรายการเงิ ไดหรือแบบแสดงรายการหั กภาษี ณสํานัทีก่จงานคณะกรรมการกฤษฎี าย และมีอํานาจ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ประเมินภาษี สั่งใหเสียภาษีหรือนําสงภาษีกอนกําหนดเวลาตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๐ เมื่อเจาพนักงานประเมินไดประเมินแลว ใหแจงการประเมินเปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า อผูมีหนาทีสํ่ชาํานัระภาษี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี หนังสือไปยังบริษัทกหรื หรือนําสงภาษี ในกรณี นี้จะอุทสํธรณ การประเมินก็ได กา เวนแตการประเมินตามมาตรา ๕๖ (๓) หามมิใหอุทธรณการประเมิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การอุทธรณตามวรรคหนึ่ง ใหนําบทบัญญัติตามประมวลรัษฎากรที่เกี่ยวกับการ อุทธรณมาใชบังคับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๑ การประเมิ งานประเมิ น ให ก ระทํ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา น ของเจ าสํพนั านักกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า ได ภ ายใน กําหนดเวลาดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ น แบบแสดงรายการเงิ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑)กา หา ปนับแตสํวาันนัสุกดงานคณะกรรมการกฤษฎี ทายแหงกํ าหนดเวลายื นไดตาม กา มาตรา ๔๑ วรรคหนึ่ง วันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จายตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํา่อนักธิงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ๕๑ วรรคหนึ ่ง หรือวันสุดทายแหกงากําหนดเวลาที บดีขยายหรือเลื่อนออกไปตามมาตรา ๕ แลวแตกรณี ทั้งนีก้าเฉพาะในกรณี ริษัทไดยื่นแบบแสดงรายการภายในกํ งกลาว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําทนักี่บงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สําานัหนดเวลาดั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๒) หาปนับแตวันที่บริษัทยื่นแบบแสดงรายการเงินไดหรือแบบแสดงรายการ หักภาษี ณ ทีสํ่จาานัยกงานคณะกรรมการกฤษฎี ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีกทา ี่ บริษัทยื่นแบบแสดงรายการภายหลั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีงกวัาน สุด ทา ยแห ง กําหนดเวลาดังกลาวใน (๑) แตตองไมเกินสิบปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รายการ (๓) สิบปนับแตวันสุดทายแหงกําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการเงินไดหรือแบบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แสดงรายการหักภาษี ณ ที่จาย ในกรณีที่บริษัทมิ ไดยื่นแบบแสดงรายการหรือยื่นแบบแสดง รายการเท็จเพื่อหลีกกาเลี่ยงหรือพยายามหลี กเลี่ยงการเสียภาษี หรือยื่นแบบ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หรือการนําสํสานังภาษี กงานคณะกรรมการกฤษฎี แสดงรายการโดยแสดงจํานวนรายไดหรือภาษีที่ตองนําสงขาดไปเกินรอยละ ๒๕ ของจํานวน สําทนัี่ตกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รายไดหรือภาษี องนําสงในแบบแสดงรายการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 255 - ๑๘ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๒

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๔

ใหสํบานัริษกงานคณะกรรมการกฤษฎี ัทเสียเบี้ยปรับในกรณีกแาละตามอัตราดัสํงานัตกองานคณะกรรมการกฤษฎี ไปนี้ กา (๑) ถามิไดยื่นแบบแสดงรายการเงินไดตามมาตรา ๓๔ (๑) ภายในกําหนดเวลา สํานักวรรคหนึ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามมาตรา ๔๑ ่ ง หรื อ ยื่ น แบบแสดงรายการเงิ น ได ต ามมาตรา ๓๔กา (๑) ภายใน กําหนดเวลา โดยแสดงประมาณการกําไรสุทธิตามมาตรา ๓๔ วรรคสอง ขาดไปเกินรอยละ ๒๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ของกําไรสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีนั้นโดยไมมีเหตุอันสมควร ใหเสียเบี้ยปรับอีกรอยละ ๒๐ ของ ภาษีที่ตองชําระตามมาตรา ๔๓ ทวิ หรือของภาษี ที่ชําระขาด แลวแตกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๒) ถา มิ ไ ด ยื่น แบบแสดงรายการเงิ น ไดภ ายในกํา หนดเวลาตามมาตรา ๔๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าหนดเวลาตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อเลื่อนออกไปตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี วรรคหนึ่ง หรือภายในกํ ๓๔ (๒) ที่ขยายหรื ๕ ให กา เสียเบี้ยปรับอีกหนึ่งเทาของภาษี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ถายื่นแบบแสดงรายการเงินไดไมถูกตองหรือมีขอผิดพลาดทําใหจํานวน ภาษีที่ตองเสียลดนอกยลง บอีกรอยละ ๒๐ ของภาษี ม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ใหเสียเบีสํ้ยาปรั นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่ประเมินเพิ สํา่มนัเติ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๔) ถามิไดหักภาษี ณ ที่จาย หรือมิไดยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ภายในกําหนดเวลาตามหมวด ๕ หรือยืก่นา แบบแสดงรายการหั กภาษี ณ ที่จายไมกาถูกตอง ทําให จํานวนภาษีที่นําสงนั้นนอยไปกวาจํานวนที่ควรตองนําสงใหเสียเบี้ยปรับอีกรอยละ ๒๐ ของภาษีที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มิไดหัก ณ ที่จาย หรืกอา ที่มิไดยื่นแบบแสดงรายการหรื อที่ยื่นแบบแสดงรายการขาดไป แลวแตกรณี กา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๓ บริษัทใดมิกไาดชําระหรือนํสําาสนังกภาษี ภายในกําหนดเวลาตามหมวด ๔

หรือหมวด ๕ หรือชํกาาระหรือนําสงสํขาดจากจํ านวนที่ควรตองชํกาาระหรือนําสง สํใหานัเกสีงานคณะกรรมการกฤษฎี ยเงินเพิ่มอีกรอย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ละ ๑ ตอเดือนหรือเศษของเดือนของภาษีที่ตองชําระหรือชําระขาดหรือที่ตองนําสงหรือนําสงขาด โดยไมรวมเบี้ยสําปรั ตามมาตรา ๖๒ การคํกานวณเงินเพิ่มสํดัานังกกลงานคณะกรรมการกฤษฎี าวมิใหคิดทบตน กา นักบงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณีที่อธิบดีสั่งใหขยายหรือเลื่อนกําหนดเวลาชําระหรือนําสงภาษีตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อนําสงภาษีสําภนัายในกํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อเลื่อนใหนสําั้นนักเงิงานคณะกรรมการกฤษฎี ๕ และไดมีการชําระหรื าหนดเวลาที่ขยายหรื นเพิ่มตามวรรค กา หนึ่งใหลดลงเหลือรอยละ ๐.๕ ตอเดือนหรือเศษของเดือน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การคํานวณเงินเพิ่มทุกกรณีตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหเริ่มนับแตวันสุดทาย แห งกํ า หนดเวลายืก่ นาแบบแสดงรายการเงิ น ได ต ามมาตราก๔๑ วั น สุ ด ท า ยแห ง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า วรรคหนึสํ่ งาหรื นักองานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดเวลายื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จายตามมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง แลวแตกรณี เวน นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า วันสุดทายแห สํานังกเวลาที งานคณะกรรมการกฤษฎี กา นกําหนด แตการประเมิสํนาตามมาตรา ๕๙ ใหเริ่มนับกแต ่เจาพนักงานประเมิ เงินเพิ่มตามมาตรานี้มิใหเกินจํานวนภาษีที่ตองชําระหรือนําสงโดยไมรวมเบี้ย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๔ มโดยพระราชบัญญัติภาษี บที่ ๔) พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีมาตรา กา ๖๒ แกไขเพิ สํานั่มกเติงานคณะกรรมการกฤษฎี กาเงินไดปโตรเลีสํยามนั(กฉบั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๓๒


Page 256 - ๑๙ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา นเพิ่มอาจงดหรือกลดลงได ตามหลั และวิธกี ารที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๔ เบี้ยปรั สํานับกและเงิ งานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักกเกณฑ งานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ เพื่อใหไดรับชําระเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ใหถือวาเบี้ยปรับและเงิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพิ่มตามหมวดนี้เปนกภาษี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาหมวด ๗ ทวิสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

บทบัญญัติเฉพาะกรณี๑๕ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ ทวิ ความในหมวดนี ้ใหใชสํบานั​ังกคังานคณะกรรมการกฤษฎี บแกบริษัทซึ่งไดทําสัญกาญาปโตรเลียม

กอนป พ.ศ. ๒๕๑๒ และไดทําสัญญาซื้อขายกาซธรรมชาติกับองคการกาซธรรมชาติแหงประเทศ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไทยกอนป พ.ศ. ๒๕๒๒ และบริษัทอื่นตามที่จะไดมีพระราชกฤษฎีกากําหนด นําบทนิยามคําวา “เงิกนาได” “จําหนาสํยานั”กและ “บริษัท” ในมาตรา สํานัให กงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ ตรี มาใช แทนบทนิยามของคําเหลานั้นในมาตรา ๔ และใหนําความในมาตรา ๖๕ จัตวามาตรา ๖๕ เบญจ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า มาตรา ๖๕ สํานัทศ กงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ๖๕ ฉ มาตรากา ๖๕ สัตต มาตรา ๖๕ อัฏฐ มาตรา ๖๕กนว และมาตรา ๖๕ กา เอกาทศ มาใชบังคับแทนความใน มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๓๑ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ตามลําดับ สําหรับบริษัทตามวรรคหนึ่ง มิใกหานําคํานิยาม สํ“าราคามาตรฐาน ” ในมาตรา ๑๓ มาตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔ กับความในมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๑๘ และมาตรา ๓๒ มาใชบังคับกับบริษัทตามวรรคหนึ่ง สํานัให กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่น แหง พระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นําบทบั ญญัติใ นหมวดอื ญญัตินี้มาใชบังคับกากับ บริษั ทตาม วรรคหนึ่งไดเทาที่ไมขัดหรือแยงกับบทบัญญัติในหมวดนี้ และที่ใดบัญญัติถึง“เงินได” “จําหนาย” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ง “เงินไดสํ”านั“กจํงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี าหนาย” หรือ “บริษัทก”า ตามลําดับตามหมวดนี ้ และที่ใดที่ กา หรือ “บริษัท” ใหหมายถึ อางถึง มาตราสํา๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๔ ๒๖ มาตรา ๓๑ มาตรา ๔๑ และ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ๒๕สํามาตรา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ๔๓ ใหหมายถึ งมาตรา ๖๕ จัต วา มาตรา ๖๕ เบญจ มาตรา ๖๕ ฉ มาตรา ๖๕ สัต ต มาตรา ๖๕ อัฏฐ มาตรา ๖๕ ทศ และมาตรา ๖๕ ดับตามหมวดนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ นว มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เอกาทศ ตามลํ สํานักางานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๖๕ ตรี ในหมวดนี สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้ “เงินได”

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายความวา เงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอยางอื่นที่ไดมาอันอาจคิด

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คํานวณไดเปนเงินและหมายความรวมถึ งภาษีอากรที่มีผูอื่นออกแทนให

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

“จําหนาย”

หมายความวา สงปโตรเลียมออกนอกราชอาณาจักรสงปโตรเลียมไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ยังโรงกลั่นน้ํามันหรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อการกลั่นปโตรเลียมของบริษัท นําปโตรเลียมที่ตองเสีย คา ภาคหลวงไปใชกใ นกิ ษั ท โดยไม มีก ารขาย ย มที่ ต อ งเสี ย กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า จ การใดๆสําของบริ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หรื อ โอนป สําโนัตรเลี กงานคณะกรรมการกฤษฎี คาภาคหลวง ไปโดยไมมีคาตอบแทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๕ ติเฉพาะกรณี มาตรา ๖๕กทวิ เพิ่มโดย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีหมวด กา ๗ ทวิ บทบั สําญนัญั กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ถึงมาตรา ๖๕สํานัเตรส กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒


Page 257 - ๒๐ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

“บริ า บริษัทตามกฎหมายว ่งไดรับสัมปทาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาษัท” หมายความว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา าดวยปโตรเลีสํายนัมซึ กงานคณะกรรมการกฤษฎี

หรือมีสวนไดเสียรวมกันในสัมปทาน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ จัตวา บริษัทมีหนาที่เสียภาษีเงินไดดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑)กา ภาษี เ งิ น ไดสํเาปนันกงานคณะกรรมการกฤษฎี รายรอบระยะเวลาบักญา ชี ใ นอั ต ราทีสํ่ กาํ านัหนดโดยพระราช กฤษฎีกา ซึ่งตองไมน อยกวารอยละ ๓๕ แตไมเกิน รอยละ ๔๘ ของกําไรสุทธิที่ไ ดจากกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียม (๒)กา ภาษีเงินไดใสํนอั รารอยละ ๒๓.๐๘ ของเงิ าระภาษี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักตงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นกําไรที่เหลื สํานัอกจากการชํ งานคณะกรรมการกฤษฎี เงินไดตาม (๑) หรือเงินประเภทอื่นใดที่กันไวจากกําไรดังกลาวหรือที่ถือวาเปนเงินกําไรดังกลาว านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ทั้งนี้ เฉพาะจําสํนวนที ่จําหนายออกนอกราชอาณาจั กร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อประโยชนในการคํานวณภาษีเงินไดตาม (๒) ใหถือภาษีเงินไดตาม (๒) นั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนเงินกําไรที่จําหนายออกนอกราชอาณาจักรดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ เบญจ ในกรณี ที่มีก ารโอนกิ จการป โ ตรเลี ยม ถา บริ ษั ทผู รับ โอน จายเงินไดที่เปนเงินกคาาสิทธิ เงินปสํหรื เงินไดประจําเนื่องจากการโอนนั ้น โดยเงิ นดังกลาวไมอาจ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักองานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กําหนดจํานวนทั้งสิ้นไดแนนอน ใหบุคคลซึ่งไดรับเงินไดนั้นมีหนาที่เสียภาษีเงินไดในอัตราที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัก๕๐ งานคณะกรรมการกฤษฎี า ของเงิน ได กําหนดโดยพระราชกฤษฎี กาซึ่งตองไมกนา อยกวารอยละ แตไมเกินรอยละ ก๖๐ หลังจากหักตนทุนตามมาตรา ๓๓ แลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี บุคกคลใดได รับ ดอกเบี ้ยเงิ น กูยืมจากบริษัทกาบุค คลนั้น มีหสํานนัากทีงานคณะกรรมการกฤษฎี ่ เสี ย ภาษี เงิ น ได กา สําหรับดอกเบีสํ้ายนันัก้นงานคณะกรรมการกฤษฎี ในอัตราตามวรรคหนึกา่ง และใหนําภาษี ที่ถูกหักไว ณ ที่จายและนําสงแลวตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๔๕ มาเปนเครดิตหักออกจากภาษีที่ตองเสีย บุคกคลใดได รับเงิสํนาปนักนงานคณะกรรมการกฤษฎี ผลหรือสวนแบงของกํกา ไรจากบริษัทสํทีานั่ตกองานคณะกรรมการกฤษฎี งเสียภาษีเงินได กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ตามมาตรา ๖๕ จัตวา (๑) แตไมตองเสียภาษีเงินไดตาม ตามมาตรา๖๕ จัตวา (๒) บุคคลนั้นมี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ของเงินปสํานนัผลหรื กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ้น และใหนํา หนาที่เสียภาษีสํเางินันกได ในอัตรารอยละ ๒๓.๐๘ อสวนแบงของกําไรนั ภาษีที่ถูกหักไว ณ ที่จายและนําสงแลวตามมาตรา ๔๕ มาเปนเครดิตหักออกจากภาษีที่ตองเสีย

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ ฉ ภายใต บั ง คั บ มาตรา ๖๕ สั ต ต และมาตรา ๖๕ อั ฏ ฐรายจ า ย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตามปกติ แ ละจํ า เป น ให จํ า กั ด อยู เ ฉพาะแต ร ายจ า ยที่ บ ริ ษั ท สามารถพิ สู จ น ไ ด ว า เป น รายจ า ย ตามปกติและจําเปนกในจํ และไดจายไปทัก้งาหมดเฉพาะในกิ โตรเลียมไม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านวนไมเสํกิานนัสมควร กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัจกการป งานคณะกรรมการกฤษฎี วาจะจายในหรือนอกราชอาณาจักร และภายในขอจํากัดดังกลาวใหรวมถึง สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา คาเชาหรือคาตอบแทนอย างอื่นในการเช าทรัพยสิน (๒) คาแรงงาน คาบริการ คาวัสดุสิ้นเปลือง และรายจายทํานองเดียวกันอยาง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา อื่นที่ใชในการเจาะเพื่อสํารวจหรือเพื่อผลิต คารับรอง สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๔) หนี้สูญที่จําหนายจากบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นบําเหน็จบํสํานาญ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕)กาเงินสมทบกองทุ สํารองเลี้ยงชีพหรือกองทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 258 - ๒๑ -

(๖)กาคาชดเชยรายจ ่เปนทุน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัายที กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๗) คาภาคหลวง ไมวาจะชําระเปนตัวเงินหรือปโตรเลียม สํานั(๘) กงานคณะกรรมการกฤษฎี า งานคณะกรรมการกฤษฎี รายจายของสํานักกงานใหญ เทาสํทีา่จนั​ัดกสรรได โดยสมควรวากเกีา ่ยวกับกิจการ ปโตรเลียมของบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๙) ราคาทุนของทรัพยสินหรือสิทธิใดๆ ที่หักคาชดเชยรายจายที่เปนทุนแลว สําหรับรายไดสํตาามมาตรา ๒๒ (๔) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๐) ดอกเบี้ยเงินกูยืม เฉพาะที่บริษัทพิสูจนไดวาบุคคลใดเปนผูรับและไดหัก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา บการจายดอกเบี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภาษีไว ณ ที่จาย สําหรั ้ยนั้นแลวตามมาตรา ๔๕ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่มิใหถือเปนสํารายจ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๖๕ สัตต รายการที ายตามปกติและจําเปกนา ใหรวมถึง

(๑) รายจายที่เปนทุนหรือรายจายในการตอเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออกหรือทํา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหดีขึ้นซึ่งทรัพยสิน รายจายที่เปนทุนตามวรรคหนึ ่ง หมายความว า รายจายที่จายไปเพื สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่อไดมาซึ่ง ทรัพยสินหรือประโยชนไมวาจะโดยทางตรงหรือทางออมโดยทรัพยสินหรือประโยชนนั้นมีผลตอ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่งรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กิจการเปนเวลาเกินกหนึ ญชีและใหหมายความรวมถึ งผลขาดทุ นที่เกิดขึ้นกอน กา รอบระยะเวลาบัญชีแรกตามมาตรา ๖๕ อัฏฐ (๑) วรรคสองและรายจายตามปกติ และจําเปนที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ อัฏฐสํา(๑) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา จายไปกอนรอบระยะเวลาบั ญชีแรกตามมาตรา วรรคสองดวย (๒) รายจา ยที่เปสํานนัการส วนตัว หรือการใหโดยเสนหาหรืสําอนัรายจ ายที่เปน การ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บริจาค ผลเสียหายอันอาจได น หรือสัญญาคุ สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กลับคืนเนื่อสํงจากการประกั านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มกันใดๆ (๔) รายจายเพื่อตอบแทนทุนหรือทรัพยสินของบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําอนัเงิ กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๕)กา เงินสํารองหรื นสมทบกองทุนใดๆกเวา นแตที่บัญญัสําตนัิไกวงานคณะกรรมการกฤษฎี ในมาตรา ๖๕ ฉ กา (๕) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๖) ภาษีเงินได เบี้ยปรับ และเงินเพิ่มที่บริษัทตองเสียตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ที่ตองเสียในตางประเทศ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๗) รายจายเพื่อกิจการหรือเพื่อประโยชนในการหามาซึ่งเงินไดอันไมอยูใน านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บังคับตองเสียสํภาษี ตามพระราชบัญญัตินกี้ า (๘) รายจายที่บริษัทพิสูจนไมไดวาใครเปนผูรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๙) คาธรรมเนียมการสงวนพื้นที่และเงินเพิ่มตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม คาปรับทางอาญากา สํานั(๑๐) กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา า นวณรายได รายจ ต ามหมวดนี้ ใ ห กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ อั ฏ ฐสํานัการคํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาา ย และกํ า ไรสุ สํานัทกธิงานคณะกรรมการกฤษฎี เปนไปดังตอไปนี้ สํานั(๑) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นรายรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กําไรสุทธิตองคํานวณเป ญชี รอบระยะเวลาบัญชีแรก ใหเริ่มนับแตวันที่บริษัทขายหรือจําหนายปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่ตองเสียคาภาคหลวงเปนครั้งแรก แตถาอธิบดีอนุมัติใหบริษัทเลือกนับสํแต วันใดวันหนึ่งของ


Page 259 - ๒๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เดือนเดียวกัน กอนวั จําหนายปโตรเลียมนักา้นเปนครั้งแรกสํานัก็กใงานคณะกรรมการกฤษฎี หเริ่มนับแตวันที่ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กานที่บริษัทขายหรื สํานักองานคณะกรรมการกฤษฎี บริษัทเลือกสวนรอบระยะเวลาบัญชีตอๆ ไปใหเริ่มนับแตวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีกอน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอ ไปนี้จ ะมี รอบระยะเวลาบัญกชีาใหมีกําหนดสิสําบนัสองเดื อน เวนแตในกรณี กําหนดนอยกวาสิบสองเดือนก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) บริษัทถือเอาวันใดวันหนึ่งเปนวันสิ้นสุดของรอบระยะเวลาบัญชีแรก (ข) ในกรณีที่บริษกัทาเลิกกิจการปสํโาตรเลี ยม ใหถือวันเลิกกิจกการป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า โตรเลียม เปนวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา(ค) บริษัทไดสํรานั​ับกอนุ งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มัติจากอธิบดีใหเปลีก่ยานวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบั ญชี ในกรณีที่บริษัทโอนสิทธิใดๆ ตามสัมปทานกอนวันเริ่มรอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แรกตามวรรคสอง เพื่อประโยชนในการคํานวณกําไรสุทธิเนื่องจากการโอนสิทธิเชนวานั้น ใหถือ วันโอนเปนวันแรกและวั ญชี และในระยะเวลาตั วันสิ้นสุดรอบ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นสิ้นสุดของรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานั้งกแต งานคณะกรรมการกฤษฎี ระยะเวลาบัญชีดังกลาวจนถึงวันเริ่มรอบระยะเวลาบัญชีแรกตามวรรคสอง ใหถือวาไมมีรอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลาบัญสํชีานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงหมวด ๒ และหมวดนี้ วิธีการ หลักเกณฑและ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านัเกปงานคณะกรรมการกฤษฎี การปฏิบัติทางบัญชีกาเพื่อคํานวณรายได รายจายและกําไรสุกทา ธิของบริษัทสํให นไปตามวิธีการ กา หลักเกณฑและการปฏิ บัติทางบัญชีที่เหมาะสมซึ่งใชอยูเสํปานนักปกติ ในอุตสาหกรรมปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา งานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ยอดเงินไดจากการขายปโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๑) ใหถือตามราคาที่ ไดรับหรือมีสิทธิไดรกับาจากการขายปสําโนัตรเลี ยมหรือผลิตภัณฑทกี่ไาดจากปโตรเลีสํยามนั ้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๔) มูลคาของปโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๒) ใหคํานวณตามราคาตลาด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ในกรณีที่มีการสงปกโาตรเลียมไปยัสํงาโรงกลั ่นน้ํามันหรือสถานทีกา่เก็บรักษาเพื่อ การกลั่นน้ํามันของบริษัท ใหกําหนดมูลคาของปโตรเลียมตามวรรคหนึ่งในวันที่มีการขายหรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สงออกนอกราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นปโตรเลียมนั้น และรวมเปนเงินไดในรอบ ระยะเวลาบัญสํชีาทนัี่มกีกงานคณะกรรมการกฤษฎี ารขายหรือสงออกนอกราชอาณาจั กสํรซึ ตภัณฑที่ไดจากการกลั กา านั่งกผลิ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่นปโตรเลียม นั้น ในกรณีที่มีการจําหนายปโตรเลียมโดยประการอื่น ใหกําหนดมูลคาของปโตรเลียมตามวรรค สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักนงานคณะกรรมการกฤษฎี า ายนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หนึ่งในเวลาที่มีการจํกาหนายและรวมเป เงินไดในปที่มีการจํากหน การกําหนดราคาตลาดและปริมาณของปโตรเลียมที่จะตองนํามูลคามารวม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปน เงินไดตามวรรคสอง ใหเฉลี่ยเงินไดทั้งหมดที่ไ ดจากการขายผลิตภัณฑที่ไ ดจากการกลั่ น ปโตรเลียมหรือมูลกคาาตามราคาตลาดของผลิ ตภัณฑที่ไดจากการกลั ่นปโตรเลี มที่สงออกนอก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี ราชอาณาจักรทั้งหมด แลวแตกรณีเปนมูลคาของปโตรเลียมนั้น ทั้งนี้ ตามวิธีการ หลักเกณฑ กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักตงานคณะกรรมการกฤษฎี า มิใหถือวามี และการปฏิบสํัตาิทนัางบั ญชีที่เหมาะสมซึ่งใชกอา ยูเปนปกติใสํนอุ สาหกรรมปโตรเลียมกแต การขายหรือสงออกนอกราชอาณาจักรซึ่งผลิตภัณฑที่ไดจากการกลั่นปโตรเลียมดังกลาวในรอบ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กายมนั้นไปยังโรงกลั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ระยะเวลาบัญชีใดๆกาหลังจากรอบระยะเวลาบั ญชีที่สงปโตรเลี ่น เวนแตบริษัท กา พิสูจนไดวายังสํมิาไนัดกมงานคณะกรรมการกฤษฎี ีการขายหรือสงออกซึก่งาผลิตภัณฑที่ไสํดาจนัากการกลั ่นปโตรเลียมนัก้นา กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๕) มูลคาของปโตรเลียมตามมาตรา ๒๒ (๓) ใหคํานวณตามบทบัญญัติแหง กฎหมายวาดวยปโตรเลี านวณมูลคาปโตรเลีกายมที่สงชําระเปสํานนัคกงานคณะกรรมการกฤษฎี าภาคหลวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมที่เกี่ยวกัสํบานัการคํ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา


Page 260 - ๒๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๖)กา ถาบริษัทหนึสํ่งานัทีก่มงานคณะกรรมการกฤษฎี ีสวนไดเสียรวมกันในสั คาใชจายในการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มปทาน ตอสํงเสี านักยงานคณะกรรมการกฤษฎี สํารวจปโตรเลียมหรือการพัฒนาแหลงปโตรเลียมเพื่อใหไดมาซึ่งสวนไดเสียนั้น แตคาใชจายนั้น กา นในสัมปทาน สํานัคกางานคณะกรรมการกฤษฎี มิไดเสียใหแกสํบารินัษกงานคณะกรรมการกฤษฎี ัทอื่นที่มีสวนไดเสียรวมกั ใชจายดังกลาวมิใหถือกาเปนเงินไดของ บริษัทอื่นนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๗) คาชดเชยรายจายที่เปนทุน ใหหักไดเฉพาะตามประเภท อัตราและเงื่อนไขที่ กําหนดโดยพระราชกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๘) คาแรงงาน คาบริการ คาวัสดุสิ้นเปลือง และรายจายทํานองเดียวกันอยางอืน่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า อเปนรายจ สําานัยที กงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่ใชในการเจาะเพื่อกสํา ารวจหรือเพืสํา่อนัผลิ ตปโตรเลียม บริษัทกจะถื ่เปนทุนในรอบ กา ระยะเวลาบัญชีที่มีรายจายนั้นก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๙) คารับรอง ใหหักเปนรายจายไดตามเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎกระทรวง (๑๐) อื่น นอกจากสิ น คา ให ถ า ราคาทุ น เป น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ราคาทรั พสํยานัสกิ นงานคณะกรรมการกฤษฎี กาถื อ ตามราคาทุ สํานันกงานคณะกรรมการกฤษฎี เงินตราตางประเทศ ใหคํานวณเปนเงินตราไทยเชนเดียวกับวิธีการตาม (๑๒) ราคาทุนดังกลาว านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่เปนทุนตามสํา(๗) นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สวนการตี อาจลดลงไดโสํดยการหั กคาชดเชยรายจายที แตหามมิใหตีราคาลดลง ราคาเพิ่มขึ้นใหกระทําไดเทาที่บัญญัติไวในประมวลรัษฎากร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ราคาสินคสําาคงเหลื นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัญ กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑๑) อในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบั ชีจะคํานวณตาม กา ราคาทุนก็ได สํหรืานัอกจะคํ านวณตามราคาทุนหรือราคาตลาด แลวแตอยางใดจะนอยกวาก็ได และให งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถือราคานี้เปนราคาสินคาคงเหลือยกมาสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีใหม นตามวรรคหนึ่งนัก้นา เมื่อไดคํานวณตามหลั กเกณฑใด กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การคํานวณราคาทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามวิชาการบัญชีแลว ใหใชหลักเกณฑนั้นตลอดไป เวนแตจะไดรับอนุมัติจากอธิบดีจึงจะเปลี่ยน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักเกณฑไดสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๒) เงินตรา หนี้สิน หรือสิทธิเรียกรองที่มีมูลคาเปนเงินตราตางประเทศที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รับมาหรือจายไปในระหวางรอบระยะเวลาบัญชี ใหคํานวณมูลคาเปนเงินตราไทยตามอัตราที่ไดซื้อ ขายเงินตราตาสํงประเทศนั ้น านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณี ที่ มิ ไ ด มี ก ารซื้ อ ขายเงิ น ตราต า งประเทศ ให คํ า นวณเงิ น ตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า อสิทธิเรียสํกร านัอกงนั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา่ยนถัวเฉลี่ยในรอบระยะเวลาหนึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตางประเทศ หนี้สินกหรื ้นตามอัตราแลกเปลี ่ ง กา เดือนกอนเดือนที่ไ ดรับมาหรือจายไป โดยคิดจากอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายวันที่ธนาคาร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พาณิชยรับซื้อหรือขายเงินตราตางประเทศซึ่งธนาคารแหงประเทศไทยไดคํานวณไว (๑๓) ิ น หรื อ สิ ท ธิ เ รี ย กร อ งที า งประเทศ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงิ น ตรา หนี สํานั้ สกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ มี มู ล ค า เป นสํเงิานันกตราต งานคณะกรรมการกฤษฎี เหลืออยูในวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ใหคํานวณมูลคาเปนเงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนถัว กงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เฉลี่ยหลังสุดทีสํ่ธานันาคารพาณิ ชยรับซื้อหรือกขายในรอบระยะเวลาบั ญชี แลวแตกรณีกซึา่งธนาคารแหง ประเทศไทยไดคํานวณไว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หนี้ สู ญ จะจํ สําานัหน กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑๔) ายจากบัญชีไ ดตอเมืกา่อไดปฏิบัติ กสํารโดยสมควรเพื ่อ ให กา ไดรับชําระหนีสํ้แานัลกวงานคณะกรรมการกฤษฎี หนี้สูญรายใดที่ไดจํากหน ชําระในภายหลังใหนกํามาคํ า ายแลว ถาได สํานัรกับงานคณะกรรมการกฤษฎี า านวณเปน รายไดของรอบระยะเวลาบัญชีที่ไดรับชําระนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 261 - ๒๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑๕) นสํารองเลี้ยงชีพหรือกากองทุนบําเหน็สําจนับํกางานคณะกรรมการกฤษฎี นาญ จะถือเปน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินสมทบกองทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี รายจายไดไมเกินรอยละ ๑๐ ของเงินเดือนหรือคาจางที่ลูกจางไดรับในรอบระยะเวลาบัญชีและ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ตองอยูภายใตสํเางืนั่อกนไขต อไปนี้ (ก) กองทุนไดตั้งไวเพื่อประโยชนแกลูกจางโดยเฉพาะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ข) เงินกองทุนตองแยกไวตางหากใหพนจากการครอบครองของบริษัท (ค) เงิ น กองทุ นกจะนํ อ ย า งอื่ น ไม ไกดาน อกจากเพื่ อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า า ไปใช เ พืสํ่ อานัประโยชน กงานคณะกรรมการกฤษฎี ประโยชนแกกองทุนโดยเฉพาะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ง) เงินสมทบกองทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นของบริษสํัทานัอีกกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นตองไมกลับคืนมาเป และ (จ) เงินสมทบกองทุนตองจายตามขอผูกพันที่มีระเบียบวาดวยกองทุน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดไวเปนหนังสือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ นว ในกรณีที่บริษัทมีเงินไดที่ตองเสียภาษีเงินไดตามมาตรา ๖๕ จัตวา (๒) หรืสํอานัมีกหงานคณะกรรมการกฤษฎี นาที่หักภาษีไว ณ ที่จกาา ยตามมาตราสํา๔๕ สําหรับเงินไดตามมาตรา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ เบญจ วรรคสาม ในรอบระยะเวลาบัญชีใด ใหบริษัทไดรับเครดิตเพื่อหักออกจากภาษีดังกลาว สําหรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตราดังตอไปนี สํานั้ กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมที่ผลิตไดกเพืา ่อใชในราชอาณาจั กรเปนจํานวนเงินตามอั (๑) ร อ ยละ ๔.๓๗๕ ของยอดเงิ น ได จ ากการขายป โ ตรเลี ย มหรื อ มู ล ค า ของ สํ า นั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมที่สงชําสํระเป านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๒ (๑) ปโตรเลียมที่จําหน ายหรือมูลคาของปโตรเลี นคาภาคหลวงตามมาตรา (๒) และ (๓) สําหรับปโตรเลียมทีสํา่ผนัลิกตงานคณะกรรมการกฤษฎี จากแปลงสํารวจที่กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติ *กําหนดวาเปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แปลงสํารวจในทะเลที่มีน้ําลึกเกิน ๒๐๐ เมตร ร อ ยละ ๖.๒๕ ของยอดเงิ น ไดสําจนัากการขายป โ ตรเลี ย มหรื สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา อ มู ล ค า ของ ปโตรเลียมที่จําหนายหรือมูลคาของปโตรเลียมที่สงชําระเปนคาภาคหลวงตามมาตรา ๒๒ (๑) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (๑) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) และ (๓) สําหรักบา ปโตรเลียมทีสํา่ผนัลิกตงานคณะกรรมการกฤษฎี จากแปลงสํารวจนอกจาก การนําเครดิตมาหักจากภาษีตามวรรคหนึ่ง ใหอยูภายใตขอจํากัดดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) เครดิตที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีใด จะตองมีจํานวนไมเกินภาษี ตามมาตรา ๖๕ จัตกวาา (๑) และ (๒) สําหรับกําไรที่ไดในรอบระยะเวลาบั ั้น หรือภาษีตาม กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํญานัชีกนงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ๖๕ จัตวา (๑) และมาตรา ๖๕ เบญจ วรรคสามแลวแตกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า กในรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี (๒) เครดิตที่จะนํากมาหั ญชีใด จะตองไมกาเกินภาษีที่ตอง เสียตามมาตรา ๖๕ จัตวา (๒) สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีนั้น หรือไมเกินภาษีที่ตองเสียตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๖๕ เบญจ วรรคสาม สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ซึ่งตองหักไว ณ ที่จายตามมาตรา ๔๕ แลวแตกรณี ถสําานัยักงมีงานคณะกรรมการกฤษฎี เครดิตเหลืออยู ใหยกกเครดิ นั้นไปหักในรอบระยะเวลาบั ญชีตอๆ า ตสวนทีสํ่เาหลื นักองานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไปได มาตรา ๖๕ ทศ การยื่นแบบแสดงรายการเงินไดสําหรับเงินไดที่ตองเสียภาษีเงิน นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ เบญจ ให สํานัยกื่นงานคณะกรรมการกฤษฎี กาวันสิ้นสุดรอบ ไดตามมาตราสํา๖๕ จัตวา (๑) หรือมาตรา ภายในหาเดือนนับแต ระยะเวลาบัญชี สําหรับเงินไดที่ตองเสียภาษีเงินไดตามมาตรา ๖๕ จัตวา (๒) ใหยื่นภายในเจ็ดวัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นับแตวันจําหนาย


Page 262 - ๒๕ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การยื ๓๗กาให ยื่ น ภายในเวลาที ่ เ จ า พนั ก งาน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่ น แบบแสดงรายการตามมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ประเมินกําหนด แตตองไมนอยกวาสามสิบวันนับแตวันไดรับแจงการไมยื่นแบบแสดงรายการเงิน นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไดของบริษัทผูสํโาอนกิ จการปโตรเลียม กา การยื่นแบบแสดงรายการมาตรา ๕๙ ใหยื่นภายในเวลาที่เจาพนักงานประเมิน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ เอกาทศ ถามีภาษีตองเสีย ใหบริษัทที่มีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการ เงินไดตามหมวด ๓กาชําระภาษีภายในห าเดือนนับแตวันสิ้นสุกดารอบระยะเวลาบั ชี พรอมกับการ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักญงานคณะกรรมการกฤษฎี ยื่นแบบแสดงรายการเงินได เวนแตในกรณีการยื่นแบบแสดงรายการเงินไดสําหรับภาษีที่ตองเสีย สํานัจักตงานคณะกรรมการกฤษฎี กาบการยื่นแบบ ตามมาตรา ๖๕ วา (๒) ใหชําระภาษีกาภายในเจ็ดวัสํนานับกงานคณะกรรมการกฤษฎี แตวันจําหนายพรอมกั แสดงรายการเงินได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีตามมาตรา ๓๕ วรรคสอง ใหผูมีหนาที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินไดมี หนาที่ชําระภาษี บบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต างประเทศด วย สํารนัวกมกั งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ญญัติมาตรา ๑๒ มิกาใหนํามาใชบังสํคัาบนักแกงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ ทวาทศ สํานักบทบั งานคณะกรรมการกฤษฎี (๑) เงินไดที่บริษัทไดจากกิจการอื่นนอกจากกิจการปโตรเลียม สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ดอกเบี้ยเงินกูยืมทีก่บาุคคลใดไดรับสํจากบริ ษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ เตรส สํานักในกรณี งานคณะกรรมการกฤษฎี า จ ากกิ จ การอื สํานั่ นกนอกจากกิ งานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ที่ บ ริ ษั ท มี เ งิ นกได จ การ กา

ปโตรเลียมใหบริษัทเสียภาษีสําหรับเงินไดนั้นตามประมวลรัษฎากร สํานัให กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี บริษัทจัดทําบัญชี หลักกาฐาน รายงานและเอกสารอื ่นที่เกี่ยวกับเงิกนา ไดจากกิจการ อื่นที่กลาวในวรรคหนึ ญชี หลักฐาน รายงานและเอกสารอื ที่เกี่ยวกับเงินได กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งแยกตางหากจากบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัก่นงานคณะกรรมการกฤษฎี จากกิจการจากปโตรเลียม ที่บริษัทมีรายจากยซึ การอื่นและกิจการปโกตรเลี สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่งเปนทั้งของกิ สํานักจงานคณะกรรมการกฤษฎี า ยมรวมกัน ใหแบงเฉลี่ยรายจายตามสวนระหวางกิจการอื่นและกิจการปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ใหกบาริษัทปฏิบัติตสํามระเบี ยบการจัดแบงเฉลีก่ยารายจายระหวสําางกินักจงานคณะกรรมการกฤษฎี การตางๆ ตามที่ กา อธิบดีไดพิจารณาและใหความเห็นชอบแลว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มู ล ค า ของป โ ตรเลี ย มตามมาตรา ๒๒ (๒) ซึ่ ง บริ ษั ท นํ า ไปใช ใ นกิ จ การอื่ น นอกจากกิจการปโตรเลี ญชีใด ใหหักเป านวณกําไรสุทธิ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ยมในรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นรายจายในการคํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี และขาดทุนสุทธิตามประมวลรัษฎากรสําหรับเงินไดจากกิจการอื่นนอกจากกิจการปโตรเลียมใน สํานัญกชีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รอบระยะเวลาบั นั้นได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 263 - ๒๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมวด ๗ ตรี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๖

บทบัญญัติเฉพาะเขตพื้นทีพ่ ัฒนารวม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ้ใหใชบังกคัา บแกบริษัทซึสํ่งาได ําสัญญาแบงปน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ จตุทสํศานัความในหมวดนี กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักทงานคณะกรรมการกฤษฎี ผลผลิตกับองคกรรวม สํานัให กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ” “จําหนาย” นําบทนิยามคําวา “ปกาโตรเลียม” “สํกิาจนัการป โตรเลียม” “เงินได “คาภาคหลวง” และ “บริษัท” ในมาตรา ๖๕ ปณรส มาใชแทนบทนิยามของคําเหลานั้นในมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๔ และใหนําความในมาตรา ๖๕ โสฬส มาตรา ๖๕ สัตตรส มาตรา ๖๕ อัฏฐารส มาตรา ๖๕ เอกูน วีสติ มาตรา ๖๕ สติ และมาตรา ๖๕ เอกวี แทนความในมาตรา ก๒๐ สํานักวีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สติ มาใชบสํังานัคักบงานคณะกรรมการกฤษฎี า มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ และมาตรา ๒๖ ตามลําดับ สําหรับบริษัทตามวรรคหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔ และความในมาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มิใกหานําคํานิยาม สํ“าราคามาตรฐาน ” ในมาตรา ๑๘ มาใช กา บังคับกับบริษัทตามวรรคหนึ่ง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ให นําบทบั ญญัติใ นหมวดอื่น แหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับ กับ บริษั ทตาม วรรคหนึ่ ง ไดเท า ที่ ไกมา ขัด หรื อแยงสํกัานับกบทบั ญ ญั ติ ใ นหมวดนีก้ าและที่ใ ดบัญสํญัานัตกิ ถงานคณะกรรมการกฤษฎี ึง “ป โ ตรเลียม ” กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี “กิ จ การป โ ตรเลี ย ม ” “เงิ น ได ” “จํ า หน า ย ” “ค า ภาคหลวง ” และ “บริ ษั ท ” ให ห มายถึ ง านักางานคณะกรรมการกฤษฎี า “บริ ษั ท ” “ป โ ตรเลี ย มสํ”านั“กกิงานคณะกรรมการกฤษฎี จ การป โ ตรเลี ย ม ” “กเงิา น ได ” “จํ าสํหน ย ” “ค า ภาคหลวง ” กและ ตามลําดับตามหมวดนี้ และที่ไดที่อางถึงมาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๔ มาตรา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕ และมาตรา ๒๖กา ใหหมายถึ งสํมาตรา ๖๕ โสฬส มาตรากา๖๕ สัต ตรส สํมาตรา ๖๕ อัฏฐารส กา มาตรา ๖๕ เอกู นวีสติ มาตรา ๖๕ วีสติ และมาตรา ๖๕สํเอกวี สติ ตามลําดับตามหมวดนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ ปณรส สํานัในหมวดนี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

“องคกรรวม”

หมายความวา องคกรรวมไทย - มาเลเซีย ตามพระราชบัญญัติ องคกรรวมไทย มาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๓๓กา สํานั-กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “พื้นที่พัฒนารวม” หมายความวา “พื้นที่พัฒนารวมตามพระราชบัญญัติองคกร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมไทย - มาเลเซียกาพ.ศ. ๒๕๓๓สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “ป โ ตรเลี ย ม ” หมายความว า น้ํ า มั น ดิ บ หรื อ ไฮโดรคาร บ อนอื่ น ใด และก า ซ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ธรรมชาติซึ่งอยูในสภาพอันเปนธรรมชาติ และกาซธรรมชาติเหลวที่ปากหลุม รวมทั้งหินบิทูเมน และทรัพยากรอื่นที่สกะสมอยู เปนชั้นสําๆนักซึงานคณะกรรมการกฤษฎี ่งสามารถจะสกัดน้ํามันกาออกมาได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า “กิจการปโตรเลียม” หมายความวา กิจการปโตรเลียมตามสัญญาแบงปนผลผลิต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักทังานคณะกรรมการกฤษฎี และใหหมายความรวมถึ งการโอนทรัพยกสาินหรือสิทธิใดๆ ้งหมด หรือบางสวนทีก่เากี่ยวกับกิจการ ดังกลาวไมวาการโอนนั้นจะเปนปกติธุระหรือไมก็ตาม รวมทั้งกิจการใดๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือการโอนดังกลาวดวย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๖ ติเฉพาะเขตพื้นที่พัฒนารกวาม มาตรา ๖๕ จตุ ถึงมาตรา ๖๕ เอ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีหมวด กา ๗ ตรี บทบั สําญนัญั กงานคณะกรรมการกฤษฎี สําทนัศกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กวีสติ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๑


Page 264 - ๒๗ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

“เงิกนา ได” หมายความว า เงิน ทรัพยสิน หรืกอา ประโยชนอยสําานังอืกงานคณะกรรมการกฤษฎี ่นที่ไดมาอันอาจ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

คํานวณไดเปนเงินและหมายความรวมถึงภาษีอากรที่มีผูอื่นออกแทนให สํานั“กจํงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี าหนาย” หมายความวกาา สงน้ํามันดิสํบาสนัวกนที ่เปนของบริษัทไปยักงาโรงกลั่นน้ํามัน หรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อการกลั่นน้ํามันของบริษัท สงกาซธรรมชาติไปยังโรงแยกกาซ โรงทํากาซ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ใหเปนของเหลว โรงอัดกาซ หรือสถานที่เก็บรักษาเพื่อกิจการดังกลาวของบริษัท นําปโตรเลียม สวนที่เปนของบริ ัทไปใชในกิจการใดๆกาของบริษัท โดยไม มีการขาย หรือโอนปกโาตรเลียมสวนที่ สํานักษงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เปนของบริษัทโดยไมมีคาตอบแทน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่บริษัทตองชํสําาระให นักงานคณะกรรมการกฤษฎี “คกาาภาคหลวง” หมายความว า คาภาคหลวงที แกองคกรรวม กา ตามพระราชบัญญัติองคกรรวมไทย - มาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๓๓ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “บริษัท” หมายความวา ผูไดรับสัญญาแบงปนผลผลิตหรือมีสวนไดเสียรวมกัน ในสัญญาแบงปนผลผลิ วมไมวาจะเปนนิติบกุคาคลหรือไมก็ตสําม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตที่ทํากับองค สํานักกรร งานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “สั ญ ญาแบ ง ป น ผลผลิ ต ” หมายความว า สั ญ ญาแบ ง ป น ผลผลิ ต ที่ อ อกตาม กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชบัญญัสํตาิอนังค กรรวมไทย - มาเลเซีกยา พ.ศ. ๒๕๓๓ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ โสฬส สํานับริ กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา ษัทมีหนาที่เสียภาษีเกงินา ไดเปนรายรอบระยะเวลาบั ญชีใน กา

อัตราดังตอไปนี้ของกําไรสุทธิที่ไดจากกิจการปโตรเลียม สํานัรอบระยะเวลาบั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กางรอบระยะเวลาบั สํานักญ งานคณะกรรมการกฤษฎี ญชีแรกถึ ชีที่แปด รอยละ ๐ กา รอบระยะเวลาบัญสํชีานัทกี่เกงานคณะกรรมการกฤษฎี าถึงรอบระยะเวลาบัญกาชีที่สิบหา รอยละ ๑๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รอบระยะเวลาบัญชีที่สิบหกเปนตนไป รอยละ ๒๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ สัตตรส ในกรณีที่มีการโอนกิจการปโตรเลียม ถาบริษัทผูรับโอน จายเงินไดที่เปนเงินกคาาสิทธิ เงินปสํหรื เงินไดประจําเนื่องจากการโอนนั ้น โดยเงิ นดังกลาวไมอาจ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักองานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กํา หนดจํ า นวนทั้ง สิ้ น ได แ น น อน ให บุ ค คลซึ่ ง ไดรั บ เงิ น ไดนั้ น มีห นา ที่ เสี ย ภาษีเ งิ น ไดใ นอั ต รา สํานันกได งานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักวงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดังตอไปนี้ของเงิ หลังจากหักตนทุนตามมาตรา ๓๓สํแล ในกรณีที่มีการโอนในรอบระยะเวลาบัญชีแรกถึงรอบระยะเวลาบัญชีที่แปด รอย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ละ ๐ ที่มีการโอนในรอบระยะเวลาบั ที่เกาถึงรอบระยะเวลาบั สํานัในกรณี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัญกชีงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชีที่สิบหา รอยละ ๑๐ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ที่มีการโอนในรอบระยะเวลาบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ในกรณี ญชีที่สกิบาหกเปนตนไปสํารนัอกยละ ๒๐ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านวณกําสํไรสุ านักทงานคณะกรรมการกฤษฎี ๖๕ อัฏฐารส การคํ ธิ ใหนําเอาจํานวนดังกตา อไปนี้มารวม

เปนรายได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๑) ยอดเงินไดจากการขายปโตรเลียม มูลคาของปโตรเลียกมที สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ่จําหนาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๓) ยอดเงินไดเนื่องจากการโอนทรัพยสินหรือสิทธิใดๆ อันเกี่ยวกับกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านวนทัสํ้งาสินั้นกได งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมซึ่งอาจกํากหนดจํ แนนอน


Page 265 - ๒๘ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๔)กายอดเงินไดอสํื่นาใดที ่ไดรับเนื่องจากการประกอบกิ จการปสํโาตรเลี ยม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ เอกูนวีสติกภายใต บังคับสํมาตรา ๖๕ วีสติ และมาตรา สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ เอกวีสติ รายจายตามปกติและจําเปนใหจํากัดอยูเฉพาะแตรายจายที่บริษัทสามารถพิสูจนไดวาเปนรายจาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านวนไมเกิสํนานัสมควร กงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานัจการป กงานคณะกรรมการกฤษฎี ตามปกติและจําเปนกในจํ และไดจายไปทั้งกหมดเฉพาะในกิ โตรเลียม ไม กา วาจะจายในหรือนอกราชอาณาจักรและภายในขอจํากัดดังกลาวใหรวมถึง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑) คาเชาหรือคาตอบแทนอยางอื่นในการเชาทรัพยสิน (๒)กา คาแรงงาน สํคาานับริ การ คาวัสดุสิ้นเปลือกงา และรายจายทํ ยวกันอยาง กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัานองเดี กงานคณะกรรมการกฤษฎี อื่นที่ใชในการเจาะเพื่อสํารวจหรือเพื่อผลิต สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คารับรอง (๔) หนี้สูญที่จําหนายจากบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพหรือกองทุนบําเหน็จบํานาญ คาชดเชยรายจายทีก่เปา นทุน สํานั(๖) กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๗) รายจายของสํานักงานใหญเทาที่จัดสรรไดโดยสมควรวาเกี่ยวกับกิจการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ปโตรเลียมของบริษกัทา (๘) ราคาทุนของทรัพยสินหรือสิทธิใ ดๆ ที่หักค าชดเชยรายจา ยที่ เป นทุ นแล ว สํ า นั กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สําหรับรายไดตามมาตรา ๖๕ อัฏฐารส (๓) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๕ วีสติ สํรายการที านักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัากเป งานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา ่มิใหถือเปนรายจกาายตามปกติและจํ น ใหรวมถึง

(๑) รายจายที่เปนทุนหรือรายจายในการต อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ทําใหดีขึ้นซึ่งทรัพยสิน ่ง หมายความว ยไปเพื่อใหไดมา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีการายจายที่เปนสํทุานันกตามวรรคหนึ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา า รายจายที สํานั่จกางานคณะกรรมการกฤษฎี ซึ่งทรัพยสินหรือประโยชนไมวาจะโดยทางตรงหรือทางออม โดยทรัพยสินหรือประโยชนนั้นมีผล านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชี และใหสํหามายความรวมถึ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี ตอกิจการเปนสํเวลาเกิ นหนึ่งรอบระยะเวลาบั งผลขาดทุกนา ที่เกิดขึ้นกอน รอบระยะเวลาบัญชีแรกตามมาตรา ๖๕ เอกวีสติ (๑) วรรคสอง และรายจายตามปกติและจําเปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่จายไปกอนรอบระยะเวลาบัญชีแรกตามมาตรา ๖๕ เอกวีสติ (๑) วรรคสอง ดวย รายจายที่เปนการส โดยเสนหา หรือรายจ สํานั(๒) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กาวนตัว หรือการให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า ยที่เปน การ บริจาค สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา (๓)กา ผลเสียหายอัสํนานัอาจได กลับคืนเนื่องจากการประกั น หรืสํอาสันัญกงานคณะกรรมการกฤษฎี ญาคุมกันใดๆ (๔) รายจายเพื่อตอบแทนทุนหรือทรัพยสินของบริษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) เงินสํารองหรือเงินสมทบกองทุนใดๆ เวนแตที่บัญญัติไวในมาตรา ๖๕ เอ กูนวีสติ (๕) สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๖) ภาษีเงินได เบี้ยปรับ และเงินเพิ่มที่บริษัทตองเสียตามพระราชบัญญัตินี้ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หรือที่ตองเสียสํในต างประเทศ (๗) รายจายเพื่อกิจการหรือเพื่อประโยชนในการหามาซึ่งเงินไดอันไมอยูใน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บังคับตองเสียภาษีตามพระราชบัญสํญั ตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 266 - ๒๙ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๘)การายจายที่บริสํษาัทนักพิงานคณะกรรมการกฤษฎี สูจนไมไดวาใครเปนผูกราับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๙) ดอกเบี้ย สํานั(๑๐) กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา คาปรับทางอาญากา (๑๑) คาภาคหลวงสําหรับปโตรเลียม ไมวาจะชําระเปนตัวเงินหรือปโตรเลียม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๖๕ เอกวีสติ การคํานวณรายได รายจาย และกําไรสุทธิตามหมวดนี้ ให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนไปดังตอไปนี้ (๑)กาตองคํานวณเป ญชีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานันกรายรอบระยะเวลาบั งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รอบระยะเวลาบัญชีแรก ใหเริ่มนับแตวันที่มีการผลิตปโตรเลียมเชิงพาณิชย สํานังกปงานคณะกรรมการกฤษฎี ภายใตสัญญาแบ นผลผลิตเปนครั้งแรกกาแตถาอธิบดีสํอานุนัมกัตงานคณะกรรมการกฤษฎี ิใหบริษัทเลิกนับแตวกันาใดวันหนึง่ ของ เดือนเดียวกันกอนวันที่บริษัทขายหรือจําหนายปโตรเลียมนั้นเปนครั้งแรกก็ใหเริ่มนับแตวันที่ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บริษัทเลือก สวนรอบระยะเวลาบัญชีตอๆ ไป ใหเริ่มนับแตวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีกอน รอบระยะเวลาบัญกชีาใหมีกําหนดสิสําบนัสองเดื อน เวนแตในกรณี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ตอ ไปนี้จ ะมี กําหนดนอยกวาสิบสองเดือนก็ได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา(ก) บริษัทถือสําเอาวั นักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นใดวันหนึ่งเปนวันสิ้นกาสุดของรอบระยะเวลาบั ญชีแรก (ข) ในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการปโตรเลียม ใหถือวันเลิกกิจการปโตรเลียม สํ า นั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปนวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (ค) บริษัทไดสํรานั​ับกอนุ มัติจากอธิบดีใหเปลี่ยนวันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบั ญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณีที่บริษัทโอนสิทธิใดๆ ตามสัญญาแบงปนผลผลิตกอนวันเริ่มรอบ ระยะเวลาบัญสํชีาแนัรกตามวรรคสอง เพื่อประโยชน ในการคํสําานันวณกํ าไรสุทธิเนื่องจากการโอนสิ ทธิเชน กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วานั้น ใหถือวันโอนเปนวันแรกและวันสิ้นสุดของรอบระยะเวลาบัญชี และในระยะเวลาตั้งแตวัน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชีดังกลาวจนถึ สํานักงงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สิ้นสุดรอบระยะเวลาบั วันเริ่มรอบระยะเวลาบักาญชีแรกตามวรรคสอง ใหถือวาไมมี กา รอบระยะเวลาบัญชี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๒) ภายใตบังคับบทบัญญัติแหงหมวดนี้ วิธีการ หลักเกณฑ และการปฏิบัติทาง บัญชีเพื่อคํานวณรายได าไรสุทธิของบริษัท ใหกาเปนไปตามวิธสํีกานัารกงานคณะกรรมการกฤษฎี หลักเกณฑ และ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รายจาย สํและกํ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี การปฏิบัติทางบัญชีที่เหมาะสมซึ่งใชอยูเปนปกติในอุตสาหกรรมปโตรเลียม สํานั(๓) กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา โตรเลียสํมตามมาตรา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า และมูลคา ยอดเงินไดจากการขายป ๖๕ อัฏฐารสก(๑) ของปโตรเลียมที่จําหนายตามมาตรา ๖๕ อัฏฐารส (๒) ใหคํานวณตามราคาตลาด ตามหลักเกณฑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ที่อธิบดีกําหนด ถ า บริ ษั ท หนึ่ ง ที่ มกี สา ว นได เ สี ย ร วสํามกั ในสั ญ ญาแบ ง ป น ผลผลิ สํานั(๔) กงานคณะกรรมการกฤษฎี นักนงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ต ต อ งเสี ย คาใชจายในการสํารวจปโตรเลียมหรือการพัฒนาแหลงปโตรเลียมเพื่อใหไดมาซึ่งสวนไดเสียนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี แต ถ า ค า ใช จ า ยนั้ นกมิา ไ ด เ สี ย ให แสํกาบนักริงานคณะกรรมการกฤษฎี ษั ท อื่ น ที่ มี ส ว นได เ สี ยกรา ว มกั น ในสั ญสําญาแบ ง ป น ผลผลิ ต กา คาใชจายดังกลาวมิใหถือเปนเงินไดของบริษัทอื่นนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๕) คาชดเชยรายจายที่เปนทุน ใหหักสํได เฉพาะตามประเภท อัตราและเงื่อนไขที่ กําหนดโดยพระราชกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 267 - ๓๐ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

(๖)กาคาแรงงาน คสําบริ การ คาวัสดุสิ้นเปลืองกและรายจ ายทําสํนองเดี ยวกันอยางอื่น กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ที่ใชในการเจาะเพื่อสํารวจหรือเพื่อผลิตปโตรเลียม บริษัทจะถือเปนรายจายที่เปนทุนในรอบ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระยะเวลาบัญสํชีาทนัี่มกีรงานคณะกรรมการกฤษฎี ายจายนั้นก็ได (๗) คารับรอง ใหหักเปนรายจายตามเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๘) ราคาทรัพยสินอื่นนอกจากสินคา ใหถือตามราคาทุนถาราคาทุนเปนเงินตรา ตางประเทศใหสําคนัํากนวณเป นเงินตราไทยเชกานเดียวกับวิธสํีกาารตาม (๑๐) ราคาทุนดังกกล งานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า าวอาจลดลง ไดโดยการหั กคาชดเชยรายจ ายที่เปน ทุนตาม (๕) แต หามมิใหตีราคาลดลง สวนการตีราคา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพิ่มขึ้นใหกระทําไดกเทา าที่บัญญัติไวสํใานประมวลรั ษฎากร (๙) ราคาสินคาคงเหลือในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชีจะคํานวณตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราคาทุนก็ไดหรือจะคํานวณตามราคาทุนหรือราคาตลาดแลวแตอยางใดจะนอยกวาก็ได และใหถือ ราคานี้เปนราคาสินคกาาคงเหลือยกมาสํ บรอบระยะเวลาบัญกชีาใหม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัากหรั งานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การคํานวณราคาทุนตามวรรคหนึ่งนั้น เมื่อไดคํานวณตามหลักเกณฑใดตาม งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัจกะได งานคณะกรรมการกฤษฎี วิ ธีก ารบัญ ชี แสํลานัวกให ใ ช หลั ก เกณฑนั้ น ตลอดไป เวน แต รับ อนุ มัติจ ากอธิ บกดีา จึ ง จะเปลี่ ย น หลักเกณฑได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินตรา หนี สํานั้ สกินงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี (๑๐) หรือสิทธิเรียกรองทีก่ามีมูลคาเปนเงิสํานนัตราต างประเทศที่ กา รับมาหรือจายไปในระหว างรอบระยะเวลาบัญชี ใหคํานวณมู ลคาเปนเงินตราไทยตามอัตราที่ไดซื้อ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขายเงินตราตางประเทศนั้น ี ก ารซื้ อ ขายเงิ น ตราต ํ า นวณเงิ น ตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในกรณี ที่ มสําิ ไนัดกมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา า งประเทศสําให นักคงานคณะกรรมการกฤษฎี ตางประเทศ หนี้สิน หรือสิทธิเรียกรองนั้นตามอัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยในรอบระยะเวลาหนึ่ง นักงานคณะกรรมการกฤษฎี า ด จากอัตสําราแลกเปลี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา น ที่ธ นาคาร เดือนกอนเดืสํอานที ่ไ ดรับมาหรือจายไป กโดยคิ ่ยนถัวเฉลี่ยรายวั พาณิชยรับซื้อหรือขายเงินตราตางประเทศซึ่งธนาคารแหงประเทศไทยไดคํานวณไว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๑) เงิ น ตรา หนี้ สิ น หรื อ สิ ท ธิ เ รี ย กร อ งที่ มี มู ล ค า เป น เงิ น ตราต า งประเทศ เหลืออยูในวันสํสิา้นนักสุงานคณะกรรมการกฤษฎี ดรอบระยะเวลาบัญชี กให นเงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี ่ยนถัว า คํานวณมูลคสําานัเปกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เฉลี่ยหลังสุดที่ธนาคารพาณิชยรับซื้อหรือขายในรอบระยะเวลาบัญชี แลวแตกรณี ซึ่งธนาคารแหง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประเทศไทยไดคํานวณไว (๑๒) หนี้สูญจะจําหน ายจากบัญชี ไดตอเมื่อไดปฏิบัติการโดยสมควรเพื่ อให สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ไดรับชําระหนี้แลว หนี้สูญรายใดที่ไดจําหนายแลว ถาไดรับชําระในภายหลัง ใหนํามาคํานวณเปน รายไดของรอบระยะเวลาบั ระนั้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ญชีที่ไดสํราับนัชํกางานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (๑๓) เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพหรือกองทุนบําเหน็จบํานาญจะถือเปน สํา่ลนัูกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา รายจายไดไมสํเกิานันกรงานคณะกรรมการกฤษฎี อยละ ๑๐ ของเงินเดืกอานหรือคาจางที จางไดรับในรอบระยะเวลาบั ญชี และ ตองอยูภายใตเงื่อนไขดังตอไปนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ก) กองทุสํนาได นักตงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ั้งไวเพื่อประโยชนแกลกูกา จางโดยเฉพาะ (ข) เงินกองทุนตกอางแยกไวตางหากให พนจากการครอบครองของบริ ษัท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (ค) เงิ น กองทุ น จะนํ า ไปใช เ พื่ อ ประโยชน อย า งอื่ น ไม ไ ด นอกจากเพื่ อ ประโยชนแกกองทุนกโดยเฉพาะ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 268 - ๓๑ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

นตองไมกลับคืนมาเป และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ง) เงินสมทบกองทุ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา นของบริษสํัทานัอีกกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา (จ) เงินสมทบกองทุนตองจายตามขอผูกพันที่มีระเบียบวาดวยกองทุน านักงงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กําหนดไวเปนสํหนั สือ (๑๔) ในกรณี ที่บ ริ ษั ทเปน ผู ไ ดรับ สั มปทานสําหรับแปลงสํ า รวจซึ่ งอยู ภ ายใต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บั ง คั บ พระราชบั ญ ญั ติ ภ าษี เ งิ น ได ป โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ ก อ นการแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย พระราชบัญญัสํตานัิภกาษี เงินไดปโตรเลียม (ฉบั ดวย ใหบริษัทดักางกลาวคํานวณ งานคณะกรรมการกฤษฎี กา บที่ ๕) พ.ศ. สํานัก๒๕๔๑ งานคณะกรรมการกฤษฎี รายได รายจาย และกําไรสุทธิสําหรับแปลงสํารวจที่อยูภายใตบังคับพระราชบัญญัติดังกลาว และ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า บั ง คั บ พระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี แปลงสํา รวจที่ อ ยูภกายใต ญ ญั ติภ าษี เ งิน ไดกปาโ ตรเลีย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่ ง แก ไ ข กา เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๑ เสมือนหนึ่งเปน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บริษัทแยกตางหากจากกัน และรายจายสําหรับกแปลงสํ ารวจตามวรรคหนึ ่ง ถารายได กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา การคํานวณรายได สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี และรายจายรายการใดไมสามารถแยกกันไดโดยชัดแจง ใหเฉลี่ยรายไดและรายจายตามเงื่อนไข สํานัธกีกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หลักเกณฑ และวิ ารที่กําหนดในกฎกระทรวง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หมวด ๘

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

บทกําหนดโทษ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๖๖ ผูใดแจ สํานังกขงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี มาตรา อความอันเปนเท็จ ใหกถา อยคําเท็จ ตอบคํ าถามดวยถอยคํา กา

อัน เปน เท็ จ นํ าพยานหลักฐานเท็จมาแสดง หรือกระทําการใดๆ เพื่อหลีกเลี่ ยงหรื อพยายาม สํานัยกภาษี งานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี หลีกเลี่ยงการเสี ตองระวางโทษจําคุกากตั้งแตสามเดืสําอนันถึ งเจ็ดปและปรับตั้งแตกสา ามพันบาทถึง สองแสนบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๗ ผูใดไมยื่นกแบบแสดงรายการเงิ นได หรือแบบแสดงรายการหั กภาษี สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ณ ที่จาย เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียหรือการนําสงภาษีตองระวางโทษจําคุกไม เกินหกเดือน หรือปรักาบไมเกินหกพัสํนานับาท หรือทั้งจําทั้งปรับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๖๘ ผูใดไมอํานวยความสะดวกหรื อขัดขวางเจาพนักงานซึ สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งกระทําการ ตามหนาที่ตามมาตรา ๖ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ทั้งจําทั้งปรับ

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๖๙ ผูใดไมปฏิกบา ัติตามคําสั่งสํของอธิ บดีตามมาตรา ๗ กตาองระวางโทษ

จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหกพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๐ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของอธิบดีหรือเจาพนักงานประเมินตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๙ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 269 - ๓๒ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา งานผูใดฝาฝนมาตราก๑๑ าคุกไมเกินหก กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๗๑ เจาสํพนั านักกงานคณะกรรมการกฤษฎี า ตองระวางโทษจํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี เดือน หรือปรับไมเกินหกพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๒ ผูใดไมปฏิบัติตามระเบียบหรือขอบังคับตามมาตรา ๑๖ (๓) ตอง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัอกปรั งานคณะกรรมการกฤษฎี านับกงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ระวางโทษจําคุกไมเกิกานหนึ่งเดือน หรื บไมเกินหนึ่งพันบาทกาหรือทั้งจําทั้งสํปรั สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๔๕ ตอง ๗๓ ผูใดไมหกักาภาษี ณ ที่จาสํยานัซึก่งงานคณะกรรมการกฤษฎี ตนมีหนาที่หักตามมาตรา

ระวางโทษปรับไมเกินสองพันบาท สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๔ ผูใดมีหนาที่หักภาษี ณ ที่จาย หักภาษีไวแลวละเลยไมนําสงตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา หมวด ๕ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหกพันบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๕ ผูใดโดยไมมีเหตุอันสมควรไมปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคําสั่งของ เจาพนักงานประเมิ นที่ออกตามมาตรา ๕๘ าถามของเจาพนักงานซึ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา หรือไมยอมตอบคํ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่งมีอํานาจไต สวน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๖ ในกรณีที่บริษัทใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ผูจัดการ กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า บการกระทํา กรรมการบริษสํัทานัหรื อบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดํ าเนินสํงานของบริ ษัทในสวนที่เกี่ยกวกั ความผิดนั้น ตองระวางโทษสําหรับความผิดที่บัญญัติไวในมาตรานั้นๆ เวนแตจะพิสูจนไดวาตน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มิไดมีสวนรวมในการกระทําความผิดดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๗๗ ความผิดตามมาตรา ๖๗ ถึงมาตรา ๗๐ และมาตรา ๗๒ ถึงมาตรา ๗๖ ถาอธิบดีเห็นวากผูา ตองหาไมคสํวรต งรับโทษถึงจําคุก ใหกมาีอํานาจเปรียบเที บกําหนดคาปรับ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี านักองานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักยงานคณะกรรมการกฤษฎี ได เมื่อผูตองหาไดชําระคาปรับตามจํานวนที่อธิบดีกําหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเปนอันเสร็จ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เด็ดขาด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ถาผูตองหาไมยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแลวไมชําระคาปรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา งานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหดําสํเนิานันกคดี เพื่อฟองรองตอไป ผูรับสนองพระบรมราชโองการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา จอมพล ถนอม กิตติขจร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นายกรั สําฐนัมนตรี กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา


Page 270 - ๓๓ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุผกลในการประกาศใช พระราชบัญญัติฉบับนีก้าคือ เนื่องจากรั นโยบายที่จะ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สําฐนับาลมี กงานคณะกรรมการกฤษฎี เก็บภาษีเงินไดจากผูประกอบกิจการปโตรเลียมตามอัตราและโดยวิธีการพิเศษตางหากจากภาษี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา เงินไดที่เก็บตามประมวลรั ษฎากร จึงจําเปกานตองตราพระราชบั ญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ดวงใจ/แกไข กา

๒๙ พ.ย. ๔๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๗ พระราชบัญญัติภาษีกเงิา นไดปโตรเลีสํยามนัก(ฉบั บที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๖

A+B(C)

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สงเสริมใหมี หมายเหตุ :-สําเหตุ ผลในการประกาศใชกพา ระราชบัญญัสํตานัิฉกบังานคณะกรรมการกฤษฎี บนี้ คือ โดยที่รัฐบาลได การสํารวจปโตรเลียมในทะเลที่มีน้ําลึกเกินสองรอยเมตรสมควรกําหนดสวนลดเพื่อคํานวณราคา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรฐานใหแกผูรับสัมปทานที่ผลิตปโตรเลียมในแปลงสํารวจในทะเลที่มีน้ําลึกเกินสองรอยเมตร และกํ า หนดการนั บ ระยะเวลาในกรณีกทาี่ มี ก ารขยายอายุ ั ม ปทานในส ว นที่ เ กีก่ ยาวกั บ การผลิ ต สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักสงานคณะกรรมการกฤษฎี ปโตรเลียมเสียใหมทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยปโตรเลียม จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขึ้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดวงใจ/แกไข

๒๙ พ.ย. ๔๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา A+B(C)

๑๘ กาบที่ ๓) พ.ศ.สํา๒๕๒๒ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พระราชบัญญัสํตาิภนักาษีงานคณะกรรมการกฤษฎี เงินไดปโตรเลียม (ฉบั

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี หมายเหตุ :- เหตุผกาลในการประกาศใช พระราชบัญญัติฉบับกนีา้ คือ เนื่องจากพระราชบั ญญัติภาษี กา

เงินไดปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ไดกําหนดหลักการจัดเก็บภาษีเงินไดไวแตกตางกับประมวล สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา รัษฎากร ซึ่งทําใหบริษัทที่ไดทําสัญญาปโตรเลียมไวกอนป พ.ศ. ๒๕๑๒ และไดทําสัญญาซื้อขาย กาซธรรมชาติกับองค กอนป พ.ศ. ๒๕๒๒กา ไมอาจนําภาษี นไดที่ไดชําระใน กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การกาซธรรมชาติ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัเกงิงานคณะกรรมการกฤษฎี ประเทศไทยตามกฎหมายดังกลาวไปเปนเครดิตหักออกจากภาษีเงินไดที่ตองชําระในตางประเทศ สํานัยกภาษี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา อนอีกครัสํ้งาหนึ นัก่งงานคณะกรรมการกฤษฎี า ดเก็บ เก็บ ไดและจําตองเสี เงินไดในตางประเทศซ ดังนั้น เพื่อใหหลักกการจั ภาษีเงินไดมีความออนตัวและสามารถใชบังคับในแตละกรณีไดอยางเหมาะสมและเพื่อรักษา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ประโยชนของแผนดิน จึงจําเปนตอสํางตราพระราชบั ญญัตินี้ขึ้น สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ดวงใจ/แกไข ๒๙ พ.ย.๔๔ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี A+B(C)

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๗ ๙๐/ตอนที่ ๑๕๗/หนา ๕๗๗ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีราชกิ กา จจานุเบกษาสําเล นักมงานคณะกรรมการกฤษฎี กา /๔ ธันวาคมสํ๒๕๑๖ านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑๘ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๖/ตอนที่ ๒๒๐/ฉบับพิเศษ หนา ๘/๓๐ ธันวาคม ๒๕๒๒


Page 271 - ๓๔ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พระราชบัญญัติภาษีกเงิา นไดปโตรเลีสํยามนัก(ฉบั บที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา

๑๙

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๔ บรรดาบทบักญ พระราชบัญญัติภาษีเงิกนา ไดปโตรเลียม สํานัมาตรา กงานคณะกรรมการกฤษฎี า ญัติทั้งหลายแห สํานักงงานคณะกรรมการกฤษฎี พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ไมใชบังคับแกบริษัทที่ไดรับสัมปทานสําหรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ก อ นวั น ที่ พสํระราชบั านักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักญงานคณะกรรมการกฤษฎี สัม ปทานที่ ไ ด อ อกให ญ ญั ตินี้ใ ชบั งคั บ กและให พ ระราชบั ญั ติ ภ าษี เงิ น ได กา ปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ กอนการแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ยังคงใชบังคับตอไปสําหรับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา บริ ษัท ดั ง กล า วทั้ งนี้ เว น แต บ ริ ษั ท นั้ น จะไดยื่ น ขอและได รับ ความยิ น ยอมจากรั ฐ มนตรีว า การ กระทรวงอุตสาหกรรมตามความในมาตรา ๓๖ แหงพระราชบั บที่ ๔) พ.ศ. กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กาญญัติปโตรเลีสํายนัม(ฉบั กงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๕๓๒ ให นํ า บทบั ญ ญั ติ แ ห ง พระราชบั ญ ญั ติ ป โ ตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๓๒มาใช สํานับกงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พระราชบัญญัสํตาิปนักโตรเลี ยม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ังคับแกสัมปทานของตน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๑๕ ใหรัฐสํมนตรี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งรักษาการตามพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มาตรา วาการกระทรวงการคลั ญญัตินี้ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ไขเพิ่มเติม หมายเหตุ :-สําเหตุ ผลในการประกาศใชกพา ระราชบัญญัสํตานัิฉกบังานคณะกรรมการกฤษฎี บนี้ คือ โดยที่ไดมีการแก พระราชบัญญัติปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อจูงใจใหผูประกอบกิจการปโตรเลียมตัดสินใจลงทุน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํารวจและพัฒนาปโตรเลียมในประเทศไทย ประกอบกับในปจจุบันไดมีการปรับปรุงการยื่นแบบ แสดงรายการเงิ นิติบุคคลตามประมวลรั นาที่ตองยื่นแบบแสดงรายการเงิ นได สํานันกได งานคณะกรรมการกฤษฎี กา ษฎากรใหสํผาูมนักีหงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ทุกครึ่งปเพิ่มขึ้นดวย สมควรปรับปรุงบทบัญญัติของพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กานตองตราพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๕๑๔ ใหสอดคลอกงกัา บการปรับปรุสํางนักฎหมายดั งกลาว จึงจําเป ญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดวงใจ/แกไข

๑ พ.ย. ๔๔ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา A+B(C)

กา นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๐ พระราชบัญญัสํตาิภนักาษีงานคณะกรรมการกฤษฎี เงินไดปโตรเลียม (ฉบั บที่ ๕) พ.ศ.สํา๒๕๔๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มาตรา ๒ พระราชบั ญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๔

เปนตนไป สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช ระราชบัญญัติฉบับนี้ กคืาอ เนื่องจากพระราชบั ญญัติองคกร กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักพงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ร ว มไทย - มาเลเซี ย พ.ศ. ๒๕๓๓ ได บั ญ ญั ติ ใ ห จั ด ตั้ ง องค ก รร ว มไทย - มาเลเซี ย ขึ้ น เพื่ อ ดําเนินการแสวงหาประโยชน จากทรัพยากรในพื ้นดินสํใตานัทกะเลรวมทั ้งปโตรเลียมด สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา งานคณะกรรมการกฤษฎี กาวย จึงสมควร กําหนดอัตราและหลักเกณฑในการคํานวณภาษีเงินไดปโตรเลียมใหสอดคลองกับลักษณะการ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา กรรวมไทยสํา-นักมาเลเซี งานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานัากดงานคณะกรรมการกฤษฎี ดําเนินกิจการขององค ย และเปนไปตามความตกลงว วยธรรมนูญและ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๙ ๑๐๖/ตอนที่ ๑๒๘/ฉบับกพิาเศษ หนา ๔๒/๑๔ หาคม ๒๕๓๒ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีราชกิ กา จจานุเบกษาสําเลนักมงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัสิกงงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ๒๐ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๕/ตอนที่ ๗๐ ก/หนา ๑/๙ ตุลาคม ๒๕๔๑


Page 272 - ๓๕ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวเนืก่อางกับการจัดตัสํ้งาองค กรรวมไทย - มาเลเซีกยา จึงจําเปนตอสํางตราพระราชบั ญญัติ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี นักงานคณะกรรมการกฤษฎี นี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

ดวงใจ/แกไข สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี ๒๙ พ.ย. ๔๔ กา A+B(C)

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

พชร/อรดา/จัดทํา สํานั๑๓ กงานคณะกรรมการกฤษฎี มีนาคม ๒๕๔๖ กา

สํานักกงานคณะกรรมการกฤษฎี านักงานคณะกรรมการกฤษฎี *พระราชกฤษฎี าแกไขบทบัญญัติใหสกาอดคลองกั บสํการโอนอํ านาจหนาที่ ของสกาวนราชการให เปนไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕๒๑ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

มาตรา ๘๔ ในพระราชบัญญัติภาษีเงินไดปโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ใหแกไขคําวา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา “กรมทรัพยากรธรณี” เปน “กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ” สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดบัญกาญัติใหจัดตั้งสสํวานันราชการขึ ้นใหมโดยมีภการกิ สํานักรม กงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า จใหม ซึ่งได มีการตราพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า งกระทรวงสําทบวง นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา ่องจากพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชบัญญัติปรับกปรุ กรม นั้นแลว และเนื ญญัติดังกลาวได กา บัญญัติใหโอนอํานาจหนาที่ของสวนราชการ รัฐมนตรีผูดํารงตําแหนงหรือผูซึ่งปฏิบัติหนาที่ในสวน สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ราชการเดิมมาเปนของสวนราชการใหม โดยใหมีการแกไขบทบัญญัติตางๆ ใหสอดคลองกับ อํานาจหนาที่ที่โอนไปด อนุวัติใหเปนไปตามหลั ญญัติ กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา วย ฉะนั้นสําเพื นัก่องานคณะกรรมการกฤษฎี กา กการที่ปรากฏในพระราชบั สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี และพระราชกฤษฎีกาดังกลาว จึงสมควรแกไขบทบัญญัติของกฎหมายใหสอดคลองกับการโอน สํานั่อกให งานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี า สวนราชการ เพื ผูเกี่ยวของมีความชักดาเจนในการใชสํกานัฎหมายโดยไม ตองไปคนกหาในกฎหมาย โอนอํานาจหนาที่วาตามกฎหมายใดไดมีการโอนภารกิจของสวนราชการหรือผูรับผิดชอบตาม สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กฎหมายนั้นไปเปนของหนวยงานใดหรื อผูใดแลว โดยแกไขบทบัญญัติขสํองกฎหมายให มีการ เปลี่ยนชื่อสวนราชการ รัฐมนตรี ผูดํารงตํกาาแหนงหรือผูสํซาึ่งนัปฏิ บัติหนาที่ของสวนราชการให ตรงกับ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กงานคณะกรรมการกฤษฎี กา การโอนอํานาจหนาที่ และเพิ่มผูแทนสวนราชการในคณะกรรมการใหตรงตามภารกิจที่มีการตัด โอนจากสวนราชการเดิ รวมทั้งตักดาสวนราชการเดิ ่มีการยุบเลิกแลว กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา มมาเปนของส สํานัวกนราชการใหม งานคณะกรรมการกฤษฎี สํามนัที กงานคณะกรรมการกฤษฎี ซึ่งเปนการแกไขใหตรงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกลาว จึงจําเปนตองตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา พระราชกฤษฎีสํกานัานีกงานคณะกรรมการกฤษฎี ้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักพชร/อรดา/จั งานคณะกรรมการกฤษฎี ดทํา กา

๒๕/๐๗/๒๕๔๖ วชิระ/ปรับปรุง

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๙/ตอนที่ ๑๐๒ ก/หนา ๖๖/๘ ตุลาคม ๒๕๔๕


Page 273 - ๓๖ -

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑๗สํานัพฤศจิ กายน ๒๕๔๙ กา กงานคณะกรรมการกฤษฎี

๒๒ กาบที่ ๖) พ.ศ.สํา๒๕๕๐ นักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา พระราชบัญญัสํตาิภนักาษีงานคณะกรรมการกฤษฎี เงินไดปโตรเลียม (ฉบั

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี า สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี สํานัมกีกงานคณะกรรมการกฤษฎี หมายเหตุ :- เหตุผกลในการประกาศใช พระราชบัญญัติฉบับนีก้ คืา อ เนื่องจากได ารแกไขเพิ่มเติม กา

กฎหมายวาดวยปโตรเลียมโดยกําหนดใหผูรับสัมปทานขอขยายอายุสัมปทานไดเพราะเหตุซึ่งมิใช สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความผิดของผูรับสัมปทาน สมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยภาษีเงินไดปโตรเลียมในเรื่อง การกําหนดสวนลดเพื านวณราคามาตรฐานให งจําเปนตองตรา กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา่อประโยชนใสํนการคํ านักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สอดคลองกั สํานนักจึงานคณะกรรมการกฤษฎี พระราชบัญญัตินี้ สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎี กา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๒๒ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๔/ตอนที่ ๖๙ ก/หนา ๑๒/๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๐


Page 274

ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ....

จัดทาและเสนอร่างโดยกระทรวงพลังงาน


Page 275

ร่ าง พระราชบัญญัตปิ ิ โตรเลียม ฉบับกระทรวงพลังงาน

พระราชบัญญัตปิ ิ โตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. ... ภูมพ ิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ ไว้ ณ วันที่ .................................................. เป็ นปี ที่ ................... ในรั ชกาลปั จจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ าฯ ให้ ประกาศว่า โดยที่เป็ นการสมควรแก้ ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้ วยปิ โตรเลียม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติขึ ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของ...................ดังต่อไปนี ้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี ้เรี ยกว่า “พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ. ...” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติให้ ใช้ บงั คับตั ้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป มาตรา ๓ คาในที่ใดในพระราชบัญญัติปิโตรเลีย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ และที่แก้ ไขเพิ่มเติม ที่ใช้ คาว่า “สัมปทาน” ให้ ใช้ คาว่า “สัญญาเพื่อสิทธิสารวจและผลิตปิ โตรเลียม” แทน มาตรา ๔ ให้ ยกเลิกความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และให้ ใช้ ความต่อไปนี ้แทน “มาตรา ๒๓ ปิ โตรเลียมเป็ นของรัฐ ผู้ใดสารวจหรื อผลิตปิ โตรเลียมในที่ใด ไม่ว่าที่นั ้นเป็ นของตนเอง หรื อบุคคลอื่น ต้ องได้ รับสัมปทานหรื อได้ รับสัญญาตามความในหมวด ๓ ทวิ การขอสัมปทานให้ เป็ นไปตาม หลัก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขที่ ก าหนดในกฎกระทรวงแบบสั ม ปทานให้ เ ป็ นไปตามที่ ก าหนดใน กฎกระทรวง” มาตรา ๕ ให้ เพิ่มความต่อไปนี ้เป็ นหมวด ๓ ทวิ บทบัญญัติสญ ั ญาแบ่งปั นผลผลิตกับมาตรา ๕๓/๑ มาตรา ๕๓/๒ มาตรา ๕๓/๓ มาตรา ๕๓/๔ และมาตรา ๕๓/๕ แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.๒๕๑๔ ๑


Page 276

หมวด ๓ ทวิ สัญญาแบ่ งปั นผลผลิต ______________________ มาตรา ๕๓/๑ ในกรณี ที่คณะรั ฐมนตรี มี มติ ให้ มี การสารวจหรื อผลิตปิ โตรเลีย มไม่ ว่าในที่ ใดใน รูปแบบของสัญญาแบ่งปั นผลผลิต ให้ กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติกาหนดวิธีการสาหรั บการยื่นข้ อเสนอและตก ลงทาสัญญา มาตรา ๕๓/๒ รัฐมนตรี โดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี มีอานาจลงนามในสัญญาตามมาตรา ๕๓/๑ กับผู้ที่ สมควรได้ รับสิทธิเพื่อการสารวจและผลิตปิ โตรเลียมภายใต้ ระบบสัญญาแบ่งปั นผลผลิต สัญญาตามวรรคหนึ่ง ก่อนนาเสนอคณะรั ฐมนตรี อนุมัติต้องได้ รับการตรวจจากสานักงานอัยการ สูงสุด มาตรา ๕๓/๓ ให้ คณะกรรมการปิ โตรเลียมตามมาตรา ๑๖ มี อานาจหน้ าที่ในการให้ คาปรึ กษา คาแนะนาและให้ ความเห็นแก่รัฐมนตรี ในเรื่ องการทาสัญญาตามมาตรา ๕๓/๑ ระหว่างรั ฐมนตรี กับผู้ที่ สมควรได้ รับสัญญาแบ่งปั นผลผลิต มาตรา ๕๓/๔ สัญญาแบ่งปั นผลผลิตต้ องมีข้อกาหนดและเงื่อนไขดังต่อไปนี ้ด้ วย (๑) ผู้ไ ด้ รั บสัญ ญาต้ องให้ ชาระค่าภาคหลวงจานวนไม่ น้อยกว่าร้ อยละสิ บ ของผลผลิ ตรวมของ ปิ โตรเลียม (๒) ให้ ผ้ ไู ด้ รับสัญญาใช้ อตั ราร้ อยละห้ าสิบของผลผลิตรวมของปิ โตรเลียมเพื่อวัตถุประสงค์ในการ หักค่าใช้ จา่ ยสาหรับการประกอบกิจการปิ โตรเลียม (๓) ให้ ถือว่าส่วนที่เหลือของผลผลิตรวมของปิ โตรเลียมหลังจากการหักตาม (๑) และ (๒) แล้ ว เป็ น ปิ โตรเลียมส่วนที่เป็ นกาไรและให้ แบ่งแก่ผ้ ไู ด้ รับสัญญาในจานวนไม่เกินกว่าร้ อยละห้ าสิบ (๔) สัญญาจะมีอายุไม่เกิน ๓๙ ปี (๕) ให้ บรรดาค่าใช้ จ่ายทัง้ ปวงในการประกอบกิ จการปิ โตรเลี ยมตกเป็ นของผู้ได้ รั บสัญญาและ ภายใต้ ข้อบังคับของ (๒) ให้ หกั จากผลผลิตได้ (๖) จานวนเงินขั ้นต่าที่ผ้ ไู ด้ รับสัญญาต้ องใช้ เป็ นค่าใช้ จา่ ยในการประกอบกิจการปิ โตรเลียมตาม สัญญาในฐานะข้ อผูกพันขั ้นต่า ตามที่ตกลงกัน ๒


Page 277

(๗) ผู้ได้ รับสัญญาต้ องชาระเงินบารุ งการวิจยั ให้ กรมเชื ้อเพลิงธรรมชาติในอัตราร้ อยละศูนย์จดุ ห้ า ของจานวนรวมแห่งส่วนของผลผลิตรวมที่ใช้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการหักค่าใช้ จา่ ยตาม (๒) และส่วนแบ่งของ ปิ โตรเลียมส่วนที่เป็ นกาไรของผู้ได้ รับสัญญาตาม (๓) (๘) ข้ อพิพาทหรื อข้ อขัดแย้ งใดๆ ซึง่ เกิดจากหรื อเกี่ยวเนื่องกับสัญญา ซึง่ ไม่สามารถตกลงกันได้ โดย ฉันทมิตร ให้ ดาเนินการระงับโดยอนุญาโตตุลาการ ตามวิธีการที่กาหนดไว้ ในข้ อบังคับ UNCITRAL วินิจฉัย ตามบทบัญญัติของกฎหมายไทย และคานึงถึงหลักกฎหมายระหว่างประเทศ สถานที่พิจารณาให้ อยู่ใน กรุงเทพมหานครและภาษาที่ใช้ ให้ เป็ นภาษาไทย (๙) หลักเกณฑ์และวิธีการสาหรับสารวจและผลิตปิ โตรเลียม มาตรา ๕๓/๕ ในเขตพื ้นที่เพื่อการสารวจและผลิตปิ โตรเลียมให้ พนักงานเจ้ าหน้ าที่มีอานาจตาม มาตรา ๙ โดยอนุโลม มาตรา ๖ บทบั ญ ญั ติ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ ปิ โตรเลี ย ม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่ ง แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดย พระราชบัญญัตินี ้ไม่ใช้ บังคับแก่ผ้ รู ั บสัมปทานสาหรั บสัมปทานที่ได้ ออกให้ ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ้ใช้ บังคับ และให้ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ก่อนการแก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี ้ยังคงใช้ บังคับต่อไปสาหรับผู้รับสัมปทานดังกล่าว มาตรา ๗ ให้ รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพลังงานรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ


ภาคผนวก ๓ ข้อเสนอแนวทางในการบริหารจัดการแปลงสัมปทานปิโตรเลียม ที่กาลังจะหมดอายุ แปลงปิโตรเลียมที่มีศักยภาพ และแปลงปิโตรเลียมในพื้นที่ทับซ้อนระหว่างประเทศในอ่าวไทย


Page 279

เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย ๑๐๒/๑ บ้านพระอาทิตย์ ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพ ๑๐๒๐๐ ที่ คปพ. ๐๑๔/๒๕๕๘ วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เรื่อง ข้อเสนอแนวทางในการบริหารจัดการแปลงสัมปทานปิโตรเลียมที่กาลังจะหมดอายุ แปลงปิโตรเลียมที่มี ศักยภาพ และแปลงปิโตรเลียมในพื้นที่ทับซ้อนระหว่างประเทศในอ่าวไทย เรียน

ประธานกรรมาธิการวิสามัญการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ

สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑. ร่าง พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ.... จัดทาและเสนอร่างโดยกระทรวงพลังงาน ๒. ร่างพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่...) พ.ศ..... จัดทาและเสนอร่างโดยกระทรวง พลังงาน ๓. ร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ.... จัดทาโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูป พลังงานไทย ตามที่เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้รับหนังสือจากท่านประธาน กรรมาธิการ วิสามัญ การมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อพิจารณาการเตรียมความพร้อมในการจัด เวที รับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฎิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ นั้น เครื อข่ายประชาชนปฏิรู ปพลั งงานไทย (คปพ.) ขอขอบพระคุณท่านประธานกรรมาธิการฯ และท่าน ประธานอนุกรรมาธิการฯ ตลอดจนท่านอนุกรรมาธิการฯ เป็นอย่างสูงที่ได้ให้โอกาส เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงาน ไทย (คปพ.) ได้ น าเสนอข้อมูล เพื่อให้ ท่านพิจ ารณาดาเนินการต่อ ไปเพื่อผลประโยชน์สู งสุ ดของประเทศชาติและ ประชาชนเป็นที่ตั้ง ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการที่เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย(คปพ.) ได้รับทราบจากกรณีที่มีข่าวปรากฏ ว่า คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้วางกรอบแนวทางศึกษารูปแบบการพิจารณาแปลงสัมปทาน ปิโตรเลียม ที่รั ฐบาลไทยได้ให้ความเห็นชอบแก่ผู้รับสัมปทานหลายบริษัท ในแหล่งปิโตรเลียมบงกช และเอราวัณ ภายใต้พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ซึ่งได้ต่ออายุสัญญาสัมปทานครั้งสุดท้ายไปแล้ว จึงไม่สามารถต่ออายุ สัมปทานได้อีกตามกฎหมาย และสัมปทานดังกล่าวจะสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ และ พ.ศ. ๒๕๖๖ ซึ่งเป็นที่น่าสังเกต ว่า การต่อสัญญาครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ.๒๕๕๐ ที่ผ่านมา กลับมิได้กาหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมให้รัฐบาลสามารถเข้าพื้นที่เพื่อ ทาการแทนหรือทาการโอนถ่ายการผลิตปิโตรเลียมก่อนสิ้นสุดอายุการต่อสัญญาได้ ทาให้รัฐบาลไม่สามารถดาเนินการ ใดๆ ได้กอ่ นสิ้นสุดสัญญา


Page 280

ดังนั้น เมื่อสิ้นสุดสัญญาลงก็อาจทาให้การผลิตปิโตรเลียมในแหล่งเอราวัณและบงกชขาดช่วงไปจนเกิด วิกฤติการขาดแคลนพลังงานได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก๊าซธรรมชาติจากแหล่งบงกช และเอราวัณที่กาลังจะหมดอายุ สัมปทานลงมีกาลังการผลิตก๊าซธรรมชาติรวมกันสูงถึงประมาณ ๒,๑๑๐ ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน คิดคานวณเป็นปริมาณ ก๊าซกว่าร้อยละ ๕๐ ของปริมาณการผลิตทั้งประเทศ จากความไม่รอบคอบรัดกุมในการต่อสัญญาในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ จึง ทาให้เกิดความเสี่ยงในความต่อเนื่องของการผลิตก๊าซในอนาคต ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่กับความมั่นคงในการผลิตไฟฟ้า จนอาจต้องนาเข้าก๊าซธรรมชาติจากต่างประเทศในราคาแพง สร้างความเดือดร้อนให้แก่ ประชาชนเป็นผู้แบกรับภาระ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างไม่เป็นธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขาดการวาง แผนการบริหารจัดการพลังงานที่ดี จากกรณีดังกล่าว ส่งผลให้อานาจต่อรองของภาครัฐในการคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนลดลง และทา ให้ผู้รับสัมปทานบางบริษัท มีอานาจต่อรองสูงขึ้นเหนือความมั่นคงของชาติ ส่งผลให้รัฐบาลอาจต้องยอมจานนหรือถูก กดดันให้ด่วนตัดสินใจเปิดสัมปทานปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ เพื่อเร่งจัดหาปิโตรเลียมทดแทน โดยปราศจากการประมูล หรือนายกรัฐมนตรีอาจถูกกดดันให้ต้องใช้มาตรา ๔๔ (รัฐธรรมนูญชั่วคราว) เพื่อมีคาสั่งต่ออายุการผลิต หรือให้สิทธิใน การผลิตปิโตรเลียมรอบใหม่ไม่ว่าในระบบสัมปทานหรือระบบแบ่งปันผลผลิตหรือการจ้างผลิตให้แก่ผู้รับสัมปทานราย เดิมเหล่านี้ โดยปราศจากการประมูลแข่งขันการให้ผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุดหรือการแข่งขันในการเสนอต้นทุนการผลิต ต่าที่สุดให้ได้อย่างโปร่งใส หรือรัฐบาลไทยอาจถูกกดดันให้ต้องเร่งเจรจาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทยกับประเทศ เพื่อนบ้านโดยปราศจากความถูกต้องในเรื่องเส้นทะเลอาณาเขต เขตเศรษฐกิจจาเพาะ และพื้นที่ ซึ่งอ้างว่าทับซ้อน เพื่อ ตอบสนองอานาจต่อรองของบริษัทผู้รับสัมปทานที่มีมากกว่ารัฐบาลไทย หากสมมุ ติ ว่ า ราชอาณาจั ก รไทยจะสามารถเจรจาตกลงผลประโยชน์ ใ นพื้ น ที่ ทั บ ซ้ อ นทางทะเลกั บ ราชอาณาจักรกัมพูชาได้สาเร็จจริง ราชอาณาจักรไทยก็ยังจะต้องดาเนินการอนุญาตให้แก่ผู้รับสัมปทานรายเดิมซึ่งได้ลง นามในสัญญายุคแรกๆ ซึ่งเป็นสั มปทานประเภทไทยแลนด์ ๑ กับรัฐบาลไทยในอดีต กว่า ๔๐ ปี โดยที่ รัฐบาลแห่ ง ราชอาณาจักรไทยจะได้รับผลตอบแทนจากสัญญาเดิมในระดับต่าอยู่ดี เพราะในเวลาที่ลงนามสัญญาในอดีตยุคแรกนั้น ราชอาณาจักรไทยปราศจากข้อมูลและการตื่นรู้ของชาติและประชาชนที่ไม่ได้ตระหนักในคุณค่าของแหล่งปิโตรเลียมใน ราชอาณาจักรไทยมากเท่ากับยุคปัจจุบัน ยิ่งไปกว่านั้นผู้ที่จะได้ดาเนินการผลิตปิโตรเลียมจากการเปิดพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยระหว่ างราชอาณาจักร ไทยและกัมพูชาส่วนใหญ่แล้วก็คือบริษัทยูโนแคลซึง่ ได้ลงนามในสัญญากับรัฐบาลไทยในอดีต และต่อมาบริษัทยูโนแคล ได้ถูกซื้อกิจการโดยกลุ่มบริษัทของเชฟรอน ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานในแหล่งเอราวัณที่กาลัง จะหมดอายุลงด้วย จึงเท่ากับ ว่าการเปิดพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลในอ่าวไทยกลับยิ่งเพิ่มอานาจต่อรองให้กับกลุ่ม

เชฟรอนมากยิ่งขึ้น และทาให้อานาจต่อรองของรัฐบาลไทยกลับยิ่งลดลงไปมากกว่าเดิม ทั้งในมิติด้านความมั่นคงทาง พลังงาน และในมิติผลตอบแทนที่จะได้แก่ราชอาณาจักรไทย เครือข่ายประชาชนปฏิรูป พลังงานไทย (คปพ.) มีความเห็นว่ากรณีดังกล่าวถือเป็นวิกฤติของประเทศ จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการบริหารจัดการเพื่อสร้างอานาจต่อรองสูงสุดให้แก่รัฐไทย ด้วยการบริหารจัดการแปลง ปิโตรเลียมใหม่ที่มีศักยภาพในอ่าวไทยเพื่อสร้างเงื่อนไขให้เอกชนที่ถือแปลงสัมปทานเดิมยอมปรับปรุงเงื่อนไขโดยสมัคร


Page 281

ใจภายใต้แรงจูงใจในผลประโยชน์ในอนาคต เพื่อให้รัฐไทยมีอานาจต่อรองสูงขึ้น แล้วจึงพิจารณาบริหารจัดการพื้นที่ทับ ซ้อนทางทะเลในอ่าวไทย เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ ๓ ประการ คือ ประการแรก เพื่อธารงรักษาอธิปไตยและเขตเศรษฐกิจของไทยเอาไว้ให้ได้ โดยไม่อยู่ภายใต้แรงกดดันจาก ผู้รับสัมปทานแปลงปิโตรเลียมเดิมที่ อ้างว่าจะลดกาลังการผลิตลงหรือทาให้การผลิตไม่ต่อเนื่องเมื่อหมดอายุสัญญา สัมปทานลง ประการที่สอง เพื่อทาให้การผลิตปิโตรเลียมโดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติยังคงดาเนินการได้อย่างต่อเนื่องโดย ไม่สะดุดหรือหยุดลงในช่วงเปลี่ยนผ่านก่อนหมดอายุสัญญาสัมปทานเดิม ประการที่สาม เพื่อทาให้เกิดผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุด ด้วยการสร้างกลไกในการแข่งขันเสรีที่ มีความโปร่งใส และเป็นธรรมต่อผู้แข่งขันทุกราย การบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น เครือข่ายประชาชนปฏิรูป พลังงานไทย (คปพ.) เห็นว่า มีความ จาเป็นอย่างยิ่งที่รัฐบาลไทยต้องสร้างเงื่อนไขอันชอบธรรมเพื่อนาอานาจต่อรองกลั บคืนมา อันจะนาไปสู่การสร้าง ทางเลือกในการรักษาผลประโยชน์สูงสุดของประเทศชาติและประชาชน รวมทั้งความมั่นคงด้านพลังงาน จึงใคร่ขอ เสนอแนวทางในการหาทางออกให้กับประเทศไทยดังต่อไปนี้ ๑. ภายใต้พระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียมฉบับใหม่ ซึ่งจัดทาร่างโดย เครือข่ายประชาชนปฏิรูป พลังงานไทย (คปพ.) ได้จัดทาบทเฉพาะกาลกาหนดหลักเกณฑ์การเปิดการประมูลแข่งขันผลตอบแทนสูงสุดให้แก่รัฐใน การผลิ ต ปิ โ ตรเลี ย มโดยใช้ ร ะบบแบ่ งปั น ผลผลิ ต เฉพาะแปลงที่ มี ศัก ยภาพสู ง ตามรายงานของกระทรวงพลั ง งาน โดยเฉพาะพื้นที่ทะเลในอ่าวไทย ๕ แปลง เพื่อเพิ่มหลักประกันว่าประเทศไทยจะมีการผลิตก๊าซธรรมชาติเพิ่มขึ้นในเวลา ใกล้เคียงกันกับเวลาการหมดอายุสัมปทานในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ และ พ.ศ. ๒๕๖๖ ได้แก่ แปลง จี ๓/๕๗, จี ๔/๕๗, จี ๕/ ๕๗ เอ, จี ๕/๕๗ บี และจี ๖/๕๗ ซึ่งจากรายงานของกระทรวงพลังงานที่ได้แจ้งต่อผู้ที่จะประสงค์รับสัมปทาน ปิโตรเลียมรอบที่ ๒๑ ว่าด้วยศักยภาพปิโตรเลียมของอ่าวไทย เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ว่าทั้ง ๕ แปลง ดังกล่าว คาดว่าจะมีน้ามันรวมทั้งสิ้น ๑๗๙ ล้านบาร์เรล และจะมีก๊าซธรรมชาติ ๑.๒๖ ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต หรือ ประมาณการผลิตก๊าซเฉลี่ยอย่างน้อยวันละ ๑๒๗ ล้านลูกบาศก์ฟุต ตลอดอายุสัญญาการแบ่งปันผลผลิต ๒๐ ปี หลังจากนั้น ให้มีการประมูลในระบบแบ่งปันผลผลิตในแปลงผลิตปิโตรเลียมที่กาลังจะหมดอายุในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ และ พ.ศ. ๒๕๖๖ อันได้แก่ หมายเลข บี ๑๐ บี ๑๑ บี ๑๒ และบี ๑๓ ในแหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณและ ข้างเคียง ซึ่งถือครองสิทธิโดยกลุ่มบริษั ท เชฟรอน และแปลงผลิตปิโตรเลียมหมายเลข บี ๑๕ บี ๑๖ และบี ๑๗ ใน แหล่งก๊าซธรรมชาติบงกชและข้างเคียง โดยกลุ่มบริษัท ปตท.สผ. เพื่อเป็นหลักประกันว่าจะมีการผลิตปิโตรเลียมใน แปลงสัมปทานที่หมดอายุลงทุกแปลง แปลงสัมปทานเหล่านี้จะยังคงผลิตก๊าซธรรมชาติรวมกันสูงถึงประมาณ ๒,๑๑๐ ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวันอยู่เช่นเดิม ๒. ภายใต้บทเฉพาะกาลท้ายพระราชบัญญัติป ระกอบกิจการปิโ ตรเลี ยม พ.ศ..... ซึ่งจัดทาร่างโดย เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) นั้น ให้ผู้ขอรับสิทธิเข้าร่วมประมูลตามข้อ ๑ จะต้องยินยอมแก้ไขสัญญา สัมปทานเดิมของบริษัทในกลุ่มของตนทุกบริษัท เพื่อให้การผลิตดาเนินต่อไปได้โดยไม่ลดผลผลิตหรือขาดตอน


Page 282

โดยผู้รับสัมปทานจะต้องจัดให้บรรดาทรัพย์สินและอุปกรณ์ทั้งหลายของผู้รับสัมปทานที่ซื้อหรือเช่ามา เพื่อใช้ในการผลิตปิโตรเลียมเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้รับสัมปทาน ปราศจากการครอบครองหรือการรอนสิทธิอย่ างหนึ่ง อย่างใดเหนือทรัพย์สินหรืออุปกรณ์ทั้งหลายนั้น และเมื่อสัมปทานนั้นหมดอายุจะต้องโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและ อุปกรณ์ทั้งหลายนั้นให้แก่รัฐในสภาพที่สมบูรณ์พร้อมใช้งาน ซึ่งจะทาให้รัฐบาลสามารถนาทรัพย์สินที่จะได้กลับคืนมา ดาเนินการประเมินมูลค่าเพื่อนามาใช้เป็ นสัดส่วนการลงทุนของรัฐบาลในการเปิดประมูลในระบบแบ่งปันผลผลิตของ แปลงปิโตรเลียมนั้นๆ ได้ รวมทั้งให้รัฐบาลสามารถเข้าไปในพื้นที่เพื่อรับมอบการโอนถ่ายการผลิตปิโตรเลียมก่อนหมดอายุสัมปทาน เพื่อสร้างอานาจต่อรองให้กลับคืนมาเป็นของรัฐบาลจากผู้รับสัม ปทานรายเดิม ซึ่งภายใต้ข้อเสนอดังกล่าวนี้ เครือข่าย ประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้จัดทาบทเฉพาะกาลท้ายพระราชบัญญัติ ประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... นาส่งมาเพื่อพิจารณาแล้ว(ตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ๓) เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ทั บ ซ้ อ นทางทะเลในอ่ า วไทยยั ง ไม่ ส ามารถหาข้ อ ยุ ติ ร ะหว่ า งราชอาณาจั ก รไทยกั บ ราชอาณาจักรกัมพูชาได้ และยังไม่สามารถประมาณการได้ว่าจะต้องใช้เวลาเจรจาอีกนานเท่าไหร่ ย่อมแสดงให้เห็นว่าผู้ ถือครองสิทธิที่ได้รับสัมปทานในพื้นที่ทับซ้อนก็ไม่ สามารถเข้าพื้นที่เพื่อผลิตปิโตรเลียมได้จริง มาตั้งแต่เริ่มแรกที่ได้รับ สัมปทานจนผ่านมากว่า ๔ ทศวรรษ และยังคงมีความไม่แน่นอนสูงอยู่ต่อไป เมื่อผนวกกับการที่รัฐบาลไทยจะต้อง แก้ไขข้อกังวลต่อวิกฤติการขาดแคลนปิโตรเลียมเพื่อผลิตไฟฟ้า ซึ่งต้องจัดหาปิโตรเลียมใหม่ควบคู่กับการบริหารจัดการ แหล่งปิโตรเลียมเดิมที่สัมปทานกาลังจะหมดอายุลงอยู่แล้ว เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) จึงเห็นว่า ในวาระสาคัญ เช่นนี้รัฐบาลไทยควรเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาสโดยนาเงื่อนไขการจัดหาปิโตรเลียมเพิ่ มเติมมาสร้าง อานาจต่อรองเพื่อแก้ไขปัญหาการเสียเปรียบรัฐจะได้ผลตอบแทนต่าในสัญญาสัมปทานไทยแลนด์ ๑ ที่ล้าสมัยได้ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทยจึงได้กาหนดเงื่อนไขในบทเฉพาะกาลท้ายพระราชบัญญัติประกอบ กิจการปิโตรเลียม พ.ศ....ว่า หากผู้ที่ถือครองสิทธิในพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยตั้งแต่ในอดีต ต้องการจะเข้าร่วมประมูลใน แปลงปิโตรเลียมใหม่ที่มีศักยภาพสูง หรือแปลงสัมปทานเดิมที่กาลังจะหมดอายุ ลงต้องยอมยกเลิกสัญญาสัมปทานใน พื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยเสียก่อนจึงจะเป็นผู้มีสิทธิในการจัดหาปิโตรเลียมตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งแนวทางดังกล่าวถือ ว่ามีความเป็นไปได้เพราะในปัจจุบันแปลงสัมปทานในพื้นที่ทับซ้อนในอ่าวไทยก็ไม่ได้มีการผลิตจริงอยู่แล้ว ตราบใดที่ยัง ไม่มีข้อยุติระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา ทั้งนี้เพื่อให้อานาจต่อรองกลับมาเป็นของรัฐให้มากที่สุด เห็นควรให้จัดประมูลเฉพาะ ๕ แปลงใหม่ที่มี ศักยภาพในอ่าวไทยก่อนเป็นลาดับแรก หลังจากนั้นก็ให้จัดประมูลแปลงปิโตรเลียมในแหล่งบงกชและเอราวัณที่จะ หมดอายุ ในอีก ๖ - ๗ ปี ข้างหน้ าเป็ น ล าดับ ต่อไป เพราะผู้ ที่ได้รับสั มปทานในแหล่ งบงกชและเอราวัณที่กาลั งจะ หมดอายุนั้น ต่างมีแปลงสัมปทานติดกับแปลงปิโตรเลียม ๕ แปลงใหม่ดังกล่าวทั้งสิ้น จึงทาให้ได้เปรียบในทางธุรกิจ มากกว่าผู้ประมูลรายอื่นอยู่แล้ว ย่อมต้องมีแรงจูงใจที่จะแก้สัญญามากกว่าที่จะทิ้งโอกาสอันสาคัญของกลุ่มธุรกิจของ ตนเอง หากผู้รับสัมปทานเหล่านี้สละสิทธิ์ไม่แก้ไขสัญญาสัมปทานเดิม จะทาให้ไม่เพียงแต่สูญเสียโอกาสการเข้า ร่วมประมูลใน ๕ แปลงใหม่ที่ติดกับแปลงสัมปทานเดิมของตนเองเท่านั้น จะเป็นผลทาให้ไม่สามารถเข้าร่วมประมูล


Page 283

แปลงปิโตรเลียมที่รัฐจะต้องทยอยเสนอเปิดพื้นที่เพิ่มเติมต่อจากนั้นอีกหลายแปลง และรวมถึงการเปิดประมูลแหล่ง บงกชและเอราวัณในลาดับสุดท้ายอีกด้วย การที่ผู้รับสัมปทานรายเดิมไม่ยินยอมแก้ไขสัญญาจึงเท่ากับการสละสิทธิ์ใน การแสวงผลประโยชน์แปลงปิโตรเลียมทั้งในปัจจุบันและอนาคตทั้งหมดในทุกแปลงของประเทศไทย การวางหมาก เช่นนี้ย่อมจะเป็นผลทาให้อานาจต่อรองของรัฐสูงขึ้นไปโดยปริยาย ภายใต้โครงสร้างนี้ หากมีการแก้ไขสัญญาก็จะเป็นความยินยอมของผู้รับสัมปทานรายเดิมเพื่อแลกกับ "โอกาส" ที่จะมีสิทธิ์ประมูลผลประโยชน์ในอนาคตจากแหล่งปิโตรเลียมไทยโดยสมัครใจ หาใช่เป็นข้อพิพาทที่จะนาไปสู่ ข้อวิตกกังวลว่าจะต้องอาศัยกระบวนการจากอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศแต่ประการใด อีกทั้งการกาหนดเงื่อนไข การประมูลหรือไม่ประมูลของแปลงปิโตรเลียมในแต่ละประเทศไม่มีความจาเป็นต้องเหมือนหรือมีมาตรฐานเหมือนกัน แต่ประการใด ดังนั้นราชอาณาจักรไทยจึงย่อมทรงสิทธิ์ที่จะวางเงื่อนไขวิธีการประมูลเพื่อสร้างความมั่นคงแห่งชาติมิใ ห้ เกิดวิกฤติทางพลังงานในอนาคตได้อย่างชอบธรรม ทั้งนี้หากผู้รับสัมปทานรายเดิมหรือนักวิชาการที่สนับสนุน ให้ผู้รับสัมปทานรายเดิมได้รับสัมปทานต่อไป แสดงความเห็นหรือแสดงท่าทีในช่วงเวลานี้ว่าข้อเสนอดังกล่าว ทาให้ขาดความเชื่อมั่นในการลงทุนก็ดี ไม่มีแรงจูงใจก็ดี หรือเป็นไปไม่ได้ก็ดี ก็เพราะเงื่อนไขในปัจจุบันของผู้รับสัมปทานเดิมนั้นมีความพึ งพอใจอยู่แล้วเมื่อเปรียบเทียบกับ เงื่อนไขใหม่ที่ได้ผลตอบแทนน้อยกว่า จึงย่อมแสดงความเห็นเพื่อ ที่จะไม่ต้องการเปลี่ยนแปลงใดๆ แต่เมื่อรัฐบาล ตัดสินใจที่จะเลือกเส้นทางตามข้อเสนอนี้ แล้ว ผู้รับสัมปทานจะต้องเลือกระหว่าง”รับ”หรือ “ไม่รับ”ในเงื่อนไขใหม่ว่า สิ่งใดจะเกิดผลดีหรือผลเสียทางธุรกิจของตนเองมากกว่ากัน เพราะลั ก ษณะเช่ น นี้ เ คยเกิ ด ขึ้ น มาแล้ ว ในการแก้ ไ ขสั ญ ญาสั ม ปทานเดิ ม ของประเทศโบลิ เ วี ย กั บ บริษัทเอกชนที่รัฐได้ผลตอบแทนเพียงร้อยละ ๓๐ ของรายได้รวม ให้มาแก้ไขสัญญาสัมปทานเดิมเปลี่ยนมาใช้ระบบจ้าง ผลิตทั้งหมดโดยให้คิดต้นทุนที่แท้จริงแล้วรัฐเพิ่มกาไรให้บริษัทเอกชนผู้รับจ้างอีกร้อยละ ๒๐ ของต้นทุนการผลิต อีกทั้ง รัฐยังได้เข้าร่วมถือหุ้นในการจ้างผลิตด้วยอีกร้อยละ ๕๐ ผลปรากฏว่าทุกบริษัทยินยอมแก้ไขสัญญาทั้งหมดโดยไม่มีข้อ พิพาทหรือการฟ้องร้ องใดๆทั้งสิ้ น ทั้งๆที่ก่อนหน้านี้ ผู้ รับสั มปทาน ข้าราชการ และนักวิช าการที่ส นับสนุนบริษัท พลังงานเหล่านี้ ต่างให้ความเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่าเป็นไปไม่ได้ จะเกิดผลเสียหายต่อประเทศอย่างรุนแรง ทาให้ นักลงทุนขาดความเชื่อมั่น ฯลฯ แต่ด้วยเพราะรัฐบาลโบลิเวียนั้นมีความหนักแน่นในการใช้อานาจต่อรองโดยอ้างถึง การ ต่อสั ญ ญาสั ม ปทานที่ไม่ ผ่ านความเห็ น ชอบจากรัฐ สภานั้น ขัด ต่อรั ฐ ธรรมนูญ ของโบลิ เวี ย และอานาจต่อรองที่ใ ห้ บริษัทเอกชนได้ตระหนักในความเสี่ยงที่จ ะเสียหายทางธุรกิจหากมีการฟ้องร้องกันระหว่างประเทศซึ่งต้องใช้เวลาอีก ยาวนานเมื่อเปรียบเทียบกับการยอมแก้ไขสัญญาในวันนี้ ดังนั้นย่อมแสดงให้เห็นว่าการแสดงความเห็นของกลุ่มบริษัท ผู้รับสัมปทานเดิม ข้าราชการ หรือนักวิชาการที่ สนับสนุนกลุ่มทุนพลังงาน ก่อนการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่อาจเชื่อถือหรือ ให้น้าหนักได้ ๓. อาศัยจากการที่รัฐบาลเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) สั่งการเป็นลาดับให้ ปตท. ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ของ บริษัท ปตท.สผ. จากัด (มหาชน) ดาเนินการแก้ไขสัญญาสัมปทานเดิมให้รัฐบาลสามารถเข้า ไปในพื้นที่และถ่ายโอนสิทธิและทรัพย์สินการผลิตปิโตรเลียมให้รัฐบาลก่อนล่วงหน้า ๕ ปี เพื่อเป็นหลักประกันสาหรับ การรักษากาลังการผลิตในแหล่งบงกชให้ได้ตามเดิมประมาณ ๘๗๐ ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน โดยไม่มี ผลเสียหายต่อผู้ถือ หุ้น ทั้งนี้เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้รับสัมปทานรายอื่นๆ ต่อไป


Page 284

หากสมมุ ติ เ กิ ด กรณี ปั ญ หาใดๆที่ ท าให้ ก ารด าเนิ น การดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ภายใต้ บ ทเฉพาะกาลของ พระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ..... ไม่ประสบความสาเร็จในการแก้ไขสัญญาสัมปทานเดิมก็ดี หรือไม่ ประสบความสาเร็จในการประมูลแข่งขั นการให้ผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุด ในระบบแบ่งปันผลผลิต ทั้งหมดก็ดี หรือไม่ ประสบความสาเร็จในการประมูลแข่งขันให้ต้นทุนต่าที่สุดในการรับจ้างผลิต ก็ดี ในฐานะที่ ปตท.สผ. เป็นรัฐวิสาหกิจ รัฐบาลสามารถสั่งการให้ ปตท.สผ. เป็น “หลักประกันสุดท้ายของรัฐ” เข้าดาเนินการรับจ้างผลิตจากแหล่งบงกชและ เอราวัณได้ โดยการรับโอนพนักงานและลูกจ้างที่อยู่แหล่งผลิตปิโตรเลียมของ เชฟรอน ซึ่งส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมด เป็นคนไทยเพื่อให้การผลิตเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง วิธีการเช่นนี้ย่อมเป็น"หลักประกันในอนาคต" ว่าประเทศไทยจะไม่มี ทางขาดแคลนก๊าซธรรมชาติเมื่อหมดอายุสัญญาสัมปทาน และเป็นการเพิ่มอานาจต่อรองให้แก่รัฐบาลไทยในปัจจุบัน เพื่อให้ผู้รับสัมปทานรายเดิมยินยอมแก้ไขสัญญา อันนาไปสู่การประมูลการให้ผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุดในระบบแบ่งปัน ผลผลิตได้ในที่สุด ทั้งนี้ นายปิยะสวัสดิ์ อัมระนันท์ ประธานกรรมการ บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) ในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ ของ บริษัท ปตท.สผ. (มหาชน) จากัด ได้ให้สัมภาษณ์ความตอนหนึ่งในหนังสือพิมพ์ โพสต์ทูเดย์ เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ว่า "หากรัฐพิจารณาว่าก๊าซทั้งสองแห่งในอ่าวไทย เมื่อหมดสัญญาลงรัฐจะเป็นเจ้าของ ๑๐๐% และ ประสงค์จะให้บริษัท ปตท.สผ. ที่เป็นบริษัทลูกของ ปตท. ซึ่งรัฐเป็นเจ้าของทางอ้อมเป็นผู้ผลิตทั้งหมดแทนที่ เชฟรอน ปตท.ก็มีความยินดีเข้าไปดาเนินการ" ย่อมแสดงให้เห็นว่า บริษัท ปตท.สผ. มีศักยภาพที่จะเป็นหลักประกัน ในการรับจ้างผลิตได้อย่างชัดเจน แต่เนื่องจาก ปตท.สผ. ไม่ใช่กิจ การของรัฐบาลไทย ๑๐๐% จึงขาดความชอบธรรมที่จะได้รับสิทธิ์ในการ ผลิตปิโตรเลียมในแหล่งปิโตรเลียมที่หมดอายุเป็นลาดับแรกโดยปราศจากการประมูล ซึ่งอาจนาไปสู่ข้อครหาถึงความไม่ โปร่งใสในการเสนอต้นทุนการผลิตเพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับผู้ถือหุ้นที่เป็นเอกชนจานวนหนึ่งของ ปตท.สผ.ได้ เพราะจาก รายงานของธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank) ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๔ พบว่า บริษัทเอกชนบาง แห่งที่ดาเนินการสารวจและผลิตปิโตรเลียมในอ่าวไทยนั้นมีต้นทุนการผลิตต่ากว่าต้นทุนที่รายงานโดย ปตท.สผ.มาโดย ตลอด จึงไม่สมควรที่จะให้สิทธิ์ขาดในการผลิตปิโตรเลียมโดยปราศจากการประมูลตั้งแต่เริ่มแรก หรือแม้สมมุติว่าจะนา ปตท.สผ. กลับมาเป็นกิจการของรัฐ ๑๐๐% ก็สมควรจะต้องมีการทบทวนต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันได้จริงกับ บริษัทเอกชนอื่นๆ นอกจากนี้หากรัฐบาลประกาศให้ ปตท.สผ. เข้าดาเนินการผลิตในฐานะผู้รับจ้างผลิตทันทีตั้งแต่เริ่มแรก อาจทาให้เชฟรอนซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานรู้ ตัวล่วงหน้าว่าจะไม่มีสิทธิ์แม้กระทั่งเข้าร่วมประมูลในระบบแบ่งปั นผลผลิต ดังนั้นการกาหนดนโยบายให้ ปตท.สผ. เข้าดาเนินการผลิตในฐานะผู้รับจ้ างผลิตทันทีตั้งแต่เริ่มแรก อาจจะไม่เกิด แรงจู ง ใจให้ เ ชฟรอนยอมแก้ ไ ขสั ญ ญาสั ม ปทานทั้ ง ที่ ก าลั ง จะหมดอายุ ล งหรื อ ในพื้ น ที่ ทั บ ซ้ อ นทางทะเลระหว่ า ง ราชอาณาจักรไทยและกัมพูชาได้ ด้วยเหตุผลนี้ในทางกลยุทธ์แล้วจึงควรดารงสถานะภาพ ปตท.สผ. "เป็นหลักประกัน ขั้นสุดท้ายในอนาคต" เพื่อใช้เป็นอานาจต่อรองของรัฐมากกว่า นอกจากนี้เชฟรอนได้เคยแสดงความประสงค์แล้วว่าสามารถรับได้ทั้งรูปแบบสัมปทานและแบ่งปันผลผลิต แต่จากรายงานของคณะกรรมาธิการบางชุด ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ทาให้ได้รับข้อมูลว่าว่าเชฟรอนไม่ต้องการที่จะ


Page 285

รับจ้างผลิตและได้ถอนตัวจากการจ้างผลิตในประเทศอื่นมาแล้ว ๒ แห่ง ย่อมแสดงให้เห็นว่าหากรัฐบาลกาหนดให้มีการ จ้างผลิตในแหล่งปิโตรเลียมที่กาลังจะหมดอายุลงอย่างแหล่งเอราวัณซึ่งถือครองโดยเชฟรอนอยู่นั้น อาจทาให้เชฟรอน ไม่เกิดแรงจูงใจในการแก้ไขสัญญาซึ่งไม่สอดคล้องกับทิศทางธุรกิจของเชฟรอนเอง อย่างไรก็ตามหากมีการประมูล แข่ ง ขั น ผลตอบแทนแก่ รั ฐ สู ง สุ ด อย่ า งสมบู ร ณ์ ใ นระบบแบ่ ง ปั น ผลผลิ ต โดยไม่ ใ ห้ มี ก ารหั ก ต้ น ทุ น รั ฐ ก็ อ าจจะได้ ผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุดใกล้เคียงกับการจ้างผลิตที่รัฐจ่ายเป็น ปริมาณปิโตรเลียมได้อยู่ดี นอกจากนี้แนวทางการประมูล ในระบบแบ่งปันผลผลิตก็จะทาให้ไม่ประสบกับปัญหาการขาดแรงจูงใจในการเพิ่มผลผลิต หรือการลงทุนเพิ่มของผู้รับ สิทธิในการผลิตเพื่อรักษาระดับปริมาณสารองปิโตรเลียมดังที่ได้เกิดขึ้นมาแล้วในบางประเทศ ซึ่งเป็นสาระสาคัญของ การบริหารจัดการแปลงสัมปทานที่กาลังจะหมดอายุลงนี้ ๔. เพื่อให้การพึ่งพาพลังงานปิโตรเลียมเป็นหลักเปลี่ยนไปสู่การพึ่งพาพลังงานหมุนเวียนมากยิ่งขึ้นโดยที่ ประเทศไม่ขาดแคลนพลังงานไฟฟ้า และเพื่อแก้ไขนโยบายสนับสนุนให้ใช้พลังงานหมุนเวียนในช่ว งที่ผ่านมาของ กระทรวงพลังงานซึ่งพบว่ามีข้อบกพร่องนานาประการ ไม่สอดคล้องกับหลักความเป็นธรรม ไม่เกิดการแข่งขัน อีกทั้ง เป็นการใช้ดุลยพินิจส่วนบุคคลที่สนับสนุนเทคโนโลยีอันหนึ่งอันใดอย่างไม่มีเหตุผลทางวิชาการรองรับที่สะท้อนความ เป็นจริง ทาให้การพัฒนาพลังงานหมุนเวียนเป็นไปอย่างล่าช้าและมีประสิทธิภาพต่ากว่าที่ควรจะเป็น เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) จึงใคร่ขอเสนอให้ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี มีคาสั่งกาหนด เป็นนโยบายให้กระทรวงพลังงานปรับปรุงนโยบายอุดหนุนราคาการรับซื้อพลังงานหมุนเวียนทุกระบบให้เท่ากันหมด และให้ยกเลิกกรอบจากัดหรือเป้าหมายการสนับสนุนพลังงานหมุนเวียนในแต่ละประเภท เพื่อให้เทคโนโลยีพลังงาน หมุนเวียนประเภทที่มีต้นทุนถูกที่สุดได้รับการพัฒนาอย่างเป็นธรรมชาติและมีการแข่งขันตามกลไกตลาดเสรีอย่างเต็มที่ โดยเสนอกาหนดให้ ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า(ADDER) ทุกระบบเริ่มต้นจาก ๑.๕๐ บาทต่อหน่วยไฟฟ้า(กิโลวัตต์ ชั่วโมง) หรือ อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนคงที่ (Feed in Tariff) ทุกระบบต้องเท่ากัน ราคาดังกล่าวนี้จะไม่ก่อภาระค่าใช้จ่าย มากเกินไปแก่ ผู้ใช้ไฟฟ้า ยกเว้นในกรณีที่เทคโนโลยีดังกล่าวนั้นเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากกว่าหรือมีผลกระทบต่อ ชุมชนน้อยที่สุด ทั้งนี้โดยคานึงถึงสภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นสาคัญ หากพิจ ารณาปั จ จั ย เชิง พื้น ที่ ประเทศไทยมี ศัก ยภาพสู งในการผลิ ตพลั งงานหมุนเวียนเพื่ อทดแทน พลังงานปิโตรเลียมอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น เพียงแค่พลังงานจากชีวมวลอย่างเดียวก็สามารถทดแทนพลังงาน ปิโตรเลียมได้ถึง ๔๐,๐๐๐ เมกกะวัตต์ เทียบเท่ากับก๊าซธรรมชาติ ๘,๗๖๗ ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ใกล้เคียงกับความ ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในปี พ.ศ. ๒๕๖๖ ตามแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ(PDP) และเพียงพอกับการใช้ ไฟฟ้าของทั้งประเทศ โดยไม่ต้องพึ่งพาการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าจากนิวเคลียร์ที่จะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ และสร้างความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาวอย่างรุนแรงอีกต่อไป ๕. เพื่อประโยชน์ สู งสุ ดของประเทศชาติและประชาชนในด้านพลั งงาน จึงมีความจาเป็นต้องแก้ไข กฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม โดยมีเจตนารมณ์ให้การผลิตและจาหน่ายปิโตรเลียมมีความโปร่งใส ชอบธรรมและเป็น ธรรมแก่ประชาชนในการใช้พลังงาน รวมทั้งทาให้เกิดความมั่นคงด้านพลังงานของชาติอย่างยั่งยืนต่อไป บัดนี้เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้จัดทาร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการ ปิโตรเลียม พ.ศ.... (ตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ๓) ซึ่งเป็นไปตามความต้องการของภาคประชาชน และสอดคล้องกับเอกสาร


Page 286

กรอบความเห็นร่วมปฏิรูประเทศไทยด้านพลังงาน จัดทาโดยสานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ในนามคณะทางาน เตรียมการปฏิรูปเพื่อคืนความสุขให้คนในชาติ ของ คสช. และได้นาผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษา ปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และ พระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของสภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ ม าประกอบเพื่ อ การพิ จ ารณาร่ า งกฎหมายฉบั บ ใหม่ เ ป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว ทั้ ง นี้ ร่ า ง พระราชบัญญัติ ประกอบกิจการปิโตรเลียม ของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้ยึดหลักในการสร้าง เสถียรภาพ ความมั่นคงทางพลังงานของประเทศ และสร้างความมั่นใจแก่นักลงทุนเป็นสาคัญ คือ ๕.๑ ให้ยกเลิกพระราชบั ญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ รวมถึงยกเลิกพระราชบัญญัติส่วนที่แก้ไขทุกฉบับ เพราะพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับนั้นเป็นกฎหมายที่มี รากฐานในการเอื้อผลประโยชน์และสร้างแรงจูงใจให้กับกลุ่มผู้ลงทุนสารวจขุดเจาะปิโตรเลียมในราชอาณาจักรไทยเป็น สาคัญ ให้ใช้พระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม พ.ศ. .... ที่จัดทาใหม่โดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ซึ่งให้ความสาคัญในการสร้างผลประโยชน์สูงสุดของชาติและประชาชนเป็นหลักบนความเป็นธรรมแก่ผู้ลงทุน ตามสมควร อันครอบคลุมการบริหารจัดการปิโตรเลียมทั้งระบบตั้งแต่ต้นน้า(หมายถึง การสารวจและการผลิต) กลาง น้า(หมายถึง การขนส่งและเก็บรักษา โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ามัน) ไปจนถึงปลายน้า(หมายถึง การจาหน่ายให้แก่ ประชาชน) เพื่อให้การทาธุรกิจปิโตรเลียมทุกขั้นตอนมีความพร้อมสาหรับการค้าระหว่างประเทศมากขึ้นสาหรับการเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๕.๒ ให้ปิโตรเลียมเป็นสมบัติของชาติและของปวงชนชาวไทย ภายใต้หลักการบริหารที่เป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของประเทศและประชาชน โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างสูงสุด จึงดาเนินการเปิดเผยข้อมูล อย่ างโปร่งใส และเปิ ดโอกาสให้ ภาคประชาชนมีส่ ว นร่ว มในการกาหนดนโยบาย การกากับ ตลอดจนการจัดการ ผลประโยชน์ของประเทศอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการจัดหาทรัพยากรปิโตรเลียมจะเป็นไปเพื่อ ประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นสาคัญ ต่างจากพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ที่กาหนดให้ปิโตรเลียม เป็ น ของรัฐ จึ งทาให้ รั ฐ กลายเป็ น ผู้ผู กขาดในการกาหนดนโยบายแต่เพียงผู้ เดียวโดยปราศจากการมีส่ วนร่วมของ ประชาชนตลอดระยะเวลากว่า ๔๐ ปีที่ผ่านมา ๕.๓ ในการผลิตปิ โ ตรเลี ย มนอกเหนือ จากการให้ สั มปทานแล้ ว ยังได้เพิ่ม รูป แบบของการแบ่งปัน ผลผลิตและการจ้างผลิตอีกด้วย โดยมีกติกาและหลักเกณฑ์ในการทางานที่มีความรัดกุมมากขึ้น เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจ ให้น้อยลง อีกทั้งรัฐสามารถที่จะร่วมลงทุนกับผู้รับสิทธิ ในการผลิตปิโตรเลียมได้ ครอบคลุมถึงประโยชน์ในความมั่นคง แห่งรัฐ และปิดช่องโหว่ในทางธุรกิจที่ทาให้รัฐเสียผลประโยชน์ จากประสบการณ์ที่ผ่านมาทั้งในอดีตและปัจจุบัน ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ และจากผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ


Page 287

นอกจากนี้ยังสร้างบรรยากาศเปิดกว้างมากขึ้นในการลงทุนเพื่อให้มีการแข่งขันโดยกลไกตลาดเสรีอย่าง เต็มที่อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน โดยเทียบเคียงและอ้างอิงผลตอบแทนขั้นต่าบนฐานทางวิชาการและความเป็นจริง รวมถึง ความยากง่ายทางธรณีวิทยา ศักยภาพในการผลิตปิโตรเลียม อัตราการผลิตปิโตรเลียม ราคาปิโตรเลียมที่ เปลี่ยนแปลงไป อัตราผลตอบแทนแก่รัฐของประเทศเพื่อนบ้ าน และอัตราผลตอบแทนของผู้ลงทุน ฯลฯ โดยคานึงถึง ผลประโยชน์สูงสุดของรัฐบนความสมดุลของผลประโยชน์ที่เป็นธรรมของเอกชน ๕.๔ ให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง บรรษั ท ปิ โ ตรเลี ย มแห่ ง ชาติ เ พื่ อ ดู แ ลจั ด การผลประโยชน์ ข องประเทศและ ประชาชนในเรื่องปิโตรเลียมอย่างเป็นรูปธรรม โดยให้มีการยึดโยงจากภาคราชการ ภาคการเมือง ภาคธุรกิจ ภาค วิชาชีพ และภาคประชาชน เพื่อทาให้เกิดการถ่วงดุลตรวจสอบอย่างโปร่งใสอย่างมีธรรมาภิบาลโดยปราศจากการ ขัดกันแห่งผลประโยชน์ และยังคงสามารถบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพอย่างมืออาชีพในมาตรฐานสากล ๕.๕ เปิดโอกาสให้ประชาชนได้รับผลประโยชน์โดยตรงจากการประกอบกิจการปิโตรเลียมอย่างเป็น รูปธรรม เป็นไปตามความหมายของทรัพยากรปิโตรเลียมที่เป็นของชาติและปวงชนชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความ เป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรปิ โตรเลียมที่ให้ประชาชนเป็นผู้ใช้ ก่อนในราคาที่ถูกต้องและเป็นธรรม ป้องกันการ ผูกขาดซึ่งทาให้ประชาชนเสียประโยชน์จากการแข่งขันในตลาดเสรี รวมไปถึง ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับจากการ จัดสรรรายได้ที่ได้จากปิโตรเลียมอย่างทั่วถึง ๕.๖ จัดให้มีระบบการดูแลเยียวยาประชาชน ที่ได้รับผลกระทบจากการประกอบกิจการปิโตรเลียมที่ มีต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพ สุขภาวะอนามัยของชุมชน และการสูญเสียโอกาสในการประกอบอาชีพของประชาชนอย่าง เป็นธรรมและเป็นรูปธรรมด้วยความรวดเร็วทันต่อสถานการณ์ เพื่อยกระดับการให้ความสาคัญต่อประชาชนอย่างที่รัฐ ไม่เคยปฏิบัติมาก่อน

๕.๗ มีการกาหนดบทลงโทษสูงกว่าเดิมอย่างชัดเจนครอบคลุมถึงโทษทางแพ่งและอาญา ตลอดจนการ ยกเลิกสัญญาในการผลิตปิโตรเลียม ในขณะที่พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ นั้นกาหนดบทลงโทษต่ามากไม่ สอดคล้องกับธุรกิจปิโตรเลียมซึ่งมีมูลค่าหลายแสนล้านบาท ทาให้ผู้ประกอบการไม่มีความเกรงกลัวต่อการกระทา ความผิด จึงทาให้รัฐสูญเสียผลประโยชน์อย่างมหาศาล อย่างไรก็ตามเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้สืบค้นและรับทราบเนื้อหารายละเอียด เพิ่มเติมว่า กระทรวงพลังงานได้เสนอร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... และร่างแก้ไข เพิ่ม เติ ม พระราชบั ญญั ติภ าษีเ งิน ได้ ปิ โ ตรเลี ย ม (ฉบับ ที่ ..) พ.ศ. .... ตั้ งแต่วั นที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบในหลักการไปแล้วตั้งแต่เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยที่รัฐบาลและกระทรวง พลังงานตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ได้เปิดเผยร่างแก้ไขกฎหมายทั้งสองฉบับให้ประชาชนและสื่อมวลชนได้รับ


Page 288

ทราบอย่างโปร่งใสแต่ประการใด แม้แต่คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการบังคับใช้ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งยังไม่ได้สรุปผล การศึกษาในขณะนั้นก็มิได้รับทราบแต่ประการใดเช่นกัน ต่อมาเมื่อเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) ได้รับทราบเนื้อหาและรายละเอียดแล้ว (ตามสิ่งที่ ส่งมาด้ว ย ๑ และ สิ่งที่ส่ งมาด้วย ๒) จึ งเกิดความห่ว งใยเป็นอย่างยิ่งในเนื้อหาดังกล่ าว และขอคัดค้านร่างแก้ไข กฎหมายทั้งสองฉบับที่นาเสนอโดยกระทรวงพลังงานในประเด็นดังต่อไปนี้ ๑. ร่าง พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... ที่เสนอโดยกระทรวงพลังงาน และให้ความ

เห็นชอบโดยคณะรัฐมนตรีนั้น มีบทบัญญัติเปิดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ใช้ดุลยพินิ จตามอาเภอใจ โดยไร้ หลั กเกณฑ์ที่จ ะใช้ระบบสัมปทาน หรื อ ระบบแบ่งปันผลผลิ ตก็ได้ อาจทาให้เกิดการใช้ดุล ยพินิจ หรือการต่อรอง ผลประโยชน์ส่วนตน หรือความไม่โปร่งใสได้ง่าย นอกจากนี้ยังไม่มีหลักประกันใดๆ ในร่างกฎหมายดังกล่าวที่จะให้เกิด การประมูลแข่งขันเพื่อให้ประเทศได้รับประโยชน์สูงสุด ซึ่ง ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของประชาชนที่ประสงค์จะให้ เกิดการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม อีกทั้งยังไม่เป็นไปตามผลการศึกษาคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปัญหาการ บังคับใช้ พระราชบัญญัติ ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ ของสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ ๒. ร่าง พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... และร่าง พระราชบัญญัติ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

(ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... ที่เสนอโดยกระทรวงพลังงาน ไม่ได้สร้างอานาจต่อรองในทางยุทธศาสตร์ให้แก่ประเทศชาติเพิ่ม สูงขึ้นแต่ประการใด มีแต่การสร้างอานาจต่อรองให้กับเฉพาะบุคคล เฉพาะกลุ่มที่เปิดช่องให้ใช้ดุลพินิจในการปิดห้อง เจรจาทีละรายโดยปราศจากการประมูลแข่งขันอย่างโปร่งใส ซึ่งผิดหลักธรรมาภิบาลอย่างร้ายแรง อันอาจนาไปสู่การ ทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงสร้างความเสียหายต่อประเทศชาติและประชาชนอย่างมหาศาล กฎหมายทั้งสองฉบับซึ่ง นาเสนอโดยกระทรวงพลังงานจึง แตกต่างอย่างสิ้นเชิง เมื่อเทียบกับร่างพระราชบัญญัติประกอบกิจการปิโตรเลียม ที่ จัดทาขึ้นโดยเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) อันคานึงถึงการเพิ่มอานาจต่อรองของประเทศชาติเป็น ยุทธศาสตร์สาคัญ ในร่ างกฎหมายดังกล่าวเปิ ดโอกาสให้ อธิบดีกรมเชื้อเพลิ งธรรมชาติใช้ดุล พินิจโดยปราศจากการ ควบคุมตรวจสอบในการกาหนดวิธีการสาหรับการยื่นข้อเสนอ และตกลงทาสัญญาซึ่งเป็นสาระสาคัญของระบบสัญญา การแบ่งปันผลผลิตปิโตรเลียมอันมีมูลค่าเป็นตัวเงินสูงมากในระดับหมื่นล้านบาทจนถึงหลายแสนล้านบาท ซึ่งอาจเป็น ช่องโหว่ให้มีการใช้ดุลพินิจเพื่อเอื้อประโยชน์แก่เอกชนรายใดรายหนึ่งเป็นพิเศษได้ ๓.

๔. ร่าง พระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... ที่เสนอโดยกระทรวงพลังงาน ในมาตรา ๕๓/๔

(๒) ซึ่งบัญญัติว่า “ให้ผู้รับสัญญาใช้อัตราร้อยละ ๕๐ ของผลผลิตรวมของปิโตรเลียม เพื่อวัตถุประสงค์ในการหัก ค่าใช้จ่ายสาหรับการประกอบกิจการปิโตรเลียม” นั้น การให้ผู้รับสัญญาหักค่าใช้จ่ายได้ตายตัวถึงร้อยละ ๕๐ ของผลผลิตปิโตรเลียมตลอดอายุสัญญา โดยมิได้ กาหนดระยะเวลาการหักค่าใช้จ่ายและการตรวจสอบตามต้นทุนที่แท้จริง บทบัญญัติดังกล่าวทาให้รัฐสูญเสียรายได้ ที่พึง


Page 289

ได้ และอาจจะได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง เพราะเป็นการกาหนดสัดส่วนในการหักค่าใช้จ่ายของผู้รับสัญญาสูงเกิน ความเป็นจริงในตลาดอย่างมากในพื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นผลทาให้ผู้รับสัญญาทั้งหมดจะได้รับผลประโยชน์สูงเกินควร นอกจากนี้ยังมิได้คานึงถึงสัดส่วนต้นทุนของผู้รับสัญญาซึ่งลดลงแปรผันจากมูลค่าปิโตรเลียมที่มีราคาสูงขึ้น และมิ ได้ ค านึ งถึ ง สั ด ส่ ว นต้น ทุน ของผู้ รั บ สั ญ ญาซึ่ งลดลงจากปริม าณผลผลิ ตปิ โ ตรเลี ยมที่ ได้ มากกว่ าที่ ค าดการณ์ ตลอดจนยังมีความแตกต่างจากระบบแบ่งปันผลผลิตของประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ซึ่งได้กาหนดการหักค่าใช้ จ่าย ตามความเป็ น จริ งโดยก าหนดเพดานสู ง สุ ด ที่ อนุ ญ าตให้ หั ก ค่ า ใช้ จ่า ยได้ อัน แสดงถึ งการรั กษาผลประโยชน์ ข อง ประเทศชาติของตนมากกว่าร่างกฎหมายของกระทรวงพลังงานแห่งราชอาณาจักรไทย ๕. ในร่างมาตรา ๕๓/๔ (๓) ของพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... ซึ่งจัดทาโดยกระทรวง

พลังงาน บัญญัติเนื้อหาว่า “ให้ถือว่าส่วนที่เหลือของผลผลิตรวมของปิโตรเลียมหลังจากชาระค่าภาคหลวงจานวนไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของผลผลิตรวมของปิโตรเลียม และหักเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับประกอบกิจการปิโตรเลียมในอัตรา ร้อยละ ๕๐ ของผลผลิตรวมของปิโตรเลียมแล้ว เป็นปิโตรเลียมส่วนที่เป็นกาไรและให้แบ่งแก่ผู้รับสัญญาในจานวนไม่ เกินกว่าร้อยละ ๕๐” ร่างมาตราดังกล่าวเปิดโอกาสให้สามารถใช้ดุลพินิจเพื่อกาหนด อัตราการชาระค่าภาคหลวง หรือส่วนแบ่ง ผู้ให้รับสัญญา โดยใช้คาว่า “ไม่น้อยกว่า” ร้อยละ ๑๐ ก็ดี หรือ “ไม่เกินกว่า” ร้อยละ ๕๐ ก็ดี ซึ่งอาจมีการต่อรองใน อัตราเท่าใดก็ได้โดยไม่มีหลักเกณฑ์ หากเป็นกรณีที่ไม่มีการประกวดราคา และผู้มีอานาจเกิดความคิดที่ทุจริต ก็จะเกิด การใช้ดุลพินิจอันมิชอบด้วยหลัก “นิติรัฐ” และ “นิติธรรม” อีกทั้งอาจก่อให้เกิดการเอื้อประโยชน์แก่บุคคลหนึ่งบุคคล ใด หรือแก่ผู้รับสัญญา ซึ่งเป็นช่องโหว่ของกฎหมายอันจะนาไปสู่การทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงได้ ในขณะที่ มาตรา ๔ ของร่างพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. ....ซึ่งจัดทาโดย กระทรวงพลังงาน บัญญัติเนื้อหาว่า “บริษัทมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้เป็นรายรอบระยะเวลาบัญชีในอัตราร้อยละ ๒๐ ของกาไรสุทธิที่ได้จากกิจการปิโตรเลียม” นั้น บทบัญญัติทั้งสองมาตรานี้ เป็นการอนุญาตให้ผู้รับสัญญา สามารถนาค่าภาคหลวง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ที่นาส่งไปแล้ว และค่าใช้จ่ายตายตัวสาหรับประกอบกิจการร้อยละ ๕๐ ให้นามารวมกันเพื่อหักออกจากผลผลิตรวม ของปิโตรเลียมทั้งหมดก่อนมีการแบ่งปันผลผลิตให้แก่รัฐ ส่งผลให้ผู้รับสัญญาสามารถได้รับส่วนแบ่งสูงสุดถึงร้อยละ ๗๐ ของผลผลิตปิโตรเลียมรวมทั้งหมด ซึ่งรัฐจะได้ผลตอบแทนจานวนน้อยมากไม่แตกต่างหรืออาจต่ากว่าระบบสัมปทานที่ ผ่านมา ส่งผลให้ราชอาณาจักรไทยได้ผลตอบแทนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยในระบบแบ่งปันผลผลิตของประเทศเพื่อนบ้าน ในขณะที่ร่างพระราชบั ญญัติการประกอบกิจการปิโ ตรเลี ยม ฉบับใหม่ ของเครือข่ายประชาชนปฏิรูป พลังงานไทย (คปพ.) นั้น มีการใช้ระบบแบ่งปันผลผลิต โดยประมูลแข่งขันการเสนอผลตอบแทนแก่รัฐสูงสุดจากผลผลิต รวมโดยมิให้มีการหักต้นทุนใดๆ ทั้งสิ้น เพื่อป้องกันมิให้มีการสร้างต้นทุนเทียมหรือค่าใช้จ่ายที่เกินความเป็นจริงที่จะ เกิดขึ้นในอนาคตภายหลังจากดาเนินการผลิตปิโตรเลียมแล้ว โดยอัตราผลตอบแทนขั้นต่าสาหรับใช้ประมูลนั้นได้อ้างอิง เทีย บเคียงจากมาตรฐานประเทศเพื่อนบ้าน อ้างอิงจากความยากง่ายทางธรณี วิทยา อ้างอิงศักยภาพของปริมาณ ปิโตรเลียมในแต่ละภูมิภาคของประเทศ และยังมีอัตราผลตอบแทนเพิ่มเติมในกรณีที่มีการผลิตปิโตรเลียมได้มากกว่าที่


Page 290

คาดการณ์แบบขั้นบันได อีกทั้งยังมีผลตอบแทนแก่รัฐเพิ่มเติมในกรณีที่ราคาปิโตรเลียมปรับเพิ่มสูงขึ้น แบบขั้นบันได ซึ่ง จะเป็นผลทาให้ ร่างพระราชบัญญัติการประกอบกิจการปิโตรเลียม ฉบับใหม่ ของเครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงาน ไทย (คปพ.) ให้ผลตอบแทนแก่รัฐสูงกว่า เป็นธรรมกว่า และมีความเหมาะสมกว่าร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียมของ กระทรวงพลังงานอย่างสิ้นเชิง ๖. การร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ของกระทรวงพลังงานดังกล่าวข้างต้น อาจทาให้ประชาชนเกิดความ

เคลือบแคลงสงสัยว่ามี เจตนาที่แท้จริงเพื่อกาหนดผลประโยชน์ของผู้รับสัญญาให้ได้เปรียบเหนือผลประโยชน์ของรัฐ หรือไม่ เพราะมีลักษณะเดียวกับการให้สัมปทานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ร่างกฎหมายดังกล่าวตาม มาตรา ๓ ของทั้งสองฉบั บ อาจมีเจตนาปิ ดบั งซ่อนเร้นวิธีการที่แท้จริงในการจัดหาปิโ ตรเลียม โดยมีการใช้คาว่า “สัญญาเพื่อสิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียม” แทนคาว่า “สัมปทาน” ทั้งนี้เพื่ออาพรางวิธีการจัดหาปิโตรเลียมด้วยการ ให้ ”สัมปทาน” ดังจะเห็นได้ว่าในบางมาตราก็ยังคงมีคาว่า “สัมปทาน” อยู่ในร่างกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว เช่นเดิม สาหรับคาว่า “สัญญาแบ่งปันผลผลิต” ในร่างกฎหมายดังกล่าวของกระทรวงพลังงาน เมื่อพิจารณาแล้วก็ จะพบว่าวิธีการแบ่งปันผลผลิตมีการกาหนดสัดส่วนผลประโยชน์ที่รัฐจะได้รับในอัตราต่าคล้ายคลึงกับผลประโยชน์ที่ได้ จากวิธีสัมปทานที่มีอยู่ในปัจจุบันอยู่ดี การแก้ไขกฎหมายของกระทรวงพลังงานจึงไม่ได้ทาให้ทาให้รัฐได้รับผลตอบแทน หรือผลประโยชน์อื่นๆเพิ่มมากขึ้นแต่ประการใด ๗. ตามมาตรา ๕๓/๔ (๔) ของพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... ซึ่งเสนอโดยกระทรวง

พลังงาน บัญญัติเนื้อหาว่า “สัญญาแบ่งปันผลผลิตจะมีอายุไม่เกิน ๓๙ ปี ” ระยะเวลาในสัญญาที่มีอายุที่คราวเดียวกัน นานถึง ๓๙ ปีนั้น ถือเป็นระยะเวลาการให้สัญญาในคราวเดียวกันที่ยาวกว่าสัญญาในระบบสัมปทานที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน และยาวนานที่สุดอย่างไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ของราชอาณาจั กรไทย ทาให้ราชอาณาจักรไทยต้องผูกพัน สัญญากับเอกชนในแปลงปิโตรเลียมซึ่งเป็นมรดกทรัพยากรของชาติอย่างยาวนานเกินความจาเป็น ๘. ตามมาตรา ๕๓/๔ (๘) ของพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ข้อ พิพาทหรือข้อขัดแย้งใดๆซึ่งเกิดจากหรือเกี่ยวเนื่องกับสัญญา ซึ่งไม่สามารถตกลงกันได้โดยฉันทมิตร ให้ดาเนินการระงับ โดยอนุญาโตตุลาการ ตามวิธีการที่กาหนดไว้ในข้อบังคับ UNCITRAL วินิจฉัยตามบทบัญญัติของกฎหมายไทย และ คานึงถึงหลักกฎหมายระหว่างประเทศ สถานที่พิจารณาให้อยู่ในกรุงเทพมหานครและภาษาที่ใช้ให้เป็นภาษาไทย” นั้น หลักการในมาตรานี้ที่กาหนดให้มีการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ ซึ่งเป็นวิธีการสาหรับการระงับ ข้อพิพาทที่คู่สัญญามีฐานะเท่าเทียมกันตามหลักความเสมอภาค อันเป็นหลักการสาคัญตามหลักกฎหมายเอกชน และ กฎหมายระหว่างประเทศ เพราะถือหลักการว่า การที่รัฐกับรัฐมีข้ อพิพาทระหว่างกัน รัฐมีฐานะความเป็นรัฐเท่าเทียม กัน จึงสามารถใช้การระงับข้อพิพาทโดยวิธีการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศได้ แต่การสัญญาเพื่อสิทธิสารวจและผลิตปิโตรเลียม และ สัญญาแบ่งปันผลผลิต รวมทั้งการให้สัมปทานตาม ร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... มีลักษณะเป็นการให้สัญญากันระหว่างรัฐ ซึ่งคุ้มครองประโยชน์ สาธารณะกับเอกชนซึ่งเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์ในการประกอบกิจการทางธุรกิจอันเป็นผลประโยชน์ส่วนบุคคล


Page 291

สั ญ ญาตามร่ า งพระราชบั ญ ญัติ ปิ โ ตรเลี ย มดัง กล่ า วข้า งต้ น จึ งไม่ อาจนาหลั ก การระงับ ข้ อพิ พาท ด้ ว ยวิ ธีก าร ทาง อนุญาโตตุลาการ อันเป็นหลักการระงับข้อพิพาทระหว่างคู่สัญญาซึ่งมีฐานะเท่าเทียมกัน และเป็นการระงับข้อพิพาท ระหว่างเอกชนกับเอกชน มาใช้กับสัญญาดังกล่าวได้ สัญญาดังกล่าวข้างต้น เป็นสัญญาของรัฐ ซึ่งในทางวิชาการเรียกว่า “สัญญาทางปกครอง” ซึ่งเป็นการใช้ อานาจรัฐในการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะเหนือสิทธิของเอกชนในการแสวงหาประโยชน์ส่วนบุคคล รัฐจึงย่อมมีเอก สิทธิเหนือสัญญาดังกล่าว เพื่อสามารถคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวมได้ โดยหลักการตามหลักกฎหมายมหาชน รัฐจึง สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญารวมทั้งยกเลิกสัญญาเพื่อคุ้มครองประโยชน์ สาธารณะโดยมิต้องได้รับความยินยอม จากเอกชนผู้รับสัญญาก็ได้ ดังนั้นเมื่อสัญญาตามกฎหมายดังกล่าวมิใช่เป็นสัญญาในฐานะเอกชนที่เท่ากัน หรือเป็น สัญญาระหว่างรัฐกับรัฐ การนาหลักอนุญาโตตุลาการ UNCITRAL (คณะกรรมธิการว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่าง ประเทศ แห่งสหประชาชาติ) มาใช้ตามกฎหมายฉบับนี้ จึงเป็นการสละเอกสิทธิของรัฐ ในการคุ้มครองประโยชน์ สาธารณะ เพื่อความมั่นคงด้านพลังงานและเศรษฐกิจชาติ เท่ากับราชอาณาจักรไทยลดตัวลงไปมีฐานะเท่ากับเอกชน (ตามหลักกฎหมายเอกชน) หรือเป็นการยกฐานะเอกชนให้มีฐานะเท่ากับราชอาณาจักรไทย (ตามหลักกฎหมายระหว่าง ประเทศ) การสละเอกสิทธิเช่นนี้ เท่ากับเป็นการสละอานาจอธิปไตยของรัฐ หลั กการเกี่ย วกับการน าอนุญาโตตุล าการ มาระงับข้อพิพาทในสั ญญาทางปกครอง ได้ถูกทบทวนโดย คณะรัฐมนตรีในสมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๒ (เรื่องการทาสัญญาระหว่าง หน่วยงานของรัฐกับเอกชน)จากกรณีเรื่องสัญญาสัมปทานทางด่วนของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย โดยมีมติให้ ทบทวนการใช้วิธีอนุญาโตตุลาการมาใช้กับสัญญาภาครัฐมาแล้ว ทั้งนี้ UNCITRALที่กระทรวงพลังงานได้อ้างถึงในการแก้ไข ของพระราชบัญญัติปิโตรเลียม (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. .... นั้ น ในความเป็น จริ งแล้ ว UNCITRAL เดิมมีส มาชิกสู งสุ ดถึง ๖๐ ประเทศ แต่ในปัจจุบัน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ มี ประเทศที่ไม่ต่ออายุถึง ๓๔ ประเทศ เท่ากับว่าประเทศเหล่านั้นต่างไม่ได้ยอมรับหลักการของ UNCITRAL ในการค้า ระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นอีกต่อไป นอกจากนี้ยังมีประเทศที่มิได้ นาหลักการอนุญาโตตุลาการมาใช้กับสัญญาภาครัฐก็ ล้ว นแต่เป็ น ประเทศพัฒ นาและเป็ น ประชาธิปไตยในระดับชั้นนาของโลกในหลายประเทศ เช่น ฝรั่งเศส อังกฤษ ซาอุดิอาระเบีย รัสเซีย ยูเครน เวเนซูเอล่า ฯลฯ ดังนั้น ราชอาณาจักรไทยจึงไม่จาเป็น ต้องเข้าร่วมเป็นสมาชิกในการใช้ อนุญาโตตุลาการตามมาตราดังกล่าวแต่ประการใด จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่า กฎหมายทั้งสองฉบับ ที่เสนอโดยกระทรวงพลังงาน และได้รับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ นั้น ยังไม่สามารถรักษาผลประโยชน์สูงสุดของ ประเทศชาติและประชาชนได้ อีกทั้งยังมีช่องโหว่อย่างมากมายซึ่ง เปิดโอกาสให้มีการใช้ดุลพินิจได้อย่างมากในหลาย มาตรา ซึ่งอาจทาให้เกิดความสุ่มเสี่ยงที่จะทาให้เกิดการทุจริตฉ้อราษฎร์บังหลวงได้อย่างมหาศาล เครือข่ายประชาชน ปฏิรูปพลังงานไทย (คปพ.) จึงขอคัดค้านร่างกฎหมายทั้งสองฉบับที่ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมแต่ประการใด และขอเรี ย กร้ อ งให้ ท่ า นได้ พิ จ ารณาจั ด ให้ มี ก ารท าประชาพิ จ ารณ์ เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บร่ า งกฎหมาย พระราชบั ญ ญั ติ ป ระกอบกิ จ การปิ โ ตรเลี ย มของเครื อ ข่ า ยประชาชนปฏิ รู ป พลั ง งานไทย (คปพ.) กั บ ร่ า งแก้ ไ ข พระราชบัญญัติปิโตรเลียม และร่างแก้ไขพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลี ยม ของกระทรวงพลังงาน เพื่อยับยั้งร่าง


Page 292

กฎหมายที่จะสร้างความเสียหายต่อประเทศชาติ ขาดความโปร่งใส ขัดหลักธรรมาภิบาล และไม่ เป็นที่ต้องการของ ประชาชนจากการทาประชาพิจ ารณ์ เพื่อน าร่างกฎหมายที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและเป็นที่ต้องการของ ประชาชนที่แท้จริงจากการทาประชาพิจารณ์ส่งให้รัฐบาลพิจารณาให้ความเห็นชอบ หรือส่งให้ สมาชิกสภานิติบัญญัติ แห่ ง ชาติ พิ จ ารณาเข้ า ชื่ อ กั น เสนอเป็ น ร่ า งกฎหมายเพื่ อ ให้ ส ภานิ ติ บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ชาติ ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบตราเป็ น พระราชบัญญัติฉบับใหม่ต่อไป ขอแสดงความนับถือ เครือข่ายประชาชนปฏิรูปพลังงานไทย ติดต่อประสานงาน : นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ โทรศัพท์ ๐๘๑-๔๐๑-๘๙๔๕ โทรสาร ๐๒-๒๘๑-๑๗๐๘ อีเมล์ parnthep.p@gmail.com


ภาคผนวก ๔ รายชื่อผู้เข้าร่วมเวทีรับฟังความคิดเห็น


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑ นายธรรมนูญ นาคขา

ที่อยู่ ๒๕๐ หมู่ ๙ ต. คันชุลี อ.ท่าชนะ จ.สุราษฎร์ธานี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๗๔๖๙๘๙๕๕

นายบุญทวี ศรีปาน

๑๑๘ หมู่ ๔ ต.เคียนทอง อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘๙๗๔๖๙๒๒๓

นายทรงกลด หวังทรงธรรม

๑๒๖/๕๓ หมู่ ๓ ถ.เอกชัย บางขุนเทียน จอมทอง กทม.

๐๙๕๘๙๖๕๔๑๖

คุณอารดี อาภาไพ

๒๘๙ หมู่ที่ ๓ ต.สะยายโสม จ.สุพรรณบุรี

๐๘๑๗๙๑๖๖๘๘

นางอนันต์ เกิดตุลา

อาชีพอิสระ

๐๘๓๑๘๘๑๗๒๔

นายณรงค์ นภาธาราทิพย์

ต.แม่กลอง สมุทรสงคราม

๐๘๑๙๕๗๖๕๒๗

นางสาวจรงนงค์ วารีสะอาด

๘๐๓/๑๐ ถ.เทอดไท ๒๓ ต.ตลาดพลู เขตธนบุรี กทม.

๐๘๙๑๐๖๐๗๘๐

คุณนันทา อัมพร

๐๒๗ หลักเมือง จ.ระยอง

๐๘๖๗๗๕๑๐๑๒

คุณธัญญลักษณ์ วงศ์วโรดม

๗๓/๖๑ หมู่ ๙ เขตประเวศ กทม.

๐๘๙๔๔๔๑๓๘๑

๑๐

นางวราภรณ์ เจริญวงษ์

๑๒๖/๘๖๘ หมู่ที่ ๕ ต. ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘๙๖๐๖๘๔๑๙

๑๑

นายวรพงศ์ ศรีจันทร์

ประชาชน

๐๘๖๙๑๓๕๑๔๔

๑๒

คุณณกานต์ จันธิราชนารา

๓๓๓ ซอยบ้านผึ้ง ๕ ต.ศาลา อ.เกาะคา จ.ลาปาง ๕๒๑๓๐

๐๘๔๑๑๕๕๑๔๔

Page 294

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๓ คุณโก๋ แซ่จัง

ที่อยู่ ๔๐๑/๒ หมู่ ๓ ต.ศาลา อ.เกาะคา จ.ลาปาง

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๖๑๘๓๑๘๔๕

นายสมคิด ไทยรักษ์

๔๑๖ ถ.เม็งราย ต.สบตุ๋ย อ.เมือง จ.ลาปาง

๐๕๔๓๑๐๐๐๕๔

๑๕

คุณนัฎฐา จิตรีขันต์

ประชาชน

๐๘๐๙๗๒๗๔๗๙

๑๖

นางฐานิกา อานวยสุข

๗๘๑ ถ.ไฮเวย์-ลาปาง-งาว ต.หัวเวียง อ.เมือง จ.ลาปาง

๐๘๓๕๖๑๔๔๙๔

๑๗

นายชูพงษ์ มาลาพิทักษ์

ประชาชน

๐๒๒๘๑๗๓๓๘

๑๘

นายสุทันต์ สุวรรณเนตร

๖๓/๕๔ หมู่ ๑ ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘๑๙๒๖๑๓๕๔

๑๙

นางจินดา สุวรรณเนตร

๖๓/๕๔ หมู่ ๑ ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘๑๗๓๒๑๒๗๖

๒๐

คุณจันสม ชุ่มปิง

๒/๓๔ หมู่ ๑ ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทราปราการ

๐๘๙๗๙๕๐๐๒๙

๒๑

นางสาวปนัดดา ขาวสะอาด

สปพส.

๐๘๖๙๘๐๗๓๔๔

๒๒

นางสาวกัญญวีร์ มาเจริญ

สปพส.

๐๘๖๗๗๑๘๘๙๔

๒๓

นางบวรลักษณ์ ธรรมภารา

สปพส.

๐๘๕๐๖๖๔๘๖๑

๒๔

นายวรศักดิ์ ชัยจิต

นักบริหาร/สปพส.

๐๘๑๘๙๘๓๒๖๒

Page 295

๑๔

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๕ คุณฐิโต สุวัตดิ

ที่อยู่ นักวิชาการ/สปพส.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๙๐๘๙๐๘๔

นางสาวนุชนาถ พรหมสินธุ์

นักบริหาร/สปพส.

๐๘๔๐๐๑๖๕๓๓

๒๗

นางสาวพรทิตย์ เชื่อขม

นวก.

๐๘๙๔๙๒๕๔๐๖

๒๘

คุณภัตตนันทน์ ทองเหลือสุ

สปพส.

๐๘๙๐๐๓๘๓๐๙

๒๙

คุณพัชรลดา จุลเพชร

สปพส.

๐๘๖๗๘๒๐๘๕๐

๓๐

นางผอม แซ่ลิ้ม

๔๕๗/๑๐๗ ต.บางโคล่ กทม.

๐๒๒๘๙๑๓๓๔

๓๑

นายชาญณงค์ ฉัตรชาตรี

๒๕๐/๒๕ หมู่ ๗ ต.ศาลเจ้า อ.วิเศษ จ.อ่างทอง

๐๘๕๑๓๗๒๙๒๓

๓๒

นางธาราภรณ์ ไชรเวตร

๑๖/๒๖ ม. ๘ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๘๑๔๒๐๗๖๔๖

๓๓

คุณภริดา กระวัทนายาน

๓๗ ซ.พระนคร ถ.พระราม ๔ อ.บางรัก กทม.

๐๘๘๖๑๒๘๙๑๕

๓๔

คุณนอม เรืองรัมย์

๔๔ หมู่ ๓ ต.สะหกชา อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

๓๕

คุณวัฒนี ตันติประภาส

๑๖๕-๑๖๗ ถ.บรรทัดทอง เขตราชเทวี กทม.

๓๖

คุณมาลี นาคเอี่ยม

๒๗/๗ ถ.แม้ราลึก อ.เมือง จ.ราชบุรี

Page 296

๒๖

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๗ นางสุภาพ ตัญญาภัคดิ์

ที่อยู่ ๔/๑๐ ถ.เจดีห้า ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบุรี

มือถือ/โทรศัพท์

นางวันเพ็ญ สุคนธรัตน์

๓๙๙/๓ ม.๓ ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุรี

๓๙

นางสุทธินี พงษ์พานิช

คปพ. ๑๙๙/๒๕ ถ.กรุงเทพ-นนท์ เขตบางซื่อ กทม.

๐๘๖๓๗๕๒๓๕๓

๔๐

นายปรีชา เกียรติสุคา

๒๒๓/๑๘๐ หมู่บ้านสี่ไชยทอง จ.นนทบุรี

๐๒๕๘๓๙๕๙๓

๔๑

คุณกานต์ชนิดา ชานาญกุล

สื่อมวลชน (ASTV)

๐๘๙๗๔๘๐๕๙๙

๔๒

คุณสราวุธ นีละโยธิน

๒๕๕ ซ.สุขุมวิท ๑๐๓/๑ แขวง/เขตบางนา กทม.

๐๙๒๕๖๓๒๕๐๗

๔๓

คุณกิมเจ็ง พระประสิทธิ์

๕ หมู่ที่ ๗ ต.ชีช้าร้าย อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

๐๘๑๖๔๒๕๒๓๕

๔๔

คุณจักรพงศ์ แช่มสุรี

๙/๑ หมู่ที่ ๔ ต.น้าตาล อ.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี

๐๘๑๗๘๐๗๕๒๔

๔๕

คุณนวพร มัชฌาเวทน์

๕๑๗ ถ.เพชรเกษม๙๐ บางแคเหนือ กทม.

๐๘๙๗๘๘๗๐๗๔

๔๖

คุณจันทนา ทิปเสถียร

๒๗/๗ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กทม.

๐๘๔๓๘๓๑๑๕๕

๔๗

คุณจิรัชฌา อภิรัตน์มนตร์

๙๖/๑๕๑ A๒ กรีนไนน์ ถ.จตุรทิศ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กทม.

๐๘๑๖๔๖๓๑๕๑

๔๘

นายวีรศักดิ์ หิรัญญสัมฤทธิ์

๑๖๒ แขวง/เขต บางแค กทม. ๑๐๑๖๐

๐๘๙๗๗๗๙๑๖๘

Page 297

๓๘

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๙ นายองอาจ ณัฐสันต์

ที่อยู่ ๔๓ ซ.มภาศัพท์แยก๑ สุขุมวิท๓๖ แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กทม

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๓๔๔๖๘๓๗

คุณสาเนียง ยิ่งหาญ

๑๐๙ หมู่ ๓ ซ.ลาซาล เขตบางนา กทม.

๐๘๙๘๒๑๖๔๖๒

๕๑

คุณปวีนา สรา

๑๙๔ บางม่วง จ.สิงห์บุรี

๐๘๗๖๖๗๘๔๕๓

๕๒

นางสวอง ปิยะสอน

๑๒๘/๑ หมู่ ๓ อ.วิหาร จ.สิงห์บุรี

๕๓

นางสาวรุ่งนภา กันจงกิตติพร

๑๙๑/๓๙ หมู่ ๗ ต.บางมัญ จ.สิห์บุรี

๕๔

นายประเสริฐ เกตุมงคล

๑๔๘๖ ถ.ทรงจาด แขวงสัมพันธ์วงศ์ เขตสัมพันธ์วงศ์ กทม.

๕๕

นางสาวประเทือง สุภาวิทย์

๑๗๙๔/๕ หมู่ ๑ ต.สาโรงเหนือ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

๕๖

นายศุภสิทธิ์ นาการกิรกุล

๘๖๐ ม.๓ ต.บางพูน อ.เมือง จ.ปทุมธานี

๐๘๙๗๘๐๙๑๕๙

๕๗

นายรุ่งชัย จันทราช

คปพ.

๐๘๑๘๓๒๘๖๑๐

๕๘

นายไกรชิชญ์ กสิโกศล

๑๕๐/๓๕๙ หมู่บ้านคันทรี่ปาร์ค ๓ (บางแสน) ม.๕ ต.ห้วยกะปิ อ.เมือง จ.ชลบุรี

๐๘๑๖๓๖๕๕๕๖

๕๙

คุณบรรจง กุลสัมพันกีรติ

๓๗/๓๗๒ ซ.ลาดปลาเค้า๖๔ แขวงอนุสารีย์ เขตบางเขน กทม.

๖๐

นางดารณี น่วมบุญลือ

๗๘ ซ.สรงประภา ๒๔ ถ.สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม.

๐๘๗๗๖๗๗๕๔๖

Page 298

๕๐

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๑ นางสาวเมตตา พงษ์อารีย์

ที่อยู่ ๘๑/๑ ซ.จตุรมิตร ถ.เทพารักษ์ ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๖๙๗๗๓๐๔๘

นายอรุณรัตรน์ นาคมาก

๙๓ หมู่ที่ ๑ ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

๐๙๓๗๕๑๒๔๖๒

๖๓

คุณพินธิกิตติ์ หลิวตั้งอุดม

๑๕๓๘ ม. ๖ ต.อู่ทอง อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

๐๘๕๐๕๖๘๙๘๙

๖๔

นางสาวกรรณิการ์ แพแก้ว

๕๘/๑๔ หมู่ที่ ๕ ต.กะแดะ อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘๕๗๘๒๗๕๒๘

๖๕

นางสาวฐิกมล เขตพัฒนชัย

๕๑/๑๑๕ ถ.รามคาแหง ๙๖ แขวง/เขต สะพานสูง กทม.

๐๘๙๘๙๑๓๔๑๙

๖๖

คุณดวงเครือ ขุ่นนอก

๒๐๗/๓ หมู่ที่ ๔ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๘๐๔๒๖๔๖๐๔

๖๗

คุณสุรีย์ แซ่โง้ว

๑๔๒๖/๒๖ ถ.พระราม ๓ ซอย๖๔ กทม.

๐๘๙๕๑๑๖๐๕๕

๖๘

คุณอาภรณ์ ชวนชม

๘๗/๘๐ หมู่ ๗ ท่าวิ่น สมุทรสาคร

๐๘๕๓๒๔๕๗๙๗

๖๙

นายถวิล ยวงเงิน

๖๗/๑ หมู่ ๗ ต.บัววัฒนา อ.หนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์

๐๙๕๖๔๒๒๙๓๖

๗๐

คุณวรัญญรัตน์ อักษรชัย

๘๓/๘๒ หมู่บ้านศิรินเทพ เขตบางกะปิ กทม.

๐๙๔๙๑๔๕๘๕๘

๗๑

นายสมศักดิ์ ศรีสวัสดิ์

๑๑๖/๒ ประชาสิทธิ์ เพชรบูรณ์

๗๒

นายสุรพล อรุณแก้ว

๑๙/๕ ถ.วลี ต.หล่มสัก อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์

Page 299

๖๒

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๓ คุณอรฤดี มลิวัลย์

ที่อยู่ ๑๒๓ บมจ.ไทยประกันชีวิต เขตดินแดง กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๗๓๕๑๖๗๖๗

คุณพรพิศ จันทร์สิทธิ์

๒๖๖ ซ.เพชรเกษม ๖๓/๒ เขตบางแค กทม. ๑๐๑๖๐

๗๕

คุณกอบกุล นามวงษ์

๕/๑๐๔ ประชานิเวศน์ ๒ ระยะ ๓ ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘๕๐๒๐๐๒๗๓

๗๖

คุณจารูญวิทย์ ตั้งอาบูรณ์

๗๐ เจริญนคร ๓๕ เขตคลองสาน กทม.

๐๙๘๒๖๐๕๕๔๒

๗๗

๖๔/๑๓๙/๒ ภาณุ เขตตลิ่งชัน กทม. ๖๐/๑๒ ต.ทะเลบก อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี

๐๘๔๖๕๕๔๕๖๘

๗๘

คุณสุมาลี ศรีเสริมสิน คุณจักรินทร์ กลิ่นปลี

๗๙

คุณวันวิสาข์ สลายแผ้ว

๔๒/๒๓ หมู่ที่ ๒ ซ.จอมทอง ๓ แขวง/เขตจอมทอง กทม. ๑๐๑๕๐

๐๘๖๓๐๓๑๔๙๓

๘๐

คุณหฤทัย เตะกลาง

๒๑๒ หมู่ที่ ๑ ต.คลองประสงค์ อ.เมือง จ.กระบี่

๐๘๑๔๗๖๓๒๐๓

๘๑

คุณจิรพล บุณจันทร์

๕/๒๙ ถ.ป่าหวาย อ.เมือง จ.ลพบุรี

๐๘๕๓๓๖๗๗๑๑

๘๒

คุณสุมาลี โต๊หยาด

๒๙๓/๑ ซ.สุขสวัสดิ์ ๕๘ แขวงราษฎร์บูรณะ กทม.

๐๘๖๐๙๒๓๓๙๙

๘๓

คุณศิรกรานต์ เปล่งปรา

๖๔/๑๑ หมู่ ๖ ต.เขาพระราม จ.ลพบุรี

๘๔

คุณภาณี เปร่งกูล

๓๙/๔๑๑ ต.เมืองเก่า อ.เมือง จ.ขอนแก่น

๐๙๔๘๗๖๐๕๑๖

๐๘๔๖๖๑๒๑๒๑

Page 300

๗๔

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๘๕ คุณทรงศักดิ์ ทิพย์คงคา

ที่อยู่ ๒๖๐/๓ ถ.อุปลีสาน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๙๗๒๒๗๕๗๕

นางกันต์สินี กิติทวีเกียรติ

๑๕๑-๑๕๓ แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กทม.

๐๘๙๔๗๖๖๕๑๑

๘๗

คุณอัมพร ศรีไทยรักษ์

๒๐๖ ซอยอิทามระ๒๖/๑ สุทธิสาร กทม.

๐๘๗๔๙๘๖๕๖๕

๘๘

สมณะดาวดิน ชาวหินฟ้า

พุทธสถานปฐมอโศก อ.เมือง จ.นครปฐม

๐๘๐๕๔๘๗๗๒๔

๘๙

นางเล็ก เอมเจริญ

๑๘/๑๘๘ หมู่ ๒ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี

๙๐

นายจักรี เอมเจริญ

๑๘/๑๘๘ หมู่ ๒ ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๘๙๖๗๑๗๔๖๔

๙๑

นางสมใจ เสรีวัฒน์

๓๙/๑ หมู่ ๒ ต.บางยาง อ. กระทุ่มแบน สมุทรสาคร

๐๙๐๔๗๓๓๔๗๘

๙๒

คุณสุพัฒตา กุศิวกุล

๔๙๗/๓-๕ ถ.วงศ์สว่าง แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กทม.

๐๘๓๐๑๖๓๔๐๙

๙๓

คุณธรากร สกุลพนิช

๑๒๕/๒๕๙ ถนนรามอินทรา กทม.

๐๒๙๕๗๘๓๘๓

๙๔

คุณกาญจนา ดิษฐากรณ์

๔๔ ซอยนวมินทร์๑๔ แยก๒๑ แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม. ๑๐๒๔๐

๐๘๗๗๙๗๙๙๕๒

๙๕

คุณณัฐสินี สุพัฒน์จรชัย

๑๔/๒๗ ซอยจอมทอง๓ เขตจอมทอง กทม. ๑๐๑๕๐

๐๘๑๖๕๙๕๙๖๐

๙๖

คุณปภัทรา ปิดรชาต

๑๔๙ อมรพินย์ ๑๒ พหลโยธิน ๖๙/๑ กทม.

๐๘๙๗๖๓๔๑๑๔

Page 301

๘๖

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๙๗ คุณดนิตา กมลงาม

ที่อยู่ ๙๘/๔๑ ถ.งามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๘๖๘๙๖๒๔

นางสุบรรณ ภูรฎาภิรมย์

๒๑๕/๗๕ ถ.ประชาราษฎร์๑ เขตบางซื่อ กทม.

๐๘๙๑๐๔๒๘๐๙

๙๙

นางจุไรรัตน์ ประมวลทรัพย์

๓๗/๗๑๓ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง ปทุมธานี

๐๘๔๓๖๑๕๔๒๔

๑๐๐ นายโอภาส ณะโส

๗๙-๑๙๗ ถนนพระราม๔ พระโขนง กทม.

๐๘๙๗๗๗๖๖๐๗

๑๐๑ คุณสุภาณี ยงวณิชย์

๑๒๑/๔๕ ซอยเฉลิมหล้า ถ.พญาไทย เขตราชเทวี กทม.

๐๒๒๕๕๑๙๙๘

๑๐๒ นางสุเพ็ญ แสงสว่าง

๖ หมู่ที่ ๙ ต.บางงอน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘๐๕๘๓๖๘๗๑

๑๐๓ จ.อ. จตุเมธ คงสุข

๑๑๖ ม.๕ ต.หย้วน อ.เชียงคา จ.พะเยา

๐๘๓๐๑๐๔๑๕๔

๑๐๔ คุณคชรินทร์ ตรีจรูญ

เอกชนและวิภาร แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม.

๐๘๕๐๗๓๔๐๘๖

๑๐๕ นางฉวีวรรณ กันแตง

๖๑/๒๙ ม.๑๑ บางขุนเทียน เขตจอมทอง กทม.

๐๘๖๖๒๗๑๙๔๔

๑๐๖ นายชัยวัฒน์ เรืองกิตติกุล

๓๐๑/๒๗๑๐ ถ.พุทธมณฑทสาย ๒ บางแค กทม.

๐๘๑๖๑๒๕๙๙๑

๑๐๗ นายวิจาร ชันชุวาร

๙๐๑/๒๓ ม.๑๒ ต.วังกระแจะ อ.เมือง จ.ตราด

๐๘๕๓๖๑๓๔๗๖

๑๐๘ นางสาวนันทา จิตต์จานง

๖๑/๙ หมู่ ๖ ต.บ้านปรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๘๗๕๐๑๗๕๙๔

Page 302

๙๘

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๔/๒๔ หมู่ ๔ ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๗๓๙๖๔๑๔

๑๑๐ คุณจิตตรา อัศวินจุฬาตุล

๑๕ ซ.พหลโยธิน ๒๔ กทม.

๐๘๐๕๕๔๑๖๘๙

๑๑๑ คุณสวลักษณ์ จันทร์รัตน์

๔๔๒/๒๖ ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน กทม.

๐๘๖๒๙๙๐๖๙๖

๑๑๒ คุณพิชญ์สินี พิพลัชภามล

กทม.

๐๘๙๖๘๔๙๒๘๖

๑๑๓ นายทรงภพ อมรอนุกุล

๒๖ ซ.เพชรเกษม ๒ วัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กทม.

๑๑๔ นายชลิต จารุจรูญจิต

๗๖ ซ.เจริญรัถ ๒๒ เขตคลองสาน กทม.

๐๘๑๔๕๓๙๘๘๕

๑๑๕ นายคมเพชร แซ่หนี้

๓ ถ.สาทร แยก ๕ กทม.

๐๘๙๔๕๔๕๐๘๘

๑๑๖ นายพีรพล โตครง

๔๖/๑ หมู่๗ ต.บางบ่อ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ

๐๘๖๘๐๑๒๒๒๒

๑๑๗ นายสุรเดช แซ่ลิ้ม

๑๒๖ ม.๕ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๘๖๕๐๔๒๒๓๓

๑๑๘ นายโกมล ผิดสะอาด

๙๗ ม.๔ ต.วังกระแจะ อ.เมือง จ.ตราด

๐๘๗๑๓๙๕๒๓๔

๑๑๙ นายสุริยะโชติ สุมประเสริฐ

๑๐๐/๓๙๒ ต.บางคูวัด อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี

๐๘๙๐๓๒๖๘๘๘

๑๒๐ นางปราณี นวลนาค

หนังสือพิมพ์ไฮแลนด์นิวส์

๐๘๕๘๙๕๔๐๐๗

หมายเหตุ

Page 303

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๐๙ นางนฤมล สี่สริ ิกุล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ จังหวัดนครราชสีมา

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๙๖๖๓๓๒๘

๑๒๒ นายชาญสิทธิ์ อยู่สวย

๑๘๙/๕ ต.สระแก้ว อ.เมือง จ.กาแพงเพชร

๐๘๗๓๑๓๑๒๑๘

๑๒๓ นายสมนึก คาม่วง

๑๖๙/๑๓๔ ม.๖ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ. สมุทรสาคร

๐๘๕๑๖๙๒๐๐๓

๑๒๔ คุณมณีรัตน์ เลาเล็ก

๓๕๙/๑๐ อ.มหาชัย จ. สมุทรสาคร

๐๘๑๘๕๗๓๗๒๓

๑๒๕ คุณนลวิบูล สุกกสังค์

๖๔๒/๗ เนติศึกษา ถ.พระราม ๕ แขวง/เขตดุสิต กทม.

๐๘๑๕๓๕๙๘๙๙

๑๒๖ นายดนัย หล่อตระกูล

๘ ถ.วังเดิม วัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กทม.

๐๒๔๗๒๔๖๘๕

๑๒๗ นางปิยามาศ บุญนพ

๖๗/๕๙๗ อ.นครขันธ์คีรี จ.นครปฐม

๐๓๔๓๙๔๗๕

๑๒๘ คุณธิติมา มอญพูด

๖๙/๕๙๗ อ.นครขันธ์คีรี จ.นครปฐม

๑๒๙ คุณเสาวลักษณ์ มิลินทางกูร

๓๓๘ เทศบาลพิชิต ๒๒ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร ๑๐๙๐๐

๐๘๕๑๖๑๐๒๓๘

๑๓๐ คุณอธิชา อุไรรัตน์

๗๓/๘๕ ถ.วิภาวดีรังสิต เขตพญาไท กทม.

๐๘๕๐๗๑๐๙๓๘

๑๓๑ นายเมธัส รอดเทียน

๖๐ หมู่ที่ ๒ ถ.มุขมนตรี ต.บ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา

๐๘๙๘๔๕๗๘๗๘

๑๓๒ นายนิกร สุนทรปกรณ์กิจ

๕๐๒/๗ ถ.ประชาราษฎร์บาเพ็ญ ๒๐ เขตห้วยขวาง กทม.

๐๒๖๙๑๒๒๐๒

หมายเหตุ

Page 304

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๒๑ คุณแดง แก้วสง่า


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๒/๓ ๓/๘ ถ.เทศบางรักรักษ์เหนือ เขตจตุจักร กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๒๗๙๓๐๕๗

๑๓๔ นายน้อย พิณแพทย์

๓๑๒/๓ ม. ๑ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ

๐๘๕๑๓๒๘๑๗๗

๑๓๕ นางสาวมยุรี ตระกูลอุปถัมภ์

๒ แขวงอโศก เขตดินแดง กทม.

๐๒๒๑๒๖๘๐๗

๑๓๖ นางสาวรวีวรรณ ขยันการ

๒๓ ถ.เชียงใหม่ เขตคลองสาน กทม. ๑๐๖๐๐

๐๘๘๒๔๔๒๔๗๗

๑๓๗ นายนิภาสณ์ ปิ่นสิรานนท์

๖๙๘/๓๘๓ ถ.พหลโยธิน เขตพญาไทย กทม.

๐๘๙๑๔๙๐๔๒๙

๑๓๘ นางสมส่วน ตันพิบูลวงศ์

๔๗ ถ.ศรีสาคร ต.บางพุทธา อ.เมือง จ.สิงห์บุรี

๑๓๙ นายณรงค์ ทรงกระชาย

๖๑/๘ หมู่ ๑ ต.ต้นโพธิ์ อ.เมือง จ.สิงห์บุรี

๐๘๙๒๐๙๕๙๒๑

๑๔๐ นายสมมาตร พรนที

๒๐๐/๘๖ ถ.ติวานนท์ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘๕๒๒๔๓๓๒๒

๑๔๑ นายชาลี ธนภิญโญกุล

๑๗/๙๘ หมู่ ๑๐ แขวงบางมด เขตจอมทอง กทม.

๐๘๙๑๒๓๒๐๘๘

๑๔๒ นางประยงค์ สรมณาพงศ์

๒/๑๖๔ แขวงสายไหม เขตสายไหม กทม.

๐๘๗๓๓๗๕๓๕๑

๑๔๓ นางเนื้อทิพย์ แก้วขุนทอง

๘๓๘/๓๗ ถ.นิคมมักกะสัน แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กทม.

๐๘๗๓๔๒๑๓๖๘

๑๔๔ นายอุดม มหาเมเรือง

๒๕/๓๕ ถ.พิบูลย์สงคราม กทม.

๐๒๕๘๕๘๘๓๑

หมายเหตุ

Page 305

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๓๓ นายสมศักดิ์ กิ่งเพชรรัตน์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๕๒/๗๐ งามวงศ์วาน ๑๘ อ.เมือง จ. นนทบุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๐๒๗๒๐๑๑๒

๑๔๖ คุณมนรวี อาพลพิทยานันท์

ทาเนียบรัฐบาล

๐๘๔๕๕๔๐๕๕๔

๑๔๗ นายธวัชชัย คาทน

๓/๑๗ หมู่บ้านเมืองทอง ถ.แจ้งวัฒนะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘๑๔๔๗๔๓๐๓

๑๔๘ คุณบุหลัน ว่องพงศาวิรัตน์

๖๐/๑๖ ม.๙ ซ.ลาดพร้าว ๑๑๐ แยก ๓ วังทองหลาง กทม.

๐๘๙๑๑๒๓๑๑๙

๑๔๙ คุณสมพร ประภาพร

๒๖๖ ซอยบรมราชชนนี ๑๑๗ แขวงศาลาธรรมสรณ์ เขตทวีวัฒนา กทม.

๐๘๕๘๑๘๗๑๘๖

๑๕๐ คุณวรรณพร ลิมป์ประเสริฐกุล

๓๙/๕๕ หมู่บ้านนภัสสร ซ. ๑๙ ต.โคกสว่าง อ.เมือง จ.สระบุรี

๐๙๗๙๙๖๙๕๖๒

๑๕๑ คุณวิภาภรณ์ หรัญสูตร์

๙๑๓ สินธร แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม.

๐๘๔๖๖๙๙๕๕๑

๑๕๒ คุณฐิติมา สุมาลยาภรณ์

๕๖/๑๑๒/๓ ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

๐๘๙๔๔๓๗๘๒๖

๑๕๓ คุณรูมีย่า คุจบัคทีว่า

๔๘๔/๘ ซอยเพชรบุรี๑๘ แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กทม.

๐๘๔๙๔๖๔๖๖๖

๑๕๔ คุณศิริเพ็ญ กาปั่นเพ็ชร

๖๔ ม. ๑ ต.น้าเต้า อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา

๐๘๑๕๗๐๖๖๘๔

๑๕๕ คุณกัลยา มีจันทร์

๘/๘๗ ม.โนวาเพลส ศาลาธรรมสรณ์ ๓๐ เขตทวีวัฒนา กทม.

๐๘๑๔๘๙๔๑๘๖

๑๕๖ คุณเซียมเจ็ง แซ่คู่

๔๗/๑๘ ซอยแก้วฟ้า แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กทม.

๐๘๑๘๕๕๕๓๘๓

หมายเหตุ

Page 306

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๔๕ คุณมนทชา ใหม่ซ้อน


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๖๑๔/๔๐ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กทม.

มือถือ/โทรศัพท์

๑๕๘ นางผก วรมณีรัตน์

๒๘๙/๔๓๘ บางกอกการ์เด้น ช่องนนทรี กทม.

๐๘๑๖๑๗๔๔๕๕

๑๕๙ นายสมศักดิ์ เทพณรงค์

๔๕/๖ ม.๕ ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี

๐๙๘๙๒๔๘๖๒๗

๑๖๐ นางสาวโฉมเฉลา ชลวิสุทธิ์

๘/๙ ซ.ร่วมศิริมิตร แขวงจอมพล เขตจตุจักร กทม.

๐๒๒๗๒๓๓๘๔

๑๖๑ นางสาวนวพร ตะเคียนนุช

๑๕๑๖/๗๙ หมู่บ้านเศรษฐกิจ ต.ตลาด อ.กระทุ่ม จ.สมุทรสาคร

๐๘๓๑๕๘๒๘๐๘

๑๖๒ นางสาวธนาวดี ใหม่ดาชิ

๘๑ ถนนสุขุมวิท ๖๐/๑ พระโขนง เขตบางจาก กทม.

๐๘๒๖๘๗๒๖๙๙

๑๖๓ นายตะวัน คงง่อมนานนท์

๗๐๒/๒ ซอยหมู่บ้านกทม.๒๔ แขวงสายไหม เขตสายไหม กทม.

๐๘๙๑๑๒๑๖๔๔

๑๖๔ นายปรีชา พลพันธ์

๘๐๘/๘๐ นวมินทร์ ๑๔๓ แขวงนวลจันทร์ กทม.

๐๘๑๘๖๗๖๔๖๘

๑๖๕ นางปิ่นฤทัย พลพันธ์

๘๐๘/๘๐ นวมินทร์ ๑๔๓ แขวงนวลจันทร์ กทม.

๑๖๖ คุณถนิม เกิดแก้ว

๔๖/๒๔๗ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

๐๙๕๙๔๖๑๒๖๖

๑๖๗ นางสาวสุสิตา นฤภัทร

๙๗๔ หมู่บ้านเสนาวิลล่า ๘๔ ซ. ๒๒ ถ.แฮปปี้แลนด์ กทม. ๑๐๒๔๐

๐๘๖๔๑๔๙๔๘๐

๑๖๘ นางสาวอัจฉรา วงศ์โชติกุลชัย

๒๓ แยก ๑๐ แขวงทุ่งอัดดอน เขตสาทร กทม. ๑๐๑๒๐

๐๘๗๑๐๕๑๓๑๑

หมายเหตุ

Page 307

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๕๗ คุณอาคม เกิดสุข


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๐๐/๒๗๖ ซ. ๒๓/๗ หมู่บ้านชลลดา ถ.บางกรวย-ไทรน้อย อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๖๖๔๔๐๖๘๖

๑๗๐ คุณภูมิใจ สุขสมกิจ

๑๔๑/๑ ถ.สุทธิสาร เขตห้วยขวาง กทม.

๐๘๑๕๘๒๙๙๓๙

๑๗๑ คุณมนัส ชุติประยุทธ์

๑๕๒/๕๘ เขตบางกอกน้อย กทม.

๐๘๙๔๘๕๓๗๔๖

๑๗๒ คุณอารี เปลี่ยนกิจ

๖๕/๑๖ หมู่ ๑ ต.บ้านปรง อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๙๐๘๐๕๙๙๓๙

๑๗๓ คุณกิตติศักดิ์ นามวงษ์

๙/๑๐๙ ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุ่มมหาเมฆ เขตสาทร กทม.

๐๘๗๐๘๙๓๙๐๘

๑๗๔ คุณอรุณี ยันองอาจ

๕๐๐๕/๑๒๓ ถนนดินแดง แขวง/เขต ดินแดง กทม.

๐๘๒๐๘๓๗๙๑๙

๑๗๕ นายคมสัน ลีลาประเสริฐ

๑๑๗๔ ม.๓ ต.สาโรงเหนือ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘๙๖๖๗๘๑๗๔

๑๗๖ คุณเลขา อินทรสุวรรณ

๕๒๘/๘ ถนนจิระ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

๐๘๐๔๖๓๖๙๘๙

๑๗๗ นายวีระ สมความคิด

๗๕ ซ.นวธานี ๑ แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว กทม.

๐๙๖๒๒๕๕๘๕๔๔

๑๗๘ คุณสุปราณี ตรีปทุมมาศ

๙๕๖ ถนนพระราม ๓ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม.

๐๘๖๘๘๔๗๔๕๕

๑๗๙ คุณกาญจนา บูรณ์วันวัฒน์

๕๓/๓๔ ซ.สมานฉันท์ เขตพระโขนง กทม.

๐๘๙๔๑๑๓๔๕๗

๑๘๐ คุณสุภาพ สงค์เจริญ

๗๘ ถนนเพชรเกษม ๒๘ ต.ปากคลอง อ.ภาษีเจริญ กทม. ๑๐๑๖๐

๐๘๖๓๑๙๓๒๙๕

หมายเหตุ

Page 308

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๖๙ คุณจรวยพร จึงเสถียรทรัพย์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ หมู่บ้านเอื้ออาทรเชียงรากน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙๔๗๗๐๙๘๓๘

๑๘๒ คุณถนอมขวัญ รันตะบวร

หมู่บ้านเอื้ออาทรเชียงรากน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา

๐๘๗๓๔๐๘๔๘๙

๑๘๓ คุณพรรณี แซ่หล่อง

๙๕/๔๒๗ ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกองน้อย กทม.

๐๘๑๔๙๗๑๙๙๒

๑๘๔ คุณสุพัตรา เดชฤทธิ์

๑๑/๙๗ แขวง/เขต ห้วยขวาง กทม.

๐๘๕๑๓๑๕๘๖๗

๑๘๕ คุณมาลี ปานพชร

๑๑๖ ถนนลาดหญ้า เขตคลองสาน กทม.

๐๘๑๖๓๒๖๙๕๕

๑๘๖ คุณสราวุฒิ ละอองทรง

๑๑๔/๖ ม.๓ ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

๐๙๒๒๕๖๗๑๙๐

๑๘๗ นางจินตนา หวังใจสุข

๒๐๒/๑ ริมทางรถไฟสายแปดริ้ว เขตราชเทวี กทม.

๐๒๒๑๖๒๗๒๗

๑๘๘ นางสาวเกษราภรณ์ แสงตรา

๒๐๒/๑ ริมทางรถไฟสายแปดริ้ว เขตราชเทวี กทม.

๐๒๒๑๖๒๗๒๗

๑๘๙ นางสาววรรณี ชัชวาลวัตร

๒ ถนนเพชรเกษม ๗๗ แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กทม.

๐๘๑๘๑๔๑๐๑๖

๑๙๐ นางทัศนีย์ บุญไชย

๒๕๖/๒๑๑ ซ.สันติสุข อ.เมืองราชบุรี จ.ราชบุรี

๐๘๗๔๑๔๔๕๑๗

๑๙๑ นางสาวจริยา งามศุภกร

๗ ซอย ๒๐ (รัตนอุทิศ) ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

๑๙๒ คุณดวงใจ บวรศักษ์

๒๕ เขตพระนคร กทม.

๐๘๑๑๓๐๕๙๓๖

หมายเหตุ

Page 309

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๘๑ คุณฉลวย แซ่เอ็ง


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๓๑๖๓/๕ ถ.เพชรเกษม ต.หน้าเมือง อ.เมือง จ.ราชบุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๘๕๘๙๒๕๗

๑๙๔ นางสาวสตี ตรีฤกษ์ฤทธิ์

๑๓๐/๑๖ ถ.งามวงศ์วาน ๖ ซ. ๒๘ กทม.

๐๘๑๘๔๕๐๗๔๘

๑๙๕ นายศักดา เสถียรเกษม

๕๙/๑ กทม.

๐๘๕๔๑๙๕๔๘๘

๑๙๖ นายศักดิ์ชัย เพียรกิจธรรม

๒๐๑๓/๒๒ ถ.ประชาสงเคราะห์ เขตดินแดง กทม.

๐๘๔๑๙๓๖๑๙๓

๑๙๗ นายธนะวัตติ์ ศิริสุริยเสรี

๓๐๐/๓๘ ตรอกวัดประดู่ธรรมาธิปัตย์ แขวง/เขตบางซื่อ กทม.

๐๘๖๓๓๒๕๒๙๓

๑๙๘ นางสาวรสยา ทองจารูญ

๕๐/๕ บ้านกล้วยไทยน้อย นนทบุรี

๐๘๕๐๖๐๒๒๙๔

๑๙๙ คุณวีรยา เบญจบุตร

๑/๖๓ ถนนพระราม ๒ แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กทม.

๐๘๑๖๕๙๑๐๐๔

๒๐๐ คุณกฤตภัค ยอดยิ่ง

๑/๖๓ ถนนพระราม ๒ แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กทม.

๐๘๖๓๘๖๕๕๘๘

๒๐๑ นายธนู ศิริพันธ์

๑๐๑/๓๙ ถนนรามอินทรา ๒๑ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กทม.

๐๘๕๑๐๙๒๗๗๑

๒๐๒ นายอนันต์ รุ่งรัตน์สมพร

๕๕ ซ.อ่อนนุช ๑๒ เขตสวนหลวง กทม.

๐๘๙๘๘๙๓๒๐๖

๒๐๓ คุณรัตติยา เชื้อทอง

๑๕๓/๑๕ หมู่ ๔ มุมเมือง ต.คูคต จ.ปทุมธานี

๐๘๕๙๔๒๕๑๓๘

๒๐๔ คุณชุมพล ลืมกายา

๑๑๑/๑๐ บ้านบึงบัว ถ.คุ้มเกล้า เขตลาดกระบัง กทม. ๑๐๕๒๐

๐๘๙๔๔๓๑๕๐๐

หมายเหตุ

Page 310

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๑๙๓ โชติชนิต ตันติโรจน์รัตน์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๓๘๘/๒๘๖ หมู่ที่ ๑๐ พัทยา จ.ชลบุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๕๗๗๙๕๘๐

๒๐๖ นายธงชัย รัตนสุขสมบูรณ์

๒๘/๙-๑๑ ถนนรามคาแหง ๑๘๘ เขตมีนบุรี กทม.

๐๘๖๙๘๐๒๑๐๐

๒๐๗ นายพลภาขุน เศรษฐญาดี

๕๙/๑๔ หมู่ที่ ๑ ต.หอมเกร็ด อ.สามพราน จ.นครปฐม

๐๘๗๗๑๗๕๔๔๔

๒๐๘ นายประกอบ วชิบวร

๑๒/๑ หมู่ที่ ๑ อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี

๐๘๕๒๑๗๙๙๓๓

๒๐๙ คุณพรเพ็ญ พรพิพัฒน์กุล

๓๔๖/๔ ถนนสีลม กทม. ๑๐๕๐๐

๐๘๐๕๙๙๓๓๓๕

๒๑๐ คุณดรุณี กิลาปวัง

๓๖๔/๑๐๘ ถนนพระราม ๙ กทม.

๐๘๑๘๐๙๗๗๓๑

๒๑๑ คุณลัดดาวัลย์ แซ่เลา

๗๕๐/๑๖๔๔ หมู่ที่ ๔ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ

๐๘๑๙๘๖๒๕๑๑

๒๑๒ คุณกัญจนา กลังมาลี

๕๑๒ ซอยรังสิต-นครนายก จ.ปทุมธานี

๐๘๙๗๗๓๙๕๖๔

๒๑๓ คุณไพรัช ตั้งศรีวัฒนากุล

๑๕๐/๙๓ หมู่ที่ ๔ ถนนพระรามที่ ๒ แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กทม. ๑๐๑๕๐

๐๘๖๗๘๐๕๒๖๖

๒๑๔ คุณอารีย์ อยู่พร่าง

๒๐๗/๑๒ ซ.กิ่งเพชร เขตราชเทวี เขตพญาไท กทม.

๐๙๔๒๔๑๙๗๐๐

๒๑๕ คุณบุญร่าม ยอดสุรินทร์

๒๑๒ ซ.ลาดพร้าว ๘๐ แขวงวังทองหลาง กทม.

๐๒๕๓๐๑๖๗๒

๒๑๖ คุณนฤพล งามสุจริต

๙๙๐/๑๑๑ ม.ท่าเรือ๒ วชิรธรรมสาธิต ๕๗ แขวงบางจาก เขตพระโขนง กทม.

๐๘๕๑๑๙๐๐๑๓

หมายเหตุ

Page 311

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๐๕ คุณทวีพร วงศ์สุวรรณ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๔๗๔/๖๒ ถ.จรัลสนิทวงศ์ เขตบางพลัด กทม. ๑๐๗๐๐

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๙๙๖๗๖๖๗๗

๒๑๘ คุณสมศักดิ์ เกษมอุบล

๔๗๔/๖๒ ถ.จรัลสนิทวงศ์ เขตบางพลัด กทม. ๑๐๗๐๐

๐๘๑๔๗๒๐๖๔๘

๒๑๙ คุณนพมาศ ศรีมุกดา

๗๖ ซ.เพชรเกษม ๓๓/๘ แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๘๙๔๘๔๙๐๑๙

๒๒๐ คุณอริสา พู่จิตริกานนท์

๓๖/๓๗ ซ.เกษมสันติ ๑ ถ.พระราม ๑ เขตปทุมวัน กทม. ๑๐๑๐๐

๐๘๙๔๘๔๙๐๑๙

๒๒๑ คุณสมปอง แซ่แต้

๕๗/๑๖๘๗ เขตพระนคร กทม.

๐๘๑๗๘๒๖๓๘๙

๒๒๒ คุณอุซาดี ภูวนิช

การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

๐๘๗๕๕๔๔๒๙

๒๒๓ คุณศิริพร วรเศตนนท์

๑๔๐ ตรอกพันธจิตต์ ถนนสันติภาพ กทม.

๐๘๙๙๒๙๖๔๓๘

๒๒๔ คุณวณีกมน นันทะเสน

๗๔ หมู่ที่ ๑ ต.เมืองคง อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ

๐๙๒๑๖๓๖๔๓๖

๒๒๕ คุณสถาพร พินิจจินดาทรัพย์

๗ ซ.เจริญรัถ ๑๒ เขตคลองสาน กทม.

๐๘๙๙๓๔๓๖๗๙

๒๒๖ คุณสมชัย เสร็จวิโรจน์

๘๑ ตรอกหวังวัดหัวลาโพง เขตบางรัก กทม.

๐๒๒๓๓๙๓๔๔

๒๒๗ คุณสุคนธ์ทิพย์ ปราชญ์บุรัวกร

๓๑๑/๒๐ ถ.สรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม.

๐๘๑๖๙๕๖๕๖๙

๒๒๘ คุณนิภาพร มิมะพันธุ์

ถ.ประชาอุทิศ ๗๖ แขวง/เขตทุ่งครุ กทม.

๐๘๕๒๑๙๑๒๖๘

หมายเหตุ

Page 312

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๑๗ คุณณัฐนันท์ พรสุขสว่าง


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ พตบ.๗ กอรมน.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๙๔๘๔๙๐๑๙

๒๓๐ คุณสุวรรณ วงศ์สินสุนทร

๔๐ ถนนพระราม ๒ บางขุนเทียน กทม.

๐๘๔๐๙๐๘๙๙๑

๒๓๑ คุณปสุตา เชยกุล

๕๑/๑๑๘ นิรันดร์คอนโด กทม.

๒๓๒ คุณชาญชัย ปรีพันธ์

๘๙/๖ แขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน กทม.

๒๓๓ คุณสมใจ จักเดชไชย

๗๒๔/๒๑ กทม. ๑๐๑๐๐

๐๘๕๐๖๐๐๘๑๑

๒๓๔ คุณจติกา สคนธาหมาย

๙๐/๑๓๒ นายกเป็ดคอนโด เขตลาดพร้าว กทม.

๐๘๗๕๕๒๘๓๗๙

๒๓๕ คุณนิบูณ เหมาจันทร์

๕๕/๔๘ เขตพญาไท กทม.

๐๘๐๐๘๒๑๒๙๑

๒๓๖ คุณอุษพิช มีมุตติ

๑๒๔-๑๒๖ ถนนพระราม ๔ ตลาดน้อย สัมพันธวงศ์ กทม.

๐๘๖๖๖๔๗๓๘๗

๒๓๗ คุณอัญชนา มีมุตติ

๑๒๔-๑๒๖ ถนนพระราม ๔ ตลาดน้อย สัมพันธวงศ์ กทม.

๐๘๖๑๕๑๑๖๑๖

๒๓๘ คุณฤทธิรงค์ กตะศิลา

๑๓๔ ซ.ลาดพร้าว ๑๒๔ ถ.ลาดพร้าว กทม.

๐๘๕๐๔๘๑๔๑๓

๒๓๙ คุณวันทนี ตรีสิงห์

๒๒๒ ม.๓ ถนนรามอินทรา บางเขน กทม.

๐๘๑๖๔๐๖๖๘๗

๒๔๐ นายเกรียงณรงค์ หิรัญกิจรังสี

๙๕/๓๐๔ ถนนลาลูกกา จ.ปทุมธานี

๐๘๙๕๑๔๘๐๑๑

หมายเหตุ

Page 313

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๒๙ คุณโสภากรณ์ หุตะนานันทะ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๖๕๕/๓๑ ตรอกวัดพระยายัง ถนนบรรทัดทอง กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๕๘๗๙๖๐๕๔

๒๔๒ นางสายพิณ วัฒนาคามินทร์

๓๙/๖ ต.คูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี

๐๘๑๕๘๖๘๐๔๒

๒๔๓ นายสมรชัย ตระหง่านกิจ

๒๙๐-๒๙๒ ถ.เจ้าสาอาง อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี

๐๘๑๑๕๕๙๖๑๑

๒๔๔ นายสนธยา มีสาธา

๕๕/๑๙๙ ม.๖ ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘๔๕๓๘๘๕๐๔

๒๔๕ นายสรพงค์ คล้ายจินดา

๒๙๓๘ ถนนดินแดง เขตดินแดง กทม.

๐๙๐๕๖๔๘๐๕๕

๒๔๖ นางสาวเพียงพร ยกพรชัย

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

๐๘๘๗๑๑๗๔๔๓

๒๔๗ นายสากล ปรียาพิตพงษ์

๗๖๒ ถนนเทิดไทย เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๘๑๕๖๑๑๒๘๒

๒๔๘ คุณสุรีพร ศรศรี

๙๖ ถนนลาดพร้าว ๘๐ เขตลาดพร้าว กทม.

๐๘๐๐๘๕๒๒๐๑

๒๔๙ นายประเสริฐ มงคลพร

๖ ซ.๖ ถนนแม้นราลึง อ.เมือง จ.ราชบุรี

๐๘๖๖๙๙๕๔๗๔

๒๕๐ นายชาญชัย รอบหาง

๑๐/๓๑ แขวงราชเทวี เขตพญาไท กทม.

๐๘๘๘๒๔๑๒๔๕

๒๕๑ นายมงคล แสงบนฟ้า

๘๔๑๕ หมู่ ๗ ต.ท่าจีน อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๘๖๗๙๑๕๙๖๒

๒๕๒ นางสาวเพชร บุญคง

๑๑/๑ ซ.ประดิพัทธ์ ๒๐ ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

หมายเหตุ

Page 314

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๔๑ นายชัยพร ตระกูลรังสี


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๕๓ คุณกาญจนา วงศ์สินสุนทร

ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

๔/๑๑ สะแกงาม แสมดา กทม.

๒๕๔ คุณสทร มะโนวงค์

จรัญคอนโดมิเนียม กทม.

๒๕๕ นายอุดมวิทย์ สิทธิศุภโชค

๒๐๑/๓๗ ตลาดท่าพระ กทม.

๒๕๖ นางพะยอม วรรณพะเก

๙/๒๐ ถนนกิ่งเพชร เขตราชเทวี กทม.

๒๕๗ นายอนุวัฒน์ วรรณปะเก

๙/๒๐ ถนนกิ่งเพชร เขตราชเทวี กทม.

๒๕๘ คุณสมมิตร รัตนพุธดั่น

๑๕/๑ หมู่ที่ ๒ อ.เมือง จ.กาแพงเพชร

๐๘๘๑๖๔๖๓๔๒

๒๕๙ นายมานัส วงศ์นิวัฒน์

๒๗ รามคาแหง ๑๔ แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กทม. ๑๐๒๔๐

๐๘๙๖๘๓๐๙๕๙

๒๖๐ คุณจารุนันท์ สันติวิกร

๓๓ หมู่บ้านอมรพันธ์ฯ ซอย๑๐ แยก ๔๒ เขตลาดพร้าว กทม. ๑๐๒๓๐

๐๘๑๕๘๖๔๒๒๑

๒๖๑ คุณบวรสวัสดิ์ เลิศเอกดิเรก

๓๐๘ เขตนางนา กทม.

๐๘๔๐๗๐๗๕๕๗

๒๖๒ นายโฉ่เอ็ง แซ่ตั้ง

๘๑/๕๔๐ ประชาอุทิศ กทม.

๐๘๙๔๔๙๖๓๑๔

๒๖๓ นายธนกร ประมงอุดมโตห์

๖๕/๔ ม.๓ อ.เมือง จ.ระยอง ๒๑๑๖๐

๐๘๖๘๒๑๖๙๒๙

๒๖๔ นายสุรชัย ทักษ์ณาภินันท์

๔๒/๑๐ ซ.สวนผัก๕๘ ถนนพทุธมณฑลสาย ๒ เขตทวีวัฒนา กทม.

๐๒๔๔๘๐๕๕๒

หมายเหตุ

๐๘๑๐๔๐๔๖๒๑

Page 315


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๖๕ คุณนรีรัตน์ สาวไพร

ที่อยู่ ๖๕๗/๑๗ ซ.จรัลสนิทวงศ์ ๔ บางกอกน้อย กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๖๒๒๓๙๑๘๓

๒๖๖ คุณไกรสร เชาวพระอิน

๐๘๖๖๒๕๕๕๒๖

๒๖๘ นางสาวสิริน ดาลัย

๙๙ ถนนเพชรเกษม ซ.เพชรเกษม แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กทม. ๑๐๑๖๐ เมอร์รีโฮมอพาร์ทเม้นท์ (ห้อง๔๐๒) ซ.ลาดพร้าว๑๒๔ ถนนลาดพร้าว แขวง/เขตวัง ทองหลาง กทม. ๑๐๓๑๐ ซอยมณธรแมนชั่น ถนนรังสิต-ปทุมธานี อ.ธัญญบุรี จ.ปทุมธานี

๒๖๙ นายสมชาย เสถียรนภาพร

กรรมการสภาวัฒนธรรม ๑๖๑ จักรวรรดิ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กทม.

๐๘๖๙๙๕๑๘๘๓

๒๗๐ คุณเบ็ญจภรณ์ ตรยจุฒ

๑๕๗๔/๑๔ ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กทม. ๑๐๔๐๐

๐๙๗๒๔๑๖๘๙๕

๒๗๑ คุณจิราภรณ์ สุเทพากุล

๖๔ สุขุมวิท แขวงบางจาก เขตพระโขนง กทม.

๒๗๒ นายเผ่าเกษม คงจาเนียร

๑๗๓ หมู่บ้าน ๒๕๒๑ สวนผัก ๔๔ ตลิ่งชัน กทม.

๐๘๙๑๓๗๙๖๗๒

๒๗๓ นางกุศลรัตน์ ศุทธชัย

๖๑๙ พัฒนาการ๓๙ ถนนพัฒนาการ เขตสวนหลวง กทม.

๐๘๙๔๙๕๔๔๓๔

๒๗๔ คุณจุมพิต สาพรดิษฐ์

๙๙/๒๐๙ หมู่บ้านเพอร์เฟคเพลสราชพฤก กทม.

๐๘๖๐๑๒๒๓๖๐

๒๗๕ คุณมนต์รักษ์ อิสระมิติภาพ

๓๐๙/๔๙ หมู่บ้านการเคหะ เขตหลักสี่ กทม.

๐๘๙๗๙๘๖๑๓๙

๒๗๖ คุณพีรพงศ์ อมรจรพุฒิ

๑๕๕/๖๘ ซ.บวงศ์โรจน์ บางแค ๑๔ เขตบางแค กทม.

๐๘๖๓๔๙๘๕๔๔

๒๖๗ คุณพัฒนี สุดใจประภารัตน์

หมายเหตุ

๐๘๕๐๔๘๑๔๑๓ ๐๘๕๑๒๔๓๕๔๕

Page 316


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๒๗/๔ ป้อมปราบ กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๙๙๑๑๕๑๑

๒๗๘ พต.ดารงค์ สินประเสริฐ

๕๐/๑ หมู่ ๒ ต.คลองตาหรุ อ.เมือง จ.ชลบุรี ๒๐๐๐๐

๐๘๑๒๕๙๕๖๐๓

๒๗๙ นายบุญชัย สิทธิอัพร

๑๔๕ เขตดุสิต กทม.

๐๙๙๓๔๓๑๑๒๙

๒๘๐ นายบัณฑิต แป้นวิเศษ

๓๑๐/๗๕๗ เขตดอนเมือง กทม.

๐๘๑๘๖๙๕๑๙๓

๒๘๑ นางมยุรี เทพมโนทัยสกุล

๒ แยก ๗ ถนนเสรีไท แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว กทม.

๐๘๔๔๕๗๔๕๒

๒๘๒ นางสาวดรุณี จิตรมนตรี

๑๑ หมู่ ๑๐ ต.คลองสี่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

๐๒๒๕๘๒๕๖๘

๒๘๓ พญ.กมลเนตร ช่วยบน

๕๑ หมู่ที่ ๑๗ ถนนบางนาตราด กม.๑๐ เขตบางนา กทม.

๐๘๖๓๖๗๑๐๐๔

๒๘๔ คุณฐิตรีย์ เที่ยงนิมิตร

๒๐๑/๙๙๑ แขวงร่มเกล้า เขตลาดกระบัง กทม.

๐๙๑๕๓๕๑๒๐๒

๒๘๕ คุณสรษา ยังบุญสุข

๗๑/๗ แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ

๐๘๙๑๕๘๗๙๙๕

๒๘๖ คุณอดิชาติ จันทร์ผ่อง

๒๓๒ ซอยพหลโยธิน๔๘ เขตบางเขน กทม.

๐๘๑๗๔๐๐๗๔๕

๒๘๗ คุณสุระพัฒน์ ธาราทาส

๑๖๔/๑ ซ.อินทามาระ ๒๒ เขตดินแดง กทม.

๐๘๕๕๕๘๙๑๑๒

๒๘๘ คุณนัยนา พิบูลย์วงศ์

๙/๗๕ การเคหะคลองจั่น เขตบางกะปิ กทม.

๐๘๕๓๔๑๖๖๔๙

หมายเหตุ

Page 317

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๗๗ คุณลาวัลย์ รัตนลีววิบูล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๗๒๓/๓๔๔ จรัญคอนโด กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๗๘๒๓๐๔๘๔

๒๙๐ คุณสุนิสา มาโนวงค์

๓๗ ซ. พระนคเรศ ถ.พระราม ๔ กทม.

๐๘๐๕๔๔๓๔๑๐

๒๙๑ นายแม่น โหงอ่า

๕ ซ.พระรามเทวี ๔๑ เขตสวนหลวง กทม.

๐๒๓๑๔๖๓๓๘

๒๙๒ คุณศุภพงศ์ กฤษณกาญจน์

๓๑/๕๔ ชินเขต หลักสี่ กทม.

๐๘๘๐๒๒๔๙๔๗

๒๙๓ คุณบัวสียน วรรณทวี

๔/๑ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ

๐๘๕๓๙๘๑๑๑๖

๒๙๔ คุณวารุณี วนะสุขสถิต คุณอาพันธ์ทอง พิชิตพัฒน ๒๙๕ โสยาน ๒๙๖ คุณวีระรัตน์ ศรีอุฬารวัฒน์

๖๑ รามคาแหง ๔๘ เขตบางกะปิ กทม.

๐๘๖๗๐๕๘๘๖๐

๓๖๒๗/๑๑๘ ซ.อยู่ดี บางโคล่ กทม.

๐๘๑๖๑๕๔๐๙๑

๓๓๓/๑๒-๑๓ หมู่ ๗ ทุ่งสุขลา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี

๐๘๖๘๘๐๕๖๒๘

๒๙๗ คุณมนตรี ภิรมย์ราช

๔๒/๑๐ ต.ท่าช้างคล่อง อ.มะขาม จ.เลย

๐๘๕๓๙๔๓๒๓๘

๒๙๘ นายพุทธา บุญจง

๓๗๑ เขตดอนเมือง กทม.

๐๘๑๘๑๔๓๑๓๒

๒๙๙ นางสาวชุติมา เต็งรังสรรค์

๕๔/๒๖๒ ซ.แจ้งวัฒนะ ๒๘ ถนนแจ้งวัฒนะ ต.บางตลาด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘๑๘๐๖๙๑๙๒

๓๐๐ นางพัชราภรณ์ วิจินวัฒนะ

๗๐/๑๗ ซ.สุทธิสาร ๓ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

๐๘๔๑๓๐๓๔๒๐

หมายเหตุ

Page 318

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๒๘๙ คุณศิริพร กระวัทายาท


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๗/๑๕๔ ซ.เอกชัย ๑๒๗ แขวง/เขตบางบอน กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๔๖๔๒๗๗๐๔

๓๐๒ นายประวิทย์ กุลขัตติเชาวน์

๔๖/๑ ถนนสุรวงศ์ กทม.

๐๙๒๔๔๙๙๖๕๒

๓๐๓ นายแสนหล้า พันธ์ธราดล

๙๙/๗๑ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘๑๘๘๖๔๕๑๔

๓๐๔ นางสาวพูนศรี ติวกาญจนา

๑๒๐/๕๔๗ ถนนสุขุมวิท ๑๐๑๑ เขตพระโขนง กทม.

๐๘๑๙๒๘๑๓๒๓

๓๐๕ คุณจริยา หรุ่นศิริ

๕/๑๔๓๒ หมู่บ้านประชาชื่นซอย ๑๐ กทม.

๐๘๓๑๐๔๙๘๔๗

๓๐๖ คุณอมร สิงหกุล

นิรันแกรนคอนโด ๑๗ สุขุมวิท ๑๐๓ สุขุมวิท กทม.

๓๐๗ คุณดรุณี จิตมนตรี

นิรันแกรนคอนโด ๑๗ สุขุมวิท ๑๐๓ สุขุมวิท กทม.

๓๐๘ นางศิริพร ฮวยแช่ม

๑๔๕/๑ หมู่ ๑๓ แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กทม. ๑๐๕๑๐

๓๐๙ นางสาวชมศรี อรเจริญ

๓๗๖๙/๒๒๙ ถนนพระราม ๓ แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กทม. ๑๐๑๒๐

๐๘๑๘๔๘๖๒๔๐

๓๑๐ นายเกษมสันต์ วิชัยรัชดา

๔๑๔ ซ.ประชาสงเคราะห์ เขตดินแดน กทม.

๐๘๙๖๗๖๓๕๒๖

๓๑๑ นายวุฒิศักดิ์ กรกิชาติชัย

๒๓ หมู่ที่ ๔ ซ.อ่อนนุช ๖๕ แขวง/เขตประเวศ กทม.

๐๘๔๖๗๘๙๙๕๕

๓๑๒ นางสมมาศ โหรารัตน์

๒๘/๕๔๙ หมู่ที่ ๒ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

๐๒๕๐๔๑๒๓๖

หมายเหตุ

Page 319

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๐๑ นางสาวเกศสุดา มหัทธนทวี


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๓๔๖ ถนนสุทธิสารแยก ๑ แขวง/เขต ดินแดง กทม. ๑๐๔๐๐

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๘๐๑๘๕๓๑

๓๑๔ คุณพรพนอม ชวนะศักดิ์

๒๕ เขตพระนคร กทม.

๓๑๕ คุณสุวรรณา จงพายับขจรี

๓๐/๗๖ หมู่ที่ ๑ แขวงท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กทม. ๑๐๑๕๐

๓๑๖ คุณพรรพรรณ เอมพันธุ์

๙๗/๗๒ ซ.บุญศิริ ต.บางเมือง จ.สมุทรปราการ

๓๑๗ คุณสมประสงค์ สุญสมวัตน์

๓๑๕/๘ กทม.

๓๑๘ คุณชลาลัย ทับนิยม

๖๑ หมู่ที่ ๑๐ จ.สระบุรี

๓๑๙ คุณกัน พูลพทรัยย์ยนิด

๙๐๒/๕ เขตพรานนก กทม.

๐๘๑๖๒๕๒๓๓๔

๓๒๐ คุณวิชิต วงศ์วสุ

๓๒ ถนนสุขุมวิท ๕๓ กทม.

๐๒๒๖๐๕๙๓๘

๓๒๑ นางสาวชลธิชา สายสุด

๙๒๕๐/๑๑๙ ถนนเจริญกรุง กทม.

๐๘๙๑๔๕๓๔๑๐

๓๒๒ นางศมนีย์ รัตนฤกกรณ์

๒๖ หมู่ ๔ ถนนสาย ๔ ซ้าย ต.พัฒนานิคม อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี

๓๒๓ นางสาวอุษณีย์ รัตนฤกกรณ์

๕๗/๕๑๑ ซ.อุดมสุข ๗ เขตพระโขนง กทม.

๐๘๑๒๖๔๕๕๕๔

๓๒๔ คุณราศี หนองโยษา

๔๔๑ เขตจตุจักร กทม.

๐๙๑๗๕๖๘๐๘๐

๐๘๖๙๘๔๔๑๔๙

หมายเหตุ

Page 320

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๑๓ นายเธียรชัย ไตรภัทร


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๒๒๒ หมู่ที่ ๓ ถนนรามอินทรา เขตบางเขน กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๖๔๐๖๖๘๗

๓๒๖ คุณหวน กึนพันธุ์

๓๑/๗ หมู่ ๑ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี

๐๘๕๔๓๖๑๓๘๔

๓๒๗ นายศุภทิน เรื่องอนันต์รักษ์

๑๖๐ หมู่ ๖ หัวเรือ อ.เมือง จังหวัดอุบลราชธานี

๐๙๖๖๑๔๕๑๖๑

๓๒๘ คุณชลิดา ถีระวงษ์

๒๘๐/๕๑ ซ.รุ่งเรือง คอนโดการเด้นเพลส เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ

๐๘๑๖๒๑๐๔๔๕

๓๒๙ คุณนรินรักษ์ จิงจิราวัฒน์

๕๙๔/๑๐๒๘ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กทม.

๐๘๑๔๑๒๔๑๔๘

๓๓๐ คุณนรีรัตน์ จิงจิราวัฒน์

๕๙๔/๑๐๒๘ แขวงคลองชักพระ เขตตลิ่งชัน กทม.

๓๓๑ นายอมร จิตรรุ่งวิทยา

๒๖๕/๓ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม.

๓๓๒ นางสาวจรรยาพร ชุติเวทวัลลภ

๑๔๕ ต.ประชาธิปัตย์ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี

๓๓๓ นายชาย พฤกษ์คุ้มวงศ์

๗๐ ถนนทรัพย์แช่มสี่พระยา เขตบางรัก กทม.

๓๓๔ นายสมหมาย เหรียญตรง

๗๓/๘ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กทม.

๓๓๕ นางกาญจนา มอรี่

๖๙๙ แขวงเจ้าคุณสิงห์ เขตวังทองหลาง กทม.

๓๓๖ นางสาวอุษณีย์ รุ่งศิริตรยกุล

๘๗/๑๕๖ ซ.อ่อนนุช ๒๑/๑ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม.

หมายเหตุ

Page 321

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๒๕ คุณศิริรัตน์ ทองเสื่อม


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

-

๓๓๘ คุณรุ่งรดา เชื้อดวงยุบ

จังหวัดชลบุรี

๓๓๙ นางปิยาภรณ์ สิงห์วิจารณ

กรุงเทพมหานคร

๐๘๗๐๕๒๕๙๑๕

๓๔๐ นายธวัชชัย สิงห์วิจารณ์

กรุงเทพมหานคร

๐๘๗๐๕๒๕๙๑๕

๓๔๑ นายพัจนรัศ วิเศษจินดา

กรุงเทพมหานคร

๐๙๑๗๖๕๗๕๔๗

๓๔๒ นางวรรณรี ตันต้านภัย

๓๘/๑ ซ.กมลทอง เขตสาทร กทม.

๐๘๓๒๖๗๘๖๒๙

๓๔๓ นางสาวสุชาดา พลายพลอยวัชระ ๔๙๙/๖ ถนนสามเสน เขตดุสิต กทม. ๑๐๓๐๐

๐๘๙๔๔๕๖๙๘๑

๓๔๔ นางนภาพร อัสสานนท์

๖๙/๓ หมู่บ้านกฤษดานคร ๑๖ กทม.

๐๘๑๖๑๖๕๐๗๕

๓๔๕ คุณประการ ก่อเกียรติจรูญ

ศูนย์วิจัยนโยบายพลังงานและทรัพยากรมหาวิทยาลัยรังสิต

๐๘๑๖๒๕๒๗๕๖

๓๔๖ คุณภูริวัฒน์ รชตโสภณ

๑๐๓/๑ ซ.สุขุมวิท ๑๐๑ แขวงบางจาก พระโขนง กทม.

๐๘๖๔๑๙๐๓๙๘

๓๔๗ นายณัฐพล คูณทรัพย์ทวี

๖๗/๗ ซ.สุขุมวิท ๔๖ แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม.

๐๘๑๖๔๐๑๐๗๖

๓๔๘ นางศิวพร ตั้งสุณาวังษ์

๗๘ ถ.เพชรเกษม แยก ๒ แขวงปากคลอง เขตภาษีเจริญ กทม. ๑๐๑๖๐

๐๘๖๓๑๙๓๒๙๖

หมายเหตุ

Page 322

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๓๗ คุณอาเหลี่ยน ตั้งสกุลไพศาล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๐๐/๑๙๖ หมู่บ้านพฤกษาวิลล์ ๒ หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๙๒๒๕๒๘๖๐

๓๕๐ นางสาวจันทิทา จันทนะเวส

๒๕๖ ซ.สังข์ทอง ๙ ถนนพหลโยธิน ๓๕ แขวงตลาดลาดยาว เขตจตุจักร กทม.

๐๙๘๔๑๒๒๐๘๙

๓๕๑ นายเรืองศักดิ์ อัศกาโรจน์กูล

๙๙/๒๐๙ ม. ๑ ถ.ราชพฤกษ์ อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๘๕๗๗๙๔๗๐๐

๓๕๒ นายสุวรร สิงห์พันธุ์กุล

๑๔๐/๒๔๐ เขตบางรัก กทม.

๐๘๙๘๘๐๘๐๐๒

๓๕๓ นางศมนีย์ รัตน์ฤากรรณ์

๒๖ หมู่ที่ ๔ ต.พัฒนานิคม อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี ๑๕๑๔๐

๐๘๑๒๖๔๕๕๕๔

๓๕๔ นายพิชัย เลิศวงศ์พุทร

๕๘ ซ.จันทร์๔๕ แยก ๘ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กทม.

๐๘๕๓๕๗๑๗๗๖

๓๕๕ นางเพ็ญศรี เขมาสิทธิ์

๒๘๓/๔๑ ม. ๗ ต.สาโรงกลาง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ

๐๘๑๖๑๙๑๔๙๒

๓๕๖ นายสมพร นีรชรานุสรณ์

๘๒ ถ.พุทธมณฑลสาย ๑ เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๘๘๖๒๑๕๓๕๒

๓๕๗ นายปรีชา ถาวรบวช

๑๕ ซ.งามวงศ์วาน๕ ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๙๕๐๖๑๑๘๐๓

๓๕๘ นางสาวนวลภัส ม่วงเงิน

๖๐ ซ.ลาซาน แขวงบางนา เขตบางนา กทม.

๐๙๕๗๑๐๘๓๑๘

๓๕๙ นายทนง ธีพงศ์ธร

๒๘๔ ซ.สิรินธร ๒ ถ.สิรินธร แขวง/เขต บางพลัด กทม.

๐๒๔๓๕๔๓๐๖

๓๖๐ คุณจรัลรัตน์ วรกตติวณิชกุล

๕๐๑/๒๗๒ เขตยานนาวา กทม.

๐๘๙๑๒๑๑๗๔๐

หมายเหตุ

Page 323

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๔๙ นางชพิญญา แซ่คู


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๔๓/๒ ต.หนองตางู อ.บรรพตพิสัย จ.นครสวรรค์

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๖๒๑๕๖๐๗๙

๓๖๒ คุณศิริ บุญมา

๘/๘ ม.๗ ต.บ่อ อ.ขลุง จ. จันทบุรี

๐๘๖๑๑๓๗๙๘๐

๓๖๓ นางพะยอม ชอบชื่น

-

๐๘๕๓๖๐๔๕๗๘

๓๖๔ นายสังวรรณ มิตรทอง

๑๖๔/๑๒ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพลก จ.สมุทรสาคร

๓๖๕ นางสุรีย์ ริมชลา

๙๖-๑๐๐ ถนนสุขุมวิท จ.ตราด

๐๘๓๕๖๙๘๗๔๕

๓๖๖ นางเพ็ญพรรณ จันติกล

๑๒๖ ม.๗ อ.เขาสมิง จ.ตราด

๐๘๑๗๖๒๖๐๒๘

๓๖๗ นางสาวมาลัย เจริญลาภ

๒๓ ซ.ชลประทาน ๑ ท่าเรือจ้าง ต.แสนตุ้ง อ.เมือง จ.ตราด

๐๘๖๐๗๙๑๒๑๐

๓๖๘ คุณลออ ไทยมณี

๒๘๙ หมู่ ๗ ต.แสนตุ้ง อ.เมือง จ.ตราด

๐๙๔๓๕๓๑๙๙๕

๓๖๙ นางสาวสมหมาย สาระคา

๑๓๔/๒ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพรก อ. เมือง จ. สมุทรสาคร

๐๘๖๘๐๓๑๔๖๐

๓๗๐ นางวราภรณ์ คณะวัฒนา

๑๔๔/๒ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพรก อ. เมือง จ. สมุทรสาคร

๓๗๑ นายสมบัติ เป้าทอง

๙/๑๕ ซ.สันติสุข ต.ในเมือง อ.เมือง จ. เพชรบูรณ์

๓๗๒ นางสาวพัชรี มหาพรหม

๗๗๐/๑ ถนนริมทางรถไฟสายปากน้า เขตคลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐

๐๘๑๘๒๘๐๓๖๑

หมายเหตุ

Page 324

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๖๑ นายนรินทร์ มุรินทร


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๗๗๐/๑ ถนนริมทางรถไฟสายปากน้า เขตคลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙๒๒๘๔๕๙๖๖

๓๗๔ นางสาวบัวหลวง ถิ่นเก๊า

๕๐๓ ซ.จรัญสนิทวงศ์ ๑๒ แขวงท่าพระ เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๙๐๘๘๐๕๗๘๘

๓๗๕ คุณอริษา ยลากุลรันดร์

๕๘/๕๗ ซ.เทเวศร์๑ ถ.กรุงเกษม กทม.

๐๘๖๐๘๔๒๕๕๒

๓๗๖ นายอรุณศักดิ์ โอชารส

๙๙๑/๒๐ ถนนกวงเฮง ต.เมืองใต้ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ

๐๘๑๕๔๙๔๐๔๖

๓๗๗ นายเอือ้ เอื้อนานนท์

๒๗๙/๓ ม.๑ ต.สังขะ อ.สังขะบุรี

๓๗๘ นายผดุง กูนาท

๓๑๒ ม.๑ ต.บ้านเกษม อ.เมือง จ.หนองบัวลาภู

๐๙๒๖๘๐๘๑๙๘

๓๗๙ นายคาเยา ธุระทา

๘๐ ม. ๑๐ ต.โคกเครือ อ.หนองกุงศรี

๐๘๘๕๓๑๘๗๔๖

๓๘๐ นายสมจิตร โสพันธ์

เครือข่ายองค์กรปฏิรูป (คชป.)

๐๙๘๔๒๔๒๔๒๘

๓๘๑ นายเรืองฤทธิ์ ยุระเกตุ

๒๙/๑๗ ม. ๕ ต.ดอนลัด อ.ดอนสัก จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘๗๖๘๕๐๘๓๖

๓๘๒ นายนวรัตน์ อินทรพาณิช

๖๒๖/๘๕ ม. ๑๐ ถ.กาญจนาภิเษก กทม.

๐๘๙๒๐๒๕๘๙๓

๓๘๓ คุณแสงแข ปลากุลสัติกร

๕๘/๕๗ ถนนกรุงเกษม เขตพระนคร กทม.

๐๓๘๒๘๓๔๓๒

๓๘๔ คุณณภัทร จันทสิงห์

๒๖๖ ถนนเพชรเกษม เขตบางแค กทม.

๐๘๕๑๓๘๕๐๐๕

หมายเหตุ

Page 325

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๗๓ นางสาวขวัญฤดี อังคะสี


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๗๘๔ ซ.เทอดไทย ๒๑ แขวงบางยี่เรือง เขตธนบุรี กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๖๖ ๒๗๙๐

๓๘๖ คุณนภาภรณ์ เรื่องกิตติกุล

๔๑/๒๗๔ หมู่บ้านธีราดร พทุธมณฑลสาย ๒ กทม.

๐๘ ๙๖๑๒ ๕๙๙๔

๓๘๗ คุณดาวเรือง ศรีชนะ

๙๐๒ แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กทม.

๐๘ ๓๖๗๙ ๒๑๑๓

๓๘๘ นายวินัย กาวิชัย

เครือข่ายโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ตราด

๐๘ ๖๓๓๓ ๕๕๐๕

๓๘๙ นายวีระยุทธ โฆษิตาวัฒนากุล

๙๑/๑๘ สุขุมวิท ๑๐๑/๑ แขวงบางจาก เขตพระโขนง กทม.

๐๙ ๒๐๕๔ ๐๘๙๔

๓๙๐ นายสารอง ผู้นา

๙๖/๑ หมู่ ๑ ต.บากแตร อ.ระโนด จ.สงขลา

๐๙ ๐๑๐๒ ๓๕๓๙

๓๙๑ นายยงยุทธ เสถียรถิระกุล

๒๓๐/๑๐ สุขุมวิท ซอย ๑ กทม.

๐๘ ๔๖๔๒ ๑๕๒๔

๓๙๒ นายสุพัฒน์ ศุลตรภักดิ์

๑๐๘ หมู่ ๑ ต.บ้านฝาง อ.บ้านฝาง จ.ขอนแก่น

๐๖ ๒๐๔๕ ๘๑๘๗

๓๙๓ นายวรากร พลมัถพี

๑๒๘/๓๖ กองบิน ๗ ต.มะลวน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๖๐๓๒ ๕๔๒๑

๓๙๔ นายเกียติชัย ทิพย์หมัด

๑๖๗ หมู่ ๘ ต.คุ้ง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๗๐๘๒ ๘๙๖๐

๓๙๕ คุณสุมาลี แซ่ต้น

กรุงเทพอพาทเม้น

๐๙ ๔๖๔๖ ๗๘๑๒

๓๙๖ นายณรงค์ ภุมรินทร์

ริเวอร์ซิตี้ กทม.

๐๘ ๙๑๓๕ ๕๘๗๙

๓๙๗ คุณนิดา สังขปรีชา

๑ หมู่บ้านเพชรอินทร รามอินทรา ๙๙ แยก ๒ คันนายาว กทม.

๐๘ ๖๐๑๖ ๓๔๓๔

หมายเหตุ

Page 326

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๘๕ คุณบุญเสริม ลดาสุนทร


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๐๘๖/๒๓ ถนนเพชรเกษม แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๒ ๖๒๘๓ ๖๑๔๕

๓๙๙ นายอดุลย์ เสมือนโพธิ์

๙/๑๖๕ ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กทม.

๐๘ ๖๕๖๖ ๓๒๔๒

๔๐๐ คุณลีลีญา อุปพาศ

NBT

๐๘ ๖๗๕๖ ๓๙๘๙

๔๐๑ นางสาวกัญญวีร์ มาเจริญ

๑๒๕/๑๑๐ ซ.ประชาอุทิศ ๖๙ แขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กทม.

๐๘ ๖๗๗๑ ๘๘๙๔

๔๐๒ คุณนุชนาฎ เพียรเพ็ญวงศ์

๘/๘๒ ถนนประดิพัทธ์ เขตพญาไท กทม.

๐๘ ๑๙๒๙ ๙๑๑๘

๔๐๓ คุณวรัมพร เปล่งปลั่ง

๙๙/๑๕๑ หมู่บ้านสิรภัทร ๒ อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๙ ๕๔๘๐ ๑๔๖๘

๔๐๔ นายมธุส สุวรรณสุข

๒๘/๒ ซ.ราชดาเนิน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.กาแพงเพชร

๐๘ ๔๓๗๙ ๗๕๗๗

๔๐๕ คุณรัตนา ธัญญเจริญ

๑๕/๕๐ หมู่ ๒ ต.บางเมือง อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๐๒๖๘ ๑๒๖๐

๔๐๖ คุณสมพร ส่งเสริมชนะ

๔๙๗/๑ หมู่ ๑๑ ต.คลองด่าน อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ

๐๙ ๖๔๕๖ ๙๔๐๙

๔๐๗ คุณกนกวรรณ วันลักษณ์

๗๐/๒๐ ซ.บางแวก ๑ เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๘ ๗๗๔๓ ๕๕๐๐

๔๐๘ นายประสงค์ สิงห์ทอง

๑๐๑/๕๓๙ ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๘ ๖๗๘๔ ๖๑๒๗

๔๐๙ นางสุกัญญา สิงห์ทอง

๑๐๑/๕๓๙ ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี

๔๑๐ คุณสุวนีย์ เนตรวงศ์

๓๔ หมู่ ๔ ด่านเกวียน อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา

๐๘ ๒๓๗๐ ๒๗๘๕

หมายเหตุ

Page 327

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๓๙๘ นายพรชัย งามกิจภิญโญ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๓๗๕/๕๐ หมู่ ๗

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๓๗๔๗ ๙๑๙๙

๔๑๒ คุณนพคุณ ธนานิรมิต

๓๗/๗๐๐ หมู่ ๔ คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

๐๘ ๑๘๐๒ ๖๖๔๗

๔๑๓ คุณทัศนีย์ ชาตกิตติคุณวงษ์

๕๑/๕๕ หมู่ ๑ ต.บางแก่ง อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม

๐๘ ๑๓๐๐ ๕๖๗๕

๔๑๔ คุณวิละ อุดม

Sunday Cool กทม.

๐๘ ๑๑๙๑ ๓๐๓๐

๔๑๕ คุณเอกวิทย์ บางศรี

๒๕/๓๒ ถ.สุขุมวิท ๕๕ กทม.

๐๘ ๙๒๕๕ ๔๘๒๔

๔๑๖ คุณศักดา ศรีเสริมสน

๕๙/๓๒ ป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม.

๐๘ ๔๐๑๒ ๖๖๔๘

๔๑๗ นางเลอสิรี ลี้ใจประสงค์

๗๒ ซ.เจริญนคร ๖๒ แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กทม.

๐๙ ๒๙๘๗ ๙๕๑๕

๔๑๘ นายวฤทธิ์ ชินสาย

เครือข่ายประชาชนต่อต้านคอรัปชั่น

๐๘ ๙๙๒๕ ๘๓๗๐

๔๑๙ นางสาวจามรี หิรัญวิทยากุล

๗๕ ซ.ประดิษฐคขอนสีลม ๒๐ เขตบางรัก กทม.

๐๘ ๓๗๑๔ ๖๐๘๙

๔๒๐ นายวัฒนา วุฒิพาณิชย์กุล

๑๐/๑๙๔ ซ.พระราม ๒ ที่ ๒๘ เขตจอมทอง กทม.

๐๘ ๔๐๙๕ ๕๕๕๘

๔๒๑ นางบงบุป รัชนนท์เดชา

๒๒๕/๑๖ หมู่บ้านศุภาลัยปาร์ควิว เขตบางเขน กทม.

๐๘ ๑๔๙๙ ๐๕๑๕

๔๒๒ นายสุพจน์ ลีลาเลิศวิจิตร

๓๖ ซ.เพชรเกษม ๔๖/๑ บางหว้า กทม.

๐๒ ๔๕๗ ๓๖๔๔

๔๒๓ นางสาวจิณณะ จันทร์เรือง

๑๐๑/๕๑๖ ถนนรัตนาธิเบศร์ ต.ไทรม้า อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๙ ๕๖๖๕ ๘๒๓๑

หมายเหตุ

Page 328

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๑๑ คุณรภัทร นฤภาแวง


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๖๔/๒๓๑ ม.ชนนี แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๐๕๗๘ ๔๓๓๓

๔๒๕ คุณวิไล ชาติเสริมศักดิ์

๕๙ ถนนเสือป่า ตรงข้ามโรงพยาบาลกลาง กทม.

๐๙ ๔๔๙๕ ๑๔๙๓

๔๒๖ คุณนราญลักษณ์ เพชรสมุทร

๒๕๓/๘๓ หมู่บ้านพูนสิน ๓ ถ.ราษฎร์พัฒนา กทม.

๐๘ ๑๘๑๘ ๕๔๑๗

๔๒๗ นายพีรพงษ์ พรหมทอง

๒๗๖ หมู่ ๑ ต.อิปัน อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๑๔๙๓ ๖๗๖๓

๔๒๘ นายอเนก บุญนพ

๖๗/๕๙๗ อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม

๐๓๔ ๓๙๔๐๗๕

๔๒๙ นายเชาวลิต สดากร ๔๓๐ นายจาเริง ผ่องโอภาส

๗๑

๔๓๑ คุณณิชามล จารุคะรุฑ

๑๐๘ ซ.โกสุมรวมใจ ๙ เขตดอนเมือง กทม.

๐๘ ๖๔๑๔ ๙๓๙๔

๔๓๒ คุณณิชาภา พิศสุวรรณ

มหาวิทยาลัยรังสิต

๐๘ ๙๕๙๔ ๐๔๗๗

๔๓๓ คุณดวงมน สุมาลยาภรณ์

๑๐ ซ.ลาซาล ๓๒ สุขุมวิท ๑๐๕ เขตบางนา กทม.

๐๘ ๐๕๕๒ ๕๘๓๖

๔๓๔ คุณศิริกาญจน์ ศรีธรรมยศ

๑๓๕๐ ซ.D-๖ หมู่ ๓ ต.บางพูน อ.เมือง จ.ปทุมธานี

๐๘ ๕๐๖๔ ๔๔๔๒

๔๓๕ คุณจิราภรณ์ พงนิมิตกุล

๕๐๑ ถนนพญาไท เขตราชเทวี กทม.

๐๘ ๗๖๘๐ ๐๙๔๖

๔๓๖ คุณนวลนภา เอื้อเมืองพาน

๕๙/๒๖๙ หมู่บ้านลภาวัน อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี

๐๘ ๙๔๑๓ ๑๘๖๖

หมายเหตุ

Page 329

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๒๔ คุณวรรณิภา เดชอนางฎ์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๐/๗ หมู่ ๗ ถ.เพชรเกษม ๗๙

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๕๘ ๘๑๑๓

๔๓๘ คุณอุบล วิเชียรเทียน

๒๘๖/๑๖ หมู่ ๘ ต.บ้านครัว อ.บ้านหมอ จ.สระบุรี

๐๘ ๙๘๒๓ ๓๑๘๑

๔๓๙ นางพรทิพย์ เนียมเกตุ

๓๗๓/๙ หมู่ ๔ ต.สามเงา อ.สามเงา จ.ตาก

๐๘ ๑๔๒๒ ๔๐๕๑

๔๔๐ นางสาววัชนีย์ ฤทธิวงศ์

๖๕ ซอย ๑ ถ.กาแพงเพชร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.กาแพงเพชร

๐๘ ๙๖๙๔ ๕๕๕๖

๔๔๑ นางสาวแฉล้ม เพ็งผล

๖๕ ซอย ๑ ถ.กาแพงเพชร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.กาแพงเพชร

๔๔๒ นางบุษยมาส รักสยาม

๗๔/๖๐ หมู่บ้านเสนานิเวศน์ ๗ แขวงจระเข้บัว เขตลาดพร้าว กทม.

๐๘ ๙๔๔๕ ๕๙๖๔

๔๔๓ คุณนันทากร ฉายสอบ

๒๒๓ ซ.ทินกร แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม.

๐๙ ๔๔๒๘ ๒๗๘๕

๔๔๔ นายแสงทิศ ชานิไพบูลย์

๒๖๖ ถ.กาญจนวนิชย์ ซ.๒๑ ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

๐๙ ๑๐๐๗ ๑๕๕๗

๔๔๕ นายพงษ์เทพ กระจ่างพิศ

๒๒/๑ ซ.มุ่ง ๑ อ.ท่าข้าม จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๖๘๙๐ ๙๓๐๕

๔๔๖ นางสาวปนิฏฐา จึงจะดี

๓๗๓ หมู่ ๒ ซ.บางระมาด ๑๑ เขตตลิ่งชัน กทม.

๐๘ ๕๓๖๙ ๑๗๖๑

๔๔๗ นายสามารถ ชัยโชติตุลย์

๒๙ แขวงบางแวก เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๘ ๓๗๕๙ ๘๘๙๑

๔๔๘ นายอาทิตย์ ทิงหอม

๒๐๖/๑๓๗ ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

๐๘ ๕๙๕๙ ๕๘๘๐

๔๔๙ นายเฉลิมวุฒิ สมแสน

๒๐๖/๑๓๗ ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม.

๐๘ ๒๔๖๐ ๗๐๒๐

หมายเหตุ

Page 330

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๓๗ คุณปรียนันท์ ตุลยะมิตร


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ พูลสวัสดิ์ ๑๘๑/๑๐๗ หมู่ ๒ ออเงิน เขตสายไหม กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๐๔๓๙ ๙๘๒๙

๔๕๑ คุณจิรวัฒน์ กะสิวัฒน์

๗๘/๒๙ แขวงสายไหม เขตสายไหม กทม.

๐๘ ๕๑๖๑ ๘๐๕๕

๔๕๒ นายพยุง พรประสิทธิ์

๑๔๖ หมู่ ๕ ต.พระงาม อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี

๐๘ ๔๙๗๘ ๕๓๔๖

๔๕๓ คุณสุวรรณดี ศิวิไลพระเจริญ

๓๗๐ หมู่ ๑ เทพานิเวศน์ เทพารักษ์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๑๖๘๔ ๐๖๖๔

๔๕๔ คุณสุทธิพงษ์ เทพพิทักษ์

๕๔/๒๖ หมู่ ๑ ถ.บางกรวยไทรน้อย ต.บางกรวย อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

๐๘ ๙๘๑๐ ๒๒๓๔

๔๕๕ นายชาญชัย นพรัตน์

๕๑๘/๖ ถ.ริมทางรถไฟ เขตราชเทวี กทม.

๐๘ ๖๗๐๗ ๓๐๐๕

๔๕๖ นายวิโรจน์ พจน์ปัญญา

๑๗๑/๖ ตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กทม.

๐๘ ๑๕๕๗ ๐๐๔๕

๔๕๗ นางรินดา สุวรรณเทพ

๙๖/๔ ซ.ภาณุ ๘ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

๐๘ ๖๔๑๐ ๖๑๑๕

๔๕๘ พ.ต.ท.หญิงอาภาภัทร เกิดศิริ

๙/๑ หมู่ ๑ ต.ต้นโพธิ์ อ.เมือง จ.สิงห์บุรี

๐๙ ๘๔๔๕ ๕๘๙๑

๔๕๙ คุณพนิดา สงวนเสรีวานิช

๔๐/๗ ซ.อินทมระ ๘ สุทธิสาร กทม.

๐๘ ๒๙๙๓ ๙๐๔๓

๔๖๐ คุณอังศวรา ยัพเธรัส

ลาดพร้าว กทม.

๐๒ ๕๓๐ ๓๓๒๙

๔๖๑ คุณชาติตะวัน พันธุ์สัมฤทธิ์

พอม.ปทุมธานี ๓๙/๑๐ หมู่ ๔ สวนพริกไท อ.เมือง จ.ปทุมธานี

๐๙ ๑๑๐๑ ๗๙๘๕

๔๖๒ นางนพภา เลิศปรีชา

๖๒/๘๓ หมู่ ๓ ต.บางเมืองใหม่ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๗๗๓๗ ๒๙๐๙

หมายเหตุ

Page 331

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๕๐ นายปฐกวี พากรณ์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๕๑/๕๔ ซ.รามคาแหง ๙๖ ถ.รามคาแหง เขตสะพานสูง กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๕๑๖๑ ๙๕๕๖

๔๖๔ คุณอารี กันตวธีระ

๔๔๑/๔๙ แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กทม.

๐๘ ๗๓๔๘ ๗๘๑๔

๔๖๕ นายอาจกมล นาคลดา

๒๑๐/๑๖ งามวงศ์วาน ๔๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กทม.

๐๙ ๕๖๖๕ ๘๒๓๑

๔๖๖ นางจินดา สมุทรโคจร

๑๑๗๙/๔๓ ถนนเจริญกรุง แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กทม.

๐๘ ๕๑๕๕ ๙๘๙๒

๔๖๗ คุณเกศินี ทิพยะวัฒน์

๕๓๗/๒๑๕ ถนนสาธุประดิษฐ์ ๓๗ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม.

๐๒ ๒๙๔ ๕๔๗๑

๔๖๘ ร.ต.พงศภัค ภูริสิทธิพล

๒๖ หมู่ ๕ ต.ลามูล อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา

๐๘ ๔๘๘๘ ๘๗๔๒

๔๖๙ คุณโชติกา สิริลาภิณ

๓๕/๔๗-๔๘ ซ.แจ้งวัฒนะ ๑๒ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กทม.

๐๙ ๘๑๖๙ ๙๙๕๖

๔๗๐ คุณอรัญญา แซ่หลิม

๗ หมู่ ๙ ต.นายายอาม จ.จันทบุรี

๐๘ ๖๐๔๙ ๒๕๑๓

๔๗๑ คุณนนท์ สันติวรางกูร

๔๑/๓๒๔ ซ.รัตนาธิเบศร์ ๓ อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๙ ๔๔๙๓ ๔๔๓๔

๔๗๒ คุณลัดดา ประดับทอง

๔๙๖/๕๙ ถนนพระรามสี่ มหาพฤฒาราม เขตบางรัก กทม.

๐๘ ๗๕๑๔ ๔๐๐๔

๔๗๓ พระประหยัด อุทัยพจน์

วัดนาคนิมิต หมู่ ๕ เขตจอมทอง กทม.

๐๘ ๙๗๙๑ ๑๘๒๐

๔๗๔ นางสาวสมบัติ เต่าทอง

๑๒๕/๑๓๘ ซ.บางแก้ว จ.สมุทรสงคราม

๔๗๕ นางวันเพ็ญ อมศิริ

๑๒๕/๑๓๘ ซ.บางแก้ว จ.สมุทรสงคราม

หมายเหตุ

Page 332

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๖๓ คุณนฤมล ลีนะกูรณ์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

๕๖๖/๑๑ ถนนพระราม ๔

๔๗๗ คุณอนงค์ บุญวัฒน์

๒๐๐๖/๑๔ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๑๐๓๗ ๗๘๔๑

๔๗๘ คุณวิรัตน์ เกิดพยัคฆ์

๖๙/๘๙ สาโรงเหนือ จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๕๐๗๐ ๓๗๗๓

๔๗๙ คุณลาวัณย์ มีแก้ว

๖๖ ซ.นวมินทร์ ๗๔ แยก ๓-๘-๑๓

๐๘ ๕๓๔๕ ๔๔๔๑

๔๘๐ คุณสมศักดิ์ แซ่ลี้

๔๔๒/๑๒ เจริญกรุง ๔๙ บางรัก กทม.

๐๘ ๑๖๔๒ ๓๓๐๔

๔๘๑ คุณไมตรี ทาหุ่น

๑๐/๑ หมู่ ๑ ต.เกาะร้างใต้ อ.เกาะช้าง จ.ตราด

๐๘ ๑๘๘๑ ๑๖๙๒

๔๘๒ คุณลินดา โพธิ์วัฒ

๖๑/๕๑ ต.ประศุก จ.สิงห์บุรี

๐๘ ๙๑๙๙ ๗๑๙๐

๔๘๓ นายไฉ่เฮงหยิตั้ง

๘๑/๕๔๐ ซ.ประชาอุทิศ ๗๙ กทม.

๐๘ ๘๐๙๕ ๘๑๙๑

๔๘๔ คุณอาภา ตันตระโชติ

๑๐๐/๒๕ ธาราริณร์

๐๘ ๗๗๙๑ ๘๙๖๑

๔๘๕ น.ส.เจนจุรี อ่อนสา

กลุ่มพิทักษ์ทรัพยากรไทย

๐๙ ๑๗๗๘ ๕๘๕๖

๔๘๖ น.ส.สุภาพ เพ็งพิศ

๔๑๗/๖๔-๖๕ หมู่ ๙ ต.หนองปรือ

๐๙ ๙๒๑๗ ๑๐๑๔

๔๘๗ นางฎาริกา เจริญจิตต์

๕๒๕ หมู่ ๑๐ ต.หัวทะเล อ.เมือง จ.นครราชสีมา

๐๘ ๙๔๒๗ ๗๒๒๙

๔๘๘ นายสิงหา เจริญจิตต์

๑๓๖/๔ หมู่ ๑๖ ต.ลาดบัวขาว อ.สีดื้อ จ.นครราชสีมา

๐๘ ๘๑๑๙ ๐๗๖๒

หมายเหตุ

Page 333

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๗๖ นายสัมพันธ์ เรืองรอง


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๕๗ ซ.๑๒๒ ถนนลาดพร้าว แขวงวังทองหลาง กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๑๑๒๓ ๖๔๘๑

๔๙๐ นายอานนท์ บุญส่ง

๔๒/๕ หมู่ ๑ ต.ตลาดจินดา

๐๙ ๕๙๐๕ ๔๕๖๔

๔๙๑ พล.ต.เจริญ เตชะวณิช

๑๐๐/๒๐๗ หมู่บ้านธารารินทร์ ต.คูคต จ.ปทุมธานี

๐๘ ๖๓๖๙ ๓๐๓๒

๔๙๒ คุณตวงพรรณ ศรัทธาธรรมกุล

๑๑๕/๙๘ ถนนราชปรารถ เขตราชเทวี กทม.

๐๘ ๔๑๙๖ ๔๒๖๐

๔๙๓ นางธารา ตุ่นแสง

๑๕๖๒/๙๗ พิบูลย์พระราม ๒ เขตบางซื่อ กทม.

๐๘ ๕๐๒๐ ๖๗๘๗

๔๙๔ นางวีณา มัชฌิมาทิกัน

๑๔๕๑/๔๑๔ แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กทม.

๐๒ ๓๘๑ ๕๙๔๘

๔๙๕ คุณสุวณี จันทร์เพ็ญกุล

๒๖๒/๓๑ จรัญสนิทวงศ์ ๘๙ เขตบางพลัด กทม.

๔๙๖ คุณกรรณิกา ลลิตาโชต

๖๓๔ ซ.จรัญสนิทวงศ์ ๔๖ เขตบางพลัด กทม.

๐๘ ๑๔๕๒ ๙๐๗๖

๔๙๗ คุณสกาวรัตน์ จงภูริรัตน์

๒๓๒ ซ.สามเสน ๑ แขวงสามเสน กทม.

๐๘ ๑๓๔๓ ๑๑๐๗

๔๙๘ นางไพรนัดดา ศรีเรียงธรรม

๒๕๓/๓ ต.ประจักษ์ อ.เมือง จ.อุดรธานี

๐๘ ๙๗๑๐ ๑๕๔๗

๔๙๙ คุณเกษม นุตค์ขุนทอง

๙๐ หมู่ ๗ ต.ซับสมอภาช อ.บึงสามพัน จ.เพชรบูรณ์

๕๐๐ คุณอาพร วิกิจการโกศาล

๓๔๓/๒ เจริญกรุง ๔๓ เขตบางรัก กทม.

๐๘ ๖๙๒๘ ๑๔๕๕

๕๐๑ คุณสุวรรณี บุศกอง

๔/๑๕ หมู่ ๑๓ ถนนเลียบคลองภาษีเจริญ กทม.

๐๘ ๖๗๘๘ ๔๙๕๓

หมายเหตุ

Page 334

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๔๘๙ นางสาวสุจินตนา พุกกะเวส


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๐๒ คุณดาวนภา บุญหารณา

ที่อยู่ ๑๔/๙๕ ซ.บางกรวยโพธิ์ ๓๓ ต.บางสีทอง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๗๗๙๙ ๗๖๘๙

๕๐๓ คุณรัชนี สุนทรปกรมกิจ

ข้าราชการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข

๐๘ ๖๖๗๒ ๓๙๓๗

๕๐๔ คุณสุวรรณี อร่ามรุ่ง

ข้าราชการบานาญ

๐๘ ๖๕๔๗ ๕๙๔๗

๕๐๕ คุณมานพ ก้าวลัมพงศ์

ข้าราชการบานาญ

๐๘ ๑๘๘๑ ๙๒๗๙ ๐๘ ๑๙๖๐ ๑๙๕๙

๕๐๗ คุณสันต์ กลั่นประเสริฐ

๑๙๕ หมู่ ๑ ทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กทม.

๐๙ ๐๒๒๗ ๒๘๙๙

๕๐๘ นางอัมพร ถ้วงประสิทธิ

๒๐๓/๑๓ หมู่บ้านสัมมากร แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กทม.

๐๘ ๐๕๕๐ ๓๓๖๖

๕๐๙ คุณยุพิน บัวคุ้ม

๕๑/๑๑๗๘ หมู่ ๒ ต.คูคต อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี

๐๘ ๔๖๕๕ ๓๗๕๖

๕๑๐ คุณประพิน ทัศพียะเวช

๔๓ ถนนปากน้าผึ้งเหนือ แขวงบางพรม เขตตลิ่งชัน กทม.

๐๒ ๔๑๒ ๖๕๙๕

๕๑๑ คุณชาลี เจริญลาภนพรัตน์

๕๒/๘๓๖ หมู่ ๗ ต.หลักหก อ.เมือง จ.ปทุมธานี

๐๘ ๖๙๐๑ ๗๓๗๓

๕๑๒ คุณประเสริฐ บุญศรี

๕๗๒/๑ ซ.๒๐ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง กทม.

๐๘ ๙๑๔๗ ๒๐๕๕

๕๑๓ คุณใจทิพย์ พูนทวีพานิช

คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

๐๘ ๖๗๘๓ ๕๗๙๕

๕๑๔ คุณธนา นาคบุญนา

คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

๐๘ ๑๓๑๘ ๕๑๒๙

Page 335

๕๐๖ คุณอมรรัตน์ อินทอง

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๖๕๖๙ ๓๖๕๑

๕๑๖ คุณพงษ์ศักดิ์ วิริยานนท์

คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

๐๘ ๑๐๗๗ ๙๒๒๔

๕๑๗ คุณสาราญ จันทร์ชู

คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

๐๘ ๑๖๒๐ ๖๔๘๔

๕๑๘ คุณสุทธิภัทร บุนนาค

คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

๐๘ ๑๖๔๑ ๓๓๑๑

๕๑๙ คุณดวงกมล สมัยสุต

คณะกรรมการปฏิรูปพลังงาน (คปพ.)

๐๘ ๑๔๐๐ ๔๕๗๕

๕๒๐ คุณประหล่า ครุฑชูชื่น

ค้าขาย

๐๘ ๗๓๗๒ ๖๑๑๙

๕๒๑ นางผ่องพรรณ สายวงศ์นวล

๒๘ ถนนวังเหนือ ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลาปาง

๐๙ ๐๐๕๒ ๕๖๗๕

๕๒๒ นางปภาณี สมมะโน

๑๓๘ หมู่ ๘ ต.แม่วะ อ.เถิน จ.ลาปาง

๐๘ ๙๒๖๒ ๙๗๕๙

๕๒๓ คุณพราย กุลเปรมวงศ์

๒๕๔/๑๔ หมู่ ๙ ต.บางเตย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี

๐๙ ๐๕๕๐ ๓๑๙๘

๕๒๔ คุณสายธิภา บัวสุวรรณ

๔๗๒/๖ ซ.มังกร ๑ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กทม.

๕๒๕ คุณเกศรา จันทุมธ

๕๙ ถนนพระเจ้าทันใจ อ.เมือง จ.ลาปาง

๕๒๖ คุณสุดใจ ปิยสรานุกร

๔๒๙ ต.ท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร

๕๒๗ คุณอนงค์ วินิจ

๙๕/๑๓ ถนนกระบี่ ต.ปากน้า อ.เมือง จ.กระบี่

๐๘ ๙๖๙๕ ๓๕๓๕

หมายเหตุ

Page 336

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๑๕ คุณอาภรณ์ ถิ่นวัฒนากูล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๓๘๑/๑๓ ซอยอรุณอมรินทร์ ๒๑ เขตบางกอกน้อย กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๙๗๙๘ ๓๕๖๙

๕๒๙ คุณนิภา แซ่อุง

๓๗/๓ หมู่ ๑ ต.สว่างอารมณ์ จ.อุทัยธานี

๐๙ ๕๖๒๗ ๑๔๐๓

๕๓๐ คุณอารีย์วรรณ เนียวรอบ

๘๗/๑๓๐ ซ.อ่อนนุช ๒๑/๑ เขตสวนหลวง กทม.

๐๘ ๒๔๙๘ ๙๓๙๘

๕๓๑ คุณนภัสธาดา สุนทราภา

๕๒๐ ถนนวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กทม.

๐๘ ๖๖๐๓ ๐๕๔๖

๕๓๒ คุณสิริพร บุญนพ

จ.นครปฐม

๕๓๓ คุณสุนทร เดชยานนท์

๙๒/๔ หมู่ ๔ อ.เขาสามยอด จ.ลพบุรี

๐๘ ๑๘๗๕ ๒๐๒๘

๕๓๔ คุณนันทนา พฤกษ์วิวัฒน์

๔ ซอยสายลม

๐๘ ๗๐๓๔ ๙๔๙๒

๕๓๕ คุณพิภพ สร้อยคีรี

๖๔/๒ ต.อ่างศิลา อ.เมือง จ.ชลบุรี

๕๓๖ คุณพรสกล ทวีชัยขจรกุล

๕๐/๕ ถนนเพชรเกษม ภาษีเจริญ บางแค กทม.

๐๘ ๑๖๕๕ ๔๘๕๘

๕๓๗ คุณวิเชียร ศรียุทธไกร

๕๐/๗ หมู่ ๑๐ ต.ดอนยาง อ.ปะทิว จ.ชุมพร

๐๘ ๔๔๔๕ ๖๖๘๘

๕๓๘ นายพศิน โสภณกุลกิจ

๑๙/๑ หมู่ ๕ ต.ขุนโขลน อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี

๐๘ ๑๗๐๗ ๑๙๑๙

๕๓๙ คุณพีรพล พัฒนจิตวิไล

๑๔๔/๔ หมู่ ๓ ถนนราชสีมา-โชคชัย อ.เมือง จ.นครราชสีมา

๐๘ ๙๗๑๘ ๕๔๕๖

๕๔๐ คุณชัยธนา สันติชัยรัตน์

๑๔๘ หมู่ ๔ ต.โพธิ์ทอง อ.เมือง จ.นครราชสีมา

๐๙ ๔๔๖๘ ๖๑๑๖

หมายเหตุ

Page 337

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๒๘ คุณชฎาพร หล่อตระกูล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๔๙ ถนนลาดพร้าว กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๐๖๒๖ ๙๓๒๐

๕๔๒ นายสมศักดิ์ อรจันทร์

มีนบุรี กทม.

๐๘ ๗๖๙๐ ๕๓๐๕

๕๔๓ นายอนันต์ เขมรัฐโยธิน

ทานา

๐๘ ๘๓๗๓ ๔๙๓๔

๕๔๔ รตต.สุรเสกข์ ชมโคกกรนา

บานาญ

๐๘ ๑๒๖๖ ๖๐๘๓

๕๔๕ นางสาวดวงดาว วิศรินัน

๔๒๙ ถนนถวาย ต.ท่าฉลอม อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๘ ๙๔๙๙ ๖๓๒๖

๕๔๖ นางจุไร จารุวัสดิ์

เอกชน

๐๘ ๖๗๘๔ ๐๗๗๗

๕๔๗ คุณสุรีย์ โอฬารวิริยกิจ

๑๗๑ ซ.เจริญนคร อัคเศวต กทม.

๕๔๘ นางสาวขนิษฐา สรติโล่

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน BCC

๐๘ ๑๙๑๕ ๖๒๓๑

๕๔๙ คุณชานาญ มะลิสุวรรณ

ข้าราชการบานาญ

๐๘ ๙๗๙๙ ๗๓๓๕

๕๕๐ คุณกฤษณา ธรรมสุวรรณ

ข้าราชการบานาญ

๐๘ ๙๖๗๗ ๔๑๕๘

๕๕๑ คุณชาญ สายรัฐ

ค้าขาย จ.นครปฐม

๐๘ ๗๗๕๐ ๑๕๗๑

๕๕๒ คุณไมตรี สายรัฐ

ค้าขาย จ.นครปฐม

๐๘ ๗๗๕๐ ๑๕๗๑

๕๕๓ นางอมรรัตน์ ปลูกสรัฐ

๙๗/๑ หมู่ ๕ ต.วัดเกาะ จ.ศรีสาโรง

๐๘ ๓๕๙๒ ๙๗๓๐

หมายเหตุ

Page 338

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๔๑ รอ.เปรื่องริทย์ สุดถี


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๖๐ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙ ๑๐๕๑ ๙๘๐๒

๕๕๕ นางมุกดาวรรณ รัตนโชติ

๑๑๘/๒ พระรามเก้า ๔๑ เขตสวนหลวง กทม.

๐๘ ๙๔๘๘ ๘๗๙๐

๕๕๖ นางจงกลนี พิทยาคุณ

๓๕/๑๒ หมู่ ๑๓ ถ.นวมินทร์ เขตคลองกุ่ม กทม.

๐๘ ๖๕๖๘ ๘๙๓๐

๕๕๗ นายประดิษฐ์ หุ่นสุวรรณ

๒๑๔/๑ ซ.จรัญสนิทวงศ์ ๘๕ แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กทม.

๐๘ ๙๖๙๓ ๓๕๑๘

๕๕๘ นายอดิศักดิ์ ชมสูงเนิน

๙๒ หมู่ ๑ ต.เฉลียง อ.ครบุรี จ.นครราชสีมา

๐๘ ๑๒๖๔ ๖๙๑๘

๕๕๙ นางสาวอิศรา ศรีศักดิ์วัฒนะ

๑๐๘/๑๕ ถนนประดิพัทธ์ เขตพญาไท กทม.

๐๒ ๖๑๘ ๔๕๑๗

๕๖๐ คุณเฉลียว จิรเถร

๓๙๖/๔ สุทธิสาร สามเสนนอก กทม.

๐๘ ๒๖๓๔ ๕๘๐๗

๕๖๑ นางสาวจารุวรรณ มีแก้ว

๑๒๕ หมู่ ๑ ต.ตลาดจินดา อ.สามพราน จ.นครปฐม

๐๙ ๕๖๔๕ ๐๐๕๖

๕๖๒ คุณสาเนียง สอนแย้ม

๑๑๕/๓๗ มักกะสัน กทม.

๐๘ ๗๖๘๕ ๐๓๑๑

๕๖๓ นางทัศนีย์ เจริญสิงห์

ครูบานาญ

๐๖ ๑๖๘๔ ๓๓๖๑

๕๖๔ คุณณัฐกมล แซ่โค้ว

๖๑๙ ซ.ตากสิน ๕ เขตคลองสาน กทม.

๐๘ ๙๐๖๔ ๑๐๗๗

๕๖๕ นายวิเชียร คงอยู่

เชฟโรงแรม PUW MAN

๐๘ ๑๗๑๔ ๖๔๕๑

๕๖๖ คุณณัชพิมพ์ คาสะอาด

ลพบุรี

๐๘ ๙๔๑๑ ๑๐๕๓

หมายเหตุ

Page 339

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๕๔ นายวิษณุ วิชัยดิษฐ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ จ.สิงห์บุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙ ๙๔๔๖ ๑๑๕๒

๕๖๘ คุณกัญญา บุญเช่งทรัพย์

กทม.

๐๙ ๕๙๕๒ ๔๘๓๘

๕๖๙ นายใหญ่ แปเถียว

๗๕/๒ หมู่ ๕ ต.อ่างศิลา

๐๘ ๑๖๘๗ ๕๙๒๙

๕๗๐ นายบุญธรรม ฉวาง

๑/๑ หมู่ ๔ ต.บ้านนา อ.นาเดิม

๕๗๑ คุณปารวัฒ วานอเนก

๑๐๘๖/๑๔ กทม.

๐๘ ๙๘๙๗ ๔๕๗๘

๕๗๒ นายศิรวงศ์ คงมงคล

สถานีวิทยุ FM ๘๘.๗๕ สื่อสร้างสรรค์ ปักธงชัย จ.นครราชสีมา

๐๙ ๕๕๐๑ ๓๐๙๒

๕๗๓ นายนิคม เจริญวงศ์

๑๒๖/๘๖๘ หมู่ ๕ ต.ปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี

๐๘ ๑๒๐๙ ๐๓๗๖

๕๗๔ คุณกุลวดี เกสรามน

๕๖๖/๑๑

๐๘ ๔๑๔๑ ๘๔๙๗

๕๗๕ คุณคเชนน ทาขุน

๗/๒ หมู่ ๘ ต.ท่ารา อ.เมือง จ.จันทบุรี

๐๘ ๓๐๓๕ ๑๖๖๗

๕๗๖ คุณแขนภา บุริมนต์

เดลินิวส์

๕๗๗ คุณภัทรภร ภมร

๙๔/๔ ต.บางพุทรา อ.เมือง จ.สิงห์บุรี

๕๗๘ นายสายัณห์ ภมรนาค

LDI

๕๗๙ นายแทนคุณ กิตติคุณเอกขัน

๑๗๗/๑๒๙ หมู่ ๖ ต.เขารูปช้าง จ.สงขลา

๐๙ ๒๗๒๐ ๖๙๑๔ ๐๙ ๙๓๙๖ ๖๙๐๘

หมายเหตุ

Page 340

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๖๗ คุณอุบล ดาสิงห์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๑๔/๒ หมู่ ๒ ต.โรงช้าง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๖๘๐๐ ๗๖๖๗

๕๘๑ นายวรวัตร ขาเจริญ

๒๖ หมู่ ๓ ต.ฟ้าชุมพล อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

๐๘ ๗๕๐๓ ๓๒๔๐

๕๘๒ คุณดาวรุ่ง เอมพันธ์

๕๘/๓ หมู่ ๔ ต.พรหมมาสตร์ อ.เมือง จ.ลพบุรี

๐๘ ๖๗๙๖ ๑๑๐๑

๕๘๓ นายพิทักษ์ โกวิทวณิช

๑๕๘๔/๓๑๓ ต.สาโรงเหนือ จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๙๘๐๘ ๐๔๔๕

๕๘๔ นายรัชพล ทรงศิริ

๘๐ ถนนศรีสุริโยทัย ต.ทะเลชุมศรี จ.ลพบุรี

๐๘ ๙๗๔๐ ๐๘๒๗

๕๘๕ ดต.ภิรมย์ เชื้อผู้ดี

๑๑๔/๒ หมู่ ๒ ต.โรงช้าง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี

๐๘ ๑๘๕๗ ๐๖๔๓

๕๘๖ นายประกอบ ประดิษฐ์ตระกูล

๕๘/๑ ถนนโกษาเหล็ก ต.ทะเลชุมศรี จ.ลพบุรี

๐๘ ๓๒๕๕ ๗๖๖๔

๕๘๗ นายสุเมธ ตระกูลวินหนู

๑๗ หมู่ ๘ ต.บางคูวัด อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี

๐๘ ๓๑๐๔ ๐๘๘๘

๕๘๘ นายสุรยศ เตียวนุกรรม

๓๕๕ ถนนตากสิน อ.เมือง จ.ตาก

๐๘ ๗๙๘๘ ๘๔๖๒

๕๘๙ นางสาวศิริวัลย์ วรรณศิริกุล

๘๐/๔๒๕ ซ.พุทธบูชา ๔๔ บางมด กทม.

๐๘ ๒๕๙๒ ๑๔๗๔

๕๙๐ นางสาวธรรมสรณ์ ลายองมริฎร

๙๒๘ หมูบ่ ้านการเคหะแห่งชาติคลองจั่น ถนนนวมินทร์ เขตบางกะปิ กทม.

๐๘ ๙๗๖๙ ๒๗๔๑

๕๙๑ นางปาณิศา อินทรศรี

๘๓/๑๗๕ ต.บางพูน จ.ปทุมธานี

๕๙๒ นายพิชิต ตันตระโชติ

๑๐๐/๒๕ หมู่ ๑ ต.คูคต อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี

๐๘ ๙๘๒๖ ๔๐๕๐

หมายเหตุ

Page 341

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๘๐ นายนราธิป เชื้อผู้ดี


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๕๐/๑๑๗ ซ.คลองลาเจียก ๒ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กทม.

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙ ๐๐๘๒ ๐๐๘๖

๕๙๔ คุณบงกช ภูษาธร

๗๘ ถนนรางน้า แขวงพญาไท เขตราชเทวี กทม.

๐๘ ๗๕๐๒ ๘๕๘๕

๕๙๕ คุณจิราพร ฉันทจลสินธุ์

๓๓๘ ถนนเอกชัย บางบอน กทม.

๐๘ ๖๙๖๒ ๕๖๘๑

๕๙๖ คุณอภิรดี สัจจพันธุ์

๒๕๙/๒ ซ.พญานาค ถ.พญาไท แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กทม.

๐๘ ๑๙๒๐ ๓๒๖๗

๕๙๗ คุณอมรศรี คงทอง

๗๙/๓๕ หมู่ ๑๗ ถ.บรมราชชนนี กทม.

๐๘ ๗๑๖๓ ๑๕๕๖

๕๙๘ นางวชิราภรณ์ บุญล้น

๑๐๐/๘๗ ถนนกรุงเทพกรีฑา สะพานสูง กทม.

๐๘ ๖๐๐๒ ๙๗๑๓

๕๙๙ นายทวี แช่มภักดี

๒๐๒/๑๔ ต.บางพุทรา จ.สิงห์บุรี

๐๘ ๑๖๔๗ ๗๑๖๖

๖๐๐ คุณสาวิตรี ศรีวณิช

๘๒/๕๐๕ เครือซีเมนต์ ประชาชื่น กทม.

๖๐๑ นายดารง อินทรมีทรัพย์

๓๙/๔๒๑ ถนนสาทรใต้ กทม.

๐๘ ๑๔๘๐ ๑๕๐๙

๖๐๒ คุณอรัญญา หม่องเว้น

๓๙/๔๒๑ ถนนสาทรใต้ กทม.

๐๘ ๗๖๗๑ ๔๑๕๑

๖๐๓ นายไพฑูรย์ เพชรบร

๗๖๘/๑๐

๖๐๔ คุณสมพร เทียนประทีป

๗๕ หมู่ ๓ ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

๖๐๕ คุณประภัสสร ศักดา

๒๙/๑ หมู่ ๙ ต.บางงอน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

หมายเหตุ

Page 342

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๕๙๓ คุณวินิตา วรรณะ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๙๒/๑๕๘ หมู่ ๕ ต.บางรักน้อย อ.เมือง จ.นนทบุรี

มือถือ/โทรศัพท์

๖๐๗ คุณอรทัย วารีสอาด

๘๐๓/๑๐ ริมทางรถไฟตลาดพลู ธนบุรี กทม.

๐๘ ๖๗๖๐ ๒๙๗๙

๖๐๘ คุณวันดี สุรยธรรม

๙๗ ซ.ถัดภาวรินทร์ ๒ บุคคโล ธนบุรี กทม.

๐๘ ๙๖๓๙ ๘๑๕๘

๖๐๙ นายวิชัย เครือจันทร์

๓๒ ซ.ทานสัมฤทธิ์ ๑๕ อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๒ ๕๘๐ ๔๑๔๔

๖๑๐ คุณศิริวรรณ กาเนิดสิงห์

๓๔/๑๒๐ หมู่บ้านวังทอง เขตดอนเมือง กทม.

๐๘ ๐๔๔๘ ๕๙๗๘

๖๑๑ คุณสุณี พิมพาลัย

๔๔๒/๑๒ เจริญกรุง ๔๙

๐๒ ๖๓๐ ๖๖๗๗

๖๑๒ คุณพรชัย ทองสุข

๓๕๐/๔ ซ.อ่อนนุช ๓ ถ.สุขุมวิท กทม.

๐๙ ๐๙๒๙ ๐๔๘๗

๖๑๓ คุณสินธุ หมื่นชัยสิทธิ์

๓๗๓/๑๒๘ ต.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๕๘๑๐ ๖๖๗๕

๖๑๔ นายประเสริฐ แก้วอารัตน์

๕๒/๕ ต.น้าพุ อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๒๒๓๖ ๕๑๓๐

๖๑๕ คุณอรไท สุทัศนะจินดา

๓๒-๓๔ ถนนภูวนารถดาเนิน อ.เมือง จ.ชุมพร

๐๘ ๑๕๓๖ ๗๗๖๗

๖๑๖ คุณกุลนภา วัฒนสาธรกุล

คปพ.

๐๘ ๑๖๑๖ ๑๘๖๑

๖๑๗ คุณคัมภีร์ วัฒนภิโกวิท

๒๗ ถนนสรรพาวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กทม.

๐๘ ๑๔๔๑ ๓๐๒๙

๖๑๘ คุณสุนันทื สุทธิวิบูล

๕๙/๑ หมู่ ๗ ต.คลองถิน

๐๘ ๗๔๐๑ ๘๔๔๖

หมายเหตุ

Page 343

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๐๖ คุณรัศมี บุษราคัมสกุล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๑๔/๒๙ ต.แม่กลอง จ.สมุทรสงคราม

๖๒๐ คุณธงไทย คงทบ

๑๖๒ กทม.

๖๒๑ คุณธัญทิพย์ สุพัฒน์ขจรชัย

๑๔/๒๗ ซ.จอมทอง ๓ กทม.

๐๘ ๕๑๒๘ ๗๖๔๙

๖๒๒ คุณกมลวรรณ สุขเขียว

๓๒๙ หมู่บ้านพรทวีวิลล่า ๔ เขตทวีวัฒนา กทม.

๐๘ ๖๗๐๐ ๑๘๖๙

๖๒๓ นายสมศักดิ์ แซ่ถัง

ค้าขาย

๐๘ ๒๔๖๖ ๔๒๐๑

๖๒๔ คุณสมจิตต์ ศณีสุวกิจสวัสดิ์

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๖๗๖๑ ๖๖๒๓

๐๙ ๔๙๔๕ ๕๘๙๕

๖๒๕ นางสมปอง เฟื่องฟูนวกิจ

ร้านศรีหมอ เมาะยังใบ

๐๘ ๑๔๕๘ ๘๔๙๙

๖๒๖ คุณสุภาพ สิมเสน

หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์

๐๙ ๓๙๔๓ ๕๓๕๖

๖๒๗ รต.กรวัฏณกิจ กรอัครนนท์

อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์

๐๙ ๓๙๙๒ ๕๒๗๗

๖๒๘ นายสมศักดิ์ ศักดิ์สุราลัย

เจ้าของกิจการ

๐๘ ๑๙๒๘ ๐๒๓๒

๖๒๙ นายกฤตพล เดิมสมบูรณ์

ค้าขาย

๐๘ ๑๗๔๔ ๔๔๙๒

๖๓๐ นายยงศ์บุตร มงคลมาสุ ๖๓๑ คุณสิปปนนท์ แสงมา

๐๘ ๕๐๔๓ ๖๕๙๒ ๑๐๐/๓๙๒ หมู่ ๓ ต.บางคูวัด อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี

๐๘ ๔๗๗๓ ๒๗๗๗

หมายเหตุ

Page 344

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๑๙ คุณกุหลาบ รวมสุข


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๔๒/๒ หมู่ ๖ ต.บางพึ่ง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๙๐๓๓ ๘๓๔๖

๖๓๓ คุณวรรณา เรียงอัคคะกิจ

๑๘๓/๑๖ หมู่บ้านสัมมากร รามคาแหง สะพานสูง กทม.

๐๘ ๑๔๔๖ ๐๐๗๓

๖๓๔ คุณกมล ตันธนะศิริวงศ์

๑๒/๕๑ หมู่ ๔ ถ.พุทธมณฑลสาย ๑ แขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กทม.

๐๙ ๒๑๖๔ ๙๘๖๖

๖๓๕ คุณอุไรวรรณ เพียวสามพราน

๒๖๑ หมู่ ๓ ต.บ่อพลอย อ.บ่อไร่ จ.ตราด

๐๘ ๔๘๖๖ ๔๘๒๔

๖๓๖ คุณวิสาตรี เพียวสามพราน

๒๖๑ หมู่ ๓ ต.บ่อพลอย อ.บ่อไร่ จ.ตราด

๐๘ ๑๘๖๕ ๓๗๕๔

๖๓๗ คุณอุมาพร เพียงสามพราน

๒๖๑ หมู่ ๓ ต.บ่อพลอย อ.บ่อไร่ จ.ตราด

๐๘ ๕๔๔๕ ๑๒๘๕

๖๓๘ นายอรรถกร แสนคามา

๑๓ ราชบุตร ต.หัวเวียง อ.เมือง จ.ลาปาง

๐๘ ๖๙๑๔ ๖๗๙๗

๖๓๙ คุณอาพัน มิตรทอง

๑๐๗ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๖ ๑๗๕๓ ๑๘๓๕

๖๔๐ นายมานิตย์ ตั้งตระกูล

สภาเกษตรกรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๐๘ ๑๐๘๑ ๑๐๐๑

๖๔๑ นายประจวบ ปานกสิน

๐๘ ๙๑๑๒ ๗๓๓๙

๖๔๒ นายสุวิทย์ แสวงภักดิ์

๕/๑๔ หมู่ ๘ ต.สาโรงเหนือ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๕๕๖๕ ๔๖๗๒

๖๔๓ นางสาวพนิตา เหล่าอมร

๑๘๕ ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลาปาง

๐๕๔ ๒๑๘ ๗๕๒

๖๔๔ นางธันวารัตน์ ฐิติศรีธัญภัค

๓๕๕ ถนนเมิงราย ต.สบตุ๋ย อ.เมือง จ.ลาปาง

๐๘ ๑๕๙๔ ๓๕๕๘

หมายเหตุ

Page 345

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๓๒ คุณยุพิน กรทอง


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๔๕ นางพนอ แซ่ล้มิ

ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๖๑๐๕ ๙๐๙๓ ๐๘ ๑๙๖๐ ๗๙๑๖

๖๔๗ นายสุรศักดิ์ แยชิโรจน์

๐๘ ๒๔๙๐ ๕๐๗๗

๖๔๘ นายสมศักดิ์ ปานสิน

๐๘ ๑๔๑๒ ๘๕๗๐

๖๔๙ คุณวันเพ็ญ แซ่ด่าน

๐๘ ๓๑๗๔ ๓๙๘๑

๖๕๐ คุณวิริยา สวนอินทร์

๐๘ ๖๒๙๐ ๑๗๑๕

๖๕๑ คุณจรัสศรี พิพัฒน์

๐๘ ๕๙๙๓ ๓๓๑๒

๖๕๒ คุณสวนชัย เทียนชัยโรจน์

๕๐๗/๒๒๗ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม.

๐๒ ๒๑๐ ๒๗๓๗

๖๕๓ นางลาไพ รัตนศศิวิมล

๑๒๐ หมู่ ๓ ต.บ้านบัว อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

๐๘ ๑๗๑๘ ๕๓๓๐

๖๕๔ นางอุทัย เหมือนผวะ

๕/๑๒ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

๐๘ ๖๘๗๕ ๑๖๗๑

๖๕๕ คุณนิตยาพร สุวรรณชิน

๙๙/๗ ถนนลอยเคราะห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

๐๘ ๕๖๑๔ ๐๒๕๑

๖๕๖ คุณศรีน้อย ฤดีจรูญรุ่ง

๑๑๙/๖๐ หมู่บ้านไฮแลนด์วิวเพลส ถนนคันคลอง ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

๐๘ ๑๙๕๒ ๑๐๔๘

๖๕๗ คุณภัคค์รัตน์ เสถียรสิริวัฒนา

๑๔๓๔/๒๐๔ เขตยานนาวา กทม.

๐๙ ๐๕๗๒ ๒๕๙๖

Page 346

๖๔๖ นายพงษ์พิสิฐ ศรีขจรกิจ

หมายเหตุ


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๒๗๔/๑ หมู่ ๒ ต.บ่อพลอย อ.บ่อไร่ จ.ตาก

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘ ๘๒๐๙ ๑๐๘๑

๖๕๙ นายพิพัฒน์ เภลือชา

๔๘๓/๔ ถนนจิระ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์

๐๘ ๗๓๔๙ ๒๖๘๐

๖๖๐ นายพิสิฎฐ์ ยุติ

๑๙๘ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๖๖๑ นายธานี เอี่ยมประเสริฐ

๑๖๘ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๐๘ ๙๖๑๕ ๖๗๑๒

๖๖๒ นางศุภกร นุชอุดม

๒/๑ หมู่ ๔ ต.หนองหงส์ อ.พานทอง จ.ชลบุรี

๐๘ ๗๖๗๐ ๔๑๙๗

๖๖๓ นางเจริญสุข แซ่โค้ว

๗๘ ถนนชัยมงคล ต.บางพระ อ.เมือง จ.ตราด

๐๘ ๑๕๙๐ ๕๙๕๖

๖๖๔ นายสรรพฤทธิ ศันต์ทัศน์ธาร

๐๘ ๘๓๖๑ ๗๒๙๑

๖๖๕ นายคฑาเพชร แก่นแก้ว

๑๐๔๒ ค่ายลูกเสือกรุงธน กทม.

๐๘ ๘๘๑๗ ๕๖๒๔

๖๖๖ นางอาภา แดงกระจ่าง

๑๐๘/๑ หมู่ ๕ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

๖๖๗ นายเจด เภกะนันทน์

๓๐ ถนนบางแวก ๔๕ แขวงบางแวก เขตภาษีเจริญ กทม.

๐๘ ๓๗๐๙ ๐๑๐๙

๖๖๘ นายเมธา ทรัพย์วณิช

๔๔ ถนนสาลีไทย อ.ตาคลี จ.นครสวรรค์

๐๘ ๑๘๘๘ ๑๗๔๓

๖๖๙ นายปราโมทย์ ลักษณลม้าย

๑๕ นาคนิวส์ ๒๑ ถนนลาดพร้าว ๗๑ กทม.

๐๘ ๑๕๗๖ ๘๙๖๒

๖๗๐ นายสมุทร เคหะสุวรรณ

๑๙๖/๙ ถนนรามคาแหง แขวงสะพานสูง เขตสะพานสูง กทม.

๐๘ ๙๒๐๕ ๓๑๘๖

หมายเหตุ

Page 347

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๕๘ นางอินทิรา สมหมาย


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร กทม.

๖๗๒ คุณเสาวลักษณ์ รุ่งเรืองธนาสกุล

๔๐/๑๑๑๖ หมู่บ้านพฤกษา B อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี

๐๘ ๑๖๕๕ ๒๖๖๘

๖๗๓ คุณธนาวรัตน์ จิระศักดิ์พิศล

๒๐๐/๓๙ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ

๐๘ ๖๐๕๙ ๘๒๓๗

๖๗๔ นางพีรยา ลีนาบัว

๔๓/๑๕๗ ต.ประชาธิปัตย์ อ.เมือง จ.ปทุมธานี

๐๘ ๙๘๘๑ ๔๓๐๕

๖๗๕ นางสาวฉันท์ณภัส เชิญรัมย์

๑๕๕/๑๘๙ ถนนคู้บอน เขตบางเขน กทม.

๐๖ ๒๔๕๑ ๙๖๔๙

๖๗๖ นางสาวสม สุขเกษม

๐๘ ๖๘๔๔ ๕๕๒๕

๖๗๘ นางสาวจันทนา ฐิตะรัตการ

๙๙/๕๑๗๐ หมู่ ๒ ต.ท่าอิฐ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ๒๐๕/๑๕๗ หมู่บ้านชัยพฤกษ์ ถนนบางกรวย-ไทรน้อย ต.พิมลราช อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี ๑๐๓/๑๕๙ หมู่ ๓ ต.มะขามเตี้ย จ.สุราษฎร์ธานี

๖๗๙ นางเปรมจิตร กิตโสภา

๖๒/๔ หมู่ ๑ ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๕๕๗๙ ๑๑๑๘

๖๘๐ นางสาวหทัยรัตน์ ประดับ

๑๓ หมู่ ๑ ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี

๐๘ ๔๗๔๔ ๖๖๙๓

๖๘๑ คุณแดง โรจนโสภณดิษย์

๓ หมู่ ๖ ต.ท่าทราย อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๘ ๑๓๙๘ ๔๔๔๖

๖๘๒ นายนิพนธ์ ทัดเทียม

๔๔/๕ หมู่ ๗ ต.อ่างแก้ว อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง

๐๘ ๑๕๗๐ ๓๔๕๐

๖๘๓ คุณสิริ มิลส์

๑๘/๕๒๖ ถนนงามวงศ์วาน ๑๘ จ.นนทบุรี

๐๘ ๑๖๒๗ ๗๑๔๓

๖๗๗ นายกฤษฎิ์ เกสรจันทร์

ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

๐๘ ๑๖๐๙ ๘๗๗๓

หมายเหตุ

Page 348

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๗๑ ด.ญ.พิมพ์ลภัส จันทสิงห์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ๘๖ ซ.วัดปทุมคงคา แขวงทรงวาด เขตสัมพันธวงศ์ กทม.

๖๘๕ นายสุชาติ อยู่ประเสริฐ

๒ หมู่ ๘ ต.บ้านอิฐ อ.เมือง จ.อ่างทอง

๖๘๖ นายธงชัย พึ่งอุทัยสิริ

๑๓๕๐ หมู่บ้านสินธร ต.บางพูน อ.เมือง จ.ปทุมธานี

๐๘ ๗๕๕๖ ๖๒๔๖

๖๘๗ นายธวัชชัย สุขศรีไพศาลกิจ

LPN สุทธิสาร เขตพญาไท กทม.

๐๘ ๖๙๗๐ ๐๔๔๕

๖๘๘ นางกัฐลี ชูรัตน์

๓๐/๓ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี

๐๘ ๔๕๕๕ ๖๓๙๒

๖๘๙ นางสาวกรุณา สกุลศึก

๘๗/๑ หมู่ ๔ ต.มหาสวัสดิ์ จ.นครปฐม

๐๒ ๒๒๑ ๖๒๔๑

๖๙๐ นายประเสริฐ นิมิตกิจจรูญ

๑๕/๕ ท่าแพ ๔ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

๐๘ ๑๗๖๕ ๓๘๕๔

๖๙๑ นายมงคล พรรณโชคดี ๖๙๒ นายกานต์ศักดิ์ พงศ์วรางค์กูร ๖๙๓ นางลาวัลย์ พงศ์วรางค์กูร

มือถือ/โทรศัพท์

๐๘ ๕๑๑๐ ๙๘๑๑ ๑๐๖/๒๑๓ ถนนนวมินทร์ แขวงบึงกุ่ม เขตมีนบุรี กทม.

๐๘ ๑๒๕๕ ๖๔๐๘ ๐๘ ๑๒๕๕ ๖๔๐๘

๖๙๔ คุณเพ็ญชบ หาญณรงค์ ๖๙๕ ว่าที่ร้อยตรีสหพล ชิตเดชะ

๐๘ ๑๔๗๘ ๑๙๘๘

๖๙๖ นางสาวฉวีวรรณ ชิณี

๐๘ ๖๗๗๖ ๘๓๑๑

หมายเหตุ

Page 349

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๘๔ นายประจักษ์ วัชราธิวัฒน์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๖๙๗ นางทองเยี่ยม ศรศรี

ที่อยู่

๖๙๘ นางสมัย วัฒนะโชติ ๖๙๙ คุณศิริพร สุวรรณสา

มือถือ/โทรศัพท์

หมายเหตุ

๐๘ ๖๙๑๓ ๘๖๘๐ ๑๐๓/๕ หมู่ ๑ ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่

๗๐๐ คุณศิริพร ใจลึก

๐๘ ๖๙๑๒ ๔๙๕๕ ๐๘ ๓๗๖๕ ๖๘๘๒

๑๓/๒ ซ.สาธร ๑๑ แขวงยานนาวา เขตสาทร กทม.

๐๙ ๔๙๓๐ ๔๕๕๔

๗๐๒ คุณวิรัตน์ จีนะวิจารณะ

๘๑/๓๗ หมู่ ๕ ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กทม.

๐๘ ๑๗๒๐ ๐๙๔๕

๗๐๓ คุณพรหมเรศ ชวนะสกล

๒๕ ถนนราชบพิตร เขตพระนคร กทม.

๐๘ ๑๑๓๐ ๕๙๓๖

๗๐๔ นายณัฐศักดิ์ พุทธจักรวาล

๒๑/๑ ซอยพหลโยธิน ๔๖ แขวงเสนานิคม เขตจตุจักร กทม.

๐๘ ๔๖๔๖ ๘๒๕๔

๗๐๕ คุณพริ้มเพรา นิตรธมร

มหาวิทยาลัยวไลยอลงกรณ์

๐๘ ๖๓๔๕ ๖๘๓๐

๗๐๖ นางวัยญนันท์ คล้ายอุดม

๕๙/๒๕๖ หมู่บ้านปาริชาติ เขตหนองจอก กทม.

๗๐๗ คุณนัทธมน โอแสงธรรมนนท์

๕๐๘-๕๑๒ หมู่ ๑๒ บางนา-ตราด กม.๒ กทม.

๗๐๘ นางฉวีวรรณ บุญโสดาส

เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี

๐๘๑๓๐๑๗๐๘๐

๗๐๙ นายนิรันดร์ คงอุตส่าห์

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนอนุรักษ์พลังงาน

๐๘๑๓๐๓๘๙๕๗

Page 350

๗๐๑ คุณทองมลวี มานะเวนี


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๑๐ นางสาววรรณี เกตุอี

กรมที่ดิน

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๒๐๘๓๖๗๓๗

๗๑๑ นายนภดล ธรรมโส

กรมธนารักษ์

๐๙๕๓๒๔๓๖๑๐

๗๑๒ นางปิยนันท์ โศภนคณภรณ์

๐๘๔๓๘๗๘๓๗๖

๗๑๔ นายจิรวัฒน์ ชีวรุ่งโรจน์

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้อานวยการกลุ่มกฎหมาย สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม รองผู้อานวยการ สถานีวิจัยพลังงาน

๗๑๕ นายวรพจน์ ทองอุปการ

นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการพิเศษ

๐๘๖๕๙๕๖๑๙๕

๗๑๖ นายพรชัย สิงหบุญ

นักวิชาการประมง

๐๘๑๔๕๗๙๓๐๖

๗๑๗ นายดรัชร ธรพณ

ผู้อานวยการสานักการอนุญาต

๐๒๒๗๒๘๐๓๓

๗๑๘ นายภูมิพัฒน์ พลราช

นักวิชาการป่าไม้ชานาญการ กรมป่าไม้

๗๑๙ พลโท เล็ก จูฑะสุต

ข้าราชการบานาญ

๐๘๗๕๔๗๗๗๐๔

๗๒๐ นายจตุรงค์ หมอโอสร

เจ้าหน้าที่ป่าไม้

๐๘๖๑๔๕๗๘๑๒

๗๒๑ นายยศพร กฤตโยภาส

ส่วนท้องถิ่น

๐๘๗๕๕๐๒๗๓๙

๗๒๒ นายพงษกร แก้วเหล็ก

เศรษฐกรปฏิบัติการ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง

๐๒ ๒๗๓ ๙๐๒๐

๗๑๓ นายวิสาล ทฤษฎิคุณ

ที่อยู่

หมายเหตุ

๐๒๒๗๘๘๖๐๓

Page 351

๐๒๒๑๘๖๙๑๗


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ Jx Nippon Oil Exploration Corparation

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๘๑๖๘๔๐๘๙๘

๗๒๔ นายแพทย์ ณฐปฎฬ อศวศักดิ์

-

๐๘๑๑๗๓๔๖๐๔

๗๒๕ นายพรสิน ศุกกิจนรเศรษฐ

บจก. กรุงเทพปัญญาอุตสาหกรรม

๐๘๒๖๗๖๓๓๓๒

๗๒๖ คุณปราณี หัสถาดล

๘๘/๒๕ สุขุมวิท ๗๗ อ่อนนุช สวนหลวง กทม.

๐๘๓๑๓๔๕๔๙๔

๗๒๗ นายธีระฑพัชร วงเงินสวรรค์

๕๑/๑๔๓ ถนนหทัยราษฎร์ แขวง/เขตมีนบุรี กทม.

๐๘๗๕๔๗๕๒๒๓

๗๒๘ คุณจิราภรณ์ จันทรธน

๔/๑๒๖๒ หมู่บ้านสหกรณ์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กทม.

๐๙๗๒๖๐๒๙๖๑

๗๒๙ นายสิทิน ผลวัฒนะ

๘๐-๘๑ ม. ๘ แขวง/เขตหนองจอก กทม.

๐๘๑๔๘๒๔๐๐๔

๗๓๐ คุณศศิรธร อาทรประชาธิต

๙๑ หมู่ที่ ๑๐ บ้านใหม่พัฒนาโฮม อ.ขุนตาล จ.เชียงราย

๐๘๒๔๘๘๘๓๘๕

๗๓๑ คุณจณีญญา เทียนวิชัย

๒๙๘ หมู่บ้านกฤษดานคร ๑๘ กทม.

๐๘๖๔๖๘๑๖๑๑

๗๓๒ นายชาติกล้า สาเนียงแจ่ม

ช่างภาพ/ผู้จัดการรายวัน

๐๘๒๙๕๐๔๙๗๔

๗๓๓ นายปรีชา

ช่างภาพ/ผู้จัดการรายวัน

๐๘๑๔๕๙๑๖๕๐

๗๓๔ นายดริส เศวตะดุล

ทีวีรัฐสภา/ผู้สื่อข่าว

๐๘๗๕๑๑๒๑๓๑

๗๓๕ นายนพคุณ แสงกล้า

ทีวีรัฐสภา/ช่างภาพ

หมายเหตุ

Page 352

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๒๓ นายนันทสิทธิ์ บุญหนันท์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ NEWS๑

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙๘๓๑๕๗๙๔๓

๗๓๗ นายชลิต เมตไตร

NEWS๑

๐๘๐๔๘๕๘๙๐๐

๗๓๘ นายธนนนท์ โฆษัตสุข

ผู้สื่อข่าว/News Connect Chanel

๐๙๘๕๖๔๖๔๙๒

๗๓๙ นายตะวัน กลิ่มโกสุม

ช่างภาพ

๗๔๐ นายบุญธรรม สร้อยสระดู

ผู้ช่วยช่างภาพ

๗๔๑ คุณรสอรี ทิวิอิมันทิก

ผู้ช่วยช่างภาพ

๗๔๒ นายปวเรศ จงเจริญรุ่งเรือง

ช่างภาพ/NBT

๐๘๗๔๙๔๑๕๔๖

๗๔๓ นายปอ ปัจติโต

ผู้สื่อข่าว/TV.๓

๐๙๒๒๕๖๗๙๖๑

๗๔๔ นายณัฐพล ปานพุ่มชื้น

ช่างภาพ/TV.๓

๗๔๕ นายวัลย์ภพ ศวิกุตา

ผู้สื่อข่าว/TV.๓

๗๔๖ นายอังคาร ชั้วชน

Peece TV.

๐๘๓๘๘๗๔๖๔๗

๗๔๗ นายสนณสร ตาสัก

Peece TV.

๐๙๗๐๖๔๐๙๙๗

หมายเหตุ

Page 353

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๓๖ นางสาวอัญชลี มณีสูร


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ ผู้อานวยการสถานีวิทยุ FM๘๘.๗๕ MHz./FM๑๐๖.๗๕

มือถือ/โทรศัพท์ ๐๙๕๕๐๑๓๐๙๔

๗๔๙ คุณปราณี นวลนาด

หนังสือพิมพ์ไอแลนด์นิวส์ออนไลน์

๗๕๐ คุณอัญชลี บุญชน

หนังสือพิมพ์แนวหน้า

๐๘๘๒๒๔๑๘๗๖

๗๕๑ นายศิริภูมิ ชูวงศ์ตระกูล

หนังสือพิมพ์สยามรัฐ

๐๙๑๗๗๖๒๒๑๐

๗๕๒ นายอาทิตย์ กะไทรเงิน

ผู้สื่อข่าว Peece TV.

๐๙๕๔๘๙๑๕๕๕

๗๕๓ นายณรงค์ ด้วยบุญ

เทคนิก ๓G News๑

๗๕๔ คุณดวงดาว จิสสุริยะ

ผู้สื่อข่าว TPBS

๐๘๖๗๘๑๐๑๐๒

๗๕๕ คุณพัฒนศักดิ์ กรุเดช

TPBS

๐๙๔๗๘๒๖๓๘๒

๗๕๖ คุณสุพิน หมื่น

TPBS

๗๕๗ นายสุรศักดิ์ ลื่นชูชัย

TPBS

๗๕๘ คุณน้าอ้อย ขอเขียนกลาง

INN

๐๙๒๓๖๐๔๐๓๗

๗๕๙ นายปรีชา กลิ่นน้อย

INN

๐๘๖๓๕๙๕๐๖๖

หมายเหตุ

Page 354

ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๔๘ นายศิรพงศ์ คงมลคล


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๖๐ ดร.นพ สัตยศัย

ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

หมายเหตุ

๗๖๑ นายปานเทพ พัวพงษ์พันธ์ ๗๖๒ นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล ๗๖๓ นางสาวบุญยืน ศิริธรรม

๗๖๕ นายเติมศักดิ์ จารุปราณ ๗๖๖ นางสาวรสนา โตสิตระกูล ๗๖๗ นายมนูญ อร่ามรัตน์ ๗๖๘ นายอิฐบูรณ์ อ้นวงษา ๗๖๙ นายหาญณรงค์ เยาวเลิศ ๗๗๐ นายพลเดช ปิ่นประทีป ๗๗๑ หม่อมหลวงกรกสิวัฒน์ เกษมศรี

Page 355

๗๖๔ รศ.วิวัฒน์ชัย อัตถากร


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๗๒ นางวณี ปิ่นประทีป

ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

หมายเหตุ

๗๗๓ นายนิติธร ธนธัญญา ๗๗๔ นายสันติสุข โสภณสิริ ๗๗๕ พลเอกประสูติ รัศมีแพทย์

๗๗๗ นางสาวอมตพร แสงเดช ๗๗๘ นางสาวตวิษา แย้มสอาด ๗๗๙ นายภาณุวัฒน์ เถียรชนา ๗๘๐ นายคเณศ เมืองจันทร์ ๗๘๑ นายปฐมพงษ์ วงศ์วิเศษ ๗๘๒ นางสาวฐิตาภา ตันติปาลกุล ๗๘๓ นางสาวชลลดา เกียรติสุข

Page 356

๗๗๖ นายนิธิ จิระพงษ์พันธ์


รายชื่อผู้เข้าร่วมรับฟังความคิดเห็น โครงการเวทีรับฟังความคิดเห็น เรื่อง “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘ ณ โรงแรมเอเชียกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร ลาดับ ชื่อ-สกุล ๗๘๔ นางวราภรณ์ เจริญสวัสดิ์

ที่อยู่

มือถือ/โทรศัพท์

หมายเหตุ

๗๘๕ นางอรวรรณ สุขปาน ๗๘๖ นางสาวกันตภา ไพโรจน์ ๗๘๗ นางสาวสุนิสา จิ๋วน้อย

Page 357


ภาคผนวก ๕ ประมวลภาพเวทีรับฟังความคิดเห็น


Page 359 ประมวลภาพเวทีรับฟังความคิดเห็น “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘


Page 360 ประมวลภาพเวทีรับฟังความคิดเห็น “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘


Page 361 ประมวลภาพเวทีรับฟังความคิดเห็น “ปฏิรูปกฎหมายปิโตรเลียมเพื่อประโยชน์สูงสุดของประชาชน” วันเสาร์ ที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘



Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.