ARCHITECTURE IN TRACDE ROUTE DOI SAKET

Page 1

BE 25002530

ARCHITECTURE IN TRACDE ROUTE DOI SAKET

1


2


3

SLOWLIFE IN DOI SAKET


THE CHANGE OF TRACDE ROUTE DOI SAKET

4

อำ � เภอดอยสะเก็ ด เป็ น อำ � เภอที่ มี เ นื้ อ ที่ ติ ด กั บ จั ง หวั ด เชียงรายเป็นเมืองท่าสำ�หรับทางขึ้นเหนือจึงมีความเจริญ รุ่งเรืองในการแลกเปลี่ยนซื้อขายต่างๆและเป็นทางผ่านที่ จะเข้าสู่เวียงเชียงใหม่ทำ�ให้มีการตั้งรกรากถิ่นฐานเกิดขึ้น ลั ก ษณะทางภู มิ ศ าสตร์ คื อ เป็ น ทางราบบริ เ วณเนิ น เขาซึ่ ง ทำ�ให้ที่อยู่มีลักษณะที่แตกต่างกันไปในอำ�เภอดอยสะเก็ด ใน ช่วงปี พ.ศ.2500 จนถึงปี พ.ศ.2530 จะเป็นช่วงที่มีการสร้าง บ้ า นด้ ว ยไม้สักทั้ ง หลั งบางหลั ง คาเรือนจะมียุ้ ง ฉานที่ สร้ า ง ในปีเดียวกันด้วยส่วนใหญ่นั้นจะมีอาชีพเกษตรกรรมทำ�ให้ ดอยสะเก็ดเป็นเมืองที่มีการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยน


โครงสร้างสัณฐานเมืองดอยสะเก็ดถูกพัฒนาขึ้นบนเงื่อนไข ของกิจกรรมทางการค้าบนรอยต่อระหว่างเมือง มีเส้นทางการ ค้าโบราณเป็นโครงข่ายเชื่อมเศรษฐกิจในช่วงเริ่มแรกจนปีพ.ศ. 2485กลุ่มพ่อค้าชาวจีนเข้ามามีบทบาททางการค้าส่งผลให้ เกิดการก่อสร้างสถาปัตยกรรมเพื่อการค้าเช่นเรือนแถวค้าขาย ซึ่งกระจุก ตัวอยู่บริเวณตลาดผดุงดอยแดน (ตลาดดอยสะเก็ด) และแผ่ขยายไปตามเส้นทางวัวต่างม้าต่างเดิมซึ่งเป็นถนนสาย เศรษฐกิจและทางสัญจรหลักของเมือง แต่หลังจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1

การพัฒนาเส้นทางคมนาคมที่เป็นเส้นทางสัญจรหลักมาก 5 ขึ้น จนเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจสังคม ของเมืองหลักในส่วนภูมภิ าค ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูป แบบการใช้งานของย่านการค้าและรูปแบบ สถาปัตยกรรมเพื่อ การค้าให้สอดคล้องกับแนวทางการเติบโตของเมือง ปรากฎ การณ์ดังกล่าวไม่เพียงแต่จะส่งผลต่ออาคารซึ่งถือเป็นหน่วย ย่อยของเมือง หากแต่ยังส่งผลต่อเนื่องถึงลักษณะทางกายภาพ โดยรวมและโครงสร้ า งสั ณ ฐานของเมื อ งดอยสะเก็ ด ให้ มี คุณลักษณะดังเช่นที่เห็นในปัจจุบัน

เพื่อผลักดันการเกษตรเชิงพาณิชย์อาคารพาณิชย์ทันสมัย ที่สร้างด้วยโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กได้เริ่มถูกสร้างขึ้น ในช่วงเวลานี้เช่นกันและเริ่มมีจํานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องหลัง จากที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 5 พ.ศ. 2525-2529 เริ่มใช้ได้ทําให้เกิดการวางแผนและพัฒนาพื้นที่ ใช้สอยภายในเมืองดอยสะเก็ด

จึงท�ำให้ในปัจจุบันมีการลื้อและสร้างใหม่เป็นส่วนมากจึงท�ำให้ มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส�ำรวจและบันทึกข้อมูลเป็น หลักฐานที่เหลืออยู่เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาและเข้าใจ วัตถุประสงค์ของลักษณะการสร้างในขณะนัน้ เพื่อเป็นข้อมูลใน การศึกษาต่อไปในอนาคต

คุณยายปราชญ์ชาวบ้าน กับการสังเกตุการเปลี่ยนแปลง ของถนนเส้นทางการค้า ดอยสะเก็ด


6

“BACKGROUND ARCHITECTURE TRACDE ROUTE IN DOI SAKET”


7

ภูมิหลังงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในภาคเหนือและเขตอำ�เภอดอยสะเก็ด เส้นทางการค้าวัวต่างม้าต่าง ทางภาคเหนือของไทยในปัจจุบัน เชียงใหม่ เชียงราย ลำ�ปาง แพร่ น่าน แม่ฮ่องสอน ลำ�พูน และพะเยา เมื่อครั้งยังเป็นส่วน หนึ่งของอาณาจักรลานนาไทยในอดีตอยู่นั้น มีเส้นทางการค้าวัวต่างม้าต่าง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูง โดยชาวบ้านมีการทำ�การเกษตร ทำ�นา ทำ�ไร่ และเลี้ยง สัตว์ เพื่อใช้งานและบริโภค เมื่อหมดฤดูการเกษตรแล้วจะมีการใช้วัว ม้า ช้าง ฯ ในการติดต่อค้าขายระหว่างเมือง ระหว่างหมู่บ้าน และระหว่างชุมชน ระบบ คมนาคมยังไม่มีการพัฒนา ทำ�ให้การติดต่อเดินทางได้ยากลำ�บาก ภายหลังจึงได้มีการใช้เส้นทางร่วมกัน และได้เกิดเส้นทางการค้าขึ้น ในปี 2500 วัวต่างม้า ต่างเริ่มลดลง ระบบคมนาคมพัฒนา เชียงใหม่ได้เป็นศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้าและการติดต่อต่างๆ เส้นทางดอยสะเก็ดเป็นจุดพักก่อนที่จะเข้าและ ออกเมืองเชียงใหม่ ไปสู่เวียงป่าเป้า พะเยา เชียงแสน เชียงตุง และเชียงรุ้ง อำ�เภอดอยสะเก็ด เป็นอีกหนึ่ง พื้นที่ที่มีศักยภาพเทียบเท่าเมืองบริวารอื่นๆโดยมีเส้น ทางการค้าที่เข้าสู่เมืองหลักของจังหวัดเชียงใหม่ และมีความสัมพันธ์ด้านประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจการค้ามาระยะเวลา ช้านานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และ อาจกล่าวได้ว่าเมืองดอยสะเก็ดเป็นอีกเมืองหนึ่งที่มีบทบาทในการขับเคลื่อนความเจริญเติบโตของเมืองเชียงใหม่สําหรับการเกิดขึ้นของเมืองบริวารในบริบท จารีตดั้งเดิมของเชียงใหม่นั้น แต่ละเมืองถือกําเนิดและมี พัฒนาการรูปแบบของตนเอง ทว่าต่อมาเมื่อสยามได้เข้ามามีบทบาทด้านการปกครองและการบริหาร จัดการ ส่งผลให้ มีการกําหนดบทบาทหน้าที่ของเมืองแต่ละเมืองใหม่ ตลอดจนลดทอนอํานาจการปกครองท้องถิ่นเดิมลง ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นเมืองขนาดรองที่ทํา หน้าที่ป้องกันการรุกรานของข้าศึกและตลอดจนเป็นที่พํานักของราชวงศ์ โดยความสัมพันธ์กับ เมืองหลักด้านอื่นๆ นั้นมีน้อยมาก นอกจากการผลิตเพื่อส่งส่วย ให้เท่านั้นความเข้าใจในปัจจัยและอิทธิพลอันเกิดจากลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ที่ส่งผลต่อกําเนิด และพัฒนาการของเมืองหลัก-เมืองบริวาร ตลอดจนองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมเมืองที่ถูกสร้างขึ้น จะช่วยสร้าง ความเข้าใจในกระบวนการของกําเนิดและพัฒนาการของเมือง ในกรณีศึกษานี้ ได้ ศึกษา “เมืองดอยสะเก็ด” ซึ่งเป็น เมืองบริวารของเมืองเชียงใหม่ซึ่งทําหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการรับ-ถ่ายทรัพยากรต่างๆ ของผู้คนหลากเชื้อชาติ และ ภูมิหลัง ทางวัฒนธรรมว่า ภายใต้คําถามของการศึกษาว่า ในการกําหนดโครงสร้างและสัณฐานของเมือง ตลอดจนการ จัดระเบียบองค์ประกอบของสถาปัตยกรรม เมือง ลักษณะทางกายภาพ และบทบาทของเมือง ดอยสะเก็ดมีลักษณะ อย่างไร ตลอดจนมีความสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเมืองที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน มากน้อยเพียงใด ในช่วงปี พ.ศ.2500 จนถึงปี พ.ศ.2530 จะเป็นช่วงที่มีการสร้างบ้านด้วยไม้สักทั้งหลัง บางหลังคาเรือนจะมียุ้งฉานที่สร้างในปีเดียวกันด้วย ส่วนใหญ่นั้นจะมีอาชีพเกษตรกรรม ทำ�ให้ดอยสะเก็ดเป็นเมืองที่มีการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนมาโดยตลอด โครงสร้างสัณฐานเมืองดอยสะเก็ดถูกพัฒนาขึ้น บนเงื่อนไขของกิจกรรมทางการค้าบน รอยต่อระหว่างเมือง มีเส้นทางการค้าโบราณเป็นโครงข่ายเชื่อมเศรษฐกิจในช่วงเริ่มแรก จนปีพ.ศ.2485 กลุ่มพ่อค้า ชาว จีนเข้ามามีบทบาททางการค้า ส่งผลให้เกิดการก่อสร้างสถาปัตยกรรมเพื่อการค้า เช่น เรือนแถวค้าขาย ซึ่งกระจุก ตัวอยู่บริเวณตลาดผดุงดอยแดนและแผ่ ขยายไปตามเส้นทางวัวต่างม้าต่างเดิมซึ่งเป็นถนนสาย เศรษฐกิจและทางสัญจรหลักของเมือง


8


9

THE OLD MARKET


10

EC DEVEL


11

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504-2509 ได้ถูกเริ่มใช้รัฐได้เข้ามามีมีบทบาทสําคัญในการวางแผนพัฒนาระบบโครงข่ายเส้นทาง สัญจรและระบบชลประทาน ของเมืองมากขึ้นเพื่อผลักดันการเกษตรเชิงพาณิชย์อาคารพาณิชย์ทันสมัยที่สร้างด้วยโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ได้เริ่มถูกสร้าง ขึ้นในช่วงเวลานี้เช่นกันและเริ่มมีจํานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลังจากที่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 5 พ.ศ.2525-2529 เริ่มใช้ได้ ทําให้เกิด การวางแผนและพัฒนาพื้นที่ใช้สอยภายในเมืองดอยสะเก็ด การพัฒนาเส้นทางคมนาคม ที่เป็นเส้นทางสัญจรหลักมากขึ้น จนเกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจสังคมของเมืองหลักในส่วนภูมภิ าค ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้งานของย่านการค้าและรูปแบบ สถาปัตยกรรมเพื่อการค้าให้ สอดคล้องกับแนวทางการเติบโตของเมือง ปรากฎการณ์ดังกล่าวไม่เพียงแต่จะส่งผลต่อ อาคารซึ่งถือเป็นหน่วยย่อยของเมือง หากแต่ยังส่งผลต่อเนื่องถึงลักษณะ ทางกายภาพโดยรวมและโครงสร้างสัณฐาน ของเมืองดอยสะเก็ดให้มคี ุณลักษณะดังเช่นที่เห็นในปัจจุบัน

CONOMIC LOPMENT PLAN


12

“CONCEPT OF

VERNACULAR

ARCHITECTURE”


13

แนวคิดของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของอำ�เภอดอยสะเก็ด ดอยสะเก็ด กลุ่มวัฒนธรรมไตยวน นอกจากวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและความเชื่อแล้ว คือภูมิปัญญาที่เกี่ยว เนื่องกับระบบนิเวศวิทยาของสังคม เกษตรกรรม เพราะจะพบเห็นว่าลักษณะเด่นทางกายภาพของบ้านและหมู่บ้านไตยวน คือความร่มรื่นและเขียวชอุ่ม ลักษณะ ทางนามธรรมของวัฒนธรรมไตยวนส่งผลถึงการการตั้งถิ่นฐานทางกายภาพด้วย หลังจากการคมนาคมได้พัฒนาขึ้น ทำ�ให้มีการอพยพมาตั้งถิ่นฐานเป็นจำ�นวน มาก แต่ส่วนใหญ่นั้นจะเป็นกลุ่มไตยวน โครงสร้างของผังบริเวณบ้านจะมีลักษณะทางกายภาพเหมือนกัน คือในแต่ละบ้านจะประกอบด้วยรั้วบ้าน ภายในรั้วจะ เข้าถึงลานหรือข่วงบ้าน ซึ่งอยู่บริเวณหน้าบ้าน บริเวณทางเข้าบ้านจะพบศาลพระภูมิและศาลจตุโลกบาล ตัวบ้านจะเป็นยุ้งข้าว โรงเลี้ยงสัตว์ โรงเก็บของต่างๆ หลังบ้านจะมีต๊อมอาบน้ำ� สวนครัวและสวนผลไม้ ท้ายบ้านริมรั้วจะพบหอเสื้อบ้าน ซึ่งเป็นศาลผีประจำ�บ้านเป็นผีบรรพบุรุษ ซึ่งศาลบนเสา 6 เสา พร้อมมีเครื่อง เซ่นสังเวย บ่อน้ำ�จะแตกต่างเพราะมีหลายบ่อ บ่อหน้าบ้านซึ่งใช้ชำ�ระล้างเท้าก่อนขึ้นบ้าน บ่อหลังบ้านใกล้ครัวและอาจมีบ่อใกล้ต๊อมอาบน้ำ� ใกล้สวนครัวอีก ก็ได้ รั้วบ้านของไตยวนมี 3 ประเภท คือ รั้วตาแสง เป็นรั้วไม้ไผ่สาน ตาสี่เหลี่ยมโตซึ่งสามารถใช้ปลูกไม้เลื้อยต่างๆ ได้สวยงาม รั้วตาแสงใช้เป็นรั้วชั่วคราวหรือ รั้วผสมกับพืชพันธุ์ไม้ ใหความเขียวชอุ่มก่อนเข้าถึงข่วงบ้าน รั้วประเภทที่สองคือ รั้วค่าวหรือรั้วตั้งป่อง เป็นรั้วไม้ที่ใช้ไม้ไผ่เป็นเคร่านอนสอดทะลุไม้ไผ่ที่เป็นเสา เป็นรั้วที่แสดงการกั้นอาณาเขตเท่านั้น ส่วนประเภทที่สามคือ รั้วสลาบ เป็นไม้ไผ่ขัดกันตามแนวตั้งทืบและแน่นหนา บางบ้านใช้ 2 ชั้น เพื่อความแน่นหนาและ ปลอดภัยมากขึ้น ลักษณะรั้วบ้านไตยวนนี้เมื่อมองทัศนียภาพต่อเนื่องของถนนในหมู่บ้าน จะให้ลักษณะเฉพาะที่แสดงถึงวัฒนธรรมและลักษณะทางนามธรรม ที่ลึกซึ้งมาก เพราะเรามองเห็นรั้วเตี้ยๆ ต่อเนื่องผนวกกับไม้ดอกไม้ประดับและไม้เลื้อยเกาะตามรั้วเป็นที่น่ารื่นรมย์ ข่วงบ้านก็เป็นจุดสำ�คัญในผังบริเวณบ้านที่ แสดงถึงวัฒนธรรมท้องถิ่นที่น่าสนใจ เพราะทุกบ้านจะมีข่วงบ้านกวาดเตียน สะอาด ร่มรื่น และเชื้อเชิญ ตัวบ้าน หากพิจารณาตามรูปลักษณะอาคารและวัสดุ ของบ้านไตยวน สามมารถแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ เรือนไม้บั่ว (ไม้ไผ่) และเรือนไม้จริง สำ�หรับเรือนไม้จริงนั้นโดยทั่วไปจะรู้จักกันในลักษณะของเรือนกาแล จัด อยู่ในประเภทเรือนคหบดีล้านนา มีความละเอียดอ่อนในเชิงช่าง และลักษณะตัวที่โดดเด่น แต่ในกลุ่มเรือนไม้จริงยังมีเรือนอีกลักษณะหนึ่งเป็นเรือนแบบชาวบ้าน ที่มีลักษณะผสมระหว่างรูปแบบของเรือนกาแลและเรือนไม้บั่วซึ่งมีทั้งเรือนเดี่ยวและเรือนแฝด ตัวอย่างกรณีศึกษาบ้านไตยวนที่ดอยสะเก็ดนี้จะเป็นเรือนไม้บั่ว และเรือนไม้จริงมิใช่เรือนกาแล เปรียบเทียบในกลุ่มเรือนชาวบ้านด้วยกัน บ้านไตยวนจะมีองค์ประกอบพื้นฐานเหมือนกันคือเป็นเรือนใต้ถุนสูง ชั้งล่างโล่งใช้งาน อเนกประสงค์ บันไดขึ้นเรือนถ้าเป็นเรือนไม้บั่วหรือเรือนไม้จริงแบบชาวบ้านที่ได้รับอิทธิพลจากเรือนกาแล จะเป็นบันไดขึ้นใต้ชายคาไปถึงชานนาหน้าบ้าน และ ต่อด้วยเติ๋นที่เป็นบริเวณโล่งมีฝากั้นด้านเดียว บริเวณเติ๋นเป็นส่วนใช้งานอเนกประสงค์ จั่วบ้านหันไปทางทิศเหนือใต้ ทำ�ตัวเรือนด้านยาวหันไปทางทิศตะวันออก ตะวันตก ไตยวนถือว่าการหันหน้าจั่วไปทางทิศตะวันออกตะวันตกเป็นการอัปมงคล


DOI SAKET CLASSIC TOWN

14

ซึ่งถ้าพิจารณาตามสภาพดินฟ้าอากาศแล้ว เรือนในแถบนี้ต้องต้องการแสงแดดในช่วงหน้าหนาว ถ้าเติ๋นซึ่งใช้ งานอเนกประสงค์หันไปทางทิศใต้ท้งิ ชายคาคลุมยาวกันแดดฝนได้ จะท�ำให้การใช้สอยคล่องตัวขึ้น และอีก ประการหนึ่งเมื่อพิจารณาทิศทางของการวางแกนหลักของศาสนสถานไตยวนจะพบว่าแกนหลักของวัดอัน ประกอบด้วยซุ้มโขง วิหาร เจดีย์ จะอยู่ในแนวแกนตะวันออกตะวันตก ต่างกับแกนของศาสนสถานของคนไทย ภาคกลาง ดังนั้นการวางจั่วบ้านจึงพยายามเลี่ยงไม่ให้ซ�้ำกับการวางทิศทางของวัดบริเวณเติ๋นนี้เราจะพบร้านน�้ำ ดื่ม ซึ่งเป็นชั้นสูงจากพื้นประมาณ 80 เซนติเมตร วางหม้อน�ำ้ พร้อมกระบวย เพื่อตอนรับแขกผู้มาเยือนและใช้ ดื่มเองด้วย ที่ว่าเติ๋นเป็นพื้นที่อเนกประสงค์เพราะใช้ทั้งพักผ่อน รับแขก ที่นอนส�ำหรับลูกชายหรือพ่อและยังใช้ เป็นที่ตั้งศพเวลามีคนในบ้านตายลงด้วย บริเวณเพดานของเติ๋นมักห้อยโครงไม้ตารางจากโครงหลังคาเพื่อเก็บ ของเครื่องใช้ โดนเฉพาะคนโทน�้ำและของใช้อ่นื ๆ โครงนี้เรียกว่า ควั่น ด้านทิศตะวันออกของเติ๋นจะเป็นหิ้งพระ ซึ่งยื่นเป็นชัน้ ออกไปนอกแนวฝาบ้าน เมื่อมองจากภายนอกจะเห็นเป็นกล่องยื่นจากตัวบ้านติดกับบริเวณหิ้งพระ ชาวบ้านนิยมแขวนภาพสัญลักษณ์ปีเกิด ตัว เปิ้ง และสัญลักษณ์พระธาตุประจ�ำปีเกิดเพื่อ สั ก การบู ช าไปพร้ อ มๆกั น เวลาไหว้ พ ระด้ ว ย ตามแบบแผนของการสร้างบ้านไตยวน ที่ต�ำ แหน่งเติ๋นอยู่ทางทิศบังคับคือทิศใต้น้ี ท�ำให้ ส่วนใหญ่ใช้งานประจ�ำของบ้านมีความอบอุ่น ตลอดเวลา


ตลอดเวลา ถัดจากเติ๋นจะเป็นห้องนอน ซึ่งเป็นส่วนที่เป็นสัดส่วนเฉพาะของ 15 บ้าน ห้องนอนจะเป็นห้องปิด 4 ด้าน ป้องกันอากาศหนาวเย็นและเพื่อความ ปลอดภัย สมาชิกในบ้านจะนอนรวมกันในห้องซึ่งยาวตามขนาดของจ�ำนวน ช่วงเสาเรือน บริเวณห้องนอนมีประตูต่อเนื่องกับส่วนนอก 2 ประตู ประตู หนึ่งติดกับเติ๋น อีกประตูหนึ่งติดกับครัวไฟ ถ้าเป็นเรือนไม้บั่วครัวไฟ ถ้าเป็น เรือนไม้บั่วครัวไฟจะไม่แยกต่างหากแต่ถ้าเป็นเรือนไม้จริง ครัวไฟแยกเป็น สัดส่วนต่างหาก เหนือวงกบด้านบนจะติด ห�ำยนต์ ซึ่งเป็นไม้แผ่นเดียวแกะ สลักเพื่อเป็นเครื่องรางหรือยันต์กันสิ่งชั่วร้ายมาสู่ภายใน ในปัจจุบันชาว บ้านนิยมติดรูปเคารพอื่นๆ ใกล้ๆ ห�ำยนต์ด้วย อาทิ สัญลักาณ์วันเกิดปีเกิด รูปพระอรหันต์ต่างๆและที่ขาดไม่ได้แทบทุกบ้านคือพระบรมฉายาลักษณ์ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุหัวและพระราชวงศ์บริเวณประตูนี้นอกจาก ติดห�ำยนต์แล้วมักยกธรณีประตูข้นึ สูง “ข่มประตู” ซึ่งแสดงถึงส่วนเฉพาะ ของบ้านใครล่วงล�ำ้ เข้าไปจะถือว่าผิดผีถ้าคนนั้นไม่ใช่คนใกล้ชดิ ในห้องนอน ช่วงในสุดของห้องนอนจะเป็นส่วนของเจ้าของบ้านและต่อมาด้วยลูกที่แต่งงานแล้ว จะแบ่งการนอนเป็นส่วนสัดเรียงจากในมาถึงนอก การนอนใช้ปูเสื่อและฟูก และจะถึงลูกสาว ส่วนลูกชายนอนที่เติ๋นหรือบางบ้านทั้งพ่อและลูกชายนอนที่เติ๋น ให้ บนพื้นกางมุ้งลักษณะเดียวกับบ้านไตลื้อ แม่และลูกสาวนอนในห้อง ฝาเรือนส่วนห้องนอนหลักนี้ ฝาด้านยาวจะเป็นฝาตรง การใช้สอยในห้องนอนแบ่งเป็นสองส่วนคือส่วนนอนและส่วนเก็บของ เช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ส่วนหลังนี้จะอยู่ปลายเท้าเรือนไตยวนมีลักษณะพิเศษตรงส่วนต่อเนื่อง ระหว่างส่วนนอนและครัว คือช่วงตามยางของห้องนอนและห้องครัวจะมีการวาง พาดไม้กระดานแผ่นเดียวทอดตลอด เพื่อแบ่งพื้นที่ต่อเนื่องระหว่างห้องนอนและห้อง ครัวกระดานนีเรียกว่า “แป้นต้อง” ซึ่งใช้ส�ำหรับเดินตามยาวออกไปนอกห้องโดยไม่ กระเทือนถึงคนภายในที่ยังนอนอยู่เป็นลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของบ้านไตยวน ไม่ว่า จะเป็นเรือนชาวบ้านหรือเรือบคหบดีก็ตาม ส�ำหรับเรือนไม้บั่วซึ่งส่วนใหญเป็นเรือน เดี่ยวไม่แยกครัวต่างหาก


16

LIFE STYLE DOI SAKET


17


18

บางพื้นที่เช่นที่ดอยสะเก็ดเชียงใหม่มีหลายหลังที่ต่อปีกออกจากตัวบ้านแบบ มุมฉากแทนที่จะเป็นเรือนแฝด ซึ่งให้ลักษณะที่น่าสนใจทางสถาปัตยกรรมอีก ประการหนึ่ง ปีกที่ต่อชนกับเรือนใหญ่ใช้เป็นครัว และยังทิ้งชายคาครัวลงไป คลุมหลองข้าว(เยข้าว) ในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับครัวไฟได้ด้วย ลักษณะดัง กล่าวสนองการใช้สอยได้อย่างดียิ่ง บริเวณครัวไฟของเรือนไตยวนจะมีชั้นวาง น�ำ้ ใช้ที่เรียกว่าหม้อน�้ำซัว อยู่ด้วย ในบริเวณครัวไฟหรือแม่เตาไฟนี้มักมีบันได เฉพาะเพื่อไปตักน�้ำจากบ่อหลังบ้าน เครื่องใช้ในครัวไฟของบ้านไตยวนก็คล้าบ คลึงกับของไตใหญ่และไตลื้อคือยกกระบะแม่เตาไฟจากพืน้ ครัว ซึ่งเป็นฟากไม้ บั่วส�ำหรับเรือนไม้จริงนั้นโดยทั่วไปมักจะรู้จักกันในลักษณะของเรือนกาแล จัด อยู่ในประเภทคหบดีล้านนา มีความละเอียดอ่อนในเชิงช่าง และลักษณะเฉพาะ ตัวที่โดดเด่นแต่ในกลุ่มเรือนไม้จริงยังมีเรือนอีกลักษณะหนึ่งป็นเรือนแบบชาว บ้านที่มีลักษณะผสมระหว่างรูปแบบของเรือนกาแลและเรือนไม้บั่วซึ่งมีทั้งเรือน เดี่ยวและเรือนแฝด ตัวอย่างกรณีศึกษาบ้านไตยวนที่ดอยสะเก็ดนี้จะเป็นเรือน ไม้บั่วและเรือนไม้จริงมิใช่เรือนกาแล เปรียบเทียบในกลุ่มชาวบ้านด้วยกัน บ้าน ไตยวนจะมีองค์ประกอบพื้นฐานเหมือนกันคือเป็นเรือนใต้ถุนสูงชั้นล่างใช้งาน อเนกประสงค์บันไดขึ้นเรือนไม้บั่วหรือเรือนไม้จริงแบบชาวบ้านที่ได้รับอิทธิพล จากเรือนกาแลจะเป็นบันไดขึ้นใต้ชายคาไปถึงชานหน้าบ้าน และต่อด้วยเติ๋นที่ เป็นบริเวณโล่งมีฝากั้นด้านเดียวบริเวณเติ๋นเป็นส่วนใช้งานอเนกประสงค์

จั่วบ้านหันไปทางทิศเหนือใต้ท�ำให้ตัวเรือนด้านยาวหันไปทางทิศตะวันออก ตะวั น ตกไตยวนถื อ ว่ า การหั น จั่ ว ไปทิ ศ ตะวั น ออกและตะวั น ตกเป็ น การ อัปมงคล ซึ่งถ้าพิจารณาตามสภาพดินฟ้าอากาศแล้วเรือนในแถบนี้ต้องการ แสงแดดในช่าวงหน้าหนาวถ้าเติ๋นซึ่งใช้งานอเนกประสงค์หันไปทางทิศใต้และ ทิ้งชายคาคลุมยาวกันแดดฝนได้ จะท�ำให้การใช้สอยคล่องตัวขึ้น และอีก ประการหนึ่งเมื่อพิจารณาทิศทางของการวางแกนหลักของศาสนสถานไตย ยวนจะพบว่าแกนหลักของวัดอันประกอบด้วยซุ้มโขง วิหารเจดีย์ จะอยู่ ใน แนวแกนตะวันออกตะวันตกต่างกับแกนของศาสนาสถานของไทยภาคกลาง ดังนั้นการวางจั่วบ้านจึงพยายามเลี่ยงไม่ให้ซ�้ำแกนกับการวางทิศทางของวัด บริเวณเติ๋นจะพบร้านน�้ำดื่ม ซึ่งเป็นที่สูงจากพื้นประมาณ ๘o เซนติเมตร วาง หม้อน�ำ้ ดื่มพร้อมกระบวย เพื่อต้อนรับแขกผู้มาเยือนและใช้ด่มื เองด้วย ที่ว่า เติ๋นเป็นพื้นที่อเนกประสงค์เพราะใช้พักผ่อน รับแขกที่นอนอส�ำหรับลูกชาย หรือพ่อและยังใช้เป็นที่ตั้งศพเวลามีคนในบ้านตายลงด้วย บริเวณเพดานของ เติ๋นมักห้อยโครงไม้ตาตารางจากโครงโครงหลังคาเพื่อเก็บของเครื่องใช้ โดย เฉพาะคนโทน�ำ้ และของใช้อื่นๆ โครงนี้เรียกว่า ควั่น ด้านทิศตะวันออกของ เติ๋นจะเป็นหิ้งพระซ่งยื่นออกไปทางแนวฝาบ้าน เมื่อมองจากภายนอกจะเห็น เป็นกล่องยื่นจากตัวบ้านติดกับบริเวณหิ้งพระ ชาวบ้านนิยมแขวนภาพ สัญลักษณ์วันเกิด ตัวเปิ้ง และสัญลักษณ์พระธาตุประจ�ำปีเกิดเพื่อสักการ บูชาไปพร้อมๆกันเวลาไหว้พระด้วย

///


19 ตามแบบแผนของการสร้างบ้านไตยวนที่ต�ำแหน่งเติ๋นอยู่ทางทิศบังคับคือทิศใต้ นี้ ท�ำให้ ส่วนใช้งานประจ�ำของบ้านมีความอบอุ่นตลอดเวลา ถัดจากเติ๋นจะเป็นห้องนอน ซึ่งเป็น ส่วนที่เป็นสัดส่วนเฉพาะของบ้าน ห้องนอนจะเป็นห้องปิด 4 ด้าน ป้องกันอากาศหนาวเย็น และเพื่อความปลอดภัย สมาชิกในบ้านจะนอนรวมกันในห้องซึ่งยาวตามขนาดของจ�ำนวน ช่วงเสาเรือน บริเวณห้องนอนมีประตูต่อเนื่องกับส่วนนอก 2 ประตู ประตูหนึ่งติดกับเติ๋น อีกปะตูหนึ่งติดกับครัวไฟ ถ้าเป็นเรือนไม้บั่ครัวไฟจะไม่แยกต่างหาก แต่ถ้าเป็นเรือนไม้จริง คัวไฟแยกเป็นสัดส่วนต่างหาก เหนือวงกด้านบนจะติด ห�ำยนต์ ซึ่งเป็นไม้แผ่นเดียวแกะ สลักเพื่อเป็นเครื่องรางหรือยันต์กันสิ่งชั่วร้ายมาสู่ภายใน ในปัจจุบันชาวบ้านนิยมติดรูปเคา รพอื่นๆ ใกล้ๆ ห�ำยนต์ด้วย อาทิ สัญลักษณ์วันเกิด ปีเกิด รูปพระอรหันต์ต่างๆและที่ขาด มิได้แทบทุ กบ้ า นคือพระบรมฉายาลั กษณ์ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และพระ ราชวงศ์ บริเวณประตูนี้นอกจากติดห�ำยนต์แล้วมักยกธรณีประตูข้นึ สูง “ข่มประตู” ซึ่ง แสดงถึงส่วนเฉพาะของบ้านใครล่วงล�ำ้ เข้าไปจะถือว่าผิดผีถ้าคนนั้นไม่ใช่คนไม่ใช่คนใกล้ชดิ

///


20

“DOI SAKET CITY MAP”


21


อ�ำเภอดอยสะเก็ดตัง้ อยู่ทางตะวันออกของจังหวัดเชียงใหม่ มีอาณาเขตติดต่อกับอ�ำเภอและจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภอแม่แตงและอ�ำเภอพร้าว ทิศตะวันออก ติดต่อกับอ�ำเภอเวียงป่าเป้า (จังหวัดเชียงราย) และอ�ำเภอเมืองปาน (จังหวัดล�ำปาง) ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอแม่ออนและอ�ำเภอสันก�ำแพง ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอสันทรายและอ�ำเภอเมืองเชียงใหม่

THREE DIMENSIONAL LANDSCAPE

22


23


24

อ�ำเภอดอยสะเก็ดแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 14 ต�ำบล 112 หมู่บ้าน ได้แก่ ล�ำดับที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

อักษรไทย เชิงดอย สันปูเลย ลวงเหนือ ป่าป้อง สง่าบ้าน ป่าลาน ตลาดขวัญ ส�ำราญราษฎร์ แม่คอื ตลาดใหญ่ แม่ฮ้อยเงิน แม่โป่ง ป่าเมี่ยง เทพเสด็จ รวม

อักษรโรมัน จ�ำนวนหมู่บ้าน Choeng Doi 13 San Pu Loei 15 Luang Nuea 10 Pa Pong 8 Sa-nga Ban 5 Pa Lan 6 Talat Khwan 6 Samran Rat 8 Mae Khue 6 Talat Yai 5 Mae Hoi Ngoen 6 Mae Pong 10 Pa Miang 6 Thep Sadet 8 112


PEOPLE IN DOI SAKET 25


26

DOI SAKET


27


28


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.