Electricity & Industry Magazine Issue September - October 2019

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

7/4/61 BE

6:03 AM


WORKS HERE.

SHELL TURBO OILS – FOR ENHANCED PROTECTION, EXTENDED OIL LIFE, AND EXCELLENT SYSTEM EFFICIENCY.

www.shell.com/lubricants




mit_print_LCD_MULLER_2018-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/5/2561 BE

10:44


Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


Colated-with

Smart City Solutions Week

28-31 ต.ค. 2562

ลงทะเบียนไดแลว วันนี้!

9.00 - 18.00 น. ฮอลล 104 - 105 ไบเทค บางนา

“เป�ดมิติใหมของสุดยอดงานแสดงเทคโนโลยีและโซลูชั่นลาสุด”

เพื�อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่ครบวงจรที่สุด

Smart Technologies พบเทคโนโลยีและโซลูชั่นส จากแบรนดชั้นนำกวา 400 ราย ที่จะชวยเพิ่มขีดความสามารถ การแขงขันทางธุรกิจ

Zhejiang Smart City Pavilion พบกับตนแบบเมืองอัจฉริยะตัวจริง พรอมนำเสนอนวัตกรรมลาสุดและเทคโนโลยี สุดล้ำกวา 50 แบรนดจากมณฑลเจอเจียง

International Partnership

100+ Seminar Topics เจาะลึกประเด็น ตอบโจทยการพัฒนา เมืองอัจฉริยะในทุกๆดาน พรอมกาวเขาสูยุค 4.0

ตอยอดธุรกิจทั้งผูซื้อและผูขายจาก ในและตางประเทศ พรอมพบกับ PAVILION นานาชาติ อาทิ สิงคโปร ไตหวัน เกาหลี

Get Your Ticket Now!

พิเศษสุด.. ลงทะเบียนวันนี้ รับของที่ระลึกไปเลยสำหรับทุกทานที่เขารวมงาน

สแกน QR CODE เพื�อลงทะเบียนออนไลน สอบถามเพิ่มเติม โทร 02 664 6488 ตอ 402, 406 SMART CITY SOLUTIONS WEEK www.smartsolutionweek.com

Host Organisation

Officially Supported by

Platinum Sponsors

Supported by

Silver Sponsor

Organised by





27-29 ·½ĺķÌ Ê»² 2562

Åʣʼ 7 ĺѲ»čÕÂij¦Â̲£ĊÊÕ¾È Ê¼´¼È§Ðº Å̺շۣ ÔºÏŦ°Å¦±Ê²Í

¦Ê²ÕÂij¦Â̲£ĊÊÕ¾ÈÔķ¼ķʱм Ìķ ײÅÐĴÂÊà ¼¼ºÔ°£Ö²Ö¾»ÍÂʼ²԰ĺ Õ¾ÈijÌķ̰ɾÕÃĉ¦ÅÊԨͻ² ·³ ɳ³¼ÌÁÉ°§Éݲ²Ë

ÀĉÊ 250 ³¼ÌÁÉ° ķÊ ²Ê²Ê´¼ÈÔ°ĺ ÔÀ°Í°Ê¦±Ð¼ ÌķײÅÐĴÂÊà ¼¼º Ô°£Ö²Ö¾»ÍÂʼ²԰ĺÕ¾È ijÌķ̰ɾ°ÍÜ£¼³£¼É²°ÍÜÂÐij

·³´ÈվȼĊʦԣ¼ÏÅ¡ĉÊ» °Ê¦±Ð¼ Ìķ ɳµÑĊ´¼È ų ʼ վȵÑĊÔ§ÍÜ»À§Ê©×²ÅÐĴÂÊà ¼¼º

ÀĉÊ 8,000 ¼Ê»

¾¦°ÈԳͻ²§º¦Ê²¸¼Í`

cebitasean.com /visitor-registration/

¼Ãɾ¦°ÈԳͻ² CBTM

°Ëغ

¯Î¦£À¼Ô¡ĊʼĉÀº §º¦Ê²

·ÊÀ̾ԾÍÜ»²²Ê²Ê§ÊĴÌķÊ

ÀĉÊ 10 ´¼ÈÔ°ĺ

ÅÊ°ÌÔ§ĉ² ©ÍÜ´ÐĄ² Â̦£Ö´¼č Ô ÊþÍÕ¾ÈÅÍ ºÊ ºÊ»

ÅÉ·ÔijĴÕ²ÀÖ²Ċº¾ĉÊÂÐij ײÅÐĴÂÊà ¼¼º ɳ¦Ê²Âɺº²Ê °ÍܼĉÀººÏŠɳ Tech Talk Thai ÔÀ۳بĴčÔ°£Ö²Ö¾»Í§Éݲ²Ë ·¼Ċź¸ď¦Ô¼ÏÜŦ¼ÊÀ£ÀʺÂËÔ¼ÛķÕ¾È £Àʺ¼ÑĊķÊ Ñ¼ÑÔ·ÏÜÅ·Éĵ²Ê Õ²À£ÌijijÌķ̰ɾԷÏÜÅ ĊÊÀÂÑĉ »Ð£ijÌķ̰ɾ Å»ĉʦհĊķ¼Ì¦

x

@cebitasean

Âų¯Êº¡ĊźѾԷÌܺÔĴ̺ ĴÌijĴĉÅ 02-833-6336 üÏÅÅÍÔº¾ info@cebitasean.com Organizer

Show Hosts

Show Consultant

Supporters

Strategic Partners

Bronze Sponsor

Knowledge Partner

Media Partner



y ` yy

k wz ë §j Ñ

}k wz | j g } }~Å ¢|¡ d ¡w }

më dgÎ x wxÍ d Í z § d § eÎ j ¢ Î dÍ g y } |z § |¢k

{ x xe z u i b u

¡ ×~ | | ©m y| i Ï ¢ ©l Ó | ªlg l |¢ ~Ï l ~ í~ | ªlmy gÏ gÐ gÏ yÐ ~i fÐ ~Ð | l¡|i£~£ i ¡i í ~¥ ¤~} f m

| j j | ~ x jgÑd |Í j | } z ¡~ x Ñ Í| } Î z j¨ d }} k w Ñ

v uvË ~Æ } v i xo z ~zÓ x vË E-mail: O@>CIJH@?D< BH<DG >JH


Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM


CONTENTS SEPTEMBER-OCTOBER

2019

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) 25 สกพอ. บันทึก MOU กับ ZAEZ

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 30 32 34 36 37

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

SPECIAL SCOOP 38 PEA จับมือ TEMCA จัดสัมมนาผู้ใช้ไฟฟ้ารองรับ

ยุค Disruptive Technology ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม กองบรรณาธิการ 52 AI FOR THAI : Thai AI Service Platform กองบรรณาธิการ 58 เจาะลึกแผน PDP ทิศทางพลังงานไทย ภายใต้รัฐบาลใหม่ กองบรรณาธิการ COVER STORY 42 PEA Digital Transformation พลิก “กฟภ.”

สู่องค์กรดิจิทัล

INTERVIEW 45 ดร.ธัญญวัฒน์ เกษมสุวรรณ

ศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนี่ยน... นวัตกรรมที่ช่วยสร้าง ความแตกต่างและความได้เปรียบในการแข่งขัน กองบรรณาธิการ 48 ธวัช มีชัย นายกสมาคม “GEN THAI” กับภารกิจวางมาตรฐานวงการเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าไทย สมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย ARTICLE 50 ส่งเสริมประสิทธิภาพอุตสาหกรรมการบริการ

ของประเทศไทยด้วยโคบอท ซาการิ กูอิกกะ ผู้จัดการทั่วไป ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย

September-October 2019

54 พลิกโฉมดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันด้วย AI

NECTEC

SCOOP 60 ไบเออร์สด๊อรฟ ขยายส่วนการผลิตของโรงงาน

ในประเทศไทย กองบรรณาธิการ

SPECIAL AREA 62 CVM-A1500 Supply Quality Management

66

68

70

72

74

in Industry บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด Motor Condition Monitoring บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด เทคโนโลยีระบบไฟฟ้าส�ำรอง บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด Wiser AvatarOn โฮมออโตเมชัน … ติดตั้งง่าย ขยายความต้องการได้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เซอร์กิตเบรกเกอร์ในกลุ่ม 3VA และ 3VM บริษัท ซีเมนส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด การท�ำงานของ AIR CIRCUIT BREAKER บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

IT ARTICLE 77 การช�ำระค่าโดยสารรถขนส่งสาธารณะ

ด้วยบัตรเครดิต วีซ่า 80 ศูนย์ Transparency แห่งแรก ของ Kaspersky ในกลุ่ม APAC กองบรรณาธิการ 82 PRODUCT 85 PR NEWS 88 MOVEMENT 91 IT NEWS 93 INDUSTRY NEWS



EDITOR TALK

SEPTEMBER-OCTOBER

2019

Electricity & Industry Magazine ฉบับที่ 5 ยังมีเรื่องราวเนื้อหาที่น่าสนใจมากมายมาน�ำเสนอเช่นเดิม ข่าวคราวความคืบหน้า เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC อาทิ การบันทึกความเข้าใจร่วมกันระหว่าง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) กับคณะกรรมการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษอากาศยานเจิง้ โจว (Zhengzhou Airport Economy Zone : ZAEZ) ความร่วมมือทีเ่ กิดขึน้ ครัง้ นีเ้ พือ่ น�ำประสบการณ์การบริหารศูนย์การบินของ ZAEZ มาใช้เป็นต้นแบบการพัฒนาเมืองการบินในเขตพืน้ ทีอ่ อี ซี ี ของประเทศไทยนั่นเอง ส่วน สวก. และ สวทช. ได้รว่ มลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพือ่ ด�ำเนิน “โครงการพัฒนาแผนทีน่ ำ� ทางเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สัตว์น�้ำและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมสัตว์น�้ำด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม” เพื่อน�ำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศในอุตสาหกรรมสัตว์น�้ำอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนั้น สวทช. ยังร่วมกับ สอว. จัดประชุมการบริหารจัดการ อุทยานวิทยาศาสตร์ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2019 โดยมีผู้แทนประเทศสมาชิกอาเซียนจาก 9 ประเทศ เข้าร่วมโดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนและส่งเสริมให้กจิ การอุทยานวิทยาศาสตร์เติบโตและพัฒนาได้อย่างยัง่ ยืน รวมถึงการสร้างเครือข่ายและการเชือ่ มโยงระหว่าง อุทยานวิทยาศาสตร์ทั้งในและต่างประเทศ คอลัมน์ Special Scoop เป็นการน�ำเสนอความส�ำเร็จของงาน TEMCA ซึ่งเพิ่งผ่านไปเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ซึ่งการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคได้จัดสัมมนาผู้ใช้ไฟฟ้ารองรับยุค Disruptive Technology ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม รวมทั้งบรรยากาศการออกบูทของกลุ่มธุรกิจ ด้านไฟฟ้าและอุตสาหกรรม และเนือ่ งในโอกาสทีม่ กี ารแต่งตัง้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงานคนใหม่ จึงมีการระดมความคิดของผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านพลังงานเพื่อน�ำเสนอต่อรัฐมนตรีคนใหม่ ส่วนเรื่อง AI FOR THAI : Thai AI Service Platform เป็นผลงานวิจัยและพัฒนาของเนคเทค สวทช. โดยมุง่ หวังให้เป็นแพลตฟอร์มส�ำคัญในการเพิม่ ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมและบริการ เป็นแพลตฟอร์ม สําหรับเศรษฐกิจในอนาคต และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ประชาชน รวมถึงสร้างอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ อันจะเป็นแรงขับเคลื่อนประเทศไทยอย่างยั่งยืน ส่วน Article น�ำเสนอเรื่อง ส่งเสริมประสิทธิภาพอุตสาหกรรมการบริการของประเทศไทยด้วยโคบอท ซึ่งเรียบเรียงโดย ซาการิ กูอิกกะ ผู้จัดการทั่วไป ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย รวมทั้งยังมีเรื่อง พลิกโฉมดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชันด้วย AI ซึ่งเนคเทคได้วิจัยและพัฒนาขึ้นมาและยินดีที่จะให้ผู้ที่สนใจด้านนี้นำ� ไปต่อยอดได้ ทั้งหมดนี้สามารถหาอ่านได้ ในฉบับนี้ พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / ธิดาวดี บุญสุยา พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

September-October 2019

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์



Concurrent Event:

2-4 October < ) 6 % 2019 BITEC | Bangkok

E A '< A "3

MAINTENANCE & RESILIENCE ASIA 2019

“The Key to Smart Manufacturing & Infrastructureâ€? The exhibition focused on advanced maintenance technologies and solutions for maximizing productivity‌ The Key... to Smart Manufacturing & Infrastructure

6 B. A C C)&9B)4C )= 5I )NJ6.%5&.N6/'5 6' '8/6'B)4+6 B 6 N6'< '5 -6 A";I1A"8I% '4.8 8$6" 6' )8 Ă <gB .=Ä” 6' )8 B)4C ' .'Ä•6 ";J 6 15 '8&4

Register today for free admission to the exhibition & conference

) 4A 9& +5 9J A";I1A Ä•6 % 6 B)4'Ä”+% '4 <%.5%% 6#'9uu

Free Shuttle Van for Group Visitors |Ÿ¸½¸ŸĂ„Âź 10 ¿´à Ă‚ž½Ă‚} #'9' '5 .Ä” /%=Ä” 4uu | 5J NI6 10 }

https://asia-maintenance-resilience.com | email: info@exposis.co.th | Tel: +66 (0) 2 559 0856

Official Supporter :




สายสัญญาณ มาตรฐานอเมริกา

ครบเครื่อง เรื่องสายสัญญาณ

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)



สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)

สกพอ. บันทึก MOU กับ ZAEZ

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือ (MOU) กับคณะกรรมการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษอากาศยานเจิ้งโจว (Zhengzhou Airport Economy Zone : ZAEZ) โดยมี สมคิด จาตุ ศ รี พิ ทั ก ษ์ รองนายกรั ฐ มนตรี ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธาน ณ ห้องเวิลด์บอลรูมบี โรงแรมเซ็นทราแกรนด์ เซ็นทรัลเวิลด์ ส�ำหรับ MOU ระหว่าง สกพอ. และ ZAEZ มีขอบเขตความ ร่วมมือที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1. การแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์ในการพัฒนำ มหานครการบินด้านต่างๆ อาทิ การวางผังศูนย์กลางการบิน และการเชื่ อ มโยง กลยุ ท ธ์ ก ารคั ด เลื อ กอุ ต สาหกรรม ความร่วมมือสถาบันการศึกษาด้านการบิน การวางผังเมือง การท่องเที่ยว และงานวิจัย เป็นต้น 2. การส่งเสริมการลงทุน และการจัดท�ำระบบ E-Commerce ในพื้นที่อีอีซี และ ZAEZ 3. การส่งเสริมการเชื่อมโยงด้านการบินครบวงจรระหว่าง อีอีซี และ ZAEZ 4. การสนับสนุนความร่วมมือและการพัฒนาในโครงการ ต่างๆ ระหว่างอีอีซี และ ZAEZ ให้ดียิ่งขึ้นในอนาคต ความร่วมมือที่เกิดขึ้นครั้งนี้ เป็นแนวทางการพัฒนาเมือง การบินภาคตะวันออก ในพืน้ ที่ 6,500 ไร่ของสนามบินอูต่ ะเภา และ บวกกับรัศมี 30 กิโลเมตรรอบสนามบิน (พัทยา-ระยอง) ทีถ่ กู วางไว้ เป็นมหานครการบินภาคตะวันออก (Eastern Aerotropolis) ซึง่ การน�ำ ประสบการณ์จากเจิง้ โจวทีเ่ ป็นมหานครการบินในภาคกลางของจีน ขนาด 415 ตารางกิโลเมตร และเป็นมหานครการบินใหม่ทเี่ ริม่ ท�ำได้ 3 ปี ซึ่งถือเป็นต้นแบบการพัฒนาเมืองการบินในเขตพื้นที่อีอีซี ของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี

ความร่วมมือต่อไปในอนาคต และผลประโยชน์ที่จะได้รับ ภายใต้ MOU ครั้งนี้ เกิดความร่วมมือ North Asia Aerotropolis (เมืองการบิน ทางเหนือของเอเชีย) จากเจิง้ โจว และ South East Asia Aerotropolis (เมืองการบินตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชีย) จากอู่ตะเภา การขนส่ง สินค้าที่ ZAEZ จะเป็นศูนย์กลางน�ำเข้าสินค้าทางอากาศของจีน รับสินค้าที่ส่งออกส�ำคัญ เช่น ผลไม้ อาหารทะเล สัตว์ปีก สัตว์ มีชีวิต อาหารส�ำเร็จรูป ยา อุปกรณ์การแพทย์ ซึ่งผลไม้จากพื้นที่ อีอีซีจะถูกส่งไปประเทศจีน แล้วสามารถขยายไปทั่วประเทศจีน การลงทุนผลิตยาในอีอีซีจะถูกส่งขายผ่านระบบ E-Commerce ทีจ่ ะกระจายผ่านศูนย์รบั สินค้าท่าเรือบก (Dry Port) ทีเ่ จิง้ โจว เป็นต้น เกิดการสร้างช่องทางและขยายตลาด ส่งเสริมให้เกษตรกร ผู้เพาะปลูกผลไม้และผู้ประกอบการมีรายได้ที่ยั่งยืน ความร่ ว มมื อ การลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมร่ ว มกั น ซึง่ ZAEZ ได้ดำ� เนินการแล้ว โดยมีบริษทั ด้าน IT และ Smart Phone กว่า 60 ราย มีบริษัทเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศ 36 บริษัท บริษัทที่ธุรกิจด้าน E-Commerce 431 บริษัท บริษัทซ่อมเครื่องบิน 5 บริษัท โดยคาดว่าจะมีกลุ่มบริษัทดังกล่าวหลายแห่งสนใจและ พร้อมทีจ่ ะมาลงทุนในพืน้ ทีอ่ อี ซี ี และคาดว่าจะมีกลุม่ อุตสาหกรรม ที่เป็นพันธมิตรเข้ามาร่วมลงทุนเพิ่มอีก เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความร่วมมือการพัฒนา บุคลากร และการพัฒนาระบบต่างๆ ที่จะอ�ำนวยความสะดวก รวดเร็ว ซึง่ ความร่วมมือและประสบการณ์จาก ZAEZ จะช่วยพัฒนำ ความรู้และประสบการณ์เป็นอย่างดี MOU ครัง้ นีส้ บื เนือ่ งจาก สกพอ. ได้รว่ มงานสัมมนาการลงทุน และการค้าระหว่างประเทศ ครั้งที่ 13 ที่เมืองเจิ้งโจว เมื่อเดือน เมษายน 2562 เพื่อเชิญชวนนักลงทุนจากทั่วโลกเข้ามาลงทุนใน พืน้ ทีอ่ อี ซี ี ซึง่ เบือ้ งต้นได้เกิดประสบการณ์การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 

September-October 2019


สวทช. อว. จัดประชุม การบริหารจัดการ อุทยานวิทยาศาสตร์ ในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน 2019

ดึงเกษตร-

อุตสาหกรรมสัตว์น�้า

หนุน EECi

ดร.สุวิทย์ ชัยเกียรติยศ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. และ ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง การอุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรม (อว.) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “การสนับสนุนการ พัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation : EECi)” รวมถึง แนวทางการสนับสนุนกิจกรรมด้านการวิจัย พัฒนา และ นวั ต กรรม ภายในงานเปิ ดตั ว เทคโนโลยี แ ละนิ ทรรศการ ผลงานวิจัยกลุ่มเรื่องพืชสวน/พืชไร่ฯ “ปลดล็อกนวัตกรรม เกษตรไทย เพื่อผลผลิตที่ก้าวไกลอย่างยั่งยืน” จัดโดย สวก. เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2562 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม (Grand Ballroom) โรงแรมรามาการ์เด้นส์ หลักสี่ กรุงเทพฯ ทัง้ นีภ้ ายใต้ความร่วมมือดังกล่าวจะเริม่ ด�ำเนินการอย่าง เป็นรูปธรรมด้วย “โครงการพัฒนาแผนที่น�ำทางเทคโนโลยี อุตสาหกรรมสัตว์น�้ำและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม สัตว์นำ�้ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม” เพือ่ เป็น เครือ่ งมือน�ำร่องในการสนับสนุนการวิจยั และพัฒนา การพัฒนำ ก�ำลังคน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมถึงการพัฒนาและ ใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม ในการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสั ต ว์ น�้ ำ ใน ประเทศไทย เพื่อน�ำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ September-October 2019

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และส�ำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการ อุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) จัดประชุมการบริหารจัดการอุทยาน วิทยาศาสตร์ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2019 (ASEAN Science Park Management Conference 2019) ระหว่างวันที่ 28-30 สิงหาคม 2562 ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย โดยมีผู้แทน ประเทศสมาชิกอาเซียนจาก 9 ประเทศ (บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และเวียดนาม) ผู้แทน อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค เขตนวัตกรรมทัง้ ภาครัฐและเอกชนร่วมงานกว่า 100 คน เพือ่ สนับสนุน และส่งเสริมให้กิจการอุทยานวิทยาศาสตร์เติบโตและพัฒนาได้ อย่างยั่งยืน รวมถึงการสร้างเครือข่ายและการเชื่อมโยงระหว่าง อุทยานวิทยาศาสตร์ทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนให้เป็นเครือข่ายรูปธรรมเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถ ของอุทยานวิทยาศาสตร์ในการให้บริการต่อไป โดยมี เพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวรายงานการจัดงาน ทั้ ง นี้ ศ. ดร.ยงยุ ท ธ ยุ ท ธวงศ์ อดี ต รองนายกรั ฐ มนตรี และอดี ต รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เป็นประธานเปิด การประชุม พร้อมทัง้ เป็นสักขีพยาน ในการลงนามข้อตกลงร่วมกันในการ จัดตั้ง World Business Angle Forum ศ. ดร.ยงยุทธ สาขาประเทศไทย ซึง่ ถือเป็นจุดเริม่ ต้น ยุทธวงศ์ ในการจัดตัง้ สาขาในแถบภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นกลไกส�ำคัญด้านแหล่งเงินทุนสนับสนุน ในการช่วยผลักดันงานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมใหม่ๆ ออกสู่ เชิงพาณิชย์เพิ่มมากขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ศ. ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ อดี ต รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี กล่าวเปิดงานว่า การจัดงาน ASEAN Science Park Management Conference 2019 ในครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ให้เกิดการแลกเปลีย่ น


เรี ย นรู ้ และการเชื่ อ มโยงเป็ น เครื อ ข่ า ยระหว่ า งผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบริ ห ารจั ด การอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเขตนวั ต กรรมใน ประเทศไทยและกลุ่มผู้บริหารอุทยานวิทยาศาสตร์จากประเทศใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพือ่ จัดท�ำแผนปฏิบตั กิ ารความร่วมมือ ในการพั ฒ นาระบบนิ เ วศนวั ต กรรมของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียนที่เป็นรูปธรรมร่วมกัน และเกิดการประชาสัมพันธ์อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทยและกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ของประเทศไทยให้เป็นทีร่ จู้ กั มากขึน้ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ ในฐานะทีป่ ระเทศไทยเป็นประธานอาเซียน ซึง่ มีแนวคิด หลัก คือ “ร่วมมือ ร่วมใจ ก้าวไกล ยั่งยืน” ร่วมมือ ร่วมใจ ก็คือ อาเซียนจะต้องมีความสามัคคี ร่วมมือ ร่วมใจ เชื่อมโยงกัน บนพื้นฐานของเอกภาพอาเซียนและหลักการสามเอ็ม (3Ms) ก็คือ การไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน (Mutual Trust) ความเคารพซึ่งกัน และกัน (Mutual Respect) และผลประโยชน์รว่ มกัน (Mutual Benefit) ... ก้าวไกล ก็คอื การก้าวสูอ่ นาคตให้ทนั โลกทีเ่ ต็มไปด้วยการแข่งขัน และความท้าทาย ยั่งยืน หมายถึงการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อความ กินดีอยู่ดี ลดความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจ ปัจจุบนั โลกก�ำลังขับเคลือ่ นด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ อาทิ AI ควอนตัมคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง (Internet of Things) ฯลฯ ซึ่งเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การท�ำงาน และรูปแบบ การท�ำธุรกิจอย่างสิ้นเชิง การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมถึง การยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันให้ทันโลกและพร้อม รับมือกับอนาคต จะต้องใช้ความรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันอย่างยั่งยืน สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ และเพิ่มรายได้ให้กับภาคธุรกิจ แนวทางการพัฒนาจะต้องน�ำ ความคิดสร้างสรรค์ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ทรัพย์สนิ ทางปัญญา การวิจยั และพัฒนา มาถ่ายทอดและประยุกต์ให้เกิดการใช้ประโยชน์ทั้ง เชิงพาณิชย์ สังคม และชุมชน โดยสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ อ�ำนวย ต่อการพัฒนา ตลอดจนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรมให้ทวั่ ถึงและเพียงพอทัง้ ในเชิงปริมาณ และคุณภาพ ในลักษณะของความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ มี ห น้ า ที่ เ ป็ น ตั ว กลางเชื่ อ มโยง องค์ความรู้ทางด้าน วทน. จากสถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยไปสู่ ผู้ประกอบการและภาคเอกชน โดยผ่านกลไกในการให้บริการทาง ด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับด�ำเนิน กิจกรรมวิจยั พัฒนา เช่น ห้องปฏิบตั กิ าร เครือ่ งมือวิจยั เพือ่ สนับสนุน ผู้ประกอบการในอุทยานวิทยาศาสตร์ให้ด�ำเนินกิจกรรมวิจัยและ

พัฒนา ตลอดจนกระบวนการพัฒนานวัตกรรม ตั้งแต่การทดสอบ แนวคิด (Proof of Concept) การสร้างผลิตภัณฑ์ตน้ แบบ เพือ่ ทดลอง ตลาด (Prototyping) การทดลองผลิตระดับอุตสาหกรรม (Pilot Production) ไปจนถึ ง การผลิ ต เพื่ อ ออกสู ่ เชิ ง พาณิ ช ย์ (Mass Production) นอกจากนี้ อุทยานวิทยาศาสตร์มีบริการอื่นๆ เช่น บริการทางด้านกฎหมายและทรัพย์สนิ ทางปัญญา ทีส่ นับสนุนให้เกิด การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีจากสถาบันการศึกษาหรือ สถาบันวิจัยไปสู่ผู้ประกอบการ และบริการให้ความช่วยเหลือทาง ด้านการตลาดกับผู้ประกอบการให้สามารถเจาะตลาดใหม่ เป็นต้น นอกจากจะมีอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยแล้ว ยังมีอุทยาน วิทยาศาสตร์ภูมิภาคอีก 3 แห่งที่ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ได้แก่ อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ประกอบด้วย 7 มหาวิทยาลัย อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ภ าคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ประกอบด้ ว ย 4 มหาวิทยาลัย และอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ ประกอบด้วย 3 มหาวิทยาลัย และโครงการน�ำร่องอีก 2 มหาวิทยาลัย และในปี ต่อๆ ไปจะมีการขยายเครือข่ายให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น “การประชุมในครั้งนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะส่งเสริมให้เกิด การแลกเปลีย่ นข้อมูลและแบ่งปันประสบการณ์เกีย่ วกับการบริหาร จัดการอุทยานวิทยาศาสตร์และเขตนวัตกรรมระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียน และขยายผลไปสูค่ วามร่วมมือพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรม ของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นอย่ า งเป็ น รู ป ธรรมในอนาคต ช่วยเสริมสร้างความมัน่ คงทางด้านวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ก่อให้เกิดผลการพัฒนาประเทศและภูมิภาคอย่างเต็มศักยภาพ ท�ำให้ประชาคมอาเซียนเป็นประชาคมทีม่ คี วามมัง่ คัง่ และมีความพร้อม ที่จะรับมือกับความท้าทายในรูปแบบต่างๆ ได้อย่างยั่งยืนต่อไป” นอกเหนื อ จากนี้ ยั ง เกิ ด ความร่ ว มมื อ และมี ก ารลงนาม ข้อตกลงการจัดตั้ง World Business Angle Forum (WBAF) สาขำ ประเทศไทย ระหว่างส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทข.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) โดย ดร.ฐิตาภา สมิตนิ นท์ รองผูอ้ ำ� นวยการ สวทช. และ World Business Angels Investment Forum (WBAF) โดย Mr.Baybars Altuntas, Chairman of World Business Angels Investment Forum (WBAF) ถือเป็นจุดเริม่ ต้นในการจัดตัง้ สาขาใน แถบภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นกลไกส�ำคัญด้านแหล่ง เงินทุนสนับสนุนในการช่วยผลักดันงานวิจยั พัฒนา และนวัตกรรม ใหม่ๆ ออกสู่เชิงพาณิชย์เพิ่มมากขึ้น ทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งจะ ท�ำให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความแข็งแกร่งต่อไป September-October 2019




สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

EGAT Hero : EGAT Operation & Maintenance (O&M) Team ทีมหมอดูแลสุขภาพโรงไฟฟ้า หากเปรียบโรงไฟฟ้าเป็นรถยนต์หนึ่งคัน การขับขี่ใช้งานให้ ถูกต้อง ปลอดภัย และการดูแลรักษารถยนต์ให้อยู่ในสภาพพร้อม ใช้งานอย่างสม�่ำเสมอนั้นจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เพราะถ้าหากเครื่องยนต์ หรืออะไหล่ชิ้นส่วนรถได้รับความเสียหายก็จะส่งผลต่อการท�ำงาน และการขับเคลือ่ นของรถคันนัน้ ยิง่ ถ้าเราต้องใช้รถทุกวันไม่มวี นั หยุด ความเสียหายที่เกิดขึ้นคงจะทวีความรุนแรงมากขึ้น โรงไฟฟ้ า ก็ คือ เครื่ อ งยนต์ ข นาดใหญ่ ที่จ ะต้อ งเดินเครื่อ ง ตลอดเวลา เพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ไฟ ที่มีอยู่ตลอด กฟผ. ในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้าที่มีประสบการณ์มาอย่าง ยาวนานกว่า 50 ปี ด้วยความเชี่ยวชาญในการผลิตไฟฟ้าและบ�ำรุง รักษาโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุดเพือ่ ตอบสนองความ ต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศ แต่ในปัจจุบันมีผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน จ�ำนวนมากเข้ามามีส่วนในการผลิตไฟฟ้าเพื่อป้อนเข้าระบบเป็น จ�ำนวนมาก มีโรงไฟฟ้าเอกชนทัง้ รายใหญ่และรายย่อยเกิดขึน้ มากมาย ซึ่งเอกชนหลายแห่งยังขาดประสบการณ์ในการเดินเครื่องและ

September-October 2019

บ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้า หรือมีความต้องการผู้เชี่ยวชาญให้เข้ามาดูแล ในส่วนนี้ กฟผ. ได้มองเห็นโอกาสในการท�ำธุรกิจใหม่ๆ จึงเป็นทีม่ า ของ “โครงการเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าให้กบั เอกชน” บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด เป็นโรงไฟฟ้าขนาดเล็กที่ ผลิตและจ่ายไฟให้กับนิคมอุตสาหกรรมนวนคร ซึ่ง กฟผ. ได้เข้ามา รับหน้าที่เดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าโดยทีมวิศกรที่มีความ เชีย่ วชาญของ กฟผ. เปีย่ มไปด้วยประสบการณ์การท�ำงานกับโรงไฟฟ้า ของ กฟผ. มาเป็นเวลานานจนเป็นองค์ความรู้เฉพาะตัวของ กฟผ. เอง การปฏิบตั งิ านของพนักงาน กฟผ. ในฐานะผูร้ บั จ้างเดินเครือ่ ง และบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าให้กบั โรงไฟฟ้าเอกชนนัน้ จะได้รบั การปฏิบตั ิ และดูแลเปรียบเสมือนโรงไฟฟ้าของ กฟผ. เอง อีกทั้ง กฟผ. ยังมี โรงซ่อมและผลิตอะไหล่เครื่องจักรโรงไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้คอยให้การสนับสนุน สามารถผลิตและ จัดหาชิ้นส่วนอะไหล่ได้ทันต่อความต้องการ ซึ่งท�ำให้มั่นใจได้ว่า


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

โรงไฟฟ้าที่ กฟผ. ดูแลนัน้ จะสามารถเดินเครือ่ งเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ตรงตามเป้าหมายที่ลูกค้าได้วางไว้ ความท้าทายส�ำคัญของทีมงาน กฟผ. นัน้ ต้องด�ำเนินงานโดย ให้ได้ผลก�ำไรตามทีล่ กู ค้าต้องการ การเดินเครือ่ งจะต้องมีประสิทธิภาพ สูงสุด ลดความเสี่ยงให้ได้มากที่สุด ลดเวลา รวมไปถึงค่าใช้จ่าย ต้นทุนในการด�ำเนินงาน และต้องได้มาตรฐานความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม

องค์ความรูเ้ ฉพาะตัวของ กฟผ. หน่วยงานสนับสนุนทีเ่ พียบพร้อม แข็งแกร่ง ทรัพยากรบุคคลทีม่ ปี ระสบการณ์ มีความสามารถจะเข้ามา ท�ำให้โรงไฟฟ้าของลูกค้ามีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานในการด�ำเนินงาน มีผลก�ำไรเป็นไปตามเป้าหมาย เพราะเราคือผู้เชี่ยวชาญด้านการ ด�ำเนินการและบริหารจัดการโรงไฟฟ้า บทความจาก http://www.egat.co.th/index.php? option=com_content&view=article&id=3100:20190808art01&catid=49&Itemid=251

กฟผ. คว้า 4 รางวัล

กฟผ. จับมือ ต.ล.ท.

ASEAN Coal Awards 2019

บุญทวี กังวานกิจ รองผูว้ า่ การประจ�ำส�ำนักผูว้ า่ การ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) น�ำทีมผูบ้ ริหาร กฟผ. เข้ารับรางวัล ASEAN Coal Awards 2019 ที่ ASEAN Center for Energy Committee จัดขึ้นเพื่อมอบให้องค์กรที่มีความเป็นเลิศในกิจการ ถ่านหินของอาเซียน โดย กฟผ. ได้รบั รางวัลชนะเลิศทัง้ สิน้ 3 รางวัล คือ รางวัลชนะเลิศการด�ำเนินการด้านถ่านหินที่เป็นเลิศ การใช้ ถ่านหินเทคโนโลยีสะอาดในโรงไฟฟ้าขนาดกลาง รางวัลชนะเลิศ นวัตกรรมด้านถ่านหิน รางวัลชนะเลิศความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท CSR จาก ผลงานถอดบทเรียนศาสตร์พระราชา สูแ่ นวทางเพือ่ การพัฒนาพืน้ ที่ อ.แม่เมาะ อย่างยั่งยืน

ศึกษาความพร้อมตลาดซื้อขายไฟฟ้า ในระดับขายส่ง

ภาวนา อังคณานุวฒ ั น์ รองผูว้ า่ การบริหาร การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) และ ศรพล ตุลยะเสถียร รองผู้จัดการ หัวหน้าสายงานวางแผนกลยุทธ์องค์กร ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (ต.ล.ท.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือร่วม ศึกษาการพัฒนาแพลตฟอร์มรองรับตลาดซือ้ ขายไฟฟ้าในระดับ ขายส่ง (Wholesale Electricity Market) เพื่อเตรียมความพร้อม การเป็นศูนย์กลางการซื้อขายพลังงานไฟฟ้าของภูมิภาคในอนาคต ณ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ September-October 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟน. จัดงานสร้างความสัมพันธ์กบ ั ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้ารายใหญ่ ประจำ�ปี 2562

การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) จัดงานสร้างความสัมพันธ์กับ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและลูกค้ารายใหญ่ ประจ�ำปี 2562 เพือ่ เสริมสร้าง ความสัมพันธ์ทยี่ งั่ ยืน พร้อมสือ่ สารแนวทางและทิศทางการด�ำเนินงาน ของ กฟน. เพื่อวิถีชีวิตเมืองมหานคร ให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุม่ ต่างๆ พร้อมด้วยลูกค้ากลุม่ ธุรกิจและอุตสาหกรรมซึง่ เป็นลูกค้า รายใหญ่ของ กฟน. รวมกว่า 200 คน ณ ห้องแมกโนเลียบอลรูม โรงแรมวอลดอร์ฟ แอสโทเรีย กรุงเทพฯ คณะกรรมการการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) พร้อมด้วย กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การ กฟน. คณะผูบ้ ริหาร กฟน. จัดงานสร้างความ สัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้ารายใหญ่ ประจ�ำปี 2562 ภายใต้แนวคิดพลังงานเพือ่ วิถชี วี ติ เมืองมหานคร “Energy for city life, Energize smart living” เพือ่ เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ กับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ลูกค้ารายใหญ่ในธุรกิจหลักและธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง ตลอดจนสือ่ สารแนวทางและทิศทางการด�ำเนินงานของ กฟน. รวมถึง รับฟังเสียงของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้าเพื่อน�ำมาวางแผน ปรับปรุงการด�ำเนินงาน น�ำไปสูก่ ารยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า ให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ภายในงาน กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การ กฟน. ยังได้ขึ้นเวทีสื่อสารทิศทางการด�ำเนินงานของ กฟน. ในหัวข้อ “Energy for city life, Energize smart living” เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้ารายใหญ่ให้เชื่อมั่นถึงความพร้อม ของ กฟน. ในการสร้างระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ รองรับวิถชี วี ติ เมืองมหานคร แห่งอนาคต ด้วยการพัฒนาระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ Smart Grid ซึ่งเป็นโครงการน�ำร่องครอบคลุมพื้นที่ 9 ตารางกิโลเมตร ในพื้นที่ กลางใจเมือง ได้แก่ ถนนเพชรบุรี ถนนพญาไท ถนนรัชดาภิเษก และ September-October 2019

ถนนพระรามที่ 4 ที่เชื่อมโยงบริการด้านระบบไฟฟ้ากับระบบ ICT Integration ทีท่ นั สมัย การเดินหน้าโครงการเปลีย่ นระบบสายไฟฟ้า อากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินตามแผนงาน การก่อสร้างอุโมงค์ไฟฟ้า ขนาดยักษ์เพิ่มเติมจากถนนชิดลมถึงถนนสารสิน (ตลอดแนวถนน) และถนนเพลินจิต (จากสี่แยกชิดลมถึงสี่แยกเพลินจิต) โดยเป็นการ ก่อสร้างในส่วนต่อขยายจากอุโมงค์ไฟฟ้าใต้ดนิ เดิมของ กฟน. ทีป่ จั จุบนั เชือ่ มต่อการจ่ายระบบไฟฟ้าระหว่างสถานีตน้ ทางบางกะปิถงึ สถานี ต้นทางชิดลม ขนาดแรงดัน 230 กิโลโวลต์ (kV) และก่อสร้างสถานี ไฟฟ้าย่อยใต้ดนิ คลองเตย ตอบโจทย์พนื้ ทีเ่ มืองมหานครทีม่ ปี ริมาณ การใช้ไฟจ�ำนวนมาก การปรับปรุงระบบไฟฟ้าเพือ่ รองรับการเข้ามา ของพลังงานทดแทน (Renewable Energy) การเพิ่มขึ้นของผู้ใช้ Electric Vehicle ซึ่งหากมีการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าในช่วงเวลา เดียวกันจ�ำนวนมาก การพัฒนาระบบเพือ่ เพิม่ ความสะดวกส�ำหรับ ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ติด Solar PV ได้แก่ ระบบ HEMS (Home Energy Monitoring and Control System) ซึ่งเป็นนวัตกรรมส�ำหรับลูกค้า ที่ติดตั้ง Solar PV ให้สามารถตรวจสอบสถานะการผลิตไฟฟ้า รวมถึงบริหารจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในบ้านได้ดว้ ยตนเอง แบบ Real Time และ MEA Energy Trading Platform ระบบกลาง ในการให้บริการซื้อขายไฟฟ้าส�ำหรับกลุ่ม Community หรือกลุ่ม ลูกค้าที่ผลิตไฟฟ้าภายในพื้นที่ ให้สามารถซื้อขายพลังงานไฟฟ้า ภายในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกันได้ กฟน. จึงมีความมัน่ ใจในความเพียงพอ มั่นคง เชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้าทั้งปัจจุบันและในอนาคต ในด้าน งานบริการ กฟน. เป็นองค์กรของประเทศไทยทีไ่ ด้รบั เลือกให้เข้าร่วม รับการประเมิน จัดอันดับจากธนาคารโลก (World Bank) ที่มีความ สะดวกในการเข้าไปประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) จาก


การไฟฟ้านครหลวง

ผลการจัดอันดับประจ�ำปี พ.ศ. 2562 พบว่าประเทศไทยพัฒนา รวดเร็วเลื่อนเป็นอันดับที่ 6 ของโลก สืบเนื่องจากการยกระดับ คุณภาพงานบริการขอใช้ไฟฟ้าใหม่ M easy (เอ็มอีซี่) การปรับปรุง ข้อบังคับอัตราค่าบริการขอใช้ไฟฟ้า การพัฒนาระบบรับช�ำระค่าไฟฟ้า ของ กฟน. ผ่านระบบ E-Payment ตอบสนองนโยบายภาครัฐสังคม ไร้เงินสด ตลอดจนการด�ำเนินงานด้านสังคมและสิง่ แวดล้อม กฟน. ยังได้น�ำเสาไฟฟ้าจากการน�ำสายไฟลงใต้ดินไปท�ำประโยชน์ใน

รูปแบบ MEA’s Model โดยน�ำเสาไฟฟ้าที่ไม่ใช้งานและยางรถยนต์ เก่าน�ำมาท�ำเป็นแนวกันคลื่นเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเล บางขุนเทียน และป้อมพระจุลจอมเกล้า ฐานทัพเรือกรุงเทพ และ การปลูกป่าชายเลนในพืน้ ทีป่ อ้ มพระจุลจอมเกล้า เพือ่ ลดการกัดเซาะ ชายฝัง่ คืนความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทอ้ งทะเลไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยั่งยืน

กฟน. จัดสัมมนาผู้ประกอบการป้ายโฆษณา ทำ�งานใกล้ไฟฟ้าแรงสูง การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) จัดงานสัมมนา “ผู้ประกอบการป้ายโฆษณา ท�ำงานใกล้ไฟฟ้าแรงสูง” เพื่อสร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจในการ ปฏิบัติงานใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงอย่างปลอดภัย ให้แก่ผู้ประกอบการป้ายโฆษณา ในพื้นที่จำ� หน่ายของ กฟน. ณ โรงแรมวินเซอร์ สวีทส์ ซอยสุขุมวิท 20 กนิษฐ์ ลือตระกูล ผู้ช่วยผู้ว่าการ กฟน. เปิดเผยว่า กฟน. เป็นหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย ทีม่ งุ่ ขับเคลือ่ นพลังงานเพือ่ วิถชี วี ติ เมืองมหานคร โดยให้ความส�ำคัญกับการใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ในกลุม่ ผูป้ ระกอบการป้ายโฆษณา ซึง่ มีการปฏิบตั งิ านใกล้แนวสายไฟฟ้าแรงสูง ซึง่ ต้องมีความระมัดระวังในการท�ำงานอย่างยิง่ อีกทัง้ หากเกิดเหตุจะท�ำให้กระทบต่อ ความมัน่ คงของระบบไฟฟ้า ดังนัน้ การสัมมนาในครัง้ นีจ้ งึ มุง่ เน้นให้ผเู้ ข้าร่วมสัมมนา ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรือ่ งความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านใกล้แนวสายไฟฟ้า แรงสูง เพื่อลดและควบคุมความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายอันก่อให้เกิดการบาดเจ็บ และเสียชีวติ ตลอดจนการสูญเสียทรัพย์สนิ ต่างๆ ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายของ กฟน. ที่มุ่งมั่นในด้านเสถียรภาพของระบบไฟฟ้าที่มั่นคงและความปลอดภัยของผู้ใช้ไฟฟ้า ประชาชนทั่วไป และสิ่งของสาธารณะต่างๆ ภายใต้ความเชื่อมั่นว่าอุบัติภัยเป็นสิ่งที่ สามารถป้องกันได้ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การ กฟน. กล่าวต่อไปว่า กฟน. ยังมีโครงการ “MEA BETTER CARE SERVICE” เป็นการให้บริการดูแลระบบไฟฟ้าให้กับกลุ่มลูกค้าพิเศษที่เป็นสมาชิกใน ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ทั้งในด้านการให้บริการ ให้คำ� แนะน�ำปรึกษา ตรวจสอบ บ�ำรุงรักษาระบบไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพ การแก้ไขเหตุไฟฟ้าขัดข้องของระบบไฟฟ้า ภายในอย่างรวดเร็ว และการจัดหาเทคโนโลยี รวมถึงนวัตกรรมใหม่ๆ มาพัฒนาการใช้ ไฟฟ้าของสมาชิกให้มีความมั่นคง เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการด�ำเนินธุรกิจ ซึ่ง กฟน. พร้อมให้บริการแก่ผปู้ ระกอบการเพือ่ ร่วมขับเคลือ่ นน�ำไปสูก่ ารพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศให้ก้าวหน้ายั่งยืน ส�ำหรับผู้ประกอบการที่สนใจสมัครเป็นสมาชิก สามารถ ติดต่อขอใช้บริการได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 0 2878 5288 ในเวลาท�ำการ หรือช่องทาง โซเชียลมีเดีย กฟน. รวมทัง้ ศูนย์บริการข้อมูลผูใ้ ช้ไฟฟ้าการไฟฟ้านครหลวง MEA Call Center 1130 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ข่าวจาก https://www.mea.or.th/home

September-October 2019


PEA SCOOP SCOOP PEA

ทีม่ � : กองกลยุทธ์และพัฒน�ธุรกิจเสริม ทีม่ � : กองกลยุทธ์และพัฒน�ธุรกิจเสริม

PEA PEA Solar Rooftop Rooftop Solar

สมาคมอุตตไฟฟ้ สาหกรรมไฟฟ้ างาน แห่งประเทศไทย ติด ดตั ตั้ง ้งระบบผลิ ระบบผลิ พลังงงาน ติ ตไฟฟ้าาพลั แสงอาทิต ตย์ ย์บ บนหลั นหลังงคา คา แสงอาทิ

ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิ ตย์บนหลังคา ตำาแหน่งและทิศทางของบ้าน

บ้าานสบายเริ นสบายเริ่ม ่มจากการจั จากการจัด ดวาง... วาง... บ้

ตำาแหน่งและทิศทางของบ้าน

PEA Solar Rooftop

เราใช้เเวลามากกว่ วลามากกว่าา 11 ใน ใน 33 ของชี ของชีววิติตอยู อยู่ใ่ในน ‘บ้ ‘บ้าาน’ น’ บ้บ้าานคื นคืออ เราใช้ ที่ท ่ที่เี่เราใช้ ราใช้ชชีวีวิต ิตอยู อยู่ก ่กับ ับครอบครั ครอบครัวว หรื หรืออคนสำ คนสำาาคัคัญ ญของเรา ของเรา บ้บ้าานน ที งเป็ เป็น นสถานที สถานที่ซ่ซึ่งึ่งสมาชิ สมาชิกกในบ้ ในบ้าานได้ นได้พ พักักผ่ ผ่ออนและทำ นและทำาากิกิจจกรรม กรรม จึจึง ร่ ว มกั น อย่ า งปลอดภั ย อบอุ น ่ กายสบายใจ ดั ง นั น ้ การสร้ านสบายเริ ่มจากการจั ร่บ้ วมกั นอย่างปลอดภั ย อบอุด่นวาง กายสบายใจ ดังนั้นการสร้าางง บ้าาน น ดู ดูแเราใช้ แลรั ลรัก กเวลามากกว่ ษาสภาพแวดล้ มต่ ภายในบ้ านนบ้จึจึางงนคื เป็อนนที่ที่เรำ บ้ ษาสภาพแวดล้ าางงวๆๆิตอยู ภายในบ้ เป็ า 1 ในออ3มต่ ของชี ่ใน ‘บ้าาน’ สิใช้่ง ่งชที ทีวี ่ค ่ค วรได้ รับ ับการเอาใจใส่ การเอาใจใส่ สมอ เพืบ้่อ่อาให้ ให้ ้านของเรา นของเรา สิ ่เ่เสมอ เพื ติ วรได้ อยู ก่ บั รครอบครั วหรือคนส�ออำยูคัยูญ ของเรา นจึบบง้าเป็ นสถานทีซ่ งึ่ สมาชิก เป็ น บ้ า นที น ่ า ่ อยู ่ เป็ น บ้ า นที น ่ า ่ อยู ่ ในบ้านได้พกั ผ่อนและท�ำกิจกรรมร่วมกันอย่างปลอดภัย อบอุน่ กายสบายใจ การออกแบบบ้าานจึ เป็นนเรื เรื่อ่องที งที่ต ่ต้อ้องให้ งให้คความสำ าาคัคัญ ดังนัการออกแบบบ้ ้นการสร้างบ้าน ดูแนจึ ลรังงกเป็ ษาสภาพแวดล้ อมต่ างๆวามสำ ภายในบ้ าญน จึงเป็น ไม่วว่า่าจะเป็ จะเป็นส่ววนโครงสร้ นโครงสร้าางง ตำ ตำาแหน่งง ทิทิศศทางแสงแดดและลม ทางแสงแดดและลม ไม่ สิ่งที่ควรได้นรับส่การเอาใจใส่ อยู่เสมอาแหน่ เพื่อให้บา้ นของเราเป็นบ้านที่น่าอยู่ การจัด ดวาง วาง Layout Layout ของบ้ ของบ้าน การตกแต่งงภายใน ภายใน รวมถึงง การจั การออกแบบบ้ านจึงเป็นาเรืน่อการตกแต่ งที่ต้องให้ความส�ำคัญรวมถึ ไม่ว่าจะเป็น สดุ ดุท ที่ใี่ใช้ช้ใในการก่ นการก่ออสร้ สร้าางและตกแต่ งและตกแต่งงบ้บ้าานน ทุทุกกปัปัจจจัจัยยล้ล้ววนส่ นส่งงผล ผล วัวัส่ส วนโครงสร้ านง อยู ต�ำแหน่ ง ทิศทางแสงแดดและลม การจัดวาง Layout ของ ต่ อ ความเป็ ภ ่ ายในบ้ า น เนื อ ่ งจากประเทศไทยอยู ใ ่ น ต่อความเป็นอยู่ภายในบ้าน เนื่องจากประเทศไทยอยู่ใน บ้าน การตกแต่ งเราจึ ภายใน รวมถึ งวัสดุาทนที ี่ใช้ในการก่อเย็ สร้นางและตกแต่ เขตเมื องร้ งร้อ อน น เราจึ ต้ออ งการบ้ สบาย งบ้าน เขตเมื อ งงต้ งการบ้ านที่อ่อยูยู่แ่แล้ล้ววเย็ นสบาย จัยล้ว้นนส่ งผลต่​่มอจากการจั ความเป็นอยู ่ภายในบ้าน เนื่องจากประเทศไทย ซึทุ่ง ่งกหั หัปัววจใจพื ใจพื ฐานเริ ดวาง... วาง... ซึ ้นฐานเริ ่มจากการจัด

อยูใ่ นเขตเมืองร้อน เราจึงต้องการบ้านทีอ่ ยูแ่ ล้วเย็นสบาย ซึง่ หัวใจพืน้ ฐาน ่มจากการจั ดวาง... ะฤดูก กาล าล ทิเริศ ทางของแสงแดดในแต่ ลละฤดู

แหน่งงและทิ และทิศศทางที ทางที่ด่ดีขีของบ้ องบ้าานนควรเป็ ควรเป็นนตำตำาาแหน่ แหน่งงทีที่ ่ ตำตำาาแหน่ แสงแดดส่อองถึ งถึงงในปริ ในปริมมาณเหมาะสม าณเหมาะสมแสงจะช่ แสงจะช่ววยให้ ยให้บบ้า้านสว่ นสว่าางง แสงแดดส่ ปร่งง กว้ กว้าางงไม่ ไม่ออึดึดอัอัดดคัคับบแคบ แคบเวลากลางวั เวลากลางวันนทีที่ค่คนในบ้ นในบ้าานน ดูดูโโปร่ พัก กผ่ผ่ออนน หรื หรื กรรมต่าางงาๆๆนห้ห้อองที งที่ม่มีแีแสงเพี สงเพียยงพอจะช่ งพอจะช่ววยย ตำ�แหน่ งและทิ ศจจทางของบ้ พั ออทำทำาากิกิ กรรมต่ ให้ อ ารมณ์ ด ข ี น ้ ึ ให้ ร ส ้ ู ก ึ ผ่ อ นคลาย รวมถึ ง ช่ ว ยลดการใช้ ให้อารมณ์ ข ี น ึ้ งและทิ ให้รส ู้ ศก ึ ทางที ผ่อนคลาย งช่นวต�ยลดการใช้ ต�ำด แหน่ ่ดีของบ้ารวมถึ น ควรเป็ ำแหน่งที่ พลั ง งานไฟฟ้ า แสงสว่ า งภายในบ้ า น พลัแสงแดดส่ งงานไฟฟ้ างภายในบ้แสงจะช่ าน วยให้บา้ นสว่าง องถึางแสงสว่ ในปริมาณเหมาะสม ในแต่ ล ะวั น ดวงอาทิ ต ย์ จ ะขึ น ้ ทางทิ ตะวั ออกและตกทาง ในแต่ ล ะวั น ดวงอาทิ ต ย์ จ ะขึ น ้ ทางทิ ศศตะวั ออกและตกทาง ดูโปร่ง กว้าง ไม่อึดอัดคับแคบ เวลากลางวั นทีน ่คนนในบ้ าน ทิ ศ ตะวั น ตก ช่ ว งเวลาเที ย ่ งวั น ดวงอาทิ ต ย์ จ ะอยู ่กลางศี ลางศีรรษะ ษะ ทิศพัตะวั น ตก ช่ ว งเวลาเที ย ่ งวั น ดวงอาทิ ต ย์ จ ะอยู ก ่ กผ่อน หรือท�ำกิจกรรมต่างๆ ห้องทีม่ แี สงเพียงพอจะช่วยให้ การเดินนทางของแสงตั ทางของแสงตั้ง้งแต่ แต่ดดวงอาทิ วงอาทิตตย์ย์ขขึ้นึ้นจนตกในแต่ จนตกในแต่ลละะ ซึซึ่ง่ง การเดิ อารมณ์ ดขี นึ้ รูส้ กึ ผ่อนคลาย รวมถึ งช่วยลดการใช้ พลังงานไฟฟ้ำ งฤดูกกาลแตกต่ าลแตกต่าางกั งกันน ช่ช่ววงฤดู

แสงสว่างภายในบ้าน ในแต่ละวันดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกและ ตกทางทิ ศ ตะวั น ตก ช่ ว งเวลาเที่ ย งวั น ดวงอาทิ ต ย์ จ ะอยู ่ กลางศีรษะ ซึ่งการเดินทางของแสงตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้น จนตกในแต่ละช่วงฤดูกาลแตกต่างกัน

ประเทศไทยตั้ง้งอยู อยู่บ่บริริเเวณเหนื วณเหนืออเส้ เส้นนศูศูนนย์ย์สสูตูตรร ทิทิศศทางของแสงแดดตามฤดู ทางของแสงแดดตามฤดูกกาลมี าลมีลลักักษณะแตกต่ ษณะแตกต่าางกั งกันนดัดังงนีนี้ ้ ประเทศไทยตั

ทิศทางของแสงแดดในแต่ละฤดูกาล

18

แสงแดดในช่ งฤดู แต่ นมี าคม -- พฤษภาคม พฤษภาคมเป็ เป็นน ช่ววงเวลาที งเวลาที ุณหภู หภู มิเฉลี ิเนฉลี นข้าางสู งสูงง 1. แสงแดดในช่ รร้อ้อน าคม ่อ่อุณ ประเทศไทยตั ้งอยู่บววริงฤดู เวณเหนื อนเส้ตัตัน้ง้งศูแต่ นย์เเดืสดืูตออรนมี ทิศนนทางของแสงแดดตามฤดู กช่าลมี ลักษณะแตกต่ ามงกั ดั่ยง่ยค่นีค่อ้ อนข้ ในรอบปี แสงอาทิ แสงอาทิต ตย์ย์จจะส่ งมาในมุมมทีที่เ่เกืกืออบจะตั บจะตั้ง้งฉากกั ฉากกับบพืพื้น้นโลก โลก(75 องศา)ทำทำาาให้ นสูงง ในรอบปี อองมาในมุ องศา) รรับ่ยับแสงและความร้ ออนสู 1. แสงแดดในช่ วะส่ งฤดู ร้อน ตั้งแต่เดือนมี นาคม-พฤษภาคม เป็ นช่(75 วงเวลาที ่อุณหภูมให้ ิเฉลี ค่แสงและความร้ อนข้างสูงในรอบปี ในเวลานี ้ ตำ า แหน่ ง ของดวงอาทิ ต ย์ จ ะค่ อ นไปทางทิ ศ ใต้ ม ากกว่ า ทิ ศ เหนื อ ในเวลานี ของดวงอาทิ ตย์จ ะค่อนไปทางทิ มากกว่ เหนือ แสงอาทิ้ ตำ ตย์าจแหน่ ะส่องงมาในมุ มที่เกือบจะตั ้งฉากกั บพื้นโลก (75ศใต้ องศา) ท�ำให้ารทิับศแสงและความร้ อนสูงในเวลานี้ ต�ำแหน่งของ แสงอาทิ ย์ใในช่ นช่ววงฤดู งฤดู แต่ นมิถถุนุนายน ายน -- ตุตุลลาคม าคมเป็ เป็นนช่ช่ววงเวลาที งเวลาที่ด่ดวงอาทิ วงอาทิตตย์ย์โคจรอ้ โคจรอ้ออมไปทาง มไปทาง ดวงอาทิ ตย์จะค่ตต อย์ นไปทางทิ ศใต้มฝฝากกว่ า้งทิแต่ ศเหนื อนมิ 2. แสงอาทิ นน ตัตั้ง เเดืดืออ ทิศเหนื เหนืออ2. แสงอาทิ มากที ส ่ ด ุ โดยจะมี ม รสุ ม ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ซ ง ่ ึ มี ค วามกดอากาศตำ า ่ ส่ ง ผลให้ อ ากาศมี ค วามชื น ้ มากที่สุด ตโดยจะมี มรสุฝม นตกเฉี ซึ่งมีลคาคม วามกดอากาศตำ ส่งผลให้ อากาศมี ความชื ้นและมี ย์ในช่วงฤดู นตะวั ตั้งแต่ เดือนมิยถงใต้ ุนายน-ตุ เป็นช่วงเวลาที่ด่าวงอาทิ ตย์โคจรอ้ อมไปทางทิ ศเหนื อและมี ฝนตกอยู รื่อ่อยย ๆๆ มดัดัรสุ นั้น ้นทางทิ ทางทิ ะเป็นนช่ช่ววงที งที่ม่มีแีแ่ำสงแดดส่ สงแดดส่ งมามาก แต่ ก็ไ็ไม่ม่ไได้ฝด้นตกอยู ความร้ นมาก ฝนตกอยู งงนัม ศศเหนื ะเป็ งมามาก แต่ รรับับความร้ ออนมาก มากที่สุด่เ่เรืโดยจะมี ตะวั นตกเฉี ยเหนื งใต้ออซแม้ ึ่งแม้ มีคจจวามกดอากาศต� ส่งผลให้อออ ากาศมี ความชื ้นกและมี ่เรื่อยๆ ดังนั้น ทางทิ ศเหนือแม้จะเป็ นช่วงที ่มีแสงแดดส่ งมามาก แต่กก็ไม่ายน ได้รับ-ความร้ อนมาก 3. แสงแดดในช่ วงฤดู หนาว ตั้งแต่อเดื อนพฤศจิ กุมภาพั นธ์ เป็นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์โคจรอ้อม 3. แสงแดดในช่ ว งฤดู ห นาว ตั ง ้ แต่ เ ดื อ นพฤศจิ ก ายน-กุ ม ภาพั น ธ์ เป็ น ช่วงเวลาที ด่ วงอาทิจึตงย์ทำโคจรอ้ มไปทางทิศใต้านี้ •• ฉบับที่ 5 566 //ไปทางทิ 2562 ศใต้มากที่สุด แต่ดวงอาทิตย์ทำามุมกระทบแบบเฉียงกับพื้นโลก (45 องศา) าให้ออากาศในหน้ 2562 ส่ ดุ แต่ ทำ� มุหากเที มกระทบแบบเฉี ยงกับพืน้ โลก (45 องศา) ท�ำให้ออกัากาศในหน้ านีไ้ ม่นรี้ ทิ อ้ นมาก อย่ปางไรก็ ตาม ไม่รมากที ้อนมาก อย่ดาวงอาทิ งไรก็ตตย์าม ยบปริมาณแสงแดดระหว่ างทิจึศงเหนื บทิศใต้ในฤดู ศใต้จะมี ริมาณ หากเที มากกว่ า ยบปริมาณแสงแดดระหว่างทิศเหนือกับทิศใต้ในฤดูนี้ ทิศใต้จะมีปริมาณมากกว่ำ สำาหรับบ้านในประเทศไทย ส่วนของบ้าน ที่อยู่ทางทิศเหนือจะสัมผัสแสงแดดน้อยกว่า September-October 2019 ในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาว ดังนั้นทิศเหนือ จึงเป็นทิศที่เหมาะกับห้องที่ใช้เวลาอยู่นาน รวมทั้งเหมาะที่จะตั้งเครื่องใช้ไฟฟ้า เพราะ

ตำาแหน่งของบ้านอยู่ทิศใด รวมทั้งปริมาณ แสงแดดและลมในแต่ละช่วงเวลา เพื่อ พิจารณาออกแบบการใช้งานแต่ละส่วน ของบ้านให้เหมาะสม จะได้อยู่สบายและ ประหยัดพลังงาน หากมีข้อจำากัดไม่สามารถ


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ส�ำหรับบ้านในประเทศไทย ส่วนของบ้านทีอ่ ยูท่ างทิศเหนือจะสัมผัสแสงแดดน้อยกว่ำ ในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาว ดังนั้นทิศเหนือจึงเป็นทิศที่เหมาะสมกับห้องที่ใช้เวลาอยู่นาน รวมถึงเหมาะทีจ่ ะตัง้ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เพราะจะได้รบั แสงแดดและความร้อนน้อยกว่า ส่วนห้อง ทีใ่ ช้งานในเวลากลางคืนควรจัดไว้ทางทิศตะวันออก เพือ่ เลีย่ งความร้อนสะสมจากแสงแดดช่วง บ่าย ซึง่ จะท�ำให้หอ้ งยังคงร้อนและส่งผลให้สนิ้ เปลืองพลังงานไฟฟ้าส�ำหรับเครือ่ งปรับอากาศ มากขึ้นด้วย เมือ่ ทราบอย่างนีแ้ ล้ว ลองตรวจสอบบ้านของเราว่าแผนผังบ้านเราเป็นอย่างไร ต�ำแหน่ง ของบ้านอยู่ทิศใด รวมทั้งปริมาณแสงแดดและลมในแต่ละช่วงเวลา เพื่อพิจารณาออกแบบ การใช้งานแต่ละส่วนของบ้านให้เหมาะสม จะได้อยูส่ บายและประหยัดพลังงาน หากมีขอ้ จ�ำกัด ไม่สามารถปรับเปลีย่ นแผนผังการใช้งานในบ้านได้ ยังมีทางเลือกในการใช้วสั ดุตา่ งๆ มาช่วย ป้องกันความร้อนจากแสงแดด เช่น สีทาบ้าน หลังคาบ้าน ฉนวนกันความร้อน ผ้าม่านหรือ ฟิล์มกรองแสง เป็นต้น ทั้งนี้ ควรพิจารณาความคุ้มค่าต่อการลงทุน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีมาตรฐานความปลอดภัยด้วย

การเลือกใช้พลังงานสะอาดอย่างยั่งยืน

แสงแดดเป็นพลังงานที่ส�ำคัญส�ำหรับสิ่งมีชีวิต เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่มีวันหมด นอกจากจะใช้ประโยชน์จาก แสงอาทิตย์ในชีวิตประจ�ำวันตามปกติแล้ว ยังสามารถน�ำแสงแดดมาใช้เพื่อลดต้นทุนค่าไฟฟ้าโดยการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาบ้าน ให้แสงแดดเป็นพลังงานขับเคลื่อนภายในบ้าน ก็เป็นการช่วยประหยัด พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม โดยแผงโซลาร์เซลล์ที่ติดตั้งควรหันไปทางทิศใต้ เพื่อให้สามารถรับแสงแดดทั้งช่วงเช้าและบ่าย นอกจากจะช่วยลดหน่วยค่าไฟฟ้าภายในบ้านแล้ว ตัวแผงโซลาร์เซลล์กส็ ามารถเป็นฉนวนช่วยกันความร้อนได้ เป็นอีกวิธที จี่ ะช่วย ให้บ้านของคุณเย็นสบายขึ้น การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค หรือ PEA เป็นหนึง่ ในองค์กรทีร่ ว่ มสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด เพือ่ ช่วยพัฒนาการใช้พลังงาน อย่างยั่งยืน หนึ่งในบริการที่เราให้ความส�ำคัญ คือการให้บริการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาของบ้าน ที่อยู่อาศัย (PEA Solar Rooftop) โดยเราให้บริการแบบครบวงจร หากท่านใดสนใจเรื่องการติดตั้ง Solar Rooftop สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://solarrooftop.pea.co.th หรือติดต่อ 1129 PEA Call Center

September-October 2019


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ๊ป ประกาศเดินหน้าทำ�

EIA นิคมอุตสาหกรรม เอ็กโกระยอง พร้อม COD 2 โรงไฟฟ้าใหม่ ต่างประเทศปลายปี

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป เปิดเผย ผลประกอบการครึ่งปีแรกของปี พ.ศ. 2562 ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง เดินหน้าท�ำ EIA นิคมอุตสาหกรรมเอ็กโกระยอง รองรับการลงทุนใน EEC พร้อมทั้งเตรียมเดินเครื่องเชิงพาณิชย์โรงไฟฟ้าใหม่ 2 แห่งในฟิลิปปินส์ และ สปป.ลาว ปลายปี พ.ศ. 2562 หนุนรายได้เพิม่ ขึน้ ตลอดจนมุง่ แสวงหา โครงการใหม่ในต่างประเทศเพื่อสร้างการเติบโตต่อเนื่อง จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป เปิดเผยผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2562 ว่า “การด�ำเนินงาน ในช่วงครึง่ ปีแรกเป็นไปตามแผนงาน โดยบริษทั ฯ มีกาํ ไรจากการด�ำเนินงาน ปกติ ก่อนผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และ การรับรู้รายได้แบบสัญญาเช่า จ�ำนวน 5,509 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วง เวลาเดียวกันของปีก่อน จ�ำนวน 1,045 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23 หากพิจารณาเฉพาะผลการด�ำเนินงานในไตรมาส 2 ของปี พ.ศ. 2562 บริษัทฯ มีกําไรจากการด�ำเนินงาน ก่อนผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี และการรับรูร้ ายได้แบบสัญญาเช่า 2,594 ล้าน บาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น จ�ำนวน 106 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 4 ในขณะเดียวกัน คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให้จ่ายเงินปันผล ระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงานงวด 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2562 ใน อัตราหุ้นละ 3.25 บาท ในวันที่ 16 กันยายน 2562” ปัจจุบนั เอ็กโก กรุป๊ มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง 4 โครงการ ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานน�้ำ “ไซยะบุรี” และ “น�ำ้ เทิน 1” ใน สปป.ลาว และ โรงไฟฟ้าถ่านหิน “ซานบัวนาเวนทูรา” ในประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งมีความ ก้าวหน้าตามแผนงาน โดยโรงไฟฟ้า “ไซยะบุรี” และ “ซานบัวนาเวนทูรา” มีก�ำหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในไตรมาส 4 ปี พ.ศ. 2562 ซึ่งจะท�ำให้ บริษทั ฯ รับรูร้ ายได้เพิม่ ขึน้ ในขณะทีโ่ รงไฟฟ้า “น�ำ้ เทิน 1” คาดว่าจะก่อสร้าง แล้วเสร็จและเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2565 ส�ำหรับ โรงไฟฟ้าเซลล์เชื้อเพลิง “กังดง” ประเทศเกาหลีใต้ เพิ่งเริ่มก่อสร้างใน เดือนสิงหาคม 2562 และคาดว่าจะเริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ในไตรมาส 4 ปี พ.ศ. 2563 ด้านความคืบหน้าในการลงทุนในปัจจุบัน เอ็กโก กรุ๊ป อยู่ระหว่าง การจั ด ท� ำ รายงานการประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม (EIA) และ September-October 2019

การประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ภายใต้ ชือ่ “นิคมอุตสาหกรรมเอ็กโกระยอง” โดยได้จดั ประชุมรับฟัง ความคิดเห็นต่อร่างข้อเสนอโครงการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรม เอ็กโกระยอง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาพื้นที่โรงไฟฟ้าระยอง จ.ระยอง เป็นนิคมอุตสาหกรรมในลักษณะ Smart Industrial Estate รองรับการลงทุนในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ส�ำหรับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจในช่วงครึ่งปีหลัง ของปี พ.ศ. 2562 จักษ์กริช กล่าวเสริมว่า “เอ็กโก กรุ๊ป ยังแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าซึง่ เป็นความเชีย่ วชาญ ทั้งโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล พลังงานหมุนเวียนและ เชื้อเพลิงใหม่ เช่น เซลล์เชื้อเพลิง โดยจะมุ่งเน้นการลงทุนใน ต่างประเทศเป็นหลัก โดยเฉพาะขยายการลงทุนในประเทศ ที่มีฐานอยู่แล้ว เช่น ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ และเจาะตลาดใน ประเทศใหม่ๆ เช่น ไต้หวัน เป็นต้น นอกจากนั้นยังแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจใหม่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจหลัก เช่น ธุรกิจ LNG และนิคมอุตสาหกรรม ตลอดจนธุรกิจใหม่ที่ไม่เคยลงทุนมาก่อน เพื่อให้สอดรับกับ ยุคดิสรัปชัน” อนึ่ง เอ็กโก กรุ๊ป มีโรงไฟฟ้าทั้งในและต่างประเทศ ทีเ่ ดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์แล้ว จ�ำนวน 27 แห่ง คิดเป็นก�ำลัง การผลิตตามสัญญาซือ้ ขายและตามสัดส่วนการถือหุน้ 5,147 เมกะวัตต์ ใน 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย สปป.ลาว ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย และเกาหลีใต้ มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่าง ก่อสร้าง จ�ำนวน 4 โครงการ คิดเป็นก�ำลังการผลิตตามสัญญา ซื้อขายและตามสัดส่วนการถือหุ้นประมาณ 554 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้าและโครงการต่างๆ ผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง หลากหลายประเภท ทั้งก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ชีวมวล พลังงานน�้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงาน ความร้อนใต้พิภพ และเซลล์เชื้อเพลิง


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ราช กรุ๊ป แถลงผลประกอบการครึ่งปีแรก

เดินหน้าลงทุนพลังงานทดแทน ในออสเตรเลียและโครงการ PPP ในไทยและอาเซียน บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) แถลงผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรก (มกราคม-มิถนุ ายน) ปี พ.ศ. 2562 ยังมีการขยายธุรกิจ และผลประกอบการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยบริษัทฯ ได้รับรู้ก�ำไร ส�ำหรับงวด เป็นจ�ำนวน 3,693.57 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.4% จาก งวดเดียวกันของปีก่อน อีกทั้งยังเริ่มรับรู้รายได้ส่วนแบ่งก�ำไรของ โครงการที่เดินเครื่องผลิตไฟฟ้า 2 โครงการ รวมก�ำลังผลิตตามการ ถือหุน้ 77.23 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีการลงทุนโครงการ ใหม่อีก 3 โครงการ ก�ำลังผลิตตามสัดส่วนการลงทุนรวม 1,776.74 เมกะวัตต์ ด้วย กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา สะท้อนถึงการเติบโตทางธุรกิจและความมั่นคงทางการเงินได้เป็น อย่างดี เห็นได้จากการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าใหม่เพิ่มขึ้น 3 แห่ง ก�ำลังผลิตติดตัง้ ตามการลงทุนรวม 1,776.74 เมกะวัตต์ ซึง่ 2 โครงการ เป็นโครงการพลังงานลมขนาดใหญ่ในออสเตรเลีย ได้แก่ โครงการ คอลเลคเตอร์ และโครงการยานดิน ซึ่งความส�ำเร็จการร่วมทุนใน โครงการยานดิน ถือเป็นก้าวส�ำคัญในการสร้างฐานธุรกิจในรัฐเวสเทิรน์ ออสเตรเลีย ซึ่งเป็นรัฐขนาดใหญ่ของออสเตรเลีย บริษัทฯ เชื่อมั่น ในศักยภาพและมีความพร้อมทีจ่ ะลงทุนโครงการใหม่ ซึง่ เป็นโอกาส จากแผนพัฒนาไฟฟ้าประเทศไทยฉบับปัจจุบนั และโครงการความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐ-เอกชน (Public-Private Partnership : PPP) ทัง้ ในประเทศไทยและในอาเซียน รวมถึงการศึกษาธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับการจัดการพลังงานส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมด้วย “กลยุทธ์การลงทุนในปีนี้จะเน้นการร่วมทุนกับพันธมิตร ทั้งในรูปแบบการซื้อกิจการที่มีรายได้แล้ว โครงการที่อยู่ระหว่าง การพัฒนา และการพัฒนาโครงการใหม่ เพือ่ ให้การบริหารเงินลงทุน และผลตอบแทนมีประสิทธิภาพสูงสุด ในช่วงครึ่งปีแรก บริษัทฯ ได้ลงทุนโครงการพลังงานลม 2 แห่งในออสเตรเลีย คือ โครงการ คอลเลคเตอร์ ก�ำลังผลิต 226.8 เมกะวัตต์ โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ทัง้ หมด และโครงการยานดิน ก�ำลังผลิตติดตั้ง 214.2 เมกะวัตต์ ซึ่งบริษัทฯ

ได้เข้าร่วมทุนถือหุน้ 70% และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม หินกอง ก�ำลังผลิตติดตั้ง 1,400 เมกะวัตต์ ในประเทศไทย ส�ำหรับ ธุรกิจระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน บริษทั ฯ ได้เข้าร่วมประมูลโครงการ คมนาคมขนส่งระบบราง ถนน และโทรคมนาคม เพื่อเร่งสร้างฐาน ธุรกิจตามเป้าหมาย รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าของโครงการ รถไฟฟ้าสายสีชมพูและสายสีเหลือง ซึง่ อยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง และ คาดว่าจะสามารถเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ. 2564” กิจจา กล่าว ในครึ่งปีแรก บริษัทฯ รับรู้รายได้จากโครงการโรงไฟฟ้าที่ เพิ่งเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ 2 แห่ง คือโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ คอลลินส์ วิลล์ ในออสเตรเลีย (บริษัทฯ ถือหุ้น 100%) ก�ำลังผลิต 42.5 เมกะวัตต์ เดินเครื่องเมื่อเดือนมีนาคม และโครงการเบิกไพร โคเจนเนอเรชัน่ (บริษทั ฯ ถือหุน้ 35%) ก�ำลังผลิตตามสัดส่วนลงทุน 34.73 เมกะวัตต์ เริม่ เดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้าเมือ่ เดือนมิถนุ ายนทีผ่ า่ นมา ท�ำให้ ณ เดือนมิถนุ ายน 2562 บริษทั ฯ มีกำ� ลังผลิตทีเ่ ดินเครือ่ งผลิต ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ตามสัดส่วนการลงทุนรวม 6,937.58 เมกะวัตต์ ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานรอบครึง่ ปีแรก พ.ศ. 2562 บริษทั ฯ มีรายได้รวมจ�ำนวน 23,518.50 ล้านบาท โดยรายได้หลักมาจาก 2 ส่วนที่ส�ำคัญ คือรายได้ค่าขายไฟจากโรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้า ไตรเอนเนอจี้ และบริษทั ราช-ออสเตรเลีย คอร์ปอเรชัน่ รวมจ�ำนวน 19,283.96 ล้านบาท คิดเป็น 82% ของรายได้รวม และรายได้จาก ส่วนแบ่งก�ำไรของกิจการร่วมทุนจ�ำนวน 2,362.96 ล้านบาท คิดเป็น 10% ของรายได้รวม ทั้งนี้ บริษัทฯ มีก�ำไรส�ำหรับงวดจ�ำนวน 3,693.57 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 13% เทียบกับงวดเดียวกันของปีทแ่ี ล้ว คิดเป็นก�ำไรต่อหุ้น 2.55 บาท ฐานะทางการเงินของบริษัทฯ ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2562 มีสินทรัพย์รวมจ�ำนวน 99,156.02 ล้านบาท หนี้สินรวมจ�ำนวน 39,550.93 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น 59,605.09 ล้านบาท

September-October 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

PEA จับมือ TEMCA จัดสัมมนาผู้ใช้ไฟฟ้ารองรับยุค

Disruptive Technology ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม

สมพงษ์ ปรีเปรม ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) สมชาย เจษฎานภาวงศ์ นายกสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทย เป็นประธานในพิธเี ปิดสัมมนาผูใ้ ช้ไฟฟ้าธุรกิจอุตสาหกรรม ครัง้ ที่ 35 ประจ�ำปี 2562 ณ ศูนย์ประชุมพีช โรงแรมรอยัล คลิฟ โฮเต็ล กรุ๊ป พัทยา จังหวัดชลบุรี การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) ร่วมกับสมาคมช่างเหมาไฟฟ้า และเครือ่ งกลไทย จัดสัมมนาผูใ้ ช้ไฟฟ้าธุรกิจอุตสาหกรรม ครัง้ ที่ 35 ประจ�ำปี 2562 นับเป็นปีที่ 17 ที่ PEA มุ่งมั่นในการพัฒนาองค์กร อย่างต่อเนื่องและให้ความส�ำคัญต่อการสร้างความพึงพอใจให้กับ ลูกค้าสูงสุดทัง้ ด้านคุณภาพและบริการ เพือ่ เป็นการสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าในภาคอุตสาหกรรม และในปีนี้จัดภายใต้แนวคิด PEA Digital Utility การพัฒนา PEA มุง่ สูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นเลิศด้านธุรกิจ พลังงานไฟฟ้า ร่วมสร้างคุณค่าสูส่ งั คมและสิง่ แวดล้อมด้วยเทคโนโลยี September-October 2019

ดิจทิ ลั และเป็นการแสดงถึงความมุง่ มัน่ ของ PEA ทีจ่ ะพัฒนาองค์กร ให้ก้าวไปข้างหน้าให้เท่าทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว รวมถึงสามารถรองรับธุรกิจอุตสาหกรรมในยุค Disruptive Technology ซึ่ง PEA มีความมุ่งมั่นพัฒนาองค์กรให้เป็นการไฟฟ้า ที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรมและ ธุรกิจใหม่ พร้อมทั้งพัฒนากระบวนการท�ำงานที่รองรับยุคดิจิทัล สร้างมาตรฐานงานบริการทีเ่ ป็นเลิศ มีระบบไฟฟ้าทีท่ นั สมัย มัน่ คง เชื่อถือได้ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมคุณภาพชีวติ สิง่ แวดล้อมทีด่ แี ละสังคมทีย่ งั่ ยืน รวมทั้งเป็นเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่าง PEA กับผูผ้ ลิต ผูจ้ ำ� หน่ายผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและผูใ้ ช้ไฟฟ้า ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม


นอกจากนี้ มีการบรรยายพิเศษหัวข้อ “การพัฒนา Smart Industry” โดย ทัศนีย์ เกียรติภทั ราภรณ์ รองเลขาธิการสายงาน พัฒนาพื้นที่และชุมชน EEC และการเสวนาหัวข้อ “การพัฒนา อุตสาหกรรมยุคดิจทิ ลั ในพืน้ ที่ EEC” จากวิทยากรผูม้ ปี ระสบการณ์ ที่มีชื่อเสียงจาก PEA และภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม รวมทั้ง PEA จัดให้มกี ารแสดงบูธนิทรรศการ อาทิ โครงการ IHAMP, Smart Plus, Home Connext, FOMM พัฒนารถยนต์ไฟฟ้าเพือ่ อนาคตและคลินกิ ถามตอบให้ค�ำปรึกษาปัญหาด้านไฟฟ้าธุรกิจอุตสาหกรรม

ในงานนีท้ างบริษทั เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด ได้เข้าเข้าร่วมด้วย เพื่อเป็นการแนะน�ำวารสารและกิจกรรมของบริษัทให้เป็นที่รู้จัก กว้างขวางยิง่ ขึน้ พร้อมทัง้ เพือ่ ให้บริการแก่กลุม่ ลูกค้าของบริษทั ด้วย นอกจากนั้นยังมีบริษัทต่างๆ ได้น�ำผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ ของบริษทั เข้าร่วมจัดแสดงในงานครัง้ นีด้ ว้ ย ถือเป็นงานแสดงสินค้า และนิทรรศการด้านไฟฟ้าและอุตสาหกรรมครัง้ ใหญ่อกี ครัง้ หนึง่

September-October 2019


September-October 2019


September-October 2019


Cover Story

เปิดภารกิจพลิกองค์กรสู่ “Digital Utility” ของ

“สมพงษ์ ปรีเปรม”

หัวเรือใหญ่แห่งการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

PEA Digital Transformation พลิก “กฟภ.” สู่องค์กรดิจิทล ั การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค หรือ กฟภ. (PEA) ก�ำลังเดินหน้ำ เปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ภายใต้การน�ำของ “คุณสมพงษ์ ปรีเปรม” ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ที่มีวิสัยทัศน์ต้องการให้ PEA “มุ่งสู่องค์กรที่เป็นเลิศด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้า ตอบสนอง ความคาดหวั ง ของลู ก ค้ า ร่ ว มสร้ า งคุ ณ ค่ า สู ่ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล”

5 ยุทธศาสตร์เปลี่ยนองค์กรสู่ “Digital Utility” PEA ได้เริ่มด�ำเนินงานโครงการต่างๆ รวม 49 โครงการ เพือ่ ปรับเปลีย่ นองค์กรไปสู่ “องค์กรดิจทิ ลั ” หรือ Digital Utility โดยแบ่งเป็นด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ยกระดับไฟฟ้าให้เป็นเลิศด้วยดิจิทัล (Digital Energy Operation) จ�ำนวน 11 โครงการ 2. เชื่อมโยงลูกค้าด้วยเทคโนโลยี (Connected Customer) จ�ำนวน 8 โครงการ 3. ปรับเปลี่ยนสู่องค์กรสมัยใหม่ (Next Generation Enterprise) จ�ำนวน 7 โครงการ September-October 2019

4. เสริมสร้างบุคลากรแห่งอนาคต (Workforce of the Future) จ�ำนวน 6 โครงการ 5. แพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) จ�ำนวน 17 โครงการ คุณสมพงษ์ กล่าวว่า การพลิกองค์กร PEA สู่การเป็น Digital Utility ใช้เวลาประมาณ 5-6 ปี เรื่องแรกที่ท�ำคือ การยกระดับระบบ ไฟฟ้าให้เป็นเลิศด้วยดิจิทัล ด้วยการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้า เนื่องจาก การดิสรัปชันทางเทคโนโลยีท�ำให้การดูแลระบบไฟฟ้าไม่เหมือนเดิม ฉะนั้นสิ่งที่ต้องให้ความส�ำคัญคือเรื่อง Smart Grid (สมาร์ทกริด) หรือ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ซึง่ สามารถติดตามตรวจสอบและบริหารจัดการ ได้อย่างมีระบบ “เดิมพลังงานไหลด้านเดียว หมายความว่า ผู้บริโภคใช้ไฟฟ้า อย่างเดียว แต่ปัจจุบันผู้บริโภคมีการผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เอง รวมทั้งขาย เข้าระบบ อย่าง Solar Roof Top รวมทั้งแนวโน้มปริมาณการใช้ไฟฟ้า ในอนาคตจะเพิ่มสูงขึ้น เช่น การใช้งานยานพาหนะที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ฉะนั้นนอกจากจะมีการใช้พลังงานมากขึ้นแล้ว พลังงานยังต้องไหล 2 ทิศทางคือไหลเข้าไหลออก” “เมื่อแนวโน้มการใช้พลังงานเป็นแบบนี้การจัดการระบบแบบ


เดิมจะท�ำไม่ได้ จ�ำเป็นต้องมีโครงข่ายสมาร์ทกริด ซึ่งมีระบบ มิเตอร์อจั ฉริยะ (Advanced Metering Infrastructure : AMI) หรือ สมาร์ทมิเตอร์ ที่สามารถมอนิเตอร์การใช้พลังงาน รู้ว่าพลังงาน ไหลเข้าเท่าไหร่ ไหลออกเท่าไหร่ รวมทั้งสามารถส่งข้อมูลผ่าน ระบบสื่อสารแบบเรียลไทม์” ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กล่าวว่า โครงการพัฒนำ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะแห่งแรกอยู่ในพื้นที่เมืองพัทยา จ.ชลบุรี โดยภายในปี พ.ศ. 2563 พัทยาทัง้ เมืองจะเป็นโครงข่ายสมาร์ทกริด โครงการนีเ้ ป็นโครงการทดลองทีใ่ หญ่มาก มีการติดสมาร์ทมิเตอร์ 140,000 เครื่อง ซึ่งจะท�ำให้โครงข่ายของพัทยาเป็นโครงข่าย อัจฉริยะแห่งแรกของประเทศไทย

”บุคลากร” หัวใจหลักของการเปลีย ่ นแปลงองค์กร

ในฐานะผู ้ น� ำ ที่ ต ้ อ งพาองค์ ก รเดิ น หน้ า เปลี่ ย นแปลง ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคมองว่าหัวใจส�ำคัญในการปรับเปลีย่ น องค์กรก็คอื บุคลากร ฉะนัน้ การเสริมเสร้างบุคลากรแห่งอนาคต จึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง “คนเป็นหัวใจหลักของการขับเคลือ่ น ไม่วา่ จะสร้างเทคโนโลยี อะไรมาถ้าคนไม่ท�ำก็ไปไม่ได้ ฉะนั้นจึงต้องสื่อสารให้พนักงาน เข้าใจว่าท�ำไมต้องปรับ ถ้าไม่ปรับจะเกิดอะไรขึ้น องค์กรจะเป็น อย่างไรในอนาคต สิ่งที่เราปรับจะท�ำให้เกิดหลายอย่างตามมา มหาศาล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลดาต้าต่างๆ ซึง่ จะเป็นการสร้าง ธุรกิจใหม่ให้กับองค์กร” “ผมไม่มีนโยบายเอาพนักงานออก แต่ผมจะเพิ่มทักษะ ให้กับพนักงาน สร้างธุรกิจใหม่และให้เขาไปท�ำ” คุณสมพงษ์ กล่าวอีกว่า การเตรียมบุคลากรส�ำหรับอนาคต ต้องเปลีย่ น Mindset ของคน คือต้องท�ำความเข้าใจก่อนว่า Digital Utility คืออะไร เพราะ Digital Utility คือการเปลี่ยนกระบวนการ ท�ำงานเดิมใหม่ทั้งหมดโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยเสริม เช่น จากเดิมอาจมี 10 ขัน้ ตอน จะท�ำอย่างไรให้เหลือ 3 ขัน้ ตอน ให้มี ประสิทธิภาพมากที่สุดโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยเสริม ทุกกระบวนการทางธุรกิจของ PEA จะต้องเปลี่ยนใหม่ ทั้งหมด ซึ่งการสื่อสารให้คนทั้งองค์กรเข้าใจในทิศทางเดียวกัน ไม่ใช่เรือ่ งง่ายและเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งสือ่ สารตลอดเวลา ฉะนัน้ ผูบ้ ริหาร ในทุกระดับต้องเข้าใจตรงกันว่า Digital Utility คืออะไร จากนั้น ก็ต้องเริ่มปรับวิธีคิดการท�ำงาน เมื่ อ สื่ อ สารเสร็ จ ก็ ต ้ อ งเพิ่ ม ทั ก ษะพนั ก งานเพราะงาน บางอย่างอาจจะเปลีย่ นไป เนือ่ งจากต้องท�ำงานบนดิจทิ ลั ทัง้ หมด เช่น การประชุมจะไม่มีการใช้กระดาษอีกต่อไป หรือระบบการ เบิกจ่ายต่างๆ ก็จะให้พนักงานท�ำผ่านแอปพลิเคชันในโทรศัพท์ มือถือ ซึ่งขณะนี้ก�ำลังเริ่มท�ำแล้ว “เราก�ำลังสร้างการรับรูใ้ ห้กบั คนในองค์กร ซึง่ ไม่ใช่แค่รบั รู้ จากการฟัง แต่รบั รูจ้ ากการท�ำด้วย” ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กล่าว

ปรับเปลี่ยนสู่องค์กรสมัยใหม่

ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กล่าวอีกว่า สิง่ ส�ำคัญอีกประการ ในการพลิกโฉมองค์กรไปสู่ Digital Utility ก็คือการปรับปรุงข้อมูล มหาศาลที่กระจัดกระจายอยู่ในองค์กรให้เป็นระเบียบ เปลี่ยนข้อมูล ทีอ่ ยูใ่ นกระดาษให้กลายเป็นดิจทิ ลั ทัง้ หมด ซึง่ ในการเตรียมฐานข้อมูล เหล่านี้ต้องใช้เวลาในการด�ำเนินการเพราะข้อมูลไฟฟ้ามีจ�ำนวนมาก “ในอนาคตเมือ่ ปรับปรุงข้อมูลเหล่านีเ้ สร็จ จะน�ำไปสูก่ ารบริหาร จัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เนือ่ งจากสามารถบริหารข้อมูลแบบ เรียลไทม์ มีฐานข้อมูลทีถ่ กู ต้อง การตัดสินใจของผูบ้ ริหารจะท�ำได้อย่าง รวดเร็ว” “ทั้งหมดนี้อาจต้องใช้เวลา 4-5 ปี ในการขับเคลื่อนให้บรรลุ เป้าหมาย แต่ตอ้ งเริม่ วันนี้ ยังไม่มใี ครประกาศ ผมประกาศก่อน ซึง่ ตอนนี้ ก็เป็นการวางรากฐานเพื่อต่อยอดในอนาคต”

สร้างแพลตฟอร์มดิจิทล ั เชื่อมโยงลูกค้าด้วยเทคโนโลยี

คุณสมพงษ์ กล่าวว่า PEA มีแผนปฏิบัติการดิจิทัลชัดเจนว่ำ ใน 5 ยุทธศาสตร์ในการปรับเปลีย่ นองค์กรจะมีแพลตฟอร์มดิจทิ ลั อะไร บ้าง เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานทั้งองค์กร ซึ่งตามแผนปฏิบัติการ จะมีแพลตฟอร์มดิจิทัล 62 แพลตฟอร์ม แยกไปตาม 5 ยุทธศาสตร์ อาทิ การยกระดับความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security Enhancement) งานพัฒนาเครือข่ายรองรับศูนย์ข้อมูล (Data Center) โดยการพัฒนาแพลตฟอร์มทัง้ หมดมีการวางกรอบเวลาไว้เรียบร้อยแล้ว ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการด�ำเนินการ คุณสมพงษ์ กล่าวถึงการเชื่อมโยงลูกค้าด้วยเทคโนโลยีว่า ลูกค้าในวันนี้ไม่เหมือนเดิมและมีทางเลือกมากขึ้น เช่น เดิมลูกค้าเป็น ผู้ใช้ไฟฟ้าอย่างเดียว แต่ปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่ท�ำให้ลูกค้าผลิตไฟฟ้ำ เองได้ รวมทัง้ น�ำออกมาขายก็ได้ ซึง่ อนาคตการซือ้ ขายพลังงานระหว่าง ครัวเรือนก็จะเกิดขึน้ ฉะนัน้ เซอร์วสิ ทีจ่ ะน�ำไปบริการลูกค้า นอกจากจะ ต้องเป็นเซอร์วสิ ทีด่ ขี นึ้ แล้ว รูปแบบการให้บริการใหม่ๆ และความสะดวก ในการใช้งานต้องเกิดขึ้น “PEA น�ำเทคโนโลยีเข้ามายกระดับการให้บริการลูกค้าให้มี ประสิทธิภาพและช่วยให้ลูกค้าได้รับความสะดวกมากยิ่งขึ้น เช่น การพัฒนาแอปพลิเคชันส�ำหรับผู้ใช้ไฟฟ้า PEA Smart Plus ซึ่งช่วย เพิม่ ความสะดวกลูกค้า ไม่วา่ จะเป็นการช�ำระค่าไฟฟ้า แจ้งติดตัง้ มิเตอร์ รื้อถอนมิเตอร์ ฯลฯ สามารถท�ำได้บนแอปพลิเคชันเดียว” September-October 2019


1. ผลิตภัณฑ์ “PEA IHAPM” (Intelligent Home Appliances Power Monitoring) เป็นเครื่องตรวจจับและ

ระบบไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพมากขึ้น และนำ�ไปสู่ค่าไฟที่ถูกลง

ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กล่าวว่า การปรับเปลี่ยน องค์กรของ PEA ท�ำให้ผใู้ ช้ไฟฟ้าได้รบั ประโยชน์แน่นอน อันดับแรก คือ ได้รับบริการที่ดีขึ้น รวดเร็วขึ้น แก้ปัญหาไฟตกไฟดับได้มากขึ้น ระบบไฟฟ้าจะมีความมัน่ คงและบริหารจัดการได้ ทีส่ ำ� คัญจะน�ำไปสู่ ค่าไฟที่ถูกลงในอนาคต เพราะการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ก็จะมีบริการใหม่ๆ ตามมาจากข้อมูลที่ได้รับเพิ่ม มากขึ้นจากการน�ำดิจิทัลมาใช้ เช่น Behind Meter Business หรือ ธุรกิจหลังมิเตอร์ ทีจ่ ะเกิดจากโครงข่ายสมาร์ทกริดและสมาร์ทมิเตอร์ ซึ่งจะสามารถติดตามตรวจสอบและบริหารจัดการการใช้พลังงาน ในครัวเรือนได้ รวมทัง้ อาจมีบริการใหม่ๆ เพิม่ เข้ามาในอนาคตทีจ่ ะ ให้บริการลูกค้าในครัวเรือน ซึ่งธุรกิจนี้จะเป็นหนึ่งในธุรกิจใหญ่ของ PEA ในอนาคต

ชู 2 นวัตกรรมในงาน Thailand Lighting Fair 2019 และ Thailand Building Fair 2019

ในปีนี้ PEA เป็นเจ้าภาพในการจัดงาน Thailand Lighting Fair 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นพร้อมกับงาน Thailand Building Fair 2019 ระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม 2562 โดยสิง่ ที่ PEA จะน�ำไปจัดแสดง ภายในงานมี 2 ผลงาน คือ

ควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในทีพ่ กั อาศัย และอาคารส�ำนักงาน ทั่วไป รวมทั้งยังสามารถแจ้งเตือนเมื่อมีการใช้ไฟฟ้าที่ผิดปกติหรือ กระแสไฟฟ้าดับผ่านทางโทรศัพท์มอื ถือสมาร์ทโฟนด้วยแอปพลิเคชัน IHAPM ภายในบูธของ PEA จะมีการจ�ำลองห้องนั่งเล่นภายในบ้าน โดยแบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ ห้องนั่งเล่นรูปแบบเก่า ที่มีอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นระบบปกติทั่วไป และห้องนั่งเล่นรูปแบบใหม่ ที่มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้ารองรับระบบ IoT โดยห้องทั้ง 2 รูปแบบ จะแสดงการควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าผ่าน Application IHAPM 2. PEA Solar Hero เป็นแอปพลิเคชันแรกในประเทศไทย ที่น�ำ Digital Platform มาช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับประชาชน ทีม่ คี วามประสงค์จะติดตัง้ Solar Rooftop เพือ่ ผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ ใช้เองแบบครบวงจรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่การช่วย วิเคราะห์การใช้พลังงานไฟฟ้าเบื้องต้น การแนะน�ำขนาดก�ำลัง การผลิตติดตัง้ ทีเ่ หมาะสม การเลือกรูปแบบการลงทุน แหล่งเงินทุน จากธนาคาร การค�ำนวณความคุม้ ทุน รวมถึงแนะน�ำผลิตภัณฑ์และ ผูต้ ดิ ตัง้ ทีไ่ ด้มาตรฐาน ตลอดจนสามารถติดตามข้อมูลการใช้พลังงาน ผ่านแอปพลิเคชัน ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กล่าวว่า PEA หวังว่างาน Thailand Lighting Fair ซึ่งจัดร่วมกับ Thailand Building Fair จะ เติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ทีจ่ ะตอกย�ำ้ จุดยืนในการเป็นเวทีสง่ เสริม ศั ก ยภาพของประเทศไทยให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการจั ด งานแสดง นวัตกรรมไฟฟ้าแสงสว่าง เทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะ และการบริหาร จัดการพลังงานแห่งภูมิภาคอาเซียน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อภาค อุตสาหกรรมและธุรกิจที่เกี่ยวข้องให้สามารถเติบโตและแข่งขันใน ตลาดโลกได้ อันจะน�ำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย

พบกับนวัตกรรมจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในงาน Thailand Lighting Fair, Thailand Building Fair และ Secutech Thailand 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นพร้อมงาน Digital Thailand Big Bang ภายใต้แนวคิดร่วม Smart City Solutions Week 2019 ระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม 2562 ณ ฮอลล์ 104-105 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา September-October 2019


Interview > กองบรรณาธิการ

ดร.ธัญญวัฒน์ เกษมสุวรรณ

ศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนี่ยน... นวัตกรรมที่ช่วยสร้างความแตกต่าง และความได้เปรียบในการแข่งขัน

ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกอาหารส�ำเร็จรูปที่ส�ำคัญ ประเทศหนึ่งของโลก มีผู้ประกอบการรายใหญ่ๆ ที่มีฐานการผลิต ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ และส่งออกสินค้าไปจ�ำหน่ายทัว่ โลก หนึ่งในนั้นคือ บริษัท ไทยยูเนี่ยนกรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไทยยูเนีย่ นกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) มีประวัตทิ ยี่ าวนาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เริ่มตั้งบริษัทภายใต้ชื่อ บริษัท ไทยรวมสิน อุตสาหกรรม จ�ำกัด เป็นบริษทั ทีด่ ำ� เนินธุรกิจแปรรูปและส่งออกทูนา่ กระป๋อง ต่อมาเติบโตและสัง่ สมประสบการณ์จนกระทัง่ มีผลิตภัณฑ์ และเป็นแบรนด์ที่นิยมของผู้บริโภคทั่วโลก โดยมีวิสัยทัศน์ที่จะเป็น ผู้น�ำธุรกิจอาหารทะเลที่ได้รับความไว้วางใจมากที่สุดในโลก ต่อมา เปลีย่ นเป็นบริษทั ไทยยูเนีย่ น โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) จนปี พ.ศ. 2558 ก็ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น บริษทั ไทยยูเนีย่ น กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมทัง้ เปิด ศูนย์นวัตกรรม Global Innovation Incubator เพือ่ เป็นการเร่งความก้าวหน้าด้านนวัตกรรม ซึง่ เป็นศูนย์วจิ ยั และพัฒนา ระดับโลก และเป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยเริ่มตั้งศูนย์ครั้งแรก ที่มหาวิทยาลัยมหิดล ท�ำงานร่วมกับนักวิจัยในสถาบันการศึกษา หลายแห่ง ต่อมาจึงย้ายมาที่อาคารเอสเอ็ม สถานที่ในปัจจุบัน ศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนีย่ น บริษทั ไทยยูเนีย่ นกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี กระบวนการ ผลิต นวัตกรรมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ตลอดจนรู้ลึกถึงการพัฒนา รสชาติ เนื้อสัมผัสของอาหาร ก่อนส่งออกจัดจ�ำหน่ายในตลาด ศู น ย์ น วั ต กรรมแห่ ง นี้ ป ระกอบไปด้ ว ยห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารด้ า นเคมี ห้องปฏิบัติการด้านโภชนาการ และห้องปฏิบัติการด้านนวัตกรรม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งมีโรงงานต้นแบบ ส�ำนักงาน และ

พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ การจั ด ประชุ ม และงานกิ จ กรรมต่ า งๆ เรี ย กได้ ว ่ า ศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนีย่ น เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์และเทคโนโลยี ที่ทันสมัยส�ำ หรับการวิจัยและค้นคว้าด้านปลาทูน่า โดยเฉพาะ เพือ่ สร้างความยัง่ ยืนด้วยการใช้ทรัพยากรประมงให้มปี ระสิทธิภาพ ด้วยวิธีการผลิตและเทคโนโลยีทันสมัยทัดเทียมสากล การพัฒนา เทคโนโลยี กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ ที่เปลี่ยนวงการ อุตสาหกรรม ด้วยการรวมตัวของนักวิชาการชัน้ น�ำและนักวิจยั ของ บริษัทที่มีประสบการณ์ในระดับโลกมามากมายหลายสิบปี ทั้งด้าน เทคโนโลยีชวี ภาพทางทะเล วิศวกรรม ชีวการแพทย์ ศาสตร์ทางด้าน อาหารและโภชนาการ ท�ำให้ศนู ย์นวัตกรรมของไทยยูเนีย่ นมีศกั ยภาพ และด�ำเนินการเพือ่ เปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรมอาหารทะเลให้มคี วาม ทันสมัย ดร.ธัญญวัฒน์ เกษมสุวรรณ ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์นวัตกรรม บริษทั ไทยยูเนีย่ นกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ศูนย์นวัตกรรมนี้ ได้รบั การออกแบบมาเพือ่ การใช้งานอย่างลงตัว ไม่วา่ จะเป็นการใช้ ในงานอเนกประสงค์ การควบคุมเสียง การสัน่ ความชืน้ การระบาย อากาศ และความดันอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทางศูนย์นวัตกรรม ได้ทำ� งานร่วมกับสถาบันการศึกษาในหลายๆ ประเทศ อาทิ นอร์เวย์ ไอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา สเปน เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี และ ญี่ปุ่น “ทางศูนย์ฯ ได้รว่ มศึกษาวิจยั นวัตกรรมร่วมกับมหาวิทยาลัย ในลักษณะที่เรียกว่า Corporation Research เพราะมหาวิทยาลัย นั้นมีองค์ความรู้ โดยได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี September-October 2019


มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนย์นวัตกรรม ไทยยูเนี่ยนเราได้ต่อยอดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างภาค การศึกษากับภาคอุตสาหกรรม โดยการท�ำงานภายใต้การดูแลของ ที่ปรึกษาจากภาคการศึกษาโครงการนี้ช่วยส่งเสริมให้บัณฑิตและ นักวิทยาศาสตร์ของศูนย์นวัตกรรม ได้มกี ารเรียนรูแ้ ละพัฒนาศักยภาพ ร่วมกัน อีกทัง้ มีโอกาสศึกษาต่อจนส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท ในขณะเดียวกันก็ได้ท�ำงานวิจัยร่วมกับศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนี่ยน อีกด้วย ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนนีส้ ร้างความน่าเชือ่ ถือ ให้กับศูนย์นวัตกรรม เปิดโอกาสให้มหาวิทยาลัยได้มีประสบการณ์ ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมจริง อีกทั้งมีค่าใช้จ่ายน้อยเนื่องจากใช้ เครือ่ งมือและอุปกรณ์รว่ มกัน นอกจากนีย้ งั สร้างทรัพย์สนิ ทางปัญญา อันมีค่าให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอีกด้วย”

ของเราในการสร้างความหลากหลายของบุคลากร เพราะเราเชือ่ ว่า ความหลากหลายต่างๆ เช่น ความสนใจ อายุ เพศ และเชื้อชาติ เมือ่ รวมเข้าด้วยกันจะก่อให้เกิดวิธกี ารคิดทีห่ ลายมุมมอง ไปข้างหน้า และมีประสิทธิภาพ เพื่อขับเคลื่อนไปสู่ความส�ำเร็จ ดร.ธัญญวัฒน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า “เรามีการสร้าง Office กับ Lap ไว้ในชั้นเดียวกันที่ชั้น 28 ท�ำให้ในระยะแรกอาจจะมีกลิ่นปลา ออกมาบ้าง เพื่อแก้ไขปัญหาเราก็มีการ Design ให้ Lap กับ Office สามารถท�ำงานร่วมกันได้ โดยเปลีย่ นระบบความดันอากาศของทีเ่ รา ท�ำงาน ความดันอากาศในห้อง Office จะมีความดันอากาศสูงกว่า ห้อง Lap ต้องมีการควบคุมหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นความชื้น กลิ่น อุณหภูมิ เพื่อไม่ให้กลิ่นหรือสิ่งแปลกปลอมออกมารบกวนคนใน ส�ำนักงานหรือบริเวณอื่นๆ”

ปัจจุบันศูนย์วิจัยแห่งนี้มีนักวิจัยท�ำงานประมาณ 150 คน มาจากหลากหลายเชื้อชาติ และใช้เงินลงทุนกว่า 600 ล้านบาท โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะสร้างผลตอบแทนจากการลงทุนคิดเป็นร้อยละ 10 ของรายได้บริษทั ภายในปี พ.ศ. 2563 นอกจากนัน้ ยังใช้เงินลงทุนกว่า 100 ล้านบาท ในการซื้ออุปกรณ์ด้านวิจัยที่ทันสมัย ซึ่งที่ผ่านมา ในปี พ.ศ. 2558 งานวิจัยหลักเรื่องทูน่าของบริษัทได้รับการยกย่อง ว่ามีความทันสมัยในระดับโลก ศูนย์นวัตกรรมฯ ได้รับการออกแบบให้มีความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงถึงกัน โดยประกอบไปด้วย ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารด้ า นเคมี ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารด้ า นโภชนาการ และ ห้องปฏิบัติการด้านนวัตกรรมและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ นอกจากนีย้ งั มีโรงงานต้นแบบและส�ำนักงาน ซึง่ มีพนื้ ทีส่ ำ� หรับ จัดประชุมและงานกิจกรรมต่างๆ ความคล่องตัว ทันสมัย ดีไซน์ ที่เปิดโล่งเป็นจุดเด่นของพื้นที่ที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อทลาย สิ่งกีดขวางในการท�ำงานร่วมกันต่างๆ อีกทั้งส่งเสริมให้เกิดความ ใกล้ชดิ ของนักวิจยั การแลกเปลีย่ นความคิด และเกิดความร่วมมือกัน โดยศูนย์นวัตกรรมนีไ้ ด้รบั การออกแบบมาเพือ่ การใช้งานอย่างลงตัว ไม่ว่าจะเป็นการใช้ในงานอเนกประสงค์ การควบคุมเสียง การสั่น ความชืน้ การระบายอากาศ และความดันอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการแสดงตัวอย่างสินค้าตลอดผนังแก้ว 2 ข้างทาง โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ เตือนใจและเชือ่ มโยงนักวิจยั ให้เข้าถึงผูบ้ ริโภคทัว่ โลก นอกจากนี้ การออกแบบศูนย์นวัตกรรมยังได้สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่น

นวัตกรรมมีความส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนการเติบโตทาง ธุรกิจของไทยยูเนีย่ นให้กา้ วหน้าขึน้ ไปอีกระดับ อีกทัง้ มีบทบาทส�ำคัญ ในการก�ำหนดอนาคตของบริษทั เพราะนวัตกรรมจะช่วยสร้างความ แตกต่างและความได้เปรียบในการแข่งขันในตลาด “ตลอดระยะเวลา 6 ปี ที่ผมท�ำงานมาผมให้ความส�ำคัญกับ Circular Economy ผมมองว่าสิง่ นีเ้ ป็นสิง่ ส�ำคัญในการท�ำอุตสาหกรรม ไม่ใช่แค่เฉพาะอุตสาหกรรมอาหารเพียงอย่างเดียว แต่ผมคิดว่า ทุกอุตสาหกรรมควรให้ความส�ำคัญกับ Circular Economy อย่าง บริษทั ไทยยูเนีย่ นเราผลิตปลากระป๋อง เราท�ำการซือ้ ปลามาจ�ำนวน 100 กิโลกรัม แต่พอเราน�ำมาท�ำจริงๆ แล้วเราใช้ปลาไม่ครบจ�ำนวน 100 กิโลกรัม เพราะเราต้องมีการหั่น สไลด์ ทิ้งบางส่วน เพื่อที่ เอาแต่ส่วนที่เราต้องการ นี้เป็นส่วนที่ผมบอกว่าเราควรค�ำนึงและ ให้ความส�ำคัญกับ Circular Economy บริษัทไทยยูเนี่ยนไม่ได้มีแค่ โรงงานผลิตปลากระป๋องอย่างเดียว แต่เรามีโรงงานผลิตน�ำ้ มันปลา ดังนั้นการให้ความส�ำคัญเลยนั้นก็คือ เราสามารถสร้าง Value ในส่วนตรงนีไ้ ด้อย่างมหาศาล คือไม่ตอ้ งไปหาซือ้ อะไรเพิม่ แล้ว ในเมือ่ เรามีอยู่แล้ว แต่เราน�ำมาใช้อย่างถูกวิธี แค่นี้ก็จะเป็นการให้คุณค่า กับสิ่งที่เราใช้ และน�ำกลับมาใช้ให้อย่างคุ้มค่า” ซึ่งตัวผลิตภัณฑ์ ไทยยูเนี่ยนใส่ใจดูแลทุกขั้นตอนการผลิต เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์เต็มไปด้วยคุณภาพและคุณค่าทางโภชนาการ อีกทัง้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของตลาดทีแ่ ตกต่างกันไป นอกจากนี้ ยังได้สร้างสรรค์นวัตกรรมอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ผลิตภัณฑ์นนั้ มีความ

September-October 2019


โดดเด่นในตลาด ดร.ธัญญวัฒน์ กล่าวว่า “เรามีการศึกษาจากลูกค้าโดยตรงว่าชอบ ทูน่าแบบไหน ไม่ชอบแบบไหน ก็ได้ผลการศึกษาว่า ไม่ต้องการทูน่าที่มี กลิ่น เพราะเวลาจะรับประทานกลิ่นค่อนข้างแรง ทูน่าในรูปแบบกระป๋อง เป็นอะไรที่เดิมๆ ท�ำให้ลูกค้าเบื่อ เราจึงน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเป็น เทคโนโลยีทเี่ รียกว่า High Pressure Processing (HPP) โดยทีเ่ ราจดสิทธิบตั ร โดยการน�ำปลาเข้า HPP ออกมาแล้วเราสามารถท�ำ Fish Slide Tuna ที่มี ลักษณะคล้ายๆ กับแฮมชิ้นบางๆ และเราก็ท�ำออกมาเป็น Tuna Slide สามารถกินกับขนมปัง ท�ำเป็นแซนด์วิชได้เลย และจุดเด่นก็คือไม่มีกลิ่น ผลิตภัณฑ์ตวั ใหม่นเี้ ราได้มกี ารเปิดตัวสินค้าออกมาแล้ว ทุกวันนีค้ นอาจจะ มองอาหารกระป๋องนัน้ เป็นอะไรทีเ่ ก่า ดูไม่นา่ รับประทาน สิง่ แรกของลูกค้า ที่จะสนใจสินค้าใหม่คือ บรรจุภัณฑ์ ไม่ใช่ตัวผลิตภัณฑ์ และหลายคนก็

ตัดสินใจซือ้ จากบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ เราเองก็มกี ารศึกษาจากลูกค้าโดยตรงก่อน ทีจ่ ะท�ำตัวผลิตภัณฑ์ออกมา ซึง่ ในตอนนีก้ ไ็ ด้ Launch ออกมาแล้วทีป่ ระเทศ อังกฤษและประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศไทยก็มวี างขายแล้วเช่นกัน ซึ่งเรายังคงเน้นและให้ความส�ำคัญของความสดใหม่ ไม่มีกลิ่น” บริษัท ไทยยูเนี่ยน ให้ความส�ำคัญกับงานวิจัย มีการพัฒนางาน วิจัยและนวัตกรรมใหม่ๆ อยู่ตลอด งานวิจัยแต่ละงานนั้นใช้ระยะเวลา ไม่เท่ากัน บางงานอาจจะใช้ระยะเวลา 6 เดือน บางงานอาจจะใช้ระยะเวลา 3 ปี และสิง่ ทีน่ า่ เป็นห่วงส�ำหรับประเทศไทยคือประเทศไทยยังขาดแรงงาน ทางด้านวิจยั นักวิทยาศาสตร์ ถือเป็นจุดอ่อนของประเทศไทย เพราะจุดที่ จะสร้างความแข็งแกร่งของประเทศก็คือ ต้องหาคนที่มีความสามารถเข้า มาอยู่ในกลุ่มนักวิจัยและนักพัฒนานักวิทยาศาสตร์ของประเทศ ซึ่งเป็น สิง่ ทีศ่ นู ย์นวัตกรรมไทยยูเนีย่ นค�ำนึงและให้ความส�ำคัญกับความสามารถ ไทยยูเนีย่ นให้ความส�ำคัญในเรือ่ งของบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ มีความ สามารถ ถึงแม้ศูนย์จะมีประสิทธิภาพ แต่หากขาดผู้เชี่ยวชาญ ขาดความ สามารถ การสร้างศูนย์นวัตกรรมก็จะไม่มปี ระสิทธิภาพ ดังนัน้ ความยัง่ ยืน ก็จะไม่เกิดขึ้นกับศูนย์หรือองค์กร เพราะฉะนั้นแล้วการหาคนที่มีความ สามารถนั้นยาก แต่ Start Up จะเป็นจุดเปลี่ยนที่อาจจะท�ำให้คนหันมา ให้ความส�ำคัญทางนีม้ ากขึน้ เพราะ Start Up จะสามารถสร้างอนาคตตัวเอง ได้โดยที่ไม่ต้องไปหวังพึ่งคนอื่น เพราะ Start Up นั้นเป็นบริษัทเล็กๆ ความเสี่ยงจะไม่มากเท่าบริษัทใหญ่ๆ และ Start Up จะสามารถ Disrupt บริษัทใหญ่ๆ ได้ในอนาคต

“ศูนย์นวัตกรรมไทยยูเนี่ยน จะเป็นศูนย์ที่มีศักยภาพ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการด� ำ เนิ น การเพื่ อ เปลี่ ย นแปลง อุตสาหกรรมอาหารทะเลให้มีความทันสมัย ในฐานะที่เป็น ผู้น�ำธุรกิจอาหารทะเลระดับโลก ไทยยูเนี่ยนใส่ใจในการวาง มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม สิง่ แวดล้อม และเศรษฐกิจ เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์มากทีส่ ดุ ” ดร.ธัญญวัฒน์ กล่าว สุดท้าย ดร.ธัญญ์วัฒน์ ได้ให้แนวคิดกับ SMEs ว่า อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมที่มีความส�ำคัญต่อ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งในด้านการผลิต การจ้างงาน และการส่ ง ออก เห็ น ได้ ชั ด ว่ า มี ห ลายประเทศเข้ า มาใช้ ประเทศไทยเป็นฐานในการผลิต อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรม อาหารในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม ดังนัน้ ในภาวะเศรษฐกิจทีม่ กี ารแข่งขันค่อนข้าง สูง จึงท�ำให้ SMEs ในประเทศต้องแข่งขันกันเอง หากมีการ เปลี่ยนมุมมองจากที่แข่งขันกันเอง ให้เปลี่ยนมาเป็นแข่งขัน กับต่างชาติ เพือ่ เป็นการสร้างความเข้มแข็ง และสามารถทีจ่ ะ สร้างความต่าง เป็นการขับเคลื่อนให้ไปสู่ต่างประเทศ เพิ่ม ความแข็งแกร่งให้กับประเทศไทย และเพื่อให้เป็นประโยชน์ จากความต้องการบริโภคและส่งออกเกิดขึ้นกับ SMEs ใน ประเทศก่อให้เกิดรายได้และประโยชน์ตอ่ ระบบเศรษฐกิจของ ประเทศอย่างแท้จริง อุตสาหกรรมอาหารจะเป็นอุตสาหกรรม ทีอ่ ยูค่ กู่ บั ประเทศไทยไปอีกนาน ตราบทีร่ ฐั บาลให้ความส�ำคัญ และที่ส�ำคัญที่สุดก็คือ ผู้ประกอบการจะต้องไม่หยุดพัฒนา ตนเอง โดยเฉพาะกลุม่ SMEs ควรมุง่ เน้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มเี อกลักษณ์ มีคณ ุ ค่า มีคณ ุ ภาพและค�ำนึงถึงความปลอดภัย ในระดับมาตรฐานสากล และแข่งขันกับชาวต่างชาติ เป็น การเพิม่ ความแข็งแกร่ง และขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ ให้มีความก้าวหน้าต่อไป September-October 2019


Interview

> สมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย

ธวัช มีชย ั

นายกสมาคม “GEN THAI”

กับภารกิจวางมาตรฐาน วงการเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าไทย จัดอบรมตลอดปีพฒ ั นาวงการ เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าไทย

เปิดใจ ธวัช มีชัย นายกสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย กับภารกิจการวาง มาตรฐานออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าเพือ่ วิศวกรไทย รวมทัง้ การจัด GEN THAI PAVILION ครั้งแรกในงาน Smart City Solutions Week 2019 “เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า” นับเป็นหัวใจหลักของทุกอุตสาหกรรม เนื่องจาก ไฟฟ้าคือพลังงานหลักในการขับเคลื่อนของทุกๆ องคาพยพของอุตสาหกรรม ฉะนัน้ “มาตรฐานออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า” จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญยิง่ เพราะเป็นรากฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึ้นควบคู่ไปกับความปลอดภัย นีจ่ งึ เป็นทีม่ าของการจัดตัง้ “สมาคมเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าไทย (GEN THAI)” ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในการจัดท�ำมาตรฐานออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า (Design and Installation Standard of Generator Set) รวมทั้งส่งเสริมวิชาชีพ วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า และเป็นศูนย์กลางในการ แลกเปลี่ยนและเผยแพร่เทคโนโลยีระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ

กำ�หนดมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า เพื่อวิศวกรไทย

นายกสมาคมเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าไทย กล่าวว่า บทบาทส�ำคัญของสมาคมฯ คือ การร่วมมือกับ วสท. ในการวางมาตรฐานออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า ซึ่งผ่านการท�ำเทคนิคพิจารณ์ และจัดพิมพ์จ�ำหน่ายครั้งแรกโดย วสท. ในปี พ.ศ. 2559 เพื่อใช้เป็นแนวทางส�ำหรับวิศวกรไทยในการออกแบบและติดตั้ง เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าภายในประเทศ “บางครัง้ มาตรฐานทีส่ มาคมฯ จัดท�ำขึน้ ยังถูกน�ำไปใช้เป็นแนวทางออกแบบ ติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงด้วย” นายกสมาคม เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย กล่าว ธวัช กล่าวด้วยว่า ปัจจุบนั มาตรฐานออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า อยู่ระหว่างการปรับปรุงเพื่อแบ่งเป็นมาตรฐานส�ำหรับการออกแบบและติดตั้ง เครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ในสถานที่ ต ่ า งๆ ได้ แ ก่ อาคารทั่ ว ไป สถานพยาบาล ท่าอากาศยานและดาต้าเซ็นเตอร์ September-October 2019

นายกสมาคมเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าไทย กล่าวอีกว่า สมาคมฯ ได้รว่ มกับ บริษทั อินดีด้ ไลน์ จ�ำกัด จัดอบรม เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ระบบสายดินส�ำหรับเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์สบั เปลีย่ น แหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ และอุปกรณ์ต่อตรง อุปกรณ์ ป้องกันและการเดินสายไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อให้ความรู้ แก่วิศวกรผู้ออกแบบ ผู้ดูแลอาคาร และผู้ที่เกี่ยวข้อง กับระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ซึ่งมีตารางการจัดอบรม ตลอดทั้งปี นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังจัดกิจกรรมช่วยเหลือ สังคมภายใต้ “มูลนิธินายช่างไทยใจอาสา” ให้ความ ช่วยเหลือในการตรวจสอบเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า โดยปัจจุบนั ก�ำลังไปตรวจสอบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าของโรงพยาบาล ในกรุงเทพฯ ซึ่งมีติดต่อกันไว้ 9 แห่ง โดยตรวจสอบว่า สภาพของเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า พร้ อ มใช้ ง านหรื อ ไม่ หากเกิดไฟฟ้าดับหรือขัดข้อง เพราะเป็นหนึง่ ในอุปกรณ์ ช่วยชีวิต “สมาคมฯ ยังมีเข้าไปให้การช่วยเหลือภาคเอกชน และราชการที่ ป ระสบปั ญ หาเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ไม่สามารถใช้การได้ เราก็เข้าไปให้ความรูแ้ ละให้คำ� ปรึกษา ในการแก้ ป ั ญ หาเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ที่ ใช้ ง านไม่ ไ ด้ ประสิทธิภาพจนสามารถใช้งานได้” ธวัช กล่าว

เทรนด์เทคโนโลยีเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า

ธวัช กล่าวถึงแนวโน้มเทคโนโลยีและมาตรฐาน เครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ว่ า ปั จ จุ บั น ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ามีความสนใจเทคโนโลยีเกี่ยวกับ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ามากขึ้น มีการเลือกเครื่องยนต์ ต้นก�ำลังที่เป็นเครื่องยนต์อิเล็กทรอนิกส์ และระบบ ควบคุมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่เป็น Microprocessor ซึ่ง มีประสิทธิภาพมากกว่าแทนระบบเก่าทีเ่ ป็นเครือ่ งยนต์ ต้นก�ำลังแบบ Mechanic Engine และระบบควบคุมแบบ Analog ท�ำให้ขนาดของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าในปัจจุบัน มีขนาดเล็กกว่าเดิมมาก


ขณะทีใ่ นเรือ่ งมาตรฐานต่างๆ สามารถหาดูได้งา่ ยจาก เทคโนโลยีการสือ่ สารทีร่ วดเร็ว เช่น มาตรฐาน NFPA มาตรฐาน UPTIME มาตรฐาน ANSI/BICSI มาตรฐาน ISO8528 และ มาตรฐาน IEC เป็นต้น จึงท�ำให้มกี ารน�ำมาตรฐานต่างๆ เหล่านี้ มาใช้ประกอบการออกแบบ ติดตั้งและใช้งานเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้า

ครั้งแรก! กับพาวิลเลี่ยนรวบรวมเทคโนโลยี เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า

ธวัช กล่าวว่า จากทีเ่ คยได้รบั เชิญไปชมงาน Secutech ที่ประเทศไต้หวัน และได้พบกับคุณนิคม เลิศมัลลิกาพร ประธาน บริษัท เวิลด์เด็กซ์ จี.อี.ซี. จ�ำกัด ในฐานะตัวแทน ด้านการจัดงานแสดงสินค้าระดับนานาชาติชั้นน�ำของไทย ก็ได้มีการหารือกัน ท�ำให้สมาคมฯ มีความต้องการที่จะจัด พาวิลเลีย่ นของสมาคมเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าไทย เพือ่ น�ำสินค้า เกี่ยวกับระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ซึ่งมีความส�ำคัญกับระบบ ป้องกันอัคคีภัยมาจัดแสดง เพื่อให้บุคคลทั่วไปมีความเข้าใจ ระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ามากขึ้น ส�ำหรับพาวิลเลีย่ นของสมาคมเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าไทย ที่จัดแสดงในงาน Thailand Lighting Fair, Thailand Building Fair และ Secutech Thailand 2019 ระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม 2562 ที่ไบเทค บางนา นั้น จะอยู่บริเวณฮอลล์ 105 พื้นที่ 180 ตารางเมตร โดยมีบริษัทสมาชิกของสมาคมฯ ร่วมน�ำเทคโนโลยีเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ามาจัดแสดง ได้แก่ บริษทั คัมมิน่ ส์ ดีเคเอสเอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษทั อีเมค จ�ำกัด บริษัท ฟูจิ เอสเอ็มบีอี (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เกทเวย์ อินเตอร์เทรด จ�ำกัด บริษัท ไอยรา อินเตอร์เทรด จ�ำกัด บริษทั มัลติโค เอ็นจิเนียริง่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษทั พิลเลอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เพาเวอร์เรด จ�ำกัด บริษัท พียูที เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด บริษัท ยูนิติสส์ จ�ำกัด

สัมผัสเทคโนโลยีเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้าในพาวิลเลี่ยน พร้อม 2 งานสัมมนาใหญ่

นายกสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย กล่าวว่า ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชม พาวิลเลี่ยนของสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทยในปีนี้ จะได้ชมเทคโนโลยี ระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าใน 4 หมวด คือ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ ประกอบ อุปกรณ์ซอ่ มบ�ำรุง อุปกรณ์ทดสอบ อาทิ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าแบบ ติดตัง้ ภายในอาคาร (Indoor Type Generator Set) เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าแบบ ติดตั้งภายในตู้ครอบ (Enclosed Type Generator Set) อุปกรณ์ประกอบระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เช่น สวิตช์สับเปลี่ยน แหล่งจ่ายไฟอัตโนมัติ (ATS) ตู้สวิตช์บอร์ด โหลดเทียม (Resistive Load Bank) ระบบขนานเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า (Synchronizing Panel) ชุดจ่าย ก�ำลังไฟฟ้าส�ำรอง (Battery Power Box) รวมทัง้ ยังมีการให้คำ� ปรึกษาและ ให้ความรู้เกี่ยวกับระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าและอื่นๆ ด้วย นอกจากนี้ ภายในงานสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย ยังจัดการ สั ม มนาและอบรมให้ กั บ ผู ้ ส นใจ 2 หั ว ข้ อ ได้ แ ก่ การสั ม มนาเรื่ อ ง “การออกแบบชุดเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรองฉุกเฉิน รุน่ ที่ 2 (Design of The Emergency Power Supply, EPS)” ระหว่างวันที่ 29-31 ตุลาคม 2562 โดยการสัมมนาดังกล่าวจะเป็นหลักสูตรการอบรม 3 วัน โดยวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งหลังการสัมมนาผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์ตั้งแต่ 75% ขึ้นไป จะได้รับ “หนังสือรับรองความรู้ความสามารถ ประเภท ก” โดยสมาคม เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย ขณะที่อีกหัวข้อ สมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทยได้ร่วมกับสมาคม ผู้ตรวจสอบอาคาร สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย สมาคม วิศวกรที่ปรึกษาเครื่องกลและไฟฟ้าไทย จัดการอบรม “พื้นฐานความรู้ วิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับการขอรับใบอนุญาต ระดับภาคีวศิ วกรไฟฟ้า/เครือ่ งกลพิเศษ (เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรอง)” โดยการอบรมจะจัดระหว่างวันที่ 29-31 ตุลาคม 2562 ภายในงานทีไ่ บเทค บางนา เช่นเดียวกัน ทีส่ ำ� คัญสมาคมฯ ได้มสี ว่ นลดพิเศษค่าลงทะเบียนให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมงาน โดยเฉพาะด้วย ผูส้ นใจสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ คุณประภัสสร บุญสม 08-1458-4441, 0-2184-4612

พบกับพาวิลเลี่ยนของสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย (THAI GENERATOR ASSOCIATION PAVILION) ได้ ในงาน Thailand Lighting Fair, Thailand Building Fair และ Secutech Thailand 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นพร้อมงาน Digital Thailand Big Bang ภายใต้แนวคิดร่วม Smart City Solutions Week 2019 ระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม 2562 ณ ฮอลล์ 104-105 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา September-October 2019


Article

> ซาการิ กูอิกกะ ผู้จัดการทั่วไป ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย

ส่งเสริมประสิทธิภาพ

อุตสาหกรรมการบริการ ของประเทศไทยด้วยโคบอทำ ไม่นา่ แปลกใจทีภ่ าคธุรกิจบริการของเมืองไทยเป็นตัวขับเคลือ่ น การเติบโตทางเศรษฐกิจหลักของประเทศอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยสมญานาม “สยามเมืองยิ้ม” ท�ำให้ประเทศไทยเป็นที่เลื่องลือในฐานะสถานที่ ท่องเทีย่ วชัน้ น�ำ ซึง่ มีนกั ท่องเทีย่ วเดินทางมาเยือนมากถึง 38 ล้านคน ในปี ค.ศ. 20181 แม้ตลาดนัดกลางคืนและร้านจ�ำหน่ายสินค้าริมทาง ถือเป็นสิง่ ทีพ่ บเห็นได้ทวั่ ไปในช่วงทศวรรษทีผ่ า่ นมา แต่รา้ นจ�ำหน่าย สินค้าระดับไฮเอนด์ก็เริ่มมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมาก ธนาคารแห่งประเทศไทยตั้งข้อสังเกตว่า ธุรกิจภาคบริการ ถือเป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศมากกว่า ครึ่งในปีที่ผ่านมา2 โดยมีคนท�ำงานกว่า 17 ล้านต�ำแหน่ง หรือคิด เป็น 40% ของแรงงานทีก่ ระจายตัวอยูใ่ นอุตสาหกรรมต่างๆ ทัง้ การ ท่องเทีย่ ว ธุรกิจค้าปลีก การดูแลสุขภาพ การสือ่ สาร และการขนส่ง3 แม้ว่าข้อมูลจากธนาคารโลกชี้ว่ามีตัวเลขที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ หากการส่งเสริมผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศโดยธุรกิจภาค บริการของเมืองไทยกลับประสบภาวะซบเซาในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา4 โดยพบว่ามีกำ� ลังการผลิตต�่ำมาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจาก มีแรงงานทักษะต�่ำ และเกิดธุรกิจการส่งออกด้านการบริการ ซึ่งมี แนวโน้มที่จะเข้าไปอยู่ในกลุ่มธุรกิจ “กระแสหลัก” มากขึ้น ด้วยการมาถึงของแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 ท�ำให้การใช้งาน ระบบอัตโนมัติและเทคโนโลยีหุ่นยนต์อาจกลายเป็นตัวจักรส�ำคัญ ในการเสริมสร้างความเติบโต โดยธุรกิจต่างๆ จ�ำเป็นต้องยกระดับ ศักยภาพด้านเทคโนโลยีเหล่านี้ เพื่อสร้างความได้เปรียบในการ แข่งขันและรักษาธุรกิจให้ยั่งยืน September-October 2019

หุ่นยนต์เพื่อการทำ�งานร่วมกับมนุษย์ ได้รบ ั การพิสูจน์แล้วว่ามีประโยชน์สำ�หรับผู้ผลิต

โดยทั่วไป หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมมักเป็นเครื่องจักร ขนาดใหญ่และอยู่ในพื้นที่จ�ำกัดเพื่อการท�ำงานซ�้ำๆ และเสี่ยง อันตราย หากหุ่นยนต์เพื่อการท�ำงานร่วมกับมนุษย์ (โคบอท) ที่มี ความคล่องตัวกว่า ถือเป็นเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ที่ผ่านการพิสูจน์ แล้วว่ามีประโยชน์ต่อบรรดาผู้ผลิต ซึ่งน�ำไปสู่อุปสงค์การใช้โคบอท ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ โดยคาดการณ์วา่ ยอดจ�ำหน่ายโคบอททัว่ โลกจะเพิม่ ไป อยู่ที่ 735,000 รายการ ภายในปี ค.ศ. 2025 จาก 60,900 รายการ เมื่อปีที่ผ่านมา5 แมคคินซีย์ กล่าวว่า ผูผ้ ลิตทีบ่ รู ณาการแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0 โดยใช้โซลูชันอย่างโคบอท สามารถคาดหวังการเพิ่มขึ้นของ ก�ำลังการผลิตได้มากถึง 300%6 บริษัทต่างๆ ไม่จ�ำเป็นต้องว่าจ้างวิศวกรหุ่นยนต์เพื่อมา ตัง้ โปรแกรมการท�ำงานทีเ่ รียบง่ายอีกต่อไป เพราะการตัง้ โปรแกรม เริ่มใช้งานโคบอทสามารถท�ำได้อย่างง่ายดายแม้แต่กับผู้ที่มีความรู้ เรื่องเทคโนโลยีหุ่นยนต์เพียงเล็กน้อย และเนื่องจากโคบอทใช้เพื่อ การท�ำงานซ�ำ้ ๆ และใช้แรงมาก ท�ำให้พนักงานมีเวลาเพิม่ ขึน้ ในการ พุ่งความสนใจให้กับงานที่มีความส�ำคัญมากกว่า ซึ่งช่วยสร้างขวัญ และก�ำลังใจของพนักงานได้อีกทางหนึ่ง บริษทั ร่วมหุน้ วินาโคมิน มอเตอร์ อินดัสตรี (Vinacomin Motor Industry Joint Stock Company : VMIC) ในเวียดนาม ซึง่ เป็นผูผ้ ลิต เครือ่ งจักรและยานพาหนะส�ำหรับการขุดเหมืองแร่และการก่อสร้าง สามารถเพิม่ ก�ำลังการผลิตได้ถงึ 30% รวมถึงยกระดับคุณภาพสินค้า


และความคงทีข่ องเวลางาน หลังจากการใช้งานโคบอทเป็นครัง้ แรก เมื่อปีที่ผ่านมา ส�ำหรับบริษทั พีที เจวีซี อิเล็กทรอนิกส์ อินโดนีเซีย (PT JVC Electronics Indonesia) โคบอทรับหน้าที่ทำ� งานที่ต้องท�ำซ�้ำๆ และ เป็นอันตรายต่อมนุษย์ทั้งหมด อาทิ งานบัดกรีและงานขันสกรู ซึ่ง ก่อให้เกิดการยกระดับก�ำลังการผลิต คุณภาพของชิน้ งาน และความ ปลอดภัยของคนงาน โดยสามารถลดต้นทุนต่อปีได้มากกว่า 80,000 ดอลลาร์

โคบอทเพื่อการทำ�งานรูปแบบใหม่

คุณประโยชน์ที่มากมาย การใช้งานที่เรียบง่าย และความ ยืดหยุน่ ของโคบอท ช่วยเปิดประตูแห่งโอกาสให้เราสามารถน�ำโคบอท ไปใช้ ง านในอุ ต สาหกรรมรู ป แบบใหม่ ไ ด้ และด้วยคุณลักษณะ ทีเ่ ล็กกะทัดรัด ปลอดภัย และท�ำงานร่วมกับมนุษย์ได้ ท�ำให้โคบอท ถูกน�ำไปใช้ในสถานทีต่ า่ งๆ ทีไ่ ม่อาจท�ำได้ในอดีต ซึง่ รวมถึงโรงแรม ร้านอาหาร เรือนกระจก และแม้แต่ท่าอากาศยาน ยกตัวอย่างเช่น โรงแรมเอ็ม โซเชียล โฮเต็ล (M Social Hotel) ในสิงคโปร์ โคบอทของยูนเิ วอร์ซลั โรบอทส์ (Universal Robots : UR) มีหน้าที่เตรียมท�ำไข่ดาวหรือออมเล็ตต์7 เช่นเดียวกับที่สวนสนุก เฮาส์เทนบอช (Huis Ten Bosch) ในญี่ปุ่น ซึ่งมีการน�ำโคบอทหรือ ในชือ่ “ทาโกะยากิ โรบอท ออคโตเชฟ (Takoyaki Robot OctoChef)” มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำขนมทาโกะยากิของญี่ปุ่น ธุรกิจการดูแลสุขภาพเป็นอีกหนึง่ ภาคธุรกิจทีจ่ ะได้รบั ประโยชน์ อย่างมหาศาลจากการใช้โคบอท เพราะยังมีอีกหลายขั้นตอน การท�ำงานที่ไม่ได้ใช้ระบบอัตโนมัติ ซึ่งอาจน�ำไปสู่ความผิดพลาด ก�ำลังการผลิตต�่ำ และพนักงานต้องรับภาระงานหนักมากเกินไป โดยทีโ่ รงพยาบาลชางงี (Changi General Hospital8) ในสิงคโปร์ ได้ใช้ โคบอทในการหยิบจับวัตถุหลายชนิด รวมถึงสิง่ ของทีเ่ ปราะบางจาก ชั้นวางของ ท�ำให้พนักงานสามารถตั้งใจบริการคนไข้ได้อย่างเต็มที่ โรงพยาบาลมหาวิ ท ยาลั ย โคเปนเฮเกน (Copenhagen University Hospital) ในเดนมาร์ก ใช้โคบอทของ UR 2 เครือ่ งในการ รับและคัดแยกตัวอย่างเลือดเพือ่ การตรวจวิเคราะห์ ท�ำให้โรงพยาบาล สามารถบรรลุเป้าหมายในการส่งมอบผลการตรวจเลือดได้มากกว่า 90% ภายในเวลา 1 ชั่วโมง นอกเหนือจากการรับตัวอย่างเพื่อการ ตรวจวิเคราะห์ได้เพิ่มขึ้น 20% ข้อมูลของโกลบอลดาต้า (GlobalData) บริษทั ข้อมูลและการ วิเคราะห์ชนั้ น�า9 ระบุวา่ ภาคธุรกิจการดูแลสุขภาพของประเทศไทย มีความพร้อมอย่างมากส�ำหรับการใช้งานโคบอท เนือ่ งจากเมืองไทย มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ระดับโลก ตลอดจนมุมมองที่ก้าวหน้าในเรื่องหุ่นยนต์ทางการแพทย์ โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (The Board of Investments : BOI) ได้นำ� เสนอโปรโมชันเชิญชวนการลงทุนหลายรายการในเรือ่ งนี้ เพื่อสนับสนุนการใช้งานหุ่นยนต์ทางการแพทย์ในภาคธุรกิจนี้ และ ก้าวขึ้นสู่สถานะศูนย์กลางทางการแพทย์ระดับโลก

การยกระดับการใช้งานโคบอทำ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ

ภาคธุรกิจบริการของประเทศไทยคือกลไกสร้างการเติบโต ทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ ของประเทศ โดยมีอตุ สาหกรรมการแพทย์และการ ท่องเที่ยวซึ่งก�ำลังทวีความส�ำคัญมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ดี การเติบโต ของภาคธุรกิจนี้ยังไม่สอดคล้องกับของอาเซียนและประเทศอื่นๆ นอกอาเซียนหรือประเทศที่มีเศรษฐกิจเจริญก้าวหน้ามากกว่า แม้โคบอทจะถูกใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมการผลิต หากก็มีประโยชน์อย่างมากในภาคธุรกิจบริการ รวมถึงมอบความ ยืดหยุน่ ในการท�ำงานแบบอัตโนมัตสิ ำ� หรับงานรูปแบบใหม่ทมี่ คี วาม เฉพาะด้าน ซึง่ จะช่วยให้พนักงานมีความคุน้ เคยกับเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ และท�ำงานที่มีมูลค่าสูงขึ้นได้ และเมื่อเกิดการยกระดับการใช้งาน โคบอท จะช่วยเพิม่ ศักยภาพให้กบั ภาคธุรกิจบริการในประเทศและ สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ แหล่งอ้างอิง 1 https://www.bangkokpost.com/business/tourism-and transport/1619182/record-38-27m-tourists-in-2018-41m expected-in-2019 2 https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Graph/Chart_Pack/ Chart%20Pack.pdf 3 https://blogs.worldbank.org/eastasiapacific/services-as-a new-driver-of-growth-for-thailand 4 https://blogs.worldbank.org/eastasiapacific/services-as-a new-driver-of-growth-for-thailand 5 https://asianroboticsreview.com/home79-html 6 https://www.edb.gov.sg/en/news-and-resources/insights/ manufacturing/automation-in-manufacturing-help-workers ride-the-change.html 7 Robots are taking Singapore’s hotel industry by storm – here’s where to go for some robot hospitality 8 http://www.straitstimes.com/singapore/health/hospitals turn-to-cutting-edge-robots-and-technology-for-healthcare assistance 9 https://www.globaldata.com/thailand-looks-to-bolster leadership-position-in-medical-tourism-with-focus-on-medical robotics-says-globaldata/ September-October 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

AI FOR THAI :

Thai AI Service Platform เมื่อเร็วๆ นี้ภายในงานประชุมวิชาการและนิทรรศการของ เนคเทคประจ�ำปี 2562 (NECTEC Annual Conference and Exhibitions 2019 : NECTEC-ACE 2019) ซึง่ จัดโดย ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้ประกาศ เปิดตัว AI FOR THAI : Thai AI Service Platform หรือแพลตฟอร์ม เอไอสัญชาติไทย เป็นผลงานวิจัยและพัฒนาที่เนคเทค สวทช. สะสมองค์ความรูม้ าเป็นเวลากว่า 20 ปี โดยมุง่ หวังให้เป็นแพลตฟอร์ม ส� ำ คั ญ ในการเพิ่ ม ศั ก ยภาพและความสามารถการแข่ ง ขั น ของ อุตสาหกรรมและบริการ ยกระดับประสิทธิภาพภาคเศรษฐกิจไทยทัง้ ระบบ เป็นแพลตฟอร์มสําหรับเศรษฐกิจในอนาคต และเพิม่ คุณภาพ ชีวติ ให้ประชาชน รวมถึงสร้างอุตสาหกรรมและบริการดิจทิ ลั ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ อันจะเป็นแรงขับเคลื่อนประเทศไทยอย่าง ยั่งยืน รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลั ด กระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า การท�ำงานของ เนคเทค สวทช. และงานประชุม วิชาการ NECTEC-ACE 2019 ครัง้ นี้ มีความหมายต่อประเทศไทยเป็น อย่างยิง่ ใน 5 ประเด็น ประเด็นที่ 1 คือ นโยบายของรัฐมนตรี นโยบาย รัฐบาล และนโยบายของกระทรวง รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม September-October 2019

การอุดมศึกษาฯ มีความชัดเจนใน 4 เรือ่ ง เรือ่ งที่ 1 คือการสร้างคน ในศตวรรษที่ 21 เรื่องที่ 2 การสร้างองค์ความรู้การวิจัย เรื่องที่ 3 การสร้างองค์ความรู้ด้านนวัตกรรม และเรื่องที่ 4 การ Reinventing the University ซึง่ ด้วยภารกิจของเนคเทค สวทช. สามารถเข้าได้กบั ทุกยุทธศาสตร์และทุกๆ ประเด็นของกระทรวงการอุดมศึกษาฯ โดยเฉพาะข้อ 1 การสร้างคน ประเด็นที่ 2 เนคเทค สวทช. เป็น องค์กรทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ด้านอิเล็กทรอนิกส์ของไทย ยุคทีจ่ ะก้าวข้ามผ่านยุค คอมพิวเตอร์และ Device ไปเรียบร้อยแล้ว ก�ำลังมีการพูดถึง Big Data และ AI เพราะฉะนัน้ ทุกคนหรือทุกหน่วยงานจะต้องสนใจและพัฒนา เรื่อง AI อย่างชัดเจนในทุกๆ มิติ ตั้งแต่มิติเรื่องการสอนให้เด็กรู้จัก AI ตัง้ แต่เด็กๆ ในหลักสูตร มิตทิ จี่ ะท�ำให้คนเข้าใจว่าข้อมูลทัง้ หลาย ที่อยู่รอบตัวในปัจจุบันซึ่งถูกน�ำไปใช้ด้วย AI ได้ทั้งหมด หรืออีกนัย คือ เราก้าวข้ามเรื่อง IoT (Internet of Things) ไปเรียบร้อยแล้วด้วย ส่วนประเด็นที่ 3 เนคเทค สวทช. มีการท�ำงานร่วมกับพันธมิตร มากมายทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน การท�ำงานแบบนีจ้ ะได้โจทย์ทมี่ า จาก Demand-Side จริงๆ และประเด็นที่ 4 การที่เนคเทค สวทช. ท�ำงานแล้วสามารถน�ำผลงานกลับคืนสู่สังคมไทยทุกๆ ภาคส่วน เพื่อให้สังคมไทยได้ใช้เทคโนโลยีเพื่อลดความเหลื่อมล�้ำในสังคม ที่ชัดเจน อย่างไรก็ตาม ขอให้คำ� นึงว่า AI คอมพิวเตอร์หรืออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งหลายนี้ ท�ำงานเพื่อเสริมความพัฒนาของมนุษย์ เพราะฉะนั้น ทุกอย่างให้คำ� นึงถึงหลักจริยธรรมไว้ด้วย และประเด็นที่ 5 การจัด งานประชุมวิชาการหรือ Conference จะเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้ ทุกภาคส่วนได้มาแลกเปลี่ยนความรู้และสิ่งที่แต่ละคนได้ท�ำมา ด้วยภารกิจของเนคเทค สวทช. ซึ่งเป็นองค์พัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง


จะเป็นเหมือนเครื่องจักรส�ำคัญในการสร้างรากฐานทางเทคโนโลยี ของประเทศ เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางด้านเทคโนโลยี อันจะเกิด ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และชุมชนต่อไป ดร.ชั ย วุ ฒิ วิ วั ฒ น์ ชั ย ผู ้ อ� ำ นวยการศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่ ง ชาติ (เนคเทค) สวทช. กล่ า วในโอกาสประกาศเปิ ด ตั ว แพลตฟอร์มเอไอสัญชาติไทยว่า เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เป็น เทคโนโลยีทนี่ า่ จับตามอง เนือ่ งจาก ได้ เข้ า มามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ทาง เศรษฐกิจและสังคมมากขึน้ มีการ ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย พัฒนาอย่างต่อเนื่องจากปัจจัย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านต่างๆ ผนวกรวมกับข้อมูลใน รูปแบบจ�ำนวนมากและหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นข้อมูลเสียง รูปภาพ ข้อความ แผนผังข้อมูล ซึง่ เก็บรวบรวมอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ส่งผลให้พัฒนาการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ก้าวกระโดด อย่างรวดเร็ว ภายใต้กระบวนการที่เรียกว่า Machine Learning ซึ่งหมายถึงการใช้อัลกอรึทึมในการวิเคราะห์ข้อมูล เรียนรู้ข้อมูล แล้วท�ำการคาดการณ์หรือประเมินผลสิง่ ใดสิง่ หนึง่ โดยเฉพาะผ่านการ ป้อนข้อมูลจ�ำนวนมหาศาล ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวได้รับการพัฒนา ให้สอดคล้องกับชีวิตของผู้คนในปัจจุบันมากขึ้น และเริ่มมีบทบาท ชัดเจนต่อระบบเศรษฐกิจมากขึน้ เพราะจะช่วยทาํ งานในส่วนทีอ่ ยู่ นอกขอบเขตของมนุษย์ โดยเฉพาะการทําความเข้าใจแบบแผน

ต่างๆ โดยปัจจุบนั ได้นำ� มาประยุกต์ใช้ประโยชน์จากข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ซึ่งสามารถเชื่อมโยง เรียนรู้อย่างไร้ขีดจ�ำกัด ซึ่งเนคเทค สวทช. ได้สะสมองค์ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญด้านปัญญาประดิษฐ์ มากว่า 20 ปี โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทยและเอกลักษณ์ ของไทย และมีความมุ่งหมายว่า AI FOR THAI จะเป็นฐานรากทาง เทคโนโลยีที่ส�ำคัญให้กับนักธุรกิจ นักพัฒนา และนักวิจัยทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ สามารถน�ำไปต่อยอดให้เกิดประโยชน์ กับประเทศไทยได้ ดังนั้น หากคุณคือนักพัฒนา ผู้ประกอบการบริษัท SME ที่มี จินตนาการสร้างสรรค์ อยากพัฒนาแอปพลิเคชันด้าน AI ได้อย่าง รวดเร็ว โดยไม่มีค่าใช้จ่ายกับการประมวลผลภาษาไทย เช่น ตัดค�ำ วิเคราะห์ไวยากรณ์ วิเคราะห์คำ� อ่าน วิเคราะห์ความคิดเห็น วิเคราะห์ ภาพและวิดีโอ เช่น ภาพข้อความ ภาพวัตถุ ภาพใบหน้า เข้าใจและ สร้างเสียงพูดภาษาไทย ตลอดจนสร้าง Chatbot พร้อมกันนี้ได้มี การเปิดตัวนักข่าว AI คนแรกของไทยคือ สุทธิชยั หยุน่ ภายในงานนี้ ด้วย

September-October 2019


Article > NECTEC

พลิกโฉมดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน ด้วย

AI

บ่อยครั้งที่เรามักจะได้ยินค�ำว่า “Digital Transformation” แทรกซึมอยูแ่ ทบทุกกิจกรรม องค์กร ธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในยุค ทีม่ กี ารแข่งขันสูงอย่างปัจจุบนั Digital Transformation คือส่วนส�ำคัญ ในการสร้างศักยภาพด้านการแข่งขันให้สามารถพัฒนาเป็นไปตาม ความคาดหวังของกลุม่ เป้าหมาย ส่งผลให้การด�ำเนินงานหรือธุรกิจ ต่างๆ ประสบความส�ำเร็จ Digital Transformation จึงเกีย่ วข้องกับการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เป็นการสร้างกระบวนการใหม่ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากขึ้น ไม่เพียงแต่เป็นการน�ำเทคโนโลยีเข้าท�ำซ�้ำบริการที่มีอยู่ใน รูปแบบดิจทิ ลั เท่านัน้ แต่เป็นการใช้เทคโนโลยีเพือ่ เปลีย่ นแปลงบริการ ดังกล่าวจาก “สิ่งที่มีอยู่ ให้เป็น สิ่งที่ดีกว่าเดิม” แต่เทคโนโลยี ก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา โดยหัวข้อที่ส่วนใหญ่มักจะ พูดถึงมากทีส่ ดุ ในตอนนีค้ งหนีไม่พน้ เรือ่ งการน�ำปัญญาประดิษฐ์ AI เข้ามาช่วยการ Digital Transformation

ไม่อย่างนั้นความฉลาดจะไม่เกิดขึ้น 3. AI: Data-Based Learning พวก Deep Learning มาช่วยให้เกิดข้อมูล ข้อมูลดิบจากการจัดเก็บ ถูกกรอง และจัดแบ่ง ให้เป็นระเบียบในเบื้องต้นได้ด้วย AI แล้วจึงให้คนมาปรับแต่งและ ตรวจสอบก่อนส่งต่อเข้ากระบวนการเรียนรูเ้ พือ่ สร้างเครือ่ งมือมาให้ บริการ

Concept การให้บริการของซอฟต์แวร์

บทบาทของเนคเทคในการพัฒนา AI ...ทำ�อะไรบ้าง

เนคเทคได้รวบรวมผลงานพร้อมใช้ทพี่ ฒ ั นาอยูบ่ นเทคโนโลยี AI มาให้บริการเพือ่ ให้คนไทยได้เข้าถึงในชือ่ ของ AI Service Platform มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน (Operation) ให้ดีขึ้น (Save Cost) ประหยัดมากขึ้น ทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตและบริการ (Resource) ต้องใช้นอ้ ยลง โดยแนวคิดทีม่ รี อ้ ยเรียงกันทัง้ 3 ส่วน คือ 1. IoT: Data Collection Through IoT เป็นพืน้ ฐานโครงสร้าง (Infrastructure) ท�ำหน้าที่เก็บข้อมูลมาเยอะๆ จากเซนเซอร์ของ สิ่งต่างๆ ที่เราใช้งาน เช่น หลอดไฟ อุณหภูมิ ฝุ่น เป็นต้น 2. Big Data: Capture, Storage, and Analysis of Data-IoT: Data Collection Through IoT จากแหล่งเก็บข้อมูล เดิมๆ ซึ่งเก็บข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลไม่พอ ก็จะมีเทคโนโลยีใหม่ เข้ามาช่วยเก็บ และวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วย แต่เราจะไม่หยุดเพียงเท่านี้ September-October 2019

เดิมการให้บริการของซอฟต์แวร์แทนที่จะต้องลงแผ่น เช่น Microsoft Word, Adobe ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีข้อด้อยอยู่ มาก ท�ำให้บริษัทผลิตซอฟต์แวร์ต่างๆ หันมาให้บริการในรูปแบบ Software as a Service (SaaS) หรือเรียกว่า On Demand Software คือรูปแบบการให้บริการซอฟต์แวร์ผา่ นทางอินเทอร์เน็ต Web Server คล้ายกับการเช่าใช้ เพียงแค่ผู้ซื้อจ่ายค่าซอฟต์แวร์ตามลักษณะ การใช้งานที่ต้องการ (Pay-as-you-go) เช่น ตามจ�ำนวนผู้ใช้และ


ตามระยะเวลาที่ต้องการใช้ เพียงเท่านี้ ผู้ซื้อก็สามารถเข้าใช้งานได้ ปัจจุบันได้เปลี่ยนรูปแบบการให้บริการในลักษณะ Micro Service ซึ่งย่อยลงไปอีก เทรนด์ที่ก�ำลังเข้ามาคือ การให้บริการในรูปแบบ AIaaS (Artificial Intelligence as a Service) หรือเรียกว่า การให้ บริการซอฟต์แวร์ด้วย Cloud AI การส่ง Input ด้วยภาษาหนึ่งแล้ว Output ออกมาเป็นอีก ภาษาหนึ่ง เช่น การส่ง Input เป็นข้อความภาษาไทยแล้วแสดงผล Output เป็นภาษาอังกฤษ หรือการส่งรูปภาพเข้าสู่บริการ Micro Service ที่เป็นการนับใบหน้า ระบบก็จะนับใบหน้าว่าในห้องนี้นั่ง กันอยู่กี่คน ซึ่งการให้บริการแบบ Micro Service นี้กำ� ลังเป็นเทรนด์ ที่ให้บริการกันอยู่

จากภาพจะเห็นว่ารายได้การเติบโตจาก AI มีลักษณะการ เจริญเติบโตแบบทะยานสูงขึน้ เพราะ AI เป็นสิง่ ทีเ่ กือบทุกบริษทั ต้องการให้มีเพื่อลดค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน จึงเห็นแนวโน้มว่า AI มีการเจริญเติบโตเรื่อยๆ

โดยเมื่อเร็วๆ นี้ มีข่าวด้านไอทีว่ามีการส�ำรวจบริษัทต่างๆ ในยุโรปกว่า 2,830 บริษัท พบว่ากว่า 40% ที่เป็นบริษัทด้าน AI ไม่ได้ใช้ AI at All หมายความว่าไม่ได้ใช้ AI เลย แต่บริษัทเหล่านั้น ก็ยังเคลมว่ามี AI ในบริษัท สาเหตุที่เป็นแบบนั้น เพราะเมื่อเคลม สถานะบริษัทว่าเป็น Startup ด้าน AI จะได้รับเงิน Funding เฉลี่ย แล้วกว่า 15% มากกว่าบริษัทที่ไม่มี AI สรุปแล้วเท่และได้เงินด้วย จะเห็นว่า AI ในโซนยุโรป อเมริกา มีการพัฒนาไปได้ไกลมาก แต่ในความจริงแล้วไม่สามารถ Apply ได้เยอะขนาดนัน้ เพราะสิง่ ที่ ยังขาดคือทักษะและบุคลากร ซึ่งการ Apply นั้นก็ต้องดูด้วยว่า เหมาะสมหรือเปล่า

The Valley of Death

Cloud & AI Market

จากงานวิ จั ย ในห้ อ งแลปพั ฒ นาสู ่ ต ้ น แบบ ฝ่ า ฟั น จนมี Business Model เพื่ อ ให้ เ กิ ด การซื้ อ จากคนที่ ย อมจ่ า ยเงิ น การ Commercialization คือส่วนที่ต้องใช้เวลา เนื่องจากเทคโนโลยี ต้องสามารถตอบโจทย์ (Pain Point) ว่าเข้าไปช่วยให้ชีวิตดีขึ้นยังไง บ้าง เช่น ท�ำงานให้งา่ ยและเร็วขึน้ เนคเทคในฐานะทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ด้านการวิจยั และพัฒนา R&D จึงตัง้ บทบาทเป็น Service และพัฒนา Module AI ให้ดีที่สุด เพื่อให้ผู้ใช้ได้มีโอกาสน�ำไปพัฒนาต่อยอด ให้ทั่วถึงทั้งระดับ SME หน่วยงานภาครัฐ เอกชน รวมถึง Startup และเปิดโอกาสให้องค์กรณ์ตา่ งๆ ได้เป็นผูด้ ำ� เนินการแทน เพราะว่า พวกตัวแทนจากบริษัทจะรู้ดีว่า Pain Point ของบริษัทตัวเองอยู่ ตรงไหน ตรงนี้สามารถตอบโจทย์อะไรได้บ้าง

มี 4 บริษัทยักษ์ใหญ่ระดับโลกที่ให้บริการเกี่ยวกับ AI ได้แก่ Google Cloud, Microsoft Azure, Amazon, IBM Cloud ซึ่งเมื่อ มีตรงนี้แล้วบริษัทต่างๆ ก็สามารถเข้าไปใช้งานได้ แต่ก็ไม่สามารถ Plug and Play ได้เช่นกัน เช่น กรณีมีข้อมูลแล้วอยากให้ทำ� AI ก็ไม่ สามารถท�ำได้ เพราะยังขาดความรูเ้ ชิงลึกในสาย Computer Science คือมีบริการให้ใช้ แต่ถ้า Apply ผิด ก็ประยุกต์ใช้ได้ไม่ถูก ซึ่งบุคคลที่ ท�ำหน้าที่เหล่านี้คือ Data Scientist บุคคลเหล่านี้จะต้องมีทักษะ รอบด้าน Programming Database, Communication, Visualization Skil และความรูแ้ บบเฉพาะทาง เช่น Financial ความรูใ้ นทางทีต่ อ้ งการ จะน�ำไปประยุกต์ใช้งานในด้านอื่นๆ

The Valley of Death

ยักษ์ใหญ่ในตลาด Cloud & AI

September-October 2019


จากกราฟนี้จะเป็นสิ่งที่จะบอกได้ว่า AI Service Platform ทีเ่ นคเทคพัฒนาจะตอบโจทย์ได้จนถึงส่วนของ Technology Transfer โดยจะพัฒนาให้ดีที่สุดแล้วปล่อยให้หน่วยงานต่างๆ น�ำไปใช้งาน

AINRG (Artificial Intelligence Research Group)

AI ในเนคเทคมีหน่วยงานทีม่ ปี ระสบการณ์กว่า 20 ปี ปัจจุบนั มีชอื่ ว่าหน่วยวิจยั ปัญญาประดิษฐ์ AINRG (Artificial Intelligence Research Group) วิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีแพลตฟอร์มทางด้าน ปัญญาประดิษฐ์และการประมวลผลภาษาไทย เพือ่ สนับสนุนการใช้งาน และต่อยอดในภาคอุตสาหกรรมบริการภายในประเทศ Mission การท�ำ R&D ทางด้าน AI and NLP เนคเทคมีความ เชี่ยวชาญพอสมควรจากประสบการณ์ 20 ปี เพื่อให้เกิดการใช้งาน AI ภายในประเทศไทย หน้าตาของ AI Service Platform มี 3 ส่วน

เจ้าใหญ่ในประเทศจีนก็มใี ช้ แต่ถา้ ประเทศไทยเราไม่มสี งิ่ นี้ ก็จำ� ต้อง น�ำเข้าองค์ความรู้นี้จากต่างประเทศ ดังนั้นใบหน้าของเราแทนที่ จะอยู่ในหน้าหน่วยงานเรา ก็จะไปแสดงผลอยู่ใน Cloud ส่วนไหน ของโลกก็ไม่รู้ นี่คือเหตุผลว่าท�ำไมประเทศไทยถึงจ�ำเป็นต้องมี และท�ำขึ้นมาก ซึ่งถ้าลองย้อนกลับไปดูเนคเทคมี Open Source ที่ค่อนข้าง ใช้งานได้ดีอยู่แล้ว เราเพียงวิจัยพัฒนาต่อยอดให้ดีขึ้นไปอีก ด้วย คอนเซ็ปต์ที่ว่า “น�ำสิ่งที่มีอยู่แล้ว มาต่อยอดให้ดีขึ้น” Person & Active Analytics คือ การ Detect Activity เช่น การยกมือถือ วางของทิง้ ไว้ หรือมีแอปพลิเคชันเชิงถ่ายวิดโี อ แล้วดู พฤติกรรมการใส่หมวกกันน็อก ใช้ในการ Detect เพือ่ ความปลอดภัย ได้ 

3. Conversation (การสนทนา) ซึ่งได้รบ ั ความนิยม

เนคเทคยังมีความช�ำนาญด้าน Speech to Text และ Text to Speech ซึง่ เป็นเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นามาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเน้นความ เชีย่ วชาญในการรูจ้ ำ� และสร้างสัญญาณเสียงภาษาไทย แล้วแปลเป็น ข้อความผ่าน Chatbot ให้เข้าใจว่าเป็น Intent Sentiment แล้วตอบโต้ ออกมาเป็นเสียง

Strength & Differentiation

1. การประมวลผลภาษา

เนคเทคมีความเชีย่ วชาญในภาษาไทย ไม่วา่ จะเป็นการตัดค�ำ การวิเคราะห์ไวยากรณ์ (Grammar) การรู้จ�ำชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ การวิเคราะห์คำ� เฉพาะการแปลภาษา การวิเคราะห์ขั้วอารมณ์ของ ข้อความ โดยจะรวบรวมประยุกต์สิ่งเหล่านี้ให้อยู่ในรูปแบบบริการ ที่มีการจัดการ Input ที่ส่งเข้ามา และตอบกลับเป็น Output ที่เป็น รูปแบบเดียวกัน

1. ความเชี่ยวชาญด้านการประมวลผลภาษาไทย 2. พร้อมแนะน�ำและให้ค�ำปรึกษา 3. สร้างโมเดลทีแ่ ตกต่างจากทัว่ ไป โดยสร้างการจ�ำลองโมเดล ทีบ่ ง่ บอกถึงลักษณะเฉพาะที่ เช่น ส่งภาพเข้าไปแล้วสามารถแสดงผล ว่านีค่ อื ส้มต�ำ ผัดไท รวมทัง้ ด้านวัฒนธรรม เช่น วัดวาอาราม สามารถ ถ่ายรูปพระแล้วบอกได้ว่านี่คือศาสนาพุทธ

Virtual Assistant: JibJib

2. Vision คือการประมวลผลพวกรูปภาพและวิดีโอ

ด้านการประมวลผลรูปภาพของเนคเทค ทีมวิจยั และพัฒนา มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ OCR ในมิติที่เฉพาะลงไป เช่น สามารถ Customize กับ ป้ายจราจร ซึ่งเนคเทคจะพยายามท�ำในมุมที่ลึกลงไป Object Recognition มีการใช้งานจ�ำนวนมาก โดยทาง เนคเทคมีทีมนักวิจัยที่มีประสบการณ์ทางด้านนี้ เช่น การถ่ายภาพ ใบข้าว แล้ว Identify ว่ามีโรคอะไรเกิดขึน้ บ้างในใบข้าว และสามารถ ที่จะ Apply ความรู้ตรงนี้ได้เพื่อต่อยอดต่อไป Face Analytics เป็นสิ่งหนึ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำเนื่องจากมี Data Privacy แม้วา่ ปัจจุบนั หลายๆ บริษทั ไม่วา่ จะ 4 บริษทั ยักษ์ใหญ่ ที่ให้บริการด้าน Cloud และ AI ต่างก็มี หรือแม้กระทั่งบริษัทมือถือ 

September-October 2019

ภายใน ‘JibJib’ ประกอบด้วยเทคโนโลยี 3 ตัวหลักของ เทคโนโลยีหมวด Conversation อันได้แก่ Speech to Text (Partii), Chatbot (Abdul) และ Text to Speech (Vaja) ที่มีความสามารถ ในการฟังค�ำพูด/ค�ำสั่งภาษาไทย ประมวลผลค�ำตอบและพูดตอบ ด้วยภาษาไทย


JibJib ถูกน�ำเสนอด้วยลักษณะของ 3D Avatar ที่เลียนแบบ ลักษณะคน โดยใส่ Character ความเป็นไทย โดยสามารถน�ำไป ประยุกต์ใช้เป็น Digital Reception ตามร้านต่างๆ หรืองาน Expo ส�ำหรับรองรับค�ำถามค�ำตอบที่ผู้ร่วมงานสงสัยได้ในเบื้องต้น

Technology Roadmap

เราจะพัฒนา Feature จากทุกแง่มมุ เพือ่ วางงานวิจยั ไปข้างหน้า โดยเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ใช้งานเพื่อน�ำมาปรับปรุงว่า สามารถเชือ่ มโยงกับงานวิจยั ของเนคเทคได้มากน้อยแค่ไหน เป้าหมาย เพื่อตอบโจทย์อุตสาหกรรมได้

Learning, Machine Translation (Parsit): สามารถแปลข้อความ ภาษาไทยในโดเมนการท่องเที่ยวให้เป็นภาษาอังกฤษได้ Face Analytics: สามารถระบุใบหน้าคนในภาพได้ถูกต้องจากการฝึกฝน จากใบหน้าคนไทยเพิ่มขึ้น Person & Activity Analytics: สามารถ ตรวจจับและวิเคราะห์ส่วนของร่างกายคนได้ Thai OCR (ArnThai): สามารถวิเคราะห์ตัวอักษรและโครงสร้างของเอกสารที่ได้จากภาพ สแกนได้ Object Detection: สามารถตรวจจับยานยนต์จากภาพได้ Speech-to-Text (Partii): สามารถรูแ้ ละจ�ำค�ำพูดภาษาไทยได้โดยใช้ LSTM-Based Neural Networks, Text-to-Speech (Vaja): สามารถ สร้างเสียงพูดภาษาไทยได้โดยใช้ Deep Neural Network และ Chatbot (ABDUL): สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ตาม Pattern ที่กำ� หนดไว้ได้ ในระหว่างการให้บริการ แพลตฟอร์มจ�ำเป็นต้องพัฒนา โครงสร้างอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เท่าทันเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ ห้องปฏิบัตกิ ารวิจัยต่างๆ จ�ำเป็นต้องใช้ รวมถึงรองรับการปรับแต่ง เครือ่ งมือต่างๆ ให้สามารถท�ำงานตาม Application Program Interface (API) ที่อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีได้ โดยในปีที่ 2 และ 3 (พ.ศ. 2564-2565) AI Engine ต่างๆ จะมีความสามารถเพิม่ ขึน้ และ พร้อมให้บริการตามแผนวิจัยและพัฒนาดังนี้ S-Sense: ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์ Intent ในข้อความ ภาษาไทยได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถวิเคราะห์ Emotion ของข้อความ ภาษาไทยได้ Parsit: ในปีที่ 2 สามารถแปลงข้อความภาษาไทยในโดเมน การท่องเทีย่ วเป็นภาษาจีนได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถแปลงข้อความ ภาษาไทยในโดเมนการท่องเที่ยวเป็นภาษาอาเซียนได้ Face Analytics: ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์อารมณ์ของคน จากภาพได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถรูแ้ ละจ�ำหน้าของคนไทยได้แม่นย�า ยิ่งขึ้น Person & Activity Analytics: ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์ องค์ประกอบของภาพได้ดยี งิ่ ขึน้ และสามารถแยกเพศของคนได้ ส่วน ในปีที่ 3 สามารถบ่งบอกประเภทของกิจกรรมของบุคคลในภาพได้ ArnThai: ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์ตัวอักษรที่ใช้ Font ต่างๆ และวิเคราะห์ตารางจากเอกสารทีไ่ ด้จากภาพสแกนได้ ส่วนใน ปีที่ 3 สามารถวิเคราะห์ตวั อักษรจากเอกสารทีไ่ ด้จากกล้องดิจทิ ลั ได้ Object Detection: ในปีที่ 2 สามารถใช้ Deep Learning มาวิเคราะห์วตั ถุในภาพทางการเกษตรได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถเรียกใช้ เครื่องมือบน Embedded System ได้โดยเน้นการวิเคราะห์ภาพ อาหารไทย และโดเมนการท่องเที่ยว Partii: ในปีที่ 2 สามารถรูแ้ ละจ�ำเสียงพูดแม้มเี สียงรบกวนได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถแปลงสัญญาณเสียงพูดเป็นอักขระภาษาไทย ได้โดยตรง Vaja: ในปีที่ 2 สามารถให้บริการสร้างเสียงพูดภาษาไทย ตามน�ำ้ เสียงทีก่ ำ� หนดได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถให้บริการสร้างเสียงพูด ภาษาไทยตามส�ำเนียงท้องถิ่นที่ก�ำหนดได้ Chatbot: ในปีที่ 2 สามารถโต้ตอบได้ตามบทสนทนาที่ ก�ำหนด ส่วนในปีที่ 3 สามารถตอบโต้บทสนทนาได้โดยอัตโนมัติ 

ตาราง Technology Roadmap

อนาคตเป็นสิ่งที่น่าจับตามองว่าวันนี้เนคเทคได้ด�ำเนินการ กับหลายภาคส่วน การสร้างพันธมิตร บ่มเพาะก่อเกิดเป็น Community ด้าน AI รวมทั้งคาดหวังว่าหากประเทศไทยมี AI Service Platform ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ทั้ง AI ด้านภาษา ด้านการมองเห็น ด้าน การสนทนา แล้วเนคเทคพร้อมขยายผลและส่งเสริมการใช้งานอย่าง แน่นอน แผนการพัฒนา AI Service Platform มีในระยะเวลา 3 ปี ให้ติดตามและเท่าทันต่อเทคโนโลยีด้าน AI ที่กำ� ลังถูกพัฒนา และ เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยปีที่ 1 (พ.ศ. 2563) โครงการจะเริม่ พัฒนาแพลตฟอร์มด้วยการน�ำเทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์ที่มี อยู่ในปัจจุบันของเนคเทคมาเริ่มให้บริการในรูปแบบ Web Service API ซึง่ จะท�ำให้ระบบสามารถให้บริการใช้งาน Engine ต่างๆ ได้ตาม คุณสมบัติดังต่อไปนี้ Sentiment Analysis (S-Sense): สามารถจัด ข้อความภาษาไทยลงกลุ่ม Sentiment ที่ก�ำหนดไว้ได้โดยใช้ Deep

September-October 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

เจาะลึกแผน PDP

ทิศทางพลังงานไทย ภายใต้รัฐบาลใหม่

ในปัจจุบนั พลังงานมีความส�ำคัญต่อมนุษย์อย่างเราเป็นอย่าง มาก เนือ่ งจากพลังงานนัน้ คอยอ�ำนวยความสะดวกในการด�ำรงชีวติ ในรูปแบบต่างๆ และเพือ่ รองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงจ�ำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น กระทรวงพลังงาน (พน.) ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง จึงได้จดั ท�ำแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 25612580 (PDP 2018) ซึ่งระยะเวลาของแผนมีความสอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ปี พ.ศ. 2561-2580) การจัดท�ำแผนพัฒนา ก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยทีผ่ า่ นมา ซึง่ จะพิจารณาให้นำ�้ หนัก ความส�ำคัญเฉพาะการจัดหาไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการ ไฟฟ้ า ในภาพรวมของทั้ ง ประเทศเป็ น หลั ก โดยไม่ ไ ด้ พิ จ ารณา ถึงเงือ่ นไขด้านการกระจายระบบผลิตไฟฟ้า ทัง้ นี้ กระทรวงพลังงาน ยังเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและประชาชนได้แสดงความคิดเห็น ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างพลังงานของประเทศไทยใน รูปแบบหลากหลายมิติ สนธิ รั ต น์ สนธิ จิ ร วงศ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่ า วปาฐกถาพิ เ ศษในหั ว ข้ อ “นโยบายและทิ ศ ทางอนาคต พลังงานไทย” ว่า เรือ่ งของพลังงาน นั้ น มี ค วามส� ำ คั ญ เป็ น อย่ า งมาก ที่ จ ะก้ า วข้ า มมิ ติ ก ารที่ จ ะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง เข้ า ไปสู ่ ค วามสามารถ สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ ในการแข่ ง ขั น ระดั บ ประเทศ การเข้าไปสู่การที่จะเป็นพลังงานของคนทุกคน ในวันนี้จึงตั้งใจมา ส่งสัญญาณของทิศทางที่เป็นข้อถกเถียงของสังคมว่า PDP จะเป็น อย่างไร September-October 2019

“แผน PDP นัน้ เป็นแผนทีไ่ ด้รบั การพูดคุยกันมากและเป็นที่ พูดคุยในวงกว้าง เพราะว่าแผนนี้จะกระทบตั้งแต่ระดับใหญ่ไปถึง ระดับรากหญ้า ดังนัน้ สิง่ ทีผ่ มให้นโยบายพลังงานเมือ่ วันทีเ่ ข้ามาเริม่ ท�ำงาน ผมบอกว่า แผน PDP นั้นเราได้รับฟังในทุกภาคส่วน และ ผมอยากให้รวบรวมข้อคิดเห็นที่เห็นต่างเพื่อน�ำมาแก้ไขปรับปรุง และผมให้ ค วามส� ำ คั ญ เรื่ อ งของพลั ง งานมาโดยตลอด เพราะ เป็นเรื่องที่มีการเปลี่ยนแปลงเร็วมากในยุคหลายปีที่ผ่านมา และ จะเปลีย่ นแปลงเร็วขึน้ จากนีไ้ ป แนวโน้มของโลกทิศทางการใช้พลังงาน ทดแทน เป็นทิศทางหนึง่ ทีเ่ ติบโตขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ และเป็นทิศทาง ทีก่ ำ� ลังเข้ามาทดแทนทิศทางของโลกในอนาคต จะเห็นว่าการพัฒนา เทคโนโลยีไม่จ�ำเป็นต้องเป็นทางด้านผู้ผลิต แต่เทคโนโลยีมีการ เปลีย่ นแปลงทางด้านผูใ้ ช้พลังงาน มีการเปลีย่ นแปลงกระทัง่ พฤติกรรม ของคนใช้พลังงาน ดังนั้นเราไม่ได้เป็นเพียงผู้ใช้พลังงานอย่างเดียว อีกต่อไป แต่จะเป็นการเปลีย่ นแปลงในการทีเ่ รานัน้ เป็นทัง้ ผูผ้ ลิตทีม่ ี การใช้และขาย ซึง่ จะอยูใ่ นตัวเดียวกันหมด และยังลงไปสูป่ ระชาชน ในระดับรากหญ้าในระดับฐานของประเทศให้มากขึ้น ซึ่งจะท�ำให้ ชุมชนนัน้ เพิม่ รายได้ ลดรายจ่าย ดังนัน้ พลังงานจะเป็นความส�ำคัญ อย่างหนึ่งที่เข้าไปสู่การยกระดับรายได้ของชุมชน” ทั้ง นี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลัง งานให้ยึดมั่นจุดแข็ง ของประเทศไทยทางด้านไฟฟ้าเพื่อที่จะเป็น Center of ASEAN ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางพลังงานไฟฟ้าของ ASEAN และตามด้วย เรื่องความมั่นคงของประเทศในเรื่องไฟฟ้าอย่างแน่นอน สนธิรัตน์ กล่าวอีกว่า “ประเทศไทยจะเป็นผู้บริหารระบบไฟฟ้าของภูมิภาค ถ้าเป็นเช่นนี้ด้านความมั่นคงของไฟฟ้าของภูมิภาคจะมีทิศทาง เป็นบวก ทางด้านราคา ถ้าเราเป็นผู้บริหารไฟฟ้าภูมิภาค เราจะท�า ราคาได้ดกี ว่าประเทศเพือ่ นบ้าน เพราะเราเป็นผูจ้ ำ� หน่ายและจัดการ ด้ า นความสามารถการแข่ ง ขั น ของประเทศเพื่ อ ให้ ก ารลงทุ น เจริญเติบโตทัง้ ในธุรกิจและนักลงทุนทีเ่ ข้ามาลงทุน และในส่วนนีท้ ำ� ให้


มัน่ ใจว่าประเทศเราจะแข็งแรงขึน้ ในด้านพลังงาน จะต้องเจริญเติบโต ขึ้นอย่างแน่นอน สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่จะเข้าไปเติมเต็มแผน PDP ในฉบับนี้” กระทรวงพลังงานให้ความส�ำคัญกับแผน PDP คือต้องการ ให้แผนตอบสนองในการเป็นพลังงานของคนทุกระดับ ที่จะไม่ใช่ เรื่องไกลตัว ไม่ใช่เรื่องของคนไม่กี่กลุ่ม แต่แผน PDP จะต้องถูก กระจายไปสู่ SMEs ที่จะมีโอกาสจับมือกับชุมชนเป็นส่วนหนึ่งของ เจ้าของ เป็นส่วนหนึง่ ของผูผ้ ลิต และเป็นส่วนหนึง่ ของผูป้ ระกอบการ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของการลดต้นทุน และแน่นอนว่าประเทศไทย มีความพร้อมทางด้านพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานภาคเกษตร และพลั ง งานลม แต่ อ าจจะต้ อ งเริ่ ม ศึ ก ษากั น ก่อ นในระยะแรก เพราะพลังงานลมอาจจะไม่ใช่จุดแข็งอย่างมากนัก สิ่งเหล่านี้นำ� มา ประกอบกันและวางกลยุทธ์ให้เป็นประโยชน์กับประเทศมากที่สุด เพื่อเป็นแผน PDP ที่จะเป็นประโยชน์กับคนทุกคนให้ได้มากที่สุด ซึ่งนั้นคือเป้าหมายของแผน PDP ศ.พรายพล คุม้ ทรัพย์ อาจารย์ประจ�ำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรยายในหัวข้อ “วิพากษ์แผนพีดีพี ในมุมมองนักวิชาการ” กล่าวว่า “แผน PDP หรือแผนพัฒนาก�ำลัง ผลิตไฟฟ้า มีการท�ำหลายฉบับแล้ว ฉบับล่าสุดทีเ่ รียกว่า PDP 2018 มีความตั้งใจที่จะใช้ในการวางแผนไป 20 ปีข้างหน้า และปีสุดท้าย ในแผนนั้นคือปี พ.ศ. 2580 และเชื่อว่ามีความส�ำคัญ เพราะเรื่อง ไฟฟ้าไม่ได้ดูแค่ระยะสั้นๆ แต่ดูในระยะยาว และสิ่งที่นำ� มาพูดคือ ปัญหาหลักเกี่ยวกับพลังงานของไทยนั้นคืออะไร” พลังงานในประเทศไม่ได้มแี ค่เรือ่ งไฟฟ้าทีเ่ ราใช้กนั แต่เราใช้ น�ำ้ มันและแก๊ส ไฟฟ้านัน้ สามารถเข้าถึงได้ทกุ บ้านเรือน มีผลกระทบ ต่อชีวิตประจ�ำวันของพวกเราทุกคน เพราะฉะนั้นก็จะมีส่วนส�ำคัญ ในภาพรวมของพลังงานทัง้ หมดภายในประเทศ ดังนัน้ ผมขอกล่าวว่า ปัญหาหลักของพลังงานมี 3 ข้อ 1. ประเทศต้องพึ่งพาพลังงานน�ำเข้าในอัตราที่สูงเกินกว่า ครึ่ ง หนึ่ ง ของพลั ง งานที่ ใช้ ทั้ ง หมดและมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ด้ ว ย ในปัจจุบนั ครึง่ หนึง่ ของพลังงานทีเ่ ราใช้ทงั้ หมดของทัง้ ไฟฟ้า น�ำ้ มัน แก๊ส ต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะน�ำ้ มันนัน้ ต้องน�ำเข้าจาก ต่างประเทศ ใน 100% ต้องน�ำเข้ามากถึง 90% แก๊สธรรมชาติ เรามีอยูใ่ นอ่าวไทยค่อนข้างมาก แต่กล็ ดปริมาณส�ำรองในอ่าวไทยลง เพราะฉะนั้นต้องน�ำเข้าบ้าง ถ่านหินครึ่งต่อครึ่งเรามีใช้ในประเทศ ค่อนข้างมาก แต่อยู่ในรูปที่สกปรก สรุปว่าต้องน�ำเข้าครึ่งหนึ่ง และ มีแนวโน้มว่าในอนาคตก็จะเพิ่มขึ้นอีกเช่นกัน 2. ประเทศไทยใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลในอัตราทีส่ งู ถึง 80% ของ พลังงานทั้งหมด ท�ำให้มีผลกระทบในทางลบต่อสิ่งแวดล้อม และ มีส่วนท�ำให้เกิดปัญหาก๊าซเรือนกระจกในระดับโลก ฟอสซิลในที่นี้ มีทั้งน�ำ้ มัน แก๊สธรรมชาติ ถ่านหิน 3 สิ่งนี้ประเทศไทยใช้ถึง 80% ซึ่งเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นเชื้อเพลิงสกปรกก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก มีผลกระทบต่อปัญหาโลกร้อน

3. การผลิตไฟฟ้าของประเทศต้องพึง่ พาเชือ้ เพลิงชนิดเดียว คือก๊าซธรรมชาติในอัตราที่สูงกว่า 60% ของไฟฟ้าที่ใช้ได้มาจาก โรงงานไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง จึงท�ำให้มีความเสี่ยง ทั้งทางด้านซัพพลายและด้านราคาเชื้อเพลิง ทั้งนี้ ศ.พรายพล ยังกล่าวอีกว่า ในอนาคตการใช้พลังงาน ของโลกรวมทัง้ ประเทศไทยจะอยูใ่ นรูปแบบไฟฟ้ามากขึน้ เนือ่ งจาก ชีวติ ประจ�ำวันของมนุษย์เรานัน้ ใช้ไฟฟ้าในการด�ำเนินชีวติ ไม่วา่ ทัง้ ในบ้านหรือตอนอยูข่ า้ งนอก จริงอยูท่ ใี่ นปัจจุบนั เราใช้รถยนต์ใช้นำ�้ มัน แต่ในอนาคตอันไม่ไกลจะต้องเปลี่ยนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งนี้คือ แนวโน้มทีจ่ ะเกิดขึน้ ของโลกมนุษย์จะใช้พลังงานในรูปไฟฟ้ามากขึน้ เพราะฉะนั้นประเด็นในเรื่องของการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า นั้น จะเป็นประเด็นที่ส�ำคัญต่อภาคพลังงานและต่อผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บีซพ ี จี ี จ�ำกัด (มหาชน) BCPG กล่าวว่า BCPG เป็นบริษัทในเครือบางจาก ซึ่งท�ำธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า พลั ง งานสะอาด ซึ่ ง ในวั น นี้ รู ้ สึ ก เป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างมาก ที่ ป ระเทศไทยจะได้ ใช้ พ ลั ง งาน สะอาด และยกระดับศักยภาพของ บัณฑิต สะเพียรชัย คนในชุ ม ชนเพื่ อ ให้ เจริ ญ เติ บ โต และมั่นคง “รูปแบบพลังงานใหม่ๆ เราสามารถจะเป็นผูผ้ ลิตทีผ่ ลิตไฟฟ้า ใช้เองได้ ทีส่ ำ� คัญยังได้พลังงานทีถ่ กู ลงและสะอาดขึน้ และหากเหลือใช้ ยังสามารถขายให้กบั ระบบการไฟฟ้าได้อกี ด้วย เพราะฉะนัน้ แผน PDP จะเป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้ไฟว่า เราสามารถเป็นเจ้าของไฟฟ้าเอง และยังใช้ไฟฟ้าที่ถูกลง” บัณฑิต ยังกล่าวอีกว่า การสร้าง Energy Economy หรือ รูปแบบของเศรษฐศาสตร์พลังงานใหม่ๆ พลังงานแห่งอนาคตนั้น คือพลังงานไฟฟ้า น�ำ้ มันจะใช้น้อยลง พลังงานที่ผลิตขึ้นมาจะต้อง เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และยังจะท�ำให้การใช้พลังงานเกิดประสิทธิภาพ มากทีส่ ดุ ไม่ใช่เป็นการน�ำมาใช้แล้วทิง้ ไป แต่สามารถแลกเปลีย่ นและ ซือ้ ขายกันได้ เป็นการสร้างความยัง่ ยืน่ ให้กบั ประเทศและคนภายใน ประเทศยังได้ใช้พลังงานที่สะอาดอีกด้วย ซึ่งเห็นได้ชัดว่าแผน PDP นี้ จะเป็นแผนที่เพิ่มศักยภาพของ ประเทศไทยในเรือ่ งของพลังงาน และสามารถสร้างการเติบโตพร้อมกับ ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนได้อย่างมั่นคง ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ และอีกเรือ่ งทีแ่ ผน PDP ให้ความส�ำคัญนัน้ คือเรือ่ งของ พลังงาน ที่คนในประเทศไทยจะได้ใช้พลังงานที่สะอาด ถูกลง และ ยังสามารถเป็นเจ้าของไฟฟ้าได้เอง และในแผนนี้ยังมีเป้าหมาย ในการลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ท�ำให้เกิดภาวะ โลกร้อนอีกด้วย September-October 2019


Scoop

> กองบรรณาธิการ

ไลน์การผลิตดีโอ โรลออน ที่ล�้ำสมัย ในศูนย์การผลิตใหม่ ใต้โปรเจ็กต์ไพลิน ในประเทศไทย

ไบเออร์สด๊อรฟ บริษทั ชัน้ น�ำผูผ้ ลิตแบรนด์ดงั ระดับโลก อย่าง นีเวีย ยูเซอริน ลา แพรรี และฮันซาพลาส ประกาศ เปิดอาคารส่วนใหม่ของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมบางพลี ซึ่งได้เริ่มก่อสร้างเมื่อต้นปี พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา โดยเป็น ส่วนหนึง่ ของการลงทุนภาคใหญ่ของแผนพัฒนาศูนย์การผลิต ในประเทศไทย ด้วยเงินลงทุนมากถึง 67 ล้านยูโร ซึง่ การลงทุน ในครั้งนี้จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพก�ำลังการผลิตได้มากถึง 50% อาคารใหม่ตั้งอยู่บนพื้นที่ขนาด 9,000 ตารางเมตร ทีเ่ ต็มไปด้วยเครือ่ งมือการผลิตทีท่ นั สมัยเพือ่ รองรับการผลิต ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โรงงานแห่ ง นี้ เ ป็ น จุ ด ส่ ง ออกหลั ก ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เวชส�ำอางดูแลผิวในเครือบริษทั ไบเออร์สด๊อรฟ ภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2525 โดยโรงงานในส่วนที่ สร้างเพิม่ เติมภายใต้โปรเจ็กต์ไพลิน ถูกออกแบบมาให้ดทู นั สมัย มากขึน้ และยังเชือ่ มต่อกับอาคารการผลิตเดิม โดยคาดว่าจะ เปิดเต็มพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช้สำ� หรับผลิตเวชส�ำอางและผลิตภัณฑ์ดแู ลผิว ภายในปี พ.ศ. 2564 ด้วยก�ำลังการผลิตที่มากขึ้น จึงส่งผล ให้สามารถขยายการส่งออกได้มากขึ้น ท�ำให้ศูนย์การผลิต แห่งใหม่ในบางพลีนกี้ ลายเป็นจุดส่งออกทีส่ ำ� คัญของเครือข่าย ไบเออร์สด๊อรฟยิ่งขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ September-October 2019

สเตฟาน เดอ ล็อคเกอร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไบเออร์สด๊อรฟ เยอรมนี ตอกย�ำ้ ว่า “การลงทุนในอาคารผลิตผลิตภัณฑ์ ประเภทดีโอ โรลออน ทีท่ นั สมัย รวมถึงการขยายคลังสินค้าและการขนส่ง ของศูนย์การผลิตในประเทศไทย นับได้ว่าเป็นอีกก้าวส�ำคัญของไบเออร์ สด๊อรฟ ด้วยความต้องการที่มากขึ้นในเอเชียแปซิฟิก ไบเออร์สด๊อรฟ ยังคงมุ่งมั่นที่จะน�ำเสนอเผลิตภัณฑ์ดูแลผิวชั้นเลิศให้กับลูกค้าทุกท่าน ในขณะเดียวกันเรายังคงมุ่งมั่นที่จะแข่งขันและเติบโตไปอย่างยั่งยืน ซึ่ง เป็นเป้าหมายโดยรวมของกลยุทธ์ใหม่ของเราอย่าง C.A.R.E.+ ทีห่ มายถึง การโตเหนือตลาด สร้างคุณค่าที่ลูกค้าจะได้รับ เพื่อสามารถมั่นใจได้ว่า จะมีผลก�ำไรเติบโตอย่างยั่งยืน”


โปรเจ็กต์ไพลิน แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทใน การเติบโตอย่างยัง่ ยืน สะท้อนได้จากสิง่ อ�ำนวยความสะดวกใหม่ๆ ที่ทันสมัย อย่างแผงโซลาร์เซลล์บนเพดานของอาคารที่สามารถ ผลิตกระแสไฟได้มากถึง 500 กิโลวัตต์ นอกจากนีย้ งั ใช้วสั ดุกอ่ สร้าง ทีเ่ ปล่งแสงต�ำ่ และเครือ่ งจักรทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง จึงสามารถช่วยลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ทัง้ ยังเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ด้วยหน่วยท�ำความเย็นที่ไม่ก่อให้เกิดสารคาร์โรฟลูออโรคาร์บอน (CFC-Free) และการใช้น�้ำแบบหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน นอกจากนี้ ตัวอาคารยังประกอบไปด้วยส่วนของอาคารส�ำนักงาน ที่ทันสมัยที่ใส่ใจในเรื่องของการยศาสตร์การท�ำงานที่ดีที่สุด และ อุปกรณ์และเครือ่ งมือต่างๆ ทีไ่ ด้รบั มาตรฐานจาก CE (CE-Standard) ความปลอดภัยและการเติบโตอย่างยั่งยืนเป็นแก่นการท�ำงานใน ทุกๆ วันของศูนย์การผลิตนี้ “ตัง้ แต่เริม่ ก่อสร้างจนส�ำเร็จในปัจจุบนั เราใส่ใจในทุกขัน้ ตอน ของการก่อสร้างเพื่อให้ได้มาซึ่งใบรับรองมาตรฐานระดับโกลด์จาก LEED โดยเราคาดว่าจะได้รับใบรับรองนี้ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า ซึ่งจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นว่าเราเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมการผลิต ในประเทศไทย” มาคุส ดาเบอเกอร์ ผูอ้ ำ� นวยการโครงการ บริษัท ไบเออร์สด๊อรฟ (ประเทศไทย) จํากัด กล่าว เสริม

บ้านส�ำหรับผลิตผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของนีเวียและยูเซอริน หรือศูนย์การผลิตบางพลีและในส่วนของอาคารส�ำนักงาน มีพนักงาน ท�ำงานอยูม่ ากกว่า 800 ราย โดยผลิตภัณฑ์หลักๆ ทีผ่ ลิตในศูนย์การ ผลิตนี้คือ นีเวีย ดีโอ โรลออน, นีเวีย บอดี้, นีเวีย เมน, นีเวีย เฟส, นีเวีย ซัน และนีเวีย ครีม นอกจากนีย้ งั ผลิตยูเซอริน เฟส, ยูเซอริน ซัน, ยูเซอริน แอนตี้เอจจิ้ง, ยูเซอริน บอดี้, และยูเซอริน บอดี้วอร์ช โดย 40% ของปริมาณการผลิตทั้งหมดจ�ำหน่ายในประเทศไทย โดยในส่วนทีเ่ หลือได้ทำ� การส่งออกไปยังมากกว่า 40 ประเทศทัว่ โลก โดยตลาดหลักๆ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย มาเลเซีย และเวียดนาม ซึ่งจากตัวเลขข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการ เติบโตแบบมีนัยส�ำคัญในภูมิภาคนี้ อนึง่ บริษทั ไบเออร์สด๊อรฟ จํากัด คือหนีง่ ในบริษทั ชัน้ น�ำ ที่มีนวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ในการดูแลผิวพรรณคุณภาพสูง และ มีประสบการณ์ในตลาดมาเป็นระยะเวลากว่า 130 ปี บริษัทก่อตั้ง ขึ้นที่เมืองฮัมบวร์ค มีพนักงานมากกว่า 18,000 คนทั่วโลก และ จดทะเบียนอยู่ใน DAX ดัชนีหุ้นหลักของเยอรมัน ไบเออร์สด๊อรฟ มีรายได้มากถึง 6.8 พันล้านยูโร ในรอบปีงบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. 2559 นีเวียแบรนด์ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวอันดับหนึ่งของโลก* คือ แบรนด์หลักของบริษัท โดยยังรวมไปถึงแบรนด์อื่นๆ เช่น Eucerin, La Prairie, Labello และ Hansaplast/Elastoplas นอกจากนี้ ไบเออร์สด๊อรฟยังเป็นเจ้าของบริษทั ในเครือ tesa SE อีกหนึง่ บริษทั ผู้ผลิตในอุตสาหกรรมความงามชั้นน�ำระดับโลก ที่เป็นผู้จัดหา ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ แบบ Self-Adhesive และระบบโซลูชนั ต่างๆ ให้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และผู้บริโภค *ที่มา : บริษัท ยูโรมอนิเตอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด ; นีเวีย ในแง่มูลค่าค้าปลีก ซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ์ประเภทผลิตภัณฑ์ดูแล ผิวกาย ผลิตภัณฑ์ดูแลผิวหน้า และผลิตภัณฑ์ดูแลผิวมือ

September-October 2019


Cover Story > บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

CVM-A1500

Supply Quality Management in Industry

เมื่อพูดถึงการวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้านั้น เป็นการตีความข้อมูลโดยวิศวกรไฟฟ้าผู้เชี่ยวชาญ การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าบางประเภทมีการติดตั้ง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีคุณภาพ ผู้ใช้งานจึงไม่มีปัญหาใน การตีความข้อมูลที่ตรวจวัดได้ โดยทั่วไปเครื่องวัด วิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้ามักจะเป็น “Black Boxes” ซึง่ ไม่ได้แสดงข้อมูลพารามิเตอร์ทางไฟฟ้าแต่อย่างใด หากไม่ได้เชือ่ มต่อผ่านซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ในการวิเคราะห์ ข้ อ มู ล ดั ง นั้ น นอกเหนื อ จากประสิ ท ธิ ภ าพของ คอมพิวเตอร์ในการดาวน์โหลดข้อมูลจากเครือ่ งมือวัด แล้ว ผู้ใช้งานจะต้องรู้ถึงการตีความจากข้อมูลทาง ไฟฟ้าทีต่ รวจวัดได้ดว้ ยเช่นกัน นัน่ เป็นเหตุผลทีท่ ำ� ให้ ทาง บริษทั เอวีรา่ จ�ำกัด มีการพัฒนาคัดสรรผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพเหมาะสมกับการใช้งาน เพื่อตอบโจทย์ กับความต้องการของผูใ้ ช้งานมากยิง่ ขึน้ ซึง่ ในครัง้ นี้ ทางบริษัทขอน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ Digital Meter เครื่องมือวัดวิเคราะห์การใช้พลังงานไฟฟ้าที่เป็น Class A ตามมาตรฐาน IEC 61000-4-30 ด้วยราคา มิตรภาพย่อมเยา กับฟังก์ชนั ทีห่ ลากหลายประเภท Power Quality Analyzer นั่นคือรุ่น CVM-A1500 แบรนด์ CIRCUTOR September-October 2019

ITIC Curve

ดิ จิ ต อลมิ เ ตอร์ รุ ่ น CVM-A1500 สามารถแสดงกราฟ ITIC (เช่น CBEMA และ SEMIF47) บนหน้าจอแสดงผลด้วยการคลิกเพียง 3 ครัง้ บนอุปกรณ์เครื่องมือวัด ท�ำให้ผู้ใช้ไฟเข้าใจกราฟ ITIC ของระบบไฟฟ้า ได้มากยิ่งขึ้น กราฟนี้แสดงผลเป็นรูปสามเหลี่ยมสีแดงในแต่ละครั้งที่มี เหตุการณ์เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว แสดงจ�ำนวนเหตุการณ์คุณภาพไฟฟ้าที่ เกิดขึ้น หมายความว่าผู้ใช้สามารถเห็นถึงปัญหาที่กำ� ลังเผชิญอยู่ได้อย่าง รวดเร็ว หากสามเหลีย่ มอยูใ่ นพืน้ ทีส่ เี ขียวแสดงว่ามีเหตุการณ์ (ไฟกระชาก หรือแรงดันไฟฟ้าตก) ซึ่งไม่ได้ท�ำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในโรงงานของ คุณเสียหายได้ อย่างไรก็ตาม หากสามเหลีย่ มอยูใ่ นพืน้ ทีส่ แี ดงนัน่ หมายถึง ปริมาณแรงดันไฟฟ้าที่เกิดการเปลี่ยนแปลงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งท�ำให้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ของคุณเสียหายมากทีส่ ดุ ยิง่ สามเหลีย่ มอยูใ่ กล้กบั ด้านบน ซ้ายมากเท่าไหร่ อุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์กจ็ ะเสียหายมากขึน้ เนือ่ งจาก มีคา่ และระยะเวลาทีส่ งู ในทางตรงกันข้าม หากสามเหลีย่ มอยูใ่ นขอบเขต สีเหลือง หมายความว่ามีแรงดันไฟฟ้าตกซึ่งแรงดันไฟฟ้าตกที่เกิดขึ้นนี้ อาจส่งผลกระทบต่อระบบอิเล็กทรอนิกส์ทมี่ ตี ดิ ตัง้ อยูภ่ ายในเครือ่ งจักรกล เกิดการหยุดการท�ำงานอันเนื่องจากแรงดันไฟฟ้าตก (Under Voltage) เพียงแค่ผใู้ ช้งานสังเกตกราฟทีบ่ นหน้าจอมิเตอร์ของเครือ่ งมือวัดนี้ ก็ทำ� ให้ ผูจ้ ดั การฝ่ายบ�ำรุงรักษาสามารถรูไ้ ด้วา่ ท�ำไมระบบไฟฟ้าจึงมีความผิดปกติ นอกจากนี้ หากเกิดขึ้นซ�้ำๆ เป็นประจ�ำ ข้อมูลนี้จะช่วยน�ำไปวางแผน การใช้งานเพื่อลดผลกระทบของเหตุการณ์ความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ เป็นแนวทางในการหลีกเลี่ยงการหยุดชะงักของกระบวนการผลิต และ การสูญเสียโอกาสทางธุรกิจรวมถึงการสูญเสียทางการเงินได้อีกด้วย


รายละเอียดในการป้องกันปัญหาคุณภาพไฟฟ้า

การตัดสินใจและการพิจารณาข้อก�ำหนดในการป้องกันทาง ไฟฟ้าให้กับระบบคอมพิวเตอร์และระบบควบคุมในทุกวันนี้ เราจะ ยึดถือกราฟเส้นโค้ง CBEMA ของสมาคมผูผ้ ลิตอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เชิงธุรกิจ (Computer Business Equipment Manufacture Association : CBEMA) ซึง่ ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ มาเป็น สภาอุตสาหกรรมสารสนเทศ (Information Technology Industry Council : ITI) เมื่อปี พ.ศ. 2543 ตามรูปที่ 1 กราฟเส้นโค้งนี้จะแสดงถึงระดับที่อุปกรณ์ในระบบ อิเล็กทรอนิกส์สามารถยอมรับให้แรงดันไฟฟ้าเปลีย่ นแปลงได้ ซึง่ จะ หมายถึงการน�ำเอาอุปกรณ์ไฟฟ้ามาใช้งานนั่นเอง เส้นโค้งดังกล่าว ท�ำให้ผู้ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าสามารถน�ำไปก�ำหนดเป็นสมรรถนะที่ใช้ งานเช่นกัน รูปที่ 1 แสดงกราฟ ITIC (CBEMA) การใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวกับเส้นโค้งและขอบเขตที่ยอมรับได้ในข้างต้นนั้น จะถูกแยกออกเป็น 2 ประการ คือ 1. คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่สว่ นใหญ่ใช้วธิ กี ารสวิตช์ในการจ่ายก�ำลังไฟฟ้า (Switched Moe Power Supplies : SMPS) ทีย่ อมให้แรงดัน ไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงได้สูงมากกว่าที่แสดงในเส้นโค้ง 2. ต�ำแหน่งทีอ่ ยูข่ องเส้นโค้งเฉพาะการเปลีย่ นแปลงของแรงดันไฟฟ้าปกติระหว่างสายทีม่ ไี ฟด้านเข้า หรือสายเฟสเทียบนิวทรัล โดยที่ ไม่ได้คิดถึงการรบกวนของแรงดันไฟฟ้าระหว่างนิวทรัลกับกราวด์ เทคโนโลยี SMPS ไม่ได้รวมถึงหม้อแปลงลดแรงดันและหม้อแปลงแบบ แยกขดลวด (Step Down/Isolation) ทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ในการจ่ายก�ำลังไฟฟ้าก่อน SMPS ซึง่ จะมีแรงดันไฟฟ้าทีม่ คี ลืน่ รบกวนของนิวทรัลเทียบกับ กราวด์ที่ระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ดังนั้นความจ�ำเป็นและการใช้งานรวมถึงการติดตั้งอุปกรณ์จึงควรน�ำมาพิจารณาร่วมด้วย

กราฟแสดงความคงทนของอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่อแรงดันไฟตกชั่วขณะ กราฟ CBEMA ITIC

กราฟ CBEMA (Computer Business Equipment Manufacturers Association) จะถู ก ใช้ กั บ อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ ใ นการตรวจสอบ การท�ำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ระหว่างเกิดแรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ หรือแรงดันไฟฟ้าสูงเกินชัว่ ขณะ โดยทีก่ ราฟ CBEMA จะถูกใช้กบั อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ที่พิกัดแรงดันไฟฟ้า 120V 60Hz ซึ่งเป็นแรงดันไฟฟ้าแรงต�่า ของสหรัฐอเมริกาโดยจะมีลกั ษณะดังรูปที่ 1 ต่อมาองค์กร CBEMA ได้ถกู เปลี่ยนเป็น ITIC (The Information Technology Industry Council) และ ได้มีการปรับปรุงกราฟใหม่ คือกราฟ ITIC ดังแสดงในรูปที่ 2 และยังคงใช้ กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ระดับแรงดัน ไฟฟ้า 120V 60Hz เช่นกัน

กราฟ SEMIF47

นอกจากกราฟทั้ง 2 ที่ได้กล่าวไปเบื้องต้นแล้ว องค์กร Semiconductor Equipment and Materials International (SEMI) ยังได้พฒ ั นาเรือ่ ง ของมาตรฐานและการเชื่อมต่ออุปกรณ์ขึ้นอีกหลายอย่าง และได้จัดท�า กราฟ SEMIF47 ขึน้ มาเพือ่ ก�ำหนดช่วงของแรงดันไฟฟ้าตกชัว่ ขณะช่วงสัน้ ที่เกิดขึ้น ว่ามีขนาดและช่วงเวลาการเกิดเป็นอย่างไรที่จะไม่มีผลกระทบ ต่ออุปกรณ์ในกระบวนการผลิตสารกึ่งตัวน�ำ ซึ่งมาตรฐาน SEMIF47 นี้ เป็นมาตรฐานด้านอุตสาหกรรมทีจ่ ะพิจารณาผลทางด้านแรงดันไฟฟ้าตก ชั่วขณะเท่านั้น ไม่ได้พิจารณาในกรณีที่เกิดแรงดันไฟฟ้าสูงเกินชั่วขณะ (ดังรูปที่ 2) และยังคงใช้กับแรงดันไฟฟ้าแรงต�่ำเช่นเดียวกัน (อาจได้ถึง

รูปที่ 2 เส้นโค้ง ITIC ที่แสดงสมรรถนะมาตรฐาน ส�ำหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ได้พัฒนาใหม่ 600V 3 Phase 50/60Hz) โดยในรูปที่ 3 ได้แสดงระดับ แรงดันไฟฟ้าทีอ่ ปุ กรณ์สารกึง่ ตัวน�ำต้องสามารถทนต่อแรงดัน ไฟฟ้าตกชัว่ ขณะทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาและทีร่ ะดับแรงดันต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในระบบไฟฟ้าได้ ความแตกต่างระหว่างเส้นโค้ง CBEMA กับ ITIC คือ เส้นโค้ง CBEMA ใช้ได้กับแรงดันไฟฟ้าทั้งหมด ในขณะที่ เส้นโค้ง ITIC จะถูกน�ำมาใช้กับแรงดันไฟฟ้าที่เฉพาะเจาะจง มากขึ้น September-October 2019


พารามิเตอร์อื่นๆ ที่สามารถตรวจวัดได้ Harmonics

อุปกรณ์เครื่องวัดนี้สามารถแสดงล�ำดับของฮาร์มอนิกได้ถึง 63 ล�ำดับ และสามารถเห็นระดับฮาร์มอนิกของโหลดที่เกิดขึ้น ฮาร์มอนิกทีเ่ กิดขึน้ สามารถส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการใช้งาน ของอุปกรณ์ไฟฟ้าได้โดยตรงในรูปแบบของความร้อนสูง หรือความ ผิดปกติในการท�ำงานของโหลดประเภทอิเล็กทรอนิกส์

หน้าจอแสดงผล

ดิจิตอลมิเตอร์ รุ่น CVM-A1500 มีเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่มีหน่วย ความจ�ำในตัว ผูใ้ ช้สามารถเข้าถึงข้อมูลทีบ่ นั ทึกไว้บนเว็บเบราว์เซอร์ (Internet Explorer, Firefox, Google Chrome ฯลฯ) เพื่อตรวจสอบ พารามิเตอร์ทางไฟฟ้าทั้งหมดแบบเรียลไทม์ การสร้างกราฟและ สามารถดูตารางแสดงเหตุการณ์คุณภาพไฟฟ้าและรูปคลื่นไซน์ power quality measurement อีกทั้งดึงข้อมูลPanel ได้อย่power างง่าanalyzer ยดายในwith Excel บวกกับอุปกรณ์นี้ยัง สามารถรวมเข้ากับซอฟต์แวร์การจัดการพลังงาน Power Studio (EMS) เพือ่ ให้เห็นภาพรวมของสถานะของโหลดทีต่ ดิ ตัง้ อยูใ่ นระบบ ไฟฟ้าทั้งหมด

Eenergy Management Software integrated Eenergy Management Software PowerStudio Embedded integrated. WebServer access

PowerStudio access

คุณภาพการส่งผ่านข้อมูลที่รวดเร็ว

ดังทีเ่ ราได้เห็นด้วยเครือ่ งวิเคราะห์คณ ุ ภาพไฟฟ้าของแหล่งจ่ายไฟฟ้า CVM-A1500 ผู้ใช้สามารถควบคุมพารามิเตอร์ได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งสามารถพิจารณาความผิดปกติใดๆ และตรวจสอบว่ามีความผิดปกติทางไฟฟ้าหรือไม่ โดยการส่งผ่านข้อมูลไปยังผู้ดูแลบ�ำรุง รักษาให้สามารถน�ำข้อมูลไปปรึกษากับการไฟฟ้าฯ ในกรณีทมี่ กี ารหยุดการท�ำงานอันเนือ่ ง มาจากคุณภาพของแหล่งจ่ายไฟฟ้าทีไ่ ม่ดี หรืออาจต้องการการรับประกันส�ำหรับเครือ่ งจักร ทั้งหมดที่มีการท�ำงานที่ผิดปกติเพราะสามารถตรวจสอบได้ว่าเกิดจากสาเหตุใด หรือเพื่อ ความผิดปกติของตัวเครื่องจักรเองก็ตาม September-October 2019


Waveform capture

Your network quality, at a glance

Panel power analyzer with power quality measurement

etwork quality, at a glance Panel power analyzer with power quality measurement เครื่องวัดสามารถวิเคราะห์และตรวจจับรูปคลื่นของแรงดันและกระแสเมื่อ Panel power analyzer with power quality measurement

ตรวจพบความผิดปกติ หรือการเสียรูปของรูปคลืน่ แรงดันเก็บไว้ภายในหน่วยความจ�า เพื่อวิเคราะห์ออนไลน์หรือดาวน์โหลดข้อมูลไปยัง Power Studio

Events tetwork a glance quality, at a glance

CBEMA Oscilloscope in real time

Panel power analyzer with power quality measurement

Events t a glance

SEMIF47 CBEMA

ITIC CBEMA Events

Panel power analyzer with power quality measurement

ork quality, at a glance

SEMIF47 ITIC CBEMA

TIC Events

Events

SEMIF47 CBEMA

SEMIF47

TIC ITIC

SEMIF47

สามารถแสดงลูกคลื่นแรงดันและกระแสในเวลาจริง และมีตัวเลือกส�ำหรับ การซูมคลื่นในแต่ละช่วงเวลาเพื่อการแสดงผลที่ชัดเจนยิ่งขึ้น นอกเหนือจากเนื้อหาที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ดิจิตอลมิเตอร์ CVM-A1500 ยังมี ฟังก์ชนั รองรับอีกมากมายทีต่ อบรับความต้องการในยุคปัจจุบนั โดยสามารถสอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

รับปรึกษาและวางแผนบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า ด้วยประสบการณ์ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและมีผลิตภัณฑ์ ให้เลือกหลากหลายไว้คอย อ�ำนวยความสะดวก Tel : 088-001-0416 E-mail : sales@avera.co.th Website : www.avera.co.th September-October 2019


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด

Motor Condition Monitoring หากเครื่ อ งจั ก รคื อ ปั จ จั ย หลั ก ในการผลิ ต สิ น ค้ า ต่ า งๆ ส่วนประกอบหลักทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล คงหนีไม่พ้นมอเตอร์ ซึ่งเปรียบเสมือนหัวใจหลักที่ท�ำให้เครื่องจักร หรือกระบวนการผลิตขับเคลือ่ นไปในรูปแบบต่างๆ ตามลักษณะของ มอเตอร์ที่น�ำมาใช้งาน ซึ่งก็มีอยู่มากมายหลายแบบหลายประเภท ด้วยกัน แล้วแต่ลักษณะของเครื่องจักรนั้นๆ มอเตอร์ที่ใช้ไฟฟ้า กระแสสลับขนาดก�ำลังวัตต์สงู ๆ ตัง้ แต่ 15 KW ขึน้ ไปจะเป็นมอเตอร์ ทีม่ ขี นาดใหญ่ การดูแลรักษาให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลา เป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่ง เพราะหากมอเตอร์เหล่านี้เกิดการช�ำรุด เสียหายใช้งานไม่ได้ จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อกระบวนการผลิต อย่างแน่นอน เพราะการเปลีย่ นมอเตอร์ขนาดใหญ่คอ่ นข้างใช้เวลา นาน ปัญหาทีต่ ามมาคือความเสียหายจากการสูญเสียความสามารถ ในการผลิต ส่วนจะคิดเป็นจ�ำนวนเงินเท่าไหร่นั้นก็สามารถค�ำนวณ ได้โดยเอาต้นทุนต่างๆ คูณกับเวลาทีเ่ สียไป การหลีกเลีย่ งสถานการณ์ เหล่านีส้ ามารถท�ำได้ หากเรามีการบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันทีด่ ี พนักงาน ซ่อมบ�ำรุงเข้าไปตรวจสอบตามช่วงระยะเวลาทีก่ ำ� หนด มีการตรวจสอบ โดยละเอียด พนักงานมีประสบการณ์ สามารถค้นพบปัญหาและ

September-October 2019

วางแผนแก้ไข ก็สามารถช่วยลดปัญหาการเกิด Down Time เนือ่ งจาก มอเตอร์ชำ� รุดเสียหายได้เป็นอย่างดี แน่นอนว่าการใช้คนตรวจสอบ อาจมีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ หากบุคคลนั้นขาด ประสบการณ์ การหาตัวช่วยที่มีความสามารถคอยเฝ้าติดตามดู ประสิทธิภาพมอเตอร์ได้ตลอดเวลาและแจ้งเตือนให้เราทราบทันที เมื่อเริ่มมีอาการผิดปกติ เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ควรลงทุนส�ำหรับมอเตอร์ ขนาดใหญ่ ดีกว่าปล่อยให้เกิด Down Time สาเหตุเพราะมอเตอร์ ช�ำรุดเสียหาย ซึ่งมันจะท�ำให้เราเสียเวลาและค่าใช้จ่ายมากมาย ตามมาตามที่กล่าวไป ปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Motor Condition Monitoring มาช่วยท�ำหน้าที่ดูแลมอเตอร์ขนาดใหญ่แทนการใช้คนตรวจสอบ แบบเดิม ซึ่ง Motor Condition Monitoring นี้ สามารถเฝ้าดูความ ผิดปกติของมอเตอร์ได้ตลอดเวลา โดยไม่ต้องรอระยะเวลาในการ ตรวจเช็ค ไม่ตอ้ งพึง่ พนักงานทีม่ ปี ระสบการณ์ เพราะ Motor Condition Monitoring จะท�ำการวิเคราะห์และแจ้งให้ทราบทันทีเมื่อมอเตอร์ เริ่มมีอาการผิดปกติ ท�ำให้เราสามารถที่จะวางแผนการเปลี่ยนหรือ ซ่อมบ�ำรุงได้ล่วงหน้าโดยไม่กระทบกับกระบวนการผลิต


Motor Condition Monitoring ท�ำงานอย่างไร โดยปกติแล้วมอเตอร์ที่ เสียหายจะเกิดขึน้ จาก 2 สาเหตุ คือจากโหลดและจากตัวมอเตอร์เอง เราสามารถ ตรวจสอบอาการผิดปกติของมอเตอร์ได้จากความผิดปกติของกระแส ความผิดปกติ ของค่าความเป็นฉนวน หรือความผิดปกติจากการสัน่ สะเทือน อุณหภูมิ ซึง่ อาการ ผิดปกติทั้งหมดนี้เป็นที่มาของ Motor Condition Monitoring แบบต่างๆ ซึ่งมี ด้วยกัน 3 แบบ แยกตามการตรวจจับ ได้แก่ รุน่ ตรวจจับความผิดปกติของกระแส ตรวจจับความผิดปกติของค่าความเป็นฉนวน และตรวจจับความผิดปกติจากการ สั่นสะเทือนและอุณหภูมิ เรามาดูกันว่าแต่ละแบบมีคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างไร เพื่อการตัดสินใจ เลือกใช้งานที่ถูกต้อง มาเริ่มกันที่รุ่นตรวจจับความผิดปกติของกระแสก่อน อย่างทีก่ ล่าวไปแล้วว่ามอเตอร์จะเสียหายเกิดขึน้ ได้จาก 2 ส่วนคือ ส่วนของโหลด และส่วนของตัวมอเตอร์เอง รุ่นตรวจจับความผิดปกติของกระแส จะเน้นไปที่ ความผิดปกติทางด้านโหลด เช่น การใช้งานเกินพิกดั (Overload) มอเตอร์กบั โหลด ไม่ได้ระนาบ (Alignment) หรือเกิดจากโหลดทีไ่ ม่มคี วามสมดุล (Unbalance Load) รุน่ นีจ้ ะต้องใช้งานร่วมกับ Current Transformer (CT) ทีม่ ขี นาดเหมาะสมกับขนาด ของมอเตอร์ รุน่ ตรวจจับความผิดปกติของค่าความเป็นฉนวน เหมาะส�ำหรับมอเตอร์ที่ อยูใ่ นบริเวณทีม่ คี วามเสีย่ งต่อความชืน้ สูง หากมอเตอร์มคี า่ ความต้านทานต�ำ่ กว่า มาตรฐาน อุปกรณ์จะแจ้งเตือนให้เราทราบ การใช้งานรุ่นนี้ต้องใช้งานร่วมกับ Current Transformer ชนิดพิเศษเท่านั้น ส่วนรุ่นสุดท้ายจะเป็นรุ่นตรวจจับความ ผิดปกติของความสั่นสะเทือนและอุณหภูมิ รุ่นนี้จะตรวจจับความผิดปกติของ ตัวมอเตอร์โดยตรง เช่น ลูกปืนแตก จาระบีแห้ง อุณหภูมมิ อเตอร์สงู ผิดปกติ รุน่ นี้ จะต้องใช้งานร่วมกับหัวเซนเซอร์ชนิดพิเศษ โดยต้องติดตัง้ หัวเซนเซอร์ทตี่ วั มอเตอร์ การติดตั้งให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดจะต้องฝังหัวเซนเซอร์ลงไปที่ตัวมอเตอร์ โดยตรง ในกรณีทไี่ ม่อยากฝังก็สามารถติดตัง้ ทีผ่ วิ ของมอเตอร์ได้เช่นกัน เพียงแต่ ประสิทธิภาพในการตรวจจับอุณหภูมิจะลดลง 3 รุน่ ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนี้ ทางผูผ้ ลิตจะมีคา่ ก�ำหนดมาตรฐานในการตัดสินใจ ว่ามอเตอร์ของเราอยูใ่ นสถานะใดใน 3 สถานะคือ ปกติ (Normal) แจ้งเตือน (Warning) และขัน้ วิกฤต (Critical) เราสามารถปรับเปลีย่ นค่าตัดสินใจได้ตามความเหมาะสม โดยศึกษาจากคูม่ อื ของผูผ้ ลิต โดยปกติแล้วทางผูผ้ ลิตจะมีซอฟต์แวร์ใช้งานติดมาให้ เพื่อความสะดวกของผู้ใช้งานในการตั้งค่าหรือดูค่าพารามิเตอร์ต่างๆ อีกทั้งยัง สามารถต่อร่วมกันหลายๆ ตัวได้โดยใช้ซอฟต์แวร์เป็นตัวกลางในการบริหารจัดการ การตัดสินใจเลือกใช้งานหรือไม่ใช้งาน Motor Condition Control ท่านเอง คงต้องเป็นผูพ้ จิ ารณาว่าคุม้ หรือไม่คมุ้ ค่าในการลงทุน เนือ่ งจากราคาของอุปกรณ์ ก็อาจเป็นปัจจัยหนึ่งในการตัดสินใจ หากท่านคิดว่าค่าใช้จ่ายในการที่เครื่องจักร หยุด (Down Time) เพราะมอเตอร์ช�ำรุดเสียหายหรือต้องเสียค่าซ่อมมอเตอร์ ในราคาทีส่ งู มาก การพิจารณาเลือกใช้งาน Motor Condition Control น่าจะเป็น อีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ

บริษท ั ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จำ�กัด

โทร. 0-2942-6700 หรือ http://www.omron-ap.co.th September-October 2019


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

เทคโนโลยี

ระบบไฟฟ้าสำ�รอง เนือ่ งจากในปัจจุบนั ความต้องการใช้ไฟฟ้า ทีต่ อ่ เนือ่ งนัน้ เป็นสิง่ ส�ำคัญส�ำหรับอุตสาหกรรม อาคารสู ง โรงพยาบาล ระบบสื่ อ สารและ โทรคมนาคม ฯลฯ ดังนั้น เพื่อให้ระบบไฟฟ้ามี เสถียรภาพจึงจ�ำเป็นต้องมีระบบส�ำรองไฟ เพือ่ ใช้ในกรณีที่ระบบไฟหลักไม่สามารถท�ำงานได้ เป็นปกติ ซึง่ ระบบไฟฟ้าส�ำรองนัน้ จ�ำเป็นต้องมี ชุดสวิตช์เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟฟ้าอัตโนมัติจาก แหล่งจ่ายไฟปกติไปยังอีกแหล่งจ่ายไฟฉุกเฉิน (เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า) หรือที่เรียกว่า Automatic Transfer Switch (ATS) โดยจะท�ำงานอัตโนมัติ เมื่อแรงดันไฟฟ้าหลัก (การไฟฟ้า) ขาดหายไป Technoelectric ผู ้ ผ ลิ ต Switch Disconnector จากประเทศอิ ต าลี โดยมี หลากหลายชนิดให้เลือกใช้ ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ ชนิด Motorized Change Over Switch หรือ สวิตช์เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟชนิดมีมอเตอร์ไฟฟ้า ส�ำหรับใช้ในงาน ATS โดยมีพิกัดกระแสตั้งแต่ 160A จนถึง 3150A แบบ 3 และ 4 โพล September-October 2019

คุณสมบัติของ Motorized Change-Over Switch ที่ดี

สวิตช์เปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟชนิดมีมอเตอร์ไฟฟ้า ผลิตจากชุด Switch Disconnectors ในรุน่ Visual Compact จ�ำนวน 2 ชุด และชุด Mechanical Interlock สามารถมองเห็นการท�ำงานของหน้าคอนแทคได้และเป็นแบบ Double Break Contact ทดสอบตามมาตรฐาน IEC 60947-1 และ IEC 60947-3 โดยมีลักษณะ เด่นดังนี้ แหล่งจ่ายไฟของชุดมอเตอร์มแี รงดัน 12-24VDC, 110/220VAC ให้เลือกใช้ มีฟิวส์ป้องกันที่ Supply Board มีชนิด Horizontal และ Two Layer ให้เลือกใช้ สามารถเลือกชนิดการท�ำงานด้วยสวิตช์ (แบบ Impulse หรือแบบ Contactor) สามารถแสดงสถานะการท�ำงานว่าท�ำงานจากแหล่งจ่ายไฟใด (“1”, “0”, “2”) มีด้าม Handle ให้มาด้วยกับ Change-Over Switches สามารถท�ำงานด้วยมือ (Manual), แบบไฟฟ้า (Electrical) สามารถล็อกได้ดว้ ย Padlock ได้ เพือ่ ความปลอดภัยขณะท�ำการบ�ำรุงรักษา ชุดคอนโทรลสามารถใช้แรงดันไฟฟ้า 9-30VDC ชุดคอนโทรลสามารถสั่งการท�ำงานได้ทั้งแบบ Manual และ Automatic ชุดคอนโทรลสามารถใช้วัดแรงดันไฟฟ้า 230V PH - 230V 3PH 400 3PH - 440 3PH    

     


แบบ Horizontal

แบบ Two Layer

ชุดคอนโทรล

ตัวอย่างไดอะแกรมการต่อใช้งาน

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่

บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด

โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ : 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com September-October 2019


Special Area > ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

Wiser AvatarOn โฮมออโตเมชัน … ติดตั้งง่าย ขยายความต้องการได้

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric) ผู้น�ำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน ด้านการจัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน เปิดตัว Wiser AvatarOn โฮมออโตเมชัน ดีไซน์สุดโมเดิร์น คว้ารางวัล Reddot Award ที่สุดแห่งความล�้ำหน้าด้านเทคโนโลยี โฮมออโตเมชัน สามารถเพิม่ เติมอุปกรณ์สมาร์ทในเครือข่ายได้ตามต้องการ เหนือชัน้ ด้วย การควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ในบ้านได้ในแอปฯ เดียว เล็งเจาะกลุ่มโครงการที่พักอาศัย ยุคใหม่ ที่มุ่งตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ยุค 4.0 ด้วยเทคโนโลยีเหนือระดับ อาทิ บ้าน โครงการ หมู่บา้ น คอนโดมิเนียมหรู โรงแรม รีสอร์ต ที่ต้องการฉีกกฎเกณฑ์แนวคิดแบบออฟไลน์ ให้เป็นออนไลน์ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั โครงการต่างๆ และเพิม่ ความสะดวกสบายให้ ผู้พักอาศัย Getting to know the Wiser system การก้าวเข้าสู่สังคม 4.0 ในปัจจุบัน จ�ำเป็นต้องมีเทคโนโลยีที่สามารถรองรับและ ตอบโจทย์ อย่าWiser งครบวงจรครบทุ องการtoเพราะเทคโนโลยี ครือ่ งใช้time อำ� นวยความ One orได้ more devices canกความต้ be configured operate when a เspecific is reached or a specific sensor condition is met. สะดวกส�ำหรับบ้าน มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทีล่ ว้ นเติมเต็มชีวติ ดิจทิ ลั ทัง้ สิน้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เล็งเห็นความส�ำคัญในข้อนี้ จึงได้ต่อยอดนวัตกรรมโฮมออโตเมชันเพื่อให้ E-mode system ติดตัง้ ง่าย และง่ายในการเพิม่ อุปกรณ์ตา่ งๆ เข้ามาในเครือข่าย โดยสามารถควบคุมผ่าน แอปพลิ เคชัน Wiser ของชไนเดอร์ อิเfeatures ล็คทริค and ได้ในที ่เดียว เพืof่อตอบสนองไลฟ์ สไตล์ If a building owner does not want the functionality a full Wiser system, create a simpler Wiser system that provides remote control for switching/ การใช้ ชีวิตที่เปลี่ยนไปได้อย่างไร้ขีดจ�ำกัด dimming lights and opening, stopping and closing curtains.

September-October 2019

This system is called E-mode and does not require a gateway or the Wiser by SE


ในโซลูชัน Wiser AvatarOn ประกอบด้วย 1. ไอพีเกตเวย์ (IP Gateway) ซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญในการ รับส่งข้อมูลการสื่อสารต่างๆ จากสมาร์ทโฟนและอุปกรณ์ต่างๆ ที่เราต้องการควบคุม 2. สวิตช์พกพา (Freelocate Switch) สามารถพกพาเพื่อ ควบคุมระบบแสงสว่างทุกจุดในบ้านได้ ในกรณีทไี่ ม่ได้ใช้สมาร์ทโฟน ในการควบคุม โดยไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งการเปิด/ปิดสวิตช์ไฟระหว่างชัน้ หรือเพือ่ ความปลอดภัยส�ำหรับผูส้ งู อายุและเด็กทีเ่ อือ้ มไม่ถงึ สวิตช์ไฟ 3. ระบบควบคุ ม อุ ณ หภู มิ (Multifunction Interface) ช่วยให้สามารถควบคุมอุณหภูมขิ องแอร์คอนดิชนั หรือเปิด/ปิดผ่าน สมาร์ทโฟนได้ 4. ระบบจั ด การอุ ป กรณ์ เ พื่ อ ความบั น เทิ ง ในบ้ า น (360° IR Convertor) ระบบควบคุม TV/AV รวมไปถึงแอร์คอนดิชัน สามารถเพิม่ เติมอุปกรณ์ตา่ งๆ ได้มากมาย 360° เช่น ชุดเครือ่ งเสียง โฮมเธียเตอร์ โดยสามารถรับส่งสัญญาณแบบกระจายได้ถึง 360° เลยทีเดียว 5. ระบบควบคุมแสงสว่าง (AvatarOn Light Switch) ระบบ ควบคุมแสงด้วยดีไซน์งดงาม พร้อมปรับเปลีย่ นรูปลักษณ์ได้ตามใจ หรือตามคอนเซ็ปต์ของโครงการ และยังสามารถปรับเปลี่ยนสีสัน ได้อีกด้วย 6. ระบบควบคุมม่าน (AvatarOn Curtain Switch) ง่าย ในการควบคุมม่านผ่านสมาร์ทโฟน หรือตั้งเวลาเปิด/ปิดอัตโนมัติ หรือใช้งานร่วมกับระบบเซนเซอร์เพื่อให้เปิด/ปิดก็ได้ และที่โดดเด่นส�ำหรับโซลูชัน Wiser AvatarOn คือสามารถ ท�ำงานร่วมกับระบบ “เซนเซอร์อัจฉริยะแบบไร้สาย” ให้ความ สะดวกในการเคลือ่ นย้ายเพราะมีแบตเตอรีใ่ นตัว ไม่ตอ้ งเดินสายจาก ระบบไฟในบ้าน สามารถน�ำไปติดตั้งในที่ที่ต้องการได้ตามสะดวก ระบบเซนเซอร์ ก ารเคลื่ อ นไหว เพื่ อ ตรวจจั บ ความ เคลื่อนไหวในบ้าน สามารถเลือกติดตั้งได้ตามต้องการ เช่น บ้านที่ มีเด็กหรือคนชรา สามารถปรับแต่งติดตั้งในพื้นที่เสี่ยง เพื่อให้ระวัง ได้เป็นพิเศษ เช่น ใกล้บ่อปลา สระน�้ำ บันได เป็นต้น อุปกรณ์ตรวจจับน�้ำรั่ว ง่ายในการติดตั้ง เพราะเป็น ระบบไร้สาย สามารถน�ำไปวางไว้ใกล้จดุ ทีเ่ ราต้องการได้ เช่น บริเวณ เครือ่ งซักผ้า ใต้ซงิ ค์นำ้� หรือใต้หลังคาเพือ่ แจ้งเตือนเมือ่ มีนำ�้ รัว่ เข้าใน ตัวบ้าน

ระบบเซนเซอร์ประตู/หน้าต่าง ท�ำให้สามารถเช็คสถานะ ของประตูและหน้าต่าง เพื่อป้องกันการหลงลืมในการปิดประตู/ หน้าต่างไม่สนิทเวลาก่อนออกจากบ้านอีกด้วย ระบบเซนเซอร์อุณหภูมิ ช่วยให้สามารถรับรู้อุณหภูมิได้ ทัว่ ห้อง เพราะปกติแอร์จะวัดอุณหภูมไิ ด้ทตี่ วั แอร์ ท�ำให้เราคาดการณ์ สามารถปรับแต่งอุณหภูมิได้ทั่วทั้งห้อง ไมโครโมดูล เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยเปลี่ยนอุปกรณ์ธรรมดำ ต่างๆ ให้อัจฉริยะ สามารถเพิ่มเติม ปรับแต่งระบบโฮมออโตเมชัน ให้แตกต่างจากรายอื่นๆ ได้ เพื่อเพิ่มอ�ำนาจการควบคุมมารวมที่ แอปพลิเคชัน Wiser ได้ในที่เดียว เพียงน�ำไมโครโมดูลเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์ทตี่ อ้ งการ และท�ำการเชือ่ มต่อผ่านสมาร์ทโฟนได้เลย ให้ความ สะดวกทัง้ ผูพ้ กั อาศัย และโครงการบ้าน หรือคอนโดฯ ทีต่ อ้ งการเพิม่ ความแตกต่างด้านอุปกรณ์ควบคุมได้อย่างง่ายดาย 

นอกจากนี้ Wiser AvatarOn สามารถใช้งานร่วมกับสวิตช์ AvatarOn แบบต่างๆ ได้อย่างลงตัว นับเป็นการผสานความลงตัว ระหว่างเทคโนโลยีและการดีไซน์ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ของ ผู้พกั อาศัยยุคใหม่ทใี่ ห้ทั้งความสะดวก โมบิลติ ี้ และความปลอดภัย ในสังคมปัจจุบันและอนาคต September-October 2019


Special Area

> บริษัท ซีเมนส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เซอร์กิตเบรกเกอร์ ในกลุ่ม 3VA และ 3VM

บริษทั ซีเมนส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดตัวเซอร์กติ เบรกเกอร์ อัจฉริยะรุ่นใหม่ หนุนผู้ใช้งาน ช่วยวางแผนและบริหารจัดการ พลังงานไฟฟ้าได้อย่างสะดวกง่ายดาย ซีเมนส์ สมาร์ท อินฟรำ สตรัคเจอร์ (เอสไอ) หรือกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะ ผู้น�ำแห่งนวัตกรรมในการเชื่อมต่อระบบพลังงานไฟฟ้าด้วย เทคโนโลยีอัจฉริยะเพื่อตอบสนองการใช้ชีวิตและการท�ำงาน ในยุคดิจิทัล เปิดตัวเซอร์กิตเบรกเกอร์แบบต่างๆ ในกลุ่ม 3VA และ 3VM เพื่อรองรับการจัดการด้านการจ่ายพลังงานไฟฟ้า อย่างชาญฉลาด ไม่ว่าจะเป็นอาคารเพื่อการพาณิชย์ อาคาร อุตสาหกรรม โรงงาน งานโทรคมนาคม หรือดาต้าเซนเตอร์

แนวคิดเพื่อการจ่ายพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ จากซีเมนส์

ซีเมนส์เสนอแนะแนวคิดการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า แบบบูรณาการ (Totally Integrated Power : TIP) เพื่อรับมือ กับความท้าทายด้านการใช้ไฟฟ้าที่มากขึ้นจากการขยายตัว ของความเป็นเมือง รวมทั้งรูปแบบการใช้ไฟฟ้าที่ซับซ้อนขึ้น โดยแนวคิดดังกล่าวครอบคลุมทุกมิติของการจ่ายไฟฟ้า ตั้งแต่ วิศวกรรมไฟฟ้า ระบบอัตโนมัติ ไปจนถึงเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ส�ำหรับ การใช้งานทุกรูปแบบ ทัง้ อุตสาหกรรม อาคาร ตึก และโครงสร้าง พื้นฐานอื่นๆ ซึ่งระบบไฟฟ้าแบบบูรณาการนี้ประกอบด้วย

September-October 2019

การท�ำงานร่วมกันของผลิตภัณฑ์ โซลูชนั และบริการจากซีเมนส์ ที่รองรับทุกระดับแรงดันไฟฟ้า และการใช้งานที่หลากหลาย ท�ำให้ผู้ใช้มั่นใจได้ว่าระบบไฟฟ้านี้มีเสถียรภาพในขณะที่มีความ ยืดหยุ่นและคล่องตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ เซอร์กิตเบรกเกอร์ในกลุ่ม 3VA และ 3VM เป็น หนึ่งในสินค้านวัตกรรมที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้การวางแผน การติดตัง้ และการบริหารงานระบบจ่ายไฟฟ้าทีน่ บั วันจะมีความ ซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ กลายเป็นเรือ่ งง่าย ประกอบกับคุณสมบัตเิ ด่น ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ นการจั ด ล� ำ ดั บ และขอบเขตของการป้ อ งกั น (Excellent Selectivity) จึงท�ำให้มั่นใจถึงการรักษาเสถียรภาพ ความมัน่ คง ความปลอดภัย และป้องกันความผิดพลาดในระบบ จ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ นอกจากนี้ เซอร์กิตเบรกเกอร์ดังกล่าว ยังรองรับการใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีดิจิทัลอีกด้วย “เป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งส�ำหรับผู้ที่ท�ำงานเกี่ยวข้องกับ การจัดการพลังงานไฟฟ้าภายในอาคาร ไม่วา่ จะเป็นอาคารเพือ่ การพาณิชย์ โรงพยาบาล โรงแรม ศูนย์โทรคมนาคม ศูนย์เทคโนโลยี หรือภาคอุตสาหกรรมก็ตาม จ�ำเป็นต้องวางแผนอย่างดีที่สุด ตั้งแต่ต้น และด�ำเนินงานด้านการจ่ายพลังงานไฟฟ้าภายใน อาคารเพื่อสร้างผลตอบแทนจากการลงทุนอย่างคุ้มค่าที่สุด และในขณะเดียวกันระบบต้องมีความยืดหยุ่น คล่องตัว ส�ำหรับ การปรับเปลีย่ นในอนาคตได้” สุวรรณี สิงห์ฤาเดช รองประธาน


อาวุโส และหัวหน้ากลุม่ ธุรกิจสมาร์ทอินฟราสตรัคเจอร์ ซีเมนส์ (ประเทศไทย) กล่าวว่า “แนวคิดการบริหารจัดการพลังงานแบบ บูรณาการ หรือ TIP ไม่เพียงแต่ช่วยแก้ไขอุปสรรคความท้าทาย ที่ผู้เกี่ยวข้องต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังเป็นโซลูชัน ที่รองรับการบริหารจัดการระบบจ่ายไฟฟ้าในอนาคตอีกด้วย โดยเซอร์กิตเบรกเกอร์ในกลุ่ม 3VA และ 3VM ถูกออกแบบให้ รองรับกับวิสัยทัศน์ของซีเมนส์ดังกล่าว”

วางแผนและติดตั้งอย่างง่ายดาย

เซอร์กิตเบรกเกอร์ในกลุ่ม 3VA และ 3VM ช่วยให้ ทีมวางแผนและวิศวกรสามารถออกแบบ ติดตัง้ และบ�ำรุงรักษา ระบบจัดการจ่ายพลังงานไฟฟ้าภายในอาคารได้อย่างง่ายดาย อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ดูแลอาคารและจัดการด้านพลังงานวางใจ ได้ว่าเทคโนโลยีที่ตนใช้นั้นรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต จึงท�ำให้เซอร์กติ เบรกเกอร์ในกลุม่ 3VA และ 3VM คุม้ ค่ามากกว่า เมื่อเทียบกับเบรกเกอร์ทั่วไป และด้วยความสามารถในการ เพิ่มเติมฟังก์ชันเพื่อการใช้งานที่หลากหลายขึ้นของ 3VA จึงไม่ จ�ำเป็นต้องแก้ไขระบบจ่ายไฟฟ้าเดิมเมื่อความต้องการใช้ไฟฟ้า มีการเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม 3VA และ 3VM ยังมีความสามารถในการสือ่ สาร ท�ำให้จดั เก็บและส่งข้อมูล ได้แบบเรียลไทม์ รวมทั้งช่วยให้การบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันและ การบริหารจัดการพลังงานเป็นไปอย่างง่ายดาย อีกทัง้ ยังสามารถ ส่งข้อความเตือนไปยังโทรศัพท์มอื ถือของผูใ้ ช้งานได้ในกรณีเกิด เหตุฉกุ เฉิน มีบริการดาวน์โหลดข้อมูลด้านเทคนิคต่างๆ ผ่านการ สแกนคิวอาร์โค้ด จึงกล่าวได้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นอุปกรณ์ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ น่าเชือ่ ถือ และปลอดภัยกับผูใ้ ช้งานทีเ่ กีย่ วข้อง ทุกระดับ สุวรรณี กล่าวเพิ่มเติมว่า “ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม 3VA และ 3VM มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษเฉพาะมากมาย เช่น ความยืดหยุน่ ในการ ดัดแปลง ต่อขยาย เพิ่มเติมฟังก์ชันเพื่อการใช้งานในแบบต่างๆ ทีห่ ลากหลาย และสามารถบูรณาการเพือ่ ท�ำงานร่วมกับ ระบบจัดการหรือระบบควบคุมพลังงานไฟฟ้ำ อัตโนมัติขั้นสูง อีกนัยหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ใน กลุม่ 3VA ตอบสนองทุกความต้องการ เพื่อการปกป้องระบบไฟฟ้า และ อุปกรณ์จากความเสียหายอันเกิด จากกระแสไฟฟ้ า ส่ ว นเกิ น หรื อ ไฟฟ้าลัดวงจร อีกทัง้ ยังช่วยให้ระบบ ไฟฟ้าสามารถวัดค่าและแสดงผลได้ เพือ่ การวางแผนในการประหยัดพลังงาน ต่อไป”

เซอร์กิตเบรกเกอร์ในกลุ่ม 3VA จากซีเมนส์มีให้เลือก หลายรุ่น และได้รับการรับรองมาตรฐานจากคณะกรรมาธิการ ระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสาขาอิเล็กทรอเทคนิกส์ (IEC) โดยเป็นไปตามมาตรฐาน IEC60947 อีกทั้งยังมีรุ่นที่ได้รับการ รับรองมาตรฐาน UL489 ส�ำหรับการใช้งานที่แตกต่างกัน สุวรรณี กล่าวทิง้ ท้ายว่า “เราสนับสนุนให้ทกุ อุตสาหกรรม อาคาร โครงการสิ่ ง ก่ อ สร้ า ง และโครงสร้ า งพื้ น ฐานต่ า งๆ น�ำแนวคิดการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าแบบบูรณาการ (TIP) ไปปฏิบตั ิ ซึง่ เซอร์กติ เบรกเกอร์ในกลุม่ 3VA และ 3VM เป็นอุปกรณ์ ส�ำคัญส่วนหนึง่ ในแนวคิดนี้ ทีจ่ ะช่วยให้ผมู้ สี ว่ นเกีย่ วข้องมีความ พร้อมที่จะรับมือกับความท้าทายทางระบบไฟฟ้าต่างๆ ทั้งใน ปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงในอนาคต” Siemens Smart Infrastructure (SI) หรือกลุ่มธุรกิจ โครงสร้ า งพื้ น ฐานอั จ ฉริ ย ะของซี เ มนส์ เป็ น ผู ้ บุ ก เบิ ก ตลาด โครงสร้างพืน้ ฐานอัจฉริยะทีส่ ามารถปรับเปลีย่ นได้ทงั้ ในปัจจุบนั และอนาคต เพือ่ ขจัดความท้าทายต่างๆ อันเกิดจากการขยายตัว ของความเป็นเมืองและความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยการเชือ่ มต่อระบบพลังงานไฟฟ้า อาคาร และภาคอุตสาหกรรม ต่างๆ เข้าด้วยกัน อีกทั้งยังน�ำเสนอบริการแบบครบวงจรด้วย ผลิตภัณฑ์ ระบบ โซลูชัน และการบริการอันเป็นเลิศนับตั้งแต่ ขั้นตอนการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการใช้ไฟฟ้า ทัง้ นี้ สืบเนือ่ งจากระบบนิเวศทีเ่ ปลีย่ นสูเ่ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มากขึน้ บริการของเราจึงช่วยให้ลกู ค้าสามารถเติบโตและพัฒนา ชุมชนไปพร้อมกับการมีสว่ นช่วยปกป้องโลกด้วยความใส่ใจด้าน สิ่งแวดล้อม กลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานอัจฉริยะของซีเมนส์ มีส�ำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซูค ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และ มีพนักงานราว 71,000 คนทั่วโลก

September-October 2019


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

การท�ำงานของ

AIR CIRCUIT BREAKER

เบรกเกอร์ แ บบนี้ มี ส ่ ว นประกอบส� ำ คั ญ 2 ส่ ว น Thermal Unit ใช้ส�ำหรับปลดวงจรเมื่อมีกระแสไหลเกิน อันเนื่องมาจากการใช้โหลดมากเกินไป ลักษณะการท�ำงาน เมื่อมีกระแสเกินไหลผ่านโลหะ Bimetal (เป็นโลหะ 2 ชนิดที่มีสัมประสิทธิ์ทางความร้อน ไม่เท่ากัน) จะท�ำให้ Bimetal โก่งตัว ไปปลดอุปกรณ์ทางกล และท�ำให้ CB. ตัดวงจร เรียกว่าเกิดการ Trip การปลดวงจร แบบนี้ต้องอาศัยเวลาพอสมควร ขึ้นอยู่กับกระแสขณะนั้น และความร้อนที่เกิดขึ้นจนท�ำให้ Bimetal โก่งตัว Magnetic Unit ใช้สำ� หรับปลดวงจรเมือ่ เกิดกระแสลัดวงจรหรือมีกระแส ค่าสูงๆ ประมาณ 8-10 เท่าขึน้ ไปไหลผ่าน กระแสจ�ำนวนมาก จะท�ำให้เกิดสนามแม่เหล็กความเข้มสูง ดึงให้อุปกรณ์การ ปลดวงจรท�ำงานได้ การตัดวงจรแบบนี้เร็วกว่าแบบแรกมาก โอกาสที่เบรกเกอร์จะช�ำรุดจากการตัดวงจรจึงมีน้อยกว่า Solid State Trip or Electronic Trip Molded Case Circuit Breaker เป็นเบรกเกอร์ชนิดหนึ่งที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ท�ำหน้าที่วิเคราะห์กระแสเพื่อสั่งปลดวงจรจาก Diagram จะ เห็นว่าอยูภ่ ายในตัวเบรกเกอร์ทำ� หน้าทีแ่ ปลงกระแสให้ตำ�่ ลง ตามอัตราส่วนของ CT และมี Microprocessor คอยวิเคราะห์ กระแส หากมีค่าเกินกว่าที่กำ� หนด จะสั่งให้ Tripping Coil ซึ่ง หมายถึง Solenoid Coil ดึงอุปกรณ์ทางกลให้ CB. ปลดวงจร ที่ ด ้ า นหน้ า ของเบรกเกอร์ ช นิ ด นี้ จ ะมี ปุ ่ ม ปรั บ ค่ า กระแส ปลดวงจร เวลาปลดวงจรและอืน่ ๆ นอกจากนีย้ งั สามารถติดตัง้ อุปกรณ์เสริมที่เรียกว่า Amp Meter & Fault Indicator ซึ่ง สามารถแสดงสาเหตุการ Fault ของวงจรและค่ากระแสได้ ท�ำให้ทราบสาเหตุของการปลดวงจรได้

เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) หมายถึง อุปกรณ์ที่ทำ� งาน เปิดและปิดวงจรไฟฟ้าแบบไม่อัตโนมัติ แต่สามารถเปิดวงจรได้อัตโนมัติ ถ้ามีกระแสไหลผ่านเกินกว่าค่าที่ก�ำหนด โดยไม่มีความเสียหายเกิดขึ้น ใช้กบั แรงดันน้อยกว่า 1000 Volt. โดยทัว่ ไปมีพกิ ดั กระแสตัง้ แต่ 225-6300 A และมี Interrupting Capacity สูงตั้งแต่ 35-150 kA โครงสร้างทั่วไป ท�ำด้วยเหล็กมีช่องดับอาร์ก (Arcing Chamber) ที่ใหญ่และแข็งแรงเพื่อ ให้สามารถรับกระแสลัดวงจรจ�ำนวนมากได้ Air CB. ที่มีขายในท้องตลาด มักใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตรวจจับและวิเคราะห์กระแสเพื่อสั่งปลด September-October 2019


โครงสร้างและส่วนประกอบของเบรกเกอร์

Name Plate ปรากฏที่ด้านหน้าหรือด้านข้างของ เบรกเกอร์ โดยมักก�ำหนดรายละเอียดเกีย่ วกับเบรกเกอร์นนั้ ๆ เช่น จ�ำนวนขั้ว แรงดัน กระแส ในส่วนของกระแสจะระบุ 3 จ�ำนวน ประกอบด้วย Ampere Trip, Ampere Frame และ Interrupting Capacity Arcing Chamber บางครั้งเรียกว่า Arc Chute มีลักษณะเป็นแผ่นโลหะวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ อยู่เหนือหน้าสัมผัส (Contact) ของเบรกเกอร์ท�ำหน้าที่ช่วย ดับอาร์ก หน้าสัมผัส (Contact) นิยมท�ำด้วยทองแดงเคลือบ ผิวหน้าด้วยเงินเพื่อให้ทนต่อเปลวอาร์กได้ดี ประกอบด้วย Fixed Contact และ Movable Contact กลไกตัดวงจรส�ำหรับเบรกเกอร์ขนาดเล็กทั่วไป แบ่ง เป็นอาศัยความร้อนและอาศัยอ�ำนาจแม่เหล็กแบบอาศัย ความร้อน ใช้หลักการโก่งตัวของโลหะ Bimetal เพือ่ ปลดกลไก ส่วนแบบอาศัยอ�ำนาจแม่เหล็ก ใช้แรงดึงดูดของแม่เหล็กไฟฟ้า ของขดลวดที่กระท�ำต่อแผ่นโลหะเพื่อปลดกลไก ACB สามารถแบ่งชนิดตามการติดตั้งได้ 2 แบบ คือ 1) แบบติดตั้งอยู่กับที่ (Fixed Type) ติดตัง้ ให้ตดิ กับ Main Circuit โดยยึดติดด้วยสกรูอย่าง แข็งแรง เวลาถอดออกเพือ่ ซ่อมบ�ำรุงจะต้องดับไฟและใช้เวลา มาก 2) แบบดึงออกได้ (Draw Out Type) ติดตั้งบนโครงล้อเลื่อนที่สามารถเลื่อนไปตามรางที่ เตรียมไว้ ส่วนสัมผัสของ ACB กับ Main Circuit จะต้องเป็น แบบพิเศษเพื่อให้การสัมผัสที่แนบแน่น ซึ่งจะท�ำให้กระแส สามารถไหลผ่านได้สะดวก การซ่อมบ�ำรุง ACB แบบนี้ ท�ำได้ สะดวกรวดเร็วและสามารถลดเวลาการดับไฟฟ้าได้

Fixed Type

Draw Out Type (Include Cradle) September-October 2019


A Frame [85 kA] 630-1,600 A (HGS)/630-2,000 A (HGN)

B Frame [100 kA] 2,000-3,200 A (HGS)/630-4,000 A (HGN)

C Frame [100 kA] 3,200-5,000 A (HGN)

D Frame [150 kA] 4,000-6,300 A (HGN)

Features

Diversified Ratings 3 Pole & 4 Poles for 630A - 6300A, High Capacity Up 150kA Ac500V in Compact Size Fixed Type & Draw-Out Type Abundant Experience for Nuclear Power & Marine Marine Various Protective Instruments for Protective Auxiliary Maximum Fault Interruption Performance and Short Time Withstand Capacity Compact and Light Weight Convenience in Switchboard Assembling Process  

    

 

Applied Standards and Certifications

HG Series air circuit breaker has acquired testing/certifications from IEC 60947-1, 2 certified testing institute and can be installed and applied according to the usage environment and conditions permitted by the standards.

Acquired Standards and Certifications

KS Certification : KS C 4620 CB Certification (DEKRA, KERI) : IEC 60947-1, 2 CE Mark CCC Certification Vessel Certification : LR, ABS, KR, BV, GL, NK, RINA, DNV, RS 9 Major Vessel Certifications : KR, GL, LR, ABS, BV, NK, RINA, DNV, RS      

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com September-October 2019


IT Article > วีซ่า

การชำ�ระค่าโดยสารรถขนส่งสาธารณะ ด้วยบัตรเครดิต

จากการสำ�รวจเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องทัศนคติการชำ�ระเงินของผู้บริโภคของวีซ่า1 (Visa Consumer Payment Attitudes Survey) พบว่า ผู้บริโภคชาวไทยส่วนใหญ่เห็นด้วยกับแนวคิดการชำ�ระเงินค่าโดยสาร รถขนส่งสาธารณะด้วยบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิต โดยผลสำ�รวจฉบับนี้ศึกษาถึงทัศนคติและพฤติกรรมการ ชำ�ระเงินระบบอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงเทรนด์การใช้จา่ ยสำ�คัญของผูบ ้ ริโภคจากผูต ้ อบแบบสอบถามกว่า 4,000 คน จาก 8 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงผู้ตอบแบบสอบถามกว่า 500 คนจากประเทศไทย September-October 2019


จากผลส�ำรวจพบว่า เกือบ 2 ใน 3 ของคนไทย (64%) มีความ ประสงค์ทจี่ ะช�ำระเงินค่าโดยสารรถขนส่งสาธารณะผ่านบัตรเครดิต และบัตรเดบิตของตนเอง และ 67% ของผูต้ อบแบบสอบถามต้องการ ใช้บตั รคอนแทคเลส หรือการช�ำระเงินผ่านโทรศัพท์มอื ถือในการช�ำระ ค่าโดยสารฯ อีกด้วย สุริพงษ์ ตันติยานนท์ ผู้จัดการวีซ่า ประจ�ำประเทศไทย กล่าวว่า “วีซ่าได้ร่วมมือกับกว่า 120 หัวเมืองหลักทั่วโลกในการ วางระบบการช�ำระเงินแบบเปิด (Open-Loop Payment) ส�ำหรับ การขนส่งสาธารณะ ซึ่งจะเห็นได้ว่ามหานครขนาดใหญ่อย่าง ลอนดอน นิวยอร์ก สิงคโปร์ และซิดนีย์ ได้มีการเปลี่ยนจากการใช้ เงินสดในการช�ำระเงินค่าขนส่งสาธารณะ มาเป็นการช�ำระเงินใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ จะช่วยให้ผโู้ ดยสารได้รบั ประสบการณ์ทดี่ ี จากการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้อย่างรวดเร็วและ สะดวกยิ่งขึ้น” “ในขณะเดียวกัน ผู้ให้บริการด้านขนส่งมวลชนที่ใช้รูปแบบ การช�ำระเงินระบบเปิด ยังสามารถลดต้นทุนในการด�ำเนินงาน ยกระดับประสบการณ์การเดินทางให้แก่ผู้โดยสาร รวมไปถึงการ ช่วยเพิ่มจ�ำนวนผู้โดยสารได้อีกด้วย ซึ่งอ้างอิงถึงผลส�ำรวจของวีซ่า หัวข้อรายงานสังคมไร้เงินสด2 (Visa Cashless Cities Report) พบว่า ผูใ้ ห้บริการด้านการขนส่งมีคา่ ใช้จา่ ยเฉลีย่ 14.5 เซนต์ตอ่ 1 ดอลลาร์ ในการเก็บเงินสด เมือ่ เปรียบเทียบกับการเก็บเงินดิจทิ ลั จะมีคา่ ใช้จา่ ย เพียง 4.2 เซนต์ต่อ 1 ดอลลาร์ เท่านั้น” สุริพงษ์ กล่าวเสริม การช�ำระเงินระบบเปิดในระบบขนส่ง คือการยอมรับวิธีการ ช�ำระเงินที่ไม่ได้เป็นกรรมสิทธิ์ของเครือข่ายการขนส่งใด กล่าวอีก นัยหนึ่งคือ การที่ผู้โดยสารสามารถช�ำระเงินค่าโดยสารรถขนส่ง สาธารณะ อย่างรถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟ และรถโดยสารประจ�ำทาง ได้ดว้ ยบัตรเครดิตและบัตรเดบิตในกระเป๋าสตางค์ทอี่ อกจากธนาคาร โดยตรง ผูต้ อบแบบส�ำรวจกล่าวว่า เหตุผลหลักในการเลือกช�ำระเงิน ค่ า โดยสารรถขนส่ ง สาธารณะในระบบการช� ำ ระเงิ น แบบเปิ ด * 1 การส�ำรวจเกี่ยวกับการศึกษาเรื่องทัศนคติการช�ำระเงินของ ผู้บริโภคประจ�ำปี 2561 ของวีซ่า จัดท�ำโดย Intuit Research ตั้งแต่ช่วงกลางปี พ.ศ. 2561 ใน 8 ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย เมียนมา ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม โดยรวบรวม ข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่างกว่า 4,000 คน ซึง่ รวมถึงกลุม่ คนวัยท�ำงาน จากประเทศไทยจ�ำนวน 500 คน ที่มีอายุระหว่าง 18-65 ปี ครอบคลุมในทุกระดับการศึกษาและมีรายได้ขนั้ ต�ำ่ ที่ 15,000 บาท เป็นต้นไป 2 ผลส�ำรวจของวีซ่าเกี่ยวกับเมืองไร้เงินสด จัดท�ำโดย Roubini ThoughtLab ในปี พ.ศ. 2560 ครอบคลุมกว่า 100 เมือง ใน 80 ประเทศทั่วโลก September-October 2019

เป็นเพราะช่วยลดการพกเงินสด เพื่อน�ำไปเติมมูลค่าใน บัตรโดยสาร (76%) ลดจ�ำนวนบัตรในกระเป๋าสตางค์ (63%) และ ความสะดวกสบายในการติดตามค่าใช้จา่ ยในการเดินทาง (56%) ในทางกลับกัน ปัจจัยหลักที่ทำ� ให้ผู้บริโภคเห็นว่าเป็น ข้อด้อยของระบบการช�ำระเงินแบบปิดอย่างในปัจจุบันคือ การไม่สามารถช�ำระเงินได้หากมียอดเงินในบัตรไม่เพียงพอ (53%) การต้องเติมเงินในบัตรโดยสารอยูเ่ สมอ (43%) เมือ่ บัตร สูญหายเงินในบัตรไม่สามารถขอคืนได้ (36%) และความยุง่ ยาก ในการเตรียมเงินสดเพื่อเติมเงินในบัตรโดยสาร (35%) เมือ่ ถามถึงการช�ำระเงินรูปแบบใดทีต่ อบโจทย์ผบู้ ริโภค มากที่สุด ผู้ตอบแบบส�ำรวจเลือกบัตรเดบิตหรือบัตรเครดิต ประเภทคอนแทคเลส (45%) เป็นอันดับแรก ตามด้วยการ ช�ำระเงินแบบคอนแทคเลสผ่านสมาร์ทโฟน (22%) และ การช�ำระเงินแบบไบโอเมตริกซ์ (20%) นอกจากนั้นแบบส�ำรวจฯ ยังได้ติดตามทัศนคติของ ผู้บริโภคที่มีต่อการช�ำระเงินส�ำหรับการเก็บเงินค่าผ่านทาง พิเศษ ซึง่ พบว่ามากกว่า 4 ใน 5 (81%) ของผูต้ อบแบบสอบถาม อยากใช้บัตรเดบิตหรือบัตรเครดิตในรูปแบบคอนแทคเลส ในการจ่ายค่าผ่านทางฯ โดยมีเหตุผลหลักในการเลือกท�า ธุรกรรมแนวไร้เงินสด เพราะไม่ตอ้ งเตรียมเงินสดหรือเติมเงิน ทิง้ ไว้ในบัตรทางด่วน (71%) รวมไปถึงการช่วยลดจ�ำนวนบัตร ในประเป๋าสตางค์ (58%) และความสะดวกในการติดตาม ค่าใช้จ่ายในการใช้การทางพิเศษ (31%) “จากประสบการณ์ในการท�ำงานร่วมกับผูใ้ ห้บริการด้าน ขนส่งมวลชน และหน่วยงานต่างๆ ทัว่ โลก พบว่า การช�ำระเงิน ระบบเปิ ด ในระบบขนส่ ง สาธารณะถื อ เป็ น หนึ่ ง ในวิ ธี ก าร


ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด ในการขยายการยอมรั บ การช� ำ ระเงิ น รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนัน้ ยังจะเป็นการเพิม่ ทางเลือกให้กบั นักท่องเทีย่ วจากต่างประเทศในการช�ำระเงิน รวมไปถึงเป็นการช่วย ยกระดับให้ประเทศไทยในฐานะเมืองท่องเทีย่ วระดับโลกอย่างเป็น รูปธรรม โดยเราเชื่อเป็นอย่างยิ่งว่าการช�ำระเงินระบบเปิดจะเป็น กุญแจส�ำคัญในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคอย่างยั่งยืน และวีซ่าพร้อมท�ำงานร่วมกับทุกภาคส่วนเพื่อช่วยให้ประเทศไทย เข้าถึงศักยภาพอย่างแท้จริง” สุริพงษ์ กล่าวปิดท้าย

อนึง่ Visa Inc. (NYSE:V) เป็นผูน้ ำ� การให้บริการการช�ำระเงิน ดิจิทัลระดับโลก มีการเชื่อมโยงโลกผ่านเครือข่ายนวัตกรรมการ ช�ำระเงินทีเ่ ชือ่ ถือได้และมีความปลอดภัย ช่วยให้ผบู้ ริโภค ธุรกิจต่างๆ และเศรษฐกิจสามารถเจริญเติบโตได้ VisaNet (วีซ่าเน็ต) ซึ่งเป็น เครือข่ายประมวลผลที่ทันสมัยให้บริการช�ำระเงินที่ปลอดภัยและ เชือ่ ถือได้ทวั่ โลก และมีความสามารถในการจัดการธุรกรรมมากกว่า 65,000 รายการต่อวินาที

Majority of Thais Support Paying with Own Bank Cards

for Public Transportation

Majority of Thai consumers agree with the idea of paying directly with debit and credit card for public transport, according to the Visa Consumer Payment Attitudes study1 (the “Study”). The study tracks payment habits and attitudes as well as exploring emerging topics related to payments among 4,000 consumers across eight Southeast Asian countries, including 500 respondents from Thailand. According to the Study, nearly two in three (64%) said they prefer to paying directly with their own bank cards, such as debit and credit cards, for public transportation. In addition, sixty-seven percent prefer to pay using contactless card and mobile payments. Suripong Tantiyanon, Country Manager for Visa Thailand said: “Visa is engaged with 120 cities around the world to implement open-loop payment solutions for public transportation. We have seen that in major cities such as London, New York, Singapore and Sydney, moving from cash to electronic payments in public transportation enables passengers to move quicker from point A to point B while offering a more consistent experience.” “At the same time, public transport operators who adopt open-loop payments can reduce their operating cost, improve passenger experience and boost ridership. According to Visa’s Cashless Cities report2, transit operators spend an average of 14.5 cents of every physical dollar collected, compared to only 4.2 cents for every digital dollar.” added Suripong. Open-loop payment in transit refers to the acceptance of payment methods that are not proprietary to the transportation network. In other words, passengers can pay directly with their bank-issued debit and credit cards for public transport, such as subway, trains and buses. Respondents to the Study said their top reasons for adopting open-loop payment in public transport are no need

to prepare cash or topping up stored-value cards (76%), reduction of cards in wallet (63%) and the ease of tracking travel expenditure (56%). On the contrary, top reasons for consumers to move away from the current fare payment system (close-loop) are the inability to pay if there is insufficient balance in stored-value travel cards (53%), the need to top up stored-value cards (43%), stored-value cards are non-refundable once lost (36%) and the need to prepare cash or payment cards to top-up (35%). When asked about their most preferred payment methods, respondents to the survey indicated debit or credit card via contactless technology as their first choice (45%), followed by mobile contactless payment (22%) and biometric payment (20%). The Study also tracked consumers’ attitudes towards using different payment methods for toll charges. Similar to public transportation, over four in five (81%) of respondents would consider using own debit or credit cards with contactless technology to pay. Their top reasons to digitize their transaction include no need to prepare cash and topping up stored-value toll cards (71%), it helps to reduce the number of cards in wallet (58%) and the ease of tracking toll payment expenditure (31%). “From our experience working with public transport operators and authorities around the world, open-loop payment in mass transportation is one of the most effective avenue to widen adoption of electronic payments. Additionally, this will provide international visitors with greater choice of payment and improve Thailand’s attractiveness as a true global tourist destination. We are convinced open-loop payment holds key to sustainably transform consumer behavior and we are open to working with all stakeholders to realize the country’s true potential.” Suripong concluded. September-October 2019


IT Article > กองบรรณาธิการ

ศูนย์ Transparency

แห่งแรกของ Kaspersky ในกลุ่ม APAC

Kaspersky บริษทั ด้าน Cybersecurity ก่อตัง้ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1997 Kaspersky มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาความปลอดภัยจาก ภัยคุกคามทางดิจทิ ลั ซึง่ นับวันจะมีความรุนแรงขึน้ บริษทั มีการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพือ่ ปกป้องธุรกิจของลูกค้าอย่างสม�ำ่ เสมอ ลูกค้าของ Kaspersky มีทั้งที่เป็นหน่วยงานรัฐและภาคเอกชน เมื่อเร็วๆ นี้ Kaspersky ได้เปิดศูนย์ Transparency แห่งแรกใน APAC ณ Cyberjaya ประเทศมาเลเซีย โดยร่วมมือกับ CyberSecurity Malaysia ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านความมั่นคงและ ปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติของมาเลเซีย ซึ่งศูนย์แห่งนี้เป็นศูนย์ September-October 2019

Transparency แห่งที่ 3 ของ Kaspersky โดยแห่งแรกตัง้ อยูท่ เี่ มืองซูรกิ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แห่งที่ 2 ตั้งที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Global Transparency Initiative การเปิดศูนย์ให้บริการใน APAC ครัง้ นีช้ ว่ ยสร้างความเชือ่ มัน่ ในการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ของ Kaspersky มากขึ้น โดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนสามารถเข้ามาใช้บริการศูนย์แห่งนี้ เพื่อตรวจสอบผลิตภัณฑ์ รวมถึงใช้บริการการวิเคราะห์ภัยคุกคาม เพือ่ ความปลอดภัย และทดสอบความปลอดภัยของแอปพลิเคชันได้ นอกจากนีย้ งั สามารถตรวจสอบแหล่งทีม่ าของภัยคุกคามต่อองค์กร และผลิตภัณฑ์ระดับองค์กรของ Kaspersky อาทิ Kaspersky Internet Security (KIS) Kaspersky Endpoint Security (KES) และ Kaspersky Security Center (KSC) นอกจากนี้ กลุ่มลูกค้ายังสามารถตรวจสอบการสร้าง และ การอัปเดตฐานข้อมูล AV ของ Kaspersky ทุกรุ่น รวมถึงข้อมูล กระบวนการท�ำงานของบริษัท เช่น การป้อนข้อมูลจากผลิตภัณฑ์ Kaspersky ที่ส่งไปยัง Kaspersky Security Network (KSN) บน คลาวด์ สามารถเข้าใช้ศูนย์ Transparency ซึ่งเป็นศูนย์แห่งใหม่ที่ ก�ำลังเปิดให้บริการ โดยศูนย์แห่งนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ Global Transparency Initiative คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2563


Eugene Kaspersky, CEO of Kaspersky กล่าวว่า “มาเลเซียถือเป็น ศูนย์กลางของภูมิภาคแห่งนี้ จึงมีความ ยินดีมากที่ได้มาตั้งศูนย์ Transparency แห่งที่ 3 ของเราที่นี่ การตั้งศูนย์แห่งนี้ เพือ่ เป็นการยืนยันกับทางลูกค้าของเรา ว่า เราให้ความส�ำคัญกับประเทศใน Eugene Kaspersky กลุม่ APAC มาก และสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กับลูกค้าว่าสินค้าของเรามีความน่าเชื่อถือและสามารถป้องกัน ภัยคุกคามทางไซเบอร์ได้ 100% ซึง่ การด�ำเนินการทัง้ หมดนีอ้ ยูภ่ ายใต้ นโยบาย Global Transparency Initiative ของเรา ซึ่งการด�ำเนินการ ในขณะนี้มีความคืบหน้าอย่างน่าพอใจ” ส่วน Dato ’Ts Ds.Amirudin Abdul Wahab, CEO of CyberSecurity Malaysia กล่าวว่า “ขณะนี้ภัยคุกคาม ทางไซเบอร์มคี วามรุนแรงมากขึน้ ดังนัน้ การร่วมมือกันอย่างใกล้ชดิ ระหว่างภาค รัฐและเอกชนนัน้ จึงเป็นนิมติ หมายอันดี ที่แสดงถึงความไว้วางใจซึ่งกันและกัน Dato ’Ts Ds.Amirudin Abdul Wahab และสามารถแบ่งปันข้อมูลเชิงลึกเพื่อ ท�ำให้อุตสาหกรรมการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์มีความ แข็งแกร่งขึ้น และด้วยความร่วมมือนี้เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมี หน่วยงานอืน่ ๆ ด�ำเนินการเช่นเดียวกันเพือ่ ประโยชน์ของประชาชน และอุตสาหกรรมไซเบอร์เป็นส�ำคัญนั่นเอง” อนึ่ง CyberSecurity Malaysia เป็นหน่วยงานด้านความ มั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติภายใต้ขอบเขตของกระทรวงการ สื่อสารและมัลติมีเดียมาเลเซีย (KKMM) ไซเบอร์ซีเคียวริตี้มาเลเซีย มุง่ มัน่ ทีจ่ ะน�ำเสนอบริการทีน่ ำ� นวัตกรรมทางไซเบอร์ความปลอดภัย โปรแกรม เพือ่ ช่วยลดช่องโหว่ของระบบดิจทิ ลั ในขณะเดียวกันก็ชว่ ย เสริมความเชื่อมั่นต่อมาเลเซียในโลกไซเบอร์ด้วย ด้ า น Stephan Neumeier, Managing Director for Asia Pacific at Kaspersky กล่าวว่า “การตั้งศูนย์ ครัง้ นีเ้ พือ่ ให้บริการแก่ลกู ค้าและผูส้ นใจ ได้สัมผัสกับบริการและความสามารถ ของเทคโนโลยีการรักษาความปลอดภัย Stephan Neumeier ทางไซเบอร์ของ Kaspersky ซึ่งเป็น แห่งแรกของภูมภิ าคนี้ เพราะเราเชือ่ มัน่ ว่า ที่แห่งนี้จะเป็นฮับด้านดิจิทัลในภูมิภาค และเราได้รับความร่วมมือ อย่างดียิ่งจากไซเบอร์ซีเคียวริตี้มาเลเซีย ขอขอบคุณส�ำหรับความ ไว้วางใจและความเชือ่ มัน่ ทีม่ ใี ห้กบั เรา เราเชือ่ มัน่ ว่าด้วยความร่วมมือ อย่างแข็งแกร่งระหว่างภาครัฐและเอกชนนี้จะช่วยปกป้องผู้ใช้จาก อาชญากรรมไซเบอร์ได้ดียิ่งขึ้น”

ทัง้ นี้ โครงการ Global Transparency Initiative มีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ตอบสนองความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ จากพันธมิตรและผูม้ สี ว่ นได้เสีย ของรัฐบาลส�ำหรับข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับการท�ำงานของผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีของ Kaspersky มีการประกาศมาตัง้ แต่เดือนตุลาคม 2560 โดยบริษัทมีการด�ำเนินการคืบหน้าหลายประการ อาทิ เริม่ ย้ายฐานข้อมูลลูกค้าและโครงสร้างพืน้ ฐานการประมวลผล ส�ำหรับผูใ้ ช้ชาวยุโรปจากรัสเซียไปยังเมืองซูรกิ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปลายปี พ.ศ. 2562 นี้ เปิดศูนย์ Transparency ถึง 2 แห่งในยุโรป คือที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2561) และที่ กรุงมาดริด ประเทศสเปน (เมื่อเดือนมิถุนายน 2562) ศูนย์ที่สเปน ยังท�ำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการบรรยายสรุปส�ำหรับผู้มีส่วนได้เสีย ที่ส�ำคัญของบริษัทด้วย ประสบผลส�ำเร็จในการด�ำเนินการ Service Organization Control for Service Organizations รายงานขั้นสุดท้ายที่ออกโดย บริษัทบัญชีหนึ่งใน Big Four ยืนยันว่าการพัฒนาและการเปิดตัว ฐานข้อมูลกฎการตรวจจับภัยคุกคามของ Kaspersky (ฐานข้อมูล AV) ได้รับการปกป้องจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้รับอนุญาต โดยการ ควบคุมความปลอดภัยที่เข้มงวด นับตัง้ แต่มกี ารรายงานถึงช่องโหว่ตา่ งๆ ก็มกี ารด�ำเนินการ พัฒนาโปรแกรม Bug Bounty มาโดยตลอด จนได้รับรางวัล นอกจากนี้ บริษัทยังสนับสนุน Theio Framework ที่ให้บริการ Safe Harbor ส�ำหรับนักวิจัย ซึ่งมีความกังวลเกี่ยวกับผลทางกฎหมาย ที่อาจเกิดขึ้นจากการค้นพบช่องโหว่ด้วย Kaspersky ได้ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2560 ในการประชุม ความมั่นคงทางไซเบอร์ที่ประเทศกัมพูชาว่า บริษัทจะเปิดศูนย์ Transparency ขึ้นทั่วโลก และได้ด�ำเนินการมาแล้ว 2 แห่งคือ ที่เมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และกรุงมาดริด ประเทศสเปน การเปิดที่ประเทศมาเลเซีย จึงเป็นแหล่งที่ 3 และเป็นแห่งแรก ส�ำหรับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีเป้าหมายหลักคือการก�ำจัด Balkanisation ในโลกไซเบอร์ ซึ่งด้วยภัยคุกคามนี้ท�ำให้เกิดความ ไม่ไว้วางใจซึง่ กันและกันขึน้ มีการสร้างกฎหมายความปลอดภัยทาง ไซเบอร์ของตนเองขึน้ มาเพือ่ ปกป้องตนเอง อย่างไรก็ตาม ในโลกที่ เชือ่ มต่อกันเช่นนี้ แผนการรักษาความปลอดภัยทีก่ ระจัดกระจายนัน้ อาจหมายถึงการเปิดโอกาสให้ถูกโจมตีได้ง่ายขึ้นก็เป็นได้ ดังนั้น การเปิดศูนย์ Transparency จึงเป็นการตัดตอนการ เชือ่ มโยงอาชญากรรมไซเบอร์โดยศูนย์แต่ละศูนย์จะดูแลการจัดเก็บ ข้อมูลและการประมวลผลของลูกค้าในยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนาดา สิงคโปร์ ออสเตรเลีย ญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้ รวมทัง้ จะมีการเพิม่ ประเทศ อืน่ ๆ ในรายการนี้ โดยศูนย์เหล่านีจ้ ะจัดการการรวบรวมซอฟต์แวร์ ก่อนจ�ำหน่ายให้กับลูกค้าทั่วโลก 

September-October 2019


ทรานส์เซนด์ เปิดตัว

3D NAND SSD อึดต่ออุณหภูมิที่สูง

ทรานส์เซนด์ อินฟอร์เมชัน อิงค์., ผู้ผลิตอุปกรณ์การจัดเก็บ ข้อมูลและผลิตภัณฑ์มัลติมีเดียชั้นน�ำ เปิดตัวโซลิดสเตทไดร์ฟรุ่นใหม่ ส�ำหรับตลาดอุปกรณ์ฝังตัวระดับไฮเอนด์ ผลิตจากชิปหน่วยความจ�ำ 3D NAND คุณภาพสูงและมีความทนทานต่อความร้อนที่ยอดเยี่ยม กลุม่ ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย SSD ในรูปแบบ 2.5” SATA III, PCIe M.2 และ SATA III M.2 จัดอันดับให้ทนทานต่อรอบการท�ำงาน 3K P/E (Program/Erase) และได้รบั การออกแบบให้ทนต่ออุณหภูมใิ นการท�ำงาน ที่รุนแรงจาก -40°C ถึง 85°C SSD เหล่านี้ทำ� ขึ้นมาเพื่อใช้งานกับ แอปพลิเคชันในตัวได้อย่างน่าเชื่อถือ, ITS (Intelligent Transportation Systems), IoV (Internet of Vehicles) และระบบรักษาความปลอดภัย คุณสมบัตเิ ด่นทีส่ ำ� คัญใน SSD ซีรสี ์ V ก็คอื มีความทนทานเพิม่ ขึ้น และไดร์ฟในตระกูล I-Series มีทั้งความทนทานที่เพิ่มขึ้นและช่วง อุณหภูมิในการท�ำงานที่กว้าง มีให้เลือกใช้ใน 4 แพลตฟอร์ม ไม่ว่าจะ เป็น 2.5” SATA III, PCIe M.2 และ SATA III M.2 (ขนาด 2242 และ ขนาด 2280) SSD เหล่านีถ้ กู ออกแบบมาตามข้อก�ำหนดทีเ่ ข้มงวดของ แพลตฟอร์มแบบฝังตัว Transcend SSD ทุกรุ่นสร้างจาก 3D NAND Flash คุณภาพสูงสุด โดย 3D NAND Flash นั้นคือการใช้เซลล์หน่วย ความจ�ำเรียงซ้อนกันในแนวตั้งเป็นหลายเลเยอร์เพื่อท�ำลายข้อจ�ำกัด ด้านความหนาแน่นของความจุต่อพื้นที่ และมีความทนทานในการใช้ งานระดับ 3K P/E ซึ่งถือว่าเทียบเท่ากับ MLC NAND, SSD เหล่านี้

มอบประสิทธิภาพที่ยอดเยี่ยมและความน่าเชื่อถือสูงสุด ซีรีส์ I ได้รับ การทดสอบเพือ่ ให้แน่ใจว่าท�ำงานได้อย่างมีเสถียรภาพในช่วงอุณหภูมิ กว้างตั้งแต่ -40°C ถึง 85°C ท�ำให้สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัยใน สภาพแวดล้อมการท�ำงานที่รุนแรงเป็นระยะเวลานาน ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเยี่ยมชมได้ที่เว็บไซต์ https://th.transcend-info.com

Easergy P5 ช่วยปกป้องระบบแรงดันไฟฟ้าแรงสูงและแรงดันปานกลาง ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เปิดตัว Easergy P5 สร้างมาตรฐานใหม่ของรีเลย์ป้องกัน ช่วยปกป้องระบบ แรงดันไฟฟ้าแรงสูงและแรงดันปานกลาง Easergy P5 สร้างบนพืน้ ฐานจากประสบการณ์ดา้ นรีเลย์ปอ้ งกันทีม่ มี ายาวนานกว่า 100 ปี น�ำเสนอ เทคโนโลยีดิจิทัลอันทันสมัย ที่ช่วยให้การติดตั้งระบบไฟฟ้าเป็นไปอย่างปลอดภัยอย่างยิ่งยวด ด้วยการออกแบบรีเลย์แบบถอดประกอบเพือ่ ติดตัง้ โดยง่าย ได้สร้างความโดดเด่น ช่วยให้สามารถ สลับเปลี่ยนอุปกรณ์ได้ง่ายในเวลาที่ต้องการจะซ่อมบ�ำรุงระบบไฟฟ้า โดยสามารถถอดประกอบเพื่อจะ ทดสอบระบบให้เสร็จสิน้ ได้ในเวลาเพียง 10 นาที ทัง้ นีเ้ พือ่ ช่วยลดการสูญเสียเวลาท�ำงานให้เหลือน้อยทีส่ ดุ ถือว่าเป็นความส�ำเร็จอย่างยิ่งยวดต่อการพัฒนาส�ำหรับ Easergy P5 มีความสะดวกและง่ายในการติดตัง้ ใช้งานและการซ่อมบ�ำรุง นับเป็นการผสมผสานระหว่างความ สะดวก รวมทั้งสามารถตอบโจทย์ตามการออกแบบเป็นไปตามเงื่อนไขงานวิศวกรรมชั้นเลิศ และสามารถ ตอบสนองความต้องการของผูป้ ระกอบการธุรกิจตูค้ วบคุมสวิตช์บอร์ด (Panel Builder) อีกทัง้ ยังสร้างผลก�ำไร และสามารถลดต้นทุนส�ำหรับผู้ประกอบการเป็นส�ำคัญ ระบบสามารถรองรับต่ออุปกรณ์สอื่ สารทุกระบบ ด้วยพอร์ตแบบโมดูลทีส่ ามารถถอดเปลีย่ นเพือ่ ให้สามารถใช้งานได้ตอ่ เนือ่ งและทันที (Plug and Play Modular Ports) รองรับการสือ่ สารได้ถงึ 7 โปรโตคอล รวมถึงมาตรฐาน IEC 61850 อิดิชัน 1 และ 2 ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ที่เว็บไซต์ se.com/easergy 

September-October 2019


ZW3D 2019 SP : CAD/CAM

บริษัท ซีดับเบิลยูซอฟต์ (ZWSOFT) ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ ส� ำ หรั บ CAD/CAM ขั้ น สู ง เพื่ อ การออกแบบและผลิ ต ชิ้ น ส่ ว นใน อุตสาหกรรม ประกาศเปิดตัว ZW3D 2019 SP ยกระดับการออกแบบ เพิ่มฟีเจอร์ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานด้านการ ออกแบบทีม่ คี วามซับซ้อนด้วยโซลูชนั CAD/CAM ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ ใช้งานง่ายขึ้น ซอฟต์แวร์ ZW3D โซลูชนั CAD/CAM แบบบูรณาการทีอ่ อกแบบ มาส�ำหรับกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ครบถ้วนคุณสมบัติเคอร์เนล ที่เร็วที่สุดส�ำหรับการสร้างแบบจ�ำลองไฮบริดของ Solid/Surface และ การควบคุมเครือ่ งจักรซีเอ็นซีจาก 2 แกน ถึง 5 แกน ซึง่ เป็นประโยชน์กบั ลูกค้าเป็นอย่างมาก เช่น ลดค่าใช้จา่ ยในการออกแบบ ช่วยให้ขนั้ ตอน การท�ำงานสะดวกและมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น

รุ่น

ZC100

ส�ำหรับซอฟต์แวร์ ZW3D 2019 SP รุน่ ล่าสุดนี้ คุณสมบัตใิ หม่ๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ มากมาย ได้แก่ 1. การจัดการไฟล์ทงี่ า่ ยขึน้ โดยการน�ำเข้าไฟล์ ท�ำได้โดยค้นหาไดเร็คทอรี่ย่อยภายในงานประกอบ เพื่อน�ำเข้าไฟล์ CAD 3 มิติ และป้องกันชิน้ ส่วนสูญหาย ส่วนการเก็บไฟล์ ผูใ้ ช้สามารถ ตั้งค่าเริ่มต้นโฟลเดอร์งาน ช่วยจัดเก็บไฟล์ให้เป็นระเบียบยิ่งขึ้น 2. Multi-Export จากหลายวัตถุเป็นหลายฟอร์แมต เมือ่ ออกแบบงาน เสร็จแล้ว Multi-Export จะช่วยเรือ่ งการส่งออกแบบวัตถุหลายรายการ เป็นหลายฟอร์แมตในเวลาเดียวกัน ช่วยลดเวลาการส่งออกไฟล์งาน ของผูใ้ ช้ได้ และ 3. สร้างแบบจ�ำลองอย่างยืดหยุน่ และมีประสิทธิภาพ ยิง่ ขึน้ 4. แม่พมิ พ์ ยกระดับโมดูลแม่พมิ พ์ทำ� ให้การออกแบบแม่พมิ พ์ สะดวกยิง่ ขึน้ และ 5. โมดูล CAM ปรับปรุงให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ที่เว็บไซต์ https://www.zwsoft.com/zw3d/download-center

ซีบรา เทคโนโลยีส์ ได้รางวัลดีเด่นด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design Category) จากเครื่องพิมพ์บัตรรุ่น ZC100 และรุ่น ZC300 นับเป็นความส�ำเร็จอย่าง ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 บนเวที Red Dot ประจ�ำปี 2019 แนวคิดหลักทีน่ กั ออกแบบผลิตภัณฑ์ซบี ราค�ำนึงถึงเมือ่ ออกแบบผลิตภัณฑ์แต่ละ ชนิด ซึง่ ท�ำให้ซบี ราได้รบั รางวัลอย่างต่อเนือ่ งมาตลอด 5 ปี คือผลิตภัณฑ์จะต้องตอบโจทย์ การใช้งานจริง เครื่องพิมพ์บัตรรุ่น ZC100 และ ZC300 คือตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ที่ถูก ออกแบบโดยการน�ำข้อเสนอแนะจากประสบการณ์การใช้งานของ ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ฝ่ า ยมารวมกั น ไม่ ว ่ า จะจากที ม ดี ไซเนอร์ วิ ศ วกร พนักงานขาย และตัวลูกค้าเอง เครื่องพิมพ์บัตรรุ่น ZC100 และ ZC300 สามารถพิมพ์บัตร ได้หลายประเภท อาทิ บัตรประจ�ำตัวบุคคล บัตรส�ำหรับช�ำระเงิน บัตรสมาชิกต่างๆ ส�ำหรับธุรกิจค้าปลีก การเงิน หรือสุขภาพและบริการ เครือ่ งมาพร้อมอินเตอร์เฟสทีใ่ ช้งานง่าย สามารถวิเคราะห์ประเภทบัตร และการพิมพ์ได้อัตโนมัติ สามารถใส่และน�ำบัตรออกได้ง่ายและ ปลอดภัย ป้องกันการขโมยบัตร เหมาะกับการใช้งานในหลากหลาย อุตสาหกรรม ด้วยรูปทรงทีบ่ างและเล็กกะทัดรัด สามารถวางผลิตภัณฑ์ ได้ในพื้นที่ที่จ�ำกัด เช่น ใต้เคาน์เตอร์หรือบนชั้นวาง ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าชมได้ที่เว็บไซต์ https://www.zebra.com

เครื่องพิมพ์บต ั ร และ ZC300

September-October 2019


ฮีแมกซ์ (HiMax) และ เทอร์โบแมชชีนเนอรี่ (Turbomachinery)

โซลูชน ั ด้านความปลอดภัยที่ช่วย ปกป้องอุตสาหกรรมน�ำ้ มันและก๊าซ

บริษัท ฮีมา (HIMA) ผู้เชี่ยวชาญชั้นน�ำระดับโลกด้านโซลูชัน ความปลอดภัยอัตโนมัติ ขอแนะน�ำโซลูชนั ระบบควบคุมความปลอดภัย ฮีแมกซ์ (HiMax) และโซลูชนั เทอร์โบแมชชีนเนอรี่ (Turbomachinery) เพือ่ รักษาความปลอดภัยให้กบั เครือข่ายระบบท่อส่งก๊าซทีก่ ำ� ลังขยายตัว อย่างรวดเร็ว บริษทั ฮีมา เป็นผูจ้ ดั หาโซลูชนั ด้านความมัน่ คงและความปลอดภัย อัจฉริยะให้กับกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลาย (รวมถึงน�้ำมัน และก๊าซ) โดยโซลูชันฮีแมกซ์ (HiMax) และเทอร์โบแมชชีนเนอรี่ (Turbomachinery) ของบริษัทสามารถช่วยป้องกันความล้มเหลวของ ระบบจากภัยพิบัติอันเนื่องมาจากการเกิดแรงดันสูงเกินของระบบ ท่อส่งก๊าซ ซึง่ ปัจจุบนั ความปลอดภัยในการท�ำงานของเครือ่ งจักรกังหัน หรือเทอร์โบแมชชีนเนอรี่ (Turbomachinery) (ประกอบด้วยกังหันและ คอมเพรสเซอร์) ก�ำลังกลายเป็นสิ่งที่อุตสาหกรรมทั่วโลกต่างให้ความ ส�ำคัญ คณะกรรมาธิ ก ารระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ยมาตรฐานสาขา อิเล็กโทรเทคนิค (International Electrotechnical Commission : IEC) จึงได้เปิดตัวมาตรฐานความปลอดภัยที่มีความเข้มงวด ซึ่งขณะนี้ มีพร้อมอยู่แล้วในระบบหนึ่งเดียวที่ครอบคลุมด้านความปลอดภัย และการควบคุมที่ส�ำคัญๆ เช่น HIMA FlexSILon TMC with HiMax September-October 2019

HIMA FlexSILon TMC with HiMax เป็นโซลูชนั แบบครบวงจร ที่ช่วยให้การด�ำเนินงานของเครื่องจักรกังหันมีความปลอดภัยและ มีประสิทธิภาพคุม้ ค่า ระบบนีร้ วมส่วนประกอบแต่ละส่วนทัง้ หมดและ ระบบป้องกันความเร็วเกินก�ำหนดเข้าไว้ด้วยกันในระบบเดียวที่มีทั้ง ความปลอดภัยและความยืดหยุน่ สูง นอกจากนีย้ งั สามารถจ�ำลองและ ตรวจสอบเครือ่ งจักรกังหันได้ทกุ จุด ตลอดจนจัดการฟังก์ชนั ต่างๆ ดังนัน้ โซลูชัน HIMA FlexiSILon และ HiMax จึงช่วยให้โรงงานที่ติดตั้งระบบ เครือ่ งจักรกังหันมีความปลอดภัยยิง่ ขึน้ ขณะเดียวกันก็ชว่ ยลดค่าใช้จา่ ย ในการด�ำเนินงานและให้ผลตอบแทนทางการเงินที่สูงขึ้น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในโรงงานน�ำ้ มันและก๊าซ รวมถึงระบบท่อส่งก๊าซ ส�ำหรับโซลูชัน FlexSILon TMC จะท�ำหน้าที่ตรวจสอบ ดูแล และควบคุมเครือ่ งจักรกังหันจากส่วนกลาง ท�ำให้บริษทั ต่างๆ สามารถ ประหยัดค่าใช้จ่าย ทั้งยังช่วยลดอัตราความล้มเหลวและค่าใช้จ่ายใน การด�ำเนินงานโดยรวม และให้ประสิทธิภาพการผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ด้วย ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าชมได้ที่เว็บไซต์ https://www.hima.com/en/products-services/himax


Shell Forum ผลักดันความร่วมมือทุกภาคส่วนสู่ระบบ พลังงานสะอาดในประเทศไทย อัษฎา หะรินสุต ประธานกรรมการ บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด และได้รับเกียรติจาก มร.เคส พิเทอร์ ราเดอ เอกอัครราชทูตราชอาณาจักร เนเธอร์ แ ลนด์ ประจ� ำ ประเทศไทย พร้ อ มด้ ว ย ดร.มั ล ลิ ก า อิ ช วารั น นักเศรษฐศาสตร์อาวุโสและที่ปรึกษาด้านนโยบาย เชลล์ กรุ๊ป สแตรทิจี้ และ ลิว เชียวเว รองประธานฝ่ายสือ่ สารองค์กร เชลล์ เอเชีย แปซิฟคิ จัดงานสัมมนา เรื่อง 2019 Shell Forum ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือของ ทุกภาคส่วนในการส่งเสริมให้มรี ะบบพลังงานทีล่ ดการปล่อยคาร์บอน การเปลีย่ น ผ่านสู่พลังงานสะอาดและยั่งยืนในอนาคตส�ำหรับประเทศไทย

เดลต้า สนับสนุนนักศึกษาจากไทย อินเดีย เวียดนาม ประกวดการแข่งขันนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ

บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดย Mr.Yancey Hai ประธานบริหาร บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ อิงค์ ให้การสนับสนุนทีมนักศึกษาจากประเทศไทย เวียดนาม และ อินเดีย เข้าร่วมแข่งขันความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ (เดลต้าคัพ) ครัง้ ที่ 6 ณ เมืองอูเ๋ จียง ประเทศจีน โดยมีทมี เข้าร่วมแข่งขัน ทั้งหมด 79 ทีม จาก 72 สถาบัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ นวัตกรรมเครื่องจักร โรงงานอัจฉริยะ และความเป็นอยู่ที่ดีกว่าส�ำหรับ อนาคต

AOT DIGITAL AIRPORTS สนามบินมีชีวิต เชื่อมท่าอากาศยานทั่วโลก

นิตนิ ยั ศิรสิ มรรถการ กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AOT พร้อมด้วย ดร.ดนันท์ สุภัทรพันธุ์ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและบริการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CAT และ Mr.Sumeet Sharma Head of Business Development, Next Billion Users (SEA), Google Asia Pacific ผนึกก�ำลังกลุ่มพันธมิตร อาทิ บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ไทยซัมซุงอิเลคโทรนิคส์ จ�ำกัด และบริษัท เมืองไทยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมเปิดตัวอย่างยิง่ ใหญ่ AOT DIGITAL AIRPORTS : สนามบิน มีชีวิต ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่เชื่อมโยงระบบ IT ทั้งหมดในสนามบิน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสื่อสารอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการท่าอากาศยานที่ สามารถครอบคลุมท่าอากาศยานทัง้ 6 แห่งของ ทอท. และจะเชือ่ มโยงท่าอากาศยาน พันธมิตร 16 แห่งทั่วโลก

งานประกาศเกียรติคุณ ประจ�ำปี 2562 วิศวจุฬากิตติคุณดีเด่นและวิศวจุฬาดีเด่น สมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดพิธีมอบโล่และ ใบประกาศเกียรติคณ ุ วิศวจุฬาดีเด่น ครัง้ ที่ 16 โดยการจัดงานครัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการ ยกย่องเชิดชูและประกาศเกียรติคณ ุ แก่นสิ ติ เก่าและคณาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทีป่ ระสบความส�ำเร็จในการท�ำงาน และประกอบ คุณงามความดี มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติ และ ได้อุทิศตนให้กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และสมาคมนิสติ เก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาโดยตลอดอย่างต่อเนื่อง

September-October 2019


โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ขึ้นแท่น Zero Accident Campaign 2019 ระดับโกลด์

เฟอร์นานโด ซอริอาโน โพ ผูอ้ ำ� นวยการโรงงาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ได้รับการประกาศเกียรติคุณกิจกรรมการรณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุ จากการท�ำงานให้เป็นศูนย์ ประจ�ำปี 2562 ของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (องค์การมหาชน) จาก อนันต์ชยั อุทัยพัฒนาชีพ เลขาธิการส�ำนักงานประกันสังคม โดยชไนเดอร์ อิเล็คทริค ขึน้ แท่นในระดับโกลด์ และมีชวั่ โมงการท�ำงานสะสมทีไ่ ม่มอี บุ ตั เิ หตุตามเงือ่ นไข เป็นจ�ำนวน 13,603,866 ชั่วโมง ซึ่งส่งเสริมให้พนักงานมีความห่วงใยและใส่ใจ ในการป้องกันการเกิดอุบตั เิ หตุจากการท�ำงาน รวมถึงการน�ำเทคโนโลยีระดับโลก EcoStruxure ของตนเองมาใช้ เพื่อเป็นโรงงานอัจฉริยะที่ให้ทั้งประสิทธิภาพ ในการผลิตและให้ความปลอดภัยแก่พนักงานในระดับสูง

กสอ. จัดสัมมนา กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพ SMEs ด้วยระบบดิจทิ ลั บริหารจัดการธุรกิจ

วาที พีระวรานุพงศ์ ผูอ้ ำ� นวยการกองพัฒนาดิจทิ ลั อุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และ รศ. ดร.ลัญฉกร วุฒสิ ทิ ธิกลุ กิจ หัวหน้า โครงการ จากทีมที่ปรึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสัมมนาหัวข้อ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ SMEs ด้วยระบบดิจทิ ลั บริหาร จัดการธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในธุรกิจ และการลดต้นทุนการผลิตเพื่อผลักดันให้ผู้ประกอบการทั้งวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) น�ำระบบเทคโนโลยีดิจิทัลหรือการ ประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ทางธุรกิจในการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ธุรกิจ ซึง่ ภายในงานสัมมนาดังกล่าวมีผปู้ ระกอบการ SMEs ทัง้ ภาคการ ผลิต ภาคการค้าและบริการ เข้าร่วมกิจกรรมไม่นอ้ ยกว่า 250 กิจการ

ซีบรา เทคโนโลยีส์ เปิดตัวส�ำนักงานแห่งใหม่

ศิวจั น์ โรจนเต็มศักดิ์ ผูจ้ ดั การประจ�ำประเทศไทย ซีบรา เทคโนโลยีส์ พร้อมด้วย ไรอัน โกห์ รองประธานบริหารและผูจ้ ดั การทัว่ ไป ซีบรา เทคโนโลยีส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และ ลิม ฟัง ห่าว ผู้บริหารส่วนภูมิภาค ซีบรา เทคโนโลยีส์ ประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ซึง่ เป็นผูน้ ำ� ด้านนวัตกรรมผ่านโซลูชนั ที่ทันสมัยและเครือข่ายคู่ค้าที่ครอบคลุม เปิดตัวส�ำนักงานแห่งใหม่ ณ อาคาร สาทรสแควร์ เพื่อขยายธุรกิจและผลักดันการเติบโตในประเทศไทยในด้านการ เสริมประสิทธิภาพให้องค์กรยุคใหม่

งาน NTT Cloud Table, Powering to your Cloud Journey ตอกย�้ำเทคโนโลยี “คลาวด์” บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำโดย มานาบุ คาฮาระ ประธานบริหาร เอ็นทีทฯี และ มาซาโตชิ ซึโบอิ รองกรรมการ ผู้จัดการสายงานด้านผลิตภัณฑ์และบริการ แผนกพัฒนาธุรกิจ และที่ปรึกษา ทางการขาย พร้อมด้วย แยทโทเว่น ตุคิมิน จากบริษัท วีเอ็มแวร์ เซาท์ อีทส์ เอเชีย จัดงาน NTT Cloud Table, Powering to your Cloud Journey ให้แก่ ลูกค้า เพือ่ ตอกย�ำ้ การน�ำเทคโนโลยีคลาวด์มาปรับใช้ในการท�ำงานร่วมกับระบบ และวางกลยุทธ์ทางไอทีที่ส�ำคัญขององค์กร

September-October 2019


ถิรไทย ฉลองครบรอบ 32 ปี ผู้นำ� ตลาดหม้อแปลงไฟฟ้า ของไทย สัมพันธ์ วงษ์ปาน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร บริษัท ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TRT ผู้นำ� ตลาด หม้อแปลงไฟฟ้าและอุตสาหกรรมเกี่ยวกับพลังงานรายใหญ่ของประเทศ จัดงานเลีย้ งพระเพลเนือ่ งในโอกาสฉลองครบรอบ 32 ปี ณ บริษทั ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรมบางปู

ทีซีซี เทคโนโลยีฯ เชิญผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่น แชร์แนวทางปฏิบัติตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล

กลุม่ บริษทั ทีซซี ี เทคโนโลยี กรุป๊ (TCC Technology Group) จัดเวทีสัมมนาภายในองค์กรเกี่ยวกับหัวข้อ New Business Risks Brought on by Privacy Legislation’s Global Expansion ณ อาคาร เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ให้กบั คณะผูบ้ ริหารบริษทั ในเครือ เพือ่ เป้าหมายการ ผลักดันและสนับสนุนให้ทุกองค์กรเตรียมความพร้อมที่จะปฏิบัติตาม พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA 2019)

หน่วยงานรัฐ-เอกชน ร่วมจัดประชุมภายใต้พันธกิจ ร่วมคิดร่วมสร้างการป้องกันอาชญากรรมทางเทคโนโลยี

พล.ต.ต.จิรภพ ภูรเิ ดช ผูบ้ งั คับการปราบปราม พล.ต.ต.ไพบูลย์ น้อยหุน่ ผูบ้ งั คับการปราบปรามการกระท�ำความผิดเกีย่ วกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ศรัณย์ ทองค�า ต�ำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ช�ำนาญการพิเศษ กระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และ ศิริวัฒน์ วงศ์จารุกร ประธานกรรมการ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็มเฟค (MFEC) ประกาศความพร้อมจัดการประชุมความปลอดภัยไซเบอร์ เพื่อสร้างความตระหนักถึงภัยอันตรายบนโลกออนไลน์ และให้ความรู้ด้าน กฎหมายไซเบอร์ และจัดการแข่งขันไซเบอร์ ซีเคียวริตี้ ผ่านระบบออนไลน์ฝมี อื คนไทยระดับสากล เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนและบุคลากรภาครัฐได้ โชว์ศกั ยภาพเข้าร่วมชิงชัยประลองฝีมอื ด้านไซเบอร์ ผูส้ นใจสามารถเข้าร่วมได้ โดยไม่จ�ำกัดเพศ อายุ และการศึกษา

RISE รวมพลผู้บริหารชั้นน�ำแลกเปลี่ยนกลยุทธ์ผลักดัน นวัตกรรมองค์กร นพ.ศุภชัย ปาจริยานนท์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและผูก้ อ่ ตัง้ RISE สถาบันเร่งสปีดนวัตกรรมองค์กรระดับภูมภิ าค ร่วมพิธเี ปิดงาน Exclusive Dinner Talk ในหัวข้อ Executing Corporate Innovation at Speed and Scale : How to Make It Happen หรือนวัตกรรมองค์กรท�ำอย่างไรให้เกิดจริง โดย งานนี้ RISE ได้เชิญผูน้ ำ� องค์กรและผูบ้ ริหารระดับสูงจากองค์กรชัน้ น�ำในเอเชีย ทีจ่ ะเป็นแม่ทพั น�ำพาองค์กรไปสูเ่ ป้าหมาย มาร่วมพูดคุยแลกเปลีย่ นกลยุทธ์ใน การผลักดันนวัตกรรมองค์กรกับคณาจารย์ผทู้ รงคุณวุฒจิ าก Stanford Graduate School of Business เพื่อสร้างผู้นำ� ยุคใหม่ ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ

September-October 2019


Movement

พาณิชย์มอบรางวัล PM Export Award 2019

นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็น ประธานในพิธีมอบรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น (Prime Minister’s Export Award : PM Award 2019) เป็นปีที่ 28 ในการรับรองคุณภาพผู้ประกอบการธุรกิจ ส่งออกไทยให้เป็นที่ประจักษ์ ด้วยการใช้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีในการพัฒนาศักยภาพสินค้าไทยให้สามารถ แข่งขันได้ในตลาดโลก ปีนี้มีผู้สมัครจากทั่วประเทศกว่า 652 บริษัท ใน 7 ประเภทรางวัล ตามขนาดของประเภท ธุรกิจและผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ เข้ารับรางวัล 34 รางวัล จาก 31 บริษัท รางวัล PM Export Award ถือเป็นรางวัลสูงสุด ของรัฐบาลที่มอบให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น เพือ่ เป็นเครือ่ งหมายแห่งความภาคภูมใิ จของประเทศและ เป็นการประกาศเกียรติคุณให้เป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวาง ถึงความส�ำเร็จและความทุ่มเทของผู้ประกอบการไทย ในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสินค้า และบริการให้สามารถ แข่งขันได้ในตลาดโลก

รางวัล THAILAND TOP SME AWARDS 2019 ต้นแบบสุดยอดธุรกิจยุค Digital SMEs

บริษทั เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน) และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยความร่วมมือของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย ผนึกก�ำลังจัดงานมอบรางวัล THAILAND TOP SME AWARDS 2019 ขึ้นต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 เป็นเวทีสัญลักษณ์แห่ง ความส�ำเร็จ เชิดชูเกียรติผปู้ ระกอบการเอสเอ็มอีทมี่ ผี ลการด�ำเนินงาน เป็นเลิศในแต่ละกลุม่ อุตสาหกรรม และมีการด�ำเนินธุรกิจทีโ่ ดดเด่นใน ด้านต่างๆ ด้วยแนวคิด “Digital SMEs Transforming to the Future” เอสเอ็มอียุคดิจิทัล ปรับเปลี่ยนสู่อนาคต หวังกระตุ้นผู้ประกอบการ เอสเอ็มอีตื่นตัวรับมือกับยุค Digital Disruption และให้ความส�ำคัญ กับการขับเคลื่อนธุรกิจด้วยนวัตกรรม โดยมีผู้ประกอบการเอสเอ็มอี รวม 26 ราย เข้ารับรางวัลอย่างสมเกียรติ ภายในงานยังได้รบั เกียรติจาก ฯพณฯ ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย กล่าวปาฐกถาพิเศษ พร้อมด้วย มนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการ บมจ. เออาร์ไอพี และ รศ. ดร.เสาวณีย์ ไทยรุง่ โรจน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมเป็นประธาน การจัดงาน ณ โรงแรมเรเนซองส์ ราชประสงค์ กรุงเทพฯ

September-October 2019


สกสว. จัดประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา ก้าวทัน “เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” ด้วยงาน วิจัย

ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) จัดการประชุมวิชาการระดับ บัณฑิตศึกษา สกสว. ประจ�ำปี 2562 (TSRI Congress 2019) ภายใต้หวั ข้อ ก้าวทัน “เทคโนโลยีเปลีย่ นโลก” ด้วยงาน วิจัย (Disruptive Technology for World Society) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อน�ำเสนอผลงานวิจัย แลกเปลี่ยนและ เผยแพร่องค์ความรูข้ องผูร้ บั ทุน สกสว. ท�ำให้เกิดการสร้าง และถ่ายทอดความรูใ้ นงานวิจยั เพือ่ แก้ปญ ั หา เพิม่ ขีดความ สามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเกิด เครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยระหว่างนักวิจัยใน สถาบันอุดมศึกษาและภาคอุตสาหกรรมทั้งระดับชาติ และนานาชาติ โดยมี เจน น�ำชัยศิริ สมาชิกวุฒิสภา และ ประธานกิตติมศักดิ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในฐานะอดีตประธานกรรมการ คณะกรรมการก�ำกับทิศทาง งานวิจยั เพือ่ อุตสาหกรรม ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดและปาฐกถาน�า

บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย เดินหน้า ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงในประเทศไทย

บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย น�ำโดย อูเว่ ควาส กรรมการผูจ้ ดั การ ร่วมด้วย แดร็คเซิลไมเออร์ กรุป๊ น�ำโดย แกร์ฮาร์ด แอร์เนสแบร์เกอร์ ผู้อำ� นวยการโรงงาน ร่ ว มพิ ธี เ ปิ ด โรงงานประกอบแบตเตอรี่ แรงดั น สู ง ส� ำ หรั บ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แห่งเดียวในภูมิภาคอาเซียน ณ โรงงาน ของแดร็คเซิลไมเออร์ กรุป๊ ในนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ชลบุรี 2 โดยมี กรณ์ภัฐวีร์ ม่วงน้อย รองอธิบดีกรมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ดร.ปราจิน เอีย่ มล�ำเนา ประธานกรรมการบริหาร และ จาตุรนต์ โกมลมิศร์ กรรมการ บริหารและประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) เข้าร่วม โดยโรงงานจะครอบคลุ ม ในส่ ว นของการประกอบ โมดูลแบตเตอรี่และการประกอบตัวแบตเตอรี่ และได้เริ่มต้น สายการประกอบตัง้ แต่เดือนกรกฎาคมทีผ่ า่ นมา ซึง่ โรงงานของ แดร็คเซิลไมเออร์ กรุป๊ ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ชลบุรี 2 และนับเป็นโรงงานประกอบแบตเตอรีแ่ รงดันสูงส�ำหรับ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แห่งเดียวในภูมิภาคอาเซียน September-October 2019


Movement

TEMCA FORUM & EXHIBITION 2019

บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำเข้าและจัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณภายใต้แบรนด์ LINK ร่วมออกบูธในงาน TEMCA FORUM & EXHIBITION 2019 โดยสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย ภายในมีบูธ จัดแสดงโซลูชนั ด้านสายสัญญาณใหม่ลา่ สุด เพือ่ อัปเดตแก่ ผูร้ บั เหมาระบบไฟฟ้าและเครือ่ งกล วิศวกร ผูบ้ ริหารระดับสูง ของภาครัฐ อาจารย์ นักศึกษา และกิจกรรมแจกของรางวัล มากมาย เมือ่ วันที่ 23-24 สิงหาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุมพีช โรงแรมรอยัลคลิฟ พัทยา

RUN for ZOO Mini-Half Marathon 2019

จบไปแล้วอย่างยิ่งใหญ่ ส�ำหรับมหกรรมงานวิ่งในสวนสัตว์ครั้งแรก ในประเทศไทย กับงาน Run for Zoo Mini-Half Marathon 2019 งาน วิ่งการกุศลเพื่อน�ำรายได้ช่วยเหลือโครงการสัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์ และเพื่อ สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ องค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (อสส.) อินเตอร์ลิ้งค์ฯ จับมือองค์การสวนสัตว์ โดยกิจกรรมงานวิ่งนี้เกิด จากความร่วมมือของทั้ง 2 หน่วยงานในพื้นที่สวนสัตว์นครราชสีมา ซึ่งอยู่ ภายใต้การดูแลขององค์การสวนสัตว์ฯ เป็นการเปิดโอกาสให้กบั นักท่องเทีย่ ว ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติมาเทีย่ วชมสวนสัตว์และร่วมสนุกผ่านกิจกรรม ด้าน Sport Tourism โดยมี สมบัติ อนันตรัมพร กรรมการองค์การสวนสัตว์ และประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. อินเตอร์ล้ิงค์ คอมมิวนิเคชัน่ ประธานการจัดงานในครัง้ นี้ และ เบญจพล นาคประเสริฐ ผูอ้ ำ� นวยการองค์การสวนสัตว์ฯ เป็นผูส้ นับสนุนนโยบายในการจัดงานดังกล่าว โดยการจัดงาน RUN for ZOO Mini-Half Marathon 2019 มีวตั ถุประสงค์เพือ่ น�ำไปช่วยเหลือโครงการสัตว์ปา่ ใกล้สญ ู พันธุข์ ององค์การ สวนสัตว์ฯ และสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์มูลนิธินักเรียนเก่า อ�ำนวยศิลป์ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักวิ่งทั่วประเทศกว่า 4,500 คน เมื่อ วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน 2562 ที่ผ่านมา ณ สวนสัตว์นครราชสีมา September-October 2019


w

แชฟฟ์เลอร์ จับมือ มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ผนึกก�ำลังดันโซลูชัน e-F@ctory Schaeffler and Mitsubishi Electric Announce Global Strategic Partnership บริษทั มิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค คอร์เปอเรชัน่ และบริษทั แชฟฟ์เลอร์ เทคโนโลยี AG และ KG จ�ำกัด ผู้จ�ำหน่ายสินค้าด้านยานยนต์และ อุตสาหกรรมระดับโลก ประกาศความร่วมมือด้านยุทธศาสตร์ระดับ โลกอย่างเป็นทางการ ในฐานะเครือข่ายพันธมิตร (e-F@ctory Alliance Network) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด e-F@ctory ของมิตซูบิชิ อีเล็คทริค คอร์เปอเรชัน่ ทีส่ นับสนุนบริษทั ทีม่ มี าตรการในการปรับเปลีย่ น การท�ำงานไปสู่ระบบดิจิทัล ดร.สเตฟาน สปินด์เลอร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่าย อุตสาหกรรม บริษทั แชฟฟ์เลอร์ AG กล่าวว่า “การน�ำเสนอโซลูชนั อุตสาหกรรม 4.0 ทีจ่ ะสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ลูกค้าได้นนั้ จะต้องอาศัย ความร่วมมือจากบริษัทต่างๆ ด้วยเช่นกัน เราเชื่อมั่นว่าด้วยความ เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและความรู้ด้านระบบของแชฟฟ์เลอร์ และมิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค ทีร่ ว่ มเป็นพันธมิตรด้านยุทธศาสตร์ในครัง้ นี้ จะท�ำให้แชฟฟ์เลอร์น�ำเสนอโซลูชันที่เหมาะสมกับความต้องการ ของลูกค้าและตลาดชิน้ ส่วนยานยนต์และอุตสาหกรรม อีกทัง้ ยังช่วย เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต สามารถลดค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตชิ้นส่วนที่ครบวงจรได้” ภาพจ�ำลองของอุตสาหกรรม 4.0 นัน้ โดดเด่นด้วยผลิตภัณฑ์ ที่ มี ค วามเป็ น เอกลั ก ษณ์ และมี ค วามยื ด หยุ ่ น ในการผลิ ต สู ง พร้อมด้วยเทคโนโลยีการผลิตทีท่ นั สมัย และระบบอุตสาหกรรม 4.0 ทีป่ ระกอบด้วยส่วนประกอบและเครือ่ งจักรทีท่ ำ� งานเชือ่ มต่อกันด้วย ระบบดิจทิ ลั เช่น การรวมการท�ำงานเครือ่ งจักรและข้อมูลโรงงานเข้ำ กับระบบการผลิต (Manufacturing Execution Systems : MES) และ ระบบวางแผนทรัพยากรการผลิตในองค์กร (Enterprise Resource Planning Systems : ERP) โนริยูกิ ชิมิซุ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโรงงาน อัตโนมัติ บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค คอร์ปอเรชั่น กล่าวว่า “ในช่วง หลายปีที่ผ่านมาเราประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินโครงการ ร่วมกันในหลายประเทศ ทัง้ ในยุโรปและเอเชีย ตอนนีเ้ ราพร้อมทีจ่ ะ ขยายความร่วมมือในระดับโลกร่วมกับแชฟฟ์เลอร์” ทั้งนี้ บริษัท แชฟฟ์เลอร์ และมิตซูบิชิ อีเล็คทริค จะท�ำงาน ร่วมกันเพื่อสร้างโซลูชันของอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งจะช่วยลดการ หยุดท�ำงานของเครื่องจักรและช่วยเพิ่มผลผลิตให้กับลูกค้า เช่น เครื่อง SLMP โปรโตคอล ซึ่งเป็นระบบตรวจสอบสภาพที่ใช้ใน แชฟฟ์เลอร์ โดยมีเซนเซอร์สอื่ สารกับโปรแกรมควบคุมของมิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค ทีส่ ง่ สัญญาณก�ำหนดค่าคุณลักษณะได้ จากนัน้ โปรแกรม ควบคุมระบบ (PLC) จะประมวลผลข้อมูลในรูปแบบข้อความธรรมดำ และแสดงขึ้นบนหน้าจอ ในส่วนของการรวมข้อมูลที่เพิ่มเติมนั้น จะช่วยให้ระบบตรวจสอบสภาพเชือ่ มต่อกับโปรแกรมควบคุมระบบ (PLC) ของโรงงานที่เกี่ยวข้องได้ โดยผ่านเครือข่ายสายเคเบิลและ โปรโตคอล Modbus

Mitsubishi Electric Corporation a n d S c h a e ffl e r Technologies AG & KG Co. announced a global strategic partnership as part of the e-F@ctory Alliance network. Since 2010 both companies have been partners in the e-F@ctory Alliance, which is part of Mitsubishi Electric Corporation’s e-F@ctory Concept. This concept supports companies with measures within the framework of the digital transformation, such as the integration of machine and plant data into MES (Manufacturing Execution Systems) and ERP (Enterprise Resource Planning Systems). Industry 4.0 scenarios are characterized by highly individualized products in very flexible manufacturing conditions. Along with production technology, Industry 4.0 also comprises digitally connecting components and machines. Dr.Stefan Spindler, CEO Industrial of Schaeffler AG, explains: “To provide Industry 4.0 solutions with substantial added value for the customer we need collaboration across different companies. With the technological expertise and systems know-how of Schaeffler and Mitsubishi Electric teamed up in this global strategic partnership, we will be able to offer intelligent solutions tailored to customer and market requirements to optimize manufacturing operations and equipment lifecycle costs.” Mr.Noriyuki Shimizu, Corporate Executive Group Vice President Factory Automation Systems Group at Mitsubishi Electric, adds: “Over the last years, we have successfully carried out joint projects in various countries in Europe and Asia. Now, we intend to intensify and expand our collaboration on a global level.” Schaeffler and Mitsubishi Electric collaborate to boost connectivity and to create Industry 4.0 solutions that reduce machine downtime and maximize productivity for the customer. For example, the machine protocol SLMP (Seamless Message Protocol) implemented in Schaeffler condition monitoring systems enables vibration sensors to communicate bidirectionally with Mitsubishi Electric’s programmable logic controller and to transmit the characteristic values determined. The PLC processes the data into information, which is prepared as plain text messages and shown on a display. An additional integration level also allows the condition monitoring system to be connected with the PLC of the relevant plant via a network cable and Modbus protocol. September-October 2019


w

เอ็นทีที โชว์นวัตกรรม IoT เสริมศักยภาพอุตสาหกรรมโรงงานผลิตแบบครบวงจร NTT Unveils IoT Innovation for Manufacturing เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เอ็นทีที คอม) ผู้ด�ำเนินธุรกิจให้บริการด้านไอซีทีโซลูชันและการสื่อสารระหว่าง ประเทศ ซึง่ ได้เพิง่ ประกาศรวมกิจการภายใต้บริษทั NTT Ltd. พร้อม น�ำเสนอนวัตกรรม IoT เจาะกลุ่มอุตสาหกรรมโรงงานการผลิต ทั้งขนาดกลางและขนาดใหญ่ ด้วยบริการ Intelligence Process Optimization แบบครบวงจร เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในกระบวนการผลิต พร้อมผลักดัน AI เข้ามาวิเคราะห์ข้อมูลแบบอัตโนมัติ Intelligence Process Optimization เป็นบริการแบบ ครบวงจร เริม่ จากให้คำ� ปรึกษา ส�ำรวจพืน้ ทีแ่ ละระบบเพือ่ น�ำเสนอ โซลูชันที่เหมาะสม ตั้งแต่การออกแบบระบบเครือข่าย การจัดหำ อุปกรณ์ส�ำหรับจัดเก็บข้อมูล และแพลตฟอร์มในการท�ำงาน เพื่อ จัดเก็บข้อมูลการผลิตแบบรวมศูนย์ให้มคี วามชัดเจน สามารถบันทึก ข้อมูลเพิ่มเติม รวมถึงความสามารถในการน�ำไปวิเคราะห์สถานะ ในการท�ำงานแต่ละวัน และเชื่อมโยงข้อมูลให้สามารถตรวจสอบ จากศูนย์ควบคุมทั้งภายในและภายนอกโรงงานได้ นอกจากนี้ยังมี ระบบตรวจสอบการท�ำงานหากมีความผิดพลาดหรือหยุดชะงัก จะมีสญ ั ญาณแจ้งเตือน เพือ่ ให้ผคู้ วบคุมการผลิตในแต่ละส่วนสามารถ แก้ไขจุดบกพร่องได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นย�ำ ศานิต เกษมสันต์ ณ อยุธยา รองประธานแผนกผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ บริการ บริษทั เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ปัจจุบัน กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมภาคการผลิต ได้มกี ารน�ำเทคโนโลยี IoT หรือ Internet of Things เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบ คิดเป็นประมาณร้อยละ 4 ของโรงงาน ทั้งหมดที่ตั้งอยู่ในไทย ซึ่งเอ็นทีที คอม มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะน� ำ เสนอบริ ก าร Intelligence Process Optimization เพื่อเสริมสร้างศักยภาพ ให้กบั ภาคโรงงานผลิตในการผลักดันเทคโนโลยี IoT เข้าไปประยุกต์ใช้ ในโรงงานได้อย่างเหมาะสม โดยจะเป็นการผสานการท�ำงานระหว่าง ระบบ IoT เข้ากับเทคโนโลยีส่วนปฏิบัติการ หรือ Operational Technology (OT) ให้สามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในเบื้ อ งต้ น จะมุ่ง เน้นไปที่ก ลุ่มโรงงานขนาดกลางไปจนถึง ขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมรถยนต์ พลังงาน อาหาร และเคมีภัณฑ์ นอกจากนี้ เอ็นทีที คอม ยังได้น�ำแนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบอัตโนมัติจากการน�ำปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) เข้ามาเรียนรูข้ อ้ มูลภายในแพลตฟอร์มด้วยรูปแบบ ของ Data Robot โดยการสร้างแบบจ�ำลองรูปแบบของโครงการ หรือกระบวนการผลิต แล้วน�ำมาประเมินสถานการณ์เพื่อให้เห็น ข้อมูลชัดเจน และปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในกระบวนการผลิตให้มี ประสิทธิภาพและตอบโจทย์ตลาดได้มากที่สุดยิ่งขึ้น

September-October 2019

NTT Communications (Thailand), the ICT solutions and international communications business within the recently launched NTT Ltd., has unveiled its Intelligence Process Optimization service, the latest IoT-technologybased service designed for medium to large size manufacturing plants to help increase production efficiency. Artificial intelligence (AI) technology is also used for automated data analysis. Intelligence Process Optimization is NTT’s one-stop service starting from consulting service, exploring areas and systems to offer appropriate solutions, network design, and the provision of data storage equipment and working platform for production data storage centralization. Centralized data storage will help the factory make data linkage between internal and external control centers to ensure better analysis on daily working status. In addition, a system to monitor the operation is also included so that if an error or interruption occurs, an alert will be sent to ensure a solution is provided immediately. Mr.Sanit Kashemsanta Na Ayudhaya Vice President of Product & Service Department, NTT Communications (Thailand) Co., Ltd. said, It’s estimated that only four percent of manufacturing factories in Thailand have used Internet of Things (IoT) to manage their production system. To increase the production efficiency, NTT Com is offering a new Intelligence Process Optimization service by integrating IoT technology with operating technology (OT) to use in the factory’s manufacturing process appropriately. We do the survey to examine the factories’ working processes in large production plants, found that a major problem of the plant processes come from the scattering storage of production data, errors caused by methods of storing data, and mistakes from manual work. The company plans to deliver the new IoT-based service to medium to large size factory in automotive, energy, food and chemical industry. NTT Com has also adopted an automated data analysis approach by using artificial intelligence (AI) technology to learn data within the platform under a data robot. The automated machine learning platform will create high accuracy projective modelling and visualize effective data item and reasoning of projection, then change the strategy in the production process to be more efficient and responsive to the market.


Industry News

โคเน่ เปิดตัวศูนย์ฝึกอบรมและให้บริการลูกค้าในประเทศไทย ปัจจุบันไทยอยู่ในช่วงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจเข้าสู่ ระยะที่ 4 จากประเทศเกษตรกรรมก้าวเข้าสู่การสร้างงานที่มีมูลค่า โมเดลใหม่ของการขับเคลื่อนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “เศรษฐกิจ ทีข่ บั เคลือ่ นด้วยนวัตกรรม” โดยเห็นได้จากการลงทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก ต่างประเทศ กระตุน้ ให้เกิดการพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานอย่าง รวดเร็ว ศูนย์ฝกึ อบรมและให้บริการลูกค้าอัจฉริยะเป็นไปตามความ มุง่ มัน่ ของโคเน่ ในการลงทุนเพือ่ ยกระดับฝีมอื พนักงานในประเทศ และการผสานเทคโนโลยีอัจฉริยะกับโซลูชันของโคเน่

อาคารศูนย์ฝึกอบรมและให้บริการลูกค้าของโคเน่ มีพื้นที่ ขนาด 815 ตารางเมตร ตั้งอยู่บนถนนสุโขทัย 99 (เมืองทองธานี) ท�ำหน้าที่เป็นโชวร์รูมนิทรรศการแสดงนวัตกรรมใหม่ของโคเน่ ศูนย์บริการทีพ่ ร้อมรองรับลูกค้าทีม่ มี ากกว่า 1,500 รายในประเทศไทย และเป็ น ศู น ย์ ฝ ึ ก อบรมที่ ถ ่ า ยทอดองค์ ค วามรู ้ ร ะดั บ มื อ อาชี พ จากผู้เชี่ยวชาญให้กับพนักงานของโคเน่ที่มีมากกว่า 330 คน ในประเทศไทย ศูนย์ฝึกอบรมแห่งนี้เป็นศูนย์ฝึกอบรมดิจิทัล ที่มี เทคโนโลยีใหม่และนวัตกรรมล�้ำสมัยที่สุดในอุตสาหกรรมนี้ และ

วิธกี ารเรียนรูใ้ นรูปแบบใหม่ๆ อย่างเช่น การใช้เทคโนโลยีการจ�ำลอง สภาพเสมือนจริงโดยคอมพิวเตอร์ (VR) การน�ำกลไก รูปแบบของ เกมมาใช้เพื่อให้ผู้เรียนรู้สนุก รู้สึกเหมือนเล่นเกม และการใช้ระบบ อีเลิรน์ นิง่ แอปพลิเคชันด้านการเรียนรู้ การจ�ำลองสถานการณ์ทเี่ กิด ขึน้ จริงในศูนย์ดแู ลลูกค้า เพือ่ ใช้ฝกึ อบรมผลิตภัณฑ์และบริการของ โคเน่ (KONE Customer Care Center - KC3) ศูนย์ฝึกอบรมและให้บริการดังกล่าว ติดตั้งเทคโนโลยีใหม่ๆ ตัวอย่างเช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (Internet of Things (IoT)) หรือการเชื่อมต่ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ที่สามารถเชื่อมโยงหรือส่งข้อมูลถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องป้อนข้อมูลเข้าไปอีกครั้ง เพื่อให้บริการลูกค้าและแก้ไข ปัญหาผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างราบรืน่ และรวดเร็วตลอด 24 ชัว่ โมง 7 วัน ภายในโชว์รูมมีการจัดแสดงโซลูชันต่างๆ ของโคเน่ รวมไปถึง นวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น สายเคเบิลแบบคาร์บอน ไฟเบอร์ (UltraRope) ที่มีลักษณะเบากว่าสายเคเบิลเหล็กแบบเดิม ซึง่ แบบเดิมมีนำ�้ หนักมากท�ำให้ตอ้ งใช้พลังงานมากในการขับเคลือ่ น ลิฟต์ขึ้น-ลง สายเคเบิลคาร์บอนไฟเบอร์แบบใหม่นี้สามารถลด น�ำ้ หนักลิฟต์ได้มากถึง 80% และประหยัดพลังงานได้ 11% โคเน่ได้รบั การยอมรับว่าเป็นหนึง่ ในบริษทั ทีม่ นี วัตกรรมมาก ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกโดยนิตยสารฟอร์บส์ โคเน่ได้ให้นิยาม ค�ำว่า “การเคลื่อนย้ายของผู้คน” คือ การเคลื่อนย้ายผู้คนในอาคาร และ ระหว่างอาคาร การเคลื่อนย้ายผู้คนที่มีประสิทธิภาพ หมายถึง การเคลื่อนย้ายอย่างราบรื่น ปลอดภัย สะดวกสบาย มีเสถียรภาพ และไม่ล่าช้า

พพ. ชูเคส บมจ. เอ็น.ดี.รับเบอร์ ติดตัง้ โซลาร์รฟ ู ท็อปขนาดใหญ่ ลดต้นทุนค่าไฟฟ้า บริษัท เอ็น.ดี.รับเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2535 จนมาถึงปัจจุบันซึ่งยาวนานกว่า 27 ปี ได้ท�ำธุรกิจ เกี่ยวกับยางรถจักรยานยนต์ ทั้งส่งออกตลาดภายในประเทศและ ต่างประเทศ ผ่านการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ยางนอกส�ำหรับ การส่งออกทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (มอก.) ชัยสิทธิ์ สัมฤทธิวณิชชา กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็น.ดี. รับเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ปัจจุบันการใช้ไฟฟ้าต่อเดือนนั้น มีราคาค่อนข้างสูง ดังนัน้ โซลาร์รฟู จึงเป็นอีกทางเลือกทีเ่ อ็น.ดี.รับเบอร์ เลือกใช้ ซึ่งติดตั้งแล้วเสร็จและเริ่มผลิตกระแสไฟฟ้าใช้เองตั้งแต่

เดื อ นกั น ยายน 2559 โดยการน� า เทคโนโลยีโซลาร์เซลล์มาติดตัง้ บนหลังคา เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน ภายในโรงงานรูปแบบผลิตไฟฟ้าใช้เอง ในช่วงเวลากลางวัน ช่วยลดค่าไฟฟ้า ภายในโรงงานใน ช่วงเวลาการใช้ไฟฟ้า สูงสุดของวัน “การที่ เ อ็ น .ดี . รั บ เบอร์ มาใช้ แผงโซลาร์ ผ ลิ ต กระแสไฟฟ้ า นั้ น ต้องบอกว่า เรามีการศึกษาเรือ่ งของโซลาร์เซลล์มานานกว่า 10 ปีแล้ว September-October 2019


Industry News

จากวันนั้นเราค�ำนวณแล้วว่าการลงทุนราคาค่อนข้างสูง ระยะเวลา ผ่านมาการลงทุนโซลาร์ก็มีราคาถูกลงเรื่อยๆ และสามารถน�ำเงิน ลงทุนมาลดหย่อนภาษีได้ครึ่งหนึ่ง เราจึงตัดสินใจลงทุน ซึ่งมูลค่า 1 เมกะวัตต์ อยู่ที่ประมาณ 40 ล้านบาท และเราสามารถน�ำเงิน ครึง่ หนึง่ ทีเ่ ราต้องเสียให้กบั ภาครัฐมาลดหย่อนภาษีได้ จึงท�ำให้การ คืนทุนนั้นเร็วขึ้นเท่าตัว โดยปกติแล้วในการลงทุนโซลาร์เราจะมี ระยะเวลาคืนทุนอยู่ประมาณ 7 ปี พอเราสามารถน�ำภาษีเข้ามาใช้ ได้สิทธิที่เกี่ยวกับ BOI ท�ำให้เราคืนทุนเร็วขึ้น ระยะเวลาการคืนทุน นั้นก็อยู่สักประมาณ 3-4 ปีเท่านั้นเอง นี้ก็เป็นตัวที่เราตัดสินใจว่า เราจะท�ำการลงทุนในการติดโซลาร์” โดยเฉลีย่ แล้วทางบริษทั เอ็น.ดี.รับเบอร์ จะประหยัดค่าพลังงาน ปีหนึ่งเกือบ 5 ล้านบาท ซึ่งเป็นตัวเลขที่ไม่น้อย ถือว่าคุ้มค่ากับการ ลงทุนตามที่เราได้วางแผนไว้ นอกจากนี้ยังช่วยลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศได้อีกทางหนึ่งด้วย ยงยุทธ์ สวัสดิสวนีย์ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน กล่าวว่า “ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งโซลาร์เซลล์ บนหลังคามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง เพื่อท�ำให้ผู้ประกอบการ มีแรงจูงใจในการลงทุนเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ภายในโรงงานได้มาก

ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง สอดรั บ กั บ นโยบายของ พพ. และกระทรวงพลั ง งานที่ มี นโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้ ผูป้ ระกอบการเพิม่ ประสิทธิภาพใน การบริหารจัดการด้านพลังงานภายใน สถานประกอบการ รวมถึงส่งเสริมให้ เกิดการเข้าถึงการพัฒนาแหล่งพลังงาน ทดแทนที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มมาใช้ ใ น สถานประกอบการ ส�ำนักงาน อาคารธุรกิจ เพือ่ การผลิตไฟฟ้าใช้เอง ได้เพิ่มมากขึ้น” ดังนั้นความส�ำเร็จของโครงการดังกล่าว มีความสอดคล้อง กับนโยบายของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ที่ได้ด�ำเนินการส่งเสริมการผลิตพลังงาน ทดแทนจากนโยบายโซลาร์รูฟเสรี ตามแผนปฏิรูปประเทศด้าน พลังงาน โดยมีเป้าหมายเพื่อผลักดันให้เกิดการเพิ่มสัดส่วนการใช้ พลังงานทดแทนจากพลังงานแสงอาทิตย์ ตามแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP) ของกระทรวงพลังงาน เพื่อให้ผู้ประกอบการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการผลิต

อีสท์ วอเตอร์ ปิดไตรมาส 2 ก�ำไรเพิ่มตามเป้า เตรียมเดินหน้าธุรกิจน�ำ้ ครบวงจรเต็มสูบ อีสท์ วอเตอร์ เผยผลประกอบการปิดไตรมาส 2 ปี 2562 มีก�ำไรสุทธิ 609.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 4.97% รายได้รวมโตขึ้น 12.79% เทียบปีก่อนรายได้รวม 2,360.75 ล้านบาท เดินหน้ารุก ธุรกิจให้บริการน�้ำครบวงจร ทั้งน�้ำประปา การบ�ำบัดน�้ำเสีย และ การรีไซเคิลน�ำ้ เต็มรูปแบบ สูผ่ นู้ ำ� การบริหารจัดการน�ำ้ แบบครบวงจร ของประเทศ พร้อมเตรียมมาตรการป้องกัน แก้ไขปัญหาภัยแล้ง และป้องกันการขาดแคลนน�้ำในอนาคต จิรายุทธ รุ่งศรีทอง กรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ บริษัท จัดการและ พั ฒ นาทรั พ ยากรน�้ ำ ภาคตะวั น ออก จ� ำกัด (มหาชน) หรืออี สท์ วอเตอร์ เปิ ด เผยผลการด� ำ เนิ น งานส� ำ หรั บ 6 เดื อ นแรกปี พ.ศ. 2562 บริ ษั ท มี รายได้จากการขายและบริการรวมทัง้ สิน้ 2,360.75 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 267.68 ล้านบาท หรือ 12.79% เมือ่ เปรียบเทียบ กับ 6 เดือนแรกปี พ.ศ. 2561 เนื่องจาก ปริมาณนาํ้ ดิบจ�ำหน่ายเพิม่ ขึน้ มีกำ� ไรสุทธิจำ� นวน 609.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 28.85 ล้านบาท หรือ 4.97% ในปี พ.ศ. 2562 อีสท์ วอเตอร์ ยังเน้นด�ำเนินธุรกิจสู่การ เป็นผู้น�ำของการให้บริการน�้ำแบบครบวงจรของประเทศ ทั้งเรื่อง September-October 2019

การบริการจัดหาแหล่งน�้ำดิบ บริการด้านการลงทุนวางท่อน�้ำดิบ และบริหารจัดการน�้ำดิบให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้น�้ำ การให้บริการติดตัง้ ระบบผลิตน�ำ้ อุตสาหกรรม ควบคุมคุณภาพน�ำ้ ที่ ส่งจ่ายให้เหมาะสมกับความต้องการของผูใ้ ช้นำ�้ แต่ละอุตสาหกรรม ให้บริการด้านบริหารกิจการประปาทั้งในระบบประปาผิวดินและ ระบบผลิตน�ำ้ ประปาจากน�ำ้ ทะเล โดยการน�ำเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมา ใช้ในระบบผลิต งานบ�ำรุงรักษาและระบบส่งจ่ายน�ำ้ ประปา ตลอดจน การให้บริการด้านวิศวกรรมอย่างครบวงจร การให้บริการติดตัง้ ระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียทีเ่ หมาะสมกับแต่ละธุรกิจ ควบคุมคุณภาพน�ำ้ เสียขาออก และการให้บริการติดตั้งระบบน�้ำรีไซเคิลโดยน�ำน�้ำเสียที่บ�ำบัดแล้ว กลับมาใช้ใหม่ในระบบอุตสาหกรรม ทีผ่ า่ นมา อีสท์ วอเตอร์ ได้มกี ารให้บริการน�ำ้ อุตสาหกรรมใน พืน้ ทีโ่ ครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรืออีอซี ี มีโครงการ ก่อสร้างระบบผลิตน�ำ้ อุตสาหกรรมให้แก่นคิ มอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จ.ระยอง โดยมีเป้าหมายก่อสร้างระบบผลิตน�้ำอุตสาหกรรมเสร็จ ในปี พ.ศ. 2563 ปริมาณขั้นต�่ำประมาณ 5.5 ล้านลูกบาศก์เมตร ต่อปี โครงการก่อสร้างระบบผลิตน�้ำอุตสาหกรรมให้แก่โรงไฟฟ้า กัลฟ์ อ.ปลวกแดง จ.ระยอง โดยมีเป้าหมายก่อสร้างระบบผลิตน�้า อุตสาหกรรมเสร็จในปี พ.ศ. 2564 ปริมาณเฉลี่ยสูงสุด 22 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี


ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2562

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล .......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ทำ�งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่บ้าน ที่ท�ำ งาน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................. บาท (ตัวอักษร ..........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................. สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 26 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2562 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล .............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................... โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนกันยายน - ตุลาคม พ.ศ. 2562 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB CO., LTD. CEBIT ASEAN THAILAND

0-2665-1000 -

LSIS

083-149-9994

-

MAINTENANCE & RESILIENCE ASIA MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD. METALEX MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG PD SOLUTIONS CO., LTD.

0-2559-0856

-

RENT (THAILAND) CO., LTD. REINHAUSEN (THAILAND) CO., LTD. SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. SETA ASIA THAILAND LIGHTING FAIR การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เชลล์แห่งประเทศไทย บจก. ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก. เพาเวอร์ เรด บจก. ลีฟเพาเวอร์ บจก. เวอร์ทัส บจก. ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก. อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ. เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก. เอวีร่า บจก.

September-October 2019

ประเภทสินค้า

0-2324-0502 อุปกรณ์ไฟฟ้า EXHIBITION ผู้นำ� ด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าครบวงจร EXHIBITION

0-2194-8738-9 0-2003-2215 อุปกรณ์ไฟฟ้า 0-2686-7299 0-2741-5266

EXHIBITION 0-2741-5267 ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

0-2314-1341-2 0-2314-1343 บริการตรวจวัด วิเคราะห์และบริการ ระบบ Monitoring 0-2136-7104 เครื่องมือช่วยในการดึงสายไฟ 0-2130-6170 0-2130-6306 ระบบไฟฟ้า+ซ่อมบ�ำรุง MR OLTC 0-3884-7571-3 0-3884-7575 จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์ EXHIBITION 0-2664-6488 EXHIBITION 0-2262-6000 0-2657-9888 น�ำ้ มันหล่อลื่น 0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า

หน้า ปกหลังนอก 12 ปกหน้าใน 20 6 ปกหลังใน 15 24 9 5 7 10 8 ปกหน้า 3 19

0-2300-5671-3 0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า 0-2300-5671-3 0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

11 13

0-2876-2727-8 0-2942-6700 0-2693-1222 0-2702-0581-8

22 4 23 14

0-2434-0099 0-2074-4411

0-2476-1711 0-2937-0501 0-2693-1399 0-2377-5937

Couplings อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ สาย LAN ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้ 0-2434-3251 อุปกรณ์ไฟฟ้า 0-2074-4400 อุปกรณ์ไฟฟ้า

17 21




Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.