ข้อคิดยามเช้า ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2014

Page 1


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 1 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 วันอาทิตยที่ 2 กุมภาพันธ 2014 นี้ เปนวันฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร การที่พระนางมารียและนักบุญโยเซฟไดนําพระองคไปที่กรุงเยรูซาเล็มเพื่อถวาย แดพระเจาในพระวิหาร ตามธรรมบัญญัติของโมเสส หลังจากบุตรชายคนแรกเกิด ได 40 วัน บิดามารดาตองนําเขาไปถวายแดพระเจาในพระวิหารและผูเปนมารดา จะตองทําพิธีชําระมลทินดวย (เทียบลนต12:1-8) พระนางมารียและนักบุญโยเซฟ ไดปฏิบัติตามธรรมเนียมนี้ และเพื่อไถพระกุมารคืนจากพระเจา ทานทั้งสองได ถวายนกเขาหนึ่งคูเปนเครื่องบูชาแดพระองค การถวายนกเขาแทนลูกแกะถือวา เปนการถวายเครื่องบูชาของคนยากจนในสมัยนั้น ในโอกาสเดียวกันพระบิดาเจาสวรรคไดทรงแนะนําตัวพระบุตรสุดที่รักของ พระองค ใหมนุษยชาติไดรูจักผานทางบทเพลงของสิเมโอน สิเมโอนเปนคนชอบธรรมและยําเกรงพระเจา ตลอดชีวิตที่ผานมา ทานไดเฝาคอยพระเมสสิยาห พระจิตของพระเจาสถิตอยูกับทานและทรงยืนยันกับทานวา “ทานจะไมตายจนกวาจะไดเห็น พระผูชวยใหรอดที่พระเจาทรงสัญญาไว” (ลก 2:26) ในวันนั้นพระจิตเจาไดสองสวางจิตใจของทานและทําใหทานตระหนัก วา เวลานี้พระเมสสิยาหซึ่งทานไดเฝารอคอยเปนเวลานานแสนนานนั้น บัดนี้ประทับอยูในพระวิหารแลว ทานจึงรีบเขาไปหา สมาชิกครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ทั้งสามและรับพระกุมารมาอุมไวพรอมกับประกาศวา พระกุมารผูทรงอยูในออมแขนของทานนั้น เปน “องคพระผูชวยใหรอดพน”(ลก 2:30) และ “แสงสวาง” (ลก 2:32) สําหรับนานาชาติ สิเมโอนทราบดีวาความรอดพนที่ พระเจาไดทรงสัญญาไวกับอับราฮัม บรรพบุรุษของทาน เวลานี้กลายเปนความจริงแลวในพระเยซูเจา ผูซึ่งเสด็จมาเพื่อชวย มนุษยทุกคนที่เชื่อในพระองคใหรอดพน ในพระเยซูเจาบาปของมวลมนุษยไดรับการอภัยและทุกคนกลายเปนผูชอบธรรมใน สายพระเนตรของพระเจา อยางไรก็ตาม ภารกิจแหงการชวยใหรอดพนนี้จะสําเร็จไปผานทางการสิ้นพระชนมของพระองคบน ไมกางเขนเปนเวลา 17 ปมาแลว พระศาสนจักรถือวา วันแมพระถวายพระกุมารในพระวิหารเปนวันนักบวชสากล หรือวันของ ผูถวายตัวแดพระเจาดวย จึงเปนโอกาสดีที่เราจะนึกถึงบรรดานักบวชหรือผูถวายตัวแดพระเจาเปนพิเศษ พรอมกันนี้ใหเราแต ละคนอธิษฐานภาวนาเพื่อกระแสเรียกการเปนพระสงฆ นักบวชทั้งชายและหญิง รวมทั้งฆราวาสแพรธรรมทุกคณะดวย และ เหมือนสิเมโอน ใหเราตอนรับพระเยซูเจาเขามาในดวงใจของเรา เพื่อจะรับผลแหงความยินดีที่รูวาความรอดพนไดมาถึงเรา แลว ขอแสงสวางของพระเยซูเจา องคพระผูชวยใหรอดพนของเรา ขจัดความมืดมนใหหมดไปจากจิตใจเราและนําสันติสุขมาสู ชีวิตของเรา

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 2 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 พระเยซูเจาทรงเปน “องคพระผูชวยใหรอดพน” เปน “แสงสวาง” ที่สองแสงแกนานาชาติ ใน พระคัมภีร “แสงสวาง” เปนคําที่ถูกนํามาใช เพื่อหมายถึง “ชีวิต”หรือ “ความจริง” พระเยซู เจาทรงเปนชีวิตของโลก เปนความจริงที่ชวยมนุษยชาติใหรอดพนและความรักที่เติมเต็มสิ่งที่ ขาดหายไปในจิตใจของเรา ทรงเปนแสงสวางที่สองทางชีวิตของเราแตละคนเปนแบบอยางและ เปาหมายของชีวิตเรา การเปนคริสตชนนั้น ชีวิตของเรา ควรสะทอนชีวิตของพระเยซูเจาที่อยู ในตัวเราใหคนอื่นไดเห็น ถาเราแตละคนมีพระองคเปนแสงสวางนําทางชีวิต เราไมมีสิ่งใดที่ตอง หวาดกลัว เพราะเราสามารถมั่นใจไดวา เราจะมีชีวิตที่มีความสุขอยางแนนอน พระเยซูเจาทรง ปรารถนาไมเพียงแคใหพระองคเอง เปนแสงสวางสองทางชีวิตของเราเทานั้น แตพระองคทรง ตองการใหเราแตละคน เปนแสงสวางใหแกกันและกันและแกมนุษยทุกคนในโลกนี้ดวย “ทานทั้งหลายเปนแสงสวาง สองโลก”(มธ5:14) แลวเราจะสามารถเปนแสงสวางสองโลกไดอยางไร? ในสาสนเกี่ยวกับสหัสวรรษใหมที่ออกในป ค.ศ. 2000 บุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปายอหน ปอล ที่ 2 ไดกลาวถึงเรื่องนี้ไวในตอนหนึ่งวา “โดยแกนแทแลว ความศักดิ์สิทธิ์ของคริสตชน ประกอบดวยการเปนแสงสะทอนความศักดิ์สิทธิ์ของพระเจา ซึ่งฉายแสงบนพระพักตร ของพระคริสตเจา” เพื่อเราแตละคนจะสามารถเปนแสงสวางสําหรับคนอื่นได เราตองมีพระเยซูเจา องคแหงความ สวาง ประทับอยูในตัวเราเสียกอน พระองคตองเปนศูนยกลางและที่หนึ่งในชีวิตของเรา จากนั้นเราจึงจะสามารถ แบงปนพระองคใหกับคนอื่นที่อยูรอบขางเราได ถาจะเปรียบเทียบตัวเราคงไมตางจากดวงจันทร โดยธรรมชาติแลว ดวงจันทรเปนดาวเคราะหที่ไมมีแสงสวางในตัวเอง แตที่เราเห็นแสงสวางสีขาวนวลโดยเฉพาะอยางยิ่งในคืนวันเพ็ญ นั้น เปนแสงสวางที่ดวงจันทรสะทอนแสงสวางจากดวงอาทิตยอีกตอหนึ่ง ในทํานองเดียวกัน ชีวิตทั้งครบของเรา ตอง เปนการสะทอนแสงแหงชีวิตและความจริงของพระเยซูเจา พระอาจารยผูยิ่งใหญแตเพียงผูเดียวของเรา ถาเราสามารถ ทําแบบนี้ได พอมั่นใจวา เราทุกคนที่อยูที่นี่สามารถเปน “แสงสวางสองโลก” ตามพระประสงคของพระเยซูเจาได อยางแนนอน เราจะกลายเปนคนกลางที่นําคนอื่นใหมารูจักพระเยซูเจาและเปนมโนธรรมใหกับสังคมที่เราเปนสวน หนึ่งอีกดวย ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 3 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 เมื่อพระนางมารียและนักบุญโยเซฟไดนําพระเยซูเจาไปกรุงเยรูซาเล็ม เพื่อถวายแดพระเจา ในพระวิหารตามธรรมบัญญัติของโมเสส สิเมโอนซึ่งไดเฝาคอยพระเมสสิยาหมาตลอด ชีวิต ไดรับพระจิตเจาสองสวางจิตใจและทําใหทานตระหนักวา พระเมสสิยาหซึ่งทานไดเฝา รอคอยเปนเวลาแสนนานนั้น บัดนี้ประทับอยูในพระวิหารแลว ทานรับพระกุมารมาอุมไว พรอมกับประกาศวา พระกุมารผูทรงอยูในออมแขนของทานนั้นเปน “องคพระผูชวยใหรอด พน”(ลก 2:30) และ “แสงสวาง” (ลก 2:32) สําหรับนานาชาติ พระเยซูเจาเสด็จมาเพื่อชวย มนุษยทุกคนที่เชื่อในพระองคใหรอดพน บาปของมวลมนุษยไดรับการอภัยและทุกคน กลายเปนผูชอบธรรมในสายพระเนตรของพระเจา ภารกิจนี้สําเร็จไปผานทางการ สิ้นพระชนมของพระองคบนไมกางเขน บทเรียนสําคัญประการหนึ่งที่เราไดจากแบบอยางของสิเมโอนคือ กอนอื่นหมด เราแตละคนตองตระหนักถึง การประทับอยูของพระเยซูเจาในทามกลางเราเสียกอน พระองคอาจจะปรากฏองคใน รูปแบบที่เราคาดไมถึง เราอาจจะพบพระองคในรูปของเด็กเล็ก ๆ คนหนึ่ง หรือของวัยรุน หรือของผูใหญ หรือของคน ยากจนทั้งหลาย เราตองรูจักพระองคใหได จากนั้น เราตองพยายามอยางสุดความสามารถที่จะทําใหคนอื่นไดรูจัก พระองคเหมือนที่เรารูจัก ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 4 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 กอนที่พระเยซูเจาจะเสด็จขึ้นสวรรค พระองคทรงประทานพระจิตเจา แก บรรดาศิษยของพระองคและพันธกิจที่ตามมาจากการไดรับพระจิตเจา บรรดาศิษยกําลังชุมนุมกันในหองที่ปดประตูอยางแนนหนา เพราะพวกเขา กลัววาชาวยิวจะมาจับตัวไปขังคุกหรือประหารชีวิต ทันใดนั้น พระเยซูเจา เสด็จมาประทับอยูทามกลางพวกเขาและทักทายพวกเขาดวยคําวา “Shalom (ชาโลม)” ซึ่งเปนคําทักทายที่ชาวยิวทั่วไปในสมัยนั้นใชกัน แต ครั้งนี้มันมีความหมายที่ลึกซึ้งมากยิ่งกวา โดยเฉพาะสeหรับกลุมคนที่อยูใน ความหวาดกลัว เปนคําอวยพรอันหนึ่ง “ขอใหสันติสุขจงสถิตอยูกับทาน ทั้งหลายเถิด” และเปนของประทานที่มาพรอมกับพระเยซูเจา “สันติสุขสถิตอยูกับทานทั้งหลายแลวเวลานี”้ ในการประทับอยู ของพระเยซูเจา เราสามารถสัมผัสกับสันติสุขชนิดพิเศษ ซึ่งพระองคเทานั้นที่สามารถใหกับพวกเราได ในภาษาฮีบรูคําวา “Shalom” นอกจากหมายถึง “สันติสุข” ยังหมายถึง “ความผาสุข ความสงบรมเย็น และสุขภาพที่ด”ี ดวย เมื่อคํานี้ถูก นํามาใชในพันธสัญญาใหมยังรวม “ความรอดพน” ที่พระเยซูเจาผูเปนพระเมสสิยาหนํามาสําหรับมนุษยชาติ ดังนั้น สองสิ่ง ที่มาพรอมกับการประทับอยูของพระเยซูเจาในชีวิตของเรา คือ สันติสุขและความยินดี หลังจากบรรดาศิษยไดพบกับสันติสุข และความยินดี อันเนื่องมาจากการประทับอยูของพระเยซูเจา สิ่งที่ตามมาคือ พันธกิจที่พวกเขาจะตองทําตอไป “พระบิดาทรง สงเรามาฉันใด เราก็สงทานทั้งหลายไปฉันนั้น” (ยน 20:21) นี่เปรียบเหมือนกับการวิ่งผลัด พระเยซูเจาไดสง “ไมผลัด” ตอให บรรดาศิษยของพระองค พวกเขามีภารกิจตองทํา ซึ่งเปนภารกิจเดียวกับพระเยซูเจา นั่นคือ การสถาปนาพระอาณาจักรของ พระเจาบนแผนดินนี้ พระเยซูเจาทรงเปาลมเหนือพวกเขา คําวา “ลม” และ “จิต” ในภาษาฮีบรู (Ruah) และในภาษากรีก (Pneuma) เปนคําเดียวกัน ลมที่พระเยซูเจาทรงเปาเหนือบรรดาศิษยจึงเปนสัญลักษณของพระจิตเจา การเปาลมของพระเยซู เจาชวนใหเรานึกถึง การที่พระเจาทรงเปาลมแหงชีวิตเขาไปในจมูกของอาดัม ซึ่งทําใหเราเปนผูมีชีวิต (เทียบ ปฐก 2:7) พระ เยซูเจาทรงทําใหบรรดาศิษยของพระองคใหกลายเปน “มนุษยกลุมใหม” ผูซึ่งเต็มเปยมไปดวยพระจิตเจาและไดรับมอบหมาย ใหสานตอภารกิจของพระองค หลังจากไดรับพระจิตเจาแลว บรรดาศิษยของพระเยซูเจาไมไดพักอยูในหองที่พวกเขาใชชุมนุม กันอีกตอไป แตพวกเขาออกไปประกาศใหชาวโลกไดทราบวาพระเจาทรงรักมนุษยแตละคนมากเพียงใดและพระองคทรง ปรารถนาใหมนุษยแตละคน มีประสบการณเกี่ยวกับความรักนั้นอยางไร ในทํานองเดียว ใหเราใชพระพรพิเศษที่แตละคนไดรับ เพื่อรับใชซึ่งกันและกัน เพื่อเสริมสรางพระอาณาจักรของพระเจาในสังคมที่เราอาศัยอยู เพื่อแบงปนความรักของพระเจาแกกัน และกัน และเพื่อทําใหทุกคนอยูรอบขางเราไดรูวาพระเจาทรงรักพวกเขาเหมือนที่พระองคทรงรักเราทุกคน

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 5 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ภารกิจที่บรรดาศิษยไดรับมอบหมายจากพระเยซูเจา คือ “ทานทั้งหลายอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็ไดรับการอภัย ทานทั้งหลายไมอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็ไมไดรับการ อภัยดวย” (ยน 20:23) นี่คือภารกิจของพวกเขาที่ตองทําให ประชาชนทั่วทุกหนแหงไดคืนดีกับพระเจา และคืนดีกับพี่ นองชายหญิงของพวกเขา การคืนดีในที่นี้ไมไดหมายถึงเพียงแค ศีลอภัยบาปเทานั้น แตหมายถึงการเยียวยารักษาบาดแผลและ การแตกแยกในทุกรูปแบบดวย นี่เปนภารกิจที่สําคัญยิ่ง ประการหนึ่งในพระอาณาจักรของพระเจา เปนสิ่งที่พระเจา ทรงเรียกรองใหพวกเราทุกคนตองทําในหนังสือกิจการอัครสาวก นักบุญลูกเลาถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นในวันเปนเตกอสเต เมื่อไดรับพระจิตเจาแลว ชีวิตบรรดาศิษยไดเปลี่ยนแปลงอยางสิ้นเชิง ไมมีความหวาดกลัวอีกตอไป แตมีความ ปรารถนาอยางแรงกลาที่จะแบงปนประสบการณชีวิต แบงปนความรูและประสบการณเกี่ยวกับพระเยซูเจา พวกเขา ไมยอมแพตอการคุกคามที่จะถูกจําคุกหรือถูกทรมานอีกตอไป พวกเขาไดรับอํานาจในการสื่อสาร ทุกคนไดฟงและ เขาใจสารเกี่ยวกับพระเยซูเจา เวลานี้ไมมีประชากรที่พระเจาทรงเลือกสรรเปนพิเศษอีกตอไป ทุกคนเปนและไดรับการ เรียกใหมาเปนประชากรของพระเจา ทุกคนไดรับการเชื้อเชิญใหเขามาในพระอาณาจักรของพระองคนักบุญเปาโล บอกบอกถึงผลที่ตามมาจากการไดรับพระจิตเจาวาเราไมสามารถเรียกพระเยซูเจาวา “องคพระผูเปนเจา” ได ถาพระ จิตเจามิไดทรงดลใจ (1 คร 12:3) การเรียกพระเยซูเจาวาเปนองคพระผูเปนเจาไมใชเปนเพียงการเปลงถอยคําที่บง บอกถึงความศรัทธาเทานั้น แตตองแสดงถึงความเชื่อที่แทจริงในตัวของพระเยซูเจาบทพิสูจนของความเชื่อนี้คือ วิถีทางของการดําเนินชีวิตของเราที่สอดคลองกับคําสั่งสอนของพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 6 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 พระจิตเจาทรงเปนบอเกิดพระพรพิเศษซึ่งสมาชิกของกลุมคริสตชนแต ละคนไดรับ พระพรพิเศษมีหลายประการและไมไดมีไวสําหรับผูที่ ไดรับเทานั้นแตมีไวเพื่อผูอื่นดวย มีไวเพื่อรับใชกลุมคริสตชนนั่นเอง เราจึงตองทํางานดวยกันและใชพระพรพิเศษที่เราแตละคนไดรับ เพื่อ สรางกลุมคริสตชนที่เราเปนสวนหนึ่ง เราเปนเหมือนรางกายเดียว เพราะแตละคน เปนสวนหนึ่งของพระกายทิพยของพระเยซูเจา นั่นคือ พระศาสนจักร เหมือนที่รางกายประกอบดวยอวัยวะหลายสวนที่ ทํางานประสานกลมกลืนกัน เราจึงตองชวยกันคนละไมละมือ เพื่อความเจริญกาวหนาอยางมีชีวิตชีวาของกลุมคริสต ชนของเรา “เราทุกคนจึงไดรับการลางมารวมเขาเปนรางกายเดียวกัน ไมวาจะเปนชาวยิวหรือชาวกรีก ไมวาจะเปน ทาสหรือไทก็ตาม เราทุกคนตางไดรับพระจิตเจาพระองคเดียวกัน” (1 คร 12:13)วิถีทางของพระจิตเจาเปนวิถีทาง แหงอิสรภาพและการปลดปลอย วิถีทางของพระองคไมใชวิถีทางแหงการเปนทาส การบังคับ การมอมเมา ความโลภ หรือความหวาดกลัว โดยทางพระจิตเจา เรามีสายสัมพันธที่ใกลชิด อบอุนและมั่นใจ กับพระเจาพระบิดาผูพระทัยดี พระจิตเจาทําใหเราไดชื่อวาเปนบุตรของพระเจา เปนทายาทรวมกับพระคริสตเจา ทําใหเรามีสวนรวมในพระทรมาน ของพระองค เพื่อวาจะไดรับเกียรติรุงโรจนรวมกับพระองคดวย พระพรพิเศษของพระเจาจึงไมไดมีไวสําหรับตัวเราเอง เทานั้น แตมีไวเพื่อแบงปนใหกับคนอื่นดวย พระเจาทรงรักมนุษยแตละคนมากเพียงใด พระองคทรงปรารถนาใหเรา แตละคนใชพระพรพิเศษที่แตละคนไดรับเพื่อรับใชซึ่งกันและกัน เพื่อแบงปนความรักของพระเจาแกกันและกัน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 7 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ในพระวรสารโดยนักบุญลูกาเลาใหเราฟงวาหลังจากไดสนทนากับพระบิดาตาม ลําพังแลว พระเยซูเจาทรงถามบรรดาศิษยของพระองควา “พวกประชาชนเขาวา เราเปนใคร?” (ลก 9:18) บรรดาศิษยไดหยิบยกเอาความคิดเห็นของประชาชนมา บอกพระองค ซึ่งก็มีหลายหลากตามมุมมองของแตละคน จากนั้นพระเยซูเจาตั้ง คําถามถึงศิษยของพระองคโดยตรง “แลวพวกทานเลา ทานวาเราเปนใคร?” (ลก 9:20) นักบุญเปโตรตอบพระองคในนามของศิษยทุกคนวา “พระองคเปนพระ คริสตของพระเจา” (ลก 9:20) บรรดาศิษยรูวาพระเยซูเจาทรงเปนใครอยาง แทจริง แมวาอาจจะยังไมใชความรูที่สมบูรณก็ตาม มันเปนชวงเวลาที่นาตื่นเตน สําหรับพวกเขาไมใชนอย พวกเขาอยากจะประกาศดัง ๆ ใหทุกคนรูวา พระ อาจารยของพวกเขาคือพระเมสสิยาหที่พวกเขาและชาวยิวทุกคนรอคอยการเสด็จมาของพระองคเปนเวลานานแสนนาน อยางไรก็ตาม พระเยซูเจาทรงเห็นวาตองรอเวลาอีกสักระยะหนึ่งกอน เพราะประชาชนทั่วไปมีความคิดเห็นที่หลายหลากเกี่ยวกับพระเมสสิยาหและ พันธกิจที่พระองคตองกระทําสําหรับพวกเขา เชน พระองคจะตองทําลายศัตรูของชาวอิสราเอลทั้งหมด และนําเกียรติและศักดิ์ศรี กลับคืนสูประเทศชาติของพวกเขา สิ่งเหลานี้ไมใชวิถีทางการเปนพระเมสสิยาหของพระองค หลังจากพระเยซูเจาถูกจับกุม ถูกสบ ประมาท ถูกตัดสินประหารชีวิต ถูกทรมาน ถูกตรึงบนไมกางเขน สิ้นพระชนม และกลับคืนพระชนมชีพแลวเทานั้น พวกเขาจึงจะ สามารถปาวประกาศใหโลกทั้งหมดรูวาพระอาจารยของพวกเขาเปนพระคริสตของพระเจา บรรดาศิษยของพระเยซูเจาคงตื่นตระหนก และตกใจมาก เมื่อไดยินพระอาจารยบอกสิ่งที่ตรงกันขามกับความเขาใจของพวกเขา บรรดาศิษยตองเรียนรูวิถีทางของการเปนพระเมส สิยาหของพระเยซูเจา พระองคไมไดเปนวีรบุรุษหรือผูนําในการสงคราม ที่เสด็จมาเพื่อปลดปลอยชาวยิวใหเปนอิสระจากอํานาจชาว โรมันตรงกันขาม พระเมสสิยาหผูนี้ จะถูกปฏิเสธจากบรรดาผูนําประชาชน จะถูกตัดสินประหารชีวิตโดยอํานาจของชาวตางชาติแตชัย ชนะของพระเยซูเจาจะมาทางความรัก ความสัตยซื่อตอความจริง ความสุภาพออนโยน และการไมใชความรุนแรง พระเจาจะทรงเท “จิตแหงความเมตตาเอ็นดูและการออนวอนลงบนราชวงคดาวิดและชาวเยรูซาเล็ม ” (ศคย 12:10) เราทุกคนถูกเรียกใหมาเปนผูติดตาม หรือศิษยของพระองค วันนี้พระเยซูเจาทรงเรียกรองใหเราสละตนเอง แบกไมกางเขนของตนทุกวัน และติดตามพระองค แมในโลก ปจจุบันจะเนนและสงเสริมใหผูคนเห็นคุณคาของตนเอง แสวงหาผลประโยชนใหกับตนเองใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ผูคนเห็นแกตัวและ เอาตัวเองเปนศูนยกลางของชีวิตมากขึ้น เปนการยากที่ใครคนใดคนหนึ่งจะสละตนเอง หรือเลิกนึกถึงตนเอง แตเราผูซึ่งถูกเรียกใหมา เปนผูติดตามหรือศิษยของพระองคนั้นพระเยซูเจาทรงเรียกรองใหเราสละตนเอง แบกไมกางเขนของตนทุกวัน และติดตามพระองค ถา เราอยากเปนศิษยของพระเยซูเจาอยางแทจริง เราตองพยายามสุดความสามารถที่จะออกจากตัวเอง ไมยึดเอาตัวเองเปนศูนยกลาง แต เอาพระเยซูเจา ผูซึ่งยอมสละชีวิตตนเอง เพื่อความรอดพนของเรา .. เปนศูนยกลางชีวิต เมื่อเราปฏิเสธตนเองและเลิกนึกถึงตนเองใจ ของเราจะมีหองวางสําหรับคนอื่นและสามารถรักคนอื่นไดมากขึ้น เหมือนที่พระเยซูเจาทรงรักเราจนถึงที่สุด

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 8 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 วิถีทางของการเปนพระเมสสิยาหของพระเยซูเจา ไมใชในรูปแบบผูนําทาง การเมืองหรือวีรบุรุษในการสงคราม ที่เสด็จมาเพื่อปลดปลอยชาวยิวใหเปน อิสระจากอํานาจชาวโรมัน ตรงกันขาม ชัยชนะของพระเยซูเจาจะมาทาง ความรัก การไมใชความรุนแรง แตดวยสันติภาพ ความสัตยซื่อตอความจริง และความสุภาพออนโยน เราผูซึ่งถูกเรียกใหมาเปนผูติดตามหรือศิษยของ พระองคนั้น พระเยซูเจาทรงเรียกรองใหเราสละตนเอง แบกไมกางเขนของ ตนทุกวัน และติดตามพระองค ยอมรับและมองทุกสิ่งทุกอยางที่เขามาใน ชีวิตของเราในแงบวก มองเห็นพระหัตถและความรักของพระเจาในทุกเหตุการณที่เกิดขึ้นในชีวิตของเรา ไมวา เหตุการณนั้นจะเลวรายในสายตาของมนุษยทั่วไปก็ตาม นักบุญเปาโลบอกเราอยางชัดเจนวา เราทุกคนก็ได “สวมพระ คริสตเจาไว” (กท 3:27) ในศีลลางบาปเราเขามาเปนสมาชิกของครอบครัวใหม ซึ่งในครอบครัวนี้ทุกคนเปนพี่นองกัน และเปนบุตรของพระเจา ไมมีการแบงแยก “ไมมีชาวยิวหรือชาวกรีก ไมมีทาสหรือไท ไมมีชายหรือหญิง” (กท 3:28) ทุกคนเปนหนึ่งเดียวกันในพระเยซูคริสตเจา มันเปนสังคมแหงการเปนศิษยที่ปราศจากอคติ การแบงแยก มีแตความ รัก ความยุติธรรม ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน การคืนดีกัน และสันติสุขใหชีวิตและทุกสิ่งที่พระเยซูเจาทรง กระทําเพื่อมนุษยทุกคน เปนแบบอยางสําหรับเราแตละคน พระองคทรงปฏิเสธและสละตนเองเพื่อเรา เราตอง พยายามเลิกนึกถึงตนเองและเลิกเอาตนเองเปนศูนยกลางชีวิตเพื่อเราจะสามารถรักและรับใชคนอื่นไดมากขึ้น พรอม กับความชวยเหลือของพระองคใหเราพยายามแบกกางเขนของตนทุกวันเหมือนที่พระองคทรงไดทําเพื่อเรา พระเยซู เจาทรงแบกกางเขนของพระองคเพราะทรงรักเรา เราจะแบกกางเขนของเราในแตละวันเพราะเรารักพระองคและ อยากจะมีสวนรวมในกางเขนของพระองคเชนกัน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 9 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 บางสิ่งบางอยางที่คลายกันและแตกตางกันระหวางเงินและความเชื่อของ คริสตชน จุดประสงคที่แทจริงของเงินมิไดมีไวเพื่อเก็บรักษาอยางมิดชิด แตมีเพื่อไวใชสอย เรามีเงินไวเพื่อซื้อสิ่งของที่เราตองการและจําเปน ถาเรา มีเงินเปนพันลานบาทและเก็บใสตูนิรภัยไว ไมยอมเอาไปใชจายในทางใด ทางหนึ่ง มันคงไมมีประโยชนอะไรมากนัก สูมีเงินหนึ่งพันบาทแตนําไปใช ซื้อสิ่งที่จําเปนสําหรับชีวิตของเราไมได จริงอยูหลายคนกําลังพยายามเก็บ สะสมเงินไวในตอนนี้ แตจุดประสงคที่แทจริงของพวกเขาคือ เพื่อจะนําไปใชในยามจําเปนหรือในยามชราภาพ เมื่อ พวกเขาไมสามารถทํางานหาเงินไดอีกตอไปแลว มิใชเก็บไวเพื่อการสะสมหรือประดับบารมีของตนเทานั้น ความเชื่อ เปนพระพรที่ยิ่งใหญและล้ําคาที่สุดซึ่งพระเจาประทานแกเราแตละคน แตความเชื่อมิไดมีไวเพื่อเก็บรักษาอยางมิดชิด หรือเอาไวเชยชมคนเดียวเหมือนพระพรทั้งหลายของพระเจา ความเชื่อเปนสิ่งที่เรามี แลวตองแบงปนใหกับคนอื่น นี่ แหละคือสิ่งที่อยูในความคิดของพระเยซูเจา เมื่อพระองคทรงบอกเราในพระวรสารวันนี้วา “ทานทั้งหลายเปนเกลือ ดองแผนดิน”(มธ5:13) และ “แสงสวางสองโลก”(มธ5:14) สําหรับชาวยิวในสมัยโบราณ “เกลือ”เปนสัญลักษณ หมายถึง พันธสัญญาของพระเจาและมิตรภาพที่คงอยูถาวรตลอดไป เกลือยังเปนสิ่งที่ทําใหเครื่องบูชาบริสุทธิ์ และน้ํา สะอาด นอกจากนี้พวกเขายังนําเกลือไปใชในการปรุงอาหาร รักษาอาหารไมใหเนาเปอย และนําไปผสมกับวัสดุอื่น เพื่อทําเปนปุย ชาวกรีกสมัยโบราณถือวาเกลือเปนของพระเจา ชาวโรมันเองมีคําคมบทหนึ่งวา “ไมมีสิ่งใดที่มี ประโยชนมากกวาดวงอาทิตยและเกลือ” (Nil utilius sole et sale) เกลือเปนสิ่งจําเปนในการดํารงชีวิตของมนุษย แตมันจะไรประโยชน ถาเราไมไดนํามันไปใชในทางใดทางหนึ่ง การแบงปนพระพรตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งความเชื่อ เปนกิจการดีที่เราทุกคนตองทํา แตไมใชทําเพื่อโออวดคนอื่น ถาแสงสวางในตัวเราสองสวางเพื่อใหคนอื่นยกยอง สรรเสริญเรา สิ่งที่เรากําลังทําถือวาเปนการโออวด แตถาแสงสวางของเราสองสวางเพื่อคนอื่นไดรูจักและสรรเสริญ พระเจาผานทางตัวเรา กิจการที่เรากําลังทําถือไดวาเปนความศรัทธาที่แทจริง ดังนั้น กิจการดีของเรา ขอผูกมัดตาง ๆ ที่เรามีตอมวลมนุษย โดยเฉพาะอยางยิ่งตอคนยากจนและผูเปนทุกขเดือดรอน ควรนําคนอื่นที่เห็นสิ่งตาง ๆ เหลานี้ แลว มาหาพระเยซูเจาและพระบิดาเจาสวรรคของเรา จุดประสงคหลักประการหนึ่งของการเปนคริสตชน คือ การทํา ใหพระเจาเปนที่รูจักแกทุกคนที่อยูรอบขางดวยชีวิตทั้งครบของเราที่สามารถสะทอนถึงความรักของพระองคที่มีตอ มนุษยทุกคนบนโลกนี้ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 10 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ในพระคัมภีร “แสงสวาง” ของมนุษยหมายถึงกิจการที่ดีตางๆ ของเขาและคนดีมักจะไดรับ การเปรียบเทียบเปนเหมือนตะเกียงของสังคม โดยธรรมชาติแลว ตะเกียงมีไวเพื่อใหแสง สวาง มันจะไรคาลงทันที ถามันไมไดแสดงบทบาทของตนเองดวยการสองสวางในความมืด เพื่อใหผูคนไดเห็นสิ่งตาง ๆ ในบริเวณนั้น พระเยซูเจาทรงบอกวาแสงสวางของเราตองสอง สวางตอหนามนุษยเพื่อวาเมื่อพวกเขาเห็นความดีในกิจการของเรา พวกเขาจะสรรเสริญพระ บิดาเจาสวรรค (เทียบ มธ 5:16) หลายคนคงเคยไดยินสุภาษิตที่วา “กิจการเสียงดังกวา คําพูด”นักบุญเปาโลเตือนสติกลุมคริสตชนของทานวา ทานไดประกาศความเชื่อในพระ คริสตเจา“ผูทรงถูกตรึงกางเขน” (1 คร2:2) แบบตรง ๆ ไมมีอะไรแอบแฝง ทานไมไดใช “สํานวนโวหาร” หรือ “หลักเหตุผลอันฉลาดปราดเปรื่อง”(1 คร 2:1) แตใชคําพูดธรรมดา ซื่อ ๆ ทานไดชี้ใหพวกเขาเห็นตัวอยางที่ทานเองไดใหไวในเรื่องการอุทิศตนและความรอนรน ในการรับใชพระเจาและเพื่อนมนุษย (เทียบ 1คร 9:1-27) เราสามารถเปนแสงสวางสองโลกไดดวยการกระทําความดี ดวยการรับใชเพื่อนมนุษยในสังคมที่เราอาศัยอยู คนที่ปฏิเสธที่จะกระทําความดีเพื่อผูอื่นก็ไมตางจากคนที่จุดตะเกียง แลวเอาไปวางไวใตถัง หลายคนอาจมีความรูและความสามารถสูง เกงและมีพรสวรรคในหลายดาน แตพวกเขาเก็บสิ่ง ที่ มีและเปน เอาไวใชเพื่อตนเอง ไมยอมแบงปนใหคนอื่น พวกเขาเปนไดเพียงแคแสงสวางสองทางตัวเองเทานั้น ไมใช เปนแสงสวางสองโลก เหมือนที่พระเยซูเจาตองการใหเราทุกคนเปน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 11 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ ค.ศ. 1858 แมพระไดประจักษเปนครั้งแรกแกแบรนาแด็ตซูบิรูส เด็ก สาวชาวบานธรรมดาคนหนึ่งซึ่งตอนนั้นอายุ 14 ป ที่ถ้ํามัสซาเบียล ในเทือกเขาพีเรนีส ใกล เมืองลูรด ประเทศฝรั่งเศส จากนั้นพระนางไดประจักษมาหาเด็กสาวคนนี้อีกหลายครั้ง จนถึง วันที่ 16 กรกฎาคมปเดียวกัน รวมการประจักษ ทั้งหมด 18 ครั้ง แบรนาแด็ตไดบรรยายถึง แมพระวาเปน “สุภาพสตรีที่งดงามอยางที่ไมเคยเห็นที่ไหนมากอน พระนางทรงสวมเสื้อขาว ยาวลงมาปกคลุมเทา ผาคลุมศีรษะของพระนางเปนสีขาวเชนกัน สวนรัดประคดของพระนาง เปนสีฟา และมีดอกกุหลาบสีเหลืองวางอยูบนเทาแตละขาง”ในการประจักษมาครั้งที่ 9 ซึ่ง ตรงกับวันที่ 25 กุมภาพันธ พระนางไดบอกแบรนาแด็ตใหดื่มน้ําและลางหนาที่น้ําพุภายในถ้ําซึ่งทานกําลังคุกเขาอยูนั้น จากสถานที่ซึ่งไม เคยมีน้ํามากอน เมื่อแบรนาแด็ตใชมือคุยดิน น้ําพุไดไหลซึมออกมา ปจจุบันน้ํายังคงไหลออกมาอยางไมขาดสายและกลายเปนน้ําพุที่ สวยงามแหงหนึ่ง หลายปที่ผานมามีผูปวยจํานวนมากไดไปที่ถ้ําแหงนั้นดวยความหวังที่จะไดรับการรักษาใหหายจากโรคโดยอาศัยน้ําจาก ที่นั่น หลายคนไดหายจากโรคสมความปรารถนาและไดรับใบรับรองจากแพทยอยางเปนทางการ จนถึงปจจุบันนี้มีเพียง 67 คนเทานั้นที่ พระศาสนจักรประกาศวา เปนการหายจากโรคอยางอัศจรรย ในป ค.ศ. 1992 บุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปายอหนปอล ที่ 2 ไดทรง กําหนดใหวันที่ 11 กุมภาพันธของทุกปเปน “วันผูปวยโลก”(World Day of the Sick) เหมือนกับแบรนาแด็ตที่ตองตอสูกับโรคหืด เรื้อรังตลอดชีวิตของทาน บุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปายอหนปอล ที่ 2 ทรงทนทุกขทรมานจากโรคภัยหลายอยาง ซึ่งเปนผลมาจาก การถูกลอบปลงพระชนมเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1981 ทั้งแบรนาแด็ตและบุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปายอหนปอล ที่ 2 ไมได หายจากโรคอยางนาอัศจรรยเหมือนผูปวยหลายคนที่ไดดื่มน้ําหรือจุมตัวลงในบอน้ําที่ไหลออกมาจากน้ําพุในถ้ําที่เมืองลูรด อยางไรก็ตาม ทานทั้งสองเขาใจความหมายของ “การชวยใหรอดพน” ซึ่งบรรลุถึงความครบบริบูรณผานทางพระทรมานของพระเยซูเจา โดยทางของ การมีสวนในความทุกขทรมานของพระเยซูเจาบนโลกนี้ พวกทานจะมีสวนรวมในพระสิริรุงโรจนของพระองคในเมืองสวรรค แมพระได บอกแบรนาแด็ตเชนกันวา “เราไมไดสัญญาที่จะทําใหทานมีความสุขในโลกนี้ แตในโลกหนาตางหาก”บุญราศีสมเด็จพระสันตะปาปา ยอหนปอล ที่สอง ไดตรัสใหกําลังใจผูที่กําลังทนทุกขทรมาน อันเนื่องมาจากความเจ็บปวยทางดานรางกายและจิตใจวา “ขอพระนางมา รียพรหมจารีทําใหทานทั้งหลาย สามารถสัมผัสการประทับอยูของพระนางและปลอบประโลมหัวใจของทาน เหมือนที่พระเยซูเจาเคย ตรัสวา “เมื่อเราไปและเตรียมที่ใหทานแลว เราจะกลับมารับทานไปอยูกับเราดวย เพื่อวาเราอยูที่ใด ทานทั้งหลายจะอยูที่นั่นดวย” (ยน 14:3)พระนางมารียทรงเปนมัดจําแหงความครบบริบูรณของคําสัญญาของพระคริสตเจา เครื่องหมายแหงความหวังและคําปลอบโยนที่ แทจริง พระนางทรงแสดงใหเห็นวา สิ่งนี้เปนความจริงดวยชีวิตทั้งครบของพระนางเองเพราะวาพระนางทรงเปนพยานที่มีชีวิตแหงชัย ชนะของพระคริสตเจา องคปสกาของเรา”

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 12 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 เราสามารถเปนแสงสวางสองโลกไดดวยการกระทําความดี ดวยการรับ ใชเพื่อนมนุษยในสังคมที่เราอาศัยอยู เพราะความรูและความสามารถ เปนพระพรจากพระเจาซึ่งมีไวเพื่อแบงปน การแบงปนความรู ความสามารถ และความเชื่อของเรา เปนกิจการที่ดีและมีประโยชนทั้ง ตอคนอื่นและตอตัวเราเอง เมื่อเราจายเงิน เงินนั้นจะถูกใชใหหมดไป แต เมื่อเราใชความรูและความสามารถของเราเพื่อคนอื่น เรายิ่งมีความ แมนยําและชํานาญมากยิ่งขึ้น เมื่อเราเผยแผความเชื่อโดยทางความดี ของเรา ความเชื่อหรือความดีของเราไมไดลดนอยถอยลง ตรงกันขาม ยิ่ง เราแบงปนใหกับคนอื่นมากเทาไร ความเชื่อและความดีของเราจะมีมากขึ้นเรื่อย ๆ ทวา เราตองไมทํากิจการดังกลาว เพื่อโออวดคนอื่น หรือเพื่อใหคนอื่นยกยองสรรเสริญเรา เพราะความศรัทธาที่แทจริง คือการทํากิจการตาง ๆ เพื่อคน อื่นจะไดรูจักและสรรเสริญพระเจาผานทางตัวเรา เพื่อนําเพื่อนพี่นองในสังคมมาหาพระเยซูเจาและรักพระองค การเปนคริสตชนของเราคือ การทําใหพระเจาเปนที่รูจักแกทุกคนดวยการใชชีวิตสะทอนใหเห็นถึงความรักของ พระองคที่มีตอมนุษยทุกคนบนโลกนี้ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 13 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 แมพระไดใหตัวอยางของความรักที่สมบูรณแบบแกเรา ในพระวรสารโดยนักบุญลูกาเลาใหเราฟงวา ไมนานหลังจากที่ทราบขาววานางเอลีซาเบธตั้งครรภได 6 เดือนแลว พระแมมารียรีบเสด็จไปเยี่ยมญาติของพระนางคนนี้ นางเอลีซาเบธไมไดขอความชวยเหลือจากแมพระ แตแมพระตระหนักดีวาญาติคนนี้ตองการความชวยเหลืออยางแนนอน เพราะนางและสามีตางก็อยูในวัยชราทั้งคู แมพระไดประทับอยูกับนางเอลีซาเบธประมาณ 3 เดือนจึงเสด็จกลับ นั่นคือ จนกระทั่งนักบุญยอหนผูทําพิธีลาง เกิดและเขาพิธีสุหนัต จากเหตุการณครั้งนี้เราสามารถมองเห็นความใสใจของแมพระอยางชัดเจน “กิจการเสียงดังกวาคําพูด” นี่ .. จึงเปนการนําความรักลงสูภาคปฏิบัติ แมพระไมไดใหบางสิ่งบางอยางที่ตัวเองมีแกญาติของพระนางเทานั้น แตแมพระใหตัวเองทั้งครบโดยไมไดหวังสิ่งใดตอบแทน แมพระทราบดีวาพระพรที่ทรงไดรับจากพระเจาเปนมากกวาสิทธิพิเศษ มันเปนหนาที่ซึ่งคอยผลักดันใหแมพระรับใชคนอื่นดวยความรัก การกระทําของพระแมครั้งนี้ทาทายเรายิ่งนัก ใหเราคิดถึงและไตรตรองแบบอยางความรักที่สัมผัสไดของแมพระ ใหเราพรอมที่จะชวยเหลือทุกคนที่กําลังประสบความยากลําบาก รับใชเพื่อนมนุษยในสังคมที่เราอาศัยอยู และนําความบรรเทามาใหกับพวกเขา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 14 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 “พอครับ ในหนึ่งชั่วโมงพอทําเงินไดเทาไหร?” เด็กชายคนหนึ่งกลาวกับพอ ที่เพิ่งกลับมาจากทํางาน “นี่ลูก แมของลูกเองยังไมถามแบบนี้เลย ตอนนี้ อยาเพิ่งกวนพอไดไหม พอเหนื่อยมามากพอแลว”แตลูกชายยังเซาซี้ตอไป “แตพอครับ บอกผมหนอยเถอะ ผมอยากรูจริง ๆ วาพอทําเงินไดมากแค ไหนในหนึ่งชั่วโมง” “100 บาท” พอตอบหวน ๆ เพื่อตัดรําคาญ ลูกชายพูด ตอไปอีกวา “งั้น ผมขอยืมเงินพอสัก 50 บาทไดไหม” “นี่คือเหตุผลที่ลูก ถามพอใชไหม” พอเริ่มฉุนเฉียว "ไปนอนไดแลว ไมตองมากวนพออีก เขาใจไหม?” เมื่อเขานอน พอคิดถึงสิ่งที่พูดกับลูก และรูสึกผิด “บางทีลูกอาจ ตองการซื้อของบางอยางก็ได” เขาลุกขึ้น ไปเคาะประตูหองลูกชายพรอมกับถามวา “ลูก นอนหลับหรือยัง” “ยังครับพอ ทําไมหรือครับ?” เมื่อเขา เปดประตูออกมา พอยื่นเงินใหพรอมกับพูดวา “นี่เงิน 50 บาท ที่ลูกขอจากพอ” “ขอบคุณครับพอ” ลูกชายพูดและรับเงินจํานวนนั้น เขาเดินไปที่ หัวเตียงและหยิบเงินอีก 50 บาทมารวมกัน แลวบอกพอวา “พอครับ เวลานี้ผมมีเงินครบ 100 บาทแลว ผมขอซื้อเวลาพอสักหนึ่งชั่วโมงไดไหม ครับ?” ในพระวรสารโดยนักบุญลูกาเลาวา เมื่อพระเยซูเจามีอายุได 12 ป ซึ่งเปนอายุที่เด็กชาวยิวตองไปแสวงบุญที่กรุงเยรูซาเล็ม พระองคเขารวมศึกษา พระคัมภีรในพระวิหารโดยไมไดบอกบิดามารดา เมื่อบิดามารดาพบพระองคหลังจากเที่ยวตามหาสองวัน สิ่งที่พระองคทรงบอกพวกทานคือ “พอ กับแมตามหาลูกทําไม พอแมไมรูหรือวา ลูกตองอยูในบานของพระบิดาของลูก” (ลก 2:49) ตอนทายของพระวรสารสรุปสั้น ๆ ใหเราฟงวา “พระ เยซูเจาเสด็จกลับไปที่เมืองนาซาเร็ธกับบิดามารดาและเชื่อฟงทานทั้งสอง” (ลก 2:51) พระเยซูเจาทรงทราบดีแลววาภารกิจของพระองคคือ การอยู ที่บานของพระบิดาและทําใหพระประสงคของพระบิดาสําเร็จไป พระองคมีศักยภาพที่จะทําภารกิจดังกลาวนี้ไดตั้งแตตอนนั้น เพราะ “ทุกคนที่ได ฟงพระองคตางประหลาดใจในพระปรีชาที่ทรงแสดงในการตอบคําถาม” (ลก 2:48) แลวทําไมพระองคจึงทรงเสด็จกลับไปยังเมืองนาซาเร็ธและใช เวลาอีกถึง 18 ปแบบซอนเรนภายใตการดูแลของแมพระและนักบุญโยเซฟ เพื่อรอจนกระทั่งอายุ 30 ป จึงเริ่มเทศนาสั่งสอนอยางเปดเผย 18 ป ดังกลาวเปนชวงเวลาที่เสียไปโดยเปลาประโยชนหรือไม? ชีวิตที่ซอนเรนของพระเยซูเจาที่เมืองนาซาเร็ธ เปนสวนหนึ่งของภารกิจของพระองคบน โลกนี้ เพราะในชวงเวลานี้เองที่ “พระเยซูเจาทรงเจริญขึ้น ทั้งในพระปรีชาญาณ พระชนมายุ และพระหรรษทานเฉพาะพระพักตรของพระเจาและ ตอหนามนุษย” (ลก 2:52) พระเยซูเจาทรงเทศนาสั่งสอนเพียงแค 3 ป แตพระองคทรงใชเวลาอยูกับครอบครัวของพระองคถึง 30 ป ความจริงนี้ชี้ ใหเราเห็นวาพระองคใหความสําคัญกับครอบครัวมากทีเดียว ทุกครอบครัวตองทํางานเพื่อความอยูรอด แตการทํางานตองไมทําใหครอบครัวเปน ทุกขเพราะขาดความรักและความอบอุน ครอบครัวตองมากอนทรัพยสินเงินทองและสังคมภายนอก การทํางานหนักไมเปนขอพิสูจนถึงความรักที่ เรามีตอครอบครัว อันตรายที่นากลัวอยางหนึ่งซึ่งคุกคามครอบครัวในสมัยปจจุบันคือ การใชเวลาอยูดวยกันนอยเกินไป การใชเวลาอยูกับครอบครัว เปนวิถีทางหนึ่ง ที่แสดงใหสมาชิกครอบครัวของเรารูวาเรารักพวกเขา เมื่อเรารักครอบครัว เราตองอุทิศเวลาใหกับครอบครัวมากที่สุด ทุกสิ่งทุก อยางมีเวลาของมัน อยาเอาเวลาของครอบครัวไปใหกับการทํางานจนมากเกินไป แบบอยางของพระเยซูเจาเตือนเราทุกคนในยุคปจจุบัน ให มองเห็นคุณคาและความสําคัญของครอบครัวคงจะไรประโยชนอยางสิ้นเชิง ถาเรารวยลนฟา แตครอบครัวของเราแตกแยก ลูก ๆ ของเราขาดความ อบอุน กลายเปนเด็กมีปญหาและภาระใหกับสังคม ใหเราวอนขอครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ชวยเราใหรูจักเลือกและใหสิ่งที่ดีที่สุดสําหรับครอบครัวของเรา แตละคน วันวาเลนไทน จะใหความหมายที่หลากหลายในเรื่องของความรัก เมื่อเรามอบความรักสําหรับกันและกันโดยใชชีวิตตามพระวรสาร

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 15 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 จุดประสงคหรือจิตตารมณที่อยูเบื้องหลังของกฎจราจรคือ ความปลอดภัยทั้งของผูขับขี่ยานยนตและคนเดินถนน การถือกฎจราจรตามตัวอักษรอยางเดียวนั้นไมเพียงพอ เพราะเรายังอาจประสบอุบัติเหตุได เชน มีคนเมาขับรถฝาไฟแดงในขณะที่ฝงของเราเปนไฟเขียว ซึ่งตามกฎจราจรแลวเราสามารถขับรถออกไปได กฎจราจรอยูขางเรา เรามีสิทธิที่จะไป ถาเรายืนยันที่จะทําตามกฎจราจรและสิทธิที่เรามีในขณะนั้น เราตองประสบอุบัติเหตุอยางแนนอน แตถาเรายึดจุดประสงคหรือจิตตารมณของกฎจราจรเปนหลัก เราควรจะหยุดอยูกับที่ ไมขับออกไป แมวาเราจะเปนฝายถูกก็ตาม ในพระวรสารในวันอาทิตยที่จะถึงนี้พระเยซูเจาตรัสวา พระองคไมไดเสด็จมา “เพื่อลบลางธรรมบัญญัติ” (มธ 5:17) ที่ไดรับการบันทึกไวในพระคัมภีร ธรรมบัญญัติเผยแสดงพระประสงคของพระเจาสําหรับประชากรของพระองค แตเนื่องจากธรรมบัญญัติเปนภาษามนุษย จึงไมสามารถถายทอดพระประสงคของพระเจาไดอยางสมบูรณ ดังนั้น จิตตารมณที่อยูเบื้องหลังของธรรมบัญญัติ จึงเปนสิ่งที่เราตองตระหนักเปนพิเศษ เราพบจิตตารมณนี้ในความรักที่เรามีตอพระเจาและตอเพื่อนมนุษย เราคงจําไดเมื่อมีคนถามพระเยซูเจาวาบทบัญญัติขอใดเปนเอก พระองคตรัสตอบวา “ทานจะตองรักองคพระผูเปนเจา พระเจาของทานสุดจิตใจ สุดวิญญาณ สุดสติปญญาของทาน นี่คือบทบัญญัติเอกและเปนบทบัญญัติแรก บทบัญญัติประการที่สองก็เชนเดียวกัน คือ ทานตองรักเพื่อนมนุษยเหมือนรักตนเอง ธรรมบัญญัติและคําสอนของบรรดาประกาศก ก็ขึ้นอยูกับบทบัญญัติสองประการนี้” (มธ22:37-40) พระเยซูเจาทรงทําใหธรรมบัญญัติสมบูรณไปดวยชีวิตของพระองคเอง ชีวิตที่เปนแบบอยางสูงสุดในเรื่องความรัก และพระองคทรงปรารถนาใหเราทําตามคําสอนและแบบอยางของพระองค ไมใชเพียงแคถือตามธรรมบัญญัติตามตัวอักษรเทานั้น ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 16 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 นอกจากการมารวมมิสซาในวันอาทิตยแลว ไมมีขอบังคับของพระศาสนจักรฉบับ ใด ที่เรียกรองใหเราตองมารวมมิสซาทุกวัน แตจิตตารมณที่อยูเบื้องหลังการมารวม มิสซา คือ การชวยใหเรารักและใกลชิดพระเจามากยิ่งขึ้นโดยการอธิษฐานภาวนา ไมมีขอบังคับวาเมื่อเพื่อนบานของเราไมสบาย หรือกลับมาจากโรงพยาบาลเราตอง ไปเยี่ยมเขาเพื่อวาจะสามารถชวยเหลืออะไรเขาไดบาง แตนั่นเปนการกระทําที่ สอดคลองกับจิตตารมณแหงความรักตอเพื่อนพี่นอง ถาเพื่อนของเราทะเลาะกัน ไมมีขอบังคับใดที่บอกวา เปนหนาที่ของเราโดยตรงที่ตองชวยใหเขาทั้งสองคืนดีกัน แตถาเราถือตามจิตตารมณแหงความรัก เรารูวาเราควรจะทําอะไรบางอยางเพื่อให สถานการณดังกลาวนั้นดีขึ้นประเทศของเรามีกฎหมายที่ดีมากมาย แตหลายครั้งกฎหมายไมศักดิ์สิทธิ์ เพราะหลายคนบิดเบือนจิตตา รมณที่แทจริงซึ่งอยูเบื้องหลังของกฎหมายทั้งประชาชน ผูบังคับใชกฎหมาย หรือผูพิพากษาเองก็ตาม หลายคนพยายามหาชองวางของ กฎหมายเพื่อแสวงหาผลประโยชนใหกับตัวเอง ถาทุกคนพยายามปฏิบัติตามจิตตารมณของกฎหมาย ประเทศของเราคงจะกาวหนาไป กวานี้หลายเทา ในทํานองเดียวกันการปฏิบัติตามจิตตารมณแหงความรัก ซึ่งเปนหัวใจของธรรมบัญญัติทั้งหลายนี่แหละ จะทําให ความชอบธรรมของเราดีกวาบรรดาธรรมาจารยและชาวฟาริสี เพราะความชอบธรรมหมายถึงกิจการดีงามหรือการกระทําตาง ๆ ที่ สอดคลองกับพระประสงคของพระเจา บรรดาธรรมาจารยและชาวฟาริสี เนนแตการปฏิบัติตามธรรมบัญญัติอยางเครงครัด เพื่อวาความ ดีจะหนักกวาความชั่วในวันพิพากษาสุดทาย เมื่อคิดแบบนี้ จึงทําใหพวกเขาเนนแตทาทีภายนอกและเขมงวดเฉพาะการถือกฏ สวนทาที ภายในจะเปนอยางไรไมสําคัญเทาใดนัก แรงจูงใจในการดําเนินชีวิตมาจากกฎเกณฑตาง ๆ เทานั้น เปาหมายและความปรารถนาเดียว ของพวกเขาคือการปฏิบัติตามธรรมบัญญัติ เพื่อใหมาถึงจุดที่วา “ฉันไดทําทุกสิ่งตามที่ธรรมบัญญัติเรียกรอง ฉันทําหนาที่ของฉันใหสําเร็จ ลุลวงแลว ธรรมบัญญัติไมสามารถเรียกรองอะไรจากฉันไดอีกตอไป”แนวคิดนี้อันตรายและเปนอุปสรรคอยางใหญหลวงตอการบรรลุถึง ความชอบธรรมที่ดีกวา เพราะความชอบธรรมของศิษยพระเยซูเจาแตกตางจากการถือกฏเกณฑตาง ๆแรงจูงใจในการดําเนินชีวิตของ เราตองเปนแรงจูงใจที่มาจากความรัก ความปรารถนาเพียงอยางเดียวของเราคือ การแสดงความกตัญูตอความรักที่พระเจาทรงมีตอ เราผานทางพระเยซูเจา แมวาเราจะไมสามารถปฏิบัติตามขอเรียกรองของความรักไดทั้งหมดก็ตาม การปฏิบัติตามขอกําหนดหรือขอ เรียกรองของธรรมบัญญัติมีขอจํากัดเสมอแตขอเรียกรองของความรักนั้น .. ไมมีขอบเขตจํากัด นักบุญเอากุสตินไดสรุปจิตตารมณแหง ความรักไวอยางนาฟงวา “รัก และทําสิ่งที่ทานปรารถนาเถิด ” (AMA ET FAC QUOD VIS) เมื่อเรารักใครสักคนหนึ่งดวยใจบริสุทธิ์แลว เรามักจะทําสิ่งดี ๆ สําหรับคนนั้นเสมอ นี่แหละคือความชอบธรรมที่พระเยซูเจาเรียกรองจากเราแตละคนซึ่งเปนศิษยของพระองค

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 17 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ในชีวิตของเราแตละคนมีบางสิ่งบางอยางที่เราไมสามารถทําได เราไมสามารถขับรถที่เติมน้ํา แทนน้ํามันในถัง เราไมสามารถเก็บอาหารใหเย็นในตูเย็นได ถาเราไมตอสายไฟเขากับปลั๊กไฟ เสียกอน และไมมีมนุษยคนใดสามารถอภัยบาปได โดยอาศัยอํานาจของตนเองตามลําพัง ขณะที่พระเยซูเจาตรัสกับคนอัมพาตวาบาปของเขาไดรับการอภัยแลว ธรรมาจารยคิดวา “ทําไมคนนี้จึงพูดเชนนี้เลา เขากลาวดูหมิ่นพระเจา ใครเลาอภัยบาปไดนอกจากพระเจา เทานั้น” (มก 2:7) เพราะการอภัยบาปเปนสิทธิพิเศษของพระเจาแตเพียงผูเดียว พระคัมภีร พูดถึงเรื่องนี้ไว เมื่อพระเจาทรงสําแดงพระองคแกโมเสส พระองคตรัสกับทานวา “เรารักษา ความรักมั่นคงของเราไวแกชนหลายพันชั่วอายุคน และอภัยความผิด อภัยการลวงเกินและ อภัยบาป แตเราไมละเลยที่จะลงโทษ เราจะลงโทษความผิดของบิดา ในลูกหลานเหลนจนถึง สามสี่ชั่วอายุคน” (อพย 34:7) พระองคตรัสกับชาวอิสราเอลอีกครั้งหนึ่งในถิ่นเนรเทศที่กรุงบา บิโลนวา “ถึงกระนั้น เราจะลบลางความผิดของทานเพราะเราตองการเชนนั้น เราจะไมจดจํา บาปของทานอีกตอไป” (อสย 43:25) ธรรมาจารยเหลานั้นไมรูอัตลักษณที่แทจริงของพระเยซูเจา พวกเขาไมทราบวานอกจากพระองค ทรงเปนมนุษยแทแลว พระองคยังทรงเปนพระเจาแทและเสมอภาคกับพระบิดาเจาในทุกสิ่ง อันที่จริง พระองคสามารถอภัยบาปแกคน อัมพาตในวิถีทางที่งายกวานี้ เพียงแคพระองคทรงดําริ ทุกสิ่งทุกอยางก็สําเร็จไปตามนั้นแลว แตพระองคกลับตรัสกับคนอัมพาตดวย คําพูดของมนุษย “ลูกเอย บาปของทานไดรับการอภัยแลว”(มก 2:5) วิถีทางของพระเจาถูกแสดงออกมาใหเห็นในวิถีทางของมนุษย เพื่อ เราจะสามารถสัมผัสและเขาใจได การอภัยบาปเปนสิ่งที่มนุษยไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา จึงไมอาจใชเปนหลักฐานที่แสดงใหเห็นวา พระวาจาของพระองคมีอํานาจเชนนั้นจริง พระองคจึงตรัสกับแกคนอัมพาตวา “เราสั่งทาน จงลุกขึ้น แบกแคร กลับไปบานเถิด ” (มก 2:11) เมื่อคนอัมพาตคนนั้นลุกขึ้นและแบกแครออกเดินไปตอหนาคนทั้งปวง ทุกคนจึงตระหนักและมั่นใจวาพระเยซูเจาไมทรงเพียงแค รักษาเขาใหหายดวยพระวาจาของพระองคเทานั้น แตพระองคยังทรงสามารถอภัยบาป ดวยพระวาจาของพระองคไดเชนเดียวกัน วิถีทางของพระเจายังคงถูกแสดงออกใหเห็น ในวิถีทางของมนุษยที่เราสามารถสัมผัสไดตอไปในพระศาสนจักร พระสงฆไมไดอภัยบาป ดวยอํานาจของตนเอง เพราะมีแตพระเจาเทานั้นที่มีอํานาจนี้ แตพระเยซูเจาทรงมอบอํานาจนี้ใหกับพระศาสนจักรของพระองค โดย สัญญาวาพระองคทรงรับรองคําตัดสินของเขา “ทานทั้งหลายอภัยบาปของผูใด บาปของผูนั้นก็ไดรับการอภัย ทานทั้งหลายไมอภัยบาป ของผูใด บาปของผูนั้นก็ไมไดรับการอภัยดวย” (ยน 20:23) ดวยเหตุนี้เพื่อที่จะสามารถอภัยบาปใหสัตบุรุษได พระสงฆตองสนิทสัมพันธ กับพระศาสนจักรเหมือนกิ่งที่ติดอยูกับลําตน พระเยซูเจาทรงมีความประสงคใหบาปไดรับการอภัยผานทางพระศาสนจักรของพระองค นี่คือเหตุผลที่วาทําไมในบทอภัยบาปพระสงฆจึงพูดวา “อาศัยศาสนบริการของพระศาสนจักร ขาพเจาจึงอภัยบาปทั้งสิ้นของทาน” พระศาสนจักรเปนมากกวาชุมชนประชากรของพระเจา พระศาสนจักรเปนธรรมล้ําลึกประการหนึ่ง คือเปนพระคริสตเจาพระองคเอง ผู ยังทรงดํารงชีพและดําเนินพันธกิจของพระองคตอไปบนโลกนี้ โดยทางพระศาสนจักร พระเยซูเจาทรงเลือกที่จะดําเนินพันธกิจแหงการ คืนดีของพระเจาในวิถีทางของมนุษย คนอัมพาตในพระวรสารคงโลดเตนดวยความยินดีที่ตนเองสามารถเดินได หัวใจคงเปยมดวย ความรูสึกวา ตนเองมีบุญที่บาปไดรับการอภัย ไดสัมผัสอัศจรรยซึ่งรับรองวาทานไดเปนอิสระจากบาปของประทานที่ยิ่งใหญที่สุดจาก พระเจาประการหนึ่งสําหรับคาทอลิก คือ ศีลอภัยบาป เรามีบุญและเปนผูไดรับพระพรจากพระเจาที่ไดยินการอภัยบาปของเราผานทาง คําพูดของมนุษยที่สามารถเขาใจได เราจึงไมควรละเลยที่จะรับศีลอภัยบาปอยางสม่ําเสมอขอบพระคุณและสรรเสริญพระองคสําหรับ ความรักและพระเมตตาอันลนเหลือที่พระองคทรงโปรยปรายมายังเราผูซึ่งเปนบุตรของพระองค

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 18 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 เมื่อเรารักใครสักคนหนึ่ง เราไมอยากใหสิ่งไมดีเกิดขึ้นกับเขาคนนั้น บางครั้งถา จําเปน เราก็พรอมที่จะรับบางสิ่งบางอยางที่ไมดีแทนเขาไดดวย แตเราควรเขาใจ วา การไดรับความทุกขยากลําบาก ไมไดเกี่ยวของกับการชดเชยความผิดบาปที่ เราไดกระทําเสมอไป เพราะบอยครั้งครั้งคนดีและบริสุทธิ์ก็ประสบกับสิ่งเหลานี้ เสมอ เราจะเขาใจความหมายของความทุกขยากลําบากไดดีขึ้น ถาเรามองใน ฐานะเครื่องวัดคุณคาความเปนมนุษยของเรา นั่นคือ สิ่งเหลานี้เปนเครื่องบงชี้วา เรายิ่งใหญแคไหน เปนเครื่องทดสอบความรักที่เรามีตอพระเจาและเพื่อนมนุษย เพราะเราจะเต็มใจยอมรับความทุกขยากลําบากเพื่อคนอื่นก็ตอเมื่อเรารักคนนั้น มากพอ นี่เปนสิ่งที่พระเยซูเจาไดทําเปนแบบอยางสําหรับเราผูเปนศิษยของพระองค ในพระวรสาร พระเยซูเจาทรงบอก บรรดาศิษยของพระองควา“พระองคจะตองเสด็จไปกรุงเยรูซาเล็มเพื่อรับทรมานอยางมากจากบรรดาผูอาวุโส หัวหนาสมณะ และธรรมาจารย จะถูกประหารชีวิต แตจะทรงกลับคืนพระชนมชีพในวันที่สาม” (มธ 16:21)เมื่อเราหรือคนที่เรารักประสบกับ ความทุกขยากลําบากในชีวิต ซึ่งไมไดหมายถึงฝายกายเทานั้น แตฝายจิตใจดวย ไมวาจะเปนความกังวลใจ ความหนักอก หนักใจ ความอึดอัดคับของใจ ความโดดเดี่ยวและความรูสึกเบื่อหนาย เราจําเปนตองตอสูกับความรูสึกและความตองการของ ตนเอง เพื่อจะยอมรับและอดทนตอสูใหผานพนไปสําเร็จ พระเยซูเจาไมไดทรงบอกบรรดาศิษยเพียงวา พระองคจะตองรับการ ทรมานและสิ้นพระชนมเทานั้น แตทรงบอกดวยวาพระองคจะกลับคืนพระชนมชีพในวันที่สามดวย ยามใดที่เรารูสึกเหนื่อยลา ทอแท หรือหมดกําลังใจ ใหเราจําไวเสมอวา ถาเรามีสวนรวมในกางเขนของพระองค เราจะมีสวนรวมในการกลับคืนพระชนม ชีพของพระองคดวยเชนกัน บทเรียนที่สําคัญซึ่งพระเยซูเจาใหกับเรา คือ เราตองคิดและตัดสินใจตามมาตรฐานของพระเจา ไมใชตามมาตรฐานของมนุษย ถาเราเขาใจความจริงขอนี้ เราจะเห็นวาพระเจาทรงรักเราและไมทรงปรารถนาใหสิ่งที่ไมดีเกิด ขึ้นกับเรา ความทุกขยากลําบากไมใชสิ่งชั่วรายเสมอไป เพราะในแผนการของพระเจามันจะนําเราไปสูความสุขที่แทจริง วิถีทางของพระเจาไมใชวิถีทางของเรา แตวิถีทางของพระองคเปนวิถีทางที่ดีที่สุดสําหรับเราแตละคน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 19 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 เปาหมายของชีวิตที่จะเขาสูพระอาณาจักรของพระเจานั้น มีหลายสิ่งหลาย อยางถูกเรียกรองจากเรา ที่สําคัญยิ่งประการหนึ่งก็คือ เราตองพยายามทํา ตามพระประสงคของพระเจา ในทุกแงมุมชีวิตของเรา พระองคปรารถนา ใหเราเปนบุตรที่ดีและมีระเบียบวินัย เพื่อเราจะเปนสมาชิกที่เหมาะสมของ ครอบครัวของพระองค พอแมที่ดีรูวาลูก ๆ ตองมีระเบียบวินัย ถาตองการ เปนผูใหญที่สมบูรณในอนาคต แตหลายครั้ง เด็ก ๆ ชอบทําตามใจตัวเอง สนุกสนานไปวัน ๆ หรือทําสิ่งไมดีบางประการเพื่ออนาคตที่ดีของลูก บางครั้งพอแมตองใชไมแข็ง การลงโทษจึงเปนสิ่งจําเปน เหมือนกัน เพื่อการกลับใจและเปลี่ยนแปลงวิถีทางในการดําเนินชีวิต ในจดหมายถึงชาวฮีบรูสอนเราไววา “ขณะที่ถูกเฆี่ยนตีสั่ง สอนไมมีความนายินดี มีแตความทุกข แตใหผลเปนสันติและความชอบธรรมแกผูที่ยอมรับการเฆี่ยนตีสั่งสอนเปนการฝกฝน ตนเอง” (ฮบ 11:11) เราแตละคนอาจพบกับความยากลําบากมากมายหลายครั้งในชีวิตเราตองมองเห็นถึงความจําเปนในการ เฆี่ยนตีสั่งสอนของพระเจา ซึ่งจะทําใหเรามีคาสมควรกับพระอาณาจักรสวรรค เราไมรูคําตอบวาจะมีคนมากหรือนอยแคไหนที่ จะรอดพน แตสิ่งที่เรารูคือ ไมใชเรื่องงายที่จะบรรลุถึงชีวิตนิรันดร พระองคอาจจะใชไมแข็งเพื่อกระตุนเราใหตระหนักถึง หนทางที่ถูกตอง เราอาจตองเสียสละความพึงพอใจตามประสามนุษยหลายอยาง ซึ่งหลายครั้งอาจกอใหเกิดความคับของใจ เจ็บปวดใจ แตไมวาอะไรจะเกิดขึ้น เราตองพยายามมองเห็นพระหัตถของพระเจาในเหตุการณตาง ๆ เหลานั้นและถามตัวเอง อยูเสมอวา พระเจาตองการบอกอะไรกับเราโดยผานทางสิ่งเหลานี้ และที่สําคัญเราควรที่ตระหนักวาพระเจาพระบิดาของเรา ทรงรักเรา สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตเรามีผลในแงบวกเสมอไมมากก็นอย พระองคปลอยใหมันเกิดขึ้นเพราะวาพระองค ปรารถนาจะชวยเราใหสามารถผานเขาทางประตูแคบซึ่งจะนําไปสูพระอาณาจักรนิรันดรของพระองค ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 20 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ในสังคมทุกยุคทุกสมัย การไดรับที่นั่งอันมีเกียรติในงานเลี้ยง เปนเครื่องหมายของความยิ่งใหญและสําคัญของตัวบุคคลนั้น พระเยซูเจาไมไดเห็นดวยหรือประณามมารยาททางสังคมในสมัยของ พระองค แตใชโอกาสในงานเลี้ยงนี้สอนบทเรียนที่สาคัญ คือ ไมมีที่สําหรับความหยิ่งจองหองในพระอาณาจักรสวรรค ความสุภาพ ถอมตนเปนสิ่งจําเปนขาดไมได ผูเขียนหนังสือบุตรสิรา เตือนเราวา “ลูกเอย ไมวาทานจะทําสิ่งใด จงทําดวยความถอมตนเถิด แลวทานจะเปนที่รักมากกวาคนใหของกํานัล ทานยิ่งเปนใหญมากขึ้น เทาใด ก็ยิ่งตองถอมตนลงมากเทานั้น แลวพระเจาจะโปรดปรานทาน” (บสร 3:17-18) ความหยิ่งจองหองมักมาจากการเปรียบเทียบที่ผิดพลาด หากเราเทียบตัวเองกับคนอื่นที่มีความรู ความสามารถหรือความประพฤติต่ํากวาตัวเอง เรามักเกิดความภาคภูมิใจ บอยครั้งทําใหหลงตัวเอง และหยุดการเติบโตในดาน ชีวิตฝายจิต ความดีบริบูรณของพระเจาตางหากควรจะเปนอุดมคติที่พวกเราใฝฝนและพยายามจะไปใหถึง แนนอน เราไมมีวัน จะเปนถึงจุดนั้น แตนั่นจะชวยใหเราไมหยุดนิ่งในการพัฒนาตัวของเราใหดีขึ้นเรื่อย ๆ อยางไมมีวันสิ้นสุด ลําพังความสามารถ สวนตัว เราคงทําอะไรไมได เราไมอาจกาวหนาไปในความศักดิ์สิทธิ์ได การไดรวมพิธีบูชาขอบพระคุณบอย ๆ จะทําใหเรา สามารถวอนขอความชวยเหลือจากพระเจา วอนขอพระพร พระหรรษทานจากพระองคเพื่อชวยเหลือเรา ใหไดเรียนรูจักและ ดําเนินชีวิตในความสุภาพถอมตนตลอดชีวิตของเรา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 21 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 “ถาเมล็ดขาวไมไดตกลงในดินและตายไป มันก็จะเปน เพียงเมล็ดเดียวเทานั้น แตถามันตาย มันก็จะบังเกิดผล มากมาย” (ยน12:24) เมล็ดขาวไดเปลี่ยนแปลงสภาพ กลายเปนสิ่งใหม มีราก ใบ ดอก และผล ไมตางจากตัว หนอนผีเสื้อ เมื่อมันโตขึ้น มันจะสลัดคราบเกาทิ้ง และ กลายเปนสิ่งมีชีวิตใหมที่แตกตางจากเดิมอยางสิ้นเชิง กลายเปนผีเสื้อที่มีสีสันสวยสดงดงาม สิ่งที่พระเยซูเจา ตองการบอกบรรดาศิษยคือ การเห็นพระองคไมใชเปน เพียงแคการมองดูรูปลักษณภายนอกแตเปนการเขาไปในวิถีคิดของพระองค ทําความเขาใจวา ทําไมพระองคตองทนทุกข ทรมาน สิ้นพระชนม และกลับคืนพระชนมชีพอีกครั้งหนึ่ง..เหมือนเมล็ดขาว พระองคตองสละทุกสิ่ง รวมทั้งชีวิตของพระองค ดวย เพื่อจะนําชีวิตใหมมาใหพระองคเองและผูคนอีกมากมาย และนี่คือสิ่งที่นักบุญเปาโลในจดหมายถึงชาวฟลิปปเรียกวา “การสละพระองคจนหมดสิ้น” (ฟป 2:7) หรือ “การทําใหตนเองวางเปลา” (Kenosis คิโนซิส) ในกระบวนการนี้ ทั้งพระเยซู เจาและเราแตละคน จะไดรับการเปลี่ยนสภาพ เหมือนเมล็ดขาวที่ภายนอกเสื่อมสลายไป จากนั้นจึงกลายเปนบางสิ่งที่ใหมและ ยิ่งใหญกวาเดิม เปนประโยชนตอผูคนมากมาย ถาเราแตละคนไมสามารถมองเห็นและยอมรับสิ่งนี้ในฐานะแกนแทชีวิตของ พระเยซูเจา เรายังไมไดเห็นพระองคอยางแทจริง เราจะรูจักพระองคเพียงผิวเผินเทานั้นเอง ใหเราแตละคนพยายามเรียนรูที่จะ เห็นพระเยซูเจาไมใชเพียงผิวเผิน แตมองทะลุเขาไปภายในเพื่อเขาใจความหมายที่แทจริงของชีวิตและสิ่งที่พระองคไดทรง กระทําเพื่อเราแตละคน ทั้งนี้เพื่อวาวิถีทางสูพระสิริรุงโรจนของพระองคจะเปนวิถีทางของเราดวย พระเยซูเจาทรงสละทุกสิ่ง แมแตชีวิตของพระองคเพราะทรงรักเรา พระองคทรงเชื้อเชิญเราทุกคนใหแสดงความรักแบบเดียวกันนี้ตอผูอื่นดวย ใหเราวอน ขอความเขมแข็งและความไววางใจอยางสิ้นเชิงจากพระเจาพระบิดาของเรา เพื่อเราแตละคนจะสามารถคนพบความจริงที่วา “ความสุขที่แทจริงอยูที่การสละทุกสิ่ง เพื่อเห็นแกพระเจาและเพื่อนมนุษยของเรา” ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันเสาร ที่ 22 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 “ความสุขที่แทจริงอยูที่การสละทุกสิ่ง เพื่อเห็นแกพระเจาและเพื่อนมนุษย ของเรา” โลกบอกวาเราควรสะสมทรัพยสินเงินทองไวใหมาก ๆ เพื่อเปน หลักประกันชีวิตในอนาคต แตพระเยซูเจากลับบอกเราในสิ่งที่ตรงขาม นั่น คือ เมื่อเราพรอมที่จะสละทุกสิ่งที่เรามีและที่เราเปน เพื่อรักและรับใชผูอื่น เทานั้น เราจึงจะบรรลุถึงความมั่นคงที่แทจริงของชีวิต พระองคทาทายเรา ใหเดินในหนทางของพระองค “ถาผูใดรับใชเรา ผูนั้นจงตามเรามา เราอยูที่ ใด ผูรับใชของเราก็จะอยูที่นั่นดวย” (ยน12:26) สิ่งนี้หมายถึงการเดินไป พรอมกับพระองคและพระมารดาของพระองค บนเสนทางสูไมกางเขน ซึ่งเปนสิ่งที่เราตองประสบอยูแลวใน ชีวิตประจําวันของเราแตละคน เราตองพรอมที่จะเผชิญหนากับคําทาทายเหลานี้ของพระเยซูเจา ไมกลัวที่จะสละสิ่งที่ เรามีและที่เราเปนเพื่อเห็นแกพระองคและเพื่อนพี่นองของเรา พระเยซูเจาเองทรงหวั่นไหว เมื่อนึกถึงสิ่งตาง ๆ ที่กําลัง จะเกิดขึ้นกับพระองค นักบุญยอหนบันทึกถอยคําของพระเยซูเจาไวอยางชัดเจนวา “บัดนี้ จิตใจของเราหวั่นไหว เรา จะพูดอะไรเลา จะพูดหรือวา ขาแตพระบิดาเจา โปรดชวยขาพเจาใหพนจากเวลานี”้ (ยน12:27) การสละตนเองอยาง สิ้นเชิงไมใชเรื่องงายสําหรับพระเยซูเจา หลังจากการอธิษฐานภาวนาที่ยาวนานในสวนเกทเสมนี ระหวางที่เหงื่อของ พระองคไหลออกมาเปนโลหิตและความหวาดกลัวของพระองคที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ หลังชวงเวลาที่แสนจะทรมานนี้ เทานั้น พระองคจึงทรงสามารถกลาวดวยความมั่นใจวา “ถาเปนไปได ก็ขออยาใหเปนไปตามใจขาพเจา แตใหเปนไป ตามพระประสงคของพระองคเถิด” (มธ 26:39) ไมใชเรื่องงายเลยสําหรับเราที่จะดําเนินชีวิตแหงการสละตนเองในแต ละวัน ใหเราภาวนาวอนขอพระพรจากพระเจาใหเราเขมแข็งและเขาใจความหมายพระวาจาของพระเยซูเจาและได ผานกระบวนการสละสิ่งที่เรามีและที่เราเปนในชีวิต ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอาทิตย ที่ 23 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 เรามักจะเรียกคนที่ยึดมั่นอยูกับความคิดเดิม ๆ ไมยอม เปลี่ยนแปลงวา “คนหัวเกา” หรือ “พวกอนุรักษนิยม” คําวิจารณนี้ดูจะไมนาพึงพอใจสําหรับผูไดรับการกลาวถึงเทาใด นัก เพราะมันบงชี้ถึงความไมทันสมัยของเขา บางครั้งพระเยซูเจา ทรงเปนประเภทนี้ดวยเหมือนกัน ความคิดเดิม ๆ ที่พระองคทรง ยืนยันอยางเด็ดเดี่ยวคือ“ความรักตอพระเจาและตอเพื่อนมนุษย” ในวันนี้ประเด็นที่พระองคทรงเนนเปนพิเศษคือ“ความรักตอเพื่อน มนุษย” แมวาธรรมบัญญัติสองประการนี้ไมสามารถแยกออกจาก กันไดก็ตาม พระเยซูเจาพูดถึงความรักบอย ๆ และอยางสม่ําเสมอ เพราะประการแรกพระเจาทรงเปนความรัก คนที่ดํารงอยูในความรักก็ดํารงอยูในพระองคและมีความละมาย คลายคลึงกับพระองคนับวันยิ่งมากขึ้น ประการที่สอง แมวาเราแตละคนสามารถพูดถึงความรักไดอยางคลองแคลว และไพเราะเพราะพริ้ง แตการปฏิบัติตามสิ่งที่ความรักเรียกรองเปนเรื่องยาก พูดอีกอยางหนึ่งก็คือ ความรักเปนเรื่องที่ พูดงาย ใครก็พูดได แมแตเด็กเล็ก ๆ แตการแสดงความรักซึ่งอยูภายในออกมา ใหเห็นเปนรูปธรรมภายนอกนั้นไมใช งายเลย การพูดถึงเรื่องนี้อยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อยชี้ใหเห็นวา พระองคทรงจริงจังกับธรรมบัญญัติแหงความรักมาก เพราะธรรมบัญญัติประการนี้เปน “หัวใจและจิตตารมณ”ที่อยูเบื้องหลังของธรรมบัญญัติทั้งมวล “จงรักศัตรู จง อธิษฐานภาวนาใหผูที่เบียดเบียนทาน” (มธ 5:44) ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันจันทร ที่ 24 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ทุกคนยอมรับในความถูกตองและความงดงามของธรรมบัญญัติ แหงความรัก ธรรมบัญญัตินี้ไมไดเปนความคิดที่เหลวไหลและไร สาระ บุคคลที่มีชีวิตอยูในสภาพแวดลอมที่เต็มไปดวยกลิ่นไอของ ความรัก บุคคลนั้นจะสามารถสัมผัสความสวยงาม ความอบอุน และการปลอบโยนของความรักไดอยางแนนอน ปญหาอยูที่การ ปฏิบัติตามธรรมบัญญัติประการนี้ตางหาก ซึ่งเรียกรองความ เสียสละและการออกแรงจากเราเปนอยางมาก ความคิดของพระ เยซูเจากาวไปกวาสิ่งที่บันทึกไวในหนังสือเลวีนิติ “จงรักเพื่อนบานเหมือนรักตนเอง” (ลนต19:18) คําวา “เพื่อนบาน” ของพระองคไมไดหมายความเพียงคนที่อยูขางบานเรา คนที่เราไปนั่งคุยและดื่มน้ําชาดวยกันเปนประจํา หรือคนที่เรา สามารถยืมบางสิ่งบางอยางจากเขาได พระองคกําลังพูดถึงเพื่อนบานที่ปลอยใหลูก ๆ ของตน ขวางกอนหินใสกระจก บานของเรา หรือเพื่อนบานที่เปดเครื่องเสียงดัง ๆ ในเวลาค่ําคืนดึกดื่น เพื่อนบานที่หาเรื่องกวนประสาทใหเราปวดหัว เปนประจํา พระเยซูเจาทรงตองการใหเรารักคนที่ทําใหเรารูสึกเจ็บปวด คนที่ใสรายเราลับหลัง และคนที่ไมเคยสนใจ วาเราจะเปนหรือตาย พูดอีกอยางหนึ่งก็คือ เราตองรักเพื่อนบานทุกคนโดยไมแบงแยก ไมวาเขาคนนั้นจะเปนใคร มา จากไหน หรือมีความประพฤติอยางไร เหมือนพระบิดาเจาสวรรคที่ “โปรดใหดวงอาทิตยของพระองคขึ้นเหนือคนดี และคนชั่ว โปรดใหฝนตกเหนือคนชอบธรรมและคนอธรรม” (มธ 5:45) เราตองไมแยกคนชั่วและคนอธรรมออกจาก ความรักของเรา แนนอน เราตองตําหนิและไมเห็นดีดวยกับการกระทําที่ไมดีและไรศีลธรรมของเขา แตในฐานะ “บุตร ของพระบิดาเจาสวรรค” (มธ 5:44) เราไมสามารถรังเกียจตัวตนของเขาได เพราะเขาเปนผลงานจากฝพระหัตถของ พระเจาเหมือนกันกับเรา ดังนั้น เราจึงเปนพี่นองกันและมีบิดาองคเดียวกัน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันอังคาร ที่ 25 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 คนที่เกลียดชังคอมมิวนิสต ไมชอบชาวเขมรหรือชาวพมา ดูถูกชนกลุม นอยหรือเพื่อนบานอื่น ๆ ที่ลักลอบเขามาในประเทศไทย คนที่ชิงชังคน ที่มีความคิดเห็นแตกตางจากเรา คนที่โจมตี ปายสี ใสราย คนอื่นอยาง หยาบคายไรหัวใจ ถือวายังไมเปนคริสตชนตามมาตรฐานที่พระเยซูเจา ทรงกําหนดไว คําสั่งของพระองคในพระวรสารชัดเจนยิ่งนัก “จงรักศัตรู จงอธิษฐานภาวนาใหผูที่เบียดเบียนทาน” (มธ 5:44) แนนอน คนตางความเชื่อบางคนอาจคิดวา แนวทางในการ ดําเนินชีวิตแบบนี้เปนเรื่องเหลวไหล มีแตคนบาเทานั้นที่ปฏิบัติตามคําสั่งนี้ แตพระเยซูเจาทรงหมายถึงสิ่งที่พระองค ทรงพูดจริง ๆ และคําพูดของพระองคก็ไมไดเปนอุดมคติที่เลื่อนลอย พระองคไมเคยเรียกรองสิ่งที่พระองคเองไมได กระทําจากผูติดตามพระองค เราทุกคนทราบดีวาพระองคทรงรักแมแตศัตรูของพระองค พระองคทรงสิ้นพระชนมบน ไมกางเขนเพื่อคนบาปทั้งหลาย พระองคทรงอธิษฐานภาวนาเพื่อทุกคนที่มีสวนเกี่ยวของในการประหารชีวิต พระองค “พระบิดาเจาขา โปรดอภัยความผิดแกเขาเถิด เพราะเขาไมรูวากําลังทําอะไร” (ลก 23:34) พระองคไมทรง เคยคิดทํารายใครและทรงพรอมที่จะใหอภัยแกทุกคน ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพุธ ที่ 26 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 ไมใชเรื่องงายที่เราจะปฏิบัติตามธรรมบัญญัติแหงความรักที่พระเยซูเจาทรงมอบ ไวใหเราและกระทําเปนแบบอยางสําหรับเรา “จงรักศัตรู จงอธิษฐานภาวนาใหผู ที่เบียดเบียนทาน” (มธ 5:44) อันที่จริง อาจเปนไปไมไดที่จะปฏิบัติตามเสียดวย ซ้ําไป นอกจากเราจะไดรับความชวยเหลือพิเศษจากเบื้องบน พระเยซูเจาทรง ประทานความชวยเหลือพิเศษนี้แกเรา ผานทางศีลมหาสนิท ศีลศักดิ์สิทธิ์แหง ความรัก ถาเราเปดตัวเอง ศีลศักดิ์สิทธิ์ประการนี้ จะเปลี่ยนแปลงตัวเราที่ละเล็ก ที่ละนอย ใหละมายคลายคลึงกับพระเยซูเจามากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งจะสงผลใหเราสามารถรักทุกคน โดยไมยกเวนและ อยางไรเงื่อนไข เราอาจจะตองใชเวลาตลอดชีวิตของเรา เพื่อจะสามารถรักทุกคนแมกระทั่งศัตรูของเราได แตเราตองไมลืมวาพระเยซูเจาทรงจริงจังเกี่ยวกับธรรมบัญญัติประการนี้มาก จนกระทั่งประทานพระกาย และพระ โลหิตของพระองคเองในศีลมหาสนิท เพื่อวาเราจะเปนเหมือนกับพระองคนับวันยิ่งมากขึ้นในวิถีทางแหงความรักนี้ ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันพฤหัสบดี ที่ 27 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 คําพูดของนักบุญเปาโลที่บอกวาทาน “เต็มใจที่จะโออวดเรื่องความ ออนแอ” (2 คร 12:9) ของตัวทานเอง อาจดูเปนเรื่องที่เหลวไหลและโง เขลาตามมาตรฐานของโลกนี้ เพราะปรกติแลวคนเรามักจะโออวดเรื่อง ความเกงกลาสามารถ ความเฉลียวฉลาด ความรอบรูของตนเอง แต สําหรับนักบุญเปาโลแลว ถอยคําเหลานี้ไดรับการไตรตรองมาอยางดีและมี ความหมายลึกซึ้ง เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงที่ไดเกิดขึ้นในตัว ทาน หลังจากที่ทานไดเผชิญหนากับพระเยซูเจาผูทรงกลับคืนพระชนมชีพ ระหวางการเดินทางไปยังเมืองดามัสกัส เพื่อจับกุมบรรดาผูมีความเชื่อในพระนามของพระเยซูเจาและดําเนินชีวิตตาม วิถีทางของพระองค (เทียบ กจ 9:1-19) ผลจากการพบปะกันครั้งนั้น วิถีชีวิตของทานไดเปลี่ยนแปลงอยางสิ้นเชิง จาก บุรุษหยิ่งทะนงผูปกปองความเชื่อดั้งเดิมของศาสนายิวอยางรอนรน ผูจับกุมและเบียดเบียนขมเหงกลุมคริสตชนใน สมัยเริ่มแรก กลายมาเปนบุรุษผูไดคนพบตัวตนที่แทจริงและความตองการที่ซอนอยูในสวนลึกแหงหัวใจของตน นั่นคือ ความตองการพระเจา นับแตนี้ตอไป สาหรับทาน ความรอดพนเปนของประทานที่ใหเปลาจากพระเจา ไมมีกิจการใด ของมนุษยที่เหมาะสมจะไดรับของประทานอันยิ่งใหญนี้เปนรางวัล แตพระเจาทรงประทานสิ่งนี้แกมนุษยแบบให เปลา เพราะความรักที่ทรงมีตอเขาและเพื่อเห็นแกพระบุตรสุดที่รักของพระองค ผูทรงถอมพระองคลงมาบังเกิดเปน มนุษย รับทรมานและสิ้นพระชนมบนไมกางเขนเพื่อความรอดพนของมวลมนุษย ดังนั้น การถือตามบทบัญญัติของ พระเจาที่ไดรับการถายทอดมาจากบรรพบุรุษของทานจึงไมใชหนทางที่จะนําไปสูความรอดพนไดอยางแทจริง แตเปน ความเชื่อในพระคริสตเจาตางหากที่จะนําทานไปสูชีวิตนิรันดร .. เมื่อเปนเชนนี้ ชีวิตของทานจึงไมจําเปนตองขึ้นอยูกับ ความเกงกลาสามารถและความเขมแข็งของตัวทานเองอีกตอไป ตรงกันขาม ดวยดวงใจที่สุภาพถอมตนและตระหนัก ถึงความเปราะปรางของตนเอง ทานจึงมอบทุกสิ่งทุกอยางไวภายใตอานุภาพแหงรักของพระคริสตเจา ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


ขอคิดยามเชา วันศุกร ที่ 28 กุมภาพันธ ค.ศ.2014 นักบุญเปโตรอยูกับพระเยซูเจา ตั้งแตพระองคทรงเริ่มงานประกาศขาวดีอยาง เปดเผยครั้งแรก นักบุญเปาโลไมเคยพบพระเยซูเจาจนกระทั่งหาปหรือมากกวานั้น หลังจากการสิ้นพระชนมและการกลับคืนพระชนมชีพของพระองค พวกทานอยูคนละฝายในความขัดแยงที่เกิดขึ้นในพระศาสนจักรสมัยเริ่มแรก นั้น ชาวยิวที่กลับใจเปนคริสตชนสวนใหญเชื่อวา เพื่อที่จะเปนศิษยของพระเยซู เจา ประชาชนตองเขาพิธีสุหนัตและถือตามบทบัญญัติของโมเสส (กจ11:22) พวกเขาคิดวากลุมคริสตชนเล็ก ๆ นี้เปนสวนหนึ่งของศาสนายูดายหรือศาสนา ยิว ใครก็ตามที่อยากจะเปนคริสตชนตองเขาพิธีสุหนัตแบบชาวยิวเสียกอน นักบุญ เปาโลตอตานแนวความคิดนี้อยางแข็งขัน ทานยืนกรานวาพระเยซูเจาไดทําสิ่งใหม ตามพระดํารัสที่วา “เราไมสามารถใสเหลาองุนใหมในถุงหนังเกาได” (เทียบ มธ 9:17) ทานสอนวาพระเยซูเจา โดยการสิ้นพระชนมบนไมกางเขนและการกลับคืน พระชนมชีพของพระองค ปลดปลอยเราทุกคนใหเปนอิสระจากขอบังคับของธรรมบัญญัติเกา เวลานี้เรามีพันธสัญญาใหมใน พระโลหิตของพระเยซูเจา พระศาสนจักรจึงเปดสําหรับทั้งชาวยิวและคนตางศาสนาอยางเทาเทียมกัน โดยปราศจากการ แบงแยก ตอมา พระศาสนจักรไดทําสังคายนาครั้งแรกที่กรุงเยรูซาเล็ม เพื่อแกไขปญหาความขัดแยงนี้ (เทียบ กจ 15:135) กอนที่สังคายนาจะเริ่มขึ้น นักบุญเปโตรก็ไดรับนิมิตซึ่งทําใหทาน มั่นใจวาทรรศนะของนักบุญเปาโลนั้นถูกตอง (เทียบ กจ 10:9-16) พี่นองที่รัก แมวาจะมีความแตกตางกันหลายอยาง? อะไรที่รวมอัครสาวกผูยิ่งใหญสองคนนี้เขาดวยกัน ไมใชสิ่งใดอื่น นอกจากความรักที่เต็มเปยมรอยเปอรเซ็นตเต็ม ที่ทานทั้งสองมีตอพระเยซูเจาและพระศาสนจักรของพระองค ความจริงนี้ สําคัญยิ่งสําหรับเราแตละคน แมวาเราแตละคนมีความแตกตางกันหลายอยาง สิ่งหนึ่งที่เราตองจดจําไวเสมอคือ เราตองมุง ความสนใจของเราไปที่พระเยซูเจาและพระศาสนจักรซึ่งเปนของประทานล้ําคาสําหรับเรา เปนพันธสัญญาใหมที่คงอยูถาวร ตลอดไป ถาเราตองถกเถียงเพราะความคิดเห็นแตกตางกันไมวาจะเปนเรื่องราวในพระศาสนจักรหรือในสังคมปจจุบัน เราควร ถามตัวเองเสมอวา ทาทีหรือแนวความคิดของเราชวยเราและคนอื่นใหรักพระเยซูเจาและพระศาสนจักรมากขึ้นหรือไม เราไม สามารถละทิ้งความจริงเพื่อไปยึดติดกับความคิดเห็นสวนตัวของเราใหเราพยายามเลียนแบบอยางชีวิตของนักบุญเปโตรและ นักบุญเปาโล ใหพระเยซูเจาเปนศูนยกลางชีวิตของเราเหมือนที่พระองคทรงเปนทุกสิ่งทุกอยางสาหรับทานนักบุญทั้งสอง

ขอพระเจาอวยพรพี่นองทุกคน พระสังฆราชยอแซฟ ลือชัย ธาตุวิสัย ประมุขสังฆมณฑลอุดรธานี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.