16 2 58

Page 1

สธ.เร่งผลิตนักระบาดวิทยาเพิม่ อีก 350 คนใน 10 ปี

ปี ที่ 41 ฉบับที่ 10921 วันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ราคา 5 บาท

ปรับลดการขยายตัว ศก.ปี นี้ เหลือ 3%

สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชด�ำเนินไปทรงเปิด นิทรรศ การและมัลติมีเดีย ยามาดะ นางา มาสะ และท้าวทองกีบม้า บุคคล ส�ำคัญชาวญี่ปนที ุ่ ่มีบทบาทในราช ส�ำนักอยุธยา ในการนี้ กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร รมว.การท่องเที่ยว และกีฬา เฝ้ ารับเสด็จ ณ หมู่บา้ น ญี่ปนุ่ จ. พระนครศรีอยุธยา เมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ์

ภัยแล้งวิกฤติ ที่สุดใน 15 ปี

สัง่ ลดพื้ นที่ปลูกนาปรัง 50% กรอ.หารืออาชีวะแก้ขาดแคลนแรงงาน

พล.ต.บรรเจิด ฉางปูนทอง ผบ.กกล.ผาเมือง เป็ นประธานฯ ร่วมกับมูลนิธิอนุรกั ษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด และ ฉก.ม.2 จัดกิจกรรม มอบผ้าห่ มกันหนาวให้ กบั ราษฎร์ ที่ประสบภัยหนาว จ�ำนวน 500 ผืน ณ บก.ควบคุม ฉก.ม.2 อ.แม่ฟ้า หลวง จว.ชร. มีผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ประมาณ 500 คน เมื่อเร็วๆนี้

ผลิตก�ำลังคนเพิม่ ให้ตรงกลุม่ อุตฯ

ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรกั ษ์ เลขา ธิ การคณะกรรมการอาชี ว ศึ ก ษา (กอศ.) เปิดเผยภายหลัง การประชุมคณะ กรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.) เพือ่ พัฒนาก�ำลังคนอาชีวศึกษา ว่า ได้ม ี การน�ำเสนอตัวเลขความต้องการแรงงาน ภาคเอกชน ซึง่ พบว่าภาคอุตสาหกรรม และบริการต้องการแรงงาน เพิม่ หลาย แสนคน แต่ก�ำลังการผลิตก�ำลังคนสาย อาชีพของรัฐ และเอกชน ยังห่างไกล

ดัชนีความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ม.ค.ลดลง ชาวบ้านวิตก ศก.ไม่ฟื้นจริง-สินค้าเกษตรตกต�ำ่

นายธนวรรธน์ พลวิ ชยั ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิ จและธุรกิ จ มหาวิทยาลัยหอการ ค้าไทย เปิดเผยถึงผลส�ำรวจความเชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคเดือน ม.ค.58 ว่า ปรับตัว ลดลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 80.04 จากระดับ 81.1 ในเดือน ธ.ค.57 ดัชนีความเชือ่

มันของผู ่ บ้ ริโภคในปจั จุบนั อยูท่ ่ี 60.7 ลดลงจาก 61.2 และดัชนีความเชื่อ มันในอนาคตและดั ่ ชนีความเชื่อมัน่ ในอนาคตอยูท่ ่ี 87.7 ลดลงจาก ขณะ ทีด่ ชั นี ความเชือ่ มันเกี ่ ย่ วกับเศรษฐกิจ โดยรวมอยูท่ ่ี 69.7 ลดจาก70.5 ดัชนี ความเชื่อมันเกี ่ ่ยวกับโอกาสการหา

ส� ำ นั ก ข่ า วต่ า งประเทศ รายงานผลการอ้างอิ ง ขององค์การ สหประชาชาติ เพื่ อ ความร่ว มมื อ ด้ า นกิ จ การมนุ ษ ยธรรมว่ า เงิ น บริ จาคจากประเทศต่างๆ เพื่อช่วย สู้วิกฤติ ไวรัสอีโบลาในทวีปแอฟริกา ตะวันตก เกิ ดขึ้น 40% คือ 1,090 ล้านเหรียญ จากเป้ าหมาย 2,900 ล้านเหรียญหรือ 87,000 ล้านบาท

ศธ.เร่งท�ำยุทธศาสตร์ระบบการผลิตครู

ใช้ระบบปิ ด-ปรับหลักสูตรเน้นสาขาขาดแคลน

ดร.สุ ท ธศรี วงษ์ ส มาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิ การ เปิดเผย ว่า จากการประชุมกระทรวงศึกษาธิการ(ศธ.) ที่ประชุมได้รบั ทราบร่าง ยุทธศาสตร์ และมาตรการเพือ่ การ ผลิตและพัฒนาครู ของ สกศ.และแนว ทางแก้ไขปญั หาและการปฏิรปู ระบบ

กรมชลฯยืนยันแหล่งเศรษฐกิจภาคอีสาน ไม่มปี ัญหาขาดแคลนน�้ำในพื้ นทีเ่ พาะปลูก

ข่าวล่ า สหประชาชาติเผย เงินบริ จาคอีโบล่า พลาดเป้ า 8.7 หมื่น ล.

งานท�ำ อยูท่ ่ี 74.1 ลดลงจาก 74.6 และ ดัชนีความเชือ่ มันต่ ่ ออนาคตอยูท่ ่ี 87.4 ลดจาก 98.3 สาเหตุจากดัชนีความ เชือ่ มันผู ่ บ้ ริโภคกลับมาลดลง เพราะ คนยังกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจไทยที่ ได้รบั ผลกระทบจากความผันผวนของ เศรษฐกิจโลก ราคาสินค้าตกต�่ำ

นายวิโรจน์ โกวัฒนะ อธิ บดี กรมชลประทาน กล่าวว่า ทีผ่ า่ นมา ปริมาณน�้ ำฝนน้ อยกว่าค่าปกติมาก ในเกือ บทุ ก ภาคของประเทศท�ำ ให้ น�้ ำต้นทุนในอ่างเก็บน�้ ำต่างๆ มีน้อย อยู่ในระดับต�่ำที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 15 ปี ซึง่ ในภาพรวมมีปริมาณน�้ ำใช้ การในป จั จุ บ ัน อยู่ ท่ี 19,470 ล้า น ลูกบาศก์เมตร(ลบ.ม.) มีการใช้น้�ำวัน ละ 66 ล้าน ลบ.ม. รวมใช้น้� ำถึงสิน้ ฤดูแล้ง วันที่ 30 เม.ย.58 ปริมาณ 5,819 ล้าน ลบ.ม.จะเหลือน�้ ำ เมื่อ สิน้ ฤดูแล้ง 13,651 ล้าน ลบ.ม. เป็ น

ปริมาณทีอ่ ยู่ในเกณฑ์ เพียงพอทีจ่ ะ สนับสนุ นการท�ำนาตามฤดูกาลปกติ ส่วนปริมาณน�้ำในภาคตะวันออก ทีถ่ อื เป็ นแหล่งเศรษฐกิจของประเทศ ทัง้ ด้านอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว นัน้ ที่ จ.ชลบุรี ใช้น้�ำจากอ่างเก็บน�้ำ 7 แห่ง รวมปริมาณน�้ำใช้การอยูท่ ่ี 74 ล้าน ลบ.ม.มีการใช้น้�ำวันละ 390,000 ลบ.ม. จะมีน้� ำเมื่อสิน้ ฤดูแล้ง 40.46 ล้า น ลบ.ม.ซึ่ง มีเ พีย งพอต่ อ การใช้ ในพืน้ ที ด้านนายปราณีต ร้อยบาง อธิบดีกรมทรัพยากรน�้ำบาดาล กล่าว ว่า กรมฯได้เตรียมพร้อมป้องกันและ

ความต้องการดังกล่าว โดยสภาอุตฯระบุ ว่า ภายในปี 2560 กลุม่ อุตสาหกรรม 14 สาขา ต้องการแรงงานเพิม่ อีก 6.8 แสน คน ขณะทีผ่ ลิตก�ำลังคนได้ปีละ 3.5 หมืน่ คน สภาอุตฯท่องเทีย่ วต้องการแรงงาน เพิม่ ปีละ 2 แสนคน แต่ผลิตได้ปีละ 1,500 คน ส่วนกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และ ชิน้ ส่วนมีแผน เพิม่ ก�ำลังการผลิตรถยนต์ ในประเทศเป็ นปีละ 3.5 ล้านคัน ต้องการ ก�ำลังเพิม่ 1.3 แสนคนภายใน 5 ปี

บรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน จากปญั หาภัยแล้ง โดยระดมก�ำลังทัง้ ด้านบุคลากร เครือ่ งจักร และอุปกรณ์ ในการให้ความช่วยเหลือ ในพืน้ ทีใ่ น พืน้ ทีป่ ระสบภัยแล้ง ประกอบด้วย ชุด เจาะน�้ำบาดาล ชุดเปา่ ล้างท�ำความ สะอาดบ่อน�้ำบาดาล รถปรับปรุงคุณ ภาพน�้ ำ จุดจ่ายน�้ ำถาวร และระบบ น�้ ำดื่มสะอาดในโรงเรียนทัวประเทศ ่ นอกจากนี้ ยังมีความพร้อมในการจ่าย น�้ำบาดาลเพือ่ แก้ไขปญั หาขาดแคลน น�้ำอุปโภคบริโภค จ�ำนวน 305 แห่ง เพือ่ ให้มบี ริโภคเพียงพอตลอดฤดูแล้ง

ผลิ ต และพัฒ นาครู ข องส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการอุดมศึกษา(สกอ.) ที่ เสนอให้ป รับ ระบบการผลิต ครูเ ป็ น ระบบปิ ด เพื่อ ผลิต ครูใ ห้ม คี ุณ ภาพ และสอดคล้องกับความต้องการโดย ดูความต้องการครูท่ชี ดั เจนในแต่ละ สาขาวิช าแล้ว ผลิต ให้ต รงกับ ความ

ั หาเกิน ต้อ งการ เพื่อ ไม่ ใ ห้เ กิด ป ญ ปริมาณ นอกจากนี้ ต้องก�ำหนดผล สัมฤทธิ ์ ของเด็กตัง้ แต่ระดับปฐมวัย จนถึง ม.ปลาย รวมทัง้ อาชีวศึกษา เพื่อ ผลิต ครูใ ห้เหมาะสม และสอดคล้อง พร้อมทัง้ เปิดโอกาสให้ผมู้ คี วาม สามารถในวิชาทีข่ าดแคลนมาเป็ นครู

สธ.เร่ งพัฒนาคนด้านระบาดวิทยา รับมือเชื้ ออุบตั ใิ หม่หลังเปิ ดเออี ซี

ศ.นพ.รัชตะ รัชตะนาวิ น รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กล่าวว่าปจั จุบนั ระบบนิเวศวิทยา ทัว่ โลก เปลี่ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ว ท�ำให้เชื้อโรคมีการปรับตัว เพื่อความ อยู่ร อด และมีค วามเสี่ย งที่อ าจมีโ รค ติดต่อตัวใหม่ๆ เกิดขึน้ ในโลกตามมา อีก อาจจะมีตน้ ตอมาจากสัตว์ปา่ สัตว์ เลีย้ ง หรือคนก็ได้ โดยเฉพาะหลังจาก การเปิ ดประชาคมอาเซียนในปลายปี นี้ อาจเพิม่ ความเสี่ยงเกิดโรคระบาด ทีไ่ ทยควบคุมได้ส�ำเร็จแล้ว ซึง่ ในรอบ 13 ปีประเทศไทยมีประสบการณ์รบั มือ เชื้อ โรคอัน ตรายตัว ใหม่ ซึ่ง ล้ว นเป็ น เชือ้ ไวรัสเป็ นผลส�ำเร็จจนเป็ นทีย่ อมรับ

ระดับโลก เช่น โรคซาร์ส ไข้หวัดนก ไข้ หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่ 2009 และอีโบ ั ลา เป็นต้น เครือ่ งมือทีท่ ำ� ให้แก้ไขปญหา ทางสุขภาพได้สำ� เร็จของไทยคือความ รูค้ วามเชื่ยวชาญด้านระบาดวิทยา ซึง่ เป็นสิง่ ส�ำคัญในการค้นหาปญั หาสาเหตุ และปจั จัยความเสีย่ งต่างๆ ในการเกิด โรค ทีผ่ า่ นมา นักระบาดไม่เพียงพอ จึง จ�ำเป็นต้องเร่งด�ำเนินการผลิตนักระบาด วิทยา เนื่องจากปจั จุบนั ประเทศไทย มีแ พทย์ เ ชี่ย วด้ า นการระบาดวิท ยา ภาคสนามเพียง 128 คน ร้อยละ 60 ปฏิบตั งิ านในต่างจังหวัดเฉลีย่ 1 คนต่อ ประชากร 350,000 คน ซึ่งยังต�่ำกว่า มาตรฐานโลก


saiklang

2 ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )


saiklang

ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

กรรมการ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

3


saiklang

4 ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )


saiklang

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

5


saiklang

6 ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )


saiklang

ประกาศ

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

ประกาศ ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

7


saiklang

8 ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )


saiklang

ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

9


saiklang

10 ประกาศ

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )


saiklang

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

ประกาศ ( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

ประกาศ

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 ) ( ลง 16 ก.พ. 58 )

ประกาศ

ประกาศ

( ลง 16 - 18 ก.พ. 58 )

( ลง 16 ก.พ. 58 )

11


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.